The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:57:14

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

คำนิยม

นโยบายประการหนง่ึ ทก่ี ำหนดไวเ มอ่ื มาดำรงตำแหนง ประธานศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
คอื การเสรมิ สรา งความเปน เอกภาพของคำพพิ ากษาของศาลและสง เสรมิ ใหก ระบวนการพจิ ารณา
และพิพากษาในศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษรอบคอบ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การรวบรวมคำพพิ ากษาของศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกตา ง ๆ ทเ่ี คยถกู จดั เกบ็ ไวร ปู แบบ
หลากหลายและยากแกการเขาถึงมาจัดทำเปนหนังสือซึ่งเปนสื่อที่สะดวกแกการคนควาใชงาน
และยงั ไมส ามารถทดแทนโดยสอ่ื หรอื อปุ กรณอ น่ื อยา งสมบรู ณเ พอ่ื เผยแพรเ ปน ภารกจิ หนง่ึ ทจ่ี ะเปน
แนวทางใหน โยบายดงั กลา วประสบความสำเรจ็ จงึ เปน ทม่ี าของการแตง ตง้ั คณะทำงานเพอ่ื รวบรวม
และเผยแพรคำพิพากษาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษนับตั้งแตศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
เริ่มเปดทำการจนถึงปจจุบัน การจัดทำหนังสือเลมนี้ไมใชแตเพียงไดประโยชนในการใชเปน
แหลง ขอ มลู ในการเรยี นรู สบื คน และใชเ ปน แนวทางในการทำงานของผพู พิ ากษาและผปู ระกอบ
วิชาชีพกฎหมายเทานั้น แตจะเปนประโยชนแกนักศึกษากฎหมายและผูสนใจทั่วไปดวย ทั้งยัง
ถือเปนตัวอยางที่ดีในการนำนโยบายมาแปรเปลี่ยนเปนรูปธรรมใหสัมฤทธิ์ผลตามนโยบาย
ทก่ี ำหนดไวอีกดวย

ทั้งนี้ ดิฉันขอขอบคุณสำนักงานศาลยุติธรรมที่เล็งเห็นถึงความสำคัญและสนับสนุน
งบประมาณในการจดั ทำหนงั สอื เลม น้ี ขอชน่ื ชมและขอบคณุ คณะทำงานฯ ทป่ี รกึ ษาของคณะทำงานฯ
และผูที่เกี่ยวของที่รวมแรงรวมใจกันจัดทำใหหนังสือเลมนี้สำเร็จขึ้นดวยความวิริยอุตสาหะของ
ทกุ ทา น และขอขอบคณุ ทา นรองประธานศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษทง้ั หาแผนกท่ใี หคำแนะนำ
ทรงคุณคาแกคณะทำงานฯ และสละเวลาตรวจทานความถูกตองของหนังสือเลมนี้จนสมบูรณ
บรรลุวัตถุประสงคทุกประการ

(นางอโนชา ชีวิตโสภณ)
ประธานศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษ

คำปรารภ

นบั ตง้ั แตศ าลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเปด ทำการเมอ่ื วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ เปน ตน มา
จนถึงปจจุบันเปนระยะเวลาประมาณ ๖ ป ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไดพิจารณาพิพากษาคดี
และวินิจฉัยวางหลักกฎหมายเปนบรรทัดฐานที่นาสนใจศึกษาคนควาเปนจำนวนไมนอย ผมมี
ความภาคภูมิใจและยินดีเปนอยางยิ่งที่ไดเปนสวนหนึ่งในการจัดทำหนังสือเลมนี้ ทั้งในรูปแบบ
เอกสารและรปู แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส โดยเผยแพรเ นอ้ื หาในหนงั สอื เลม นใ้ี นเวบ็ ไซตข องศาลอทุ ธรณ
คดชี ำนญั พเิ ศษดว ยเพอ่ื ความสะดวกในการสบื คน ของนกั กฎหมาย นสิ ติ นกั ศกึ ษา และประชาชน
ทั่วไปที่มีความสนใจ ผมหวังเปนอยางยิ่งวาการรวบรวม คัดเลือก และกลั่นกรองคำพิพากษา
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษออกเผยแพรใ นครง้ั นจ้ี ะเปน ประโยชนต อ นกั กฎหมาย นสิ ติ นกั ศกึ ษา
และประชาชนท่วั ไปทมี่ ีความสนใจไดอยา งเหมาะสม

ผมขอขอบคณุ ประธานศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษทม่ี คี วามตง้ั ใจเผยแพรค ำพพิ ากษา
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษใหแ กผ ทู ม่ี คี วามสนใจเขา ถงึ แหลง ขอ มลู ทางวชิ าการน้ี และขอขอบคณุ
คณะทำงานและผูเกี่ยวของทุกทานที่รวมแรงรวมใจรวบรวมและคัดเลือกคำพิพากษาที่นาสนใจ
นำมาคดั ยอ ใหก ระชบั คงใจความสำคญั ครบถว น เพอ่ื เผยแพรใ หเ กดิ ประโยชนต อ การปฏบิ ตั งิ าน
ของนักกฎหมายที่เกี่ยวของ และการศึกษากฎหมายของนิสิต นักศึกษา รวมทั้งการทำงานและ
ชีวติ ประจำวันของประชาชนท่ีมคี วามสนใจตอ ไป

(นายตลุ เมฆยงค)
รองประธานศาลอุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษ

คำนำ

ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษจดั ตง้ั ขน้ึ โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
พ.ศ. ๒๕๕๘ เปด ทำการเมอ่ื วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ มอี ำนาจพจิ ารณาพพิ ากษาบรรดาคดที อ่ี ทุ ธรณ
คำพพิ ากษาหรอื คำสง่ั ของศาลชำนญั พเิ ศษ ซง่ึ คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษของแตล ะ
แผนกคดไี ดร บั การพจิ ารณาพพิ ากษาโดยองคค ณะผพู พิ ากษาทม่ี คี วามรู ความเชย่ี วชาญในแตล ะ
แผนกคดีและมีความสำคัญตอสภาพเศรษฐกิจและสังคม การเผยแพรคำพิพากษาศาลอุทธรณ
คดชี ำนญั พเิ ศษทง้ั หา แผนกคดที ส่ี ำคญั ไวใ นทแ่ี หง เดยี วกนั จงึ เปน ประโยชนอ ยา งยง่ิ แกผ พู พิ ากษา
นกั กฎหมาย และผูสนใจทวั่ ไป

ครั้นทานอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเขารับตำแหนง
เมอ่ื วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ ไดม นี โยบายใหร วบรวมคำพพิ ากษาหรอื คำสง่ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
และคำวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ไดรับแจงการอานแลวตั้งแตวันที่
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเปด ทำการจนถงึ ปจ จบุ นั ตอ มาจงึ มคี ำสง่ั แตง ตง้ั คณะทำงานรวบรวม
คำพิพากษาหรือคำสั่งศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษและคำวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ
คดชี ำนญั พเิ ศษ ท่ี ๓๒/๒๕๖๕ ลงวนั ท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๖๕ และคำสง่ั ท่ี ๓๔/๒๕๖๕ ลงวนั ท่ี ๑๙
พฤษภาคม ๒๕๖๕ โดยมีกรอบระยะเวลาดำเนินการใหเสรจ็ สิ้นภายในเดอื นสงิ หาคม ๒๕๖๕

บดั น้ี การจดั ทำหนงั สอื รวบรวมคำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษทง้ั หา แผนกคดี
ตง้ั แตว นั ทศ่ี าลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเปด ทำการจนถงึ ปจ จบุ นั (เดอื นมถิ นุ ายน ๒๕๖๕) ตามคำสง่ั
ประธานศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ ท่ี ๓๒/๒๕๖๕ และ ๓๔/๒๕๖๕ ไดเ สรจ็ สน้ิ ลงแลว คณะทำงานฯ
หวงั วา หนงั สอื รวบรวมคำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเลม นจ้ี ะเปน ประโยชนต อ ผพู พิ ากษา
ตลอดจนนกั กฎหมายและผสู นใจทวั่ ไป

ขอขอบพระคุณประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ คณะทำงานฯ ที่ปรึกษา และผูที่
เกย่ี วขอ งทกุ ทา นทท่ี มุ เทเสยี สละในการจดั ทำหนงั สอื รวบรวมคำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
ท้งั หา แผนกคดีจนบรรลุวตั ถปุ ระสงคซ่งึ เปนประโยชนอ ยางย่งิ ตอ ราชการศาลยตุ ธิ รรมสบื ไป

(นายพทิ กั ษ หลิมจานนท)
ประธานคณะทำงานรวบรวมคำพพิ ากษาหรอื คำสงั่

ศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพิเศษและคำวนิ จิ ฉัย
ของประธานศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษ

สารบัญ หนา

เครือ่ งหมายการคา ๑

๑. ลักษณะอันพึงรับจดทะเบยี น ๑๑
๑.๑ ลกั ษณะบง เฉพาะ ๑๔
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๕๒๑/๒๕๖๐ ๑๘
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษที่ ๕๕๐/๒๕๖๐ ๒๓
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๕๗๖/๒๕๖๐ ๒๘
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษที่ ๒๐/๒๕๖๑ ๓๔
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษที่ ๙๔๐ - ๙๔๔/๒๕๖๑ ๓๗
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๑๑/๒๕๖๓ ๔๕
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๙๙/๒๕๖๓
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๒๓๑/๒๕๖๓ ๕๓
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษท่ี ๘๘๘/๒๕๖๓ ๕๕
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๖๙ - ๗๐/๒๕๖๕ ๖๐
๖๔
๑.๒ ไมเ หมือนหรือคลายกับเครอื่ งหมายการคา อนื่ ๗๐
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษที่ ๕๒๑/๒๕๖๐ ๗๕
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๖๖๔/๒๕๖๐ ๘๐
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๗๔๒/๒๕๖๐ ๘๗
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษที่ ๑๑๓๗/๒๕๖๐ ๙๑
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๗๕๔/๒๕๖๐ ๙๘
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๒๓๓๗/๒๕๖๐ ๑๐๓
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๒๔๒๘/๒๕๖๐ ๑๐๘
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๒๔๘๖/๒๕๖๐
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๒๔๘๗/๒๕๖๐
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพิเศษท่ี ๑๙/๒๕๖๑
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๑๓๗๓/๒๕๖๑
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๑๔๒๐/๒๕๖๑

๒. การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา หนา
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๗๐๖/๒๕๖๐ ๑๑๓
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๒๓๒๗/๒๕๖๑ ๑๑๖
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๑๐๓๗/๒๕๖๓ ๑๒๐
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พิเศษที่ ๒๗๙๔/๒๕๖๓ ๑๒๘

๓. คดีอาญา ๑๓๒
๓.๑ ความผิดตอ พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา ๑๓๘
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๙๘๕/๒๕๖๐ ๑๔๒
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๔๐๗๐/๒๕๖๑
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๙๓๖๙/๒๕๖๒ ๑๔๗

ความผิดเก่ยี วกับการคา ๑๔๙
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๗๐๔๒/๒๕๖๒ ๑๕๒
๑๕๗
พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธ์ิ และ พ.ร.บ. ภาพยนตรแ ละวดี ทิ ศั น ๑๖๑
๑. คดอี าญา
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๘๘๑/๒๕๖๐ ๑๖๓
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๑๒๖๓/๒๕๖๑ ๑๗๐
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษที่ ๑๗๖๘/๒๕๖๑ ๑๗๔
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๙๓๖๙/๒๕๖๒

สิทธิบตั ร
สิทธิบตั รการประดษิ ฐแ ละอนสุ ทิ ธบิ ัตร
๑. การประดษิ ฐท ข่ี อรบั สิทธิบตั รหรืออนสุ ทิ ธบิ ตั รได

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๑๒/๒๕๖๑
๒. การชำระคาธรรมเนียมรายป

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๗๓๘/๒๕๖๐
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๑๐๙๓/๒๕๖๑

สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลิตภัณฑ หนา
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๑๑๙๗/๒๕๖๑
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๙๙๖/๒๕๖๓ ๑๗๘
๑๘๓
การคา ระหวา งประเทศ
๑. พ.ร.บ. การรบั ขนของทางทะเล ๑๙๑
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๑๐๐๘/๒๕๖๑ ๑๙๗
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๑๒๑๔/๒๕๖๑
๒. พ.ร.บ. การรับขนทางอากาศระหวา งประเทศ ๒๐๐
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๗๐๒๘/๒๕๖๒
๓. พ.ร.บ. การตอบโตการทมุ ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สินคาจากตา งประเทศ ๒๐๙
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๑๐๓๗/๒๕๖๑ ๒๑๔
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๒๘๐๐/๒๕๖๓
๔. พ.ร.บ. ความรบั ผิดทางแพง และคาเสยี หายจากการเรือโดนกนั ๒๒๒
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๓๙๓๙/๒๕๖๑
๒๓๓
ป.พ.พ. ๒๔๑
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๑๗๙๐/๒๕๖๑
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พเิ ศษท่ี ๔๐๘/๒๕๖๔ ๒๔๗
๒๔๙
ป.วิ.พ. ๒๕๓
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๑๒/๒๕๕๙ ๒๕๖
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๖๙๔๕/๒๕๖๒ ๒๖๑
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษที่ ๘๐๘๕/๒๕๖๒ ๒๖๔
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๙๑๙๔/๒๕๖๒ ๒๗๑
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๙๘/๒๕๖๓ ๒๗๕
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๖๘๗/๒๕๖๓ ๒๘๑
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๑๓๓๔/๒๕๖๔
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๑๖๕๕/๒๕๖๔ ๒๘๙
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๖๗/๒๕๖๕ ๒๙๒

ป.ว.ิ อ.
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๔๒๑/๒๕๖๐
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๘๖๔/๒๕๖๐

อ่นื ๆ หนา
พ.ร.ก. การบริหารจดั การการทำงานของคนตางดาว
๒๙๔
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๐/๒๕๖๓ ๒๙๙
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๔๔๑/๒๕๖๔
๓๐๓
พ.ร.บ. วา ดว ยการขดั กันแหงกฎหมาย
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๕๔/๒๕๖๕



คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๕๒๑/๒๕๖๐ แซนฟอรด แอล. พี โจทก
กรมทรัพยสนิ ทางปญญา จาํ เลย

พ.ร.บ. เคร่อื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖, ๗ วรรคสอง (๒), ๑๓

เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเ ปน อกั ษรโรมนั แมจ ะไมใ ชค ำทว่ั ไป แตป รากฏชดั
ตามรูปลักษณะและเสียงอานวาเปนการนำอักษรโรมันคำวา INK และ JOY มารวมกัน
รปู แบบของอกั ษร (Font) กป็ รากฏอยทู ว่ั ไป เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกจ งึ ไมใ ชค ำประดษิ ฐ
ดังนั้น ตองพิจารณาตอไปวา ความหมายของแตละคำในเครื่องหมายการคานี้เปนคำ
ทีเ่ ลง็ ถึงลักษณะหรอื คณุ สมบัตขิ องสินคา ปากกาหรอื ไม คำแปลท่ปี รากฏในพจนานุกรม
วา INK แปลวา หมึก หมึกแผน หรือสีหมึกวาด สวน JOY แปลวา ความสุขสบาย ความ
ปติยินดี แมวาโดยปกติหมึกจะมีความเกี่ยวของกับปากกาในการใชงาน แตหมึกก็ไมได
ใชเ ฉพาะกบั ปากกาหรอื เกย่ี วขอ งกบั ปากกาโดยตรงเพยี งอยา งเดยี ว โทรสารกด็ ี เครอ่ื งพมิ พ
ลกั ษณะตา ง ๆ ก็ดี รวมทงั้ ตราประทับกด็ ี ลว นเกีย่ วขอ งหรอื ใชห มึกในการทำงานทัง้ สิ้น
คำวา INK ยังไมอาจนับวาเปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของปากกา สวนคำวา
ยินดี ก็เปนคำที่ใชกันอยูทั่วไป มุงถึงอารมณความรูสึกของบุคคล ไมใชคำพรรณาถึง
ลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคา คำวา JOY จึงไมอาจนับวาเปนคำที่เล็งถึงคุณสมบัติ

ของปากกาโดยตรงไดเ ชน กนั เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกค ำวา INKJOY จงึ เปน คำทม่ี ี

ลกั ษณะบง เฉพาะตาม พ.ร.บ. เครอื่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสอง (๒)
เครื่องหมายการคาของโจทกแมจะเขียนติดกัน แตก็เปนเพียงการนำคำ ๒ คำ

มาเขยี นตดิ กนั ไมใ ชค ำประดษิ ฐข น้ึ ใหม และไมท ำใหเ กดิ ความแตกตา งไมว า จะนำคำ ๒ คำ
นม้ี าเรยี งหรอื แยกออกจากกนั นอกจากน้ี เอกสารของโจทกเ กย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑข องโจทก
ในเว็บไซต รวมทั้งหลักฐานการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทกในหลาย ๆ
ประเทศจะเห็นวาบางคร้งั โจทกกใ็ ชเ ครอื่ งหมายการคา ในลกั ษณะแยกเปน ๒ คำ และใช
รูปแบบของอักษร (Font) แตกตางจากเครื่องหมายการคาของโจทก เมื่อพิจารณาวา

เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกค ำวา INKJOY กบั เครอ่ื งหมายการคา ทไ่ี ดจ ดทะเบยี นไวแ ลว

คำวา INK BOY ตางใชรูปแบบตัวอักษร (Font) ที่มีอยูทั่วไป ไมมีลักษณะพิเศษใด ๆ
เมื่อตางเปนภาษาตางประเทศใชอักษรโรมันเหมือนกัน มี ๒ คำ เหมือนกัน คำแรกเปน
คำเดยี วกนั และออกเสยี งเหมอื นกนั สว นคำหลงั เครอ่ื งหมายการคา ของโจทก ใชค ำวา JOY



มีตัวอักษร ๓ ตัว อานออกเสียงเปนภาษาไทยวา จอย สวนอีกเครื่องหมายหนึ่งใช คำวา
BOY มตี วั อกั ษร ๓ ตวั เหมอื นกนั และตา งจากคำของโจทกเ พยี งอกั ษรตวั แรก อา นออกเสยี ง
เปนภาษาไทยวา บอย เห็นไดวาเครื่องหมายการคาดังกลาวมีตัวอักษร ๖ ตัว เทากัน
ตา งกนั เพยี งอกั ษรตวั เดยี ว เสยี งเรยี กขานทใ่ี กลเ คยี งกนั มาก เมอ่ื ใชก บั สนิ คา จำพวกและ
ประเภทเดียวกันผูบริโภคก็เปนกลุมเดียวกัน เครื่องหมายการคาของโจทกจึงมีลักษณะ
คลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา ของบคุ คลอน่ื ทไ่ี ดจ ดทะเบยี นไวแ ลว จนอาจทำใหส าธารณชน
สบั สนหรือหลงผิดในความเปน เจาของของสนิ คา หรอื แหลงกำเนิดของสนิ คา

วตั ถปุ ระสงคข องการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เปน เรอ่ื งทร่ี ฐั ตอ งการควบคมุ
และกำกบั ดแู ลเครอ่ื งหมายการคา วา เปน เครอ่ื งหมายการคา อนั พงึ รบั จดทะเบยี นหรอื ไม
ทั้งนี้ เพื่อรักษาผลประโยชนของประชาชนผูบริโภคมิใหเกิดความสับสนหรือหลงผิดใน
ความเปนเจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของสินคา ดังนั้น แมโจทกจะยื่นขอ
จดทะเบยี นโดยสจุ รติ แตถ า เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกค ลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา ของ
บุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลว จนทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปน
เจา ของของสินคาหรือแหลง กำเนิดของสินคา ก็ไมอาจรบั จดทะเบยี นใหได

การที่เครื่องหมายการคาของโจทกไดรับการจดทะเบียนในประเทศตาง ๆ
ทว่ั โลกนน้ั เปน เรอ่ื งของหลกั เกณฑก ารพจิ ารณาและดลุ พนิ จิ ของพนกั งานเจา หนา ทใ่ี นแตล ะ
ประเทศดังกลาว ไมเปนเหตุใหเครื่องหมายการคาของโจทกจะไดรับการจดทะเบียนใน
ประเทศไทยโดยไมต อ งพจิ ารณาตามหลกั เกณฑท ก่ี ำหนดไวใ น พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔

______________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหเ พกิ ถอนคำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ท่ี พณ ๐๗๐๔/๓๑๙๔
และ พณ ที่ ๐๗๐๔/๑๗๔๔๕ กับคำวนิ ิจฉยั ของคณะกรรมการเครือ่ งหมายการคา ที่ ๗๐๔/๒๕๕๗
และขอใหพิพากษาวาเครื่องหมายการคาของโจทกตามคำขอเลขที่ ๘๐๓๓๑๐ เปนเครื่องหมาย
การคา ทพ่ี งึ รบั จดทะเบยี นได ใหจ ำเลยรบั จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทก หากไมป ฏบิ ตั ิ
ตามใหถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจำเลย

จำเลยใหการ ขอใหย กฟอ ง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพจิ ารณาแลว พพิ ากษายกฟอ ง
คา ฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพบั



โจทกอ ทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง เปน ยตุ ใิ นเบอ้ื งตน ตามทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั วา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ เมษายน

๒๕๕๔ โจทกยื่นขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาคำวา INKJOY ตามคำขอเลขที่ ๘๐๓๓๑๐

สำหรบั จำพวกท่ี ๑๖ สนิ คา ปากกา นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา มคี ำสง่ั วา เครอ่ื งหมายการคา
ของโจทกมีบางสวนไมมีลักษณะบงเฉพาะ ใหโจทกแสดงเจตนาวาจะไมขอถือเปนสิทธิของตน
แตเพียงผูเดียวในอันที่จะใชอักษรโรมันคำวา INK และเครื่องหมายการคาของโจทกคลายกับ
เครอ่ื งหมายการคา ของบคุ คลอน่ื ทไ่ี ดจ ดทะเบยี นไวแ ลว ทะเบยี นเลขท่ี ค๑๖๓๖๔๑ โจทกอ ทุ ธรณ
คำสั่งดังกลาว คณะกรรมการเครื่องหมายการคามีคำวินิจฉัยยืนตามคำสั่งของนายทะเบียน
เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๖๓๖๔๑ เปนคำวา INK BOY จดทะเบียน
จำพวกท่ี ๑๖ สนิ คา ปากกา แปน หมกึ และนำ้ หมึกเติมแสตมป น้ำหมกึ

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกขอแรกวา เครื่องหมายการคาของโจทก

คำวา INKJOY มลี กั ษณะบง เฉพาะหรอื ไม เหน็ วา เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเ ปน อกั ษรโรมนั

แมจ ะไมใ ชค ำทว่ั ไป แตป รากฏชดั ตามรปู ลกั ษณะและเสยี งอา นวา เปน การนำอกั ษรโรมนั คำวา INK
และ JOY มารวมกันนั่นเอง รูปแบบของอักษร (Font) ก็ปรากฏอยูทั่วไป เครื่องหมายการคา
ของโจทกจ งึ ไมใ ชค ำประดษิ ฐ ดงั นน้ั ตอ งดตู อ ไปวา ความหมายของแตล ะคำในเครอ่ื งหมายการคา น้ี
เปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาปากกาหรือไม คูความยอมรับกันถึงคำแปลที่
ปรากฏในพจนานุกรมวา INK แปลวา หมึก หมึกแผน หรือสีหมึกวาด สวน JOY แปลวา ความ
สุขสบาย ความปติยนิ ดี แมว าโดยปกตหิ มึกจะมีความเก่ียวของกับปากกาในการใชงาน แตห มึก
กไ็ มไ ดใ ชเ ฉพาะกบั ปากกาหรอื เกย่ี วขอ งกบั ปากกาโดยตรงเพยี งอยา งเดยี ว โทรสารกด็ ี เครอ่ื งพมิ พ
ลักษณะตาง ๆ ก็ดี รวมทั้งตราประทับก็ดี ลวนเกี่ยวของหรือใชหมึกในการทำงานทั้งสิ้น คำวา
INK ยังไมอาจนับวาเปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของปากกา สวนคำวา ยินดี ก็เปนคำ
ที่ใชกันอยูทั่วไป มุงถึงอารมณความรูสึกของบุคคล ไมใชคำพรรณาถึงลักษณะหรือคุณสมบัติ
ของสินคา คำวา JOY จึงไมอาจนับวาเปนคำที่เล็งถึงคุณสมบัติของปากกาโดยตรงไดเชนกัน

เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกค ำวา INKJOY จงึ เปน คำทม่ี ลี กั ษณะบง เฉพาะตามพระราชบญั ญตั ิ

เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสอง (๒) เมื่อพิจารณาเชนนี้แลวก็ไมจำตอง
พจิ ารณาตามมาตรา ๗ วรรคสาม อกี ตอ ไป ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
กลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงขึ้น



มปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกข อ สดุ ทา ยวา เครอ่ื งหมายการคา ของโจทก
คลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา ของบคุ คลอน่ื ทไ่ี ดจ ดทะเบยี นไวแ ลว จนอาจทำใหส าธารณชนสบั สน
หรอื หลงผดิ ในความเปน เจา ของของสนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ ของสนิ คา หรอื ไม เหน็ วา เครอ่ื งหมาย
การคาของโจทกแมจะเขียนติดกัน แตก็ไดวินิจฉัยไวแลววาเปนเพียงการนำคำ ๒ คำ มาเขียน
ติดกัน ไมใชคำประดิษฐขึ้นใหม และไมทำใหเกิดความแตกตางไมวาจะนำคำ ๒ คำ นี้มาเรียง
หรือแยกออกจากกัน นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาพยานเอกสารของโจทกเกี่ยวกับผลิตภัณฑของ
โจทกใ นเวบ็ ไซต รวมทง้ั หลกั ฐานการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกใ นหลาย ๆ ประเทศ
จะเหน็ วา บางครง้ั โจทกก ใ็ ชเ ครอ่ื งหมายการคา ในลกั ษณะแยกเปน ๒ คำ และใชร ปู แบบของอกั ษร
(Font) แตกตางจากเครื่องหมายการคาของโจทก ขออางในสวนนี้ของโจทกจึงมีน้ำหนักนอย

อยา งไรกต็ าม เมอ่ื พจิ ารณาวา เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกค ำวา INKJOY กบั เครอ่ื งหมายการคา

ทไ่ี ดจ ดทะเบยี นไวแ ลว คำวา INK BOY ตา งใชร ปู แบบตวั อกั ษร (Font) ทม่ี อี ยทู ว่ั ไป ไมม ลี กั ษณะ
พิเศษใด ๆ เมื่อตางเปนภาษาตางประเทศใชอักษรโรมันเหมือนกันมี ๒ คำ เหมือนกัน คำแรก
เปนคำเดียวกันและออกเสยี งเหมือนกนั สว นคำหลงั เคร่อื งหมายการคาของโจทกใชค ำวา JOY
มีตัวอักษร ๓ ตัว อานออกเสียงเปนภาษาไทยวา จอย สวนอีกเครื่องหมายหนึ่งใชคำวา BOY
มีตัวอักษร ๓ ตัว เหมือนกัน และตางจากคำของโจทกเพียงอักษรตัวแรก อานออกเสียงเปน
ภาษาไทยวา บอย เห็นไดวาเครื่องหมายการคาดังกลาวมีตัวอักษร ๖ ตัวเทากัน ตางกันเพียง
อักษรตัวเดียว เสียงเรียกขานก็ใกลเคียงกันมาก เมื่อใชกับสินคาจำพวกและประเภทเดียวกัน
ผบู รโิ ภคกเ็ ปน กลมุ เดยี วกนั เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกจ งึ มลี กั ษณะคลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา
ของบุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลว จนอาจทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปน
เจา ของของสนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ ของสนิ คา สำหรบั อทุ ธรณข องโจทกท ว่ี า โจทกย น่ื ขอจดทะเบยี น
เครอ่ื งหมายการคา ดว ยความสจุ รติ มไิ ดม งุ อา งองิ หรอื แสวงหาประโยชนจ ากความมชี อ่ื เสยี งของ
เครอ่ื งหมายการคา ทไ่ี ดจ ดทะเบยี นไวแ ลว นน้ั เหน็ วา วตั ถปุ ระสงคข องการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคา เปน เรอ่ื งทร่ี ฐั ตอ งการควบคมุ และกำกบั ดแู ลเครอ่ื งหมายการคา วา เปน เครอ่ื งหมายการคา
อันพึงรับจดทะเบียนหรือไม ทั้งนี้ เพื่อรักษาผลประโยชนของประชาชนผูบริโภคมิใหเกิดความ
สบั สนหรอื หลงผดิ ในความเปน เจา ของของสนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ ของสนิ คา ดงั นน้ั แมโ จทกจ ะยน่ื
ขอจดทะเบียนโดยสุจริต แตถาเครื่องหมายการคาของโจทกคลายกับเครื่องหมายการคาของ
บุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลวจนทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปนเจาของ
ของสินคาหรือแหลงกำเนิดของสินคา ก็ไมอาจรับจดทะเบียนใหได สวนอุทธรณของโจทกที่วา
เครื่องหมายการคาของโจทกไดรับการจดทะเบียนในประเทศตาง ๆ ทั่วโลกนั้นก็เปนเรื่องของ



หลกั เกณฑก ารพจิ ารณาและดลุ พนิ จิ ของพนกั งานเจา หนา ทใ่ี นแตล ะประเทศดงั กลา ว ไมเ ปน เหตุ
ใหเครื่องหมายการคาของโจทกจะไดรับการจดทะเบียนในประเทศไทยโดยไมตองพิจารณาตาม
หลักเกณฑที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ เครื่องหมายการคา
ของโจทกจึงเปนเครื่องหมายการคาที่ไมอาจรับจดทะเบียนได ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษายกฟอ งมานน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ พอ งดว ยในผล
อทุ ธรณข องโจทกข อน้ฟี ง ไมข้ึนเชนกัน

พิพากษายืน คาฤชาธรรมเนียมชน้ั อุทธรณใหเ ปน พบั .

(ไชยยศ วรนันทศิริ - จุมพล ภญิ โญสนิ วฒั น - สรุ พล คงลาภ)

สุดธิดา ธรรมชุตพิ ร - ยอ
สจุ นิ ต เจนพาณชิ พงศ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ทีส่ ดุ



คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๕๕๐/๒๕๖๐ บรษิ ัทอินทัช โฮลด้งิ ส

จำกัด (มหาชน) โจทก

กรมทรพั ยสินทางปญญา จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๒ วรรคหน่งึ
พ.ร.บ. เครอื่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖, ๗ วรรคสอง (๒), วรรคสาม

เครอ่ื งหมายการคา คำวา อนิ ทชั เปน คำภาษาไทยทไ่ี มม คี วามหมายตามพจนานกุ รม

เปน คำทเ่ี ลยี นเสยี งมาจากคำภาษาองั กฤษ โจทกบ รรยายฟอ งทม่ี าวา ประดษิ ฐค ำภาษาองั กฤษ

วา INTOUCH ซง่ึ แมจ ะเปน คำประดษิ ฐข น้ึ ใหมก เ็ ปน เพยี งการผสมคำในลกั ษณะเขยี นตดิ กนั

ไมเ วน ชอ งไฟ อนั หมายถงึ การนำคำวา IN และ TOUCH มาเขยี นติดกัน ตามพจนานุกรม

Oxford River Books ใหความหมายคำวา IN แปลวา ใน ขางใน เขามา คำวา TOUCH

แปลวา สมั ผสั แตะตอ ง ตดิ ตอ รวมกนั เปน คำวา IN TOUCH สอ่ื ความหมายไดว า ตดิ ตอ กนั

หรอื เชอ่ื มตอ กนั และคำดงั กลา วอา นไดว า อนิ -ทชั การนำคำมาผสมในลกั ษณะเขยี นตดิ กนั

กย็ งั คงอา นไดว า อนิ -ทชั โดยไมส ามารถแยกความแตกตา งของเสยี งอา นได การนำคำวา

อนิ ทชั มาใชก บั สนิ คา จำพวกท่ี ๙ รายการสนิ คา โทรศพั ทเ คลอ่ื นทร่ี ะบบดจิ ทิ ลั เครอ่ื งวทิ ยุ

โทรศพั ท ยอ มทำใหส าธารณชนเขา ใจไดว า สนิ คา ภายใตเ ครอ่ื งหมายการคา นเ้ี ปน ผลติ ภณั ฑ

ทใ่ี ชส ำหรบั การตดิ ตอ สอ่ื สาร อนั เปน การเลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา โดยตรง

คำดังกลา วจงึ ไมมลี กั ษณะบง เฉพาะอนั จะพงึ รบั จดทะเบยี นได

ตัวอักษรภาษาไทย เปนเพียงรูปแบบตัวอักษรภาษาไทยทั่วไปรูปแบบ

หนง่ึ เทานั้น ยงั ไมอาจถอื ไดว า เปนการประดิษฐต ัวอักษรใหม ลี ักษณะแตกตางจากอักษร

ไทยทั่วไปอันจะทำใหมีลักษณะบงเฉพาะได เอกสารเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจและการ

โฆษณาประชาสัมพันธเครื่องหมายการคาของโจทก เพื่อแสดงวามีการใชเครื่องหมาย

การคา กับสินคาและบริการที่เกี่ยวกับโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิทัล เครื่องวิทยุ

โทรศพั ท ฯลฯ อยางแพรห ลาย จนเปน ท่ีรูจ ักแกผูบริโภคนั้น เปนเพียงขอมลู เกย่ี วกับการ

ประกอบธรุ กจิ โครงสรา งการถอื หนุ ของกลมุ บรษิ ทั โจทก การดำเนนิ กจิ การและการโฆษณา

ประชาสัมพันธซึ่งมีคำวา อินทัช ที่เปนชื่อบริษัทโจทกหรือเปนชื่อทางการคาเทานั้น แต

ไมปรากฏขอ มลู เก่ยี วกับการใชเครอื่ งหมายการคา กับการจำหนายสนิ คา แมแต

ภาพถายสินคาก็ใชเครื่องหมายการคา INTOUCH ซึ่งไมไดเปนเครื่องหมายการคาเดียว



กันกับเครื่องหมายการคาที่โจทกยื่นขอจดทะเบียน เครื่องหมายการคาของโจทกไดรับ
การจดทะเบียนไวแลวกับบริการในจำพวกที่ ๓๕, ๓๗, ๓๘, ๔๑ และ ๔๒ ก็เปนการ
จดทะเบียนไวกับบริการอื่น ๆ ที่ไมอาจนำมาเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนลักษณะ
บง เฉพาะโดยการใชไ ด

______________________________

โจทกฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาและคำวินิจฉัยของ

คณะกรรมการเครื่องหมายการคา และมีคำสั่งใหจำเลยดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียน

เคร่ืองหมายการคา ของโจทกต อไป

จำเลยใหก ารขอใหย กฟอง

ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหเ พกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั

อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๓๐๘/๒๕๕๘ และใหจ ำเลยดำเนนิ การรบั จดทะเบยี น

เครอ่ื งหมายการคา ตามคำขอเลขท่ี ๘๐๒๓๓๑ ของโจทกต อ ไป ใหจ ำเลยใชค า ฤชาธรรมเนยี มและ

คา ทนายความแทนโจทก โดยกำหนดคา ทนายความให ๒๕,๐๐๐ บาท

จำเลยอทุ ธรณ

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ

วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั ในชน้ั อทุ ธรณร บั ฟง ไดว า โจทกเ ปน นติ บิ คุ คลประเภท

บริษัทมหาชนจำกัด ประกอบธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร โจทกยื่นคำขอจดทะเบียน

เครื่องหมายการคา เปนคำขอเลขที่ ๘๐๒๓๓๑ สำหรับรายการสินคาในจำพวกที่ ๙

ไดแ ก โทรศพั ทเ คลอ่ื นทร่ี ะบบดจิ ทิ ลั แบตเตอร่ี ชดุ หฟู ง ทช่ี ารจ โทรศพั ทแ บบตง้ั โตะ ทช่ี ารจ โทรศพั ท

แบบติดรถยนต และเครื่องวิทยุโทรศัพทนายทะเบียนเครื่องหมายการคามีคำสั่งปฏิเสธไมรับ

จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเ นอ่ื งจากไมม ลี กั ษณะบง เฉพาะ โจทกอ ทุ ธรณค ำสง่ั ของ

นายทะเบียนเครื่องหมายการคาตอคณะกรรมการเครื่องหมายการคาและเมื่อคณะกรรมการ

เครื่องหมายการคาพิจารณาอุทธรณของโจทกแลวมีมติยืนตามคำสั่งปฏิเสธของนายทะเบียน

เครอ่ื งหมายการคา ตามคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๓๐๘/๒๕๕๘

มปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยขอ แรกวา เครอ่ื งหมายการคา ของ

โจทกตามคำขอจดทะเบียนเลขที่ ๘๐๒๓๓๑ เปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคา

โดยตรงอันเปนคำที่ไมมีลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) แหงพระราชบัญญัติ

เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ หรือไม เห็นวา แมเครื่องหมายการคาคำวา อินทัช ของโจทก



จะเปน คำภาษาไทยที่ไมมีความหมายตามพจนานุกรม แตคำดงั กลา วเปน คำที่เลยี นเสียงมาจาก
คำภาษาอังกฤษ ตามที่โจทกไดบรรยายคำฟองถึงที่มาของเครื่องหมายการคาคำวา อินทัช
วาโจทกประดิษฐเครื่องหมายการคาดังกลาวโดยประดิษฐคำภาษาอังกฤษวา INTOUCH ซึ่งแม
โจทกจ ะกลา วอา งวา เปน คำประดษิ ฐข น้ึ ใหม แตโ จทกก ร็ บั วา เปน เพยี งการผสมคำในลกั ษณะเขยี น
ตดิ กนั ไมเ วน ชอ งไฟ อนั หมายถงึ โจทกน ำคำวา IN และ TOUCH มาเขยี นตดิ กนั นน่ั เอง เมอ่ื ตาม
พจนานกุ รม Oxford River Books ใหค วามหมายคำวา IN แปลวา ใน ขา งใน เขา มา คำวา TOUCH
แปลวา สมั ผสั แตะตอ ง ตดิ ตอ รวมกนั เปน คำวา IN TOUCH สอ่ื ความหมายไดว า ตดิ ตอ กนั หรอื
เชอ่ื มตอ กนั และคำดงั กลา วอา นไดว า อนิ -ทชั ซง่ึ แมโ จทกจ ะนำคำมาผสมในลกั ษณะเขยี นตดิ กนั
กย็ งั คงอา นไดว า อนิ -ทชั โดยไมส ามารถแยกความแตกตา งของเสยี งอา นได การทโ่ี จทกน ำคำวา
อนิ ทชั มาใชก บั สนิ คา จำพวกท่ี ๙ รายการสนิ คา โทรศพั ทเ คลอ่ื นทร่ี ะบบดจิ ทิ ลั เครอ่ื งวทิ ยโุ ทรศพั ท
ยอมทำใหสาธารณชนเขาใจไดวาสินคาภายใตเครื่องหมายการคานี้เปนผลิตภัณฑที่ใชสำหรับ
การตดิ ตอ สอ่ื สาร อนั เปน การเลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา โดยตรง ตามพระราชบญั ญตั ิ
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสอง (๒) คำดังกลาวจึงไมมีลักษณะบงเฉพาะ
อันจะพึงรับจดทะเบียนไดตามมาตรา ๖ แมพยานโจทกปากนางสาวรัชฎาวรรณ ผูอำนวยการ
สำนกั ประชาสมั พนั ธ มหี นา ทด่ี แู ลรบั ผดิ ชอบดา นการสอ่ื สารและประชาสมั พนั ธอ งคก รของโจทก
จะทำบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ และความเหน็ ของพยานในทำนองวา โจทกค ดิ ประดษิ ฐค ำวา
อินทัชขึ้นใหมเพื่อใชเปนชื่อโจทก คำวา อินทัช มีรากศัพทมาจากภาษาบาลี โดยนำคำวา อินท
อานวา อิน-ทะ ซึ่งมีความหมายวา พระอินทร ผูเปนจอม รวมกับคำวา ชน หรือ ชนน อานวา
ชะ-นะ ซึ่งมีความหมายวา คน ประชาชน สัตว ผูเกิด ผูให การใหเกิด หรือการผลิต เมื่อนำคำ
ทั้งสองมารวมกัน มีความหมายวาเกิดในความยิ่งใหญ และเนื่องจากโจทกเปนบริษัทที่ทำธุรกิจ
ทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ มีกลุมลูกคาทั้งชาวไทยและตางชาติ โจทกจึงใชชื่อบริษัท
เปนภาษาอังกฤษวา INTOUCH ซึ่งเปนคำพองเสียงกับชื่อทางการคา เครื่องหมายการคาและ
เครื่องหมายบริการคำวา อินทัช ของโจทก แตขอเท็จจริงที่พยานโจทกยืนยันดังกลาวนอกจาก
จะขัดแยงกับการบรรยายคำฟองแลว โจทกไมเคยแจงขอเท็จจริงเกี่ยวกับการประดิษฐคำวา
อนิ ทชั ขน้ึ ใหมจ ากภาษาบาลเี ชน นม้ี ากอ น แมแ ตใ นชน้ั อทุ ธรณค ำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคาตอคณะกรรมการเครื่องหมายการคา โจทกก็แจงรายละเอียดในคำอุทธรณเพียงวา
เครอ่ื งหมายการคา คำวา อนิ ทชั เปน เครอ่ื งหมายการคา ทม่ี ลี กั ษณะบง เฉพาะโดยพอ งเสยี งมาจาก
คำวา INTOUCH ซง่ึ เปน คำประดษิ ฐ เชน เดยี วกบั ทโ่ี จทกบ รรยายคำฟอ ง ถอ ยคำของพยานโจทก
ดงั กลา วจงึ ไมน า เชอ่ื ถอื และไมม นี ำ้ หนกั ใหร บั ฟง รวมทง้ั ทพ่ี ยานโจทกเ บกิ ความตอบคำถามคา น



ของทนายจำเลยวา พยานประดษิ ฐต วั อกั ษรภาษาไทย ใหม ลี กั ษณะแตกตา งจากอกั ษรไทย

ทว่ั ไปนน้ั เมอ่ื พจิ ารณาแลว เหน็ ไดว า เปน เพยี งรปู แบบตวั อกั ษรภาษาไทยทว่ั ไปรปู แบบหนง่ึ เทา นน้ั

ยงั ไมอ าจถอื ไดว า เปน การประดษิ ฐต วั อกั ษรใหม ลี กั ษณะแตกตา งจากอกั ษรไทยทว่ั ไปอนั จะทำใหม ี

ลกั ษณะบง เฉพาะได ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั วา โจทก

ไดคิดคนและประดิษฐคำวา อินทัช ขึ้นใหมจากภาษาบาลี และการประดิษฐตัวอักษรมีลักษณะ

แตกตา งจากภาษาไทยทว่ั ไป เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกจ งึ มลี กั ษณะบง เฉพาะนน้ั ไมต อ งดว ย

ความเหน็ ของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อทุ ธรณข องจำเลยขอ นี้ฟง ข้นึ

มปี ญหาตองวินิจฉยั ตามอทุ ธรณของจำเลยตอ ไปวา เครอื่ งหมายการคา ของ

โจทกม ลี กั ษณะบง เฉพาะโดยการใช ตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา

พ.ศ. ๒๕๓๔ หรือไม เห็นวา เอกสารเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจและการโฆษณาประชาสัมพันธ

เครื่องหมายการคาของโจทกที่โจทกอางเปนพยานหลักฐานเพื่อแสดงวามีการใชเครื่องหมาย

การคา กบั สนิ คา และบรกิ ารทเ่ี กย่ี วกบั โทรศพั ทเ คลอ่ื นทร่ี ะบบดจิ ทิ ลั เครอ่ื งวทิ ยโุ ทรศพั ท ฯลฯ

อยางแพรหลาย จนเปนที่รูจักแกผูบริโภคนั้น เปนเพียงขอมูลเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

โครงสรา งการถอื หนุ ของกลมุ บรษิ ทั โจทก การดำเนนิ กจิ การ และการโฆษณาประชาสมั พนั ธบ รษิ ทั

โจทก ซึ่งมีคำวา อินทัช ที่เปนชื่อบริษัทโจทกหรือเปนชื่อทางการคาเทานั้น แตไมปรากฏขอมูล

เกี่ยวกับการใชเครื่องหมายการคา กับการจำหนายสินคาของโจทกแตอยางใด แมจะมี

ภาพถายสินคาของโจทกประกอบอยูบาง สินคาเหลานั้นก็ใชเครื่องหมายการคา INTOUCH ซึ่ง

ไมไดเปนเครื่องหมายการคาเดียวกันกับเครื่องหมายการคาที่โจทกยื่นขอจดทะเบียน เชนเดียว

กับท่โี จทกอางวาเครื่องหมายการคา ของโจทกไดรบั การจดทะเบยี นไวแ ลว กบั บรกิ ารในจำพวกที่

๓๕, ๓๗, ๓๘, ๔๑ และ ๔๒ ก็เปนการจดทะเบียนไวกับบริการอื่น ๆ ที่ไมอาจนำมาเปนพยาน

หลักฐานในการพิสจู นลักษณะบง เฉพาะโดยการใชได พยานหลักฐานของโจทกไมเ พยี งพอใหรบั

ฟง ไดว า มกี ารจำหนา ย เผยแพร หรอื โฆษณาสนิ คา ทใ่ี ชเ ครอ่ื งหมายการคา อยา งตอ เนอ่ื งเปน ระยะ

เวลานานพอสมควรจนทำใหส าธารณชนทว่ั ไปหรอื สาธารณชนในสาขาทเ่ี กย่ี วขอ งในประเทศไทย

รจู กั และเขา ใจวา สนิ คา ทใ่ี ชเ ครอ่ื งหมายการคา ของโจทกแ ตกตา งไปจากสนิ คา อน่ื ตามพระราชบญั ญตั ิ

เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสาม และประกาศกระทรวงพาณชิ ย เรอ่ื งหลกั เกณฑ

การพิสูจนลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา

พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยวาโจทกไดใช

คำวา อนิ ทชั เปน เครอ่ื งหมายการคา มาเปน ระยะเวลานานพอสมควรทจ่ี ะทำใหส าธารณชนเขา ใจ

วาอินทัชเปนบริษัทที่ทำธุรกิจดานการสื่อสารโทรคมนาคม และการใชคำวา อินทัช จนทำให



สาธารณชน เขา ใจไดว า สนิ คา นน้ั เปน สนิ คา ของโจทก ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษไมเ หน็ พอ งดว ย
อุทธรณขอนี้ของจำเลยฟงขึ้นเชนกัน กรณีไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณขออื่นของจำเลยอีกตอไป
เพราะไมทำใหผ ลของคดเี ปล่ียนแปลง

พพิ ากษากลบั ใหย กฟอ งโจทก คาฤชาธรรมเนยี มทง้ั สองศาลใหเปน พบั .
(กรกนั ยา สุวรรณพานชิ - นพรัตน ชลวทิ ย - วราคมน เลีย้ งพันธุ)

วิวฒั น วงศก ิตติรักษ - ยอ
ปรานี เสฐจนิ ตนิน - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎีกาพิพากษากลับ ตามคำพพิ ากษาศาลฎีกาที่ ๕๖๙๘/๒๕๖๒

๑๐

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษที่ ๕๗๖/๒๕๖๐ อาลบี าบา กรุป

โฮลดง้ิ ลิมเิ ตด็ โจทก

กรมทรพั ยสินทางปญญา จําเลย

พ.ร.บ. เคร่ืองหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖, ๗ วรรคสอง (๒) (๓), ๘๐

เครอ่ื งหมายบรกิ าร ของโจทกเ ปน คำทไ่ี มม คี ำแปลหรอื ปรากฏใน

พจนานุกรมจึงถือเปนคำที่โจทกประดิษฐขึ้นได การที่ตัวอักษร T ที่โจทกใชในคำขอ

จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ าร เปน ตวั อกั ษรทเ่ี ปน ตวั พมิ พใ หญธ รรมดาและไมไ ดม ลี กั ษณะ

พเิ ศษนน้ั ไมท ำใหค ำทป่ี ระดษิ ฐข น้ึ ดงั กลา ว ตอ งกลายเปน ไมม ลี กั ษณะบง เฉพาะ แมโ จทก

ใชต วั อกั ษรโรมนั T ทไ่ี มม ลี กั ษณะพเิ ศษ คำวา โดยรวมทง้ั คำกย็ งั ถอื วา เปน

คำประดษิ ฐไ ด มไิ ดท ำใหข าดลกั ษณะบง เฉพาะไป ทง้ั คำดงั กลา วไมใ ชค ำทแ่ี ยกพจิ ารณา

ไปทางใดทางหนง่ึ แลว มคี วามหมายชดั เจนพอทจ่ี ะพจิ ารณาแยกคำกนั ได การแยกพจิ ารณา

เปน อกั ษรโรมนั “T” กบั คำวา “MALL” แลว เหน็ วา หมายถงึ ศนู ยก ารคา และเลง็ ถงึ ลกั ษณะ

หรือคุณสมบัติของบริการโดยตรงนั้นไมถูกตอง เครื่องหมายบริการ ของ

โจทกจึงเปนเครื่องหมายบริการที่มีลักษณะบงเฉพาะ ตาม พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา

พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสอง (๒) (๓) และเปน เครอ่ื งหมายบรกิ ารอนั พงึ รบั จดทะเบยี น

ไดต ามมาตรา ๖ ประกอบมาตรา ๘๐

______________________________

โจทกฟอง ขอใหพิพากษาวาคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาและคำวินิจฉัย

ของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาไมชอบดวยกฎหมายและใหเพิกถอนคำสั่งและคำวินิจฉัย

ดงั กลา ว กบั ขอใหพ พิ ากษาวา เครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทกม ลี กั ษณะบง เฉพาะพงึ รบั จดทะเบยี นได

และใหจำเลยรับจดทะเบียนเครื่องหมายบริการ หากจำเลยเพิกเฉย ขอใหถือเอาคำพิพากษา

แทนการแสดงเจตนาของจำเลย

จำเลยใหการ ขอใหย กฟอ ง

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิจารณาแลวพิพากษาวา

เครอ่ื งหมายบรกิ าร ของโจทกต ามคำขอเลขท่ี ๘๓๑๗๔๖ คำขอเลขท่ี ๘๓๑๗๔๗

คำขอเลขท่ี ๘๓๑๗๔๘ คำขอเลขท่ี ๘๓๑๗๔๙ เปน เครอ่ื งหมายทม่ี ลี กั ษณะบง เฉพาะตามมาตรา ๗

๑๑

วรรคหนึ่งและวรรคสอง (๒) (๓) อันพึงรับจดทะเบียนไดตามมาตรา ๖ (๑) ประกอบมาตรา ๘๐

แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ใหเ พกิ ถอนคำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมาย

การคา ท่ี พณ ๐๗๐๔/๑๙๑๑๐ ท่ี พณ ๐๗๐๔/๑๙๑๑๑ ท่ี พณ ๐๗๐๔/๑๙๑๑๒ ท่ี พณ ๐๗๐๔/๑๙๑๑๓

และคำวินิจฉัยของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ ๑๐๒๒/๒๕๕๘ ที่ ๑๐๒๓/๒๕๕๘

ที่ ๑๐๒๔/๒๕๕๘ ที่ ๑๐๒๕/๒๕๕๘ และใหจำเลยดำเนินการรับจดทะเบียนเครื่องหมายบริการ

ของโจทกต อ ไป คำขออ่นื ใหย ก คาฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพับ

จำเลยอุทธรณ

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ

วนิ จิ ฉยั วา เหน็ วา ขอ เทจ็ จรงิ ทร่ี บั ฟง ไดใ นเบอ้ื งตน โดยคคู วามมไิ ดโ ตแ ยง กนั คอื โจทกเ ปน นติ บิ คุ คล

ตามกฎหมายของหมเู กาะเคยแมน โจทกยน่ื คำขอจดทะเบยี นเคร่ืองหมายบรกิ าร

เปน ๔ คำขอ คอื คำขอเลขท่ี ๘๓๑๗๔๖ สำหรบั บรกิ ารในจำพวกท่ี ๓๕ คำขอเลขท่ี ๘๓๑๗๔๗

สำหรับบริการในจำพวกท่ี ๓๘ คำขอเลขที่ ๘๓๑๗๔๘ สำหรับบริการในจำพวกที่ ๔๑ คำขอเลขท่ี

๘๓๑๗๔๙ สำหรบั บรกิ ารในจำพวกท่ี ๔๒ นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา มคี ำสง่ั วา เครอ่ื งหมาย

บรกิ ารของโจทกท ง้ั ๔ คำขอไมม ลี กั ษณะบง เฉพาะ โจทกอ ทุ ธรณค ำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมาย

การคา คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณท ง้ั ๔ ฉบบั ในทำนองเดยี วกนั วา เครอ่ื งหมาย

บริการของโจทกไมมีลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) (๓) แหงพระราชบัญญัติ

เคร่อื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ จงึ ไมมลี ักษณะอันพึงรบั จดทะเบียนตามมาตรา ๖ ประกอบ

มาตรา ๘๐ และมคี ำสง่ั ยนื ตามคำสง่ั ปฏเิ สธของนายทะเบยี นปรากฏตามสำเนาคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ

ของคณะกรรมการเคร่อื งหมายการคา

คดมี ปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยวา เครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทกค ำวา

เปนเครื่องหมายบริการที่มีลักษณะบงเฉพาะ ตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) (๓)

ประกอบมาตรา ๘๐ แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ หรือไม เห็นวา

เคร่ืองหมายบริการ คำวา เปน คำท่ีไมม คี ำแปลหรือปรากฏในพจนานุกรม จงึ ถือ

เปน คำทโ่ี จทกป ระดษิ ฐข น้ึ ได การทต่ี วั อกั ษร T ทโ่ี จทกใ ชใ นคำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ าร

เปนตัวอักษรที่เปนตัวพิมพใหญธรรมดาและไมไดมีลักษณะพิเศษนั้น ไมทำใหคำที่ประดิษฐขึ้น

ดังกลาวตองกลายเปนไมมีลักษณะบงเฉพาะอยางที่คณะกรรมการเครื่องหมายการคาเขาใจ

แมโจทกใชตัวอักษรโรมัน T ที่ไมมีลักษณะพิเศษก็ตาม คำวา โดยรวมทั้งคำก็ยัง

ถอื วา เปน คำประดษิ ฐไ ด มไิ ดท ำใหข าดลกั ษณะบง เฉพาะไปดงั ทจ่ี ำเลยอทุ ธรณ อทุ ธรณข อ นร้ี บั ฟง

ไมได สวนที่จำเลยอุทธรณตอมาใหพิจารณาโดยการแยกคำวา ออกเปน ๒ สวน

๑๒

แลวแปลอักษรโรมัน MALL วาศูนยการคานั้น การแยกคำดังกลาวก็หาไดทำใหความหมายยุติ

ไปดังที่คณะกรรมการเครื่องหมายการคาวินิจฉัยไม เนื่องจากคำวา ที่โจทกใชใน

คำขอทั้ง ๔ ฉบับ ดังกลาวไมใชคำที่แยกพิจารณาไปทางใดทางหนึ่งแลวมีความหมายชัดเจน

พอที่จะพิจารณาแยกคำกันได ตัวอักษรดังกลาวอาจมีความหมายอื่นและไมอาจยืนยันไดอยาง

แนช ดั วา หมายถงึ สง่ิ ใด การทค่ี ณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา พจิ ารณาหาความหมายของคำวา

โดยกำหนดวา ตอ งแยกออกและตอ งแยกออกเปน อกั ษรโรมนั “T” กบั คำวา “MALL”

รวมทั้งวินิจฉัยตอ ไปวาความหมายของคำวา “MALL” แปลวา ศนู ยการคา และเลง็ ถึงลักษณะหรือ

คุณสมบัติของบริการโดยตรง จึงไมถูกตอง คำวา ดังกลาวถือเปนคำที่โจทกประดิษฐ

ขนึ้ ไดดังท่วี ินิจฉัยมาขา งตน กรณรี บั ฟงไดวา เครือ่ งหมายบรกิ ารของโจทกคำวา

เปน เครอ่ื งหมายบรกิ ารทม่ี ลี กั ษณะบง เฉพาะ ตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) (๓) และเปน เครอ่ื งหมาย

บรกิ ารอนั พงึ รบั จดทะเบยี นไดต ามมาตรา ๖ ประกอบมาตรา ๘๐ ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและ

การคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหเ พกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมาย

การคาทั้ง ๔ ฉบับ และใหจำเลยดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายบริการคำวา

ตามคำขอเลขที่ ๘๓๑๗๔๖ คำขอเลขที่ ๘๓๑๗๔๗ คำขอเลขที่ ๘๓๑๗๔๘ และ

คำขอเลขที่ ๘๓๑๗๔๙ ของโจทกตอไป จึงตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ

อทุ ธรณข องจำเลยขอ นฟ้ี ง ไมข น้ึ กรณไี มจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั ปญ หาตามอทุ ธรณข องจำเลยวา เครอ่ื งหมาย

บรกิ ารของโจทกไ มม ลี กั ษณะบง เฉพาะอนั เกดิ จากการจำหนา ย เผยแพร หรอื โฆษณาจนแพรห ลาย

แลวตามประกาศกระทรวงพาณิชยเรื่องหลักเกณฑการพิสูจนลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗

วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ อีก เพราะไมทำใหผลคดี

เปลีย่ นแปลงไป

พพิ ากษายืน คา ฤชาธรรมเนียมชน้ั อทุ ธรณใ หเ ปน พบั .

(จมุ พล ภิญโญสินวฒั น - ไชยยศ วรนนั ทศ ริ ิ - สรุ พล คงลาภ)

สดุ ธิดา ธรรมชตุ ิพร - ยอ
สจุ นิ ต เจนพาณชิ พงศ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงท่สี ุด

๑๓

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๒๐/๒๕๖๑ เอ.มนี ารินี เอเชีย - แปซฟิ ค

โฮลด้งิ ส ไพรเวท ลิมิเตด็ โจทก
กรมทรัพยส นิ ทางปญ ญา จำเลย

พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖ (๑), ๗ วรรคสอง (๒)

คำภาษาไทยที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาที่ขอจดทะเบียนโดยตรง
คอื คำวา ผวิ หนงั หรอื เกย่ี วกบั ผวิ หนงั เมอ่ื นำคำวา ผวิ หนงั หรอื เกย่ี วกบั ผวิ หนงั มาเทยี บกบั
คำภาษาอังกฤษ คำที่ใกลเคียงที่สุด คือกลุมคำวา derma หรือ dermatic ดังนั้น การนำ
กลมุ ของคำวา derma หรอื dermatic มาจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา กบั สนิ คา ทเ่ี กย่ี วขอ ง
กับผิวหนังจึงเปนการใชคำภาษาอังกฤษที่เมื่อเทียบกับคำภาษาไทยแลวเล็งถึงลักษณะ
หรือคุณสมบัติของสินคาโดยตรง ทำใหขาดลักษณะบงเฉพาะไป โจทกขอจดทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคา โดยใชค ำวา DERMATIX เมอ่ื นำมาเทยี บกบั คำวา derma หรอื dermatic
ปรากฏวาใชตัวอักษรเดียวกันเรียงกันไปตามลำดับถึง ๗ ตัวอักษร แตกตางกันเฉพาะ
ตวั อกั ษรสดุ ทา ยทค่ี ำวา DERMATIX ใชต วั อกั ษร X แสดงใหเ หน็ วา โจทกเ ลอื กเพยี งเปลย่ี น
ตัวอักษรตัวสุดทาย และเลือกตัวอักษรที่ทำใหเสียงเรียกขานเหมือนเดิม แมจะอางวา
เปนการสรางคำขึ้นมาใหมโดยเปลี่ยนแปลงคำก็ตาม แตเมื่อการเปลี่ยนแปลงดังกลาว
นอ ยมาก อกี ทง้ั ยงั ใชเ สยี งเรยี กขานเดมิ จงึ ไมอ าจถอื วา คำวา DERMATIX มคี วามแตกตา ง
จากคำวา dermatic มากพอที่จะทำใหผลการพิจารณาคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติ
ของสนิ คา โดยตรงตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) เปลย่ี นแปลงไป สว นคำวา ultra หมายความวา
ดี หรือดีเยี่ยม หรือเกินกวา จึงเปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาโดยตรง
เชน เดยี วกนั

______________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหพ พิ ากษาเพกิ ถอนคำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ตามหนงั สอื
กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญาท่ี พณ ๐๗๐๔/๖๑๓๕ และท่ี พณ ๐๗๐๔/๔๖๘๒ และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ
ของคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๗๖๙/๒๕๕๘ และท่ี ๗๗๑/๒๕๕๘ และขอใหพ พิ ากษาวา
เครื่องหมายการคาของโจทกตามคำขอเลขที่ ๗๙๖๖๕๕ และเลขที่ ๗๙๖๖๕๗ เปนเครื่องหมาย
การคา ทม่ี ลี กั ษณะบง เฉพาะ หากจำเลยเพกิ เฉยไมป ฏบิ ตั ติ าม ขอใหถ อื เอาคำพพิ ากษาแทนการ
แสดงเจตนาของจำเลย

๑๔

จำเลยใหก าร ขอใหยกฟอง

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่ง

ของนายทะเบยี นเคร่ืองหมายการคา ตามหนงั สอื ของกรมทรพั ยส นิ ทางปญญาที่ พณ ๐๗๐๔/๖๑๓๕

และพณ ๐๗๐๔/๔๖๘๒ และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๗๖๙/๒๕๕๘

และที่ ๗๗๑/๒๕๕๘ คา ฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพับ

จำเลยอทุ ธรณ

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ

วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่รับฟงไดในเบื้องตนโดยคูความมิไดโตแยงกันคือ โจทกเปนเจาของ

เครื่องหมายการคา และ ซึ่งใชกับสินคาที่ใชสำหรับ

รักษาโรคผิวหนังและยาที่ใชรักษารอยแผลเปนเมื่อวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๔ โจทกยื่น

ขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย อกั ษรโรมนั อา นวา เดอรม าทกิ แปลไมไ ด ตามคำขอ

เลขท่ี ๗๙๖๖๕๕ กบั สนิ คา จำพวก ๓ รายการสนิ คา ซลิ โิ คนสำหรบั เสรมิ สวย สารทเ่ี ตรยี มขน้ึ เพอ่ื

ใชร กั ษาผวิ หนงั ทเ่ี สยี หาย แผลเปน และแผลทไ่ี มม สี ว นผสมของยา และขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย

การคาคำวา อักษรโรมันอานวา เดอรมาทิก อัลตรา แปลไมได ตาม

คำขอเลขท่ี ๗๙๖๖๕๗ กบั สนิ คาจำพวก ๕ รายการสนิ คา ยาท่ใี ชรักษารอยแผลเปนปรากฏตาม

สำเนาคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา นายทะเบียนเครื่องหมายการคามีคำสั่งปฏิเสธ

การรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทก โดยเห็นวาไมมีลักษณะบงเฉพาะตาม พ.ร.บ.

เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ เพราะคำวา DERMATIX ทำใหเขาใจไดวามาจาก

อักษรโรมันคำวา dermatic ที่มีความหมายวา ซึ่งเกี่ยวกับผิวหนัง เมื่อนำมาใชกับสินคาที่ยื่นขอ

จดทะเบียน จึงสื่อความหมายวาเปนสินคาที่เกี่ยวกับผิวหนัง เล็งถึงคุณสมบัติสินคาโดยตรง

สว นคำวา DERMATIX ULTRA นน้ั มาจากอกั ษรโรมนั คำวา dermatic หมายถงึ เกย่ี วกบั ผวิ หนงั

โดยเจตนาเขยี นผดิ เปน DERMATIX สว น ultra หมายถงึ ทส่ี ดุ หรอื ดเี ยย่ี ม เมอ่ื นำมาใชก บั สนิ คา

ทย่ี น่ื ขอจดทะเบยี น จงึ สอ่ื ความหมายวา เปน สนิ คา ทใ่ี ชก บั ผวิ หนงั ไดด ี เลง็ ถงึ คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา

โดยตรง ไมมีลักษณะบงเฉพาะ ปรากฏตามสำเนาคำสั่งของนายทะเบียน โจทกอุทธรณคำสั่ง

ของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาตอคณะกรรมการเครื่องหมายการคาตามสำเนาคำอุทธรณ

คณะกรรมการเครื่องหมายการคามีคำวินิจฉัยที่ ๗๖๙/๒๕๕๘ และที่ ๗๗๑/๒๕๕๘ มีคำสั่งยืน

ตามคำส่ังปฏเิ สธของนายทะเบียนเคร่ืองหมายการคาสำหรับทั้งสองคำขอโดยใหเ หตผุ ลวา คำวา

DERMATIX เปน คำทเ่ี ขยี นเลยี นเสยี งคำภาษาองั กฤษคำวา dermatic แปลวา ซง่ึ เกย่ี วกบั ผวิ หนงั

เม่ือนำมาใชก ับสินคาทย่ี น่ื ขอจดทะเบยี นจึงเปนคำท่เี ล็งถึงคุณสมบัติโดยตรง ถือวา ไมมลี ักษณะ

๑๕

บง เฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) และยงั ไมเ พยี งพอรบั ฟง วา มกี ารจำหนา ย เผยแพร หรอื โฆษณา

สนิ คา ทใ่ี ชเ ครอ่ื งหมายจนแพรห ลายแลว ตามมาตรา ๗ วรรคสาม สว นคำวา DERMATIX ULTRA

คำวา DERMATIX เปนคำเขียนเลียนเสียงคำวา dermatic ที่แปลวา ซึ่งเกี่ยวกับผิวหนังเชนกัน

และคำวา ultra แปลวา เกิน อยางรุนแรง หรือที่สุด ดีเยี่ยม เมื่อนำมาใชกับสินคาที่ยื่นขอ

จดทะเบียน รวมกันจึงสื่อความหมายไดวาดีที่สุดสำหรับผิวหนัง เปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือ

คุณสมบัติของสินคาโดยตรง ถือวาไมมีลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) และยัง

ไมเ พยี งพอรบั ฟง วา มกี ารจำหนา ย เผยแพร หรอื โฆษณาสนิ คา ทใ่ี ชเ ครอ่ื งหมายจนแพรห ลายแลว

ตามมาตรา ๗ วรรคสาม ปรากฏตามสำเนาคำวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมาย

การคาที่ ๗๖๙/๒๕๕๘ และที่ ๗๗๑/๒๕๕๘ คดีมีประเด็นตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลย

วาเครื่องหมาย ตามคำขอเลขที่ ๗๙๖๖๕๕ และ

ตามคำขอเลขที่ ๗๙๖๖๕๗ ของโจทกเปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาที่ขอจด

ทะเบียนดังกลาวโดยตรง ไมมีลักษณะบงเฉพาะ และตองหามมิใหรับจดทะเบียนตาม พ.ร.บ.

เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖ (๑) และมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) หรือไม ดังนี้

เครอ่ื งหมายการคา ทโ่ี จทกข อจดทะเบยี นในคดนี ม้ี ลี กั ษณะเปน แบบตวั พมิ พอ กั ษรทว่ั ไปของคำวา

DERMATIX และคำวา DERMATIX ULTRA ทเ่ี ปน คำภาษาตา งประเทศ ซง่ึ ในทน่ี ค้ี อื ภาษาองั กฤษ

และคำวา DERMATIX เปนคำที่ไมปรากฏอยูในพจนานุกรมและเปนคำที่โจทกอางในคำฟองวา

คดิ ประดษิ ฐข น้ึ เอง อยา งไรกต็ าม เมอ่ื พจิ ารณาจากจำพวกและรายการสนิ คา ทโ่ี จทกข อจดทะเบยี น

กลาวคือ คำขอเลขที่ ๗๙๖๖๕๕ กับสินคาจำพวก ๓ รายการสินคา ซิลิโคนสำหรับเสริมสวย

สารทเ่ี ตรยี มขน้ึ เพอ่ื ใชร กั ษาผวิ หนงั ทเ่ี สยี หาย แผลเปน และแผลทไ่ี มม สี ว นผสมของยากรณหี นง่ึ

และคำขอเลขท่ี ๗๙๖๖๕๗ กบั สนิ คา จำพวก ๕ รายการสนิ คา ยาทใ่ี ชร กั ษารอยแผลเปน อกี กรณหี นง่ึ

เห็นไดวา รายการสินคาของทั้งสองคำขอเปนรายการสินคาที่เกี่ยวของกับผิวหนังและการรักษา

รอยแผลเปน เมอ่ื เปน สนิ คา เกย่ี วขอ งกบั ผวิ หนงั คำภาษาไทยทเ่ี ลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ขิ อง

สินคาที่ขอจดทะเบียนโดยตรงคือคำวาผิวหนังหรือเกี่ยวกับผิวหนัง การใชเครื่องหมายการคา

ทป่ี ระกอบดว ยคำวา ผวิ หนงั หรอื เกย่ี วกบั ผวิ หนงั จงึ เปน เครอ่ื งหมายทเ่ี ลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ิ

ของสินคาที่ขอจดทะเบียนทั้งสองคำขอที่กลาวมาและเมื่อนำคำวาผิวหนังหรือเกี่ยวกับผิวหนัง

มาเทยี บเสมอกบั คำภาษาองั กฤษ คำศพั ทท ใ่ี กลเ คยี งทส่ี ดุ คอื กลมุ ของคำวา derma หรอื dermatic

ดังนั้น การนำกลุมของคำวา derma หรือ dermatic มาจดทะเบียนเครื่องหมายการคากับสินคา

เกี่ยวของกับผิวหนังจึงเปนการใชคำภาษาอังกฤษที่เมื่อเทียบเสมอกับคำภาษาไทยแลวเล็งถึง

ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา โดยตรง ทำใหข าดลกั ษณะบง เฉพาะตามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ นมาตรา ๗

๑๖

วรรคสอง (๒) ไป สวนที่เครื่องหมายการคาทั้งสองคำขอใชคำวา DERMATIX ซึ่งโจทกอางวา
เปน คำทโ่ี จทกค ดิ ประดษิ ฐข น้ึ เอง ไมใ ชค ำวา derma หรอื dermatic นน้ั เมอ่ื นำคำวา DERMATIX
มาเทียบกับคำวา derma หรือ dermatic ปรากฏวา คำวา DERMATIX กับคำวา dermatic ใช
ตัวอักษรเดียวกันเรียงกันไปตามลำดับถึง ๗ ตัวอักษร แตกตางกันเฉพาะตัวอักษรสุดทายคือ
ตัวที่ ๘ ที่คำวา DERMATIX ใชตัวอักษร X สวนคำวา dermatic ใชตัวอักษร C เทานั้น แสดง
ใหเ หน็ วา ทโ่ี จทกอ า งวา สรา งคำวา DERMATIX ขน้ึ มา เปน เพยี งการเปลย่ี นอกั ษรตวั สดุ ทา ยเพยี ง
ตวั เดยี ว อกี ทง้ั เลอื กตวั อกั ษรทท่ี ำใหเ สยี งเรยี กขานเหมอื นเดมิ กลา วคอื เหมอื นกบั คำวา dermatic
โดยอา นวา เดอรม าทกิ เหมอื นกนั ดว ย ดงั นน้ั แมจ ะอา งวา เปน การสรา งคำใหมข น้ึ โดยเปลย่ี นแปลง
คำกต็ าม แตเ มอ่ื การเปลย่ี นแปลงดงั กลา วนอ ยมาก อกี ทง้ั ยงั ใชเ สยี งเรยี กขานเดมิ ดว ย จงึ ไมอ าจ
ถอื วา คำวา DERMATIX มคี วามแตกตา งจากคำวา dermatic มากพอทจ่ี ะทำใหผ ลการพจิ ารณา
คำทเ่ี ลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา โดยตรงตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) เปลย่ี นแปลงไป
สวนคำวา ultra ที่ใชในคำขอเลขที่ ๗๙๖๖๕๗ นั้น เปนการใชคำภาษาอังกฤษที่เมื่อเทียบเสมอ
กับคำภาษาไทยแลวหมายความวา ดี หรือดีเยี่ยม หรือเกินกวา จึงเปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือ
คุณสมบัติของสินคาโดยตรงเชนเดียวกัน เมื่อนำมารวมกับคำวา DERMATIX แลว ถือเปน
เครื่องหมายที่ใชขอความที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาโดยตรงทำใหขาดลักษณะ
บง เฉพาะตามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ นมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) ไปเชน เดยี วกนั คำวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการ
เครื่องหมายการคาที่ ๗๖๙/๒๕๕๘ และที่ ๗๗๑/๒๕๕๘ ซึ่งมีคำสั่งยืนตามคำสั่งปฏิเสธของ
นายทะเบียนเครื่องหมายการคาสำหรับทั้งสองคำขอชอบแลว ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยวาคำวา DERMATIX เปนเพียงคำหรือขอความที่เกี่ยวของ
กับคุณสมบัติสินคา แตไมถึงขนาดแสดงหรือเล็งถึงคุณสมบัติสินคาโดยตรงนั้น ศาลอุทธรณคดี
ชำนัญพิเศษไมเห็นดวย อุทธรณของจำเลยฟงขึ้น กรณีไมจำเปนตองวินิจฉัยประเด็นปลีกยอย
อน่ื อกี เพราะไมท ำใหผลคำวนิ ิจฉัยเปลย่ี นไป

พพิ ากษากลับ ใหยกฟอง คาฤชาธรรมเนียมทัง้ สองศาลใหเ ปน พบั .

(จุมพล ภิญโญสนิ วัฒน - ไชยยศ วรนนั ทศริ ิ - สุรพล คงลาภ)

จันทรก ระพอ ตอ สวุ รรณ สินธวถาวร - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ

๑๗

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษท่ี๙๔๐ -๙๔๔/๒๕๖๑ คาบูชกิ ิ ไกชา เอ็นทีที ดาดา
(เอน็ ทที ี ดาดา คอรป อเรชน่ั ) โจทก
กรมทรพั ยสนิ ทางปญญา จำเลย

พ.ร.บ. เคร่อื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสอง, วรรคสาม

การนำตวั อกั ษรโรมนั บางตวั มารวมกบั คำทม่ี คี วามหมายยงั ไมม ลี กั ษณะถงึ ขนาด
ที่จะเปนคำประดิษฐอันควรไดรับความคุมครองตามกฎหมายเครื่องหมายการคาและ
การนำชอ่ื ยอ ของโจทกม ารวมกบั คำทม่ี คี วามหมายตามพจนานกุ รม ซง่ึ เมอ่ื อา นออกเสยี ง
ก็จะไดชื่อโจทกกับความหมายวา “ขอมูล” อยูนั้น เมื่อชื่อยอของโจทกไมใชชื่อเต็ม
ของนติ บิ คุ คลตามกฎหมายวา ดว ยการนน้ั หรอื ชอ่ื ในทางการคา ทแ่ี สดงโดยลกั ษณะพเิ ศษ
จงึ ไมไ ดร บั ความคุม ครองตามกฎหมายเครอ่ื งหมายการคา เชนกัน

คำวา “DATA” ซึ่งแปลวา “ขอมูล” จะเปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติ
โดยตรงสำหรับสินคาและบริการตามคำขอของโจทกหรือไม ตองพิจารณาแตละคำขอ
โดยพิจารณาเปนรายคำขอ ไมใชตองพิจารณาสินคาหรือบริการแตละชนิดในรายการ
สินคาหรือบริการที่ขอจดทะเบียน เมื่อพบลักษณะที่ตองหามมิใหจดทะเบียนกับสินคา
หรอื บริการใดกช็ อบท่ีจะปฏเิ สธไมรับจดทะเบียนตามคำขอได

ประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง หลักเกณฑการพิสูจนลักษณะบงเฉพาะตาม
มาตรา ๗ วรรคสาม แหง พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอ ๒ (๓) ระบไุ วช ดั เจนวา
เครื่องหมายที่จะพิสูจนลักษณะบงเฉพาะตามประกาศฉบับนี้ จะตองเปนเครื่องหมาย
เดยี วกนั กบั เครอ่ื งหมายทย่ี น่ื ขอจดทะเบยี น เมอ่ื โจทกฟ อ งและแกอ ทุ ธรณร บั วา เครอ่ื งหมาย
การคาและเครื่องหมายบริการทุกเครื่องหมายมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและ
ความจำเปน ทางธรุ กจิ เทา กบั โจทกย อมรบั วา เครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมายบรกิ ารของ
โจทกที่ขอจดทะเบียนแตกตางจากเครื่องหมายที่โจทกสงเปนหลักฐานเพื่อแสดงถึง
ความแพรห ลายของสนิ คา และบรกิ ารทใ่ี ชก บั เครอ่ื งหมายนน้ั ๆ จงึ ไมอ าจรบั ฟง ไดว า เครอ่ื งหมาย
การคาและเครื่องหมายบริการของโจทกมีการจำหนาย เผยแพรหรือโฆษณาสินคาและ
บริการที่เกี่ยวกับเครื่องหมายนั้นจนแพรหลายตามหลักเกณฑอันจะถือวามีลักษณะ
บง เฉพาะแลว

______________________________

๑๘

คดที งั้ หาสำนวนน้ี ศาลทรพั ยสนิ ทางปญญาและการคา ระหวา งประเทศกลางสัง่ ใหรวม

พจิ ารณาเปน คดเี ดยี วกนั โดยใหเ รยี กโจทกท ง้ั หา สำนวนวา โจทก และเรยี กจำเลยทง้ั หา สำนวนวา

จำเลย

โจทกฟ อ งจำเลยทง้ั หา สำนวนและแกไ ขคำฟอ งขอใหศ าลพพิ ากษาวา เครอ่ื งหมายการคา

และเครื่องหมายบริการของโจทกคำวา ตามคำขอเลขที่ ๘๔๐๔๖๙ ถึง ๘๔๐๔๗๓

มลี กั ษณะบง เฉพาะและไมม ลี กั ษณะเลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา และบรกิ ารของโจทก

โดยตรง ใหเพิกถอนคำสั่งของนายทะเบยี นเคร่ืองหมายการคาและคำวนิ จิ ฉัยของคณะกรรมการ

เครอ่ื งหมายการคา แลว มคี ำสง่ั ใหจ ำเลยดำเนนิ การรบั จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมาย

บริการตามคำขอของโจทกต ามขั้นตอนตอ ไป

จำเลยทัง้ หาสำนวนใหก ารขอใหย กฟอง

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่ง

ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา และคำวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา และให

จำเลยดำเนินการเกี่ยวกับการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคา คำขอเลขที่ ๘๔๐๔๖๙ และ

เครื่องหมายบริการ คำขอเลขที่ ๘๔๐๔๗๐ ถึง ๘๔๐๔๗๓ ของโจทกตอไป คาฤชาธรรมเนียม

ใหเปน พบั

จำเลยอุทธรณท ัง้ หา สำนวน

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ

วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง ในเบอ้ื งตน ตามทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั วา กอ นยน่ื คำขอเปน คดนี ้ี โจทก

เคยยน่ื คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมายบรกิ าร ซง่ึ นายทะเบยี น

เครื่องหมายการคามีคำสั่งใหโจทกยื่นหนังสือเพื่อแสดงเจตนาวาจะไมขอถือเปนสิทธิของตน

แตผ เู ดยี วในอกั ษรโรมนั คำวา “NTT” และ “DATA” ตามคำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา และ

เครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทกใ นคดนี ร้ี ะบคุ ำอา นและคำแปลวา อกั ษรโรมนั อา นวา “เอน็ ทที ดี าตา ”

“เอน็ ทที ”ี ไมม คี วามหมาย สว น “ดาตา ” แปลวา “ขอ มลู ” โจทกน ำเสนอขอ มลู เกย่ี วกบั การเผยแพร

เครอื่ งหมายการคาและเครือ่ งหมายบรกิ ารของโจทก

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา เครื่องหมายการคาและเครื่องหมาย

บริการของโจทกมีลักษณะบงเฉพาะหรือไม โดยจำเลยอุทธรณวา เครื่องหมายดังกลาวประกอบ

ดว ย ๒ ภาคสว น คอื ตวั หนงั สอื ทเ่ี ปน อกั ษรโรมนั “NTT” และคำ ทเ่ี ปน อกั ษรโรมนั คำวา “DATA”

แมจะไมปรากฏความหมายเมื่อนำ ๒ ภาคสวน มาวางติดกัน แตก็เปนเพียงการนำมาวางคูกัน

เสยี งเรยี กขานยงั คงอา นออกเสยี งไดว า “เอน็ ทที ดี าตา ” จงึ ไมใ ชค ำประดษิ ฐแ ตอ ยา งใด คำวา “ดาตา ”

๑๙

เปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาและบริการโดยตรง เครื่องหมายการคาและ

เครื่องหมายบริการของโจทกไมมีลักษณะบงเฉพาะโดยการใช เพราะเอกสารที่โจทกนำสงยังไม

เขา หลกั เกณฑท ก่ี ำหนดไว ในประเดน็ น้ี ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง

วินิจฉัยวา เปนคำที่ไมมีความหมาย ทั้งยังไมสามารถสื่อความหมายไดอยางชัดเจน

เกี่ยวกับสินคาและบริการของโจทก นับเปนเครื่องหมายที่มีลักษณะบงเฉพาะ จำเลยไมอาจนำ

ขอเท็จจริงในการยื่นคำขอครั้งกอนของโจทกมาวินิจฉัยเปนขอยุติวา เครื่องหมายดังกลาวไมมี

ลกั ษณะบง เฉพาะ เหน็ วา การนำตวั อกั ษรโรมนั บางตวั มารวมกบั คำทม่ี คี วามหมายยงั ไมม ลี กั ษณะ

ถงึ ขนาดทจ่ี ะเปน คำประดษิ ฐอ นั ควรไดร บั ความคมุ ครองตามกฎหมายเครอ่ื งหมายการคา ในกรณี

ของโจทกเปนที่เห็นไดชัดจากทางนำสืบของโจทกเองวา เครื่องหมายดังกลาวเปนการนำชื่อยอ

ของโจทกมารวมกับคำที่มีความหมายตามพจนานุกรม เมื่ออานออกเสียงก็จะไดชื่อโจทกกับ

ความหมายวา “ขอมูล” อยูนั่นเอง เมื่อชื่อยอของโจทกไมใชชื่อเต็มของนิติบุคคลตามกฎหมาย

วา ดว ยการนน้ั หรอื ชอ่ื ในทางการคา ทแ่ี สดงโดยลกั ษณะพเิ ศษจงึ ไมไ ดร บั ความคมุ ครองตามกฎหมาย

เครอ่ื งหมายการคา เชน กนั สำหรบั คำวา “DATA” ซง่ึ แปลวา “ขอ มลู ” น้ี จะเปน คำทเ่ี ลง็ ถงึ ลกั ษณะ

หรอื คณุ สมบตั โิ ดยตรงสำหรบั สนิ คา และบรกิ ารตามคำขอของโจทกห รอื ไมน น้ั ตอ งพจิ ารณาแตล ะ

คำขอโดยพจิ ารณาเปน รายคำขอ ไมใ ชต อ งพจิ ารณาสนิ คา หรอื บรกิ ารแตล ะชนดิ ในรายการสนิ คา

หรือบริการที่ขอจดทะเบียน เมื่อพบลักษณะที่ตองหามมิใหจดทะเบียนกับสินคาหรือบริการใด

ก็ชอบที่จะปฏิเสธไมรับจดทะเบียนตามคำขอได สำหรับคำขอเลขที่ ๘๔๐๔๖๙ นั้น มีจำนวน

สนิ คา ๒๖ รายการ เมอ่ื พจิ ารณารายการท่ี ๑๔ สอ่ื ขอ มลู แมเ หลก็ แลว เหน็ ไดว า เครอ่ื งหมายการคา

ของโจทกเล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาโดยตรง จึงไมอาจรับจดทะเบียนได สำหรับ

คำขอเลขที่ ๘๔๐๔๗๐ นั้น มีจำนวนบริการ ๕๗ รายการ เมื่อพิจารณารายการที่ ๒ ใหขอมูล

ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การโฆษณา แลว เหน็ ไดว า เครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทกเ ลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ิ

ของบรกิ ารโดยตรง จงึ ไมอ าจรบั จดทะเบยี นได สำหรบั คำขอเลขท่ี ๘๔๐๔๗๑ นน้ั มจี ำนวนบรกิ าร

๒๙ รายการ เมื่อพิจารณารายการที่ ๓ ใหขอมูลเกี่ยวกับการติดตั้งฮารดแวรคอมพิวเตอร แลว

เห็นไดวา เครื่องหมายบริการของโจทกเล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของบริการโดยตรง จึงไม

อาจรบั จดทะเบยี นได สำหรบั คำขอเลขท่ี ๘๔๐๔๗๒ นน้ั มจี ำนวนบรกิ าร ๕๐ รายการ เมอ่ื พจิ ารณา

รายการท่ี ๙ ใหข อ มลู เกย่ี วกบั การสอ่ื สารทางอนิ เทอรเ นต็ แลว เหน็ ไดว า เครอ่ื งหมายบรกิ ารของ

โจทกเ ลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ขิ องบรกิ ารโดยตรง จงึ ไมอ าจรบั จดทะเบยี นได และคำขอเลขท่ี

๘๔๐๔๗๓ นั้น มีจำนวนบริการ ๗๙ รายการ เมื่อพิจารณารายการที่ ๗ ใหขอมูลเกี่ยวกับการ

ออกแบบซอฟทแ วรค อมพวิ เตอร แลว เหน็ ไดว า เครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทกเ ลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื

๒๐

คณุ สมบตั ขิ องบรกิ ารโดยตรง จงึ ไมอ าจรบั จดทะเบยี นไดเ ชน กนั เครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมาย
บริการของโจทกถือวาไมมีลักษณะบงเฉพาะอันพึงรับจดทะเบียนได ซึ่งในการจดทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกก อ นหนา นท้ี น่ี ายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา มคี ำสง่ั ใหโ จทกป ฏเิ สธ
ไมขอถือเปนสิทธิของตนแตผูเดียวในอักษร “NTT” และคำ “DATA” ก็แสดงใหเห็นอยูแลววา
เครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการที่ใชอักษรและคำดังกลาวโดยลำพังเปนเครื่องหมาย
ที่ไมมีลักษณะบงเฉพาะ อนึ่ง คำแกอุทธรณของโจทกในทำนองวา เครื่องหมายการคาและ
เครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทกเ ปน เครอ่ื งหมายประดษิ ฐก ด็ ี เปน การนำอกั ษรโรมนั ๗ ตวั มาเรยี ง
ตอกันโดยไมมีความหมายก็ดี ลวนขัดตอคำขอจดทะเบียนที่โจทกยื่นตอจำเลย จึงไมมีน้ำหนัก
ใหรับฟง ดังนั้น ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยมานั้น
จึงเปนการไมช อบ อทุ ธรณข องจำเลยทง้ั หาสำนวนฟงขน้ึ

คดีนี้ยังมีประเด็นโตเถียงอีกวา เครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของโจทกมี
การจำหนาย เผยแพรหรือโฆษณาสินคาและบริการที่เกี่ยวกับเครื่องหมายนั้นจนแพรหลายตาม
หลักเกณฑอันจะถือวามีลักษณะบงเฉพาะแลวหรือไม แตศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางไมไ ดว นิ จิ ฉยั ให เมอ่ื จำเลยอทุ ธรณแ ละโจทกแ กอ ทุ ธรณม าแลว จงึ เหน็ ควร
วินิจฉัยตอไปโดยไมยอนสำนวนไปใหศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
วนิ จิ ฉยั อกี จำเลยอทุ ธรณว า นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา และคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา
พิจารณาตามหลักเกณฑที่กำหนดไวในประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง หลักเกณฑการพิสูจน
ลกั ษณะบง เฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
หลักฐานซึ่งโจทกนำสงไมเขาหลักเกณฑที่กำหนดไว จึงฟงไมไดวา เครื่องหมายการคาและ
เครื่องหมายบริการของโจทกมีการจำหนาย เผยแพรหรือโฆษณาสินคาและบริการที่เกี่ยวกับ
เครื่องหมายนั้นจนแพรหลายอันจะถือวามีลักษณะบงเฉพาะแลว สวนโจทกแกอุทธรณวา โจทก
อา งเอกสารทแ่ี สดงวา โจทกจ ดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมายบรกิ ารมาอยา งยาวนาน
ทั้งในและตางประเทศทั่วโลก รูปทรงตัวอักษรมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและความจำเปน
ทางธรุ กจิ จงึ ควรพจิ ารณาทส่ี าระสำคญั ของแตล ะเครอ่ื งหมายทม่ี กี ารใชแ ละจดทะเบยี นตอ เนอ่ื งมา
ไมควรพิจารณาความแตกตางเล็ก ๆ นอย ๆ ที่ถูกปรับเปลี่ยนในการจดทะเบียนตามยุคสมัย
เห็นวา ประกาศกระทรวงพาณิชยเรื่อง หลักเกณฑการพิสูจนลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗
วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอ ๒ (๓) ระบุไวชัดเจนวา
เครอ่ื งหมายทจ่ี ะพสิ จู นล กั ษณะบง เฉพาะตามประกาศฉบบั น้ี จะตอ งเปน เครอ่ื งหมายเดยี วกนั กบั
เครื่องหมายที่ยื่นขอจดทะเบียน เมื่อโจทกฟองและแกอุทธรณรับวา เครื่องหมายการคาและ

๒๑

เครื่องหมายบริการทุกเครื่องหมายมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและความจำเปนทางธุรกิจ
เทากับโจทกยอมรับวา เครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของโจทกที่ขอจดทะเบียน
แตกตา งจากเครอ่ื งหมายทโ่ี จทกส ง เปน หลกั ฐานเพอ่ื แสดงถงึ ความแพรห ลายของสนิ คา และบรกิ าร
ที่ใชกับเครื่องหมายนั้น ๆ จึงไมอาจรับฟงไดวา เครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของ
โจทกม กี ารจำหนา ย เผยแพรห รอื โฆษณาสนิ คา และบรกิ ารทเ่ี กย่ี วกบั เครอ่ื งหมายนน้ั จนแพรห ลาย
ตามหลกั เกณฑอ นั จะถอื วา มลี กั ษณะบง เฉพาะแลว กรณไี มจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั ขอ เทจ็ จรงิ อน่ื อกี ตอ ไป
เพราะไมทำใหผลคดีเปลีย่ นแปลง

พิพากษากลับ ใหยกฟองโจทกทั้งหาสำนวน คาฤชาธรรมเนียมทั้งสองศาลของแตละ
สำนวนใหเ ปนพับ.

(ไชยยศ วรนันทศ ิริ - จมุ พล ภิญโญสินวัฒน - สรุ พล คงลาภ)

สจุ นิ ต เจนพาณชิ พงศ - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎกี าพพิ ากษากลบั ตามคำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๒๔๖๕-๒๔๖๙/๒๕๖๓

๒๒

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๑๑/๒๕๖๓ แซนดิสก แอลแอลซี โจทก
กรมทรัพยสินทางปญญา จำเลย

พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗

อกั ษรโรมนั SANDISK เปน คาํ ทไ่ี มม คี าํ แปลหรอื ไมม คี วามหมายตามพจนานกุ รม
โจทกประดิษฐคําวา SanDisk เพื่อใชเปนชื่อนิติบุคคลและเปนเครื่องหมายการคา แม
พจนานกุ รมคาํ ศพั ทเ ฉพาะทางดา นคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศใหค วามหมาย
ของคาํ วา SAN (Storage area network) หมายถงึ แซน (เครอื ขา ยหนว ยเกบ็ ) คาํ ดงั กลา ว
กไ็ มใ ชค าํ ทใ่ี ชก นั อยโู ดยทว่ั ไปซง่ึ สาธารณชนจะเขา ใจความหมายได ดงั นน้ั แมจ ะนาํ คาํ วา
DISK ซง่ึ ตามพจนานกุ รมศพั ทค อมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน
ใหค วามหมายวา จานบนั ทกึ มาตอ ทา ยคาํ วา SAN กไ็ มอ าจทาํ ใหส าธารณชนเขา ใจไดว า
คําวา SANDISK หมายถึงสิ่งใดอีก กอนคดีนี้นายทะเบียนเครื่องหมายการคาเคยรับ
จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา SANDISK โดยไมไ ดโ ตแ ยง อกั ษรโรมนั SANDISK จงึ มลี กั ษณะ
บงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) แหง พ.ร.บ. เครอื่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔

______________________________

โจทกฟอง ขอใหพิพากษาเพิกถอนคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาที่ พณ
๐๗๐๔/๑๓๔๙๐ ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖ และที่ พณ ๐๗๐๔/๑๓๕๐๔ ลงวันที่ ๑๐
พฤษภาคม ๒๕๕๖ สำหรบั ประเดน็ ทใ่ี หโ จทกแ สดงปฏเิ สธวา ไมข อถอื เปน สทิ ธขิ องโจทกแ ตผ เู ดยี ว
ที่จะใชอักษรโรมัน SECUREACCESS และ READYCACHE และเพิกถอนคำวินิจฉัยอุทธรณ
ของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ ๗๓๙/๒๕๕๙ และที่ ๙๖๘/๒๕๕๙ กับขอใหสั่งใหจำเลย
และนายทะเบียนเครื่องหมายการคาดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
คำวา และ ตามคำขอจดทะเบียน
เครื่องหมายการคา เลขท่ี ๘๓๖๔๙๑ และเลขที่ ๘๗๑๐๒๓ ของโจทกตอ ไป

จำเลยใหก าร ขอใหย กฟอง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาวา คำวา SANDISK
มลี กั ษณะบง เฉพาะตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสอง (๒)
และคำวา SANDISK SECUREACCESS และ SANDISK READYCACHE มลี กั ษณะบง เฉพาะ
ตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ประกอบประกาศ

๒๓

กระทรวงพาณิชย เรื่อง หลักเกณฑการพิสูจนลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหง

พระราชบัญญัตเิ คร่ืองหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ แกไ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติเครอ่ื งหมาย

การคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ ใหเพิกถอนคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาและ

คำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ทป่ี ฏเิ สธการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา

คำวา และ และใหจำเลยพิจารณา

ดำเนนิ การจดทะเบียนเครอ่ื งหมายการคาพิพาทตอ ไป คาฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพบั

จำเลยอุทธรณ

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ

วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่โจทกและจำเลยไมโตเถียงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา เมื่อวันที่ ๑๗

กุมภาพันธ ๒๕๕๕ โจทกซึ่งในขณะนั้นใชชื่อวา แซนดิสก คอรปอเรชั่น ยื่นคำขอจดทะเบียน

เคร่อื งหมายการคาคำวา เพอ่ื ใชกับสนิ คาจำพวกที่ ๙ รายการสินคา

ซอฟตแวรที่ใชกับอุปกรณเก็บขอมูลขนาดพกพาชนิดแฟลชไดรฟแบบเชื่อมตอยูเอสบี (ยูเอสบี

แฟลชไดรฟ ) และเมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕ โจทกย น่ื คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา

คำวา เพื่อใชกับสินคาจำพวกที่ ๙ รายการสินคาหนวยความจำ

ถาวรสำหรับบริหารการจัดเก็บขอมูลและการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บขอมูลซอฟตแวรที่

ดาวนโหลดไดสำหรับบริหารการจัดเก็บขอมูลและการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บขอมูล

นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา มคี ำสง่ั วา เครอ่ื งหมายการคา คำวา และ

มบี างสว นทไ่ี มม ลี กั ษณะบง เฉพาะตามมาตรา ๑๗ แหง พระราชบญั ญตั ิ

เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ใหโ จทกย น่ื หนงั สอื เพอ่ื แสดงปฏเิ สธวา ไมข อถอื เปน สทิ ธแิ ตผ เู ดยี ว

ที่จะใชอักษรโรมัน SECUREACCESS และ READYCACHE และใหโจทกจดทะเบียนเปน

เครื่องหมายชุด โจทกขอจดทะเบียนเครื่องหมายชุด แตอุทธรณคำสั่งที่วาเครื่องหมายการคา

ทง้ั สองไมม ลี กั ษณะบง เฉพาะ คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา พจิ ารณาแลว เหน็ วา เครอ่ื งหมาย

การคาของโจทกคำวา และ เปนคำที่

เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาโดยตรง ถือวาไมมีลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗

วรรคสอง (๒) แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ เครอ่ื งหมายการคา ของโจทก

จงึ ไมม ลี กั ษณะอนั พงึ รบั จดทะเบยี นตามมาตรา ๖ แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔

และยังไมเ พยี งพอที่จะรับฟงไดว า เครอื่ งหมายการคาของโจทกตามทย่ี ื่นขอจดทะเบียนไวม กี าร

จำหนายเผยแพร หรือโฆษณาอยางตอเนื่องเปนระยะเวลานานพอสมควร จนทำใหสาธารณชน

ทว่ั ไปหรอื สาธารณชนในสาขาทเ่ี กย่ี วขอ งในประเทศไทยรจู กั และเขา ใจวา สนิ คา ดงั กลา วแตกตา ง

๒๔

ไปจากสินคาอื่นตามประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง หลักเกณฑการพิสูจนลักษณะบงเฉพาะ

ตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงมีมติใหระงับ

การจดทะเบียนเครื่องหมายการคาทั้งสองของโจทกตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา

เลขท่ี ๘๓๖๔๙๑ และเลขท่ี ๘๗๑๐๒๓ สำหรบั เครอ่ื งหมายการคา ภาคสว นคำวา SECUREACCESS

และ READYCACHE นั้น ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยวา

ไมมีลักษณะบงเฉพาะ ตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา

พ.ศ. ๒๕๓๔ เม่อื ไมม ีคคู วามฝา ยใดอทุ ธรณ ขอเทจ็ จริงดังกลา วเปนอนั ยตุ ิ

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยขอแรกวา ภาคสวนคำวา SANDISK

ในเครื่องหมายการคาคำวา และ

มลี กั ษณะบง เฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔

หรอื ไม เหน็ วา อกั ษรโรมนั SANDISK เปน คำทไ่ี มม คี ำแปลหรอื ไมม คี วามหมายตามพจนานกุ รม

จึงเปนคำที่โจทกประดิษฐขึ้น นอกจากนี้ โจทกมีนายซุย กรรมการและที่ปรึกษากฎหมายทั่วไป

ของเวสเทิรน ดิจิทัล คอรปอเรชั่น ซึ่งเปนบริษัทแมของโจทก เบิกความประกอบบันทึกถอยคำ

ยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ สรปุ ไดว า โจทกก อ ตง้ั ในป ๒๕๓๑ โดยจดทะเบยี นในนามซนั ดสิ ก

(SunDisk) ในป ๒๕๓๘ ไดแ ปรสภาพเปน บรษิ ทั มหาชนและเปลย่ี นชอ่ื อยา งเปน ทางการวา แซนดสิ ก

(SanDisk) โจทกว างจำหนา ยสนิ คา หนว ยความจำอเิ ลก็ ทรอนกิ สภ ายใตเ ครอ่ื งหมายการคา SanDisk

ตั้งแตป ๒๕๓๘ เปนตนมา คณะผูบริหารของโจทกเปนผูคิดเครื่องหมายดังกลาว ในเดือน

กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๘ โจทกไ ดร บั การจดั อนั ดบั ใหเ ปน บรษิ ทั ผผู ลติ สนิ คา ประเภทอปุ กรณห นว ยความจำ

แบบแฟลชทม่ี ขี นาดใหญเ ปน อนั ดบั สามของโลก รวมถงึ สนิ คา การด หนว ยความจำ เครอ่ื งอา นการด

หนวยความจำ ยูเอสบีแฟลชไดรฟ และไดรฟบันทึกขอมูลแบบโซลิดสเตท จำเลยไมมีพยาน

หลกั ฐานนำสบื ใหเ หน็ เปน อยา งอน่ื ขอ เทจ็ จรงิ จงึ รบั ฟง ตามพยานโจทกไ ดว า โจทกป ระดษิ ฐค ำวา

SanDisk เพื่อใชเปนชื่อนิติบุคคลและเปนเครื่องหมายการคา สวนที่จำเลยอุทธรณวา คำวา

SANDISK แมจะเขียนติดตอเปนคำเดียวกัน แตคำวา SAN และคำวา DISK สามารถแยกออก

จากกนั ได และสามารถแปลความหมายตามพจนานกุ รมได ซง่ึ ตามพจนานกุ รมศพั ทค อมพวิ เตอร

และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน คำวา SAN เปน คำทย่ี อ มาจากคำวา storage

area network แปลวา เครือขายหนวยเก็บ คำวา DISK แปลวา จาน จานบันทึก ดังนั้นคำวา

SANDISK จึงแปลไดวา จานบันทึกเครือขายหนวยเก็บ เมื่อนำมาใชกับสินคาเกี่ยวกับอุปกรณ

คอมพวิ เตอรจ ำพวกท่ี ๙ จงึ ไมใ ชค ำประดษิ ฐ หากแตเ ปน คำทท่ี ำใหส าธารณชนเขา ใจไดว า สนิ คา

ภายใตเ ครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเ ปน สนิ คา ทเ่ี กย่ี วกบั อปุ กรณเ ครอื ขา ยหนว ยเกบ็ ขอ มลู นบั วา

๒๕

เปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินคาโดยตรงนั้น พจนานุกรมที่จำเลยอางเปน

พจนานกุ รมคำศพั ทเ ฉพาะทางดา นคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ซง่ึ ใหค วามหมายของ

คำวา SAN (storage area network) หมายถึง แซน (เครือขายหนวยเก็บ) คำดังกลาวไมใชคำ

ที่ใชกันอยูโดยทั่วไปซึ่งสาธารณชนจะเขาใจความหมายได ดังนั้น แมจะนำคำวา DISK ซึ่งตาม

พจนานกุ รมศพั ทค อมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ใหค วามหมายวา

จาน หรอื จานบนั ทกึ มาตอ ทา ยคำวา SAN กไ็ มอ าจทำใหส าธารณชนเขา ใจไดว า คำวา SANDISK

หมายถงึ สง่ิ ใดอกี ทง้ั ตามพจนานกุ รมฉบบั ดงั กลา วกไ็ มม ศี พั ทค ำวา SANDISK มเี พยี งคำวา SAN

fabric (storage area network fabric) ซึ่งหมายถึง แซนแฟบริก (อุปกรณเครือขายหนวยเก็บ)

เทานั้น ประกอบกับตามสำเนาขอมูลการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา ปรากฏวากอนคดีนี้

นายทะเบียนเครื่องหมายการคาเคยรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคา SANDISK ของโจทก

โดยไมไดโตแยงวาคำวา SANDISK ไมมีลักษณะบงเฉพาะแตอยางใด เชน เครื่องหมายการคา

คำวา ซ่ึงโจทกจดทะเบยี นเพือ่ ใชก บั สนิ คาจำพวกที่ ๙ รายการสินคา หนวยความจำ

แฟลช คอมพิวเตอรซ อฟตแ วรสำหรบั ควบคุมและปฏบิ ตั กิ าร อุปกรณห นว ยความจำแบบสารกง่ึ

ตัวนำ และอื่น ๆ ตามสำเนาทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๒๒๓๙๒๖ ซึ่งจดทะเบียน

เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ เครื่องหมายการคาคำวา ซึ่งโจทกจดทะเบียน

เพื่อใชกับสินคาจำพวกที่ ๙ รายการสินคาดิสกไดรฟสำหรับคอมพิวเตอร สื่อที่ใชจัดเก็บขอมูล

คอมพวิ เตอรแ บบไมล บเลอื นชนดิ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ ฟลชไดรฟ และอน่ื ๆ ตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมาย

การคา เลขท่ี ๑๗๑๑๑๔๗๑๕ ซง่ึ จดทะเบยี นเมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๘ เครอ่ื งหมายการคา

ซง่ึ โจทกจ ดทะเบยี นเพอ่ื ใชก บั สนิ คา จำพวกท่ี ๙ รายการสนิ คา การด หนว ยความจำ

แฟลช คอมพิวเตอรซอฟตแวรสำหรับควบคุมและปฏิบัติการ อุปกรณหนวยความจำแบบ

สารกง่ึ ตวั นำ และอน่ื ๆ ตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค๒๒๕๒๑๘ ซง่ึ จดทะเบยี น

เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ และเครื่องหมายการคา ซึ่งโจทกจดทะเบียนเพื่อ

ใชกับสินคาจำพวกที่ ๙ รายการสินคาการดหนวยความจำแฟลชไดรฟแบบโซลิดสเตทชนิดที่มี

ประสิทธิภาพสูง ไดรฟจัดเก็บหนวยความจำที่ฝงอยูในตัว หนวยความจำแฟลชแบบวางเปลา

ชนิดตอเขาชองยูเอสบี หนวยความจำแฟลชชนิดตอเขาชองยูเอสบีที่บันทึกซอฟตแวรรักษา

ความปลอดภยั และการเขา รหสั ของขอ มลู ไวแ ลว และอน่ื ๆ ตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา

เลขท่ี ๑๖๑๑๐๐๓๔๐ ซง่ึ จดทะเบยี นเมอ่ื วนั ท่ี ๑๙ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๗ พยานหลกั ฐานของจำเลย

จงึ ไมม นี ำ้ หนกั หกั ลา งพยานหลกั ฐานของโจทก กรณรี บั ฟง ไดว า อกั ษรโรมนั SANDISK เปน คำท่ี

ประดิษฐขึ้นและมีลักษณะบงเฉพาะ ตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒) แหงพระราชบัญญัติ

๒๖

เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟงไมขึ้น ดังนี้ คดีจึงไมจำเปนตอง
พจิ ารณาอทุ ธรณข องจำเลยเกย่ี วกบั มาตรา ๗ วรรคสาม แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ อีกตอไป เพราะไมอาจทำใหผ ลคดนี เ้ี ปลย่ี นแปลงเปน อยา งอ่นื ได

พพิ ากษาแกเ ปน วา ใหเ พกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา
ที่ ๗๓๙/๒๕๕๙ และที่ ๙๖๘/๒๕๕๙ และเพิกถอนคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคา
ตามหนังสือสำนักเครื่องหมายการคาที่ พณ ๐๗๐๔/๑๓๔๙๐ ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖
และที่ พณ ๐๗๐๔/๑๓๕๐๔ ลงวนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ใหนายทะเบียนเคร่ืองหมายการคา
ดำเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตามคำขอเลขที่ ๘๓๖๔๙๑ และคำขอ
เลขที่ ๘๗๑๐๒๓ ของโจทกทั้งสองเครื่องหมายตอไป นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษา
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง คาฤชาธรรมเนียมในชั้นอุทธรณให
เปนพบั .

(สรุ พล คงลาภ - ตลุ เมฆยงค - ปรานี เสฐจินตนิน)

ธนวรรณ นราวิริยะกุล - ยอ
วิวฒั น วงศกิตตริ ักษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงที่สุด

๒๗

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พิเศษที่ ๙๙/๒๕๖๓ บคุ กิง้ ค ดอท คอม บ.ี วี. โจทก
กรมทรพั ยส ินทางปญ ญา จำเลย

พ.ร.บ. เคร่ืองหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖, ๗, ๘๐

เครอ่ื งหมายบรกิ ารจะตอ งมหี นา ทบ่ี อกแหลง ทม่ี าของบรกิ าร บอกความแตกตา ง
ของบรกิ าร และประกนั คณุ ภาพของบรกิ าร การพจิ ารณาใหส ทิ ธแิ ตเ พยี งผเู ดยี วแกบ คุ คลใด
ในลักษณะของเครื่องหมายบริการจะตองไมเปนอุปสรรคหรือขัดขวางบุคคลอื่นในการ
ใชอักษร ภาพ หรือสิ่งสามัญใด ๆ เพราะสิ่งเหลานั้นสังคมสามารถใชประโยชนเปน
เครอ่ื งหมายบรกิ ารไดเ ชน กนั หลกั การดงั กลา วเปน เหตผุ ลในการไมย อมรบั การจดทะเบยี น
เครอ่ื งหมายบรกิ ารทไ่ี มม ลี กั ษณะบง เฉพาะ อนั เปน ขอ จำกดั ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๖ และมาตรา ๗

เครอ่ื งหมายบริการที่โจทกขอจดทะเบียนท้งั สามเครอ่ื งหมายนน้ั มีสาระสำคญั
อยูที่การนำคำวา “Booking” และ “.com” มาประกอบกัน คำวา “Booking” อาจ
หมายความไดหลายประการ แตในขณะเดียวกันคำวา “Booking” ก็มีความหมายวา
การจอง สวน “.com” นั้น บงบอกวาเปนชื่อโดเมนระดับสูงสุดที่เปนชื่อทั่วไปสำหรับ
ผูประกอบธุรกิจในเครือขายหรือระบบอินเทอรเน็ต ลำพังการนำคำที่มีความหมายตาม
พจนานุกรมมารวมกับคำวา .com เชนนี้ จึงเปนชื่อโดเมน อันเปนที่อยูในอินเทอรเน็ต
ยงั ถอื ไมไ ดว า เปน คำประดษิ ฐห รอื เปน เครอ่ื งหมายบรกิ ารทป่ี ระกอบดว ยคำประดษิ ฐต าม
มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๗ วรรคสอง (๓) แหง พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔

เมอ่ื นำเครอ่ื งหมายดงั กลา วมาใชก บั บรกิ ารจำพวก ๔๓ อาทิ บรกิ ารจองโรงแรม
บริการจองโรงแรมผานระบบออนไลน บริการจองรีสอรต ลักษณะการบริการของโจทก
ดังกลาวเกี่ยวของกับการจองผานระบบอินเทอรเน็ต คำวา “Booking.com” จึงสื่อ
ความหมายถงึ การจองผา นระบบอนิ เทอรเ นต็ เปน คำทเ่ี ลง็ ถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ขิ อง
บริการของโจทกโดยตรง จึงไมมีลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๗
วรรคสอง (๒) ชื่อโดเมนของโจทกมิใชเครื่องหมายบริการที่สามารถทำใหประชาชนหรือ
ผูใชบริการนั้นทราบและเขาใจไดวา บริการที่ใชเครื่องหมายบริการนั้นแตกตางไปจาก
บริการของบคุ คลอ่นื

๒๘

รูปแบบตัวอักษร สี การจัดวาง และพื้นหลังของเครื่องหมายบริการทั้งสาม
เครื่องหมายนั้น มิไดเปนองคประกอบที่เปนสาระสำคัญที่จะทำใหผูใชบริการจดจำ
เครอ่ื งหมายบริการของโจทกไ ด จงึ ไมมีลักษณะบงเฉพาะ

โจทกใ หบ รกิ ารภายใตเ ครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั สามเครอ่ื งหมายมานาน สาธารณชน
ทว่ั ไปหรอื สาธารณชนในสาขาทเ่ี กย่ี วขอ งในประเทศไทยรจู กั และเขา ใจวา บรกิ ารภายใต
เครื่องหมายบริการของโจทกแตกตางไปจากบริการอื่น มิไดสับสนและหลงผิด บริการ
ของโจทกภายใตเครื่องหมายบริการทั้งสามเครื่องหมายมีการใหบริการ เผยแพร และ
โฆษณาในประเทศไทยเปน เวลาตอ เนอ่ื งกนั ไมน อ ยกวา ๑๐ ป นบั เปน เวลานานพอสมควร
จนทำใหสาธารณชนทั่วไปหรือสาธารณชนในสาขาที่เกี่ยวของในประเทศไทยรูจักและ
เขา ใจวา บรกิ ารของโจทกแ ตกตา งจากบรกิ ารของบคุ คลอน่ื ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๗ วรรคสาม และประกาศกระทรวงพาณิชย
เรื่อง หลักเกณฑการพิสูจนลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหง พ.ร.บ.
เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ เครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั สามเครอ่ื งหมายของโจทกม ลี กั ษณะ
บง เฉพาะ

_____________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหเ พกิ ถอนคำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ท่ี พณ ๐๗๐๔/๒๕๒๔๘,
ท่ี พณ ๐๗๐๔/๓๑๐๓๒ และ ท่ี พณ ๐๗๐๔/๒๕๒๕๓ เพกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการ
เครื่องหมายการคาที่ ๑๙๑/๒๕๖๐, ที่ ๑๙๒/๒๕๖๐ และที่ ๑๙๓/๒๕๖๐ และใหนายทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคา ดำเนนิ การจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ ารตามคำขอเลขท่ี ๘๔๕๐๙๙, ๘๖๙๕๔๐
และ ๘๖๙๕๔๑

จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่ง
ของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาที่ พณ ๐๗๐๔/๒๕๒๔๘, ที่ พณ ๐๗๐๔/๓๑๐๓๒ และ ที่
พณ ๐๗๐๔/๒๕๒๕๓ เพิกถอนคำวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่
๑๙๑/๒๕๖๐ ท่ี ๑๙๒/๒๕๖๐ และท่ี ๑๙๓/๒๕๖๐ และใหน ายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ดำเนนิ การ
เกย่ี วกบั การจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา (ทถ่ี กู เครอ่ื งหมายบรกิ าร) ตามคำขอของโจทกต อ ไป
คำขออน่ื นอกจากนี้ใหยก คา ฤชาธรรมเนยี มและคาทนายความใหเ ปนพบั

๒๙

จำเลยอุทธรณ

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ

วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั ในชน้ั นร้ี บั ฟง ไดว า โจทกเ ปน นติ บิ คุ คลประเภทบรษิ ทั

จำกดั ตามกฎหมายเนเธอรแ ลนด จำเลยเปน สว นราชการสงั กดั กระทรวงพาณชิ ย โจทกย น่ื คำขอ

จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ าร เปน คำขอเลขท่ี ๘๔๕๐๙๙ เครอ่ื งหมายบรกิ าร

เปนคำขอเลขที่ ๘๖๙๕๔๐ และเครื่องหมายบริการ เปน

คำขอเลขที่ ๘๖๙๕๔๑ เพื่อใชกับบริการจำพวก ๔๓ รายการบริการ อาทิ บริการจองโรงแรม

บรกิ ารจองโรงแรมผา นระบบออนไลน บรกิ ารจองทพ่ี กั สำหรบั วนั หยดุ บรกิ ารจองรสี อรต บรกิ าร

จองหองพักโรงแรม นายทะเบียนเครื่องหมายการคาพิจารณาแลวมีคำสั่งไมรับจดทะเบียน

เครื่องหมายบริการทั้งสามเครื่องหมายของโจทก โจทกอุทธรณตอคณะกรรมการเครื่องหมาย

การคา คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา มคี ำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณย นื ตามคำสง่ั ปฏเิ สธของนายทะเบยี น

เคร่อื งหมายการคา

คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการแรกวา เครื่องหมายบริการ

ทง้ั สามเครอ่ื งหมายของโจทกม ลี กั ษณะบง เฉพาะหรอื ไม เหน็ วา โดยหลกั ทว่ั ไปเครอ่ื งหมายบรกิ าร

จะตองมีหนาที่สำคัญ ๆ เชน บอกแหลงที่มาของบริการ บอกความแตกตางของบริการ และ

ประกนั คณุ ภาพของบรกิ าร เปน ตน หลกั สำคญั อีกประการหน่งึ คือ การพจิ ารณาใหสิทธแิ ตเพยี ง

ผูเดียวแกบุคคลใดในลักษณะของเครื่องหมายบริการเชนนี้ จะตองไมเปนอุปสรรคหรือขัดขวาง

บุคคลอื่นในการใชอักษร ภาพ หรือสิ่งสามัญใด ๆ เพราะสิ่งเหลานั้นเปนสิ่งที่สังคมสามารถใช

ประโยชนเปนเครื่องหมายบรกิ ารไดเชน กัน หลักการดังกลาวจึงเปนเหตผุ ลในการไมยอมรับการ

จดทะเบียนเครื่องหมายบริการที่ไมมีลักษณะบงเฉพาะ อันเปนขอจำกัดตามพระราชบัญญัติ

เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๖ และมาตรา ๗ สำหรับคดีนี้

เครื่องหมายบริการที่โจทกขอจดทะเบียนทั้งสามเครื่องหมายนั้น มีสาระสำคัญอยูที่การนำคำวา

“Booking” และ “.com” มาประกอบกัน คำวา “Booking” อาจหมายความไดหลายประการ แต

ในขณะเดียวกันคำวา “Booking” ก็มีความหมายวา การจอง สวน “.com” นั้น บงบอกวาเปนชื่อ

โดเมนระดบั สงู สดุ ทเ่ี ปน ชอ่ื ทว่ั ไปสำหรบั ผปู ระกอบธรุ กจิ ในเครอื ขา ยหรอื ระบบอนิ เทอรเ นต็ ลำพงั

การนำคำที่มีความหมายตามพจนานุกรมมารวมกับคำวา .com เชนนี้ จึงเปนชื่อโดเมน อันเปน

ที่อยูในอินเทอรเน็ต ยังถือไมไดวาเปนคำประดิษฐหรือเปนเครื่องหมายบริการที่ประกอบดวย

คำประดิษฐตามมาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๗ วรรคสอง (๓) แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมาย

การคา พ.ศ. ๒๕๓๔ และเมอ่ื นำมาใชก บั บรกิ ารจำพวก ๔๓ อาทิ บรกิ ารจองโรงแรม บรกิ ารจอง

๓๐

โรงแรมผานระบบออนไลน บริการจองรีสอรต ลักษณะการบริการของโจทกดังกลาวเกี่ยวของ

กบั การจองผา นระบบอนิ เทอรเ นต็ คำวา “Booking.com” จงึ สอ่ื ความหมายถงึ การจองผา นระบบ

อินเทอรเน็ต เปนคำที่เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของบริการของโจทกโดยตรง ถือไมไดอีก

เชน กนั วา ประกอบไปดว ยคำหรอื ขอ ความทม่ี ลี กั ษณะบง เฉพาะตามมาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๗

วรรคสอง (๒) ชื่อโดเมนของโจทกจึงมิใชเครื่องหมายบริการที่สามารถทำใหประชาชนหรือผูใช

บริการนั้นทราบและเขาใจไดวา บริการที่ใชเครื่องหมายบริการนั้นแตกตางไปจากบริการของ

บุคคลอื่น สวนรูปแบบตัวอักษร สี การจัดวาง และพื้นหลังของเครื่องหมายบริการทั้งสาม

เครอ่ื งหมายนน้ั กม็ ไิ ดเ ปน องคป ระกอบทเ่ี ปน สาระสำคญั ทจ่ี ะทำใหผ ใู ชบ รกิ ารจดจำเครอ่ื งหมาย

บริการของโจทกได เครื่องหมายบริการทั้งสามเครื่องหมายของโจทกจึงไมมีลักษณะบงเฉพาะ

อทุ ธรณข องจำเลยในขอ น้ฟี ง ขนึ้

ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยประการตอ ไปมวี า เครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั สาม

เครื่องหมายของโจทกมีลักษณะบงเฉพาะตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔

มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๗ วรรคสาม หรอื ไม เหน็ วา นางปารฉิ ตั รเบกิ ความประกอบเอกสาร

ตาง ๆ ถึงการดำเนินธุรกิจของโจทกที่ใหบริการจองหองพักโรงแรมและที่พักประเภทอื่นทั่วโลก

โจทกเ รม่ิ ใหบ รกิ ารในประเทศไทยตง้ั แตป  ๒๕๔๙ และกอ ตง้ั บรษิ ทั ในประเทศไทยคอื บรษิ ทั บคุ กง้ิ

ดอทคอม (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อดำเนินกิจการของสำนักงานตาง ๆ ของโจทกเมื่อป ๒๕๕๓

โจทกเริ่มใชเครื่องหมายบริการ ตั้งแตป ๒๕๔๙ และเครื่องหมายบริการ

และ ตง้ั แตป  ๒๕๕๕ และใชอ ยา งตอ เนอ่ื งมาจนถงึ ปจ จบุ นั

โจทกใ ชค ำวา BOOKING.COM และสขี าว สฟี า และสนี ำ้ เงนิ เปน องคป ระกอบหลกั ของเครอ่ื งหมาย

มาเปนเวลานานจนถือไดวา เครื่องหมายของโจทกมีเอกลักษณและเปนที่จดจำไดเปนอยางดี

ทั้งในหมูสาธารณชนทั่วไปและผูที่เกี่ยวของในประเทศไทย หลักฐานเกี่ยวกับการใหบริการของ

โจทกจ ำพวก ๔๓ ภายใตเ ครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั สามเครอ่ื งหมายปรากฏตามใบแจง หน้ี รายละเอยี ด

การจองและจำนวนคืนที่มีการจองหองพัก ตัวอยางโฆษณาและบทความขาวหนาเว็บไซต และ

ตัวอยางกระทบู นเวบ็ ไซตพนั ทิป ตารางแสดงยอดจองหองพกั และจำนวนคืนที่มกี ารจองทง้ั แบบ

ทว่ั โลก แบบจองโดยประชาชนคนไทย และแบบจองทพ่ี กั ทต่ี ง้ั อยใู นประเทศไทย ตง้ั แตป  ๒๕๕๐

ถงึ ป ๒๕๕๖ ตวั อยา งใบแจง หนค้ี า นายหนา สำหรบั บรกิ ารของโจทกท ไ่ี ดร บั จากโรงแรมทพ่ี กั คคู า

ในประเทศไทยตง้ั แตป  ๒๕๕๑ ถงึ ป ๒๕๕๕ หนา เวบ็ ไซตข องโจทกท แ่ี สดงผลเปน ทง้ั ภาษาองั กฤษ

และภาษาไทย สำเนาเวบ็ เพจตา ง ๆ ของโจทกใ นชว งเวลาทเ่ี กย่ี วขอ ง เอกสารแสดงจำนวนจดหมาย

ขา วทโ่ี จทกน ำสง ใหแ กผ ใู ชบ รกิ ารของโจทกใ นแตล ะประเทศตอ สปั ดาห เอกสารแสดงแอปพลเิ คชนั

๓๑

ของโจทกที่เปดใหดาวนโหลดทางคอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบปฏิบัติการ IOS

ผานทาง Apple App Store ระบบปฏิบัติการ Android ผานทาง Google Play Store และระบบ

ปฏิบัติการ Window ผานทาง Window Store และนางสาวดารารัตนเบิกความประกอบรายงาน

โครงการการสำรวจการรบั รตู อ ลกั ษณะบง เฉพาะของเครอ่ื งหมายการคา กรณศี กึ ษาประเทศไทย

ซง่ึ เปน โครงการวจิ ยั ทม่ี งุ ศกึ ษาการรบั รใู นลกั ษณะบง เฉพาะของเครอ่ื งหมายบรกิ าร booking.com

ของกลุมผูบริโภคในประเทศไทย จากกลุมตัวอยางเริ่มตน ๑,๐๐๐ ตัวอยางและคัดเลือกกลุม

ตัวอยางที่สามารถวิเคราะหแยกแยะความแตกตางระหวางตราสินคาและชื่อสามัญของสินคาได

๔๐๐ ตัวอยางมาสรุปผลการสำรวจลักษณะบงเฉพาะ ซึ่งผลปรากฏวา ผูตอบแบบสอบถาม

รอยละ ๖๗.๕๐ เห็นวา มีลักษณะเปนตราสินคา ผูตอบแบบสอบถาม

รอยละ ๖๕.๓๐ เหน็ วา มีลักษณะเปน ตราสินคา และผตู อบแบบสอบถาม

รอยละ ๗๒.๕๐ เห็นวา มีลักษณะเปนตราสินคา พยานหลักฐานของจำเลย

ทน่ี ำสบื มาไมไดโ ตแ ยงถึงขอที่โจทกนำสบื เกีย่ วกบั การใชเ คร่อื งหมายบรกิ ารทั้งสามเครอ่ื งหมาย

ของโจทกก บั บรกิ ารของโจทก และความรบั รขู องสาธารณชนทว่ั ไปในประเทศไทยทม่ี ตี อ บรกิ ารของ

โจทกภ ายใตเ ครอ่ื งหมายบรกิ ารดงั กลา ว ทง้ั นางสาวสวลยี งั เบกิ ความตอบทนายโจทกถ ามคา นวา

ขอ แตกตา งของ Agoda.com และ Booking.com คอื เวลาจอง Agoda.com จะยงั ไมต อ งจา ยภาษี

มลู คา เพ่มิ แตจา ยภายหลัง หากจองผาน Booking.com จะตองจายคา ภาษมี ูลคาเพ่ิมเลย พยาน

ไมเคยสับสนในการใช Agoda.com หรือ Booking.com เพราะสามารถอานออก โดยเขาใจไดวา

Agoda.com ใหบ รกิ ารจองโรงแรมทเ่ี วบ็ ไซตห นง่ึ สว น Booking.com ใหบ รกิ ารจองโรงแรมเหมอื นกนั

แตเ ปน อกี เวบ็ ไซตห นง่ึ นายกนกตอบคำถามคา นวา พยานเคยรจู กั บรกิ ารจองหอ งพกั ในโรงแรม

ของโจทก โดยเหน็ จากโฆษณาตามโทรทศั นว า เปน การรบั จองโรงแรม และนายธนกรตอบคำถาม

คานวา เคยรูจักเวบ็ ไซตข องโจทกท ่รี ับบริการจองหอ งพกั ของโรงแรมที่ใชชือ่ วา Booking.com

และพยานเคยใชบ รกิ ารจองโรงแรมทเ่ี วบ็ ไซตอ น่ื เชน Agoda.com พยานไมเ คยสบั สนหากจะใช

บรกิ ารของ Booking.com หรอื Agoda.com หรอื TripAdvisor.com เพราะชอ่ื ตา งกนั ซง่ึ แสดงวา

พยานรูจักและเขาใจวาบริการของโจทกแตกตางไปจากบริการอื่น เปนการเจือสมขอกลาวอาง

ของโจทกที่วา โจทกใหบริการภายใตเครื่องหมายบริการทั้งสามเครื่องหมายของโจทกมานาน

สาธารณชนทั่วไปหรือสาธารณชนในสาขาที่เกี่ยวของในประเทศไทยรูจักและเขาใจวา บริการ

ภายใตเครื่องหมายบริการของโจทกแตกตางไปจากบริการอื่น มิไดสับสนและหลงผิด พยาน

หลักฐานของโจทกจึงนาเชื่อถือและมีน้ำหนักดียิ่งกวาพยานหลักฐานของจำเลย ขอเท็จจริง

รบั ฟง ไดว า บรกิ ารของโจทกภ ายใตเ ครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั สามเครอ่ื งหมายมกี ารใหบ รกิ าร เผยแพร

๓๒

และโฆษณาในประเทศไทยเปนเวลาตอเนื่องกันไมนอยกวา ๑๐ ป นับเปนเวลานานพอสมควร
จนทำใหสาธารณชนทั่วไปหรือสาธารณชนในสาขาที่เกี่ยวของในประเทศไทยรูจักและเขาใจวา
บรกิ ารของโจทกแตกตา งจากบรกิ ารของบคุ คลอ่ืน ตามพระราชบญั ญตั เิ คร่ืองหมายการคา พ.ศ.
๒๕๓๔ มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๗ วรรคสาม และประกาศกระทรวงพาณชิ ย เรอ่ื ง หลกั เกณฑ
การพิสูจนลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ เครื่องหมายบริการทั้งสามเครื่องหมายของโจทกมีลักษณะบงเฉพาะ อุทธรณของ
จำเลยในขอนี้ฟงไมขึ้น ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาให
เพกิ ถอนคำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เพกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการ
เครื่องหมายการคา และใหจำเลยดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายบริการของ
โจทกทั้งสามคำขอนัน้ ศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษเห็นพองดวยในผล

พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนียมในช้นั อทุ ธรณใหเปน พับ.
(ธารทพิ ย จงจกั รพนั ธ - วราคมน เลีย้ งพนั ธุ - กรกันยา สุวรรณพานิช)

สธุ รรม สุธัมนาถพงษ - ยอ
ววิ ัฒน วงศกติ ติรกั ษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงท่ีสุด

๓๓

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๒๓๑/๒๕๖๓ ทีอารด บั บลิว อินเทลเลคชวล
พรอพเพอรต ้ี คอรป. โจทก
กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา จำเลย

พ.ร.บ. เคร่ืองหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ (เดิม) มาตรา ๖ (๑), ๗ วรรคหนง่ึ

เครื่องหมายการคาอักษรโรมัน ของโจทกเปนการนำอักษรโรมันตัวแรก

ของช่ือเต็มนิติบคุ คลในเครือโจทกมารวมกนั ชื่อยอ ของชอื่ เตม็ นิติบุคคลเชนนี้ เมื่ออาน

ไมไดเปนคำ จึงมิใชคำประดิษฐ และเมื่อเปนตัวอักษรที่พบไดในโปรแกรมคอมพิวเตอร

ทั่วไป จึงมิใชตัวหนังสือที่ประดิษฐขึ้นเชนกัน เมื่อพิจารณาเครื่องหมายการคาของโจทก

กบั รายการสนิ คา ทข่ี อจดทะเบยี นแลว เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกไ มไ ดส อ่ื ความหมาย

ใดๆ เกี่ยวกับสินคาตามรายการที่โจทกยื่นคำขอจดทะเบียนทั้งไมไดความวา อักษร

โรมัน T R W สื่อความหมายอยางไรหรือเปนสิ่งสามัญที่ใชในการคาขายกับรายการ

สนิ คา ทข่ี อจดทะเบยี นนน้ั อยา งไร เครอ่ื งหมายการคา จงึ เปน เครอ่ื งหมายการคา

อนั มลี กั ษณะบง เฉพาะและมลี กั ษณะทท่ี ำใหป ระชาชนหรอื ผใู ชส นิ คา นน้ั ทราบและเขา ใจ

ไดวาสินคาที่ใชเครื่องหมายการคานั้นแตกตางไปจากสินคาอื่น เปนเครื่องหมายการคา

อันพึงรับจดทะเบียนไดตาม พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ (เดิม) มาตรา ๗

วรรคหน่ึง กับมาตรา ๖ (๑)

______________________________

โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาตามหนังสือที่
พณ ๐๗๐๔/๓๖๗๖๒ และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๑๕๕๖/๒๕๖๐
และวนิ จิ ฉยั เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเ ปน เครอ่ื งหมายการคา ทม่ี ลี กั ษณะอนั พงึ รบั จดทะเบยี น
กับใหจ ำเลยดำเนนิ การรับจดทะเบียนเคร่อื งหมายการคา ของโจทกตอ ไป

จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่ง
ของนายทะเบยี นเครือ่ งหมายการคา ตามหนงั สอื ท่ี พณ ๐๗๐๔/๓๖๗๖๒ และคำวนิ จิ ฉัยอุทธรณ
ของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ ๑๕๕๖/๒๕๖๐ กับใหจำเลยดำเนินการเกี่ยวกับคำขอ
จดทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ๘๘๐๐๑๒ ของโจทกตอไป (ที่ถูก คำขออื่นใหยก) คาฤชา
ธรรมเนยี มใหเ ปน พบั

๓๔

จำเลยอทุ ธรณ

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ

วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมโตเถียงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา เมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม

๒๕๕๖ โจทกย น่ื คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา อกั ษรโรมนั เลขท่ี ๘๘๐๐๑๒ เพอ่ื ใช

กับสินคาในจำพวกที่ ๑๒ รายการสินคาไดแก เบรกยานพาหนะ แผนเบรกสำหรับยานพาหนะ

ฝก เบรกสำหรบั ยานพาหนะ ผา เบรกสำหรบั ยานพาหนะ จานเบรกสำหรบั ยานพาหนะ จานดสิ กเ บรก

สำหรบั ยานพาหนะ ดมุ เบรกสำหรบั ยานพาหนะ กระบอกเบรกสำหรบั ยานพาหนะ คาลเิ ปอรเ บรก

สำหรับยานพาหนะ หมอลมเบรกสำหรับยานพาหนะ เฟองพวงมาลัยสำหรับยานพาหนะ

เฟองสะพานบังคับเลี้ยวสำหรับยานพาหนะ ตัวรองรับการสั่นสะเทือนของยานพาหนะ และ

ลูกหมากสำหรับยานพาหนะ แตนายทะเบียนเครื่องหมายการคามีคำสั่งปฏิเสธคำขอของโจทก

ตามหนงั สอื สำนกั เครอ่ื งหมายการคา กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา ท่ี พณ ๐๗๐๔/๓๖๗๖๒ ลงวนั ท่ี

๙ ธนั วาคม ๒๕๕๗ แจง วา เครอ่ื งหมายการคา ไมม ลี กั ษณะบง เฉพาะตามพระราชบญั ญตั ิ

เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ เนอ่ื งจากเปน อกั ษรโรมนั ทม่ี ไิ ดป ระดษิ ฐใ หม ลี กั ษณะ

พิเศษ จึงเปนอักษรสามัญไมมีลักษณะบงเฉพาะ ตอมาโจทกยื่นคำอุทธรณ ฉบับลงวันที่ ๑๒

มีนาคม ๒๕๕๘ คณะกรรมการเครื่องหมายการคามีคำวินิจฉัยอุทธรณที่ ๑๕๕๖/๒๕๖๐ ซึ่งมีมติ

ยนื ตามคำสง่ั ปฏเิ สธของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา โดยใหเ หตผุ ลอยา งเดยี วกนั วา เครอ่ื งหมาย

การคา ของโจทก ประกอบดวยอักษรโรมัน ๓ ตัว คือ “T” “R” และ “W” มาเรียงตอกัน

เปน ตวั พมิ พใ หญใ นลกั ษณะทใ่ี ชก นั อยทู ว่ั ไป โดยไมไ ดแ สดงใหเ หน็ ลกั ษณะตวั อกั ษรทผ่ี ดิ แผกกบั

ตัวอักษรเดิม ถือวาเปนตัวหนังสือที่มิไดประดิษฐขึ้น ไมมีลักษณะบงเฉพาะตามพระราชบัญญัติ

เคร่อื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสอง (๓)

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา เครื่องหมายการคา ของ

โจทกตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ๘๘๐๐๑๒ มีลักษณะบงเฉพาะอันพึงรับจด

ทะเบียนไดตามกฎหมายหรือไม ขอนี้ในเบื้องตนโจทกยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา

เลขที่ ๘๘๐๐๑๒ เมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ และนายทะเบียนเครื่องหมายการคามีคำสั่ง

อยา งหนง่ึ อยา งใดไวแ ลว การพจิ ารณาลกั ษณะบง เฉพาะของเครอ่ื งหมายการคา ตามคำขอดงั กลา ว

จงึ ตอ งเปน ไปตามมาตรา ๗ แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ

โดยมาตรา ๕ แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ ซง่ึ เปน กฎหมาย

ที่ใชบังคับอยูในวันที่โจทกยื่นคำขอจดทะเบียน โจทกยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา

โดยระบุคำอานและคำแปลวาเปนอักษรโรมัน อานวา “ทีอารดับเบิลยู” แปลไมได

๓๕

และเปนสวนหนึ่งของชื่อนิติบุคคล เมื่อโจทกนำสืบวา อักษรโรมันที่ประกอบเปนเครื่องหมาย

การคา ของโจทกมีที่มาจากอักษรโรมันตัวแรกของชื่อเต็มนิติบุคคลในเครือโจทก

ไดแก Thompson Products, Inc. กับ Ramo-Wooldridge Corporation ซึ่งควบรวมกิจการกัน

ในป ๒๕๐๑ แลวกลายเปน Thompson Ramo Wooldridge Inc. แลว จำเลยไมนำสืบหักลาง

ใหเ หน็ เปน อยา งอน่ื ขอ เทจ็ จรงิ ยอ มรบั ฟง ไดต ามพยานหลกั ฐานของโจทกว า เครอ่ื งหมายการคา

อักษรโรมัน ของโจทกเปนการนำอักษรโรมันตัวแรกของชื่อเต็มนิติบุคคลในเครือโจทก

มารวมกันเปน เพื่อใชรวมกันหรือใชดวยกันเปนเครื่องหมายการคาของโจทก ชื่อยอ

ของชอ่ื เตม็ นติ บิ คุ คลเชน น้ี เมอ่ื อา นไมไ ดเ ปน คำ จงึ มใิ ชค ำประดษิ ฐ และเมอ่ื เปน ตวั อกั ษรทพ่ี บไดใ น

โปรแกรมคอมพวิ เตอรท ว่ั ไป จงึ มใิ ชต วั หนงั สอื ทป่ี ระดษิ ฐข น้ึ เชน กนั แตเ มอ่ื พจิ ารณาเครอ่ื งหมาย

การคาของโจทกกับรายการสินคาที่ขอจดทะเบียนแลว เครื่องหมายการคาของโจทกไมไดสื่อ

ความหมายใด ๆ เกี่ยวกับสินคาตามรายการที่โจทกยื่นคำขอจดทะเบียน ทั้งไมไดความจาก

ทางนำสืบของจำเลยวาอักษรโรมัน T R W สื่อความหมายอยางไรหรือเปนสิ่งสามัญที่ใชใน

การคาขายกับรายการสินคาที่ขอจดทะเบียนนั้นอยางไร เครื่องหมายการคา จึงเปน

เครอ่ื งหมายการคา อนั มีลกั ษณะบง เฉพาะและมีลกั ษณะที่ทำใหประชาชนหรอื ผใู ชสนิ คา นนั้ ทราบ

และเขาใจไดวา สินคาที่ใชเครื่องหมายการคานั้นแตกตางไปจากสินคาอื่น เครื่องหมายการคา

จึงเปนเครื่องหมายการคาอันพึงรับจดทะเบียนไดตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา

พ.ศ. ๒๕๓๔ (เดมิ ) มาตรา ๗ วรรคหนง่ึ กบั มาตรา ๖ (๑) ดงั น้ี การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและ

การคาระหวางประเทศกลางพิพากษาวา เครื่องหมายการคา มีลักษณะบงเฉพาะนั้น

ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ พอ งดว ยในผล อทุ ธรณข องจำเลยฟง ไมข น้ึ และไมจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั

ประเดน็ อนื่ อกี ตอ ไป เพราะไมทำใหผลแหง คดเี ปลีย่ นแปลง

พพิ ากษายืน คา ฤชาธรรมเนยี มช้ันอุทธรณใหเปนพับ.

(วราคมน เล้ยี งพันธุ - ธารทพิ ย จงจกั รพันธ - กรกนั ยา สวุ รรณพานิช)

สธุ รรม สุธมั นาถพงษ - ยอ
ววิ ฒั น วงศกติ ตริ ักษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทส่ี ดุ

๓๖

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๘๘๘/๒๕๖๓ ทอทัล แอส.อา. โจทก

กรมทรพั ยสนิ ทางปญ ญา จำเลย

พ.ร.บ. เคร่อื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗

แมคำวา “HI-PERF” จะเปนคำประดิษฐซึ่งไมมีความหมายใด ๆ ก็ตาม แตคำ
ดังกลาวประกอบไปดวยคำวา “HI” และคำวา “PERF” ซึ่งแตละคำอาจสื่อความหมาย
อันทำใหสาธารณชนทั่วไปเขาใจถึงความหมายของคำสองคำที่นำมาใชประกอบกันได
เมอ่ื ความหมายสำคญั ทส่ี ามารถจะสอ่ื สารหรอื ทำใหเ ขา ใจคอื คำวา “High Performance”
ซึ่งแปลวา สมรรถนะสูงหรือประสิทธิภาพสูง เปนคำที่อธิบายโดยเฉพาะถึงคุณภาพหรือ
การทำงานทด่ี หี รอื โดดเดน จงึ เปน คำทว่ั ไปทส่ี อ่ื ถงึ คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา โดยตรง เครอ่ื งหมาย
การคา คำวา “HI-PERF” ยอ มไมม ลี กั ษณะบง เฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคหนง่ึ และวรรคสอง (๒)
แหง พ.ร.บ. เครือ่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔

โจทกใ ชเ ครอ่ื งหมายหลกั กบั เครอ่ื งหมายรองควบคกู นั ไปเสมอ โดยเครอ่ื งหมาย
การคา หลกั แสดงความแตกตา งของสนิ คา ของโจทกจ ากสนิ คา ของผอู น่ื สว นเครอ่ื งหมายรอง
เปนการแยกสินคาแตละประเภทการใชงานของโจทกเทานั้น เครื่องหมายรองคำวา
“HI-PERF” จงึ ไมไ ดท ำหนา ทแ่ี ยกแยะใหส าธารณชนทว่ั ไปรจู กั และเขา ใจไดว า สนิ คา ของ
โจทกตางไปจากสินคาของผูอื่นอยางแทจริง ดังนั้น แมโจทกจะโฆษณาสินคาของโจทก
ใหส าธารณชนเขา ถงึ ไดท ว่ั โลกหรอื มยี อดขายสนิ คา ของโจทกใ นประเทศไทย กย็ งั ไมอ าจ
รับฟงไดวา เครื่องหมายการคาคำวา “HI-PERF” เปนเครื่องหมายที่มีการจำหนาย
เผยแพร หรือโฆษณาในสินคาที่ใชเครื่องหมายนั้นจนแพรหลาย จนทำใหสาธารณชน
ทว่ั ไปหรอื สาธารณชนในสาขาทเ่ี กย่ี วขอ งในประเทศไทยรจู กั และเขา ใจวา สนิ คา ของโจทก
ที่ใชเครื่องหมายการคาดังกลาวแตกตางไปจากสินคาอื่น กรณีจึงไมถือวามีลักษณะ
บงเฉพาะตาม พ.ร.บ. เครือ่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคสาม

______________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหเ พกิ ถอนคำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี พณ ๐๗๐๔/๒๔๘๙๙
ลงวนั ท่ี ๖ ตลุ าคม ๒๕๕๗ และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๖๗๓/๒๕๖๑
ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และใหจำเลยดำเนินการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตาม
คำขอเลขท่ี ๙๓๒๐๙๓ ของโจทก

๓๗

จำเลยใหก าร ขอใหย กฟอ ง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง พิพากษายกฟอง คาฤชา
ธรรมเนยี มใหเ ปนพบั
โจทกอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง ไดใ นเบอ้ื งตน วา เมอ่ื วนั ท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๗ โจทกย น่ื ขอจดทะเบยี น
เครอ่ื งหมายการคา ตวั อกั ษรโรมนั “HI-PERF” ระบคุ ำอา นวา “ไฮ-เพอรฟ ” เพอ่ื ใชก บั สนิ คา จำพวก
ท่ี ๔ รายการสนิ คา นำ้ มนั หลอ ลน่ื ทใ่ี ชใ นอตุ สาหกรรม จาระบี นำ้ มนั หลอ ลน่ื กา ซทเ่ี ปน เชอ้ื เพลงิ
เหลว กา ซทเ่ี ปน เชอ้ื เพลงิ แขง็ กา ซทเ่ี ปน เชอ้ื เพลงิ นำ้ มนั เครอ่ื งยนต สารทเ่ี ตมิ ลงในนำ้ มนั หลอ ลน่ื
เชอ้ื เพลงิ สำหรบั เครอ่ื งยนต และเชอ้ื เพลงิ ทไ่ี มใ ชส ารเคมี ตามคำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
เลขที่ ๙๓๒๐๙๓ ในการตรวจสอบคำแปลเครื่องหมายการคาของจำเลย จากการตรวจคน
พจนานกุ รมในเวบ็ ไซต WWW.LONGDO.COM พบวา คำวา HI แปลวา สวสั ดี (คำไมเ ปน ทางการ)
และพจนานุกรม ดร.วิทย “PERF” เปนคำยอของ “PERFECT” แปลวา สมบูรณ, ดีพรอม, ไมมี
ตำหนิ นอกจากน้ี ในเวบ็ ไซต http://dictionaryreference.com/browse/hi?r=๖๖ ปรากฏวา คำวา
“HI” เปนคำยอของ “HIGH” และคำวา “PERF” เปนคำยอของคำวา “PERFORMANCE” ตาม
สำเนาเอกสารรายงานการอานแปลเครื่องหมายการคา ลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗
นายทะเบียนเครื่องหมายการคาพิจารณาแลวเห็นวา เครื่องหมายการคาของโจทกไมมีลักษณะ
บง เฉพาะ เพราะอกั ษรโรมนั คำวา “HI-PERF” สามารถทำใหเ ขา ใจไดว า เปน คำยอ หรอื คำไมเ ปน
ทางการของคำวา “HIGH PERFORMANCE” แปลโดยรวมไดวา สมรรถนะสูง เมื่อนำมาใชกับ
สนิ คา จงึ เปน การบรรยายและเลง็ ถงึ คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา นน้ั และการขอจดทะเบยี นนม้ี ขี อ บกพรอ ง
เพราะไมร ะบรุ ายการสนิ คา ทป่ี ระสงคจ ะไดร บั ความคมุ ครองแตล ะอยา งโดยชดั แจง นายทะเบยี น
เครื่องหมายการคาจึงใหแกไขรายการสินคาใหชัดเจน ตามสำเนาเอกสารแสดงรายละเอียดการ
พิจารณา และตอมาไดมีการสงหนังสือแจงคำสั่งใหตัวแทนโจทกทราบ ตามสำเนาหนังสือแจง
คำสั่งที่ พณ ๐๗๐๔/๒๔๘๙๙ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ ตอมาตัวแทนโจทกไดยื่นคำขอแกไข
เปลย่ี นแปลงรายการจดทะเบยี นเมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๕๗ โดยขอยกเลกิ รายการสนิ คา เดมิ
และขอจดรายการสินคาใหมจำนวน ๑๐ รายการสินคา ไดแก น้ำหลอลื่นที่ใชในอุตสาหกรรม
จาระบี น้ำมันหลอลื่น กาซที่เปนเชื้อเพลิงเหลว กาซที่เปนเชื้อเพลิงแข็ง กาซที่เปนเชื้อเพลิง
น้ำมันเครื่องยนต สารเติมในน้ำมันหลอลื่นที่ไมใชสารเคมี สารเติมในน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับ
เครอ่ื งยนตท ไ่ี มใ ชส ารเคมี สารเตมิ ในนำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ ทไ่ี มใ ชส ารเคมี ซง่ึ การขอแกไ ขเปลย่ี นแปลง

๓๘

ดังกลาวนายทะเบียนเครื่องหมายการคาไดอนุญาตตามสำเนาคำขอแกไขเปลี่ยนแปลงรายการ
จดทะเบียน ตอมาโจทกยื่นอุทธรณคำสั่งตามสำเนาอุทธรณ คณะกรรมการเครื่องหมายการคา
ไดพ จิ ารณาแลว ใหย นื ตามคำสง่ั ปฏเิ สธของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา โดยเหน็ วา เครอ่ื งหมาย
การคา ของโจทกค ำวา “HI-PERF” ตามคำขอ ปรากฏตามพจนานกุ รมอกั ษรยอ องั กฤษ-ไทย โดย
สนุ ทร วา คำวา “HI” เปน คำยอ มาจากคำวา “HIGH” แปลวา สงู สว นคำวา “perf” ตามพจนานกุ รม
Webster’s Third New International Dictionary หมายถงึ “perfect, performance” (สมบรู ณ ดเี ลศิ ,
สมรรถภาพ, สมรรถนะ) รวมกนั สอ่ื ความหมายไดว า สมรรถนะสงู เมอ่ื นำมาใชก บั สนิ คา จำพวกท่ี ๔
รายการสินคา น้ำมันหลอ ลนื่ ทใ่ี ชในอตุ สาหกรรม จาระบี น้ำมนั หลอล่ืน กาซท่เี ปนเช้อื เพลิงเหลว
กาซที่เปนเชื้อเพลิงแข็ง กาซที่เปนเชื้อเพลิง น้ำมันเครื่องยนต สารเติมในน้ำมันหลอลื่นที่ไมใช
สารเคมี สารเติมในน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนตที่ไมใชสารเคมี สารเติมในน้ำมันเชื้อเพลิง
ที่ไมใชสารเคมี ทำใหเขาใจไดวาสินคาภายใตเครื่องหมายการคานี้เปนสินคาที่มีสมรรถนะสูง
นับวาเปนคำที่เล็งถึงคุณสมบัติของสินคาโดยตรง จึงไมมีลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๗
วรรคสอง (๒) แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ สว นเครอ่ื งหมายยตั ภิ งั ค (-)
นับวาเปนสัญลักษณที่ใชกันโดยทั่วไป อันไมมีลักษณะที่ทำใหประชาชนหรือผูใชสินคานั้นทราบ
และเขา ใจไดว า สนิ คา ทใ่ี ชเ ครอ่ื งหมายการคา ของโจทกน น้ั แตกตา งไปจากสนิ คา อน่ื จงึ ไมม ลี กั ษณะ
บงเฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติเดียวกัน เมื่อปรากฏขอเท็จจริงดังกลาว
เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกจ งึ ไมม ลี กั ษณะอนั พงึ รบั จดทะเบยี น ตามมาตรา ๖ แหง พระราชบญั ญตั ิ
ดังกลาว สำหรับหลักฐานที่โจทกนำสง ไดแก สำเนาเว็บไซตของ “HI-PERF” ในตางประเทศ
(Website’s links for “HI-PERF”) จำนวน ๓ แผน สำเนาภาพถายกิจกรรม Road Show &
Communication Activities จำนวน ๓ แผน สำเนาตารางแสดงใบกำกบั สนิ คา ปรากฏรายชอ่ื ลกู คา
ในประเทศไทย ป ๒๕๕๖ ถึงป ๒๕๕๗ จำนวน ๔ แผน สำเนาใบกำกับภาษี (TAX INVOICE)
ของบริษัท TOTAL OIL (THAILAND) CO., LTD. สงสินคาภายในประเทศไทย ลงวันที่ ๖
พฤษภาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๑ แผน ลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ จำนวน ๑ แผน ลงวันที่ ๑๓
กรกฎาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๑ แผน ลงวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๑ แผน ลงวันที่ ๒๑
ตลุ าคม ๒๕๕๖ จำนวน ๑ แผน ลงวนั ท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๗ จำนวน ๑ แผน ลงวนั ท่ี ๑๒ เมษายน
๒๕๕๗ จำนวน ๑ แผน ลงวนั ท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๕๗ จำนวน ๑ แผน สำเนาใบแจง หน้ี (INVOICE)
ลงโฆษณาของ TOTAL ในนิตยสารไซเคิลโรด ฉบับที่ ๒๗๖ เดือนธันวาคม ๒๕๕๖ โดยบริษัท
แอ็ดเวนเจอร กรุป จำกัด ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ในนิตยสารนักเลงมอเตอรไซคโดย
บริษัทสำนักพิมพนิตยสารยานยนต จำกัด ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๗ ในนิตยสารไซเคิลโรด

๓๙

ฉบับที่ ๒๘๐ เดือนเมษายน ๒๕๕๗ โดย บริษัทแอ็ดเวนเจอร กรุป จำกัด ลงวันที่ ๑๔

พฤษภาคม ๒๕๕๗ ในนิตยสารนักเลงมอเตอรไซค โดย บริษัทสำนักพิมพนิตยสารยานยนต

จำกัด ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๗ สำเนาเอกสารแสดงการโฆษณาสินคาของโจทกภายใต

เครื่องหมาย จำนวน ๒๓ แผน

สำเนาภาพเครอ่ื งหมาย สำเนาภาพถา ยงานสมั มนาเปด ตวั ผลติ ภณั ฑใ หม “TOTAL

MCO PRESTIGE LAUNCH” จำนวน ๑ แผน สำเนาภาพถายกิจกรรม TOTAL “HI-PERF”

ROADSHOW จำนวน ๖ แผน สำเนาภาพถา ยนติ ยสารนกั เลงมอเตอรไ ซค ฉบบั ท่ี ๓๐๔ ประจำ

เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ จำนวน ๑ แผน สำเนาภาพถายใบปลิวโปรโมชั่น จำนวน ๑ แผน

สำเนาภาพถายนิตยสาร CYCLE ROAD จำนวน ๑ แผน บรรจุภัณฑใสน้ำมันเครื่องภายใต

เครื่องหมาย นั้น เห็นวา หลักฐานในสวนใบกำกับภาษี (TAX INVOICE) และใบแจงหนี้

(INVOICE) ลงโฆษณาสินคาของโจทกเปนเพียงเอกสารแสดงการจำหนายและโฆษณาสินคา

ของโจทกในชวงป ๒๕๕๖ ถึงป ๒๕๕๗ เพียงไมกี่วันเทานั้น สวนหลักฐานอื่น ๆ ก็เปนเพียง

เอกสารแสดงการโฆษณาและประชาสัมพันธสินคา ภายใตเ ครอ่ื งหมายการคา

ซึง่ เปนเครื่องหมายการคาอน่ื ท่แี ตกตางกนั และมิใช

เครื่องหมายเดียวกันกับเครื่องหมายการคาที่ยื่นขอทะเบียนไว การกลาวอางเอกสารขางตนใน

จำนวนและชว งเวลาเพยี งเทา น้ี จงึ ยงั ไมเ พยี งพอทจ่ี ะรบั ฟง ไดว า เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกม กี าร

จำหนา ย เผยแพร หรอื โฆษณาอยา งตอ เนอ่ื งเปน ระยะเวลานานพอสมควร จนทำใหส าธารณชน

ทว่ั ไปหรอื สาธารณชนในสาขาทเ่ี กย่ี วขอ งในประเทศไทยรจู กั และเขา ใจวา สนิ คา ดงั กลา วแตกตา ง

ไปจากสินคาอื่น ตามประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง หลักเกณฑการพิสูจนลักษณะบงเฉพาะ

ตามมาตรา ๗ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ แกไขเพิ่มเติม

โดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ สวนกรณีที่โจทกอางวาไดรับ

จดทะเบียนเครื่องหมายการคานี้ในตางประเทศ พรอมสงสำเนาเอกสารแสดงการจดทะเบียน

เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกใ นสาธารณรฐั ประชาชนจนี สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม สาธารณรฐั

ประชาชนบังกลาเทศ สาธารณรัฐฟลิปปนส ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

สาธารณรัฐอิสลาม ปากีสถาน ดินแดนไตหวัน และสาธารณรัฐสิงคโปร พรอมทั้งสำเนาตาราง

แสดงสถานการณยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทกในตางประเทศ นั้น เห็นวา

เปนเรื่องของกฎหมายหลักเกณฑ และความเห็นของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของของประเทศนั้น ๆ

ในการพิจารณารับจดทะเบียนเครื่องหมายตาง ๆ ไมอาจนำมาเปนเหตุใหคณะกรรมการ

เครื่องหมายการคาตองรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทก โดยไมจำตองพิจารณาถึง

๔๐


Click to View FlipBook Version