The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:57:14

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พเิ ศษท่ี ๔๐๘/๒๕๖๔ บริษทั เซน็ จรู ี่ ๒๑ (ประเทศไทย)

จำกดั โจทก

บริษัทเซน็ จูรี่ ๒๑ อิเดนเรียลต้ี

จำกัด กบั พวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๒, ๑๒๕๐, ๑๒๕๓ (๑) (๒), ๑๒๖๔, ๑๒๖๗, ๑๒๗๑
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๒ (๕), ๒๔๖
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี

ทรพั ยสนิ ทางปญญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙

ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๕๐ ผูชำระบัญชีมีหนาที่ชำระสะสางการงานของบริษัทให
เสร็จไปกับจัดการใชหนี้เงินและแจกจำหนายสินทรัพยของบริษัทนั้น นอกจากนี้ ป.พ.พ.
มาตรา ๑๒๕๓ ระบวุ า ภายในสบิ สว่ี นั นบั แตไ ดเ ลกิ บรษิ ทั ผชู ำระบญั ชตี อ ง (๑) บอกกลา ว
แกป ระชาชนโดยประกาศโฆษณาในหนงั สอื พมิ พแ หง ทอ งทอ่ี ยา งนอ ยหนง่ึ คราววา บรษิ ทั นน้ั
ไดเลิกกันแลวและใหผูเปนเจาหนี้ทั้งหลายยื่นคำทวงหนี้แกผูชำระบัญชี กับ (๒) สง
คำบอกกลา วอยา งเดยี วกนั เปน จดหมายลงทะเบยี นไปรษณยี ไ ปยงั เจา หนท้ี ง้ั หลายทกุ ๆ คน
บรรดามชี อ่ื ปรากฏในสมดุ บญั ชี หรอื เอกสารของบรษิ ทั นน้ั หากจำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ซง่ึ เปน
ทง้ั กรรมการ ผชู ำระบญั ชี และผรู ว มกนั จดทะเบยี นเลกิ จำเลยท่ี ๑ ไดก ระทำหนา ทด่ี งั กลา ว
แลว ยอ มจะตอ งรวู า จำเลยท่ี ๑ เปน หนค้ี า ธรรมเนยี มรายเดอื นและคา การตลาดรายเดอื น
ทค่ี า งชำระแกโ จทก การทจ่ี ำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ มไิ ดจ ดั ทำบญั ชงี บดลุ แสดงความเปน เจา หน้ี
ของโจทกต อ จำเลยท่ี ๑ และมไิ ดจ ดลงในสมดุ บญั ชหี นส้ี นิ ของจำเลยท่ี ๑ ทง้ั มไิ ดส ง หนงั สอื
บอกกลาวแจงใหโจทกผูเปนเจาหนี้และบรรดาเจาหนี้ทั้งหลายของจำเลยที่ ๑ ทราบวา
จำเลยที่ ๑ ไดเลิกบริษัทกันแลว กับมิไดจัดการชำระหนี้ใหแกโจทก เปนกรณีจำเลยที่ ๒
และท่ี ๓ ในฐานะผชู ำระบญั ชขี องจำเลยท่ี ๑ รอู ยวู า จำเลยท่ี ๑ มโี จทกเ ปน เจา หนอ้ี ยู แตไ ม
ชำระหนี้ใหโจทกเจาหนี้ หรือไมวางเงินแทนการชำระหนี้แกโจทก ยอมถือวาจำเลยที่ ๒
และที่ ๓ ไดละเวนการปฏิบัติหนาที่ในฐานะผูชำระบัญชีของจำเลยที่ ๑ อันไมชอบดวย
ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๕๐, มาตรา ๑๒๕๓ (๑) (๒), มาตรา ๑๒๖๔, มาตรา ๑๒๖๗ และ
มาตรา ๑๒๗๑ เปนการจงใจปฏิบัติหนาที่โดยฝาฝนกฎหมาย ทำใหโจทกไดรับความ
เสียหาย อันเปนการละเมิดตอโจทกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๒ และตองรับผิดตอโจทก
เปน สว นตวั

๒๔๑

โจทกฟ อ งขอใหจ ำเลยทง้ั สามรว มกนั รบั ผดิ ชำระเงนิ ๕๑๓,๗๖๐.๕๐ บาท อนั เปน
ทุนทรัพยในคดีนี้ ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางกำหนด
ใหจำเลยที่ ๑ รับผิดชดใชคาทนายความ ๔๐,๐๐๐ บาท และคาใชจายในการดำเนินคดี
๑๐,๐๐๐ บาท จงึ เกนิ ไปกวา อตั ราขน้ั สงู ทก่ี ำหนดไวใ นตาราง ๖ และตาราง ๗ ทา ย ป.ว.ิ พ.
ปญ หาดงั กลา วเปน ขอ กฎหมายอนั เกย่ี วดว ยความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน ศาลอทุ ธรณ
คดีชำนัญพิเศษหยิบยกขึ้นวินิจฉัยและกำหนดคาฤชาธรรมเนียมใหมใหถูกตองได ตาม
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบ ป.ว.ิ พ.
มาตรา ๒๔๖ และมาตรา ๑๔๒ (๕)

______________________________

โจทกฟ อ งและแกไ ขคำฟอ ง ขอใหม คี ำสง่ั วา การชำระบญั ชขี องจำเลยท่ี ๑ ยงั ไมถ งึ ทส่ี ดุ
แหง การชำระบญั ชี ใหจ ำเลยท่ี ๑ ยงั คงมสี ถานะเปน นติ บิ คุ คลอยจู นกวา การชำระบญั ชจี ะเสรจ็ สน้ิ
โดยชอบดว ยกฎหมาย และใหบ งั คบั จำเลยทง้ั สามรว มกนั หรอื แทนกนั ชำระเงนิ ๕๑๓,๗๖๐.๕๐ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของเงินตน ๔๒๓,๗๒๐ บาท นับแตวันฟองเปนตนไป
จนกวา จะชำระเสรจ็ แกโจทก

จำเลยท่ี ๑ กบั ท่ี ๒ ใหก ารและแกไ ขคำใหก าร สว นจำเลยท่ี ๓ ใหก ารในทำนองเดยี วกนั
ขอใหย กฟอง

ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหจ ำเลยท่ี ๑ ชำระ
เงิน ๕๑๓,๗๖๐.๕๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของเงินตน ๔๒๓,๗๒๐ บาท
นับจากวันฟอง (วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒) ไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ใหจำเลยที่ ๑
ใชค า ฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก กำหนดคา ทนายความ ๔๐,๐๐๐ บาท คา ใชจ า ยในการดำเนนิ คดี
๑๐,๐๐๐ บาท ยกฟอ งโจทกส ำหรบั จำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ คา ฤชาธรรมเนยี มระหวา งโจทกก บั จำเลย
ท่ี ๒ และที่ ๓ ใหเปน พบั คำขออื่นใหย ก

โจทกอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมโตเถียงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา จำเลยที่ ๒ และที่ ๓
ในฐานะกรรมการผูมีอำนาจและในฐานะผูชำระบัญชีของจำเลยที่ ๑ ไดรวมกันจดทะเบียนเลิก
บรษิ ทั ซง่ึ นายทะเบยี นไดร บั จดทะเบยี นไวเ มอ่ื วนั ท่ี ๑๘ มถิ นุ ายน ๒๕๖๑ และไดจ ดทะเบยี นเสรจ็

๒๔๒

การชำระบัญชีเมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ มิไดจัดทำบัญชีงบดุลแสดง
ความเปน เจา หนข้ี องโจทกต อ จำเลยท่ี ๑ และมไิ ดจ ดลงในสมดุ บญั ชหี นส้ี นิ ของจำเลยท่ี ๑ ทง้ั มไิ ด
สง หนงั สอื บอกกลา วแจง ใหโ จทกผ เู ปน เจา หนแ้ี ละบรรดาเจา หนท้ี ง้ั หลายของจำเลยท่ี ๑ เพอ่ื ทราบ
วา จำเลยที่ ๑ ไดเลิกบริษัทกันแลว กับมิไดจัดการชำระหนี้ใหแกโจทกตามคำฟอง นอกจากนี้
กรณีความรับผิดของจำเลยที่ ๑ เมื่อศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
วนิ จิ ฉยั วา โจทกไ ดป ฏบิ ตั หิ นา ทต่ี ามสญั ญาอนญุ าตใหใ ชส ทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ตามคำฟอ งแลว
จำเลยที่ ๑ จึงตองรับผิดชำระคาธรรมเนียมตามที่ตกลงแกโจทก และพิพากษาใหจำเลยที่ ๑
ชำระเงนิ ๔๒๓,๗๒๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี ผดิ นดั อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป นบั แตว นั ท่ี ๓ กนั ยายน ๒๕๕๙
ตามทีโ่ จทกม คี ำขอแลว ไมม ีคคู วามฝา ยใดอทุ ธรณ ขอ เท็จจรงิ ในสว นนี้จงึ เปน อันยุติ

คดคี งมปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกใ นประการแรกวา จำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓
ตองรวมกันรับผิดในมูลละเมิดตอโจทกตามคำฟองหรือไม เห็นวา ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๒๕๐ ผูชำระบัญชีมีหนาที่ชำระสะสางการงานของบริษัทใหเสร็จไป กับ
จัดการใชหนี้เงินและแจกจำหนายสินทรัพยของบริษัทนั้น นอกจากนี้ ประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๒๕๓ ระบุวา ภายในสิบสี่วันนับแตไดเลิกบริษัท ผูชำระบัญชีตอง
(๑) บอกกลา วแกป ระชาชนโดยประกาศโฆษณาในหนงั สอื พมิ พแ หง ทอ งทอ่ี ยา งนอ ยหนง่ึ คราววา
บริษัทนั้นไดเลิกกันแลวและใหผูเปนเจาหนี้ทั้งหลายยื่นคำทวงหนี้แกผูชำระบัญชี กับ (๒) สง
คำบอกกลาวอยางเดียวกันเปนจดหมายลงทะเบียนไปรษณียไปยังเจาหนี้ทั้งหลายทุก ๆ คน
บรรดามชี อ่ื ปรากฏในสมดุ บญั ชี หรอื เอกสารของบรษิ ทั นน้ั การทจ่ี ำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ไดร ว มกนั
จดทะเบยี นเลกิ จำเลยท่ี ๑ ซง่ึ นายทะเบยี นไดร บั จดทะเบยี นไวเ มอ่ื วนั ท่ี ๑๘ มถิ นุ ายน ๒๕๖๑ และ
ไดจดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชีแลวเมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ตามเอกสารหมาย จ.๗
โดยจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ เปนทั้งกรรมการและผูชำระบัญชีของจำเลยที่ ๑ ยอมมีหนาที่เอื้อเฟอ
สอดสองในการประกอบกิจการของจำเลยที่ ๑ ซึ่งหากจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไดกระทำหนาที่
ดงั กลา วแลว ยอ มจะตอ งรวู า จำเลยท่ี ๑ เปน หนค้ี า ธรรมเนยี มรายเดอื นและคา การตลาดรายเดอื น
ที่คางชำระแกโจทก การที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ มิไดจัดทำบัญชีงบดุลแสดงความเปนเจาหนี้ของ
โจทกต อ จำเลยท่ี ๑ และมไิ ดจ ดลงในสมดุ บญั ชหี นส้ี นิ ของจำเลยท่ี ๑ ทง้ั มไิ ดส ง หนงั สอื บอกกลา ว
แจงใหโจทกผูเปนเจาหนี้และบรรดาเจาหนี้ทั้งหลายของจำเลยที่ ๑ ทราบวา จำเลยที่ ๑ ไดเลิก
บริษัทกันแลว กับมิไดจัดการชำระหนี้ใหแกโจทกตามที่โจทกบรรยายมาในคำฟองนั้น เปนกรณี
จำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ในฐานะผชู ำระบญั ชขี องจำเลยท่ี ๑ รอู ยวู า จำเลยท่ี ๑ มโี จทกเ ปน เจา หนอ้ี ยู
แตไมชำระหนี้ใหโจทกเจาหนี้ หรือไมวางเงินแทนการชำระหนี้แกโจทก ยอมถือวา จำเลยที่ ๒

๒๔๓

และที่ ๓ ไดละเวนการปฏิบัติหนาที่ในฐานะผูชำระบัญชีของจำเลยที่ ๑ อันไมชอบดวยประมวล
กฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๒๕๐ มาตรา ๑๒๕๓ (๑) (๒) มาตรา ๑๒๖๔ มาตรา ๑๒๖๗
และมาตรา ๑๒๗๑ เปน การจงใจปฏบิ ตั หิ นา ทโ่ี ดยฝา ฝน กฎหมาย ทำใหโ จทกไ ดร บั ความเสยี หาย
อันเปนการละเมิดตอโจทกตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๒๒ และตองรับผิด
ตอโจทกเปนสวนตัว เชนนี้ การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
วินิจฉัยวา พฤติการณของจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ที่มิไดจัดทำบัญชีงบดุลแสดงความเปนเจาหนี้
ของโจทกและบันทึกในสมุดบัญชีหนี้สินของจำเลยที่ ๑ คงเปนเพียงการจงใจกระทำตอโจทก
โดยมิชอบ แตมิไดกอใหเกิดความเสียหายแกโจทก จึงไมถือเปนการกระทำละเมิดตอโจทก
แลวพิพากษายกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ มานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
ไมเหน็ พอ งดวย อทุ ธรณข องโจทกในขอ นฟ้ี งขนึ้

ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกในประการสุดทายวา จำเลยที่ ๒ และที่ ๓
ตองรวมกันรับผิดในมูลละเมิดตอโจทกเพียงใด ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางพิพากษายกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ โดยยังมิไดวินิจฉัยประเด็น
ปญหานี้ แตเมื่อปรากฏวาคูความไดนำพยานหลักฐานเขาสืบจนเสร็จสิ้นกระแสความเพียงพอ
ที่จะวินิจฉัยประเด็นดังกลาว เพื่อมิใหเปนการลาชา ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษยอมมีอำนาจ
ที่จะวินิจฉัยประเด็นดังกลาวโดยไมตองยอนสำนวนไปใหศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศกลางพิจารณาและพิพากษาใหม เห็นวา ตามคำฟองโจทกประสงคเรียกรอง
คาเสียหายจากจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ เทากับจำนวนหนี้คาธรรมเนียมรายเดือนและคาการตลาด
รายเดือนที่จำเลยที่ ๑ คงคางชำระแกโจทก ซึ่งในทางนำสืบโจทกมิไดแสดงรายละเอียดของ
ความเสียหายในมูลละเมิดวามีอะไรบางที่มีจำนวนเทากับคาเสียหายในมูลแหงสัญญาที่โจทก
อนญุ าตใหจ ำเลยท่ี ๑ ใชส ทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา สว นขอ ทโ่ี จทกก ลา วในอทุ ธรณว า จำเลยท่ี ๒
และท่ี ๓ ละเวน ไมเ รยี กเกบ็ เงนิ คา หนุ จากผถู อื หนุ เพอ่ื นำมาชำระหนส้ี นิ ของบรษิ ทั จำเลยท่ี ๑ กด็ ี
งบดลุ ของจำเลยท่ี ๑ รายการหนเ้ี งนิ กยู มื ระยะยาว ๗๘,๐๐๐ บาท กบั รายการหนส้ี นิ ไมห มนุ เวยี น
อื่น ๑๔๙,๓๐๒ บาท รวมหนี้สองรายการ ๒๒๗,๓๐๒ บาท ไมเปนความจริงและมีพิรุธหลาย
ประการก็ดี ทั้งสองขอเปนเรื่องที่ไมปรากฏในคำฟองของโจทก ยอมเปนอุทธรณในขอที่มิได
ยกขน้ึ วา กนั มาแลว โดยชอบในศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง ถอื เปน
อุทธรณตองหามเพราะไมชอบดวยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๓๘ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง แมศาล

๒๔๔

ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั ใหร บั อทุ ธรณข องโจทกใ นขอ น้ี แตก ็
ไมท ำใหอ ทุ ธรณท ไ่ี มช อบดงั กลา วกลายเปน ชอบดว ยกฎหมายไปได ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
จงึ ไมร บั วนิ จิ ฉยั อยา งไรกด็ ี แมโ จทกจ ะไมม พี ยานหลกั ฐานทแ่ี สดงความเสยี หายไดแ นช ดั แตร ปู การ
แหงคดีที่โจทกนำสืบมาก็นับวา โจทกไดรับความเสียหายแลว ซึ่งเมื่อพิเคราะหพฤติการณและ
ความรายแรงแหงละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๓๘ แลว การกระทำ
ละเมดิ ของจำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ เปน เพยี งละเวน การปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นฐานะผชู ำระบญั ชขี องจำเลยท่ี ๑
อนั ไมช อบดว ยกฎหมายเทา นน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษสมควรกำหนดใหจ ำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓
รับผิดชำระเงินตอโจทก โดยใหรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ตามที่โจทกมีคำขอทายฟองมา แตให
จำเลยที่ ๒ และท่ี ๓ รว มรบั ผดิ ไมเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท อทุ ธรณของโจทกในขอนฟ้ี งขึ้นบางสว น

อนึ่ง ในระหวางพิจารณาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไดมีพระราชกำหนดแกไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย พ.ศ. ๒๕๖๔ ออกใชบังคับเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย
ผดิ นดั ซง่ึ กระทบกระเทอื นถงึ การคดิ ดอกเบย้ี ผดิ นดั ในคดนี ้ี จงึ แกไ ขใหส อดคลอ งกบั และถกู ตอ ง
ตามพระราชกำหนดดงั กลา วดว ย นอกจากนโ้ี จทกฟ อ งขอใหจ ำเลยทง้ั สามรว มกนั รบั ผดิ ชำระเงนิ
๕๑๓,๗๖๐.๕๐ บาท อนั เปน ทนุ ทรพั ยใ นคดนี ้ี การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศกลางกำหนดใหจำเลยที่ ๑ รับผิดชดใชคาทนายความ ๔๐,๐๐๐ บาท และคาใชจายใน
การดำเนินคดี ๑๐,๐๐๐ บาท จึงเกินไปกวาอัตราขั้นสูงที่กำหนดไวในตาราง ๖ และตาราง ๗
ทา ยประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง ปญหาดงั กลา วเปน ขอ กฎหมายอันเก่ียวดว ยความ
สงบเรียบรอยของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษหยิบยกขึ้นวินิจฉัยและกำหนดคาฤชา
ธรรมเนยี มใหมใ หถ กู ตอ งไดต ามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙
ประกอบประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๔๖ และมาตรา ๑๔๒ (๕)

พพิ ากษาแกเ ปน วา ใหจ ำเลยท่ี ๑ ชำระเงนิ ๕๑๓,๗๖๐.๕๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี ในตน เงนิ
๔๒๓,๗๒๐ บาท ดงั น้ี (๑) อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป นบั แตว นั ฟอ ง (ฟอ งวนั ท่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒)
จนถึงวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๔ กับ (๒) อัตรารอยละ ๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔
เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก กับใหจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ในฐานะผูชำระบัญชี
รวมกับจำเลยที่ ๑ รับผิดตอโจทกในวงเงินไมเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท ใหจำเลยทั้งสามใชคาฤชา
ธรรมเนียมในศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางแทนโจทก กับใหจำเลย
ท่ี ๒ และท่ี ๓ ใชค า ฤชาธรรมเนยี มชน้ั อทุ ธรณแ ทนโจทก เฉพาะคา ขน้ึ ศาลใหจ ำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓

๒๔๕

ใชแทนตามจำนวนทุนทรัพยที่โจทกชนะคดี โดยกำหนดคาทนายความทั้งสิ้น ๑๐,๐๐๐ บาท
กับคาใชจายในการดำเนินคดีทั้งสิ้น ๓,๐๐๐ บาท นอกจากที่แกใหคงเปนไปตามคำพิพากษา
ศาลทรัพยสินทางปญ ญาและการคาระหวางประเทศกลาง.

(วราคมน เลยี้ งพันธุ - ธารทพิ ย จงจกั รพันธ - วิวฒั น วงศกติ ตริ ักษ)

สธุ รรม สธุ มั นาถพงษ - ยอ
นภิ า ชยั เจรญิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทสี่ ดุ

๒๔๖

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พิเศษที่ ๑๒/๒๕๕๙ บรษิ ัทยบู สิ (เอเชยี ) จำกัด

(มหาชน) โจทก

บรษิ ัทยบู สิ ออล จำกดั จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสาม

แมคดีนี้โจทกจะบรรยายฟองเกี่ยวกับสัญญาอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคา
และมีคำขอทายฟองใหพิพากษาหรือมีคำสั่งใหสัญญาอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคา
ตกเปน โมฆะ และหา มจำเลยใชเ ครอ่ื งหมายการคา “UBIS” (ยบู สิ ) อกี ตอ ไป กบั ใหจ ำเลย
ชำระคา เสยี หายและคา สนิ ไหมทดแทนอนั เนอ่ื งมาจากการใชเ ครอ่ื งหมายการคา ดงั กลา ว
โดยละเมิด ก็เปนเพียงการบรรยายฟองใหเห็นถึงที่มาแหงคดีเทานั้น โดยขออางที่อาศัย
เปน หลกั แหง ขอ หาทแ่ี ทจ รงิ คอื สญั ญาอนญุ าตใหใ ชเ ครอ่ื งหมายการคา ระหวา งโจทกแ ละ
จำเลยตกเปน โมฆะและโจทกบ อกเลกิ สญั ญาดงั กลา วแลว แตจ ำเลยยงั คงใชเ ครอ่ื งหมาย
การคา ของโจทก อนั เปน การละเมดิ สทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ของโจทก ดงั นน้ั ทจ่ี ำเลย
ใหการไววา สัญญาอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคาระหวางโจทกและจำเลยไมตกเปน
โมฆะ และฟอ งแยง ขอใหบ งั คบั โจทกจ ดทะเบยี นใหใ ชเ ครอ่ื งหมายการคา ตอ นายทะเบยี น
แกจำเลย จึงเปนฟองแยงในเรื่องสัญญาอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคาอันไมเกี่ยวกับ
คำฟองเดมิ อุทธรณข องจำเลยฟงไมข นึ้

______________________________

คดสี บื เนอ่ื งจากโจทกฟ อ ง ขอใหพ พิ ากษาหรอื มคี ำสง่ั ใหส ญั ญาอนญุ าตใหใ ชเ ครอ่ื งหมาย
การคา ฉบับลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๕๘ ตกเปนโมฆะ และหามจำเลยใชเครื่องหมายการคา
“UBIS” (ยูบิส) อีกตอไป ใหจำเลยชำระคาเสียหายและคาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการใช
เครอ่ื งหมายการคาดังกลา วโดยละเมดิ

จำเลยใหก าร แกไ ขคำใหก ารและฟอ งแยง ขอใหย กฟอ งและขอใหบ งั คบั โจทกจ ดทะเบยี น
ใหใชเครื่องหมายการคาตอนายทะเบียนแกจำเลยจนเสร็จการ หากไมดำเนินการ ใหถือเอา
คำพพิ ากษาแทนการแสดงเจตนา

๒๔๗

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งรับคำใหการ และมี
คำสั่งวา โจทกฟองวาจำเลยกระทำละเมิดตอโจทก จำเลยฟองแยงขอใหโจทกจดทะเบียน
เคร่ืองหมายการคา ดังนัน้ ฟองแยง ของจำเลยจงึ ไมเกยี่ วกบั ฟองเดมิ ไมรับฟองแยง

จำเลยอทุ ธรณคำสง่ั ไมร บั ฟองแยง
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา ฟองแยงของจำเลยเกี่ยวกับคำฟอง
เดมิ หรอื ไม เหน็ วา แมค ดนี โ้ี จทกจ ะบรรยายฟอ งเกย่ี วกบั สญั ญาอนญุ าตใหใ ชเ ครอ่ื งหมายการคา
และมีคำขอทายฟองใหพิพากษาหรือมีคำสั่งใหสัญญาอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคา ฉบับ
ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๕๘ ตกเปนโมฆะ และหามจำเลยใชเครื่องหมายการคา “UBIS” (ยูบิส)
อกี ตอ ไป กบั ใหจ ำเลยชำระคา เสยี หายและคา สนิ ไหมทดแทน อนั เนอ่ื งมาจากการใชเ ครอ่ื งหมาย
การคาดังกลาวโดยละเมิด ก็เปนเพียงการบรรยายฟองใหเห็นถึงที่มาแหงคดีเทานั้น โดยขออาง
ทอ่ี าศยั เปน หลกั แหง ขอ หาทแ่ี ทจ รงิ คอื สญั ญาอนญุ าตใหใ ชเ ครอ่ื งหมายการคา ระหวา งโจทกแ ละ
จำเลยตกเปนโมฆะและโจทกบอกเลิกสัญญาดังกลาวแลว แตจำเลยยังคงใชเครื่องหมายการคา
ของโจทก อันเปนการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการคาของโจทก ดังนั้น ที่จำเลยใหการไววา
สัญญาอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคาระหวางโจทกและจำเลยไมตกเปนโมฆะ เพราะขอ ๔
ของสญั ญาดงั กลา วระบวุ า ในกรณกี ารอนญุ าตใหใ ชเ ครอ่ื งหมายการคา นส้ี ามารถนำไปจดทะเบยี น
หรอื ตอ งจดทะเบยี นตอ นายทะเบยี นในประเทศไทยหรอื ตา งประเทศ (แลว แตก รณ)ี โจทกจ ะดำเนนิ
การจดทะเบียนใหใชเครื่องหมายการคาดังกลาวจนเสร็จการ และฟองแยงขอใหบังคับโจทก
จดทะเบียนใหใชเครื่องหมายการคาตอนายทะเบียนแกจำเลยจึงเปนฟองแยงในเรื่องสัญญา
อนุญาตใหใชเครื่องหมายการคาอันไมเกี่ยวกับคำฟองเดิม ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคา ระหวา งประเทศกลางวนิ ิจฉยั มานน้ั ชอบแลว อทุ ธรณของจำเลยฟงไมขน้ึ
พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนยี มชัน้ อทุ ธรณใ หเ ปน พับ.

(ไชยยศ วรนนั ทศริ ิ - กรกันยา สุวรรณพานชิ - พรี พล พิชยวฒั น)

หมายเหตุ คดีถึงที่สดุ คฑาวธุ ราศีกิจ - ยอ
สุจินต เจนพาณิชพงศ - ตรวจ

๒๔๘

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๖๙๔๕/๒๕๖๒ หา งหุนสวนจำกัด
บางกอกเจริญขนสง โจทก
บรษิ ัทพี.เอส.บี.
ทรานสปอรต จำกัด จำเลย

ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗
พ.ร.บ.จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา

คดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖

เมื่อปรากฏวาศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางอาน
คำพิพากษาศาลฎีกาเมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๖ และมีเสมียนทนายโจทกมาฟง
คำพิพากษาดวย โจทกจึงทราบสิทธิที่จะขอรับเงินนับแตวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๖ การที่
โจทกเพิ่งมาขอรับเงินคาฤชาธรรมเนียมใชแทนในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๒ เปนการ
ขอรบั เมือ่ พน กำหนด ๕ ป แลว

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งอนุญาตให
โจทกรับเงินดังกลาวไปเปนการไมปฏิบัติตามกระบวนวิธีพิจารณาความแพงที่เกี่ยวกับ
การบังคับคดี แตเมื่อศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่ง
ใหมใ หน ำสง เงนิ คา ฤชาธรรมเนยี มใชแ ทนเปน รายไดแ ผน ดนิ จงึ เปน การใชอ ำนาจแกไ ข
คำสั่งใหถูกตอง ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
และวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖
ประกอบ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๗ กรณไี มม เี หตเุ พกิ ถอนคำสง่ั ทใ่ี หเ งนิ คา ฤชาธรรมเนยี มใชแ ทน
ตกเปน ของแผนดนิ

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งใหหมายแจง
โจทกใหมารับคืนไป ทั้งที่เงินคาฤชาธรรมเนียมใชแทนคางจายเกินกำหนดเวลา ๕ ป
ไปแลวในวันที่มีคำสั่งดังกลาว การออกหมายแจงคำสั่งใหโจทกทราบเปนการสั่งไปโดย
ผดิ หลง โจทกไ มอ าจอาศยั ระยะเวลาตามหมายแจง คำสง่ั ดงั กลา วมาเปน เหตใุ หข อรบั เงนิ
คา งจา ยเมอ่ื พน ระยะเวลาตามท่กี ฎหมายบญั ญตั ิได

______________________________

๒๔๙

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลฎกี าพพิ ากษาใหจ ำเลยชำระเงนิ ๗๐๘,๕๒๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี
อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๒๒๔,๖๘๐ บาท นบั แตว นั ท่ี ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๑ และของ
ตน เงิน ๔๘๓,๘๔๐ บาท นบั แตวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ ไปจนกวาจะชำระเสรจ็ แกโ จทก และ
ใหจำเลยใชคาฤชาธรรมเนียมทั้งสองศาลแทนโจทก เฉพาะคาขึ้นศาลใหใชแทนเทาทุนทรัพย
ทโ่ี จทกช นะคดี โดยกำหนดคา ทนายความ ๕,๐๐๐ บาท นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำพพิ ากษา
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง คา ฤชาธรรมเนยี มทง้ั สองศาล นอกจากน้ี
ใหเปน พบั

ทนายโจทกยื่นคำรองวา ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
มีหมายแจงโจทกใหรับคาฤชาธรรมเนียมใชแทนที่จำเลยนำมาวางตอศาล โจทกประสงคขอรับ
เงินดังกลาวและหากยังมีเงินเหลือโจทกขอรับไปทั้งหมด เพราะจำเลยยังมิไดชำระหนี้ตาม
คำพพิ ากษาใหแ กโ จทก ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั อนญุ าต
ตอ มาเจา หนา ทศ่ี าลรายงานตอ ศาลวา ตามมตทิ ป่ี ระชมุ ปรกึ ษาหารอื ขอ ราชการของศาลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง ครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
คาฤชาธรรมเนียมใชแทนที่วางเพื่อใชสิทธิอุทธรณหรือฎีกา ไมตองแจงผูมีสิทธิรับเงิน เพราะ
ผมู สี ทิ ธริ บั เงนิ รถู งึ สทิ ธขิ องตนแลว และคา ฤชาธรรมเนยี มใชแ ทนในคดนี ค้ี า งจา ยอยทู ศ่ี าลเกนิ ๕ ป
ขออนุญาตงดจายและนำสงเปนรายไดแผนดิน ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางจงึ มคี ำสง่ั วา นำสง เปน รายไดแ ผน ดนิ ตามมตทิ ป่ี ระชมุ ทนายโจทกย น่ื คำรอ งขอให
เพกิ ถอนคำสง่ั ดงั กลา ว อา งวา ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมหี มาย
แจงใหโจทกมารับเงินไปจากศาลภายใน ๑๕ วัน ซึ่งโจทกดำเนินการรับเงินภายในกำหนดและ
ศาลมีคำสั่งอนุญาตแลว กอนหนานี้ศาลมีหมายแจงไปยังจำเลยใหมารับ แตจำเลยไมมารับตาม
กำหนด สิทธิในการรับเงินจึงตกไดแกโจทก การที่โจทกมาขอรับภายในกำหนดตามที่ศาลไดมี
หมายแจงดังกลาว จึงเปนการขอรับเงินไปโดยชอบดวยกฎหมาย ถือไมไดวาเงินดังกลาวเปน
เงินคางจายที่จะตองมารับภายใน ๕ ป และตกเปนของแผนดินตามที่เจาหนาที่ศาลรายงานและ
ที่ศาลมีคำสั่งยกคำรอง กรณีไมมีเหตุที่ศาลจะยกเลิกคำสั่งเดิมตามนัยคำพิพากษาศาลฎีกาที่
๗๓๑๖/๒๕๕๓ จงึ ขอใหศ าลมคี ำสง่ั เพกิ ถอนคำสง่ั ทย่ี กคำรอ งของโจทก และมคี ำสง่ั อนญุ าตใหโ จทก
รบั เงนิ ตามคำส่ังเดมิ

ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง มคี ำสง่ั วา กรณตี ามคำพพิ ากษา
ศาลฎีกาที่อางเปนเงินวางชำระหนี้ของลูกหนี้ตามคำพิพากษา แตกรณีตามคำรองเปนเงินคา
ฤชาธรรมเนยี มใชแ ทนทจ่ี ำเลยนำมาวาง ซง่ึ ผมู สี ทิ ธริ บั เงนิ ยอ มทราบถงึ สทิ ธขิ องตนไดจ ากการมา
ฟง คำพิพากษาศาลฎกี า ยกคำรอ ง

๒๕๐

โจทกอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยแลว เห็นวา ในการอุทธรณคำพิพากษาศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลาง จำเลยนำเงินคาฤชาธรรมเนียมใชแทนมาวางตอศาล ๖๓,๔๖๐ บาท เมื่อคดีถึง
ที่สุดแลว ยังไมมีคูความมาขอรับเงินดังกลาวไป เงินคาฤชาธรรมเนียมใชแทนยอมถือเปนเงิน
คา งจา ยอยใู นศาล ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
และวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖
ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๔๕ โจทกในฐานะผูมีสิทธิตองเรียก
เอาภายใน ๕ ป มฉิ ะนน้ั จะตกเปน ของแผน ดนิ เมอ่ื ปรากฏวา ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางอา นคำพพิ ากษาศาลฎกี าเมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มนี าคม ๒๕๕๖ และมเี สมยี นทนาย
โจทกมาฟงคำพิพากษาดวย โจทกจึงทราบสิทธิที่จะขอรับเงินนับแตวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๖
การทโ่ี จทกเ พง่ิ มาขอรบั เงนิ คา ฤชาธรรมเนยี มใชแ ทนในวนั ท่ี ๒๒ มนี าคม ๒๕๖๒ เปน การขอรบั
เมื่อพนกำหนด ๕ ป แลว ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่ง
อนญุ าตใหโ จทกร บั เงนิ ดงั กลา วไปเปน การไมป ฏบิ ตั ติ ามกระบวนวธิ พี จิ ารณาความแพง ทเ่ี กย่ี วกบั
การบงั คบั คดี แตเ มอ่ื ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั ใหมใ หน ำสง
เงินคาฤชาธรรมเนียมใชแ ทนเปน รายไดแผนดนิ จึงเปนการใชอำนาจแกไขคำสง่ั ใหถ กู ตอ ง ตาม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๗ กรณไี มม เี หตเุ พกิ ถอนคำสง่ั ทใ่ี หเ งนิ คา ฤชาธรรมเนยี ม
ใชแทนตกเปนของแผนดิน สวนที่โจทกอุทธรณทำนองวา ตามหมายแจงคำสั่งศาลทรัพยสิน
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางใหโ จทกม ารบั เงนิ คา ฤชาธรรมเนยี มใชแ ทนไปจากศาล
ภายใน ๑๕ วัน นับแตทราบคำสั่ง หากไมมารับภายในกำหนดจะนำสงเปนรายไดแผนดินตอไป
และโจทกไ ดย น่ื คำรอ งขอรบั เงนิ ภายในกำหนดเวลา ถอื เปน การขอรบั เงนิ โดยชอบแลว นน้ั เหน็ วา
ตามรายงานเจาหนาที่ ฉบับลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ เจาหนาที่ศาลขออนุญาตนำสงเงิน
คาฤชาธรรมเนียมใชแทนเปนรายไดแผนดิน แตศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางกลับมีคำสั่งใหหมายแจงโจทก ใหมารับคืนไป ทั้งที่เงินคาฤชาธรรมเนียมใชแทน
คางจายเกินกำหนดเวลา ๕ ป ไปแลวในวันที่มีคำสั่งดังกลาว ตอมาเจาหนาที่ศาลไดนำรายงาน
เจา หนา ท่ี ฉบบั ลงวนั ท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ ขออนญุ าตงดจา ยเงนิ และนำสง เปน รายไดแ ผน ดนิ
การออกหมายแจงคำสั่งใหโจทกทราบเปนการสั่งไปโดยผิดหลง โจทกไมอาจอาศัยระยะเวลา

๒๕๑

ตามหมายแจงคำสั่งดังกลาวมาเปนเหตุใหขอรับเงินคางจายเมื่อพนระยะเวลาตามที่กฎหมาย
บัญญัติได ดังนั้น ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางยกคำรองที่ขอให
เพกิ ถอนคำสง่ั ทใ่ี หเ งนิ คา ฤชาธรรมเนยี มใชแ ทนตกเปน ของแผน ดนิ นน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
เหน็ พอ งดว ย อทุ ธรณข องโจทกฟ ง ไมข ้นึ

พพิ ากษายืน คา ฤชาธรรมเนียมชั้นอทุ ธรณใ หเปนพับ.
(สุรพล คงลาภ - ตลุ เมฆยงค - จุมพล ภญิ โญสนิ วัฒน)

สุธรรม สธุ มั นาถพงษ - ยอ
ววิ ฒั น วงศกติ ตริ ักษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ท่ีสุด

๒๕๒

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พิเศษที่ ๘๐๘๕/๒๕๖๒ ธนาคารกรงุ เทพ จำกดั

(มหาชน) โจทก

นายพรี ะยทุ ธ รุจเิ กียรติขจร ผรู อ ง

บริษัทแอตแลนติก อลั ตา เทรด

จำกัด กบั พวก จำเลย

การเพิกถอนกระบวนพจิ ารณาที่ผิดระเบยี บ

ในวันนัดไตสวนคำรองเปนวันที่ทางราชการประกาศใหเปนวันหยุดพิเศษ แต
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางประกาศใหเ ปน วนั ทำการปกติ
และทำการพิจารณาคดีตามที่ไดกำหนดนัดหมายเอาไวแตเดิม ทั้งปรากฏในรายงาน
กระบวนพิจารณาวา ทนายโจทก จำเลยที่ ๒ และผูรับมอบฉันทะจากทนายจำเลยที่ ๒
มาศาล สวนผูรอง จำเลยที่ ๑ และที่ ๓ ถึงที่ ๗ ทราบนัดโดยชอบแลวไมมาศาล การที่
คูความอีกฝายลวนทราบวา ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
หาไดหยุดทำการ แตผูรองซึ่งมีหนาที่ตองนำพยานหลักฐานมาไตสวนใหไดความตาม
คำรองกลับเขาใจเอาเองโดยไมตรวจสอบใหแนชัดวา ศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศกลางหยุดทำการหรือไม จนศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศกลางดำเนินกระบวนพิจารณาไปตามปกติในวันดังกลาวกับไดมีคำสั่ง
ใหงดการไตสวนคำรอ งขอใหเ พกิ ถอนการขายทอดตลาดของผูร อ ง และมีคำสัง่ เกย่ี วกับ
คำรองของผูรองในวันเดียวกัน ดังนั้น การดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลทรัพยสิน
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางในวนั ดงั กลา ว จงึ มใิ ชก ระบวนพจิ ารณาทผ่ี ดิ
ระเบียบอนั จะตองถูกเพกิ ถอนแตอยางใด

______________________________

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความใหจำเลยทั้งเจ็ดชำระหนี้ หากผิดนัดใหยึดทรัพยจำนองออกขาย
ทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้แกโจทกจนครบถวน ตอมาจำเลยทั้งเจ็ดไมยอมชำระหนี้ตาม
คำพิพากษาดังกลาว โจทกขอใหบังคับคดีโดยยึดที่ดิน ๒ แปลง ของจำเลยที่ ๒ ขายทอดตลาด
เพอ่ื ชำระหนี้ ตอ มาเจา พนกั งานบงั คบั คดีประกาศขายทอดตลาดทีด่ ินดงั กลาว

๒๕๓

ผรู อ งยน่ื คำรอ ง ขอใหศ าลมคี ำสง่ั เพกิ ถอนการขายทอดตลาดทด่ี นิ ทง้ั สองแปลงดงั กลา ว
โจทกยน่ื คำคัดคา น ขอใหยกคำรอ ง
จำเลยที่ ๒ ยื่นคำคดั คาน ขอใหยกคำรอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งยกคำรอง คาฤชา
ธรรมเนยี มใหเปนพับ
ผูรอ งอทุ ธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดีชํานญั พิเศษแผนกคดีทรัพยส นิ ทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ชน้ั อทุ ธรณร บั ฟง ไดใ นเบอ้ื งตน วา เจา พนกั งานบงั คบั คดยี ดึ ทด่ี นิ และประกาศ
ขายทอดตลาดที่ดินพิพาททั้งสองแปลงของจำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนผูถือกรรมสิทธิ์รวมเพื่อนำเงิน
มาชำระหนแ้ี กโ จทกต ามคำพพิ ากษาตามยอม และวนั ท่ี ๒๘ กนั ยายน ๒๕๖๑ มผี ปู ระมลู ซอ้ื ทด่ี นิ
พิพาททั้งสองแปลงไดในราคา ๒๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท วางเงินมัดจำบางสวนแลว ๕๐๐,๐๐๐ บาท
กับขอขยายเวลาชำระเงินไปอีก ๓ เดือน โดยจะครบกำหนดในวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๒ และ
เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๒ ผูซื้อขอขยายเวลาชำระเงินสวนที่เหลือจนกวาคำสั่งเพิกถอน
การขายทอดตลาดของศาลทรพั ยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางจะถงึ ทีส่ ดุ
คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูรองวา คำสั่งของศาลทรัพยสินทางปญญา
และการคาระหวางประเทศกลางที่ยกคำรองของผูรองชอบหรือไม เห็นวา การที่ผูรองอุทธรณ
โตแ ยง วา การดำเนนิ การพจิ ารณาของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
ในวนั ท่ี ๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ ซง่ึ ทางราชการประกาศใหเ ปน วนั หยดุ พเิ ศษ เปน กระบวนพจิ ารณา
ทไ่ี มช อบนน้ั ในวนั นดั ไตส วนคำรอ งของผรู อ งดงั กลา ว ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศกลางประกาศใหเปนวันทำการปกติและทำการพิจารณาคดีตามที่ไดกำหนดนัดหมาย
เอาไวแ ตเ ดมิ ทง้ั ปรากฏในรายงานกระบวนพจิ ารณาฉบบั ลงวนั ท่ี ๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ วา ทนายโจทก
จำเลยที่ ๒ และผูรับมอบฉันทะจากทนายจำเลยที่ ๒ มาศาล สวนผูรอง จำเลยที่ ๑ และที่ ๓
ถึงที่ ๗ ทราบนัดโดยชอบแลวไมมาศาล การที่คูความอีกฝายอันไดแก ทนายโจทก จำเลยที่ ๒
และผรู บั มอบฉนั ทะจากทนายจำเลยท่ี ๒ ลว นทราบวา ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศกลางหาไดหยุดทำการ แตผูรองซึ่งมีหนาที่ตองนำพยานหลักฐานมาไตสวนใหไดความ
ตามคำรองในวันนัดไตสวนคำรองของตนเองกลับเขาใจเอาเองโดยไมตรวจสอบใหแนชัดวา
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางหยุดทำการหรือไม จนศาลทรัพยสิน
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางดำเนินกระบวนพิจารณาไปตามปกติในวันดังกลาว
กบั ไดม คี ำสง่ั ใหง ดการไตส วนคำรอ งขอใหเ พกิ ถอนการขายทอดตลาดของผรู อ งและมคี ำสง่ั เกย่ี วกบั

๒๕๔

คำรอ งของผรู อ งในวนั เดยี วกนั ดงั นน้ั การดำเนนิ กระบวนพจิ ารณาของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศกลางในวันดังกลาว จึงมิใชกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบอันจะตอง
ถกู เพกิ ถอนแตอ ยา งใด เมอ่ื ผรู อ งซง่ึ เปน ฝา ยกลา วอา งตามคำรอ งขอใหเ พกิ ถอนการขายทอดตลาด
ของเจา พนกั งานบงั คบั คดวี า ตนเปน ผมู สี ว นไดเ สยี ในการบงั คบั คดแี ละการบงั คบั คดแี ละการขาย
ทอดตลาดกระทำโดยมิชอบ ผูรองจึงมีภาระการพิสูจนใหไดความตามขออางในคำรองของตน
ในขณะเดยี วกนั โจทกแ ละจำเลยท่ี ๒ กไ็ ดค ดั คา นวา ผรู อ งไมไ ดเ ปน ผมู สี ว นไดเ สยี การบงั คบั คดี
ดำเนินไปโดยชอบ การยื่นคำรองของผูรองเปนการประวิงการบังคับคดี การที่ผูรองไมมีพยาน
หลักฐานมาพิสูจนใหไดความตามที่ตนอางในคำรอง ขอเท็จจริงจึงไมอาจรับฟงไดตามที่ผูรอง
กลาวอางวา ผูรองเปนผูมีสวนไดเสียในการบังคับคดี เมื่อเปนเชนนี้แลวก็ไมจำตองพิจารณา
ปญหาขออื่นอีกตอไป เพราะไมทำใหผลคดีเปลี่ยนแปลง ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั ยกคำรอ งของผรู อ งนน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ พอ งดว ยในผล
อุทธรณของผูร องฟงไมข น้ึ

พพิ ากษายนื คาฤชาธรรมเนยี มช้ันอทุ ธรณใ หเ ปน พบั .

(ปรานี เสฐจินตนิน - ตลุ เมฆยงค - สุรพล คงลาภ)

สุธรรม สธุ ัมนาถพงษ - ยอ
วิวฒั น วงศกติ ตริ ักษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงที่สดุ

๒๕๕

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๙๑๙๔/๒๕๖๒ ธนาคารกรุงไทย จำกดั

(มหาชน) โจทก

บรษิ ทั ลคั ก้ี การเ มน ท แฟคตอรี่

กับพวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๓๘๓ วรรคหน่งึ

ป.พ.พ. มาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่ง ใหอํานาจแกศาลปรับลดเบี้ยปรับที่สูงเกินสวน
แตจ ะใหง ดเบย้ี ปรบั เสยี ทง้ั หมดไมไ ด ตามสญั ญาโจทกแ ละจาํ เลยท่ี ๑ ตกลงใหค ดิ ดอกเบย้ี
ปกติที่อัตรารอยละ ๙.๖๒ ตอป และระบุวาหากจําเลยที่ ๑ ผิดนัดชําระหนี้โจทกมีสิทธิ
คิดดอกเบี้ยในอัตราผิดนัด ซึ่งเทากับอัตรารอยละ ๑๔.๕๐ ถึงรอยละ ๑๕ ตอป และปรับ
เปลี่ยนอัตราผิดนัดตามประกาศของโจทก การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหโ จทกไ ดช าํ ระดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป นบั ถดั จาก
วนั ฟอ งเปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก ซง่ึ เปน อตั ราดอกเบย้ี ทต่ี ำ่ กวา อตั ราดอกเบย้ี
ปกติของสัญญา จึงเปนการงดเบี้ยปรับ อันเปนการมิชอบดวยมาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่ง
แหง ป.พ.พ.

______________________________

โจทกฟอง ขอใหจำเลยทั้งสามรวมกันชำระเงิน ๑๓๘,๖๘๔,๑๓๗.๑๕ บาท พรอม
ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๘ ตอป ของเงินตน ๔๘,๘๕๕,๓๓๔.๓๐ บาท นับถัดจากวันฟองไปจน
กวาจะชำระเสร็จแกโจทก หากไมชำระใหยึดทรัพยจำนองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางตามฟองและ
ทรพั ยส ินอื่นของจำเลยท้งั สามออกขายทอดตลาดชำระหนแี้ กโ จทก

จำเลยที่ ๑ และท่ี ๒ ใหก าร ขอใหย กฟอง
จำเลยท่ี ๓ ขาดนัดยื่นคำใหก าร
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหจำเลยทั้งสาม
รวมกันชำระเงิน ๑๓๘,๖๘๔,๑๓๗.๑๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของเงินตน
๘,๘๕๕,๓๓๔.๓๐ บาท นบั จากวนั ฟอ ง (ฟอ งวนั ท่ี ๑๐ สงิ หาคม ๒๕๖๑) ไปจนกวา จะชำระเสรจ็
แกโจทก หากไมชำระใหยึดทรัพยจำนองที่ดินโฉนดเลขที่ ๔๒๑๑๙ ตำบลบางโคล (บางขวาง)
อำเภอยานนาวา (บางรกั ) กรงุ เทพมหานคร พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง โฉนดเลขท่ี ๔๑๗๔๕, ๔๒๑๓๓
ตำบลบางโคล (บางขวาง) อำเภอยานนาวา (บางรกั ) กรงุ เทพมหานคร พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง โฉนด
เลขท่ี ๒๙๓๗๘, ๒๙๓๗๙ ตำบลบางไผ (บางเชอื กหนงั ฝง ใต) อำเภอภาษเี จรญิ กรงุ เทพมหานคร

๒๕๖

พรอมสิ่งปลูกสราง โฉนดเลขที่ ๔๒๑๒๐ ตำบลบางโคล (บางขวาง) อำเภอยานนาวา (บางรัก)
กรุงเทพมหานคร พรอมสิ่งปลูกสราง โฉนดเลขที่ ๒๕๗๗๙ ตำบลสระจรเข อำเภอดานขุนทด
จงั หวัดนครราชสีมา พรอมสิ่งปลกู สรา ง โฉนดเลขที่ ๒๘๘๙๒, ๖๒๐๑๑ ตำบลสระจรเข, หว ยบง
อำเภอดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา พรอมสิ่งปลูกสราง และทรัพยสินอื่นของจำเลยทั้งสาม
ออกขายทอดตลาดชำระหนี้แกโจทก ใหจำเลยทั้งสามรวมกันใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทก
กำหนดคา ทนายความ ๓๐,๐๐๐ บาท

โจทกอ ุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ เบอ้ื งตน ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั รบั ฟง ไดเ ปน อนั ยตุ วิ า จำเลยท่ี ๑ เปน นติ บิ คุ คล
ประเภทบรษิ ทั จำกดั มจี ำเลยท่ี ๒ กบั ท่ี ๓ และบคุ คลอน่ื เปน กรรมการผมู อี ำนาจกระทำการแทน
จำเลยท่ี ๑ เปน ลกู คา โจทกแ ละเปน หนโ้ี จทก สาขาสรุ วงศ ในมลู หนต้ี ามสญั ญารบั ชำระหนว้ี งเงนิ
สินเชื่อเพื่อการนำเขาและสงออก และวงเงินการออกเลตเตอรออฟเครดิตและสัญญาทรัสตรีซีท
วงเงินทั้งสิ้นจำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ทั้งนี้ การใชวงเงินสินเชื่อดังกลาว จำเลยที่ ๑ ตกลงทำ
ใบคำขอเปด เลตเตอรอ อฟเครดติ ชนดิ เพกิ ถอนไมไ ด และทำสญั ญาทรสั ตร ซี ที หรอื คำขอทำธรุ กรรม
ตามระเบียบและวิธีปฏิบัติของโจทกใหไวแกโจทกทุกครั้ง เกี่ยวกับวงเงินสินเชื่อเพื่อการนำเขา
และสง ออกนน้ั จาํ เลยท่ี ๑ ทาํ สญั ญารบั ชาํ ระหนว้ี งเงนิ สนิ เชอ่ื เพอ่ื การนาํ เขา และสง ออกกบั โจทก
รวม ๔ ฉบับ รวมแลวเปน วงเงนิ ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท และในสวนวงเงินสินเช่อื การออกเลตเตอร
ออฟเครดติ และสญั ญาทรสั ตร ซี ที ตามสญั ญารบั ชำระหน้ี รวมแลว เปน วงเงนิ ๓๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
จาํ เลยที่ ๑ ใชสนิ เชือ่ เพ่อื การชาํ ระคาสินคา นาํ เขาทั้งสองประเภท รวม ๒๗ ครั้ง แบงเปน สญั ญา
ทรสั ตร ซี ที จำนวน ๑๐ ฉบบั และคำขอเปด เลตเตอรอ อฟเครดติ จำนวน ๑๗ ครง้ั ตามคำขอเปด
เลตเตอรออฟเครดิต ดังนี้ เมื่อระหวางวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๐ ถึงวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๐
จําเลยที่ ๑ ทําสัญญาทรัสตรีซีทพรอมออกตั๋วแลกเงินมอบไวแกโจทก เพื่อขอใหโจทกชําระเงิน
คาสินคาแทนและตกลงใหโจทกเปลี่ยนหนี้คาสินคาเปนเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยนของโจทก
ในวันที่ครบกําหนดชําระหรือตามอัตราที่ตกลงกันไว พรอมชําระดอกเบี้ยอัตรารอยละ LIBOR
บวก ๒.๕๐ ตอป นับแตวันที่โจทกชําระคาสินคาแทน หากนัดผิดยอมใหคิดดอกเบี้ยอัตราสูงสุด
โดยจําเลยที่ ๑ ออกตั๋วแลกเงินและสัญญาจะจายเงินพรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๘๖, ๗.๘๗,
๗.๘๙, ๗.๙ และ ๗.๙๑ ตอป แกโจทก รวมหนี้ทั้งสิบครั้งเปนตนเงิน ๒๓,๑๐๙,๖๘๖.๒๓ บาท
ดอกเบย้ี ๔๒,๗๕๐,๓๙๒.๕๙ บาท รวมทง้ั สน้ิ ๖๕,๘๖๐,๐๗๘.๘๒ บาท และเมอ่ื ระหวา งวนั ท่ี ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๕๐ ถงึ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๐ จาํ เลยที่ ๑ ขอเปด เลตเตอรออฟเครดิตเพ่ือ

๒๕๗

ส่ังซอื้ สนิ คา จากผขู ายในตา งประเทศ โดยจำเลยที่ ๑ ขอใหโจทกชำระคา สินคาไปกอนและตกลง
ทำสัญญาทรัสตรีซีทกับโจทกเพื่อนำสินคาไปจำหนายกอน แตจำเลยที่ ๑ ผิดนัดไมนำเงิน
มาชำระหนี้แกโจทกตามสัญญาทรัสตรีซีทที่ออกตามเลตเตอรออฟเครดิตจำนวน ๑๗ ครั้ง
จำเลยที่ ๑ ยังมีหนี้ตามเลตเตอรออฟเครดิตและสัญญาทรัสตรีซีท รวมหนี้เลตเตอรออฟเครดิต
และสัญญาทรัสตรีซีททั้งสิบเจ็ดฉบับคางชําระตนเงิน ๒๕,๖๔๒,๓๕๑.๒๘ บาท และดอกเบี้ย
๔๗,๐๔๗,๓๙๙.๐๓ บาท และเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๓๘ จำเลยทั้งสามทำหนังสือยินยอมให
โจทกทำสัญญาประกันภัยสิ่งปลูกสรางบนที่ดินทรัพยจำนองโดยใหโจทกเปนผูรับผลประโยชน
ตามกรมธรรมและยินยอมใหโจทกตออายุกรมธรรมประกันภัยไปจนกวาโจทกจะไดรับชําระหนี้
ทั้งปวง โดยจําเลยที่ ๑ ตองเปนผูชําระคาเบี้ยประกันภัยและยอมใหโจทกเปนผูชําระแทนแลว
เรยี กเกบ็ จากจาํ เลยท่ี ๑ หรอื หกั จากบญั ชขี องจาํ เลยท่ี ๑ หากไมส ามารถเรยี กเกบ็ ได จาํ เลยท่ี ๑
จะรบั ผดิ ชดใชค นื พรอ มดอกเบย้ี อตั ราสงู สดุ ตามประกาศของโจทก โจทกไ ดช ำระคา เบย้ี ประกนั ภยั
แทนจําเลยที่ ๑ จํานวน ๙ ครั้ง จำเลยที่ ๑ มีหนี้คาเบี้ยประกันภัยตามกรมธรรมจำนวน ๙ ฉบับ
รวมเปนตนเงินและดอกเบี้ยหนี้คาเบี้ยประกันภัยทั้งสิ้น ๑๓๓,๘๕๘.๐๒ บาท เมื่อจำเลยคาง
ชำระหนี้ดังกลาวมาทั้งหมดขางตน ตอมาจําเลยที่ ๑ ตกลงทําสัญญาปรับปรุงโครงสรางและ
บันทึกเพิ่มเติมตอทายสัญญาปรับปรุงโครงสรางหนี้กับโจทก ๔ ครั้ง กอนฟองคดีนี้โจทกไดมี
หนังสือบอกกลาวทวงถามใหชําระหนี้และแจงบังคับจํานองไปยังจําเลยทั้งสามโดยชอบแลวแต
จาํ เลยทง้ั สามเพิกเฉย รวมเปน ยอดหนีท้ งั้ สิ้นจำนวน ๑๓๘,๖๘๔,๑๓๗.๑๕ บาท พรอ มดอกเบีย้
เพื่อเปนหลักประกันในการชำระหนี้ของจำเลยที่ ๑ ทั้งที่มีอยูแลวและที่จะมีขึ้นตอไปภายหนา
จำเลยทั้งสามจำนองที่ดินเปนหลักประกันในการชำระหนี้ดังนี้ จำเลยที่ ๑ จดทะเบียนจำนอง
ทีด่ ินโฉนดเลขที่ ๒๕๗๗๙ ตำบลสระจรเข อำเภอดานขุนทด จังหวดั นครราชสมี า พรอ มสิ่งปลกู
สรางไวตอโจทก จำเลยที่ ๒ จดทะเบียนจำนองที่ดินโฉนดเลขที่ ๔๒๑๑๙, ๔๑๗๔๕, ๔๒๑๓๓
ตำบลบางโคล (บางขวาง) อำเภอยานนาวา (บางรัก) กรุงเทพมหานคร พรอมสิ่งปลูกสรางไว
ตอโจทก และที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๘๘๙๒, ๖๒๐๑๑ ตำบลสระจรเข, หวยบง อำเภอดานขุนทด
จงั หวดั นครราชสมี า พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งไวต อ โจทก และจำเลยท่ี ๓ จดทะเบยี นจำนองทด่ี นิ โฉนด
เลขท่ี ๒๙๓๗๘, ๒๙๓๗๙ ตำบลบางไผ (บางเชอื กหนงั ฝง ใต) อำเภอภาษเี จรญิ กรงุ เทพมหานคร
พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งไวต อ โจทก และจำเลยท่ี ๒ กบั ท่ี ๓ จดทะเบยี นจำนองทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๔๒๑๒๐
ตำบลบางโคล (บางขวาง) อำเภอยานนาวา (บางรัก) กรุงเทพมหานคร พรอมสิ่งปลูกสรางไว
ตอโจทก สัญญาจำนองทุกฉบับมีขอตกลงวา หากบังคับจำนองไดเงินไมพอชำระหนี้ผูจำนอง
ยอมใชส ว นทข่ี าดจนครบ จำเลยท่ี ๒ กบั ท่ี ๓ ทำสญั ญาคำ้ ประกนั การชำระหนอ้ี นั เกดิ จากการใช
วงเงินท้งั หาฉบบั ของจำเลยท่ี ๑ อยา งลูกหน้รี ว ม

๒๕๘

คดมี ปี ญ หาทจ่ี ะตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกป ระเดน็ เดยี ววา ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทาง
ปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหโ จทกไ ดร บั ชำระดอกเบย้ี ในอตั รารอ ยละ ๗.๕
ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก ซึ่งเปนอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกวา
อัตราดอกเบี้ยปกติตามสัญญา ถือวา ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
วนิ จิ ฉยั งดเบย้ี ปรบั แกโ จทกอ นั เปน การมชิ อบดว ยกฎหมายหรอื ไม เหน็ วา ประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่ง ใหอํานาจแกศาลปรับลดเบี้ยปรับที่สูงเกินสวนเทานั้น
แตจะใหงดเบี้ยปรับเสียทั้งหมดไมได เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา ตามคําขอสินเชื่อ ลงวันที่ ๓๐
พฤษภาคม ๒๕๕๐ เอกสารทายฟองหมายเลข ๑๔ ระบุใหโจทกคิดดอกเบี้ยสกุลเงินบาทจาก
จาํ เลยท่ี ๑ อตั รารอ ยละ เอม็ โออาร บวก ๒.๕๐ ตอ ป (MOR+๒.๕๐ ตอ ป) ปจ จบุ นั ดอกเบย้ี อตั รา
รอยละ เอ็มโออาร บวก ๒.๕๐ ตอป เทากับอัตรารอยละ ๙.๖๒ ตอป ฟงไดวา ตามสัญญาโจทก
และจําเลยที่ ๑ ตกลงใหคิดดอกเบี้ยปกติอัตรารอยละ ๙.๖๒ ตอป และตามสัญญารับชําระหนี้
ระบุวา หากจําเลยที่ ๑ ผิดนัดชําระหนี้โจทกมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในอัตราผิดนัด ซึ่งขณะทําสัญญา
เทากับอัตรารอยละ ๑๔.๕๐ ถึงรอยละ ๑๕ ตอป และปรับเปลี่ยนอัตราผิดนัดตามประกาศของ
โจทก ดังนั้น โจทกจึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในอัตราผิดนัดซึ่งปรับเปลี่ยนอัตราผิดนัดตามประกาศ
ของโจทกเปนอัตรารอยละ ๑๘ ตอป นับแตวันถัดจากวันฟองได เชนนี้ การที่ศาลทรัพยสินทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหโจทกไดรับชําระดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕
ตอ ป นบั ถดั จากวนั ฟอ ง ซง่ึ เปน อตั ราดอกเบย้ี ทต่ี ำ่ กวา อตั รารอ ยละ ๙.๖๒ ตอ ป อนั เปน ดอกเบย้ี
ปกติตามสัญญา จึงเปนการงดเบี้ยปรับแกโจทกอันเปนการมิชอบดวยมาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่ง
แหง ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย ดงั ทโ่ี จทกอ ทุ ธรณม า อทุ ธรณโ จทกฟ ง ขน้ึ ในสว นน้ี อยา งไร
ก็ตามขอสัญญา ขอ ๖.๔ ในสัญญารับชําระหนี้ที่ระบุใหโจทกมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในอัตราผิดนัด
หากจําเลยท่ี ๑ ผิดนดั ชาํ ระหน้ี การคดิ ดอกเบย้ี ในอัตราผิดนดั เชนน้ี ยอ มมลี กั ษณะเปนเบย้ี ปรับ
หากเบี้ยปรับนั้นกำหนดไวสูงเกินสวน ศาลยอมมีอำนาจใชดุลพินิจลดลงเปนจำนวนพอสมควร
ไดตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษ
พิเคราะหแลวเห็นวา โจทกคิดเบี้ยปรับเปนอัตราดอกเบี้ยผิดนัดเพิ่มขึ้นจากอัตราดอกเบี้ยปกติ
เปน อตั ราดอกเบย้ี ผดิ นดั ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ จำนวนรอ ยละ ๘.๓๘ ตอ ป เมอ่ื พเิ คราะหถ งึ ทางไดเ สยี ของโจทก
ทุกอยางอนั ชอบดว ยกฎหมาย เหน็ สมควรลดดอกเบีย้ ผดิ นดั ลง เม่อื โจทกบ รรยายฟอ งวา โจทก
มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยผิดนัดอันถือเปนเบี้ยปรับซึ่งปรับเปลี่ยนอัตราผิดนัดตามประกาศของโจทก
จึงเห็นควรกำหนดเบี้ยปรับซึ่งปรับเปลี่ยนไปในอัตรารอยละ ๕ ตอป บวกอัตราเอ็มโออาร ตาม
ประกาศของโจทกแกโจทก

๒๕๙

พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยทั้งสามรวมกันชำระเงิน ๑๓๘,๖๘๔,๑๓๗.๑๕ บาท
พรอมดอกเบี้ยในอัตราเอ็มโออาร ตามประกาศเรื่องกำหนดอัตราดอกเบี้ยของโจทก บวกอัตรา
รอยละ ๕ ตอป โดยใหการคำนวณดอกเบี้ยผิดนัดหรือเบี้ยปรับนี้ปรับเปลี่ยนขึ้นหรือลงแปรผัน
ตามอัตราดอกเบี้ยอัตราเอ็มโออาร ในประกาศของโจทก ของตนเงิน ๔๘,๘๕๕,๓๓๔.๓๐ บาท
นบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก ทง้ั น้ี เบย้ี ปรบั ดงั กลา วตอ งไมเ กนิ อตั รา
ดอกเบย้ี ผดิ นดั ตามคำขอทา ยฟอ งของโจทก นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำพพิ ากษาศาลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคา ระหวางประเทศกลาง คา ฤชาธรรมเนยี มชั้นอุทธรณใ หเ ปน พบั .

(พัฒนไชย ยอดพยุง - จักรกฤษณ เจนเจษฎา - จุมพล ภญิ โญสนิ วัฒน)

ฐติ ิ สุเสารัจ - ยอ
พรี ะเดช ไตรรัตนธนวงศ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ท่ีสุด

๒๖๐

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพเิ ศษที่ ๙๘/๒๕๖๓ พนักงานอยั การ สำนกั งาน

อัยการสงู สดุ โจทก

บรษิ ทั สาคร วฒั นา (ทัง่ จือฮะ)

จำกัด กับพวก จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนงึ่

ป.วิ.อ. มาตรา ๑๘๖ (๙), ๑๙๕ วรรคสอง

พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี

ทรพั ยสนิ ทางปญ ญาและการคา ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖, ๓๙

เมื่อศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางไดวินิจฉัยและ
พพิ ากษาใหย กฟอง จําเลยทง้ั สามจะมสี ทิ ธิอุทธรณคาํ พพิ ากษาศาลทรัพยส ินทางปญญา
และการคาระหวางประเทศกลางไดตอเมื่อมีคําวินิจฉัยดังกลาวมีผลกระทบกระเทือน
ตอสิทธิของจําเลยทั้งสามซึ่งเปนฝายชนะคดี คดีนี้ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศกลางไดพิพากษายกฟองแลววินิจฉัยวา เนื่องจากจําเลยที่ ๑ เปนบุคคล
ทไ่ี ดร บั หนงั สอื สาํ คญั ใหใ ชเ ครอ่ื งหมายรบั รองฮาลาลทล่ี งนามโดยประธานคณะกรรมการ
กลางอิสลามแหงประเทศไทย ซึ่งคําวินิจฉัยดังกลาวหาไดมีผลกระทบกระเทือนตอสิทธิ
ของจําเลยทั้งสามแตประการใด จําเลยทั้งสามจึงไมมีสิทธิอุทธรณคําพิพากษาดังกลาว
อทุ ธรณของจําเลยทงั้ สามไมว าจะวนิ จิ ฉัยทางใด กไ็ มไดท ําใหผ ลแหงคดีเปล่ียนแปลงไป
อทุ ธรณข องจาํ เลยทง้ั สามไมเ ปน สาระแหง คดอี นั ควรแกก ารวนิ จิ ฉยั ศาลอทุ ธรณค ดชี าํ นญั
พิเศษไมรับวนิ จิ ฉยั

อนึ่ง การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษา
ยกฟอ งแตไ มไ ดม คี าํ วนิ จิ ฉยั ในเรอ่ื งของกลางทโ่ี จทกข อรบิ เปน การไมช อบ ปญ หานเ้ี ปน
ปญ หาขอ กฎหมายเกย่ี วกบั ความสงบเรยี บรอ ย แมไ มม คี คู วามฝา ยใดอทุ ธรณ ศาลอทุ ธรณ
คดีชํานัญพเิ ศษก็มีอาํ นาจยกขึน้ วินิจฉัยและแกไ ขใหถกู ตอ งได

______________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔, ๒๕, ๒๗,
๕๙ พระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔, ๑๐๘, ๑๑๐, ๑๑๔, ๑๑๕, ๑๑๗
และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓, ๘๓, ๙๑ กบั ริบของกลาง

๒๖๑

จำเลยทง้ั สามใหการปฏิเสธ
ศาลทรัพยสินทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง พพิ ากษายกฟอง
จำเลยทงั้ สามอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา การทจ่ี ำเลยทง้ั สามอทุ ธรณว า ผเู สยี หายมใิ ชเ จา ของเครอ่ื งหมายรบั รองฮาลาล จงึ ทำให
การสอบสวนไมชอบและเปนเหตุใหฟองคดีไมชอบตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาอาญามาตรา ๑๒๐ นน้ั
เห็นวา ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางไดวินิจฉัยและพิพากษาให
ยกฟอง จำเลยทั้งสามจะมีสิทธิอุทธรณคำพิพากษาศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางไดต อ เมอ่ื คำวนิ จิ ฉยั ดงั กลา วมผี ลกระทบกระเทอื นตอ สทิ ธขิ องจำเลยทง้ั สามซง่ึ เปน
ฝา ยชนะคดี คดนี ศ้ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษายกฟอ งโดย
เหตผุ ลทไ่ี ดว นิ จิ ฉยั เอาไวใ นคำพพิ ากษาวา เนอ่ื งจากจำเลยท่ี ๑ เปน บคุ คลทไ่ี ดร บั หนงั สอื สำคญั
ใหใ ชเ ครอ่ื งหมายรบั รองฮาลาลทล่ี งนามโดยประธานคณะกรรมการกลางอสิ ลามแหง ประเทศไทย
ซึ่งคำวินิจฉัยดังกลาวหาไดมีผลกระทบกระเทือนตอสิทธิของจำเลยทั้งสามแตประการใดไม
จำเลยท้ังสามจึงไมม สี ทิ ธอิ ุทธรณค ำพพิ ากษาดังกลา ว ดังนั้น อุทธรณของจำเลยทง้ั สามไมว าจะ
วินิจฉัยไปในทางใด ก็ไมไดทำใหผลแหงคดีเปลี่ยนแปลงไป อุทธรณของจำเลยทั้งสามจึงไมเปน
สาระแหงคดีอันควรไดรับการวินิจฉัยตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบประมวลกฎหมายวิธิพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๑๕, ๑๕
และประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง ศาลอุทธรณ
คดีชำนญั พิเศษไมรับวนิ จิ ฉยั
อนึง่ การทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวางประเทศกลางพพิ ากษายกฟอง
โจทก โดยไมไดมีคำวินิจฉัยในเรื่องของกลางที่โจทกขอใหริบนั้น เปนการไมชอบดวยบทบังคับ
ที่ใหศาลตองมีคำวินิจฉัยในสวนดังกลาวตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญา
และการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๘๖ (๙)
ปญ หานเ้ี ปน ขอ กฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั ความสงบเรยี บรอ ย แมไ มม คี คู วามฝา ยใดอทุ ธรณ ศาลอทุ ธรณ
คดีชำนัญพิเศษก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยและแกไขใหถูกตองไดตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง

๒๖๒

ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและ
การคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง พิพากษายกอุทธรณของจำเลยทั้งสาม สวนของกลางใหคืนแก
เจาของ.

(วราคมน เลี้ยงพันธุ - จักรกฤษณ เจนเจษฎา - กรกนั ยา สุวรรณพานชิ )

ฐิติ สุเสารัจ - ยอ
วิวัฒน วงศกติ ตริ กั ษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ทส่ี ุด

๒๖๓

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษท่ี ๖๘๗/๒๕๖๓ บรษิ ทั เจทบี ซี ี พลสั คอรป โจทก

บรษิ ทั อนิ สไพร เอนเตอรเ ทนเมน ท

จำกดั กบั พวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๖ วรรคสอง

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๒ (๕), ๒๔๖

พ.ร.บ.จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา

คดที รัพยส นิ ทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙

คาํ แปลสญั ญาอนญุ าตใหใ ชส ทิ ธิ ขอ ๒๑ ระบวุ า “สญั ญานต้ี อ งบงั คบั และตคี วาม
ตามกฎหมายเกาหลี โดยไมค าํ นงึ ถงึ กฎหมายขดั กนั ขอ โตแ ยง ใดๆ ทเ่ี กดิ จากหรอื เกย่ี วขอ ง
กับสัญญานี้ตองระงับไปดวยกระบวนการอนุญาโตตุลาการในกรุงโซล ประเทศเกาหลี
ตามกฎอนุญาโตตุลาการของคณะกรรมการอนุญาโตตุลาการทางการคาของเกาหลี…
อยางไรก็ตาม หากบริษัท จ. กำหนดวา การใชกระบวนการในประเทศไทย หรือเขต
อาํ นาจศาลอน่ื ๆ สามารถปกปอ งสทิ ธิ หรอื ใชบ งั คบั สทิ ธใิ ดๆ ทเ่ี ปน ความลบั หรอื เกย่ี วกบั
ทรัพยสินทางปญญา บริษัท จ. จะเริ่มกระบวนการทางกฎหมายตอผูไดรับอนุญาตหรือ
บุคคลที่สามกอนอํานาจบริหารหรือศาลที่มีเขตอํานาจในประเทศไทย หรือเขต
อาํ นาจศาลอน่ื ๆ ตามทบ่ี รษิ ทั จ. ใชด ลุ ยพนิ จิ ในการเลอื ก ในกรณดี งั กลา วกฎหมายทใ่ี ช
บงั คบั ในเขตอาํ นาจศาลดงั กลา วจะนาํ มาใชก บั กระบวนการดงั กลา ว” ตามคาํ แปลดงั กลา ว
แสดงวา หากบรษิ ทั จ. เลอื กทจ่ี ะดาํ เนนิ คดที ป่ี ระเทศไทยกฎหมายทใ่ี ชบ งั คบั คอื กฎหมาย
ของประเทศไทย หาใชกฎหมายของสาธารณรัฐเกาหลีตามที่จําเลยทั้งสองกลาวอางไม
ดังนั้น เมื่อโจทก ซึ่งเปนผูรับโอนสิทธิเรียกรองจากบริษัท จ. ฟองจําเลยทั้งสองตอ
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง กฎหมายของสาธารณรฐั เกาหลี
จงึ ไมใ ชบังคับกบั ขอพพิ าทคดีนี้

การที่จําเลยที่ ๑ ทําสัญญากับบริษัท จ. และภายหลังจําเลยที่ ๒ ไดเขารวมเปน
คสู ญั ญาดว ย เปน การกระทำทจ่ี ำเลยทง้ั สองไดท ราบเนอ้ื หาของสญั ญาแตล ะฉบบั อยแู ลว และ
สมคั รใจเขา ทำสญั ญากบั บรษิ ทั จ. เพอ่ื ประโยชนท างธรุ กจิ ของจำเลยทง้ั สองในการจดั พมิ พ
นติ ยสาร ฉบบั ภาษาไทย จงึ ไมใ ชก รณขี อ สญั ญาทไ่ี มเ ปน ธรรม นอกจากน้ี ในดา นของบรษิ ทั จ.
มีสิทธินำงานอันมีลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการคา และอื่นๆ ไปหาประโยชน หรืออนุญาต
ใหบ คุ คลอน่ื ใชส ทิ ธิ แตเ มอ่ื บรษิ ทั จ. ทำสญั ญากบั จำเลยทง้ั สองมกี ำหนด ๕ ป ทำใหบ รษิ ทั จ.

๒๖๔

ตอ งผกู พนั ตามสญั ญา และไมส ามารถอนญุ าตใหบ คุ คลอน่ื ใชส ทิ ธใิ นชว งเวลาดงั กลา วไดอ กี
ถอื วา บรษิ ทั จ. ไดร บั ความเสยี หายแลว แมจ ำเลยทง้ั สองไมไ ดจ ดั พมิ พน ติ ยสาร ฉบบั ภาษาไทย
ในปท่ี ๔ และที่ ๕ ก็ตาม จำเลยทั้งสองจึงตอ งรับผดิ ตอ โจทก

โจทกบ รรยายฟอ งวา คา สทิ ธติ ามสญั ญากำหนดเปน เงนิ ตา งประเทศ จำนวนเงนิ
ดงั กลา วจงึ เปน หนท้ี แ่ี ทจ รงิ ทโ่ี จทกม สี ทิ ธไิ ดร บั ชำระจากฝา ยจำเลย ซง่ึ จำเลยทง้ั สองมสี ทิ ธิ
ชำระเปนเงินไทยโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ สถานที่และในเวลาที่ใชเงินตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๙๖ วรรคสอง การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
พพิ ากษาใหช ำระหนเ้ี ปน เงนิ ไทยจงึ ไมช อบ กรณเี ปน ปญ หาเกย่ี วดว ยความสงบเรยี บรอ ย
และศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ สมควรแกไ ขใหถ กู ตอ ง
ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา
คดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบ
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๖ และมาตรา ๑๔๒ (๕)

______________________________

โจทกฟ อ งและแกไ ขคำฟอ ง ขอใหบ งั คบั จำเลยทง้ั สองรว มกนั ชำระเงนิ ๑๐,๕๘๑,๕๓๒.๘๐ บาท
พรอ มดว ยดอกเบย้ี ในอตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๙,๗๔๓,๑๕๔.๓๙ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ ง
เปนตนไป จนกวาจำเลยทั้งสองจะไดชำระหนี้ใหเสร็จสิ้นแกโจทก หากจำเลยทั้งสองจะชำระหนี้
เปนเงินไทย ใหคิดอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยของธนาคารพาณิชยในกรุงเทพมหานคร ณ วันที่
มีการชำระหนี้ใหแ กโ จทก

จำเลยทั้งสองใหก ารและแกไขคำใหการ ขอใหย กฟอ ง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหจำเลยทั้งสอง
ชำระเงิน ๑๐,๕๘๑,๕๓๒.๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป จากตนเงิน
๙,๗๔๓,๑๕๔.๓๙ บาท นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๖๑) เปนตนไปจนกวาจะ
ชำระเสร็จแกโจทก กับใหจำเลยทั้งสองรวมกันใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทก โดยกำหนด
คา ทนายความ ๕๐,๐๐๐ บาท
จำเลยทั้งสองอุทธรณโ ดยไดร ับยกเวนคาธรรมเนียมศาลชั้นอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่โจทกและจำเลยทั้งสองไมโตแยงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา โจทกเปน
นิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัดตามกฎหมายของสาธารณรัฐเกาหลี มีนายโชอึน เปนกรรมการ
ผูมีอำนาจของโจทก นายโชอึน มอบอำนาจใหนางสาวธรรมิกา ฟองคดีนี้ จำเลยที่ ๑ และที่ ๒

๒๖๕

เปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๕ บริษัทเจคอนเทนทรี คอรป
ซง่ึ เปน ผพู มิ พจ ำหนา ยนติ ยสารเซซ่ี (CÉCI Magazine) ในสาธารณรฐั เกาหลี ทำสญั ญาอนญุ าต
ใหจ ำเลยท่ี ๑ นำเนอ้ื หาของนติ ยสารเซซ่ี มาพมิ พจ ำหนา ยเปน ภาษาไทยในประเทศไทย มกี ำหนด
ระยะเวลา ๕ ป ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ กนั ยายน ๒๕๕๕ บรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป และจำเลยท่ี ๑
ไดท ำสญั ญาแกไ ขเพม่ิ เตมิ สญั ญาอนญุ าตใหใ ชส ทิ ธิ รวม ๒ ฉบบั ในวนั เดยี วกนั บรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป
ยังทำสัญญาอนุญาตใหจำเลยที่ ๑ สามารถดำเนินการทางเว็บไซต (website) เว็บโทรศัพท
เคลอ่ื นท่ี (mobile site) อเิ ลก็ ทรอนกิ ส (electronic) ดจิ ทิ ลั (digital) หรอื รปู แบบอน่ื ในการเผยแพร
เนื้อหาที่ไมใชการพิมพ (other non-print modes of distribution of editorial content) ตอมา
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ มถิ นุ ายน ๒๕๕๗ จำเลยท่ี ๑ โอนสทิ ธแิ ละหนา ทต่ี ามสญั ญาอนญุ าตใหใ ชส ทิ ธเิ ซซ่ี
ประเทศไทย สัญญาอนุญาตใหใชสทิ ธเิ ซซี่ ประเทศไทย ฉบบั แกไ ขคร้ังที่ ๑ และที่ ๒ และสำเนา
สัญญาอนุญาตใหใชสิทธิสำหรับเว็บไซต การบริการ และแอปพลิเคชันตาง ๆ ที่ทำกับบริษัท
เจคอนเทนทรี คอรป ใหแ กจ ำเลยท่ี ๒ โดยไดร บั ความยนิ ยอมจากบรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป แลว
เมอ่ื วนั ท่ี ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ บรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งในหนท้ี ม่ี ตี อ จำเลยท่ี ๑
และที่ ๒ ใหแกโจทก บริษัทเจคอนเทนทรี คอรป มีหนังสือแจงการโอนสิทธิเรียกรองใหจำเลย
ท้งั สองทราบแลว

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองประการแรกวา กฎหมายของ
สาธารณรฐั เกาหลใี ชบ งั คบั กบั ขอ พพิ าทคดนี ห้ี รอื ไม เหน็ วา ตามคำแปลสญั ญาอนญุ าตใหใ ชส ทิ ธิ
ขอ ๒๑ กฎหมายที่ใชบังคับและเขตอำนาจศาล ระบุวา “สัญญานี้ตองบังคับและตีความตาม
กฎหมายเกาหลี โดยไมคำนึงถึงกฎหมายขัดกัน ขอโตแยงใด ๆ ที่เกิดจากหรือเกี่ยวของกับ
สัญญานี้ตองระงับไปดวยกระบวนการอนุญาโตตุลาการในกรุงโซล ประเทศเกาหลี ตามกฎ
อนุญาโตตุลาการของคณะกรรมการอนุญาโตตุลาการทางการคาของเกาหลี... อยางไรก็ตาม
หากเจซีทีกำหนดวา การใชกระบวนการในประเทศไทย หรือเขตอำนาจศาลอื่น ๆ สามารถ
ปกปองสิทธิ หรือใชบังคับสิทธิใด ๆ ที่เปนความลับหรือเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา เจซีทีจะ
เริ่มกระบวนการทางกฎหมายตอผูไดรับอนุญาต หรือบุคคลที่สามกอนอำนาจบริหาร หรือศาล
ที่มีเขตอำนาจในประเทศไทย หรือเขตอำนาจศาลอื่น ๆ ตามที่เจซีทีใชดุลยพินิจในการเลือก
ในกรณดี งั กลา วกฎหมายทใ่ี ชบ งั คบั ในเขตอำนาจศาลดงั กลา วจะนำมาใชก บั กระบวนการดงั กลา ว”
ตามคำแปลดงั กลา วแสดงวา หากบรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป เลอื กทจ่ี ะดำเนนิ คดที ป่ี ระเทศไทย
กฎหมายทใ่ี ชบ งั คบั คอื กฎหมายของประเทศไทย หาใชก ฎหมายของสาธารณรฐั เกาหลตี ามทจ่ี ำเลย
ทง้ั สองกลา วอา งไม ดงั นน้ั เมอ่ื โจทกซ ง่ึ เปน ผรู บั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งจากบรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป

๒๖๖

ฟองจำเลยทั้งสองตอศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง กฎหมายของ
สาธารณรฐั เกาหลจี งึ ไมใ ชบงั คบั กบั ขอ พพิ าทคดีน้ี

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองประการตอมาวา สัญญาอนุญาต
ใหใ ชส ทิ ธยิ งั มผี ลใชบ งั คบั หรอื ไม เหน็ วา ตามสำเนาจดหมายแจง ใหด ำเนนิ การกอ นการดำเนนิ คดี
ทางกฎหมาย (Letter of Request before Commencing Legal Action) บรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป
แจงใหจำเลยที่ ๑ ชำระหนี้คาสิทธิรายปตามอัตราคาสิทธิขั้นต่ำในปที่ ๔ และที่ ๕ ดวย
หนี้ดังกลาวเปนหนี้ที่เกิดภายหลังจากที่จำเลยที่ ๑ มีหนังสือลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ ไปยัง
บริษัทเจคอนเทนทรี คอรป การเรียกใหชำระหนี้ดังกลาว แสดงวาบริษัทเจคอนเทนทรี คอรป
ยังคงถือปฏิบัติตามสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิ เอกสารหมาย จ.๗ หรือ ล.๔ มิใชถือวาสัญญา
ดงั กลา วเลกิ กนั ตามทน่ี ายเสก ผรู บั มอบอำนาจจากจำเลยทง้ั สองเบกิ ความ จงึ ฟง วา สญั ญาอนญุ าต
ใหใ ชส ทิ ธยิ งั มผี ลใชบ งั คบั สว นทจ่ี ำเลยทง้ั สองอทุ ธรณว า ตง้ั แตเ ดอื นธนั วาคม ๒๕๕๘ เปน ตน มา
บริษัทเจคอนเทนทรี คอรป ไมสงเนื้อหาของนิตยสารเซซี่มาใหจำเลยทั้งสอง เสมือนเปนการ
ยอมรับการเลิกสัญญาของจำเลยทั้งสองและเปนการเลิกสัญญาตอกันโดยปริยาย โดยสัญญา
สิ้นสุดลงในปที่ ๓ (ป ๒๕๕๘) แลว นั้น ขอเท็จจริงดังกลาวเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลว
โดยชอบในศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
ไมร บั วนิ จิ ฉยั ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและ
วธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๘ ประกอบ
ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งสองประการสุดทายวา จำเลยทั้งสอง
ตองรับผิดตอโจทกหรือไม เพียงใด เห็นวา เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวา สัญญาระหวางบริษัท
เจคอนเทนทรี คอรป กบั จำเลยทง้ั สองยงั มผี ลใชบ งั คบั จำเลยทง้ั สองจงึ มหี นา ทป่ี ฏบิ ตั ติ ามสญั ญา
อนุญาตใหใชสิทธิตอไปจนครบกำหนดระยะเวลาตามสัญญา รวมถึงตองรับผิดชำระคาสิทธิ
ทค่ี า งชำระอนั เปน หนท้ี ร่ี ะบใุ นสญั ญาใหแ กโ จทกผ รู บั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งจากบรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป
ทจ่ี ำเลยทง้ั สองอทุ ธรณท ำนองวา สญั ญาอนญุ าตใหใ ชส ทิ ธเิ ปน ขอ สญั ญาทไ่ี มเ ปน ธรรม และจำเลย
ทั้งสองใชสิทธิเขาถึงขอมูลของบริษัทเจคอนเทนทรี คอรป เพียง ๓ ป เนื่องจากจำเลยทั้งสอง
ไมไ ดพ มิ พจ ำหนา ยนติ ยสารเซซ่ี ฉบบั ภาษาไทย ในปท ่ี ๔ และท่ี ๕ เมอ่ื บรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป
ไมไดสงขอมูลใหแกจำเลยทั้งสองเพื่อใหจำเลยทั้งสองเขาถึงขอมูล จำเลยทั้งสองจึงไมมีหนาที่
ตองชำระหนี้ซึ่งเปนคาใชสิทธิในการเขาถึงขอมูลตามหลักของสัญญาตางตอบแทนนั้น เห็นวา
การที่จำเลยที่ ๑ ทำสัญญากับบริษัทเจคอนเทนทรี คอรป และภายหลังจำเลยที่ ๒ ไดเขารวม

๒๖๗

เปน คสู ญั ญาดว ย เปน การกระทำทจ่ี ำเลยทง้ั สองไดท ราบเนอ้ื หาของสญั ญาแตล ะฉบบั อยแู ลว และ
สมัครใจเขาทำสัญญากับบริษัทเจคอนเทนทรี คอรป เพื่อประโยชนทางธุรกิจของจำเลยทั้งสอง
ในการจัดพิมพนิตยสารเซซี่ ฉบับภาษาไทย จึงไมใชกรณีขอสัญญาที่ไมเปนธรรม นอกจากนี้
ในดา นของบรษิ ทั เจคอนเทนทรี คอรป บรษิ ทั ดงั กลา วมสี ทิ ธนิ ำงานอนั มลี ขิ สทิ ธ์ิ เครอ่ื งหมายการคา
และอื่น ๆ ไปหาประโยชน หรืออนุญาตใหบุคคลอื่นใชสิทธิ แตเมื่อบริษัทเจคอนเทนทรี คอรป
ทำสัญญากับจำเลยทั้งสองมีกำหนด ๕ ป ทำใหบริษัทดังกลาวตองผูกพันตามสัญญา และไม
สามารถอนุญาตใหบุคคลอื่นใชสิทธิในชวงเวลาดังกลาวไดอีก ถือวาบริษัทเจคอนเทนทรี คอรป
ไดรับความเสียหายแลว แมจำเลยทั้งสองไมไดจัดพิมพนิตยสารเซซี่ ฉบับภาษาไทย ในปที่ ๔
และที่ ๕ ก็ตาม จำเลยทั้งสองจึงตองรับผิดตอโจทก สำหรับคาเสียหายมีเพียงใดนั้น โจทกมี
นางสาวธรรมิกา ผูรับมอบอำนาจโจทก เบิกความประกอบบันทึกถอยคำยืนยันขอเท็จจริงหรือ
ความเห็นสรุปไดวา จำเลยที่ ๑ ตองชำระคาสิทธิเปนรายปในอัตรารอยละ ๘ ของรายไดสุทธิ
ทั้งหมดของจำเลยที่ ๑ ที่ไดรับจากคาโฆษณาและการจำหนายนิตยสารเซซี่ ฉบับภาษาไทย
รวมทง้ั คา บอกรบั เปน สมาชกิ นติ ยสารในแตล ะปต ลอดอายขุ องสญั ญา แตห ากคำนวณแลว ตำ่ กวา
คาสิทธิขั้นต่ำที่กำหนดในสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิ จำเลยที่ ๑ ตองชำระคาสิทธิขั้นต่ำที่กำหนด
ในสัญญา บริษัทเจคอนเทนทรี คอรป สงใบแจงหนี้ใหจำเลยที่ ๒ แลว แตจำเลยทั้งสองเพิกเฉย
หนท้ี จ่ี ำเลยทง้ั สองคา งชำระ ไดแ ก (๑) คา สทิ ธริ ายปต ามอตั ราคา สทิ ธขิ น้ั ตำ่ ระหวา งเดอื นมนี าคม
ถงึ เดอื นพฤษภาคม ๒๕๕๘ จำนวน ๒๖,๐๐๐ ดอลลารส หรฐั กำหนดชำระภายในวนั ท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๕๘
(๒) คาสิทธิและคาตอบแทนสำหรับการใชภาพถาย ขอมูล ตามขอ ๓.๘ (ซ) ของสัญญา
อนุญาตใหใชสิทธิเดือนมกราคม ๒๕๕๗ เปนเงิน ๑,๕๒๐,๐๐๐ วอน เดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๗
เปนเงิน ๑,๕๒๐,๐๐๐ วอน และเดือนมีนาคม ๒๕๕๗ เปนเงิน ๒,๑๖๐,๐๐๐ วอน โจทกคำนวณ
อตั ราแลกเปลย่ี น ณ วนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๕๘ อนั เปน วนั ทห่ี นถ้ี งึ กำหนดชำระเปน เงนิ ๔,๕๖๒
ดอลลารส หรฐั (๓) คา สทิ ธริ ายปต ามอตั ราคา สทิ ธขิ น้ั ตำ่ ระหวา งเดอื นมถิ นุ ายนถงึ เดอื นสงิ หาคม ๒๕๕๘
จำนวน ๒๖,๐๐๐ ดอลลารสหรัฐ กำหนดชำระภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ (๔) คาสิทธิ
รายปตามอัตราคาสิทธิขั้นต่ำระหวางเดือนกันยายน ถึงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘ จำนวน
๒๖,๐๐๐ ดอลลารส หรฐั กำหนดชำระภายในวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๘ (๕) คา สทิ ธริ ายปต ามอตั รา
คา สทิ ธขิ น้ั ตำ่ ระหวา งเดอื นธนั วาคม ๒๕๕๘ ถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ จำนวน ๑๐๔,๐๐๐ ดอลลารส หรฐั
และระหวา งเดอื นธนั วาคม ๒๕๕๙ ถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ จำนวน ๑๒๓,๐๐๐ ดอลลารส หรฐั
กำหนดชำระภายในวนั ท่ี ๒๙ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๙ รวมหนค้ี า งชำระเปน เงนิ ๓๐๙,๕๖๒ ดอลลารส หรฐั
จำเลยทั้งสองเปนผูผิดนัดและมีหนาที่ตองชำระดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดที่ธนาคาร

๒๖๘

แหง ประเทศเกาหลปี ระกาศเรียกเก็บบวกดวยดอกเบย้ี ในอัตรารอ ยละ ๓ ตอป ตามขอ ๗.๒ (ค)
ของสญั ญาอนญุ าตใหใ ชส ทิ ธิ อตั ราดอกเบย้ี สงู สดุ ทธ่ี นาคารแหง ประเทศเกาหลี ประกาศเรยี กเกบ็
ณ วันที่ถึงกำหนดชำระวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๙ (วันถึงกำหนดชำระตามสำเนาใบแจงหนี้)
คืออัตรารอยละ ๑.๒๕ ตอป และบวกดวยดอกเบี้ยรอยละ ๓ ตอป คิดเปนอัตราดอกเบี้ยผิดนัด
รอยละ ๔.๒๕ ตอป ดอกเบี้ยนบั แตวนั ผิดนดั จนถึงวันฟอ งเปน เงนิ ๒๖,๖๓๗.๑๗ ดอลลารสหรฐั
รวมเปนเงินทั้งสิ้น ๓๓๖,๑๙๙.๑๗ ดอลลารสหรัฐ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๑
มีอัตรา ๑ ดอลลารสหรัฐ เทากับ ๓๑.๔๗๔ บาท คิดเปนเงิน ๑๐,๕๘๑,๕๓๒.๘๐ บาท เห็นวา
จำนวนหนท้ี น่ี างสาวธรรมกิ า ผรู บั มอบอำนาจโจทกเ บกิ ความสอดคลอ งยอดหนท้ี ป่ี รากฏในสำเนา
ใบแจงหนี้ และในสำเนาสัญญาโอนสิทธิเรียกรองในหนี้ที่คางชำระ ที่จำเลยทั้งสองอุทธรณวา
จำเลยทั้งสองมีหนาที่จายคาสิทธิใหแกโจทกเพียงคาตอบแทนการใชภาพถายในปที่ ๓
จำนวน ๔,๕๖๒ ดอลลารสหรัฐ และคาสิทธิขั้นต่ำรายปตามที่กำหนดไวในปที่ ๓ จำนวน
๑๐๔,๐๐๐ ดอลลารส หรฐั รวมเปน เงนิ ๑๐๘,๖๘๒ ดอลลารส หรฐั จงึ ไมม นี ำ้ หนกั หกั ลา งพยานหลกั ฐาน
ของโจทก ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหจ ำเลยทง้ั สอง
ชำระเงินแกโจทกนนั้ ศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษเห็นพอ งดว ย อทุ ธรณของจำเลยทัง้ สองทุกขอ
ฟง ไมข น้ึ อยา งไรกด็ ี ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางกำหนดดอกเบย้ี
นับถัดจากวันฟองในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นั้น เห็นวา การที่โจทกคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ
๔.๒๕ ตอปนั้นเปนการคิดดอกเบี้ยตามอัตราที่กำหนดในสัญญาขอ ๗.๒ (ค) ซึ่งกำหนดใหคิด
เมอ่ื มกี ารผดิ นดั ชำระเงนิ คา สทิ ธลิ า ชา จงึ เปน กรณที ค่ี สู ญั ญาตกลงกำหนดดอกเบย้ี ระหวา งผดิ นดั
ไวอ ยา งชัดแจง การคดิ ดอกเบ้ยี นบั ถัดจากวนั ฟอ งจึงตองคดิ ในอตั ราเดยี วกนั กบั ทีค่ ูส ญั ญาตกลง
กำหนดไวโ ดยเฉพาะดว ย จำเลยทง้ั สองจงึ คงตอ งรบั ผดิ ชำระดอกเบย้ี เพยี งในอตั รารอ ยละ ๔.๒๕
ตอ ป หรอื อตั ราดอกเบย้ี สงู สดุ ทธ่ี นาคารแหง ประเทศเกาหลกี ำหนดบวกดอกเบย้ี ในอตั รารอ ยละ ๓
ตอ ป แตท ง้ั นไ้ี มเ กนิ อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ตามทโ่ี จทกข อมา นบั ถดั จากวนั ฟอ งจนกวา จะชำระเสรจ็
แกโจทก

อน่ึง โจทกบรรยายฟองวา คา สิทธติ ามสญั ญากำหนดเปน เงินตา งประเทศ จำนวนเงนิ
ดังกลาวจึงเปนหนี้ที่แทจริงที่โจทกมีสิทธิไดรับชำระจากฝายจำเลย ซึ่งจำเลยทั้งสองมีสิทธิชำระ
เปนเงินไทยโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ สถานที่และในเวลาที่ใชเงินตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๙๖ วรรคสอง การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
กลางพิพากษาใหชำระหนี้เปนเงินไทยจึงไมชอบ กรณีเปนปญหาเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอย
และศีลธรรมอันดีของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรแกไขใหถูกตอง ตาม

๒๖๙

พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบประมวล
กฎหมายวธิ พี ิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๖ และมาตรา ๑๔๒ (๕)

พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยทั้งสองชำระ เงินจำนวน ๓๓๖,๑๙๙.๑๗ ดอลลารสหรัฐ
พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๔.๒๕ ตอป จากตนเงิน ๓๐๙,๕๖๒ ดอลลารสหรัฐ หากธนาคาร
แหง ประเทศเกาหลปี รบั อตั ราดอกเบย้ี สงู สดุ ใหช ำระดอกเบย้ี ในอตั ราดอกเบย้ี สงู สดุ บวกดอกเบย้ี
ในอัตรารอยละ ๓ ตอป แตทั้งนี้ไมเกินอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป หากจะชำระเปนเงินบาท ใหใช
อัตราแลกเปลี่ยน ณ สถานที่และในเวลาที่ใชเงิน แตตองไมเกินอัตรา ๓๑.๔๗๔ บาท ตอ ๑
ดอลลารสหรัฐ ยอดหนี้ถึงวันฟองตองไมเกิน ๑๐,๕๘๑,๕๓๒.๘๐ บาท นอกจากที่แกใหเปนไป
ตามคำพิพากษาศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง คาฤชาธรรมเนียม
ชัน้ อุทธรณนอกจากท่จี ำเลยท้งั สองไดรบั ยกเวน ใหเปน พับ.

(สุรพล คงลาภ - ตุล เมฆยงค - ปรานี เสฐจินตนิน)

สุธรรม สธุ ัมนาถพงษ - ยอ
พรี ะเดช ไตรรัตนธ นวงศ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทีส่ ดุ

๒๗๐

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๓๓๔/๒๕๖๔ ธนาคารทหารไทย จาํ กดั (มหาชน)

โดยบรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยพ ญาไท

จํากัด ผูเขา สวมสทิ ธิ

เปนคูค วามแทน โจทก

บริษัทอีส จีโอ-ซิสเตม็ ส จำกดั

กบั พวก จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๗๕ (เดมิ ), ๒๗๖ (เดิม), ๒๙๖ วรรคหน่งึ (เดิม)
พ.ร.บ.จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา

คดีทรัพยสินทางปญญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖

คําขอออกหมายบังคบั คดดี ังกลาวไดระบชุ ดั แจง ถงึ คาํ พิพากษาท่จี ะขอใหม ีการ
บังคับคดี จํานวนหนี้ที่ยังมิไดรับชําระรวมถึงวิธีการบังคับคดีตามที่ พ.ร.บ. จัดตั้งศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญา
และการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๗๕ (เดมิ )
กำหนดไว และยังมีหนี้ที่จำเลยทั้งสี่คางชำระอยูแกโจทกเต็มจำนวนตามคำพิพากษา
การออกหมายบงั คบั คดจี งึ ชอบดว ยกฎหมาย ตาม พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๗๖ (เดมิ ) มใิ ชก ารออกหมาย
บงั คบั คดโี ดยฝา ฝน ตอ บทบญั ญตั แิ หง ลกั ษณะการบงั คบั คดตี ามคำพพิ ากษา ตาม พ.ร.บ.
จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสิน
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา
๒๙๖ วรรคหน่ึง (เดมิ )

สวนที่จำเลยที่ ๓ อางมาในคำรองวา โจทกไดรับชำระหนี้ตามคำพิพากษา
ครบถว นแลว แมเ ปน ความจรงิ กเ็ ปน การชำระหนภ้ี ายหลงั จากทศ่ี าลไดอ อกหมายบงั คบั คดี
โดยชอบแลว จึงไมมีผลทำใหการออกหมายบังคับคดีโดยชอบกลายเปนการออกหมาย
บังคับคดีโดยฝาฝนตอบทบัญญัติแหงลักษณะการบังคับคดีตามคำพิพากษาอันเปนเหตุ
ทจ่ี ะเพกิ ถอนหมายบงั คบั คดตี าม พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๖ วรรคหนึ่ง (เดิม) ได ศาลทรัพยสินทางปญญา

๒๗๑

และการคา ระหวา งประเทศกลางจงึ ไมจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั วา ณ วนั ท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๒ มหี น้ี
ตามคำพพิ ากษาทต่ี อ งบงั คบั ตามหมายบงั คบั คดตี อ ไปหรอื ไม เพยี งใด เพราะถงึ จะไดค วาม
ดงั กลาวศาลกจ็ ะเพกิ ถอนหมายบังคบั คดีตามทจ่ี ำเลยท่ี ๓ อา งไมไดอยูแลว

____________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลฎีกาแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
มีคำพิพากษาใหจำเลยทั้งสี่รวมกันชำระหนี้แกโจทก วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ โจทกขอให
ศาลทรัพยส นิ ทางปญญาและการคา ระหวา งประเทศกลางออกหมายบังคับคดเี พือ่ ดำเนินการยดึ
หรืออายัดทรัพยของจําเลยทั้งสี่ออกขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้แกโจทก และวันที่ ๑๐
พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งใหออก
หมายบงั คบั คดจี ำเลยที่ ๓

ตอมาวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๓ จาํ เลยท่ี ๓ ย่ืนคาํ รองขอใหย กเลิกหมายบังคบั คดี
โจทกคัดคาน
ศาลทรพั ยส ินทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางไตส วนแลว มคี าํ สั่งยกคาํ รอ ง
จําเลยท่ี ๓ อุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ทจ่ี าํ เลยท่ี ๓ อทุ ธรณว า การขอใหเ พกิ ถอนหมายบงั คบั คดนี น้ั มไิ ดจ ำกดั ไวแ ตเ พยี งวา
การออกหมายบังคับคดีชอบดวยกฎหมายหรือไม ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๙๖
วรรคหนึ่ง (เดิม) เทานั้น แตหากมีเหตุที่ไมตองบังคับคดีตามหมายบังคับคดีที่ศาลออกอีกตอไป
ศาลก็สามารถมีคำสั่งเพิกถอนหมายบังคับคดีได เมื่อจำเลยที่ ๓ ยื่นคำรองอางวา โจทกไดรับ
ชำระหนตี้ ามคำพิพากษาท่ีขอใหบังคับคดนี ้นั ครบถวนแลว ศาลทรพั ยสนิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางตอ งไตส วนใหไ ดค วามวา มหี นต้ี ามคำพพิ ากษาทต่ี อ งบงั คบั ตามหมายบงั คบั คดี
ตอไปหรือไมเพียงใด แตศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางกลับมีคำสั่ง
ยกคำรอ งของจำเลยท่ี ๓ โดยอา งวา ไมเ ปน ไปตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๙๖ วรรคหนง่ึ (เดมิ )
โดยไมไดวินิจฉัยในเรื่องดังกลาวจึงไมถูกตองนั้น เห็นวา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

๒๗๒

ความแพง มาตรา ๒๗๕ (เดิม) บัญญัติวา “ถาเจาหนี้ตามคําพิพากษาจะขอใหบังคับคดี ใหยื่น
คําขอฝา ยเดยี วตอศาลเพ่อื ใหออกหมายบงั คบั คด.ี ..คําขอนัน้ ใหร ะบโุ ดยชัดแจง (๑) คําพพิ ากษา
หรือคําสั่งซึ่งจะขอใหมีการบังคับคดีตามนั้น (๒) จํานวนที่ยังมิไดรับชําระตามคําพิพากษาหรือ
คําสั่งนั้น (๓) วิธีการบังคับคดีซึ่งขอใหออกหมายนั้น” ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา ๒๗๖ (เดมิ ) บญั ญตั วิ า “ถา ศาลเหน็ วา ...คาํ ขอนน้ั มขี อ ความระบไุ วค รบถว น ใหศ าลออกหมาย
บังคับคดีใหทันที” และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๖ วรรคหนึ่ง (เดิม)
บญั ญตั วิ า “ในกรณที .่ี ..หมายบงั คบั คด.ี ..ฝา ฝน ตอ บทบญั ญตั แิ หง ลกั ษณะน.้ี ..ใหศ าลมอี าํ นาจทจ่ี ะ
สั่งเพิกถอน...”คดีนี้ หลังจากศาลฎีกาแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
มคี ำพิพากษาแลว โจทกขอใหออกคำบงั คบั และสงคำบงั คับใหแ กจ ำเลยทัง้ สโ่ี ดยชอบแลว ตอมา
โจทกขอออกหมายบังคับคดี คําขอออกหมายบังคับคดีดังกลาวไดระบุชัดแจงถึงคําพิพากษา
ทจ่ี ะขอใหม กี ารบงั คบั คดี จาํ นวนหนท้ี ย่ี งั มไิ ดร บั ชาํ ระรวมถงึ วธิ กี ารบงั คบั คดตี ามทพ่ี ระราชบญั ญตั ิ
จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพง มาตรา ๒๗๕ (เดิม) กำหนดไว โดยขอเท็จจริงไดความดวยวา ในขณะที่โจทกขอ
ออกหมายบังคับคดีและศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งให
ออกหมายบังคับคดีนี้ ยังมีหนี้ที่จำเลยทั้งสี่คางชำระอยูแกโจทกเต็มจำนวนตามคำพิพากษา
การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งใหออกหมายบังคับคดี
จงึ ชอบดว ยกฎหมาย ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
และวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖
ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๗๖ (เดมิ ) มใิ ชก ารออกหมายบงั คบั คดี
โดยฝาฝนตอบทบัญญัติแหงลักษณะการบังคับคดีตามคำพิพากษา ตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและ
การคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง
มาตรา ๒๙๖ วรรคหนง่ึ (เดมิ ) สว นทจ่ี ำเลยท่ี ๓ อา งมาในคำรอ งวา ณ วนั ท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๒
โจทกไ ดร บั ชำระหน้ี ตามคำพพิ ากษาครบถว นแลว กเ็ ปน เรอ่ื งทจ่ี ำเลยท่ี ๓ จะตอ งรอ งขอใหถ อน
การบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๖ วรรคสอง (เดิม) หาใช
เปน เหตทุ จ่ี ะมารอ งขอใหเ พกิ ถอนหมายบงั คบั คดที อ่ี อกมาโดยชอบแลว ไม ดงั นน้ั ทศ่ี าลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยวาตามคำรองของจำเลยที่ ๓ ไมปรากฏวา

๒๗๓

หมายบงั คบั คดฝี า ฝน ตอ บทบญั ญตั แิ หง ลกั ษณะการบงั คบั คดตี ามคำพพิ ากษาและยกคำรอ งของ
จำเลยที่ ๓ โดยไมไดว ินจิ ฉยั วา โจทกไ ดร ับชำระหนีต้ ามคำพิพากษาครบถวนแลว หรอื ไมจ ึงเปน
การดำเนนิ กระบวนพจิ ารณาทช่ี อบแลว อทุ ธรณของจำเลยที่ ๓ ฟงไมข้นึ

พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนียมในชั้นน้ใี หเปนพับ.
(ธารทพิ ย จงจักรพันธ - วราคมน เลยี้ งพันธุ - ววิ ฒั น วงศกติ ติรกั ษ)

สุธรรม สธุ มั นาถพงษ - ยอ
นภิ า ชยั เจริญ - ตรวจ

๒๗๔

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๑๖๕๕/๒๕๖๔ บริษทั ลีโอ โกลบอล โลจสิ ตกิ ส

จำกดั (มหาชน) โจทก

บรษิ ทั ไอโอนคิ โลจีสตกิ ส

จำกัด จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๓๗๙

ขอความตามเอกสารเปนเพียงขอความที่แสดงวาโจทกจะตองรับผิดชดใช
คา เสยี หายเพอ่ื ความเสยี หายและคา เสยี หายตา ง ๆ เทา นน้ั ไมไ ดต กลงสญั ญาวา จะใชเ งนิ
จำนวนหนึ่งเมื่อจำเลยไมปฏิบัติตามสัญญาหรือฝาฝนมูลหนี้ อันจะถือวาเปนขอตกลง
เบย้ี ปรบั ตามความหมายของมาตรา ๓๗๙ แหง ป.พ.พ. เพราะไมว า จะมขี อ ความดงั กลา ว
หรือไม จำเลยก็ยังคงตองรับผิดในความเสียหายเนื่องจากการปฏิบัติผิดสัญญาอยูแลว
ขอ ความในเอกสารดังกลาวจงึ ไมถือเปนขอตกลงเบ้ยี ปรบั

_____________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหบ งั คบั จำเลยชำระเงนิ จำนวน ๔๘๘,๖๑๓.๐๕ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รา
รอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจำนวน ๔๖๔,๖๔๘.๖๔ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวา
จะชำระเสรจ็ แกโ จทก

จำเลยใหก าร ขอใหย กฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหจำเลยชำระเงิน
๒๕๗,๐๐๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป นบั แตว นั ท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๖๑ เปน ตน ไป
จนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก กบั ใหจ ำเลยใชค า ฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก โดยกำหนดคา ทนายความ
เปนเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท และคา ใชจ ายในการดำเนินคดี ๒,๐๐๐ บาท
โจทกแ ละจำเลยอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตเ ถยี งกนั ในชน้ั อทุ ธรณร บั ฟง ไดว า เมอ่ื ประมาณเดอื นมนี าคม ๒๕๖๐
โจทกวาจางจำเลยใหขนสงสินคาจำพวก food stuff bean snack บรรจุในกลอง ๖๔๙ กลอง
จากทา เรอื แหลมฉบงั ในประเทศไทยไปยงั ทา เรอื เมอื งทาโคมา มลรฐั วอชงิ ตนั ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
และขนสง ตอ ไปสง มอบแกเ มยี นมาร โฮล ทเ่ี มอื งมนิ นแี อโพลสิ มลรฐั มนิ นโิ ซตา โดยตกลงเงอ่ื นไข
การขนสงแบบ CY/CY รายละเอียดของสินคาเปนไปตามสำเนาใบกำกับสินคาและใบรายการ

๒๗๕

บรรจุสินคา (Invoice & Packing List) หลังจากนั้น โจทกติดตอวาจางสายการเดินเรือ OOCL
ใหเปนผูขนสงอีกทอดหนึ่ง โจทกไดจัดทำใบยืนยันการจองระวางเรือ (Booking Confirmation)
สงใหจำเลย เพื่อใหจำเลยติดตอขอรับตูสินคาเปลาไปบรรจุสินคาเขาตูสินคาเอง แลวนำตูสินคา
ที่บรรจุสินคาแลวไปสงมอบแกสายการเดินเรือดังกลาว เมื่อจำเลยนำตูสินคาที่บรรจุสินคาแลว
ไปสง มอบแกส ายการเดนิ เรอื แลว โจทกไ ดอ อกใบตราสง ใหแ กจ ำเลยไว ระบชุ อ่ื จำเลยเปน ผตู ราสง
และ Myanmar Whole เปน ผรู บั ตราสง ตามสำเนาใบตราสง แผน ท่ี ๑ และสายการเดนิ เรอื OOCL
ไดออกใบตราสงใหแกโจทก ระบุชื่อโจทกเปนผูตราสง และกรีนเวิลดตัวแทนโจทกในประเทศ
สหรัฐอเมริกาเปนผูรับตราสง ตามสำเนาใบตราสง แผนที่ ๒ สัญญาระหวางโจทกกับจำเลย
จงึ เปน สญั ญาขนสง ตอ เนอ่ื งหลายรปู แบบ โดยมจี ำเลยเปน ผตู ราสง โจทกเ ปน ผปู ระกอบการขนสง
ตอเนื่อง และสายการเดินเรือ OOCL เปนผูขนสง กอนที่เรือสินคาจะถึงทาเรือทาโคมา ตัวแทน
โจทกม หี นงั สอื แจง ให Myanmar Whole ผรู บั ตราสง ทราบ ตามสำเนาหนงั สอื แจง (Arrival Notice)
เมอ่ื สนิ คา ขนสง ถงึ ทา เรอื เมอื งทาโคมา เมอ่ื วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เจา พนกั งานศลุ กากรไดก กั
สนิ คา และตสู นิ คา ไว เนอ่ื งจากสนิ คา ในตสู นิ คา ไมต รงตามทส่ี ำแดงและโจทกไ ดแ จง ใหจ ำเลยทราบแลว
หลงั จากนน้ั วนั ท่ี ๔ สงิ หาคม ๒๕๖๐ ฝา ยจำเลยรอ งขอใหเ ปลย่ี นแปลงจดุ หมายปลายทางสำหรบั
การขนสง ของสายการเดินเรอื OOCL จากเมอื งมนิ นีแอโพลสิ เปน เมอื งทาโคมา ตามสำเนาคำขอ
เปลี่ยนจุดหมายปลายทาง แผนที่ ๒ วันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๑ โจทกมีหนังสือถึงจำเลยทวงถาม
ใหช ดใชค าเสยี หายแกโ จทกจ ำนวน ๖๙๔,๔๒๔.๑๒ บาท ตามสำเนาหนังสือทวงถามและสำเนา
ใบตอบรับ EMS ในประเทศ ตอมาวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๑ โจทกไดจายเงินแก Green World
โดยวิธีการโอนเงินผานธนาคาร โดยใชเงินไทยชำระตามอัตราแลกเปลี่ยน ๑ ดอลลารสหรัฐ
เทากับ ๓๒.๘๓๖๘๕๔ บาท เปนเงินไทยจำนวน ๔๖๔,๔๙๘.๖๔ บาท รวมกับคาธรรมเนียม
ตาง ๆ อีก ๑๕๐ บาท รวมจำนวน ๔๖๔,๖๔๘.๖๔ บาท ตามสำเนาใบเสร็จรับเงินของธนาคาร
และสทิ ธิเรียกรอ งตามคำฟอ งของโจทกยงั ไมข าดอายุความ

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยวา จำเลยเปน ฝา ยผดิ สญั ญาขนสง ตอ เนอ่ื ง
หลายรปู แบบอนั เปน เหตใุ หต อ งรบั ผดิ ตอ โจทกห รอื ไม ตามอทุ ธรณข องจำเลยไมไ ดโ ตแ ยง วา สนิ คา
ทข่ี นสง ซง่ึ บรรจอุ ยใู นตสู นิ คา ถกู ตอ งตรงตามเอกสารทจ่ี ำเลยจดั ทำหรอื แจง ไวด งั ทจ่ี ำเลยใหก ารไว
แตอุทธรณวาการที่สินคาที่ขนสงถูกกักอาจเปนเพราะผูประสานงานของโจทกไมเขาใจเกี่ยวกับ
สินคาของจำเลยและขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อสินคาถูกกัก จึงไมสามารถอธิบายตอเจาพนักงาน
ศุลกากรได ซึ่งสินคาที่ถูกกักไวเพื่อตรวจสอบก็เปนเรื่องธรรมดาตามมาตรฐานแตละประเทศ
ทก่ี ำหนดไว เหน็ วา ตามพระราชบญั ญตั กิ ารขนสง ตอ เนอ่ื งหลายรปู แบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๑๖

๒๗๖

วรรคหนึ่ง บัญญัติถึงหนาที่และความรับผิดของผูตราสงวา “เมื่อผูประกอบการขนสงตอเนื่อง
ไดรับมอบของจากผูตราสงหรือจากบุคคลอื่นในนามผูตราสงไวแลว ใหถือวา ผูตราสงไดรับรอง
ความถูกตองในรายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับสภาพแหงของ เครื่องหมาย เลขหมาย น้ำหนัก
ปริมาตร และปริมาณแหงของที่ขนสงนั้น ตลอดจนลักษณะอันตรายแหงของที่ตนไดแจงไวแก
ผปู ระกอบการขนสง ตอ เนอ่ื งหรอื จดั ใหผ ปู ระกอบการขนสง ตอ เนอ่ื ง…” และในวรรคสอง บญั ญตั วิ า
“ถามีความเสียหายใด ๆ เกิดขึ้นเนื่องจากการแจงขอความไมถูกตองตรงตามรายละเอียดตาม
วรรคหนึ่ง ที่ผูตราสงไดแจงไวหรือจัดใหผูประกอบการขนสงตอเนื่องเพื่อบันทึกไวในใบตราสง
ตอเนื่อง ผูตราสงตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกผูประกอบการขนสงตอเนื่อง แมวาผูตราสง
จะไดโอนใบตราสงตอเนื่องนั้นใหแกบุคคลภายนอกไปแลวก็ตาม แตทั้งนี้ ผูประกอบการขนสง
ตอ เนอ่ื งยงั คงตอ งรบั ผดิ ตามสญั ญาขนสง ตอ เนอ่ื งหลายรปู แบบตอ บคุ คลภายนอกนน้ั ” เมอ่ื ขอ เทจ็ จรงิ
ไดความวา จำเลยวาจางโจทกใหขนสงสินคาโดยตกลงเงื่อนไขการขนสงแบบ CY/CY และใน
ใบตราสงระบุวา shipper’s load and count หมายถึง ผูตราสงเปนผูบรรจุและตรวจนับสินคา
จำเลยยอมเปนผูมีหนาที่บรรจุสินคาเขาตูสินคาเอง แลวนำตูสินคาที่บรรจุสินคาแลวไปสงมอบ
แกโจทกหรือสายการเดินเรือ OOCL ผูที่โจทกใชบริการในการขนสงดังนี้ สินคาที่ขนสงซึ่งบรรจุ
อยใู นตสู นิ คา แทจ รงิ แลว จะเปน สนิ คา ประเภทใด มจี ำนวนและนำ้ หนกั เทา ใด ยอ มอยใู นความรเู หน็
ของจำเลยทั้งสิ้น โดยโจทก สายการเดินเรือ OOCL และ Green World ตัวแทนโจทก ไมอาจ
ทราบไดวาสินคาที่บรรจุอยูในตูสินคาตรงตามตามที่ปรากฏในใบกำกับสินคาและใบรายการ
บรรจุหีบหอที่ระบุชนิดหรือประเภทของสินคา จำนวน น้ำหนัก และราคาสินคารวมทั้งรายการ
บรรจุหีบหอ และเอกสารอื่นที่จำเลยซึ่งเปนผูตราสงเปนผูจัดทำหรือไม จำเลยในฐานะผูตราสง
ยอมมีหนาที่จัดทำเอกสารระบุรายการสินคาใหตรงกับสินคาที่สงมอบใหขนสงเพื่อใหโจทกหรือ
ตัวแทนโจทกไดดำเนินพิธีการศุลกากรที่ทาเรือ เมืองทาโคมา การที่สินคาที่ขนสงซึ่งจำเลยเปน
ผบู รรจเุ ขา ตสู นิ คา ไมต รงกบั รายการเอกสารทส่ี ำแดงตอ เจา พนกั งานศลุ กากรทท่ี า เรอื เมอื งทาโคมา
เกิดจากการไมปฏิบัติหนาที่ของผูตราสงตามสัญญาขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบตามมาตรา ๑๖
วรรคหนึ่ง ดังกลาว ถือวาจำเลยเปนฝายผิดสัญญา และเมื่อสินคาที่ขนสงรวมทั้งตูสินคาถูก
เจาพนักงานศุลกากรกักไวดวยเหตุดังกลาว ดังนั้น หากโจทกตองไดรับความเสียหายเนื่องจาก
การผดิ สญั ญาของจำเลยดงั กลา ว จำเลยยอ มตอ งรบั ผดิ ชดใชค า เสยี หายแกโ จทก ตามมาตรา ๑๖
วรรคสอง ทจ่ี ำเลยอทุ ธรณท ำนองวา จำเลยมหี ลกั ฐานมาแสดงวา จำเลยเคยวา จา งผขู นสง รายอน่ื
ขนสงสินคาเชนเดียวกันนี้แตไมมีปญหาแสดงวาตัวแทนโจทกมีปญหาในการประสานงานกับ
เจาพนักงานศุลกากรนั้น ก็เห็นวา การขนสงสินคาเที่ยวอื่นไมไดเกี่ยวของกับการขนสงสินคา

๒๗๗

ในคดีนี้ และไมปรากฏวามีปญหาวารายการสินคาที่สำแดงไมตรงกับสินคาที่ขนสงเชนเดียวกับ
การขนสง สนิ คา ในคดนี ้ี จงึ ไมอ าจนำมาใชอ า งได สว นทจ่ี ำเลยอทุ ธรณว า จำเลยเพง่ิ ไดร บั เอกสาร
แจง กกั และควบคมุ สนิ คา เอกสารหมาย จ.๙ แผน ท่ี ๓ และท่ี ๔ จากโจทก กอ นวนั สบื พยาน ๗ วนั
และโจทกไมไดสงสำเนาหนังสือแจงการยึดและแจงขอมูลแกผูอางสิทธิ์ เอกสารหมาย จ.๑๔
ใหจ ำเลยลว งหนา ตามกฎหมาย ทง้ั กอ นหนา นโ้ี จทกก ไ็ มเ คยสง เอกสารเหลา นใ้ี หจ ำเลย จงึ ไมอ าจ
รับฟงเอกสารดังกลาวไดนั้น เห็นวาทั้งเอกสารหมาย จ.๙ และ จ.๑๔ ที่มีขอความระบุวาเปน
เอกสารทท่ี ำโดยเจา พนกั งานศลุ กากรของประเทศสหรฐั อเมรกิ าและมเี นอ้ื หาระบถุ งึ รายการสนิ คา
ที่สำแดงเท็จและมีการกักสินคา แมหากจะฟงวาโจทกไมไดสงเอกสารดังกลาวใหจำเลยมากอน
ดังที่จำเลยกลาวอาง แตจำเลยก็ไมไดนำสืบใหเห็นวาขอความในเอกสารนั้นไมถูกตองตรงตาม
ความจรงิ แตอ ยา งใด หรอื ยนื ยนั วา สนิ คา ถกู ตอ งตรงรายการสนิ คา ทจ่ี ำเลยแจง ทง้ั ทจ่ี ำเลยเปน ผู
ทราบดอี ยแู ลว วา สนิ คา ในตสู นิ คา เปน สนิ คา อะไรบา ง นอกจากน้ี ในคำใหก ารของจำเลยกไ็ ดร ะบวุ า
ผรู บั ตราสง ไมไ ดเ พกิ เฉย แตเ นอ่ื งจากผรู บั ตราสง มปี ญ หาการฟอ งรอ งคดใี นประเทศนน้ั จงึ ไมอ าจ
รับสินคาได อยางไรก็ตามจำเลยก็ไดติดตอประสานงานโดยมิไดนิ่งนอนใจเลยทั้งมีการติดตอ
กับโจทกตอเนื่องตลอดเวลา แสดงวา จำเลยยอมทราบดีถึงปญหาและสาเหตุที่สินคาที่ขนสง
ถกู กกั แลว และสาเหตเุ กดิ จากความผดิ ของจำเลยหรอื ฝา ยจำเลยเอง ไมไ ดเ กดิ จากความผดิ ของ
ตัวแทนโจทกตามทีจ่ ำเลยกลาวอางแตอยา งใดเมือ่ จำเลยเปนฝา ยผิดสัญญาขนสงตอเน่อื งหลาย
รูปแบบ จำเลยจงึ ตองรับผดิ ในความเสียหายตอโจทก อุทธรณของจำเลยจงึ ฟง ไมข ้ึน

คดีคงมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา คาเสียหายที่จำเลยตองรับผิดตอ
โจทกม เี พยี งใด เหน็ วา ตามสำเนาใบตราสง ซง่ึ โจทกใ นฐานะผปู ระกอบการขนสง ตอ เนอ่ื งไดอ อก
ใหแ กจ ำเลยในฐานะผตู ราสง และถอื เปน หลกั ฐานแหง สญั ญาขนสง ตอ เนอ่ื งหลายรปู แบบมขี อ ความ
ระบุวา freight prepaid ประกอบกับตามตนฉบับใบเสร็จรับเงิน ซึ่งโจทกออกใหแกจำเลย
เมื่อวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ กม็ ขี อความระบชุ ัดเจนวา จำเลยไดชำระคาระวางการขนสง แลว
แสดงวา จำเลยไดช ำระคา ระวางการขนสง แกโ จทกแ ลว เมอ่ื โจทกไ มไ ดน ำสบื ใหเ หน็ ไดว า คา ขนสง
ที่โจทกอางวาตองชำระเพิ่มเติมแกตัวแทนโจทกเปนคาขนสงที่จำเลยตองรับผิดชำระแกโจทก
อยา งไร จงึ ไมส มควรใหจ ำเลยตอ งรบั ผดิ ในสว นน้ี แตใ นสว นทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวางประเทศกลางวินิจฉัยวา ความรับผิดของจำเลยเขากรณีคาเสียหายที่ยอมรับผิดเอาไว
ลวงหนาตามขอความที่ระบุไวในหมายเหตุในใบยืนยันการจองระวางเรือและใบตราสงตอเนื่อง
ถอื เปน เบย้ี ปรบั ทส่ี งู เกนิ สว น สมควรลดลงเหลอื ๒๕๗,๐๐๐ บาท นน้ั เหน็ วา ขอ ความตามเอกสาร
ดังกลาว เปนเพียงขอความแสดงวาโจทกจะตองรับผิดชดใชคาเสียหาย เพื่อความเสียหายและ

๒๗๘

คาเสียหายตาง ๆ เทานั้น ไมไดตกลงสัญญาวาจะใชเงินจำนวนหนึ่ง เมื่อจำเลยไมปฏิบัติตาม
สญั ญาหรอื ฝา ฝน มลู หน้ี อนั จะถอื วา เปน ขอ ตกลงเบย้ี ปรบั ตามความหมายของมาตรา ๓๗๙ แหง
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เพราะไมวาจะมีขอความดังกลาวหรือไมจำเลยก็ยังคงตอง
รบั ผดิ ในความเสยี หายเนอ่ื งจากการปฏบิ ตั ผิ ดิ สญั ญาอยแู ลว ขอ ความในเอกสารดงั กลา วจงึ ไมถ อื
เปน ขอ ตกลงเบย้ี ปรบั อยา งไรกต็ าม โจทกย อ มมหี นา ทพ่ี สิ จู นว า ตนไดร บั ความเสยี หายเพยี งใด
ซึ่งตามพยานหลักฐานของโจทกตามสำเนาใบเสร็จ สำเนาใบแจงหนี้ ประกอบกับคำเบิกความ
ของพยานโจทก รับฟงไดวา โจทกชำระคาเก็บรักษาตูสินคาและคาคืนตูสินคาเปลาลาชาแก
ตัวแทนโจทกซึ่งตองชำระแกสายการเดินเรือ OOCL เปนจำนวน ๒,๐๕๐ ดอลลารสหรัฐ และ
จำนวน ๗,๗๔๐ ดอลลารส หรฐั ตามลำดบั รวมเปน จำนวน ๙,๗๙๐ ดอลลารส หรฐั คดิ เปน เงนิ ไทย
ตามอตั ราแลกเปลย่ี น ๑ ดอลลารส หรฐั เทา กบั ๓๒.๘๓๖๘๕๔ บาท เปน จำนวน ๓๒๑,๔๗๒.๘๐ บาท
กับคาธรรมเนียมเกี่ยวกับการชำระเงินอีก ๑๕๐ บาท รวมเปนเงินจำนวน ๓๒๑,๖๒๒.๘๐ บาท
จึงสมควรกำหนดจำเลยตองรับผิดชำระคาเสียหายจำนวนนี้แกโจทกพรอมดอกเบี้ยนับแตวันที่
๘ มนี าคม ๒๕๖๑ ซง่ึ เปน วนั ทโ่ี จทกไ ดช ำระเงนิ ไป จนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก อทุ ธรณข องโจทก
ฟงขึน้ บางสว น

อนึ่ง ระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ มีพระราชกำหนดแกไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย พ.ศ. ๒๕๖๔ ออกมาใชบังคับ โดยมาตรา ๓ และ
มาตรา ๔ ใหย กเลกิ ความในมาตรา ๗ และมาตรา ๒๒๔ แหง ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
และใหใชความใหมแทน เปนผลใหดอกเบี้ยผิดนัดปรับเปลี่ยนจากอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป เปน
อตั รารอ ยละ ๕ ตอ ป หรอื อตั ราดอกเบย้ี ใหมท อ่ี าจปรบั เปลย่ี นใหล ดลงหรอื เพม่ิ ขน้ึ ไดโ ดยตราเปน
พระราชกฤษฎกี าตามมาตรา ๗ ทแ่ี กไ ขใหม บวกดว ยอตั ราเพม่ิ รอ ยละ ๒ ตอ ป ตามมาตรา ๒๒๔
วรรคหนง่ึ ทแ่ี กไ ขใหม มาใชแ กก ารคดิ ดอกเบย้ี ผดิ นดั ทถ่ี งึ กำหนดชำระหนต้ี ง้ั แตว นั ทพ่ี ระราชกำหนด
นใ้ี ชบ งั คบั ในวนั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔ แตไ มก ระทบกระเทอื นถงึ การคดิ ดอกเบย้ี ในระหวา งชว ง
เวลากอ นทพ่ี ระราชกำหนดนใ้ี ชบ งั คบั ดงั นน้ั จงึ ใหใ ชอ ตั ราดอกเบย้ี ผดิ นดั ทถ่ี งึ กำหนดชำระหน้ี
ตั้งแตวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔ ในอัตราใหม และเรื่องนี้เปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวย
ความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยไดตาม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบประมวลกฎหมาย
วิธพี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๔๖ และมาตรา ๑๔๒ (๕)

๒๗๙

พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยชดใชคาเสียหายจำนวน ๓๒๑,๖๒๒.๘๐ บาท พรอม
ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๑ เปนตนไป
จนถงึ วนั ท่ี ๑๐ เมษายน ๒๕๖๔ และดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๕ ตอ ป นบั แตว นั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔
เปนตนไป หรืออัตราดอกเบี้ยอื่นที่อาจปรับเปลี่ยนไปตามพระราชกฤษฎีกาที่ออกตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๗ ประกอบมาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง แตตองไมเกินอัตรา
รอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ตามทโ่ี จทกข อ จนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก และดอกเบย้ี คดิ ถงึ วนั ฟอ งตอ งไป
เกินจำนวน ๒๓,๙๖๔.๔๑ บาท ตามที่โจทกขอดวย นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษา
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง คา ฤชาธรรมเนยี มชน้ั อทุ ธรณใ หเ ปน พบั .

(ตุล เมฆยงค - สุรพล คงลาภ - คมนทนงชัย ฉายไพโรจน)

สธุ รรม สธุ ัมนาถพงษ - ยอ
นิภา ชัยเจริญ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ทีส่ ดุ

๒๘๐

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๖๗/๒๕๖๕ บรษิ ทั เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย

(ประเทศไทย) จำกัด

(มหาชน) โจทก

บรษิ ทั จีโอดีส ไทย จำกดั

กบั พวก จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๓ (๒) (ข), ๒๗, ๘๓ ทว,ิ ๘๓ จัตวา, ๒๔๖
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี

ทรัพยส ินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๗, ๒๖, ๓๙

ตามคำฟองของโจทกบรรยายวาจำเลยที่ ๒ เปนนิติบุคคลจดทะเบียนซึ่งจัดตั้งตาม
กฎหมายสหรฐั อเมรกิ า คำฟอ งโจทกจ งึ ตอ งระบทุ อ่ี ยอู นั เปน ภมู ลิ ำเนาทแ่ี ทจ รงิ ของจำเลย
ที่ ๒ ในตางประเทศ แตโจทกกลับระบุที่อยูของจำเลยที่ ๒ เปนที่อยูของจำเลยที่ ๑ ใน
ราชอาณาจกั รซง่ึ ไมถ กู ตอ ง โดยการระบทุ อ่ี ยขู องจำเลยท่ี ๒ นเ้ี ปน คนละเรอ่ื งกบั สถานท่ี
ที่อาจสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีแกจำเลยที่ ๒ ในราชอาณาจักรไดตาม พ.ร.บ.
จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสิน
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๘๓ ทวิ
วรรคหนึ่ง และไมปรากฏจากคำฟองวาจำเลยที่ ๒ ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
ดวยตนเอง โดยตัวแทน หรือมีการตกลงเปนหนังสือวาคำคูความและเอกสารที่ตองสง
ใหแกจ ำเลยท่ี ๒ ใหส ง แกตัวแทนซ่ึงมถี น่ิ ทอี่ ยูในราชอาณาจักรท่จี ำเลยท่ี ๒ ไดแ ตงตัง้ ไว
เพื่อการนี้ แตในคดีนี้โจทกนำสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีใหแกจำเลยที่ ๒ ที่
ภมู ลิ ำเนาของจำเลยท่ี ๑ ทง้ั ๆ ทไ่ี มป รากฏขอ เทจ็ จรงิ ใดหรอื มพี ฤตกิ ารณใ ดวา จำเลยท่ี ๑
เปน ตวั แทนของจำเลยท่ี ๒ หรอื จำเลยท่ี ๒ ไดต กลงเปน หนงั สอื วา คำคคู วามและเอกสาร
ที่ตองสงใหจำเลยที่ ๒ ใหสงใหจำเลยที่ ๑ แมในใบตราสงเอกสารหมาย จ.๔ ระบุวา การ
รบั มอบสนิ คา ใหต ดิ ตอ จำเลยท่ี ๑ ณ ทอ่ี ยขู องจำเลยท่ี ๑ กต็ าม แตท อ่ี ยดู งั กลา วระบไุ วก ็
เพยี งเพอ่ื การรบั มอบสนิ คา ของผรู บั สนิ คา เทา นน้ั จำเลยท่ี ๑ ทำหนา ทเ่ี ปน เพยี งผสู ง มอบ
สินคาใหผูรับสินคาแตมิไดรับมอบหมายหรือแตงตั้งใหเปนตัวแทนในทางการคาและ
ธุรกิจอันเปนปกติ ที่อยูดังกลาวจึงมิใชที่อยูเพื่อการสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดี
ใหแ กจ ำเลยท่ี ๒ ยง่ิ ไปกวา นน้ั ภายหลงั ไดร บั หมายเรยี กและคำฟอ งตง้ั ตน คดขี องจำเลยท่ี ๒ แลว

๒๘๑

จำเลยที่ ๑ ไดมีหนังสือนำสงหมายเรียกและสำเนาคำฟองดังกลาวคืนศาลทรัพยสิน
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางและยืนยันวาจำเลยที่ ๑ ไมไดเปนตัวแทน
ของจำเลยท่ี ๒ ในประเทศไทย ซง่ึ โจทกก ไ็ มไ ดโ ตแ ยง คดั คา นใหเ หน็ เปน อยา งอน่ื กรณจี งึ
ไมอาจถือไดวาจำเลยที่ ๑ เปนตัวแทนหรือเปนผูที่ไดรับการแตงตั้งจากจำเลยที่ ๒ ใหมี
อำนาจรับหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีในราชอาณาจักรแทนจำเลยที่ ๒ ดังนั้น
การนำสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีของจำเลยที่ ๒ ไปยังภูมิลำเนาของจำเลยที่ ๑
จึงเปนการสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีที่ไมชอบตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสิน
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๘๓ ทวิ และมาตรา ๘๓
จัตวา

สวนที่โจทกกลาวอาง ขอใหสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีแกจำเลยที่ ๒
ณ ภมู ลิ ำเนาของจำเลยท่ี ๑ ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๓ (๒) (ข) นน้ั บทบญั ญตั ดิ งั กลา วเปน เรอ่ื ง
เขตศาลที่โจทกอาจเสนอคำฟองคดีแพงตอศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพง
ซึ่งมีเขตอำนาจไดในกรณีที่จำเลยไมมีภูมิลำเนาในราชอาณาจักร ไมใชเรื่องการระบุ
ภูมิลำเนาหรือที่อยูของจำเลยในคำฟอง และไมใชเรื่องสถานที่ในราชอาณาจักรที่อาจ
สงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีแกจำเลยดังกลาวได ทั้งคดีการคาระหวางประเทศ
เปนคดีที่โจทกตองฟองตอศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศเทานั้น
ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา
คดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๗ บทบัญญัติ
ดงั กลา วจงึ ไมอ าจนำมาใชบ งั คบั แกค ดที อ่ี ยใู นอำนาจพจิ ารณาพพิ ากษาของศาลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศได การที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางมีคำส่งั รบั คำฟองในสว นของจำเลยท่ี ๒ โดยไมไดส ่งั ใหโจทกแกไข
คำฟอ งใหถ กู ตอ งเสยี กอ นและอนญุ าตใหส ง หมายเรยี กและคำฟอ งตง้ั ตน คดแี กจ ำเลยท่ี ๒
ณ ภูมิลำเนาของจำเลยที่ ๑ จึงเปนการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ ซึ่งปญหา
การดำเนินกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบดังกลาวเปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความ
สงบเรียบรอยของประชาชน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นสมควรวินิจฉัยไดแมไมมี
คูความฝายใดอุทธรณในประเด็นนี้ และศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษยอมมีอำนาจ
เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่เกี่ยวของและผิดระเบียบในสวนของจำเลยที่ ๒ ตั้งแต
ชน้ั รบั คำฟอ ง ชน้ั พจิ ารณา และชน้ั ทำคำพพิ ากษานน้ั เสยี ไดต าม พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ

๒๘๒

ทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและ
การคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๗ และมาตรา ๒๔๖
เมื่อศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบของโจทก
สำหรับจำเลยที่ ๒ แลว ในชั้นนี้จึงยังไมจำเปนตองวินิจฉัยในประเด็นเรื่องความรับผิด
และขอ จำกดั ความรบั ผิดของจำเลยที่ ๒ ตามอุทธรณข องโจทก

______________________________

โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสองรวมกันชำระเงิน ๘๗๔,๐๓๘.๔๑ บาท พรอม
ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป จากตนเงิน ๘๕๒,๘๓๔.๓๘ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไป
จนกวา จะชำระเสร็จแกโจทก

จำเลยที่ ๑ ใหก ารและแกไ ขคำใหการ ขอใหยกฟอ ง
จำเลยท่ี ๒ ขาดนดั ย่นื คำใหก าร
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง คาฤชา
ธรรมเนียมใหเ ปนพบั
โจทกอ ทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอ เท็จจรงิ ฟง เปนยุติในชน้ั อทุ ธรณโดยไมม คี ูความฝา ยใดโตแยง คัดคา นวา เมอ่ื เดือน
สิงหาคม ๒๕๖๑ บริษัทไทย-สวีดิช แอสเซมบลีย จำกัด สั่งซื้อเครื่องยนต ๑๖ เครื่อง จากผูขาย
ในสาธารณรัฐฝรั่งเศส ภายใตเงื่อนไขการซื้อขายแบบ FCA ตกลงสงมอบสินคากันที่เมือง
Venissieux ในสาธารณรฐั ฝรง่ั เศส ตามใบกำกบั สนิ คา สนิ คา ถกู จดั วางบนไมร องสนิ คา ๘๘ แผน
แลวบรรจุในตูสินคาของจำเลยที่ ๒ จำนวน ๖ ตู และจัดสงมายังประเทศไทยโดยการขนสงโดย
เรอื บรรทกุ สนิ คา ชอ่ื NYK SWAN เดนิ ทางจากสาธารณรฐั ฝรง่ั เศสมายงั สาธารณรฐั สงิ คโปรแ ละขนสง
ดว ยเรอื บรรทกุ สนิ คา ชอ่ื SEASPAN THAMES เดนิ ทางจากสาธารณรฐั สงิ คโปรม ายงั ประเทศไทย
โดยมีทาเรือ FOS SUR MER ในสาธารณรัฐฝรั่งเศสเปนทาเรือตนทาง (Port of Loading)
และทา เรอื แหลมฉบงั เปน ทา เรอื ปลายทาง (Place of Delivery) ตามใบตราสง บรษิ ทั ไทย-สวดี ชิ
แอสเซมบลยี  จำกดั ผซู อ้ื ไดท ำสญั ญาประกนั ภยั สนิ คา ไวก บั โจทกภ ายใตส ญั ญาประกนั ภยั รายป
โดยใหค วามคมุ ครองความเสยี หายทกุ ประเภท (All Risks) ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการขนสง จากสาธารณรฐั
ฝรง่ั เศสจนมาถงึ ประเทศไทย ระยะเวลาใหค วามคมุ ครองเรม่ิ ตง้ั แตว นั ท่ี ๘ มนี าคม ๒๕๖๐ จนถงึ
วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๑ โจทกออกกรมธรรมประกันภัยตามสัญญาประกันภัยระหวางโจทกกับ
ผูเอาประกันภัยไว เมื่อสินคามาถึงทาเรือปลายทาง ตัวแทนของผูเอาประกันภัยเปดตูสินคา

๒๘๓

พบวา เครื่องยนต ๒ เครอ่ื ง ที่บรรจใุ นตูส นิ คา หมายเลข MOFU ๐๖๔๑๙๖๑ ไดร ับความเสียหาย
เนื่องจากเครื่องยนตหลุดออกจากไมรองสินคา มีน้ำมันเครื่องไหล ถุงลมกันกระแทกแตก ตาม
รายการความเสียหายและภาพถายความเสียหาย ผูเอาประกันภัยจึงเรียกรองคาเสียหายจาก
โจทกต ามสญั ญาประกนั ภยั เมอ่ื วนั ท่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๒ โจทกช ำระเงนิ คา เสยี หายใหแ กผ เู อา
ประกันภยั ไป ๘๕๒,๘๓๔.๓๘ บาท โจทกเ ขา รบั ชวงสทิ ธิเรียกรอ งคาเสยี หายในวนั เดียวกนั ตาม
สำเนาใบสำคัญจา ย สำเนาเช็คและสำเนาหนังสือการรบั ชวงสิทธิ

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกขอแรกวา จำเลยที่ ๑ ตองรับผิดตาม
สัญญารับขนตอโจทกในฐานะผูขนสงหรือไม เพียงใด เห็นวา พยานโจทกทั้งสองปากไมได
เบกิ ความยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ และรายละเอยี ดเกย่ี วกบั การทำสญั ญาขนสง วา จำเลยท่ี ๑ เขา ทำสญั ญา
กบั บคุ คลใดและเมอ่ื ใด และจำเลยท่ี ๑ แตง ตง้ั ใหบ รษิ ทั จโี อดสี เฟรท ฟอรเ วริ ด ดง้ิ ในสาธารณรฐั
ฝรั่งเศสเปนตัวแทนเพื่อวาจางจำเลยที่ ๒ ขนสงสินคาอีกทอดหนึ่งเมื่อใด อยางไร อีกทั้งโจทก
ไมไดอางพยานเอกสารหรือพยานอื่นใดมาประกอบคำเบิกความพยานโจทก เปนตนวา ประวัติ
การทำสญั ญาวา จา งใหข นสง สนิ คา ในลกั ษณะเดยี วกนั นร้ี ะหวา งจำเลยท่ี ๑ กบั บรษิ ทั จโี อดสี เฟรท
ฟอรเวิรดดิ้ง ในสาธารณรัฐฝรั่งเศสและจำเลยที่ ๒ หรือหลักฐานการติดตอสื่อสารระหวางผูเอา
ประกนั ภยั กบั จำเลยท่ี ๑ หรอื ระหวา งจำเลยท่ี ๑ กบั บรษิ ทั จโี อดสี เฟรท ฟอรเ วริ ด ดง้ิ ในสาธารณรฐั
ฝรง่ั เศส ระหวา งจำเลยท่ี ๑ กบั จำเลยท่ี ๒ และระหวา งบรษิ ทั จโี อดสี เฟรท ฟอรเ วริ ด ดง้ิ ในสาธารณรฐั
ฝรั่งเศสกับจำเลยที่ ๒ เพื่อใหเห็นถึงนิติสัมพันธระหวางกันเพื่อแสดงใหเห็นวาจำเลยที่ ๑ เคย
เขาทำสัญญารับขนกับผูเอาประกันภัย อีกทั้งในทางนำสืบโจทกก็ไมปรากฏหลักฐานที่เกี่ยวกับ
การตดิ ตอ สอ่ื สารระหวา งกนั และไมป รากฏรายการใบเสนอราคาคา บรกิ าร ใบแจง หน้ี ใบเสรจ็ รบั เงนิ
คาบริการการขนสง หรือเอกสารอื่นใดอันพอที่จะสนับสนุนคำกลาวอางของโจทกใหมีความ
นา เชอ่ื ถอื วา ขอ เทจ็ จรงิ เปน เชน นน้ั จงึ เปน แตเ พยี งการกลา วอา งลอย ๆ แตใ นทางกลบั กนั จำเลย
ที่ ๑ นำสืบตอสูวาจำเลยที่ ๑ ไมไดเปนผูขนสง โดยนางสาวอรพิศ ลูกจางจำเลยที่ ๑ เบิกความ
เปนพยานจำเลยที่ ๑ ยืนยันวา ผูสงสินคาเปนผูวาจางใหบริษัทจีโอดีส เฟรท ฟอรเวิรดดิ้ง ใน
สาธารณรัฐฝรั่งเศส เปนผูขนสงสินคาเพื่อนำมาสงมอบใหผูเอาประกันภัยที่ทาเรือแหลมฉบัง
หลังจากนั้นบริษัทจีโอดีส เฟรท ฟอรเวิรดดิ้ง ในสาธารณรัฐฝรั่งเศสจะแจงรายละเอียดเกี่ยวกับ
ผรู บั สนิ คา และระยะเวลาทส่ี นิ คา จะมาถงึ ใหจ ำเลยท่ี ๑ ทราบเพอ่ื ใหจ ำเลยท่ี ๑ แจง ใหผ เู อาประกนั ภยั
ซง่ึ เปน ผรู บั สนิ คา ทราบวา สามารถตดิ ตอ รบั สนิ คา ไดจ ากบคุ คลใด ณ สถานทใ่ี ด นอกจากหนา ท่ี
แจงรายละเอียดการมาถึงของเรือและสินคาและการปลอยสินคาแลว จำเลยที่ ๑ ยังมีหนาที่
เก็บคาระวางเรือแทนบริษัทจีโอดีส เฟรท ฟอรเวิรดดิ้ง ในสาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อเรียกเก็บ

๒๘๔

คา ระวางเรอื ไดแ ลว กจ็ ะโอนเงนิ ดงั กลา วไปใหบ รษิ ทั จโี อดสี เฟรท ฟอรเ วริ ด ดง้ิ ในสาธารณรฐั ฝรง่ั เศส
ตอ ไป นอกจากน้ี ตามใบแจง หนเ้ี พอ่ื เรยี กเกบ็ คา ระวางเรอื ของจำเลยท่ี ๑ ทส่ี ง ถงึ ผเู อาประกนั ภยั
และใบเสร็จรับเงินคาระวางเรือ ก็ไมปรากฏวาเมื่อไดรับเงินคาระวางเรือแลวจำเลยที่ ๑ หักเงิน
คาระวางเรือไวเปนสวนของตนกอนการนำสงใหจำเลยที่ ๒ แตอยางใด เมื่อคดีนี้โจทกมีหนาที่
นำสืบใหเห็นถึงขอเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณกอนและหลังการเขาทำสัญญารับขนระหวาง
คสู ญั ญาทเ่ี ก่ยี วของตามขอกลาวอา งของโจทกหรือพฤติการณอ ื่นใดทพี่ อจะบงชใ้ี หเ ห็นวา จำเลย
ที่ ๑ เปนผูขนสงสินคาในชวงใด ทอดใด ของการขนสงจากทาเรือตนทางในสาธารณรัฐฝรั่งเศส
แลว มาแวะเปลย่ี นเรอื ขนสง ทส่ี าธารณรฐั สงิ คโปรเ พอ่ื เดนิ ทางตอ มามายงั ทา เรอื แหลมฉบงั ซง่ึ เปน
ทาเรือปลายทางในประเทศไทย แตโจทกไมสามารถนำสืบพิสูจนใหเห็นถึงขอเท็จจริงเหลานั้น
ไดโ ดยประจกั ษ ถอื วา โจทกน ำสบื ไดไ มส มดงั คำฟอ ง สว นจำเลยท่ี ๑ ใหก ารปฏเิ สธวา จำเลยท่ี ๑
ไมใ ชผ ขู นสง บรษิ ทั จโี อดสี เฟรท ฟอรเ วริ ด ดง้ิ ในสาธารณรฐั ฝรง่ั เศสไมไ ดเ ปน ตวั แทนของจำเลย
ที่ ๑ ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดแตเพียงวาจำเลยที่ ๑ มีหนาที่แจงการมาถึงของเรือขนสงและสินคา
ใหผ เู อาประกนั ภยั ทราบเพอ่ื จะไดม าตดิ ตอ ขอรบั สนิ คา ไดถ กู ตอ งวา ผรู บั สนิ คา จะตอ งมาตดิ ตอ รบั
สนิ คา จากจำเลยท่ี ๑ ณ ทท่ี ำการของจำเลยท่ี ๑ ตามทร่ี ะบไุ วใ นใบตราสง กบั จำเลยท่ี ๑ มหี นา ท่ี
เกบ็ เงนิ คา ระวางเรอื จากผเู อาประกนั ภยั เพอ่ื นำสง ใหบ รษิ ทั จโี อดสี เฟรท ฟอรเ วริ ด ดง้ิ ในสาธารณรฐั
ฝรั่งเศสตามที่ระบุไวในใบตราสงเทานั้น ที่โจทกกลาวอางวา จำเลยที่ ๑ ทำหนังสือแสดงความ
รับผิดเพื่อความเสียหายที่เกิดขึ้น และจำเลยที่ ๑ มีขอตกลงเรื่องการกระทำการรับขนสงสินคา
กบั บรษิ ทั จโี อดสี เฟรท ฟอรเ วริ ด ดง้ิ ในสาธารณรฐั ฝรง่ั เศส ตามเอกสารหมาย จ.๒๒ กไ็ มป รากฏ
วา มเี นอ้ื ความในทำนองนใ้ี นเอกสารดงั กลา ว อกี ทง้ั โจทกก ไ็ มไ ดน ำสบื อธบิ ายเนอ้ื ความในเอกสาร
เหลานี้วาจำเลยที่ ๑ ตกลงแสดงความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นและมีขอสัญญาระหวาง
จำเลยที่ ๑ กับบริษัทจีโอดีส เฟรท ฟอรเวิรดดิ้ง ในสาธารณรัฐฝรั่งเศสวาจะกระทำการรับขนสง
สินคาภายใตขอตกลงใด อยางไรหรือมีความรับผิดระหวางกันอยางไร พยานหลักฐานโจทก
เทาที่นำสืบมาจึงยังฟงไมไดวา จำเลยที่ ๑ เปนบุคคลซึ่งประกอบกิจการรับขนของทางทะเล
เพ่ือบำเหนจ็ เปนทางการคา ปกติโดยรบั ทำสญั ญารบั ขนของทางทะเลกับผสู งของและจำเลยท่ี ๑
หรือเปนบุคคลซึ่งไดรับมอบหมายจากผูขนสงใหทำการขนสงตามสัญญานั้นในชวงระยะทาง
ชว งใดชว งหนึ่ง ตามพระราชบัญญตั ิการรับขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓ จำเลยท่ี ๑
จึงไมเปนผูขนสงสินคาไมวาในฐานะผูขนสง ผูขนสงอื่น หรือในฐานะใด เมื่อจำเลยที่ ๑ ไมใช
ผขู นสง ทก่ี อ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกส นิ คา ของผเู อาประกนั ภยั แมโ จทกเ ปน ผรู บั ประกนั ภยั สนิ คา
และชำระคาเสียหายใหแกผูเอาประกันภัยไปแลวก็ตาม โจทกก็ไมอาจรับชวงสิทธิจากผูเอา

๒๘๕

ประกนั ภยั เพอ่ื มาเรยี กรอ งใหจ ำเลยท่ี ๑ ชำระเงนิ จำนวนดงั กลา วแกโ จทกไ ด ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย
อทุ ธรณข องโจทกขอนี้ฟง ไมข้ึน

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกข อ ตอ ไปวา จำเลยท่ี ๒ ตอ งรบั ผดิ ตอ โจทก
ตามสัญญารับขนหรือไม เพียงใด กอนจะพิจารณาปญหาในขอนี้ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
เหน็ สมควรวนิ จิ ฉยั ปญ หาทป่ี รากฏจากการตรวจสำนวนพบวา คำฟอ งของโจทกบ รรยายวา จำเลย
ที่ ๒ เปน นิตบิ คุ คลจดทะเบยี นจัดตง้ั ตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา ในคำฟองโจทกจึงตอ งระบุท่อี ยู
อันเปนภูมิลำเนาที่แทจริงของจำเลยที่ ๒ ในตางประเทศ แตโจทกกลับระบุที่อยูของจำเลยที่ ๒
เปนที่อยูของจำเลยที่ ๑ ในราชอาณาจักรซึ่งไมถูกตอง โดยการระบุที่อยูของจำเลยที่ ๒ นี้เปน
คนละเรื่องกับสถานที่ที่อาจสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีแกจำเลยที่ ๒ ในราชอาณาจักร
ไดต ามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณา
คดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๘๓ ทวิ วรรคหนง่ึ และไมป รากฏจากคำฟอ งวา จำเลยท่ี ๒
ประกอบกจิ การในราชอาณาจกั รดว ยตนเอง โดยตวั แทน หรอื มกี ารตกลงเปน หนงั สอื วา คำคคู วาม
และเอกสารท่ตี อ งสง ใหแกจ ำเลยที่ ๒ ใหสงแกต วั แทนซ่ึงมีถิน่ ทอ่ี ยใู นราชอาณาจักรที่จำเลยท่ี ๒
ไดแตงตั้งไวเพื่อการนี้ แตในคดีนี้โจทกนำสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีใหแกจำเลยที่ ๒
ที่ภูมิลำเนาของจำเลยที่ ๑ ทั้ง ๆ ที่ไมปรากฏขอเท็จจริงใดหรือมีพฤติการณใดวาจำเลยที่ ๑
เปนตัวแทนของจำเลยที่ ๒ หรือจำเลยที่ ๒ ไดตกลงเปนหนังสือวาคำคูความและเอกสารที่ตอง
สง ใหจ ำเลยท่ี ๒ ใหส ง ใหจ ำเลยท่ี ๑ แมใ นใบตราสง ระบวุ า การรบั มอบสนิ คา ใหต ดิ ตอ จำเลยท่ี ๑
ณ ทอ่ี ยขู องจำเลยท่ี ๑ กต็ าม แตท อ่ี ยดู งั กลา วระบไุ วก เ็ พยี งเพอ่ื การรบั มอบสนิ คา ของผรู บั สนิ คา
เทานั้น จำเลยที่ ๑ ทำหนาที่เปนเพียงผูสงมอบสินคาใหผูรับสินคาแตมิไดรับมอบหมายหรือ
แตงตั้งใหเปนตัวแทนในทางการคาและธุรกิจอันเปนปกติ ที่อยูดังกลาวจึงมิใชที่อยูเพื่อการสง
หมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีใหแกจำเลยที่ ๒ ยิ่งไปกวานั้น ภายหลังไดรับหมายเรียกและ
คำฟอ งตั้งตน คดีของจำเลยที่ ๒ แลว จำเลยที่ ๑ ไดม หี นงั สอื นำสงหมายเรียกและสำเนาคำฟอง
ดังกลาวคืนศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางและยืนยันวาจำเลยที่ ๑
ไมไ ดเ ปน ตวั แทนของจำเลยท่ี ๒ ในประเทศไทย ซง่ึ โจทกก ไ็ มไ ดโ ตแ ยง คดั คา นใหเ หน็ เปน อยา งอน่ื
กรณีจึงไมอาจถือไดวาจำเลยที่ ๑ เปนตัวแทนหรือเปนผูที่ไดรับการแตงตั้งจากจำเลยที่ ๒ ใหมี
อำนาจรับหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีในราชอาณาจักรแทนจำเลยที่ ๒ ดังนั้นการนำสง
หมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีของจำเลยที่ ๒ ไปยังภูมิลำเนาของจำเลยที่ ๑ ตามที่ปรากฏ

๒๘๖

ในหนังสือรับรองนิติบุคคลเอกสารหมาย จ.๗ ของโจทกจึงเปนการสงหมายเรียกและคำฟอง
ตง้ั ตน คดที ไ่ี มเ ปน ไปตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
และวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖
ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๘๓ ทวิ และมาตรา ๘๓ จตั วา สว นทโ่ี จทก
กลาวอางประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓ (๒) (ข) เพื่อขอใหสงหมายเรียก
และคำฟองตั้งตนคดีแกจำเลยที่ ๒ ณ ภูมิลำเนาของจำเลยที่ ๑ นั้น บทบัญญัติดังกลาวเปน
เรื่องเขตศาลที่โจทกอาจเสนอคำฟองคดีแพงตอศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพง ซึ่งมี
เขตอำนาจไดในกรณีที่จำเลยไมมีภูมิลำเนาในราชอาณาจักร ไมใชเรื่องการระบุภูมิลำเนาหรือ
ทอ่ี ยขู องจำเลยในคำฟอ ง และไมใ ชเ รอ่ื งสถานทใ่ี นราชอาณาจกั รทอ่ี าจสง หมายเรยี กและคำฟอ ง
ตง้ั ตน คดแี กจ ำเลยดงั กลา วได ทง้ั คดกี ารคา ระหวา งประเทศเปน คดที โ่ี จทกต อ งฟอ งตอ ศาลทรพั ยส นิ
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศเทา นน้ั ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๗ บทบญั ญตั ดิ งั กลา วจงึ ไมอ าจนำมาใชบ งั คบั แกค ดที อ่ี ยใู นอำนาจพจิ ารณา
พพิ ากษาของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศไดก ารทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งรับคำฟองในสวนของจำเลยที่ ๒ โดยไมไดสั่งใหโจทก
แกไขคำฟองใหถูกตองเสียกอนและอนุญาตใหสงหมายเรียกและคำฟองตั้งตนคดีแกจำเลยที่ ๒
ณ ภมู ลิ ำเนาของจำเลยท่ี ๑ จงึ เปน การดำเนนิ กระบวนพจิ ารณาทผ่ี ดิ ระเบยี บ ซง่ึ ปญ หาการดำเนนิ
กระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบดังกลาวเปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ สมควรวนิ จิ ฉยั ไดเ องแมไ มม คี คู วามฝา ยใดยน่ื อทุ ธรณ
ในประเดน็ น้ี และศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษยอ มมอี ำนาจเพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาทเ่ี กย่ี วขอ ง
และผิดระเบียบในสวนของจำเลยที่ ๒ ตั้งแตชั้นรับคำฟอง ชั้นพิจารณา และชั้นทำคำพิพากษา
นั้นเสียไดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและ
วธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบ
ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๗ และมาตรา ๒๔๖ เมอ่ื ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั
พิเศษเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบของโจทกสำหรับจำเลยที่ ๒ แลว ในชั้นนี้จึงยัง
ไมจ ำเปน ตอ งวนิ จิ ฉยั ความรบั ผดิ และขอ จำกดั ความรบั ผดิ ของจำเลยท่ี ๒ ตอ โจทกเ รอ่ื งการบรรจุ
หีบหอสินคาที่ไมเหมาะสมกับสภาพแหงของวามีหรือไมเพียงใด ตามอุทธรณของโจทกตอไป
อุทธรณข องโจทกขอนีฟ้ งไมขนึ้ เชนกนั

๒๘๗

พพิ ากษาแกเ ปน วา ใหย กคำพพิ ากษาของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศกลางทเ่ี กย่ี วกบั จำเลยท่ี ๒ และใหเ พกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคา ระหวา งประเทศกลางในสว นทเ่ี กย่ี วกบั จำเลยท่ี ๒ ทง้ั หมดนบั ตง้ั แตม คี ำสง่ั รบั คำฟอ ง
สำหรับจำเลยที่ ๒ โดยใหศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางดำเนิน
กระบวนพิจารณาในสวนของจำเลยที่ ๒ ใหถูกตองตามกฎหมาย และมีคำสั่งหรือคำพิพากษา
สำหรบั จำเลยท่ี ๒ เสยี ใหมต ามรปู คดี นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำพพิ ากษาของศาลทรพั ยส นิ
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง คา ฤชาธรรมเนยี มชน้ั อทุ ธรณร ะหวา งโจทกก บั จำเลย
ท่ี ๑ ใหเ ปน พบั สว นคา ฤชาธรรมเนยี มระหวา งโจทกก บั จำเลยท่ี ๒ ใหร วมไวส ง่ั เมอ่ื ศาลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคา ระหวางประเทศกลางมีคำสัง่ หรือพพิ ากษา.

(สุวิทย รตั นสุคนธ - ธารทพิ ย จงจักรพนั ธ - ววิ ัฒน วงศกติ ติรักษ)

ณัฐจริ า ขนั ทอง - ยอ
นภิ า ชัยเจริญ - ตรวจ

๒๘๘

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษท่ี ๔๒๑/๒๕๖๐ พนักงานอัยการ
จงั หวัดกาญจนบุรี โจทก
นายสมพร สำรองทรัพย จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๕
ป.วิ.อ. มาตรา ๑๕
พ.ร.บ.จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา

คดที รพั ยสนิ ทางปญ ญาและการคา ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๘

ทจ่ี ำเลยอุทธรณวา ตาม ป.อ. มาตรา ๓๓ และตาม พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
มาตรา ๗๕ บัญญัติใหริบเฉพาะสิ่งที่ไดใชหรือมีไวเพื่อใชในการกระทำความผิดเทานั้น
สง่ิ ทจ่ี ำเลยทำละเมดิ ลขิ สทิ ธข์ิ องผเู สยี หายโดยมไี วเ พอ่ื ใชห รอื ไดใ ชใ นการกระทำความผดิ
คอื ฮารด ดสิ กส ำรองขอ มลู หรอื ไฟลภ าพยนตรเ รอ่ื ง Big Game (บก๊ิ เกม เกมลา ประธานาธบิ ด)ี
สว นทรพั ยส นิ อน่ื ไมใ ชท รพั ยท จ่ี ำเลยมไี วเ พอ่ื ใชห รอื ไดใ ชใ นการกระทำความผดิ เจา พนกั งาน
ไมมีอำนาจยึดและศาลไมอาจสั่งริบไดนั้น เปนขอเท็จจริงที่ขัดกับคำใหการรับสารภาพ
ของจำเลย ถือเปนขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศกลาง อุทธรณของจำเลยดังกลาวจึงเปนอุทธรณที่ไมชอบดวย
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา
คดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๘ ประกอบ ป.ว.ิ อ.
มาตรา ๑๕ และ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง

_____________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔, ๖, ๘, ๑๕,
๒๘, ๖๙, ๗๕, ๗๖ พระราชบัญญัติภาพยนตรและวีดิทัศน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔, ๓๗, ๗๙
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๓, ๙๑ รบิ ของกลาง และสง่ั จา ยเงนิ คา ปรับฐานละเมิดลิขสทิ ธ์ิ
ก่งึ หนง่ึ ใหแ กผ ูเสยี หายซึ่งเปนเจา ของลิขสทิ ธ์ิ

จำเลยใหการปฏเิ สธ แตตอ มาขอถอนคำใหก ารเดิมและใหก ารใหมเ ปนรบั สารภาพ
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง พพิ ากษาวา จำเลยมคี วามผดิ
ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖๙ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๒๘ (๒)

๒๘๙

พระราชบญั ญตั ภิ าพยนตรแ ละวดี ทิ ศั น พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๗๙ ประกอบมาตรา ๓๗ วรรคหนง่ึ
การกระทำของจำเลยเปนความผิดหลายกรรมตางกันใหลงโทษทุกกรรมเปนกระทงความผิดไป
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑ ไมปรากฏวาจำเลยเคยรับโทษจำคุกมากอน พิเคราะห
พฤติการณแหงคดีแลว เห็นควรใหโอกาสจำเลยโดยใหรอการกำหนดโทษไว ๒ ป ใหคุมความ
ประพฤตโิ ดยใหจำเลยไปรายงานตวั ตอ พนักงานคุมประพฤติ ๔ ครัง้ และกระทำกิจกรรมบรกิ าร
สงั คมหรอื สาธารณประโยชนต ามทพ่ี นกั งานคมุ ประพฤตแิ ละจำเลยเหน็ สมควรเปน เวลา ๒๔ ชว่ั โมง
ภายในระยะเวลา ๑ ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๖ รบิ ของกลาง คำขออื่นใหยก

จำเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงเบื้องตนรับฟงไดวา เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๙ เวลา ๒๑.๓๐ นาิกา
จำเลยละเมดิ ลขิ สทิ ธใ์ิ นงานสรา งสรรคป ระเภทภาพยนตรอ นั มลี ขิ สทิ ธข์ิ องบรษิ ทั อนิ เตอรเ นชน่ั แนล
โปรดกั สช น่ั ยไู นเตด็ โฮม เอน็ เตอรเ ทนเมนท จำกดั (ทถ่ี กู อนิ เตอรเ นชน่ั แนล โปรดกั ชน่ั แอสโซ
ซเิ อตส องิ ค) ผเู สยี หาย ดว ยการเผยแพรต อ สาธารณชนโดยนำไฟลข อ มลู ภาพยนตรเ รอ่ื ง Big Game
(บิ๊กเกม เกมลาประธานาธิบดี) จากฮารดดิสกในระบบคอมพิวเตอรออกฉายใหแกประชาชน
ทั่วไปนั่งชมที่บริเวณวัดสันติคีรีบรมธาตุ (เขาดิน) หมูที่ ๕ ตำบลทาลอ อำเภอทามวง จังหวัด
กาญจนบรุ ี โดยคดิ คา บรกิ าร และการกระทำดงั กลา วเปน การประกอบกจิ การโรงภาพยนตร โดย
ไมไ ดร บั ใบอนุญาต เจาพนักงานจับจำเลยไดพรอ มดวยของกลางตามฟอง
สำหรับปญหาตามอุทธรณของจำเลยวา ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางสั่งริบของกลางคือ ฮารดดิสกสำรองขอมูล ๑ เครื่อง จอแอลซีดี ขนาด ๑๙ นิ้ว
๑ เครื่อง เครื่องฉายโปรเจกเตอร ๑ ชุด พาวเวอรแอมป ๔ เครื่อง ชุดปรับเสียง ๑ ชุด สาย
ตอ สญั ญาณเสยี งและภาพ ๑๐ เสน ชอบหรอื ไม เหน็ วา ตามฟอ งขอ ๒ (ก) โจทกบ รรยายฟอ งวา
จำเลยบงั อาจละเมดิ ลขิ สทิ ธใ์ิ นงานสรา งสรรคป ระเภทภาพยนตรข องผเู สยี หายตามฟอ งขอ ๑ โดย
การนำไฟลขอมูลภาพยนตรเรื่อง Big Game (บิ๊กเกม เกมลาประธานาธิบดี) จากฮารดดิสกใน
ระบบคอมพิวเตอรออกฉายใหแกประชาชนทั่วไปนั่งชมที่บริเวณวัดสันติคีรีบรมธาตุ (เขาดิน)
หมูที่ ๕ ตำบลทาลอ อำเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี... โดยจำเลยรูอยูแลววาการเผยแพรตอ
สาธารณชนในงานดงั กลา วเปน การละเมดิ ลขิ สทิ ธข์ิ องผเู สยี หายและไมไ ดร บั อนญุ าตจากผเู สยี หาย
ขอ ๒ (ข) จำเลยไดบังอาจจัดฉายและใหบริการเผยแพรภาพยนตร... โดยจำเลยไดนำขอมูล
ภาพยนตรเ รอ่ื งดงั กลา วซง่ึ เกบ็ รกั ษาไวใ นฮารด ดสิ กใ นระบบคอมพวิ เตอรอ อกฉายใหป รากฏเปน ภาพ
และเสียงผานทางจอมอนเิ ตอรใ หแ กประชาชนทว่ั ไปน่ังชมบริเวณวดั สนั ติครี ีบรมธาตุ (เขาดนิ )...

๒๙๐


Click to View FlipBook Version