The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:57:14

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

พิพากษากลับ ใหยกฟองโจทก แตของกลางเปนทรัพยที่ใชในการกระทำความผิด
จงึ ใหร ิบ.

(วราคมน เลี้ยงพนั ธุ - จกั รกฤษณ เจนเจษฎา - กรกันยา สุวรรณพานชิ )

สุจินต เจนพาณชิ พงศ - ยอ
ปรานี เสฐจนิ ตนิน - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎีกาพิพากษากลบั ตามคำพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๒๔๖๑/๒๕๖๓

๑๔๑

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๙๓๖๙/๒๕๖๒ พนกั งานอัยการ โจทก
จงั หวดั ชลบุรี จำเลย
นางสาวรจนา บุญวัง
กบั พวก

ป.วิ.อ. มาตรา ๑๘๕ วรรคหนึ่ง, ๑๘๖ (๖) (๙), ๑๙๕ วรรคสอง
พ.ร.บ. เครือ่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘, ๑๐๙, ๑๑๐ (๑), ๑๑๕
พ.ร.บ.จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา

คดที รัพยส นิ ทางปญ ญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖, ๓๙
พ.ร.บ. ลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๗๕

ความผดิ ฐานจำหนา ย เสนอจำหนา ย และมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมาย
การคาปลอมเครื่องหมายการคาของผูอื่น ตาม พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ เปนกรณีที่เครื่องหมายการคาปลอมเหมือนกับ
เครอื่ งหมายการคา ท่แี ทจ รงิ แตกตางจากความผิดฐานจำหนาย เสนอจำหนา ย และมไี ว
เพอื่ จำหนายสนิ คาทม่ี ีเครอ่ื งหมายการคาเลยี นเคร่อื งหมายการคาของผูอ น่ื ตาม พ.ร.บ.
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙ ซึ่งเครื่องหมาย
การคาเลยี นเพียงคลา ยกับเครอ่ื งหมายการคา ที่แทจ ริง

เมื่อเปรียบเทียบเครื่องหมายการคาจดทะเบียนของผูเสียหายกับเครื่องหมาย
บนสินคาของจำเลยทั้งสองแลว เห็นไดวา ไมเหมือนกัน เครื่องหมายการคาที่ปรากฏ
บนสินคาจึงไมใชเครื่องหมายการคาที่ปลอมเครื่องหมายการคาที่แทจริงของผูเสียหาย
ทง้ั สาม การกระทำของจำเลยทง้ั สองจงึ ไมเ ปน ความผดิ ฐานรว มกนั จำหนา ย เสนอจำหนา ย
และมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ปลอม แมจ ำเลยทง้ั สองใหก ารรบั สารภาพ
ก็ไมอาจลงโทษจำเลยทั้งสองในความผิดฐานนี้ได และไมอาจลงโทษจำเลยทั้งสอง
ฐานจำหนาย เสนอจำหนาย และมีไวเพื่อจำหนายสินคาที่มีเครื่องหมายการคาเลียน
เครอ่ื งหมายการคา ของผอู น่ื ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑)
ประกอบมาตรา ๑๐๙ ไดเชนกัน เพราะโจทกก็มิไดบรรยายฟองใหครบองคประกอบ
ความผดิ และไมไ ดม คี ำขอทา ยฟอ งขอใหล งโทษตามมาตราดงั กลา ว ถอื วา โจทกไ มป ระสงค
ใหลงโทษความผดิ ฐานนแี้ กจ ำเลยท้งั สอง

๑๔๒

ปญ หาวา การกระทำของจำเลยทง้ั สองเปน ความผดิ หรอื ไม เปน ปญ หาขอ กฎหมาย
ที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมจำเลยทั้งสองไมอุทธรณและไมไดยกขึ้นตอสูในศาล
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษสามารถ
หยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๓๙ ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา ๑๘๕ วรรคหนึ่ง และ ๑๙๕ วรรคสอง

ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาในสว นคำขอ
ใหริบของกลางวา คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก โดยไมไดใหเหตุผลแหงคำวินิจฉัยเกี่ยวกับ
การรบิ ของกลาง จงึ ไมช อบดว ย พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๘๖ (๖) (๙) เมอ่ื คดนี จ้ี ำเลยทง้ั สองใหก ารรบั สารภาพ
ตามฟอง ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดวาจำเลยทั้งสองมีสินคาผาหมจำนวน ๕ ผืน ของกลาง
อันเปนสิ่งที่ไดทำขึ้นหรือไดใชในการกระทำความผิด ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
มาตรา ๗๕ และมไี วเ พอ่ื จำหนา ย ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๕
ซง่ึ บทบญั ญตั ทิ ง้ั สองมาตราบญั ญตั ใิ หร บิ เสยี ทง้ั สน้ิ ดงั นน้ั ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและ
การคา ระหวา งประเทศกลางไมร บิ ของกลางจึงไมช อบดวยกฎหมาย

_____________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔, ๖, ๘, ๑๕,
๓๑, ๖๑, ๗๐, ๗๕, ๗๖, ๗๘ พระราชบัญญัตเิ คร่ืองหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔, ๑๐๘,
๑๑๐, ๑๑๕, ๑๑๗ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๘๓ รบิ ของกลางทง้ั หมด และสง่ั จา ยเงนิ
คา ปรบั ฐานละเมดิ ลิขสทิ ธ์กิ ่ึงหน่งึ ใหแกผ เู สยี หายที่ ๑ ซึ่งเปน เจาของลขิ สทิ ธ์ิ

จำเลยท้งั สองใหการรบั สารภาพ
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาจำเลยทั้งสองมี
ความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่นเพื่อการคา ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
มาตรา ๗๐ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๓๑ (๑) และพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ ประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๘๓ การกระทำของจำเลย
ทง้ั สองเปน การกระทำกรรมเดยี วผดิ ตอ กฎหมายหลายบท ใหล งโทษฐานละเมดิ ลขิ สทิ ธข์ิ องผอู น่ื
เพอ่ื การคา ซง่ึ เปน บททม่ี โี ทษหนกั ทส่ี ดุ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ ใหร อการกำหนด
โทษไวคนละ ๑ ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๖ คำขออืน่ นอกจากนใี้ หยก

๑๔๓

โจทกอุทธรณ

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ

วินิจฉัยวา มีปญหาที่ควรยกขึ้นพิจารณากอนวา การกระทำของจำเลยทั้งสองเปนความผิดฐาน

รว มกนั จำหนา ย เสนอจำหนา ย และมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ปลอมตามฟอ ง

หรอื ไม เหน็ วา ความผดิ ฐานจำหนา ย เสนอจำหนา ย และมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมาย

การคาปลอมเครื่องหมายการคาของผูอื่น ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔

มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ นั้น ตองเปนกรณีที่เครื่องหมายการคาปลอมเหมือนกับ

เครื่องหมายการคาที่แทจริง แตกตางจากความผิดฐานจำหนาย เสนอจำหนาย และมีไวเพื่อ

จำหนายสินคาที่มีเครื่องหมายการคาเลียนเครื่องหมายการคาของผูอื่น ตามพระราชบัญญัติ

เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙ ซึ่งเครื่องหมายการคา

เลียนเพียงคลายกับเครื่องหมายการคาที่แทจริง ความผิดทั้งสองฐานดังกลาวมีองคประกอบ

ความผิดและอัตราโทษแตกตางกัน เมื่อโจทกบรรยายฟองเกี่ยวกับสินคาที่จำเลยทั้งสองรวมกัน

จำหนา ย เสนอจำหนา ย และมไี วเ พอ่ื จำหนา ย วา เปน สนิ คา ผา หม ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ,

และ ซง่ึ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั เครอ่ื งหมายการคา จดทะเบยี น , และ

กับ ของผูเสียหายที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๓ ตามลำดับแลว เห็นไดวา เครื่องหมายการคาที่

ปรากฏบนสินคาไมเหมือนกับเครื่องหมายการคาจดทะเบียนของผูเสียหายทั้งสาม เครื่องหมาย

การคาที่ปรากฏบนสินคาจึงไมใชเครื่องหมายการคาที่ปลอมเครื่องหมายการคาที่แทจริงของ

ผูเสียหายทั้งสาม การกระทำของจำเลยทั้งสองจึงไมเปนความผิดฐานรวมกันจำหนาย เสนอ

จำหนาย และมีไวเพื่อจำหนายสินคาที่มีเครื่องหมายการคาปลอม แมจำเลยทั้งสองใหการรับ

สารภาพ ก็ไมอาจลงโทษจำเลยทั้งสองในความผิดฐานนี้ได และไมอาจลงโทษจำเลยทั้งสองฐาน

จำหนา ย เสนอจำหนา ย และมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา เลยี นเครอ่ื งหมายการคา

ของผูอื่น ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบ

มาตรา ๑๐๙ ไดเชนกัน เพราะโจทกก็มิไดบรรยายฟองใหครบองคประกอบความผิดและไมไดมี

คำขอทายฟองขอใหลงโทษตามมาตราดังกลาว ถือวาโจทกไมประสงคใหลงโทษความผิดฐานนี้

แกจ ำเลยทง้ั สอง ปญ หาวา การกระทำของจำเลยทง้ั สองเปน ความผดิ หรอื ไม เปน ปญ หาขอ กฎหมาย

ที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมจำเลยทั้งสองไมอุทธรณและไมไดยกขึ้นตอสูในศาลทรัพยสิน

ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษสามารถหยิบยก

๑๔๔

ขึน้ วนิ ิจฉยั เองได ตามพระราชบัญญัตจิ ัดตงั้ ศาลทรพั ยสินทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศ
และวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙
ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๘๕ วรรคหนง่ึ และ ๑๙๕ วรรคสอง
ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาวา จำเลยทง้ั สองมคี วามผดิ
ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ จึงไมชอบดวยกฎหมาย ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
สมควรแกไขใหถูกตอง โดยยกฟองขอหาดังกลาวเสีย และไมจำตองพิจารณาปญหาที่โจทก
อุทธรณว าบทกฎหมายมาตราใดตามฟองโจทกเ ปน กฎหมายบทท่ีมโี ทษหนักที่สดุ อกี ตอไป

ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกม เี พยี งขอ เดยี ววา คำพพิ ากษาศาลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางที่ยกคำขอริบของกลางของโจทก เปนคำพิพากษา
ที่ชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา โจทกบรรยายฟองขอ ๒ วา จำเลยทั้งสองรวมกันนำสินคา
ที่ละเมิดลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการคาของผูเสียหายทั้งสาม ออกขาย มีไวเพื่อขาย เสนอขาย
แกบุคคลทั่วไป อันเปนการละเมิดลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการคาโดยไมไดรับอนุญาตจาก
ผเู สยี หายทง้ั สาม และบรรยายฟอ งขอ ๓ วา เจา พนกั งานยดึ ไดส นิ คา ผา หม ดงั กลา วเปน ของกลาง
และขอใหลงโทษตามกฎหมายกับขอใหริบของกลางทั้งหมด แตศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาในสว นคำขอใหร บิ ของกลางดงั กลา ววา คำขออน่ื นอกจากน้ี
ใหย ก โดยไมไ ดใ หเ หตผุ ลแหง คำวนิ จิ ฉยั เกย่ี วกบั การรบิ ของกลาง จงึ ไมช อบดว ยพระราชบญั ญตั ิ
จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๑๘๖ (๖) (๙) เมื่อคดีนี้จำเลยทั้งสองใหการรับสารภาพตามฟอง ขอเท็จจริง
จึงรับฟง ไดว าจำเลยท้ังสองมีสนิ คา ผา หมจำนวน ๕ ผืน ของกลางอนั เปนสิ่งท่ไี ดทำขนึ้ หรอื ไดใช
ในการกระทำความผิด ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๗๕ และมีไวเพื่อ
จำหนา ยตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๕ ซง่ึ บทบญั ญตั ทิ ง้ั สอง
มาตราบญั ญตั ใิ หร บิ เสยี ทง้ั สน้ิ ดงั นน้ั ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
ไมร บิ ของกลางจงึ ไมช อบดว ยกฎหมาย ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษไมเ หน็ พอ งดว ย อทุ ธรณข อง
โจทกขอ นี้ฟง ข้ึน

๑๔๕

พพิ ากษาแกเ ปน วา ยกฟอ งโจทกข อ หาความผดิ ตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ สำหรับจำเลยทั้งสอง ใหริบสินคาผาหม
ของกลางทั้งสิ้น นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวา งประเทศกลาง.

(กรกนั ยา สวุ รรณพานชิ - ธารทพิ ย จงจักรพันธ - วราคมน เล้ียงพันธุ)

สุธรรม สธุ ัมนาถพงษ - ยอ
วิวฒั น วงศกิตติรกั ษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ที่สดุ

๑๔๖

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพเิ ศษที่ ๗๐๔๒/๒๕๖๒ บรษิ ทั แฟร เมดดิซนี

จำกดั โจทก

นายธนกร เลิศสงคราม

กับพวก จำเลย

ป.อ. มาตรา ๒๗๒ (๑), ๒๗๕
ป.วิ.อ. มาตรา ๑๙๓ ทวิ

โจทกฟ อ งขอใหล งโทษจำเลยทง้ั สองตาม ป.อ. มาตรา ๒๗๕ ประกอบมาตรา ๒๗๒
ซง่ึ มอี ตั ราโทษจำคกุ ไมเ กนิ หนง่ึ ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ สองหมน่ื บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ซง่ึ เปน
อัตราโทษจำคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เมื่อศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง จึงตองหามมิให
โจทกอ ทุ ธรณใ นปญ หาขอ เทจ็ จรงิ ตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๙๓ ทวิ แมศ าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศกลางจะรวมรับอุทธรณของโจทกในสวนขอเท็จจริงมาดวย
ศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษกไ็ มร บั วนิ ิจฉยั ให

เลขสารบบของใบจดทะเบียนอาหารเพื่อผลิตผลิตภัณฑเสริมอาหาร ไมไดใช
เพื่อวัตถุประสงคที่จะแสดงความเปนเจาของสินคาแตอยางใด การระบุเลขดังกลาวบน
สินคาเพียงเพื่อใหผูบริโภคมีความมั่นใจในสินคาวาไดมีการผลิตและตรวจสอบตาม
ขั้นตอนของกฎหมายแลวเทานั้น มิใชเปนการทำใหประชาชนหลงเชื่อวาสินคานั้นเปน
ของผูอื่น อันจะเปนรูปหรือขอความเกี่ยวกับการคา ตาม ป.อ. มาตรา ๒๗๕ ประกอบ
มาตรา ๒๗๒ (๑)

_____________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓, ๙๑, ๒๗๒ และ ๒๗๕
ศาลทรพั ยส ินทางปญญาและการคาระหวา งประเทศกลาง พิพากษายกฟอง
โจทกอ ทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง เปน ยตุ วิ า โจทกป ระกอบอาชพี ผลติ และจำหนา ยผลติ ภณั ฑอ าหารเสรมิ
โดยไดร บั ใบอนญุ าตใหต ง้ั โรงงานผลติ อาหารเพอ่ื จำหนา ยตามพระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. ๒๕๒๒
และไดรับอนุญาตผลิตผลิตภัณฑเสริมอาหาร ชื่ออาหาร แอล-คารนิทีน-การซิเนีย พลัส สวน

๑๔๗

จำเลยทั้งสองไดจำหนายผลิตภัณฑเสริมอาหาร ดู อิท พลัส (Do it plus) โดยนำสารบบใบจด
ทะเบยี นอาหาร/แจง รายละเอยี ดอาหาร ประเภทผลติ ภณั ฑเ สรมิ อาหาร ท่ี ๑๒-๑-๑๓๓๕๓-๑-๐๒๑๖
ไปแสดงไวทกี่ ลอ งผลิตภณั ฑข องจำเลยทัง้ สอง

โจทกฟ อ งขอใหล งโทษจำเลยทง้ั สองตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๕ ประกอบ
มาตรา ๒๗๒ ซง่ึ มอี ตั ราโทษจำคกุ ไมเ กนิ หนง่ึ ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ สองหมน่ื บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั
ซึ่งเปนอัตราโทษจำคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เมื่อศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง จึงตองหามมิใหโจทก
อุทธรณในปญหาขอเท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙๓ ทวิ
แมศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางจะรวมรับอุทธรณของโจทกในสวน
ขอเท็จจริงมาดวย ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษก็ไมรับวินิจฉัยให คงมีปญหาตองวินิจฉัยตาม
อุทธรณในปญหาขอกฎหมายของโจทกวา เลขสารบบ ที่ อย.๑๒-๑-๑๓๓๕๓-๑-๐๒๑๖ ตามใบ
จดทะเบียนอาหารประเภทผลิตภัณฑเสริมอาหาร เปนรูปหรือขอความในการประกอบการคา
ของโจทกหรือไม เห็นวา เลขสารบบของใบจดทะเบียนอาหารเพื่อผลิตผลิตภัณฑเสริมอาหาร
ท่ี ๑๒-๑-๑๓๓๕๓-๑-๐๒๑๖ ของคณะกรรมการอาหารและยา เปน เลขทะเบยี นทแ่ี สดงใหเ หน็ วา สนิ คา
ดงั กลา วผา นหลกั เกณฑค ณุ ภาพและมาตรฐานของคณะกรรมการอาหารและยาแลว ไมไ ดใ ชเ พอ่ื
วตั ถปุ ระสงคท จ่ี ะแสดงความเปน เจา ของสนิ คา แตอ ยา งใด การระบเุ ลขท่ี อย. ๑๒-๑-๑๓๓๕๓-๑-๐๒๑๖
บนสินคาเพียงเพื่อใหผูบริโภคมีความมั่นใจในสินคาวาไดมีการผลิตและตรวจสอบตามขั้นตอน
ของกฎหมายแลวเทานั้น มิใชเปนการทำใหประชาชนหลงเชื่อวาสินคานั้นเปนของผูอื่น อันจะ
เปนรูปหรือขอความเกี่ยวกับการคา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๕ ประกอบ
มาตรา ๒๗๒ (๑) แตอ ยา งใด ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษา
ยกฟองมานนั้ ศาลอุทธรณค ดีชำนัญพเิ ศษเหน็ พองดว ยในผล อทุ ธรณของโจทกฟ งไมขึ้น

พพิ ากษายนื .

(จกั รกฤษณ เจนเจษฎา - วราคมน เล้ียงพันธุ - กรกันยา สุวรรณพานิช)

สุธรรม สธุ ัมนาถพงษ - ยอ
ววิ ัฒน วงศกิตตริ ักษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทสี่ ดุ

๑๔๘

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๘๘๑/๒๕๖๐ พนกั งานอยั การ

จังหวดั พัทลุง โจทก

นางสาววรรณดี นม่ิ เกตุ จำเลย

ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๔)
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี

ทรพั ยสินทางปญ ญาและการคา ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖
พ.ร.บ. ลขิ สิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๓๑, ๗๐

โจทกฟองขอใหลงโทษจำเลยในขอหาละเมิดลิขสิทธิ์ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์
พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๗๐ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๓๑ (๒) โดยโจทกอ ทุ ธรณร บั วา โจทก
ไดฟองจำเลยในขอหาเดียวกัน มีวันกระทำความผิดและสถานที่เกิดเหตุในคดีอาญา
หมายเลขแดงที่ อต.๑๖๙๓/๒๕๕๙ ของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางเชน เดยี วกนั กบั คดนี ้ี แตผ เู สยี หายตา งรายกนั และเวลากระทำความผดิ เปน
คนละเวลาหางกัน ๑๐ นาที ดังนั้น การที่งานอันละเมิดลิขสิทธิ์ของทั้งผูเสียหายในคดีนี้
กบั ผเู สยี หายในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ อต.๑๖๙๓/๒๕๕๙ ดังกลาว บนั ทกึ อยใู นหนวย
ความจำของเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท ร่ี า นคาราโอเกะเชน เดยี วกนั และจำเลยละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ
โดยการเผยแพรตอสาธารณชนดวยวิธีการอยางเดียวกันคือใชโปรแกรมคอมพิวเตอร
ทำการอานขอมูลและแปลงสัญญาณเปนภาพและเสียง ปรากฏเนื้อรองและทำนองเพลง
ผา นจอโทรทศั นใ หบ รกิ ารแกล กู คา ขบั รอ งในรา น ทง้ั จำเลยกระทำความผดิ ในวนั เดยี วกนั
เวลาหา งกนั ๑๐ นาที ถอื ไดว า เปน การกระทำทย่ี งั มคี วามตอ เนอ่ื งในคราวเดยี วกนั จำเลย
มีเจตนาเดยี วในการกระทำความผิด จงึ เปนการกระทำกรรมเดียว

เมอ่ื ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมคี ำพพิ ากษาเสรจ็
เด็ดขาดในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ อต.๑๖๙๓/๒๕๕๙ ซึ่งเปนคดีกอนแลว คดีนี้จึงเปน
ฟองซ้ำกับคดีดังกลาว สิทธินำคดีอาญามาฟองในคดีนี้จึงระงับไป ตาม พ.ร.บ. จัดตั้ง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ อ. มาตรา ๓๙ (๔)

______________________________

๑๔๙

โจทกฟ อ งขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔, ๖, ๘, ๑๕,
๒๗, ๒๘, ๓๑, ๖๙, ๗๐, ๗๖ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๒ สั่งจายคาปรับที่ชำระตาม
คำพพิ ากษาแกผ เู สยี หายซง่ึ เปน เจา ของลขิ สทิ ธจ์ิ ำนวนกง่ึ หนง่ึ และนบั โทษจำเลยคดนี ต้ี อ จากโทษ
ของจำเลยในคดีอาญาหมายเลขดำที่ อต.๑๗๒๐/๒๕๕๙ (ศาลจังหวัดพัทลุง) ของศาลทรัพยสิน
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง

จำเลยใหก ารรับสารภาพ
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศกลางพิพากษายกฟอง
โจทกอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา การกระทำความผิดของจำเลยในคดีนี้
เปนการกระทำกรรมเดียวกันกับการกระทำความผิดของจำเลยในคดีอาญาหมายเลขดำที่
อต. ๑๗๒๐/๒๕๕๙ (ศาลจงั หวดั พทั ลงุ ) ซง่ึ เปน คดหี มายเลขแดงท่ี อต.๑๖๙๓/๒๕๕๙ ของศาลทรพั ยส นิ
ทางปญ ญาและการคาระหวางประเทศกลางหรอื ไม เห็นวา แมผเู สียหายในคดนี ีก้ ับผูเสยี หายใน
คดีหมายเลขแดงที่ อต.๑๖๙๓/๒๕๕๙ ของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
กลาง จะไมไ ดเ ปน บคุ คลเดยี วกนั แตก ารกระทำของจำเลยเปน ความผดิ ในลกั ษณะเดยี วกนั โจทก
ฟอ งขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔, ๖, ๘, ๑๕, ๒๗, ๒๘, ๓๑,
๖๙, ๗๐, ๗๖ เชนเดียวกัน การที่งานอันละเมิดลิขสิทธิ์ของทั้งผูเสียหายคดีนี้กับผูเสียหายในคดี
หมายเลขแดงท่ี อต.๑๖๙๓/๒๕๕๙ ของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
บันทึกอยูในหนวยความจำของเครื่องคอมพิวเตอรที่รานคอนเนอรคาราโอเกะเชนเดียวกัน และ
จำเลยละเมิดลิขสิทธิ์โดยการเผยแพรตอสาธารณชนดวยวิธีการอยางเดียวกันคือ ใชโปรแกรม
คอมพิวเตอรทำการอานขอมูลและแปลงสัญญาณเปนภาพและเสียง ปรากฏเนื้อรองและทำนอง
เพลงผา นจอโทรทศั น ใหบ รกิ ารแกล กู คา ขบั รอ งในรา น อกี ทง้ั จำเลยกระทำความผดิ ในวนั เดยี วกนั
เวลาหางกันเพียง ๑๐ นาที ถือไดวาเปนการกระทำที่ยังมีความตอเนื่องในคราวเดียวกัน จำเลย
มีเจตนาเดียวกันในการกระทำความผิด การกระทำของจำเลยจึงเปนการกระทำกรรมเดียว การ
พิจารณาการกระทำของจำเลยวา เปนความผดิ กรรมเดียวหรือตางกรรมกนั ตอ งพิจารณาเจตนา
ในการกระทำความผิดเปนสำคัญ หาไดพิจารณาจากจำนวนผูเสียหายหรือเปนการเปดเพลง
ในแตละครั้งตางเวลากันไม เมื่อศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมี
คำพพิ ากษาเสรจ็ เดด็ ขาดในความผดิ ฐานละเมดิ ลขิ สทิ ธโ์ิ ดยเผยแพรต อ สาธารณชนเพอ่ื หากำไรและ
เพื่อการคา ตามคดีหมายเลขแดงที่ อต.๑๖๙๓/๒๕๕๙ ของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา

๑๕๐

ระหวางประเทศกลาง โจทกจึงไมมีสิทธินำคดีมาฟองขอใหลงโทษจำเลยในความผิดฐานนี้อีก
เพราะเปนความผิดกรรมเดียวกับคดีดังกลาว สิทธิที่โจทกจะนำคดีมาฟองสำหรับความผิดนั้น
เปนอันระงับไป ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
และวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖
ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๔) การที่โจทกนำการกระทำ
เดียวกันของจำเลยมาฟองเปนคดีนี้อีกจึงเปนฟองซ้ำกับคดีหมายเลขแดงที่ อต.๑๖๙๓/๒๕๕๙
ของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟองนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย
อทุ ธรณของโจทกฟง ไมขนึ้

พิพากษายืน.

(กรกันยา สวุ รรณพานชิ - นพรตั น ชลวิทย - วราคมน เล้ียงพันธ)ุ

จันทรกระพอ ตอ สุวรรณ สินธวถาวร - ยอ
ปรานี เสฐจนิ ตนนิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ท่ีสุด

๑๕๑

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษท่ี ๑๒๖๓/๒๕๖๑ พนกั งานอัยการ

จงั หวัดเดชอดุ ม โจทก

บริษทั ชัวร เอ็นเทอรเทนเมนท

จำกัด โจทกร วม

นายวชิ ัย มณีธนวฒั น จำเลย

ป.วิ.อ. มาตรา ๒ (๗), ๑๒๐, ๑๒๑, ๑๒๓ วรรคหนงึ่
พ.ร.บ. ลขิ สิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๓๑ (๒), ๖๖, ๗๐ วรรคสอง

พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖๖ บญั ญตั ใิ หค วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิ
ดงั กลา วเปน ความผดิ อนั ยอมความได จงึ ตอ งหา มมใิ หพ นกั งานสอบสวนทำการสอบสวน
เวน แตผ เู สยี หายจะมคี ำรอ งทกุ ขต ามระเบยี บ ซง่ึ การรอ งทกุ ขท จ่ี ะทำใหพ นกั งานสอบสวน
มอี ำนาจสอบสวนและโจทกม อี ำนาจฟอ งตาม พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและ
การคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา ๒ (๗), ๑๒๐, ๑๒๑, ๑๒๓ วรรคหนง่ึ น้นั
ผรู อ งทกุ ขต อ งเปน ผเู สยี หายหรอื บคุ คลทไ่ี ดร บั มอบอำนาจใหแ จง ความ รอ งทกุ ข มอบคดี
ตอพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดีอาญาโดยชอบดวยกฎหมาย ตามหนังสือมอบ
อำนาจของผูเสียหายทั้งสองไดมอบอำนาจใหบริษัท ล. แจงความรองทุกขใหดำเนินคดี
และใหมีอำนาจมอบอำนาจชวงใหบุคคลอื่นดำเนินการแทนตอไปได และเมื่อบริษัท ล.
ผรู บั มอบอำนาจไดม อบอำนาจชว งใหน าย จ. แจง ความรอ งทกุ ขใ หด ำเนนิ คดแี ลว ยอ มเปน
การมอบอำนาจทอี่ ยูในขอบเขตตามหนังสือมอบอำนาจของผูเสยี หายท้งั สอง แตสว นที่
นาย จ. ผรู บั มอบอำนาจชว งจะมอบอำนาจชว งใหบ คุ คลอน่ื ตอ ไปในการแจง ความรอ งทกุ ขใ ห
ดำเนนิ คดอี กี ตอ หนง่ึ ยอ มอยนู อกเขตแหง หนงั สอื มอบอำนาจของผเู สยี หายทง้ั สอง ดงั นน้ั
การแจง ความรอ งทกุ ขโ ดยนาย ว. ตามทไ่ี ดร บั มอบอำนาจชว งจากนาย จ. จงึ เปน การรอ งทกุ ข
โดยมิชอบ เพราะกระทำไปโดยผูไมมีอำนาจรองทุกข อันเปนผลใหพนักงานสอบสวน
ไมม อี ำนาจสอบสวน และโจทกไมมีสทิ ธินำคดีมาฟอ ง

_______________________________

๑๕๒

โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔, ๖, ๘, ๑๕,
๒๗, ๒๘, ๓๑, ๗๐, ๗๖ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ สั่งจายคาปรับฐานละเมิดลิขสิทธิ์
แกผ เู สยี หายทง้ั สอง ซง่ึ เปน เจา ของลขิ สทิ ธเ์ิ ปน จำนวนกง่ึ หนง่ึ และนบั โทษจำคกุ ของจำเลยในคดนี ้ี
ตอ จากโทษจำคกุ ของจำเลยในคดอี าญาหมายเลขดำท่ี ศปก.อ. ๑๕/๒๕๕๘, ๑๖/๒๕๕๘, ๑๗/๒๕๕๘,
๑๘/๒๕๕๘, ๒๙/๒๕๕๘, ๓๑/๒๕๕๘, ๓๒/๒๕๕๘, ๓๓/๒๕๕๘, ๓๔/๒๕๕๘, ๓๕/๒๕๕๘, ๓๖/๒๕๕๘,
๓๗/๒๕๕๘ และ ๓๘/๒๕๕๘ ของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
(ศาลจังหวัดเดชอดุ ม)

จำเลยใหก ารปฏเิ สธ แตร บั วา เปน บคุ คลคนเดยี วกบั จำเลยในคดที โ่ี จทกข อใหน บั โทษตอ
ระหวางพิจารณา บริษัทชัวร เอ็นเทอรเทนเมนท จำกัด ผูเสียหายที่ ๒ ยื่นคำรองขอ
เขารว มเปน โจทก ศาลทรพั ยส ินทางปญญาและการคา ระหวา งประเทศกลางอนุญาต
ศาลทรัพยส ินทางปญ ญาและการคาระหวางประเทศกลาง พพิ ากษายกฟอ ง
โจทกแ ละโจทกร วมอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั ในชน้ั อทุ ธรณร บั ฟง ไดว า เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๕๗
เวลาประมาณ ๑๖ นากิ า นายวฑิ ลู ยเ ขา แจง ความตอ พนกั งานสอบสวนสถานตี ำรวจภธู รบณุ ฑรกิ
จงั หวดั อบุ ลราชธานี วา เมอ่ื วนั ท่ี ๖ ธนั วาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๐.๓๓ นากิ า ทร่ี า นเหลา ปน คาราโอเกะ
หมบู า นโนนสวรรค ตำบลบวั งาม อำเภอบณุ ฑรกิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี มกี ารกระทำความผดิ ฐาน
ละเมิดลิขสิทธิ์เพลง ผีบาถามทาง และอายแพเขา หรือเจาลำเอียง ซึ่งเปนงานอันมีลิขสิทธิ์ของ
ผเู สยี หายท่ี ๑ และท่ี ๒ ตามลำดบั นายวฑิ ลู ยม อบสำเนาหนงั สอื มอบอำนาจและมอบอำนาจชว ง
แกพนักงานสอบสวน เพื่อแสดงวาไดรับมอบอำนาจชวงจากผูเสียหายทั้งสองใหดำเนินคดีแก
เจา ของหรอื ผปู ระกอบกจิ การรา นเหลา ปน คาราโอเกะ พนกั งานสอบสวนสอบปากคำนายวฑิ ลู ยไ ว
ตามบันทึกคำใหการของผูรองทุกข ผูกลาวโทษ หรือพยานหลังจากเจาพนักงานไปตรวจคน
รา นทเ่ี กดิ เหตกุ บั นายวฑิ ลู ยใ นวนั เดยี วกนั นน้ั แลว มกี ารจบั กมุ นางสาวรงุ นภาเจา ของรา น พรอ ม
ของกลาง ไดแ ก ไมโครโฟนและสาย ๒ ชดุ สมดุ รายชอ่ื เพลงและชอ่ื ศลิ ปน พรอ มรหสั ๒ เลม และ
ตเู พลงคาราโอเกะหยอดเหรยี ญ ๑ ตู ตอ มาจำเลยยน่ื คำรอ งตอ พนกั งานสอบสวนขอรบั ของกลาง
ไปเกบ็ รกั ษาเอง นายวฑิ ลู ยจ งึ แจง ความตอ พนกั งานสอบสวนเพม่ิ เตมิ ขอใหด ำเนนิ คดแี กจ ำเลย
ฐานรว มกนั ละเมดิ ลขิ สทิ ธข์ิ องผเู สยี หายทง้ั สอง พนกั งานสอบสวนสอบปากคำนายวฑิ ลู ยไ วเ พม่ิ เตมิ
ตามใบตอคำใหการเพมิ่ เตมิ แผนที่ ๙ และ ๑๐

๑๕๓

คดมี ปี ญ หาขอ กฎหมายตอ งวนิ จิ ฉยั ตามคำแกอ ทุ ธรณข องจำเลยวา โจทกม อี ำนาจฟอ ง
คดีนี้หรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖๖ บัญญัติใหความผิดตาม
พระราชบญั ญตั ดิ งั กลา ว เปน ความผดิ อนั ยอมความได จงึ ตอ งหา มมใิ หพ นกั งานสอบสวนทำการ
สอบสวน เวน แตผ เู สยี หายจะมคี ำรอ งทกุ ขต ามระเบยี บ ซง่ึ การรอ งทกุ ขท จ่ี ะทำใหพ นกั งานสอบสวน
มอี ำนาจสอบสวนและโจทกมีอำนาจฟอ งตามพระราชบัญญัติจดั ตัง้ ศาลทรัพยส นิ ทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๒ (๗), ๑๒๐,
๑๒๑ และ ๑๒๓ วรรคแรก นน้ั ผรู อ งทกุ ขต อ งเปน ผเู สยี หายหรอื บคุ คลทไ่ี ดร บั มอบอำนาจใหแ จง ความ
รองทุกขมอบคดีตอพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดีอาญาโดยชอบดวยกฎหมาย เมื่อไดความ
จากทางนำสบื ของโจทกป ระกอบหนงั สอื มอบอำนาจและมอบอำนาจชว ง วา มกี ารมอบอำนาจและ
มอบอำนาจชวงทั้งหมด ๓ ชวง ชวงแรกผูเสียหายทั้งสองในฐานะเจาของลิขสิทธิ์มอบอำนาจให
บรษิ ทั ลขิ สทิ ธเ์ิ พลง จำกดั ดำเนนิ การตรวจสอบเพอ่ื พบการกระทำความผดิ และรวบรวมพยานหลกั ฐาน
ตลอดจนแจง ความ รอ งทกุ ข กลา วโทษ มอบคดตี อ พนกั งานสอบสวน เพอ่ื ใหด ำเนนิ คดอี าญาแกบ คุ คล
ผกู ระทำการละเมดิ ลอกเลยี นแบบ ทำซำ้ ดดั แปลง เผยแพรง านตอ สาธารณชน ...ในงานอนั มลี ขิ สทิ ธ์ิ
หรือละเมิดลิขสิทธิ์ในงานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง และ/หรือโสตทัศนวัสดุ ...และใหมีอำนาจ
มอบอำนาจชว งใหบ คุ คลอน่ื ดำเนนิ การแทนตอ ไป ตามหนงั สอื มอบอำนาจ แผน ท่ี ๑ และ ๒ ชว งทส่ี อง
เปน การมอบอำนาจของบรษิ ทั ลขิ สทิ ธเ์ิ พลง จำกดั ในฐานะผรู บั มอบอำนาจจากผเู สยี หายทง้ั สอง
และเจาของสิทธิรายอื่นมอบอำนาจชวงแก ๑. นางสาวภัทรนัน ๒. นายเจษฎา ใหมีอำนาจ
เชน เดยี วกบั ทบ่ี รษิ ทั ลขิ สทิ ธเ์ิ พลง จำกดั ไดร บั มอบอำนาจจากผเู สยี หายทง้ั สอง และใหม อี ำนาจ
มอบอำนาจชวงใหบุคคลอื่นดำเนินการแทนตอไป ตามหนังสือมอบอำนาจชวง และชวงที่สาม
เปนการมอบอำนาจของนายเจษฎาในฐานะผูรับมอบอำนาจชวงจากบริษัทลิขสิทธิ์เพลง จำกัด
ซึ่งรับมอบอำนาจจากผูเสียหายทั้งสองและเจาของสิทธิรายอื่นมอบอำนาจชวงใหนายวิฑูลย
มอี ำนาจเชน เดยี วกบั ทน่ี ายเจษฎาไดร บั มอบอำนาจชว งมาจากบรษิ ทั ลขิ สทิ ธเ์ิ พลง จำกดั แตม ใิ ห
ผูรับมอบอำนาจชวงทำการมอบอำนาจชวงตอไป ตามหนังสือมอบอำนาจชวง แผนที่ ๓๙ การ
พิจารณาวานายวิฑูลยไดรับมอบอำนาจชวงจากผูเสียหายทั้งสองใหเปนผูแจงความรองทุกขให
ดำเนนิ คดโี ดยชอบดว ยกฎหมายหรอื ไมน น้ั ยอ มตอ งพจิ ารณาขอ ความการมอบอำนาจในหนงั สอื
มอบอำนาจและมอบอำนาจชวงทุกฉบับวามีขอบเขตเพียงใด โดยเฉพาะในหนังสือมอบอำนาจ
ฉบบั แรกซง่ึ เปน การมอบอำนาจจากเจา ของลขิ สทิ ธ์ิ เมอ่ื ผเู สยี หายทง้ั สองระบใุ นหนงั สอื มอบอำนาจ

๑๕๔

แผนที่ ๑ และ ๒ วามอบอำนาจใหบริษัทลิขสิทธิ์เพลง จำกัด มีอำนาจแจงความรองทุกขมอบ
คดตี อ พนกั งานสอบสวนและใหม อี ำนาจมอบอำนาจชว งได ทบ่ี รษิ ทั ลขิ สทิ ธเ์ิ พลง จำกดั ผรู บั มอบ
อำนาจไดมอบอำนาจชวงใหนายเจษฎา ยังเปนการมอบอำนาจชวงที่อยูในขอบเขตตามหนังสือ
มอบอำนาจของผเู สยี หายทง้ั สอง แตส ว นทน่ี ายเจษฎาผรู บั มอบอำนาจชว งจะมอบอำนาจชว งให
บุคคลอื่นตอไปในการแจงความรองทุกขใหดำเนินคดีนี้อีกตอหนึ่งยอมอยูนอกเขตแหงหนังสือ
มอบอำนาจของผเู สยี หายทัง้ สอง เพราะหนังสอื มอบอำนาจ แผนท่ี ๑ และ ๒ ไมไ ดใ หอำนาจแก
ผรู บั มอบอำนาจชว งทจ่ี ะมอบอำนาจชว งตอ ไปได หากเจา ของสทิ ธปิ ระสงคจ ะใหผ รู บั มอบอำนาจ
ชว งมอี ำนาจมอบอำนาจชว งตอ ไปไดอ กี กย็ อ มตอ งระบวุ า ใหผ รู บั มอบอำนาจมอี ำนาจมอบอำนาจ
ชว งใหบ คุ คลอน่ื ดำเนนิ การแทนตอ ไป และใหผ รู บั มอบอำนาจชว งมอี ำนาจมอบอำนาจชว งตอ ไปได
ดังที่ปรากฏขอความดังกลาวในขอ ๘ ของหนังสือมอบอำนาจ แผนที่ ๘ และ ๙ ซึ่งเปนหนังสือ
มอบอำนาจทน่ี ายวฑิ ลู ยม อบใหพ นกั งานสอบสวน และโจทกอ า งเปน พยานหลกั ฐานตอ ศาล ดงั นน้ั
แมว า ในหนงั สอื มอบอำนาจชว ง แผน ท่ี ๓๐ และ ๓๑ บรษิ ทั ลขิ สทิ ธเ์ิ พลง จำกดั จะระบใุ หน ายเจษฎา
มีอำนาจมอบอำนาจชวงใหบุคคลอื่นได ก็เปนการกระทำนอกเขตแหงหนังสือมอบอำนาจ
แผน ท่ี ๑ และ ๒ ซึง่ บริษทั ดงั กลา วไดร ับมอบอำนาจไว สวนหนังสอื มอบอำนาจและมอบอำนาจ
ชว งทม่ี กี ารสง เพม่ิ เตมิ ภายหลงั กเ็ ปน เพยี งการขยายระยะเวลาการมอบอำนาจและมอบอำนาจชว ง
ใหมีอำนาจดำเนินการแทนไดถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ทดแทนหนังสือมอบอำนาจและ
มอบอำนาจชวง ที่สิ้นสุดลงในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ แตขอความที่ระบุการมอบอำนาจ
ยงั มขี อบเขตเชน เดยี วกนั กบั หนงั สอื มอบอำนาจเดมิ นน่ั เอง การแจง ความรอ งทกุ ขโ ดยนายวฑิ ลู ย
ตามที่ไดรับมอบอำนาจชวงจากนายเจษฎาจึงเปนการรองทุกขโดยมิชอบ เพราะกระทำไปโดย
ผูไมมีอำนาจรองทุกข อันเปนผลใหพนักงานสอบสวนไมมีอำนาจสอบสวน และโจทกไมมีสิทธิ
นำคดมี าฟอ ง ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษายกฟอ งมานน้ั
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ พอ งดว ยในผล กรณไี มจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องโจทกอ กี ตอ ไป
เพราะไมท ำใหผ ลของคดีเปลี่ยนแปลง

อนึ่ง ที่นายทนงศักดิ์เปนผูยื่นคำรองขอเขารวมเปนโจทกในฐานะผูรับมอบอำนาจชวง
ของผูเสียหายที่ ๒ นั้น ปรากฏวาหนังสือมอบอำนาจใหฟองและดำเนินคดีของผูเสียหายที่ ๒
ทายคำรองขอเขารวมเปนโจทก ฉบับลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๘ ไมไดมอบอำนาจใหผูรับมอบ
อำนาจชว งตง้ั บคุ คลอน่ื เปน ผรู บั มอบอำนาจชว งทำการแทนตอ ไปอกี ได แมต ามหนงั สอื มอบอำนาจ
ชว งทา ยคำรอ งขอเขา รว มเปน โจทกด งั กลา วมขี อ ความวา ใหน ายววิ รรธนม อี ำนาจมอบอำนาจชว ง
ใหบุคคลอื่นเพื่อดำเนินการแทนตอไปได ก็เปนเรื่องนอกเหนือขอบอำนาจที่ผูเสียหายที่ ๒ ระบุ

๑๕๕

ไวในหนังสือมอบอำนาจ นายวิวรรธน ผูรับมอบอำนาจชวงไมมีอำนาจตั้งใหนายทนงศักดิ์เปน
ผูรับมอบอำนาจชวงอีกทอดหนึ่ง นายทนงศักดิ์จึงไมมีอำนาจยื่นคำรองขอเขารวมเปนโจทก
ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งอนุญาตใหผูเสียหายที่ ๒
เขา รว มเปน โจทก จงึ เปน คำสง่ั ทไ่ี มช อบ ปญ หาเรอ่ื งอำนาจฟอ งดงั กลา วเปน ขอ กฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั
ความสงบเรียบรอย แมไมมีคูความฝายใดอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีอำนาจยกขึ้น
วนิ จิ ฉยั ไดเองตามพระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลทรพั ยส ินทางปญญาและการคาระหวา งประเทศและ
วธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบ
ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง

พพิ ากษายนื แตใ หย กคำสง่ั ของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
ท่อี นุญาตใหผเู สยี หายท่ี ๒ เขา รวมเปนโจทกค ดีน้ี และยกอทุ ธรณโจทกร ว ม.

(กรกนั ยา สุวรรณพานิช - ไชยยศ วรนนั ทศ ิริ - วราคมน เล้ียงพันธุ)

อมรชยั ศริ ถิ าพร - ยอ
ปรานี เสฐจนิ ตนนิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงท่ีสุด

๑๕๖

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพเิ ศษที่ ๑๗๖๘/๒๕๖๑ พนกั งานอยั การ
จงั หวัดอบุ ลราชธานี โจทก
นายวชิ ยั มณธี นวัฒน จำเลย

ป.ว.ิ อ. มาตรา ๒ (๗), ๑๒๐, ๑๒๑, ๑๒๓ วรรคหน่งึ
พ.ร.บ. ลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๒๗, ๒๘, ๖๖, ๖๙

ขอสัญญาขอ ๑ วา “ผูโอนตกลงโอนและผูรับโอนตกลงรับโอนสิทธิในลิขสิทธิ์
อนั เกย่ี วกบั งานดนตรกี รรม สง่ิ บนั ทกึ เสยี ง โสตทศั นวสั ดขุ องผโู อนทม่ี อี ยใู นปจ จบุ นั ดงั มี
รายละเอียดปรากฏตามรายชื่อเพลงเอกสารแนบทายสัญญา และใหถือวาเปนสวนหนึ่ง
ของสัญญาฉบับนี้ และใหหมายความรวมถึงบรรดางานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง
โสตทัศนวัสดุที่ผูโอนไดสรางสรรคขึ้นภายในอายุแหงสัญญานี้ดวย โดยทั้งสองฝายจะ
จดั ทำรายละเอยี ดอนั เกย่ี วกบั รายชอ่ื เพลงทโ่ี อนสทิ ธกิ นั นน้ั แนบทา ยสญั ญาไวเ ปน หลกั ฐาน
ในภายหนาทุกครั้งไป” รายชื่อเพลงแนบทายสัญญาจึงเปนสาระสำคัญประการหนึ่งของ
สัญญา ที่จะแสดงไดวาคูสัญญาตกลงโอนสิทธิในลิขสิทธิ์งานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง
และโสตทศั นวสั ดุเพลงใดแกก ันบาง

พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ เปน ความผดิ อนั ยอมความได ตอ งหา มมใิ หพ นกั งาน
สอบสวนทำการสอบสวน เวน แตผ เู สยี หายจะมคี ำรองทกุ ขต ามระเบียบ ซง่ึ การรองทุกข
ที่จะทำใหพนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนและโจทกมีอำนาจฟองตาม พ.ร.บ. จัดตั้ง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทาง
ปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ อ. มาตรา ๒ (๗),
๑๒๐, ๑๒๑ และ ๑๒๓ วรรคหนง่ึ นน้ั ผรู อ งทกุ ขต อ งเปน ผเู สยี หายหรอื บคุ คลทไ่ี ดร บั มอบ
อำนาจใหแ จง ความ รอ งทกุ ข มอบคดตี อ พนกั งานสอบสวนเพอ่ื ดำเนนิ คดอี าญาโดยชอบ
ดว ยกฎหมาย

______________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๔, ๖, ๘, ๑๕,
๒๗, ๒๘, ๒๙, ๓๑, ๖๙, ๗๐, ๗๖, ๗๘ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ สั่งจายเงินคาปรับ
ฐานละเมิดลิขสิทธิ์กึ่งหนึ่งแกผูเสียหาย และใหนับโทษของจำเลยในคดีนี้ตอจากโทษของจำเลย
ในคดอี าญาหมายเลขดำท่ี ศปก.อ. ๑๕/๒๕๕๘, ๑๖/๒๕๕๘, ๑๗/๒๕๕๘, ๑๘/๒๕๕๘, ๒๙/๒๕๕๘,

๑๕๗

๓๐/๒๕๕๘, ๓๑/๒๕๕๘, ๓๒/๒๕๕๘, ๓๓/๒๕๕๘, ๓๔/๒๕๕๘, ๓๕/๒๕๕๘, ๓๖/๒๕๕๘, ๓๗/๒๕๕๘,
๓๘/๒๕๕๘ และ ๔๒/๒๕๕๘ ของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
(ศาลจังหวดั เดชอุดม)

จำเลยใหก ารปฏเิ สธ แตร บั วา เปน บคุ คลคนเดยี วกบั จำเลยในคดที โ่ี จทกข อใหน บั โทษตอ
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง พิพากษาวาจำเลยมี
ความผิดตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๒๗, ๒๘, ๖๙ วรรคสอง ประกอบ
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ ใหลงโทษปรับ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ไมชำระคาปรับใหจัดการ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙, ๓๐ ใหช ำระคา ปรบั ฐานละเมดิ ลขิ สทิ ธก์ิ ง่ึ หนง่ึ แกผ เู สยี หาย
สว นทโ่ี จทกข อใหน บั โทษจำคกุ จำเลยตอ จากโทษจำคกุ ในคดอี าญาหมายเลขดำท่ี ศปก./อ. ๑๕/๒๕๕๘,
๑๖/๒๕๕๘, ๑๗/๒๕๕๘, ๑๘/๒๕๕๘, ๒๙/๒๕๕๘, ๓๐/๒๕๕๘, ๓๑/๒๕๕๘, ๓๒/๒๕๕๘, ๓๓/๒๕๕๘,
๓๔/๒๕๕๘, ๓๕/๒๕๕๘, ๓๖/๒๕๕๘, ๓๗/๒๕๕๘, ๓๘/๒๕๕๘ และ ๔๒/๒๕๕๘ นั้น เนื่องจาก
ไมไ ดล งโทษจำคุกจำเลยในคดนี ี้ จงึ ไมอ าจนบั โทษตอได ใหยกคำขอในสว นนี้
จำเลยอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั ในชน้ั อทุ ธรณร บั ฟง ไดว า เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๙
เวลาประมาณ ๒๓ นากิ า มกี ารเปด เพลงเมยี เกา ฟา มดื บด น เจา ชายของชวี ติ และกรณุ าฟง ใหจ บ
ซึ่งเปนงานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง และโสตทัศนวัสดุ อันมีลิขสิทธิ์ของบริษัท จีเอ็มเอ็ม
แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) จากตูเพลงหยอดเหรียญคาราโอเกะภายในรานภูตะวันคาราโอเกะ
นางสาวปาริตารผูรับมอบอำนาจของบริษัทจีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด
แจงความรองทุกขตอพนักงานสอบสวนใหดำเนินคดีแกจำเลยขอหาละเมิดลิขสิทธิ์ของบริษัท
จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด เพื่อการคาหากำไร โดยนำหนังสือมอบ
อำนาจของบรษิ ทั จเี อม็ เอม็ มวิ สคิ พบั ลชิ ชง่ิ อนิ เตอรเ นชน่ั แนล จำกดั สญั ญาโอนสทิ ธใิ นลขิ สทิ ธ์ิ
งานดนตรกี รรม สง่ิ บนั ทกึ เสยี ง และโสตทศั นวสั ดุ หนงั สอื ยนื ยนั ลขิ สทิ ธ์ิ หนงั สอื ตกลงขอรบั สทิ ธิ
เผยแพรในสถานประกอบการคาราโอเกะมอบใหแ กพนักงานสอบสวน
คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยขอ แรกวา โจทกม อี ำนาจฟอ งคดนี ห้ี รอื ไม
เหน็ วา โจทกก ลา วอา งความเปน เจา ของสทิ ธขิ องบรษิ ทั จเี อม็ เอม็ มวิ สคิ พบั ลชิ ชง่ิ อนิ เตอรเ นชน่ั แนล
จำกดั ในฐานะผรู บั โอนสทิ ธใิ นลขิ สทิ ธง์ิ านดนตรกี รรม สง่ิ บนั ทกึ เสยี งและโสตทศั นวสั ดุ เพลงเมยี เกา
ฟามืดบดน เจาชายของชีวิต และกรุณาฟงใหจบ จากบริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)
เจาของลิขสิทธิ์ ซึ่งเมื่อพิจารณาสัญญาโอนสิทธิในลิขสิทธิ์งานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง และ
โสตทัศนวัสดุ แลว ปรากฏขอสัญญา ขอ ๑ วา “ผูโอนตกลงโอนและผูรับโอนตกลงรับโอนสิทธิ

๑๕๘

ในลขิ สทิ ธอ์ิ นั เกย่ี วกบั งานดนตรกี รรม สง่ิ บนั ทกึ เสยี ง โสตทศั นวสั ดขุ องผโู อนทม่ี อี ยใู นปจ จบุ นั ดงั มี
รายละเอียดปรากฏตามรายชื่อเพลงเอกสารแนบทายสัญญาหมายเลข (๑) และใหถือวาเปน
สวนหนึ่งของสัญญาฉบับนี้ และใหหมายความรวมถึงบรรดางานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง
โสตทัศนวัสดุที่ผูโอนไดสรางสรรคขึ้นภายในอายุแหงสัญญานี้ดวย โดยทั้งสองฝายจะจัดทำ
รายละเอยี ดอนั เกย่ี วกบั รายชอ่ื เพลงทโ่ี อนสทิ ธกิ นั นน้ั แนบทา ยสญั ญาไวเ ปน หลกั ฐานในภายหนา
ทุกครั้งไป” ขอสัญญาดังกลาวระบุถึงรายชื่อเพลงที่โอนสิทธิแกกันไวชัดเจนวา งานดนตรีกรรม
สิ่งบันทึกเสียง และโสตทัศนวัสดุที่คูสัญญาตกลงโอนสิทธิแกกันนั้น ตองปรากฏในรายชื่อเพลง
เอกสารแนบทายสญั ญาหมายเลข (๑) ซึ่งถือเปนสว นหนงึ่ ของสญั ญา แมภ ายหลังทำสัญญาแลว
หากผูโอนสรางสรรคงานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง และโสตทัศนวัสดุขึ้นใหม หากยังอยูภายใน
อายุแหงสัญญา คูสัญญาก็ตกลงโอนและรับโอนสิทธิในลิขสิทธิ์ของงานสรางสรรคใหมนั้นดวย
เชนกัน โดยทั้งสองฝายจะจัดทำรายชื่อเพลงที่โอนสิทธิกันนั้นแนบทายสัญญาไวเปนหลักฐาน
ทุกครั้ง รายชื่อเพลงแนบทายสัญญา จึงเปนสาระสำคัญประการหนึ่งของสัญญา ที่จะแสดงไดวา
คูสัญญาตกลงโอนสิทธิในลิขสิทธิ์งานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง และโสตทัศนวัสดุเพลงใด
แกก นั บา ง แตส ญั ญาโอนสทิ ธใิ นลขิ สทิ ธง์ิ านดนตรกี รรม สง่ิ บนั ทกึ เสยี ง และโสตทศั นวสั ดุ ทโ่ี จทก
อางเปนพยานหลักฐานตอศาลไมปรากฏรายชื่อเพลงเอกสารแนบทายสัญญา หรือรายชื่อเพลง
ที่โอนสิทธิกันภายหลังการทำสัญญาแตอยางใด แมพยานโจทกปากนางสาวปาริตาร ผูรับมอบ
อำนาจจากบรษิ ทั จเี อม็ เอม็ มวิ สคิ พบั ลชิ ชง่ิ อนิ เตอรเ นชน่ั แนล จำกดั จะเบกิ ความตอบคำถามซกั
ของโจทก คำถามคานของทนายจำเลย และคำถามติงของโจทกในทำนองวา หนังสือยืนยัน
ลิขสิทธิ์คือรายชื่อเพลงเอกสารแนบทายสัญญาหมายเลข (๑) ตามที่สัญญาโอนสิทธิในลิขสิทธิ์
งานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง และโสตทัศนวัสดุ ขอ ๑ ระบุไว แตหนังสือยืนยันลิขสิทธิ์ลงวันที่
๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๙ และ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ อันเปนเวลาภายหลังมีการทำสัญญาโอนสิทธิ
ในลขิ สทิ ธด์ิ งั กลา ว หนงั สอื ยนื ยนั ลขิ สทิ ธจ์ิ งึ ไมใ ชร ายชอ่ื เพลงเอกสารแนบทา ยสญั ญาหมายเลข (๑)
ตามทส่ี ญั ญาโอนสทิ ธใิ นลขิ สทิ ธง์ิ านดนตรกี รรม สง่ิ บนั ทกึ เสยี งและโสตทศั นวสั ดุ ฉบบั ลงวนั ท่ี ๑๗
ธันวาคม ๒๕๕๘ ระบุไว สวนจะเปนรายชื่อเพลงที่โอนสิทธิกันภายหลังการทำสัญญาหรือไมนั้น
เมื่อสัญญาโอนสิทธิในลิขสิทธิ์งานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง และโสตทัศนวัสดุ ขอ ๑ ระบุให
ทั้งสองฝายจัดทำรายละเอียดอันเกี่ยวกับรายชื่อเพลงที่โอนสิทธิกันนั้นแนบทายสัญญาไวเปน
หลักฐานทุกครั้ง แตหนังสือยืนยันลิขสิทธิ์จัดทำโดยบริษัทจีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอร
เนชั่นแนล จำกัด เอง เพียงฝายเดียว ยอมไมอาจถือเปนรายชื่อเพลงที่โอนสิทธิกันภายหลังการ
ทำสัญญาได พยานหลักฐานของโจทกไมเพียงพอแสดงไดวาบริษัทจีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง

๑๕๙

อนิ เตอรเ นชน่ั แนล จำกดั ไดร บั โอนสทิ ธใิ นลขิ สทิ ธง์ิ านดนตรกี รรม สง่ิ บนั ทกึ เสยี ง และโสตทศั นวสั ดุ
เพลงเมยี เกา ฟา มดื บด น เจา ชายของชวี ติ และกรณุ าฟง ใหจ บ จากบรษิ ทั จเี อม็ เอม็ แกรมม่ี จำกดั
(มหาชน) เจาของลิขสิทธิ์ บริษัทจีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด จึงไมใช
ผเู สยี หาย ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ เปน ความผดิ อนั ยอมความได ตอ งหา ม
มิใหพนักงานสอบสวนทำการสอบสวน เวนแตผูเสียหายจะมีคำรองทุกขตามระเบียบ ซึ่งการ
รอ งทกุ ขท จ่ี ะทำใหพ นกั งานสอบสวนมอี ำนาจสอบสวนและโจทกม อี ำนาจฟอ งตามพระราชบญั ญตั ิ
จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๒ (๗), ๑๒๐, ๑๒๑ และ ๑๒๓ วรรคแรก นน้ั ผรู อ งทกุ ขต อ งเปน ผเู สยี หายหรอื
บคุ คลทไ่ี ดร บั มอบอำนาจใหแ จง ความรอ งทกุ ข มอบคดตี อ พนกั งานสอบสวนเพอ่ื ดำเนนิ คดอี าญา
โดยชอบดวยกฎหมาย เมื่อบริษัทจีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด ไมใช
ผูเสียหายที่มีอำนาจใหแจงความรองทุกข มอบคดีตอพนักงานสอบสวน การแจงความรองทุกข
โดยนางสาวปารติ ารท ไ่ี ดร บั มอบอำนาจจากบรษิ ทั จเี อม็ เอม็ มวิ สคิ พบั ลชิ ชง่ิ อนิ เตอรเ นชน่ั แนล จำกดั
จึงเปนการรองทุกขโดยมิชอบ เพราะกระทำไปโดยผูไมมีอำนาจรองทุกข อันเปนผลใหพนักงาน
สอบสวนไมม อี ำนาจสอบสวน และโจทกไ มม อี ำนาจฟอ งคดนี ้ี ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั วา คดนี ม้ี กี ารรอ งทกุ ขโ ดยชอบและการสอบสวนในเวลาตอ มาชอบดว ย
กฎหมาย ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณขอนี้ของจำเลยฟงขึ้น
และกรณไี มจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข อ อน่ื ของจำเลยอกี ตอ ไป เพราะไมท ำใหผ ลของคดเี ปลย่ี นแปลง

พิพากษากลับ ใหยกฟอ ง.

(กรกนั ยา สุวรรณพานชิ - ไชยยศ วรนนั ทศิริ - วราคมน เลีย้ งพนั ธุ)

จันทรก ระพอ ตอสวุ รรณ สินธวถาวร - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทสี่ ุด

๑๖๐

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๙๓๖๙/๒๕๖๒ พนกั งานอยั การ

จงั หวดั ชลบรุ ี โจทก

นางสาวรจนา บุญวงั

กบั พวก จำเลย

ป.วิ.อ. มาตรา ๑๘๕ วรรคหน่งึ , ๑๘๖ (๖) (๙), ๑๙๕ วรรคสอง

พ.ร.บ. เครอื่ งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘, ๑๐๙, ๑๑๐ (๑), ๑๑๕

พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี

ทรพั ยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖, ๓๙

พ.ร.บ. ลขิ สิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๗๕

ความผดิ ฐานจำหนา ย เสนอจำหนา ย และมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมาย
การคาปลอมเครื่องหมายการคาของผูอื่น ตาม พ.ร.บ. เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๘ เปนกรณีที่เครื่องหมายการคาปลอมเหมือนกับ
เครอ่ื งหมายการคา ท่ีแทจริง แตกตา งจากความผดิ ฐานจำหนา ย เสนอจำหนาย และมีไว
เพื่อจำหนา ยสินคาท่มี เี คร่อื งหมายการคา เลยี นเครอื่ งหมายการคาของผูอื่น ตาม พ.ร.บ.
เครื่องหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑) ประกอบมาตรา ๑๐๙ ซึ่งเครื่องหมาย
การคาเลียนเพยี งคลายกับเครื่องหมายการคา ทีแ่ ทจริง

เมื่อเปรียบเทียบเครื่องหมายการคาจดทะเบียนของผูเสียหายกับเครื่องหมาย
บนสินคาของจำเลยทั้งสองแลว เห็นไดวา ไมเหมือนกัน เครื่องหมายการคาที่ปรากฏ
บนสินคาจึงไมใชเครื่องหมายการคาที่ปลอมเครื่องหมายการคาที่แทจริงของผูเสียหาย
ทง้ั สาม การกระทำของจำเลยทง้ั สองจงึ ไมเ ปน ความผดิ ฐานรว มกนั จำหนา ย เสนอจำหนา ย
และมไี วเ พอ่ื จำหนา ยสนิ คา ทม่ี เี ครอ่ื งหมายการคา ปลอม แมจ ำเลยทง้ั สองใหก ารรบั สารภาพ
ก็ไมอาจลงโทษจำเลยทั้งสองในความผิดฐานนี้ได และไมอาจลงโทษจำเลยทั้งสอง
ฐานจำหนาย เสนอจำหนาย และมีไวเพื่อจำหนายสินคาที่มีเครื่องหมายการคาเลียน
เครอ่ื งหมายการคา ของผอู น่ื ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐ (๑)
ประกอบมาตรา ๑๐๙ ไดเ ชน กนั เพราะโจทกก ม็ ไิ ดบ รรยายฟอ งใหค รบองคป ระกอบความผดิ
และไมไดมีคำขอทายฟองขอใหลงโทษตามมาตราดังกลาว ถือวาโจทกไมประสงคให
ลงโทษความผิดฐานน้ีแกจำเลยทั้งสอง

๑๖๑

ปญ หาวา การกระทำของจำเลยทง้ั สองเปน ความผดิ หรอื ไม เปน ปญ หาขอ กฎหมาย
ที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมจำเลยทั้งสองไมอุทธรณและไมไดยกขึ้นตอสูในศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
สามารถหยบิ ยกขน้ึ วนิ จิ ฉยั เองได ตาม พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา ๑๘๕ วรรคหนึ่ง และ ๑๙๕ วรรคสอง

ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาในสว นคำขอ
ใหริบของกลางวา คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก โดยไมไดใหเหตุผลแหงคำวินิจฉัยเกี่ยวกับ
การรบิ ของกลาง จงึ ไมช อบดว ย พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๘๖ (๖) (๙) เมอ่ื คดนี จ้ี ำเลยทง้ั สองใหก ารรบั สารภาพ
ตามฟอง ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดวาจำเลยทั้งสองมีสินคาผาหมจำนวน ๕ ผืน ของกลาง
อันเปนสิ่งที่ไดทำขึ้นหรือไดใชในการกระทำความผิด ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
มาตรา ๗๕ และมไี วเ พอ่ื จำหนา ย ตาม พ.ร.บ. เครอ่ื งหมายการคา พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๕
ซึ่งบทบัญญัติทั้งสองมาตราบัญญัติใหริบเสียทั้งสิ้น ดังนั้น ที่ศาลทรัพยสินทางปญญา
และการคาระหวา งประเทศกลางไมริบของกลางจงึ ไมชอบดว ยกฎหมาย

(กรกนั ยา สวุ รรณพานิช - ธารทิพย จงจกั รพันธ - วราคมน เล้ียงพนั ธ)ุ

สธุ รรม สุธมั นาถพงษ - ยอ
ววิ ัฒน วงศกติ ตริ กั ษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ทสี่ ดุ

(รายละเอียดอยูในหัวขอ ๓.๑ ความผดิ ตอ พระราชบัญญัตเิ ครือ่ งหมายการคา )

๑๖๒

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๑๒/๒๕๖๑ นายวรโชติ สุรวิชยั โจทก
นางสาวปณฑารีย เขาจารี จำเลย

พ.ร.บ. สิทธิบตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕, ๖, ๗

หมอ ตม ไอนำ้ ตามสทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐข องโจทกช ว ยในการประหยดั พลงั งาน
ชวยเพิ่มแรงดันไอน้ำในการใชงานไดตอเนื่อง และชวยลดตนทุนในการผลิตใหนอยลง
ตามขอมูลในสิทธิบัตรไดระบุถึงภูมิหลังของศิลปะและวิทยาการที่เกี่ยวของวา หมอตม
ไอน้ำแบบเดิมมีขอเสียเนื่องจากใชพื้นที่มากในการติดตั้ง พื้นที่สัมผัสกับเชื้อเพลิงจาก
หอ งไฟจงึ มีนอ ย ทำใหใ ชเวลานานในการใหความรอนแกหมอตมไอน้ำและเสียพลังงาน
มากเกนิ ไป ดงั นน้ั ในการประดษิ ฐห มอ ตม ไอนำ้ ตามสทิ ธบิ ตั รจงึ มลี กั ษณะพเิ ศษ คอื มที อ
ขนาดนว้ิ ครง่ึ เชอ่ื มประสานตดิ กบั ตวั ถงั โดยวางเรยี งกนั เปน ชน้ั จำนวนยส่ี บิ ชน้ั มจี ำนวน
หาทอ ลักษณะการวางทอเปนรูปสี่เหลี่ยม เพื่อเปนการเพิ่มปริมาณน้ำใหถึง และสราง
พน้ื ทส่ี มั ผสั ของเชอ้ื เพลงิ กบั ทอ ประสาน ทำใหเ กดิ ความรอ นภายในหมอ ตม ไอนำ้ มากทส่ี ดุ
ทำใหเกิดไอน้ำไดเร็วกวาหมอตมไอน้ำแบบเดิมที่มีอยู หมอตมไอน้ำตามสิทธิบัตรการ
ประดิษฐของโจทกจึงมีความแตกตางไปจากหมอตมไอน้ำแบบเดิม อันถือวาเปนการ
ประดษิ ฐท ม่ี ีขนั้ การประดิษฐสงู ขึน้ และมีความใหม

______________________________

โจทกฟองขอใหลงโทษจำเลยตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓,
๓๖, ๘๕

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางไตสวนมูลฟองแลว เห็นวา
คดีมมี ูล ใหป ระทับฟอ ง

จำเลยใหการปฏเิ สธ
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาวา จำเลยกระทำ
ความผิดตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๖ (๑), ๘๕ ปรับ ๖๐,๐๐๐ บาท
หากจำเลยไมช ำระคา ปรบั ใหจ ัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙, ๓๐

๑๖๓

โจทกแ ละจำเลยอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวาขอเท็จจริงในเบื้องตนรับฟงไดวา โจทกเปนผูทรงสิทธิบัตรการประดิษฐหมอตมไอน้ำ
เลขที่ ๒๙๗๓๔ ตามสำเนาสิทธิบัตรการประดิษฐ จำเลยเปนเจาของกิจการสวนเห็ดจันทบุรี
และสำเนาใบทะเบียนพาณชิ ย ตามวนั เวลาและสถานท่ีเกดิ เหตุ โจทกซอ้ื หมอตมไอนำ้ ๑ เครอ่ื ง
ราคา ๑๕,๐๐๐ บาท จากรา นคา ของจำเลย ตอ มาโจทกเ ขา แจง ความเปน หลกั ฐานทส่ี ถานตี ำรวจ
ภธู รทาใหม จงั หวัดจนั ทบรุ ี ตามสำเนารายงานประจำวันเกย่ี วกบั คดี
คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยในประการแรกวา สทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐ
หมอตมไอน้ำ เลขที่ ๒๙๗๓๔ ของโจทก สมบูรณตามกฎหมายหรือไม เห็นวา หมอตมไอน้ำ
ของโจทกเ ปน การประดษิ ฐท ม่ี คี วามแตกตา งไปจากหมอ ตม ไอนำ้ แบบเดมิ ตามรปู ท่ี ๘ และรปู ท่ี ๙
อนั ถอื วา เปน การประดษิ ฐท ใ่ี หม และโจทกม นี ายถนอมศกั ด์ิ ซง่ึ มตี ำแหนง เปน นกั วชิ าการตรวจสอบ
สทิ ธบิ ตั รชำนาญการ กองสทิ ธบิ ตั ร กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา กระทรวงพาณชิ ย มหี นา ทต่ี รวจสอบ
สิทธิบัตรการผลิตทางดานวิศวกรรม ซึ่งจบการศึกษาจากคณะวิศวกรรมศาสตร สาขาเครื่องกล
เปนนักวิชาการระดับชำนาญการ มีความรูความสามารถในการตรวจสอบสิ่งประดิษฐทางดาน
วิศวกรรมเพื่อประกอบการพิจารณาคำขอรับสิทธิบัตร เบิกความตอบทนายจำเลยถามคาน
โดยใหค วามเหน็ ในฐานะผชู ำนาญการวา สาระสำคญั ของสทิ ธบิ ตั รของโจทกอ ยทู ร่ี ะบบควบคมุ นำ้
และขอถือสิทธริ ะบุในขอ ๒ เกี่ยวกบั เรื่องการจดั วางทอ ประสาน ซ่งึ ระบุวาทอประสานมลี กั ษณะ
การวางเรยี งสลับดา นกันเปนช้นั ๆ จำนวนย่สี ิบชั้น แตล ะชัน้ มีจำนวนหาทอ อันถอื วาเปน สาระ
สำคัญ เนื่องจากอยูในขอถือสิทธิและไดรับความคุมครอง นับวาเปนขั้นการประดิษฐที่สูงขึ้น
และมีความใหม พยานหลักฐานของโจทกที่นำสืบประกอบกันดังกลาวจึงมีน้ำหนักใหรับฟง
สวนที่จำเลยอางตนเองเปนพยานเบิกความวา รูปแบบหมอตมไอน้ำมีใชในสหรัฐอเมริกา
มานานกวา ๖๐ ป ตามสำเนาหนงั สอื จดทะเบยี นสทิ ธบิ ตั รและคำแปลหนงั สอื จดทะเบยี นสทิ ธบิ ตั ร
อีกทั้งมีเกษตรกรผูเพาะเห็ดในจังหวัดกาฬสินธุมีตนแบบหมอตมไอน้ำใชมานานแลว และยังมี
ขอเท็จจริงอีกดวยวา นายไพรวัลยซึ่งเปนเกษตรกรเพาะเห็ดจังหวัดสระบุรี ไดใชหมอตมไอน้ำ
ซึ่งมีการประดิษฐหมอภายในเปนทอประสานเรียงกันเปนชั้นในการเพาะเห็ดที่จังหวัดสระบุรีมา
นานกวา ๑๐ ป โดยจำหนา ยใหแ กผ สู นใจมาตง้ั แตป  ๒๕๔๙ ตามจดหมายของนายไพรวลั ย และ
เอกสารแนบทา ย นอกจากนย้ี งั มขี า วเกย่ี วขอ งกบั การออกแบบและหมอ ตม ไอนำ้ แสดงใหเ หน็ วา
หมอ ตม ไอนำ้ มใี ชก นั ทว่ั ไป และมกี ารพฒั นาปรบั เปลย่ี นรปู ทรงตามยคุ สมยั หรอื วสั ดอุ ปุ กรณอ ยา ง
ตอเนื่อง หลักการของหมอตมไอน้ำตองมีถังรับน้ำ เชื้อเพลิง และทอไอน้ำ จุดประสงคเพื่อนำ

๑๖๔

ไอน้ำไปฆาเชื้อ จำเลยและชาวบานไดมีการพัฒนารูปแบบของหมอตมไอน้ำมาจากสิ่งที่ใชกัน
อยูแลวมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งเปนรูปแบบในปจจุบัน เหตุที่ชาวบานดังกลาวไมนำหมอตมไอน้ำ
ไปจดสิทธิบัตร เนื่องจากไมไดมีกระบวนการพิเศษ เปนแคเพียงกระบวนการเอาไอน้ำออกมา
ซึ่งเปนพื้นฐานทั่วไป ๆ ไมไดแตกตางจากหมอตมน้ำธรรมดาเหมือนกับหมอตมไอน้ำของโจทก
ซึ่งใชกระบวนการเดิม โดยมีน้ำเขามาผานหมอตมหรือผานความรอนและตมน้ำในถังใหเดือด
เปนไอเหมือนกัน ไมมีอะไรแปลกใหม รูปทรงหมอตมไอน้ำของโจทกไมมีความสัมพันธกับการ
ทำใหเ กดิ ไอนำ้ และไมม กี ารลดขน้ั ตอนในกระบวนการใหเ กดิ ไอนำ้ ดงั นน้ั หมอ ตม ไอนำ้ ของโจทก
นำไปจดสทิ ธบิ ตั รได เหน็ วา ตามทจ่ี ำเลยอา งถงึ หมอ ตม นำ้ ขาตง้ั พรอ มทอ นำความรอ นในแนวตง้ั
และแผงปะทะนำ้ แนวนอน (Stand Boiler with Vertical Fire Tubes and Horizontal Water Baffles)
ตามสำเนาหนงั สอื จดทะเบยี นสทิ ธบิ ตั รสหรฐั อเมรกิ าวา มกี ารใชม านานกวา ๖๐ ป นน้ั เมอ่ื พจิ ารณา
เปรยี บเทยี บกบั หมอ ตม ไอนำ้ ของโจทก ปรากฏวา หมอ ตม ไอนำ้ ดงั กลา วเปน เครอ่ื งทำนำ้ รอ นแบบ
มีถังเก็บ (Storage-Type Water Heaters) ซึ่งใชกับการผลิตน้ำรอนใชสวนตัว ใชในการซักรีด
และใชงานอื่น ๆ ในครัวเรือนและเชิงพาณิชย โดยมีการทำความรอนใหมีประสิทธิภาพของการ
ระบายความรอนมากขน้ึ ทำใหน้ำมอี ุณหภูมสิ ม่ำเสมอทว่ั ถงึ มากขึน้ สูญเสยี ความรอนนอยท่สี ดุ
ลดความไมส ะดวกเนอ่ื งจากการสะสมไอนำ้ และลดความไมส ะดวกอน่ื ทค่ี ลา ยกนั จากขอ เทจ็ จรงิ
ดังกลาวแสดงใหเห็นถึงวัตถุประสงคและการทำงานของหมอตมน้ำตามสิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา
ทแ่ี ตกตา งไปจากหมอ ตม ไอนำ้ ตามสทิ ธบิ ตั รของโจทกอ ยา งชดั เจน โดยเฉพาะเรอ่ื งการลดการสะสม
ไอน้ำของหมอตมน้ำตามสิทธิบัตรสหรัฐอเมริกาตรงขามกับการผลิตไอน้ำซึ่งเปนสิ่งจำเปน
สำหรับการฆา เชื้อในการเพาะเหด็ โดยหมอตม ไอน้ำของโจทกประดษิ ฐขนึ้ เพอื่ เพิ่มแรงดนั ไอนำ้
ใหต อ เนอ่ื งเพอ่ื นำไปใชง าน มใิ ชก ารนำนำ้ รอ นไปใชง านทว่ั ไปเหมอื นกบั หมอ ตม นำ้ ตามสทิ ธบิ ตั ร
สหรัฐอเมริกา อีกทั้งเมื่อพิจารณารายละเอียดของการประดิษฐดานในหมอตมน้ำตามสิทธิบัตร
สหรฐั อเมรกิ า พบวา มกี ารประดษิ ฐแ ผน ปะทะนำ้ ทเ่ี รยี งซอ นกนั ในแนวนอนเทา นน้ั ไมม กี ารจดั เรยี ง
ประสานทอ นำ้ เปน ชน้ั ๆ เหมอื นกบั หมอ ตม ไอนำ้ ตามสทิ ธบิ ตั รของโจทก ดงั นน้ั ขอ อา งของจำเลย
ที่วาการประดิษฐหมอตมไอน้ำในลักษณะของโจทกมีอยูแพรหลายตามหมอตมน้ำสิทธิบัตร
สหรฐั อเมรกิ านน้ั จงึ ฟง ไมข น้ึ สว นทจ่ี ำเลยนำสบื ถงึ หมอ ตม ไอนำ้ ของเกษตรกรผเู พาะเหด็ ทจ่ี งั หวดั กาฬสนิ ธุ
ที่มีตนแบบใชหมอตมไอน้ำ และกรณีของนายไพรวัลยซึ่งเปนเกษตรกรเพาะเห็ดจังหวัดสระบุรี
ใชห มอ ตม ไอนำ้ ในการเพาะเหด็ โดยมกี ารประดษิ ฐห มอ ตม ไอนำ้ ทภ่ี ายในเปน ทอ ประสานเรยี งกนั
เปน ชั้นมานานกวา ๑๐ ปแ ลวนนั้ เหน็ วา การทีจ่ ำเลยอา งการประดิษฐหมอตม ไอนำ้ มีการใชกัน
แพรห ลายทว่ั ไปมานานแลว กอ นทโ่ี จทกจ ะขอรบั สทิ ธบิ ตั รนน้ั จำเลยตอ งนำสบื ถงึ หลกั ฐานทช่ี ดั เจน

๑๖๕

นอกเหนอื ไปจากเพยี งภาพถา ยของการประดษิ ฐห มอ ตม ไอนำ้ ซง่ึ ไมม ขี อ เทจ็ จรงิ วา ผลติ โดยผใู ด
เมอ่ื ใด และปจ จบุ นั ใชก นั อยา งไร การกลา วอา งเพยี งวา มเี กษตรกรใชก นั ทว่ั ไปนน้ั เปน การกลา วอา ง
ที่เลื่อนลอย ไมมีน้ำหนักใหรับฟง สวนหมอตมไอน้ำของนายไพรวัลยนั้น จำเลยนำสืบเพียง
พยานเอกสารที่แสดงถึงใบเสนอราคาหมอตมไอน้ำที่ลูกคาของนายไพรวัลยสั่งซื้อในป ๒๕๔๙
และภาพการทำหมอตมไอน้ำภายในที่มีลักษณะการเจาะรูสวมทอ ทั้งที่จำเลยไมไดเกี่ยวของ
กับเอกสารและการผลิตหมอตมไอน้ำดังกลาว จำเลยไมมีพยานหลักฐานอื่นที่สามารถนำสืบใน
รายละเอียดที่ชัดเจนและเชื่อมโยงถึงความเปนมาของการประดิษฐหมอตมไอน้ำที่นายไพรวัลย
อางวาทำมานานแลว และจำเลยไมมีนายไพรวัลยมาเบิกความเปนพยานยืนยันขอเท็จจริงของ
การประดษิ ฐห มอ ตม ไอนำ้ ของตน เพอ่ื อธบิ ายรายละเอยี ดของขน้ั ตอนการประดษิ ฐ และระยะเวลา
การประดิษฐวาไดประดิษฐมากอนที่โจทกขอสิทธิบัตรอยางไร มีการเปดเผยการประดิษฐตอ
สาธารณชนแลวหรือไมอยางไร พยานหลักฐานของจำเลยจึงไมมีน้ำหนักใหรับฟง สวนกรณีที่
จำเลยมนี ายทนิ โนเปน พยานอกี ปากหนง่ึ เบกิ ความวา หมอ ตม ไอนำ้ มมี าเปน เวลา ๑๐๐ กวา ปแ ลว
หลกั การของหมอ ตม ไอนำ้ คอื เอาความรอ นจากแหลง ความรอ น เชน ไฟฟา แกส ฟน มาตม นำ้
ใหร อ น เมอ่ื นำ้ เกดิ ความรอ นจะเกดิ ไอนำ้ และมคี วามดนั กเ็ อาความดนั นน้ั ไปใชเ ปน ตน กำลงั หรอื
เอาไอนำ้ ทร่ี อ นนน้ั ไปใชป ระโยชนใ นการใหค วามรอ นแกส ง่ิ อน่ื การควบคมุ ความรอ นของไอนำ้ คอื
ตอ งควบคมุ เชอ้ื เพลงิ สว นความรอ นในทอ กบั นอกทอ วตั ถปุ ระสงคเ ปน การทำใหน ำ้ เดอื ดเหมอื นกนั
แตประสิทธิภาพจะไมเหมือนกัน การทำหมอตมไอน้ำในสมัยกอนกับสมัยปจจุบัน มีหลักการ
การทำใหเ กดิ ไอนำ้ ตวั เดยี วกนั คอื ไฟกบั นำ้ ทจ่ี ะเปลย่ี นแปลงไปกค็ อื วสั ดอุ ปุ กรณ รปู แบบ ซง่ึ เปน
การพัฒนาเทคโนโลยีใหทันสมัยขึ้น ชาวบานมีการพัฒนาขึ้นตามสภาพ หมอตมไอน้ำของโจทก
เปน กระบวนการทำใหเ กดิ ไอนำ้ โดยใชน ำ้ วง่ิ ในทอ แลว ใชค วามรอ นเผาซง่ึ เปน หลกั การทางวศิ วกรรม
เปน กระบวนการเดยี วกบั การทำใหเ กดิ ไอนำ้ ซง่ึ เปน กระบวนการเดยี วกบั หมอ ตม นำ้ ของชาวบา น
หมอตมไอน้ำของโจทกจะลดขั้นตอนกระบวนการเกิดไอน้ำไมได หมอตมไอน้ำของโจทกไมใช
สง่ิ แปลกใหม และไมม วี วิ ฒั นาการชน้ั สงู เหน็ วา นายทนิ โนเปน อาจารยค ณะครศุ าสตรอ ตุ สาหกรรม
สาขาเทคโนโลยอี ตุ สาหการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ แตไ มเ คยประกอบอาชพี
เพาะเหด็ ไมเ คยใชแ ละไมเ คยเกย่ี วขอ งกบั งานประดษิ ฐห มอ ตม ไอนำ้ สำหรบั ฆา เชอ้ื ในการเพาะเหด็
นายทินโนจึงไมใชพยานผูเชี่ยวชาญผูมีความรูความสามารถในการตรวจสอบสิ่งประดิษฐหรือ
การผลติ ทางดา นวศิ วกรรม อกี ทง้ั ขอ เทจ็ จรงิ ทน่ี ายทนิ โนเบกิ ความวา หมอ ตม ไอนำ้ และกระบวนการ
ทำใหเกิดไอน้ำมีมานานแลว หมอตมไอน้ำของโจทกเปนกระบวนการเดียวกับหมอตมน้ำของ
ชาวบา น ไมใ ชส ง่ิ แปลกใหมแ ละไมม วี วิ ฒั นาการชน้ั สงู และยงั เบกิ ความตอบทนายโจทกถ ามคา น

๑๖๖

อกี วา ลกั ษณะทอ ประสานภายในหมอ ตม ตามสทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐ เปน เทคโนโลยเี กา มมี านานแลว
ตง้ั แตม กี ารสรา งบอยเลอร แตจ ำปไ มไ ดน น้ั นายทนิ โน เบกิ ความอธบิ ายการทำงานโดยรวมกวา ง ๆ
ของหมอตมไอน้ำเพื่อการฆาเชื้อในการเพาะเห็ด ไมไดใชหลักวิชาการอธิบายเปรียบเทียบให
ชัดเจนถึงหมอตมไอน้ำทั่วไปและหมอตมน้ำของโจทกวาเหมือนกันในลักษณะการทำความรอน
แรงดันไอน้ำ และรายละเอียดของการทำงานอยางไร ที่อางวาเทคโนโลยีที่โจทกประดิษฐเปน
ของเกาที่มีมานานแลว แตนายทินโนไมมีหลักฐานสนับสนุน ในขณะที่หมอตมไอน้ำของโจทก
เปน การประดษิ ฐท แ่ี มจ ะมขี น้ั ตอนของการใชค วามรอ นกบั นำ้ เพอ่ื ทำใหเ กดิ ไอนำ้ และนำไปฆา เชอ้ื
ในขบวนการเพาะเห็ดซึ่งเปนขั้นตอนทั่วไป แตการประดิษฐหมอตมไอน้ำของโจทกนั้นสืบเนื่อง
มาจากหมอตมไอน้ำแบบเดิมมีขอเสียจากการใชพื้นที่ในการติดตั้ง พื้นที่สัมผัสกับเชื้อเพลิงจาก
หอ งไฟจงึ มนี อ ย ทำใหใ ชเ วลานานในการใหค วามรอ นแกห มอ ตม ไอนำ้ และเสยี พลงั งานมากเกนิ ไป
ดังนั้นในการประดิษฐหมอตมไอน้ำตามสิทธิบัตรจึงมีลักษณะพิเศษคือ มีทอขนาดครึ่งนิ้ว เชื่อม
ประสานตดิ กบั ตวั ถงั โดยวางเรยี งกนั เปน ชน้ั จำนวนยส่ี บิ ชน้ั มจี ำนวนหา ทอ ลกั ษณะการวางทอ
เปน รปู สเ่ี หลย่ี ม เพอ่ื เปน การเพม่ิ ปรมิ าณนำ้ ใหถ งึ และสรา งพน้ื ทส่ี มั ผสั ของเชอ้ื เพลงิ กบั ทอ ประสาน
ทำใหเกิดความรอนภายในหมอตมไอน้ำมากที่สุด เร็วกวาหมอตมไอน้ำแบบเดิมที่มีอยู จึงเปน
การประดษิ ฐใ หมท ม่ี ขี น้ั การประดษิ ฐท ส่ี งู ขน้ึ และประยกุ ตใ ชใ นอตุ สาหกรรมการเพาะเหด็ ได คำเบกิ
ความของนายทินโนไมมีน้ำหนักใหรับฟงหักลางพยานหลักฐานของโจทก ขอเท็จจริงยอมรับฟง
ไดว า สทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐห มอ ตม ไอนำ้ เลขท่ี ๒๙๗๓๔ ของโจทก สมบรู ณแ ละชอบดว ยกฎหมาย
อุทธรณของจำเลยฟงไมข ้ึน

คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยในประการตอไปมีวา จำเลยมีเจตนา
ละเมดิ สทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐข องโจทก โดยการขายหมอ ตม ไอนำ้ ทม่ี ลี กั ษณะเชน เดยี วกบั ผลติ ภณั ฑ
ตามสิทธิบัตรและตรงตามขอถือสิทธิ เพื่อหากำไรในทางการคาโดยไมไดรับอนุญาตหรือไม
เห็นวา ตามพยานหลักฐานที่โจทกนำสืบยืนยันถึงการประดิษฐหมอตมไอน้ำดานในของจำเลย
มกี ารประดษิ ฐใ นลกั ษณะทม่ี รี ปู ทรงกระบอกสเ่ี หลย่ี มเจาะรเู ปน แบบเครอ่ื งหมายบวกเพอ่ื ประกอบ
กบั ทอ ประสานตรงตามแบบอนั เปน สาระสำคญั ตามขอ ถอื สทิ ธิ ๒. ทร่ี ะบวุ า ทอ ประสานมลี กั ษณะ
การวางเรียงสลับดานกันเปนชั้น ๆ และถึงแมวาทอประสานของจำเลยแตละชั้นมี ๗ ทอ และมี
จำนวน ๑๓ ชน้ั ซง่ึ มไิ ดม กี ารระบใุ นขอ ถอื สทิ ธไิ วโ ดยเฉพาะเจาะจงในเรอ่ื งจำนวนชน้ั และจำนวนทอ
เชนวาก็ตาม แตลักษณะการวางทอประสานดังกลาวทําใหเกิดผลทํานองเดียวกับลักษณะของ
การประดิษฐที่ระบุไวในขอถือสิทธิขอ ๒ ตามความเห็นของนายถนอมศักดิ์ซึ่งเปนบุคคลที่มี
ความชํานาญในระดับสามัญในศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวของกับการประดิษฐ กรณีจึงอยูใน

๑๖๗

ขอบเขตของการประดิษฐตามขอถือสิทธิของโจทก สวนที่จำเลยอุทธรณวานายถนอมศักดิ์ไมได
ตรวจพิสูจนหมอตมไอน้ำที่อางวาละเมิดสิทธิบัตร เห็นแตภาพถายแลวกลับใหความเห็นในคดี
จึงเปนเพียงพยานบอกเลา ไมใชประจักษพยานที่ตรวจพิสูจนและเปรียบเทียบจากของจริง การ
ใหความเห็นของพยานเพียงแตใชคำวาพอจะสามารถใหความเห็นได ถือวายังไมปราศจาก
ขอ สงสยั วา จำเลยกระทำผดิ จรงิ นน้ั เหน็ วา นายถนอมศกั ดไ์ิ ดต รวจสอบขอ เทจ็ จรงิ จากพยานเอกสาร
ที่ปรากฏในสำนวนที่โจทกและจำเลยนำสืบแลวเบิกความโดยใหความเห็นตามความเชี่ยวชาญ
ตอศาล จงึ ไมใ ชเปนพยานบอกเลา แมน ายถนอมศักด์จิ ะมิไดลงมอื ตรวจสอบการทำงานหมอ ตม
ไอน้ำของโจทกและจำเลยก็ตาม แตจำเลยไมไดโตแ ยงไดอ ยา งชดั เจนวาการพิจารณาจากพยาน
เอกสารจะทำใหการใหความเห็นในฐานะผูเชี่ยวชาญบกพรองหรือไมถูกตองตรงตามเปนจริง
อยางไร ขออางในอุทธรณของจำเลยจึงไมมีน้ำหนัก ขอเท็จจริงจึงฟงวาจำเลยมีเจตนาละเมิด
สทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐข องโจทก โดยการขายหมอ ตม ไอนำ้ ทม่ี ลี กั ษณะเชน เดยี วกบั ผลติ ภณั ฑต าม
สทิ ธบิ ตั รและตรงตามขอ ถอื สทิ ธิ เพอ่ื หากำไรในทางการคา โดยไมไ ดร บั อนญุ าต อทุ ธรณข องจำเลย
ฟงไมข้นึ

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกใ นประการสดุ ทา ยวา สมควรลงโทษจำคกุ
และเพิ่มโทษปรับแกจำเลยหรือไม โจทกอุทธรณวา โจทกตองใชเวลากวา ๑๐ ป ในการคิดคน
การประดษิ ฐห มอ ตม นำ้ ตามสทิ ธบิ ตั ร และเสยี คา ใชจ า ยนบั แสนบาทในการคดิ คน และขอจดสทิ ธบิ ตั ร
ตอมาโจทกถูกละเมิดสิทธิบัตรจากผูอื่นหลายครั้ง โจทกตองเสียคาใชจายในการดำเนินคดีเปน
จำนวนมาก จำเลยกระทำผดิ โดยจงใจละเมดิ สทิ ธบิ ตั รของโจทกเ ปน การทำลายความคดิ และความ
จูงใจของผูประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ ซึ่งเปนประโยชนแกสวนรวม อีกทั้งทำใหโจทกเสียโอกาส
ในการคา ไดรับความเสียหายทั้งที่ผานมาและในอนาคต การที่โจทกลอซื้อสินคาจากจำเลย
ไดเ พยี ง ๑ เคร่อื ง เนอ่ื งจากสภาพการสบื หาจับกมุ กระทำไดเ พยี งลอ ซือ้ ครัง้ ละ ๑ เครือ่ ง เทา น้นั
แตจ ากหลกั ฐานทโ่ี จทกน ำสบื จำเลยจำหนา ยหมอ ตม ไอนำ้ ละเมดิ สทิ ธบิ ตั รของโจทกม าหลายครง้ั
และเปนจำนวนมาก ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางลงโทษเพียง
ปรับนัน้ เปน การลงโทษท่ีเบาเกินกวาพฤติการณแหง คดีไมเหมาะสมกับประโยชนทจ่ี ำเลยไดร ับ
กับความเสียหายของโจทก และทำใหผูละเมิดสิทธิบัตรรายอื่น ๆ ไมเกรงกลัวในการกระทำผิด
ตอ ไป ขอใหล งโทษจำคกุ และปรบั จำเลยใหเ หมาะสมแกค วามผดิ เหน็ วา กรณคี วามผดิ ในสทิ ธบิ ตั ร
เปนเรื่องของสิทธิและผลประโยชนอันเกิดแตการประดิษฐที่โจทกควรไดรับความคุมครองเพื่อที่
สามารถจะแสวงหาประโยชนไดแตเพียงผูเดียวในงานที่ตนไดคิดคนขึ้น ความเสียหายที่เกิดขึ้น
จึงเกี่ยวของกับผลประโยชนทางเศรษฐกิจเปนสำคัญ แตกตางไปจากการกออาชญากรรมอื่น ๆ

๑๖๘

ทก่ี ารกระทำกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกร า งกายและจติ ใจ ดงั นน้ั การลงโทษจำคกุ ในความผดิ ฐาน
ละเมดิ สทิ ธบิ ตั รนน้ั จงึ ตอ งคำนงึ ถงึ พฤตกิ ารณแ หง คดที ร่ี า ยแรงจากความจงใจในการกระทำละเมดิ
และผลกระทบในทางการคา ขายของโจทก ตามพฤตกิ ารณแ หง คดจี ำเลยประกอบกจิ การเกย่ี วกบั
การเพาะเห็ดและมีอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชในการเพาะเห็ดหลายชนิด หมอตมไอน้ำที่จำเลย
จำหนายก็มีหลายแบบหลายประเภท มิใชเฉพาะเจาะจงหรือมุงที่จะลอกเลียนการประดิษฐที่
ละเมิดสิทธิบัตรของโจทกเพียงผูเดียว อันแสดงใหเห็นถึงเจตนาของจำเลยที่มิไดรายแรงนัก ใน
ขณะเดียวกันโจทกไมอาจพิสูจนใหเห็นไดชัดเจนวาจำเลยกระทำละเมิดตอโจทกมาตั้งแตเมื่อใด
จำนวนเทาใด ทำใหเกิดความเสียหายตอโจทกมากนอยเพียงใด อันเพียงพอใหรับฟงไดวาการ
กระทำผิดของจำเลยสงผลกระทบตอการคาขายของโจทกอยางรายแรง ที่ศาลทรัพยสินทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศกลางลงโทษจำเลยเพียงโทษปรับนั้นเหมาะสมแกพฤติการณ
แหงคดีแลว แตที่ลงโทษปรับจำเลยเพียง ๖๐,๐๐๐ บาท นั้น เห็นวาเบาไป สมควรวางโทษปรับ
ใหเ หมาะสมแกพฤตกิ ารณแหง คดี อทุ ธรณข องโจทกฟง ข้ึนบางสวน

อนึ่ง ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาวา จำเลย
กระทำความผดิ ตามพระราชบญั ญตั สิ ทิ ธบิ ตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๖ (๑), ๘๕ โดยปรบั แตบ ท
กฎหมายมิไดระบุวรรค เห็นสมควรปรับเปน มาตรา ๘๕ ประกอบมาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง (๑)
ท่ถี กู ตอ ง

พพิ ากษาแกเ ปน วา จำเลยกระทำความผิดตามพระราชบญั ญตั ิสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๘๕ ประกอบมาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง (๑) ปรับ ๑๐๐,๐๐๐ บาท นอกจากที่แกใหเปนไป
ตามคำพพิ ากษาศาลทรพั ยส ินทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศกลาง.

(จกั รกฤษณ เจนเจษฎา - กรกันยา สุวรรณพานชิ - พิมลรตั น วรรธนะหทัย)

จันทรก ระพอ ตอ สุวรรณ สินธวถาวร - ยอ
ปรานี เสฐจนิ ตนิน - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ท่ีสุด

๑๖๙

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพิเศษท่ี ๗๓๘/๒๕๖๐ เปรูมาฮาน ซาเตลิท จายา

เอสดีเอน็ บีเอชดี โจทก

กรมทรัพยสินทางปญญา จำเลย

พ.ร.บ. สทิ ธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓

พ.ร.บ. สิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ บัญญัติใหผูทรงสิทธิบัตรตองเสีย
คา ธรรมเนยี มรายป เรม่ิ แตป ท ห่ี า ของอายสุ ทิ ธบิ ตั ร และตอ งชำระภายในหกสบิ วนั นบั แต
วันเริ่มตนระยะเวลาของปที่หานั้น และของทุก ๆ ปตอไป ถาผูทรงสิทธิบัตรไมชำระ
คา ธรรมเนยี มรายปภ ายในกำหนดเวลา ตอ งเสยี คา ธรรมเนยี มเพม่ิ รอ ยละสามสบิ ของเงนิ
คา ธรรมเนยี มรายป โดยตอ งชำระคา ธรรมเนยี มรายปพ รอ มทง้ั คา ธรรมเนยี มเพม่ิ ภายใน
หนง่ึ รอ ยยส่ี บิ วนั นบั แตว นั สน้ิ กำหนดเวลาชำระคา ธรรมเนยี มรายป เมอ่ื ครบกำหนดเวลา
ดังกลาวแลว ถาผูทรงสทิ ธบิ ตั รยังไมชำระคา ธรรมเนยี มรายปและคา ธรรมเนียมเพ่มิ ให
อธบิ ดที ำรายงานตอ คณะกรรมการเพอ่ื สง่ั เพกิ ถอนสทิ ธบิ ตั รนน้ั ในกรณที ผ่ี ทู รงสทิ ธบิ ตั ร
รองขอตอคณะกรรมการภายในหกสิบวันนับแตวันทราบคำสั่งเพิกถอนสิทธิบัตรวามี
เหตจุ ำเปน ไมอ าจชำระคา ธรรมเนยี มรายป และคา ธรรมเนยี มเพม่ิ ภายในกำหนดเวลาได
คณะกรรมการอาจขยายกำหนดเวลาหรอื เพกิ ถอนคำสง่ั เพกิ ถอนสทิ ธบิ ตั รนน้ั ตามทเ่ี หน็
สมควรกไ็ ด บทบญั ญตั ดิ งั กลา วกำหนดใหผ ทู รงสทิ ธบิ ตั รมหี นา ทต่ี อ งชำระคา ธรรมเนยี ม
รายปต ามกำหนดเวลา เพอ่ื การบรหิ ารจดั การระบบสทิ ธบิ ตั รทใ่ี หค วามคมุ ครองแกผ ทู รง
สิทธิบัตรในการมีสิทธิแตผูเดียวที่จะหวงกันมิใหผูอื่นใชสิทธินั้นตามที่กฎหมายกำหนด
ในชว่ั ระยะเวลาอนั มจี ำกดั ซง่ึ แมว า ระยะเวลาความคมุ ครองตามกฎหมายจะยงั ไมส น้ิ สดุ ลง
หากผูทรงสิทธิบัตรไมประสงคจะไดรับความคุมครองอีกตอไป หรือสิทธิบัตรนั้นไมกอ
ใหเ กดิ ประโยชนแ กผ ทู รงสทิ ธบิ ตั รแลว ผทู รงสทิ ธบิ ตั รกส็ ามารถหยดุ ชำระคา ธรรมเนยี ม
รายปไ ด อนั จะมผี ลใหส าธารณชนสามารถใชป ระโยชนจ ากการประดษิ ฐต ามสทิ ธบิ ตั รนน้ั ได
โดยปราศจากการหวงกัน จึงเปนการถวงดุลระหวางการใหความคุมครองประโยชน
ของผูทรงสิทธิบัตรกับประโยชนที่สาธารณชนจะไดรับ ผูทรงสิทธิบัตรจะปฏิบัติผิดไป
จากหลักเกณฑตามกฎหมายไดจึงมีขอยกเวนเฉพาะกรณีมีเหตุจำเปนเทานั้น แมวา
กฎหมายจะมไิ ดม นี ยิ ามวา เหตจุ ำเปน หมายถงึ เหตอุ ยา งไร แตก เ็ ขา ใจไดว า ตอ งเปน กรณี
มคี วามจำเปน ทไ่ี มอ าจกา วลว งได หรอื มคี วามขดั ขอ งซง่ึ มเี หตผุ ลอนั สมควร มใิ ชเ กดิ จาก

๑๗๐

ความเผอเรอ ไมเ อาใจใส หรอื ประมาทเลนิ เลอ การทต่ี วั แทนโจทกไ มช ำระคา ธรรมเนยี ม
รายปภายในเวลาที่กำหนด เพราะลงระบบการแจงเตือนผิดพลาด อันเกิดจากความ
เลินเลอเผอเรอของผูปฏิบัติงานยอมไมอาจอางเปนเหตุจำเปนใหโจทกสามารถปฏิบัติ
ผิดหลกั เกณฑต ามกฎหมายได

______________________________

โจทกฟอง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของคณะกรรมการสิทธิบัตร และใหจำเลยรับชำระ
คาธรรมเนยี มรายปจ ากโจทก

จำเลยใหการ ขอใหยกฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง
คาฤชาธรรมเนียมใหเปน พับ
โจทกอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา เมื่อครบกำหนดชำระ
คาธรรมเนียมรายป ปที่ ๑๐ ตัวแทนโจทกไมชำระคาธรรมเนียม หลังจากอธิบดีกรมทรัพยสิน
ทางปญญาทำรายงานตอคณะกรรมการสิทธิบัตรแลว คณะกรรมการสิทธิบัตรมีมติใหเพิกถอน
สทิ ธบิ ตั รทค่ี รบกำหนดชำระคา ธรรมเนยี ม จำเลยมหี นงั สอื แจง คำสง่ั ใหเ พกิ ถอนสทิ ธบิ ตั รใหต วั แทน
โจทกทราบ ตัวแทนโจทกยื่นคำรองขอขยายระยะเวลาหรือเพิกถอนคำสั่งเพิกถอนสิทธิบัตรตอ
คณะกรรมการสิทธิบัตร โดยแจงเหตุที่ไมสามารถชำระคาธรรมเนียมภายในเวลาที่กำหนดไดวา
ตวั แทนโจทกล งระบบการแจง เตอื นใหช ำระคา ธรรมเนยี มรายปผ ดิ พลาด คณะกรรมการสทิ ธบิ ตั ร
มมี ตไิ มอ นญุ าตขยายระยะเวลาการชำระคา ธรรมเนยี มรายปข องสทิ ธบิ ตั รเลขท่ี ๒๗๗๒๘ มปี ญ หา
ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกวา คำสั่งของคณะกรรมการสิทธิบัตรที่ไมอนุญาตใหขยาย
กำหนดเวลาหรอื เพกิ ถอนคำสง่ั เพกิ ถอนสทิ ธบิ ตั รของโจทกเ ปน คำสง่ั ทช่ี อบดว ยกฎหมายหรอื ไม
เห็นวา พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ บัญญัติใหผูทรงสิทธิบัตรตองเสีย
คา ธรรมเนยี มรายป เรม่ิ แตป ท ห่ี า ของอายสุ ทิ ธบิ ตั ร และตอ งชำระภายในหกสบิ วนั นบั แตว นั เรม่ิ ตน
ระยะเวลาของปที่หานั้นและของทุก ๆ ปตอไป ถาผูทรงสิทธิบัตรไมชำระคาธรรมเนียมรายป
ภายในกำหนดเวลา ตองเสียคาธรรมเนียมเพิ่มรอยละสามสิบของเงินคาธรรมเนียมรายป โดย
ตองชำระคาธรรมเนียมรายปพรอมทั้งคาธรรมเนียมเพิ่มภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้น
กำหนดเวลาชำระคาธรรมเนียมรายป เมื่อครบกำหนดเวลาดังกลาวแลว ถาผูทรงสิทธิบัตรยัง

๑๗๑

ไมชำระคาธรรมเนียมรายปและคาธรรมเนียมเพิ่ม ใหอธิบดีทำรายงานตอคณะกรรมการเพื่อสั่ง
เพิกถอนสิทธิบัตรนั้น ในกรณีที่ผูทรงสิทธิบัตรรองขอตอคณะกรรมการภายในหกสิบวันนับแต
วนั ทราบคำสง่ั เพกิ ถอนสทิ ธบิ ตั รวา มเี หตจุ ำเปน ไมอ าจชำระคา ธรรมเนยี มรายปแ ละคา ธรรมเนยี ม
เพิ่มภายในกำหนดเวลาได คณะกรรมการอาจขยายกำหนดเวลาหรือเพิกถอนคำสั่งเพิกถอน
สิทธิบัตรนั้นตามที่เห็นสมควรก็ได บทบัญญัติดังกลาวกำหนดใหผูทรงสิทธิบัตรมีหนาที่ตอง
ชำระคา ธรรมเนยี มรายปต ามกำหนดเวลา เพอ่ื การบรหิ ารจดั การระบบสทิ ธบิ ตั รทใ่ี หค วามคมุ ครอง
แกผูทรงสิทธิบัตรในการมีสิทธิแตผูเดียวที่จะหวงกันมิใหผูอื่นใชสิทธินั้นตามที่กฎหมายกำหนด
ในชั่วระยะเวลาอันมีจำกัด ซึ่งแมวาระยะเวลาความคุมครองตามกฎหมายจะยังไมสิ้นสุดลง
หากผูทรงสิทธิบัตรไมประสงคจะไดรับความคุมครองอีกตอไป หรือสิทธิบัตรนั้นไมกอใหเกิด
ประโยชนแกผูทรงสิทธิบัตรแลว ผูทรงสิทธิบัตรก็สามารถหยุดชำระคาธรรมเนียมรายปได
อนั จะมผี ลใหส าธารณชนสามารถใชป ระโยชนจ ากการประดษิ ฐต ามสทิ ธบิ ตั รนน้ั ไดโ ดยปราศจาก
การหวงกัน ระบบดังกลาวจึงเปนการถวงดุลระหวางการใหความคุมครองประโยชนของผูทรง
สิทธิบัตรกับประโยชนที่สาธารณชนจะไดรับ ผูทรงสิทธิบัตรจะปฏิบัติผิดไปจากหลักเกณฑตาม
กฎหมายไดจึงมีขอยกเวนเฉพาะกรณีมีเหตุจำเปนเทานั้น ซึ่งแมวากฎหมายจะมิไดมีนิยามวา
เหตจุ ำเปน หมายถงึ เหตอุ ยา งไรบา ง แตก เ็ ขา ใจไดว า ตอ งเปน กรณมี คี วามจำเปน ทไ่ี มอ าจกา วลว งได
หรือมีความขัดของซึ่งมีเหตุผลอันสมควร มิใชเกิดจากความเผอเรอ ไมเอาใจใส หรือประมาท
เลินเลอ การที่ตัวแทนโจทกไมชำระคาธรรมเนียมรายปภายในเวลาที่กำหนด เพราะลงระบบ
การแจงเตือนผิดพลาด ตามที่ผูรับมอบอำนาจโจทกเบิกความตอบคำถามของศาลวาระบบ
การแจงเตือนที่ใชในการบันทึกขอมูลเวลาในการชำระคาธรรมเนียมรายปซึ่งใชโปรแกรม
คอมพวิ เตอรน น้ั ไมไ ดม ปี ญ หา แตเ กดิ ปญ หาจากการลงเวลาผดิ พลาด อนั เปน การแสดงวา สาเหตุ
ที่โจทกไมชำระคาธรรมเนียมรายป ปที่ ๑๐ ภายในกำหนดเวลาเกิดจากความเลินเลอเผอเรอ
ของผูปฏิบัติงาน หาใชเพราะความผิดพลาดของระบบที่ไมอาจควบคุมไดดังที่โจทกกลาวอางไม
ประกอบกบั เมอ่ื คำนงึ ถงึ การทโ่ี จทกเ ปน นติ บิ คุ คลซง่ึ เปน เจา ของสทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐท เ่ี กย่ี วขอ ง
กับการกอสรางจำนวนมากในหลายประเทศรวมทั้งในประเทศไทย และโจทกมีตัวแทนสิทธิบัตร
เปนผูดูแลการจดทะเบียน การคุมครองสิทธิบัตร และการชำระคาธรรมเนียมตาง ๆ แทนโจทก
โจทกและตวั แทนสิทธิบัตรของโจทกยอมทราบและเขา ใจระบบการชำระคา ธรรมเนยี มรายปเปน
อยางดี หากโจทกและตัวแทนสิทธิบัตรตระหนักในคุณคาความสำคัญของสิทธิบัตรที่ไดรับการ
จดทะเบยี น ยอ มตอ งใชค วามระมดั ระวงั เอาใจใสต รวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑท ก่ี ฎหมาย
บัญญัติไวอยางเครงครัด แตโจทกและตัวแทนสิทธิบัตรกลับปราศจากความระมัดระวังเอาใจใส

๑๗๒

ดังกลาว การลงเวลาผิดพลาดอันเกิดจากความเลินเลอเผอเรอของผูปฏิบัติงานยอมไมอาจอาง
เปน เหตจุ ำเปน ใหโ จทกส ามารถปฏบิ ตั ผิ ดิ หลกั เกณฑต ามกฎหมายได แมต วั แทนโจทกแ ละโจทก
จะไมม เี จตนาไมช ำระคา ธรรมเนยี มกต็ าม คำสง่ั ของคณะกรรมการสทิ ธบิ ตั รทไ่ี มอ นญุ าตใหข ยาย
กำหนดเวลาหรอื เพกิ ถอนคำสง่ั เพกิ ถอนสทิ ธบิ ตั รของโจทกจ งึ เปน คำสง่ั ทช่ี อบดว ยกฎหมายแลว
ทศ่ี าลทรัพยสนิ ทางปญ ญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉยั วา โจทกจ งใจละเลยไมน ำพา
ตอ การชำระคา ธรรมเนยี ม และเหน็ วา คณะกรรมการสทิ ธบิ ตั รมคี ำสง่ั โดยชอบแลว นน้ั ศาลอทุ ธรณ
คดชี ำนญั พิเศษเห็นพองดว ย อุทธรณข องโจทกฟง ไมขึ้น

พิพากษายนื คาฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณใหเ ปน พับ.

(กรกนั ยา สวุ รรณพานิช - นพรัตน ชลวิทย - วราคมน เล้ียงพนั ธ)ุ

ณลนิ ี วงศน กุ ลู - ยอ
สุจินต เจนพาณชิ พงศ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ท่ีสุด

๑๗๓

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๑๐๙๓/๒๕๖๑ บริษทั สยามอตุ สาหกรรมยิปซัม

(สระบุร)ี จำกัด โจทก

กรมทรพั ยส ินทางปญ ญา

กบั พวก จำเลย

พ.ร.บ. สิทธิบตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓

คณะกรรมการสทิ ธบิ ตั รพจิ ารณาเหตทุ โ่ี จทกอ า ง คอื เจา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบงาน
สิทธิบัตรไดลาออกจากบริษัทโจทก โจทกมีจดหมายขอผอนผันการชำระคาธรรมเนียม
รายปเ กนิ กำหนดตอ สำนกั สทิ ธบิ ตั ร และรบี สรรหาบคุ ลากรมาดแู ลงานตอ จากเจา หนา ท่ี
คนเดิมโดยไมชักชา รวมทั้งโจทกเคยชำระคาธรรมเนียมรายป ปที่ ๕ ถึงปที่ ๙ ในคราว
เดยี วกนั ไมม เี หตผุ ลทโ่ี จทกจ ะไมช ำระคา ธรรมเนยี มรายป ปท ่ี ๑๐ จงึ ถอื วา คณะกรรมการ
สิทธบิ ัตรไดพจิ ารณาเหตจุ ำเปน ท่ไี มอ าจชำระคาธรรมเนยี มรายปและเงินคา ธรรมเนยี ม
เพม่ิ ภายในกำหนดระยะเวลาไดต าม พ.ร.บ. สทิ ธบิ ตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ วรรคหา แลว
เพียงแตคณะกรรมการสิทธิบัตรเห็นวาขออางของโจทกดังกลาวรับฟงไมได เพราะ
ถือวาโจทกมีความรูความเขาใจในการชำระคาฤชาธรรมเนียมรายปทั้งจากการเคย
ชำระคาธรรมเนียมรายป ปที่ ๕ ถึงปที่ ๙ มาแลว และจากตัวอยางการนับวันชำระ
คาธรรมเนียมรายปและตารางอัตราคาธรรมเนียมรายปที่จำเลยที่ ๑ สงไปพรอมกับ
หนังสือสงหนังสือสำคัญการจดทะเบียน การพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิบัตรเปน
การพจิ ารณาเปน รายกรณไี ป และไมป รากฏวา คณะกรรมการสทิ ธบิ ตั รไดว างหลกั เกณฑว า
หากผทู รงสทิ ธบิ ตั รไดเ คยชำระคา ธรรมเนยี มรายปม ากอ นแลว หากมไิ ดช ำระคา ธรรมเนยี ม
รายปในปถัดมาภายในกำหนดเวลาตามกฎหมาย อาจอางเปนเหตุจำเปนใด ๆ ตอ
คณะกรรมการสทิ ธิบตั รเพ่อื ขยายระยะเวลาไดดังทโี่ จทกเ ขาใจ

______________________________

โจทกฟองขอใหศาลเพิกถอนมติและคำสั่งในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๘
ตลุ าคม ๒๕๕๘ ของจำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๑๔ ซง่ึ ไมอ นญุ าตใหข ยายระยะเวลาการชำระคา ธรรมเนยี ม
รายปใหแกโจทกสำหรับสิทธิบัตรการประดิษฐตามสิทธิบัตรเลขที่ ๐๕๐๑๐๐๐๒๓๙ (๓๖๔๕๙)
กบั ใหจ ำเลยท่ี ๑ รบั ชำระคา ธรรมเนยี มรายปพ รอ มทง้ั คา ธรรมเนยี มเพม่ิ ตามกฎหมายในปท ่ี ๑๐
สำหรบั สทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐต ามสทิ ธบิ ตั รเลขท่ี ๐๕๐๑๐๐๐๒๓๙ (๓๖๔๕๙) จากโจทกห รอื ตวั แทน
ของโจทก

๑๗๔

จำเลยทงั้ สิบสีใ่ หการขอใหย กฟอ ง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษายกฟอ ง คา ธรรมเนยี ม
ในชัน้ น้ีใหเ ปนพับ
โจทกอ ุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา มปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกว า คำวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการสทิ ธบิ ตั ร
ในการประชมุ ครง้ั ท่ี ๙/๒๕๕๘ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ทไ่ี มอ นญุ าตใหข ยายระยะเวลาการ
ชำระคา ธรรมเนยี มรายป ชอบดว ยกฎหมายหรอื ไม โดยโจทกอ ทุ ธรณว า คณะกรรมการสทิ ธบิ ตั ร
ซง่ึ มจี ำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๑๔ ไมไ ดพ จิ ารณาถงึ เหตผุ ลและความจำเปน ทเ่ี กดิ ขน้ึ แกโ จทกอ นั เปน เหตุ
ใหไมสามารถชำระคาธรรมเนียมสิทธิบัตรรายปและเงินเพิ่มได จึงเปนการพิจารณาและวินิจฉัย
ที่ไมชอบดวยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ วรรคหา และคำวินิจฉัยของ
คณะกรรมการสิทธิบัตรเปนการวางหลักเกณฑวา หากผูทรงสิทธิบัตรไดเคยชำระคาธรรมเนียม
รายปม ากอ นแลว หากมิไดชำระคา ธรรมเนียมรายปใ นปถ ดั มาภายในกำหนดเวลาตามกฎหมาย
ไมอาจอางเหตุจำเปนใด ๆ ตอคณะกรรมการสิทธิบัตรเพื่อขยายระยะเวลาได เปนการขัดกับ
เจตนารมณข องกฎหมายสทิ ธบิ ตั ร เหน็ วา ตามสำเนารายงานการประชมุ คณะกรรมการสทิ ธบิ ตั ร
ครง้ั ท่ี ๙/๒๕๕๘ ปรากฏวา คณะกรรมการสทิ ธิบตั รไดพิจารณาเหตุทีโ่ จทกอ างแลวคอื เจาหนา ท่ี
ผูรับผิดชอบงานสิทธิบัตรไดลาออกจากบริษัทโจทก โจทกมีจดหมายขอผอนผันการชำระ
คา ธรรมเนยี มรายปเ กนิ กำหนดตอ สำนกั สทิ ธบิ ตั ร และรบี สรรหาบคุ ลากรมาดแู ลงานตอ จากเจา หนา ท่ี
คนเดิมโดยไมช กั ชา รวมท้งั โจทกเคยชำระคา ธรรมเนียมรายป ปท ี่ ๕ ถงึ ปท่ี ๙ ในคราวเดยี วกัน
ไมมีเหตุผลที่โจทกจะไมชำระคาธรรมเนียมรายป ปที่ ๑๐ จึงถือวาคณะกรรมการสิทธิบัตรได
พิจารณาเหตุจำเปนที่ไมอาจชำระคาธรรมเนียมรายปและเงินคาธรรมเนียมเพิ่มภายในกำหนด
ระยะเวลาไดตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ วรรคหา แลว เพียงแต
คณะกรรมการสิทธิบัตรเห็นวาขออางของโจทกดังกลาวรับฟงไมได เพราะถือวาโจทกมีความรู
ความเขา ใจในการชำระคา ธรรมเนยี มรายป ทง้ั จากการเคยชำระคา ธรรมเนยี มรายป ปท ่ี ๕ ถงึ ป
ที่ ๙ มาแลว และจากตัวอยางการนับวันชำระคาธรรมเนียมรายปและตารางอัตราคาธรรมเนียม
รายปซึ่งจำเลยที่ ๑ สงไปพรอมกับหนังสือสงหนังสือสำคัญการจดทะเบียน การพิจารณาของ
คณะกรรมการสิทธิบัตรดังกลาวเปนการพิจารณารายกรณีไป โดยกรณีนี้เปนการพิจารณาจาก
ขอเท็จจริงตามที่โจทกกลาวอาง และไมปรากฏวาคณะกรรมการสิทธิบัตรไดวางหลักเกณฑตาม
ที่โจทกเขาใจ อุทธรณขอนี้ฟงไมขึ้น สวนที่โจทกอุทธรณโตแยงขอเท็จจริงทำนองวาโจทกไมได

๑๗๕

จงใจละเลย เพิกเฉย หรือละทิ้งสิทธิของโจทก เนื่องจากโจทกเปนองคกรขนาดใหญ หนวยงาน
ภายในแตละสวนทำหนาที่รับผิดชอบแยกตางหากจากกัน เมื่อถึงกำหนดระยะเวลาที่โจทกตอง
ชำระคา ธรรมเนยี มรายป ปท ่ี ๑๐ โจทกข าดแคลนบคุ ลากรทม่ี หี นา ทโ่ี ดยตรงดแู ลรบั ผดิ ชอบดา น
กฎหมายรวมทั้งดูแลและประสานงานกับบริษัทวิดง แอนด พารทเนอรส (ประเทศไทย) จำกัด
ซ่งึ เปนตัวแทนและผูรับมอบอำนาจของโจทก โจทกไ มไ ดเ ปนผูเคยชำระคา ธรรมเนียมรายปในป
ปกตหิ รอื เขา ใจเกย่ี วกบั การชำระคา ธรรมเนยี มรายปเ ปน อยา งดเี พราะโจทกเ พง่ิ ชำระคา ธรรมเนยี ม
เพื่อตออายุสิทธิบัตรรายปเปนครั้งแรก อยางไรก็ดี เมื่อโจทกตรวจพบวาโจทกยังมิไดชำระ
คา ธรรมเนยี มรายป ปท ่ี ๑๐ โจทกร บี ทำจดหมายขอผอ นผนั ไปยงั ผอู ำนวยการสำนกั สทิ ธบิ ตั ร ตาม
สำเนาหนงั สอื ฉบบั ลงวนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๘ มไิ ดเ พง่ิ ยน่ื ขอขยายระยะเวลาชำระคา ธรรมเนยี ม
ในวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๘ ซึ่งนับรวมระยะเวลากวา ๑ ป ๘ เดือนเศษ ตามที่ศาลทรัพยสิน
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยนั้น เห็นวา ตามสำเนาหนังสือมอบอำนาจ
โจทกม อบอำนาจใหน างลกั ษมี บรษิ ทั วดิ ง แอนด พารท เนอรส (ประเทศไทย) จำกดั เปน ตวั แทน
และผูรับมอบอำนาจในการยื่นคำขอรับสิทธิบัตร ใหยื่นคำรองคัดคานและคำอุทธรณ รวมทั้งให
ชำระคา ธรรมเนยี มทง้ั หลายทง้ั ปวง การตดิ ตอ ระหวา งจำเลยท่ี ๑ กบั โจทก จงึ กระทำผา นนางลกั ษมี
ทง้ั สน้ิ ดงั ปรากฏจากหนงั สอื แจง ใหช ำระคา ธรรมเนยี มประกาศโฆษณาคำขอรบั สทิ ธบิ ตั ร หนงั สอื
แจง ใหช ำระคา จดทะเบยี นและออกสทิ ธบิ ตั ร หนงั สอื นำสง หนงั สอื สำคญั การจดทะเบยี นสทิ ธบิ ตั ร
ตามสำเนาหนังสือสำนักสิทธิบัตร กับหนังสือแจงคำสั่งของคณะกรรมการสิทธิบัตร ตามสำเนา
หนังสือกรมทรัพยสินทางปญญา นอกจากนี้ตามบัญชีสิทธิบัตรที่ไมไดชำระคาธรรมเนียมตาม
ระยะเวลาทก่ี ำหนด ๘๘ รายการ ประจำเดอื นเมษายน ๒๕๕๘ แนบทา ยบนั ทกึ ขอ ความของกองสทิ ธบิ ตั ร
ชอ่ื และทอ่ี ยู เปน ชอ่ื ของนางลกั ษมี และทอ่ี ยขู องบรษิ ทั วดิ ง แอนด พารท เนอรส (ประเทศไทย) จำกดั
มิใชชื่อและที่อยูของโจทก ดังนั้น ระหวางนางลักษมี หรือบริษัทวิดง แอนด พารทเนอรส
(ประเทศไทย) จำกดั กับโจทก ตองติดตอ ส่อื สารกนั ในเร่ืองตาง ๆ ท่เี กี่ยวกบั สิทธิบัตรของโจทก
โจทกในฐานะผูทรงสิทธิยอมทราบและเขาใจดีในเรื่องหนาที่ของการชำระคาธรรมเนียมรายป
และเนื่องจากการชำระคาธรรมเนียมรายปดังกลาวมีความสำคัญตอการสิ้นอายุของสิทธิบัตร
ตามพฤตกิ ารณจ งึ นา เชอ่ื วา นางลกั ษมี หรอื บรษิ ทั วดิ ง แอนด พารท เนอรส (ประเทศไทย) จำกดั
ไดแจงกำหนดเวลาชำระคาธรรมเนียมรายป ปที่ ๑๐ หรือเตือนใหโจทกทราบเรื่องดังกลาวแลว
เมือ่ โจทกม ไิ ดช ำระคาธรรมเนียมรายป ปท ่ี ๑๐ ภายในระยะเวลาทก่ี ำหนดจึงเปน ความบกพรอง
ของโจทก สวนปญหาการขาดบุคลากรที่ดูแลเรื่องสิทธิบัตรเปนปญหาในเรื่องการบริหารจัดการ
ภายในหนวยงานของโจทก ยังไมมีน้ำหนักเพียงพอที่จะรับฟงวาเปนเหตุจำเปนอันจะอางตอ

๑๗๖

คณะกรรมการสทิ ธบิ ตั รได ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง ไดว า โจทกล ะเลยไมช ำระคา ธรรมเนยี มรายป ปท ่ี ๑๐
ภายในกำหนดระยะเวลาตามกฎหมายโดยไมม เี หตจุ ำเปน อทุ ธรณข อ นข้ี องโจทกฟ ง ไมข น้ึ เชน กนั
ดงั นน้ั ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษายกฟอ งนน้ั ศาลอทุ ธรณ
คดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย

พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนยี มในชั้นอุทธรณใหเปน พบั .
(สุรพล คงลาภ - ไชยยศ วรนนั ทศ ริ ิ - จุมพล ภญิ โญสนิ วฒั น)

จันทรกระพอ ตอ สวุ รรณ สินธถาวร - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงท่ีสุด

๑๗๗

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพิเศษท่ี ๑๑๙๗/๒๕๖๑ บรษิ ทั สามมิตร กรนี พาวเวอร
จำกัด โจทก
บรษิ ัทวอี ารพี เอน็ จิเนียรงิ่ แอนด
เทรดดง้ิ จำกัด กับพวก จำเลย

พ.ร.บ. สิทธบิ ตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕, ๖, ๕๔, ๕๖, ๖๔

งานที่ปรากฏอยูแลวตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๖ (๑) หมายถึง
การประดษิ ฐท ม่ี หี รอื ใชแ พรห ลายอยแู ลว ในราชอาณาจกั รกอ นวนั ขอรบั สทิ ธบิ ตั ร และ ๖ (๒)
หมายถึง การประดิษฐที่ไดมีการเปดเผยสาระสำคัญหรือรายละเอียดในเอกสารหรือ
สิ่งพิมพที่เผยแพรอยูแลวไมวาในหรือนอกราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร และ
ไมวาการเปดเผยนั้นจะกระทำโดยเอกสาร สิ่งพิมพ การนำออกแสดงหรือการเปดเผย
ตอสาธารณชนดวยประการใด ๆ หนังสือ 4WHELL ซึ่งมีภาพรถยนตติดอุปกรณตาม
สทิ ธบิ ตั รของโจทก โดยแสดงใหเ หน็ ถงึ การวางถงั กา ซและการตดิ ตง้ั ถงั กา ซเขา กบั รถยนต
ถอื เปน หลกั ฐานวา สิง่ ประดิษฐต ามสทิ ธบิ ตั รโจทกม ีแพรห ลายในราชอาณาจกั รกอนวนั
ขอรบั สทิ ธบิ ตั ร โดยพจิ ารณาความแพรห ลายนจ้ี ากลกั ษณะของการมรี ถยนตต ดิ ตง้ั ถงั กา ซ
ตามสทิ ธบิ ตั รโจทก และสาธารณชนมโี อกาสทจ่ี ะไดร เู หน็ ในวงกวา งพอสมควร เพราะการ
ลงพมิ พใ นหนงั สอื เชน นเ้ี ชอ่ื ไดว า สาธารณชนสามารถทราบถงึ การมอี ยขู องสทิ ธบิ ตั รโจทก
แมโจทกเองจะเปนผูยินยอมใหมีการเปดเผยสิทธิบัตรในลักษณะดังกลาวก็ทำใหการ
ประดิษฐต กเปน งานทีป่ รากฏอยูแ ลวเชนกัน สิทธิบตั รโจทกจึงไมใ ชก ารประดิษฐข้ึนใหม

การออกแบบผลติ ภณั ฑเ ปน ความคดิ สรา งสรรคเ กย่ี วกบั การทำใหร ปู รา งลกั ษณะ
ภายนอกของผลติ ภณั ฑเ กดิ ความสวยงามเพอ่ื ดงึ ดดู ความสนใจของผบู รโิ ภค ตา งจากการ
ประดิษฐที่เปน ความคดิ สรา งสรรคเกย่ี วกบั ลกั ษณะทางเทคนคิ หรือลกั ษณะเก่ยี วกบั การ
ทำงาน มงุ ทก่ี ารใชป ระโยชนก ารทำหนา ทต่ี า ง ๆ ซง่ึ เปน องคป ระกอบภายในของผลติ ภณั ฑ
สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑของโจทกมีขอถือสิทธิเปนรูปภาพ โดยไมไดอธิบายวา
มคี วามสวยงามภายนอกอยา งไร การพจิ ารณาขอ ถอื สทิ ธเิ ชน นจ้ี งึ ตอ งพจิ ารณาจากรปู ภาพ
ตาง ๆ ดวยความระมัดระวัง ซึ่งไมพบวามีความสวยงามแตกตางไปจากสิ่งประดิษฐที่มี
อยเู ดมิ อยา งไร ในทางกลบั กนั สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑข องโจทกก ลบั มงุ เนน ถงึ
ประโยชนใ นการใชง านเพยี งอยา งเดยี ว สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑโ จทกท ง้ั ๕ ฉบบั
จึงออกโดยไมช อบดว ยกฎหมาย

_____________________________

๑๗๘

โจทกฟ อ ง ขอใหบ งั คบั จำเลยทง้ั สองใชค า เสยี หายแกโ จทก ๑๘๘,๘๖๐,๙๕๐ บาท พรอ ม
ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันฟองจนกวาจำเลยทั้งสองจะยุติการละเมิด ใหจำเลย
ทั้งสองใชคาเสียหายแกโจทกเดือนละ ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวา
จำเลยทั้งสองจะยุติการละเมิด หามจำเลยทั้งสองผลิต ใช ขาย เสนอขาย มีไวเพื่อขาย นำเขา
สงออกและใหบริการติดตั้งอุปกรณติดตั้งถังบรรจุกาซซีเอ็นจีสำหรับรถยนตที่เปนการละเมิด
สิทธิบัตรการประดิษฐและหรือสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑโจทก ใหจำเลยทั้งสองทำลาย
สนิ คา ทอ่ี ยใู นความครอบครองอนั เปน การละเมดิ สทิ ธบิ ตั รโจทกห รอื ดำเนนิ การอยา งอน่ื เพอ่ื ปอ งกนั
มิใหม ีการนำสินคา ดังกลา วออกจำหนายอกี

จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ใหการในทำนองเดียวกันและจำเลยที่ ๑ ฟองแยง ขอใหยกฟอง
และใหพิพากษาวา สิทธิบัตรการประดิษฐ เลขที่สิทธิบัตร ๓๔๔๖๒ และสิทธิบัตรการออกแบบ
ผลติ ภณั ฑ เลขทีส่ ทิ ธิบตั ร ๓๘๔๕๑, ๓๘๔๕๒, ๓๒๓๘๔, ๓๒๑๖๖ และ ๓๒๑๖๗ เปน สิทธบิ ตั ร
ที่ไมสมบูรณออกโดยไมชอบดวยกฎหมาย ขอใหเพิกถอนสิทธิบัตรดังกลาว และหามโจทกเขา
ยงุ เกย่ี วอนั เปน การรบกวนสทิ ธิ รวมถงึ กระทำการใด ๆ อนั เปน การขดั ขวางการดำเนนิ ธรุ กจิ ของ
จำเลยที่ ๑ อันสบื เนอื่ งหรอื อา งอิงตามสทิ ธิบตั รพิพาท

โจทกใหก ารแกฟ องแยง ขอใหยกฟองแยง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหจำเลยทั้งสอง
รวมกันใชคาเสียหาย ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน
ดังกลาวนับแตวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๗) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก
ใหจ ำเลยทง้ั สองรว มกนั ใชค า เสยี หายอตั ราเดอื นละ ๕๐๐,๐๐๐ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไป
จนกวาจำเลยทั้งสองจะยุติการละเมิดฝาฝนสิทธิบัตรโจทก หามจำเลยทั้งสองผลิต ใช ขายเสนอ
ขาย มีไวเพื่อขาย นำเขา สงออกและใหบริการติดตั้งอุปกรณติดตั้งถังบรรจุกาซซีเอ็นจีสำหรับ
รถยนตท เ่ี ปน การฝา ฝน สทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐแ ละหรอื สทิ ธกิ ารออกแบบผลติ ภณั ฑโ จทก ใหจ ำเลย
ทง้ั สองทำลายสนิ คา ทอ่ี ยใู นความครอบครองอนั เปน การละเมดิ ฝา ฝน สทิ ธบิ ตั รโจทกเ พอ่ื ปอ งกนั ไมใ ห
มกี ารนำสนิ คา ดงั กลา วออกจำหนา ยอกี กบั ใหจ ำเลยทง้ั สองรว มกนั ใชค า ฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก
เฉพาะคาขึ้นศาลใหใชแทนเทาที่โจทกชนะคดี โดยกำหนดคาทนายความ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ยกฟอ งแยงจำเลยที่ ๑ คา ฤชาธรรมเนยี มในสว นฟอ งแยง ใหเปนพบั คำขออ่นื นอกจากนใ้ี หยก
จำเลยท้ังสองอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง เปน ยตุ ใิ นเบอ้ื งตน ตามทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั วา โจทกเ ปน ผทู รงสทิ ธบิ ตั ร

๑๗๙

การประดษิ ฐ เลขทส่ี ทิ ธบิ ตั ร ๓๔๔๖๒ ขอรบั สทิ ธบิ ตั รเมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ สงิ หาคม ๒๕๕๒ และสทิ ธบิ ตั ร
การออกแบบผลิตภัณฑ เลขที่สิทธิบัตร ๓๘๔๕๑,๓๘๔๕๒, ๓๒๓๘๔, ๓๒๑๖๖ และ ๓๒๑๖๗
ขอรบั สทิ ธบิ ตั รเมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๒ และ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๒ ตามลำดบั จำเลยท่ี ๑
เปนเจาของอนุสิทธิบัตร เลขที่อนุสิทธิบัตร ๗๘๗๕ หนังสือ 4WHEELS มีภาพรถยนตโจทก
ทม่ี กี ารติดตง้ั ถงั กาซอยูจริง

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยทง้ั สองวา สทิ ธบิ ตั รโจทกด งั กลา วขา งตน
เปนสิทธิบัตรที่ไมสมบูรณ มีเหตุเพิกถอนตามกฎหมายหรือไม โดยจำเลยทั้งสองอุทธรณใน
ประเดน็ แรกวา สทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐ เลขท่ี ๓๔๔๖๒ ของโจทกไ มเ ปน การประดษิ ฐข น้ึ ใหม ศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยเรื่องความใหมของสิทธิบัตรการ
ประดิษฐ เลขที่สิทธิบัตร ๓๔๔๖๒ ไวหลายเหตุผล ในที่นี้เห็นควรหยิบยกอุทธรณจำเลยทั้งสอง
ขึ้นพิจารณาวา สิ่งประดิษฐตามสิทธิบัตรโจทกเปนงานที่ปรากฏอยูแลวตามขอมูลในหนังสือ
4WHEELS หรือไม เห็นวา งานที่ปรากฏอยูแลวตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๖ (๑) หมายถึง การประดิษฐที่มีหรือใชแพรหลายอยูแลวในราชอาณาจักรกอนวันขอรับ
สทิ ธบิ ตั ร และมาตรา ๖ (๒) หมายถงึ การประดษิ ฐท ไ่ี ดม กี ารเปด เผยสาระสำคญั หรอื รายละเอยี ด
ในเอกสารหรือสิ่งพิมพที่เผยแพรอยูแลวไมวาในหรือนอกราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร
และไมวาการเปดเผยนั้นจะกระทำโดยเอกสาร สิ่งพิมพ การนำออกแสดง หรือการเปดเผยตอ
สาธารณชนดว ยประการใด ๆ ขอ ทถ่ี กเถยี งประการหนง่ึ คอื หนงั สอื 4WHEELS พมิ พข ายกอ น
วนั ทโ่ี จทกข อรบั สทิ ธิบตั ร คอื วนั ที่ ๒๕ สงิ หาคม ๒๕๕๒ หรอื ไม โดยจำเลยทง้ั สองมีจำเลยท่ี ๒
มาเบิกความวา หนังสือ 4WHEELS ปที่ ๑๘ ฉบับที่ ๒๑๑ ประจำเดือนสิงหาคม ๒๕๕๒ พิมพ
ขายกอ นวนั ทโ่ี จทกข อรบั สทิ ธบิ ตั ร แมจ ะมกี ารถามคา นพยานปากนแ้ี ตก ไ็ มท ำใหค วามนา เชอ่ื ถอื
ของคำเบกิ ความลดลงไป ในขณะทโ่ี จทกซ ง่ึ เปน ฝา ยสบื พยานตอ จากจำเลยทง้ั สองกลบั ไมม พี ยาน
ปากใดเบกิ ความถงึ เรอ่ื งนโ้ี ดยตรง นายสรุ นิ ทร ผรู บั มอบอำนาจโจทก กไ็ มเ บกิ ความในเรอ่ื งนแ้ี ละ
ไมอาจตอบคำถามคานของทนายจำเลยทั้งสองไดอยางชัดเจน คำแกอุทธรณโจทกในขอนี้ก็มี
ลักษณะเปนการชี้ชวนใหสงสัยวา วันที่พิมพขายหนังสือดังกลาวเปนจริงตามที่จำเลยทั้งสอง
นำสบื หรอื ไม หาไดย นื ยนั ชดั เจนวา ไมใ ชว นั ทจ่ี ำเลยทง้ั สองนำสบื นอกจากนเ้ี มอ่ื พจิ ารณาหนงั สอื
ดงั กลา วหนา ๑๒๘ ซง่ึ เปน “เกมสท า ยเลม ” ประจำเดอื นสงิ หาคม ๒๕๕๒ มขี อ ความวา (สง คำตอบ
ภายในวนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๕๒) ยง่ิ ทำใหพ ยานหลกั ฐานจำเลยทง้ั สองมนี ำ้ หนกั นา เชอ่ื ถอื กวา
พยานหลักฐานโจทก รับฟงวา หนังสือ 4WHEELS พิมพขายกอนวันที่โจทกขอรับสิทธิบัตร สำหรับ
ขอถกเถียงที่ควรพิจารณาตอมา คือ หนังสือ 4WHEELS ทำใหสิ่งประดิษฐของโจทกเปนงานที่

๑๘๐

ปรากฏอยูแลวตามมาตรา ๖ (๑) หรือ (๒) หรือไม ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางพิจารณาเอกสารดังกลาวตามลักษณะของเจตนาในการเผยแพรเอกสารวา เปน
การโฆษณาโดยเนนขอมูลเกี่ยวกับการประหยัดพลังงาน รูปที่เห็นก็ปรากฏเพียงบางสวน ไมได
เปดเผยรายละเอียดสาระสำคัญของสิ่งประดิษฐ แตในอีกมุมมองหนึ่ง หนังสือ 4WHEELS ซึ่งมี
ภาพรถยนตติดอุปกรณตามสิทธิบัตรโจทก โดยแสดงใหเห็นถึงการวางถังกาซและการติดตั้ง
ถงั กา ซเขา กบั รถยนต ถอื เปน หลกั ฐานวา สง่ิ ประดษิ ฐต ามสทิ ธบิ ตั รโจทกม แี พรห ลายในราชอาณาจกั ร
กอ นวนั ขอรบั สทิ ธบิ ตั ร โดยพจิ ารณาความแพรห ลายนจ้ี ากลกั ษณะของการมรี ถยนตต ดิ ตง้ั ถงั กา ซ
ตามสทิ ธบิ ตั รโจทก และสาธารณชนมโี อกาสทจ่ี ะไดร เู หน็ ในวงกวา งพอสมควร เพราะการลงพมิ พ
ในหนังสือ 4WHEELS เชน นี้ เชือ่ ไดวา สาธารณชนสามารถทราบถึงการมีอยขู องสิทธบิ ตั รโจทก
แมโ จทกเ องจะเปน ผยู นิ ยอมใหม กี ารเปด เผยสทิ ธบิ ตั รโจทกใ นลกั ษณะดงั กลา วกท็ ำใหก ารประดษิ ฐ
ตกเปนงานที่ปรากฏอยูแลวเชนกัน สิทธิบัตรโจทกจึงไมใชการประดิษฐขึ้นใหม และไมจำตอง
วินิจฉัยเรื่องขั้นการประดิษฐที่สูงขึ้นอีกตอไป กรณีรับฟงไดวา สิทธิบัตรการประดิษฐโจทกไม
สมบรู ณ มเี หตเุ พกิ ถอนตามกฎหมาย ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
วนิ ิจฉัยมาน้ันไมชอบ อุทธรณของจำเลยทั้งสองฟงข้ึน

สำหรบั สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ เลขทส่ี ทิ ธบิ ตั ร ๓๘๔๕๑, ๓๘๔๕๒, ๓๒๓๘๔,
๓๒๑๖๖ และ ๓๒๑๖๗ ตามลำดบั นน้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
วินิจฉัยวา จำเลยทั้งสองนำสืบไมไดวา สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑไมชอบดวยกฎหมาย
คงอา งเพยี งวา เปน สทิ ธบิ ตั รทม่ี ลี กั ษณะซำ้ ซอ นกนั สว นจำเลยทง้ั สองอทุ ธรณใ นทำนองวา สทิ ธบิ ตั ร
การออกแบบผลติ ภณั ฑด งั กลา วเปน งานทป่ี รากฏอยแู ลว อยา งไรกด็ ี เหน็ ควรวนิ จิ ฉยั เสยี กอ นวา
สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑโจทกออกใหโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม คูความทั้งสองฝาย
ตา งไมโ ตแ ยง วา การออกแบบผลติ ภณั ฑเ ปน ความคดิ สรา งสรรคเ กย่ี วกบั การทำใหร ปู รา งลกั ษณะ
ภายนอกของผลติ ภณั ฑเ กดิ ความสวยงามเพอ่ื ดงึ ดดู ความสนใจของผบู รโิ ภค ตา งจากการประดษิ ฐ
ที่เปนความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับลักษณะทางเทคนิคหรือลักษณะที่เกี่ยวกับการทำงาน มุงที่
การใชป ระโยชน การทำหนา ทต่ี า ง ๆ ซง่ึ เปน องคป ระกอบภายในของผลติ ภณั ฑ สำหรบั สทิ ธบิ ตั ร
การออกแบบผลติ ภณั ฑโ จทกท ง้ั ๕ ฉบบั น้ี ชอ่ื “อปุ กรณจ บั ยดึ ถงั บรรจกุ า ซสำหรบั รถยนต” และ
“อุปกรณยึดจับถังบรรจุกาซสำหรับรถยนต” มีขอถือสิทธิเปนรูปตามที่ปรากฏ โดยไมไดอธิบาย
วา มคี วามสวยงามภายนอกอยา งไร การพจิ ารณาขอ ถอื สทิ ธเิ ชน นจ้ี งึ ตอ งพจิ ารณาจากรปู ภาพตา ง ๆ
ดวยความระมัดระวัง ซึ่งไมพบวามีความสวยงามแตกตางไปจากสิ่งประดิษฐที่มีอยูเดิมอยางไร
ในทางกลับกัน สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑโจทกดังกลาวกลับมุงเนนถึงประโยชนในการ

๑๘๑

ใชง านเพยี งอยา งเดยี ว สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑโ จทกท ง้ั ๕ ฉบบั จงึ ออกโดยไมช อบดว ย
กฎหมาย ปญ หาวา สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑโ จทกด งั กลา วสมบรู ณต ามกฎหมายหรอื ไมน ้ี
เปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมจำเลยทั้งสองจะไมได
กลา วอา งมาในฟอ งแยง กส็ ามารถวนิ จิ ฉยั ได กรณรี บั ฟง วา สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑโ จทก
ไมส มบรู ณ มเี หตเุ พกิ ถอนตามกฎหมาย ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
วินิจฉัยมานั้นไมชอบ อุทธรณของจำเลยทั้งสองฟงขึ้นในผล สำหรับคำขอตามฟองแยงของ
จำเลยที่ ๑ ที่หามโจทกเขายุงเกี่ยวอันเปนการรบกวนสิทธิ รวมถึงกระทำการใด ๆ อันเปน
การขัดขวางการดำเนนิ ธุรกจิ ของจำเลยท่ี ๑ อนั สบื เนื่องหรืออา งองิ ตามสิทธิบัตรพิพาทนัน้ เปน
คำขอในอนาคต ไมแนวาโจทกจะกระทำการเชนนั้นจริงหรือไม จึงไมวินิจฉัยให กรณีไมจำตอง
พิจารณาอทุ ธรณขอ อื่น ๆ ของจำเลยท้งั สองอกี ตอไปเพราะไมท ำใหผ ลคดเี ปลีย่ นแปลง

อนง่ึ คำแกอ ทุ ธรณข องโจทกท ว่ี า อทุ ธรณข องจำเลยทง้ั สองไมช อบเพราะไมม กี ารยอ ฟอ ง
คำใหก าร ทางนำสบื และคำพพิ ากษาศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางนน้ั
แมอุทธรณจะเปนคำฟองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑ (๓) แตไมมี
กฎหมายกำหนดใหตองระบุขอที่โจทกอางไว คงมีระบุแตเพียงวา ขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายที่
จะยกขึ้นอางในการยื่นอุทธรณนั้น คูความจะตองกลาวไวโดยชัดแจงในอุทธรณ และตองเปน
ขอที่ไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลชั้นตน ทั้งจะตองเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการ
วนิ จิ ฉยั ดว ย คำแกอ ทุ ธรณข องโจทกจ งึ ฟง ไมข น้ึ และไมจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั คำแกอ ทุ ธรณข อ อน่ื ๆ อกี
เพราะไมท ำใหผ ลคดีเปลี่ยนแปลง

พิพากษากลับวา สิทธิบัตรการประดิษฐ เลขที่สิทธิบัตร ๓๔๔๖๒ และสิทธิบัตรการ
ออกแบบผลิตภัณฑ เลขที่สิทธิบัตร ๓๘๔๕๑, ๓๘๔๕๒, ๓๒๓๘๔, ๓๒๑๖๖ และ ๓๒๑๖๗
ของโจทกเ ปน สทิ ธบิ ตั รทไ่ี มส มบรู ณ ออกโดยไมช อบดว ยกฎหมาย จงึ ใหเ พกิ ถอนสทิ ธบิ ตั รดงั กลา ว
ทั้งหมด ยกฟองโจทกและยกคำขออื่นในฟองแยง คาฤชาธรรมเนียมสำหรับฟองและฟองแยง
ทั้งสองศาลใหเ ปน พับ.

(ไชยยศ วรนันทศ ริ ิ - จมุ พล ภิญโญสนิ วัฒน - สุรพล คงลาภ)

จนั ทรก ระพอ ตอ สวุ รรณ สินธวถาวร - ยอ
สุโรจน จันทรพทิ กั ษ - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎกี าพพิ ากษากลับ ตามคำพิพากษาศาลฎกี าที่ ๔๘๘๓/๒๕๖๓

๑๘๒

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พิเศษที่ ๙๙๖/๒๕๖๓ บรษิ ัทกนั กลุ เอ็นจเิ นยี ริ่ง จำกดั

(มหาชน) โจทก

กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา จำเลย

นายประเสริฐ

ธรรมมนญุ กลุ จำเลยรว ม

พ.ร.บ. สิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๖, ๕๗ (๒)

แมส ทิ ธบิ ตั รสาธารณรฐั ประชาชนจนี เลขท่ี ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๓๖๐๓.๔ ZL ๒๐๐๘
๒ ๐๐๗๔๖๘๙.๒ และ ZL ๒๐๐๗ ๑ ๐๐๕๗๐๐๐.๕ เปนอนุสิทธิบัตร (Certificate of Utility
Model Patent) และสิทธิบัตรการประดิษฐ (Certificate of Invention Patent) แตเมื่อมี
การเผยแพรและลงภาพของผลิตภัณฑในเอกสารสิทธิบัตรหรือสิ่งพิมพแลว ยอมตอง
ถือวาไดมีการเปดเผยภาพ สาระสำคัญ หรือรายละเอียดของแบบผลิตภัณฑในเอกสาร
หรือสิ่งพิมพ ตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ (๒) แลว กรณีจึงตองนำมา
พิจารณาประกอบวา ภาพ สาระสำคัญ หรือรายละเอียดนั้นเปนงานที่ปรากฏอยูแลว
หรือไมด ว ย

แบบผลิตภัณฑมุงประสงคตอรูปทรงหรือรูปรางของวัตถุอันมีลักษณะพิเศษ
โดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การประดบั ตกแตง (Ornamental) หรอื ความสวยงาม (Aesthetic)
เปนสำคัญ การที่โจทกอุทธรณโดยยกเรื่องการใชงานหรือการทำหนาที่ (Functionality)
ของผลติ ภณั ฑม าเปรยี บเทยี บ จงึ แตกตา งไปจากหลกั การของการคมุ ครองการออกแบบ
ผลิตภัณฑ ที่พิจารณาความคลายกัน (Similarity) ของงานที่ปรากฏอยูแลว (Prior Art)
ของแบบผลิตภัณฑในสาระสำคัญของแบบผลิตภัณฑที่ปรากฏจากความรูสึกโดยรวม
(Substantial in Overall Impression) ของแบบผลติ ภณั ฑท เ่ี หน็ ทง้ั หมด (Whole Appearance)
ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงการออกแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวมเปรียบเทียบกับการออกแบบ
ผลิตภัณฑตามสิทธิบัตรของสาธารณรัฐประชาชนจีนแลว เห็นไดวาแบบผลิตภัณฑตาม
สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวมมีเอกลักษณ (Individual Character)
หรือมีลักษณะพิเศษ (Distinctiveness) ที่แตกตางออกไป ดังนั้น ไมวาโจทกจะนำเขา
เสาเขม็ เหลก็ จากสาธารณรฐั ประชาชนจนี ตามสทิ ธบิ ตั รทโ่ี จทกก ลา วอา งมาใชแ พรห ลาย
ในราชอาณาจกั รไทย หรอื สทิ ธบิ ตั รดงั กลา วไดม กี ารยน่ื คำขอและประกาศโฆษณากอ นท่ี

๑๘๓

จำเลยรว มจะไดย น่ื คำขอรบั สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑจ ำนวน ๙ ฉบบั ขา งตน กต็ าม
กรณยี อ มฟง ไมไ ดว า มแี บบผลติ ภณั ฑท ค่ี ลา ยกบั แบบผลติ ภณั ฑข องจำเลยรว มใชแ พรห ลาย
หรอื มกี ารเปด เผยภาพ สาระสำคญั หรอื รายละเอยี ดในเอกสารหรอื สง่ิ พมิ พท ไ่ี ดเ ผยแพร
อยแู ลว ไมว า ในหรอื นอกราชอาณาจกั รกอ นวนั ขอรบั สทิ ธบิ ตั ร ดงั นน้ั สทิ ธบิ ตั รการออกแบบ
ผลิตภัณฑของจำเลยรวมจึงมีความใหมและมีลักษณะพิเศษอันเขาหลักเกณฑในการ
ขอรบั สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑต าม พ.ร.บ. สทิ ธบิ ตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๖ แลว

แมร ปู รา งของผลติ ภณั ฑจ ะมบี างสว นทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ประโยชนใ ชส อย (Functionality) ดว ย
แตรูปรางโดยรวม (Overall Appearance) ของแบบผลิตภัณฑก็ไมใชเปนการออกแบบ
เพื่อประโยชนของการใชสอยนั้นเพียงอยางเดียวทั้งหมด การออกแบบผลิตภัณฑของ
จำเลยรวมจึงสามารถไดรับความคุมครองตามกฎหมาย แตยอมถูกจำกัดอยูในสวนที่
เกย่ี วขอ งกบั รปู รา งของผลติ ภณั ฑเ ทา นน้ั มไิ ดค มุ ครองถงึ การออกแบบทถ่ี กู บงั คบั ใหต อ ง
เปนไปตามประโยชนของการใชงานหรือการทำงานของผลิตภัณฑนั้น (Dictated Solely
by Function)

______________________________

โจทกฟอง ขอใหพิพากษาวา สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑของนายประเสริฐ
จำนวน ๙ ฉบับ ตามสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ เลขที่ ๔๘๙๑๘, ๔๘๑๘๒, ๔๘๑๘๓,
๔๘๙๑๙, ๔๙๖๕๑, ๔๙๖๕๒, ๔๙๖๔๗, ๔๙๖๔๖ และ ๔๙๖๔๙ ไมชอบดวยกฎหมาย และให
เพิกถอนสิทธิบัตรดังกลาว ที่จำเลยรับจดทะเบียนไว หากจำเลยเพิกเฉยไมปฏิบัติตามใหถือเอา
คำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจำเลย

จำเลยใหการ ขอใหยกฟอ ง
ระหวา งพจิ ารณา นายประเสรฐิ ย่นื คำรองขอเขา เปน จำเลยรว ม
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญญาและการคา ระหวา งประเทศกลางอนุญาต
จำเลยรว มใหก าร ขอใหย กฟอ ง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง คาฤชา
ธรรมเนียมใหเปน พับ

๑๘๔

โจทกอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ในเบอ้ื งตน รบั ฟง ไดว า เมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๕๕ และวนั ท่ี ๑๐ มกราคม ๒๕๕๖
จำเลยรวมยื่นคำขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ “อุปกรณยึด” เจาหนาที่ของ
จำเลยไดตรวจสอบผลิตภัณฑเทียบกับแบบผลิตภัณฑที่มีผูยื่นคำขอรับสิทธิบัตรในประเทศและ
ตางประเทศตามคูมือการปฏิบัติหนาที่ โดยไมไดตรวจสอบกับคำขอรับสิทธิบัตรการออกแบบ
ผลิตภัณฑของสาธารณรัฐประชาชนจีน และประกาศโฆษณาคำขอรับสิทธิบัตรการออกแบบ
ผลิตภัณฑของจำเลยรวมครบ ๙๐ วัน แลว ไมมีผูใดยื่นคำคัดคาน ผลการตรวจสอบพบวา
งานทป่ี รากฏอยแู ลว ทง้ั ในประเทศและในตา งประเทศ ไดแ ก สหรฐั อเมรกิ าและเครอื รฐั ออสเตรเลยี
เมอ่ื นำมาเปรยี บเทยี บกบั สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑข องจำเลยรว มแลว มคี วามแตกตา งกนั
แบบผลติ ภณั ฑข องจำเลยรว มจงึ เปน การออกแบบผลติ ภณั ฑใ หมเ พอ่ื อตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม
ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ จำเลยจึงออกสิทธิบัตรทั้ง ๙ ฉบับ ใหแกจำเลยรวม
ตามสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ เลขที่ ๔๘๙๑๘, ๔๘๑๘๒, ๔๘๑๘๓, ๔๘๙๑๙,
๔๙๖๕๑, ๔๙๖๕๒, ๔๙๖๔๗, ๔๙๖๔๖ และ ๔๙๖๔๙ สวนโจทกเปนนิติบุคคลประเภทบริษัท
มหาชนจำกัด ประกอบธุรกิจจำหนายอุปกรณไฟฟาและดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานทดแทน
โจทกไดนำเขาวัสดุอุปกรณที่ใชในการกอสราง เชน เสาเข็มเหล็กสำหรับยึดโครงสรางตาง ๆ
จากชิงเตา สาธารณรัฐประชาชนจีน เสาเข็มเหล็กดังกลาวเปนผลิตภัณฑที่มีการจดทะเบียน
สิทธิบัตรในสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามสิทธิบัตร เลขที่ ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๓๖๐๓.๔
ZL ๒๐๐๗ ๓ ๐๑๐๓๙๙๙.๓ ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๔๖๘๙.๒ และ ZL ๒๐๐๗ ๑ ๐๐๕๗๐๐๐.๕
โดยชงิ เตาไดร บั โอนสทิ ธิบัตรดังกลาวมาจากนายหมา ผทู รงสทิ ธบิ ตั ร
คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกในประการแรกวา แบบผลิตภัณฑของ
จำเลยรวมมีหรือใชแพรหลาย หรือมีการเปดเผยภาพ สาระสำคัญ หรือรายละเอียดในเอกสาร
หรือสิ่งพิมพที่ไดเผยแพรอยูแลวในราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตรหรือไม เห็นวา พยาน
หลักฐานของโจทกดังกลาวเปนการใชสินคาโดยโจทกเทานั้น ไมมีขอเท็จจริงที่ยืนยันวามีการใช
แพรหลายแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวมในประเทศแตอยางใด สวนที่นายวันชัยเบิกความ
ตอบทนายโจทกวา พยานเคยเขาไปดูเว็บไซตของจำเลยรวม พบการโฆษณาสินคาและมีการ
โฆษณาสินคาในเฟซบุกเกี่ยวกับผลิตภัณฑของจำเลยรวมที่เปนผลิตภัณฑขนาดใหญดวย นั้น
ก็ไมปรากฏขอเท็จจริงที่ชัดเจนวามีการโฆษณาเผยแพรสินคาของจำเลยรวมมาตั้งแตเมื่อใด
กอนที่จำเลยรวมยื่นคำขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑหรือไม สวนที่โจทกอุทธรณวา

๑๘๕

จากบันทึกถอยคำของจำเลยรวมยืนยันวา ตั้งแตป ๒๕๕๑ ไดมีการติดตั้งเผยแพรเสาเข็มเหล็ก
ในงานตาง ๆ มีการออกแสดงสินคา ทดลองใชแบบผลิตภัณฑ โดยจำเลยรวมไดเผยแพรและ
ใชงานจริงในราชอาณาจักรไทยกอนจะไดรับอนุญาตใหจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ
จำเลยรวมตอบคำถามคานทนายโจทกวา ในป ๒๕๕๔ จำเลยรวมเปดนิทรรศการและนำแสดง
ผลงานเสาเขม็ เหลก็ จนไดร บั การยอมรบั และไดร บั การวา จา งจากการไฟฟา ใหท ำการกอ สรา งงาน
มีการนำไปแสดงในงานบีโอไอแฟร ๒๐๑๑ งานติดตั้งตามภาพถาย หมาย ล.๓ กอนป ๒๕๕๔
ไดม กี ารตดิ ตง้ั สนิ คา หลายท่ี เชน ทจ่ี อดรถหลงั คาพลงั งานแสงอาทติ ยข องกองทพั เรอื และจำเลย
รวมใหถอยคำยืนยันขอเท็จจริงวา ตั้งแตป ๒๕๕๑ เสาเข็มเหล็กตามสิทธิบัตรการออกแบบ
ผลติ ภณั ฑข องจำเลยรว มไดม กี ารลงในหนงั สอื เผยแพรใ นวารสาร มกี ารโฆษณาเผยแพรใ นเฟซบกุ
และเว็บไซต ลงภาพผลิตภัณฑสำเร็จรูป และการโฆษณาประชาสัมพันธทางสื่อออนไลน ซึ่ง
นายอนนท พยานจำเลยรว ม ใหถ อ ยคำตามบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ สอดคลอ งกนั แสดงถงึ
การมีหรือใชแพรหลาย และมีการเปดเผยภาพ สาระสำคัญ หรือรายละเอียดในเอกสารหรือ
สิ่งพิมพที่ไดเผยแพรอยูแลวในราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑทั้ง
เกา ฉบบั นน้ั เมอ่ื พจิ ารณาบนั ทกึ ถอ ยคำของจำเลยรว มแลว กไ็ ดค วามเพยี งวา เดอื นมถิ นุ ายน ๒๕๕๑
จำเลยรวมมีแนวคิดทำฐานรากสำเร็จรูปแบบเสาเข็มเหล็ก จึงวางแผน ศึกษาหาขอมูล ทดลอง
พัฒนาเสาเข็มเหล็กในรูปแบบตาง ๆ และออกประชาสัมพันธแนวคิดตามงานนิทรรศการตาง ๆ
จนกระทั่งไดตัวอยางเสาเข็มเหล็กรุนแรก ๆ ออกมาทดลองและใชงาน โดยมีการเปดตัว
เสาเข็มเหล็กอยางเปนทางการในงานตาง ๆ ตอมาในป ๒๕๕๕ เสาเข็มเหล็กไดรับการพัฒนา
กาวหนาอยางเต็มรูปแบบ จึงมีการติดตั้งในงานใหญ ๆ หลายงาน มีการออกแสดงสินคาและ
หนงั สอื ตา ง ๆ จนกระทง่ั มกี ารยน่ื ขอรบั สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ ซง่ึ สอดคลอ งกบั ผลติ ภณั ฑ
ตามทป่ี รากฏในสอ่ื ออนไลนข องจำเลยรว มวา ในป ๒๕๕๒ ซง่ึ เปน ปแ รก ๆ เสาเขม็ เหลก็ ดงั กลา ว
ไมไดมีแบบผลิตภัณฑตรงกับแบบผลิตที่ปรากฏในสิทธิบัตรทั้ง ๙ ฉบับ แตอยางใด ขอเท็จจริง
ทป่ี รากฏจากทางนำสบื ของจำเลยรว มจงึ เปน เพยี งการพฒั นาเสาเขม็ เหลก็ ตามลำดบั ฟง ไมไ ดว า
ผลติ ภณั ฑต ามสทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑข องจำเลยรว มถกู นำออกใชแ พรห ลาย หรอื มกี าร
เปดเผยภาพ สาระสำคัญหรือรายละเอียด ในเอกสารหรือสิ่งพิมพที่เผยแพรในราชอาณาจักร
กอนวันขอรับสิทธบิ ัตรแตอ ยางใด อุทธรณของโจทกฟ งไมขึน้

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกในประการตอมาวา มีแบบผลิตภัณฑที่
คลา ยกบั แบบผลติ ภณั ฑข องจำเลยรว มใชแ พรห ลายในราชอาณาจกั ร และมกี ารเปด เผยภาพสาระ
สำคัญ หรือรายละเอียดในเอกสารหรือสิ่งพิมพที่ไดเผยแพรอยูแลวนอกราชอาณาจักรกอนวัน

๑๘๖

ขอรับสิทธิบัตร จนเห็นไดวาเปนการเลียนแบบหรือไม ในปญหานี้ กรณีตองวินิจฉัยกอนวา
แบบผลิตภัณฑตามสิทธิบัตรของสาธารณรัฐประชาชนจีน เลขที่ ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๓๖๐๓.๔
ZL ๒๐๐๗ ๓ ๐๑๐๓๙๙๙.๓ ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๔๖๘๙.๒ และ ZL ๒๐๐๗ ๑ ๐๐๕๗๐๐๐.๕
คลายกับแบบผลิตภัณฑตามสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวม เลขที่ ๔๘๙๑๘,
๔๘๑๘๒, ๔๘๑๘๓, ๔๘๙๑๙, ๔๙๖๕๑, ๔๙๖๕๒, ๔๙๖๔๗, ๔๙๖๔๖ และ ๔๙๖๔๙ จนเหน็ ไดว า
เปน การเลยี นแบบตามพระราชบญั ญตั สิ ทิ ธบิ ตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ (๔) หรอื ไม ซง่ึ ในขอ น้ี
ถึงแมขอเท็จจริงจะฟงวา สิทธิบัตรสาธารณรัฐประชาชนจีน เลขที่ ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๓๖๐๓.๔
ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๔๖๘๙.๒ และ ZL ๒๐๐๗ ๑ ๐๐๕๗๐๐๐.๕ เปนอนุสิทธิบัตร (Certificate
of Utility Model Patent) และสิทธิบัตรการประดิษฐ (Certificate of Invention Patent) ก็ตาม
แตเมื่อขอเท็จจริงไดความวามีการเผยแพรและลงภาพของผลิตภัณฑในเอกสารสิทธิบัตรหรือ
สง่ิ พมิ พแ ลว ยอ มตอ งถอื วา ไดม กี ารเปด เผยภาพสาระสำคญั หรอื รายละเอยี ดของแบบผลติ ภณั ฑ
ในเอกสารหรือสิ่งพิมพ ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ (๒) แลว กรณี
จงึ ตอ งนำมาพจิ ารณาประกอบวา ภาพ สาระสำคญั หรอื รายละเอยี ดนน้ั เปน งานทป่ี รากฏอยแู ลว
หรอื ไมด ว ย ซง่ึ เมอ่ื พจิ ารณาภาพเสาเขม็ เหลก็ ยดึ โครงสรา งตามสทิ ธบิ ตั รของสาธารณรฐั ประชาชนจนี
เปรยี บเทยี บกบั ภาพแบบผลติ ภณั ฑต ามสทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑข องจำเลยรว มทง้ั เกา ฉบบั
ไดแก

ZL ๒๐๐๘๒๐๐๗๓๖๐๓.๔ ZL ๒๐๐๗๓๐๑๐๓๙๙๙.๓ ZL ๒๐๐๘๒๐๐๗๔๖๘๙.๒ ZL ๐๐๗๑๐๐๕๗๐๐๐.๕

๔๘๙๑๘ ๔๘๑๘๒ ๔๘๑๘๓ ๔๘๙๑๙

๔๙๖๕๑ ๔๙๖๕๒ ๔๙๖๔๗ ๔๙๖๔๖ ๔๙๖๔๙

๑๘๗

ดังนี้ เห็นไดวา เสาเข็มเหล็กยึดโครงสรางตามสิทธิบัตรของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ทั้งสี่ฉบับนั้น มีรูปรางที่แตกตางจากแบบผลิตภัณฑตามสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑของ
จำเลยรว มทง้ั เกา ฉบบั อยา งชดั เจน โดยการเปรยี บเทยี บงานทป่ี รากฏตามสทิ ธบิ ตั รของสาธารณรฐั
ประชาชนจีนกับแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวมนั้นตองเปรียบเทียบชิ้นตอชิ้น ไมใชนำแบบ
ผลิตภัณฑของจำเลยรวมไปเปรียบเทียบกับงานที่ปรากฏอยูแลวหลายชิ้นรวมกัน (Mosaicing)
ทั้งนี้ จะเห็นไดวา ไมวาจะเปนปลายเสาเข็มเหล็กที่มีสัดสวนและมุมแหลมที่แตกตางกัน เกลียว
ของเสาเขม็ เหลก็ ทม่ี ขี นาดและความยาวแตกตา งกนั ลำตน ของเสาเขม็ เหลก็ มลี กั ษณะทแ่ี ตกตา งกนั
และโดยเฉพาะหัวเสาเข็มเหล็กที่มีการออกแบบแตกตางกันหลากหลายรูปแบบไป ซึ่งแมจะมี
ขอสังเกตพิเศษวา สิทธิบัตรของสาธารณรัฐประชาชนจีน เลขที่ ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๓๖๐๓.๔
กบั สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑข องจำเลยรว มเลขท่ี ๔๘๙๑๘ จะมลี กั ษณะใกลเ คยี งกนั ดงั ท่ี
ปรากฏตามภาพดานลา ง

ZL ๒๐๐๘๒๐๐๗๔๙๔๐.๔ ๔๘๙๑๘

อยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาโดยละเอียดแลวยอมเห็นความแตกตางของลักษณะสวนของ
ปลายเสาเข็มเหล็กและความยาวของเกลียว และพิจารณาที่หัวเสาเข็มเหล็กตามรายละเอียด
ของสทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ เลขท่ี ๔๘๙๑๘ เพม่ิ เตมิ จะมภี าพระบถุ งึ การออกแบบสว นน้ี
ไวดวย ดงั น้ี

๔๘๙๑๘ ภาพดานบน ๔๘๙๑๘ ภาพดานลาง

ภาพทง้ั หมดดงั กลา วแสดงใหเ หน็ ถงึ รปู รา งและลกั ษณะของรบู นหวั เสาเขม็ เหลก็ ในขณะ
ทส่ี ทิ ธบิ ตั รของสาธารณรฐั ประชาชนจนี เลขท่ี ZL ๒๐๐๘ ๒ ๐๐๗๓๖๐๓.๔ นน้ั ไมไ ดม กี ารเปด เผย
สว นหวั เสาเขม็ เหลก็ วา มลี กั ษณะอยา งใด ทำใหเ หน็ ถงึ ความแตกตา งของรปู รา งโดยรวม (Overall
Appearance) ระหวา งเสาเขม็ เหลก็ ทง้ั สองแบบ ทง้ั น้ี การออกแบบผลติ ภณั ฑน น้ั หมายความถงึ

๑๘๘

รูปรางของผลิตภัณฑ อันมีลักษณะพิเศษสำหรับผลิตภัณฑ ซึ่งสามารถใชเปนแบบสำหรับ
ผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรมรวมทง้ั หตั ถกรรมไดต ามพระราชบญั ญตั สิ ทิ ธบิ ตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓
แบบผลิตภัณฑจึงมุงประสงคตอรูปทรงหรือรูปรางของวัตถุอันมีลักษณะพิเศษ โดยเฉพาะที่
เกย่ี วขอ งกบั การประดบั ตกแตง (Ornamental) หรอื ความสวยงาม (Aesthetic) เปน สำคญั การท่ี
โจทกอุทธรณวา แบบผลิตภัณฑมีความคลายกันของหัวสวานที่มีเกลียวปลายแหลมสำหรับ
เจาะยึดพื้นผิว สวนปลายอีกดานทำไวยึดเขากับอุปกรณติดตั้ง ใชสำหรับงานติดตั้งโครงสราง
ทั่วไปในการกอสรางนั้น เปนการยกเรื่องการใชงานหรือการทำหนาที่ (Functionality) ของ
ผลิตภัณฑมาเปรียบเทียบ ซึ่งแตกตางไปจากหลักการของการคุมครองการออกแบบผลิตภัณฑ
ที่พิจารณาความคลายกัน (Similarity) ของงานที่ปรากฏอยูแลว (Prior Art) ของแบบผลิตภัณฑ
ในสาระสำคัญของแบบผลิตภัณฑที่ปรากฏจากความรูสึกโดยรวม (Substantial in Overall
Impression) ของแบบผลิตภัณฑที่เห็นทั้งหมด (Whole Appearance) ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงการ
ออกแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวมดังที่ไดพิจารณามาขางตนกับผลิตภัณฑตามสิทธิบัตรของ
สาธารณรฐั ประชาชนจนี แลว เหน็ ไดว า แบบผลติ ภณั ฑต ามสทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑข อง
จำเลยรว มมเี อกลกั ษณ (Individual Character) หรอื มลี กั ษณะพเิ ศษ (Distinctiveness) ทแ่ี ตกตา ง
ออกไป ดังนั้น ไมวาโจทกจะนำเขาเสาเข็มเหล็กจากสาธารณรัฐประชาชนจีนตามสิทธิบัตรที่
โจทกกลาวอางมาใชแพรหลายในราชอาณาจักรไทย หรือสิทธิบัตรดังกลาวไดมีการยื่นคำขอ
และประกาศโฆษณากอนที่จำเลยรวมจะไดยื่นคำขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑจำนวน
๙ ฉบบั ขา งตน กต็ าม กรณยี อ มฟง ไมไ ดว า มแี บบผลติ ภณั ฑท ค่ี ลา ยกบั แบบผลติ ภณั ฑข องจำเลย
รวมใชแพรเผย หรือมีการเปดเผยภาพ สาระสำคัญ หรือรายละเอียดในเอกสารหรือสิ่งพิมพที่
ไดเผยแพรอยูแลวไมวาในหรือนอกราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร ดังนั้น สิทธิบัตรการ
ออกแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวม เลขที่ ๔๘๙๑๘, ๔๘๑๘๒, ๔๘๑๘๓, ๔๘๙๑๙, ๔๙๖๕๑,
๔๙๖๕๒, ๔๙๖๔๗, ๔๙๖๔๖ และ ๔๙๖๔๙ จงึ มคี วามใหมแ ละมลี กั ษณะพเิ ศษอนั เขา หลกั เกณฑ
ในการขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๕๖ แลว อทุ ธรณของโจทกฟงไมข ้ึน

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกใ นประการสดุ ทา ยวา สทิ ธบิ ตั รการออกแบบ
ผลิตภัณฑของจำเลยรวมมีลักษณะเปนการออกแบบเพื่อประโยชนใชสอย ซึ่งเปนเรื่องของการ
ประดิษฐ ไมใชเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑหรือไม เห็นวา ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร
พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓ ใหความหมายของแบบผลิตภัณฑวา หมายถึงรูปรางของผลิตภัณฑ
หรือองคประกอบของลวดลาย หรือสีของผลิตภัณฑ อันมีลักษณะพิเศษ สำหรับผลิตภัณฑซึ่ง

๑๘๙

สามารถใชเปนแบบสำหรับผลิตภัณฑอุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรมได ดังนั้น การออกแบบใด
ที่ทำใหเกิดรูปรางอันมีลักษณะพิเศษ (Distinctiveness) ยอมสามารถไดรับความคุมครองตาม
กฎหมาย ในกรณีของแบบผลิตภัณฑตามสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวม
ทั้งเกาฉบับนั้น เห็นไดวาเปนการออกแบบรูปรางของผลิตภัณฑซึ่งมีลักษณะพิเศษตางไปจาก
อุปกรณยึดฐานทั่วไปจากงานที่มีปรากฏอยูกอนดังที่จำเลยนำสืบถึงแบบผลิตภัณฑสำหรับ
อุปกรณยึดฐานรากทั้งในประเทศและตางประเทศ และการออกแบบของจำเลยรวมไดแสดง
ลกั ษณะเกย่ี วกบั ความสวยงาม (Aesthetic) ไดใ นระดบั หนง่ึ แมร ปู รา งของผลติ ภณั ฑจ ะมบี างสว น
ที่เกี่ยวของกับประโยชนใชสอย (Functionality) ดวย แตรูปรางโดยรวม (Overall Appearance)
ของแบบผลิตภัณฑ ก็ไมใชเปนการออกแบบเพื่อประโยชนของการใชสอยนั้นเพียงอยางเดียว
ทั้งหมด การออกแบบผลิตภัณฑของจำเลยรวมจึงสามารถไดรับความคุมครองตามกฎหมาย
แตยอมถูกจำกัดอยูในสวนที่เกี่ยวของกับรูปรางของผลิตภัณฑเทานั้น มิไดคุมครองถึงการ
ออกแบบทถ่ี กู บงั คบั ใหต อ งเปน ไปตามประโยชนข องการใชง านหรอื การทำงานของผลติ ภณั ฑน น้ั
(Dictated Solely by Function) ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
พพิ ากษามานัน้ ตองดว ยความเห็นของศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษ อทุ ธรณของโจทกใ นขอ นี้จึง
ฟงไมข้นึ เชนกัน

พิพากษายืน คา ฤชาธรรมเนยี มชนั้ อุทธรณใ หเ ปน พบั .

(จกั รกฤษณ เจนเจษฎา - พัฒนไชย ยอดพยงุ - จุมพล ภญิ โญสนิ วัฒน)

สุธรรม สุธมั นาถพงษ - ยอ
นภิ า ชัยเจรญิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงทีส่ ุด

๑๙๐


Click to View FlipBook Version