ค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณ์คดีช�ำนญั พิเศษท่ี ๑๔๑๒/๒๕๖๓ บรษิ ทั จารภุ พ
แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด โจทก์
กรมสรรพากร จำ� เลย
ป.รษั ฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) (จ)
พ.ร.บ. ปยุ๋ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๓
ตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) บัญญัตใิ หย้ กเวน้ ภาษมี ลู ค่าเพิม่ สำ� หรบั การ
ประกอบกจิ การประเภทการขายปยุ๋ และมาตรา ๘๑ (๑) (จ) บญั ญตั ใิ หย้ กเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ
ส�ำหรับการประกอบกิจการประเภทการขายยาหรือเคมีภัณฑ์ท่ีใช้ส�ำหรับพืชหรือสัตว์
เพ่ือบ�ำรุง รักษา ป้องกัน ท�ำลาย หรือก�ำจัดศัตรูหรือโรคของพืชและสัตว์ โดย
ป.รษั ฎากร มไิ ดใ้ หค้ �ำจำ� กัดความของค�ำว่า “ปยุ๋ ” “ยา” หรอื “เคมภี ัณฑ์” ไว้ แต่เมอื่ พิจารณา
จากค�ำจ�ำกัดความตาม พ.ร.บ. ปุ๋ย พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๓ บัญญัติว่า “ปุ๋ย” หมายความว่า
สารอินทรีย์ อินทรีย์สังเคราะห์ อนินทรีย์ หรือจุลินทรีย์ไม่ว่าจะเกิดข้ึนโดยธรรมชาติ
หรอื ทำ� ขนึ้ กต็ ามสำ� หรบั ใชเ้ ปน็ ธาตอุ าหารพชื ไดไ้ มว่ า่ โดยวธิ ใี ดหรอื ทำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง
ทางเคมี กายภาพ หรือชีวภาพในดินเพื่อบ�ำรุงความเติบโตแก่พืช ซ่ึงสอดคล้องกับค�ำว่า
“ปยุ๋ ” ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ซง่ึ หมายถึง สิง่ ท่ใี ส่ลงไปในดิน
หรือให้ธาตุอาหารพืชหน่ึงหรือหลายธาตุ ดังนั้น ค�ำว่า “ปุ๋ย” จึงหมายถึง สารอินทรีย์
อินทรียสังเคราะห์ อนินทรีย์ หรือจุลินทรีย์ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือท�ำข้ึน
กต็ ามทใี่ ส่ลงไปในดิน ส�ำหรับใชเ้ ป็นธาตอุ าหารแกพ่ ชื ไม่วา่ โดยวิธีใด หรอื ท�ำใหเ้ กิดการ
เปลย่ี นแปลงทางเคมกี ายภาพ หรือชวี ภาพในดนิ เพอ่ื บำ� รุงความเตบิ โตแกพ่ ชื ส่วนคำ� วา่
“ยา” ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานพ.ศ.๒๕๕๔หมายถงึ สง่ิ ทแ่ี กห้ รอื ปอ้ งกนั โรค
และค�ำว่า “เคมีภัณฑ์” หมายถึง สารบริสุทธ์ิที่เตรียมได้โดยกรรมวิธีเคมีหรือที่ใช้
ในกรรมวิธีเคมี ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ของโจทก์ ล�ำดับที่ (๑) ไคโตซานน้�ำ (หรือปุ๋ยชีวภาพ
ไคโตซาน) และลำ� ดับท่ี (๒) ไคโตซานเมด็ ท�ำใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงทางเคมี กายภาพ
หรือชีวภาพในดินเพื่อบ�ำรุงความเติบโตแก่พืช และยังช่วยบ�ำรุง รักษา ป้องกัน ท�ำลาย
หรือก�ำจัดศัตรูหรือโรคของพืชด้วย จึงถือว่าเป็นปุ๋ย และยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้ส�ำหรับ
พืช เพ่ือบ�ำรุง รักษา ป้องกัน ท�ำลาย หรือก�ำจัดศัตรูหรือโรคของพืช ตาม ป.รัษฎากร
91
มาตรา ๘๑ (๑) (ค) และมาตรา ๘๑ (๑) (จ) ส�ำหรบั ผลติ ภณั ฑข์ องโจทก์ล�ำดบั ที่ (๓) อินทรียน์ �้ำ
(อินทรีย์ปูแดง) สามารถน�ำมาใช้ส�ำหรับพืชหรือสัตว์ เพื่อบ�ำรุง รักษา ป้องกัน ท�ำลาย
หรอื ก�ำจัดศัตรูหรือโรคของพืช และนำ� ไปใช้เปน็ อาหารแก่พืชได้ จึงถอื วา่ เป็นปยุ๋ และยา
หรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้ส�ำหรับพืช เพื่อบ�ำรุง รักษา ป้องกัน ท�ำลาย หรือก�ำจัดศัตรูหรือโรค
ของพืช ตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) และมาตรา ๘๑ (๑) (จ) ส�ำหรบั ผลติ ภณั ฑ์
ของโจทก์ล�ำดับที่ (๔) อินทรีย์ผง (หรือฮิวมิคหรือผงชูรสพืช) น�ำมาใช้เพื่อช่วยปรับปรุง
สภาพของดิน ท�ำให้พืชเจริญเติบโตแข็งแรงและเพ่ิมผลผลิตให้แก่พืชจึงถือว่าเป็นปุ๋ย
ตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ของโจทก์ล�ำดับท่ี (๕) สมุนไพรน้�ำ
เป็นการสกัดเอาสารท่ีมีประโยชน์จากพืช ใช้ส�ำหรับป้องกัน ก�ำจัด และควบคุมศัตรู
รวมถงึ เชอ้ื ราทเ่ี ปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ของโรคพชื จงึ ถอื วา่ เปน็ ยาหรอื เคมภี ณั ฑท์ ใี่ ชส้ ำ� หรบั พชื
เพ่ือบำ� รุง รักษาปอ้ งกัน ทำ� ลาย หรอื ก�ำจัดศัตรูหรือโรคของพืช ตาม ป.รษั ฎากร มาตรา
๘๑ (๑) (จ) สำ� หรบั ผลิตภณั ฑ์ของโจทกล์ �ำดบั ที่ (๖) ภูไมท์ ประกอบไปดว้ ยสารอนนิ ทรยี ์
ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในดินเพ่ือบ�ำรุงความเติบโตแก่พืช จึงถือว่าเป็นปุ๋ย
ตาม ป.รษั ฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) ดังน้ี สนิ ค้าของโจทก์ท้ังหมดขา้ งต้นจึงได้รบั ยกเว้น
ภาษีมลู คา่ เพ่มิ ตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) และ (จ)
_____________________________
โจทก์ฟ้อง ขอให้เพิกถอนการประเมินตามหนังสือแจ้งการประเมินภาษีมูลค่าเพิ่ม
เลขท่ี ภพ.๗๓.๑-๐๖๗๓๐๐๓๐-๒๕๕๘๐๔๐๘-๐๐๕-๐๐๐๖๘ ถงึ ๐๐๑๑๒ ลงวนั ท่ี ๘ เมษายน ๒๕๕๘
จำ� นวน ๔๕ ฉบบั เพกิ ถอนคำ� วนิ จิ ฉัยอุทธรณ์ เลขที่ สภ.๖ (นฐ.๑)/๑๐๖/๒๕๖๑ ถึง ๑๕๐/๒๕๖๑
ลงวนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๑ จ�ำนวน ๔๕ ฉบับ และให้งดหรือลดเบี้ยปรบั และเงนิ เพ่มิ
จำ� เลยใหก้ าร ขอใหย้ กฟอ้ ง
ศาลภาษีอากรกลาง พิพากษาให้เพิกถอนการประเมินตามหนังสือแจ้งการประเมิน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม เลขท่ี ภพ.๗๓.๑-๐๖๗๓๐๐๓๐-๒๕๕๘๐๔๐๘-๐๐๕-๐๐๐๖๘ ถึง ๐๐๑๑๒
ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๘ จ�ำนวน ๔๕ ฉบับ และเพิกถอนค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ เลขที่ สภ.๖
(นฐ.๑)/๑๐๖/๒๕๖๑ ถงึ ๑๕๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๑ จำ� นวน ๔๕ ฉบับ ให้จำ� เลย
ใช้ค่าธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยก�ำหนดค่าทนายความ ๑๐,๐๐๐ บาท
92
จ�ำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า วัน
ที่ ๔ สงิ หาคม ๒๕๕๗ เจ้าพนักงานของจ�ำเลยตรวจปฏิบัตกิ ารทส่ี �ำนักงานของโจทกแ์ ลว้ พบว่า
โจทกป์ ระกอบกิจการผลติ และจำ� หนา่ ยสินค้า ดังน้ี (๑) ไคโตซานน�ำ้ (หรอื ปุ๋ยชวี ภาพไคโตซาน)
(๒) ไคโตซานเม็ด (๓) อนิ ทรีย์น�้ำ (หรืออินทรยี ป์ แู ดง) (๔) อนิ ทรยี ผ์ ง (หรือฮิวมคิ หรอื ผงชูรสพชื )
(๕) สมนุ ไพรน�้ำ (๖) ภไู มท์ (๗) กล่องบรรจุภัณฑ์ สกอตเทป และถังนำ�้ (๘) ยาสีฟันสมุนไพร
(๙) ชดุ ผลติ ภณั ฑน์ ำ�้ ยาซกั ผา้ และ (๑๐) ปยุ๋ ยเู รยี ตอ่ มาเจา้ พนกั งานของจำ� เลยแจง้ การประเมนิ ภาษี
มลู คา่ เพมิ่ สำ� หรบั เดอื นภาษมี กราคม ๒๕๕๓ ถงึ เดอื นภาษกี นั ยายน ๒๕๕๖ รวม ๔๕ ฉบบั โจทก์
ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การประเมนิ จงึ ไดย้ นื่ อทุ ธรณ์ คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณม์ คี ำ� วนิ จิ ฉยั ใหล้ ดภาษี
บางส่วนลง และลดเบยี้ ปรับลงคงเรียกเก็บรอ้ ยละ ๔๐ ของเบ้ียปรับตามกฎหมาย
คดีมีปัญหาที่ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยว่า การขายสินค้าพิพาทของโจทก์
ได้รับยกเวน้ ภาษมี ลู ค่าเพ่มิ ตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) หรอื มาตรา ๘๑ (๑) (จ)
หรือไม่ ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษโดยมติที่ประชุมแผนกคดีภาษีอากร เห็นว่า ตามประมวล
รษั ฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) บญั ญตั ใิ หย้ กเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ สำ� หรบั การประกอบกจิ การประเภท
การขายปยุ๋ และมาตรา ๘๑ (๑) (จ) บัญญตั ิใหย้ กเวน้ ภาษมี ูลค่าเพิม่ ส�ำหรบั การประกอบกิจการ
ประเภทการขายยาหรอื เคมภี ณั ฑท์ ี่ใช้ส�ำหรับพชื หรอื สตั ว์ เพ่ือบ�ำรงุ รกั ษา ป้องกนั ทำ� ลาย หรอื
ก�ำจัดศัตรูหรือโรคของพืชและสัตว์ โดยประมวลรัษฎากรมิได้ให้ค�ำจ�ำกัดความของค�ำว่า “ปุ๋ย”
“ยา” หรอื “เคมภี ณั ฑ”์ ไว้ แตเ่ มอ่ื พจิ ารณาจากคำ� จำ� กดั ความตามพระราชบญั ญตั ปิ ยุ๋ พ.ศ. ๒๕๑๘
มาตรา ๓ บัญญตั วิ า่ “ปุ๋ย” หมายความวา่ สารอนิ ทรีย์ อนิ ทรยี ์สงั เคราะห์ อนินทรีย์ หรอื จลุ นิ ทรีย์
ไมว่ า่ จะเกดิ ขนึ้ โดยธรรมชาตหิ รอื ทำ� ขน้ึ กต็ าม สำ� หรบั ใชเ้ ปน็ ธาตอุ าหารพชื ไดไ้ มว่ า่ โดยวธิ ใี ด หรอื
ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี กายภาพ หรือชีวภาพในดินเพื่อบ�ำรุงความเติบโตแก่พืช
ซ่ึงสอดคล้องกบั ค�ำว่า “ปยุ๋ ” ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ซงึ่ หมายถงึ ส่งิ ท่ี
ใสล่ งไปในดนิ หรอื ใหธ้ าตอุ าหารพชื หนง่ึ หรอื หลายธาตุ ดงั นน้ั คำ� วา่ “ปยุ๋ ” จงึ หมายถงึ สารอนิ ทรยี ์
อินทรียสังเคราะห์ อนินทรีย์ หรือ จุลินทรีย์ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือท�ำขึ้นก็ตามที่ใส่
ลงไปในดิน ส�ำหรับใช้เป็นธาตุอาหารแก่พืชไม่ว่าโดยวิธีใด หรือท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
เคมีกายภาพ หรือชีวภาพในดินเพ่ือบ�ำรุงความเติบโตแก่พืช ส่วนค�ำว่า “ยา” ตามพจนานุกรม
ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หมายถึง ส่ิงท่ีแก้หรือป้องกันโรค และคำ� ว่า “เคมภี ณั ฑ”์
หมายถึง สารบริสุทธิ์ที่เตรียมได้โดยกรรมวิธีเคมีหรือท่ีใช้ในกรรมวิธีเคมี ส�ำหรับผลิตภัณฑ์
ของโจทก์ลำ� ดบั ที่ (๑) ไคโตซานนำ้� (หรือป๋ยุ ชีวภาพไคโตซาน) และลำ� ดับท่ี (๒) ไคโตซานเมด็
93
เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ กนั ยายน ๒๕๕๓ ตวั แทนกลมุ่ เกษตรกรนาขา้ วสพุ รรณบรุ ซี ง่ึ ไดท้ ดลองใชผ้ ลติ ภณั ฑ์
ไคโตซานของบริษัทโจทก์แล้วได้ผลดี แต่ยังไม่มีข้อมูลท่ีชัดเจนเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ไคโตซาน
จงึ ไดม้ หี นงั สอื สอบถามไปยงั กรมวชิ าการเกษตรวา่ ผลติ ภณั ฑไ์ คโตซานของบรษิ ทั โจทก์ สามารถ
ใชก้ บั นาขา้ วไดห้ รอื ไม่ มคี วามปลอดภยั และสามารถใชต้ อ่ ไปไดห้ รอื ไม่ โดยกรมวชิ าการเกษตรมี
หนังสือตอบว่า “๑. ไคโตซานเป็นโพลิเมอรธ์ รรมชาติท่พี บมากในส่วนประกอบทีเ่ ป็นเปลือกแข็ง
ของสัตวจ์ �ำพวกกุ้ง ปลาหมกึ แมลง สามารถยอ่ ยสลายตามธรรมชาติ มคี วามปลอดภยั ในการน�ำ
มาใชก้ บั มนษุ ย์ ไมเ่ ปน็ พษิ กบั พชื ไมเ่ กดิ ผลเสยี และปลอดภยั กบั สงิ่ แวดลอ้ ม ๒. ผลของไคโตซาน
เป็นสารที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการของพืช ได้แก่ ๒.๑ มีฤทธ์ิในการยับย้ังหรือฆ่าแบคทีเรีย
รา และแมลงศตั รพู ชื หลายชนดิ ๒.๒ ประกอบดว้ ยธาตไุ นโตรเจน เมอ่ื สลายตวั จะเพมิ่ ธาตอุ าหาร
ใหแ้ ก่ดนิ ๒.๓ มีความสามารถในการจับไอออน เช่น โปตัสเซียม แคลเซียม แมกนีเซยี ม เหลก็
ฟอสเฟต และไนเตรต ทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ล้วค่อย ๆ ปลดปลอ่ ยให้กบั พชื สามารถลดการชะลา้ ง
และชว่ ยใหก้ ารใชป้ ยุ๋ มปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ๒.๔ กระตนุ้ ใหพ้ ชื สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั โรคพชื ชว่ ยกระตนุ้
ให้เมล็ดพืชสร้างเอนไซม์ไคติเนสท่ีสามารถป้องกันเมล็ดจากการท�ำลายจากเช้ือราได้
๒.๕ มีผลต่อการปิดปากใบของพืช ท�ำให้ปากใบของพืชหรี่ลง ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้น�้ำ
๒.๖ สามารถนำ� มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเกษตรโดยเฉพาะการเพาะปลกู เพอ่ื ชว่ ยลดการใชป้ ยุ๋ และยา
ฆา่ แมลง โดยทม่ี คี วามปลอดภยั ในการใชส้ งู และไมเ่ ปน็ พษิ ตอ่ ผบู้ รโิ ภค ๓. ผลจากการทำ� วจิ ยั ของ
กรมวิชาการเกษตรพบว่า การใช้ไคโตซานได้ผลดีต้องมีปัจจัยอื่น ๆ มาเก่ียวข้อง ซ่ึงแต่ละพืช
ต้องการต่างกัน เชน่ ชนดิ ของไคโตซาน ขนาดของโมเลกลุ ความเข้มขน้ ระยะเวลา อัตราและ
ความถ่ีในการใช้ อย่างไรก็ตาม ผลวิจัยท่ีทดลองกับข้าว กล้วยไม้ ถั่วเหลือง ถั่วเหลืองฝักสด
และกระเจี๊ยบเขียว พบว่าการใช้ไคโตซานดีกว่าการไม่ใช้...” และตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
๒๐๑๑ ซึ่งจัดท�ำขึ้นโดยส�ำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ หรือ มกท. ระบุว่า “ไคติน” หรือ
เรียกวา่ ไคโตซาน ทม่ี าจากธรรมชาติ เช่น เปลือกสตั ว์ทะเล เปลือกก้งุ และปู สามารถน�ำมาใช้
ในการป้องกันก�ำจัดศัตรูพืช/โรคพืช/วัชพืช และใช้เป็นสารเร่งการเจริญเติบโต นอกจากน้ียังมี
บทความและผลการวิจยั ตา่ ง ๆ ทสี่ นับสนนุ การใช้สารไคโตซานเพอ่ื สรา้ งความแข็งแรงให้กับพืช
และใช้ในการป้องกันโรคพืช เช่น บทความการใช้ไคติน/ไคโตซานในการเกษตร บทความของ
คุณลาวัลย์ จีระพงษ์ กลุ่มงานชีววิธี ส่วนบริหารศัตรูพืช ส�ำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร
บทความการปรับใช้ไคโตซานในพืชเศรษฐกิจ (ควบคุมโรคไหม้ในข้าว) บทความไคโตซานกับ
การยับยั้งเช้ือจุลินทรีย์ วารสารเพ่ือการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม บทความผลของ
94
ไคโตซานต่อการงอกของสปอร์และการเจริญเติบโตของเส้นใยเช้ือราสาเหตุโรคพืช บทความ
การใช้สารไคโตซานในการป้องกันจ�ำกัดโรคล�ำต้นเน่าของปาล์มน้�ำมัน กลุ่มวิจัยโรคพืช ส�ำนักวิจัย
พฒั นาการอารกั ขาพชื บทความการใชส้ ารสกดั จากพชื และ chitosan ในการควบคมุ เพลย้ี ไฟศตั รู
เบญจมาศหลังการเก็บเก่ียว บทความวิจัย เร่ือง ผลของไคโตซานต่อการชักน�ำความต้านทาน
เชื้อราในตน้ ออ่ นมะละกอ รายงานการประชมุ เสนอผลงานวิจัยระดบั บณั ฑิตศกึ ษา มสธ. คร้ังท่ี ๓
เรื่อง การศึกษาผลของการใช้สารไคโตซานในการผลิตผักคะน้า เอกสารประกอบการสัมมนา
เรอื่ ง การใชไ้ คโตซานในการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอ่ื พชื จดั โดยจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และผลงานวจิ ยั
การผลติ ไคตนิ -ไคโตซานสำ� หรบั ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรม ซงึ่ จดั ทำ� ขนึ้ โดยศนู ยเ์ ทคโนโลยโี ลหะ
และวสั ดแุ หง่ ชาติ (MTEC) ไคโตซานเปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ส่ี กดั มาจากเปลอื กกงุ้ และเปลอื กปู สามารถ
ย่อยสลายตามธรรมชาติ มีความปลอดภัยในการน�ำมาใช้กับมนุษย์ ไม่เป็นพิษกับพืช ไม่เกิด
ผลเสยี และปลอดภัยกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ยธาตุไนโตรเจน เม่ือสลายตัวจะเพ่มิ ธาตอุ าหาร
ใหแ้ กด่ นิ มฤี ทธิใ์ นการยับยงั้ หรือฆ่าแบคทเี รีย รา และแมลงศัตรพู ชื หลายชนดิ มคี วามสามารถ
ในการจบั ไอออน เช่น โปตสั เซยี ม แคลเซียม แมกนีเซียม เหลก็ ฟอสเฟต และไนเตรต ท่ีเปน็
ประโยชน์แล้วค่อย ๆ ปลดปล่อยให้กับพืช กระตุ้นให้พืชสร้างภูมิคุ้มกันโรคพืช ช่วยกระตุ้นให้
เมล็ดพืชสร้างเอนไซม์ไคติเนสท่ีสามารถป้องกันเมล็ดจากการท�ำลายจากเช้ือราได้ ทั้งได้ความ
จากเกษตรกรว่าผลิตภัณฑ์ไคโตซานเมื่อใช้กับนาข้าว พืชผัก ผลไม้ ท�ำให้ข้าวแตกกอดี เจริญ
เติบโต ต้านทานเช้ือโรคต่าง ๆ ได้ดี และยังได้มีการน�ำผลิตภัณฑ์ของโจทก์ไปใช้ในโครงการ
ของมูลนิธิสายใจไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ในการท�ำเกษตรแบบอินทรีย์ ก็ปรากฏว่าพืชเจริญ
เตบิ โตและแขง็ แรงดี ไมท่ ำ� ลายสงิ่ แวดลอ้ ม แสดงวา่ ผลติ ภณั ฑข์ องโจทกล์ ำ� ดบั ท่ี (๑) ไคโตซานนำ้�
(หรือปุ๋ยชีวภาพไคโตซาน) และล�ำดับท่ี (๒) ไคโตซานเม็ด ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมี กายภาพ หรอื ชวี ภาพในดนิ เพอ่ื บำ� รงุ ความเตบิ โตแกพ่ ชื และยงั ชว่ ยบำ� รงุ รกั ษา ปอ้ งกนั
ทำ� ลายหรือกำ� จดั ศตั รูหรือโรคของพชื ด้วย จึงถือว่าเป็นปุ๋ย และยาหรือเคมีภัณฑ์ทใ่ี ช้สำ� หรับพืช
เพือ่ บ�ำรุง รักษา ป้องกนั ท�ำลาย หรือกำ� จัดศตั รหู รือโรคของพชื ตามประมวลรัษฎากร มาตรา
๘๑ (๑) (ค) และมาตรา ๘๑ (๑) (จ) สำ� หรบั ผลิตภัณฑ์ของโจทก์ล�ำดบั ที่ (๓) อนิ ทรีย์นำ้� (หรือ
อินทรียป์ ูแดง) เปน็ การน�ำปลาปน่ แห้งมาสกัดโปรตีนใหเ้ ปน็ โมเลกุลเลก็ ลงเรียกวา่ “กรดอะมโิ น”
ซึง่ เปน็ กลุม่ อาหารเสริมพืช แล้วนำ� มาปนั่ ผสมกบั สารอนนิ ทรียท์ ่ีเป็นแรธ่ าตตุ ่าง ๆ คือ แมงกานีส
โมลิบดินัม แคลเซียม แมกนีเซียม โบรอน เหล็ก และสังกะสี สามารถน�ำมาใช้ส�ำหรับพืชหรือ
สัตว์ เพ่ือบ�ำรุง รักษา ป้องกัน ท�ำลาย หรือก�ำจัดศัตรูหรือโรคของพืช และน�ำไปใช้เป็นอาหาร
95
แกพ่ ชื ได้ จงึ ถือวา่ เป็นป๋ยุ และยาหรือเคมีภณั ฑท์ ีใ่ ชส้ ำ� หรับพืช เพือ่ บ�ำรงุ รกั ษา ป้องกัน ทำ� ลาย
หรือก�ำจัดศัตรูหรือโรคของพชื ตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) และมาตรา ๘๑ (๑) (จ)
ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ของโจทก์ล�ำดับที่ (๔) อินทรีย์ผง (หรือฮิวมิคหรือผงชูรสพืช) เป็นการน�ำแร่
ลโี อนาไดสซ์ งึ่ เปน็ แรท่ เ่ี กดิ จากการทบั ถมของซากพชื ซากสตั วม์ าสกดั สารฮวิ มคิ แอซดิ ซง่ึ มปี รมิ าณ
สารอนิ ทรยี วัตถุจ�ำนวนมาก และมแี ร่ตา่ ง ๆ ที่เปน็ ประโยชนแ์ ละจำ� เป็นต่อพืช เพอื่ ชว่ ยปรบั ปรงุ
สภาพของดิน ทำ� ใหพ้ ชื เจรญิ เติบโตแข็งแรง ตามข้อมูลการนำ� เสนอเรื่อง “ปฐพีศาสตร์เบ้อื งตน้ ”
โดย ดร. น. ได้กล่าวถงึ กรดฮวิ มิคว่า กรดฮวิ มิคจากธรรมชาติ อุดมด้วยสารอินทรยี ์ทีม่ ปี ระโยชน์
และใช้เป็นสารกระตุ้นทางชีวภาพในด้านการเกษตร มีประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพการ
ดูดซึมแรธ่ าตุของพชื ลดการระเหยของน�้ำในดิน ปรับโครงสรา้ งของดนิ ให้เหมาะสมตอ่ การเจรญิ
ของพชื กระตนุ้ การเกดิ รากและการงอกของเมลด็ และเพมิ่ ผลผลติ ใหแ้ กพ่ ชื เมอื่ ผลติ ภณั ฑอ์ นิ ทรยี ์
ผงประกอบไปด้วยแรธ่ าตตุ ่าง ๆ และสารอนิ ทรยี เ์ ปน็ ส่วนผสม เพื่อน�ำมาใช้สำ� หรับพชื เพ่ือชว่ ย
ปรับปรุงสภาพของดิน ท�ำให้พืชเจริญเติบโตแข็งแรงและเพ่ิมผลผลิตให้แก่พืช จึงถือว่าเป็นปุ๋ย
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) สำ� หรบั ผลิตภณั ฑ์ของโจทกล์ �ำดบั ที่ (๕) สมนุ ไพรนำ�้
เป็นการสกัดเอาสารท่ีมีประโยชน์จากพืช เช่น สกัดเอาสารอลิซินซ่ึงมีกลิ่นฉุนจากกระเทียม
สกัดเอาน�้ำมันจากตะไคร้หอม สกัดเอาสารแค๊ปไซซินซ่ึงมีคุณสมบัติเผ็ดร้อนจากพริก มาผสม
กบั น้ำ� สม้ ควนั ไม้ สารท�ำละลายอนิ ทรีย์ ขมน้ิ ผง เอทิลแอลกอฮอล์ และสารลดแรงตงึ ผวิ ให้เป็น
เนื้อเดยี วกัน เพือ่ ใชไ้ ลแ่ มลงศตั รูตา่ ง ๆ ของพืช ซ่ึงจากบทความเรื่อง พรกิ ... สมุนไพรน่าสนใจ
ใช้ควบคุมศัตรูพชื ยงั ระบวุ า่ ปัจจบุ นั กรมส่งเสรมิ การเกษตรได้แนะน�ำให้นำ� สารสกดั จากพริกมา
ป้องกนั ก�ำจัดมด เพลย้ี อ่อน เพลยี้ ไฟ หนอนผเี สอ้ื ดว้ งปกี แข็ง หนอนเจาะกะหลำ่� ปลี ด้วงงวงขา้ ว
ผลงานวิจัยสารสกัดจากพริกขี้หนู และผลงานวิจัยการควบคุมโรคเกสรด�ำในกล้วยไม้สกุลหวาย
หลังการเก็บเก่ียว นอกจากนี้ยังมีรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การศึกษาการใช้สารสกัด
พืชสมุนไพรบางชนิดในการยับย้ังการเจริญของเชื้อรา เมื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพรน�้ำเป็นสารสกัด
ธรรมชาติ ใช้ส�ำหรับป้องกัน ก�ำจัด และควบคุมศัตรู รวมถึงเช้ือราที่เป็นสาเหตุส�ำคัญของ
โรคพืช จึงถือว่าเป็นยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้ส�ำหรับพืช เพ่ือบ�ำรุง รักษา ป้องกัน ท�ำลาย หรือ
กำ� จัดศัตรหู รือโรคของพืช ตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (จ) สำ� หรับผลิตภณั ฑข์ องโจทก์
ล�ำดับท่ี (๖) ภูไมท์ เป็นสารอนินทรีย์ท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีแร่ธาตุฟอสฟอรัส ท่ีช่วยท�ำให้
รากพืชมีการเจริญเติบโตท่ีดี หาอาหารได้มากข้ึน และยังมีแคลเซียมที่ช่วยท�ำให้ผนังเซลล์
ของพืชแข็งแรง น�ำมาใช้ในการปรับปรุงสภาพดินให้โปร่ง ร่วน ซุย ท�ำให้ดินมีการระบาย
96
ถา่ ยเทนำ้� ไดด้ ขี นึ้ ปรากฏตามผลงานวจิ ยั บทคดั ยอ่ เรอ่ื ง อทิ ธพิ ลของการใชภ้ ไู มทซ์ ลั เฟตรว่ มกบั
ปุ๋ยพืชสดต่อการเจริญเติบโตผลผลิตข้าว และยังสามารถใช้ภูไมท์เป็นปัจจัยในการผลิตปุ๋ยและ
สารปรับปรุงดิน ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ๒๐๑๑ เม่ือผลิตภัณฑ์ภูไมท์ประกอบ
ไปด้วยสารอนินทรีย์ ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมีในดินเพ่ือบ�ำรุงความเติบโตแก่พืช
จงึ ถอื วา่ เปน็ ปยุ๋ ตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ค) อทุ ธรณข์ องจำ� เลยฟงั ไมข่ น้ึ สว่ นอทุ ธรณ์
ข้ออ่นื ของจ�ำเลยไม่จำ� ต้องวินจิ ฉยั เพราะไม่ท�ำใหผ้ ลของคดเี ปล่ียนแปลงไป
พพิ ากษายืน ใหจ้ ำ� เลยใช้ค่าทนายความชน้ั อทุ ธรณ์แทนโจทก์ ๕๐,๐๐๐ บาท.
(วชิ ยั จิตตาณิชย์ - วิวฒั น์ สุวณั ณะสังข์ - เดชา คำ� สิทธ)ิ
ธนสร สุทธบิ ดี - ยอ่
วนี ัส นมิ ติ กุล - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี งึ ท่สี ดุ
97
ค�ำพพิ ากษาศาลอุทธรณค์ ดชี �ำนญั พิเศษที่ ๑๔๓๑/๒๕๖๓ บริษัทเอ-โฮสต์
(ประชมุ ใหญ่) จ�ำกัด โจทก์
จำ� เลย
กรมสรรพากร
ป.รษั ฎากร มาตรา ๒๗ ตร,ี ๗๐
โจทก์ในฐานะผจู้ ่ายเงินให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. มีหน้าท่ตี ้องหักเงินไดท้ ี่
จ่ายให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. ในอัตราตามกฎหมายแล้วน�ำส่งให้แก่จ�ำเลยตาม
บทบัญญัติดังกล่าว ในขณะเดียวกันโจทก์ก็มีนิติสัมพันธ์ต้องช�ำระค่าตอบแทนให้แก่
IBM Singapore Pte Ltd. เป็นจ�ำนวนเท่ากับที่ก�ำหนดในสัญญาโดยหักภาษี ณ ที่จ่าย
ในอัตราท่ีถูกต้อง เม่ือข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่าในแต่ละคร้ังท่ีช�ำระเงินค่าตอบแทน
ตามสญั ญาใหแ้ ก่ IBM Singapore Pte Ltd. โจทกม์ หี นา้ ทหี่ กั ภาษี ณ ทจี่ า่ ยในอตั รารอ้ ยละ ๕
และนำ� สง่ ใหแ้ กจ่ ำ� เลยตามมาตรา ๗๐ แหง่ ป.รษั ฎากร แตโ่ จทกก์ ลบั หกั ภาษี ณ ทจี่ า่ ยจาก
เงนิ ไดข้ อง IBM Singapore Pte Ltd. ในอตั รารอ้ ยละ ๑๕ แลว้ นำ� สง่ ใหแ้ กจ่ ำ� เลย ดว้ ยเหตนุ ี้
โจทก์ยังมีนิติสัมพันธ์ที่ต้องช�ำระเงินเป็นจ�ำนวนเท่ากับส่วนต่างของภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย
ที่โจทก์ได้หักและน�ำส่งแก่จ�ำเลยไว้เกินให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. โดย
โจทก์มิได้ช�ำระเงินจ�ำนวนน้ีให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. ไปตามอ�ำเภอใจ และ IBM
Singapore Pte Ltd. มีสิทธิท่ีจะรับช�ำระเงิน จ�ำนวนดังกล่าวจากโจทก์เช่นกัน ทั้งยัง
ได้ความอีกว่า IBM Singapore Pte Ltd. เป็นผู้มีเงินได้ได้รับหนังสือรับรองการหักภาษี
ณ ท่ีจ่ายของเงินได้ในอัตราร้อยละ ๕ จากจ�ำเลยไปแล้ว IBM Singapore Pte Ltd.
จงึ มิได้มีสถานะเป็นผู้เสียภาษอี ากรซ่ึงไดช้ ำ� ระภาษีอากรไว้เกิน IBM Singapore Pte Ltd.
ย่อมไม่มีสิทธิขอคืนส่วนต่างของภาษีหัก ณ ที่จ่าย จึงฟังได้ว่าเงินที่โจทก์ได้หักและ
น�ำส่งแก่จ�ำเลยเป็นเงินของโจทก์ โจทก์จึงเป็นผู้มีสิทธิขอคืนตามมาตรา ๒๗ ตรี แห่ง
ป.รัษฎากร ประกอบระเบียบกรมสรรพากรว่าด้วยการคืนเงินภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ ๔ (๔) เม่ือจ�ำเลยได้รับช�ำระเงินเกินกว่าภาษีท่ีต้องช�ำระ จ�ำเลยจึงต้องคืนเงินส่วน
ทีเ่ กนิ ให้แก่โจทก์ผมู้ ีสทิ ธิในเงินดังกลา่ ว แม้วา่ โจทก์มิไดเ้ ป็นผเู้ สยี ภาษี
______________________________
98
โจทกฟ์ อ้ ง ขอใหเ้ พกิ ถอนหนงั สอื แจง้ ไมค่ นื เงนิ ภาษอี ากร ที่ กค ๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๔
และ ท่ี กค ๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๕ ลงวนั ท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และเพกิ ถอนคำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์
ของสรรพากรภาค ๑ ปฏบิ ตั ริ าชการแทนอธบิ ดจี ำ� เลย ตามหนงั สอื เลขที่ กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๐๘๓๑
ลงวันท่ี ๑๗ กันยายน ๒๕๖๑ และหนังสือ เลขท่ี กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๑๓๓๐ ลงวันท่ี
๒๕ กันยายน ๒๕๖๑ และให้จ�ำเลยคืนเงินภาษีเงินได้นิติบุคคล หัก ณ ที่จ่าย ส�ำหรับ
เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๒๖๑,๐๘๒ บาท และ ๒,๔๙๙,๑๕๖.๙๖ บาท ตามล�ำดับ
พร้อมดอกเบ้ียในอัตราร้อยละ ๑ ต่อเดือน นับแต่วันถัดจากวันครบระยะเวลาสามเดือนนับแต่
วนั ทคี่ ดีถึงที่สุดเป็นต้นไปจนกวา่ จำ� เลยจะชำ� ระเสรจ็
จำ� เลยใหก้ าร ขอใหย้ กฟ้อง
ศาลภาษีอากรกลาง พิพากษาให้เพิกถอนค�ำส่ังไม่คืนภาษีแก่โจทก์ตามหนังสือ
ส�ำนักงานสรรพากรพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ๔ เลขท่ี กค ๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๔ ลงวันที่ ๔
พฤษภาคม ๒๕๖๑ และเลขท่ี กค ๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๕ ลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑ กับ
ค�ำวินิจฉัยการอุทธรณ์ค�ำส่ังไม่คืนเงินภาษีอากรตามหนังสือส�ำนักงานสรรพากรภาค ๑ เลขท่ี
กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๐๘๓๑ ลงวันที่ ๑๗ กนั ยายน ๒๕๖๑ และเลขที่ กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๑๓๓๐
ลงวนั ที่ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๑ ใหจ้ ำ� เลยคนื เงนิ ภาษอี ากรรวม ๒,๗๖๐,๒๓๘.๙๖ บาท พรอ้ มดอกเบย้ี
ในอัตราร้อยละ ๑ ต่อเดือน นับแต่วันถัดจากวันครบระยะเวลาสามเดือนนับแต่วันท่ีคดีถึงท่ีสุด
เป็นต้นไปจนถึงวันท่ีลงในหนังสือแจ้งค�ำสั่งคืนเงิน แต่ทั้งนี้ดอกเบ้ียต้องไม่เกินจ�ำนวนเงิน
ภาษีอากรท่ีได้รับคืน กับให้จ�ำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยก�ำหนดค่าทนายความ
๑๐,๐๐๐ บาท
จ�ำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า เม่ือ
เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ โจทก์จ่ายเงินให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. (บริษัทไอบีเอ็ม
(ประเทศสิงคโปร์) จ�ำกัด) เป็นค่าสิทธิตามความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย
กับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ เพ่ือการเว้นการเก็บภาษีซ้อนและการป้องกันการเลี่ยงการ
รษั ฎากรในสว่ นท่เี ก่ยี วกับภาษีเงินได้ ขอ้ ๑๒ ประกอบประมวลรษั ฎากร มาตรา ๔๐ (๓) จ�ำนวน
๒,๖๑๐,๘๒๐.๒๐ บาทและ ๒๔,๙๙๑,๕๖๓.๕๕ บาท ตามล�ำดบั แล้วนำ� สง่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล
หัก ณ ท่ีจา่ ยตามประมวลรัษฎากรมาตรา ๗๐ ในอตั รารอ้ ยละ ๑๕ จ�ำนวน ๓๙๑,๖๒๓.๐๑ บาท
และ ๓,๗๔๘,๗๓๕.๑๓ บาท ตอ่ มาโจทกพ์ บวา่ โจทกน์ ำ� สง่ ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล หกั ณ ทจ่ี า่ ยไวเ้ กนิ
99
เนอื่ งจากมกี ารแกไ้ ขความตกลงระหว่างรฐั บาลแหง่ ราชอาณาจกั รไทยกบั รฐั บาลแหง่ สาธารณรฐั
สิงคโปร์ เพ่ือการเว้นการเก็บภาษีซ้อนและการป้องกันการเล่ียงการรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ
ภาษเี งินได้ ฉบับแก้ไขมีผลบงั คบั ใชว้ ันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐ โจทก์มหี น้าทนี่ �ำสง่ ภาษเี งินไดน้ ติ บิ ุคคล
หกั ณ ที่จ่ายในอตั ราร้อยละ ๕ โจทกข์ อให้ส�ำนักงานสรรพากรภาค ๑ ออกหนังสอื รบั รองการหักภาษี
ณ ท่ีจา่ ยให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. ตามจำ� นวนทถ่ี กู ต้อง คอื รอ้ ยละ ๕ และไดร้ ับหนงั สอื
รับรองการหกั ภาษี ณ ท่ีจ่ายให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. ตามท่โี จทกร์ ้องขอ และโจทกไ์ ดจ้ ดั
สง่ หนังสอื รับรองการหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย ท้ังสองฉบับดังกล่าวให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. แลว้
เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ โจทก์ยื่นค�ำร้องขอคืน
เงินภาษที น่ี ำ� สง่ ไวเ้ กินจากจ�ำเลยสำ� หรับเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ จำ� นวน ๒๖๑,๐๘๒ บาท และ
๒,๔๙๙,๑๕๖.๙๖ บาท ตามคำ� ร้องขอคืนเงนิ ภาษีอากร (ค.๑๐) ลงวนั ท่ี ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐
และวันท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ต่อมาจ�ำเลยมหี นังสอื แจ้งไม่คืนเงนิ ภาษอี ากร ท่ี กค ๐๗๑๙.๐๔
(ภค)/๔๒๔๔ และที่ กค ๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๕ ลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ถงึ โจทก์ เมอ่ื
วนั ท่ี ๑๘ และ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ โจทกย์ น่ื อุทธรณ์ ๒ ฉบับ ต่อมาจำ� เลยมีหนังสือ เลขที่
กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๐๘๓๑ ลงวนั ที่ ๑๗ กนั ยายน ๒๕๖๑ และเลขท่ี กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๑๓๓๐
ลงวันท่ี ๒๕ กันยายน ๒๕๖๑ วินิจฉัยว่า ค�ำส่ังส�ำนักงานสรรพากรพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ๔
ที่ไม่อนุมัติคืนเงินภาษีเงินได้นิติบุคคล หัก ณ ที่จ่าย ส�ำหรับเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ จ�ำนวน
๒๖๑,๐๘๒ บาท และ ๒,๔๙๙,๑๕๖.๙๖ บาท ชอบแล้ว
คดมี ปี ญั หาตอ้ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข์ องจำ� เลยประการแรกวา่ จำ� เลยแจง้ ไมค่ นื เงนิ ภาษี
อากรแก่โจทก์ตามหนังสือแจ้งไม่คืนเงินภาษีอากร ท่ี กค ๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๔ และที่ กค
๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๕ ลงวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และค�ำวนิ จิ ฉยั อุทธรณข์ องสรรพากรภาค ๑
ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีจ�ำเลย ตามหนังสือ เลขที่ กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๐๘๓๑ ลงวันที่
๑๗ กนั ยายน ๒๕๖๑ และหนังสือ เลขท่ี กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๑๓๓๐ ลงวนั ท่ี ๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๑
ชอบหรอื ไม่ สมควรเพกิ ถอนหรอื ไม่ เห็นวา่ โจทกม์ ีนางสาวสพุ ชิ ญนันทน์ มาเบกิ ความประกอบ
เอกสารหมาย ล.๑ แผ่นท่ี ๘๗ ถึง ๘๙ และเอกสารหมาย ล.๒ แผ่นท่ี ๑๑๑ ถึง ๑๑๓ ซึ่ง
ระบุว่า เม่อื วันท่ี ๒๙ มนี าคม ๒๕๖๐ โจทก์โอนเงนิ ตราตา่ งประเทศซึง่ คำ� นวณเปน็ สกุลเงินบาท
เปน็ ๒๕๓,๑๔๙.๐๕ บาท และ ๒,๔๐๗,๒๔๘.๖๒ บาท ไปยงั บัญชธี นาคารของ IBM Singapore
Pte Ltd. และยังมีเอกสารหมาย ล.๑ แผ่นที่ ๗๒ ถึง ๗๓ เอกสารหมาย ล.๒ แผ่นท่ี ๑๐๔
และ ๑๐๕ เอกสารหมาย ล.๓ แผน่ ท่ี ๘๘ ถงึ ๙๖ และเอกสารหมาย ล.๔ แผ่นท่ี ๑๑๔ ถึง ๑๒๒
100
เปน็ พยานหลกั ฐานสนบั สนนุ คำ� เบกิ ความดว้ ยวา่ โจทกไ์ ดแ้ สดงหลกั ฐานการคนื เงนิ คา่ ภาษสี ว่ นที่
โจทก์หักไว้เกินในชั้นย่ืนค�ำร้องขอคืนภาษีและชั้นพิจารณาอุทธรณ์ต่อจ�ำเลยแล้ว นอกจากนี้
เอกสารการโอนเงนิ ดังกลา่ วยังระบุวา่ จดั ท�ำขนึ้ ในวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๐ ใกลเ้ คียงกับวนั ท่ี ๓๐
มนี าคม ๒๕๖๐ ซง่ึ เป็นวันท่ีจำ� เลยออกหนังสอื รับรองการหักภาษี ณ ทจี่ ่าย ตามอตั ราท่ถี ูกต้อง
ให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd. สนับสนุนค�ำเบิกความของพยานโจทก์ให้มีน้�ำหนักมากกว่า
พยานของจ�ำเลยท่มี เี พยี งค�ำเบกิ ความลอย ๆ ของนายสุภณชั เทา่ นั้น ขอ้ เทจ็ จริงจึงฟงั ไดต้ ามที่
โจทกน์ �ำสบื วา่ โจทกไ์ ด้โอนเงินใหแ้ ก่ IBM Singapore Pte Ltd. เพือ่ ชดเชยเงินภาษสี ว่ นท่หี ักไว้
และน�ำส่งให้แก่จ�ำเลยเกินจ�ำนวน และโจทก์ได้ส่งหลักฐานดังกล่าวให้แก่จ�ำเลยต้ังแต่ในช้ัน
พจิ ารณาคำ� รอ้ งขอคนื เงนิ ภาษแี ละชนั้ พจิ ารณาอทุ ธรณแ์ ลว้ ศาลภาษอี ากรกลางยอ่ มมอี ำ� นาจยก
ประเดน็ ดงั กล่าวข้นึ วินจิ ฉยั ได้ ทศี่ าลภาษีอากรกลางวินจิ ฉัยว่า โจทกไ์ ดช้ ำ� ระเงนิ ให้แก่ IBM Sin-
gapore Pte Ltd. เพื่อชดเชยเงินภาษีที่หักไว้เกินอัตราและน�ำส่งให้จ�ำเลยจึงชอบแล้ว ข้ออ้าง
ตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยฟังไม่ขึ้น ส่วนท่ีจ�ำเลยอุทธรณ์อ้างว่า โจทก์ไม่ส่งค�ำแปลเอกสารหมาย ล.๑
แผน่ ที่ ๘๙ และ ล.๒ แผน่ ท่ี ๑๑๓ ซง่ึ เป็นภาษาตา่ งประเทศทำ� ให้ศาลไม่สามารถรบั ฟังเอกสาร
ดงั กล่าวเปน็ พยานได้น้ัน เห็นว่า แม้เอกสารหมาย ล.๑ แผน่ ท่ี ๘๙ และ ล.๒ แผน่ ท่ี ๑๑๓ จดั ทำ� ขึน้
เปน็ ภาษาตา่ งประเทศและโจทกม์ ไิ ดท้ ำ� คำ� แปลเปน็ ภาษาไทยกต็ าม แตค่ คู่ วามกส็ ามารถสง่ พยาน
เอกสารซึ่งท�ำข้ึนเป็นภาษาต่างประเทศต่อศาลได้โดยไม่จ�ำต้องท�ำค�ำแปลเป็นภาษาไทยย่ืน
ต่อศาลเสมอไป เว้นเสียแต่ศาลส่ังให้ท�ำค�ำแปล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๔๖ วรรคสาม ประกอบพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลภาษอี ากรและวธิ พี จิ ารณาคดภี าษอี ากร
พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗ ดังน้ันกรณีจึงย่อมรับฟังเอกสารดังกล่าวเป็นพยานหลักฐานของ
โจทกไ์ ด้ ส่วนท่ีจ�ำเลยอทุ ธรณ์ตอ่ ไปว่า โจทกม์ หี น้าทห่ี ักภาษี ณ ที่จ่าย จากเงนิ ค่าใชโ้ ปรแกรม
คอมพวิ เตอรท์ จี่ ำ� หน่ายเปน็ เงนิ ไดข้ อง IBM ตามมาตรา ๔๐ (๓) แหง่ ประมวลรษั ฎากร หากโจทก์
นำ� สง่ ภาษหี กั ณ ทจี่ า่ ย ดงั กลา่ วเกนิ กวา่ ทค่ี วรตอ้ งชำ� ระแกจ่ ำ� เลยจรงิ กรณเี ชน่ นตี้ อ้ งดว้ ยประมวล
รัษฎากร มาตรา ๒๗ ตรี IBM Singapore Pte Ltd. ซงึ่ เปน็ ผถู้ กู หกั ภาษีเงินไดพ้ งึ ประเมนิ ที่จา่ ย
และน�ำส่งไว้จึงเป็นผู้มีสิทธิขอคืนตามข้อ ๔ ของระเบียบกรมสรรพากรว่าด้วยการคืนเงินภาษี
อากร พ.ศ. ๒๕๓๙ โจทก์ไมใ่ ช่ผ้มู ีสทิ ธิขอคนื ตามกฎหมายน้นั ศาลอทุ ธรณ์คดีชำ� นญั พเิ ศษโดย
มติที่ประชุมใหญ่เห็นว่า ประมวลรัษฎากร มาตรา ๒๗ ตรี วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า “เว้นแต่จะมี
บทบญั ญัตไิ วเ้ ปน็ อยา่ งอื่น การขอคืนภาษีอากรและภาษที ่ถี กู หักไว้ ณ ทีจ่ ่าย และน�ำสง่ แล้วเปน็
จำ� นวนเงนิ เกนิ กวา่ ทคี่ วรตอ้ งเสยี ภาษี หรอื ทไี่ มม่ หี นา้ ทต่ี อ้ งเสยี ใหผ้ มู้ สี ทิ ธขิ อคนื ยน่ื คำ� รอ้ งขอคนื
101
ภายในสามปี นบั แต่วันสดุ ทา้ ยแหง่ ก�ำหนดเวลายื่นรายการภาษตี ามทก่ี ฎหมายกำ� หนด ...” และ
วรรคสองบัญญัติว่า “ค�ำร้องขอคืนตามมาตรานี้ ให้เป็นไปตามแบบท่ีอธิบดีก�ำหนด และให้
ผ้มู สี ิทธิขอคนื ย่ืนคำ� รอ้ งขอคนื ณ ที่วา่ การอำ� เภอท้องที่ท่ีผมู้ ีสิทธขิ อคืนมภี มู ลิ �ำเนาหรอื ณ สถานที่
อ่ืนตามที่อธิบดีก�ำหนด” โดยที่บทบัญญัติดังกล่าวมิได้ก�ำหนดนิยามของค�ำว่า “ผู้มีสิทธิขอคืน”
ไวแ้ ต่อยา่ งใดแตจ่ ำ� เลยกม็ รี ะเบียบกรมสรรพากรวา่ ด้วยการคืนเงนิ ภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๓๙ ข้อ ๔ (๔)
นิยามของค�ำว่า “ผู้ขอคืน” ว่า ผู้มีหน้าท่ีหักภาษี ณ ที่จ่าย ท่ีน�ำเงินของตนส่งภาษีไว้ผิดหรือซ�้ำ
และข้อ ๔ (๕) ผู้เสียประโยชน์จากการช�ำระหรือน�ำส่งภาษีไว้เกินหรือผิดหรือซ�้ำ หรือโดยไม่มี
หนา้ ทีต่ อ้ งเสยี ทงั้ นป้ี ระมวลรัษฎากร มาตรา ๗๐ บญั ญัตวิ า่ “บรษิ ทั หรือห้างห้นุ สว่ นนิติบุคคลที่
ตงั้ ขน้ึ ตามกฎหมายของตา่ งประเทศมไิ ดป้ ระกอบกจิ การในประเทศไทยแตไ่ ดร้ บั เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ
ตามมาตรา ๔๐ (๒) (๓) (๔) (๕) หรือ (๖) ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย ให้บริษัทหรือ
หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลนนั้ เสยี ภาษี โดยใหผ้ จู้ า่ ยหกั ภาษจี ากเงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ทจ่ี า่ ยตามอตั ราภาษี
เงินได้ส�ำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล แล้วน�ำส่งอ�ำเภอท้องที่พร้อมกับยื่นรายการตาม
แบบท่ีอธิบดีก�ำหนดภายในเจ็ดวันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้พึงประเมินน้ัน ทั้งนี้
ใหน้ �ำมาตรา ๕๔ มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม” โดยมาตรา ๕๔ กำ� หนดใหผ้ ูจ้ ่ายเงินที่มิไดห้ ักและนำ� สง่
หรือได้หักและน�ำส่งแล้วแต่ไม่ครบจ�ำนวนต้องร่วมรับผิดกับผู้มีเงินได้ช�ำระเงินภาษีตามจ�ำนวน
ที่ขาดไป ดังนัน้ โจทกใ์ นฐานะผู้จา่ ยเงินใหแ้ ก่ IBM Singapore Pte Ltd. มหี นา้ ท่ตี ้องหกั เงนิ ได้
ทจ่ี า่ ยใหแ้ ก่ IBM Singapore Pte Ltd. ในอตั ราตามกฎหมายแลว้ นำ� สง่ ใหแ้ กจ่ ำ� เลยตามบทบญั ญตั ิ
ดังกล่าว ในขณะเดียวกนั โจทก์กม็ นี ิตสิ มั พนั ธต์ อ้ งช�ำระคา่ ตอบแทนให้แก่ IBM Singapore Pte Ltd.
เป็นจ�ำนวนเท่ากับท่ีก�ำหนดในสัญญาโดยหักภาษี ณ ที่จ่าย ในอัตราท่ีถูกต้องตามบทบัญญัติ
ข้างต้น ดังนั้นเม่ือข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ในแต่ละคร้ังท่ีช�ำระเงินค่าตอบแทนตามสัญญาให้แก่
IBM Singapore Pte Ltd. โจทก์มีหน้าท่ีหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ ๕ และน�ำส่งให้แก่
จำ� เลยตามมาตรา ๗๐ แห่งประมวลรัษฎากร แต่โจทกก์ ลบั หักภาษี ณ ทจ่ี า่ ยจากเงนิ ได้ของ IBM
Singapore Pte Ltd. ในอัตราร้อยละ ๑๕ แลว้ น�ำส่งใหแ้ กจ่ ำ� เลย ด้วยเหตุนโ้ี จทกย์ งั มนี ิติสมั พนั ธ์
ทต่ี อ้ งชำ� ระเงนิ เปน็ จำ� นวนเทา่ กบั สว่ นตา่ งของภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย ทโี่ จทกไ์ ดห้ กั และนำ� สง่ แกจ่ ำ� เลย
ไวเ้ กนิ ใหแ้ ก่ IBM Singapore Pte Ltd. โดยโจทก์มไิ ดช้ ำ� ระเงินจ�ำนวนนีใ้ ห้แก่ IBM Singapore
Pte Ltd. ไปตามอ�ำเภอใจ และ IBM Singapore Pte Ltd. มสี ทิ ธทิ ่จี ะรับชำ� ระเงินจำ� นวนดังกล่าว
จากโจทกเ์ ชน่ กนั ทงั้ ยงั ไดค้ วามอกี วา่ IBM Singapore Pte Ltd. เปน็ ผมู้ เี งนิ ไดไ้ ดร้ บั หนงั สอื รบั รอง
การหักภาษี ณ ทจี่ ่ายของเงินไดใ้ นอัตราร้อยละ ๕ จากจำ� เลยไปแล้ว IBM Singapore Pte Ltd.
102
จึงมไิ ด้มีสถานะเป็นผเู้ สยี ภาษีอากรซึ่งได้ช�ำระภาษีอากรไวเ้ กิน IBM Singapore Pte Ltd. ยอ่ ม
ไมม่ สี ทิ ธขิ อคนื สว่ นต่างของภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย จงึ ฟงั ไดว้ ่าเงนิ ทโ่ี จทกไ์ ดห้ กั และนำ� สง่ แกจ่ ำ� เลยเปน็
เงินของโจทก์ โจทก์จึงเป็นผู้มีสิทธิขอคืนตามมาตรา ๒๗ ตรี แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบ
ระเบียบกรมสรรพากรวา่ ดว้ ยการคนื เงนิ ภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ้ ๔ (๔) เมือ่ จ�ำเลยไดร้ ับชำ� ระ
เงินเกินกว่าภาษีท่ีต้องช�ำระ จ�ำเลยจึงต้องคืนเงินส่วนท่ีเกินให้แก่โจทก์ผู้มีสิทธิในเงินดังกล่าว
แม้ว่าโจทก์มิได้เป็นผู้เสียภาษี นอกจากน้ัน จ�ำเลยยังเคยตอบข้อหารือตามหนังสือ เลขที่ กค
๐๘๑๑(กม)/๑๒๒๓ ว่าธนาคารเปน็ ผขู้ อคนื ภาษเี นอ่ื งจากการหกั ภาษเี งนิ ไดไ้ วเ้ กนิ หรอื ผดิ หรอื ซำ�้
หรอื โดยไมม่ หี นา้ ทตี่ อ้ งเสยี และธนาคารไดช้ ดใชน้ ำ� เงนิ เขา้ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคารของผฝู้ ากไปแลว้
ให้พิจารณาคืนภาษีให้แก่ธนาคารได้ แม้จ�ำเลยจะอ้างในอุทธรณ์ว่าข้อเท็จจริงตามข้อหารือ
ดงั กล่าวไม่ตรงกบั ข้อเท็จจริงในคดนี ้ี แต่เม่ือพิจารณาขอ้ หารือดงั กลา่ วในอทุ ธรณ์ของจ�ำเลยแลว้
ธนาคารกเ็ ป็นผมู้ หี นา้ ท่ีหักภาษี ณ ที่จา่ ยเช่นเดียวกบั โจทก์ในคดนี ี้ เพยี งแตอ่ าศยั บทกฎหมายท่ี
แตกต่างกันเท่านั้นแต่หลักการยังคงเป็นเช่นเดียวกัน ประกอบนิยามของค�ำว่า “ผู้ขอคืน” ตาม
ระเบยี บกรมสรรพากรว่าด้วยการคืนเงินภาษอี ากร พ.ศ. ๒๕๓๙ ข้อ ๔ (๔) จ�ำเลยเองกแ็ สดงแก่
ผ้เู สยี ภาษีวา่ จ�ำเลยยินยอมให้ผูม้ หี น้าท่ีหักภาษี ณ ทจี่ า่ ย ทน่ี �ำเงนิ ของตนส่งภาษีไว้ผดิ หรอื ซำ้�
หรือไม่มีหน้าที่ต้องเสีย หรือผู้เสียประโยชน์จากการช�ำระหรือน�ำส่งภาษีไว้เกินหรือผิดหรือซ�้ำมี
สิทธขิ อคืนเงนิ สว่ นทเ่ี กนิ ได้ แต่เมือ่ โจทกซ์ ง่ึ มคี ุณสมบตั ติ ามท่ีจ�ำเลยกำ� หนดขอคนื เงินส่วนที่เกนิ
ดงั กล่าว จ�ำเลยกลบั ปฏเิ สธในอุทธรณว์ า่ ผขู้ อคนื ตามระเบยี บ ข้อ ๔ (๔) หมายถงึ ผ้ถู กู หกั ภาษี
ซง่ึ เหตผุ ลของจำ� เลยไมต่ รงกบั ถอ้ ยคำ� ในระเบยี บดงั กลา่ ว ขอ้ อา้ งของจำ� เลยลว้ นขดั แยง้ กบั ระเบยี บ
ข้อก�ำหนดและแนวปฏิบัติของจ�ำเลยเอง อุทธรณ์ข้อนี้ของจ�ำเลยฟังไม่ขึ้น ส่วนท่ีจ�ำเลยอุทธรณ์ว่า
โจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้องคดีต่อศาลเรียกให้จ�ำเลยช�ำระดอกเบี้ยตามมาตรา ๔ ทศ แห่งประมวล
รัษฎากร แก่โจทก์ เพราะโจทก์ไม่ได้ร้องขอต่อจ�ำเลยและอธิบดีกรมสรรพากรหรือผู้ซึ่งอธิบดี
กรมสรรพากรมอบหมาย และผู้ได้รับมอบหมายจากฝ่ายบริหารยังไม่ได้พิจารณาสั่งให้ดอกเบี้ยแก่
โจทก์ ฝา่ ยบรหิ ารยงั ไมม่ คี ำ� สงั่ ทางปกครองในปญั หานี้ ศาลภาษอี ากรกลางจงึ ไมม่ อี ำ� นาจพจิ ารณา
พิพากษาน้นั เหน็ วา่ คดีนเ้ี ปน็ กรณพี พิ าทเกย่ี วกบั การขอคืนค่าภาษอี ากร ตามพระราชบญั ญตั ิ
จัดต้ังศาลภาษีอากรและวิธพี จิ ารณาคดีภาษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๗ (๓) ซึง่ ตามมาตรา ๙
แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวก�ำหนดว่าจะด�ำเนินการในศาลภาษีอากรได้ก็ต่อเม่ือปฏิบัติตาม
หลกั เกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาทกี่ �ำหนดไว้ และตามประมวลรัษฎากรบญั ญัตไิ ว้เพียงกำ� หนด
เวลาและแบบยน่ื คำ� รอ้ งขอคนื ภาษอี ากรเทา่ นน้ั มไิ ดก้ ำ� หนดใหผ้ ขู้ อคนื ภาษอี ากรทไ่ี มพ่ อใจคำ� สงั่
103
ของเจ้าพนักงานเกี่ยวกับการขอคืนภาษีดังกล่าวต้องอุทธรณ์ค�ำสั่งของเจ้าพนักงานด้วย เมื่อ
ดอกเบี้ยที่โจทก์น�ำมาฟ้องเป็นส่วนหนึ่งในการขอคืนค่าภาษีอากร โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องเรียก
ดอกเบยี้ จากจำ� เลย และศาลภาษอี ากรกลางยอ่ มวนิ จิ ฉยั ปญั หาดงั กลา่ วได้ อทุ ธรณข์ อ้ นข้ี องจำ� เลย
ฟังไม่ขนึ้ เชน่ กัน ดงั นั้น เมือ่ ได้วินิจฉัยในขา้ งต้นแล้วว่า โจทกเ์ ป็นผ้มู สี ิทธิขอคืนภาษีจากจ�ำเลย
ท่ีศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้เพิกถอนค�ำส่ังไม่คืนภาษีแก่โจทก์ตามหนังสือส�ำนักงาน
สรรพากรพื้นทีก่ รงุ เทพมหานคร ๔ เลขที่ กค ๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๔ ลงวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑
และเลขที่ กค ๐๗๑๙.๐๔ (ภค)/๔๒๔๕ ลงวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑ กับค�ำวินิจฉัย
การอุทธรณ์ค�ำส่ังไม่คืนเงินภาษีอากรตามหนังสือส�ำนักงานสรรพากรภาค ๑ เลขท่ี กค
๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๐๘๓๑ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๑ และเลขท่ี กค ๐๗๑๙.๓๒.๓/๑๑๓๓๐
ลงวันท่ี ๒๕ กันยายน ๒๕๖๑ กับให้จ�ำเลยคืนเงินภาษีอากรรวม ๒,๗๖๐,๒๓๘.๙๖ บาท
พร้อมดอกเบย้ี จงึ ตอ้ งด้วยความเห็นของศาลอุทธรณค์ ดชี �ำนญั พิเศษ
พิพากษายืน คา่ ฤชาธรรมเนียมชั้นอทุ ธรณเ์ ป็นพับ.
(บุญเขตร์ พ่มุ ทิพย์ - สรายทุ ธ์ วุฒยาภรณ์ - สมศกั ดิ์ อนิ ทรพ์ ันธุ)์
ความเห็นแย้งในคดหี มายเลขดำ� ท่ี ภ ๑๔/๒๕๖๓ หมายเลขแดงท่ี ๑๔๓๑/๒๕๖๓
ข้าพเจ้า นายณฐั พร ณ กาฬสินธุ์ ผู้พพิ ากษาศาลอทุ ธรณ์คดชี ำ� นญั พิเศษ ซึ่งเข้าร่วม
การประชุมใหญ่ของศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ แต่ไม่เห็นด้วยกับมติท่ีประชุมใหญ่ของศาล
อุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษที่ว่า โจทก์ซ่ึงเป็นผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ท่ีจ่าย ตามประมวลรัษฎากร
มาตรา ๗๐ มีสิทธิขอคืนภาษีท่ีหักไว้เกินตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๒๗ ตรี และระเบียบ
กรมสรรพากร ว่าด้วยการคนื เงินภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๓๙ เนื่องจากการหักภาษี ณ ท่จี า่ ย เปน็
วิธีการเสียภาษีของผู้มีเงินได้พึงประเมินที่ประมวลรัษฎากรก�ำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมิน
มีหน้าที่ต้องหักภาษีไว้ตามจ�ำนวนภาษีท่ีผู้มีเงินได้พึงประเมินพึงต้องช�ำระก่อนจ่ายเงินได้
พึงประเมิน และนำ� สง่ ภาษีทห่ี ักไว้ ณ ที่จา่ ยดังกลา่ วให้แก่กรมสรรพากร ดงั นั้น ภาษีทถี่ ูกหักไว้
ณ ท่ีจ่ายจึงเป็นเงินของผู้มีเงินได้พึงประเมินซ่ึงเป็นผู้มีหน้าท่ีเสียภาษี มิใช่เงินของผู้จ่ายเงินได้
พึงประเมินซึ่งมีหน้าท่ีต้องหักภาษีก่อนจ่ายเงินได้พึงประเมิน ดังจะเห็นได้จากกรณีการหักภาษี
ณ ทีจ่ ่ายของบคุ คลธรรมดา นติ บิ ุคคลและห้างหุ้นส่วนนติ ิบุคคลทีจ่ ะมีการน�ำภาษหี กั ณ ทีจ่ า่ ย
ซึ่งถือเป็นเครดิตภาษีมาใช้ในการค�ำนวณภาษีเมื่อยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี และหากภาษี
104
ทีถ่ ูกหักไว้ ณ ท่จี า่ ย มจี ำ� นวนเกนิ กว่าภาษีที่ต้องเสยี ผูถ้ ูกหกั ภาษีไว้ ณ ทจ่ี า่ ยมีสิทธไิ ด้รับเงิน
จำ� นวนทเ่ี กนิ คนื จากกรมสรรพากร ซง่ึ ในกรณขี องบคุ คลธรรมดานน้ั ประมวลรษั ฎากร มาตรา ๖๓
บัญญัติว่า บุคคลใดถูกหักภาษีไว้ ณ ท่ีจ่าย และน�ำส่งแล้วเป็นจ�ำนวนเงินเกินกว่าที่ควรต้อง
เสียภาษี บุคคลน้ันมีสิทธิได้รับเงินจ�ำนวนท่ีเกินน้ันคืน ส่วนกรณีนิติบุคคลและห้างหุ้นส่วน
นิติบุคคลท่ีถูกหักภาษีไว้ ณ ท่ีจ่าย และน�ำส่งแล้วเป็นจ�ำนวนเงินเกินกว่าท่ีควรต้องเสียภาษี
หมวด ๓ ภาษีเงินได้ ส่วน ๓ การเก็บภาษจี ากบริษัทและห้างหนุ้ ส่วนนติ ิบคุ คล ไม่มีบทบญั ญตั ิใน
เร่อื งการขอคนื ภาษีเหมอื นเช่นกรณีของบุคคลธรรมดา การขอคนื ภาษีทถี่ ูกหักภาษไี ว้ ณ ท่ีจ่าย
และน�ำส่งแล้วเป็นจ�ำนวนเงินเกินกว่าท่ีควรต้องเสียภาษีจึงเป็นไปตามประมวลรัษฎากร มาตรา
๒๗ ตรี ซึ่งบัญญัติให้ผู้มีสิทธิขอคืนย่ืนค�ำร้องขอคืนภายใน ๓ ปีนับแต่วันสุดท้ายแห่งก�ำหนดเวลา
ยน่ื รายการภาษี ดงั นน้ั ผมู้ สี ทิ ธขิ อคนื ภาษที ถี่ กู หกั ไว้ ณ ทจี่ า่ ยเกนิ กวา่ ทค่ี วรตอ้ งเสยี ในกรณบี รษิ ทั
และหา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คล ยอ่ มหมายถงึ บรษิ ทั และหา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลทถ่ี กู หกั ภาษไี ว้ ณ ทจ่ี า่ ย
เช่นเดียวกับกรณีบุคคลธรรมดา ส่วนการหักภาษี ณ ท่ีจ่ายตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๐
เป็นกรณีท่ีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และไม่ได้ประกอบ
กจิ การในประเทศไทย แตม่ เี งนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๔๐(๓) (๔) (๕) หรอื (๖)
ท่ีจ่ายจากหรือในประเทศไทย บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นย่อมมีหน้าที่ต้องเสียภาษี
เงินได้จากเงินได้พึงประเมินดังกล่าว แต่เนื่องจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังกล่าวมิได้
จัดต้ังขนึ้ ตามกฎหมายไทย ทง้ั มไิ ดป้ ระกอบกิจการในประเทศไทย ประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๐
จึงก�ำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินดังกล่าวมีหน้าที่ต้องหักภาษีจากเงินได้พึงประเมินที่จ่าย
ตามอตั ราภาษเี งนิ ไดส้ ำ� หรบั บรษิ ทั หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลกอ่ นจา่ ยเงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ แลว้ นำ� สง่
พร้อมกบั ยนื่ รายการตามแบบทอ่ี ธบิ ดกี รมสรรพากรกำ� หนด ดงั น้นั เงินภาษที ่ีถกู หกั ไว้ ณ ทจี่ ่าย
จงึ เปน็ เงนิ ของบรษิ ทั หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลผมู้ เี งนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ เหมอื นเชน่ กรณนี ติ บิ คุ คลและ
ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย หรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีมิได้
จดั ตง้ั ขนึ้ ตามกฎหมายไทย แตป่ ระกอบกจิ การในประเทศไทย ดงั นนั้ หากผจู้ า่ ยเงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ
ซงึ่ มีหนา้ ท่หี กั ภาษีไว้ ณ ที่จา่ ย ตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๐ หกั ภาษเี กนิ กวา่ ทบ่ี ริษทั หรือ
ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลควรต้องเสีย ผู้มีสิทธิขอคืนภาษีที่ถูกหักไว้เกิน ย่อมหมายถึง บริษัทหรือ
ห้างห้นุ สว่ นนิตบิ ุคคลซ่ึงเป็นผู้มีเงินไดพ้ งึ ประเมนิ และถกู หกั ภาษีไว้ ณ ท่จี ่าย หาใชผ่ ้จู า่ ยเงนิ ได้
พงึ ประเมินซึง่ มหี นา้ ที่หกั ภาษีไว้ ณ ทจ่ี ่ายไม่ เมอ่ื โจทก์เป็นผู้จ่ายเงนิ คา่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
เขา้ ลกั ษณะเปน็ คา่ สทิ ธิ อนั เปน็ เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ตามมาตรา ๔๐ (๓) แหง่ ประมวลรษั ฎากร ใหแ้ ก่
105
IBM Singapore Pte Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทหรือนิติบุคคลที่ต้ังขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ มิได้
ประกอบกิจการในประเทศไทย แต่ได้รับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ (๓) ท่ีจ่ายจากหรือ
ในประเทศไทย โจทก์จึงมีหน้าที่หักภาษีจากเงินได้พึงประเมินท่ีจ่ายให้แก่ IBM Singapore
Pte Ltd. ตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๐ ภาษีที่โจทก์หักและน�ำส่งจึงเป็นเงินของ IBM
Singapore Pte Ltd. ไมใ่ ชข่ องโจทก์ IBM Singapore Pte Ltd. ซงึ่ เป็นผู้มเี งินไดพ้ งึ ประเมินและ
ถูกหักภาษีไว้ ณ ท่ีจ่าย เกินกว่าจ�ำนวนท่ีต้องเสียภาษีจึงเป็นผู้มีสิทธิขอคืนภาษีตามประมวล
รัษฎากร มาตรา ๒๗ ตรี และระเบยี บกรมสรรพากร วา่ ด้วยการคนื เงนิ ภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๓๙
ขอ้ ๔ (๒) แมห้ ากข้อเท็จจรงิ จะรับฟังไดต้ ามคำ� พพิ ากษาวา่ โจทกจ์ ่ายเงนิ ค่าภาษที ่ีหักไว้เกนิ แก่
IBM Singapore Pte Ltd. ไปแล้ว ก็หาทำ� ใหส้ ทิ ธิในการขอคืนภาษีของ IBM Singapore Pte Ltd.
ซ่ึงเป็นผู้มีเงินได้พึงประเมินและถูกหักภาษีไว้ ณ ท่ีจ่าย เกินกว่าจ�ำนวนที่ต้องเสียระงับไปไม่
เพราะสิทธิในการขอคืนภาษีของ IBM Singapore Pte Ltd. เป็นสิทธิตามท่ีประมวลรัษฎากร
บัญญตั ริ บั รองไว้ และเมื่อภาษีทห่ี ักไวเ้ กินเป็นเงินของ IBM Singapore Pte Ltd. มิใช่ของโจทก์
จึงมิใช่กรณีผู้มีหน้าท่ีหักภาษี ณ ท่ีจ่าย น�ำเงินของตนส่งภาษีไว้ ผิดหรือซ้�ำ ที่โจทก์จะขอคืน
ภาษไี ดต้ ามระเบยี บกรมสรรพากร ว่าดว้ ยการคนื เงนิ ภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๓๙ ขอ้ ๔ (๔) สว่ น
การที่โจทก์จะมีหน้าที่ต้องช�ำระเงินภาษีท่ีหักไว้เกิน เนื่องจากเงินจ�ำนวนดังกล่าวเป็นค่าสิทธิที่
โจทกจ์ ะตอ้ งชำ� ระใหแ้ ก่ IBM Singapore Pte Ltd. ตามสญั ญากเ็ ปน็ เรอื่ งนติ สิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งโจทก์
กับ IBM Singapore Pte Ltd. ในทางแพ่ง หาได้เก่ียวข้องกับสิทธิและหน้าท่ีในทางภาษีของ
โจทกแ์ ละ IBM Singapore Pte Ltd. ไม่ โจทกจ์ ึงไม่ใชผ่ ู้เสียประโยชนจ์ ากการชำ� ระภาษีหรอื นำ�
สง่ ภาษีไว้เกิน หรอื ผดิ หรอื ซ�ำ้ ทีจ่ ะขอคืนภาษไี ดต้ ามระเบียบกรมสรรพากร วา่ ดว้ ยการคืนเงนิ
ภาษอี ากร พ.ศ. ๒๕๓๙ ข้อ ๔ (๕) โจทก์จงึ ไม่มสี ทิ ธิขอคืนภาษที ีห่ กั จากเงินได้พึงประเมนิ ของ
IBM Singapore Pte Ltd. ในสว่ นที่หกั ไว้เกนิ ตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๒๗ ตรี และระเบยี บ
กรมสรรพากร วา่ ดว้ ยการคนื เงินภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๓๙
เนอื่ งจากเปน็ ความเหน็ ฝา่ ยขา้ งนอ้ ยจงึ ขอถอื เปน็ ความเหน็ แยง้ ของขา้ พเจา้ โดยขา้ พเจา้
มีความเห็นว่าสมควรพิพากษากลับเป็นยกฟ้องโจทก์ ให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมท้ังสองศาล
แทนจ�ำเลย โดยก�ำหนดค่าทนายความรวม ๕๐,๐๐๐ บาท และค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินคดี
รวม ๑๐,๐๐๐ บาท
(ณฐั พร ณ กาฬสินธุ์)
ผพู้ ิพากษาศาลอุทธรณค์ ดีช�ำนญั พิเศษ
มณฑาทิพย์ ตั้งวิชาชาญ - ย่อ
วีนัส นมิ ิตกุล - ตรวจ
106
ค�ำพิพากษาศาลอุทธรณค์ ดชี ำ� นัญพิเศษที่ ๒๐๗๑/๒๕๖๓ บรษิ ทั แอลเค
ซนิ ดิเคท จำ� กดั โจทก์
จ�ำเลย
กรมสรรพากร
กับพวก
ป.รัษฎากร มาตรา ๔ ทศ
บญั ชอี ตั ราอากรแสตมปท์ า้ ยหมวด ๖ ในลกั ษณะ ๒ แหง่ ป.รษั ฎากร ลกั ษณะแหง่ ตราสาร ๒๘
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖๑ (พ.ศ. ๒๕๒๖) ออกตามความใน ป.รัษฎากร ว่าด้วยการ
ใหด้ อกเบ้ียแกผ่ ู้ได้รับเงนิ คืนภาษอี ากร ข้อ ๑ (๒)
ตามประกาศเจา้ พนกั งานบงั คบั คดแี ละสญั ญาซอื้ ขายของเจา้ พนกั งานบงั คบั คดี
ก�ำหนดให้โจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดมีหน้าท่ีต้องเสียค่าธรรมเนียม
ในการโอน ค่าภาษีต่าง ๆ จากการขายอสังหาริมทรัพย์และค่าอากรตาม ป.รัษฎากร
เม่ือโจทก์ได้ช�ำระค่าอากรแสตมป์แก่เจ้าพนักงานส�ำหรับการโอนอสังหาริมทรัพย์ที่
โจทก์ประมูลได้ตามข้อสัญญาที่เจ้าพนักงานบังคับคดีก�ำหนด และต่อมาโจทก์ได้ไป
โอนกรรมสิทธ์ิท่ีดินแปลงดังกล่าว กับช�ำระค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ จึงเป็นกรณีท่ีตามบัญชี
อตั ราอากรแสตมป์ท้ายหมวด ๖ ในลักษณะ ๒ แห่ง ป.รษั ฎากร ลกั ษณะแห่งตราสาร ๒๘
วรรคท้าย บัญญัติยกเว้นค่าอากรแสตมป์ส�ำหรับใบรับที่ผู้รับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
แมโ้ จทกจ์ ะไมใ่ ชเ่ จา้ ของทรพั ยท์ ถี่ กู นำ� มาขายทอดตลาด แตโ่ จทกก์ เ็ ปน็ ผชู้ ำ� ระคา่ อากรแสตมป์
ดังกล่าวให้แก่จ�ำเลยที่ ๑ โจทก์จึงมีสิทธิได้รับเงินค่าอากรแสตมป์คืนและมีสิทธิ
ได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๑ ต่อเดือน นับแต่วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ซ่ึงเป็น
วันถัดจากวันครบระยะเวลาสามเดือนนับแต่วันยื่นค�ำร้องขอคืนเงินภาษีอากร จนถึง
วันท่ีลงในหนังสือแจ้งค�ำสั่งคืนเงิน แต่โจทก์ขอดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี
จึงก�ำหนดให้ตามขอ โดยไม่คิดทบต้นและไม่เกินกว่าจ�ำนวนเงินภาษีอากรท่ีได้รับคืน
ตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๔ ทศ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖๑ (พ.ศ. ๒๕๒๖) ออกตาม
ความใน ป.รัษฎากร วา่ ด้วยการใหด้ อกเบยี้ แก่ผู้ได้รบั เงินคืนภาษีอากร ข้อ ๑ (๒)
______________________________
107
โจทก์ฟ้อง ขอให้เพิกถอนหนังสือแจ้งไม่คืนเงินภาษีอากร ที่ กค ๐๗๒๓.๑๒/๑๒๒๑
ลงวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๒ เพิกถอนหนังสือแจ้งผลการพิจารณาอุทธรณ์ ท่ี กค.๐๗๖๓
(กม.๑๑)/๑๑๘๒ ลงวนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๒ และใหจ้ ำ� เลยทง้ั สามรว่ มกนั คนื เงนิ ๔๑๔,๗๐๐ บาท
พร้อมดอกเบ้ียในอัตรารอ้ ยละ ๗.๕ ต่อปี ของต้นเงนิ ๓๙๘,๗๕๐ บาท นับถดั จากวนั ท่จี ำ� เลยที่ ๒
ลงในหนงั สอื แจง้ ไมค่ ืนเงินภาษีอากรจนกว่าจะช�ำระเสรจ็ แก่โจทก์
จำ� เลยทั้งสามให้การ ขอใหย้ กฟอ้ ง
ศาลภาษีอากรกลาง พิพากษายกฟ้องโจทก์ ให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมและ
ค่าทนายความแทนจำ� เลย ๑๐,๐๐๐ บาท
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า เมื่อ
วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๑ โจทก์ประมูลท่ีดินเปล่าจากส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดสมุทรปราการ
โฉนดเลขที่ ๑๖๙๑๓๑ ต�ำบลบางแกว้ (บางนา) อำ� เภอบางพลี (พระโขนง) จังหวดั สมุทรปราการ
ในราคา ๗๙,๗๕๐,๐๐๐ บาท ซึ่งตามประกาศเจ้าพนักงานบังคับคดีและหนังสือสัญญาซื้อขาย
กำ� หนดให้โจทกเ์ ปน็ ผ้เู สียคา่ ธรรมเนยี มในการโอน ค่าภาษตี า่ ง ๆ จากการขายอสงั หารมิ ทรัพย์
และคา่ อากรตามประมวลรัษฎากร วนั ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑ โจทกจ์ ่ายเงินคา่ อากรแสตมป์แก่
เจ้าพนักงานส�ำหรับการโอนอสังหาริมทรัพย์ที่โจทก์ประมูลได้ตามข้อสัญญาท่ีเจ้าพนักงาน
บังคับคดีก�ำหนด ๓๙๘,๗๕๐ บาท วันท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๑ โจทก์ได้ไปโอนกรรมสิทธ์ิท่ีดิน
แปลงดังกลา่ ว ณ ส�ำนักงานท่ดี นิ จังหวดั สมทุ รปราการ สาขาบางพลี และช�ำระภาษีธุรกจิ เฉพาะ
๒,๖๓๑,๗๕๐ บาท วันท่ี ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ โจทก์ยื่นขอคืนค่าอากรแสตมป์ซึ่งโจทก์
ไดช้ ำ� ระไป ๓๙๘,๗๕๐ บาท แตจ่ ำ� เลยท่ี ๒ ปฏเิ สธ ตามหนงั สอื แจง้ ไมค่ นื เงนิ ภาษอี ากร ลงวนั ที่ ๑๗
มกราคม ๒๕๖๒ ตอ่ มาวนั ท่ี ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๒ โจทกอ์ ทุ ธรณค์ ดั คา้ นหนงั สอื แจง้ ไมค่ นื เงนิ ภาษี
อากร จ�ำเลยที่ ๓ พจิ ารณาอทุ ธรณข์ องโจทกแ์ ลว้ แจง้ ว่าหนังสอื แจ้งไมค่ ืนเงินภาษีอากรชอบแลว้
คดีมปี ญั หาท่ตี ้องวนิ ิจฉยั ตามอทุ ธรณข์ องโจทก์ในประการแรกวา่ จ�ำเลยที่ ๑ ตอ้ งคนื
เงินค่าอากรแสตมป์ให้แก่โจทก์หรือไม่ เห็นว่า ตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ท้ายหมวด ๖ ใน
ลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากร ลักษณะแห่งตราสาร ๒๘ บัญญัติว่า ใบรับส�ำหรับการโอน
หรือก่อตั้งสิทธิใด ๆ เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ในเม่ือนิติกรรมที่เป็นเหตุให้ออกใบรับนั้นมีการ
จดทะเบียนตามกฎหมาย ให้เสียค่าอากรแสตมป์ส�ำหรับจ�ำนวนเงินตั้งแต่ ๒๐๐ บาทขึ้นไป
ทุก ๒๐๐ บาท หรือเศษของ ๒๐๐ บาท ให้เสียคา่ อากรแสตมป์ ๑ บาท และในวรรคทา้ ยบัญญตั ิ
108
ยกเว้นไว้ว่า ใบรับส�ำหรับจ�ำนวนเงินท่ีผู้รับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้อง
เสียอากร และตามประกาศเจ้าพนักงานบังคับคดีและสัญญาซ้ือขายของเจ้าพนักงานบังคับคดี
ก�ำหนดให้โจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดมีหน้าท่ีต้องเสียค่าธรรมเนียมในการ
โอน ค่าภาษีต่าง ๆ จากการขายอสังหาริมทรัพย์และค่าอากรตามประมวลรัษฎากร เมื่อโจทก์
ได้ช�ำระค่าอากรแสตมป์แก่เจ้าพนักงานส�ำหรับการโอนอสังหาริมทรัพย์ท่ีโจทก์ประมูลได้ตาม
ข้อสญั ญาท่ีเจา้ พนกั งานบังคบั คดีกำ� หนด ๓๙๘,๗๕๐ บาท และต่อมาโจทกไ์ ด้ไปโอนกรรมสิทธ์ิ
ทด่ี นิ แปลงดงั กลา่ ว ณ สำ� นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั สมทุ รปราการ สาขาบางพลี กบั ชำ� ระคา่ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ
๒,๖๓๑,๗๕๐ บาท จึงเป็นกรณีท่ีตามลักษณะแห่งตราสาร ๒๘ วรรคท้าย บัญญัติยกเว้น
คา่ อากรแสตมปส์ ำ� หรบั ใบรบั ทผ่ี รู้ บั ตอ้ งเสยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ แมโ้ จทกจ์ ะไมใ่ ชเ่ จา้ ของทรพั ยท์ ถ่ี กู
นำ� มาขายทอดตลาดกต็ าม แตโ่ จทกก์ เ็ ปน็ ผชู้ ำ� ระคา่ อากรแสตมปด์ งั กลา่ วใหแ้ กจ่ ำ� เลยท่ี ๑ โจทกจ์ งึ
มีสิทธไิ ดร้ บั เงนิ ค่าอากรแสตมปค์ นื และจำ� เลยที่ ๑ ตอ้ งคนื เงินคา่ อากรแสตมป์ ๓๙๘,๗๕๐ บาท
ให้แกโ่ จทก์ อุทธรณ์ข้อนข้ี องโจทกฟ์ ังข้ึน
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ในประการท่ีสองว่า โจทก์มีสิทธิได้รับ
ดอกเบย้ี หรอื ไม่ เหน็ วา่ การคืนเงินภาษีอากรตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๔ ทศ บัญญัตใิ หผ้ ู้ที่
ไดร้ บั คนื เงินภาษีอากรได้รับดอกเบ้ียด้วยในอัตรารอ้ ยละ ๑ ตอ่ เดือนหรือเศษของเดือน ของเงนิ
ภาษอี ากรทไี่ ดร้ บั คนื โดยไมค่ ดิ ทบตน้ ทง้ั นี้ ตามหลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขทก่ี ำ� หนดโดยกฎกระทรวง
แตม่ ใิ หเ้ กนิ กวา่ จำ� นวนเงนิ ภาษอี ากรทไี่ ดร้ บั คนื และตามกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๑๖๑ (พ.ศ. ๒๕๒๖)
ออกตามความในประมวลรัษฎากร วา่ ดว้ ยการให้ดอกเบยี้ แก่ผไู้ ดร้ ับเงนิ คนื ภาษอี ากร ขอ้ ๑ (๒)
กรณีคืนเงินภาษีอากรที่ช�ำระตามแบบแสดงรายการ ให้เริ่มคิดดอกเบ้ียต้ังแต่วันถัดจากวันครบ
ระยะเวลาสามเดือนนับแต่วันย่ืนค�ำร้องขอคืนเงินภาษีอากร จนถึงวันที่ลงในหนังสือแจ้งค�ำส่ัง
คนื เงนิ ดงั นน้ั โจทกจ์ งึ มสี ทิ ธไิ ดร้ บั ดอกเบย้ี ในอตั รารอ้ ยละ ๑ ตอ่ เดอื น นบั แตว่ นั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๒
ซ่ึงเป็นวันถัดจากวันครบระยะเวลาสามเดือนนับแต่วันยื่นค�ำร้องขอคืนเงินภาษีอากร
จนถึงวันท่ีลงในหนังสือแจ้งค�ำส่ังคืนเงิน แต่โจทก์ขอดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี
จึงก�ำหนดให้ตามขอ โดยไม่คิดทบต้นและไม่เกินกว่าจ�ำนวนเงินภาษีอากรที่ได้รับคืน อุทธรณ์ข้อนี้
ของโจทกฟ์ ังขึน้ บางสว่ น
คดมี ีปญั หาต้องวินจิ ฉัยตามอทุ ธรณข์ องโจทก์ในประการท่สี ามว่า จ�ำเลยที่ ๒ และท่ี ๓
ตอ้ งร่วมกบั จ�ำเลยที่ ๑ รบั ผิดตอ่ โจทกห์ รือไม่ เห็นว่า จ�ำเลยที่ ๒ และที่ ๓ เป็นเจา้ พนกั งานปฏบิ ัติ
ไปตามอ�ำนาจหน้าท่ีตามกฎหมาย จึงไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว อุทธรณ์ข้อน้ีของโจทก์ฟังไม่ขึ้น
ส่วนอุทธรณ์ข้ออนื่ ของโจทกไ์ มจ่ ำ� ต้องวนิ จิ ฉัยเพราะไม่ทำ� ใหผ้ ลของคดีเปล่ียนแปลงไป
109
พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จ�ำเลยท่ี ๑ คืนเงิน ๓๙๘,๗๕๐ บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตรา
รอ้ ยละ ๗.๕ ต่อปี นับแตว่ ันท่ี ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ จนถึงวันทลี่ งในหนังสือแจง้ ค�ำสงั่ คืนเงิน
ค่าภาษีอากรแก่โจทก์ โดยไม่คดิ ทบต้นและไมเ่ กนิ กว่าจำ� นวนเงินภาษีอากรท่ไี ดร้ บั คืน ให้จำ� เลยท่ี ๑
ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมท้ังสองศาลแทนโจทก์ โดยก�ำหนดค่าทนายความรวม ๒๐,๐๐๐ บาท
ค่าฤชาธรรมเนียมระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยท่ี ๒ และที่ ๓ ท้ังสองศาลให้เป็นพับ นอกจากที่แก้
ใหเ้ ปน็ ตามคำ� พิพากษาศาลภาษีอากรกลาง.
(วชิ ยั จติ ตาณิชย์ - วิวฒั น์ สวุ ณั ณะสงั ข์ - เดชา ค�ำสทิ ธ)ิ
สุกมุ ล รงุ่ พรทววี ัฒน์ - ยอ่
วีนัส นิมติ กุล - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี งึ ทีส่ ุดแล้ว
110
คำ� พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำ� นญั พเิ ศษท่ี ๕/๒๕๖๔ บริษัทมิยาเกะโซกิ โจทก์
(ประชมุ ใหญ)่ (ไทยแลนด)์ จ�ำกัด จำ� เลย
กรมสรรพากร
ป.รัษฎากร มาตรา ๓๐
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๓
โจทกอ์ ุทธรณ์การประเมนิ ต่อคณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณข์ องกรมศลุ กากร
ตาม พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ และคณะกรรมการพิจารณาอทุ ธรณ์
ของจ�ำเลยตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๓๐ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของ
กรมศุลกากรมีค�ำวินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์ ในขณะท่ีโจทก์ฟ้องกรมศุลกากรเป็นจ�ำเลย
ในคดีหมายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลาง จึงยังไม่มีค�ำวินิจฉัยของ
คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณข์ องจำ� เลย โจทกย์ อ่ มไมอ่ าจฟอ้ งจำ� เลยในคดนี เี้ ปน็ จำ� เลย
ในคดีหมายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลางได้ ค�ำฟ้องของโจทก์ใน
คดีหมายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลาง จงึ เป็นการอุทธรณ์ค�ำวนิ ิจฉัย
ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมศุลกากร ส่วนค�ำฟ้องของโจทก์ในคดีน้ี
เป็นการอุทธรณ์ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของจ�ำเลยซ่ึงเป็น
ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์คนละฉบับและจ�ำเลยเป็นคนละรายกับจ�ำเลยในคดีหมายเลขแดง
ที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษอี ากรกลาง ประกอบกับ เจา้ พนักงานกรมศลุ กากรมิได้รบั
มอบหมายและไม่อาจรับมอบหมายให้เป็นคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ตาม
ป.รัษฎากรได้ เพราะ ป.รัษฎากรก�ำหนดไว้ว่าคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ตาม
ป.รัษฎากรประกอบด้วยใครบ้างตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๓๐ (๑) (ก) แม้จะมีการแจ้ง
การประเมินไปยังโจทก์ชุดเดียวกันก็ไม่ท�ำให้คดีน้ีเป็นฟ้องซ้อนกับคดีหมายเลขแดง
ที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลาง ได้ ฟ้องโจทก์คดีน้ีจึงไม่เป็นฟ้องซ้อนกับ
คดีหมายเลขแดงท่ี ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลาง อันต้องห้ามตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดี
ภาษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗
______________________________
111
คดสี บื เนอ่ื งมาจาก โจทกฟ์ อ้ งขอใหเ้ พกิ ถอนการประเมนิ และเพกิ ถอนคำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์
ของจำ� เลย
ศาลภาษอี ากรกลางมคี ำ� สง่ั วา่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำ� ฟอ้ งเปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ เดยี วกนั กบั ขอ้ เทจ็ จรงิ
ในคดีหมายเลขแดงท่ี ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลนี้ ซึ่งศาลมีค�ำพิพากษาแล้ว เม่ือวันที่ ๒๓
มนี าคม ศกน้ี คดอี ยูร่ ะหวา่ งจ�ำเลย (กรมสรรพากร) (ทถี่ ูกคอื กรมศุลกากร) อาจยน่ื อุทธรณไ์ ด้
โจทก์และจ�ำเลยเป็นคู่ความเดียวกัน (ที่ถูกจ�ำเลยต่างคนกัน) กรณีเป็นฟ้องซ้อนต้องห้ามมิให้
รับไว้พิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๒ (ที่ถูกคือ มาตรา
๑๗๓ วรรคสอง (๑)) ประกอบพระราชบัญญตั ิจัดตั้งศาลภาษอี ากรและวิธพี ิจารณาคดภี าษีอากร
พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗ จงึ ไมร่ บั ฟ้องโจทก์ โจทกเ์ สยี ค่าขึน้ ศาลมา ๒๐๐ บาท ไมค่ นื ให้
โจทก์ยื่นค�ำร้องขอให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาท่ีผิดระเบียบ ศาลภาษีอากรกลางมี
คำ� สง่ั วา่ พเิ คราะหแ์ ลว้ เหน็ วา่ การประเมนิ อากรขาเขา้ มผี ลถงึ การคำ� นวณภาษมี ลู คา่ เพมิ่ อยใู่ นตวั
ตามค�ำฟ้องโจทก์บรรยายว่าประสงค์ให้จ�ำเลยคดีนี้และกรมศุลกากรปฏิบัติตามค�ำพิพากษาใน
คดกี อ่ น ขอ้ อ้างและคำ� ขอของโจทกค์ ดนี ไ้ี มม่ ขี อ้ แตกต่างไปจากคดกี อ่ น นอกจากนจ้ี ำ� เลยคดกี อ่ น
(กรมศุลกากร) มีอ�ำนาจตามกฎหมายในการจดั เก็บภาษีมูลค่าเพ่มิ แทนจ�ำเลยคดีนี้ดว้ ย ไมม่ ีเหตุ
เปล่ยี นแปลงค�ำสงั่ เดมิ ยกค�ำร้อง
โจทกอ์ ทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยว่า
ฟอ้ งของโจทกค์ ดนี เี้ ป็นฟ้องซอ้ นกบั คดีหมายเลขแดงท่ี ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลาง
อนั ตอ้ งหา้ มตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่ มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) หรอื ไม่ ขอ้ เทจ็ จรงิ
รบั ฟงั เป็นยตุ ิวา่ คดีกอ่ นโจทกฟ์ ้องกรมศลุ กากรเป็นจำ� เลยในคดีหมายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓
ของศาลภาษีอากรกลางอ้างวา่ เจ้าพนักงานของกรมศลุ กากรตรวจสอบสินคา้ ทโ่ี จทกน์ ำ� เข้าตาม
ใบขนสนิ คา้ ขาเข้า ๑๑๙ ใบขน แลว้ แจ้งการประเมนิ เรยี กเก็บอากรขาเขา้ และภาษีมลู ค่าเพิม่ จาก
โจทกน์ นั้ ไม่ชอบ โจทก์วางเงนิ อากรขาเข้ารวมท้ังภาษีมลู คา่ เพิม่ ต่อกรมศุลกากร ต่อมาโจทกย์ ่นื
อทุ ธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณข์ องกรมศลุ กากร แตค่ ณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์
ของกรมศุลกากรไม่ได้มีค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ให้เสร็จภายในเวลาที่กฎหมายก�ำหนดตาม
พระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๑ โจทก์จึงฟ้องกรมศุลกากรต่อศาลภาษีอากรกลาง
ขอให้เพิกถอนการประเมินตามแบบแจ้งการประเมินเรียกเก็บอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตามใบขนสินค้าขาเข้า ๑๑๙ ใบขน กับให้กรมศุลกากรคืนเงิน ๑๔,๑๑๓,๓๗๕ บาท พร้อม
ดอกเบ้ยี อตั ราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี ของต้นเงนิ ดังกลา่ ว นับแต่วันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ จนกว่า
จะช�ำระเสร็จแก่โจทก์ ต่อมาศาลภาษีอากรกลางมีค�ำพิพากษาให้เพิกถอนการประเมินตามแบบ
แจ้งการประเมินเรียกเก็บอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพ่ิมทั้ง ๑๑๙ ใบขน และให้กรมศุลกากร
112
คืนเงนิ ทปี่ ระเมนิ เรยี กเก็บเพมิ่ แก่โจทก์ คดอี ยู่ระหวา่ งการพิจารณาของศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพเิ ศษ
คดนี โี้ จทกฟ์ อ้ งกรมสรรพากรเปน็ จำ� เลย โดยใชส้ ทิ ธติ ามตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๓๐ อา้ งวา่
ท่ีคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมสรรพากรได้มีค�ำวินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์ของโจทก์ โดย
ไมร่ อผลการพจิ ารณาคดขี องศาลภาษอี ากรกลางทโ่ี จทกฟ์ อ้ งกรมศลุ กากรเปน็ จำ� เลยในคดกี อ่ นนนั้
ท�ำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย ขอให้เพิกถอนการประเมินและเพิกถอนค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์
ของจำ� เลย ศาลอุทธรณค์ ดชี ำ� นัญพเิ ศษโดยมตทิ ป่ี ระชุมใหญ่ เห็นวา่ โจทก์อุทธรณ์การประเมนิ
ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมศุลกากรตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙
มาตรา ๑๑๒ ฉ และคณะกรรมการพิจารณาอทุ ธรณข์ องจ�ำเลยตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๓๐
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมศุลกากรมีค�ำวินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์ ในขณะที่โจทก์
ฟ้องกรมศุลกากรเป็นจ�ำเลยในคดีหมายเลขแดงท่ี ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลาง
จึงยังไม่มีค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของจ�ำเลย โจทก์ย่อมไม่อาจฟ้องจ�ำเลยใน
คดนี เ้ี ปน็ จำ� เลยในคดหี มายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษอี ากรกลางได้ คำ� ฟอ้ งของโจทก์
ในคดีหมายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลาง จงึ เป็นการอทุ ธรณค์ �ำวินจิ ฉยั ของ
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมศุลกากร สว่ นค�ำฟ้องของโจทกใ์ นคดนี ้ี เปน็ การอทุ ธรณ์
ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของจ�ำเลย ซึ่งเป็นค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์คนละฉบับ
และจำ� เลยเปน็ คนละรายกบั จำ� เลยในคดหี มายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษอี ากรกลาง
ประกอบกับ เจ้าพนักงานกรมศุลกากรมิได้รับมอบหมายและไม่อาจรับมอบหมายให้เป็น
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ตามประมวลรัษฎากรได้ เพราะประมวลรัษฎากรก�ำหนดไว้ว่า
คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณต์ ามประมวลรษั ฎากรประกอบดว้ ยใครบา้ ง ตามประมวลรษั ฎากร
มาตรา ๓๐ (๑) (ก) แม้จะมีการแจ้งการประเมินไปยังโจทก์ชุดเดียวกัน ก็ไม่ท�ำให้คดีน้ีเป็น
ฟ้องซ้อนกับคดีหมายเลขแดงท่ี ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษีอากรกลางได้ ฟ้องโจทก์คดีน้ี
จงึ ไมเ่ ปน็ ฟอ้ งซอ้ นกบั คดหี มายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ของศาลภาษอี ากรกลาง อนั ตอ้ งหา้ มตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) ประกอบพระราชบญั ญัติ
จดั ตง้ั ศาลภาษอี ากรและวธิ พี จิ ารณาคดภี าษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗ ทศี่ าลภาษอี ากรกลาง
มคี ำ� สง่ั ไมร่ บั คำ� ฟอ้ งของโจทกน์ น้ั ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษไมเ่ หน็ พอ้ งดว้ ย อทุ ธรณข์ องโจทก์
ฟงั ขน้ึ สว่ นอทุ ธรณข์ อ้ อ่นื ของโจทกไ์ มจ่ ำ� ตอ้ งวินจิ ฉยั เพราะไมท่ ำ� ให้ผลของคดีเปลยี่ นแปลงไป
พิพากษากลับ ให้ศาลภาษีอากรกลางมีค�ำส่ังรับฟ้องและด�ำเนินกระบวนพิจารณาและ
มคี ำ� พพิ ากษาตามรปู คดี ค่าฤชาธรรมเนยี มชนั้ อทุ ธรณ์ให้เป็นพบั .
(เดชา ค�ำสิทธิ - ววิ ฒั น์ สุวัณณะสังข์ - วชิ ัย จติ ตาณิชย์)
113
ความเหน็ แยง้ ในคดหี มายเลขด�ำท่ี ภ ๕๘/๒๕๖๓ หมายเลขแดงท่ี ๕/๒๕๖๔
ข้าพเจ้านายวิวัฒน์ สุวัณณะสังข์ นายเดชา ค�ำสิทธิ นายวิชัย จิตตาณิชย์ องค์คณะ
ผู้พิจารณาพิพากษาคดีนี้ เห็นว่า ในคดีก่อนโจทก์ฟ้องกรมศุลกากรว่า โจทก์เป็นผู้น�ำเข้าสินค้า
โจทก์จงึ มีหน้าทีช่ �ำระอากรขาเข้า และภาษมี ูลค่าเพม่ิ ตอ่ เจ้าพนักงานศลุ กากร เมื่อเจ้าพนักงาน
ศุลกากรตรวจสอบสินค้าแล้วเห็นว่าโจทก์ช�ำระภาษีอากรไว้ไม่ถูกต้อง เจ้าพนักงานศุลกากร
จึงออกแบบแจ้งการประเมินเรียกเก็บอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มเพิ่มเติมจากโจทก์ โจทก์
ไม่เห็นด้วย จึงอุทธรณ์การประเมินท้ังอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่ม ส�ำหรับคดีน้ีโจทก์ฟ้อง
กรมสรรพากรเปน็ จำ� เลยว่า เมือ่ ศาลภาษอี ากรกลางมคี �ำพพิ ากษาให้เพิกถอนการประเมนิ ในคดี
หมายเลขแดงที่ ภ ๔๗/๒๕๖๓ ยอ่ มท�ำให้เพกิ ถอนการประเมนิ ในสว่ นของภาษีมูลคา่ เพม่ิ ไปดว้ ย
จงึ ไมม่ ีอากรในส่วนของภาษีมูลคา่ เพิม่ ต่อไป เห็นว่า การคำ� นวณฐานภาษมี ูลคา่ เพม่ิ สำ� หรบั การ
นำ� เขา้ ตอ้ งอาศยั มลู คา่ ของสนิ คา้ หรอื ราคาทเี่ จา้ พนกั งานศลุ กากรไดท้ ำ� การประเมนิ เพอื่ เปน็ ราคา
สินค้า บวกด้วยอากรขาเข้า เมื่อการประเมินภาษีมูลค่าเพ่ิมในกรณีนี้สืบเน่ืองมาจากข้อพิพาท
ในเรอ่ื งอากรขาเข้าอนั เป็นส่วนหน่งึ ของฐานภาษีมลู ค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๙/๒
(๑) โดยตรง ความรับผิดเก่ียวกับภาษีมูลค่าเพิ่มของโจทก์จึงขึ้นอยู่กับการประเมินอากรขา
เข้าของสินค้าที่โจทก์ได้ย่ืนอุทธรณ์ไว้ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมศุลกากรแล้ว
ซึ่งการที่โจทก์ได้ย่ืนอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ดังกล่าวก็เป็นการอุทธรณ์เพ่ือ
ขอให้เพิกถอนการประเมินอากรขาเข้าท่ีเป็นฐานในการค�ำนวณภาษีมูลค่าเพ่ิม จึงเป็นการอุทธรณ์
ขอให้เพิกถอนภาษีมูลค่าเพิ่มไปในตัวด้วย โจทก์จึงไม่จ�ำต้องย่ืนอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณา
อุทธรณ์ของกรมสรรพากรตามประมวลรัษฎากรอีก อีกท้ัง คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของ
กรมสรรพากรไดม้ คี ำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์ วา่ การประเมนิ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ของเจา้ พนกั งานประเมนิ อาศยั
อำ� นาจตามประมวลระเบยี บปฏบิ ตั ิศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ซ่งึ เป็นกระบวนการของกรมศุลกากร
ซ่ึงอยู่ในอ�ำนาจของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมศุลกากร ท่ีจะต้องพิจารณาวินิจฉัย
อทุ ธรณ์ ดงั นน้ั เมือ่ คณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์ของกรมศลุ กากรมีคำ� วนิ จิ ฉยั อุทธรณ์ ให้ยก
อทุ ธรณต์ ามมาตรา ๔๒ แห่งพระราชบญั ญตั ศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ เพราะโจทกผ์ อู้ ทุ ธรณใ์ ช้สทิ ธิ
น�ำคดีไปฟ้องต่อศาลภาษีอากรกลางแล้ว คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์กรมสรรพากรจึงให้
ยกอุทธรณโ์ จทก์ การท่ีโจทก์มาย่ืนฟอ้ งกรมสรรพากรเป็นจ�ำเลยในคดีนี้ เพ่ือขอให้เพิกถอนการ
ประเมินภาษีมูลค่าเพ่ิมและเพิกถอนค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของ
กรมสรรพากรดังกล่าวน้ีอีกแม้โจทก์จะบรรยายฟ้องอ้างเหตุว่าคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
ของจ�ำเลยมีค�ำส่ังยกอุทธรณ์ของโจทก์โดยไม่รอฟังผลในคดีก่อนท่ีโจทก์ฟ้องกรมศุลกากรก็ตาม
แต่ก็เป็นกรณีท่ีโจทก์โต้แย้งว่าโจทก์ไม่มีภาระต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มซ่ึงก็เป็นเร่ืองเดียวกันกับ
ที่โจทก์ไดฟ้ ้องกรมศุลกากร ซ่งึ มกี ารประเมนิ ภาษมี ูลคา่ เพิ่มไวแ้ ล้วดว้ ยในคดีก่อน ดังน้ัน ในคดี
114
กอ่ นทโ่ี จทกฟ์ อ้ งกรมศลุ กากรขอใหเ้ พกิ ถอนการประเมนิ อากรขาเขา้ ซง่ึ รวมถงึ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ดว้ ย
ซึ่งต่อมาศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้เพิกถอนการประเมินตามแบบแจ้งการเมินเรียกเก็บ
อากรขาเข้าและภาษมี ูลค่าเพมิ่ ตามใบขนสินคา้ ขาเข้าท้ัง ๑๑๙ ใบขน ซึ่งโดยผลของคำ� พิพากษา
ของศาลภาษีอากรกรกลางในคดีดังกล่าวเป็นเหตุให้การประเมินอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพ่ิม
ตามใบขนสินค้าท้ัง ๑๑๙ ใบขน ถกู เพกิ ถอนไปแล้ว อันมีผลใหโ้ จทก์ไม่ตอ้ งชำ� ระอากรขาเข้าและ
ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ตามทเ่ี จา้ พนกั งานประเมนิ ของกรมศลุ กากรประเมนิ เรยี กเกบ็ เพมิ่ อกี สว่ นในคดนี ้ี
โจทก์ฟ้องกรมสรรพากรเป็นจ�ำเลยขอให้เพิกถอนการประเมินภาษีมูลค่าเพ่ิมและค�ำวินิจฉัยของ
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมสรรพากร โดยมูลคดีที่โจทก์กลา่ วอา้ งมาในค�ำฟ้องคดีน้ี
ก็สืบเน่ืองมาจากเจ้าพนักงานประเมินของกรมศุลกากรประเมินอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพ่ิม
ตามใบขนสินค้าขาเข้าท้ัง ๑๑๙ ใบขน แม้โจทก์จะกล่าวอ้างว่าคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
ของจำ� เลยมคี ำ� สง่ั ยกอทุ ธรณข์ องโจทกโ์ ดยไมร่ อฟงั ผลในคดกี อ่ นเสยี กอ่ นกต็ าม กเ็ ปน็ กรณที โี่ จทก์
อา้ งเหตอุ ยา่ งเดยี วกนั วา่ การประเมนิ ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ไมช่ อบเชน่ เดยี วกบั ทโี่ จทกฟ์ อ้ งกรมศลุ กากร
ในคดีก่อน การท่ีโจทก์มาฟ้องจ�ำเลยในเรื่องเดียวกันใหม่เป็นคดีน้ีอีก ขณะท่ีในคดีก่อนยังอยู่
ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ องค์คณะพิจารณาแล้วมีความเห็น
ต้องกันว่า เป็นฟ้องซ้อนต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๓
วรรคสอง (๑) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร
พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗ ทศ่ี าลภาษีอากรกลางมคี ำ� ส่ังไม่รับคำ� ฟ้องของโจทกจ์ งึ ชอบแล้ว.
(ววิ ัฒน์ สุวรรณณะสังข์)
ผู้พพิ ากษาหัวหนา้ คณะในศาลอทุ ธรณ์คดีช�ำนญั พเิ ศษ
(เดชา คำ� สิทธิ)
ผูพ้ พิ ากษาศาลอทุ ธรณ์คดีชำ� นัญพเิ ศษ
(วชิ ยั จติ ตาณิชย์)
ผู้พิพากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี �ำนญั พิเศษ
มณฑาทิพย์ ต้งั วชิ าชาญ - ยอ่
วนี สั นมิ ิตกุล - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี ึงท่สี ุด
115
ค�ำพิพากษาศาลอุทธรณค์ ดชี �ำนัญพิเศษท่ี ๔๔๖/๒๕๖๔ บรษิ ทั ไทยฮา จำ� กัด
(มหาชน) โจทก์
จำ� เลย
กรมสรรพากร
ป.รัษฎากร มาตรา ๘
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๓
พ.ร.บ. จัดตัง้ ศาลภาษอี ากรและวิธพี ิจารณาคดีภาษอี ากร พ.ศ.๒๕๒๘ มาตรา ๑๗
พ.ร.บ. ไปรษณีย์ พ.ศ. ๒๔๗๗ มาตรา ๒๒
ตาม ป.รษั ฎากร มาตรา ๘ ใหส้ ง่ หนงั สอื แจง้ คำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณโ์ ดยทางไปรษณยี ์
ลงทะเบยี นตอบรับ และเมอ่ื ลูกจ้างหรือพนักงานของโจทกร์ บั ไวแ้ ล้วกจ็ ะตอ้ งถือวา่ โจทก์
ได้รับหนังสือดังกล่าวแล้วตั้งแต่นั้นตามไปรษณีย์นิเทศ พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งออกโดยอาศัย
อ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๒ แห่ง พ.ร.บ. ไปรษณีย์ พ.ศ. ๒๔๗๗ และมาตรา ๖
แหง่ พ.ร.ก. กำ� หนดอำ� นาจ สทิ ธิ และประโยชนข์ องบรษิ ทั ไปรษณยี ไ์ ทย จำ� กดั พ.ศ. ๒๕๔๖
ข้อ ๖๐ ถึง ๖๓ ทีก่ ำ� หนดให้ผูร้ ับ หมายถึง ผทู้ ีม่ ชี ือ่ ระบอุ ย่จู ่าหนา้ สิ่งของสง่ ทางไปรษณยี ์
ซึ่งผู้ฝากส่งประสงค์จะให้เป็นผู้รับสิ่งของส่งทางไปรษณีย์น้ัน และอาจน�ำจ่ายสิ่งของ
ส่งทางไปรษณีย์น้ันให้แก่ผู้แทนของผู้รับได้ โดยในกรณีน�ำจ่าย ณ ท่ีอยู่ของผู้รับท่ีเป็น
บริษัท ถือว่าบุคคลต่อไปน้ีเป็นผู้แทนของผู้รับด้วย คือ บุคคลซึ่งท�ำงาน อยู่ในสถานท่ี
เดียวกันกับผู้รับ จึงถือได้ว่าหนังสือแจ้งค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ได้น�ำจ่ายให้แก่ผู้รับคือโจทก์
แล้ว ดังนั้น โจทก์จึงต้องอุทธรณ์ต่อศาลหรือฟ้องคดีขอให้เพิกถอนการประเมินและ
คำ� วินิจฉยั อุทธรณ์ดงั กลา่ วภายในกำ� หนด ๓๐ วัน นับแตว่ ันได้รบั แจง้ คำ� วนิ ิจฉัยอทุ ธรณ์
มิใช่วันที่กรรมการของโจทก์ทราบค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ หากมีพฤติการณ์พิเศษเป็นเหตุ
ให้โจทก์ไม่สามารถอุทธรณ์ต่อศาลภายในก�ำหนดเวลาดังกล่าวได้ โจทก์ต้องย่ืนค�ำร้อง
ขอขยายระยะเวลาต่อศาลก่อนระยะเวลาดังกล่าวส้ินสุด เว้นแต่กรณีที่มีเหตุสุดวิสัย
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓ ประกอบมาตรา ๑๗ แห่ง พ.ร.บ. จัดต้ังศาลภาษีอากรและ
วิธีพจิ ารณาคดภี าษีอากร พ.ศ. ๒๕๒๘ ทโ่ี จทกอ์ ้างวา่ หนงั สือดงั กลา่ วตกหล่นอยทู่ แ่ี ผนก
รักษาความปลอดภัยของโจทก์ไม่ได้ถูกส่งต่อไปให้กรรมการโจทก์ทราบ ก็ถือได้ว่า
เปน็ การปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานของโจทกท์ ท่ี ำ� งานบกพรอ่ ง อนั เปน็ เรอ่ื งภายในของโจทก์
116
ที่โจทก์ต้องรับผิดชอบเอง กรณีของโจทก์จึงไม่อาจถือได้ว่ามีพฤติการณ์พิเศษเป็นเหตุ
ให้โจทก์ไม่สามารถอุทธรณ์ต่อศาลภายในระยะเวลาตามกฎหมายได้ และไม่ใช่กรณีท่ีมี
เหตุสุดวิสัยอันจะท�ำให้โจทก์ย่ืนค�ำร้องขอขยายระยะเวลาต่อศาลหลังจากก�ำหนดระยะ
เวลาดงั กล่าวได้ส้ินสุดลงแล้วไดเ้ ชน่ กนั
______________________________
โจทก์ย่ืนค�ำร้องขอขยายระยะเวลายื่นค�ำฟ้องพร้อมกับค�ำฟ้อง ขอขยายระยะเวลา
ย่ืนค�ำฟ้องออกไปนับแต่วันครบก�ำหนดให้ยื่นค�ำฟ้องคือวันท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ จนถึงวัน
ยืน่ คำ� ฟ้องในวันนี้ (วนั ที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๓) และขอใหร้ ับค�ำฟอ้ งของโจทก์ไวพ้ จิ ารณา
ศาลภาษีอากรกลาง มีค�ำสั่งให้ยกค�ำร้องขอขยายระยะเวลายื่นค�ำฟ้องคดีและค�ำสั่ง
ไมร่ ับค�ำฟ้อง กับใหค้ ืนคา่ ข้ึนศาลทัง้ หมดแกโ่ จทก์
โจทกอ์ ุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติว่า
โจทก์ถกู จำ� เลยประเมินให้ช�ำระภาษเี งนิ ไดน้ ิติบคุ คลของรอบระยะเวลาบัญชี ปี ๒๕๕๓ เพิ่มเติม
พร้อมเบย้ี ปรบั และเงินเพ่ิม โจทกอ์ ุทธรณก์ ารประเมินต่อคณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์ ตอ่ มา
วันท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๓ จ�ำเลยส่งหนังสือทางไปรษณีย์ไปยังท่ีท�ำการของโจทก์เพื่อแจ้งให้
โจทก์ทราบค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ท่ีประเมินให้โจทก์ช�ำระภาษี
เงนิ ไดน้ ิตบิ ุคคลเพ่ิมเตมิ ในรอบระยะเวลาบัญชีปี ๒๕๕๓ พรอ้ มเบ้ยี ปรบั และเงินเพ่ิมรวมเป็นเงนิ
๕,๓๖๓,๔๐๘.๑๐ บาท โดยมพี นกั งานของโจทกช์ อ่ื สพุ ตั ราเปน็ คนรบั หนงั สอื ไวใ้ นเวลา ๑๖.๒๒ น.
ตามหนา้ ซองจดหมาย ใบไปรษณยี ์ตอบรับและเอกสารการตดิ ตามสถานะการส่งของหนังสอื น้ัน
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า มีเหตุอันเป็นพฤติการณ์พิเศษและ
เหตสุ ดุ วสิ ยั อนั ทำ� ใหโ้ จทกไ์ มอ่ าจยนื่ คำ� รอ้ งขอขยายระยะเวลายน่ื คำ� ฟอ้ งภายในเวลาทกี่ ำ� หนดตาม
กฎหมายและจนถึงเวลาท่ีน�ำค�ำฟ้องมาย่ืนต่อศาลภาษีอากรกลางหรือไม่ เห็นว่า ประมวลรัษฎากร
มาตรา ๘ บัญญัติว่า “หมายเรียก หนังสือแจ้งให้เสียภาษีอากรหรือหนังสืออ่ืนซึ่งมีถึงบุคคลใด
ตามลักษณะน้ี ให้ส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือให้เจ้าพนักงานสรรพากรน�ำไปส่ง
ณ ภูมิล�ำเนาหรือถิ่นท่ีอยู่หรือส�ำนักงานของบุคคลน้ันในระหว่างพระอาทิตย์ข้ึนถึงพระอาทิตย์ตก
หรือในเวลาท�ำการของบุคคลน้ัน ถ้าไม่พบผู้รับ ณ ภูมิล�ำเนาหรือถิ่นท่ีอยู่หรือส�ำนักงานของ
ผรู้ บั จะส่งให้แก่บุคคลใดซง่ึ บรรลนุ ิตภิ าวะแลว้ และอยู่หรือทำ� งานในบา้ นหรือสำ� นักงานทีป่ รากฏ
117
ว่าเป็นของผู้รับน้ันก็ได้ เมื่อได้ปฏิบัติตามวิธีดังกล่าวข้างต้นแล้ว ให้ถือว่าเป็นอันได้รับแล้ว”
ตามบทบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว การสง่ หนงั สอื แจง้ คำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณโ์ ดยทางไปรษณยี ล์ งทะเบยี นตอบรบั
กระท�ำได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๘ วรรคหน่ึง และเมื่อลูกจ้างหรือพนักงานของโจทก์
รบั ไวแ้ ลว้ กจ็ ะตอ้ งถอื วา่ โจทกไ์ ดร้ บั หนงั สอื ดงั กลา่ วแลว้ ตง้ั แตน่ นั้ ตามไปรษณยี น์ เิ ทศ พ.ศ. ๒๕๖๑
ซึ่งออกโดยอาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พ.ศ. ๒๔๗๗
และมาตรา ๖ แห่งพระราชกฤษฎีกาก�ำหนดอำ� นาจ สทิ ธิ และประโยชน์ของบริษัทไปรษณยี ์ไทย
จ�ำกดั พ.ศ. ๒๕๔๖ ข้อ ๖๐ ถงึ ๖๓ ทีก่ ำ� หนดให้ผรู้ ับ หมายถงึ ผทู้ ่มี ชี ื่อระบอุ ยู่จ่าหน้าสง่ิ ของสง่
ทางไปรษณีย์ซ่ึงผู้ฝากส่งประสงค์จะให้เป็นผู้รับส่ิงของส่งทางไปรษณีย์นั้น และอาจน�ำจ่าย
ส่ิงของส่งทางไปรษณีย์น้ันให้แก่ผู้แทนของผู้รับได้ โดยในกรณีน�ำจ่าย ณ ท่ีอยู่ของผู้รับท่ีเป็น
บริษัท ถือว่าบุคคลต่อไปน้ีเป็นผู้แทนของผู้รับด้วย คือ บุคคลซ่ึงท�ำงานอยู่ในสถานท่ีเดียวกัน
กับผู้รับ จึงถือได้ว่า หนังสือแจ้งค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ได้น�ำจ่ายให้แก่ผู้รับคือโจทก์ต้ังแต่วันท่ี ๒๒
มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ แลว้ และตามมาตรา ๓๐ (๒) แหง่ ประมวลรษั ฎากร บญั ญตั ใิ หอ้ ทุ ธรณค์ ำ� วนิ จิ ฉยั
อุทธรณ์ของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ต่อศาลภายในก�ำหนด ๓๐ วัน นับแต่วันได้รับแจ้ง
ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ มิใช่วันที่กรรมการของโจทก์ทราบค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ ดังน้ัน โจทก์จึงต้อง
อุทธรณ์ต่อศาลหรือฟ้องคดีขอให้เพิกถอนการประเมินและค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ดังกล่าวภายใน
วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ หากมีพฤติการณพ์ เิ ศษเป็นเหตใุ หโ้ จทกไ์ มส่ ามารถอุทธรณต์ ่อศาล
ภายในก�ำหนดเวลาดังกล่าวได้ โจทก์ต้องย่ืนค�ำร้องขอขยายระยะเวลาต่อศาลก่อนระยะ
เวลาดังกล่าวสิ้นสุด เว้นแต่กรณีที่มีเหตุสุดวิสัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๒๓ ประกอบมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณา
คดีภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๒๘ ส�ำหรับที่โจทก์อ้างว่าหนังสือดังกล่าวตกหล่นอยู่ที่แผนกรักษา
ความปลอดภัยของโจทก์ไม่ได้ถูกส่งต่อไปให้กรรมการโจทก์ทราบ เน่ืองจากขณะนั้น
โจทก์ให้พนักงานของโจทก์ท�ำงานอยู่ที่บ้านตามนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา
การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด ๑๙ ท่ีออกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกท้องที่
ท่ัวราชอาณาจักร แต่โจทก์ก็มีพนักงานรักษาความปลอดภัยมาปฏิบัติงานและรับหนังสือ
ดังกล่าวไว้ การที่พนักงานรักษาความปลอดภัยของโจทก์เก็บหนังสือดังกล่าวไว้ ไม่น�ำส่งให้
กรรมการโจทก์ กถ็ อื ไดว้ ่า เปน็ การปฏิบัติงานของพนักงานของโจทก์ที่ท�ำงานบกพร่อง อนั เป็น
เรอื่ งภายในของโจทกท์ โ่ี จทกต์ อ้ งรบั ผดิ ชอบเอง เหน็ ไดจ้ ากทกี่ รรมการของโจทกย์ งั คงไดร้ บั ทราบ
หนังสือจากจ�ำเลยที่แจ้งเตือนให้น�ำภาษีอากรค้างช�ำระเมื่อกลางเดือนสิงหาคม ๒๕๖๓
118
ซึ่งเป็นช่วงเวลาท่ีรัฐบาลออกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาด
ของโรคไวรัสโควิด ๑๙ เช่นเดียวกันจนมีการน�ำเงินไปไปช�ำระให้แก่จ�ำเลยเม่ือวันที่ ๒๘
สงิ หาคม ๒๕๖๓ กรณขี องโจทกจ์ งึ ไมอ่ าจถอื ไดว้ า่ มพี ฤตกิ ารณพ์ เิ ศษเปน็ เหตใุ หโ้ จทกไ์ มส่ ามารถ
อุทธรณ์ต่อศาลภายในระยะเวลาตามกฎหมายได้ และไม่ใช่กรณีท่ีมีเหตุสุดวิสัยอันจะท�ำให้
โจทก์ย่ืนค�ำร้องขอขยายระยะเวลาต่อศาลหลังจากก�ำหนดระยะเวลาดังกล่าวได้ส้ินสุดลงแล้ว
ได้เช่นกัน ท่ีศาลภาษีอากรกลางวินิจฉัยให้ยกค�ำร้องขอขยายระยะเวลาย่ืนค�ำฟ้องคดีและไม่รับ
ค�ำฟ้องไว้พิจารณามาน้ันชอบแล้ว ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นพ้องด้วย อุทธรณ์ของโจทก์
ฟังไมข่ ้นึ
พพิ ากษายนื คา่ ฤชาธรรมเนยี มชั้นอทุ ธรณ์ใหเ้ ปน็ พับ.
(เลิศชาย จวิ ะชาติ - ณัฐพร ณ กาฬสนิ ธ์ุ - นรนิ ทร ต้งั ศรีไพโรจน)์
ธนสร สทุ ธิบดี - ยอ่
วนี สั นมิ ิตกลุ - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี ึงทสี่ ดุ
119
คำ� พิพากษาศาลอทุ ธรณ์คดีชำ� นัญพิเศษท่ี ๔๕๗/๒๕๖๔ บรษิ ทั สแตนดารด์
แวรเ์ ฮา้ ส์ จ�ำกัด โจทก์
จำ� เลย
กรมสรรพากร
กับพวก
ป.รัษฎากร มาตรา ๘๑ (๑) (ต)
ป.พ.พ. มาตรา ๖๕๙
ในการจะพจิ ารณาวา่ สญั ญาเชา่ คลังสินค้า เป็นสัญญาเชา่ หรอื สญั ญาฝากทรพั ย์น้ัน
มิใช่พิจารณาแต่เพียงจากรูปแบบของสัญญาว่ามีการระบุไว้ว่าเป็นสัญญาประเภทใด
เท่าน้ัน แต่ต้องพิจารณาจากเนื้อหาสาระของข้อตกลงในสัญญาแต่ละข้ออันเป็น
รายละเอียดในสัญญาเป็นข้อสาระส�ำคัญเพ่ือค้นหาวัตถุประสงค์หรือวัตถุแห่งสัญญา
ประกอบด้วย จากข้อก�ำหนดในสัญญาเห็นได้ว่า โจทก์มิได้ส่งมอบแต่เพียงล�ำพังอาคาร
สถานท่ีคลังสินค้าให้องค์การคลังสินค้าผู้เช่าเข้าครอบครองอย่างผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์
โดยปกติทั่วไป แต่โจทก์ยังคงมีภาระหน้าท่ีต้องปฏิบัติตามสัญญาเป็นฝ่ายควบคุมดูแล
การด�ำเนินการต่าง ๆ ภายในคลังสินค้าของโจทก์อยู่ในแต่ละขั้นตอนในการจัดเก็บ
อนั เปน็ การใชค้ วามระมดั ระวงั และฝมี อื เพอ่ื รกั ษาสนิ ค้าในฐานะผมู้ วี ชิ าชพี รบั ฝากทรพั ย์
ในกิจการคลังสินค้าของตนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๕๙ วรรคสาม ท้ังวัตถุประสงค์แห่ง
สัญญามิได้มุ่งประสงค์ถึงการให้องค์การคลังสินค้าเข้ามาเช่าพื้นที่ใช้แต่เฉพาะอาคาร
สถานทค่ี ลงั สนิ คา้ ของโจทกเ์ พยี งเทา่ ทโ่ี จทกส์ ง่ มอบพนื้ ทใี่ หอ้ งคก์ ารคลงั สนิ คา้ ครอบครอง
พน้ื ทเี่ ชา่ แตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว แตข่ อ้ กำ� หนดในสญั ญายงั เปน็ การมงุ่ ประสงคถ์ งึ การใหโ้ จทก์
มหี นา้ ทตี่ อ้ งดแู ลรกั ษาตวั ทรพั ยค์ อื ขา้ วสารในคลงั สนิ คา้ ทโี่ จทกบ์ รหิ ารจดั การอยอู่ ยา่ งไร
มใิ หต้ อ้ งเสยี หายอกี ดว้ ย จงึ ฟงั ไดว้ า่ โจทกเ์ ปน็ ผรู้ บั เกบ็ รกั ษาขา้ วสารไวใ้ นอารกั ขาในคลงั
สนิ คา้ แหง่ ตน โดยมกี ารรบั บำ� เหนจ็ คา่ ฝากเปน็ รายกระสอบนบั แตว่ นั ทอี่ งคก์ ารคลงั สนิ คา้
น�ำข้าวสารเข้ามาเก็บ สัญญาระหว่างโจทก์กับองค์การคลังสินค้าเข้าลักษณะเป็นสัญญา
ฝากทรัพย์ อนั ถอื เป็นการใหบ้ ริการท่อี ยู่ในบังคับต้องเสยี ภาษมี ลู ค่าเพิ่ม ไม่ใชส่ ัญญาเชา่
อสงั หาริมทรัพย์ทจ่ี ะได้รบั ยกเวน้ ภาษีมลู คา่ เพม่ิ ตามมาตรา ๘๑ (๑) (ต) แห่ง ป.รษั ฎากร
______________________________
120
โจทก์ฟ้อง ขอให้เพิกถอนการประเมินตามหนังสือแจ้งการประเมินภาษีมูลค่าเพ่ิม
(ภพ.๗๓.๑) เลขท่ี ภพ.๗๓.๑-๐๗๖๐๐๐๕๐-๒๕๕๙๐๕๑๑-๐๐๕-๐๐๐๐๘ ถึง ๐๐๐๒๕ ลงวันท่ี
๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เพิกถอนค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
เลขที่ สภ.๗/นว/๐๐๐๑/๕/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ให้จ�ำเลยท้ังหกร่วมกัน
คืนเงินค่าภาษีพร้อมดอกเบ้ียในอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี รวมเป็นเงิน ๑๐,๓๘๑,๑๘๕.๘๙ บาท
กับใหช้ ำ� ระดอกเบยี้ ในอตั รารอ้ ยละ ๗.๕ ต่อปี ของต้นเงนิ ค่าภาษี ๘,๓๗๐,๕๓๗.๐๒ บาท นบั แต่
วันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจำ� เลยท้ังหกจะชำ� ระเสรจ็ สน้ิ แกโ่ จทก์
ศาลภาษีอากรกลางมีค�ำสั่งรับฟ้องเฉพาะจ�ำเลยท่ี ๑ และที่ ๔ ถึงที่ ๖ ส่วนจ�ำเลย
ที่ ๒ และท่ี ๓ เป็นหนว่ ยงานราชการในสังกัดของจ�ำเลยท่ี ๑ ไม่มฐี านะเปน็ บุคคลตามกฎหมาย
จึงมีค�ำสั่งไมร่ ับฟ้อง
จ�ำเลยท่ี ๑ และท่ี ๔ ถึงท่ี ๖ ใหก้ าร ขอใหย้ กฟ้อง
ศาลภาษอี ากรกลาง พพิ ากษายกฟอ้ ง ให้โจทก์ใชค้ า่ ทนายความแทนจ�ำเลยท่ี ๑ และ
ท่ี ๔ ถึงที่ ๖ เป็นเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท ส่วนค่าฤชาธรรมเนียมอ่ืนให้เปน็ พับ
โจทกอ์ ทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า
เจา้ พนกั งานประเมนิ ของจำ� เลยท่ี ๑ ประเมนิ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ พรอ้ มเบยี้ ปรบั และเงนิ เพมิ่ สำ� หรบั เดอื น
ภาษีมกราคม กุมภาพันธ์ เมษายน พฤษภาคม และมิถุนายน ๒๕๕๒ เดือนภาษีมกราคม
และกรกฎาคม ๒๕๕๓ เดือนภาษีธันวาคม ๒๕๕๕ เดือนภาษีมกราคม มีนาคม กันยายน
และพฤศจิกายน ๒๕๕๖ เดือนภาษีกรกฎาคม สิงหาคม กันยายน และพฤศจิกายน ๒๕๕๗
เดอื นภาษกี มุ ภาพนั ธแ์ ละกรกฎาคม ๒๕๕๘ รวมเปน็ เงนิ ๔๘,๖๒๙,๑๗๑ บาท ตามหนงั สอื แจง้ การ
ประเมนิ ภาษมี ูลค่าเพมิ่ (ภพ.๗๓.๑) เลขท่ี ภพ.๗๓.๑-๐๗๖๐๐๐๕๐-๒๕๕๙๐๕๑๑-๐๐๕-๐๐๐๐๘
ถึง ๐๐๐๒๕ ลงวนั ท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ รวม ๑๘ ฉบับ โจทก์อุทธรณ์คดั ค้านการประเมิน
ตอ่ จำ� เลยที่ ๔ ถงึ ท่ี ๖ ตอ่ มาจ�ำเลยท่ี ๔ ถงึ ท่ี ๖ พิจารณาแล้วมคี �ำวินิจฉัยว่า การประเมนิ ของ
เจ้าพนักงานประเมินชอบด้วยกฎหมายแล้ว แต่โจทก์ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบจึงให้ลด
เบี้ยปรับลงคงเรียกเก็บในอัตราร้อยละ ๒๐ ของเบี้ยปรับตามกฎหมาย โดยให้เรียกเก็บภาษี
มูลค่าเพ่ิมพร้อมเบี้ยปรับและเงินเพ่ิมรวมเป็นเงิน ๒๗,๒๒๔,๕๑๘.๘๘ บาท โจทก์ได้รับแจ้ง
คำ� วนิ ิจฉยั อทุ ธรณเ์ มื่อวนั ท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๖๒
121
คดีมีปัญหาท่ีต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า สัญญาระหว่างโจทก์กับองค์การ
คลังสินค้าเป็นการให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์ท่ีได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพ่ิมตามมาตรา ๘๑
(๑) (ต) แหง่ ประมวลรษั ฎากรหรือไม่ เห็นว่า ในการจะพจิ ารณาวา่ สญั ญาเชา่ คลงั สนิ คา้ ทงั้ ๔ ฉบบั
เป็นสัญญาเช่าหรือสัญญาฝากทรัพย์นั้น มิใช่พิจารณาแต่เพียงจากช่ือของสัญญาว่ามีการระบุ
ไว้ว่าเป็นสัญญาประเภทใดเท่าน้ัน แต่ต้องพิจารณาจากเน้ือหาสาระของข้อตกลงในสัญญา
แต่ละข้อ อันเป็นรายละเอียดในสัญญาเป็นข้อสาระส�ำคัญ เพื่อค้นหาวัตถุประสงค์หรือวัตถุแห่ง
สญั ญาประกอบดว้ ย ซง่ึ เมอ่ื พเิ คราะหเ์ นอ้ื หาสาระแหง่ สญั ญาทงั้ ๔ ฉบบั ดงั กลา่ วแลว้ มกี ารตกลง
จา่ ยค่าตอบแทนที่มกี ารระบุวา่ เปน็ ค่าเช่าไวใ้ นสัญญา ข้อ ๒ วา่ ใหค้ ดิ คา่ เชา่ ตามจำ� นวนข้าวสาร
ท่ีน�ำเข้าเก็บจริงในคลังสินค้าเป็นรายกระสอบ ในอัตรากระสอบละ ๒.๐๐ บาท ต่อหน่ึงเดือน...
วนั เรม่ิ ต้นคิดคา่ เช่าให้เรม่ิ นบั ต้งั แต่วนั ทผ่ี ู้เช่าน�ำข้าวสารเข้าเก็บในคลงั สนิ คา้ ... ขอ้ ๓ สัญญาเชา่
มีกำ� หนดเวลาการเชา่ ๒ ปี นับแตว่ นั ทีผ่ เู้ ชา่ นำ� ข้าวสารเขา้ เก็บในคลังสินคา้ ... อันเป็นการเริม่ คิด
ค่าตอบแทนกันเมื่อน�ำข้าวสารเข้ามาจัดเก็บและคิดค่าเช่าจากจ�ำนวนข้าวสารที่มีการน�ำเข้ามา
จัดเก็บในคลังสินค้าของโจทก์ในอัตรากระสอบละ ๒.๐๐ บาท ต่อเดือน แทนที่จะมีการคิดค่าเช่า
อย่างอาคารสถานท่ี ซึ่งปกติทั่วไปจะมีการจัดเก็บคิดจากจ�ำนวนพ้ืนที่ที่เช่าหรือเช่าเหมาอาคาร
เป็นหลังที่ต้องจ่ายรายเดือนหรือรายปี ลักษณะของการคิดและการจ่ายค่าตอบแทนท่ีต้อง
ช�ำระให้แก่กันตามสัญญาที่ให้คิดค่าเช่าตามจ�ำนวนข้าวสารที่น�ำเข้าเก็บจริงในคลังสินค้าเป็น
รายกระสอบ ในอัตรากระสอบละ ๒.๐๐ บาท ต่อหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันท่ีผู้เช่าน�ำข้าวสาร
เขา้ เกบ็ ในคลงั สนิ คา้ นนั้ จงึ มลี กั ษณะเปน็ คา่ ตอบแทนทเี่ ปน็ บำ� เหนจ็ คา่ ฝากมากกวา่ ทจ่ี ะมลี กั ษณะ
เป็นค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์ ประกอบกับโจทก์ประกอบกิจการคลังสินค้าและในสัญญาระหว่าง
โจทก์และองค์การคลังสินค้า ข้อ ๑ ได้มีการระบุวัตถุประสงค์ไว้ว่า เพื่อใช้เป็นสถานที่จัดเก็บ
ข้าวสารท่ีแปรสภาพจากข้าวเปลือกนาปรังที่ผู้เช่าส่ังให้โรงสีส่งมอบตามโครงการรับจ�ำน�ำข้าว
เปลือกนาปรัง และยังมีข้อตกลงในการจดั เก็บและวิธีการจัดเก็บ โดยใหโ้ จทก์ตอ้ งมีหนา้ ทีท่ ำ� นอง
ใช้ความระมัดระวังในการจัดเก็บและดูแลรักษาข้าวสารรวมอยู่ด้วย กล่าวคือ ในสัญญา ข้อ ๔
มีการระบุขั้นตอนตั้งแต่การบริหารจัดการในคลังสินค้า ซ่ึงให้โจทก์มีหน้าที่จัดให้มีเครื่องชั่ง
น้�ำหนักรถบรรทุกและชั่งน้�ำหนักรถบรรทุกข้าวสารให้แก่โรงสีท่ีส่งข้าวสารเข้าคลังสินค้า ต้อง
จัดพื้นท่ีให้เหมาะสมในการรับและส่งมอบข้าวสาร ต้องติดตั้งโทรทัศน์วงจรปิดที่มีประสิทธิภาพ
พอที่จะปอ้ งกันการรัว่ ไหลของขา้ วสารทีจ่ ัดเกบ็ ในคลังสนิ คา้ ของโจทก์ ทง้ั ในสญั ญา ข้อ ๖ ยังมี
ข้อก�ำหนดในการจดั เกบ็ ขา้ วสารที่โจทกต์ อ้ งปฏบิ ตั ิ เช่น ก�ำหนดใหโ้ จทกต์ ้องมไี ม้พาเลทหรอื ใช้
122
แกลบปพู น้ื ความหนาไมน่ อ้ ยกวา่ ๕ เซนตเิ มตร โดยมผี า้ พลาสตกิ ปทู บั อกี ชน้ั หนงึ่ ตอ้ งจดั ใหม้ กี าร
เรียงกองข้าวสารให้มีความสูงของกระสอบไม่เกิน ๓๐ กระสอบ และความสูงของกองข้าวสาร
ตอ้ งวดั จากขอบผนังกำ� แพง (ทถ่ี กู เพดาน) ลงมาไมน่ อ้ ยกว่า ๑.๕๐ เมตร เว้นระยะห่างระหว่าง
ฝาผนังกับกองข้าวสารและระยะห่างระหว่างกองข้าวสารแต่ละกองไม่ต�่ำกว่า ๑ เมตร สามารถ
เดนิ ไดร้ อบกอง ชอ่ งกลางของประตคู ลงั สนิ คา้ ตอ้ งมคี วามกวา้ งไมต่ ำ่� กวา่ ๑.๕๐ เมตร ทงั้ นปี้ รมิ าณ
ข้าวสารแต่ละกองต้องไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ กระสอบ จากข้อก�ำหนดวิธีการจัดเก็บดังกล่าวเป็นการ
ระบุให้โจทก์มีหน้าที่ที่จะต้องบริหารจัดการคลังสินค้าให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดมิให้มีการจัดเก็บ
ที่ทับซ้อนหรือติดชิดผนังและเพดานมากเกินไป จนอาจท�ำให้ข้าวสารท่ีจัดเก็บในคลังสินค้าของ
โจทก์เกิดความเสียหายได้ และโจทก์ยังมีหน้าที่จัดเก็บรักษาข้าวสารในคลังสินค้าของโจทก์ให้
ข้าวสารหรือกระสอบบรรจุข้าวสารต้องอยู่ในสภาพปลอดภัยหรือปลอดจากความเสียหายใด ๆ
ต้องไม่เส่ือมคุณภาพหรือเสียหาย เพราะมิฉะนั้น โจทก์จะต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดข้ึน
ท้ังหมดตามที่ระบุไว้ในสัญญา ข้อ ๕ ซ่ึงโจทก์ไม่อาจปฏิเสธความรับผิดตามสัญญาดังกล่าว
หากจะมคี วามเสยี หายตอ่ ขา้ วสารเกดิ ขน้ึ ตอ่ องคก์ ารคลงั สนิ คา้ ได้ จากขอ้ กำ� หนดในสญั ญาทง้ั หมด
ดงั กลา่ วจะเหน็ ไดว้ า่ โจทกม์ ไิ ดส้ ง่ มอบแตเ่ พยี งลำ� พงั อาคารสถานทค่ี ลงั สนิ คา้ ใหอ้ งคก์ ารคลงั สนิ คา้
ผู้เช่าเข้าครอบครองอย่างผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์โดยปกติทั่วไป แล้วโจทก์ไม่ต้องท�ำหน้าท่ีใด ๆ
อีก แตโ่ จทก์ยงั คงมภี าระหนา้ ทีต่ อ้ งปฏิบัติตามสญั ญาเปน็ ฝ่ายควบคุมดูแลการดำ� เนินการตา่ ง ๆ
ภายในคลังสินค้าของโจทก์อยู่ในแต่ละขั้นตอนในการจัดเก็บ อันเป็นการใช้ความระมัดระวังและ
ฝีมือเพ่ือรักษาสินค้าในฐานะผู้มีวิชาชีพรับฝากทรัพย์ในกิจการคลังสินค้าของตนตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๖๕๙ วรรคสาม ทั้งวัตถุประสงค์แห่งสัญญามิได้มุ่งประสงค์
ถึงการให้องค์การคลังสินค้าเข้ามาเช่าพื้นท่ีใช้แต่เฉพาะอาคารสถานท่ีคลังสินค้าของโจทก์
เพียงเท่าที่โจทก์ส่งมอบพ้ืนท่ีให้องค์การคลังสินค้าครอบครองพ้ืนที่เช่าแต่เพียงอย่างเดียว
แลว้ โจทกห์ มดหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบในการบรหิ ารจดั การคลงั สนิ คา้ ทจ่ี ดั เกบ็ ขา้ วสารแตอ่ ยา่ งใด
แต่ข้อก�ำหนดในสัญญายังเป็นการมุ่งประสงค์ถึงการให้โจทก์มีหน้าที่ต้องดูแลรักษาตัวทรัพย์คือ
ข้าวสารในคลังสินค้าที่โจทก์บริหารจัดการอยู่อย่างไรมิให้ต้องเสียหายอีกด้วย ส่วนการท่ีองค์การ
คลังสินค้าบริหารจัดการคลังสินค้า โดยมีการจัดเก็บกุญแจท้ังหมดไว้ตลอดจนจ่ายค่าแรงงานใน
การขนจัดเรียงข้าวสารและค่าว่าจ้างในการตรวจสอบคุณภาพตลอดจนท�ำประกันภัยข้าวสารตาม
ท่ีโจทก์น�ำสืบไว้ก็ตาม ก็ล้วนแล้วแต่เป็นหน้าท่ีที่องค์การคลังสินค้ารับภาระหน้าที่มาจากรัฐบาลใน
การจัดเก็บรักษาข้าวสารในโครงการรับจ�ำน�ำข้าว ซ่ึงต้องใช้ความระมัดระวังตามขอบอ�ำนาจหน้าท่ี
123
ในฐานะรัฐวสิ าหกจิ อยแู่ ล้ว มิได้เป็นข้อพิสจู นต์ ายตัววา่ การท่อี งคก์ ารคลงั สินค้ามหี น้าที่ดงั กลา่ ว
แล้วโจทก์จะไม่มีหน้าท่ีเก็บรักษาข้าวสารตามสัญญาที่ท�ำไว้กับองค์การคลังสินค้าตามท่ีโจทก์
อุทธรณ์ ข้อเท็จจริงจึงรับฟังได้ว่าโจทก์เป็นผู้รับเก็บรักษาข้าวสารไว้ในอารักขาในคลังสินค้า
แห่งตนแล้ว โดยมีการรับบ�ำเหน็จค่าฝากเป็นรายกระสอบนับแต่วันที่องค์การคลังสินค้าน�ำ
ข้าวสารเข้ามาเก็บ สญั ญาระหว่างโจทก์กับองค์การคลงั สินค้าเข้าลกั ษณะเป็นสัญญาฝากทรพั ย์
อันถือเป็นการให้บริการท่ีอยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพ่ิม ไม่ใช่สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่
จะไดร้ ับยกเว้นภาษมี ลู คา่ เพ่มิ ตามมาตรา ๘๑ (๑) (ต) แหง่ ประมวลรษั ฎากรตามทโ่ี จทก์อุทธรณ์
เมื่อวินิจฉัยได้ดังนี้ อุทธรณ์ข้ออ่ืนของโจทก์จึงไม่จ�ำต้องวินิจฉัยเพราะไม่มีผลท�ำให้ค�ำพิพากษา
เปล่ียนแปลง ที่ศาลภาษีอากรกลางพิพากษามา ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นพ้องด้วย
อทุ ธรณข์ องโจทกฟ์ ังไม่ขึน้
พพิ ากษายนื คา่ ฤชาธรรมเนียมชน้ั อทุ ธรณ์ให้เป็นพบั .
(สมศักด์ิ อินทร์พันธุ์ - บุญเขตร์ พมุ่ ทพิ ย์ - สรายุทธ์ วุฒยาภรณ์)
ธนสร สทุ ธิบดี - ยอ่
วนี สั นิมติ กุล - ตรวจ
124
ค�ำพิพากษาศาลอุทธรณค์ ดีชำ� นัญพเิ ศษที ่ ๑๖๓๖ - ๑๖๓๗/๒๕๖๔ นายอภวิ ตั ต์
นม่ิ ละออ โจทก์
กรมสรรพากร จำ� เลย
ป.รษั ฎากร มาตรา ๘, ๘๘/๕
แม้การส่งหนังสือเชิญพบให้แก่โจทก์โดยทางไปรษณีย์ตอบรับและโดยการปิด
หนังสือไว้ ณ บ้านเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ ซึ่งโจทก์มีท่ีอยู่ทางทะเบียน จะเป็นการส่งโดยชอบ
ด้วยกฎหมายก็ตาม แต่ปัญหาว่าการส่งหนังสือเชิญพบเป็นไปโดยชอบหรือไม่กับปัญหา
ว่าโจทก์ได้รับทราบข้อความในเอกสารดังกล่าวแล้วหรือไม่เป็นคนละเรื่องกัน เมื่อ
พิจารณาจากข้อเท็จจริงท่ีเห็นได้ว่าหนังสือเชิญโจทก์ไปพบเพื่อชี้แจงหรือให้ถ้อยค�ำต่อ
เจ้าพนักงานของจ�ำเลยท่ีส่งไปยังบ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔ เป็นการส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ
ซง่ึ ทกุ คร้ังไมส่ ามารถส่งได้เน่ืองจากบา้ นปดิ บา้ ง ไม่มผี ู้มารบั ภายในกำ� หนดบ้าง โจทกจ์ ึง
ย่อมไมม่ โี อกาสทราบข้อความในเอกสารดังกล่าวได้ มีเพียงครงั้ เดยี วท่ีเจา้ พนกั งานของ
จำ� เลยสง่ หนงั สอื โดยใชว้ ธิ ปี ดิ เอกสารไวท้ บี่ า้ นเลขที่ ๕๑/๖๕๔ แตเ่ อกสารดงั กลา่ วเปน็ เพยี ง
หนังสือเชิญโจทก์มารับทราบผลการตรวจสอบ และเหตุท่ีใช้วิธีปิดเอกสารก็มิใช่เพราะ
โจทก์หรือบุคคลในบ้านไม่ยอมรับเอกสาร แต่เป็นเพราะบ้านปิดและไม่พบบุคคลอ่ืนใด
ในบ้าน ซ่ึงการที่โจทก์เข้าไปท่ีบ้านเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ เพียงปลี ะครัง้ ย่อมมโี อกาสท่ีโจทกจ์ ะ
ไมไ่ ดพ้ บเหน็ และรบั ทราบขอ้ ความในเอกสาร เนอื่ งจากการปดิ เอกสารดงั กลา่ วยอ่ มทำ� ให้
ง่ายต่อการที่เอกสารอาจหลุดปลิวหรือถูกฝนชะจนหลุดหายไป ส่วนท่ีจ�ำเลยน�ำสืบว่า
เจา้ พนกั งานของจำ� เลยมกี ารตดิ ตอ่ กบั โจทกท์ างเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรอ์ กี หลายครง้ั เพอ่ื
แจ้งให้โจทก์ทราบเร่ืองการเชิญโจทก์ไปพบน้ัน นอกจากพยานจ�ำเลยจะเบิกความกล่าว
อ้างลอย ๆ โดยไม่ปรากฏพยานหลักฐานใดท่ีแสดงว่าได้มีการติดต่อกับโจทก์โดยวิธี
ดังกล่าวและโจทก์ได้ทราบเร่ืองแล้ว การติดต่อแจ้งให้โจทก์ไปพบด้วยวิธีดังกล่าว
ก็ไม่ชอบด้วยมาตรา ๘ แห่ง ป.รัษฎากร พฤติการณ์ท้ังหมดที่กล่าวมาท�ำให้พยาน
หลักฐานที่โจทก์น�ำสืบมีน�้ำหนักมากกว่าพยานหลักฐานของจ�ำเลย ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า
ท่ีโจทก์ไม่ได้ไปพบและตอบค�ำถามของเจ้าพนักงานประเมินตามหนังสือเชิญพบทุกคร้ัง
เป็นเพราะโจทก์ไม่ทราบว่ามีการส่งหนังสือและไม่ทราบข้อความในหนังสือดังกล่าวโดย
มีเหตุผลอันสมควร กรณีของโจทก์จึงไม่ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินตาม
ป.รษั ฎากร มาตรา ๘๘/๕ และไมเ่ ป็นการตัดอำ� นาจโจทกท์ ี่จะฟ้องจ�ำเลยเปน็ คดนี ี้
______________________________
125
โจทก์ฟ้อง ขอให้เพิกถอนการประเมินตามหนังสือแจ้งการประเมินภาษีมูลค่าเพ่ิม
เลขที่ ภพ.๗๓.๑-๐๒๐๑๙๒๗๐-๒๕๖๑๐๗๑๓-๐๐๕-๐๐๗๖๓ ถึง ๐๐๘๐๐ ลงวันที่ ๑๓
กรกฎาคม ๒๕๖๑ และค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ เลขที่ สภ.๒/
อธ.๓/๒.๑/๓/๒๕๖๓ ถึงเลขท่ี สภ.๒/อธ.๓/๒.๓๘/๓/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ กบั
งดหรอื ลดเบ้ียปรับและเงินเพมิ่ ใหแ้ กโ่ จทก์
จ�ำเลยใหก้ าร ขอใหย้ กฟ้อง
ระหวา่ งการพจิ ารณา โจทกย์ นื่ คำ� รอ้ งขอใหศ้ าลเพกิ ถอนคำ� สง่ั อนญุ าตใหจ้ ำ� เลยยน่ื บญั ชี
ระบพุ ยานและผดั ส่งเอกสาร ลงวนั ที่ ๒๕ สงิ หาคม ๒๕๖๓ ศาลภาษอี ากรกลางมีคำ� สง่ั ยกค�ำร้อง
ตอ่ มาโจทกย์ น่ื คำ� รอ้ งขออนญุ าตยน่ื บญั ชรี ะบพุ ยานเพม่ิ เตมิ ครง้ั ที่ ๔ ลงวนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓
ศาลภาษอี ากรกลางมคี ำ� สง่ั ไม่อนุญาตให้โจทกร์ ะบุพยานอนั ดับ ๑ คงอนญุ าตให้โจทกร์ ะบุพยาน
เฉพาะอนั ดบั ๒ ตามบญั ชรี ะบุพยานเพม่ิ เตมิ ดงั กล่าว
ศาลภาษีอากรกลาง พิพากษายกฟ้อง ให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแทนจ�ำเลยเป็นเงิน
๑๕,๐๐๐ บาท คา่ ฤชาธรรมเนยี มอนื่ ให้เปน็ พับ
โจทก์อุทธรณ์ค�ำสั่งระหว่างพิจารณาและอุทธรณ์ค�ำพิพากษา โดยผู้พิพากษาซึ่งนั่ง
พิจารณาคดใี นศาลภาษอี ากรกลางรับรองให้อทุ ธรณใ์ นปญั หาข้อเท็จจริง
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า คดีมีปัญหาท่ีต้องวินิจฉัย
ตามอุทธรณ์ของโจทก์ประการแรกว่า ค�ำส่ังศาลภาษีอากรกลางที่อนุญาตให้จ�ำเลยยื่นบัญชีระบุ
พยานและผดั สง่ พยานเอกสารชอบหรอื ไม่ ในปญั หานข้ี อ้ เทจ็ จรงิ ไดค้ วามวา่ โจทกย์ น่ื คำ� ฟอ้ งคดนี ้ี
เมอื่ วันที่ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ ศาลภาษีอากรกลางมีคำ� สั่งในวนั เดยี วกนั ว่า “รับค�ำฟ้อง หมายส่ง
สำ� เนาใหจ้ ำ� เลยตามขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยการสง่ คำ� คคู่ วามและเอกสารทางคดี ใหโ้ จทกว์ างเงนิ คา่ นำ� สง่
อยา่ งชา้ ภายในวนั ทำ� การถดั ไป มฉิ ะนน้ั ถอื วา่ โจทกท์ ง้ิ ฟอ้ ง นดั พจิ ารณาเพอ่ื ไกลเ่ กลยี่ /ชส้ี องสถาน/
สบื พยาน วันท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓ เวลา ๙ นาฬิกา” และออกหมายเรียกใหจ้ ำ� เลยทำ� ค�ำให้การ
แก้คดีพร้อมกับแจ้งก�ำหนดนัดดังกล่าวให้จ�ำเลยทราบ จ�ำเลยได้รับหมายเรียกโดยวิธีปิดหมาย
เมอื่ วนั ที่ ๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ ครบกำ� หนดทจี่ ะตอ้ งยน่ื คำ� ใหก้ ารภายในวนั ที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ต่อมาวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ จ�ำเลยย่ืนค�ำร้องขออนุญาตขยายระยะเวลายื่นค�ำให้การ
ถึงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ ศาลภาษีอากรกลางมีค�ำสั่งอนุญาต วันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๓
จ�ำเลยยื่นค�ำให้การพร้อมกับย่ืนบัญชีระบุพยาน ศาลภาษีอากรกลางมีค�ำสั่งในค�ำให้การว่า
“จ�ำเลยยื่นค�ำให้การภายในก�ำหนดเวลาที่ศาลอนุญาต รับค�ำให้การ ส�ำเนาให้โจทก์ นัดชี้สองสถาน
126
ตามทนี่ ดั ไว”้ และมคี ำ� สงั่ ในบญั ชรี ะบพุ ยานวา่ “จำ� เลยยนื่ บญั ชรี ะบพุ ยานไมเ่ ปน็ ไปตามขอ้ กำ� หนด
คดีภาษอี ากร พ.ศ. ๒๕๔๔ จึงไม่รับบญั ชีระบุพยานของจ�ำเลย” ตอ่ มาวนั ที่ ๑๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓
จ�ำเลยยื่นค�ำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานอีกครั้งและขอผัดส่งพยานเอกสารโดย
อ้างว่า คดีมีข้อเท็จจริงซับซ้อน พยานเอกสารและพยานบุคคลของจ�ำเลยมีจ�ำนวนมากยากต่อ
การทำ� ความเขา้ ใจ ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถยนื่ บญั ชรี ะบพุ ยานกอ่ นวนั ชส้ี องสถานไมน่ อ้ ยกว่าสามสบิ วนั
ศาลภาษีอากรกลางเห็นว่ากรณีมีเหตุสมควร จึงอนุญาตให้จ�ำเลยยื่นบัญชีระบุพยานและผัดส่ง
เอกสารได้ เหน็ วา่ ในชนั้ สงั่ รบั คำ� ฟอ้ งคดนี ้ี ศาลภาษอี ากรกลางมคี ำ� สงั่ ในตอนทา้ ยวา่ นดั พจิ ารณา
เพื่อไกล่เกลี่ย/ชี้สองสถาน/สืบพยาน วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ ซึ่งไม่ใช่การนัดชี้สองสถาน
เพียงอย่างเดียว จนเม่ือศาลภาษีอากรกลางมีค�ำส่ังรับค�ำให้การจ�ำเลยแล้วจึงมีค�ำส่ังในตอน
ทา้ ยวา่ ใหน้ ดั ชส้ี องสถานตามทน่ี ดั ไว้ นอกจากนเ้ี มอ่ื จำ� เลยไดร้ บั หมายเรยี กและสำ� เนาคำ� ฟอ้ งแลว้
ทนายจ�ำเลยได้ยื่นค�ำร้องขอขยายเวลาย่ืนค�ำให้การโดยให้เหตุผลว่าต้องใช้เวลาในการรวบรวม
เอกสารและสอบขอ้ เทจ็ จรงิ จากพยานทเ่ี กยี่ วข้องเพื่อจัดทำ� ค�ำให้การแกค้ ดี ศาลภาษอี ากรกลาง
พิจารณาแล้วมีค�ำสงั่ อนญุ าตให้จำ� เลยขยายระยะเวลาย่นื คำ� ใหก้ ารถึงวันที่ ๑๗ สงิ หาคม ๒๕๖๓
ตอ่ มาวนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๓ จำ� เลยจึงไดย้ ืน่ คำ� ให้การตอ่ ศาล ซ่งึ แสดงว่าจำ� เลยเพิง่ รวบรวม
พยานหลักฐานท้ังปวงเสร็จสิ้นพร้อมท่ีจะต่อสู้คดีในวันดังกล่าว และจ�ำเลยก็ได้ย่ืนบัญชีระบุ
พยานตอ่ ศาลในวนั เดยี วกนั อนั แสดงถงึ ความสจุ รติ ในการดำ� เนนิ กระบวนพจิ ารณา แมจ้ ะเปน็ การ
ย่ืนบัญชีระบุพยานภายในระยะเวลาน้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันชี้สองสถานซ่ึงไม่เป็นไปตาม
ข้อกำ� หนดคดภี าษอี ากร พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๕ วรรคหน่ึง แตเ่ มอื่ ศาลภาษอี ากรกลางขยายระยะ
เวลาย่ืนค�ำให้การให้แก่จ�ำเลยโดยมิได้เลื่อนก�ำหนดวันนัดช้ีสองสถานออกไปด้วย จึงเป็นเหตุให้
ระยะเวลานับแต่วันท่ีจ�ำเลยยื่นค�ำให้การถึงวันชี้สองสถานเหลือน้อยกว่าสามสิบวัน ซ่ึงจ�ำเลย
ก็ได้ยื่นบัญชีระบุพยานในโอกาสแรกภายหลังจากจ�ำเลยย่ืนค�ำให้การแล้ว และเม่ือศาลภาษี
อากรกลางมคี ำ� สง่ั ไมร่ บั บญั ชรี ะบพุ ยานดงั กลา่ ว จำ� เลยกย็ นื่ คำ� รอ้ งขออนญุ าตยนื่ บญั ชรี ะบพุ ยาน
ตามข้อก�ำหนดคดภี าษีอากร พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ้ ๑๕ วรรคส่ี ภายหลงั จากนน้ั เพียงสวี่ ัน พฤตกิ ารณ์
แห่งคดีดังที่กล่าวมานับว่าเป็นกรณีมีเหตุอันสมควรที่ท�ำให้จ�ำเลยไม่สามารถย่ืนบัญชีระบุ
พยานภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายกำ� หนดได้ และเพอื่ ให้การวินิจฉยั ชี้ขาดข้อสำ� คญั แหง่ ประเด็น
เป็นไปโดยเที่ยงธรรม จ�ำเป็นจะต้องสืบพยานหลักฐานเช่นว่าน้ัน ส่วนการส่งต้นฉบับพยาน
เอกสารซ่ึงจ�ำเลยต้องย่ืนต่อศาลพร้อมกับการย่ืนบัญชีระบุพยานตามข้อก�ำหนดคดีภาษีอากร
พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๖ วรรคหน่งึ นั้น จ�ำเลยไดย้ ืน่ คำ� รอ้ งขอผดั สง่ พยานเอกสารดงั กลา่ วตอ่ ศาล
127
เมื่อวันท่ี ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ พร้อมกับการย่ืนบัญชีระบุพยานแล้ว ซึ่งตามพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๙ บัญญัติให้อ�ำนาจ
ศาลภาษีอากรท่ีจะย่นหรือขยายระยะเวลาตามท่ีก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ศาล
ภาษอี ากรกำ� หนดไดต้ ามความจำ� เปน็ และเพอ่ื ประโยชนแ์ หง่ ความยตุ ธิ รรม เมอ่ื จำ� เลยแสดงเหตผุ ล
ในค�ำร้องแล้วว่าเอกสารที่ต้องจัดส่งมีจ�ำนวนมากอันถือได้ว่าเป็นกรณีมีความจ�ำเป็นแล้ว ศาล
ภาษีอากรกลางจึงชอบที่จะอนุญาตให้จ�ำเลยขยายระยะเวลาย่ืนพยานเอกสารต่อศาลเพื่อ
ประโยชน์แห่งความยุติธรรมได้ หลังจากน้ันจ�ำเลยก็ได้น�ำส่งพยานเอกสารต่อศาลเมื่อวันท่ี ๒๕
สิงหาคม ๒๕๖๓ ซึ่งขณะนั้นศาลภาษีอากรกลางยงั มไิ ดช้ สี้ องสถานและก�ำหนดวันนัดสืบพยาน
โจทก์ โดยปรากฏขอ้ เทจ็ จรงิ ตามรายงานกระบวนพจิ ารณา ลงวนั ท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓ วา่ หลงั จาก
ดำ� เนนิ กระบวนพจิ ารณาชสี้ องสถานเสรจ็ สนิ้ แลว้ ศาลภาษอี ากรกลางไดแ้ จง้ ใหค้ คู่ วามไปกำ� หนด
วนั นดั สบื พยานทศี่ นู ยน์ ดั ความของศาล โจทกจ์ งึ ยอ่ มมโี อกาสทจี่ ะพจิ ารณาวา่ ตอ้ งใชเ้ วลาเพยี งใด
ในการตรวจสอบพยานเอกสารของจำ� เลยเพอื่ กำ� หนดวนั นดั สบื พยานโจทกใ์ หเ้ หมาะสมได้ ปรากฏ
วา่ โจทกแ์ ละจำ� เลยตกลงกำ� หนดนดั สบื พยานโจทกว์ นั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ และนดั สบื พยาน
จ�ำเลยวนั ท่ี ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ซงึ่ เปน็ เวลาภายหลังจากท่ีจ�ำเลยส่งพยานเอกสารตอ่ ศาล
แลว้ ถงึ สองเดอื นเศษ ขอ้ อา้ งตามอทุ ธรณข์ องโจทกท์ ว่ี า่ การทจ่ี ำ� เลยสง่ พยานเอกสารลา่ ชา้ ทำ� ให้
โจทกม์ เี วลาศกึ ษาพยานเอกสารของจำ� เลยนอ้ ยลง ทำ� ใหเ้ สยี เปรยี บและไดร้ บั ความเสยี หายจงึ ไมม่ ี
นำ้� หนกั ให้รับฟงั คำ� พิพากษาศาลฎกี าท่โี จทก์อา้ งมีขอ้ เทจ็ จริงไม่ตรงกับคดีน้ี ท่ีศาลภาษีอากรกลาง
มีค�ำสั่งอนุญาตให้จ�ำเลยยื่นบัญชีระบุพยานเม่ือวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ และผัดส่งพยาน
เอกสารจงึ ชอบแลว้ อทุ ธรณข์ องโจทกข์ ้อนี้ฟังไม่ขน้ึ
คดมี ปี ญั หาทตี่ อ้ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข์ องโจทกป์ ระการตอ่ ไปวา่ คำ� สงั่ ศาลภาษอี ากรกลาง
ท่ีไม่อนุญาตให้โจทก์ระบุพยานอันดับ ๑ ตามบัญชีระบุพยานเพ่ิมเติม คร้ังที่ ๔ ลงวันที่ ๓๐
ตุลาคม ๒๕๖๓ ชอบหรอื ไม่ เหน็ วา่ ขอ้ อา้ งของโจทกท์ ว่ี ่ามผี ู้ปลอมลายมอื ชื่อโจทกใ์ นใบตอบรับ
กด็ ี ผู้ใช้ชือ่ วา่ “สรญั ญู” ในใบตอบรบั ไม่ใช่นอ้ งชายของโจทกก์ ็ดี โจทก์ชอบที่จะน�ำสบื ปฏิเสธได้
โดยตรงซึ่งในช้ันท่ีโจทก์อ้างตนเองเป็นพยานก็ได้เบิกความยืนยันอยู่แล้วว่าลายมือชื่อในใบตอบรับ
ดังกล่าวไม่ใช่ลายมือช่ือโจทก์ และผู้ที่ใช้ช่ือว่า “สรัญญู” ก็ไม่ใช่น้องชายโจทก์ ส่วนรายงาน
ประจ�ำวันและหนังสือร้องทุกข์ที่โจทก์ระบุอ้างเพิ่มเติมภายหลังจากที่ศาลภาษีอากรกลาง
ช้ีสองสถานแล้วเป็นเพียงพยานบอกเล่าที่เจ้าพนักงานจัดท�ำขึ้นตามค�ำบอกเล่าของโจทก์ ไม่ใช่
พยานหลกั ฐานอนั สำ� คญั ทจ่ี ะพสิ จู นไ์ ดว้ า่ ขอ้ อา้ งดงั กลา่ วของโจทกเ์ ปน็ ความจรงิ จงึ ตอ้ งดว้ ยกรณี
128
ท่ีไม่จ�ำเป็นจะต้องสืบพยานหลักฐานเช่นว่าน้ี ท่ีศาลภาษีอากรกลางมีค�ำสั่งไม่อนุญาตให้โจทก์
ระบุพยานอันดับที่ ๑ ตามบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม ครั้งท่ี ๔ นั้น ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ
เหน็ พ้องด้วยในผล อุทธรณ์ข้อน้ขี องโจทก์ฟังไม่ขึน้ เช่นกนั
คดีมีปัญหาท่ีต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ประการต่อไปว่า เจ้าพนักงานของ
จ�ำเลยส่งหนังสือเชิญพบและหนังสือแจ้งการประเมินไปยังโจทก์โดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
เหน็ ว่า ขอ้ เท็จจรงิ ฟังไดว้ า่ เดิมโจทกเ์ คยอาศยั และมีชอ่ื อยู่ในทะเบียนบ้านเลขท่ี ๔๙/๑๘๒ หมู่ที่
๙ ซอยนวลจนั ทร์ ๑๐ ถนนนวมินทร์ แขวงบงึ กมุ่ เขตบงึ กุ่ม กรุงเทพมหานคร ต่อมาโจทกย์ า้ ย
ไปอย่ทู บ่ี า้ นเลขที่ ๕๑/๖๕๔ หมทู่ ี่ ๙ ซอยนวลจันทร์ ๑๗ ถนนนวลจนั ทร์ แขวงนวลจันทร์ เขต
บึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร โดยย้ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านเลขที่ ๔๙/๑๘๒ ไปอยู่ท่ีบ้านเลขที่
๕๑/๖๕๔ ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๕ หลงั จากนน้ั โจทกไ์ ดย้ า้ ยไปอยทู่ บี่ า้ นเลขท่ี ๑๗๙/๗๕
ถนนรว่ มมิตรพฒั นา แขวงทา่ แรง้ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร สว่ นท่จี ำ� เลยน�ำสบื วา่ ในการ
ส่งหนังสือลงวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ แจ้งให้โจทกม์ าพบเจ้าพนกั งานของจำ� เลยในวนั ที่ ๓๐
กรกฎาคม ๒๕๕๗ เพ่ือช้ีแจงผลประกอบกิจการ ได้จัดส่งไปท่ีบ้านเลขที่ ๔๙/๑๘๒ และบ้านเลขท่ี
๕๑/๖๕๔ ซง่ึ ในการส่งไปท่ีบา้ นเลขที่ ๔๙/๑๘๒ โจทก์เป็นผลู้ งชอื่ รับหนังสอื และในการมหี นังสือ
เชญิ พบครง้ั ทสี่ องซงึ่ มกี ารสง่ ไปใหโ้ จทกท์ บ่ี า้ นเลขท่ี ๔๙/๑๘๒ เชน่ กนั กม็ ผี รู้ บั ซง่ึ ระบวุ า่ ชอ่ื “สรญั ญ”ู
เก่ียวพันกับโจทก์โดยเป็นน้องลงชื่อรับไว้แทนน้ัน โจทก์ก็น�ำสืบปฏิเสธอยู่ว่าโจทก์ไม่ได้เป็น
ผู้ลงชื่อรับหนังสือ ลายมือช่ือผู้รับหนังสือตามใบตอบรับดังกล่าวไม่ใช่ลายมือช่ือโจทก์ และ
โจทก์ไม่มีน้องช่ือสรัญญู ซ่ึงนอกจากจ�ำเลยจะไม่ได้น�ำพยานบุคคลที่เป็นผู้จัดส่งหนังสือน้ีมาสืบ
หกั ลา้ งขอ้ อา้ งของโจทกแ์ ลว้ พยานจำ� เลย กเ็ บกิ ความตอบทนายโจทกถ์ ามคา้ นรบั วา่ เมอื่ พจิ ารณา
ลายมือช่ือโจทก์ท่ีลงชื่อต่อหน้าพยานในวันท่ีไปพบพยานเปรียบเทียบกับลายมือชื่อผู้ลงนามรับ
หนังสอื ในใบตอบรับแล้วมีลายมือไม่ตรงกัน ขอ้ เท็จจริงจึงไม่อาจรบั ฟงั วา่ ผู้ลงชอ่ื รับหนงั สือตาม
ใบตอบรับคือตัวโจทก์และน้องของโจทก์ตามล�ำดับจริง นอกจากน้ียังได้ความว่า เม่ือวันท่ี ๑๗
พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เจ้าพนักงานของจ�ำเลย ได้ออกตรวจสภาพกิจการรายโจทก์ที่บ้านเลขที่
๔๙/๑๘๒ พบว่าบ้านปิด จากการสอบถามเพ่ือนบ้านแจ้งว่าโจทก์ได้ขายบ้านหลังนี้หลายปีแล้ว
โดยไปซื้อบ้านหลังใหม่ ในวันเดียวกันนั้นได้ไปตรวจท่ีบ้านเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ ซึ่งเป็นท่ีอยู่ตาม
ทะเบียนราษฎร์ของโจทก์ พบบ้านปิด สภาพรกร้างไมม่ คี นอย่อู าศยั จากการสอบถามเพื่อนบา้ น
แจง้ วา่ เจ้าของบา้ นไม่ได้อยอู่ าศัยทีบ่ ้านดังกลา่ ว นานครั้งจงึ จะเข้ามา ข้อเทจ็ จริงจงึ ไมอ่ าจรบั ฟงั
ไดว้ ่าบา้ นเลขท่ี ๔๙/๑๘๒ เปน็ ภมู ิลำ� เนา หรือถนิ่ ท่ีอยู่ หรอื ส�ำนกั งานของโจทก์ การสง่ หนงั สือ
129
เชิญพบหรอื เอกสารใด ๆ ใหโ้ จทกโ์ ดยส่งไปทบ่ี า้ นเลขท่ี ๔๙/๑๘๒ จึงไมช่ อบด้วยประมวลรษั ฎากร
มาตรา ๘ วรรคหน่ึง กรณีต้องถือว่าโจทก์มีภูมิล�ำเนาอยู่ท่ีบ้านเลขท่ี ๑๗๙/๗๕ ถนนร่วมมิตร
พัฒนา แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร อุทธรณ์ของโจทก์ข้อนี้ฟังข้ึนบางส่วน
อยา่ งไรกต็ าม แมจ้ ะไดค้ วามวา่ โจทกย์ า้ ยออกจากบา้ นเลขที่ ๕๑/๖๕๔ ไปอยทู่ บี่ า้ นเลขท่ี ๑๗๙/๗๕
ตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ แต่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า โจทก์ยังคงมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔
ในฐานะเปน็ เจา้ บ้านตั้งแต่วนั ท่ี ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๕ โดยโจทก์เพ่งิ ยา้ ยช่ือออกจากทะเบยี น
บ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔ ไปเข้าทะเบียนบ้านเลขท่ี ๑๗๙/๗๕ เม่ือวันท่ี ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๓
ส่วนส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนของโจทก์ซึ่งระบุวันออกบัตรวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๘
ก็ยังระบุว่าโจทก์มีที่อยู่เลขท่ี ๕๑/๖๕๔ ซอยนวลจันทร์ ๑๗ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม
กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังปรากฏว่าในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม และเมษายน
๒๕๕๗ โจทก์ได้รับเงินได้พึงประเมินจากบริษัทไอ เอ็ม ไอ เอนไวเทค จ�ำกัด บริษัทไอ เอ็ม
ไอ เอด็ ดูเทค จำ� กัด บริษทั ไอ เอม็ ไอ แอดวานซ์ เมคคานิค จ�ำกัด บรษิ ัทไอ เอม็ ไอ โพรเซส
อินสตรเู มนท์ จำ� กดั และบริษัทไอ เอ็ม ไอ อินดสั ตรีส์ จ�ำกดั เดือนมถิ นุ ายน กรกฎาคม สงิ หาคม
และกนั ยายน ๒๕๕๗ ไดร้ บั เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ จากหา้ งหนุ้ สว่ นจำ� กดั ชชั วาล อมิ ปอรต์ เอก๊ ซป์ อรต์
แอนด์ แพค็ เกท บรษิ ัทไอ เอ็ม ไอ เอนไวเทค จำ� กดั บริษัทไอ เอม็ ไอ เอด็ ดูเทค จำ� กดั บริษทั
ไอ เอม็ ไอ แอดวานซ์ เมคคานคิ จ�ำกัด บริษัทไอ เอ็ม ไอ โพรเซส อินสตรูเมนท์ จำ� กัด และ
บรษิ ทั ไอ เอ็ม ไอ อนิ ดัสตรสี ์ จำ� กดั เดือนตลุ าคม พฤศจิกายน และธนั วาคม ๒๕๕๗ ไดร้ บั เงินได้
พึงประเมินจากบริษัทไอ เอ็ม ไอ เอนไวเทค จ�ำกัด บริษัทไอ เอ็ม ไอ เอ็ดดูเทค จ�ำกัด
บรษิ ัทไอ เอม็ ไอ แอดวานซ์ เมคคานคิ จำ� กดั บรษิ ัทไอ เอม็ ไอ โพรเซส อนิ สตรูเมนท์ จำ� กัด
และบริษัทไอ เอม็ ไอ อนิ ดัสตรีส์ จำ� กดั โดยนิตบิ คุ คลเหล่านไ้ี ด้หกั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายพร้อมจัดท�ำ
แบบย่ืนรายการภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย (ภ.ง.ด.๓) และใบแนบ ภ.ง.ด.๓ ระบุว่าโจทก์ซ่ึงเป็น
ผู้มีเงินได้มีที่อยู่เลขที่ ๕๑/๖๕๔ หมู่ท่ี ๙ แขวงคลองกุ่ม (ปัจจุบันแขวงนวลจันทร์) เขตบึงกุ่ม
กรุงเทพมหานคร อันแสดงวา่ ในปี ๒๕๕๗ และหลงั จากนัน้ โจทก์ยงั คงแจง้ ต่อบุคคลที่เกยี่ วขอ้ ง
ว่าโจทก์ยงั มีภมู ิล�ำเนาอยูท่ บี่ า้ นเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ ย่งิ ไปกว่านั้นโจทก์ยังเบกิ ความว่า หลงั จากย้าย
ไปอยู่ที่บ้านเลขท่ี ๑๗๙/๗๕ แล้ว โจทก์ยงั กลบั ไปท่ีบ้านเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ ปลี ะครงั้ เพื่อไหวเ้ จ้าที่
ในวันตรุษจีน เก็บกวาดบ้าน และตรวจดูเอกสารท่ีส่งมา พฤติการณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวของโจทก์
เป็นข้อบ่งช้ีว่าโจทก์ยังคงยึดถือบ้านเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ เป็นภูมิล�ำเนาอีกแห่งหนึ่งของโจทก์ กรณี
ถอื ไดว้ า่ โจทก์มีภมู ิลำ� เนาหลายแหง่ การทเี่ จา้ พนักงานของจ�ำเลยสง่ หนงั สือเชญิ พบและหนังสือ
130
แจ้งการประเมินไปยังโจทก์ที่บ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔ จึงเป็นการด�ำเนินการโดยชอบด้วยประมวล
รษั ฎากร มาตรา ๘ วรรคหนงึ่ และเมอื่ ไมส่ ามารถจดั สง่ ไดเ้ พราะไมม่ ผี รู้ บั เจา้ พนกั งานของจำ� เลย
จึงมอี ำ� นาจท่ีจะด�ำเนนิ การในขัน้ ตอนตอ่ ไป คอื การปดิ เอกสารดังกลา่ วไวท้ บ่ี ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔
อันเป็นสถานท่ีซ่ึงโจทก์มีชื่ออยู่ในทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรคร้ังสุดท้าย
ท่ีศาลภาษีอากรกลางวินิจฉัยว่าเจ้าพนักงานของจ�ำเลยส่งหนังสือเชิญพบและหนังสือแจ้งการ
ประเมินไปยังโจทก์โดยชอบดว้ ยกฎหมายแลว้ น้ัน ศาลอทุ ธรณค์ ดีชำ� นญั พเิ ศษเหน็ พ้องดว้ ยในผล
คดีมีปญั หาท่ตี ้องวนิ ิจฉัยตามอทุ ธรณ์ของโจทกป์ ระการต่อไปมีวา่ โจทกไ์ มป่ ฏิบตั ิตาม
หมายเรยี กหรอื ไมย่ อมตอบคำ� ถามของเจา้ พนกั งานประเมนิ โดยไมม่ เี หตผุ ลอนั สมควร จงึ ตอ้ งหา้ ม
มใิ หอ้ ทุ ธรณค์ ดั คา้ นการประเมนิ อนั เปน็ เหตใุ หโ้ จทกไ์ มม่ อี ำ� นาจฟอ้ งหรอื ไม่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ไดค้ วามจาก
บันทึกขอ้ ความของส�ำนกั งานสรรพากรพ้นื ทีก่ รงุ เทพมหานคร ๑๙ ลงวันที่ ๒๘ กนั ยายน ๒๕๖๑
เรอื่ ง ชแี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ และเหตผุ ลในการประเมนิ ภาษอี ากรรายโจทกว์ า่ ในเดอื นกรกฎาคม ๒๕๕๗
เจ้าพนักงานของจ�ำเลยไปส�ำรวจท่ีบ้านเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ ซอยนวลจันทร์ ๑๗ ถนนนวลจันทร์
แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร พบว่ามีลักษณะเป็นบ้านร้าง ไม่พบผู้อยู่อาศัย
สอบถามบ้านข้างเคียงแจ้งว่าบ้านหลังดังกล่าวเคยมีผู้อยู่อาศัยเม่ือปลายปี หลังจากน้ันไม่นาน
ไมม่ ผี มู้ าพกั อาศยั จนถงึ ปจั จบุ นั นาน ๆ ปลี ะ ๑ ถงึ ๒ ครง้ั จะมคี นมาทำ� ความสะอาด แตไ่ มเ่ คยพบ
เจ้าของบ้าน เจ้าพนกั งานของจำ� เลยมหี นงั สอื เตอื นใหโ้ จทก์ไปพบในวนั ท่ี ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗
ส�ำหรับหนังสือที่ส่งไปยังบ้านเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ ยังไม่ได้รับแจ้งผลการส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ
ต่อมาเจ้าพนักงานของจ�ำเลยมีหนังสือ ลงวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ เชิญโจทก์ไปพบในวันท่ี
๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๗ ส�ำหรับหนังสือท่ีส่งไปยังบ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔ ไปรษณีย์ตอบรับแจ้งว่า
“ไม่มารับภายในก�ำหนด” เจ้าพนักงานของจ�ำเลยจึงมีหนังสือ ลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๗
เชิญโจทกไ์ ปพบในวนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๕๗ (ทถ่ี ูกคอื ๗ มกราคม ๒๕๕๘) อกี ครงั้ แตไ่ ปรษณีย์
ตอบรับแจ้งว่า “ไม่มารับภายในก�ำหนด” เช่นเดิม เจ้าพนักงานของจ�ำเลยพยายามติดต่อโจทก์
ทางโทรศัพท์ตามหมายเลขโทรศัพท์มือถือที่ได้รับแจ้งมาจากผู้ว่าจ้าง แต่ก็ไม่สามารถติดต่อได้
และก่อนท่ีจะมีการแจ้งการประเมินเรียกเก็บภาษีในคดีนี้ เจ้าพนักงานของจ�ำเลยได้มีหนังสือ
เชิญโจทกไ์ ปพบในวนั ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เพื่อรับทราบผลการตรวจสอบ โดยเมื่อวนั ท่ี ๒๕
มิถุนายน ๒๕๖๑ เจ้าพนักงานของจ�ำเลยไปสง่ หนงั สือให้โจทกท์ ีบ่ า้ นเลขที่ ๕๑/๖๕๔ ดว้ ยตนเอง
ก็พบว่าบ้านปิด จึงได้ส่งโดยวิธีปิดหนังสือเชิญพบดังกล่าวไว้ท่ีประตูร้ัวหน้าบ้าน ซ่ึงเมื่อถึง
วันนัดทุกครั้งโจทก์ไม่ได้ไปพบเจ้าพนักงานของจ�ำเลยและไม่ได้แจ้งเหตุขัดข้อง เห็นวา่ โจทก์มี
131
ภูมิล�ำเนาหลายแห่ง แม้การส่งหนังสือเชิญพบให้แก่โจทก์โดยทางไปรษณีย์ตอบรับและโดยการ
ปิดหนังสือไว้ ณ บ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔ ซึ่งโจทก์มีที่อยู่ทางทะเบียนจะเป็นการส่งโดยชอบด้วย
กฎหมายก็ตาม แต่ปัญหาว่าการส่งหนังสือเชิญพบเป็นไปโดยชอบหรือไม่กับปัญหาว่าโจทก์
ไดร้ บั ทราบขอ้ ความในเอกสารดงั กลา่ วแลว้ หรอื ไมเ่ ปน็ คนละเรอ่ื งกนั เมอ่ื พจิ ารณาจากขอ้ เทจ็ จรงิ
ทไี่ ดค้ วามดงั ทก่ี ลา่ วมา เหน็ ไดว้ า่ หนงั สอื เชญิ โจทกไ์ ปพบเพอื่ ชแ้ี จงหรอื ใหถ้ อ้ ยคำ� ตอ่ เจา้ พนกั งาน
ของจำ� เลยทส่ี ง่ ไปยงั บา้ นเลขท่ี ๕๑/๖๕๔ เปน็ การสง่ ทางไปรษณีย์ตอบรบั ซ่ึงทุกคร้งั ไม่สามารถ
สง่ ไดเ้ นอ่ื งจากบา้ นปดิ บา้ ง ไมม่ ผี มู้ ารบั ภายในกำ� หนดบ้าง โจทกจ์ งึ ยอ่ มไมม่ โี อกาสทราบขอ้ ความ
ในเอกสารดังกล่าวได้ มีเพียงคร้ังเดียวท่ีเจ้าพนักงานของจ�ำเลยส่งหนังสือโดยใช้วิธีปิดเอกสาร
ไว้ท่ีบ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔ แต่เอกสารดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือเชิญโจทก์มารับทราบผลการ
ตรวจสอบ และเหตุท่ีใช้วิธีปิดเอกสารก็มิใช่เพราะโจทก์หรือบุคคลในบ้านไม่ยอมรับเอกสาร แต่
เป็นเพราะบ้านปิดและไม่พบบุคคลอ่ืนใดในบ้าน ซึ่งการที่โจทก์เข้าไปท่ีบ้านเลขที่ ๕๑/๖๕๔
เพียงปีละครั้งย่อมมีโอกาสที่โจทก์จะไม่ได้พบเห็นและรับทราบข้อความในเอกสาร เนื่องจาก
การปิดเอกสารดังกล่าวย่อมท�ำให้ง่ายต่อการท่ีเอกสารอาจหลุดปลิวหรือถูกฝนชะจนหลุด
หายไป ส่วนที่จ�ำเลยน�ำสืบว่า เจ้าพนักงานของจ�ำเลยมีการติดต่อกับโจทก์ทางเครือข่าย
คอมพิวเตอร์อีกหลายครั้งเพื่อแจ้งให้โจทก์ทราบเร่ืองการเชิญโจทก์ไปพบนั้น นอกจากพยาน
จ�ำเลยจะเบิกความกล่าวอา้ งลอย ๆ โดยไม่ปรากฏพยานหลักฐานอน่ื ใดท่ีแสดงวา่ ได้มกี ารติดตอ่
กบั โจทกโ์ ดยวธิ ดี งั กลา่ วและโจทกไ์ ดท้ ราบเรอ่ื งแลว้ การตดิ ตอ่ แจง้ ใหโ้ จทกไ์ ปพบดว้ ยวธิ ดี งั กลา่ ว
กไ็ ม่ชอบด้วยมาตรา ๘ แหง่ ประมวลรัษฎากร พฤตกิ ารณท์ ้ังหมดที่กล่าวมาทำ� ให้พยานหลักฐาน
ที่โจทก์น�ำสืบมีน�้ำหนักมากกว่าพยานหลักฐานของจ�ำเลย ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า เหตุที่โจทก์ไม่ได้
ไปพบและตอบค�ำถามของเจ้าพนักงานประเมินตามหนังสือเชิญพบทุกครั้งเป็นเพราะโจทก์ไม่
ทราบว่ามีการส่งหนังสือและไม่ทราบข้อความในหนังสือดังกล่าวโดยมีเหตุผลอันสมควร กรณี
ของโจทก์จึงไม่ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์คัดค้านการประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๘๘/๕
และไม่เป็นการตัดอ�ำนาจโจทก์ท่ีจะฟ้องจ�ำเลยเป็นคดีนี้ ท่ีศาลภาษีอากรกลางพิพากษายกฟ้อง
เนอ่ื งจากเหน็ ว่าโจทกไ์ ม่มอี ำ� นาจฟอ้ งนั้น ไมต่ อ้ งด้วยความเห็นของศาลอุทธรณ์คดีช�ำนญั พเิ ศษ
อุทธรณข์ องโจทก์ในขอ้ นฟ้ี ังข้ึน
132
ส�ำหรับอุทธรณ์ของโจทก์ในประเด็นอื่นปรากฏว่าศาลภาษีอากรกลางยังมิได้วินิจฉัย
แม้คู่ความจะน�ำสืบข้อเท็จจริงมาเสร็จส้ินแล้ว แต่เพื่อให้คดีมีการตรวจสอบดุลพินิจเป็นไปตาม
ล�ำดับชั้นศาล ประกอบกับทุนทรัพย์ท่ีพิพาทตามการประเมินภาษีมูลค่าเพิ่มในแต่ละเดือนภาษี
มจี ำ� นวนไม่เกินหา้ หมน่ื บาทซงึ่ อาจตอ้ งหา้ มอุทธรณ์ในปัญหาข้อเทจ็ จรงิ จงึ เห็นควรย้อนสำ� นวน
ไปให้ศาลภาษอี ากรกลางพจิ ารณาพิพากษาใหม่
พพิ ากษายกคำ� พพิ ากษาศาลภาษอี ากรกลาง ใหศ้ าลภาษอี ากรกลางพจิ ารณาในประเดน็
ทยี่ งั มไิ ดว้ นิ จิ ฉยั แลว้ พพิ ากษาใหมต่ ามรปู คดี คา่ ฤชาธรรมเนยี มทงั้ สองศาลใหศ้ าลภาษอี ากรกลาง
รวมสั่งเม่อื มีคำ� พิพากษาใหม.่
(อรรณพ วิทรู ากร - บุญเขตร์ พุม่ ทิพย์ - สมศกั ดิ์ อนิ ทร์พนั ธุ์)
มณฑาทิพย์ ต้ังวชิ าชาญ - ย่อ
วนี สั นิมิตกุล - ตรวจ
133
ค�ำพพิ ากษาศาลอุทธรณค์ ดีชำ� นัญพเิ ศษที่ ๖๗๔ - ๖๗๕/๒๕๖๐ กรมศุลกากร โจทก์
จำ� เลย
บริษัทฟจู ิฟิล์ม
(ประเทศไทย)
จ�ำกดั
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๕๕
พ.ร.บ. จดั ตั้งศาลภาษีอากรและวธิ พี จิ ารณาคดภี าษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗, ๒๕
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดย พ.ร.บ. ศลุ กากร (ฉบบั ท่ี ๑๗)
พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๑๑๒ อัฏฐารส
การที่กฎหมายบัญญัติให้ผู้น�ำของเข้าหรือผู้ส่งของออกมีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาล
เพื่อให้ศาลพิจารณาว่าการประเมินและค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ชอบหรือไม่ ซ่ึงศาลมีอ�ำนาจ
เปลี่ยนแปลง แกไ้ ข ยกเลกิ หรือเพกิ ถอนการประเมินและคำ� วินจิ ฉยั อทุ ธรณไ์ ด้ เมอื่ ขณะ
โจทกฟ์ อ้ ง จำ� เลยไดอ้ ุทธรณ์ค�ำวินิจฉยั อุทธรณ์เก่ียวกับอากรขาเขา้ และเงินเพิม่ โดยฟอ้ ง
คดตี ่อศาลภาษอี ากรกลาง แมศ้ าลภาษอี ากรกลางจะมคี ำ� พิพากษาแตจ่ ำ� เลยอุทธรณ์ต่อ
ศาลฎีกา คดียังไม่ถึงท่ีสุด ดังนี้ โจทก์จะมีสิทธิได้รับช�ำระอากรขาเข้าและเงินเพ่ิมตาม
ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่ จึงต้องรอค�ำวินิจฉัย
ช้ีขาดของศาลเม่ือคดีถึงที่สุดเสียก่อน การท่ีจ�ำเลยไม่ช�ำระอากรขาเข้าและเงินเพิ่มตาม
ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ในกรณีนี้จึงไม่เป็นการโต้แย้ง
สิทธทิ โ่ี จทกจ์ ะน�ำคดมี าฟ้องตอ่ ศาลภาษีอากรกลางได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕ ประกอบ
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลภาษีอากรฯ มาตรา ๑๗ โจทก์จึงไม่มีอ�ำนาจฟ้อง ปัญหานี้เป็นปัญหา
ข้อกฎหมายอันเกี่ยวดว้ ยความสงบเรยี บรอ้ ยของประชาชน ศาลอทุ ธรณ์คดชี �ำนญั พิเศษ
เห็นสมควรยกขึ้นวินิจฉัยตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาล
ภาษอี ากรฯ มาตรา ๒๕
______________________________
คดที งั้ สองสำ� นวนนศี้ าลภาษอี ากรกลางพจิ ารณาและพพิ ากษารวมกนั โดยใหเ้ รยี กโจทก์
ทั้งสองสำ� นวนวา่ โจทก์ เรยี กจำ� เลยท้งั สองสำ� นวนวา่ จำ� เลย
134
โจทก์ท้ังสองส�ำนวนฟ้องและแก้ไขค�ำฟ้องขอให้บังคับจ�ำเลยช�ำระเงินแต่ละจ�ำนวน
ดังกล่าวและเงินเพ่ิมอากรขาเข้าในอัตราร้อยละ ๑ ต่อเดือนหรือเศษของเดือนจากต้นเงินอากร
ขาเข้าที่ช�ำระขาดตามใบขนสินค้าทั้ง ๖๘ ฉบับ นับแต่วันถัดจากวันฟ้องจนกว่าจะช�ำระเสร็จ
แก่โจทก์
จ�ำเลยท้งั สองสำ� นวนให้การและแกไ้ ขค�ำให้การขอใหย้ กฟ้อง
ศาลภาษีอากรกลางพิจารณาแลว้ พพิ ากษายกฟอ้ ง ค่าฤชาธรรมเนียมให้เปน็ พับ
โจทกแ์ ละจ�ำเลยทั้งสองส�ำนวนอทุ ธรณ์
ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษแผนกคดภี าษอี ากรวนิ จิ ฉยั วา่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทคี่ คู่ วามไมโ่ ตแ้ ยง้
กนั รบั ฟงั เปน็ ยุตใิ นชั้นนว้ี ่า เม่อื ระหวา่ งวันท่ี ๓ ตุลาคม ๒๕๔๓ ถงึ วนั ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
จำ� เลยไดน้ ำ� สนิ ค้าเคร่ืองสแกนเนอร์ ย่หี อ้ ฟจู ิ รนุ่ SP ๓๐๐๐ จากประเทศญีป่ นุ่ ประเทศก�ำเนดิ
ญี่ปุ่น เข้ามาในราชอาณาจักรไทยโดยทางเรือและได้ยื่นใบขนสินค้าขาเข้าพร้อมแบบแสดง
รายการภาษีสรรพสามิตและภาษมี ลู ค่าเพ่ิมรวม ๖๘ ฉบบั เพ่อื ผ่านพิธกี ารศลุ กากรต่อพนกั งาน
เจ้าหน้าที่ของโจทก์ ส�ำแดงว่า สินค้าท่ีน�ำเข้าทั้งหมดคือ FUJI LAB.EQUIPMENT ชนิดของ
SCANNER AND IMAGE PROCESSOR เครื่องคอมพิวเตอร์ระบบดิจิทัลครบชุดสมบูรณ์
ประเภทพิกัดที่ ๘๔๗๑.๙๐ อัตราอากรร้อยละ ๔๐ โดยใบขนสินค้าฉบับแรกถึงฉบับที่ ๓๖ ระบุว่า
ลดอัตราอากรขาเข้าเหลือร้อยละ ๕ ตามประกาศกระทรวงการคลังที่ ศก.๑/๔๒ ลงวันท่ี ๑
มกราคม ๒๕๔๒ ใบขนสนิ คา้ ฉบับท่ี ๓๗ ถงึ ฉบับท่ี ๔๘ ลดอัตราอากรขาเข้าเหลอื ร้อยละ ๕ ตาม
มาตรา ๑๒ แหง่ พระราชก�ำหนดพิกดั อตั ราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ประกาศกระทรวงการคลัง ลง
วันที่ ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๔๔ และใบขนสนิ ค้าฉบับที่ ๔๙ ถงึ ฉบบั ท่ี ๖๘ ลดอตั ราอากรขาเข้าเหลือ
ร้อยละ ๐ ตามประกาศกระทรวงการคลัง ลงวันท่ี ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ของโจทก์ได้ตรวจพิจารณาประเภทพิกัด อัตราอากร ราคาสินค้าตามที่จ�ำเลยส�ำแดงในใบขน
สินค้าท้ัง ๖๘ ฉบบั และบญั ชีราคาสนิ คา้ (INVOICE) แนบทา้ ยใบขนสินคา้ ดงั กลา่ วในขณะนนั้
แล้วเชื่อว่าเป็นประเภทพิกัด อัตราอากร และราคาสินค้าท่ีแท้จริง จึงให้จ�ำเลยช�ำระภาษีอากร
ตามทสี่ ำ� แดงแลว้ ตรวจปลอ่ ยสนิ คา้ ทงั้ หมดใหจ้ ำ� เลยรบั ไป ตอ่ มาวนั ท่ี ๗, ๙ และ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๔๗
เจ้าหน้าที่ส�ำนักสืบสวนและปราบปรามของโจทก์ได้เข้าตรวจค้นส�ำนักงานจ�ำเลยและ
ยึดเอกสารเก่ียวกับการน�ำเข้าสินค้าของจ�ำเลยหลายรายการ เม่ือตรวจสอบแล้วมีความเห็นว่า
สนิ ค้าท่จี ำ� เลยน�ำเข้าคือ เครอื่ งอัดรูประบบดิจทิ ลั (DIGITAL MINI LAB FRONTIER SYSTEM)
ซงึ่ ประกอบดว้ ยสว่ นสำ� คญั สองสว่ น คอื เครอื่ ง LASER PRINTER AND PAPER PROCESSOR
135
เรยี กชอ่ื ยอ่ ว่า “LP” และเคร่อื ง SCANNER AND IMAGE PROCESSOR เรียกชอื่ ยอ่ วา่ “SP”
เป็นการน�ำเข้ามาในราชอาณาจักรพร้อมกันโดยเรือล�ำเดียวกัน วันน�ำเข้าวันเดียวกัน แต่แยก
จัดท�ำใบส่ังซ้ือ P/O และ INVOICE เป็นคนละฉบับ และยื่นใบขนสินค้าทั้งสองชนิดแยกกัน
โดยในการยื่นใบขนสินค้า “SP” จ�ำเลยส�ำแดงประเภทพิกัดที่ ๘๔๗๑.๙๐ ช�ำระอากรในอัตรา
ร้อยละ ๐ หรือรอ้ ยละ ๕ ตามประกาศกระทรวงการคลังฯ ขณะนำ� เขา้ ส่วนสนิ คา้ “LP” สำ� แดง
ประเภทพกิ ัดที่ ๙๐๑๐.๑๐ ชำ� ระอากรในอตั รารอ้ ยละ ๑๐ โจทกเ์ ห็นวา่ สนิ ค้าท้ังสองชนิดดังกลา่ ว
ถูกออกแบบมาเพ่ือน�ำไปใช้งานร่วมกันเป็นหน่วยเดียวกัน (FUNCTIONAL UNIT) ในลักษณะ
ของ DIGITAL MINI LAB ซง่ึ ประกอบด้วยสว่ นอดั รปู และลา้ งรปู ด้วยระบบดิจิทัลเพอื่ ให้สามารถ
อัดรูปได้ จึงถือว่าสินค้าดังกล่าวเป็นเคร่ืองจักรท่ีมีอุปกรณ์ซึ่งมีหน้าที่การท�ำงานร่วมกันเป็น
หน่วยเดยี วกนั (FUNCTIONAL UNIT) ตอ้ งจัดเข้าประเภทพกิ ดั เดียวกันในประเภทท่ี ๙๐๑๐.๕๐
อัตราอากรร้อยละ ๒๐ หรือร้อยละ ๑๐ ตามแต่ช่วงเวลาที่มีการน�ำเข้าในขณะน้ัน จึงแจ้งการ
ประเมินให้จ�ำเลยช�ำระอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มตามภาพถ่ายแบบแจ้งการประเมินอากร
ขาเขา้ /ขาออก ภาษสี รรพสามติ และภาษมี ูลคา่ เพม่ิ (กรณอี ื่น ๆ) วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐
จำ� เลยยน่ื อทุ ธรณค์ ดั ค้านการประเมนิ อากรขาเขา้ ดงั กลา่ วตอ่ คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณต์ าม
ภาพถา่ ยคำ� อทุ ธรณแ์ ละคดั ค้านการประเมนิ ภาษีอากร คณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์พจิ ารณา
แลว้ วนิ จิ ฉยั ใหย้ กอทุ ธรณข์ องจำ� เลยตามภาพถา่ ยคำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์ ลงวนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๔
ตอ่ มาวนั ท่ี ๖ ตลุ าคม ๒๕๕๔ จ�ำเลยไดย้ ืน่ ฟอ้ งขอใหเ้ พกิ ถอนการประเมินและคำ� วนิ จิ ฉัยอทุ ธรณ์
ดงั กลา่ วตอ่ ศาลภาษอี ากรกลางเปน็ คดหี มายเลขดำ� ท่ี ๑๙๗/๒๕๕๔ ศาลภาษอี ากรกลางพพิ ากษา
ให้จ�ำเลย (โจทก์ในคดีดังกล่าว) รับผิดช�ำระภาษีศุลกากรตามการประเมินพร้อมเงินเพ่ิม ส่วน
เบี้ยปรับให้งดท้ังหมดตามภาพถ่ายค�ำพิพากษาคดีหมายเลขแดงที่ ๖/๒๕๕๖ ในส�ำนวนคดี
หลังจ�ำเลย (โจทก์ในคดดี งั กลา่ ว) อุทธรณ์ต่อศาลฎีกา ขณะคดดี งั กล่าวอยรู่ ะหวา่ งการพิจารณา
ของศาลฎกี า โจทกย์ นื่ ฟอ้ งจ�ำเลยเปน็ คดีน้ี
พเิ คราะห์แลว้ พระราชบญั ญัตศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ ซ่ึงแก้ไขเพ่มิ เติม
โดยพระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร (ฉบบั ท่ี ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๓ มผี ลบงั คบั ใชต้ ง้ั แตว่ นั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๔๓
เป็นต้นไป บัญญัติว่า “ผู้น�ำของเข้าหรือผู้ส่งของออกมีสิทธิอุทธรณ์การประเมินอากร
ของพนักงานเจ้าหน้าท่ีต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ตามแบบที่อธิบดีก�ำหนดได้ ภายใน
สามสิบวนั นบั แตว่ ันทีไ่ ด้รบั แจง้ การประเมนิ ...” และมาตรา ๑๑๒ อฏั ฐารส บญั ญตั วิ า่ “ผูอ้ ทุ ธรณ์
มีสิทธิอุทธรณ์ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ โดยฟ้องเป็นคดีต่อศาลภายใน
136
สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์...” เห็นว่า การท่ีกฎหมายบัญญัติให้ผู้น�ำ
ของเขา้ หรอื ผสู้ ง่ ของออกมสี ทิ ธอิ ทุ ธรณต์ อ่ ศาลกเ็ พอื่ ใหศ้ าลพจิ ารณาวา่ การประเมนิ และคำ� วนิ จิ ฉยั
อุทธรณช์ อบหรอื ไม่ ซง่ึ ศาลมอี �ำนาจพิจารณาพพิ ากษาเปลี่ยนแปลง แกไ้ ข ยกเลกิ หรอื เพกิ ถอน
การประเมินและคำ� วนิ ิจฉัยอทุ ธรณไ์ ด้ เมอื่ ปรากฏวา่ ขณะโจทก์ฟอ้ งคดที งั้ สองสำ� นวนน้ี จ�ำเลยได้
อุทธรณ์ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์เก่ียวกับอากรขาเข้าและเงินเพิ่มโดยฟ้องคดีต่อศาลภาษีอากรกลาง
ตัง้ แตว่ ันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๔ แม้ศาลภาษอี ากรกลางจะมคี ำ� พพิ ากษาแล้ว แต่จำ� เลยอทุ ธรณต์ อ่
ศาลฎีกา คดียังไม่ถึงที่สุดโดยอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา ดังนี้ โจทก์จะมีสิทธิได้รับ
ช�ำระอากรขาเข้าและเงินเพิ่มตามค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่
เพียงใด จึงต้องรอค�ำวินิจฉัยช้ีขาดของศาลเมื่อคดีถึงที่สุดเสียก่อน การที่จ�ำเลยไม่ช�ำระอากร
ขาเข้าและเงินเพ่ิมตามค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ในกรณีน้ี
จงึ ไมเ่ ปน็ การโตแ้ ยง้ สทิ ธทิ โ่ี จทกจ์ ะนำ� คดมี าฟอ้ งตอ่ ศาลภาษอี ากรกลางได้ ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง่ มาตรา ๕๕ ประกอบพระราชบญั ญัติจัดตัง้ ศาลภาษอี ากรและวธิ พี ิจารณา
คดภี าษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗ เพราะมฉิ ะนั้นบทบัญญตั ิว่าดว้ ยการอทุ ธรณค์ ำ� วนิ จิ ฉัย
ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลก็ย่อมจะไม่บังเกิดผล โจทก์จึงไม่มีอ�ำนาจฟ้อง
ปัญหาน้ีแม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกข้ึนอุทธรณ์ แต่เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบ
เรียบร้อยของประชาชน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นสมควรยกขึ้นวินิจฉัยตามประมวล
กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญตั ิจดั ต้งั ศาลภาษอี ากร
และวธิ พี ิจารณาคดีภาษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๒๕ ทศี่ าลภาษอี ากรกลางรับคดไี ว้พิจารณา
และมีค�ำวินิจฉัยในประเด็นต่าง ๆ มาน้ันเป็นการไม่ชอบ แต่เมื่อในที่สุดศาลภาษีอากรกลาง
พิพากษายกฟอ้ ง ศาลอทุ ธรณค์ ดีช�ำนญั พเิ ศษจงึ เหน็ พ้องดว้ ยในผล เมอ่ื วนิ จิ ฉยั ดังนแ้ี ล้ว ปญั หา
ตามอทุ ธรณ์ของโจทกแ์ ละจ�ำเลยจึงไมจ่ �ำตอ้ งวนิ ิจฉัยเพราะไมท่ �ำให้ผลของคดเี ปลีย่ นแปลงไป
พิพากษายนื คา่ ฤชาธรรมเนียมในชัน้ อทุ ธรณ์ใหเ้ ป็นพับ.
(อรรณพ วทิ ูรากร - ผจงธรณ์ วรินทรเวช - วชิระ เศษแสงศรี)
นรินทร ตงั้ ศรไี พโรจน์ - ยอ่
ดนัยศกั ด์ิ นาควเิ ชยี ร - ตรวจ
หมายเหตุ คดีถงึ ทีส่ ดุ
137
ค�ำพพิ ากษาศาลอุทธรณค์ ดีช�ำนญั พเิ ศษท่ี ๒๕๐๐/๒๕๖๐ กรมศุลกากร
กับพวก โจทก์
บริษทั แนแคมเอน็ จเิ นยี ร่ิง
จำ� กดั จำ� เลย
ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒, ๑๙๓/๑๔, ๑๙๓/๑๕
ป.รัษฎากร มาตรา ๗๘/๒
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐
จ�ำเลยน�ำเขา้ สินคา้ ตามใบขนสนิ ค้าขาเข้าพิพาทเมื่อวันท่ี ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๙
วนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ และวันที่ ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๔๙ ตามลำ� ดบั จำ� เลยได้รบั แบบ
แจ้งการประเมินเม่ือวันท่ี ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ การที่พนักงานเจ้าหน้าที่ของโจทก์ที่ ๑
แจ้งการประเมินอากรขาเข้าให้จ�ำเลยช�ำระอากรขาเข้าขาดและภาษีมูลค่าเพิ่มขาดน้ัน
ถือเป็นการกระท�ำอ่ืนใดอันมีผลเป็นอย่างเดียวกันกับการฟ้องคดีให้จ�ำเลยช�ำระภาษี
จึงเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงและเริ่มนับใหม่ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๕)
และมาตรา ๑๙๓/๑๕ เม่ือจ�ำเลยได้รับแบบแจ้งการประเมินวันท่ี ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๓
นับถึงวันฟ้องคดีวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ จึงยังไม่ขาดอายุความ ๑๐ ปี ส�ำหรับภาษี
มูลค่าเพิ่มเป็นกรณีท่ีโจทก์ที่ ๒ อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้นับแต่ความรับผิดในการ
เสียภาษีเกิดข้ึนตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๗๘/๒ (๑) เม่ือนับแต่วันท่ีช�ำระอากรขาเข้าถึง
วันทจี่ ำ� เลยได้รบั แบบแจง้ การประเมินเมอ่ื วันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ อนั เป็นการกระท�ำ
ท่ีถือได้ว่ามีผลเปน็ อยา่ งเดียวกับการฟ้องคดใี ห้จ�ำเลยชำ� ระภาษอี ากรอายุความจงึ สะดุด
หยุดลงและเรม่ิ นับใหม่ เมือ่ นับถึงวนั ฟ้องคดยี ังไมเ่ กนิ ๑๐ ปี สิทธเิ รยี กรอ้ งของโจทก์ที่ ๒
ยังไม่ขาดอายคุ วามเชน่ กัน
______________________________
138
โจทก์ทั้งสองฟ้องขอใหจ้ �ำเลยช�ำระเงนิ คา่ ภาษีอากรทค่ี า้ งชำ� ระ ๒,๒๙๕,๙๖๗ บาท
จ�ำเลยให้การคดีของโจทก์ท้ังสองในส่วนน้ีขาดอายุความ จ�ำเลยจึงไม่ต้องรับผิดช�ำระเงิน
จ�ำนวนดงั กล่าวใหแ้ กโ่ จทกท์ ัง้ สอง
ศาลภาษอี ากรกลางพพิ ากษาใหจ้ ำ� เลยชำ� ระเงนิ คา่ ภาษอี ากรทคี่ า้ งชำ� ระ ๑,๓๘๑,๘๓๑ บาท
ใหจ้ ำ� เลยใชค้ า่ ฤชาธรรมเนยี มแทนโจทกท์ ง้ั สอง โดยกำ� หนดคา่ ทนายความ ๑๐,๐๐๐ บาท สำ� หรบั
ค่าขนึ้ ศาลใหใ้ ชแ้ ทนตามทุนทรัพยท์ โ่ี จทกท์ งั้ สองชนะคดี ค�ำขออืน่ นอกจากนใ้ี ห้ยก
โจทกท์ ั้งสองอทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ปัญหาต้องวินิจฉัยตาม
อุทธรณ์ของโจทก์ทั้งสองเพียงประการเดียวว่า สิทธิเรียกร้องของโจทก์ท้ังสองตามใบขนสินค้า
ขาเข้าเลขท่ี ๐๑๐๒-๐๐๕๔๙-๐๑๓๘๗ เลขที่ ๐๑๐๒-๐๐๕๔๙-๐๓๗๗๖ และเลขที่ ๐๑๐๒-
๐๐๘๔๙-๐๒๖๒๒ ขาดอายุความหรือไม่ เห็นว่า ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙
มาตรา ๑๐ วรรคสาม บัญญัติว่า “เว้นแต่ในกรณีที่มีการหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเล่ียง
อากร สิทธิของกรมศุลกากรท่ีจะเรียกอากรท่ีขาดเพราะเหตุอันเก่ียวกับชนิด คุณภาพ ปริมาณ
นำ้� หนกั หรอื ราคาแหง่ ของใด ๆ หรอื เกยี่ วกบั อตั ราอากรสำ� หรบั ของใด ๆ นน้ั ใหม้ อี ายคุ วาม ๑๐ ปี
แต่ในเหตุท่ีได้ค�ำนวณจ�ำนวนเงินอากรผิดให้มีอายุความ ๒ ปี ทั้งนี้นับจากวันท่ีน�ำของเข้าหรือ
ส่งของออก” ตามค�ำฟ้องของโจทก์ทั้งสองกล่าวอ้างว่าจ�ำเลยส�ำแดงราคาสินค้าตามใบขนสินค้า
ขาเข้าพร้อมแบบแสดงรายการภาษี โดยส�ำแดงประเภทพิกัดท่ี ๗๔๐๒.๐๐ แต่ภายหลังตรวจ
พบว่าจ�ำเลยช�ำระภาษีไม่ถูกต้องตามท่ีส�ำแดง เน่ืองจากสินค้าดังกล่าวจัดเข้าประเภทพิกัดท่ี
๗๔๑๙.๙๙.๑๐ ตอ้ งดว้ ยเหตยุ กเวน้ ตามข้อความแรกของมาตรา ๑๐ ดังกล่าว จึงไม่อยู่ในบงั คับ
ที่ต้องใช้อายุความ ๑๐ ปี หรือ ๒ ปี ดังท่ีบัญญัติไว้ในมาตรานี้ก็ตาม ก็มีผลเพียงให้กรณีสิทธิ
เรียกร้องของโจทก์ทั้งสองตามค�ำฟ้อง ไม่มีบทบัญญัติไว้โดยเฉพาะในพระราชบัญญัติศุลกากร
พ.ศ. ๒๔๖๙ จึงตอ้ งใชอ้ ายุความแหง่ สทิ ธิเรยี กร้องของรัฐทจ่ี ะเรียกเอาคา่ ภาษอี ากรให้มีก�ำหนด
อายุความ ๑๐ ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๑ การนับอายุความ
ตอ้ งเรม่ิ นบั แตข่ ณะทอ่ี าจบงั คบั สทิ ธเิ รยี กรอ้ งไดเ้ ปน็ ตน้ ไป ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
มาตรา ๑๙๓/๑๒ ซ่ึงตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐ ทวิ ก็ได้บัญญัติ
ไว้ด้วยว่า ความรับผิดในอันจะต้องเสียค่าภาษีส�ำหรับของท่ีน�ำเข้าเกิดข้ึนในเวลาที่น�ำของเข้า
ส�ำเร็จ ดังน้ัน สิทธิเรียกร้องในหนี้ค่าอากรขาเข้าในส่วนท่ีขาดจึงอาจบังคับได้แต่วันที่จ�ำเลย
น�ำเข้าสินค้า เม่ือข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจ�ำเลยน�ำเข้าสินค้าตามใบขนสินค้าขาเข้าพิพาทเม่ือวันที่
139
๗ พฤษภาคม ๒๕๔๙ วนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ และวนั ท่ี ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๙ ตามล�ำดับ
และจ�ำเลยได้รับแบบแจ้งการประเมินอากรขาเข้า/ขาออกภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลค่าเพ่ิม
ในสว่ นของการนำ� เข้าทั้งสามครง้ั เมื่อวนั ที่ ๒๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๓ ซงึ่ การทีพ่ นักงานเจา้ หนา้ ที่
ของโจทก์ท่ี ๑ แจ้งการประเมินอากรขาเข้าให้จ�ำเลยช�ำระอากรขาเข้าขาดและภาษีมูลค่าเพ่ิม
ขาดนั้น ถือเป็นการกระท�ำอ่ืนใดอันมีผลเป็นอย่างเดียวกันกับการฟ้องคดีให้จ�ำเลยช�ำระภาษี
จึงเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง และเริ่มนับใหม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๕) และมาตรา ๑๙๓/๑๕ เม่ือจ�ำเลยได้รับแบบแจ้งการประเมินวันที่ ๒๓
มถิ นุ ายน ๒๕๕๓ นบั ถึงวนั ฟ้องคดีวนั ท่ี ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ จงึ ไม่ขาดอายคุ วาม ๑๐ ปี สำ� หรบั
ภาษีมูลค่าเพ่ิมที่ขาดในส่วนของการน�ำเข้าสินค้าตามใบขนสินค้าขาเข้าพิพาทท้ังสามฉบับน้ัน
เหน็ ว่า สิทธเิ รียกร้องเอาเงินค่าภาษดี ังกล่าวน้ใี นประมวลรัษฎากรมไิ ด้บัญญัตกิ �ำหนดอายุความ
ไว้โดยเฉพาะ จงึ ต้องใชอ้ ายุความ ๑๐ ปี นบั แตข่ ณะท่อี าจบงั คบั สทิ ธเิ รยี กร้องได้เป็นต้นไปตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๑ และมาตรา ๑๙๓/๑๒ เช่นกัน และตาม
ประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๘/๒ (๑) ในเรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้บัญญัติว่า ความรับผิดในการ
เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ีเกิดจากการน�ำเข้าเกิดข้ึนเม่ือช�ำระอากรขาเข้า วางหลักประกันอากร
ขาเข้า หรือจัดให้มีผู้ค้�ำประกันอากรขาเข้าเว้นแต่กรณีท่ีไม่ต้องเสียอากรขาเข้าหรือได้รับ
ยกเว้นอากรขาเข้าก็ให้ถือว่าความรับผิดเกิดข้ึนในวันท่ีมีการออกใบขนสินค้าตามกฎหมาย
ว่าด้วยศุลกากร จึงเป็นกรณีที่โจทก์ท่ี ๒ อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้นับแต่ความรับผิดในการ
เสียภาษีเกิดขึ้นตามบทมาตรานี้ เม่ือนับแต่วันที่ช�ำระอากรขาเข้าถึงวันท่ีจ�ำเลยได้รับแบบแจ้ง
การประเมนิ อากรขาเข้า/ขาออกภาษสี รรพสามิตและภาษีมูลคา่ เพิ่มเม่อื วนั ท่ี ๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๕๓
อันเป็นการกระท�ำที่ถือได้ว่ามีผลเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องคดีให้จ�ำเลยช�ำระภาษี
จึงเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลงและเริ่มนับใหม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๕) และมาตรา ๑๙๓/๑๕ เมือ่ นับถึงวันฟอ้ งคดียงั ไม่เกนิ ๑๐ ปี สิทธิเรยี กรอ้ ง
ของโจทก์ที่ ๒ จึงยังไม่ขาดอายุความเช่นกัน ดังน้ัน ที่ศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้ยกฟ้อง
ในสว่ นน้ี ศาลอทุ ธรณค์ ดีชำ� นัญพิเศษไม่เห็นพ้องด้วย อุทธรณ์ของโจทกท์ ัง้ สองฟงั ข้นึ
พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จ�ำเลยช�ำระภาษีอากรแก่โจทก์ทั้งสองตามใบขนสินค้าขาเข้า
เลขท่ี ๐๑๐๒-๐๐๕๔๙-๐๑๓๘๗ อากรขาเขา้ ๒๑๔,๖๑๓ บาท ภาษมี ลู ค่าเพ่มิ ๑๕,๐๒๔ บาท
เงินเพ่ิมภาษีมูลค่าเพ่ิม ๑๕,๐๒๔ บาท ตามใบขนสินค้าขาเข้าเลขที่ ๐๑๐๒-๐๐๕๔๙-๐๓๗๗๖
อากรขาเขา้ ๒๓๔,๑๒๓ บาท ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ๑๖,๓๙๐ บาท เงนิ เพ่มิ ภาษมี ูลค่าเพิม่ ๑๖,๓๙๐ บาท
140