คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษที่ ๒๔๘๗/๒๕๖๐ เดอะ ชลิ ลิงตัน ทูล คมั ปะนี
ลมิ ิเต็ด กบั พวก โจทก
นางสาวอมุ าพร บุญเสถยี รวงศ
กับพวก จำเลย
พ.ร.บ. เครือ่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖, ๑๓
ปญ หาวา มเี หตทุ จ่ี ะเพกิ ถอนคำสง่ั นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๒๔๕/๒๕๕๔
และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๑๐๒๙/๒๕๕๗ หรอื ไมน น้ั
เมื่อพิจารณาถึงเครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ แลว ปรากฏวาเครื่องหมายดังกลาว
แบงเปนสองสวนเทาๆ กัน สวนบนมีขอความอักษรโรมันวา CROCODILE HOLDING
GOLDEN MEDAL อีกสว นหนึง่ เปนรปู จระเขป ระดิษฐ หนั หวั ไปทางซา ยปลายหางปดขน้ึ
ลกั ษณะกำลงั อา ปากคาบเหรยี ญทรงกลมขนาดใหญ อาจเรยี กขานไดว า จอ-ระ-เข- คาบ-
เหรียญ-ทอง หรือ ครอค-โค-ไดล-โฮล-ดิ้ง-โกล-เดน-เม-ดัล สวนเครื่องหมายการคาของ
โจทกทั้งสอง เปนรูปจระเขประดิษฐในรูปแบบตาง ๆ โดยเปนรูปประดิษฐ บางรูปแบบมี
ตวั อกั ษร คำวา “CROCODILE” และ “ตราจระเข” ไมม รี ปู ประดษิ ฐแ ละอาจเรยี กขานไดว า
ครอค-โค-ไดล หรือ ตรา-จอ-ระ-เข และบางรูปแบบเปนตัวอักษรผสมกันโดยมีรูปจระเข
ประดษิ ฐแ ละตวั อกั ษรโรมนั คำวา “CHILLINGTON” และ “CROCODILE” ซง่ึ อาจเรยี กขาน
ไดว า ชลิ -ลงิ -ตนั ครอค-โค-ไดล หรอื จอ-ระ-เข- ชลิ -ลงิ -ตนั เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั เครอ่ื งหมาย
การคา ของจำเลยท่ี ๑ เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกท ง้ั สองเหน็ ไดช ดั เจนวา มคี วามแตกตา ง
กนั ทง้ั เรอ่ื งทา ทางของจระเข ตวั อกั ษรทน่ี ำมาประกอบรปู ประดษิ ฐ และรายละเอยี ดอน่ื ๆ
ตลอดจนเสียงเรียกขาน จากรูปลักษณะและเสียงเรียกขานที่แตกตางกันสาธารณชน
สามารถแยกแยะไดถ งึ ความแตกตา งไดช ดั เจน แมจ ะจดทะเบยี นเพอ่ื ใชก บั จำพวกสนิ คา
และรายการสินคาอยางเดียวกัน ก็ไมทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปน
เจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของสินคาได เครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑
จงึ ชอบทจ่ี ะรบั จดทะเบยี นไดไ มต อ งหา มตามมาตรา ๖, ๑๓ แหง พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔
_______________________________
๙๑
โจทกท ง้ั สองฟอ งขอใหเ พกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๒๕๕/๒๕๕๔
และคำวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ ๑๐๒๙/๒๕๕๗ ขอใหจำเลยที่ ๑
ถอนคำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา คำขอเลขท่ี ๗๓๒๑๖๘ หากไมป ฏบิ ตั ติ ามขอใหถ อื เอา
คำพิพากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาของจำเลยที่ ๑ และหามมิใหจำเลยที่ ๑ ยื่นขอ
จดทะเบยี นหรอื เขา เกย่ี วขอ งไมว า ในทางใด ๆ กบั เครอ่ื งหมายการคา ตามคำขอดงั กลา วอกี ขอให
จำเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ ยตุ กิ ารผลติ และจำหนา ยสนิ คา จอบทใ่ี ชเ ครอ่ื งหมายการคา ตามเอกสารทา ย
คำฟองกับขอใหจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ รวมกันชดใชคาเสียหายแกโจทกที่ ๑ และที่ ๒ แตละราย
เปน รายเดอื น เดอื นละ ๕๐๐,๐๐๐ บาทตอ รายนบั แตว นั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไปจนกวา จำเลยท่ี ๑
และท่ี ๒ จะยตุ ิการกระทำละเมิดตามฟอ งขอ ๖
จำเลยท่ี ๑ ถึงที่ ๑๓ ใหการขอใหยกฟอ ง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง คาฤชา
ธรรมเนยี มใหเ ปนพบั
โจทกท ง้ั สองอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสองประการแรกวา กรณีมีเหตุที่จะ
เพิกถอนคำวินิจฉัยของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาที่ ๒๕๕/๒๕๕๔ และคำวินิจฉัยอุทธรณ
ของคณะกรรมการเคร่ืองหมายการคาที่ ๑๐๒๙/๒๕๕๗ หรอื ไม เห็นวา จระเขเปน สัตวชนดิ หน่งึ
ที่มีอยูตามธรรมชาติและเปนที่รูจักกันโดยทั่วไป บุคคลทั่วไปมีสิทธินำรูปจระเข หรือนำอักษร
โรมันคำวา CROCODILE ซึ่งมีความหมายตามพจนานุกรมวา จระเข มาใชเปนเครื่องหมาย
การคา ได การทโ่ี จทกท ง้ั สองนำรปู จระเขห รอื อกั ษรโรมนั คำวา CROCODILE ไปใชเ ปน เครอ่ื งหมาย
การคา ของตน ไมเ ปน การตดั สทิ ธบิ คุ คลอน่ื ในอนั ทจ่ี ะใชร ปู จระเข หรอื อกั ษรโรมนั คำวา CROCODILE
เปนสวนประกอบของเครื่องหมายการคา เพียงแตผูที่จะนำรูปจระเขหรืออักษรโรมันคำวา
CROCODILE ไปใชใ นภายหลงั ตอ งทำใหเ ครอ่ื งหมายการคา นน้ั มลี กั ษณะแตกตา งจากเครอ่ื งหมาย
การคา ของโจทกท ง้ั สองทไ่ี ดใ ชม ากอ นมากพอทจ่ี ะไมท ำใหส าธารณชนสบั สนหรอื หลงผดิ ในความ
เปนเจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของสินคา ในเรื่องนี้โจทกทั้งสองอุทธรณวา เครื่องหมาย
การคา ของจำเลยท่ี ๑ มอี งคป ระกอบหลกั หรอื สาระสำคญั อนั เปน ลกั ษณะเดน อยทู ร่ี ปู จระเข และ
คำวา CROCODILE ซึ่งแปลวา จระเข เชนเดียวกับเครื่องหมายการคาของโจทกทั้งสอง จึงสื่อ
ความหมายถึง จระเข เชนเดียวกับเครื่องหมายการคาของโจทกทั้งสอง และเรียกขานไดเปน
อยา งเดยี วกนั ไดว า ตราจระเข สาธารณชนทพ่ี บเหน็ เครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองฝา ยจงึ มโี อกาสสบั สน
๙๒
หรือหลงผิดในระหวางเครื่องหมายการคาของทั้งสองฝายได เห็นวา เมื่อพิจารณาเครื่องหมาย
การคา ของจำเลยท่ี ๑ แลว ปรากฏวา เครอ่ื งหมายดงั กลา วแบง เปน สองสว นเทา ๆ กนั
สวนบนมีขอความอักษรโรมันวา CROCODILE HOLDING GOLDEN MEDAL ตัวอักษรสีดำ
พื้นหลังสีขาว สวนลางเปนรูปจระเขประดิษฐที่หันขางตามยาว หันหัวไปทางดานซายปลายหาง
ปด ขน้ึ ลกั ษณะกำลงั อา ปากคาบเหรยี ญทรงกลมขนาดใหญซ ง่ึ ทำใหเ ปน ทส่ี งั เกตจดจำไดว า จระเข
ตามเครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ เปน จระเขค าบเหรยี ญ ลกั ษณะเดน จงึ ไมไ ดม เี พยี งรปู จระเข
อยา งเดยี ว รปู จระเขแ ละเหรยี ญอยบู นพน้ื หลงั สดี ำ ทง้ั สองสว นอยภู ายในกรอบรปู วงรี สำหรบั เสยี ง
เรยี กขาน เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ อาจเรยี กขานไดว า จระเขค าบเหรยี ญหรอื จระเขค าบ
เหรยี ญทอง หรือ ครอค-โค-ไดล- โฮล-ดิง้ -โกล-เดน -เม-ดลั สว นเครอ่ื งหมายการคาท่โี จทกท ้งั สอง
กลา วอา ง มลี กั ษณะดงั น้ี เครอ่ื งหมายการคา ตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
เลขท่ี ค.๑๖๗๓๒๐ เปน รปู จระเขป ระดษิ ฐห นั ขา งตามยาวหนั หวั ไปทางดา นขวา ไมอ า ปาก ปลายหาง
ปดลงเล็กนอย ไมมีตัวอักษรใด ๆ และไมมีกรอบ อาจเรียกขานไดวา จระเข เครื่องหมายการคา
ตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค.๑๒๒๘๗ มเี พยี งอกั ษรโรมนั คำวา
CROCODILE ซงึ่ แปลวา จระเข ไมมีรปู ประดิษฐ อาจเรยี กขานไดวา จระเข หรอื ครอค-โค-ไดล
เครื่องหมายการคา ตามสำเนาทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค.๑๘๗๗ มี
เพยี งอกั ษรภาษาไทยคำวา ตราจระเข ไมม รี ปู ประดษิ ฐ อาจเรยี กขานไดว า ตราจระเข เครอ่ื งหมาย
การคา ตามสำเนาประกาศโฆษณา เปนรูปประดิษฐเสือขี่จระเข มือขวาถือวัตถุคลาย
จอบ มอื ซา ยถอื สายบงั เหยี น หางเสอื และหางจระเขช ขู น้ึ สงู ไมม ตี วั อกั ษรใด ๆ อาจเรยี กขานไดว า
เสอื ขจ่ี ระเข เครอ่ื งหมายการคา ตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค.๒๒๓๖๖๑
เปนรูปจระเขประดิษฐกำลังอาปาก หันหัวไปทางดานซาย ปลายหางปดขึ้น ดานในปากมีวัตถุ
ทรงกลมขนาดเล็กมาก ดานลางมีเสนหยักและเสนโคง ที่เปนเสนแบงระหวางบนบกและในน้ำ
แตไมม ีตวั อกั ษรใด ๆ และไมม กี รอบ อาจเรียกขานไดวา จระเข เคร่ืองหมายการคา
ตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค.๘๙๙๐๙ เปน รปู จระเขป ระดษิ ฐก ำลงั อา ปากเพยี ง
เล็กนอยหันหัวไปทางดานซาย ปลายหางปดขึ้น ลำตัวมีเกล็ดสองแถว ดานลางมีเสนหยักและ
เสนโคงที่เปนเสนแบงระหวางบนบกและในน้ำ มีตนหญา แตไมมีตัวอักษรใด ๆ และไมมีกรอบ
อาจเรียกขานไดวา จระเข เครื่องหมายการคา เปนรูปประดิษฐจระเขลักษณะเดียวกับ
จระเขในเครื่องหมายการคาเลขที่ ค.๑๖๗๓๒๐ ดานบนมีอักษรโรมันคำวา CHILLINGTON
ดานลางมีอักษรโรมันคำวา CROCODILE รูปและตัวอักษรทั้งหมดอยูภายในกรอบสี่เหลี่ยมซึ่ง
แบงเปนสามสวน อาจเรียกขานไดวา ชิล-ลิง-ตัน-ครอค-โค-ไดล หรือ จอ-ระ-เข-ชิล-ลิง-ตัน สวน
๙๓
เคร่อื งหมายการคา เปนรปู ประดิษฐจระเขลกั ษณะเดียวกบั จระเขในเครื่องหมายการคา
เลขที่ ค.๑๖๗๓๒๐ แตอยูภายในกรอบวงกลมที่มีแพรแถบสีทึบขนานกับเสนรอบวงยกเวน
ตรงสว นหางและสว นปากของจระเข อาจเรียกขานไดว า จระเข เม่ือเปรยี บเทียบกับเครอื่ งหมาย
การคาของจำเลยที่ ๑ กับเครื่องหมายการคาที่โจทกทั้งสองกลาวอางแลวเห็นไดชัดเจนวามี
ความแตกตา งกนั ทง้ั เรอ่ื ง ทา ทางของจระเข ตวั อกั ษรทน่ี ำมาประกอบรปู ประดษิ ฐ และรายละเอยี ด
อน่ื ๆ ตลอดจน เสยี งเรยี กขาน จากรปู ลกั ษณะและเสยี งเรยี กขานทแ่ี ตกตา งกนั ดงั กลา ว สาธารณชน
สามารถแยกแยะไดว า เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ มคี วามแตกตา งจากเครอ่ื งหมายการคา
ของโจทกทั้งสองไดชัดเจน แมจะจดทะเบียนเพื่อใชกับจำพวกและรายการสินคาอยางเดียวกัน
ก็ไมทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปนเจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของ
สินคาได ที่โจทกทั้งสองอุทธรณวา สินคาจอบภายใตเครื่องหมายการคารูปและ/หรือคำตาง ๆ
ที่สื่อความถึง จระเขของโจทกที่ ๑ เปนสินคาที่มีจำหนายในประเทศตาง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งใน
ประเทศไทย เปนเวลานานกวา ๑๐๐ ป แลว สินคาภายใตเครื่องหมายการคาดังกลาวจึงเปนที่
รูจักของผูใชสินคาดังกลาวซึ่งโดยทั่วไปคือ เกษตรกร ชาวไร ชาวนา หรือบุคคลผูที่ทำงานดาน
การกอ สรา งเปน อยา งดี การจดจำรบั รตู อ เครอ่ื งหมายดงั กลา วของโจทกโ ดยผใู ชก ลมุ ดงั กลา วมกั
เปน การจดจำรบั รใู นลกั ษณะวา เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกท ่ี ๑ ใชก บั สนิ คา จอบคอื เครอ่ื งหมาย
ทใ่ี ชร ปู จระเข และเรยี กขานวา ตราจระเขโ ดยมไิ ดจ ดจำวา รปู จระเขน น้ั มลี กั ษณะทา ทางเปน อยา งไร
มีถอยคำประกอบการใชรูปจระเขหรือไม หรือมีรายละเอียดอื่นปรากฏอยูดวยหรือไม เมื่อผูใช
กลมุ ดงั กลาวพบเห็นเคร่ืองหมายการคาของจำเลยที่ ๑ จงึ มีโอกาสสงู ทจ่ี ะสบั สนหลงผิดระหวาง
เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกท ่ี ๑ กบั เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ นน้ั เหน็ วา โจทกท ง้ั สอง
กลาวอางทำนองวา สาธารณชนผูใชสินคาจอบเขาใจวาสินคาจอบที่ใชเครื่องหมายการคารูป
จระเขเปนสินคาของโจทกที่ ๑ เทานั้น โดยไมสนใจจดจำรายละเอียดอื่น ๆ แตโจทกทั้งสองไมมี
พยานหลักฐานยืนยันวา สาธารณชนผูใชสินคาจอบมีความเขาใจตามที่โจทกทั้งสองกลาวอาง
จริงหรือไม นอกจากนี้ยังปรากฏวาในทองตลาดมีจำหนายสินคาจอบภายใตเครื่องหมายการคา
รปู จระเขซ ึง่ ไมใชข องโจทก ไดแก ตราจระเข ๓ ดาว ของบริษทั จระเข ๓ ดาว จำกดั ตามสำเนา
ทะเบียนเครื่องหมายการคาและสำเนารายการสินคาจากเว็บไซตยอมแสดงวาในการเลือกซื้อ
สนิ คา จอบทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา รปู จระเข ผซู อ้ื ยงั ตอ งสงั เกตรายละเอยี ดของเครอ่ื งหมายการคา ดว ย
ประกอบกับโจทกที่ ๑ ไมมีสิทธิหวงกันการใชรูปจระเข และคำวา จระเข แตเพียงผูเดียว
ดังนั้นแมเครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ จะใชรูปจระเข และสวนหนึ่งของเสียงเรียกขานมี
คำวาจระเขแตเมื่อสาธารณชนสามารถแยกแยะความแตกตางระหวางเครื่องหมายการคาของ
๙๔
จำเลยท่ี ๑ กบั โจทกท ่ี ๑ ไดแ ลว เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ ดงั กลา วกไ็ มต อ งหา มมใิ หร บั
จดทะเบียนตามมาตรา ๑๓ แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ สวนที่โจทก
ทั้งสองอางอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๔๘๐/๒๕๐๖ นั้น เห็นวา ลักษณะเดนของเครื่องหมาย
การคา ทปี่ รากฏในคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา เลขที่ ๒๙๔๑๔ และเลขที่ ๓๐๔๐๒ ตาม
สำเนาประกาศโฆษณาพพิ าทในคดดี งั กลา วแตกตา งจากเครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ ในคดนี ้ี
จึงไมอ าจนำผลแหง คดมี าเทียบเคียงกันได สวนที่โจทกท ั้งสองอุทธรณวาจำเลยท่ี ๑ มิไดบงั เอญิ
คิดเลือกใชรูปจระเข และคำวา CROCODILE ที่โจทกทั้งสองไดใชและจดทะเบียนอยูกอนแลว
แตจ ำเลยท่ี ๑ ซง่ึ อยใู นวงการสนิ คา อปุ กรณก อ สรา งรวมถงึ สนิ คา จอบและรจู กั ชอ่ื เสยี งเกยี รตคิ ณุ
และความแพรหลายของเครื่องหมายการคารูปและคำตางๆ ที่สื่อถึงจระเขที่ใชกับสินคาจอบ
ของโจทกท ง้ั สองอยกู อ นแลว ประสงคจ ะแอบองิ แสวงหาประโยชนจ ากชอ่ื เสยี งและความแพรห ลาย
ของเครื่องหมายการคาของโจทกทั้งสอง จึงจงใจใชเครื่องหมายการคารูปและคำที่สื่อความถึง
จระเขเชนเดียวกับเครื่องหมายการคาของโจทกทั้งสองและกับสินคาเดียวกันคือ จอบ เปนการ
กระทำที่ไมสุจริตนั้น โจทกทั้งสองมีหนาที่นำสืบใหเห็นประจักษวาจำเลยที่ ๑ กระทำการโดย
ไมสุจริตเพื่ออิงอาศัยประโยชนจากเครื่องหมายการคาของโจทกทั้งสอง ซึ่งตามทางนำสืบของ
โจทกทั้งสองปรากฏเพียงวาโจทกที่ ๑ เริ่มจดทะเบียนเครื่องหมายการคาที่ใชรูปจระเขมาตั้งแต
ป ๒๔๗๔ ตอมาเมื่อป ๒๕๐๙ มีการกอตั้งบริษัทอุตสาหกรรมจระเข (ไทย) จำกัด เพื่อผลิต
เครอ่ื งมอื สำหรบั ใชใ นการกสกิ รรม รวมทง้ั จอบภายใตเ ครอ่ื งหมายการคา รปู และคำทส่ี อ่ื ถงึ จระเข
โดยมโี จทกท ่ี ๒ เปน ผถู อื หนุ ใหญใ นบรษิ ทั และปจ จบุ นั มบี รษิ ทั หลยุ ส ตี เลยี วโนเวนส (ประเทศไทย)
จำกดั เปน ตวั แทนจำหนา ยสนิ คา ในระหวา งป ๒๕๔๙ ถงึ ป ๒๕๕๘ บรษิ ทั อตุ สาหกรรมจระเข (ไทย)
จำกดั มยี อดผลติ สนิ คา จอบและยอดขายสนิ คา จอบในประเทศไทยแตไ มป รากฏหลกั ฐานทแ่ี สดง
การโฆษณาสนิ คา จอบในสอ่ื ตา ง ๆ หรอื ทส่ี าธารณะ สว นทโ่ี จทกท ง้ั สองอา งสง มลี กั ษณะเปน เพยี ง
แคต็ ตาลอ็ กสนิ คา เทา นน้ั ประกอบกบั ไมม หี ลกั ฐานวา ในปจ จบุ นั กลมุ สาธารณชนทเ่ี กย่ี วขอ งรจู กั
สินคาจอบของโจทกทั้งสองเปนอยางดีแมโจทกทั้งสองอางวาสินคาของโจทกทั้งสองไดรับความ
นิยมแพรหลายจนมีผูลอกเลียนแบบเรื่อยมา แตสำเนาประกาศเตือนการปลอมแปลงหรือการ
เลยี นแบบสนิ คา จอบตราจระเขท างหนงั สอื พมิ พ มตี ง้ั แตป ๒๔๕๘ และป ๒๕๔๘ ซง่ึ เปน เวลาหา ง
จากวนั ทจ่ี ำเลยท่ี ๑ ยน่ื คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา มาก พยานหลกั ฐานเทา ทโ่ี จทกท ง้ั สอง
นำสืบยังไมเพียงพอที่จะรับฟงวาเครื่องหมายการคารูปจระเขของโจทกทั้งสองเปนเครื่องหมาย
ที่มีชื่อเสียงแพรหลาย และมีขอเท็จจริงที่เชื่อมโยงใหเห็นวาจำเลยที่ ๑ กระทำการโดยไมสุจริต
กลบั ปรากฏวา จำเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ มนี างอษุ รตั นห รอื นางอษุ า พยานจำเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ ซง่ึ เปน
๙๕
มารดาของจำเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ เบกิ ความประกอบบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ วา
พยานไดแนะนำใหจำเลยที่ ๑ ใชรูปจระเขคาบเหรียญทองประกอบเปนรูปเครื่องหมายการคา
เนอ่ื งจากรปู จระเขค าบเหรยี ญทองเคยไดร บั การพจิ ารณาจากนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ให
รับจดทะเบียนมาแลว ขอเท็จจริงปรากฏจากสำเนาหนังสือคูมือรับจดทะเบียนวา เมื่อป ๒๕๓๐
นางอุษาเคยจดทะเบียนเครื่องหมายการคารูปจระเขคาบเหรียญทอง เพื่อใชกับสินคาในจำพวก
ที่ ๕๐ รายการสินคาจำพวกที่ ๕๐ ทั้งจำพวก ยกเวนผาขอบกระโปรง กระเปานักเรียน กระดุม
ตา ง ๆ ตามทเ่ี บกิ ความจรงิ และรปู จระเขค าบเหรยี ญทอง ตามประกาศโฆษณามลี กั ษณะเหมอื น
กับรูปจระเขตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ๗๓๒๑๖๘ ของจำเลยที่ ๑ จึงเปน
ไปไดวาจำเลยที่ ๑ นำรูปจระเขซึ่งเปนสวนหนึ่งของเครื่องหมายการคาที่นางอุษามารดาเคยใช
มากอนมาใชเปนสาระสำคัญของเครื่องหมายการคาตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
เลขท่ี ๗๓๒๑๖๘ สว นกรณที น่ี างอษุ าขณะทใ่ี ชช อ่ื วา นางกนกกลุ เคยยน่ื ขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคาที่คลายกับเครื่องหมายการคาตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา แตมีขอความวา
สินคาคือคุณภาพ TRADEMARK อยูดานลางรูปจระเขคาบเหรียญ เพื่อใชกับสินคาในจำพวก
ท่ี ๘ รายการสนิ คา จอบเมอ่ื เดอื นเมษายน ๒๕๓๕ ตามสำเนาคำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
เลขที่ ๒๒๖๗๖๓ และโจทกที่ ๒ เคยยื่นคำคัดคานตามสำเนาคำคัดคานการขอจดทะเบียนแลว
นายทะเบียนเครื่องหมายการคาจำหนายคำขอจดทะเบียนเนื่องจากนางอุษาละทิ้งคำขอตาม
มาตรา ๓๖ วรรคสอง แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ เปน สทิ ธขิ องนางอษุ า
ทจ่ี ะเลอื กดำเนนิ การกบั คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของตนอยา งไรกไ็ ด สว นกรณที จ่ี ำเลย
ท่ี ๑ เคยยน่ื ขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ทค่ี ลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา ตามคำขอจดทะเบยี น
เครอ่ื งหมายการคา แตพ น้ื หลงั ตวั อกั ษรเปน สเี หลอื ง และรปู จระเข กบั รปู เหรยี ญเปน สที อง เพอ่ื ใช
กบั สนิ คา ในจำพวกท่ี ๘ รายการสนิ คา จอบ ประแจดดั เหลก็ เมอ่ื เดอื นตลุ าคม ๒๕๔๖ ตามคำขอ
จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา คำขอเลขท่ี ๕๓๓๓๗๕ ปรากฏวา นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
จำหนา ยคำขอดงั กลา ว เนอ่ื งจากจำเลยท่ี ๑ ละทง้ิ คำขอตามมาตรา ๔๐ วรรคสอง แหง พระราชบญั ญตั ิ
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งเปนเรื่องที่นายทะเบียนเครื่องหมายการคามีคำสั่งใหจด
ทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา แลว และมหี นงั สอื แจง ใหจ ำเลยท่ี ๑ ชำระคา ธรรมเนยี ม แตจ ำเลยท่ี ๑
ไมช ำระคา ธรรมเนยี มภายในกำหนดเวลา การยน่ื คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของนางอษุ า
และจำเลยที่ ๑ กอนหนาที่จำเลยที่ ๑ จะยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาในคดีนี้
ยังไมพอพิสูจนไดวานางอุษาและจำเลยที่ ๑ พยายามลอกเลียนเครื่องหมายการคาของโจทก
ทั้งสองมาตั้งแตแรก ขอเท็จจริงจึงรับฟงไมไดวาจำเลยที่ ๑ กระทำการโดยไมสุจริตลอกเลียน
๙๖
เครื่องหมายการคาของโจทกทั้งสอง ดังนั้นที่นายทะเบียนเครื่องหมายการคา คณะกรรมการ
เครื่องหมายการคาและศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยเปน
แนวทางเดยี วกนั วา เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ ชอบทจ่ี ะรบั จดทะเบยี นไดโ ดยไมต อ งหา ม
ตามมาตรา ๑๓ แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ นน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั
พิเศษเห็นพองดวยกรณีไมมีเหตุที่จะเพิกถอนคำวินิจฉัยของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาที่
๒๕๕/๒๕๕๔ และคำวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ ๑๐๒๙/๒๕๕๗
อทุ ธรณข องโจทกทั้งสองขอน้ฟี งไมข ้นึ
มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกทั้งสองประการตอมาวา การกระทำของ
จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ทำใหโจทกทั้งสองไดรับความเสียหายหรือไม เห็นวา ตามคำฟองขอ ๖
โจทกทั้งสองอางเหตุการณละเมิดสิทธิวา เปนเพราะเครื่องหมายการคาของทั้งฝายโจทกทั้งสอง
และฝายจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ปรากฏรูปและคำที่มุงหมายสื่อความถึงจระเข และเรียกขานไดวา
จระเข เชนเดียวกัน และทั้งใชกับสินคาที่โจทกทั้งสองไดใชและ/หรือไดรับการจดทะเบียนไวแลว
คือ จอบ จึงอาจลวงสาธารณชนใหสับสนหลงผิดไดวาสินคาที่จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ผลิตและ
จำหนายเปนสินคาของโจทกที่ ๑ และ/หรือ โจทกที่ ๒ หรือโจทกทั้งสองมีสวนเกี่ยวของอยูดวย
ในทางใดทางหนง่ึ โดยขยายมาใชเ ครอ่ื งหมายการคา ตามทจ่ี ำเลยท่ี ๑ ขอจดทะเบยี น ดงั นน้ั เมอ่ื
ไดวินิจฉัยแลววา เครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ มิไดทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดใน
ความเปน เจา ของของสนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ ของสนิ คา กลา วคอื สาธารณชนผซู อ้ื ทราบวา สนิ คา
จอบภายใตเ ครอ่ื งหมายการคา ไมใ ชส นิ คา ของโจทกท ง้ั สอง จงึ ตอ งฟง วา การกระทำของ
จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไมไดทำใหโจทกทั้งสองไดรับความเสียหาย อุทธรณขอนี้ของโจทกทั้งสอง
ฟงไมข ึน้ เชนเดยี วกนั
พพิ ากษายนื คาฤชาธรรมเนยี มในชั้นอทุ ธรณใหเ ปนพับ.
(สรุ พล คงลาภ - ไชยยศ วรนนั ทศ ิริ - จุมพล ภิญโญสินวัฒน)
ฐติ ิ สุเสารจั - ยอ
ปรานี เสฐจินตนิน - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี ึงทีส่ ุด
๙๗
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๑๙/๒๕๖๑ เอ็กซเ พรสส, แอลแอลซี โจทก
นางสาวพชั รากร ประภาเดชรตั ตกลุ
กบั พวก จำเลย
ป.วิ.พ. มาตรา ๔๗
พ.ร.บ. เคร่ืองหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖, ๑๓
ปญ หาขอ แรกวา มกี ารมอบอำนาจใหฟ อ งคดนี ช้ี อบหรอื ไมน น้ั เมอ่ื สำเนาหนงั สอื
มอบอำนาจเปนสำเนาหนังสือมอบอำนาจใหจัดการดูแลเครื่องหมายการคาของโจทก
รวมทง้ั ดำเนนิ คดที เ่ี กย่ี วขอ ง ปรากฏผลู งลายมอื ชอ่ื มอบอำนาจคอื นาย ล. ระบตุ ำแหนง วา เปน
ผชู ว ยเลขานกุ ารบรษิ ทั โดยลงวนั ท่ี ๑๗ มนี าคม ๒๕๕๔ และมเี อกสารรบั รองการลงลายมอื
ชอ่ื จากโนตารปี บ ลกิ แลว ในวนั เดยี วกนั และมกี ารรบั รองตอ กนั มาตามลำดบั โดยมี นาย น.
เปน ผรู บั มอบอำนาจชว ง และโจทกใ หถ อ ยคำยนื ยนั ในชน้ั พจิ ารณาวา นาย ล. เปน ผมู อี ำนาจ
กระทำการแทนโจทกแลว ตามสำเนาหนังสือยินยอมแทนการประชุมสมัยวิสามัญของ
คณะกรรมการบรษิ ทั ซง่ึ เปน เอกสารทจ่ี ดั ทำขน้ึ ภายหลงั การมอบอำนาจในคดนี ้ี และ นาย ล.
ไดลงลายมือชื่อตอหนา นาง ม. ในฐานะโนตารีปบลิก พยานหลักฐานจึงพอรับฟงไดวา
การมอบอำนาจของโจทกถอื วา ครบถว นตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๔๗ วรรคสามแลว
ปญหาขอตอไปมีวา เครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ คลายกับเครื่องหมาย
การคา ของโจทกท จ่ี ดทะเบยี นไวแ ลว จนอาจทำใหส าธารณชนสบั สนหรอื หลงผดิ ในความ
เปน เจา ของสนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ หรอื ไมน น้ั เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ ประกอบ
ดว ยสาระสำคญั คอื ภาพประดษิ ฐข น้ึ เปน ลวดลายโคง เวา ทม่ี รี ายละเอยี ดสว นตา ง ๆ จำนวน
มาก โดยใชสีพื้นทึบกับสวนที่เปนลวดลายซึ่งจำเลยที่ ๑ ใหถอยคำวาลวดลายดังกลาว
เปนรูปมังกรและสิงหประกบกัน และมีตัวอักษรโรมันที่สวนบนเครื่องหมายอานไดวา
EXPRESS นอกจากนั้นสวนดานบนสุดของเครื่องหมายเปนลวดลายซึ่งจำเลยที่ ๑ ให
ถอยคำวาเปนลวดลายของเลข ๙ วางอยูเหนือลวดลายของตัวอักษร MEN ในภาพรวม
เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ จงึ ประกอบดว ยคำและภาพทป่ี ระดษิ ฐข น้ึ ประกอบกนั
หลายสวน โดยมีเพียงคำวา EXPRESS ที่ปรากฏเทานั้นที่อาจคลายหรือเกี่ยวของกับ
เครอ่ื งหมายการคา หรอื เครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทก นอกจากนน้ั แลว ไมม สี ว นใดคลา ย
กบั เครอ่ื งหมายการคา หรอื เครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทกค อื EXPRESS WORLD BRAND,
๙๘
EXPRESS และ EXPRESSFASHION เลย ภาพเครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมายบรกิ าร
ของโจทกมีสาระสำคัญเปนตัวพิมพโรมันทั่วไป โจทกไมสามารถผูกขาดการใชตัวพิมพ
อักษรโรมันทั่วไปหรือคำที่เกิดขึ้นจากตัวพิมพอักษรโรมันทั่วไปดังกลาวได และโจทกไม
สามารถหา มผอู น่ื ใชค ำทว่ั ไปรวมทง้ั ตวั พมิ พอ กั ษรโรมนั ทว่ั ไปดว ย สทิ ธทิ โ่ี จทกไ ดร บั จาก
การจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา หรอื เครอ่ื งหมายบรกิ ารของตวั พมิ พอ กั ษรโรมนั ทว่ั ไป
จึงมีอยูในกรอบที่เหมาะสมเทานั้น มิฉะนั้นจะกลายเปนโจทกสามารถผูกขาดคำวา
“EXPRESS” “WORLD” “BRAND” “EXPRESSFASHION” และ “FASHION” ไวใชเพียง
คนเดยี วได ในขณะทบ่ี คุ คลอน่ื ไมส ามารถนำคำทว่ั ไปดงั กลา วมาใชเ ปน เครอ่ื งหมายหรอื
สวนของเครื่องหมายไดอีกตอไป และเมื่อเปรียบเทียบภาพเครื่องหมายการคาของ
จำเลยท่ี ๑ ทม่ี ภี าพประดษิ ฐข น้ึ เปน ลกั ษณะลวดลายโคง เวา และมรี ายละเอยี ดจำนวนมาก
เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ จงึ แตกตา งจากเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกอ ยา งชดั เจน
เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยท่ี ๑ ไมค ลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมายบรกิ าร
ของโจทกท ไ่ี ดจ ดทะเบยี นไวแ ลว จนอาจทำใหส าธารณชนสบั สนหรอื หลงผดิ ในความเปน
เจา ของสนิ คาหรอื แหลงกำเนดิ ของสินคา
______________________________
โจทกฟ อ งขอใหบ งั คับจำเลยท่ี ๑ ถอนคำขอจดทะเบียนเคร่อื งหมายการคา คำขอเลขท่ี
๗๔๐๓๖๕ หากไมป ฏบิ ตั ติ ามใหถ อื เอาคำพพิ ากษาแทนการแสดงเจตนา ขอใหเ พกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั
ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๘๔/๒๕๕๔ และคำสง่ั ของคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา
ท่ี ๓๒/๒๕๕๖
จำเลยที่ ๑ และจำเลยที่ ๒ ใหการขอใหยกฟอ ง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหเ พกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั
ของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาที่ ๘๔/๒๕๕๔ และคำวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการ
เครือ่ งหมายการคา ที่ ๘๒๖/๒๕๕๗ คำขออน่ื นอกจากนี้ใหย ก คาฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพบั
จำเลยที่ ๑ และจำเลยที่ ๒ อุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่รับฟงไดในเบื้องตนโดยคูความมิไดโตแยงกันคือ โจทกจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการที่เกี่ยวของกับคดีนี้รวม ๙ คำขอ แยกออกไดเปน
๓ เครอ่ื งหมายไดแ ก เครอ่ื งหมาย จำนวน ๓ คำขอ เพอ่ื ใชก บั สนิ คา
๙๙
หลายจำพวก รวมทั้งจำพวกที่ ๒๕ เครื่องหมาย จำนวน ๔ คำขอ เพื่อใชกับสินคา
หลายจำพวก รวมทั้งจำพวกที่ ๒๕ เครื่องหมาย จำนวน ๒ คำขอ เพื่อ
ใชกบั สนิ คา หลายจำพวก รวมท้งั จำพวกท่ี ๒๕ นอกจากนั้น เม่ือวนั ที่ ๕ สงิ หาคม ๒๕๕๓ โจทก
ยน่ื คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เพอ่ื ใชก บั สนิ คา จำพวกท่ี ๒๕ แตย งั
ไมไดรับการจดทะเบียน สวนจำเลยที่ ๑ จดทะเบียนเครื่องหมายการคาที่เกี่ยวของกับคดีนี้คือ
เครื่องหมาย และ เพื่อใชกับสินคาหลายจำพวกรวมทั้งจำพวกที่ ๒๕
และเคร่อื งหมายการคา ตามคำขอเลขที่ ๗๔๐๓๖๔, ๗๔๐๓๖๕, ๗๔๐๓๖๖
และ ๗๔๐๓๖๗ ตามลำดบั สำหรบั เครอ่ื งหมายการคา ทพ่ี พิ าทกนั ในคดนี ค้ี อื เครอ่ื งหมายการคา
ตามคำขอเลขที่ ๗๔๐๓๖๕ นั้น จำเลยที่ ๑ ยื่นคำขอจดเมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๒ เพื่อ
ใชกับสินคาจำพวกที่ ๒๕ โจทกยื่นคำคัดคานตอนายทะเบียนเครื่องหมายการคา นายทะเบียน
เครื่องหมายการคามีคำวินิจฉัยวาเครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ ไมคลายกับเครื่องหมาย
การคา ของโจทกท จ่ี ดทะเบยี นแลว และไมเ ปน เครอ่ื งหมายทข่ี ดั ตอ ความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรม
อนั ดขี องประชาชนหรอื รฐั ประศาสโยบาย ชอบทจ่ี ะรบั จดทะเบยี นไดต ามคำวนิ จิ ฉยั ของนายทะเบยี น
เครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๘๔/๒๕๕๔ โจทกย น่ื อทุ ธรณค ดั คา นคำวนิ จิ ฉยั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคา คณะกรรมการเครื่องหมายการคามีคำวินิจฉัยวาเครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ กับ
เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกท จ่ี ดทะเบยี นแลว มรี ปู ลกั ษณะแตกตา งกนั และมเี สยี งเรยี กขานตา งกนั
ไมท ำใหส าธารณชนสับสนหรือหลงผดิ ในความเปน เจาของหรอื แหลงกำเนดิ ของสินคา จึงชอบท่ี
จะรบั จดทะเบยี นไดต ามคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๘๒๖/๒๕๕๗
ทางพจิ ารณาโจทกน ำสบื โดยมบี นั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ ของนายนนั ทน พรอ ม
เอกสารและวตั ถพุ ยาน จำเลยท่ี ๑ นำสบื โดยมบี นั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ ของ
นายวเิ ชยี ร และจำเลยท่ี ๑ จำเลยท่ี ๒ นำสบื โดยมบี นั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็
ของนายวชั ระ นางสาวอรรถพร และนายกนก พรอ มเอกสารและวตั ถุพยาน
คดีมีประเด็นตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๑ เปนประเด็นแรกวา โจทกมอบ
อำนาจใหฟองคดีนี้โดยชอบหรือไม เห็นวา เมื่อสำเนาหนังสือมอบอำนาจ ซึ่งเปนสำเนาหนังสือ
มอบอำนาจใหจ ดั การดแู ลเครอ่ื งหมายการคา ของโจทก รวมทง้ั ดำเนนิ คดที เ่ี กย่ี วขอ ง ปรากฏผลู ง
ลายมอื ชอ่ื มอบอำนาจคอื นายลาเซย ระบตุ ำแหนง วา เปน ผชู ว ยเลขานกุ ารบรษิ ทั โดยลงวนั ท่ี ๑๗
มีนาคม ๒๕๕๔ และมีเอกสารรับรองการลงลายมือชื่อดังกลาวจากโนตารีปบลิก ซึ่งมีนางแมรี
ลงลายมือชอ่ื รับรองไวใ นฐานะโนตารปี บ ลกิ ในวันท่ี ๑๗ มนี าคม ๒๕๕๔ ซึง่ เปน วันเดียวกบั วนั ที่
ทำหนังสอื มอบอำนาจ ตามสำเนาหนังสอื ของโนตารีปบ ลกิ และมกี ารรบั รองตอ กนั มาตามลำดบั
๑๐๐
โดยมนี ายนนั ทน ซง่ึ เปน ผรู บั มอบอำนาจชว ง โจทกใ หถ อ ยคำยนื ยนั ในชน้ั พจิ ารณาวา นายลาเซย
เปน ผมู อี ำนาจกระทำการแทนโจทกป รากฏตามสำเนาหนงั สอื ยนิ ยอมแทนการประชมุ สมยั วสิ ามญั
ของคณะกรรมการบรษิ ทั ซง่ึ เปน เอกสารทจ่ี ดั ทำขน้ึ ภายหลงั การมอบอำนาจในคดนี ้ี และนายลาเซย
ไดลงลายมือชื่อมอบอำนาจตอหนานางแมรี ในฐานะโนตารีปบลิกเมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔
พยานหลกั ฐานดงั กลา วพอรบั ฟง ไดว า การมอบอำนาจทท่ี ำในตา งประเทศในคดนี ไ้ี ดท ำขน้ึ ตอ หนา
โนตารีปบลิกซึ่งเปนพยาน การดำเนินการมอบอำนาจของโจทกดังกลาวถือวาครบถวนตามบท
บัญญัติมาตรา ๔๗ วรรคสาม แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงแลว เมื่อฝายจำเลย
มิไดนำสืบหักลางใหเห็นตามที่อางวาหนังสือมอบอำนาจ ไมชอบอยางไร และไมปรากฏเหตุ
อนั ควรสงสยั เกย่ี วกบั อำนาจหนา ทข่ี องบคุ คลทล่ี งลายมอื ชอ่ื ในหนงั สอื มอบอำนาจดงั กลา ว จงึ รบั ฟง
ไดวาโจทกมอบอำนาจใหดำเนินคดีนี้ตามหนังสือมอบอำนาจดังกลาว อุทธรณของจำเลยที่ ๑
ประเดน็ นีฟ้ งไมขึ้น
คดมี ปี ระเดน็ ตอ งวนิ จิ ฉยั ตอ ไปตามอทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๑ และจำเลยท่ี ๒ วา เครอ่ื งหมาย
การคาของจำเลยที่ ๑ คลายกับเครื่องหมายการคาของโจทกที่จดทะเบียนไวแลวจนอาจทำให
สาธารณชนสบั สนหรอื หลงผดิ ในความเปน เจา ของสนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ ของสนิ คา หรอื ไม เหน็ วา
เครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ ประกอบดวยสาระสำคัญคือ ภาพที่ประดิษฐขึ้นเปนลักษณะ
ของลวดลายโคงเวาที่มีรายละเอียดของสวนตาง ๆ จำนวนมาก โดยใชสีพื้นทึบกับสวนที่เปน
ลวดลาย ซึ่งจำเลยที่ ๑ ใหถอยคำวา ลวดลายดังกลาวเปนรูปของมังกรและสิงหประกบกัน และ
มีตัวอักษรโรมันที่สวนบนของเครื่องหมายอานไดวา EXPRESS นอกจากนั้น สวนดานบนสุด
ของเครื่องหมายเปนลวดลายซึ่งจำเลยที่ ๑ ใหถอยคำวาเปนลวดลายของเลข ๙ วางอยูเหนือ
ลวดลายของตัวอักษร MEN ในภาพรวม เครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ จึงประกอบดวยคำ
และภาพที่ประดิษฐขึ้นประกอบกันหลายสวน โดยมีเพียงคำวา EXPRESS ที่ปรากฏเทานั้นที่
อาจคลา ยหรอื เกย่ี วขอ งกบั เครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทก นอกจากนน้ั แลว
ไมม สี ว นใดคลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา และเครอ่ื งหมายบรกิ ารของโจทกเ ลย ในขณะทเ่ี ครอ่ื งหมาย
การคาและเครื่องหมายบริการของโจทกในคดีนี้มีเครื่องหมายแตกตางกัน ๓ เครื่องหมาย คือ
เครอ่ื งหมาย , และ ซง่ึ มลี กั ษณะ
เปนตัวพิมพอักษรโรมันคลายกัน อานไดเปนคำวา EXPRESS WORLD BRAND, EXPESS
และ EXPRESSFASHION ตามลำดบั ภาพเครอ่ื งหมายทง้ั สามของโจทกไ มม ตี วั หนงั สอื หรอื ภาพ
ที่ประดิษฐขึ้นอื่นประกอบ กลาวอีกนัยหนึ่งคือ ภาพเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการ
ของโจทกมีสาระสำคัญเปนตัวพิมพอักษรโรมันทั่วไปอยางเดียวเทานั้น การที่โจทกนำตัวพิมพ
๑๐๑
อักษรโรมันทั่วไปประกอบเปนคำและใชเปนเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการนั้นโจทก
มสี ทิ ธอิ า งวา ตวั พมิ พอ กั ษรโรมนั ทว่ั ไปดงั กลา วเปน สาระสำคญั ของเครอ่ื งหมายได แตเ มอ่ื ตวั พมิ พ
ดังกลาวเปนตัวพิมพอักษรโรมันทั่วไป โจทกไมสามารถผูกขาดการใชตัวพิมพอักษรโรมันทั่วไป
หรอื คำทเ่ี กดิ ขน้ึ จากตวั พมิ พอ กั ษรโรมนั ทว่ั ไปดงั กลา วได และโจทกไ มส ามารถหา มผอู น่ื ใชค ำทว่ั ไป
รวมทั้งตัวพิมพ อักษรโรมันทั่วไปดวย สิทธิที่โจทกไดรับจากการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
หรอื เครอ่ื งหมายบรกิ ารของตวั พมิ พอ กั ษรโรมนั ทว่ั ไปจงึ มอี ยใู นกรอบทเ่ี หมาะสมเทา นน้ั มฉิ ะนน้ั
จะกลายเปนวา เมื่อโจทกนำตัวพิมพอักษรโรมันทั่วไปมาจดเปนเครื่องหมายการคาและ
เครื่องหมายบริการแลว โจทกสามารถผูกขาดคำวา “EXPRESS”, “WORLD”, “BRAND”,
“EXPRESSFASHION” และ “FASHION” ไวใชเพียงคนเดียวได ในขณะที่ผูอื่นไมสามารถ
นำคำทั่วไปดงั กลาวมาใชเปน เคร่อื งหมายหรือสว นของเครอื่ งหมายไดอกี ตอ ไป ซงึ่ เปนไปไมได
เมื่อเปรียบเทียบกับภาพเครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ ที่มีภาพที่ประดิษฐขึ้นเปนลักษณะ
ของลวดลายโคง เวา โดยมรี ายละเอยี ดตา ง ๆ จำนวนมากตามทไ่ี ดว นิ จิ ฉยั มาแลว นน้ั เครอ่ื งหมาย
การคาของจำเลยที่ ๑ จึงแตกตางจากเครื่องหมายของโจทกที่มีเพียงภาพตัวพิมพอักษรโรมัน
ทั่วไปอยางชัดเจน เครื่องหมายการคาของจำเลยที่ ๑ ไมคลายกับเครื่องหมายการคาและ
เครื่องหมายบริการของโจทกที่ไดจดทะเบียนไวแลวจนอาจทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิด
ในความเปนเจาของสินคาหรือแหลงกำเนิดของสินคา อุทธรณของจำเลยที่ ๑ และจำเลยที่ ๒
ขอนี้ฟงขึ้น กรณีไมจำเปนตองวินิจฉัยประเด็นปลีกยอยอื่นในอุทธรณของจำเลยที่ ๑ และ
จำเลยที่ ๒ อกี เพราะไมท ำใหผ ลคดเี ปลีย่ นแปลง
พิพากษากลับใหย กฟอง คา ฤชาธรรมเนียมทั้งสองศาลใหเ ปนพับ.
(จุมพล ภิญโญสนิ วฒั น - ไชยยศ วรนนั ทศ ริ ิ - สรุ พล คงลาภ)
ฐิติ สุเสารจั - ยอ
ปรานี เสฐจนิ ตนิน - ตรวจ
หมายเหตุ ศาลฎีกาพิพากษากลับ ตามคำพิพากษาศาลฎกี าที่ ๒๔๖๓/๒๕๖๓
๑๐๒
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พเิ ศษที่ ๑๓๗๓/๒๕๖๑ เดอะ โยโกฮามา รบั เบอร โก.,
แอลทีดี โจทก
กรมทรัพยสินทางปญ ญา
กับพวก จำเลย
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๒ (๕)
พ.ร.บ. เคร่อื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖, ๑๓
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา
คดที รัพยส ินทางปญ ญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙
แมเ ครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองฝา ยจะมอี กั ษรโรมนั orange ทซ่ี ำ้ กนั แตค ำดงั กลา ว
เปนคำธรรมดาที่มีความหมายในพจนานุกรมซึ่งไมมีบุคคลใดสามารถหวงกันไวใชแต
เพยี งผเู ดยี วได จงึ มสี าระสำคญั ของเครอ่ื งหมายทแ่ี ตกตา งกนั ทง้ั การออกเสยี งเรยี กขาน
ของทงั้ สองเครื่องหมายการคาก็แตกตางกนั เมือ่ เครอ่ื งหมายการคา ท้งั สองเครอื่ งหมาย
มีความแตกตางกันทั้งรูปและคำรวมทั้งเสียงเรียกขานยอมทำใหสาธารณชนสามารถ
สังเกตจดจำหรือแยกแยะความแตกตางของเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายนั้น
ไดโ ดยงา ย
เมื่อคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาและคำวินิจฉัยอุทธรณของ
คณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ไมรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทกเปน
คำสั่งและคำวินิจฉัยที่ไมชอบดวยกฎหมายก็ชอบที่ศาลจะสั่งใหเพิกถอนคำสั่งของ
นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา
ดังกลาว และใหนายทะเบียนเครื่องหมายการคาดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาตามคำขอของโจทกตอไปเทานั้น ศาลไมอาจสั่งใหจำเลยทั้งสอง
ดำเนินการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตามคำขอของโจทกตอไปไดทันที เพราะ
จำเลยทง้ั สองตอ งดำเนนิ การเกย่ี วกบั คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกต าม
ขั้นตอนตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่ศาลทรัพยสินทางปญญา
และการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหจำเลยทั้งสองดำเนินการรับจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาตามคำขอของโจทกตอไป จึงไมถูกตองและเกินคำขอของโจทก
ปญหาขอนี้เปนปญหาขอกฎหมายเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมไมมี
คูความฝา ยใดอทุ ธรณโ ดยตรง ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพิเศษกแ็ กไขเสียใหถกู ตอ งได
______________________________
๑๐๓
โจทกฟ อ ง ขอใหศ าลพพิ ากษาวา เครอ่ื งหมายการคา ตามคำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคา เลขท่ี ๗๘๔๓๙๓ มลี กั ษณะอนั พงึ รบั จดทะเบยี นไดโ ดยไมเ หมอื นหรอื คลา ยกบั เครอ่ื งหมาย
การคา Orange ในกรอบรูปสี่เหลี่ยมตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ๔๓๕๘๕๓
ทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๕๕๘๑๖ ใหเพิกถอนคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมาย
การคา ท่ี พณ ๐๗๐๔/๑๒๘๘ ลงวนั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๕๕ และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการ
เครื่องหมายการคาที่ ๖๔๕/๒๕๕๘ กับใหจำเลยทั้งสองดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคาคำขอเลขท่ี ๗๘๔๓๙๓ ตามขนั้ ตอนของกฎหมายตอไป
จำเลยทั้งสองใหก าร ขอใหย กฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง พิพากษาใหเพิกถอน
คำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคา ที่ พณ ๐๗๐๔/๑๒๘๘ และคำวินิจฉัยอุทธรณของ
คณะกรรมการเครื่องหมายการคา ที่ ๖๔๕/๒๕๕๘ ใหจำเลยทั้งสองดำเนินการรับจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาตามคำขอของโจทกเลขที่ ๗๘๔๓๙๓ ตอไป คาฤชาธรรมเนียมและ
คาทนายความใหเ ปนพบั
จำเลยท้ังสองอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทโ่ี จทกแ ละจำเลยทง้ั สองมไิ ดโ ตแ ยง กนั ในชน้ั อทุ ธรณร บั ฟง ไดว า โจทกเ ปน
นติ บิ คุ คลตามกฎหมายของประเทศญป่ี นุ จำเลยท่ี ๑ เปน นติ บิ คุ คลประเภทสว นราชการ มฐี านะ
เปนกรมในรัฐบาล สังกัดกระทรวงพาณิชย มีหนาที่ปฏิบัติงานตามกฎหมายวาดวยเครื่องหมาย
การคา และมจี ำเลยท่ี ๒ เปน อธบิ ดมี อี ำนาจกระทำการแทน เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๕๓ โจทก
ย่ืนขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา เพื่อใชก บั สนิ คา จำพวกท่ี ๑๒ รายการสินคา ยางลอ
รถยนต ตามสำเนาคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาคำขอเลขที่ ๗๘๔๓๙๓ นายทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคา มคี ำสง่ั วา เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเ หมอื นหรอื คลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา
ของบุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลว คือ เครื่องหมายการคา ของ อ. ซึ่งจดทะเบียนเพื่อ
ใชกับสำหรับสินคาจำพวกที่ ๑๒ รายการสินคา บัลลูนอากาศ เรือเหาะ รถยนต รถจักรยาน
รถจักรยานสามลอ และรถจักรยานยนต เรือ รถ รถโคช และอื่น ๆ ตามคำขอจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาเลขที่ ๔๓๕๘๕๓ ทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๕๕๘๑๖ ตามสำเนา
หนงั สอื ของสำนกั เครอ่ื งหมายการคา ท่ี พณ ๐๗๐๔/๑๒๘๘ ลงวนั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๕๕ และสำเนา
ทะเบียนเครื่องหมายการคา โจทกอุทธรณคำสั่งดังกลาวตอคณะกรรมการเครื่องหมายการคา
ตามสำเนาคำอุทธรณ คณะกรรมการเครื่องหมายการคาพิจารณาโดยเปรียบเทียบเครื่องหมาย
๑๐๔
การคา ของโจทกกับเครื่องหมายการคา ของบุคคลอื่นที่จดทะเบียนไวแลวตาม
ทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๕๕๘๑๖ แลวเห็นวาเครื่องหมายการคาของโจทกมีคำวา
Orange ซึ่งเปนสาระสำคัญของเครื่องหมายและเปนคำ ๆ เดียวกันกับเครื่องหมายการคาที่จด
ทะเบยี นแลว แมเ ครอ่ื งหมายการคา ของโจทกม รี ปู ประดษิ ฐค ลา ยผลสม และมอี กั ษรโรมนั คำวา Oil
ประกอบอยดู ว ย สว นเครอ่ื งหมายการคา ทจ่ี ดทะเบยี นแลว จะมกี รอบสเ่ี หลย่ี มจตั รุ สั สสี ม ประกอบ
อยดู ว ยกต็ าม แตเ มอ่ื พจิ ารณาถงึ การเรยี กขานเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเ รยี กขานไดว า ออเรนจ
ออยล หรือ ออเรนจ สวนเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียนแลวเรียกขานไดวา ออเรนจ นับวา
เครือ่ งหมายการคาของทง้ั สองฝายมเี สยี งเรยี กขานใกลเ คยี งกนั เคร่ืองหมายการคา ของโจทกจงึ
เปนเครื่องหมายที่คลายกันกับเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลว จนอาจ
ทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปนเจาของหรือแหลงกำเนิดของสินคาได เมื่อยื่น
ขอจดทะเบียนสำหรับสินคาจำพวกเดียวกันและรายการสินคามีลักษณะอยางเดียวกัน จึงตอง
หามมิใหรับจดทะเบียนตามมาตรา ๑๓ แหง พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ สำหรับ
หลักฐานแสดงการใชเครื่องหมายการคาที่โจทกนำสง ยังไมเพียงพอที่จะแสดงไดวาโจทกไดใช
เครื่องหมายการคานี้มาเปนเวลานานหรือมีความแพรหลายแลวในประเทศไทย คณะกรรมการ
เครื่องหมายการคาจึงมีมติยืนตามคำสั่งปฏิเสธของนายทะเบียนเครื่องหมายการคา ตามสำเนา
คำวินจิ ฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเคร่ืองหมายการคา ท่ี ๖๔๕/๒๕๕๘
มีปญหาทีต่ อ งวินิจฉัยตามอุทธรณข องจำเลยทั้งสองวา เครือ่ งหมายการคา ของ
โจทกตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา คำขอเลขที่ ๗๘๔๓๙๓ คลายกับเครื่องหมาย
การคา ของบคุ คลอน่ื ทจ่ี ดทะเบยี นไวแ ลว ตามทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค๑๕๕๘๑๖
จนอาจทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปนเจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของ
สินคาหรือไม เห็นวา ลักษณะของเครื่องหมายการคาของโจทกประกอบดวยรูปประดิษฐคลาย
ผลสม และอกั ษรโรมนั คำวา Orange Oil ทอ่ี ยภู ายในผลสม สว นลกั ษณะของเครอ่ื งหมายการคา
ของบุคคลอื่นที่จดทะเบียนไวแลวประกอบดวยกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีสม และอักษรโรมันคำวา
Orange ทอ่ี ยใู นกรอบสเ่ี หลย่ี มบรเิ วณดา นลา ง การทร่ี ปู ทรงและคำแตกตา งกนั อยา งชดั เจนดงั กลา ว
ทำใหสาธารณชนสามารถสังเกตจดจำหรือแยกแยะความแตกตางไดโดยงาย แมเครื่องหมาย
การคาทั้งสองฝายจะมีอักษรโรมันที่ซ้ำกันคือ คำวา Orange แตคำดังกลาวเปนคำธรรมดาที่มี
ความหมายในพจนานกุ รมวา เปน ผลไมช นดิ หนง่ึ (สม ) หรอื สสี ม ซง่ึ ไมม บี คุ คลใดสามารถหวงกนั
ไวใ ชแ ตเ พยี งผเู ดยี วได อกี ทง้ั เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกห าไดม เี ฉพาะอกั ษรโรมนั คำวา Orange
เทานั้น ยังมีอักษรโรมันคำวา Oil ตอทายคำวา Orange ดวย จึงแตกตางจากอักษรโรมันใน
๑๐๕
เคร่ืองหมายการคาของบคุ คลอน่ื ทจี่ ดทะเบยี นไวแ ลว อยา งเดนชัด นอกจากนก้ี ารทม่ี คี ำวา Oil ที่
แปลวา นำ้ มนั ทำใหค วามหมายของคำวา Orange Oil กบั คำวา orange แตกตา งกนั อยา งสน้ิ เชงิ
ดังนั้นตองถือวาเครื่องหมายการคาของโจทกมีคำวา Orange Oil เปนสาระสำคัญ มิใชมีคำวา
Orange เพยี งคำเดยี วทเ่ี ปน สาระสำคญั ในการออกเสยี งเรยี กขาน เครอ่ื งหมายการคา ของโจทก
เรียกขานไดเปนสามพยางควา ออ-เรนจ-ออยล สวนเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นที่
จดทะเบยี นไวแ ลว เรยี กขานเปน สองพยางคว า ออ-เรนจ เสยี งเรยี กขานจงึ แตกตา งกนั เมอ่ื พจิ ารณา
โดยรวมทั้งรูปและคำ ตลอดจนเสียงเรียกขานดังกลาวแลวเครื่องหมายการคาของโจทกมีความ
แตกตางจากเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นที่จดทะเบียนไวแลว สวนกรณีที่โจทกจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาเพื่อใชกับสินคาจำพวกที่ ๑๒ เชนเดียวกับเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่น
ที่ไดจดทะเบียนไวแลวนั้น ปรากฏวารายการสินคาที่โจทกขอจดทะเบียนมีเพียงรายการเดียว
คือ ยางลอรถยนต ซึ่งเมื่อพิจารณาประกอบเอกสารแนบทายเอ (Exhibit A) ทายหนังสือรับรอง
ของโนตารีปบลิกแลว สินคาภายใตเครื่องหมายการคาของโจทกคือยางรถยนต (tire) สวน
เครื่องหมายการคาของบุคคลอ่นื ทจ่ี ดทะเบียนแลวมีรายการสนิ คาท่เี ปนลอ ยานพาหนะ (wheel)
ฝาครอบลอ ดุมลอ แตไมมีรายการสินคาที่เปนยางลอรถยนต นอกจากนี้ลักษณะสินคาภายใต
เครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนแลวเปนยานพาหนะและชิ้นสวนประกอบ
ยานพาหนะซึ่งมีลักษณะตางไปจากยางรถยนต ดังนั้นสาธารณชนสามารถแยกสินคาภายใต
เครื่องหมายการคาของโจทกและของบุคคลอื่นที่จดทะเบียนไวแลวไดอยางสะดวก ขอเท็จจริง
รับฟงไดวาเครื่องหมายการคา ของโจทกตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาคำขอ
เลขท่ี ๗๘๔๓๙๓ ไมค ลายกบั เครอื่ งหมายการคา ของบคุ คลอืน่ ที่จดทะเบียนไวแลว ตาม
ทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๕๕๘๑๖ จนอาจทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดใน
ความเปนเจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของสินคา และเมื่อเครื่องหมายการคาของโจทก
ไมเหมือนหรือคลายกับเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลวตาม พ.ร.บ.
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๓ กรณีไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณของจำเลยทั้งสอง
ที่วาเครื่องหมายการคาของโจทกเปนเครื่องหมายการคาซึ่งตางเจาของไดใชมาแลวดวยกันโดย
สุจริตหรือมีพฤติการณพิเศษที่นายทะเบียนเครื่องหมายการคาเห็นสมควรรับจดทะเบียนตาม
พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๒๗ หรอื ไม อกี เพราะไมท ำใหผ ลคดเี ปลย่ี นแปลง
ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง พิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของ
นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ตามหนงั สอื ของสำนกั เครอ่ื งหมายการคา ท่ี พณ ๐๗๐๔/๑๒๘๘
ลงวนั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๕๕ และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๖๔๕/๒๕๕๘
ศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพเิ ศษเห็นพอ งดว ย อทุ ธรณของจำเลยท้ังสองฟง ไมข้ึน
๑๐๖
อนึ่ง เมื่อคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาและคำวินิจฉัยของคณะกรรมการ
เครอื่ งหมายการคา ท่ไี มร ับจดทะเบียนเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเปน คำส่ังและคำวินจิ ฉัยทไ่ี ม
ชอบดวยกฎหมาย ก็ชอบที่ศาลจะสั่งใหเพิกถอนคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคาและ
คำวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ดงั กลา ว และใหน ายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
ดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตามคำขอของโจทกเลขที่ ๗๘๔๓๙๓
ตอไปเทานั้น ศาลไมอาจสั่งใหจำเลยทั้งสองดำเนินการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตาม
คำขอของโจทยเลขที่ ๗๘๔๓๙๓ ตอไปไดทันที เพราะจำเลยทั้งสองตองดำเนินการเกี่ยวกับ
คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกต ามขน้ั ตอนตามกฎหมาย คอื พ.ร.บ. เครอ่ื งหมาย
การคา พ.ศ. ๒๕๓๔ อนั ไดแ กก ารทน่ี ายทะเบยี นตอ งมคี ำสง่ั ใหป ระกาศโฆษณาคำขอจดทะเบยี น
ของโจทก มีหนังสือแจงใหทราบและใหโจทกชำระคาฤชาธรรมเนียมการประกาศโฆษณาตอไป
ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหจ ำเลยทง้ั สองดำเนนิ การ
รับจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตามคำขอของโจทกเลขที่ ๗๘๔๓๙๓ ตอไป จึงไมถูกตองและ
เกนิ คำขอของโจทก ปญ หาขอ นเ้ี ปน ปญ หาขอ กฎหมายเกย่ี วดว ยความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน
แมไมมคี คู วามฝายใดอุทธรณโ ดยตรง ศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษกแ็ กไขเสยี ใหถ ูกตอ งได
พิพากษาแกเปนวา ใหนายทะเบียนเครื่องหมายการคาดำเนินการเกี่ยวกับคำขอจด
ทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ตามคำขอของโจทกเ ลขท่ี ๗๘๔๓๙๓ ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ ตอ ไป คา ฤชาธรรมเนยี มชน้ั อทุ ธรณใ หเ ปน พบั นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำพพิ ากษา
ศาลทรพั ยสินทางปญ ญาและการคาระหวางประเทศกลาง.
(สรุ พล คงลาภ - ไชยยศ วรนนั ทศริ ิ - จุมพล ภิญโญสินวฒั น)
สจุ ินต เจนพาณชิ พงศ - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี งึ ที่สุด
๑๐๗
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพิเศษท่ี ๑๔๒๐/๒๕๖๑ เมลเท็กซ อิงค. โจทก
กรมทรัพยส ินทางปญ ญา จำเลย
พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๒๐
รูปลักษณะเครื่องหมายการคาของโจทก เปนอักษรโรมันประดิษฐ
แบบชดุ อกั ษร (fonts) แตกตา งจากของบคุ คลอน่ื ทย่ี น่ื คำขอจดทะเบยี นไวก อ น
อยา งเหน็ ไดช ดั เจน ทง้ั ยงั มจี ำนวนตวั อกั ษรและลกั ษณะการจดั วางตวั อกั ษรทแ่ี ตกตา งกนั
แมจ ะมเี สยี งเรยี กขานของเครอ่ื งหมายการคา ใกลเ คยี งกนั สาธารณชนกส็ ามารถแยกแยะ
ความแตกตา งระหวา งเครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองไดโ ดยงา ย และแมว า ทง้ั สองเครอ่ื งหมาย
จะขอจดทะเบียนสำหรับสนิ คา จำพวกเดียวกนั แตรายการสนิ คาของโจทกเ ปนสนิ คา ที่มี
ลักษณะเฉพาะ ผูใชสินคาตองเปนผูมีความรูความชำนาญเฉพาะทางไมใชบุคคลทั่วไป
รวมท้ังการเลอื กซ้ือสนิ คาดงั กลา วยอ มใชความระมดั ระวังเพอ่ื ใหบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข อง
การใชง าน จงึ มโี อกาสนอ ยทจ่ี ะเกดิ การสบั สนหรอื หลงผดิ ในความเปน เจา ของของสนิ คา
หรอื แหลง กำเนดิ ของสินคา
______________________________
โจทกฟ อ ง ขอใหศ าลพพิ ากษาวา คำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ตามหนงั สอื
สำนักเครื่องหมายการคาที่ พณ ๐๗๐๔/๒๙๖๖ ลงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ และคำวินิจฉัย
อุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ ๖๓/๒๕๕๙ ตามฟองไมชอบดวยกฎหมายและ
ใหเพิกถอนคำสั่งและคำวินิจฉัยดังกลาว เครื่องหมายการคาของโจทกตามคำขอจดทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ๘๐๕๙๑๒ เปน เครอ่ื งหมายการคา ทไ่ี มเ หมอื นหรอื คลา ยกบั เครอ่ื งหมาย
การคา ของบคุ คลอน่ื ทย่ี น่ื ขอจดทะเบยี นไวก อ นและใหจ ำเลยดำเนนิ การรบั จดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคา ของโจทกต อ ไป หากจำเลยเพกิ เฉยไมป ฏบิ ตั ติ าม ขอใหถ อื เอาคำพพิ ากษาแทนการแสดง
เจตนาของจำเลย
จำเลยใหการ ขอใหย กฟอ ง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่ง
ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ท่ี พณ ๐๗๐๔/๒๙๖๖ และคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องคณะกรรมการ
เครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๖๓/๒๕๕๙ ซง่ึ ปฏเิ สธไมร บั จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกใ หจ ำเลย
๑๐๘
ดำเนินการเกีย่ วกบั คำขอจดทะเบยี นเคร่ืองหมายการคา ตามคำขอเลขที่ ๘๐๕๙๑๒ ของโจทก
ตอไป คาฤชาธรรมเนยี มใหเ ปน พบั สว นคำขออื่นใหย ก
จำเลยอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่โจทกและจำเลยมิไดโตแยงกันในชั้นอุทธรณ รับฟงไดวา โจทกเปน
นติ บิ คุ คลตามกฎหมายของญป่ี นุ จำเลยมอี ำนาจดแู ลเกย่ี วกบั การจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
เมอ่ื วนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เมทาบอลคิ เอก็ ซพ ลอเรอร เอสเอ ซง่ึ เปน นติ บิ คุ คลตามกฎหมาย
ของสาธารณรฐั ฝรง่ั เศสยน่ื ขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เพอ่ื ใชก บั สนิ คา จำพวกท่ี ๑
รายการสนิ คา สารเคมหี รอื สารใชเ ตมิ ใชใ นอตุ สาหกรรม ใชใ นทางวทิ ยาศาสตร ใชใ นงานภาพถา ย
รวมถงึ ใชใ นงานเรอื กสวนไรน า ใชใ นงานปา ไม โดยเฉพาะสารเคมพี น้ื ฐาน เคมภี ณั ฑใ ชใ นอตุ สาหกรรม
การหมกั เคมภี ณั ฑข องชวี วทิ ยา ชวี เคมี สารเคมใี ชใ นเครอ่ื งสำอาง สารเคมใี ชใ นสารเคมใี นการเพาะปลกู
และอื่น ๆ ตามสำเนาคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ๘๐๕๒๙๔ ตอมาเมื่อวันที่ ๑๘
พฤษภาคม ๒๕๕๔ โจทกย น่ื ขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เพอ่ื ใชก บั สนิ คา จำพวก
ท่ี ๑ รายการสนิ คา สารเคมใี ชใ นการรกั ษาพน้ื ผวิ โลหะ สารเคมใี ชใ นการรกั ษาพน้ื ผวิ สว นประกอบ
ของโลหะ สารเคมใี ชใ นการรกั ษาพน้ื ผวิ ของวสั ดทุ เ่ี ปน ฉนวนไฟฟา สารเคมใี ชใ นการชบุ โลหะตาม
สำเนาคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ๘๐๕๙๑๒ นายทะเบียนเครื่องหมายการคา
เหน็ วา เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกเ หมอื นหรอื คลา ยกบั เครอ่ื งหมายของบคุ คลอน่ื คอื เมทาบอลคิ
เอก็ ซพ ลอเรอร เอสเอ ตามคำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ๘๐๕๒๙๔ ซง่ึ นายทะเบยี น
เครอ่ื งหมายการคา ไดม คี ำสง่ั ใหโ จทกแ ละผขู อจดทะเบยี นรายอน่ื แกไ ขขอ บกพรอ งและอยรู ะหวา ง
ดำเนนิ การ จงึ ใหร อการดำเนนิ การจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกไ วก อ น และจะพจิ ารณา
คำขอจดทะเบยี นของโจทก ตอ เมอ่ื ผขู อจดทะเบยี นรายอน่ื ไดป ฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั นายทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคาครบถวนแลว หรือรอคำวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคา ในกรณีที่
บคุ คลนน้ั ยน่ื อทุ ธรณค ำสง่ั นายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา กรณไี มเ หน็ ดว ยกบั คำสง่ั นายทะเบยี น
เครอ่ื งหมายการคา ทส่ี ง่ั เหมอื นหรอื คลา ยกบั เครอ่ื งหมายของบคุ คลอน่ื ดงั กลา ว โจทกม สี ทิ ธอิ ทุ ธรณต อ
คณะกรรมการเครื่องหมายการคาภายใน ๙๐ วันนับแตวันที่ไดรับหนังสือ ตามสำเนาหนังสือ
สำนักเครื่องหมายการคาที่ พณ ๐๗๐๔/๒๙๖๖ ลงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ โจทกอุทธรณ
ตอคณะกรรมการเครื่องหมายการคาตามสำเนาคำอุทธรณ คณะกรรมการเครื่องหมายการคา
เปรียบเทียบเครื่องหมายการคาของโจทกกับเครื่องหมายการคา ของบุคคลอื่น
ที่ยื่นคำขอจดทะเบียนไวกอนแลว เห็นวา เครื่องหมายการคาของโจทกคำวา meltex เปน
๑๐๙
คำสองพยางค และมอี กั ษรตวั เดยี วกนั วางอยใู นตำแหนง เดยี วกนั กบั เครอ่ื งหมายการคา ทย่ี น่ื คำขอ
จดทะเบียนไวกอนคำวา METEX จำนวน ๕ ตัว แตกตางกันเพียงเครื่องหมายการคาของโจทก
มีอักษร l เพิ่มขึ้นมาในตำแหนงที่ ๓ เทานั้น เมื่อพิจารณาถึงการเรียกขาน เครื่องหมายการคา
ของโจทกเ รยี กขานไดว า เมลเทก็ ซ สว นเครอ่ื งหมายการคา ทย่ี น่ื คำขอจดทะเบยี นไวก อ นเรยี กขาน
ไดว า เมเทก็ ซ นบั วา เครอ่ื งหมายการคา ของทง้ั สองฝา ยมรี ปู ลกั ษณะและเสยี งเรยี กขานใกลเ คยี ง
กนั เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกจ งึ เปน เครอ่ื งหมายการคา ทค่ี ลา ยกนั กบั เครอ่ื งหมายการคา ของ
บุคคลอื่นที่ยื่นคำขอจดทะเบียนไวกอนจนอาจทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปน
เจาของหรือแหลงกำเนิดของสินคาได เมื่อยื่นขอจดทะเบียนสำหรับสินคาจำพวกเดียวกันและ
รายการสนิ คา มลี กั ษณะอยา งเดยี วกนั จงึ ใหร อการจดทะเบยี นไวก อ นตามมาตรา ๒๓ แหง พ.ร.บ.
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ สำหรับหลักฐานแสดงการใชเครื่องหมายการคาที่โจทกนำสง
นั้นยังไมเพียงพอที่จะรับฟงไดวาโจทกไดใชเครื่องหมายการคานี้มาเปนเวลานานหรือมีความ
แพรหลายในประเทศไทย จึงมีมติยืนตามคำสั่งของนายทะเบียนเครื่องหมายการคา ตามสำเนา
คำวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ ๖๓/๒๕๕๙ มีปญหาที่ตองวินิจฉัย
ตามอุทธรณของจำเลยวา เครื่องหมายการคา ของโจทกตามคำขอจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาเลขที่ ๘๐๕๙๑๒ คลายกับเครื่องหมายการคา ของบุคคลอื่นที่
ยื่นคำขอจดทะเบียนไวกอนจนอาจทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปนเจาของของ
สนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ ของสนิ คา หรอื ไม เหน็ วา รปู ลกั ษณะของเครอ่ื งหมายการคา ดงั กลา วของ
โจทกเปนอักษรโรมันประดิษฐ แบบชุดอักษร (fonts) แตกตางจากของบุคคลอื่นที่ยื่นคำขอจด
ทะเบยี นไวก อ นอยา งเหน็ ไดช ดั เจน และเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกย งั ประกอบดว ยอกั ษรโรมนั
ตัวพิมพใหญ ๑ ตัว และตัวพิมพเล็ก ๑ ตัว รวม ๖ ตัว แตของบุคคลอื่นที่ยื่นคำขอจดทะเบียน
ไวกอนประกอบดวยอักษรโรมันซึ่งเปนตัวพิมพใหญ ๕ ตัว แมเสียงเรียกขานของโจทกจะเรียก
ขานวา เมลเท็กซ สวนของบุคคลอื่นที่ยื่นคำขอจดทะเบียนไวกอนมีเสียงเรียกขานใกลเคียงกัน
วามีเท็กซ แตเมื่อเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายมีรูปลักษณะที่แตกตางกันดังกลาว
สาธารณชนจึงสามารถแยกแยะความแตกตางระหวางเครื่องหมายการคาทั้งสองไดโดยงาย
ประกอบกับไดความจากนายกฤชวัชร ผูรับมอบอำนาจโจทกเบิกความโดยใชบันทึกถอยคำ
ยืนยันขอเท็จจริงหรือความเห็นวา ธุรกิจของโจทกอยูในสาขาการผลิตและจำหนายสารเคมี
สำหรับอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ผลิตและจำหนายเคมีภัณฑสำหรับการรักษาพื้นผิว (ชุบ)
การออกแบบและตดิ ตง้ั อปุ กรณเ คมแี ละการวเิ คราะห และการกคู นื สารเคมแี ละโลหะ และปรากฏ
วาโจทกจดทะเบียนเครื่องหมายการคาเพื่อใชกับสินคาจำพวกที่ ๑ โดยระบุเจาะจงวารายการ
๑๑๐
สนิ คา ไดแ ก สารเคมใี ชใ นการรกั ษาพน้ื ผวิ โลหะ (chemicals used in surface treatment of metals)
สารเคมใี ชใ นการรกั ษาพน้ื ผวิ สว นประกอบของโลหะ (chemicals used in surface treatment of
metal compounds) สารเคมีใชใ นการรกั ษาพนื้ ผวิ ของวสั ดุที่เปน ฉนวนไฟฟา (chemicals used
in surface treatment of electrically insulating materials) สารเคมใี ชใ นการชบุ โลหะ (chemicals
used in plating) สินคาดังกลาวของโจทกเปนสินคาที่มีลักษณะเฉพาะ ผูใชสินคาตองเปนผูมี
ความรคู วามชำนาญเฉพาะทางไมใ ชบ คุ คลทว่ั ไป รวมทง้ั การเลอื กซอ้ื สนิ คา ดงั กลา วยอ มใชค วาม
ระมดั ระวงั เพอ่ื ใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคข องการใชง าน จงึ มโี อกาสนอ ยทจ่ี ะเกดิ การสบั สนหรอื หลงผดิ
ในความเปน เจา ของของสนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ ของสนิ คา นอกจากน้ี เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั รายการ
สินคาของบุคคลอื่นที่ยื่นคำขอจดทะเบียนไวกอน ตามสำเนาคำขอแกไขเปลี่ยนแปลงรายการ
จดทะเบียนแลว รายการสินคาของบุคคลอื่นที่ยื่นคำขอจดทะเบียนไวกอนมีถึง ๑๑๑ รายการ
แตไ มม สี นิ คา รายการใดทเ่ี ปน สารเคมที ใ่ี ชใ นการรกั ษาพน้ื ผวิ โลหะหรอื พน้ื ผวิ วสั ดทุ เ่ี ปน ฉนวนไฟฟา
หรอื สารเคมที ใ่ี ชใ นการชบุ โลหะ สำหรบั รายการสนิ คา ของบคุ คลอน่ื ทย่ี น่ื คำขอจดทะเบยี นไวก อ น
ลำดบั ท่ี ๓๓-๓๔ สารเคมพี น้ื ฐานใชใ นอตุ สาหกรรมการทำหมกึ และการเคลอื บพน้ื ผวิ วสั ดุ (ยกเวน ส)ี
และลำดบั ท่ี ๖๗ สารเคมที เ่ี ตรยี มขน้ึ ใชใ นการผลติ สารทำความสะอาด นน้ั เมอ่ื พจิ ารณาเปรยี บเทยี บ
กับรายการสินคาตามสำเนาคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาแลว เห็นไดวาเดิมรายการ
สินคาที่เปนสารเคมีครอบคลุมเฉพาะสารเคมีที่ใชในอุตสาหกรรม ใชในทางวิทยาศาสตรใชใน
งานถายภาพ ใชในงานเรือกสวนไรนา ใชในเครื่องสำอาง ใชในการเพาะปลูก ใชในงานปศุสัตว
ใชในอุตสาหกรรมไวน ใชในอุตสาหกรรมสิ่งทอ กระดาษและอาหาร ใชในการถนอมอาหาร
ใชใ นการผลติ สี ใชใ นการผลติ ผลติ ภณั ฑท ำความสะอาด ใชส ำหรบั ทำใหบ รสิ ทุ ธ์ิ และใชใ นการหลอม
และบัดกรี รายการสินคาลำดับที่ ๓๓-๓๔ จึงนาจะอยูในขอบเขตดังกลาว สวนลำดับที่ ๖๗
เทียบเคียงไดกับรายการสินคาในลำดับที่ ๑๙ สารเคมีใชในการผลิตผลิตภัณฑทำความสะอาด
(chemicals for the manufacture of cleaning products) ดังนั้นลักษณะของสินคาตามรายการ
สินคาลำดับที่ ๓๓-๓๔ และลำดับที่ ๖๗ จึงไมมีลักษณะอยางเดียวกันหรือมีความเกี่ยวของ
สมั พนั ธก บั สนิ คา ภายใตเ ครอ่ื งหมายการคา ของโจทก เครอ่ื งหมายการคา ของโจทก
ตามคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ๘๐๕๙๑๒ จึงไมคลายกับเครื่องหมายการคา
ของบคุ คลอน่ื ทย่ี น่ื คำขอจดทะเบยี นไวก อ นจนอาจทำใหส าธารณชนสบั สนหรอื หลงผดิ
ในความเปน เจา ของของสนิ คา หรอื แหลง กำเนดิ ของสนิ คา ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหเ พกิ ถอนคำสง่ั ของนายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ตามหนงั สอื
สำนักเครื่องหมายการคาที่ พณ ๐๗๐๔/๒๙๖๖ ลงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ และคำวินิจฉัย
๑๑๑
อุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาที่ ๖๓/๒๕๕๙ นั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
เห็นพองดวยในผล อุทธรณของจำเลยฟงไมขึ้น สวนที่จำเลยอุทธรณทำนองวา คำสั่งของนาย
ทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เปน คำสง่ั ทช่ี ดั แจง แลว หรอื พยานหลกั ฐานของโจทกไ มเ พยี งพอทจ่ี ะ
รบั ฟง วา โจทกไ ดใ ชเ ครอ่ื งหมายการคา มาโดยสจุ รติ หรอื มพี ฤตกิ ารณพ เิ ศษสมควรรบั จดทะเบยี น
ตามมาตรา ๒๗ แหง พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ นั้น ไมจำตองวินิจฉัยเพราะไม
ทำใหผลของคดีเปลย่ี นแปลง
พพิ ากษายนื คาฤชาธรรมเนยี มชั้นอุทธรณใหเ ปนพับ.
(สุรพล คงลาภ - ไชยยศ วรนนั ทศิริ - จุมพล ภญิ โญสนิ วฒั น)
สจุ ินต เจนพาณิชพงศ - ยอ
ปรานี เสฐจนิ ตนนิ - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี ึงทส่ี ดุ
๑๑๒
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษท่ี ๗๐๖/๒๕๖๐ บริษทั เดอะ แพน โคเรีย
จำกัด โจทก
กรมทรพั ยสนิ ทางปญ ญา
กับพวก จำเลย
พ.ร.บ. เคร่ืองหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗, ๖๑, ๖๖, ๘๐
เครอ่ื งหมายบรกิ าร “DAK GALBI” เปน คำสามญั ทว่ั ไปทใ่ี ชเ รยี กชอ่ื อาหารชนดิ หนง่ึ
ซึ่งเปนที่นิยมในสาธารณรัฐเกาหลี เมื่อจำเลยที่ ๒ นำมาขอจดทะเบียนเปนเครื่องหมาย
บริการ แสดงวาขณะที่มีการจดทะเบียนเครื่องหมายบริการ คำวา “DAK GALBI” ไมได
เปนเครื่องหมายบริการที่มีลักษณะบงเฉพาะตามมาตรา ๖๑ (๑) ประกอบมาตรา ๘๐
การรอ งขอใหเ พกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ ารดงั กลา วจงึ ตอ งดำเนนิ การตาม
ขน้ั ตอนของกฎหมายตามมาตรา ๖๑ เสยี กอ น เมอ่ื โจทกไ มไ ดย น่ื คำรอ งตอ คณะกรรมการ
ใหมีคำสัง่ เพกิ ถอนการจดทะเบียนเคร่อื งหมายบริการกอน โจทกจงึ ไมมีอำนาจฟอ ง
กรณีเครื่องหมายบริการตามมาตรา ๖๖ ประกอบมาตรา ๘๐ ตองเปนเรื่องที่
เครื่องหมายบริการไดรับการจดทะเบียนแลว แตตอมาเครื่องหมายบริการดังกลาวได
กลายเปน สง่ิ ทใ่ี ชก นั สามญั ในการคา ขายสำหรบั บรกิ ารบางอยา งหรอื บางจำพวก จนกระทง่ั
ในวงการคา หรอื สายตาของสาธารณชนเครอ่ื งหมายบรกิ ารนน้ั ไดส ญู เสยี ความหมายของ
การเปนเครือ่ งหมายบริการไปแลว
______________________________
โจทกฟ อ งขอใหเ พกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ตามคำขอเลขท่ี ๘๓๕๖๐๖
ทะเบยี นเลขท่ี บ๕๗๑๔๖ และคำขอเลขท่ี ๘๔๕๐๙๗ ทะเบยี นเลขท่ี บ๕๗๑๔๗ และมคี ำสง่ั หา ม
จำเลยท่ี ๒ ย่ืนขอจดทะเบยี นเครอื่ งหมายการคาและบรกิ ารโดยถือสทิ ธิคำวา DAK GALBI หรือ
คลายกันหรอื ออกเสียงคลายกบั คำวา DAK GALBI
จำเลยท้งั สองใหก ารขอใหยกฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง คาฤชา
ธรรมเนยี มใหเ ปนพับ
๑๑๓
โจทกอ ทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงเบื้องตนรับฟงไดวา นายทศพรยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายบริการ
คำขอเลขที่ ๘๓๕๖๐๖ เพื่อใชกับจำพวก ๔๓ รายการบริการดานการจัดหาอาหารและ
เครอ่ื งดม่ื ตอ มานายทศพรไดโ อนเครอ่ื งหมายการคา และยน่ื ขอโอนสทิ ธใิ นคำขอทย่ี น่ื จดทะเบยี น
ใหแ กจ ำเลยท่ี ๒ ตอ มาจำเลยท่ี ๒ ยน่ื คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ าร คำขอเลขท่ี ๘๓๕๖๐๖
เปนเครื่องหมายชุดกับคำขอเลขที่ ๘๔๕๐๙๗ เพื่อใชกับจำพวก ๔๓ รายการบริการใหขอมูล
ขาวสารเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มผานทางเว็บไซต นายทะเบียนเครื่องหมายการคามีคำสั่ง
รบั จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั สองคำขอศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
กลางวนิ จิ ฉยั วา สภาพแหง ขอ หาและขอ อา งทอ่ี าศยั เปน หลกั แหง ขอ หา ตามคำฟอ งของโจทกเ ปน
กรณที โ่ี จทกข อใหเ พกิ ถอนเครอ่ื งหมายบรกิ ารทไ่ี มม ลี กั ษณะบง เฉพาะตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๒)
ดังนั้นเมื่อโจทกไมดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายตามมาตรา ๖๑ (๑) ประกอบมาตรา ๘๐
แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ เสียกอน โจทกจึงไมมีอำนาจฟองจำเลย
ทั้งสอง
มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกเพียงวาโจทกมีอำนาจฟองหรือไม เห็นวา
ตามคำฟองและอุทธรณของโจทกฟงไดวา เครื่องหมายบริการคำวา DAK GALBI (ทัค คาลบี้)
เปน คำสามญั ทว่ั ไปทใ่ี ชเ รยี กชอ่ื อาหารชนดิ หนง่ึ ซง่ึ เปน ทน่ี ยิ มกนั ในสาธารณรฐั เกาหลี และมกี าร
นำเอาคำดังกลาวมาจดทะเบียนเปนเครื่องหมายบริการ ดังนี้ แสดงวาขณะที่มีการจดทะเบียน
เครอ่ื งหมายบรกิ ารตามฟอ งมไิ ดเ ปน เครอ่ื งหมายบรกิ ารทม่ี ลี กั ษณะบง เฉพาะตามมาตรา ๖๑ (๑)
ประกอบมาตรา ๘๐ การรองขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายบริการดังกลาวจึงตอง
ดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายตามมาตรา ๖๑ ประกอบมาตรา ๖๕ วรรคสอง ดังกลาว
เสียกอน เม่ือโจทกมไิ ดดำเนินการตามขนั้ ตอนของกฎหมายกอน โจทกจงึ ไมมีอำนาจฟอ ง
สว นทโ่ี จทกอ ทุ ธรณว า กรณตี ามคำฟอ งเปน เรอ่ื งทต่ี อ งปรบั เขา กบั มาตรา ๖๖ ซง่ึ โจทก
สามารถดำเนนิ การฟอ งคดไี ดโดยไมต องดำเนินการตามขนั้ ตอนของกฎหมายดงั ที่ศาลทรัพยส นิ
ทางปญญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวนิ ิจฉยั มาน้นั เห็นวา กรณีเครอ่ื งหมายบรกิ ารใหนำ
บทบญั ญตั เิ กย่ี วกบั เครอ่ื งหมายการคา มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลมตามมาตรา ๖๖ ประกอบมาตรา ๘๐
นน้ั ตอ งเปน เรอ่ื งทเ่ี ครอ่ื งหมายบรกิ ารนน้ั เมอ่ื มกี ารจดทะเบยี นแลว ตอ มาในภายหลงั เครอ่ื งหมาย
บริการไดกลายเปนสิ่งที่ใชกันสามัญในการคาขายสำหรับบริการบางอยางหรือบางจำพวก จน
กระทั่งในวงการคาหรือในสายตาของสาธารณชน เครื่องหมายบริการนั้นไดสูญเสียความหมาย
๑๑๔
ของการเปน เครอ่ื งหมายบรกิ ารไปแลว ซง่ึ ตามคำฟอ งของโจทกน น้ั ถอื ไมไ ดว า เครอ่ื งหมายบรกิ าร
ดังกลาวเปนกรณีตามมาตรา ๖๖ ประกอบมาตรา ๘๐ ดังที่โจทกอุทธรณ ที่ศาลทรัพยสินทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟองมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
เหน็ พอ งดว ย อทุ ธรณของโจทกฟ ง ไมข้นึ
พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนยี มชั้นอุทธรณใหเปน พับ.
(ไมตรี ศรอี รณุ - นพรัตน ชลวิทย - กรกนั ยา สุวรรณพานชิ )
จันทรก ระพอ ตอสุวรรณ สินธวถาวร - ยอ
ปรานี เสฐจินตนิน - ตรวจ
หมายเหตุ คดีถงึ ทส่ี ุด
๑๑๕
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๒๓๒๗/๒๕๖๑ นายสุรศักดิ์ โจทก
ประเสริฐบดกี ลุ จำเลย
นางสาวสรัญญา
อดุ รรุงเรือง
ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕)
พ.ร.บ. เคร่อื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๑, ๖๔, ๖๕
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา
คดีทรัพยส ินทางปญ ญาและการคา ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙
ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๑ (๔) บญั ญตั ใิ หโ จทกร อ งขอ
ตอคณะกรรมการเครื่องหมายการคาใหสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
ที่อาง และคณะกรรมการเครื่องหมายการคารวมทั้งโจทกในฐานะของผูที่ไดจดทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคา ตอ งดำเนนิ การตามขน้ั ตอนทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ น พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๔ และ ๖๕ ตามลำดับ เมื่อโจทกไมไดดำเนินการตามขั้นตอนที่
กฎหมายกำหนดโดยรองขอตอคณะกรรมการเครื่องหมายการคาใหสั่งเพิกถอนการ
จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา โจทกจ งึ ไมม อี ำนาจฟอ ง ปญ หาขอ นเ้ี ปน ปญ หาขอ กฎหมาย
เกย่ี วดว ยความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษยกขน้ึ วนิ จิ ฉยั ได
______________________________
โจทกฟ อ ง ขอใหเ พกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ทะเบยี นเลขท่ี ค๓๖๕๘๐๗,
ค๓๖๕๘๐๘ และ ค๔๑๗๔๐๙ และใหจ ำเลยเลกิ ใชเ ครอ่ื งหมายการคา ดงั กลา ว หากไมป ฏบิ ตั ติ าม
ขอใหถ อื เอาคำพพิ ากษาแทนการแสดงเจตนา บงั คบั จำเลยใชค า เสยี หาย ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอ ม
ดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ปข องตน เงนิ ดงั กลา วนบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็
จำเลยใหการ ขอใหย กฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหเพิกถอนการ
จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยทะเบยี นเลขท่ี ค๓๖๕๘๐๗, ค๓๖๕๘๐๘ และ ค๔๑๗๔๐๙
คำขออนื่ ใหยก คาฤชาธรรมเนียมใหเปน พบั
๑๑๖
จำเลยอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงเบื้องตนจากพยานหลักฐานเกี่ยวกับทะเบียนเครื่องหมายการคาที่คูความ
นำสืบมาในคดนี ี้รับฟงไดว า โจทกม ีชือ่ เปน เจา ของเคร่ืองหมายการคาทเี่ กย่ี วขอ ง ๓ เครือ่ งหมาย
ตามลำดับ กลาวคือ วันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๔๓ โจทกจดทะเบียนเครื่องหมายการคาซึ่งมีคำวา
นวิ มอส ประกอบอยูดว ย ตาม ทะเบยี นเลขที่ ค๑๓๒๑๓๙ สำหรับสินคาจำพวก ๒๕
รายการสินคาชุดเครื่องแบบนักเรียน ปรากฏตามสำเนาหนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียน
เครื่องหมายการคา ตอมา วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ โจทกจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
เพิ่ม ๒ เครื่องหมายคือ เครื่องหมายการคา ทะเบียนเลขที่ ค๓๔๐๓๐๑ สำหรับ
สินคาจำพวก ๒๕ รายการสินคา เสื้อ เสื้อกีฬา กางเกง กางเกงกีฬา (ยกเวนเสื้อชั้นใน กางเกง
ชั้นใน) และเครอื่ งหมายการคา ทะเบยี นเลขท่ี ค๓๔๐๓๐๒ สำหรับสนิ คา จำพวก ๑๖
รายการสนิ คา ถงุ พลาสตกิ ถงุ หหู ว้ิ ทำจากกระดาษ ปรากฏตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
สวนจำเลยนน้ั วันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๓ จำเลยยืน่ คำขอจดทะเบยี นเคร่ืองหมายการคา
ซง่ึ มคี ำวา มอส ทส่ี ว นลา งของเครอ่ื งหมาย โดยขอจดทะเบยี นทส่ี าธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชน
ลาวและไดรับการจดทะเบียนแลวเปนทะเบียนเลขที่ ๗๓๐๓ ปรากฏตามสำเนาหนังสือสำคัญ
แสดงการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ตอ มาวนั ท่ี ๑๙ มถิ นุ ายน ๒๕๔๔ จำเลยยน่ื คำขอจดทะเบยี น
เครื่องหมายการคาคลายกันใชอักษรโรมัน MOS ที่สวนลางของเครื่องหมายตอนายทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคา กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา สำหรบั สนิ คา จำพวก ๒๕ รายการสนิ คา เสอ้ื นกั ศกึ ษา
แตไมไดรับการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ จำเลยยื่นคำขอ
จดทะเบียนเครื่องหมายการคา ๒ เครื่องหมายคือ เครื่องหมายการคา ทะเบียนเลขที่
ค๓๖๕๘๐๗ สำหรบั สนิ คา จำพวก ๒๕ รายการสนิ คา เสอ้ื (ยกเวน เสอ้ื ชน้ั ในและเสอ้ื กฬี า) กางเกง
(ยกเวนกางเกงชั้นในและกางเกงกีฬา) กระโปรง และเครื่องหมายการคา ทะเบียนเลขที่
ค๓๖๕๘๐๘ สำหรบั สนิ คา จำพวก ๒๕ รายการสนิ คา เสอ้ื (ยกเวน เสอ้ื ชน้ั ในและเสอ้ื กฬี า) กางเกง
(ยกเวนกางเกงชั้นในและกางเกงกีฬา) กระโปรง ปรากฏตามสำเนาทะเบียนเครื่องหมายการคา
ตอมา วันท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ จำเลยย่ืนคำขอจดทะเบยี นเคร่ืองหมายการคา
ทะเบียนเลขที่ ค๔๑๗๔๐๙ สำหรับสินคาจำพวก ๒๕ รายการสินคา เสื้อ (ยกเวนเสื้อชั้นในและ
เสอ้ื กฬี า) กางเกง (ยกเวน กางเกงชน้ั ในและกางเกงกฬี า) ปรากฏตามสำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคา ตอมา โจทกยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาคำวา นิวมอส เพิ่มอีกเปนคำขอ
เลขที่ ๙๙๒๗๑๖ แตครั้งนี้ นายทะเบียนเครื่องหมายการคา กรมทรัพยสินทางปญญาปฏิเสธ
๑๑๗
คำขอของโจทก โดยอางวาเปนเครื่องหมายการคาที่เหมือนหรือคลายกับเครื่องหมายการคา
ทะเบยี นเลขท่ี ค๔๑๗๔๐๙ ของจำเลย โจทกอ ทุ ธรณค ำสง่ั ดงั กลา วตอ คณะกรรมการ
เครอ่ื งหมายการคา และอยรู ะหวา งรอผลคำวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ ปรากฏตามสำเนาคำอทุ ธรณ จากนน้ั
โจทกฟ อ งขอใหเ พกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยเปน คดนี ้ี สำหรบั ปญ หาวา
จำเลยละเมดิ สทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ตามฟอ งของโจทกห รอื ไม และโจทกค วรไดร บั คา เสยี หาย
เพยี งใด นน้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั วา จำเลยในฐานะ
เจาของเครื่องหมายการคาที่ไดจดทะเบียนไวแลวมีสิทธิใชเครื่องหมายการคาสำหรับสินคาที่ได
จดทะเบียนไวโดยไมถือวาเปนละเมิดและโจทกไมอาจฟองเรียกคาเสียหายจากจำเลย ในสวนนี้
โจทกและจำเลยไมอุทธรณในปญหาน้ี จึงเปนอันยุติไปตามคำวนิ ิจฉัยดังกลาว
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรหยิบยกขึ้นวินิจฉัยกอนวา โจทกมีอำนาจ
ฟองขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของจำเลยทะเบียนเลขที่ ค๓๖๕๘๐๗,
ค๓๖๕๘๐๘ และ ค๔๑๗๔๐๙ หรือไม เหน็ วา ตามคำฟอ งของโจทกบ รรยายขอเทจ็ จรงิ ในสว นนี้
ตรงกับทางนำสืบของโจทกและจำเลยวา โจทกและจำเลยตางประกอบธุรกิจผลิตและจำหนาย
ชดุ นักเรยี นมาต้งั แตกอนป ๒๕๔๓ ซึ่งจำเลยเบิกความยืนยันวา โจทกแ ละจำเลยใชเ ครื่องหมาย
การคา ทป่ี ระกอบดว ยรปู สมอเรอื อกั ษรโรมนั M และ O และคำวา มอส ปรากฏตาม
ภาพถาย ตอมาในป ๒๕๔๓ เจาของเครื่องหมายการคาตราสมอซึ่งใชเครื่องหมายการคากับ
ชุดนักเรียนสำเร็จรูปอยูกอนมีหนังสือแจงเตือนทั้งโจทกและจำเลยเกี่ยวกับเครื่องหมายการคา
ทโ่ี จทกแ ละจำเลยใช หลงั จากไดร บั หนงั สอื แจง เตอื นจากเจา ของเครอ่ื งหมายการคา ตราสมอ โจทก
และจำเลยออกแบบเครื่องหมายการคาของตนเพื่อหลีกเลี่ยงความคลายกับเครื่องหมายการคา
ตราสมอ ตางใชคำวามอส โดยโจทกใชคำวานิวมอส สวนจำเลยใชคำวามอส จากนั้นตางฝาย
ตางนำคำวา นิวมอส และ มอส ไปรวมกับสวนอื่นเปนสวนของเครื่องหมายการคาของตน แลว
ยน่ื คำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา หลายฉบบั ทง้ั ในประเทศไทยและในสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย
ประชาชนลาว โดยโจทกจดทะเบียนเครื่องหมายการคาซึ่งมีคำวา นิวมอส ตามทะเบียนเลขที่
ค๑๓๒๑๓๙ และ ค๓๔๐๓๐๑ กับสินคาจำพวก ๒๕ และทะเบียนเลขที่ ค๓๔๐๓๐๒ กับสินคา
จำพวก ๑๖ จำเลยจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ซง่ึ มคี ำวา มอส ตามทะเบยี นเลขท่ี ค๓๖๕๘๐๗,
ค๓๖๕๘๐๘ และ ค๔๑๗๔๐๙ กบั สนิ คา จำพวก ๒๕ ทง้ั สามเครอ่ื งหมาย และใชก บั สนิ คา ประเภท
ชุดเคร่ืองแบบนักเรียนเชนเดยี วกับโจทก ซึง่ โจทกอา งในคำฟองวา ทำใหเกดิ ความสบั สนหลงผดิ
ในความเปนเจาของหรือแหลงกำเนิดของสินคา โจทกจึงขอใหศาลมีคำพิพากษาเพิกถอนการ
จดทะเบียนเครื่องหมายการคาตามทะเบียนเลขที่ ค๓๖๕๘๐๗, ค๓๖๕๘๐๘ และ ค๔๑๗๔๐๙
๑๑๘
ของจำเลย แสดงใหเ หน็ วา โจทกใ นฐานะของผทู ไ่ี ดจ ดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ไวแ ลว ตอ งการ
รองขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียนแลวของจำเลยรวม ๓
เครื่องหมาย โดยอางวาเปนเครื่องหมายการคาที่คลายกับเครื่องหมายการคาของโจทกจนอาจ
ทำใหส าธารณชนสบั สนหรอื หลงผดิ ในความเปน เจา ของของสนิ คา การขอใหเ พกิ ถอนตามคำฟอ ง
คดีนี้เปนการขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตาม พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๑ (๔) ซง่ึ มาตรา ๖๑ บญั ญตั ใิ หร อ งขอตอ คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา
ใหสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาที่อาง และคณะกรรมการเครื่องหมายการคา
รวมทง้ั โจทกใ นฐานะของผทู ไ่ี ดจ ดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ตอ งดำเนนิ การตามขน้ั ตอนทบ่ี ญั ญตั ิ
ไวใน พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๔ และ ๖๕ ตามลำดับ เมื่อโจทกไมได
ดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดโดยรองขอตอคณะกรรมการเครื่องหมายการคาใหสั่ง
เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา โจทกจึงไมมีอำนาจฟองปญหาเรื่องอำนาจฟอง
เปน ปญ หาขอ กฎหมายอนั เกย่ี วดว ยความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
ยกขึ้นวินิจฉัยไดตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและ
วธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบ
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษา
ใหเ พกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยทะเบยี นเลขท่ี ค๓๖๕๘๐๗, ค๓๖๕๘๐๘
และ ค๔๑๗๔๐๙ มานน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษไมเ หน็ พอ งดว ย เมอ่ื วนิ จิ ฉยั ดงั นแ้ี ลว ไมจ ำตอ ง
วินจิ ฉัยอทุ ธรณของจำเลยประเด็นอ่ืนอกี ตอไป เพราะไมท ำใหผลของคดเี ปลย่ี นแปลง
พพิ ากษาแกเปนวา ใหย กฟอ ง คาฤชาธรรมเนียมทั้งสองศาลใหเ ปนพับ.
(จุมพล ภิญโญสนิ วัฒน - ไชยยศ วรนันทศิริ - สรุ พล คงลาภ)
สจุ นิ ต เจนพาณชิ พงศ - ยอ
ปรานี เสฐจนิ ตนนิ - ตรวจ
หมายเหตุ ศาลฎีกาพพิ ากษาแก ตามคำพิพากษาศาลฎกี าท่ี ๒๔๖๔/๒๕๖๓
๑๑๙
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๐๓๗/๒๕๖๓ บริษทั ไฮโดรไทย จำกัด โจทก
กรมทรัพยส นิ ทางปญ ญา
กับพวก จำเลย
พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๑, ๖๒
ศาลฎกี าวนิ จิ ฉยั แตเ พยี งวา จำเลยรว มฟอ งคดเี มอ่ื พน กำหนดระยะเวลาทบ่ี ญั ญตั ิ
ไวใน พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง จึงไมมีอำนาจฟอง
ขอใหเ พกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา พพิ าท คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา
ยงั คงมอี ำนาจเพกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ไดต าม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๑ และมาตรา ๖๒ บทบัญญัติดังกลาวไมไดกำหนดระยะเวลาไว
เมื่อกรณีปรากฏวามีเหตุตามมาตรา ๖๑ (๒) (๔) และมาตรา ๖๒ คณะกรรมการ
เครอื่ งหมายการคายอ มมอี ำนาจออกคำส่งั เพกิ ถอนเครือ่ งหมายการคาพพิ าทได
______________________________
โจทกฟ อ ง ขอใหศ าลพพิ ากษาเพกิ ถอนคำสง่ั คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๘๘/๒๕๖๐
เรื่อง เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา คำขอเลขที่ ๕๒๙๘๗๐ สั่ง ณ วันที่ ๒๙
กันยายน ๒๕๖๐
จำเลยทงั้ แปดใหการ ขอใหยกฟอง
ระหวางพิจารณา ยารา อินเตอรเนชั่นแนล เอเอสเอ ยื่นคำรองขอเขาเปนจำเลยรวม
ศาลทรัพยส ินทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศกลางมีคำสัง่ อนุญาต
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง ใหโจทก
ใชค า ฤชาธรรมเนยี มแทนจำเลยท่ี ๑ ถงึ ท่ี ๘ และจำเลยรว ม โดยกำหนดคา ทนายความใหจ ำเลย
ที่ ๑ ถงึ ที่ ๘ จำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท และจำเลยรว ม จำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท
โจทกอ ุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทโ่ี จทก จำเลยทง้ั แปด และจำเลยรว มไมโ ตแ ยง กนั ในชน้ั อทุ ธรณร บั ฟง ไดว า
โจทกเปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด จำเลยที่ ๑ เปนนิติบุคคลประเภทสวนราชการมีฐานะ
เปนกรมในรัฐบาล สังกัดกระทรวงพาณิชย มีอำนาจหนาที่ปฏิบัติงานตามกฎหมายวาดวย
๑๒๐
เครื่องหมายการคา จำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๘ เปนกรรมการในคณะกรรมการเครื่องหมายการคา
จำเลยรว มเปน นติ บิ คุ คลตามกฎหมายของราชอาณาจกั รนอรเ วย จำเลยรว มเปน เจา ของเครอ่ื งหมาย
การคาและเครื่องหมายบรกิ าร อันไดแก (๑) เครอ่ื งหมายการคา เพ่อื ใชก บั สินคา
ในจำพวกท่ี ๑ รายการสนิ คา ปยุ เคมี เรซนิ เทยี มและเรซนิ สงั เคราะห พลาสตกิ ทอ่ี ยใู นรปู เมด็ เลก็ ๆ
ผง ชนิดเหลว และแปงเหลว ปุยธรรมชาติที่ใชในอุตสาหกรรมและกสิกรรม ตามสำเนาขอมูล
เครื่องหมายการคา ทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๓๑๗๗๓ (คำขอเลขที่ ๒๕๕๑๕๐) และ
สำเนาทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา (๒) เครอ่ื งหมายการคา ซง่ึ จดทะเบยี นเพอ่ื ใชก บั สนิ คา
ในจำพวกท่ี ๑ รายการสนิ คา ปยุ สำหรบั ใชใ นการเกษตร และอน่ื ๆ ตามสำเนาขอ มลู เครอ่ื งหมาย
การคา ทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๕๖๗๖ (คำขอเลขที่ ๒๔๓๖๗๒) (๓) เครื่องหมาย
การคา ซึ่งจดทะเบียนเพื่อใชกับสินคาในจำพวกที่ ๑๓ รายการสินคา สารระเบิดที่มี
แอมโมเนยี มไนเตรท และอน่ื ๆ ตามสำเนาขอ มลู เครอ่ื งหมายการคา ทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
เลขท่ี ค๑๘๑๖๗ (คำขอเลขที่ ๒๔๓๖๗๕) (๔) เครอื่ งหมายการคา ซงึ่ จดทะเบยี นเพือ่ ใช
กบั สนิ คา ในจำพวกท่ี ๑ รายการสนิ คา สารเคมที ใ่ี ชใ นอตุ สาหกรรมผลติ ปยุ และอน่ื ๆ ตามสำเนา
ขอ มลู เครอ่ื งหมายการคา ทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค๒๔๙๓๖๑ (คำขอเลขท่ี ๕๖๑๕๗๒)
และ (๕) เครื่องหมายบริการ ซึ่งจดทะเบียนเพื่อใชกับบริการในจำพวกที่ ๔๔ รายการ
บริการ บริการใหเชาอุปกรณในการทำฟารม และอื่น ๆ ตามสำเนาขอมูลเครื่องหมายการคา
ทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ ารเลขท่ี บ๓๒๖๐๓ (คำขอเลขท่ี ๕๖๑๕๗๓) เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ กนั ยายน ๒๕๔๖
โจทกยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา เพื่อใชกับสินคาในจำพวกที่ ๑
รายการสินคา ปุยเคมี ตามสำเนาคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา คำขอเลขที่ ๕๒๙๘๗๐
และนายทะเบียนเครื่องหมายการคารับจดทะเบียนใหแกโจทกตามสำเนาหนังสือสำคัญแสดง
การจดทะเบียนเครื่องหมายการคา ทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๙๙๔๕๕ และสำเนา
ทะเบียนการคา โจทกยังจดทะเบียนเครื่องหมายการคาดังกลาวเพื่อใชกับสินคาในจำพวกที่ ๕
รายการสินคา ยากำจัดแมลงศัตรูพืช และอื่น ๆ ตามสำเนาขอมูลเครื่องหมายการคา ทะเบียน
เครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค๒๓๒๙๗๘ และโจทกจ ดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา คำวา
เพอ่ื ใชก บั สนิ คา ในจำพวกท่ี ๑ รายการสนิ คา ปยุ เคมี ฮอรโ มนพชื และในจำพวกท่ี ๕ รายการสนิ คา
ยากำจดั แมลงศตั รพู ชื และอน่ื ๆ ตามสำเนาขอ มลู เครอ่ื งหมายการคา ทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
เลขที่ ค๒๙๕๖๖๒ และ ค๓๐๒๖๗๖ นอกจากนี้ โจทกยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
อีกหลายคำขอ ไดแก เครื่องหมายการคา ตามคำขอเลขที่ ๗๔๒๔๖๗ และ ๗๔๒๔๖๘
เครอ่ื งหมายการคา คำวา ตามสำเนาขอ มลู เครอ่ื งหมายการคา คำขอเลขท่ี ๗๔๒๔๖๙
๑๒๑
และ ๗๔๒๔๗๐ เครื่องหมายการคา ตามสำเนาขอมูลเครื่องหมายการคา คำขอเลขที่
๗๔๓๒๘๗ และ ๗๔๓๒๘๘ เครื่องหมายการคา ตามสำเนาขอมูลเครื่องหมายการคา
คำขอเลขที่ ๗๔๘๕๑๓ ถึง ๗๔๘๕๑๕ เครื่องหมายการคาคำวา ตามสำเนาขอมูล
เครอ่ื งหมายการคา คำขอเลขท่ี ๗๔๘๖๒๒ และ ๗๔๘๖๒๓ เครอ่ื งหมายการคา ตามสำเนา
ขอมูลเครื่องหมายการคา คำขอเลขที่ ๗๕๓๖๒๐ และ ๗๕๓๖๒๑ และเครื่องหมายการคา
คำวา ตามสำเนาขอมูลเครื่องหมายการคา คำขอเลขที่ ๗๕๓๖๒๒ และ ๗๕๓๖๒๓
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ มนี าคม ๒๕๕๓ จำเลยรว มฟอ งโจทกก บั พวกรวม ๓ คน ตอ ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศกลาง เพื่อใหพิพากษาวา จำเลยรวมเปนผูมีสิทธิดีกวาโจทกกับพวก
ในเครื่องหมายการคารูปเรือใบไวกิ้ง คำวา “VIKING SHIP” คำวา “เรือใบไวกิ้ง” คำวา “ไวกิ้ง”
และเครื่องหมายอื่นใดที่มีสาระสำคัญอยูที่รูปหรือคำดังกลาว ขอใหเพิกถอนเครื่องหมายการคา
ของโจทก และใหโ จทกถ อนคำขอจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ขอใหโ จทกย ตุ กิ ารใชเ ครอ่ื งหมาย
การคาคำวา “เรือใบไวกิ้ง” และเครื่องหมายการคารูปเรือใบไวกิ้งกับสินคาของโจทก และขอให
โจทกล งประกาศโฆษณาคำพพิ ากษาโดยยอ ในหนงั สอื พมิ พร ายวนั ตามสำเนาคำฟอ งคดหี มายเลข
ดำท่ี ทป.๒๙/๒๕๕๓ ของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง และเมอ่ื วนั ท่ี
๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๔ จำเลยรวมยื่นคำรองขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
ตามทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค๑๙๙๔๕๕ ของโจทก ตามสำเนาคำขอใหเ พกิ ถอน
การจดทะเบียน โจทกคัดคานการขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตามสำเนา
หนังสือชี้แจงการถูกรองขอใหเพิกถอนการจดทะเบียน เมื่อป ๒๕๕๙ ศาลฎีกามีคำพิพากษาใน
คดีที่จำเลยรวมฟองโจทกกับพวกรวม ๓ คน ตอศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางดงั กลา วขา งตน วา จำเลยรว มมสี ทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ตามทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคาเลขที่ ค๒๓๒๙๗๘, ค๒๙๕๖๖๒ และ ค๓๐๒๖๗๖ และเครื่องหมายการคาตามคำขอ
จดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ๗๔๒๔๖๙, ๗๔๒๔๗๐, ๗๔๓๒๘๗, ๗๔๓๒๘๘, ๗๔๘๕๑๓
ถงึ ๗๔๘๕๑๕, ๗๔๘๖๒๒, ๗๔๘๖๒๓ และ ๗๕๓๖๒๐ ถงึ ๗๕๓๖๒๓ ดกี วา โจทก สว นเครอ่ื งหมาย
การคา ตามทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๙๙๔๕๕ (เครื่องหมายพิพาทในคดีนี้)
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา โจทกจดทะเบียนเมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๖ จำเลยรวมฟองคดีเมื่อวันที่
๒๙ มีนาคม ๒๕๕๓ จึงพนกำหนดระยะเวลาหาปนับแตวันที่นายทะเบียนเครื่องหมายการคา
มคี ำสง่ั ใหจ ดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา แลว แมจ ำเลยรว มจะมสี ทิ ธดิ กี วา กไ็ มม อี ำนาจฟอ งขอให
เพิกถอนเครื่องหมายการคาดังกลาวไดตามสำเนาคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๙๖๙/๒๕๕๙ ตอมา
โจทกขอใหนายทะเบียนเครื่องหมายการคาเพิกถอนคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตาม
๑๒๒
คำขอเลขที่ ๗๔๒๔๗๐, ๗๔๓๒๘๗, ๗๔๓๒๘๘, ๗๔๘๕๑๓ ถึง ๗๔๘๕๑๕, ๗๔๘๖๒๒,
๗๔๘๖๒๓ และ ๗๕๓๖๒๐ ถึง ๗๕๓๖๒๓ และเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
ตามทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๒๓๒๙๗๘, ค๒๙๕๖๖๒ ค๓๐๒๖๗๖ และ ค๓๑๗๒๑๓
(คำขอเลขที่ ๗๔๒๔๖๙) แลว ตามสำเนาหนังสอื เร่อื งขอเพกิ ถอนคำขอจดทะเบียนเคร่ืองหมาย
การคา ลงวนั ท่ี ๑๔ กนั ยายน ๒๕๕๙ รวม ๑๒ ฉบบั และสำเนาคำขอใหเ พกิ ถอนการจดทะเบยี น
รวม ๔ ฉบับ นอกจากนี้ โจทกไดประกาศทางหนังสือพิมพวาโจทกไมเกี่ยวของในทางธุรกิจกับ
จำเลยรวมตามสำเนาประกาศ ในสวนของคำขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายพิพาท
คณะกรรมการเครื่องหมายการคาไดพิจารณาแลว มีความเห็นดังนี้ (ก) จำเลยรวมเปนผูมี
สวนไดเสียและมีสิทธิยื่นคำรองขอเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทกไดตาม
พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๑ (๒) และ (๔) กับเปนผูมีสิทธิยื่น
คำรอ งขอเพกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทกไ ดต ามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมาย
การคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๒ (๒) (ข) เครื่องหมายการคา ของโจทกมีภาคสวนคำวา
ไวกง้ิ เปน สาระสำคญั ของเครอ่ื งหมาย และเปน คำทเ่ี ขยี นขน้ึ ตามการเรยี กขานคำในภาษาองั กฤษ
คำวา VIKING ซง่ึ เปน คำ ๆ เดยี วกนั กบั คำทเ่ี ปน สาระสำคญั ในเครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยรว ม
คำวา แมเครื่องหมายการคาของโจทกจะมีภาคสวนรูปเรือวางอยูในกรอบรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัสพื้นโปรง และดานลางมีคำวา ตราเรือ ประกอบอยูดวย สวนเครื่องหมายการคา
ของจำเลยรว มจะมภี าคสว นคำวา SHIP ประกอบอยดู ว ยกต็ าม แตเ มอ่ื พจิ ารณาถงึ การเรยี กขาน
เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกอ าจเรยี กขานไดว า ตราเรอื ไวกง้ิ หรอื ไวกง้ิ สว นเครอ่ื งหมายการคา
ของจำเลยรว มอาจเรยี กขานไดว า ไวกง้ิ ชพิ หรอื ไวกง้ิ นบั วา เครอ่ื งหมายการคา ของทง้ั สองฝา ย
มีรูปลักษณะและเสียงเรียกขานใกลเคียงกัน เมื่อยื่นขอจดทะเบียนสำหรับสินคาในจำพวกที่ ๑
เชน เดยี วกนั และรายการสนิ คา ปยุ มลี กั ษณะอยา งเดยี วกนั ในขณะจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา
ของโจทกเมื่อป ๒๕๔๖ เครื่องหมายการคาของโจทกจึงเปนเครื่องหมายที่คลายกับเครื่องหมาย
การคา ทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา เลขท่ี ค๓๑๗๗๓ ทจ่ี ดทะเบยี นไวเ มอ่ื ป ๒๕๓๖ ของจำเลยรว ม
จนอาจทำใหสาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเปนเจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของ
สินคา กรณีจึงมีเหตุเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทกตามมาตรา ๖๑ (๔)
แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ (ค) เมื่อพิจารณาลักษณะการประดิษฐ
รูปเรือไวกิ้ง และการใชคำในการเรียกขานวา ไวกิ้ง มีลักษณะที่คลายกันมากจนเกือบจะเปน
เครื่องหมายเดียวกัน เครื่องหมายการคาของโจทกจึงเปนเครื่องหมายที่คลายกับเครื่องหมาย
การคา ของจำเลยรวม นา เชอื่ ไดวา ความคลายกนั ของเครื่องหมายการคา ทง้ั สองฝา ยนน้ั เกิดจาก
๑๒๓
โจทกเคยนำปุยภายใตเครื่องหมายการคาของจำเลยรวมเขามาจำหนายในประเทศไทยตั้งแต
ป ๒๕๑๕ ยอมถือไดวาเปนบุคคลที่อยูในวงการคาเดียวกัน ซึ่งเปนการยากที่บุคคลที่อยูตาง
สถานทก่ี นั หรอื อยกู นั คนละประเทศจะคดิ หรอื ออกรปู แบบเครอ่ื งหมายการคา ทพ่ี พิ าทไดค ลา ยกนั
เชน นไ้ี ด หากไมเ คยเหน็ หรอื ไมเ คยรจู กั หรอื ไมท ราบวา นอรส คห รอื จำเลยรว ม ไดใ ชเ ครอ่ื งหมาย
ที่พิพาทนี้มากอนที่โจทกจะยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายที่พิพาทนี้เปนของตนเอง อันเปน
เจตนาไมสุจริตในการแสวงหาประโยชนทางการคาจากเครื่องหมายการคาที่พิพาทนี้ไปใชใน
ลักษณะเชนเดียวกันกับจำเลยรวม จนทำใหสาธารณชนไมสามารถแยกแยะความเปนเจาของ
สนิ คา ออกจากกนั และอาจทำใหส าธารณชนสบั สนหรอื หลงผดิ ได จงึ มเี หตอุ นั ควรเชอ่ื ไดว า โจทก
ยอมตองรูจักและเคยเห็นเครื่องหมายการคาของจำเลยรวมมากอนที่โจทกจะยื่นขอจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาในประเทศไทย จึงถือวาโจทกมีเจตนาไมสุจริตลอกเลียนเครื่องหมายการคา
ของจำเลยรว ม แลว นำมายน่ื ขอจดทะเบยี นเปน เครอ่ื งหมายการคา ของตนเพอ่ื แสวงหาประโยชน
ทางการคาโดยมิชอบ และเปนการกระทำที่ขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชนหรือรัฐประศาสโนบาย ดังนั้น เครื่องหมายการคาของโจทกในขณะที่จดทะเบียนเมื่อ
ป ๒๕๔๖ เปน เครอ่ื งหมายทม่ี ลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๘ (๙) แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมาย
การคา พ.ศ. ๒๕๓๔ และเปนเครื่องหมายที่ขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชนหรอื รฐั ประศาสโนบาย ตามมาตรา ๖๒ แหง พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
กรณีจึงมีเหตุใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทกตามมาตรา ๖๑ (๒) และ
มาตรา ๖๒ แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ คณะกรรมการเครื่องหมาย
การคาจึงมีมติในการประชุมครั้งที่ ๗๒/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๐ ใหเพิกถอนการ
จดทะเบียนเครื่องหมายการคา ตามทะเบียนเครื่องหมายการคาเลขที่ ค๑๙๙๔๕๕ (คำขอเลขที่
๕๒๙๘๗๐) ตามคำสง่ั คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ท่ี ๘๘/๒๕๖๐ เรอ่ื ง เพกิ ถอนการจดทะเบยี น
เครอื่ งหมายการคา คำขอเลขท่ี ๕๒๙๘๗๐
มปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกว า คำสง่ั คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา
ท่ี ๘๘/๒๕๖๐ เรอ่ื ง เพกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา คำขอเลขท่ี ๕๒๙๘๗๐ ชอบดว ย
กฎหมายหรอื ไม เหน็ วา เครอ่ื งหมายการคา ของโจทกอ าจเรยี กขานวา ตราเรอื ไวกง้ิ หรอื เรอื ไวกง้ิ
หรอื ไวกง้ิ เครอ่ื งหมายการคา ของจำเลยรว มอาจเรยี กขานวา ไวกง้ิ ชพิ หรอื ไวกง้ิ เสยี งเรยี กขาน
จึงคลายกันมาก แมเครื่องหมายการคาของโจทกจะมีรูปเรือวางอยูในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสพื้นโปรง
แตเ มอ่ื พจิ ารณาประกอบกบั คำวา เรอื ไวกง้ิ ทอ่ี ยดู า นลา ง แสดงวา โจทกต อ งการสอ่ื วา รปู เรอื ทอ่ี ยู
ดานบนคือเรือไวกิ้ง และสาระสำคัญของเครื่องหมายการคาคือคำวา เรือไวกิ้ง ซึ่งเปนคำแปล
๑๒๔
ของตัวอักษรโรมัน VIKING SHIP อันเปนเครื่องหมายการคาของจำเลยรวม ลักษณะโดยรวม
ของเครื่องหมายการคาของโจทกและจำเลยรวมในเรื่องคำและเสียงเรียกขานจึงคลายกัน
ประกอบกับเครื่องหมายการคาของโจทกจดทะเบียนเพื่อใชกับสินคาในจำพวกที่ ๑ รายการ
สนิ คา ปยุ เคมี สว นของจำเลยรว มจดทะเบยี นเพอ่ื ใชก บั สนิ คา ในจำพวกท่ี ๑ รายการสนิ คา ปยุ เคมี
เรซินเทียมและเรซินสังเคราะห พลาสติกที่อยูในรูปเม็ดเล็ก ๆ ผง ชนิดเหลว และแปงเหลว ปุย
ธรรมชาตทิ ใ่ี ชใ นอตุ สาหกรรมและกสกิ รรม สนิ คา ของโจทกแ ละจำเลยรว มจงึ เปน สนิ คา ในจำพวก
เดียวกันและมีลักษณะอยางเดียวกัน การที่สินคามีลักษณะอยางเดียวกันและมีเสียงเรียกขาน
ใกลเคียงกัน สาธารณชนที่เกี่ยวของอันไดแก เกษตรกรหรือประชาชนทั่วไปที่ใชปุยในการ
เพาะปลูกพืช อาจสับสนหรือหลงผิดในความเปนเจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของสินคา
ได จึงถือวาในขณะที่โจทกจดทะเบียน เครื่องหมายการคาของโจทกเปนเครื่องหมายที่คลายกับ
เครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลวจนอาจทำใหสาธารณชนสับสนหรือ
หลงผิดในความเปนเจาของของสินคาหรือแหลงกำเนิดของสินคา จึงมีเหตุใหคณะกรรมการ
เครื่องหมายการคาเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาของโจทกไดตามมาตรา ๖๑ (๔)
แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่โจทกอุทธรณวา การใชสิทธิจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาพิพาทของโจทกเปนการใชสิทธิโดยสุจริต นั้น นายยุคเลศร รองกรรมการ
ผูจัดการโจทก เบิกความประกอบสำเนาหนังสือชี้แจงการถูกรองขอใหเพิกถอนการจดทะเบียน
สรุปไดวา โจทกมีความสัมพันธทางการคากับนอรสค ตั้งแตป ๒๕๑๕ ในลักษณะซื้อสินคาแบบ
เทกอง (bulk) แลวนำมาใสบรรจุภัณฑ ไมใชตัวแทนจำหนายสินคา โจทกเพิ่งมาเปนตัวแทน
จำหนายสินคาของจำเลยรวมเมื่อป ๒๕๔๘ ซึ่งเปนเวลาหลังจากโจทกจดทะเบียนเครื่องหมาย
การคา พพิ าทเม่ือป ๒๕๔๖ โจทกไดป ระดษิ ฐเ ครอื่ งหมายการคา พิพาทโดยเทียบเคียงจากเรือใบ
หลาย ๆ แบบ และไดก ระทำหลงั จากนอรสค ไมใ ชเครอ่ื งหมายการคา รปู เรือโบราณกบั สินคา ปุย
ตั้งแตป ๒๕๑๕ กับละทิ้งเครื่องหมายโดยไมไดตออายุการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาตั้งแต
ป ๒๕๓๐ การจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา พพิ าทของโจทกจ งึ กระทำไปโดยสจุ รติ และไมก ระทบ
ตอ สทิ ธขิ องจำเลยรว ม สว นฝา ยจำเลยมนี ายเมดิ กรรมการผจู ดั การบรษิ ทั สาขาของจำเลยรว มใน
ประเทศไทย เบิกความประกอบบันทึกถอยคำยืนยันขอเท็จจริงหรือความเห็นสรุปไดวา จำเลย
รว มเคยเปน แผนกชอ่ื ไฮโดรอกรี (Hydro Agri) ของนอรส ค โจทกเ คยเปน ตวั แทนจำหนา ยสนิ คา
ปุยแตเพียงผูเดียวใหกับนอรสค ตั้งแตป ๒๕๑๘ ถึงป ๒๕๔๗ ตอมาเมื่อป ๒๕๔๗ จำเลยรวม
แยกตัวจากนอรสค โจทกเปนตัวแทนจำหนายสินคาปุยแตเพียงผูเดียวใหกับจำเลยรวมตั้งแต
ป ๒๕๔๗ จนถงึ วนั ท่ี ๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๒ ในป ๒๕๓๕ จำเลยรว มและนายประวทิ ย กรรมการ
๑๒๕
ผูมีอำนาจกระทำการแทนโจทกไดรวมกันจัดตั้งบริษัทปุยไวกิ้ง จำกัด และสรางโรงงานผลิตปุย
เชิงผสมเมื่อประมาณป ๒๕๓๘ นอกจากนี้นายประวิทยเคยเดินทางไปราชอาณาจักรนอรเวย
หลายครั้ง และมีนายนันทน ผูรับมอบอำนาจจากจำเลยรวม เบิกความประกอบบันทึกถอยคำ
ยืนยันขอเท็จจริงหรือความเห็นสรุปไดวา จำเลยรวมจดทะเบียนเครื่องหมายการคารูปเรือไวกิ้ง
แบบโบราณในราชอาณาจกั รนอรเ วยต ง้ั แตว นั ท่ี ๗ มถิ นุ ายน ๒๔๕๖ และจดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย
การคาคำวา VIKING SHIP ที่สหรัฐอเมริกาตั้งแตวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๓๒ จำเลยรวมใช
คำวา VIKING SHIP มาอยางนอยตั้งแตป ๒๔๙๙ ตามสำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาจากสำนักงานสิทธิบัตรและเครื่องหมายการคาแหงสหรัฐอเมริกา จำเลยรวม
ไดใชแ ละจดทะเบียนเคร่ืองหมายการคาทมี่ ีสาระสำคัญอยทู ร่ี ปู เรอื ใบไวกง้ิ คำวา VIKING SHIP
เรือใบไวกิ้ง และ ไวกิ้ง กอนที่โจทกจะไดรับการจดทะเบียนเครื่องหมายการคาพิพาทใน
ประเทศไทย เหน็ วา พยานฝา ยจำเลยทง้ั สองปากเบกิ ความสอดคลอ งกบั พยานเอกสารจงึ มนี ำ้ หนกั
นาเชื่อถือสวนโจทกไมมีพยานหลักฐานเกี่ยวกับความเปนมาของเครื่องหมายการคาพิพาทที่จะ
สนับสนุนวาโจทกเปนผูออกแบบเครื่องหมายการคาพิพาทขึ้นเอง ประกอบกับศาลฎีกาเคย
วินิจฉัยไวในคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๙๖๙/๒๕๕๙ ซึ่งโจทกและจำเลยรวมเปนคูความวา โจทก
เคยเปนตัวแทนจำหนายสินคาของนอรสค และจำเลยรวม แลวนำเครื่องหมายการคารูปเรือใบ
ไวกิ้งแบบโบราณ และคำวาตราเรือไวกิ้ง เรือใบไวกิ้ง เรือไวกิ้ง และไวกิ้ง ไปขอจดทะเบียนกับ
สินคาในจำพวกที่ ๑ และ ๕ เปนการใชสิทธิไมสุจริต ขอเท็จจริงจึงมีเหตุผลที่รับฟงไดวา กอนที่
โจทกจะจดทะเบียนเครื่องหมายการคาพิพาทโจทกทราบอยูแลววานอรสค หรือจำเลยรวม เคย
ใชเ ครอ่ื งหมายการคา รปู เรอื ไวกง้ิ และคำวา เรอื ไวกง้ิ กบั สนิ คา ปยุ การทโ่ี จทกย น่ื คำขอจดทะเบยี น
เครื่องหมายการคาพิพาท ซึ่งประกอบดวยรูปเรือไวกิ้ง กับคำวา เรือไวกิ้ง เพื่อใชกับสินคาปุย
แสดงใหเห็นถึงเจตนาของโจทกวา กระทำไปเพื่อแสวงหาประโยชนทางธุรกิจจากเครื่องหมาย
การคาของบุคคลอื่น ดังนั้น การใชสิทธิจดทะเบียนเครื่องหมายการคาพิพาทของโจทกจึงเปน
การใชส ทิ ธโิ ดยไมส จุ รติ สว นทโ่ี จทกอ ทุ ธรณว า คณะกรรมการเครอ่ื งหมายการคา ไมม อี ำนาจออก
คำสง่ั เพกิ ถอนเครอ่ื งหมายการคา พพิ าทเนอ่ื งจากขดั ตอ คำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๑๙๖๙/๒๕๕๙ นน้ั
เห็นวา ตามคำพิพากษาศาลฎีกาดังกลาววินิจฉัยแตเพียงวาจำเลยรวมฟองคดีเมื่อพนกำหนด
ระยะเวลาทบ่ี ญั ญัติไวใ นพระราชบัญญัติเครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๗ วรรคหนึง่
จงึ ไมม ีอำนาจฟอ งขอใหเพิกถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคาพิพาทได แตคณะกรรมการ
เครอ่ื งหมายการคา ยงั คงมอี ำนาจเพกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ไดต ามพระราชบญั ญตั ิ
เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๑ และมาตรา ๖๒ โดยบทบญั ญตั ดิ งั กลา วไมไ ดก ำหนด
๑๒๖
ระยะเวลาไว เมื่อกรณีปรากฏวามีเหตุตามมาตรา ๖๑ (๒) (๔) และมาตรา ๖๒ คณะกรรมการ
เครอ่ื งหมายการคา ยอ มมอี ำนาจออกคำสง่ั เพกิ ถอนเครอ่ื งหมายการคา พพิ าทไดต ามพระราชบญั ญตั ิ
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๑ และมาตรา ๖๒ ดังนั้น คำสั่งคณะกรรมการ
เครื่องหมายการคาที่ ๘๘/๒๕๖๐ เรื่อง เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา คำขอ
เลขที่ ๕๒๙๘๗๐ จึงชอบดวยกฎหมายแลว อุทธรณทุกขอของโจทกฟงไมขึ้น ที่ศาลทรัพยสิน
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟองนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
เห็นพองดวย
พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนยี มช้ันอทุ ธรณใ หเ ปนพับ.
(สุรพล คงลาภ - ตลุ เมฆยงค - ปรานี เสฐจินตนิน)
ธนวรรณ นราวิริยะกลุ - ยอ
นภิ า ชัยเจรญิ - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี งึ ที่สดุ
๑๒๗
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษที่ ๒๗๙๔/๒๕๖๓ โอโช ฟดู เซอรว ิส คอรป . โจทก
นายดำรงพล
เพญ็ ประพัฒน จำเลย
พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๕๔ วรรคสอง, ๕๖, ๘๐
เดิมเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ด เปนของบริษัท ค. ไดรับการจดทะเบียนตั้งแต
ป ๒๕๔๙ ตอมาจำเลยไดรับโอนสิทธิในเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดมาจากบริษัทดังกลาว
แตมิไดจดทะเบียนตอนายทะเบียนเครื่องหมายการคา ถือวาไมมีการโอนสิทธิใน
เครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดใหแกจำเลย และถือวา บริษัท ค. ยังเปนเจาของเครื่องหมาย
บรกิ ารทง้ั เจด็ ทไ่ี ดร บั การจดทะเบยี นไวแ ลว นน้ั ตลอดมา จนกระทง่ั ครบอายกุ ารจดทะเบยี น
ในป ๒๕๕๙ เมื่อไมปรากฏวามีการตออายุการจดทะเบียน จึงถือวาเครื่องหมายบริการ
ทั้งเจ็ดไดถูกเพิกถอนการจดทะเบียนแลวตาม พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๕๖ และมาตรา ๕๔ วรรคสอง แมเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ด
จะยังคงมีใชอยูโดยมิไดปลอยปละละเลยดังขออุทธรณของจำเลย แตก็คงถือวามีฐานะ
เปนเพียงเครื่องหมายบริการที่ไมจดทะเบียนเทานั้น จำเลยยอมไมสามารถอางสิทธินำ
เอาวนั ทเ่ี ครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ซง่ึ ไดร บั จดทะเบยี นในป ๒๕๔๙ มานบั ตดิ ตอ รวมกนั เขา
กบั ระยะเวลาทเ่ี ครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ของจำเลยไดร บั การจดทะเบยี นเมอ่ื ป ๒๕๖๑ ได
______________________________
โจทกฟอง ขอใหพิพากษาวาโจทกมีสิทธิในเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดดีกวาจำเลย
สำหรบั บริการท่จี ำเลยไดจดทะเบยี นไว ใหเพิกถอนทะเบยี นเครือ่ งหมายบริการทัง้ เจด็ และหา ม
มใิ หจ ำเลยใชเ ครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ อกี ตอ ไป หากจำเลยเพกิ เฉยไมป ฏบิ ตั ติ าม ใหถ อื เอาตาม
คำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจำเลยกับใหจำเลยชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหาย
เดือนละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท แกโจทก นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจำเลยจะยุติการละเมิดสิทธิ
โจทกและยตุ กิ ารกระทำใด ๆ ที่ทำใหเ กิดความเสยี หายแกโ จทก
จำเลยใหการ ขอใหย กฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง พิพากษาวาโจทกมีสิทธิใน
เครอ่ื งหมายบรกิ ารภาษาญป่ี นุ คำวา , ภาษาไทยคำวา “เกย๊ี วซา โนะ โอโช” และคำอกั ษร
โรมันวา “GYOZA OHSHO” ดีกวาจำเลยสำหรับบริการที่จำเลยไดจดทะเบียนไวใหเพิกถอน
๑๒๘
การจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ าร คำขอเลขท่ี ๑๐๔๔๖๒๒ ทะเบยี นเลขท่ี ๑๘๑๑๐๑๔๗๘,
เครอ่ื งหมายบรกิ าร คำขอเลขท่ี ๑๐๔๔๖๒๓ ทะเบยี นเลขท่ี ๑๘๑๑๐๑๔๘๑, เครอ่ื งหมาย
บริการ คำขอเลขที่ ๑๐๔๔๖๒๔ ทะเบียนเลขที่ ๑๘๑๑๐๑๔๘๓, เครื่องหมายบริการ
คำขอเลขท่ี ๑๖๐๑๐๕๑๑๗ ทะเบียนเลขที่ ๑๘๑๑๑๓๔๔๓, เครือ่ งหมายบรกิ าร
คำขอเลขที่ ๑๖๐๑๐๕๑๑๘ ทะเบียนเลขที่ ๑๘๑๑๑๓๔๔๔, เครื่องหมายบริการ คำขอ
เลขที่ ๑๖๐๑๐๕๑๑๙ ทะเบียนเลขที่ ๑๘๑๑๑๓๔๔๕ และเครื่องหมายบริการ คำขอ
เลขท่ี ๑๖๐๑๐๕๑๒๐ ทะเบยี นเลขท่ี ๑๘๑๑๑๓๔๔๖ คำขออน่ื ใหย ก คา ฤชาธรรมเนยี มใหเ ปน พบั
จำเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงไดยุติในเบื้องตนวา นายทะเบียนเครื่องหมายการคามีคำสั่งใหจด
ทะเบียนเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดของจำเลยในวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๑ สำหรับเครื่องหมาย
บรกิ าร , , และในวนั ท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑ สำหรบั เครอ่ื งหมาย
บริการ , , , คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยใน
ประการแรกวา โจทกฟองขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดของจำเลย
ภายในกำหนดเวลาตามกฎหมายหรอื ไม เหน็ วา เอกสารหมาย ล.๙ เปน เพยี งรายงานการประชมุ
สามญั ผถู อื หนุ ของบรษิ ทั คอสโม ฟดู ส จำกดั ซง่ึ แมป ระธานฯ จะมขี อ แถลงเสนอวา “... ทรพั ยส นิ
เครื่องหมายการคาทั้งหมดที่บริษัทคอสโม ฟูดส จำกัด เปนผูถือครองสิทธิอยูนั้น มอบให
นายดำรงพล (จำเลย) กรรมการผจู ดั การ ถอื ครองตอ ไปเพอ่ื สามารถนำมาใชป ระโยชนต อ ในอนาคต”
โดย “ทป่ี ระชมุ ... มมี ตเิ ปน เอกฉนั ทใ ห ... โอนสทิ ธเิ ครอ่ื งหมายการคา ทง้ั หมดดงั กลา วขา งตน ตาม
ทป่ี ระธานฯ เสนอทกุ ประการ” กต็ าม แตก ไ็ ดค วามจากจำเลยเบกิ ความตอบคำถามคา นของทนาย
โจทกวา การโอนเครื่องหมายการคา (เครื่องหมายบริการ) ดังกลาวไมมีการจดทะเบียน ซึ่ง
หมายความวา มิไดจดทะเบียนตอนายทะเบียนเครื่องหมายการคา ยอมเปนการไมถูกตองตาม
พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง
ทั้งไมเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดไวในกฎกระทรวงพาณิชย (พ.ศ. ๒๕๓๕)
ดวยถือวา ไมมีการโอนสิทธิในเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดใหแกจำเลย และถือวา บริษัทคอสโม
ฟูดส จำกัด ยังเปนเจาของเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดที่ไดรับการจดทะเบียนไวแลวนั้นตลอดมา
จนกระทง่ั ครบอายกุ ารจดทะเบยี นในป ๒๕๕๙ เมอ่ื ไมป รากฏวา บรษิ ทั คอสโม ฟดู ส จำกดั ไดย น่ื
คำขอตอ อายกุ ารจดทะเบยี น กรณตี อ งถอื วา เครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ทไ่ี ดร บั การจดทะเบยี นนน้ั
ไดถ กู เพกิ ถอนการจดทะเบยี นแลว ตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๘๐
๑๒๙
ประกอบมาตรา ๕๖ และมาตรา ๕๔ วรรคสอง ดงั ทเ่ี อกสารหมาย จ.๘๕ ถงึ จ.๙๐ ระบุ “สถานะ”
ไวว า “เพกิ ถอน ... / ... / (ป) ๒๕๕๙ เพกิ ถอนการจดทะเบยี นตามมาตรา ๕๖” จงึ ตอ งถอื วา ไมม ี
เครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ของบรษิ ทั คอสโม ฟดู ส จำกดั อยใู นทะเบยี นอกี ตอ ไป แมเ ครอ่ื งหมาย
บริการทั้งเจ็ดจะยังคงมีใชอยูโดยมิไดปลอยปละละเลยดังขออุทธรณของจำเลย แตก็คงถือวา
มฐี านะเปน เพยี งเครอ่ื งหมายบรกิ ารทไ่ี มจ ดทะเบยี นเทา นน้ั จำเลยยอ มไมส ามารถอา งสทิ ธนิ ำเอา
วนั ทเ่ี ครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ของบรษิ ทั คอสโม ฟดู ส จำกดั ซง่ึ ไดร บั การจดทะเบยี นในป ๒๕๔๙
มานบั ตดิ ตอ รวมกนั เขา กบั ระยะเวลาทเ่ี ครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ของจำเลยไดร บั การจดทะเบยี น
เมื่อป ๒๕๖๑ ได ประกอบกับทะเบียนเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดของบริษัทคอสโม ฟูดส จำกัด
เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ของจำเลยแลว เปน คนละหมายเลขทะเบยี น
กนั ดงั นน้ั การทโ่ี จทกฟ อ งขอใหเ พกิ ถอนการจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ของจำเลยใน
วนั ท่ี ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ จงึ เปน เวลาเพยี ง ๑๐ เดอื น และ ๖ เดอื น นบั จากวนั ทน่ี ายทะเบยี น
เครื่องหมายการคามีคำสั่งใหจดทะเบียน ยังอยูภายในกำหนดเวลาหาปตามพระราชบัญญัติ
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๘๐ ประกอบมาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง หาไดเกินกำหนด
เวลาดังที่จำเลยอุทธรณมาไม โจทกจึงมีอำนาจฟอง ขอที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศกลางวินิจฉัยวา การที่จำเลยนำเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดไปจดทะเบียนใน
ป ๒๕๖๑ เปนการจดทะเบียนใหมนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของ
จำเลยในขอน้ฟี ง ไมขึ้น
ปญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยในประการสดุ ทา ยวา โจทกม สี ทิ ธใิ นเครอ่ื งหมาย
บรกิ ารท้ังเจ็ดดีกวา จำเลย อันเปนเหตใุ หต อ งเพิกถอนการจดทะเบียนเคร่อื งหมายบริการทงั้ เจด็
ของจำเลยตามคำฟอง ดงั ท่ีศาลทรัพยสนิ ทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศกลางวินิจฉยั มา
หรือไม เห็นวา เมื่อนำรูปลักษณะรวมทั้งเสียงเรียกขานเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดของจำเลยมา
เปรียบเทียบกับเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการของโจทกตามคำฟองและทางนำสืบ
ของโจทกแลว ตางประกอบดวยสาระสำคัญอยางเดียวกัน คือ ตางประกอบดวยตัวอักษรญี่ปุน
และ/หรือตัวอักษรโรมันที่อานหรือมีเสียงเรียกขานวา “เกี๊ยวซาโนะ โอโช” “โอโช” หรือ “เกี๊ยวซา
โอโช” เหมือน ๆ กัน และใชกับสินคาและ/หรือบริการอาหารและ/หรือเครื่องดื่มที่มีลักษณะ
อยางเดียวกัน อันเปนขอเท็จจริงที่จำเลยมิไดนำสืบหักลางใหเห็นเปนอยางอื่นทั้งนายทะเบียน
เครื่องหมายการคาก็มีความเห็นไปในทางเดียวกับโจทกวา เครื่องหมายการคาและเครื่องหมาย
บรกิ ารของโจทกเ หมอื นหรอื คลา ยกบั เครอ่ื งหมายบรกิ ารทง้ั เจด็ ของจำเลยเพราะเรยี กขานคลา ยกนั
และมีรายการ (รายการสินคาและ/หรือบริการ) ในลักษณะที่เกี่ยวของกัน ตามหนังสือแจงคำสั่ง
๑๓๐
ลงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๑ อันมีความหมายวา เครื่องหมายของจำเลยเมื่อเปรียบเทียบกับ
เครอ่ื งหมายของโจทกแ ลว มสี าระสำคญั อยา งเดยี วกนั นน่ั เอง สว นขอ ทจ่ี ำเลยตอ สคู ดไี วใ นคำใหก าร
ในทางนำสบื และในอทุ ธรณว า มคี วามแตกตา งกนั นน้ั เปน เพยี งคำกลา วอา งเลอ่ื นลอยไมส ามารถ
หักลางพยานหลักฐานของโจทกได ดังนี้ การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางวนิ จิ ฉยั วา จากทางนำสบื ของคคู วาม พยานหลกั ฐานเจอื สมไปทางโจทกด ว ยพยาน
หลักฐานทช่ี ดั เจนและนาเชอื่ ถอื สวนจำเลยไมอ าจพสิ จู นสทิ ธใิ นชื่อ “เก๊ยี วซาโนะ โอโช” ไดด เี ทา
โจทก กบั การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาวา โจทกม สี ทิ ธิ
ในเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการภาษาญี่ปุนคำวา “ ” ภาษาไทยคำวา
“เกี๊ยวซาโนะ โอโช” และอักษรโรมันวา “GYOZA OHSHO” ดีกวาจำเลยสำหรับบริการที่จำเลย
ไดจดทะเบียนไว กับใหเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายบริการทั้งเจ็ดของจำเลยนั้น
ศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษเหน็ พอ งดวย อทุ ธรณของจำเลยในขอ นี้ฟง ไมขึน้
พพิ ากษายืน คา ฤชาธรรมเนียมชั้นอทุ ธรณใหเปนพบั .
(วราคมน เลี้ยงพนั ธุ - ธารทพิ ย จงจักรพนั ธ - กรกนั ยา สุวรรณพานชิ )
สุธรรม สุธมั นาถพงษ - ยอ
นิภา ชยั เจรญิ - ตรวจ
หมายเหตุ คดีถงึ ท่ีสุด
๑๓๑
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษที่ ๙๘๕/๒๕๖๐ พนกั งานอัยการ
สำนักงานอัยการสงู สุด โจทก
นายสมชาย เจริญพรพงศ จำเลย
ป.อ. มาตรา ๙๐, ๒๗๒ (๑), ๒๗๕
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนง่ึ
ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๕, ๑๕๘ (๕), ๑๙๕ วรรคสอง
พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘, ๑๐๙, ๑๑๐ (๑)
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรพั ยสินทางปญญาและการคาระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖, ๓๘
ขอกำหนดคดที รัพยส ินทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๐ ขอ ๔๗
โจทกบ รรยายฟอ งวา ความผดิ ฐานจำหนา ย เสนอจำหนา ย และมไี วเ พอ่ื จำหนา ย
สินคากระเปาถือ กระเปาเดินทาง กระเปาใสธนบัตร กระเปาสตางค เข็มขัดและริบบิ้น
ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ซง่ึ มผี ทู ำปลอมเครอ่ื งหมายการคา ของผเู สยี หายท่ี ๑ ถงึ ท่ี ๑๐ ซง่ึ ได
จดทะเบยี นไวใ นราชอาณาจกั รและสนิ คา กระเปา ถอื ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ซง่ึ มผี ทู ำเลยี น
เครื่องหมายการคาของผูเสียหายที่ ๑๑ และที่ ๑๒ ซึ่งไดจดทะเบียนไวในราชอาณาจักร
ดังนี้ฟองโจทกดังกลาวไดบรรยายขอเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทำของจำเลยครบถวน
เพยี งพอท่จี ะเขาใจและตอ สูคดีไดแ ลว ไมจ ำตองบรรยายระบชุ ือ่ นามสกุล ตวั บคุ คลผซู ือ้
หรือรับสนองตามที่จำเลยอุทธรณเพราะมิใชองคประกอบความผิดของฐานความผิด
ดงั กลา ว สว นทะเบยี นเลขท่ี วนั ทย่ี น่ื คำขอ วนั ทจ่ี ดทะเบยี นตลอดจนการสน้ิ สดุ ระยะเวลา
ของเครื่องหมายการคา เปนเพียงรายละเอียดที่โจทกนำสืบไดในชั้นพิจารณา ฟองโจทก
จึงชอบดวย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและ
วิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖
ประกอบ ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๕๘ (๕)
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งไมรับพยาน
โจทกอ นั ดบั ๒๑ รายการสรรพเอกสารและพยานวตั ถทุ เ่ี กย่ี วขอ งในคดนี ้ี ซง่ึ รวมถงึ หนงั สอื
มอบอำนาจชว งและหนงั สอื มอบอำนาจ หากศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศกลางเห็นวา เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมจำเปนจะตองสืบพยานหลักฐาน
๑๓๒
ดังกลาว ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางก็มีอำนาจอนุญาต
ใหสืบและรับฟงพยานหลักฐานเชนวานั้นไดตามขอกำหนดคดีทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๐ ขอ ๔๗ ตอนทาย
อุทธรณของจำเลยในขอ ๗ ขอ ๙ และขอ ๑๐ เปนการคัดลอกตัดตอนและ
เพม่ิ เตมิ จากคำใหก าร คำใหก ารเพม่ิ เตมิ และคำแถลงการณป ด คดขี องจำเลย ไมไ ดโ ตแ ยง
คำพิพากษาศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวาไมถูกตองหรือ
คลาดเคลอ่ื นอยา งไรหรอื ไม เหน็ ดว ยกบั คำพพิ ากษาเพราะเหตใุ ด ประกอบกบั การวนิ จิ ฉยั
อทุ ธรณข องจำเลยดงั กลา วกไ็ มท ำใหผ ลแหง คดเี ปลย่ี นแปลงไป จงึ เปน อทุ ธรณท ไ่ี มช ดั แจง
และไมเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัย ถือเปนอุทธรณที่มิชอบ ตาม พ.ร.บ.
จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสิน
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๘ ประกอบ ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๕
และ ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง
จำเลยกระทำความผดิ ฐานเสนอจำหนา ยและมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี ผี ทู ำปลอม
เครอ่ื งหมายการคา ของผเู สยี หายท่ี ๑ ถงึ ท่ี ๑๐ เสนอจำหนา ยและมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา
ที่มผี ทู ำเลียนเครอื่ งหมายการคา ของผเู สียหายท่ี ๑๑ และที่ ๑๒ และเสนอจำหนา ยสนิ คา
ที่มีชื่อ รูป รอยประดิษฐ หรือขอความใด ๆ ในการประกอบการคาของผูเสียหายที่ ๙
เพอ่ื ใหป ระชาชนหลงเชอ่ื วา เปน สนิ คา ของผเู สยี หายท่ี ๙ โดยการกระทำดงั กลา วเปน การ
กระทำในวันและเวลาเดียวกัน จึงเปนการกระทำกรรมเดียวกัน การที่ศาลทรัพยสินทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาลงโทษจำเลยในความผิดตาม พ.ร.บ.
เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ และมาตรา ๑๑๐ (๑)
ประกอบมาตรา ๑๐๙ เปนการกระทำกรรมเดียวเปนความผิดตอกฎหมายหลายบท ให
ลงโทษตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘
ซึ่งเปนกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุด และลงโทษทวีคูณตามมาตรา ๑๑๓ ใหปรับจำเลย
๖๐,๐๐๐ บาท กระทงหนง่ึ และความผดิ ตาม ป.อ. มาตรา ๒๗๕ ประกอบมาตรา ๒๗๒ (๑)
ปรับ ๒,๐๐๐ บาท อีกกระทงหนึ่ง จึงไมถูกตอง ปญหาดังกลาวเปนปญหาขอกฎหมาย
อนั เกย่ี วดว ยความสงบเรยี บรอ ยของประชาชนตาม พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๘ ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง แมจำเลยจะ
มิไดอทุ ธรณแ ตศ าลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษมีอำนาจหยบิ ยกข้นึ แกไขใหมไ ด
______________________________
๑๓๓
โจทกฟ อ งขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔,
๑๐๘, ๑๐๙, ๑๑๐, ๑๑๓, ๑๑๕ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓, ๘๓, ๙๑, ๒๗๒, ๒๗๕
รบิ ของกลางและวางโทษทวีคณู แกจ ำเลย
จำเลยใหก ารปฏเิ สธแตร บั วา เปน บคุ คลคนเดยี วกนั กบั จำเลยในคดที โ่ี จทกข อใหว างโทษ
ทวีคณู
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาวา จำเลยมคี วามผดิ
ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘
มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๕ ประกอบมาตรา
๒๗๒ (๑) เปนการกระทำความผดิ หลายกรรมตา งกัน ใหลงโทษทุกกรรมเปน กระทงความผดิ ไป
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑ ฐานเสนอจำหนายและมีไวเพื่อจำหนายซึ่งสินคาที่มี
เครื่องหมายการคาปลอมและเลียนเครื่องหมายการคาของผูอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลวใน
ราชอาณาจกั ร เปน การกระทำกรรมเดยี วเปน ความผดิ ตอ กฎหมายหลายบท ใหล งโทษฐานเสนอ
จำหนายและมีไวเพื่อจำหนายซึ่งสินคาที่มีเครื่องหมายการคาปลอมของผูอื่นที่ไดจดทะเบียนไว
แลว ในราชอาณาจกั ร ซง่ึ เปน กฎหมายทม่ี โี ทษหนกั ทส่ี ดุ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐
วางโทษทวคี ณู ตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๓ ปรบั ๖๐,๐๐๐ บาท
ฐานเสนอจำหนายซึ่งสินคาที่มีการเอาชื่อ รูป รอยประดิษฐและขอความในการประกอบการคา
ของผูอื่นมาใชเพื่อใหประชาชนหลงเชื่อวาเปนสินคาของผูอื่นนั้น ปรับ ๒,๐๐๐ บาท รวมปรับ
๖๒,๐๐๐ บาท หากจำเลยไมช ำระคา ปรบั ใหจ ดั การตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙, ๓๐
รบิ ของกลาง
จำเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการแรกวา คำฟองของโจทกฐาน
เสนอจำหนายสินคาที่มีเครื่องหมายการคาซึ่งมีผูทำปลอมเครื่องหมายการคาซึ่งไดจดทะเบียน
ไวใ นราชอาณาจกั รและฐานเสนอจำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ซง่ึ มผี ทู ำเลยี นเครอ่ื งหมาย
การคา ของผอู น่ื ซง่ึ ไดจ ดทะเบยี นไวใ นราชอาณาจกั ร ขาดองคป ระกอบความผดิ สาระสำคญั ทางคดี
ตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕๘ (๕) หรือไม เห็นวา
โจทกบ รรยายฟอ งวา จำเลยเสนอจำหนา ยและมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา กระเปา ถอื กระเปา เดนิ ทาง
กระเปาใสธนบัตร กระเปาใสสตางค เข็มขัด และริบบิ้น ที่มีเครื่องหมายการคาซึ่งมีผูทำปลอม
เครื่องหมายการคาของผูเสียหายที่ ๑ ถึงที่ ๑๐ ซึ่งไดจดทะเบียนไวในราชอาณาจักรและสินคา
๑๓๔
กระเปา ถอื ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ซง่ึ มผี ทู ำเลยี นเครอ่ื งหมายการคา ของผเู สยี หายท่ี ๑๑ และท่ี ๑๒
ซึ่งไดจดทะเบียนไวในราชอาณาจักร ดังนี้ ฟองโจทกดังกลาวไดบรรยายขอเท็จจริงเกี่ยวกับ
การกระทำของจำเลยครบถว นเพยี งพอทจ่ี ำเลยจะเขา ใจและตอ สคู ดไี ดแ ลว ไมจ ำตอ งบรรยายโดย
ระบชุ อ่ื นามสกลุ ตวั บคุ คลผซู อ้ื หรอื ผรู บั สนองตามทจ่ี ำเลยอทุ ธรณ เพราะมใิ ชอ งคป ระกอบความผดิ
ของฐานความผิดดังกลาวขางตน สวนทะเบียนเลขที่ วันที่ยื่นคำขอ วันที่จดทะเบียน ตลอดจน
การสิ้นสุดระยะเวลาของเครื่องหมายการคาตามที่จำเลยอุทธรณไมจำตองระบุ เพราะเปนเพียง
รายละเอียดที่โจทกนำสืบไดในชั้นพิจารณา ฟองโจทกจึงชอบดวยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและ
การคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
มาตรา ๑๕๘ (๕) แลว อทุ ธรณของจำเลยขอนฟ้ี ง ไมขน้ึ
มปี ญหาตอ งวนิ จิ ฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการตอไปวา ศาลทรัพยส นิ ทางปญ ญา
และการคา ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั ไมร บั พยานโจทกอ นั ดบั ท่ี ๒๑ รายการสรรพเอกสารและ
พยานวัตถุที่เกี่ยวของในคดีนี้ตามบัญชีพยานลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๗ เนื่องจากมิไดระบุ
รายละเอยี ดวา เปน อะไรบา ง จงึ ตอ งหา มรบั ฟง ตามขอ กำหนดคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๐ ขอ ๔๗ การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
กลางรบั ฟง พยานหลกั ฐานโจทกแ ละพพิ ากษาลงโทษจำเลย จงึ เปน การดำเนนิ กระบวนพจิ ารณา
พิพากษาคดีไมชอบดวยขอกำหนดดังกลาวหรือไม เห็นวา ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั ไมร บั พยานโจทกอ นั ดบั ท่ี ๒๑ รายการสรรพเอกสารและพยานวตั ถุ
ที่เกี่ยวของในคดีนี้ตามบัญชีพยานลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๗ โดยเอกสารในสำนวนซึ่งรวม
หนังสือมอบอำนาจชวงและหนังสือมอบอำนาจ และจำเลยไดโตแยงคัดคานตามคำรองคัดคาน
ของจำเลยลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๙ แตหากศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางเห็นวา เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมจำเปนจะตองสืบพยานหลักฐานดังกลาว
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางก็มีอำนาจอนุญาตใหสืบและรับฟง
พยานหลักฐานเชนวานั้นไดตามขอกำหนดคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๔๐ ขอ ๔๗ ตอนทาย ดังนี้ การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
กลางอนญุ าตใหส บื และรบั ฟง พยานหลกั ฐานของโจทกด งั กลา วจงึ ชอบดว ยขอ กำหนดคดที รพั ยส นิ
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๐ ขอ ๔๗ แลว อุทธรณของจำเลยขอนี้ฟง
ไมข ้ึนเชน กนั
๑๓๕
สวนอุทธรณขออื่น ๆ ของจำเลยในขอที่ ๗ ที่จำเลยอุทธรณวา พระราชบัญญัติ
เครื่องหมายการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๓ ยกเลิกเครื่องหมายแหงมาตรา ๔ ของ
พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ โจทกจ งึ ไมม อี ำนาจฟอ ง ขอ ๙ ทจ่ี ำเลยอทุ ธรณว า
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมไิ ดพ พิ ากษาวา จำเลยกระทำความผดิ
ตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔ ประกอบมาตรา ๑๑๕ ตามทโ่ี จทก
ระบไุ วใ นคำขอทา ยฟอ ง เมอ่ื จำเลยไมไ ดก ระทำความผดิ มาตราดงั กลา วยอ มไมเ ปน ความผดิ ตาม
ที่ศาลชั้นตนพิพากษา ผูเสียหายทั้งสิบสองไมมีอำนาจรองทุกขคดีโจทกจึงไมมีมูล และขอ ๑๐
ทจ่ี ำเลยอทุ ธรณว า คดโี จทกไ มม มี ลู พนกั งานสอบสวนคดพี เิ ศษจงึ ไมม อี ำนาจสอบสวนคดคี วามผดิ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๕ ประกอบมาตรา ๒๗๒ (๑) เพราะขอ หาดงั กลา วไมอ ยู
ในบัญชีทายพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ นั้น เห็นวา อุทธรณทุกฉบับ
ตองระบุขอเท็จจริงโดยยอหรือขอกฎหมายที่ยกอางอิงเปนลำดับ ทั้งจะตองกลาวไวโดยชัดแจง
และจะตองเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัย แตอุทธรณของจำเลยในขอ ๗ ขอ ๙ และ
ขอ ๑๐ ดงั กลา วขา งตน ลว นแตเ ปน การคดั ลอกตดั ตอนและเพม่ิ เตมิ จากคำใหก าร คำใหก ารเพม่ิ เตมิ
และคำแถลงการณป ด คดขี องจำเลย เมอ่ื ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
ไดวินิจฉัยขอเท็จจริงและขอกฎหมายในประเด็นดังกลาวไวโดยละเอียดแลว ขณะที่อุทธรณของ
จำเลยไมไ ดก ลา วโตแ ยง คำพพิ ากษาศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวา
ไมถ กู ตอ งหรอื คลาดเคลอ่ื นอยา งไร หรอื ไม หรอื ไมเ หน็ ดว ยกบั คำพพิ ากษาเพราะเหตใุ ด ประกอบ
กับการวินิจฉัยอุทธรณของจำเลยดังกลาวก็ไมทำใหผลแหงคดีเปลี่ยนแปลงไปจึงเปนอุทธรณที่
ไมช ดั แจง และไมเ ปน สาระแกค ดอี นั ควรไดร บั การวนิ จิ ฉยั ถอื วา เปน อทุ ธรณท ม่ี ชิ อบดว ยกฎหมาย
ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดี
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๘ ประกอบประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา ๒๒๕ วรรคหนงึ่ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษจึงไมรับวนิ ิจฉยั
อนง่ึ จำเลยกระทำความผดิ ฐานเสนอจำหนา ยและมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี ผี ทู ำปลอม
เครอ่ื งหมายการคา ของผเู สยี หายท่ี ๑ ถงึ ท่ี ๑๐ เสนอจำหนา ยและมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี ผี ทู ำ
เลยี นเครอ่ื งหมายการคา ของผเู สยี หายท่ี ๑๑ และท่ี ๑๒ และเสนอจำหนา ยสนิ คา ทม่ี ชี อ่ื รปู รอย
ประดษิ ฐห รอื ขอ ความใด ๆ ในการประกอบการคา ของผเู สยี หายท่ี ๙ เพอ่ื ใหป ระชาชนหลงเชอ่ื วา
เปน สนิ คา ของผเู สยี หายท่ี ๙ โดยการกระทำดงั กลา วเปน การกระทำในวนั และเวลาเดยี วกนั จงึ เปน
การกระทำกรรมเดยี วกนั การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษา
๑๓๖
ลงโทษจำเลยในความผิดตามพระราชบัญญตั ิเครือ่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑)
ประกอบมาตรา ๑๐๘ และมาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙ อันเปนการกระทำกรรมเดียว
เปน ความผดิ ตอ กฎหมายหลายบท ใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ ซึ่งเปนกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุด และใหวางโทษ
ทวีคูณตามมาตรา ๑๑๓ ใหปรับจำเลย ๖๐,๐๐๐ บาท กระทงหนึ่ง และความผิดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๕ ประกอบมาตรา ๒๗๒(๑) ปรับ ๒,๐๐๐ บาท เปนอีกกระทงหนึ่ง
จงึ ไมถ กู ตอ ง ปญ หาดงั กลา วเปน ปญ หาขอ กฎหมายอนั เกย่ี วดว ยความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน
ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา
คดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง แมจ ำเลยจะมไิ ดอ ทุ ธรณแ ตศ าลอทุ ธรณ
คดชี ำนัญพเิ ศษมีอำนาจหยิบยกขึน้ แกไ ขและวนิ ิจฉัยใหมไ ด
พพิ ากษาแกเ ปน วา จำเลยมคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙ ประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๒๗๕ ประกอบมาตรา ๒๗๒ (๑) เปน การกระทำกรรมเดยี วเปน ความผดิ ตอ กฎหมาย
หลายบทใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบ
มาตรา ๑๐๘ ซง่ึ เปน กฎหมายบททม่ี โี ทษหนกั ทส่ี ดุ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ วางโทษ
ทวีคูณตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๓ ปรับ ๖๐,๐๐๐ บาท
นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำพพิ ากษาศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง.
(นพรัตน ชลวิทย - วราคมน เลีย้ งพนั ธุ - กรกันยา สุวรรณพานิช)
ววิ ัฒน วงศกิตติรักษ - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ
หมายเหตุ ศาลฎกี าพิพากษายนื ตามคำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๘๘๐๘/๒๕๖๑
๑๓๗
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๔๐๗๐/๒๕๖๑ พนักงานอัยการ
สำนักงานอยั การสงู สดุ โจทก
บรษิ ทั สยามเมทัล โปรดกั ส ๒๐๑๐
(ประเทศไทย) จำกัด
กับพวก จำเลย
ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๙๒ วรรคสอง
พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘, ๑๐๙
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรพั ยสินทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙
โจทกฟองจำเลยทั้งสองรวมกันกระทำความผิดฐานปลอมเครื่องหมายการคา
และเสนอจำหนายสินคาที่มีเครื่องหมายการคาปลอมเครื่องหมายการคาของผูอื่นที่ได
จดทะเบยี นไวใ นราชอาณาจกั รตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘
และมาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ แตขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในการพิจารณา
ฟง ไดว า การกระทำความผดิ ของจำเลยทง้ั สองเปน การเลยี นเครอ่ื งหมายการคา ตาม พ.ร.บ.
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๙ และเสนอจำหนายสินคาที่มีเครื่องหมาย
การคาเลียนเครื่องหมายการคาของผูอื่นที่ไดจดทะเบียนไวในราชอาณาจักร ซึ่งโจทก
มไิ ดบ รรยายฟอ งและมไิ ดม คี ำขอใหล งโทษจำเลยทง้ั สองในบทกฎหมายดงั กลา ว ขอ เทจ็ จรงิ
ตามที่ปรากฏในการพิจารณาแตกตางกับขอเท็จจริงดังกลาวในฟองในขอสาระสำคัญ
จงึ ลงโทษจำเลยทง้ั สองในความผดิ ฐานเลยี นเครอ่ื งหมายการคา และเสนอจำหนา ยสนิ คา
ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา เลยี นเครอ่ื งหมายการคา ของผอู น่ื ทไ่ี ดจ ดทะเบยี นไวใ นราชอาณาจกั ร
ตามทางพิจารณาทไี่ ดค วามนนั้ ไมไ ด
______________________________
โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔,
๑๐๘, ๑๑๐, ๑๑๕ และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓, ๘๓, ๙๑ กับรบิ ของกลาง
จำเลยทั้งสองใหก ารปฏิเสธ
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง พิพากษาวาจำเลยทั้งสอง
มคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘, ๑๑๐ (๑) ประกอบ
๑๓๘
มาตรา ๑๐๘ และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ การกระทำของจำเลยทง้ั สองเปน ความผดิ
หลายกรรมตา งกนั ลงโทษทกุ กรรมเปน กระทงความผดิ ไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑
ฐานปลอมเครอ่ื งหมายการคา ทไ่ี ดจ ดทะเบยี นของบคุ คลอน่ื ปรบั จำเลยท่ี ๑ จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
จำคุกจำเลยที่ ๒ มีกำหนด ๒ ป กับฐานจำหนาย เสนอจำหนายและมีไวเพื่อจำหนายซึ่งสินคา
ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ปลอม ปรบั จำเลยท่ี ๑ จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท จำคกุ จำเลยท่ี ๒ มกี ำหนด ๒ ป
รวมปรับจำเลยที่ ๑ จำนวน ๔๐๐,๐๐๐ บาท จำคุกจำเลยที่ ๒ มีกำหนด ๔ ป หากจำเลยที่ ๑
ไมช ำระคาปรบั ใหบงั คบั ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙ รบิ ของกลาง
จำเลยท้ังสองอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินจิ ฉัยวา ขอเท็จจริงเบื้องตนท่คี ูความไมโตเ ถียงกันในชั้นนร้ี ับฟงไดว า ผูเสียหายเปน นติ บิ ุคคล
ญี่ปุน ดำเนินธุรกิจในราชอาณาจักรโดยกอตั้งไทยฮิตาชิลวดอาบน้ำยา จำกัด ซึ่งเปนผูผลิตและ
จดั จำหนา ยสนิ คา ลวดทองแดง ลวดทองแดงเคลอื บนำ้ ยาและสายทองแดงหมุ ฉนวน เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒
พฤษภาคม ๒๔๙๘ ผเู สยี หายไดร บั การจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ในราชอาณาจกั ร ทะเบยี น
เลขที่ ค.๕๔๔๓๑ ใชกับสินคาในจำพวกที่ ๙ รายการสินคา ๔๘๙ รายการ รวมทั้งสายทองแดง
หมุ ฉนวน สว นจำเลยท่ี ๑ เปน นติ บิ คุ คลไทยมจี ำเลยท่ี ๒ เปน กรรมการผมู อี ำนาจกระทำการแทน
และผูกพันจำเลยที่ ๑ ซึ่งประกอบกิจการผลิตสินคาลวดทองแดงอาบน้ำยา และรีดลวดทองแดง
ตามหนงั สอื รบั รอง เมอ่ื วนั ท่ี ๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗ เจา พนกั งานตรวจคน ภายในบรษิ ทั จำเลยท่ี ๑
พรอ มยดึ แผน สตก๊ิ เกอร ซง่ึ เปน ฉลากสนิ คา ๒,๐๐๐ แผน และสนิ คา สายทองแดงหมุ ฉนวน หนกั
มว นละประมาณ ๖๐ กโิ ลกรมั (มว นใหญ) รวม ๒๘๗ มว น กบั หนกั กลอ งละประมาณ ๒๐ กโิ ลกรมั
(กลองเล็ก) รวม ๒๕๔ กลอ ง เปน ของกลาง ตามบัญชีของกลางคดอี าญา
คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองวา จำเลยทั้งสองมิไดกระทำ
ความผิดตามฟองหรือไม เห็นวา การทจ่ี ำเลยท่ี ๑ จะทำใหฉ ลากสนิ คาของตนสอ่ื ความหมายถึง
สรรพคุณของสินคาสายลวดทองแดงของตนวาเปนสินคาที่อาบน้ำยายี่หอ “HITACHI” ของ
ผเู สยี หายดงั ขอ อทุ ธรณน น้ั จำเลยท่ี ๑ สามารถทำไดง า ย ๆ โดยเพยี งใชข อ ความซง่ึ มคี วามหมาย
ทำนองวา อาบน้ำยา ประกอบกับตัวพิมพอักษรโรมันธรรมดา ๆ ที่เปนเครื่องหมายการคาของ
ผเู สยี หาย โดยไมจ ำเปน ตอ งออกแบบใด ๆ ใหม ลี กั ษณะคลา ยกบั เครอ่ื งหมายการคา
ของผเู สยี หาย อนั อาจจะมผี ลทำใหผ บู รโิ ภคเกดิ ความสบั สนหลงผดิ เชอ่ื มโยงความเกย่ี วพนั ระหวา ง
เครื่องหมายทั้งสองได และมีโอกาสที่จะทำใหผูซื้อสินคาหลงเชื่อไปไดวาสินคาสายลวดทองแดง
หุมฉนวนของกลางของจำเลยที่ ๑ เปนสินคาของผูเสียหายหรือผูเสียหายมีสวนเกี่ยวของดวย
๑๓๙
อันสอใหเห็นเจตนาไมสุจริตวาประสงคจะใชหรือแสวงหาประโยชนจากเครื่องหมายการคา
ของผูเสียหาย หาไดมีเจตนาเพียงบอกสรรพคุณของสินคาสายลวดทองแดงหุม
ฉนวนของกลางของจำเลยที่ ๑ เทานั้นดังขออุทธรณไม อุทธรณของจำเลยทั้งสองในขอนี้จึงฟง
ไมข น้ึ เมอ่ื สาระสำคญั ในการกระทำความผดิ ของจำเลยท่ี ๑ ตามทพ่ี จิ ารณาไดค วามดงั ทว่ี นิ จิ ฉยั
มาในตอนตน คอื การเลยี นเครอ่ื งหมายการคา ตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๑๐๙ ซึ่งเปนขอแตกตางกับความผิดฐานปลอมเครื่องหมายการคาตามพระราชบัญญัติ
เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘ ดงั ทโ่ี จทกบ รรยายขอ กลา วหาและยนื ยนั ความประสงค
มาในฟอ งเพยี งเทา นน้ั แลว การทฟ่ี อ งโจทกด งั กลา วไมม ขี อ ความตอนใดบรรยายถงึ ขอ เทจ็ จรงิ วา จำเลย
ทง้ั สองเลยี นเครอ่ื งหมายการคา ของผเู สยี หายทไ่ี ดจ ดทะเบยี นแลว ในราชอาณาจกั ร
เพื่อใหประชาชนหลงเชื่อวาเปนเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นนั้น และสินคาที่จำเลยทั้งสอง
รว มกนั นำออกจำหนา ย เสนอจำหนา ยหรอื มไี วเ พอ่ื จำหนา ยแกบ คุ คลทว่ั ไปมเี ครอ่ื งหมายการคา
เลียนเครื่องหมายการคา ของผูเสียหายที่ไดจดทะเบียนแลวในราชอาณาจักร
อนั เปน สาระสำคญั ของความผดิ ฐานเลยี นเครอ่ื งหมายการคา ซง่ึ จะมผี ลใหล งโทษจำเลยท่ี ๑ ตาม
พระราชบญั ญัตเิ คร่อื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๙ และมาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙
ไดดวยนั้น กรณีตองถือวาขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในการพิจารณาแตกตางกับขอเท็จจริงดั่งที่
กลา วในฟอ งในขอ สาระสำคญั จงึ ลงโทษฐานเลยี นเครอ่ื งหมายการคา และฐานเสนอจำหนา ยสนิ คา
ที่มีเครื่องหมายการคาเลียนเครื่องหมายการคาของผูอื่นที่ไดจดทะเบียนในราชอาณาจักรตาม
ทางพจิ ารณาทไ่ี ดค วามนน้ั หาไดไ ม เพราะตอ งหา มดว ยพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๙๒ วรรคสอง
ดงั น้ี การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั วา จำเลยทง้ั สองผลติ
สติ๊กเกอรและนำเครื่องหมายการคา ของผูเสียหายไปใชติดไวที่ขดลวดทองแดง
ซง่ึ เปน สนิ คา ประเภทเดยี วกนั กบั ทผ่ี เู สยี หายผลติ โดยจำเลยทง้ั สองไมไ ดร บั อนญุ าตจากผเู สยี หาย
การกระทำดังกลาวของจำเลยทั้งสองเปนความผิดฐานปลอมเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่นที่
ไดจดทะเบยี นไวใ นราชอาณาจกั ร กับฐานจำหนา ย เสนอจำหนายและมไี วเ พ่อื จำหนา ยซึ่งสนิ คา
ที่มีเครื่องหมายการคาปลอมดังกลาวแลวพิพากษาลงโทษจำเลยทั้งสองมานั้น ศาลอุทธรณคดี
ชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลยทั้งสองฟงขึ้นบางสวน กรณีไมจำตองวินิจฉัย
ประเด็นอืน่ ตามขอ อุทธรณอกี ตอ ไปเพราะไมทำใหผ ลแหงคดเี ปลย่ี นแปลง
๑๔๐