The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:57:14

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

อนั เปน การประกอบกจิ การโรงภาพยนตรส ถานทก่ี ลางแจง โดยทำเปน ธรุ กจิ หรอื ประโยชนต อบแทน
โดยจำเลยไมไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียน อันเปนการฝาฝนตอกฎหมาย และขอ ๓
ตามวนั เวลาดงั กลา วในฟอ งขอ ๒ เจา พนกั งานจบั กมุ จำเลยไดพ รอ มยดึ ไดฮ ารด ดสิ กส ำรองขอ มลู
๑ เครื่อง จอแอลซีดี ขนาด ๑๙ นิ้ว ๑ เครื่อง เครื่องฉายโปรเจกเตอร ๑ ชุด พาวเวอรแอมป
๔ เครื่อง ชุดปรับเสียง ๑ ชุด สายตอสัญญาณเสียงและภาพ ๑๐ เสน อันเปนทรัพยที่จำเลยได
ใชในการกระทำความผิดดังกลาวตามฟองขอ ๒ (ก) และ (ข) เปนของกลาง จำเลยใหการ
รับสารภาพ ขอเท็จจริงจึงฟงไดวา จำเลยไดใชของกลางทั้งหมดในการกระทำความผิดตามฟอง
ของกลางทั้งหมดเปนทรัพยที่ตองริบตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฯ มาตรา ๗๕ และประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๓๓ (๑) ขอ เทจ็ จรงิ ทจ่ี ำเลยอา งในอทุ ธรณเ ปน ขอ เทจ็ จรงิ ทข่ี ดั กบั คำใหก าร
รับสารภาพของจำเลย ถือเปนขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลทรัพยสินทางปญญา
และการคาระหวางประเทศกลาง อุทธรณของจำเลยดังกลาวจึงเปนอุทธรณที่ไมชอบดวย
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๘ ประกอบประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๕ และประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา
๒๒๕ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมรับวินิจฉัยให จำเลยอุทธรณตอไปวา การจะริบ
ของกลางตามฟองจะตองไดความชัดแจงตามคำบรรยายฟองวา จำเลยมีของกลางนั้นไวเพื่อใช
หรือไดใชของกลางในการกระทำความผิดตามที่โจทกฟอง เมื่อโจทกไมไดบรรยายฟองไว
จงึ ไมอ าจสง่ั รบิ ได เหน็ วา ตามฟอ งขอ ๒ (ก) และ (ข) และขอ ๓ ซง่ึ ไดย กขน้ึ วนิ จิ ฉยั ไวข า งตน แลว
โจทกบ รรยายฟอ งไวแ ลว วา ของกลางเปน ทรพั ยท จ่ี ำเลยใชใ นการกระทำความผดิ อยา งไร ฟอ งของ
โจทกจึงชัดแจงแลว ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งใหริบ
ของกลางชอบแลว อทุ ธรณของจำเลยฟง ไมขึน้

พิพากษายืน.

(พรี พล พิชยวัฒน - ไชยยศ วรนันทศิริ - จมุ พล ภิญโญสนิ วฒั น)

วรวรรณ พงศต ระกูลนนท - ยอ
สจุ ินต เจนพาณิชพงศ - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎกี าพพิ ากษายืน ตามคำพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๕๒๔/๒๕๖๒

๒๙๑

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๘๖๔/๒๕๖๐ พนักงานอัยการ

สำนกั งานอยั การสูงสุด โจทก

บรษิ ทั ฟนกิ ซป ระกันภยั

(ประเทศไทย) จำกดั

(มหาชน) ผปู ระกนั

นายธวชั มงคลเกาะ จำเลย

ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๑๙

นับตั้งแตวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒ ซึ่งเปนวันที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคา ระหวา งประเทศกลางออกหมายจบั จำเลยเนอ่ื งจากไมม าศาลตามกำหนดนดั และ
มคี ำสง่ั ปรบั ผปู ระกนั เตม็ ตามสญั ญา ผปู ระกนั ไดป ลอ ยเวลาใหล ว งเลยมานานถงึ ประมาณ
๖ ป โดยมิไดขวนขวายหาทางนำตัวจำเลยมาสงศาลตามสัญญา จนกระทั่งจำเลยถึงแก
ความตายเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๘ ผูประกันจึงเพิ่งมายื่นคำรองตอศาลในวันที่ ๑๙
ธันวาคม ๒๕๕๙ ดังน้จี ึงไมมเี หตุสมควรที่จะงดหรือลดคา ปรบั ตามคำรอง

______________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจาก โจทกฟ อ งขอใหล งโทษจำเลยตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗
มาตรา ๔, ๖, ๘, ๑๕, ๒๘, ๓๑, ๖๑, ๗๐, ๗๕, ๗๖, ๗๘ พระราชบัญญัติควบคุมกิจการเทป
และวัสดุโทรทัศน พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๖ พระราชบัญญัติภาพยนตรและวีดิทัศน พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๓, ๔, ๓๘, ๕๔, ๗๙, ๘๒, ๙๑ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑ และขอใหแผนดีวีดี
และวซี ดี ภี าพยนตรข องกลางทล่ี ะเมดิ ลขิ สทิ ธต์ิ ามฟอ งจำนวน ๑๐ แผน ตกเปน ของเจา ของลขิ สทิ ธ์ิ
และจายเงินคาปรับฐานละเมิดลิขสิทธิ์กึ่งหนึ่งใหแกผูเสียหาย ซึ่งเปนเจาของลิขสิทธิ์ ระหวาง
พิจารณาศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง อนุญาตใหปลอยชั่วคราว
จำเลย ตอ มาผปู ระกนั ไมส ง ตวั จำเลยตามกำหนดนดั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศกลางสง่ั ปรบั ผปู ระกนั ตามสญั ญาเปน เงนิ จำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท ตอ มาผปู ระกนั ยน่ื คำรอ ง
ของดหรือลดคาปรับ โดยอางวาผูประกันไดติดตามจำเลยตลอดมาจนทราบวาจำเลยถึงแก
ความตายแลว

๒๙๒

ศาลทรัพยส ินทางปญ ญาและการคา ระหวางประเทศกลางมคี ำสง่ั ใหย กคำรอ ง
ผปู ระกนั อทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา นับตั้งแตวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒ ซึ่งเปนวันที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศกลางออกหมายจับจำเลยเนื่องจากไมมาศาลตามกำหนดนัดและมีคำสั่งปรับ
ผูประกันเต็มตามสัญญา ผูประกันไดปลอยเวลาใหลวงเลยมานานถึงประมาณ ๖ ป โดยมิได
ขวนขวายหาทางนำตวั จำเลยมาสง ศาลตามสญั ญา จนกระทั่งจำเลยถงึ แกค วามตายเมอื่ วนั ที่ ๗
ธันวาคม ๒๕๕๘ ผูประกันจึงเพิ่งมายื่นคำรองตอศาลในวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๙ ดังนี้ จึงไมมี
เหตสุ มควรทจ่ี ะงดหรอื ลดคา ปรบั สว นการทผ่ี ปู ระกนั อทุ ธรณว า ผปู ระกนั มพี นกั งานจำนวนนอ ย
ในการติดตามจำเลยที่หลบหนี ซึ่งมีจำนวนมากหลายคดี และไดติดตามไปพรอมกันทุก ๆ คดี
ทำใหเ กดิ ความลา ชา กเ็ ปน เรอ่ื งการบรหิ ารงานภายในของบรษิ ทั ผปู ระกนั อทุ ธรณข องผปู ระกนั
จงึ ฟง ไมข น้ึ ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั ไมง ดหรอื ลดคา ปรบั
ใหแ กผูป ระกัน ศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษเหน็ พอ งดว ย
พพิ ากษายืน.

(พิมลรัตน วรรธนะหทัย - นพรตั น ชลวิทย - กรกันยา สุวรรณพานิช)

ววิ ฒั น วงศกติ ตริ ักษ - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทีส่ ุด

๒๙๓

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษที่ ๑๐/๒๕๖๓ พนักงานอัยการ สำนักงาน

อยั การสูงสดุ โจทก

นางสาวสายใจ วงศจิตตยิ านนท

กับพวก จำเลย

พ.ร.ก. การบรหิ ารจดั การการทำงานของคนตา งดาว (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ร.ก. การบรหิ ารจดั การการทำงานของคนตา งดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๘, ๙, ๑๐๑, ๑๐๒

จําเลยที่ ๒ กระทําความผิดเมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๒ หลังจากวันที่ ๒๘
มนี าคม ๒๕๖๑ อนั เปน วนั ท่ี พ.ร.ก. การบรหิ ารจดั การการทาํ งานของคนตา งดา ว (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๑ มผี ลบงั คบั ใชแ ลว ซง่ึ พระราชบญั ญตั ดิ งั กลา วมรี ะวางโทษปรบั ตง้ั แตห า พนั บาท
ถงึ หา หมน่ื บาท การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษา
กำหนดโทษปรบั ๒,๐๐๐ บาท ยอ มเปน การวางโทษตำ่ กวา กฎหมายทใ่ี ชบ งั คบั ในขณะนน้ั
จึงเปนการไมชอบ อนึ่ง การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
พิพากษาวา จําเลยทั้งสองมีความผิดตาม พ.ร.ก. การบริหารจัดการการทํางานของ
คนตา งดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๑ ประกอบมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐๒ ประกอบมาตรา ๙
อนั อาจเขา ใจไปไดว า จาํ เลยทง้ั สองมคี วามผดิ ทง้ั สองฐานความผดิ แมจ ะไดพ พิ ากษาแยก
ใหจ าํ เลยแตล ะคนรบั ผดิ ตามฐานความผดิ เฉพาะในสว นของตนแลว ตามทโ่ี จทกไ ดบ รรยาย
ฟอ งมา ยอ มเปน การไมช อบ ปญ หานเ้ี ปน ปญ หาเกย่ี วกบั ความสงบเรยี บรอ ย ศาลอทุ ธรณ
คดชี าํ นัญพเิ ศษชอบทยี่ กขนึ้ วนิ ิจฉยั ไดเอง

_____________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔,
๑๐๘, ๑๐๙, ๑๑๐, ๑๑๕, ๑๑๗ พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนตางดาว
พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕, ๘, ๙, ๑๐๑, ๑๐๒ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓, ๘๓, ๙๑
และรบิ ของกลาง

จำเลยท้งั สองใหการรับสารภาพ
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาวา จำเลยทั้งสอง
มีความผิดตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบ

๒๙๔

มาตรา ๑๐๘ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ พระราชกำหนดการบรหิ ารจดั การการทำงาน
ของคนตา งดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๑ ประกอบมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐๒ ประกอบมาตรา ๙
การกระทำของจำเลยทง้ั สองเปน ความผดิ หลายกรรมตา งกนั ใหล งโทษทกุ กรรมเปน กระทงความผดิ
ไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑ ฐานรวมกันจำหนาย เสนอจำหนายและมีไวเพื่อ
จำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ปลอม ใหป รบั คนละ ๒๐,๐๐๐ บาท และจำเลยท่ี ๑ ฐานรบั
คนตางดาวเขาทำงานโดยที่คนตางดาวทำงานนอกเหนือจากที่มีสิทธิจะทำได ใหรอการกำหนด
โทษไวม กี ำหนด ๑ ป สว นจำเลยท่ี ๒ ฐานเปน คนตา งดา วทำงานนอกเหนอื จากทม่ี สี ทิ ธจิ ะทำได
ใหป รบั ๒,๐๐๐ บาท รวมโทษทกุ กระทงความผดิ แลว เปน ใหป รบั จำเลยท่ี ๑ เปน เงนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
ปรับจำเลยที่ ๒ เปนเงิน ๒๒,๐๐๐ บาท จำเลยทั้งสองใหการรับสารภาพเปนประโยชนแกการ
พิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษใหคนละกึ่งหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘
คงปรบั จำเลยท่ี ๑ เปน เงนิ ๑๐,๐๐๐ บาท และปรบั จำเลยท่ี ๒ เปน เงนิ ๑๑,๐๐๐ บาท หากจำเลย
ทัง้ สองไมช ำระคา ปรับ ใหบ ังคบั ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙, ๓๐ ริบของกลาง

โจทกอ ุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา คดีมีปญหาขอกฎหมายตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกเพียงประการเดียววา การ
ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางกำหนดโทษสำหรับจำเลยที่ ๒ ใน
ความผดิ ฐานเปน คนตา งดา วทำงานนอกเหนอื จากทม่ี สี ทิ ธจิ ะทำไดต ามพระราชกำหนดการบรหิ าร
จัดการการทำงานของคนตางดาว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๑ วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา ๘ โดย
กำหนดโทษปรบั ๒,๐๐๐ บาท นน้ั ชอบดวยกฎหมายหรอื ไม ในปญหานเี้ มื่อขอเท็จจรงิ ตามฟอ ง
ของโจทกและคำใหการรับสารภาพของจำเลยที่ ๒ ฟงเปนยุติวา จำเลยที่ ๒ กระทำความผิด
เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๖๒ หลงั จากวนั ท่ี ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๑ ซง่ึ พระราชกำหนดการบรหิ าร
จัดการการทำงานของคนตางดาว (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ มีผลใชบังคับแลว โดยมาตรา ๔๕
แหง กฎหมายทแ่ี กไ ขใหมไ ดบ ญั ญตั ใิ หย กเลกิ บทกำหนดโทษของผฝู า ฝน มาตรา ๘ ตามทก่ี ำหนด
ไวใ นมาตรา ๑๐๑ แหง พระราชกำหนดการบรหิ ารจดั การการทำงานของคนตา งดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐
และใหใชความที่แกไขใหมแทน ซึ่งความแหงมาตรา ๑๐๑ วรรคหนึ่งที่แกไขใหม บัญญัติวา
คนตางดาวผูใดฝาฝนมาตรา ๘ ตองระวางโทษปรับตั้งแตหาพันบาทถึงหาหมื่นบาท... ดังนี้
การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางใชด ลุ พนิ จิ วางโทษกอ นลดใหโ ดย
ลงโทษปรับจำเลยที่ ๒ เปนเงิน ๒,๐๐๐ บาท ยอมเปนการลงโทษปรับจำเลยที่ ๒ ต่ำกวาอัตรา

๒๙๕

โทษปรับขั้นต่ำที่กฎหมายที่ใชบังคับในขณะนั้นบัญญัติไว จึงไมชอบดวยบทบัญญัติดังกลาว

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรแกไขและกำหนดโทษของจำเลยที่ ๒ ในความผิดฐาน

ดังกลาวเสียใหมอทุ ธรณข องโจทกฟงขึ้น

อนึ่ง เมื่อขอเท็จจริงตามฟองของโจทกและคำใหการรับสารภาพของจำเลยทั้งสองฟง

เปน ยตุ แิ ลว วา จำเลยทง้ั สองรว มกนั จำหนา ย เสนอจำหนา ยและมไี วเ พอ่ื จำหนา ยใหแ กป ระชาชน

ทว่ั ไป ซึ่งสินคาหมวก ๑๙ ใบ, ๔๕ ใบ กบั ๔ ใบ ทม่ี ีเคร่ืองหมายการคา ,

กบั อนั เปน เครอ่ื งหมายการคา ปลอมทม่ี ผี ทู ำปลอมเครอ่ื งหมายการคา ทแ่ี ทจ รงิ ของผเู สยี หาย

ท่ี ๑ ถงึ ที่ ๓ ตามลำดับ และสนิ คา หมวก ๓๖ ใบ ทีม่ เี ครือ่ งหมายการคา อนั เปน

เคร่ืองหมายการคาเลียนท่มี ผี ูทำเลยี นเครอื่ งหมายการคา ของผเู สยี หายที่ ๔

เพอ่ื ใหป ระชาชนหลงเชอ่ื วา เปน เครอ่ื งหมายการคา ทแ่ี ทจ รงิ ของผเู สยี หายท่ี ๔ โดยจำเลยทง้ั สอง

รอู ยแู ลววา เปนสนิ คา ทมี่ ีการปลอมเคร่ืองหมายการคา , กับ ของ

ผูเสียหายท่ี ๑ ถึงท่ี ๓ และเลียนเครอ่ื งหมายการคา ของผูเสียหายท่ี ๔ ซ่งึ ใน

วนั เวลาทจ่ี ำเลยทง้ั สองกระทำความผดิ นน้ั เจา พนกั งานจบั จำเลยทง้ั สองพรอ มยดึ สนิ คา หมวกรวม

๑๐๔ ใบ ทจ่ี ำเลยทง้ั สองจำหนา ย เสนอจำหนา ยและมไี วเ พอ่ื จำหนา ยอนั เปน การกระทำความผดิ

ดงั กลา วไวเ ปน ของกลาง เชน น้ี การกระทำของจำเลยทง้ั สองยอ มเปน การกระทำในคราวเดยี วกนั แม

สนิ คา ของกลางจะมเี ครอ่ื งหมายการคา ทง้ั ลกั ษณะปลอมเครอ่ื งหมายการคา ,

กับ ที่แทจริงของผูเสียหายที่ ๑ ถึงที่ ๓ และลักษณะเลียนเครื่องหมายการคาที่แทจริง

ของผูเสียหายที่ ๔ แตก็เปนที่เห็นไดวา จำเลยทั้งสองมีเจตนาในผลของการกระทำเปนอยาง

เดียวกันคือมุงแสวงหากำไรจากการจำหนายสินคาของกลางทั้งสองลักษณะดังกลาวดวยกัน

การกระทำของจำเลยทั้งสองตามฟองจึงเปนการกระทำกรรมเดียวเปนความผิดตอกฎหมาย

หลายบท ซึ่งไดแกพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบ

มาตรา ๑๐๘ บทหนึ่ง และพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑)

ประกอบมาตรา ๑๐๙ อีกบทหนึ่ง โดยตองลงโทษตามกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดแกจำเลย

ทั้งสองผูกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ ดังนี้ การที่ศาลทรัพยสินทาง

ปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาวา จำเลยทง้ั สองมคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิ

เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ กับประมวลกฎหมาย

อาญา มาตรา ๘๓ เพียงบทเดียว โดยไมมีเหตุผลที่ไมตัดสินและไมมีคำชี้ขาดใหยกฟองหรือลง

โทษตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙

๒๙๖

จงึ เปน การไมช อบตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
และวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖
ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา ๑๘๖ (๖) และ (๘) นอกจากนี้คดีนี้
โจทกบ รรยายฟอ งวา จำเลยทง้ั สองรว มกนั กระทำความผดิ ตอ พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ สวนการกระทำความผิดตอพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของ
คนตางดาว พ.ศ. ๒๕๖๐ โจทกบรรยายฟองใหเห็นการกระทำความผิดของจำเลยแตละคนตาม
องคป ระกอบความผดิ คนละฐานกนั การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
พิพากษาวา จำเลยทั้งสองมีความผิดตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของ
คนตางดาว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๑ ประกอบมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐๒ ประกอบมาตรา ๙
อันอาจเขาใจไปไดวา จำเลยทั้งสองมีความผิดทั้งสองฐานความผิดตามกฎหมายดังกลาว แมวา
จะไดพ พิ ากษาแยกใหจ ำเลยแตล ะคนรบั ผดิ ในความผดิ ตอ กฎหมายดงั กลา ว เพยี งคนละฐานความ
ผดิ ตามการกระทำความผิดของจำเลยแตล ะคนดงั ท่ีโจทกไ ดบ รรยายฟอ งมาก็ตาม ยอมเปน การ
ไมชอบ ปญหาดังกลาวเปนขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมจะไมมีคูความฝายใด
อทุ ธรณ แตศ าลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษกม็ อี ำนาจยกขน้ึ วนิ จิ ฉยั ไดเ องและแกไ ขใหถ กู ตอ งไดต าม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง

พิพากษาแกเปนวา จำเลยทั้งสองมีความผิดตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ และมาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ จำเลยท่ี ๑ มคี วามผดิ ตามพระราชกำหนดการบรหิ ารจดั การ
การทำงานของคนตางดาว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๒ วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา ๙ จำเลยที่ ๒
มคี วามผดิ ตามพระราชกำหนดการบรหิ ารจดั การการทำงานของคนตา งดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา
๑๐๑ วรรคหนง่ึ ประกอบมาตรา ๘ สำหรบั ความผิดฐานรวมกันจำหนาย เสนอจำหนา ยและมีไว
เพื่อจำหนายสินคาที่มีเครื่องหมายการคาปลอมและเลียนเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นเปน
การกระทำกรรมเดยี วเปน ความผดิ ตอ กฎหมายหลายบท ใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมาย
การคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ ซง่ึ เปน กฎหมายบททม่ี โี ทษหนกั ทส่ี ดุ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ และสำหรบั จำเลยท่ี ๒ ตามพระราชกำหนดการบรหิ าร
จดั การการทำงานของคนตา งดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๑ วรรคหนง่ึ ประกอบมาตรา ๘ ใหป รบั

๒๙๗

๕,๐๐๐ บาท เมือ่ รวมกบั โทษปรับในความผดิ อีกฐานหนง่ึ ขา งตน แลว ใหปรบั จำเลยที่ ๒ เปนเงนิ
๒๕,๐๐๐ บาท ลดโทษใหก ง่ึ หนง่ึ คงปรบั ๑๒,๕๐๐ บาท สว นโทษสำหรบั จำเลยท่ี ๑ และนอกจาก
ทีแ่ กใ หค งเปนไปตามคำพพิ ากษาศาลทรพั ยส ินทางปญญาและการคาระหวา งประเทศกลาง.

(วราคมน เลี้ยงพนั ธุ - จกั รกฤษณ เจนเจษฎา - กรกนั ยา สวุ รรณพานชิ )

ฐติ ิ สเุ สารจั - ยอ
ววิ ัฒน วงศกิตติรกั ษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงท่ีสุด

๒๙๘

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพิเศษที่ ๔๔๑/๒๕๖๔ พนกั งานอัยการ โจทก
จงั หวัดยโสธร จำเลย

นายปริทพาล ซงิ ห

ป.อ. มาตรา ๓๓ (๑)
พ.ร.ก. บริหารจดั การการทำงานของคนตางดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๘, ๑๐๑ วรรคหน่ึง

โจทกฟองจำเลยความผิดฐานจำหนาย เสนอจำหนาย และมีไวซึ่งสินคาที่เลียน
เครอ่ื งหมายการคา ของผอู น่ื เพอ่ื จำหนา ยแกป ระชาชนทว่ั ไปและความผดิ ฐานเปน บคุ คล
ตางดาวเรขายสินคาซึ่งเปนอาชีพที่ตองหามสำหรับบุคคลตางดาวทำเพื่อการคาหรือ
หารายไดโดยเด็ดขาด พรอมกับมีคำขอใหริบของกลางนาิกาขอมือ แวนตา สรอยคอ
สที อง ตา งหสู ที อง แหวน และรถจกั รยานยนต ซง่ึ เปน สนิ คา ทจ่ี ำเลยนำออกเรข ายและใช
เปนพาหนะบรรทุกสินคาดังกลาว ซึ่งความผิดฐานเรขายสินคานั้น พ.ร.ก. การบริหาร
จดั การการทำงานของคนตา งดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๑ วรรคหนง่ึ ประกอบมาตรา ๘
และ พ.ร.ฎ. กำหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่หามคนตางดาวทำ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔
และ (๓๕) บญั ชที า ย พ.ร.ฎ. กำหนดงานในอาชพี และวชิ าชพี ทห่ี า มคนตา งดา วทำ พ.ศ. ๒๕๒๒
กำหนดใหสงวนอาชีพเรขายสินคาแกผูมีสัญชาติไทยเทานั้น จำเลยเปนบุคคลตางดาว
ไมมีทางไดรับอนุญาตใหประกอบอาชีพเรขายสินคาได จำเลยไดเรขายสินคาตามฟอง
ในราชอาณาจกั ร การกระทำของจำเลยจงึ เปน ความผดิ เพราะฝา ฝน กฎหมายทก่ี ำหนดไว
ในตวั ไมใ ชเ ปน การกระทำความผดิ เพราะไมไ ดร บั อนญุ าต เมอ่ื ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง วา สนิ คา
นากิ าขอ มอื แวน ตา สรอ ยคอสที อง ตา งหสู ที อง แหวน และรถจกั รยานยนต เปน สนิ คา
ที่จำเลยมีไวและไดใชหรือมีไวเพื่อใชในการกระทำความผิดเรขายสินคา จึงเปนทรัพยที่
ศาลอาจริบไดต าม ป.อ. มาตรา ๓๓ (๑)

______________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔,
๑๐๙, ๑๑๐, ๑๑๕ พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนตางดาว พ.ศ. ๒๕๖๐
มาตรา ๕, ๗, ๘, ๑๐๑, ๑๓๔, ๑๕๔ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓, ๙๑ และรบิ ของกลาง

๒๙๙

จำเลยใหการรับสารภาพ
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง พพิ ากษาวา จำเลยมคี วามผดิ
ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙
พระราชกำหนดการบรหิ ารจดั การการทำงานของคนตา งดา ว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๑ วรรคแรก
(ที่ถูก วรรคหนึ่ง) ประกอบมาตรา ๘ การกระทำของจำเลยเปนความผิดหลายกรรมตางกัน ให
ลงโทษทกุ กรรมเปน กระทงความผดิ ไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑ ความผดิ ฐานเสนอ
จำหนา ย และมไี วเ พอ่ื จำหนา ยซง่ึ สนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา เลยี นเครอ่ื งหมายการคา ของบคุ คลอน่ื
ที่ไดจดทะเบียนแลวในราชอาณาจักร ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา มาตรา ๑๑๐ (๑)
ประกอบมาตรา ๑๐๙ ปรับ ๕,๐๐๐ บาท ฐานเปนคนตางดาวทำงานโดยไมไดรับอนุญาต ปรับ
๕,๐๐๐ บาท รวมทกุ กระทงความผดิ เปน ปรบั ๑๐,๐๐๐ บาท จำเลยใหก ารรบั สารภาพเปน ประโยชน
แกการพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษใหกึ่งหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๗๘
คงปรับ ๕,๐๐๐ บาท ไมชำระคาปรับใหจัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙, ๓๐
รบิ นากิ าขอ มอื ยห่ี อ DEBOR ๒ เรอื น ของกลาง สว นทโ่ี จทกข อใหร บิ นากิ าขอ มอื ยห่ี อ SENKO
๖ เรือน นาิกาขอมือยี่หอ JYQ ๓ เรือน แวนตา ๒๕ อัน สรอยคอสีทอง ๔๕ เสน ตางหูสีทอง
๒๔ คู แหวน ๑๑ วง และรถจกั รยานยนต จำนวน ๑ คนั ของกลาง นน้ั กรณไี มป รากฏโดยแนช ดั
วา เปน ทรพั ยท ม่ี หี รอื ใชใ นการกระทำความผดิ หรอื ไดใ ชใ หเ กดิ ผลในการกระทำความผดิ จงึ ไมอ าจ
ริบไดต ามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓ ใหยกคำขอในสว นน้ี
โจทกอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงฟงไดวา เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๒ เวลากลางวัน จำเลยไดจำหนาย
เสนอจำหนาย และมีไวเพื่อจำหนายซึ่งสินคานาิกาขอมือ ๒ เรือน ที่มีเครื่องหมายการคา
ซึ่งมีผูทำเลียนเครื่องหมายการคาของบริษัทวี ผูเสียหาย ซึ่งไดจดทะเบียนไวโดยชอบแลวแก
ประชาชนทั่วไป เพื่อใหประชาชนหลงเชื่อวาเปนเครื่องหมายการคาที่แทจริงของผูเสียหาย โดย
จำเลยรูอยูแลววาเปนสินคาที่ทำเลียนเครื่องหมายการคาของผูเสียหาย และจำเลยซึ่งเปน
คนตา งดา ว เชอ้ื ชาตอิ นิ เดยี สญั ชาตอิ นิ เดยี ซง่ึ เขา มาและอยใู นราชอาณาจกั รไทยโดยรบั อนญุ าต
ประเภทนักทองเที่ยว ไดประกอบอาชีพเรขายสินคา อันเปนอาชีพตองหามสำหรับคนตางดาว
ทำเพื่อการคาหรือหารายไดโดยเด็ดขาด ที่ตำบลคอเหนือ อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร
เพื่อหารายไดของจำเลย โดยไมไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนและไมมีเหตุยกเวนใด ๆ ตาม
กฎหมาย อันเปนการฝาฝนตอกฎหมาย เหตุทั้งหมดเกิดที่ตำบลคอเหนือ อำเภอเมืองยโสธร

๓๐๐

จงั หวดั ยโสธร เกย่ี วพนั กนั ตามวนั เวลาดงั กลา ว เจา พนกั งานจบั จำเลยไดพ รอ มยดึ สนิ คา นากิ า
ขอ มอื ยห่ี อ DEBOR ๒ เรอื น นากิ าขอ มอื ยห่ี อ SENKO ๖ เรอื น นากิ าขอ มอื ยห่ี อ JYQ ๓ เรอื น
แวนตา ๒๕ อัน สรอยคอสีทอง ๔๕ เสน ตางหูสีทอง ๒๔ คู แหวน ๑๑ วง และรถจักรยานยนต
จำนวน ๑ คัน ไวเปนของกลาง คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณโจทกเพียงประการเดียววา
ทรัพยของกลางสวนที่เหลือเปนทรัพยที่ใชในการกระทำผิด และโจทกไดบรรยายฟองไวแลวจึง
ตอ งรบิ ทรพั ยข องกลางตามฟอ งทง้ั หมดหรอื ไม เหน็ วา โจทกฟ อ งจำเลยในความผดิ ฐานจำหนา ย
เสนอจำหนาย และมีไวซึ่งสินคา คือนาิกาขอมือยี่หอ DEBOR ๒ เรือน ซึ่งเปนสินคาที่เลียน
เครอ่ื งหมายการคา ของผอู น่ื เพอ่ื จำหนา ยแกป ระชาชนทว่ั ไป และความผดิ ฐานเปน บคุ คลตา งดา ว
เรข ายสนิ คา อนั เปน อาชพี ทต่ี อ งหา มสำหรบั บคุ คลตา งดา วทำเพอ่ื การคา หรอื หารายไดโ ดยเดด็ ขาด
พรอ มมคี ำขอใหร บิ ของกลาง นากิ าขอ มอื ยห่ี อ DEBOR ๒ เรอื น ซง่ึ เปน สนิ คา ทเ่ี ลยี นเครอ่ื งหมาย
การคา ของผอู น่ื และนากิ าขอ มอื ยห่ี อ SENKO ๖ เรอื น นากิ าขอ มอื ยห่ี อ JYQ ๓ เรอื น แวน ตา
๒๕ อัน สรอ ยคอสีทอง ๔๕ เสน ตา งหสู ีทอง ๒๔ คู แหวน ๑๑ วง และรถจกั รยานยนต จำนวน
๑ คัน ซึ่งเปนสินคาที่จำเลยนำออกเรขายและใชเปนพาหนะบรรทุกสินคา ดังกลาว ซึ่งความผิด
ฐานเรขายสินคานั้น พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนตางดาว พ.ศ. ๒๕๖๐
มาตรา ๑๐๑ วรรคหนง่ึ ประกอบมาตรา ๘ และพระราชกฤษฎกี ากำหนดงานในอาชพี และวชิ าชพี
ทห่ี า มคนตา งดา วทำ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔ และ (๓๕) บญั ชที า ยพระราชกฤษฎกี ากำหนดงาน
ในอาชพี และวชิ าชพี ทห่ี า มคนตา งดา วทำ พ.ศ. ๒๕๒๒ กำหนดใหส งวนอาชพี เรข ายสนิ คา แกผ มู ี
สญั ชาตไิ ทยเทานัน้ จำเลยเปนบคุ คลตางดา วไมม ีทางทจี่ ะไดรบั อนญุ าตใหประกอบอาชีพเรข าย
สินคา จำเลยไดเรขายสินคาตามฟองในราชอาณาจักร การกระทำของจำเลยจึงเปนความผิด
เพราะฝาฝนกฎหมายที่กำหนดไวในตัว ไมใชเปนการกระทำความผิดเพราะไมไดรับอนุญาต
ประกอบกับจำเลยใหการรับสารภาพตามฟอง เมื่อขอเท็จจริงรับฟงวา สินคานาิกาขอมือยี่หอ
SENKO ๖ เรือน นาิกาขอมือยี่หอ JYQ ๓ เรือน แวนตา ๒๕ อัน สรอยคอสีทอง ๔๕ เสน
ตางหูสีทอง ๒๔ คู แหวน ๑๑ วง และรถจักรยานยนต จำนวน ๑ คัน เปนสินคาที่จำเลยไดใช
หรือมีไวเพื่อใชในการกระทำความผิดเรขายสินคา จึงเปนทรัพยที่ศาลอาจริบไดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๓๓ (๑) แลว ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
สง่ั ไมร บิ ของกลางดงั กลา ว ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษไมเ หน็ พอ งดว ย อทุ ธรณข องโจทกฟ ง ขน้ึ

๓๐๑

พพิ ากษาแกเ ปน วา ใหร บิ นากิ าขอ มอื ยห่ี อ SENKO ๖ เรอื น นากิ าขอ มอื ยห่ี อ JYQ
๓ เรือน แวนตา ๒๕ อัน สรอยคองสีทอง ๔๕ เสน ตางหูสีทอง ๒๔ คู แหวน ๑๑ วง และ
รถจักรยานยนต จำนวน ๑ คัน เสียดวย นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลทรัพยสิน
ทางปญญาและการคา ระหวางประเทศกลาง.

(มนตรี ศลิ ปม หาบัณฑติ - จักรกฤษณ เจนเจษฎา - จุมพล ภิญโญสินวฒั น)

ณฐั จิรา ขันทอง - ยอ
นภิ า ชัยเจริญ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงท่สี ดุ

๓๐๒

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๕๔/๒๕๖๕ นางสาวพิมพรรณ
ศรสี วัสดิ์
เครดิต สวสิ เอจี โจทก
จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๕, ๓๐๖, ๓๖๘
พ.ร.บ. วา ดว ยการขดั กนั แหง กฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ มาตรา ๕, ๑๓

ลกั ษณะของนติ สิ มั พนั ธต ามสญั ญาเครดติ พพิ าท ไมว า จะเปน สญั ชาตขิ องคสู ญั ญา
ถิ่นแหงการทำสัญญา รวมถึงการปฏิบัติตามสัญญา ลวนมีองคประกอบของตางประเทศ
(Foreign Elements) ทำใหค ดนี เ้ี ปน คดแี พง ทม่ี ลี กั ษณะเปน คดรี ะหวา งประเทศ โดยสาระ
สำคัญของสัญญานั้น คูสัญญามีเจตนารมณตีความสัญญาโดยใชกฎหมายตางประเทศ
ดังนั้น ในการวินิจฉัยสาระสำคัญของสัญญาเครดิตพิพาท จึงตองเปนไปตามกฎหมายที่
คสู ญั ญาตกลงกนั คอื กฎหมายมลรฐั นวิ ยอรก ตามมาตรา ๑๓ แหง พ.ร.บ. วา ดว ยการขดั กนั
แหงกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ เมื่อคดีนี้มีปญหาวา การโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญาจะมี
ผลสมบูรณแ ละบังคบั ใชไดหรอื ไม อยางไร กรณจี งึ ตองอาศยั กฎหมายมลรัฐนิวยอรก ใน
การตคี วามและบงั คบั ใช ขอ อา งตามอทุ ธรณข องโจทกท ว่ี า ใหน ำบทบญั ญตั เิ รอ่ื งการโอน
สิทธิเรียกรองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๐๖ วรรคหนึ่ง มาใชในการตีความเรื่องของการโอน
สิทธเิ รยี กรองตามสัญญาเครดิต จงึ ไมอาจรับฟงได

โจทกอ ทุ ธรณอ า งวา หลกั สจุ รติ เปน บทควบคมุ การแสดงเจตนาตามกฎหมายไทย
อันเปนเรื่องเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๕ และมาตรา ๓๖๘ สวนกฎหมายสหรัฐอเมริกามีบทบัญญัติเรื่องธุรกิจการคา
(The Uniform Commercial Code หรือ UCC) โดยไดบัญญัติหลักสุจริตไว แตกฎหมาย
ดงั กลา วไมไ ดม หี ลกั เกณฑเ รอ่ื งความสจุ รติ ของผปู ระกอบธรุ กจิ ทต่ี อ งมคี วามรแู ละความ
เชย่ี วชาญแตกตา งจากบคุ คลทว่ั ไป การทก่ี ฎหมายดงั กลา วไมไ ดก ำหนดเรอ่ื งนไ้ี วแ บบเดยี ว
กบั กฎหมายไทยจงึ ใชบ งั คบั ไมไ ด ตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. วา ดว ยการขดั กนั แหง กฎหมาย
พ.ศ. ๒๔๘๑ ดังนั้น จึงตองนำกฎหมายไทยมาปรับใชกับสัญญาเครดิตเรื่องการโอนสิทธิ
เรียกรองนัน้ เห็นวา การกลาวอา งเร่ืองหลกั ความไมส ุจริตนัน้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๖๘
บญั ญตั วิ า สญั ญานน้ั ทา นใหต คี วามตามความประสงคใ นทางสจุ รติ โดยพเิ คราะหถ งึ ปกติ
ประเพณีดวย สำหรับสัญญาเครดิตพิพาทในสวนของการโอนสิทธิเรียกรองนั้น คูสัญญา

๓๐๓

ตกลงใหเปนดุลพินิจของจำเลยแตเพียงผูเดียวที่จะใหความยินยอมหรือไมก็ได อันเปน
ความประสงคที่ชัดแจงของสัญญา ประกอบกับตามปกติประเพณีที่เกี่ยวของกับสถาบัน
การเงนิ ตามทไ่ี ดค วามจากกรรมการผจู ดั การจำเลยและพยานผเู ชย่ี วชาญทางกฎหมายวา
จำเลยในฐานะสถาบนั การเงนิ ยอ มอยภู ายใตบ งั คบั ของกฎระเบยี บและถกู กำกบั ดแู ลโดย
หนวยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริการวมถึงหนวยงานของมลรัฐนิวยอรก โดยกฎหมาย
กำหนดใหจำเลยตองปฏิบัติตามขอหามและขอจำกัดหลายประการและอยูภายใตแนว
ปฏบิ ตั ขิ องสถาบนั การเงนิ ทเ่ี นน ความสำคญั ของการใหด ลุ พนิ จิ แกจ ำเลยเพยี งแตผ เู ดยี ว
ทจ่ี ะใหห รอื ไมใ หค วามยนิ ยอมแกก ารโอนกไ็ ด ซง่ึ เปน เรอ่ื งทม่ี เี หตผุ ลในทางประเพณที าง
การคาและอยูบนพื้นฐานของเจตนารมณของคูสัญญา แมจำเลยจะไดรับแจงเรื่องการ
โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งแลว นง่ิ เฉยไมต ดิ ตอ กลบั หรอื ไมด ำเนนิ การใดๆ นน้ั ยอ มถอื วา จำเลยไมใ ห
ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกรองแลวนั่นเอง ซึ่งตามกฎหมายมลรัฐนิวยอรก
ไดอธิบายแนวทางและหลักการพิจารณาเรื่องความยินยอมในลักษณะนี้ไวโดยละเอียด
และสอดคลอ งกบั หลกั การทว่ั ไปของการตคี วามสญั ญาบนหลกั ความศกั ดส์ิ ทิ ธแิ หง การแสดง
เจตนาและหลกั เสรภี าพแหง สญั ญาเปน หลกั เมอ่ื สญั ญาเครดติ พพิ าทเปน สญั ญาทางพาณชิ ย
ทใ่ี ชส ำหรบั การประกอบธรุ กจิ การคา อนั มธี รรมเนยี มปฏบิ ตั แิ ละจารตี ประเพณที างการคา
ทเ่ี กย่ี วกบั สถาบนั การเงนิ ซง่ึ มลี กั ษณะพเิ ศษ มผี ลและผกู พนั ผลประโยชนร ะหวา งคสู ญั ญา
โดยเฉพาะและมิไดเกี่ยวของกับประโยชนสาธารณะ ประกอบกับขอจำกัดดังกลาวมิได
ทำใหเ กดิ ความไดเ ปรยี บ เสยี เปรยี บ หรอื ไมเ ปน ธรรมแกผ ใู ด การนง่ิ เฉยไมใ หค วามยนิ ยอม
ในการโอนสิทธิเรียกรองของจำเลย จึงไมไดเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต และไมขัดแยง
กับกฎหมายไทยอันจะทำใหขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
แหงประเทศไทยตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. วาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑
แตอ ยางใด

_____________________________

โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระเงินใหแกโจทกตามสัดสวนรอยละ
๒๗.๓๓ ของเงินกูในกลุม B Loan (แผน ข.) ที่จำเลยไดรับ ตามสิทธิเรียกรองของโจทก
๑๕๔,๗๗๙,๓๙๒.๑๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๑๓๒,๗๓๒,๒๕๒.๖๗ บาท
นับจากวันฟองไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก กับใหจำเลยชำระเงินคืนโจทกตามสิทธิเรียกรอง
ที่จำเลยจะไดรับจาก IFC สำหรับเงินกูในกลุม B Loan (แผน ข.) ในอัตรารอยละ ๒๗.๓๓ ของ
เงนิ ซึ่งจะไดรับจากเจา พนักงานพิทักษทรพั ย กรมบังคบั คดีในอนาคต

๓๐๔

จำเลยใหการและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง คาฤชา
ธรรมเนียมใหเ ปน พับ
โจทกอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมอุทธรณโตแยงกันรับฟงไดวา เมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๓๘
บรรษัทเงินทุนระหวางประเทศ (International Financial Corporation หรือ IFC ) ทำสัญญาให
บริษัทเงินทุน เอกธนกิจ จำกัด (มหาชน) กูยืม โดยแบงเงินกูออกเปน ๒ กลุม คือ ๑. A Loan
(แผน ก.) ๓๐,๐๐๐,๐๐๐ ดอลลารส หรฐั และ ๒. B Loan (แผน ข.) ๑๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ดอลลารส หรฐั
รวม ๑๘๐,๐๐๐,๐๐๐ ดอลลารสหรัฐ ตามสัญญากูยืมเงิน (Investment Agreement) ในสวนหนี้
เงินกูในกลุม B Loan (แผน ข.) IFC ทำสัญญารวมใหเงินกู (Participation Agreement) กับ
Finance One Funding Corporation หรือ FOFC โดยให FOFC จัดหาเงินกูมาใหดวยการออก
ตราสารการคา (Commercial Paper) จำหนายแกบุคคลทั่วไป และทำสัญญาเครดิต ค้ำประกัน
ตราสารการคาดังกลาวโดยกลุมสถาบันการเงินรวม ๒๒ แหง ซึ่งมีจำเลยทำหนาที่เปนธนาคาร
ตวั แทน (Agent Bank) และเปน ธนาคารผอู อกเลตเตอรอ อฟเครดติ (Issuing Bank) ทง้ั น้ี ธนาคาร
Westdeutsche Landesbank Gironzentrale Bank สาขานิวยอรก หรือธนาคาร West LB,
New York เปน ๑ ใน สถาบันการเงิน ๒๒ แหง ที่เขารวมลงนามสนับสนุนวงเงินตามสัญญา
เครดติ โดยการคำ้ ประกนั เลตเตอรอ อฟเครดติ ของจำเลย ตอ มาป ๒๕๔๐ บรษิ ทั เงนิ ทนุ เอกธนกจิ
จำกัด (มหาชน) ผิดนัดชำระหนี้ตามสัญญากูยืมตอ IFC จำเลยจึงชำระเงินใหแกผูลงทุนที่ถือ
ตราสารการคาตามที่มีการเรียกเก็บโดยกลุมสถาบันการเงินในกลุม B Loan (แผน ข.) ซึ่งได
ชำระเงินใหแกจำเลยตามสัดสวน ตอมาป ๒๕๔๔ ธนาคาร Westdeutsche Landesbank
Gironzentrale สาขาสิงคโปร หรือธนาคาร West LB, Singapore โอนสิทธิเรียกรองตามสัญญา
ดังกลาวที่เกี่ยวกับ FOFC ใหแกบริษัทสแตนเทิน จำกัด หรือ Stanton ตามสัญญา Agreement
Relation to debt of Finance One Funding Corporation โดยใหบ รษิ ทั สแตนเทนิ จำกดั เลอื กวา
จะรับโอนสิทธิเรียกรองเองโดยตรงหรือใหผูแทน (Nominated Purchaser) หรือผูที่บริษัท
สแตนเทนิ จำกดั เสนอใหเ ปน ผรู บั สทิ ธเิ รยี กรอ งแทน ตอ มาวนั ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๔๕ ศาลลม ละลายกลาง
มีคำสั่งใหพิทักษทรัพยเด็ดขาดบริษัทเงินทุน เอกธนกิจ จำกัด (มหาชน) และตั้งเจาพนักงาน
พิทักษทรัพยรวบรวมทรัพยสินเพื่อชำระหนี้ใหแกเจาหนี้ เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๕ IFC ใน
ฐานะเจาหนี้ผูใหกูยืมของบริษัทเงินทุน เอกธนกิจ จำกัด (มหาชน) ยื่นคำขอรับชำระหนี้เปน

๓๐๕

ลำดับที่ ๑๙๓ ตอมาในป ๒๕๔๙ บริษัทสแตนเทิน จำกัด แจงใหธนาคาร West LB, Singapore
โอนสิทธิเรียกรองใหแกธนาคารสแตนดารด เมอรชานท (เอเชีย) จำกัด (Standard Merchant
Bank (Asia) Limited) หรือธนาคาร SMB ตามสัญญา Deed of Assignment (Finance One
Funding Corporation) และในป ๒๕๕๗ ธนาคาร SMB ไดโ อนสทิ ธเิ รยี กรอ งดงั กลา วใหแ กโ จทก
ตามสัญญา Assignment of Option Assets Agreement และไดมีการบอกกลาวการโอนสิทธิ
เรยี กรอ งไปยงั FOFC ตามหนงั สอื Notice of Assignment ตอ มาวนั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๕๙ ศาลฎกี า
พพิ ากษาให IFC ไดร บั ชำระหนเ้ี ปน เงนิ ๔,๘๔๔,๔๖๓,๕๖๒ บาท ตามสำเนาคำพพิ ากษาศาลฎกี า
ที่ ๑๒๙๓๑/๒๕๕๘ ตอมา IFC ไดรับเงินคืนจากเจาพนักงานพิทักษทรัพยจากการรวบรวม
ทรัพยสินของบริษัทเงินทุน เอกธนกิจ จำกัด (มหาชน) ตามคำขอรับชำระหนี้เงินกูตามสำเนา
คำแถลงสงพยานเอกสารของเจาพนักงานพิทักษทรัพย แลวไดสงใหแกจำเลยเพื่อชำระคืนแก
สถาบนั การเงนิ ในกลมุ สญั ญาเครดิตตอ ไป

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณโ จทกใ นขอ แรกวา การโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งตามสญั ญา
Deed of Assignment (Finance One Funding Corporation) ตอ งนำกฎหมายใดมาปรบั ใช เหน็ วา
ลักษณะของนิติสัมพันธตามสัญญาดังกลาว ไมวาจะเปนสัญชาติของคูสัญญา ถิ่นแหงการทำ
สัญญา รวมถึงการปฏิบัติตามสัญญา ลวนมีองคประกอบของตางประเทศ (Foreign Elements)
ทำใหค ดนี เ้ี ปน คดแี พง ทม่ี ลี กั ษณะเปน คดรี ะหวา งประเทศ โดยสาระสำคญั ของสญั ญานน้ั คสู ญั ญา
มเี จตนารมณต คี วามสญั ญาโดยใชก ฎหมายตา งประเทศ ตามทป่ี รากฏในสญั ญาเครดติ ขอ ๙.๑๑
ที่ระบุวา Governing Law. This Agreement (including matters relating to the Maximum
Permissible Rate) shall be construed in accordance with and governed by the law of the
state of New York (without giving effect to its choice of law principles). ซง่ึ แปลความหมายวา
คูสัญญาตกลงกันใหใชกฎหมายมลรัฐนิวยอรกในการตีความและใชแกสัญญา ไมใหนำหลัก
การเลอื กกฎหมายมาใชบ งั คบั ดงั นน้ั ในการวนิ จิ ฉยั สาระสำคญั ของสญั ญาเครดติ จงึ ตอ งเปน ไป
ตามกฎหมายที่คูสัญญาตกลงกันคือกฎหมายมลรัฐนิวยอรก ซึ่งก็เปนไปตามมาตรา ๑๓ แหง
พระราชบัญญัติวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ ที่บัญญัติวา “ปญหาวาจะพึงใช
กฎหมายใดบงั คับสำหรบั สงิ่ ซ่งึ เปนสาระสำคัญ หรอื ผลแหงสัญญานน้ั ใหว ินิจฉัยตามเจตนาของ
คูกรณี” เมื่อคดีนี้มีปญหาวา การโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญาจะมีผลสมบูรณและบังคับใชได
หรอื ไม อยา งไร กรณจี งึ ตอ งอาศยั กฎหมายมลรฐั นวิ ยอรก ในการตคี วามและบงั คบั ใช ขอ อา งตาม
อทุ ธรณข องโจทกท ว่ี า ใหน ำบทบญั ญตั เิ รอ่ื งการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งตามประมวลกฎหมายแพง และ
พาณิชย มาตรา ๓๐๖ วรรคหนึ่ง มาใชในการตีความเรื่องของการโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญา
เครดติ จึงไมอาจรบั ฟง ได อุทธรณข องโจทกขอนฟี้ งไมข ้ึน

๓๐๖

สวนที่โจทกอุทธรณเรื่องการรับฟงกฎหมายมลรัฐนิวยอรกวา พยานผูเชี่ยวชาญของ
จำเลยไมไ ดอ า งตวั บทกฎหมาย เพยี งแตอ า งคำพพิ ากษาของศาล ซง่ึ เปลย่ี นแปลงไปตามขอ เทจ็ จรงิ
ทต่ี า งกนั กรณเี ปน การไมน ำสบื กฎหมายตา งประเทศใหเ ปน ทพ่ี อใจแกศ าล จงึ ตอ งใชก ฎหมายไทย
ในการวนิ จิ ฉยั นน้ั พจิ ารณาแลว เหน็ วา จำเลยนำสบื ขอ เทจ็ จรงิ นโ้ี ดยมนี ายฌาคส (Mr. Jacques)
พยานผเู ชย่ี วชาญ ซง่ึ ไมไ ดเ กย่ี วขอ งกบั คคู วามในคดนี ้ี พยานเปน ทนายความขน้ึ ทะเบยี นประกอบ
วิชาชีพกฎหมายในมลรัฐนิวยอรก สหรัฐอเมริกา มาตั้งแตป ๒๕๒๗ โดยพยานจบการศึกษา
คณะนิติศาสตร เกียรตินิยม จากมหาวิทยาลัยฮารวารด (Harvard Law School) ป ๒๕๒๗
เคยทำงานตำแหนง ผชู ว ยอยั การสหรฐั ประจำเขตตะวนั ออก นครนวิ ยอรก และทำงานในสำนกั งาน
กฎหมายนานาชาติ Curtis, Mallet-Prevost, Colt & Mosle LLP มาจนถงึ ปจ จบุ นั เปน เวลากวา ๓๔ ป
มีหนาที่ใหคำปรึกษาคดีความและประเด็นขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับกฎหมายมลรัฐนิวยอรก
เรอ่ื งสญั ญาตา ง ๆ พยานมคี วามเชย่ี วชาญในการวเิ คราะหแ ละตคี วามขอ สญั ญาตามหลกั กฎหมาย
มลรัฐนิวยอรก สำหรับการนำสืบพยานผูเชี่ยวชาญนั้นพยานทำบันทึกถอยคำยืนยันขอเท็จจริง
หรอื ความเหน็ วา จากการตรวจสอบและวเิ คราะหเ อกสารตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งในคดี ไดแ ก สญั ญา
พิพาททั้งหมด หนังสือแจงการโอนสทิ ธิเรียกรอง อีเมลตดิ ตอเรอ่ื งการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ ง เปนตน
และคน ควา อา งองิ แนวการตคี วามตามคำพพิ ากษาของศาลมลรฐั นวิ ยอรก ทเ่ี กย่ี วขอ งตามคำพพิ ากษา
ทั้งนี้ พยานไดตอบคำถามคานของทนายโจทกที่สงบันทึกคำถามคานในระหวางการสืบพยาน
ตามกระบวนพจิ ารณาคดดี ว ย การนำสบื พยานผเู ชย่ี วชาญทจ่ี ำเลยกลา วอา งกฎหมายมลรฐั นวิ ยอรก
จึงเปนท่พี อใจแกศ าลทีจ่ ะนำกฎหมายมลรัฐนวิ ยอรก มาปรับวินจิ ฉยั กบั ขอเท็จจริงในคดีได

สวนทีโ่ จทกอ างวาพยานจำเลยไมไ ดอางถงึ ตัวบทกฎหมาย แตอ างเฉพาะคำพิพากษา
ของศาล ไมถือวาไดนำสืบขอมูลที่ถูกตองนั้น เห็นวา ระบบกฎหมายสหรัฐอเมริกาเปนระบบ
กฎหมายคอมมอนลอว (Common Law) ซึ่งเปนระบบกฎหมายที่พัฒนาขึ้นโดยผูพิพากษาผาน
การตัดสินคดีความของศาล มากกวาผานทางพระราชบัญญัติของฝายนิติบัญญัติ จึงเปนระบบ
กฎหมายทใ่ี หน ำ้ หนกั การปฏบิ ตั ติ ามคำพพิ ากษาทม่ี มี ากอ น อนั เปน ทม่ี าประการหนง่ึ ของกฎหมาย
(A Source of Law) คำพพิ ากษาจึงไมไดเปน เพียงการตีความกฎหมาย แตมีผลเปน บรรทัดฐาน
ทางกฎหมาย (Precedent) ผูกพันการตัดสินคดีในอนาคต นอกจากนี้ โดยสวนใหญแลวหลัก
กฎหมายเรื่องสัญญา (Contract) มักจะมีบอเกิดมาจากแนวคำพิพากษา แมวาปจจุบันมีหลัก
กฎหมายในเร่ืองสญั ญาทอ่ี างอิงบทบญั ญตั ิเร่ืองธรุ กิจการคา (The Uniform Commercial Code
หรือ UCC) แลวก็ตาม แตกฎหมายดังกลาวก็เปนเพียงกฎหมายตนแบบเพื่อใหมลรัฐตาง ๆ

๓๐๗

นำไปบญั ญตั แิ ละใชบ งั คบั เปน กฎหมายภายในของตนเทา นน้ั ดงั นน้ั การทพ่ี ยานผเู ชย่ี วชาญของ
จำเลยอา งองิ คำพพิ ากษาของศาลมลรฐั นวิ ยอรก เพอ่ื ใชใ นการตคี วามขอ สญั ญา จงึ เปน การนำสบื
ขอเท็จจริงตามกฎหมายมลรัฐนิวยอรกที่ไมไดคลาดเคลื่อนไปจากระบบกฎหมายคอมมอนลอว
(Common Law) แตอ ยางใด อทุ ธรณของโจทกใ นขอ น้ีฟงไมขึน้ เชน กนั

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกข อ ตอ ไปวา การโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งตามสญั ญา
Deed of Assignment (Finance One Funding Corporation) จากธนาคาร West LB ไปยัง
ธนาคาร SMB นั้น สมบูรณและมีผลบังคับใชตามกฎหมายมลรัฐนิวยอรกอันทำใหโจทกมี
อำนาจฟอ งคดหี รอื ไม ในปญ หาน้ี ไดค วามจากบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ ของ
นายฌาคส พยานจำเลยซึ่งใหถอยคำในประเด็นเรื่องการโอนสิทธิเรียกรองตามกฎหมายมลรัฐ
นวิ ยอรก ในฐานะความเหน็ ของพยานผเู ชย่ี วชาญวา ตามสญั ญาเครดติ ขอ ๙.๑๐ (เอ) วา ดว ยการ
โอนสิทธิและการเขารวมลงทุน (Assignment and Participations) กำหนดเงื่อนไข ๓ ประการ
เพอ่ื ใหก ารโอนสทิ ธมิ ผี ลใชบ งั คบั ไดโ ดยประการแรก ตอ งมกี ารสง หนงั สอื แจง การโอนสทิ ธิ (Notice
of Assignment) ใหแ กจ ำเลยในฐานะธนาคารผอู อกเลตเตอรอ อฟเครดติ (Issuing Bank) และใน
ฐานะตัวแทนตามแบบฟอรมที่กำหนดไวเพื่อการนั้น ในเอกสารแนบ ๙.๑๐ (เอ) ประการที่สอง
หากจำเลยในฐานะธนาคารผอู อกเลตเตอรอ อฟเครดติ (Issuing Bank) ซง่ึ มดี ลุ พนิ จิ แตเ พยี งผเู ดยี ว
ทจ่ี ะใหห รอื ไมใ หค วามยนิ ยอมแกก ารโอนสทิ ธใิ ด ๆ กไ็ ด หากเลอื กทจ่ี ะใหค วามยนิ ยอมแลว กจ็ ะ
ลงนามในหนังสือแจงการโอนสิทธิ (Notice of Assignment) นั้นในชองวางที่ระบุไวเพื่อการนั้น
และประการทส่ี าม ผโู อนสทิ ธติ อ งชำระคา ธรรมเนยี มการโอนสทิ ธจิ ำนวน ๒,๕๐๐ ดอลลารส หรฐั
ใหแกตัวแทน เพื่อใหครบขั้นตอนของการโอนสิทธิและเพื่อใหการโอนสิทธิมีผลใชบังคับ หากไม
ปฏบิ ัติตามเง่อื นไขประการใดประการหนึ่งในสามประการนี้ใหครบถวน การโอนสทิ ธินน้ั กจ็ ะไมม ี
ผลใชบังคับ ทั้งนี้ ขอ ๙.๑๐ (เอ) (ii) กำหนดไววา ผูโอนสิทธิจะตองไดรับความยินยอมจาก
ธนาคารผอู อกเลตเตอรอ อฟเครดติ (Issuing Bank) ซง่ึ จะใหห รอื ไมใ หค วามยนิ ยอมเชน วา นน้ั กไ็ ด
โดยเปน ดลุ พนิ จิ ของธนาคารผอู อกเลตเตอรอ อฟเครดติ (Issuing Bank) แตเ พยี งผเู ดยี ว และการ
โอนสิทธิจะไมมีผลใชบังคับ เวนแต และ จนกวา (เอ) จะไดมีการสงหนังสือแจงการโอนสิทธิ
(Notice of Assignment) เกี่ยวกับการโอนสิทธินั้น ซึ่งผูโอนสิทธิและผูรับโอนสิทธิไดลงนาม
โดยชอบแลว ใหแ กบ รษิ ทั ธนาคารผอู อกเลตเตอรอ อฟเครดติ (Issuing Bank) และตวั แทน และ (บ)ี
ตวั แทนไดร บั การชำระคา ธรรมเนยี มการโอนสทิ ธจิ ำนวน ๒,๕๐๐ ดอลลารส หรฐั แลว ทง้ั น้ี ในการ
โอนสิทธิเรียกรองนั้นสัญญาไดกำหนดแบบฟอรมหนังสือแจง (Notice Form) ไวเพื่อใหผูใหกู
แตล ะรายทป่ี ระสงคจ ะโอนสทิ ธขิ องตนตามสญั ญาเครดติ ไดน ำไปใช ดงั นน้ั หากการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ ง

๓๐๘

ไมดำเนินการตามสัญญาดังกลาวยอมทำใหการโอนสิทธิเรียกรองไมมีผลบังคับได ตามแนว
คำพิพากษาศาลมลรฐั นวิ ยอรก วางบรรทดั ฐานเรอื่ งการโอนสทิ ธเิ รยี กรองไววา ขอ จำกัดการโอน
สิทธิตามสัญญาที่ระบุไวอยางชัดเจนและตรงไปตรงมา ยอมทำใหการโอนสิทธิที่ฝาฝนขอจำกัด
การโอนสิทธิตกเปนโมฆะและไมมีผลใชบังคับ โดยในคดีระหวาง Allhusen v. Caristo Const.
Corp., 303 N.Y. 446 (1952) ศาลไดวินิจฉัยในหนา ๔๔๖ วา “the contracts at issue stated
that assignment of moneys due under the contracts “without the written consent” of the
other party shall be void.” ซง่ึ แปลสรปุ ไดว า สญั ญาพพิ าทระบวุ า การโอนสทิ ธใิ นเงนิ ตามสญั ญา
โดยปราศจากความยินยอมเปนหนังสือจากคูสัญญาอีกฝายหนึ่งยอมตกเปนโมฆะ และวินิจฉัย
ในหนา ๔๔๙ วา “without obtaining the required consent, an obligee under the contract
purported to assign its rights to moneys due from the obligor. The putative assignee, in
turn, purported to assign its rights to a third party. The third party brought suit against the
obligor to collect the moneys due. The New York Court of Appeals rejected the claim,
holding that the principle of “freedom to contract” requires enforcement of a contractual
restriction on assignment, as long as the restriction is stated using “clear language” and
the “plainest words[.]” ซึ่งแปลสรุปไดวาเมื่อไมไดรับความยินยอมตามที่กำหนดไวในสัญญา
การทเ่ี จา หนโ้ี อนสทิ ธใิ นเงนิ ของลกู หนท้ี เ่ี ปน หนต้ี นใหแ กผ รู บั โอนสทิ ธิ แลว ผรู บั โอนสทิ ธกิ โ็ อนสทิ ธิ
ตอ ไปใหแกบุคคลท่ีสามอกี ทอดหน่งึ ตอ มาบคุ คลท่สี ามนำคดมี าฟองเรียกรอ งใหล กู หนี้ชำระเงิน
เมอ่ื ครบกำหนด ศาลอทุ ธรณม ลรฐั นวิ ยอรก พจิ ารณาแลว พพิ ากษายกฟอ ง โดยวนิ จิ ฉยั วา ตามหลกั
“เสรีภาพในการทำสัญญา” ขอจำกัดการโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญายอมมีผลใชบังคับได
เมอ่ื ขอ จำกดั นน้ั มี “ขอ ความทช่ี ดั เจน” และดว ย “ถอ ยคำทต่ี รงไปตรงมาทส่ี ดุ ” และวนิ จิ ฉยั ในหนา
๔๕๒ วา “Finding that the contracts at issue met that standard, the Court of Appeals held
that the attempted assignment without the requisite consent was “void” as against the
obligor.” ซง่ึ แปลสรปุ ไดว า เมอ่ื สญั ญาพพิ าทสอดคลอ งกบั หลกั การเชน วา นน้ั แลว ความพยายาม
โอนสิทธิเรียกรองโดยปราศจากความยินยอมตามที่กำหนดเงื่อนไขไวในสัญญา จึงตกเปนโมฆะ
ไมสามารถใชยันกับลูกหนี้ได ซึ่งขอเท็จจริงเรื่องขอจำกัดดังกลาวก็ตรงกันกับขอตกลงในสัญญา
เครดติ ในคดนี ท้ี ร่ี ะบไุ วใ นขอ สญั ญาอยา งชดั เจนสำหรบั เงอ่ื นไขการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ ง แมใ นสญั ญา
จะไมไดใชคำวาหากไมไดรับความยินยอมใหถือวาการโอนสิทธิ “ตกเปนโมฆะ” หรือ “ไมมีผล
สมบูรณ” ก็ตามแตหากมีการใชถอยคำอื่นที่มีความหมายในทำนองเดียวกันก็ยอมทำใหมีผล
เชน เดยี วกนั และทำใหก ารโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งทไ่ี มถ กู ตอ งนน้ั ตกเปน โมฆะ โดยในคดี Jakobovits

๓๐๙

v. PHL Variable Ins.Co., 2081 U.S. Dist. LEXIS 83946 ศาลไดวางบรรทัดฐานไววา
“contractual language that “assignments are ineffective without notice” is equivalent to
language stating that “assignments are void without notice,” and renders void and
ineffective any purported assignment without notice.” ซง่ึ แปลสรปุ ไดว า ขอ ความตามสญั ญา
ทว่ี า “การโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งยอ มไมม ผี ลใชบ งั คบั โดยปราศจากการบอกกลา ว” เทยี บไดก บั ขอ ความวา
“การโอนสิทธิเรียกรองยอมตกเปนโมฆะโดยปราศจากการบอกกลาว” จึงทำใหการโอนสิทธิ
เรียกรองที่กลาวอางโดยปราศจากการบอกกลาวตกเปนโมฆะและไมมีผลใชบังคับ และในคดี
Schiavone Constr. Co. v. City of New York, 1995 U.S. Dist. LEXIS 18050 เอกสารหมาย
ล.๓๘ ศาลวินิจฉัยวา “phrase that states an assignment ‘shall not be valid’ until filed in
specified office with written consent “has the same practical effect as the phrase ‘shall
be void.’” ซึ่งแปลสรุปไดวา วลีที่ระบุวาการโอนสิทธิ “ไมมีผลสมบูรณ” จนกวาจะไดยื่นหนังสือ
ยนิ ยอมตอ หนว ยงานทต่ี กลงกนั ยอ มมคี วามหมายในทางปฏบิ ตั เิ ชน เดยี วกบั วลที ว่ี า การโอนสทิ ธิ
“ตกเปนโมฆะ” ซึ่งในคดี TPZ Corp. v. Dabbs, 25 A.D.3d 787 ศาลวางหลักวา “an assignee
never stands in any better position than his assignor[.]” ซ่งึ หมายถึง ผรู บั โอนยอมไมม สี ทิ ธิ
ดีกวาผูโอน และในคดี Caprara v. Charles Court Assocs., 216 A.D.2d 722 ศาลวางหลัก
เชนเดียวกันวา “Plaintiffs, as assignees, acquired no greater rights than those of the
assignor.” ซึ่งแปลวา โจทกในฐานะผูรับโอนสิทธิยอมไมอาจไดมาซึ่งสิทธิที่มากไปกวาสิทธิของ
ผูโอน ดังนั้น เมื่อสัญญาเครดิต ขอ ๙.๑๐ (เอ) ระบุไวอยางชัดเจนและตรงไปตรงมาวา การโอน
สิทธิเรียกรองจะมีผลใชบังคับตอเมื่อไดปฏิบัติครบเงื่อนไข ๓ ขอ แลวเทานั้น กลาวคือ ๑. ไดสง
หนงั สอื แจง การโอนสทิ ธิ (Notice of Assignment) ใหแ กบ รษิ ทั ธนาคารผอู อกเลตเตอรอ อฟเครดติ
(Issuing Bank) และตวั แทน ๒. ธนาคารผอู อกเลตเตอรอ อฟเครดติ (Issuing Bank) โดยดลุ พนิ จิ
ของธนาคารแตเ พยี งผเู ดยี ว ไดใ หค วามยนิ ยอมแกก ารโอนสทิ ธดิ งั กลา วแลว และ ๓. ตวั แทนไดร บั
ชำระคา ธรรมเนยี มการโอนสทิ ธจิ ำนวน ๒,๕๐๐ ดอลลารส หรฐั การทก่ี ารโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งระหวา ง
ธนาคาร West LB ไปยงั ธนาคาร SMB ไมไ ดปฏบิ ตั ติ ามขอ ตกลงตามสัญญา ทำใหการโอนสิทธิ
เรียกรองตกเปนโมฆะและไมมีผลใชบังคับตามบรรทัดฐานคำพิพากษาของศาลมลรัฐนิวยอรก
ขางตน ธนาคาร SMB จึงไมไดรับโอนสิทธิเรียกรองใด ๆ ตามสัญญาเครดิต และโจทกผูรับโอน
สิทธิเรียกรองมาจากธนาคาร SMB ก็ไมมีสิทธิใด ๆ เชนกัน

๓๑๐

สว นทโ่ี จทกอ ทุ ธรณว า การทจ่ี ำเลยนง่ิ เฉยไมต อบกลบั และแจง ใหผ โู อนและผรู บั โอนสทิ ธิ
เรียกรองทราบวาจะยินยอมใหมีการโอนสิทธิเรียกรองหรือไมนั้น เปนการปฏิบัติหนาที่บกพรอง
และไมม เี หตผุ ลอนั ควร การโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งจงึ ไมต อ งไดร บั ความยนิ ยอมจากจำเลยนน้ั ในปญ หาน้ี
นายฌาคส ใหถอยคำยืนยันขอเท็จจริงตอบคำถามคานทนายโจทกวา การที่จำเลยจะใหความ
ยนิ ยอมในการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งหรอื ไมน น้ั ตามสญั ญาเครดติ ขอ ๙.๑๐ (เอ) (ii) ใหจ ำเลยมดี ลุ พนิ จิ
แตเพียงผูเดียว (Sole Discretion) ในการที่จะใหหรือไมใหความยินยอมแกการโอนสิทธิใด ๆ
โดยในคดี State St. Bank & Trust Co. v. Inversiones Erranzuriz Limitadsa ศาลวางหลกั ไวว า
“where a contract gives a bank the sole discretion to withhold consent, the bank may
“withhold consent for any reason or no reason.” ซึ่งแปลสรุปไดวา ในกรณีที่สัญญาเครดิต
กำหนดใหธนาคารมีดุลพินิจแตเพียงผูเดียวในการที่จะไมใหความยินยอม ธนาคารอาจปฏิเสธ
ไมใหความยินยอมดวยเหตุผลใดก็ได หรือโดยไมใหเหตุผลก็ได และสัญญาเครดิต ก็ใหจำเลย
มดี ลุ พนิ จิ แตเ พยี งผเู ดยี วในการทจ่ี ะใหห รอื ไมใ หค วามยนิ ยอม โดยไมม ขี อ จำกดั วา ดลุ พนิ จิ ดงั กลา ว
ตองเปนไปอยางสมเหตุสมผลหรือไมซึ่งในคดี Dress Shirt Sales, Inc. v. Hotel Martinique
Associates ศาลไดว างหลกั ไวว า “It is settled that, unless the lease provides that the lessor’s
consent shall not be unreasonably withheld, a provision against subleasing without the
lessor’s consent permits the lessor to refuse arbitrarily for any reason or no reason.”
ซง่ึ แปลสรปุ ไดว า เมอ่ื สญั ญาเชา ไมไ ดก ำหนดวา การไมย นิ ยอมใหเ ชา ชว งของผใู หเ ชา ตอ งเปน ไป
อยา งมเี หตผุ ล ดงั นน้ั ผใู หเ ชา ยอ มมสี ทิ ธปิ ฏเิ สธไมย นิ ยอมใหม กี ารเชา ชว งไดโ ดยไมม เี หตผุ ล หรอื
จะดว ยเหตผุ ลใดกไ็ ด และในคดี Teachers Ins. & Annuity Ass’n v. Wometco Enters วางหลกั วา
“in the absence of explicit contractual language stating that a party may not unreasonably
withhold consent, parties may withhold consent for any reason or no reason, and … no
implied obligation to act in good faith exists to limit that choice.” ซึ่งแปลสรุปไดวา เมื่อใน
สัญญาที่ไมมีถอยคำที่ชัดแจงวาคูสัญญาไมอาจปฏิเสธความยินยอมไดโดยไมมีเหตุผล ดังนั้น
การทค่ี คู วามไมใ หค วามยนิ ยอมไมว า ดว ยเหตผุ ลใด ๆ หรอื โดยไมม เี หตผุ ล ยอ มทำได และไมอ าจ
อา งเงอ่ื นไขการกระทำโดยสจุ รติ มาจำกดั การปฏเิ สธความยนิ ยอมเชน วา นน้ั ได และในคดี State St.
Bank & Trust Co. v. Inversiones Erranzuriz Limitadsa ตามทไ่ี ดอ า งถงึ แลว ขา งตน ศาลยงั ได
วินิจฉัยวา “with respect to the contract before it, that “[t]here are no express restrictions
in the applicable negative covenants that limit State Street Bank’s right to refuse to consent
to any such sale in the event of a default. Accordingly, the bank had the right under the

๓๑๑

Credit Agreement to ‘withhold consent for any reason or no reason, and … no implied
obligation to act in good faith exists to limit that choice.’” ซง่ึ แปลสรปุ ไดว า ในกรณที ส่ี ญั ญา
ไมมีขอจำกัดอยางชัดแจงอันเปนการหาม (Negative Covenants) มิใหธนาคารปฏิเสธความ
ยินยอมตอการขายใด ๆ ในกรณีที่มีการผิดนัด ธนาคารจึงมีสิทธิที่จะไมใหความยินยอมในเรื่อง
ดังกลาวได ไมวาดวยเหตุผลใดหรือไมมีเหตุผลก็ โดยไมมีขอผูกมัดเรื่องการกระทำโดยสุจริตมา
จำกดั การตดั สนิ ใจของธนาคารดงั กลา วได นอกจากน้ี ในคดี Murphy v. Am. Home Prods. Corp.
ศาลยนื ยนั หลกั การทว่ี า “where there is no limiting language to the Defendant’s “sole discretion”
the Defendant had the right to withhold consent for any reason or no reason, unconstrained
by any obligation to act reasonably or in good faith in the exercise of that discretion.”
ซง่ึ แปลสรปุ ไดว า การใชด ลุ พนิ จิ แตเ พยี งผเู ดยี วนน้ั คสู ญั ญามสี ทิ ธทิ จ่ี ะปฏเิ สธไมใ หค วามยนิ ยอมได
ไมวาดวยเหตุผลใดหรือโดยไมมีเหตุผลก็ตาม และจะไมถูกจำกัดวาการตัดสินใจดังกลาวจะตอง
กระทำอยางมีเหตุผลหรือโดยสุจริตหรือไมดวย เมื่อพิจารณาการใชดุลพินิจแตเพียงฝายเดียว
ดงั กลา วตามบรรทดั ฐานคำพพิ ากษาของศาลมลรฐั นวิ ยอรก อนั เปน ทม่ี าของกฎหมายมลรฐั นวิ ยอรก
ดงั ทไ่ี ดอ ธบิ ายมาแลว กรณที จ่ี ำเลยจะปฏเิ สธไมใ หค วามยนิ ยอมในการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งในคดนี ้ี
ก็สามารถที่จะทำไดไมวาจะมีเหตุผลหรือไมมีก็ตาม จำเลยไมมีหนาที่ที่จะตองแจงใหบุคคลใด
ทราบถึงการตัดสินใจของตนวาไมยินยอมใหมีการโอนสิทธิเรียกรองนั้นเนื่องดวยเหตุใด การที่
จำเลยนง่ิ เฉยไมด ำเนนิ การเกย่ี วกบั การโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งนน้ั จงึ ถอื เปน การปฏเิ สธโดยไมใ หเ หตผุ ล
ซง่ึ ไมอ าจตคี วามสญั ญาเครดติ ตามทโ่ี จทกก ลา วอา งวา จำเลยตอ งมหี นา ทแ่ี สดงความไมย นิ ยอม
อยางแจงชัดแตอยางใด ซึ่งขัดกับหลักกฎหมายตามคำพิพากษาของศาลมลรัฐนิวยอรกในคดี
Collare v. Flower Hill ที่วางหลักวา “Where language has been chosen containing no
inherent ambiguity or uncertainty, courts are properly hesitant, under the guise of judicial
construction, to imply additional requirements to relieve a party form asserted disadvantag
flowing from the terms actually used.” ซง่ึ แปลสรปุ ไดว า ในกรณที ภ่ี าษาทถ่ี กู นำมาใชใ นสญั ญา
ไมไ ดม เี นอ้ื หาทค่ี ลมุ เครอื หรอื ไมแ นน อน ศาลควรหลกี เลย่ี งการตคี วามกฎหมายในลกั ษณะทส่ี รา ง
เงื่อนไขเพิ่มเติมเพื่อทำใหคูสัญญาที่เสียเปรียบหลุดพนไป และในคดี Aniero Concrete Co. v.
New York City Constr. Auth. ศาลวนิ จิ ฉยั ไวว า “defendant’s “failing to respond” to plaintiff’s
written assertion that it was assignee under contract did not constitute consent to assignment.”
ซึ่งแปลสรุปไดวา การที่จำเลยไมไดตอบกลับเปนลายลักษณอักษรวา โจทกเปนผูรับโอนสิทธิ
ตามสญั ญาหรอื ไม ไมถ อื ไดว า เปน การใหค วามยนิ ยอมในการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งแตอ ยา งใด ดงั นน้ั

๓๑๒

ในคดีนี้ การที่จำเลยไมไดติดตอกลับหรือพยายามดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับเรื่องการโอนสิทธิ
เรยี กรอง ยอมไมถ อื วาเปนการใหค วามยินยอมตามกฎหมายมลรฐั นิวยอรกตามทจ่ี ำเลยนำสบื

สว นทโ่ี จทกอ ทุ ธรณว า กฎหมายมลรฐั นวิ ยอรก ใหค วามสำคญั กบั “หลกั เสรภี าพในการ
แสดงเจตนา” โดยไมพ จิ ารณาถงึ “หลกั สจุ รติ ” จงึ ขดั ตอ ความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี อง
ประชาชนตามกฎหมายไทยนนั้ เห็นวา โจทกอ ุทธรณอ า งวา หลกั สุจริตเปนบทควบคุมการแสดง
เจตนาตามกฎหมายไทยอันเปนหลักของความเปนธรรม ความยุติธรรม ความซื่อสัตยและ
ไวว างใจกนั อนั เปน เรอ่ื งเกย่ี วกบั ความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชนตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕ และมาตรา ๓๖๘ ที่บุคคลตองใชสิทธิและปฏิบัติหนาที่ใน
การชำระหนโ้ี ดยสจุ รติ โดยเฉพาะในทางการคา ทผ่ี ปู ระกอบธรุ กจิ ตอ งมคี วามรู ประสบการณ และ
ความเชย่ี วชาญแตกตา งจากบุคคลท่ัวไปเพ่ือหากำไรหรือผลประโยชนตอบแทนจากคูสัญญาแม
กฎหมายสหรัฐอเมริกามีบทบัญญัติเรื่องธุรกิจการคา (The Uniform Commercial Code หรือ
UCC) โดยไดบ ญั ญัติหลักสุจริตไวตามมาตรา ๒-๑๐๓ (๑) วา พอ คา จะตอ งมีความซื่อสัตยในขอ
ความจรงิ และยดึ ถอื ตามธรรมเนยี มปฏบิ ตั ทิ างการคา อนั ชอบดว ยเหตผุ ลในการตดิ ตอ ทางการคา
ระหวางกัน จำเลยในฐานะตัวแทนสถาบันการเงิน (Agent Bank) ที่ไดรับคาธรรมเนียมรายป
จำนวนมาก ยอ มตอ งใชด ลุ พนิ จิ ในการใหค วามยนิ ยอมแกก ารโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งอยา งสมเหตสุ มผล
หรอื โดยสจุ รติ อยา งนอ ยทส่ี ดุ ตอ งแจง ใหผ โู อนหรอื ผรู บั โอนทราบวา จำเลยจะยนิ ยอมหรอื ไมอ ยา งไร
การกระทำของจำเลยจงึ เปน การใชส ทิ ธโิ ดยไมส จุ รติ อยา งยง่ิ อนั เปน การขดั ตอ ความสงบเรยี บรอ ย
หรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน ทำใหก ฎหมายมลรฐั นวิ ยอรก ทไ่ี มไ ดก ำหนดหา มเรอ่ื งนจ้ี งึ บงั คบั
ใชไมไดตามมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ ดังนั้น
จึงตองนำกฎหมายไทยมาใชปรับกับสัญญาเครดิตเรื่องการโอนสิทธิเรียกรองนั้น ในปญหานี้
พิจารณาแลว เห็นวา การกลาวอางเรื่องหลักความไมสุจริตนั้น ตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย มาตรา ๓๖๘ บัญญัติวา สัญญานั้นทานใหตีความตามความประสงคในทางสุจริตโดย
พเิ คราะหถ งึ ปกตปิ ระเพณดี ว ย สำหรบั สญั ญาเครดติ ในสว นของการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งนน้ั คสู ญั ญา
ตกลงใหเปนดุลพินิจของจำเลยแตเพียงผูเดียวที่จะใหความยินยอมหรือไมก็ได อันเปนความ
ประสงคที่ชัดแจงของสัญญา ประกอบกับตามปกติประเพณีที่เกี่ยวของกับสถาบันการเงินตามที่
ไดความจากนางจูเลีย กรรมการผูจัดการจำเลย และนายฌาคส พยานผูเชี่ยวชาญทางกฎหมาย
ใหถ อยคำยนื ยันขอเทจ็ จรงิ ในเรอ่ื งนไ้ี ว ไดค วามวา จำเลยในฐานะสถาบนั การเงนิ ยอ มอยภู ายใต
บงั คบั ของกฎระเบยี บและถกู กำกบั ดแู ลโดยหนว ยงานของรฐั บาลสหรฐั อเมรกิ ารวมถงึ หนว ยงาน
ของมลรัฐนิวยอรก กฎหมายกำหนดใหจ ำเลยตอ งปฏบิ ตั ติ ามขอ หา มและขอจำกดั หลายประการ

๓๑๓

รวมถึงกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (Anti-money Laundering หรือ
AML) และกฎหมายวา ดว ยการลงโทษระหวา งประเทศทก่ี ำกบั ดแู ลโดยสำนกั งานควบคมุ ทรพั ยส นิ
ตางชาติ กระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา (The U.S. Department of the Treasury, Office
of Foreign Assets Control หรอื OFAC) ซง่ึ ตอ งมขี อ ผกู พนั เกย่ี วกบั การตรวจสอบลกู คา ของตน
(Know Your Customer หรือ KYC) โดยตองมีนโยบายสำหรับการตอบรับลูกคา ตรวจสอบ
อัตลักษณลูกคา ตรวจสอบการดำเนินงานลูกคา และบริหารจัดการความเสี่ยง ทำใหจำเลยตอง
วิเคราะหสถานะ (Due Diligence) ลูกคาของตน ตองปฏิบัติตามระบบตอตานการติดสินบนและ
การคอรร ปั ชนั (anti-bribery and corruption) และระบบคดั กรองการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการลงโทษ
ในเชงิ เศรษฐกจิ (economic sanction compliance screening regime) หากการโอนสทิ ธติ า ง ๆ
กระทำไดโ ดยปราศจากความยนิ ยอมโดยชดั แจง ของจำเลย การโอนดงั กลา วอาจกอ ใหเ กดิ ประเดน็
ทางกฎเกณฑและการปฏิบัติตามกฎระเบียบแกจำเลย อันเปนการบังคับใหจำเลยตองเขาเปน
คสู ญั ญากบั บคุ คลหรอื นติ บิ คุ คลทจ่ี ำเลยไมพ งึ ประสงค ขดั ตอ ขอ ผกู พนั เกย่ี วกบั การตรวจสอบลกู คา
ทำใหจำเลยตองมีความรบั ผิดตามขอ กำหนดควบคุมบงั คบั ที่เกย่ี วของขางตน เรอื่ งน้ีจงึ เปน แนว
ปฏิบัติของสถาบันการเงินที่เนนย้ำถึงความสำคัญของการใหดุลพินิจแกจำเลยเพียงแตผูเดียวที่
จะใหหรือไมใหความยินยอมแกการโอนก็ได ซึ่งเปนเรื่องที่มีเหตุผลในทางประเพณีทางการคา
และอยูบนพื้นฐานของเจตนารมณของคูสัญญา ดังนั้น จากขอเท็จจริงที่คูความนำสืบไดความ
ดงั กลา ว แมจ ำเลยจะไดร บั แจง เรอ่ื งการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งแลว นง่ิ เฉยไมต ดิ ตอ กลบั หรอื ไมด ำเนนิ การ
ใด ๆ นั้น ยอมถือวาจำเลยไมใหความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกรองนั้นเอง ซึ่งตามกฎหมาย
มลรัฐนิวยอรกไดอธิบายแนวทางและหลักการพิจารณาเรื่องความยินยอมในลักษณะนี้ไวโดย
ละเอียดและสอดคลองกับหลักการทั่วไปของการตีความสัญญาบนหลักความศักดิ์สิทธิแหง
การแสดงเจตนาและหลกั เสรภี าพแหง สญั ญาเปน หลกั เมอ่ื สญั ญาเครดติ เปน สญั ญาทางพาณชิ ย
ทใ่ี ชส ำหรบั การประกอบธรุ กจิ การคา อนั มธี รรมเนยี มปฏบิ ตั แิ ละจารตี ประเพณที างการคา ทเ่ี กย่ี วกบั
สถาบันการเงินซึ่งมีลักษณะพิเศษมีผลและผูกพันผลประโยชนระหวางคูสัญญาโดยเฉพาะและ
มไิ ดเ กย่ี วขอ งกบั ผลประโยชนส าธารณะประกอบกบั ขอ จำกดั ดงั กลา วมไิ ดท ำใหเ กดิ ความไดเ ปรยี บ
เสียเปรียบ หรือไมเปนธรรมแกผูใดการนิ่งเฉยไมใหความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกรองของ
จำเลย จงึ ไมไ ดเ ปน การใชส ทิ ธโิ ดยไมส จุ รติ และไมข ดั แยง กบั กฎหมายไทยอนั จะทำใหข ดั ตอ ความ
สงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชนแหง ประเทศไทยตามมาตรา ๕ แหง พระราชบญั ญตั ิ
วาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ แตอยางใด เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา การโอนสิทธิ
เรยี กรอ งตามสญั ญา Deed of Assignment (Finance One Funding Corporation) นน้ั เปน โมฆะ

๓๑๔

และไมมีผลใชบังคับตามกฎหมายมลรัฐนิวยอรก ดังนั้น แมธนาคาร SMB จะโอนสิทธิเรียกรอง
นน้ั ใหแ กโ จทกต อ มาอกี ทอดหนง่ึ กต็ าม โจทกผ รู บั โอนยอ มไมม สี ทิ ธใิ ด ๆ ดไี ปกวา ธนาคาร SMB
ผูโอน โจทกจึงไมมีอำนาจฟองคดีนี้ ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
วนิ จิ ฉยั มานน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ พอ งดว ยในผล อทุ ธรณข องโจทกฟ ง ไมข น้ึ อทุ ธรณ
ขอ อื่นไมจ ำตอ งวินจิ ฉยั เพราะไมทำใหผลคดเี ปล่ียนแปลง

พิพากษายนื คาฤชาธรรมเนียมชัน้ อทุ ธรณใหเปนพับ.
(จักรกฤษณ เจนเจษฎา - จมุ พล ภิญโญสนิ วัฒน - มนตรี ศลิ ปมหาบัณฑติ )

ณฐั จิรา ขนั ทอง - ยอ
นภิ า ชัยเจริญ - ตรวจ

๓๑๕

คณะทำงานรวบรวมคำพพิ ากษาหรือคำส่ังคำรองศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
และคำวินจิ ฉยั ของประธานศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษ

ประธานคณะท่ีปรกึ ษา

อโนชา ชวี ิตโสภณ

สุโรจน จนั ทรพิทกั ษ คณะทีป่ รกึ ษา วนี สั นมิ ติ กลุ
พาช่นื แสงจนั ทรเ ทศ วัชรินทร ฤชโุ รจน
วริ ัตน วิศษิ ฏวงศกร
นภิ า ชัยเจรญิ

ประธานคณะทำงาน

พิทกั ษ หลมิ จานนท

ฉันทนา ชมพานิชย คณะทำงาน อิสรา วรรณสวาท
มณฑาทพิ ย ตง้ั วชิ าชาญ สุธรรม สธุ มั นาถพงษ
รตมิ า ชยั สโุ รจน รุง ระวี โสขมุ า นภกมล หะวานนท สวา งแจง
มนเุ ชษฐ โรจนศิริบุตร
อมั ภสั ชา ดษิ ฐอำนาจ

คณะทำงานและผชู ว ยเลขานกุ าร

ปทมา สมานเกียรติสกุล จฑุ ามาศ สนุ ทรชวี วุฒิ แมนสรวง มณโี ชติ

สวุ ัฒน ชจู ันทร ศกั ดา เขตเจรญิ สนธยา ถนอมจิตร

กฤตภาส ทองฟมู เดอื น รณดิ า เอบ็ ศรี กานตพชิ าณัช ตญั จพัฒนก ุล

นันทกิ านต เทียนวรรณกิจ ภทั รสดุ า วรสาร วนรัตน คงทอง

เบญจวรตั ถ ทองกูล เพชรลดา สำลีทอง สทุ ธวิชญ แพเรอื ง


Click to View FlipBook Version