The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:57:14

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๑๐๐๘/๒๕๖๑ บริษัทอลิอนั ซ ซ.ี พ.ี ประกันภยั

จำกัด (มหาชน) โจทก

บริษัทท.ี เค.เค. ทรานสปอรต

แอนด เซอรวสิ จำกัด จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๖๑๖
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง
พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓, ๕๘
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา

คดที รพั ยส ินทางปญ ญาและการคา ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๙, ๒๖

จำเลยใหการตอสูวา จำเลยเปนผูขนสงสินคาภายในประเทศ ไมเกี่ยวของกับ
การขนสง สนิ คา ระหวา งประเทศ โจทกจ งึ ไมม อี ำนาจฟอ งจำเลยตอ ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคา ระหวา งประเทศ แตห ากศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษวนิ จิ ฉยั วา โจทกม อี ำนาจ
ฟองจำเลยตอศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ ก็ตองนำบทบัญญัติ
ของ พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ มาใชบังคับกับความรับผิดของจำเลย
ในฐานะผูขนสงทางทะเล ขอตอสูของจำเลยดังกลาวไมไดความแนชัดวาจำเลยโตแยง
อำนาจศาลหรอื ไม คำใหก ารของจำเลยสว นหนง่ึ จงึ เปน คำใหก ารทไ่ี มช ดั แจง ไมช อบดว ย
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ พ.
มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จึงไมอาจรับฟงไดวาจำเลยใหการโตแยงอำนาจศาล อีกทั้ง
เมอ่ื ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั ในวนั นดั ชส้ี องสถาน
ใหสืบพยานโดยไมรอการพิจารณาพิพากษาคดีไวชั่วคราว เพื่อเสนอปญหาวาคดีอยูใน
อำนาจของศาลทรัพยสินทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางหรอื ไม จำเลยก็นำ
พยานหลักฐานเขาสืบโดยไมไดโตแยงคำสั่งระหวางพิจารณาของศาลไวเพื่อใชสิทธิ
ในการอทุ ธรณ แสดงวา จำเลยยอมรบั อำนาจศาลและเปน กรณไี มม ปี ญ หาเรอ่ื งอำนาจศาล
อีกตอ ไป

พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓ ใหนิยาม ผูขนสง
หมายความวา บคุ คลซง่ึ ประกอบการรบั ขนของทางทะเลเพอ่ื บำเหนจ็ ในทางคา ปกติ โดย

๑๙๑

ทำสัญญารับขนของทางทะเลกับผูสงของ จำเลยประกอบธุรกิจรับขนสงสินคาภายใน
ประเทศ มีบริษัท อ. ผูเอาประกันภัยเปนลูกคารายหนึ่งที่เคยวาจางจำเลยรับขนสินคา
ภายในประเทศมาเปน เวลากวา ๑๐ ป การขนสง สนิ คา ในคดนี เ้ี ปน เรอ่ื งทจ่ี ำเลยรบั ขนสนิ คา
จากโรงงานของผเู อาประกนั ภยั ทจ่ี งั หวดั ระยองไปสง ใหแ กเ รอื เดนิ ทะเลทท่ี า เรอื แหลมฉบงั
จังหวัดชลบุรี ยอมแสดงวาจำเลยไมใชผูประกอบการรับขนของทางทะเล เพื่อบำเหน็จ
เปนทางคาปกติที่ทำสัญญารับขนของทางทะเลกับผูสงของ จำเลยจึงไมใชผูขนสงตาม
พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่จะตองนำบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติ
ดังกลาวมาใชบังคับกับความผิดของจำเลย จำเลยยอมไมไดรับประโยชนจากขอจำกัด
ความรับผิดตามมาตรา ๕๘ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว แตจำเลยเปนผูขนสงซึ่งตอง
รับผิดในการที่ของอันเขาไดรับมอบหมายแกตนนั้นสูญหาย หรือบุบสลาย หรือสงมอบ
ชักชา ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๑๖

_______________________________

โจทกฟองขอใหบังคับจำเลยชดใชเงินแกโจทก ๓๕๖,๒๙๓.๙๒ บาท พรอมดอกเบี้ย
อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๓๔๕,๘๔๗.๔๔ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวา
จะชำระเสร็จ

จำเลยใหก ารขอใหย กฟอ ง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษาใหจำเลยชำระเงิน
จำนวน ๓๔๕,๘๔๗.๔๔ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ดงั กลา วนบั จาก
วนั ท่ี ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๕๘ เปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก ดอกเบย้ี ถงึ วนั ฟอ ง (ฟอ งวนั ท่ี
๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙) ไมเกิน ๑๐,๔๔๖.๔๘ บาท ใหจำเลยใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทก
โดยกำหนดคา ทนายความ ๘,๐๐๐ บาท
จำเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา โจทกเปนผูรับประกันภัย
สินคาของบริษัทเอส ไอ จี คอมบิบล็อค จำกัด สำหรับความเสี่ยงภัยทุกประเภท (ALL RISKS)
ทอ่ี าจทำใหส นิ คา ไดร บั ความเสยี หายหรอื สญู หายระหวา งการขนสง ตง้ั แตโ รงงานของผเู อาประกนั ภยั
ไปยังโกดังหรือโรงงานของผูรับตราสงที่ปลายทาง ดวยทุนประกันภัย ๑๗,๐๘๔,๔๘๒ บาท
ผูเอาประกันภัยขายสินคากลองกระดาษสำหรับบรรจุอาหารเหลวในระบบพาสเจอรไรซหรือ

๑๙๒

ยูเอชทีใหแกผูซื้อที่สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ภายใตเงื่อนไขการซื้อขายแบบ CIF จาการตา ผูเอา
ประกันภัยซึ่งเปนผูขายมีหนาที่จัดเตรียมสินคาบรรจุหีบหอ ตลอดจนวาจางผูขนสงสินคาจาก
ประเทศไทยไปสง มอบใหแ กผ ซู อ้ื ทเ่ี มอื งจาการต า ผเู อาประกนั ภยั วา จา งจำเลยขนสง สนิ คา จากโรงงาน
ของผเู อาประกนั ภยั ไปสง ใหแ กเ รอื เดนิ ทะเลทท่ี า เรอื แหลมฉบงั เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗
จำเลยขนสงสินคาของผูเอาประกันภัยโดยใชรถบรรทุกคันหมายเลขทะเบียน ๗๙-๒๐๘๖
กรุงเทพมหานคร ลากตูสนิ คา หมายเลข GESU๕๙๕๑๐๔๙ ขนาด ๔๐ ฟุต ซึง่ บรรจุสินคา กลอง
กระดาษสำหรับบรรจุอาหารเหลวในระบบพาสเจอรไรซหรือยูเอชที ๑,๓๔๖,๔๐๐ ชิ้น บรรจุใน
กลอ งขนาดใหญ ๓,๗๔๐ กลอง วางบนไมร องสินคา ๒๒ แผน ออกจากสถานที่รบั มอบอสี เทิรน
ซีบอรด จังหวัดระยอง เพื่อไปสงใหแกเรือเดินทะเลที่ทาเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ระหวาง
การขนสงพนักงานและ/หรือตัวแทนของจำเลยประมาทเลินเลอปราศจากความระมัดระวังขับรถ
บรรทุกและหักเลี้ยวรถบรรทุกที่มีน้ำหนักมากดวยความเร็ว จนไมสามารถควบคุมรถบรรทุกได
อยา งปลอดภยั ทำใหร ถบรรทกุ สนิ คา พลกิ ตะแคง ตสู นิ คา ตกกระแทกพน้ื ตามภาพถา ยทเ่ี กดิ เหตุ
เปน เหตใุ หส นิ คา เสยี หาย ผเู อาประกนั ภยั แจง ใหโ จทกท ราบ โจทกม อบหมายใหบ รษิ ทั อรี า เซอรเ วย
แอนด คอนซลั แทนส จำกดั สำรวจความเสยี หาย ตามรายงานการสำรวจความเสยี หาย ภาพถา ย
สนิ คา และรายงานการตรวจสอบคณุ ภาพสนิ คา ผเู อาประกนั ภยั เรยี กรอ งคา สนิ ไหมทดแทนจาก
โจทก โจทกใชคาสินไหมทดแทนใหผูเอาประกันภัย ๑,๘๔๕,๘๔๗.๔๔ บาท แลวเมื่อวันที่ ๒๒
ธันวาคม ๒๕๕๘ ตามสำเนาเช็ค ตอมาโจทกทวงถามคาเสียหายจากจำเลยและบริษัทแอกซา
ประกนั ภยั จำกดั (มหาชน) ซง่ึ รบั ประกนั ภยั ความรบั ผดิ ของจำเลยผขู นสง บรษิ ทั แอกซา ประกนั ภยั
จำกัด (มหาชน) ใชคาสินไหมทดแทน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท ตามทุนประกันภัยใหแกโจทกแลว
โจทกทวงถามคาเสียหายสว นที่เหลอื จากจำเลย ๓๔๕,๘๔๗.๔๔ บาท

สำหรบั อทุ ธรณข องจำเลยทว่ี า จำเลยเปน ผขู นสง สนิ คา ภายในประเทศ ไมไ ดเ กย่ี วขอ ง
กับการขนสงสินคาระหวางประเทศ โจทกจึงไมมีอำนาจฟองจำเลยตอศาลทรัพยสินทางปญญา
และการคาระหวางประเทศกลาง แตหากศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษวินิจฉัยวา โจทกมีอำนาจ
ฟองจำเลยตอศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางเพราะเปนคดีที่มีมูล
เกี่ยวของกับการขนสงระหวางประเทศ ก็เปนกรณีที่ตองนำบทบัญญัติของพระราชบัญญัติ
การรบั ขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ มาใชบ งั คบั กบั ความรบั ผดิ ของจำเลยในฐานะผขู นสง ทางทะเล
ดวยนั้น แมขออุทธรณดังกลาวจำเลยจะยกเปนประเด็นขอตอสูไวในคำใหการแลว แตขอตอสู
ดังกลาวของจำเลยไมไดความแนชัดวาจำเลยโตแยงอำนาจศาลหรือไม คำใหการจำเลยสวนนี้
จงึ เปน คำใหก ารทไ่ี มช ดั แจง ไมช อบดว ยพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙

๑๙๓

มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จึงไมอาจ
รบั ฟง ไดว า จำเลยใหก ารโตแ ยง อำนาจศาล อกี ทง้ั เมอ่ื ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศกลางมีคำสั่งในวันนัดชี้สองสถานใหสืบพยานโจทกจำเลยไปโดยไมรอการพิจารณา
พิพากษาคดีไวชั่วคราว เพื่อเสนอปญหาวาคดีอยูในอำนาจของศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศกลางหรือไมใหประธานศาลฎีกาเปนผูวินิจฉัย ตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและ
การคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๙ อันเปนบทบัญญัติที่บังคับใชในขณะนั้น จำเลย
ก็นำพยานหลักฐานเขาสืบโดยมิไดโตแยงคำสั่งระหวางพิจารณาของศาลไวเพื่อใชสิทธิในการ
อทุ ธรณ แสดงวา จำเลยยอมรบั อำนาจศาลและเปน กรณไี มม ปี ญ หาเรอ่ื งอำนาจศาลอกี ตอ ไป ศาล
อุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษไมอาจสงเร่อื งใหป ระธานศาลอุทธรณค ดีชำนญั พิเศษวนิ ิจฉยั ได

มปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยขอ แรกวา จำเลยในฐานะผขู นสง มขี อ จำกดั
ความรับผิดในความเสียหายหรือสูญหายของสินคาหรือไม เพียงใด เห็นวา พระราชบัญญัติ
การรบั ขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓ ใหน ยิ าม ผขู นสง หมายความวา บคุ คลซง่ึ ประกอบ
การรับขนของทางทะเล เพื่อบำเหน็จเปนทางคาปกติ โดยทำสัญญารับขนของทางทะเลกับผูสง
ของ เมอ่ื พยานจำเลยปากนายอทุ ยั ผจู ดั การบรษิ ทั จำเลย ทำบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื
ความเห็นของพยานวา จำเลยประกอบธุรกิจรับขนสงสินคาภายในประเทศ มีบริษัทเอส ไอ จี
คอมบิบล็อค จำกัด ผูเอาประกันภัยเปนลูกคารายหนึ่งที่เคยวาจางจำเลยรับขนสินคาภายใน
ประเทศมาเปน เวลากวา ๑๐ ป การขนสงสินคาในคดีนเ้ี ปน เรอ่ื งทจ่ี ำเลยรบั ขนสนิ คา จากโรงงาน
ของผเู อาประกนั ภยั ทอ่ี สี เทริ น ซบี อรด จงั หวดั ระยอง ไปสง ใหแ กเ รอื เดนิ ทะเลทท่ี า เรอื แหลมฉบงั
จังหวัดชลบุรี ขอเท็จจริงที่พยานจำเลยยืนยันดังกลาวยอมแสดงวาจำเลยไมใชผูประกอบการ
รับขนของทางทะเล เพื่อบำเหน็จเปนทางคาปกติ ที่ทำสัญญารับขนของทางทะเลกับผูสงของ
จำเลยจึงไมใชผูขนสงตามพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่จะตองนำบท
บัญญัติแหงพระราชบัญญัติดังกลาวมาใชบังคับกับความรับผิดของจำเลย และยอมไมไดรับ
ประโยชนจากขอจำกัดความรับผิดตามมาตรา ๕๘ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว แตจำเลยเปน
ผูขนสงซึ่งตองรับผิดในการที่ของอันเขาไดมอบหมายแกตนนั้นสูญหาย หรือบุบสลาย หรือสง
มอบชักชา ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๑๖ สวนที่จำเลยอุทธรณปญหานี้
ประเด็นที่สองเปนปญหาขอเท็จจริงวา จำเลยกับผูเอาประกันภัยมีขอตกลงจำกัดความรับผิดที่
เกิดขึ้นตอความเสียหายของสินคาไมเกิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท จำเลยจึงตองรับผิดไมเกินจำนวน
ดงั กลา วนน้ั พยานจำเลยปากนายอทุ ยั ทำบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ ของพยาน
เกย่ี วกบั ขอ ตกลงดงั กลา วประกอบสำเนาหนงั สอื ของจำเลยถงึ บรษิ ทั เอส ไอ จี คอมบบิ ลอ็ ค จำกดั

๑๙๔

วา พยานเสนอเงื่อนไขการรับจาง ซึ่งมีขอตกลงจำกัดความรับผิดอยางแนชัดไมเกิน
๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท ใหบ รษิ ทั เอส ไอ จี คอมบบิ ลอ็ ค จำกดั พจิ ารณากอ น บรษิ ทั ดงั กลา วรบั ทราบ
เงอ่ื นไขและขอ จำกดั ความรบั ผดิ ของจำเลยแลว ตกลงใหจ ำเลยเปน ผขู นสง สนิ คา แตเ มอ่ื พจิ ารณา
ขอ ความในสำเนาหนงั สอื ของจำเลยถงึ บรษิ ทั เอส ไอ จี คอมบบิ ลอ็ ค จำกดั แลว ปรากฏวา หนงั สอื
ของจำเลยดังกลาวทุกฉบับมีเนื้อหาสาระในลักษณะเปนใบเสนอราคา ที่นอกจากจำเลยจะแจง
รายละเอยี ดเกย่ี วกบั เสน ทางการใหบ รกิ าร ราคาคา จา งขนสง ตอ เทย่ี วกบั ขนาดตสู นิ คา ทใ่ี หบ รกิ าร
พรอ มคา ใชจ า ยอน่ื ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ แลว ยงั มขี อ ความวา “เรามกี ารประกนั ภยั สนิ คา ของทา นในกรณี
สญู หาย เสยี หาย และอน่ื ๆ ความคมุ ครองรวมไมเ กนิ ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท ตอ หนง่ึ อบุ ตั เิ หตุ (จำแนก
เปนสินคา ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท และตูสินคา ๓๐๐,๐๐๐ บาท)” ซึ่งเปนเพียงขอเสนอเพื่อใหลูกคา
เกดิ ความมน่ั ใจในการใชบรกิ ารของจำเลยวา หากสินคาไดรบั ความเสียหายหรอื สญู หายระหวาง
การขนสงของจำเลย จำเลยมีการประกันภัยความเสียหายหรือสูญหายของสินคาและตูสินคาไว
แลวรวม ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท ขอความดังกลาวไมไดระบุจำกัดความรับผิดของจำเลยไวเพียง
๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท แตอยางใด หากความเสียหายหรือสูญหายที่เกิดขึ้นมีจำนวนมากกวา
๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท จำเลยในฐานะผูขนสงยังคงตองรับผิดในความเสียหายหรือสูญหายนั้นเต็ม
จำนวน การทีผ่ ูเอาประกันภัยตกลงวา จางจำเลยขนสง สนิ คา ตามใบเสนอราคา หาใชการยอมรับ
ขอตกลงจำกัดความรับผิดตอกันไม ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
วินิจฉัยวา จำเลยมิไดตกลงเรื่องขอจำกัดความรับผิดกับโจทก จำเลยจึงนำขอตกลงจำกัดความ
รับผิดมาใชกับโจทกไมไดนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยในผล อุทธรณขอนี้ของ
จำเลยฟง ไมขึ้น

ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยขอตอไปมีวา จำเลยตองรับผิดชดใชคา
เสียหายแกโจทกหรือไม เพียงใด เห็นวา สภาพความเสียหายของสินคาตามรายงานการสำรวจ
ความเสียหาย ภาพถายสินคาและรายงานการตรวจสอบคุณภาพสินคาโดยผูเชี่ยวชาญ มีทั้งที่
สามารถมองเห็นการฉีกขาด บิดเกลียว กับการบุบยุบผิดรูปของกลองบรรจุสินคาไดจากสภาพ
ภายนอก และทส่ี ามารถสงั เกตเหน็ การโกง งอ บบุ ยบุ ผดิ รปู รอยครดู กบั รอยปรแิ ยกของตวั สนิ คา
ภายในกลอ งบรรจุไดอ ยางชดั เจน ความเสยี หายเหลา นั้นนอกจากการตรวจสอบดว ยสายตาแลว
ผตู รวจสอบยงั นำสนิ คา ไปทดสอบดว ยแสง พบวา มผี ลแยจ ากอลมู เิ นยี มฟอยลป รแิ ยก สว นสนิ คา
ทม่ี กี ารตรวจสอบโดยใชเ ครอ่ื งวดั ความหนาและมดี กเ็ กดิ ปญ หาการนำซองเขา แกนแบบเครอ่ื งจกั ร
บรรจุ ผลการทดสอบการขึ้นรูปไมผาน เนื่องจากปลอกซองไมสามารถเปดขึ้นได ความชำรุด
บกพรอ งเหลา นน้ั ทำใหไ มส ามารถปอ งกนั แสงจากภายนอก มคี วามยากลำบากในกระบวนการผลติ
ระหวา งทบ่ี รรจุ และอาจเปน เหตใุ หบ รรจภุ ณั ฑเ กดิ การรว่ั ไหล สำหรบั สนิ คา ทโ่ี กง งอ เกดิ รอยครดู

๑๙๕

และไมคงรูป รอยละ ๑๐๐ ไมสามารถนำมาจัดเรียง เนื่องจากมีความเสี่ยงที่เกิดการปนเปอน
แบคทีเรียและอื่น ๆ จากการจัดเรียง ผูตรวจสอบความเสียหายจึงมีความเห็นวาสินคาทั้งหมด
เสียหาย การตรวจสอบดังกลาวแสดงถึงขั้นตอน วิธีการตรวจสอบ และผลการตรวจสอบความ
เสียหายของสินคาโดยละเอียดและมีเหตุผล สวนการขายซากสินคาก็ปรากฏรายละเอียดจาก
สำเนาไปรษณยี อ เิ ลก็ ทรอนกิ สห นงั สอื เชญิ เสนอราคาสนิ คา วา มกี ารเชญิ บคุ คลตา ง ๆ เขา ประมลู
ซากสนิ คา โดยไดแ จง รายละเอยี ดเกย่ี วกบั สนิ คา ทง้ั ลกั ษณะ จำนวน สภาพความเสยี หาย วนั เวลา
ใหเ ขา ชมสนิ คา และสถานทเ่ี กบ็ รกั ษา ซง่ึ มผี สู นใจเขา รว มเสนอราคาประมลู ๖ ราย ใหร าคาสงู สดุ
กโิ ลกรมั ละ ๑.๕๕ บาท รวมเปน เงนิ ๒๔,๗๒๗.๑๕ บาท เมอ่ื พยานจำเลยกลา วอา งความเหน็ ของตน
เพยี งลอย ๆ โดยไมม พี ยานหลกั ฐานอน่ื มาสนบั สนนุ รวมทง้ั ในการสบื พยานโจทกซ ง่ึ เปน ผตู รวจสอบ
ความเสยี หาย จำเลยกม็ ไิ ดถ ามคา นใหเ หน็ วา กระบวนการตรวจสอบหรอื ผลการวเิ คราะหไ มถ กู ตอ ง
อยางไร การจะนำซากสินคาออกขายใหไดราคาตามที่จำเลยคาดหมายมีฐานการคิดคำนวณ
และตอ งดำเนนิ อยา งไร พยานหลกั ฐานของโจทกจ งึ มนี ำ้ หนกั ใหร บั ฟง ดกี วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง ไดว า
สนิ คา ไดร บั ความเสยี หายทง้ั หมด และการนำซากสนิ คา ออกประมลู ขายไดร าคา ๒๔,๗๒๗.๑๕ บาท
เปนจำนวนที่เหมาะสมแลว คงเหลือมูลคาความเสียหาย ๑,๘๔๕,๘๔๗.๔๔ บาท เมื่อโจทกใช
คาสินไหมทดแทนจำนวนดังกลาวใหแกผูเอาประกันภัยแลวเมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๘
ตามสำเนาเช็ค โจทกยอมรับชวงสิทธิจากผูเอาประกันภัยซึ่งมีตอจำเลยผูขนสง และโจทกไดรับ
คาสินไหมทดแทนจากบริษัทแอกซา ประกันภัย จำกัด (มหาชน) ซึ่งรับประกันภัยความรับผิด
ของจำเลยแลว ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท ตามสำเนาเช็ค ดังนี้ จำเลยตองรับผิดตอโจทกในจำนวนที่ยัง
ไมเต็มมูลคาความเสียหายอีก ๓๔๕,๘๔๗.๔๔ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป
ของตนเงินจำนวนดังกลาว นับแตวันที่โจทกเขารับชวงสิทธิ ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยวาจำเลยมิไดโตแยงเรื่องมูลคาความเสียหายและพิพากษา
ใหจำเลยชดใชคาเสียหายตอโจทกในจำนวนที่ยังไมเต็มมูลคาความเสียหายพรอมดอกเบี้ยนั้น
ศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษเห็นพอ งดว ยในผล อทุ ธรณของจำเลยขอน้ฟี ง ไมข้นึ เชน กนั

พพิ ากษายนื คาฤชาธรรมเนยี มชัน้ อทุ ธรณใ หเปน พับ.

(กรกนั ยา สุวรรณพานชิ - จักรกฤษณ เจนเจษฎา - วราคมน เลีย้ งพันธุ)

จันทรกระพอ ตอ สวุ รรณ สนิ ธวถาวร - ยอ
ปรานี เสฐจินตนิน - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงที่สดุ

๑๙๖

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๑๒๑๔/๒๕๖๑ บริษทั นวกจิ ประกันภยั จำกัด

(มหาชน) โจทก

บริษัทโปรเฟรท อินเตอรเ นช่นั แนล

จำกัด จำเลย

พ.ร.บ. การรบั ขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔๐, ๔๖

การขนสงในคดีนี้เปนแบบซีวาย/ซีวาย แสดงวาผูขนสงตกลงรับสินคาจาก
ผูสงที่ลานตูคอนเทนเนอรของทาเรือตนทางและสงมอบสินคาใหแกผูรับตราสงที่
ลานตูคอนเทนเนอรของทาเรือปลายทาง อันไดแกทาเรือกรุงเทพซึ่งอยูภายใตการ
ดำเนินการของการทาเรือแหงประเทศไทย ดังนั้น หนาที่ของผูขนสงจะสิ้นสุดลงเมื่อ
สงมอบตคู อนเทนเนอรใหแกทาเรือกรุงเทพแลว

______________________________

โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระเงิน ๑๓๑,๓๗๗.๙๖ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรา
รอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๑๒๓,๔๓๘.๙๗ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไปจนกวา จะชำระ
เสรจ็ แกโ จทก

จำเลยใหก าร ขอใหยกฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง คาฤชา
ธรรมเนยี มใหเปนพบั
โจทกอ ุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่โจทกและจำเลยไมไดโตแยงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวาโจทกเปน
นิติบุคคลประเภทบริษัทมหาชนจำกัด ประกอบธุรกิจรับประกันวินาศภัยทุกประเภทตามสำเนา
หนงั สอื รบั รอง บรษิ ทั คอมเมอรเ ชยี ล มารเ กต็ ตง้ิ จำกดั เอาประกนั ภยั สนิ คา อลั บม้ั รปู ๕๔๖ กลอ ง
ทข่ี นสง มากบั เรอื บรรทกุ สนิ คา ชอ่ื อ. เทย่ี วท่ี ๐๐๗ เอส (M.V. PAUL RUSS V.007S) จากทา เรอื
นิงโป สาธารณรัฐประชาชนจีน มายังกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ตามกรมธรรมประกันภัย
(Marine Cagro Policy) เลขที่ M065GG-001-000 (NKD-MCMN-15) จำเลยเปนนิติบุคคล
ประเภทบริษัทจำกัด ประกอบกิจการรับบริการนำของออกจากทาเรือตามพิธีการศุลกากรและ
การจดั ระวางการขนสง ทกุ ชนดิ เปน นายหนา ตวั แทนในกจิ การดงั กลา วตามสำเนาหนงั สอื รบั รอง

๑๙๗

บรษิ ัทคอมเมอรเชยี ล มารเก็ตต้งิ จำกดั ผูเอาประกันภยั สง่ั ซื้อสินคาอลั บั้มรปู จากบรษิ ทั เซ่ียงไฮ
บอซนิ เทรด จำกดั ผขู ายในสาธารณรฐั ประชาชนจนี ตามใบกำกบั สนิ คา (Commercial Invoice)
ผขู ายวา จา งบรษิ ทั แปซฟิ ค สตาร เอก็ ซเ พรส (ไชนา ) จำกดั เปน ผขู นสง สนิ คา จากทา เรอื เมอื งนงิ โป
สาธารณรฐั ประชาชนจนี มายงั กรงุ เทพมหานคร ประเทศไทย บรษิ ทั ดงั กลา วมจี ำเลยเปน ตวั แทน
ในประเทศไทย การขนสงใชเรอื บรรทกุ สินคา ชอ่ื อ. โดยสนิ คา บรรจใุ นตูค อนเทนเนอรห มายเลข
อารอีจียู ๓๐๘๒๔๒๒ และบรรทุกขึ้นเรือเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ตามสำเนาใบตราสง
(Bill of Lading) แผนที่ ๓ เรือบรรทุกสินคาเดินทางถึงกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เมื่อวันที่
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘ บรษิ ทั คอมเมอรเ ชยี ล มารเ กต็ ตง้ิ จำกดั
ไดร บั ใบสง่ั ปลอ ยสนิ คา ตามสำเนาใบสง่ั ปลอ ยสนิ คา (Delivery Order) และวนั ท่ี ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘
ตัวแทนของบริษัทคอมเมอรเชียล มารเก็ตติ้ง จำกัด ไดนำตูคอนเทนเนอรที่บรรจุสินคา
มายังโกดังสินคาของบริษัทดังกลาว พนักงานของบริษัทคอมเมอรเชียล มารเก็ตติ้ง จำกัด
พบวา มสี นิ คา เสยี หายจงึ แจง ใหโ จทกท ราบ โจทกม อบหมายใหบ รษิ ทั แมค็ ลาเรนส (ประเทศไทย) จำกดั
สำรวจความเสียหายตามใบประเมินความเสียหาย (First and Final Report, Commercial-
Cargo Marine) และภาพถาย เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ โจทกจายคาสินไหมทดแทนใหแก
บริษัทคอมเมอรเชียล มารเก็ตติ้ง จำกัด ๑๒๓,๔๓๘.๙๗ บาท ตามสำเนาหนังสือขออนุมัติจาย
คาสินไหมทดแทน/คาสำรวจความเสียหาย/คาใชจายตาง ๆ มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณ
ของโจทกว า คดโี จทกข าดอายคุ วามหรอื ไม เหน็ วา พ.ร.บ. การรบั ขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๔๖ บัญญัติวา “...สิทธิเรียกรองเอาคาเสียหายเพื่อการสูญหาย เสียหาย หรือสงมอบ
ชักชาแหงของที่รับขนตามสัญญารับขนของทางทะเล ถาไมไดฟองคดีตอศาล ...ภายในหนึ่งป
นับแตวันที่ผูขนสงไดสงมอบของ ...ใหเปนอันขาดอายุความ” และมาตรา ๔๐ แหง พ.ร.บ.
ดังกลาวบัญญัติวา “ในกรณีดังตอไปนี้ใหถือวาผูขนสงไดสงมอบของซึ่งตนไดรับไวแลว...
(๓) ผูขนสงไดมอบของไวกับเจาหนาที่หรือบุคคลใด ๆ ซึ่งกฎหมายหรือกฎ ขอบังคับที่ใชอยู
ณ ทา ปลายทางกำหนดใหผ ขู นสง ตอ งมอบของทข่ี นถา ยขน้ึ จากเรอื ไวก บั เจา หนา ทห่ี รอื บคุ คลดงั กลา ว”
ตามสำเนาใบตราสง แผน ท่ี ๓ ระบชุ นดิ ของการใหบ รกิ าร (service type) วา ซวี าย/ซวี าย (CY-CY)
แสดงวา บรษิ ทั แปซฟิ ค สตาร เอก็ ซเ พรส (ไชนา ) จำกดั ผขู นสง ตกลงรบั สนิ คา จากบรษิ ทั เซย่ี งไฮ
บอซนิ เทรด จำกัด ผูสงทีล่ านตูค อนเทนเนอร (container yard) ของทาเรอื ตนทาง และสงมอบ
สนิ คา ใหแ กบ รษิ ทั คอมเมอรเ ชยี ล มารเ กต็ ตง้ิ จำกดั ผรู บั ตราสง ทล่ี านตคู อนเทนเนอรข องทา เรอื
ปลายทางอันไดแกทาเรือกรุงเทพซึ่งอยูภายใตการดำเนินการของการทาเรือแหงประเทศไทย
ดังนั้นหนาที่ของบริษัทแปซิฟค สตาร เอ็กซเพรส (ไชนา) จำกัด ผูขนสงจะสิ้นสุดลงเมื่อสงมอบ

๑๙๘

ตูคอนเทนเนอรใหแกทาเรือกรุงเทพแลว จำเลยมีนางสาวอัจฉรา ผูจัดการเอกสารขาเขาของ
บริษัทจำเลย เบิกความประกอบบันทึกถอยคำยืนยันขอเท็จจริงหรือความเห็นวา ผูขนสงคือ
บริษัทแปซิฟค สตาร เอ็กซเพรส (ไชนา) จำกัด ไดสงมอบตูคอนเทนเนอรหมายเลข อารอีจียู
๓๐๘๒๔๒๒ ใหการทาเรือแหงประเทศไทย ซึ่งเปนเจาหนาที่ซึ่งกฎหมายหรือกฎขอบังคับ
ณ ทาเรือปลายทางกำหนดใหผูขนสงสงมอบตูคอนเทนเนอรไวในอารักขาแลวเมื่อวันที่ ๒๙
พฤษภาคม ๒๕๕๘ โจทกไ มส บื พยานใหเ หน็ เปน อยา งอน่ื กลบั ปรากฏจากใบประเมนิ ความเสยี หายวา
เรอื ขนสง สนิ คา มาถงึ กรงุ เทพมหานคร ประเทศไทย เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ และขนถา ย
ตคู อนเทนเนอรใ นวนั เดยี วกนั ขอ เทจ็ จรงิ จงึ รบั ฟง ไดต ามทจ่ี ำเลยนำสบื วา ผขู นสง คอื บรษิ ทั แปซฟิ ค
สตาร เอ็กซเพรส (ไชนา) จำกัด ไดสงมอบตูคอนเทนเนอรใหแกการทาเรือแหงประเทศไทย
ไปเก็บรักษาไวเมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ จึงถือวาผูขนสงไดสงมอบของตั้งแตวันที่ ๒๙
พฤษภาคม ๒๕๕๘ เมื่อโจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๙ จึงเกินกำหนด ๑ ป
นับแตว ันทีผ่ ูขนสงไดส ง มอบของ คดีโจทกจึงขาดอายคุ วามตาม พ.ร.บ. การรับขนของทางทะเล
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔๖ ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษา
ยกฟอ งน้ัน ศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษเหน็ พองดวยในผล อทุ ธรณของโจทกฟงไมข้ึน

พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนยี มช้ันอุทธรณใ หเ ปนพับ.

(สุรพล คงลาภ - ไชยยศ วรนนั ทศ ริ ิ - จมุ พล ภญิ โญสนิ วัฒน)

สจุ นิ ต เจนพาณิชพงศ - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงท่ีสุด

๑๙๙

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๗๐๒๘/๒๕๖๒ นายออง จอ โม โจทก

กรองกาญจน เตจางกุระ

กับพวก จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๘

พ.ร.บ. การรับขนทางอากาศระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๕๔ วรรคหนง่ึ ,

๕๕ วรรคหนึ่ง

พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี

ทรพั ยส ินทางปญญาและการคา ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖

โจทกแ ละจำเลยท่ี ๓ เปน คคู วามเดยี วกนั กบั คดหี มายเลขแดงท่ี ผบ.๒๑๓/๒๕๖๐
ของศาลแขวงพระนครใต (คดีเดิม) แมคดีนี้โจทกฟองจำเลยที่ ๓ ใหรับผิดรวมกับจำเลย
ที่ ๑ และที่ ๒ ในผลแหงละเมิดซึ่งจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไดกระทำไปในทางการที่จาง และ
คดีเดิมโจทกฟองจำเลยที่ ๓ ในฐานผิดสัญญาบริการขนสงคนโดยสารระหวางประเทศ
แตท ง้ั สองคดมี มี ลู กรณเี ดยี วกนั อนั สบื เนอ่ื งจากเหตกุ ารณเ มอ่ื วนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ซึ่งเปนพนักงานของจำเลยที่ ๓ ปฏิเสธไมใหโจทกโดยสารเครื่องบิน
โดยอางเหตุวา โจทกไมไดรับการลงตราเพื่อเขาสหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย ประเด็นที่
วินิจฉัยคดีนี้กับคดีเดิมจึงอาศัยเหตุอยางเดียวกัน เมื่อคดีเดิมถึงที่สุดแลว โดยศาล
อุทธรณพิพากษาใหจำเลยที่ ๓ รับผิดชำระคาเสียหายใหแกโจทก การที่โจทกนำคดีนี้มา
ฟองจำเลยที่ ๓ จึงเปนการรื้อรองฟองกันอีกโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันกับคดีเดิม
ฟอ งโจทกค ดนี ใ้ี นสว นของจำเลยท่ี ๓ เปน ฟอ งซำ้ กบั คดหี มายเลขแดงท่ี ผบ.๒๑๓/๒๕๖๐
ของศาลแขวงพระนครใต ตองหามตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๘ จำเลยท่ี ๒ ไมไ ดถ กู ฟอ งในคดเี ดมิ
จงึ มไิ ดเปน คูความเดยี วกันกบั คดีเดมิ ฟองโจทกในสวนของจำเลยท่ี ๒ ไมเ ปน ฟองซ้ำ

พ.ร.บ. การรบั ขนทางอากาศระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๕๔ วรรคหนง่ึ
บัญญัติวา “การฟองเรียกคาเสียหายในการรับขนคนโดยสาร สัมภาระ และของ ไมวาจะ
ฟองในมูลคดีตามพระราชบัญญัตินี้ มูลหนี้ตามสัญญา หนี้ที่เกิดจากมูลละเมิด หรือมูล
หนอ้ี น่ื จะกระทำไดเ ฉพาะภายใตบ งั คบั แหง เงอ่ื นไขและเกณฑจ ำกดั ความรบั ผดิ ทบ่ี ญั ญตั ิ
ไวในพระราชบัญญัตินี้” และมาตรา ๕๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “สิทธิในการฟองเรียกคา
เสยี หายจากการรบั ขนทางอากาศเปน อนั ระงบั สน้ิ ไปถา ไมม กี ารฟอ งคดภี ายในระยะเวลา

๒๐๐

สองปนับแตวันที่อากาศยานถึงถิ่นปลายทาง หรือนับแตวันที่อากาศยานนั้นควรจะได
ถงึ แลว หรอื นบั แตว นั ทก่ี ารรบั ขนไดห ยดุ ลง แลว แตก รณ”ี ดงั นน้ั การฟอ งคดตี าม พ.ร.บ.
การรบั ขนทางอากาศ ฯ จึงมีอายคุ วาม ๒ ป นบั แตว นั ที่อากาศยานถึงถิ่นปลายทาง หรือ
อากาศยานนั้นควรจะไดถึงแลว หรือการรับขนไดหยุดลง แลวแตกรณี เมื่อพิจารณา
จากสำเนาเอกสารยนื ยนั การจองบตั รโดยสารเครอ่ื งบนิ หากเดนิ ทางออกจากประเทศไทย
ในวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ จะถึงสาธารณรัฐไลบีเรียในวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
และตามคำฟองระบุวา โจทกเลื่อนการเดินทางกลับเปนวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
อากาศยานควรจะไดถึงสาธารณรัฐไลบีเรียในวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โจทกฟอง
คดนี เ้ี มอ่ื วนั ท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๖๐ จงึ เปน การฟอ งภายใน ๒ ป นบั แตว นั ทอ่ี ากาศยานควร
จะไดถงึ แลว ฟอ งโจทกในสว นของจำเลยที่ ๒ จงึ ไมข าดอายุความ

______________________________

โจทกฟอง ขอใหบังคับจำเลยทั้งสามรวมกันใชเงินจำนวนดังกลาวพรอมดอกเบี้ยใน
อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจำเลยทั้งสามจะชำระใหโจทกจน
ครบถว น

จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ใหการ ขอใหยกฟอง
ระหวางพิจารณา ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางมีคำสั่งวา
โจทกไมนำสงหมายเรียกและสำเนาคำฟองใหแกจำเลยที่ ๑ ภายในเวลาที่กำหนด ถือวาโจทก
ทง้ิ ฟอ ง ใหจำหนายคดโี จทกเ ฉพาะในสวนของจำเลยท่ี ๑ ออกจากสารบบความ
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง ใหโจทก
ใชคาฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยทัง้ สาม โดยกำหนดคา ทนายความ ๘,๐๐๐ บาท
โจทกอ ทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทโ่ี จทกก บั จำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ไมโ ตแ ยง กนั ในชน้ั อทุ ธรณร บั ฟง ไดว า โจทก
เปนบุคคลสัญชาติเมียนมา จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เปนพนักงานของจำเลยที่ ๓ โดยจำเลยที่ ๓
เปนนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัดตามกฎหมายของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส และประกอบธุรกิจ
สายการบิน เชก อาหเม็ด บิน ซาอี๊ด อัล-มัคตูม (-Sheikh Ahmed Bin Saeed Al- Maktoum)
เปน ประธานและหวั หนา เจา หนา ทบ่ี รหิ ารซง่ึ มอี ำนาจกระทำการแทนจำเลยท่ี ๓ และมอบอำนาจ
ใหน ายโมฮมั หมดั (Mohammand) เปน ผดู ำเนนิ คดแี ทนจำเลยท่ี ๓ โจทกซ อ้ื บตั รโดยสารเครอ่ื งบนิ

๒๐๑

แบบไปและกลับกับจำเลยที่ ๓ ตนทางสาธารณรัฐไลบีเรีย ปลายทางราชอาณาจักรไทย จาก
นายวรวฒุ ิ การเดนิ ทางในเทย่ี วไป โจทกต อ งโดยสารสายการบนิ เอรคิ (Arik Air) จากสาธารณรฐั
ไลบเี รยี มาทส่ี หพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี แลว เปลย่ี นมาเปน เครอ่ื งบนิ ของจำเลยท่ี ๓ และเดนิ ทาง
จากสหพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี มาทน่ี ครดไู บ สหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส กอ นเปลย่ี นเครอ่ื งบนิ อกี ครง้ั
และเดนิ ทางมาทร่ี าชอาณาจกั รไทย การเดนิ ทางเทย่ี วกลบั เปน ไปในทำนองเดยี วกนั เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐
ตุลาคม ๒๕๕๘ โจทกเดินทางจากสาธารณรัฐไลบีเรียมายังราชอาณาจักรไทย และเมื่อวันที่ ๘
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘ โจทกเ ตรยี มเดนิ ทางจากราชอาณาจกั รไทยกลบั สาธารณรฐั ไลบเี รยี และได
รบั บตั รทน่ี ง่ั บนเครอ่ื งบนิ แลว จำเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ ปฏเิ สธไมใ หโ จทกข น้ึ เครอ่ื งบนิ เนอ่ื งจากโจทก
ไมไดรับการตรวจลงตราเพื่อเขาสหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย และแจงใหโจทกไปรับการตรวจลง
ตรากอน เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โจทกไปขอรับการลงตราที่สถานเอกอัครราชทูต
สหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย ประจำราชอาณาจักรไทย และนายวรวุฒิซื้อบัตรโดยสารเครื่องบิน
ใหมใหแกโจทก โดยยังคงใชสายการบินของจำเลยที่ ๓ และใชเสนทางเดิม ตอมาโจทกขอให
จำเลยที่ ๓ ชี้แจงปญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากเห็นวาโจทกไมจำเปนตองตรวจลงตราเพื่อเขา
สหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย นายฮัมซา (Hamza) แผนกบริการลูกคาของจำเลยที่ ๓ แจงวา
การเขา ประเทศปลายทางขน้ึ อยกู บั การอนมุ ตั ขิ องหนว ยงานตรวจคนเขา เมอื งทอ งถน่ิ ทท่ี า อากาศยาน
ขาเขา เหตุที่เกิดขึ้นกับโจทกไมไดเกิดจากจำเลยที่ ๓ และปฏิเสธขอเรียกรองในการขอคืนเงิน
ในการเปลี่ยนบัตรโดยสารเครื่องบิน เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๐ โจทกมีหนังสือถึงผูจัดการ
ของจำเลยที่ ๓ ชี้แจงเหตุผลและแสดงหลักฐานที่ปฏิเสธไมใหโจทกโดยสารเครื่องบิน แตจำเลย
ท่ี ๓ เพกิ เฉย ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ โจทกฟ อ งจำเลยท่ี ๓ ตอ ศาลแขวงพระนครใต
ฐานผดิ สญั ญาใหบ รกิ าร เนอ่ื งจากเจา หนา ทข่ี องจำเลยท่ี ๓ ปฏเิ สธการใหบ รกิ ารแกโ จทก โดยอา ง
เหตผุ ลวา โจทกต อ งรบั การตรวจลงตราเพอ่ื เขา สหพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี โจทกเ รยี กคา เสยี หาย
ไดแ ก (๑) คา ขอรบั การตรวจลงตราทโ่ี จทกไ มไ ดใ ช (๒) คา บตั รโดยสารเครอ่ื งบนิ สายการบนิ เอรคิ
ตนทางสาธารณรฐั ไลบเี รยี ปลายทางสหพนั ธสาธารณรฐั ไนจเี รีย (๓) คาเปล่ยี นแปลงขอ มูลการ
เดนิ ทางกบั จำเลยท่ี ๓ และคา ธรรมเนยี มตา ง ๆ (๔) คา ทพ่ี กั ของโจทกห ลงั จากจำเลยท่ี ๓ ปฏเิ สธ
การใหบ รกิ าร ระหวา งวนั ท่ี ๘ ถงึ วนั ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘ (๕) คา พาหนะเดนิ ทางไปสถาน
เอกอัครราชทูต คาเดินทางไปที่ทำการของจำเลยที่ ๓ คาเดินทางไป-กลับทาอากาศยาน และ
คาพาหนะขณะที่อยูในราชอาณาจักรไทย (๖) คาขาดโอกาสในหนาที่การงานของโจทก (๗)
คาเสียหายที่จำเลยที่ ๓ หยามเกียรติ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย เลือกปฏิบัติตอโจทกอยางไร
เหตุผล ทั้งในฐานะผูบริโภคและคูสัญญา จนโจทกตองทนทุกขทรมานตอจิตใจ (๘) คาเสียหาย

๒๐๒

เชิงลงโทษผูประกอบการที่เอาเปรียบผูบริโภคโดยไมเปนธรรม รวมเปนเงิน ๒๘๐,๖๕๐ บาท
จำเลยที่ ๓ ขาดนัดยื่นคำใหการ เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ศาลแขวงพระนครใตพิพากษา
ใหจำเลยที่ ๓ ชำระเงินแกโจทก ๔๐,๙๑๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของ
ตน เงนิ ดงั กลา ว นบั ถดั จากวนั ฟอ ง (ฟอ งวนั ท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙) เปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็
ใหจ ำเลยท่ี ๓ ชำระคา ฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก โดยกำหนดคา ใชจ า ยในการดำเนนิ คดี ๑,๐๐๐ บาท
กับคาทนายความ ๓,๐๐๐ บาท สำหรับคาฤชาธรรมเนียมที่โจทกไดรับยกเวนนั้น ใหจำเลยที่ ๓
นำมาชำระตอ ศาลในนามโจทก คำขออน่ื นอกจากนใ้ี หย ก จำเลยท่ี ๓ ยน่ื คำรอ งขอพจิ ารณาคดใี หม
แตศ าลแขวงพระนครใตย กคำรอ ง จำเลยท่ี ๓ อทุ ธรณค ำสง่ั ดงั กลา ว สว นโจทกอ ทุ ธรณค ำพพิ ากษา
ในปญหาขอเท็จจริง ศาลอุทธรณรับอุทธรณของโจทก ศาลอุทธรณพิจารณาอุทธรณของโจทก
แลวพิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยที่ ๓ ชำระเงิน ๕๐,๙๑๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ
๗.๕ ตอป นับถัดจากวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ ซึ่งเปนวันฟองจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก
คา ฤชาธรรมเนยี มชน้ั อทุ ธรณใ หเ ปน พบั นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำพพิ ากษาศาลแขวงพระนครใต
จำเลยท่ี ๓ นำเงนิ ๕๔,๕๐๘.๕๗ บาท มาวางตอ ศาลแขวงพระนครใตเ พอ่ื ปฏบิ ตั ติ ามคำพพิ ากษา
ศาลอทุ ธรณ และขอถอนอุทธรณค ำส่งั ศาลอทุ ธรณอนญุ าต

มปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกป ระการแรกวา ฟอ งโจทกค ดนี เ้ี ปน ฟอ งซำ้
กับคดีหมายเลขแดงที่ ผบ.๒๑๓/๒๕๖๐ ของศาลแขวงพระนครใต หรือไม เห็นวา โจทกและ
จำเลยท่ี ๓ เปน คคู วามเดยี วกนั กบั คดหี มายเลขแดงท่ี ผบ.๒๑๓/๒๕๖๐ ของศาลแขวงพระนครใต
(คดีเดิม) แมคดีนี้โจทกฟองจำเลยที่ ๓ ใหรับผิดรวมกับจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ในผลแหงละเมิด
ซึ่งจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไดกระทำไปในทางการที่จาง และคดีเดิมโจทกฟองจำเลยที่ ๓ ในฐาน
ผดิ สญั ญาบรกิ ารขนสง คนโดยสารระหวา งประเทศ แตท ง้ั สองคดมี มี ลู กรณเี ดยี วกนั อนั สบื เนอ่ื งจาก
เหตุการณเมอื่ วนั ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ จำเลยที่ ๑ และท่ี ๒ ซ่ึงเปนพนกั งานของจำเลยที่ ๓
ปฏิเสธไมใหโจทกโดยสารเครื่องบินโดยอางเหตุวา โจทกไมไดรับการลงตราเพื่อเขาสหพันธ
สาธารณรัฐไนจีเรีย ประเด็นที่วินิจฉัยคดีนี้กับคดีเดิมจึงอาศัยเหตุอยางเดียวกัน เมื่อคดีเดิมถึง
ที่สุดแลว โดยศาลอุทธรณพิพากษาใหจ ำเลยท่ี ๓ รบั ผิดชำระคา เสียหายใหแกโจทก การที่โจทก
นำคดีนี้มาฟองจำเลยที่ ๓ จึงเปนการรื้อรองฟองกันอีกโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันกับคดีเดิม
ฟองโจทกคดีนี้ในสวนของจำเลยที่ ๓ เปนฟองซ้ำกับคดีหมายเลขแดงที่ ผบ.๒๑๓/๒๕๖๐ ของ
ศาลแขวงพระนครใต ตองหามตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๒๖ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๘ อยางไรก็ดี สำหรับ

๒๐๓

จำเลยที่ ๒ นั้น จำเลยที่ ๒ ไมไดถูกฟองในคดีเดิม จึงมิไดเปนคูความเดียวกันกับคดีเดิม ฟอง
โจทกในสวนของจำเลยที่ ๒ ไมอาจเปนฟองซ้ำกับคดีหมายเลขแดงที่ ผบ.๒๑๓/๒๕๖๐ ของ
ศาลแขวงพระนครใตได อทุ ธรณข องโจทกขอนฟี้ งข้ึนบางสวน

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการตอมาวา ฟองโจทกในสวนของ
จำเลยท่ี ๒ ขาดอายคุ วามหรอื ไม เหน็ วา ตามพระราชบญั ญตั กิ ารรบั ขนทางอากาศระหวา งประเทศ
พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๕๔ วรรคหนง่ึ บญั ญตั วิ า “การฟอ งเรยี กคา เสยี หายในการรบั ขนคนโดยสาร
สัมภาระ และของ ไมวาจะฟองในมูลคดีตามพระราชบัญญัตินี้ มูลหนี้ตามสัญญา หนี้ที่เกิดจาก
มลู ละเมดิ หรอื มลู หนอ้ี น่ื จะกระทำไดเ ฉพาะภายใตบ งั คบั แหง เงอ่ื นไขและเกณฑจ ำกดั ความรบั ผดิ
ที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้” และมาตรา ๕๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “สิทธิในการฟองเรียก
คา เสยี หายจากการรบั ขนทางอากาศเปน อนั ระงบั สน้ิ ไปถา ไมม กี ารฟอ งคดภี ายในระยะเวลาสองป
นับแตวันที่อากาศยานถึงถิ่นปลายทาง หรือนับแตวันที่อากาศยานนั้นควรจะไดถึงแลว หรือนับ
แตว ันท่กี ารรับขนไดห ยุดลง แลวแตกรณี” ดังนนั้ การฟองคดตี ามพระราชบัญญตั กิ ารรับขนทาง
อากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘ จงึ มอี ายคุ วาม ๒ ปน บั แตว นั ทอ่ี ากาศยานถงึ ถน่ิ ปลายทาง หรอื อากาศยาน
นน้ั ควรจะไดถ งึ แลว หรอื การรบั ขนไดห ยดุ ลงแลว แตก รณี เมอ่ื พจิ ารณาจากสำเนาเอกสารยนื ยนั
การจองบตั รโดยสารเครอ่ื งบนิ หากเดนิ ทางออกจากประเทศไทยในวนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
จะถึงสาธารณรัฐไลบีเรียในวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ และตามคำฟองระบุวา โจทกเลื่อนการ
เดินทางกลับเปนวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ อากาศยานควรจะไดถึงสาธารณรัฐไลบีเรียใน
วนั ท่ี ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘ โจทกฟ อ งคดนี เ้ี มอ่ื วนั ท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๖๐ จงึ เปน การฟอ งภายใน
๒ ป นบั แตว นั ทอ่ี ากาศยานควรจะไดถ งึ แลว ฟอ งโจทกใ นสว นของจำเลยท่ี ๒ จงึ ไมข าดอายคุ วาม

มปี ญ หาตามอทุ ธรณข องโจทกป ระการตอ มาวา จำเลยท่ี ๒ กระทำละเมดิ และตอ งชดใช
คาเสียหายใหแกโจทกหรือไม เพียงใด เมื่อคูความสืบพยานกันมาจนเสร็จสิ้นแลว ศาลอุทธรณ
คดีชำนัญพิเศษเห็นควรวินิจฉัยไปโดยไมตองยอนสำนวนไปใหศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศกลางพิจารณาอีก โจทกมีนายวรวุฒิผูรับมอบอำนาจโจทกเบิกความ
ประกอบบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ สรปุ ไดว า เมอ่ื วนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
พยานไดสนทนาทางโทรศัพทกับพนักงานของจำเลยที่ ๓ โดยพนักงานของจำเลยที่ ๓ อางวา
โจทกต อ งผา นจดุ ตรวจคนเขา เมอื งของสหพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี กอ นไปรบั บรกิ ารจากสายการบนิ
เอรคิ ทม่ี จี ดุ บรกิ ารภายในอาคารผโู ดยสารระหวา งประเทศเพอ่ื เดนิ ทางตอ ไปยงั สาธารณรฐั ไลบเี รยี
และปฏเิ สธการใหบ รกิ ารแกโ จทก ทง้ั ยนื ยนั ใหโ จทกไ ปดำเนนิ การลงตราเพอ่ื เขา สหพนั ธส าธารณรฐั
ไนจีเรียกอน แตหลังจากที่โจทกเดินทางกลับถึงสาธารณรัฐไลบีเรียตามเสนทางที่จำเลยที่ ๓

๒๐๔

ใหบริการแลว โจทกบอกพยานวาโจทกเดินทางเขาสหพันธสาธารณรัฐไนจีเรียไดโดยไมตองใช
การตรวจลงตรา พยานตรวจสอบหลักเกณฑตาง ๆ แลว การที่พนักงานของจำเลยที่ ๓ ปฏิเสธ
การใหบริการแกโจทกเปนการกระทำที่ไมถูกตอง ฝายจำเลยที่ ๒ มีนางสาวพันทิพา พนักงาน
ของจำเลยท่ี ๓ เบกิ ความประกอบบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ วา พยานทำงาน
อยูที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ พยานกับจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ มีหนาที่ตรวจสอบบัตรโดยสาร
เครื่องบิน หนังสือเดินทาง และเอกสารที่เกี่ยวของกับการเดินทาง รวมถึงการลงตรา ซึ่งจะ
ตรวจสอบวา เปน การลงตราสำหรบั ประเทศปลายทาง (destination) หรอื ประเทศทเ่ี ปน จดุ แวะพกั
เพอ่ื เปลย่ี นเครอ่ื งบนิ (transit) หรอื ไม และตรวจสอบวา การลงตราดงั กลา วเปน ไปตามกฎเกณฑ
ของประเทศปลายทางหรือของประเทศที่เปนจุดแวะพักเพื่อเปลี่ยนเครื่องบินหรือไม วิธีการ
ตรวจสอบจะตรวจสอบจากคมู อื ขอ มลู การเดนิ ทาง (Travel Information Manual) ซง่ึ สมาคมขนสง
ทางอากาศระหวางประเทศ (International Air Transport Association หรือ IATA) เปนผูจัดทำ
ขอมูลดังกลาวปรากฏอยูในระบบคอมพิวเตอรที่เรียกวา TIMATIC TIMATIC จึงเปนฐานขอมูล
เกี่ยวกับเอกสารที่จำเปนสำหรับผูโดยสารซึ่งจะเดินทางขามประเทศ และเปนคูมือขอมูลการ
เดินทางแบบอัตโนมัติ (Travel Information Manual Automatic) ที่พนักงานภาคพื้นดินและ
สายการบนิ ใชใ นการพจิ ารณาวา เอกสารการเดนิ ทางใดทผ่ี โู ดยสารจำเปน ตอ งมสี ำหรบั การเดนิ ทาง
ไปยังประเทศปลายทางหรือประเทศที่เปนจุดแวะพักเพื่อเปลี่ยนเครื่องบิน จากการตรวจสอบ
ขอมูลจาก TIMATIC พยานพบวา ผูโดยสารที่ถือหนังสือเดินทางของสาธารณรัฐแหงสหภาพ
เมียนมาตองมีการตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผาน (Transit Visa) ในการเปลี่ยนเครื่องบิน
ที่สหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย เวนแตผูโดยสารมีบัตรโดยสารเครื่องบินของเที่ยวบินที่จะเดินทาง
ไปประเทศอื่นภายใน ๒๔ ชั่วโมง และในกรณีดังกลาว ผูโดยสารจะไมไดรับอนุญาตใหออกนอก
พื้นที่สำหรับผูโดยสารเปลี่ยนเครื่องบินระหวางประเทศของทาอากาศยานเมอทารา มูฮัมเหม็ด
การท่ีโจทกไมม กี ารลงตราประเภทคนเดินทางผาน จะทำใหโจทกไ มไดรับอนญุ าตจากเจาหนาที่
ตรวจคนเขา เมอื งของสหพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี ใหเ ดนิ ทางผา นพน้ื ทข่ี องทา อากาศยานเมอทารา
มูฮัมเหม็ด เพื่อรับสัมภาระและสำรองที่นั่ง (check in) อีกครั้งภายในอาคารผูโดยสารระหวาง
ประเทศ เพอ่ื เดนิ ทางตอ ไปดว ยเครอ่ื งบนิ ของสายการบนิ เอรคิ หากจำเลยทง้ั สามอนญุ าตใหโ จทก
เดินทางไปสหพันธสาธารณรัฐไนจีเรียโดยไมมีการลงตราประเทศคนเดินทางผาน จำเลยที่ ๓
อาจตองรับผิดชอบในการสงตัวโจทกกลับรวมทั้งคาปรับจากหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของของ
สหพันธสาธารณรัฐไนจีเรียอีกดวย ตามขอ ๑๓.๒ ถึงขอ ๑๓.๔ ของเงื่อนไขการขนสงผูโดยสาร
และสมั ภาระของจำเลยพรอ มคำแปล เหน็ วา ขอ มลู ตามระบบ TIMATIC หวั ขอ การเดนิ ทางผา น

๒๐๕

โดยไมมีการลงตรา (TWOV Transit without VISA) มีขอความวา การเดินทางเขาสหพันธ
สาธารณรฐั ไนจเี รยี ตอ งมกี ารลงตรา ยกเวน ผโู ดยสารทม่ี บี ตั รโดยสารเครอ่ื งบนิ ทไ่ี ดร บั การยนื ยนั
ใหเ ดนิ ทางตอ ไปสำหรบั เทย่ี วบนิ ไปยงั ประเทศทส่ี ามภายใน ๒๔ ชว่ั โมง (VISA required-except
for passengers with a confirmed onward ticket for a flight to a third country within 24
hours.) และพวกเขาตองอยูในพื้นที่สำหรับผูโดยสารเปลี่ยนเครื่องบินระหวางประเทศของ
ทา อากาศยานและตอ งมเี อกสารทจ่ี ำเปน สำหรบั ปลายทาง (They must stay in the international
transit area of the airport and have documents required for the next destination.) ขอ ความ
ดังกลาวยอมทำใหจำเลยที่ ๒ เขาใจวา โจทกซึ่งเปนบุคคลสัญชาติเมียนมาตองไดรับการตรวจ
ลงตราเพื่อเขาสหพันธสาธารณรัฐไนจีเรียประเภทคนเดินทางผาน ประกอบกับฝายจำเลยมี
จำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนหัวหนาฝายบริการประจำทาอากาศยาน (Supervisor Airport Services) ที่มี
หนาที่ดูแลและใหบริการผูโดยสารของจำเลยที่ ๓ ภาคพื้นดิน เบิกความประกอบบันทึกถอยคำ
ยืนยันขอเท็จจริงหรือความเห็นวา วันเกิดเหตุจำเลยที่ ๒ ปฏิบัติหนาที่ในฐานะพนักงานประจำ
เคานเตอรสำรองที่นั่งของจำเลยที่ ๓ สวนจำเลยที่ ๑ ปฏิบัติหนาที่ในฐานะหัวหนางานของ
จำเลยที่ ๒ เมื่อจำเลยที่ ๑ และที่ ๒ ตรวจสอบเอกสารการเดินทางของโจทกแลวพบวา โจทก
ไมมีการลงตราประเภทคนเดินทางผาน (Transit Visa) มีเพียงเอกสารยืนยันการจองเที่ยวบิน
กับสายการบินเอริค เที่ยวบินที่ ดับเบิลยู ๓๓๐๒ เทานั้น โจทกจะสามารถเดินทางผานสหพันธ
สาธารณรัฐไนจีเรีย โดยไมมีการตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผานไดเฉพาะกรณีที่โจทก
อยูภายในพื้นที่สำหรับผูโดยสารเปลี่ยนเครื่องบินระหวางประเทศของทาอากาศยานเมอทารา
มูฮัมเหม็ด เทานั้น แตเนื่องจากสายการบินเอริคไมมีจุดบริการสำรองที่นั่งภายในพื้นที่สำหรับ
ผูโดยสารเปลี่ยนเครื่องบินระหวางประเทศ โจทกจะตองผานจุดตรวจคนเขาเมืองของสหพันธ
สาธารณรัฐไนจีเรียกอนและไปรับสัมภาระกับดำเนินการสำรองที่นั่งกับสายการบินเอริคที่มีจุด
บริการสำรองที่นั่งภายในอาคารผูโดยสารระหวางประเทศกอน โจทกจึงไมสามารถเดินทางผาน
สหพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี ไปยงั สาธารณรฐั ไลบเี รยี โดยไมอ อกจากพน้ื ทส่ี ำหรบั ผโู ดยสารเปลย่ี น
เครื่องบินระหวางประเทศของทาอากาศยานเมอทารา มูฮัมเหม็ด ได เพื่อใหแนใจวาโจทกจะ
ตองมีการลงตราประเภทคนเดินทางผาน ในการเปลี่ยนเครื่องบินที่สหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย
เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เวลา ๐๑.๔๓ นาิกา จำเลยที่ ๒ ติดตอกับพนักงานของ
จำเลยที่ ๓ ซึ่งประจำอยูที่ทาอากาศยานเมอทารา มูฮัมเหม็ด ทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส
เพอ่ื ตรวจสอบเรอ่ื งดงั กลา ว เวลา ๐๒.๐๙ มบี คุ คลชอ่ื อบาโยมิ อเดกานบิ (Abayomi Adekanmbi)
พนักงานของจำเลยที่ ๓ ซึ่งประจำอยูที่ทาอากาศยานเมอทารา มูฮัมเหม็ด แจงจำเลยที่ ๑ ทาง

๒๐๖

ไปรษณยี อ เิ ลก็ ทรอนกิ สว า จากการตรวจสอบกบั เจา หนา ทต่ี รวจคนเขา เมอื งของสหพนั ธส าธารณรฐั
ไนจเี รยี แลว โจทกจ ำเปน ตอ งมกี ารตรวจลงตราประเภทคนเดนิ ทางผา นในการเขา ประเทศดงั กลา ว
เพื่อรับสัมภาระที่ทาอากาศยานเมอทารา มูฮัมเหม็ด และสำรองที่นั่งอีกครั้งเพื่อเดินทางตอไป
ดวยเครื่องบินของสายการบินเอริค เที่ยวบินที่ ดับเบิลยู ๓๓๐๒ เห็นวา จำเลยที่ ๒ เบิกความ
สอดคลองกับขอความในสำเนาไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ซึ่งบุคคลชื่ออบาโยมิสงถึงจำเลยที่ ๑
โดยอา งถงึ คำสง่ั ของสำนกั งานตรวจคนเขา เมอื งสหพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี (Nigerian Immigration
Directive) วา ผูโดยสารตองมีตรวจลงตราประเภท คนเดินทางผานเพื่อผานไปจากเมืองลากอส
(The passenger required a Transit Visa to pass through LOS.) ซง่ึ หมายความวา โจทกจ ะผา น
จากเมืองลากอส สหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย ไดตองมีการตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผาน
และสอดคลองกับสำเนารายงานการปฏิบัติงานในวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ที่วามีการสง
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกสหารือกับทาอากาศยานเมืองลากอสแลวและไดรับการยืนยันวาไมใหรับ
ผูโดยสารขึ้นบนเครื่องบินตามคำสั่งของสำนักงานตรวจคนเขาเมืองสหพันธ สาธารณรัฐไนจีเรีย
(The email was sent to consult with LOS APT and confirmed not ok to board regarding
to Nigerian Immigration Directive) คำเบิกความของจำเลยที่ ๒ จึงมีเหตุผลนาเชื่อถือ สวนที่
โจทกเบิกความประกอบบันทึกถอยคำยืนยันขอเท็จจริงหรือความเห็นวา โจทกรับสัมภาระที่
ทา อากาศยานเมอทารา มฮู มั เหมด็ แตไ มต อ งออกนอกทา อากาศยานและไมไ ดใ ชก ารตรวจลงตรา
ทท่ี ำมานน้ั เหน็ วา กรณอี าจเปน ไปตามทน่ี างสาวพนั ทพิ า พยานจำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ตอบทนาย
จำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ถามเพิ่มเติมวา เจาหนาที่อาจสุมตรวจผูโดยสารบางคน เมื่อโจทกไมไดรับ
การสุมตรวจ จึงไมมีการประทับตราในเอกสารของโจทก นอกจากนี้ ยังไดความจากโจทกและ
นายวรวฒุ ติ อบทนายจำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ถามคา นวา ในการเดินทางกลบั โจทกคงไดร ับแตบ ัตร
ที่นั่งบนเครื่องบินของสายการบินจำเลยที่ ๓ และที่สนามบินลากอส ไมมีเคานเตอรสำหรับ
ผูโดยสารผานทางหรือ check through เมื่อโจทกเดินทางไปถึงสนามบินลากอสแลว จะตองไป
ขอรับบัตรที่นั่งบนเครื่องบินจากสายการบินเอริค แสดงวา โจทกยังไมมีบัตรโดยสารที่ไดรับ
การยืนยันอันจะเขา เงอ่ื นไขยกเวนการตรวจลงตราตามสำเนาคมู ือ Travel Information Manual
(TIM) พยานหลักฐานของจำเลยที่ ๒ มีน้ำหนักนาเชื่อถือมากกวา พยานหลักฐานของโจทกยัง
ไมมีน้ำหนักใหเพียงพอรับฟงวา โจทกสามารถเดินทางผานสหพันธสาธารณรัฐไนจีเรียไดโดย
ไมม กี ารตรวจลงตราประเภทคนเดนิ ทางผา น เมอ่ื ขอ เทจ็ จรงิ ปรากฏวา จำเลยท่ี ๒ ปฏบิ ตั หิ นา ท่ี
ตามคมู อื ขอ มลู การเดนิ ทางแบบอตั โนมตั ิ อกี ทง้ั ไดต รวจสอบกบั พนกั งานของจำเลยท่ี ๓ ซง่ึ ประจำ
อยทู ท่ี า อากาศยานเมอทารา มฮู มั เหมด็ ในสหพนั ธส าธารณรฐั ไนจเี รยี แลว จงึ ฟง ไดว า จำเลยท่ี ๒

๒๐๗

กระทำการไปตามสมควรแกหนาที่แลว และไมมีเหตุใหรับฟงไดวา จำเลยที่ ๒ กระทำโดยจงใจ
หรือประมาทเลินเลอเพื่อใหโจทกไดรับความเสียหาย ดังนั้น จำเลยที่ ๒ จึงไมไดกระทำละเมิด
ตอโจทกและไมจำตองชดใชคาเสียหายใหแกโจทก อุทธรณของโจทกขอนี้ฟงไมขึ้น ที่ศาล
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษายกฟอ งนน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั
พเิ ศษเหน็ พองดวยในผล

พพิ ากษายืน คาฤชาธรรมเนียมชัน้ อุทธรณใ หเปน พบั .
(สุรพล คงลาภ - ตลุ เมฆยงค - จมุ พล ภิญโญสินวัฒน)

สธุ รรม สธุ มั นาถพงษ - ยอ
วิวฒั น วงศกติ ตริ ักษ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ทส่ี ดุ

๒๐๘

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๑๐๓๗/๒๕๖๑ บรษิ ัทมอนเดลซี (ประเทศไทย)

จำกัด โจทก

คณะกรรมการพจิ ารณาการ

ทุม ตลาดและการอดุ หนนุ

กบั พวก จำเลย

พ.ร.บ. ตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๔, ๒๙, ๓๙

ประเดน็ แรกทว่ี า ประกาศของจำเลยท่ี ๑ ฉบบั ลงวนั ท่ี ๑๐ มกราคม ๒๕๕๗ เปน
ไปโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม เนื่องจากไมไดระบุขอความตามมาตรา ๓๙ วรรคสอง
(๕) และ (๖) นั้น เมอ่ื ปรากฏวาโจทกไมมพี ยานหลกั ฐานนำสืบในเรื่องน้ี ประกอบกับทาง
นำสบื ของจำเลยทง้ั สองวา มกี ารทบทวนมาตรการตอบโตก ารทมุ ตลาดหลายครง้ั แตโ จทก
ไมเ คยใชส ทิ ธติ ามทร่ี ะบไุ วใ นมาตรา ๓๙ วรรคสอง (๕) และ (๖) นน้ั ดงั นน้ั แมก ารไมร ะบุ
ขอความใหครบถวนจะเปนการไมถูกตอง แตก็ยังไมพอฟงวาเปนการลิดรอนสิทธิของ
โจทกถ งึ ขนาดทจ่ี ะทำใหก ระบวนการทจ่ี ำเลยทง้ั สองดำเนนิ มาทง้ั หมดเสยี ไป ทศ่ี าลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยมานั้นชอบดวยผลแลว อุทธรณของ
โจทกใ นประเดน็ นฟ้ี ง ไมข น้ึ สว นทโ่ี จทกอ ทุ ธรณว า ไมไ ดร บั แจง เพราะไมป รากฏหลกั ฐาน
ในใบตอบรบั นน้ั โจทกม เี พยี งนาง น. นำสบื ลอย ๆ เพยี งปากเดยี ว ในขณะทจ่ี ำเลยท่ี๒ มี นาย ป.
และนางสาว ส. นำสบื ประกอบเอกสารหมาย ล.๑๐ พยานหลกั ฐานของจำเลยท่ี ๒ มนี ำ้ หนกั
ดกี วา อทุ ธรณข องโจทกป ระเดน็ นฟ้ี ง ไมข น้ึ เชน กนั สว นทโ่ี จทกอ า งวา จำเลยท่ี ๒ ไมจ ดั การ
ประชมุ ตามกฎหมาย กไ็ มป รากฏวา โจทกร ะบปุ ระเดน็ นเ้ี ปน ขอ อา งเพอ่ื ใหเ กดิ เปน ประเดน็
ขอพิพาทไวในคำฟอง จึงไมไดเปนขอที่ไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลทรัพยสิน
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษจงึ ไมร บั วนิ จิ ฉยั ให
และสำหรบั ทโ่ี จทกอ า งวา จำเลยท่ี ๑ ใชอ ำนาจตามใจชอบในการตอ อายปุ ระกาศอกี เปน
เวลา ๕ ป และเลือกที่จะรับฟงขอมูลจากฝายอุตสาหกรรมภายในฝายเดียว เมื่อโจทกไม
สามารถนำสบื ใหเ หน็ ไดช ดั วา มกี ารเลอื กปฏบิ ตั อิ ยา งไร พยานโจทกจ งึ ไมม นี ำ้ หนกั ใหร บั ฟง
อุทธรณข องโจทกข อ นีจ้ ึงฟงไมข ้ึนเชนกัน

๒๐๙

ประเด็นตอมาที่วา พยานหลักฐานของโจทกเพียงพอใหรับฟงไดหรือไมวา
กรดซิทริกที่ผลิตในประเทศไทยมีรสชาติแตกตางจากกรดซิทริกที่มีแหลงกำเนิดจาก
สาธารณรัฐประชาชนจีน เห็นวา การที่ประเทศไทยใชมาตรการตอบโตการทุมตลาด
สำหรับสินคากรดซิทริกที่มีแหลงกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เทากับวามีการ
พจิ ารณาเปรียบเทียบกรดซทิ รกิ ท่ีผลิตในประเทศไทยกับกรดซิทรกิ ทีม่ ีแหลง กำเนดิ จาก
สาธารณรฐั ประชาชนจนี แลว ซง่ึ ตามนยิ ามศพั ทข องกฎหมายระบวุ า เปน สนิ คา ชนดิ เดยี วกนั
ซึ่งหมายความวา สินคาที่มีคุณสมบัติเหมือนกันทุกประการกับสินคาที่ถูกพิจารณา
แตในกรณีที่ไมมีสินคาดังกลาว ใหหมายความวาสินคาที่คลายคลึงกับสินคาดังกลาว
ดังนั้น การโตแยงของโจทกเรื่องรสชาติที่แตกตางกันจึงเปนการโตแยงขอเท็จจริง
ทย่ี ตุ แิ ลว วา กรดซทิ รกิ ทผ่ี ลติ ในประเทศไทยกบั กรดซทิ รกิ ทม่ี แี หลง กำเนดิ จากสาธารณรฐั
ประชาชนจนี เปน สนิ คา ชนดิ เดยี วกนั พยานโจทกท น่ี ำสบื มาจงึ ไมม นี ำ้ หนกั ดไี ปกวา ขอ เทจ็ จรงิ
ดังกลาว คดียังไมอาจรับฟงไดวา กรดซิทริกที่ผลิตในประเทศไทยมีคุณสมบัติแตกตาง
จากกรดซิทริกที่มีแหลงกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน อนึ่ง ที่โจทกอุทธรณวา
จำเลยที่ ๒ มีหนาที่ตองพิจารณาขอเท็จจริงอื่นประกอบดวย ตาม พ.ร.บ. ตอบโตการทุม
ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา จากตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๙ นน้ั ตอ งเปน กรณี
ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางไดว นิ จิ ฉยั โดยมกี ารนำขอ เทจ็ จรงิ
อื่นมาประกอบการพิจารณาตาม มาตรา ๒๙ เมื่อโจทกมิไดโตแยงคำวินิจฉัยของศาล
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวา ไมช อบอยา งไร อทุ ธรณข องโจทก
ขอ น้ีจึงฟงไมข้ึน

ประเดน็ สดุ ทา ยทว่ี า ประกาศจำเลยท่ี ๑ เปน การเลอื กปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มเ ปน ธรรมหรอื ไม
เมื่อปรากฏวา จำเลยท่ี ๒ ไดพจิ ารณาพยานหลกั ฐานตา ง ๆ ตามขอ เทจ็ จรงิ โดยคำนึงถึง
ผลกระทบในหลายมติ ิ รวมถงึ พจิ ารณาถงึ ผลประโยชนท ก่ี ลมุ ตา ง ๆ จะไดร บั ทง้ั ในระยะสน้ั
และระยะยาวแลว โดยจำเลยท่ี ๑ พบวา การยกเวน การเรยี กเกบ็ อากรตอบโตก ารทมุ ตลาด
โจทกจ ะเปน ผไู ดร บั ประโยชนเ ทา นน้ั ในขณะทผ่ี บู รโิ ภคไมไ ดร บั ประโยชนแ ตอ ยา งใดและ
ไมเปนการสงเสริมใหมีการใชวัตถุดิบในประเทศ เปนการพิจารณาโดยครบถวนแลว
คดีจึงยังรับฟงไมไดวาประกาศจำเลยที่ ๑ เปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรม อุทธรณ
ของโจทกข อ นจ้ี ึงฟง ไมข นึ้ เชน กนั

______________________________

๒๑๐

โจทกฟ อ งขอใหพ พิ ากษาหรอื สง่ั ใหเ พกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั ชน้ั ทส่ี ดุ หรอื ประกาศจำเลยท่ี ๑
เรื่อง ผลการพิจารณาทบทวนความจำเปนในการใชมาตรการตอบโตการทุมตลาดตอไปและ
ผลการพจิ ารณาทบทวนอตั ราอากรตอบโตก ารทมุ ตลาดกรดซทิ รกิ ทม่ี แี หลง กำเนดิ จากสาธารณรฐั
ประชาชนจนี พ.ศ. ๒๕๕๗ ลงวนั ท่ี ๑๐ มกราคม ๒๕๕๗ โดยใหม ผี ลยอ นหลงั นบั ตง้ั แตว นั ประกาศ
เปน ตน ไป และใหจ ำเลยทง้ั สองคนื อากรตอบโตก ารทมุ ตลาดสนิ คา กรดซทิ รกิ แกโ จทก หากจำเลย
ทั้งสองไมป ฏบิ ตั ติ าม ขอใหถอื เอาคำพพิ ากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาของจำเลยท้งั สอง

ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางมคี ำสง่ั ไมร บั ฟอ งโจทกส ำหรบั
จำเลยที่ ๑

จำเลยท่ี ๒ ใหการขอใหยกฟอง
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิพากษายกฟอง คาฤชา
ธรรมเนียมใหเ ปนพบั
โจทกอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกข อ ทห่ี นง่ึ วา ประกาศจำเลยท่ี ๑ ฉบบั ลงวนั ท่ี ๑๐ มกราคม ๒๕๕๗
เปนไปโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา คดีนี้โจทกเปนฝายกลาวอาง โจทกจึงมีภาระการ
พิสูจน สำหรับประเด็นแรกที่วา ขั้นตอนการประกาศทบทวนความจำเปนในการใชมาตรการ
ตอบโตก ารทมุ ตลาด ไมช อบดว ยกฎหมาย เพราะไมไ ดร ะบขุ อ ความตามมาตรา ๓๙ วรรคสอง (๕)
และ (๖) นั้น โจทกไมมีพยานหลักฐานนำสืบในเรื่องนี้ สวนจำเลยที่ ๒ มีนายประกิจ นำสืบวา
ประกาศ เรื่อง เปดการทบทวนความจำเปนในการใชมาตรการตอบโตการทุมตลาดตอไปและ
เปด การทบทวนอัตราอากรตอบโตก ารทมุ ตลาดสินคากรดซิทรกิ ท่มี ีแหลง กำเนดิ จากสาธารณรัฐ
ประชาชนจนี พ.ศ. ๒๕๕๖ น้ัน มีขอความครบตามมาตรา ๓๙ วรรคสองซึ่งมาตรา ๖๐ ใหน ำมา
ใชโดยอนุโลม จำเลยที่ ๒ มีรูปแบบ ประเพณีและวิธีในการออกประกาศซึ่งเปนการดำเนินการ
ตามกฎหมาย และตอบทนายโจทกถ ามคา นวา การประกาศไตส วนทบทวนการทมุ ตลาดทม่ี าตรา ๓๙
วรรคสอง (๖) ระบุวาจะตองกำหนดเวลาใหผูมีสวนไดเสียแจงความจำนงขอแถลงการณดวย
วาจาประกอบการไตสวนการทุมตลาดและความเสียหาย แตในเอกสารไมไดระบุไว เพราะเปน
การทบทวนรอบที่สามแลว ไมใชการไตสวนครั้งแรก มีการอางถึงการทบทวนในรอบแรก ๆ
เอาไวดวย และมีนางสาวสตวรรษ นำสืบในทำนองเดียวกัน เห็นวา การใหนำกฎหมายมาใช
บังคับโดยอนุโลม หมายความวา นำมาปรับใชใหสอดคลองกับกฎหมายที่มีอยู แมขอความตาม
มาตรา ๓๙ วรรคสอง จะเปนขอความสำคัญ แตเนื่องจากมีการทบทวนการใชมาตรการตอบโต

๒๑๑

การทุมตลาดมาหลายครั้ง โจทกก็ไมเคยใชสิทธิตามที่ระบุใน (๕) และ (๖) เลย ดังนั้น แมการ
ไมร ะบขุ อ ความใหค รบถว นจะเปน การไมถ กู ตอ ง แตก ย็ งั ไมพ อฟง วา เปน การลดิ รอนสทิ ธขิ องโจทก
ถงึ ขนาดทจ่ี ะทำใหก ระบวนการทจ่ี ำเลยทง้ั สองดำเนนิ มาทง้ั หมดเสยี ไป ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยมานั้นชอบดวยในผลแลว อุทธรณของโจทกประเด็นนี้
ฟงไมข้นึ

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกข อ ทส่ี องวา พยานหลกั ฐานโจทกเ พยี งพอ
ใหรับฟงไดหรือไม เห็นวา กรดซิทริกที่ผลิตในประเทศไทยมีรสชาติแตกตางจากกรดซิทริกที่มี
แหลงกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยโจทกอุทธรณวา โจทกมีพยานบุคคลและพยาน
เอกสารทย่ี นื ยนั ไดแ ลว วา กรดซทิ รกิ ทผ่ี ลติ ในประเทศไทยไมอ าจใชเ ปน สว นผสมของสนิ คา โจทก
โดยโจทกมีนางสาวมิเชล นางสาวพรรณสวลี และนางสาวชลิตา นำสืบในทำนองเดียวกันวา
กรดซิทริกที่ผลิตในประเทศไทยมีรสชาติแตกตางจากกรดซิทริกที่มีแหลงกำเนิดจากสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน แตนางสาวพรรณสวลีก็นำสืบดวยวา พยานไดแ จงใหต วั แทนของบริษัทไทยซติ รกิ
แอซิด จำกดั รับทราบ ตวั แทนรับวา จะไปดำเนนิ การพิจารณาแกไ ขปรับปรุงใหไดม าตรฐานและ
คุณภาพที่โจทกตองการ และมีการติดตอกับบริษัทซันชาย ไบโอเทค อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด
เพื่อใหไดมาซึ่งกรดซิทริกตามมาตรฐานโจทก กรดซิทริกที่ผลิตในประเทศไทยใชมันสำปะหลัง
เปน วตั ถดุ บิ หลกั ในการผลติ สว นกรดซทิ รกิ ทม่ี แี หลง กำเนดิ จากสาธารณรฐั ประชาชนจนี ใชข า วโพด
เปนวัตถุดิบหลักในการผลิต แตถามีเทคโนโลยีทันสมัยอาจทำใหรสชาติกรดซิทริกที่ผลิตโดย
มันสำปะหลังมีรสชาติใกลเคียงกับกรดซิทริกที่ผลิตโดยขาวโพดได สวนนางสาวชลิตานำสืบ
เพิ่มเติมวา จนถึงปจจุบัน บริษัทไทยซิตริก แอซิด จำกัด ไมไดแจงกลับมาวามีการปรับปรุง
คุณสมบัติและรสชาติของกรดซิทริกตามที่โจทกตองการหรือไม สวนจำเลยที่ ๒ มีนายประกิจ
นำสืบวา จากการตรวจสอบขอเท็จจริงพบวา บริษัทไทยซิตริก แอซิด จำกัด และบริษัทซันชาย
ไบโอเทค อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด มีความสามารถในการผลิตกรดซิทริกประเภทแอนไฮดรัส
ตรงตามคณุ สมบัติที่โจทกตอ งการตง้ั แตป  ๒๕๕๔ และนางสาวสตวรรษ นำสืบวา เรือ่ งรสชาตนิ ้ี
เปน การกลา วอา งลอย ๆ ของโจทกโ ดยปราศจากพยานหลกั ฐานทน่ี า เชอ่ื ถอื จากหนว ยงานตรวจ
พิสูจนที่เปนกลาง เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติมาเปนพยานยืนยัน เห็นวา ประเทศไทยใช
มาตรการตอบโตก ารทมุ ตลาดสำหรบั สนิ คา กรดซทิ รกิ ทม่ี แี หลง กำเนดิ จากสาธารณรฐั ประชาชนจนี
มากอนแลว เทากับวามีการพิจารณาเปรียบเทียบกรดซิทริกที่ผลิตในประเทศไทยกับกรดซิทริก
ที่มีแหลงกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีนแลว ซึ่งตามนิยามศัพทของกฎหมายระบุวา สินคา
ชนิดเดียวกัน หมายความวา สินคาที่มีคุณสมบัติเหมือนกันทุกประการกับสินคาที่ถูกพิจารณา

๒๑๒

แตใ นกรณที ไ่ี มม สี นิ คา ดงั กลา ว ใหห มายความวา สนิ คา ทค่ี ลา ยคลงึ กนั มากกบั สนิ คา ดงั กลา ว ดงั นน้ั
การโตแ ยง ของโจทกเ รอ่ื งรสชาตทิ แ่ี ตกตา งกนั จงึ เปน การโตแ ยง ขอ เทจ็ จรงิ ทย่ี ตุ แิ ลว วา กรดซทิ รกิ
ที่ผลิตในประเทศไทยกับกรดซิทริกที่มีแหลงกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนสินคาชนิด
เดียวกัน พยานโจทกที่นำสืบมาจึงไมมีน้ำหนักดีไปกวาขอเท็จจริงดังกลาวรวมตลอดถึงพยาน
จำเลยที่ ๒ ที่นำสืบไว คดียังไมอาจรับฟงไดวา กรดซิทริกที่ผลิตในประเทศไทยมีคุณสมบัติ
แตกตางจากกรดซิทริกที่มีแหลงกำเนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน อนึ่ง ที่โจทกอุทธรณวา
จำเลยท่ี ๒ มหี นา ทต่ี อ งพจิ ารณาขอ เทจ็ จรงิ อน่ื ประกอบดว ย ตามพระราชบญั ญตั กิ ารตอบโตก าร
ทมุ ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา จากตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๙ เหน็ วา ศาลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางไดวินิจฉัยไวแลววา มีการนำขอเท็จจริงอื่น ๆ มาใช
ประกอบการพิจารณาตามมาตรา ๒๙ ดวย โจทกไมไดอุทธรณโตแยงวา คำวินิจฉัยของศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางดังกลาวไมชอบอยางไร ดังนั้น ที่ศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยมานั้นชอบดวยในผล อุทธรณของ
โจทกข อนี้ฟง ไมข้ึนเชนกนั

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกข อ ทส่ี ามวา ประกาศจำเลยท่ี ๑ เปน การ
เลอื กปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มเ ปน ธรรมหรอื ไม เหน็ วา โจทกน ำสบื พยานบนพน้ื ฐานของแนวคดิ การถกู ประพฤติ
อยา งไมเ ปน ธรรมโดยไมไ ดพ จิ ารณาถงึ องคป ระกอบอน่ื ขณะทจ่ี ำเลยท่ี ๒ นำสบื ถงึ สาเหตทุ ป่ี ฏบิ ตั ิ
ตอ โจทกแ ตกตา งจากกรณอี น่ื พยานหลกั ฐานโจทกจ งึ ไมม นี ำ้ หนกั ดไี ปกวา พยานหลกั ฐานจำเลย
ท่ี ๒ คดรี บั ฟง ไมไ ดว า ประกาศจำเลยท่ี ๑ เปน การเลอื กปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มเ ปน ธรรม ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทาง
ปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั มานน้ั ชอบแลว อทุ ธรณข องโจทกใ นขอ นฟ้ี ง ไมข น้ึ
อกี เชน กนั

พิพากษายนื คา ฤชาธรรมเนยี มช้ันอุทธรณใหเ ปนพบั .

(ไชยยศ วรนันทศ ริ ิ - จุมพล ภิญโญสินวฒั น - สุรพล คงลาภ)

ฐิติ สเุ สารัจ - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงท่สี ุด

๒๑๓

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พเิ ศษที่ ๒๘๐๐/๒๕๖๓ บรษิ ัทอูกรงุ เทพ จำกดั โจทก

คณะกรรมการพจิ ารณา

การทุมตลาดและการอดุ หนุน

กับพวก จำเลย

ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕), ๒๔๖
พ.ร.บ. การตอบโตการทุม ตลาดและการอุดหนุนซ่ึงสนิ คา จากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒

มาตรา ๑๕, ๑๗, ๔๙, ๕๗, ๕๙, ๖๑

พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณา
คดีทรัพยส ินทางปญญาและการคา ระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙

พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๑ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ผูใดไมพอใจคำวินิจฉัยชั้นที่สุดของ
คณะกรรมการ ตามมาตรา ๔๙ หรือคำวินิจฉัยของคณะกรรมการในการขอใหทบทวน
ตาม...มาตรา ๕๗ ... มาตรา ๕๙ ใหอ ทุ ธรณค ำวนิ จิ ฉยั ดงั กลา วตอ ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคา ระหวา งประเทศไดภ ายในสามสบิ วนั นบั แตไ ดร บั แจง คำวนิ จิ ฉยั นน้ั ” เมอ่ื ปรากฏ
วาเอกสารหมาย จ.๑๔ หรือ ล.๘ เปนคำวินิจฉัยชั้นที่สุดของจำเลยที่ ๑ ตาม พ.ร.บ. การ
ตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๙
สวนเอกสารหมาย ล.๗ เปนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ ในการขอใหทบทวน ตาม พ.ร.บ.
การตอบโตก ารทมุ ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา จากตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๗
ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖ และวันที่ ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๕๒ ตามลำดบั ถอื วา โจทกท ราบคำวนิ จิ ฉยั ชน้ั ทส่ี ดุ และคำวนิ จิ ฉยั ดงั กลา ว
ตง้ั แตว นั ทป่ี ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว การทโ่ี จทกฟ อ งคดนี เ้ี มอ่ื วนั ท่ี ๑๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘
จึงลวงพนระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด โจทกไมมีอำนาจฟองขอใหเพิกถอนคำวินิจฉัย
ชน้ั ทส่ี ดุ ของจำเลยท่ี ๑ ตามสำเนาประกาศ เอกสารหมาย จ.๑๔ หรอื ล.๘ และคำวนิ จิ ฉยั
ของจำเลยท่ี ๑ ทต่ี อ อายกุ ารใชม าตรการตอบโตก ารทมุ ตลาด ตามสำเนาประกาศ เอกสาร
หมาย ล.๗ ปญหาเรื่อง กำหนดระยะเวลาดังกลาว มิใชเรื่องอายุความตาม ป.พ.พ. หาก
แตเปน เรื่องอำนาจฟองอันเปน ปญ หาขอกฎหมายเก่ยี วดว ยความสงบเรียบรอ ย แมไ มม ี
คูความฝายใดอุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได ตาม

๒๑๔

พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบ ป.ว.ิ พ.
มาตรา ๒๔๖ และมาตรา ๑๔๒ (๕)

สวนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ ตามเอกสารหมาย จ.๘ หรือ ล.๓๗ นั้น ปรากฏที่
มุมบนขวาบนของเอกสารหมาย จ.๘ วา โจทกไดรับหนังสือแจงผลการวินิจฉัยคำขอคืน
อากรตอบโตการทุมตลาดเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ โจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๑๘
มิถุนายน ๒๕๕๘ จึงเปนการฟองภายในกำหนดระยะเวลาตามที่บัญญัติไวใน พ.ร.บ.
การตอบโตก ารทมุ ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา จากตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๑ แลว
โจทกมีอำนาจฟองขอใหเพิกถอนคำวินิจฉัยของจำเลยที่ ๑ ที่ไมคืนอากรตอบโต
การทุมตลาดใหแกโจทก ตามสำเนาหนังสือกรมการคาตางประเทศ เอกสารหมาย จ.๘
หรอื ล.๓๗

พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๔๒ ยอมใหม กี ารคำนวณหามลู คา ปกตโิ ดยใชข อ มลู ราคาจากประเทศแหลง กำเนดิ
ไดต ามมาตรา ๑๕ วรรคสอง (๒) และมาตรา ๑๗ ประกอบกบั พยานจำเลยทง้ั สามเบกิ ความ
ประกอบบันทึกถอยคำยืนยันขอเท็จจริงหรือความเห็นวา การขอคืนอากรตอบโตการ
ทมุ ตลาดไมส ามารถใชข อ มลู ราคาทเ่ี ปน อยใู นประเทศผสู ง ออกเปน เกณฑใ นการหามลู คา
ปกติตาม พ.ร.บ. การตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ ได เนื่องจากเปนการคืนใหเฉพาะธุรกรรมที่มีการสงออกมายัง
ราชอาณาจกั รไทยและไมม สี ว นเหลอ่ื มการทมุ ตลาดหรอื สว นเหลอ่ื มการทมุ ตลาดตำ่ กวา
อากรที่ไดชำระไปแลว การหามูลคาปกติเพื่อนำมาพิสูจนสวนเหลื่อมการทุมตลาด
จงึ ตอ งใชข อ มลู ราคาของยเู ครนประกอบการพจิ ารณา ขอ ตอ สขู องโจทกฟ ง ไมข น้ึ คำวนิ จิ ฉยั
ของจำเลยที่ ๑ ทไ่ี มคนื อากรตอบโตการทุมตลาดใหแกโจทกชอบดว ยกฎหมายแลว

_____________________________

โจทกฟ อง ขอใหเพกิ ถอนคำวินจิ ฉัยช้นั ท่สี ุดของจำเลยที่ ๑ ท่ใี หเ รยี กเก็บอากรตอบโต
การทมุ ตลาดเหลก็ แผน รดี รอ นชนดิ เปน มว นและไมเ ปน มว น พกิ ดั อตั ราศลุ กากร ประเภทท่ี ๗๒๐๘,
๗๒๑๑.๑๓, ๗๒๑๑.๑๔ และ ๗๒๑๑.๑๙ ทม่ี แี หลง กำเนดิ จากประเทศญป่ี นุ สาธารณรฐั แอฟรกิ าใต
สหพนั ธรฐั รสั เซยี สาธารณรฐั คาซคั สถาน สาธารณรฐั อนิ เดยี สาธารณรฐั เกาหลี ดนิ แดนไตห วนั
สาธารณรัฐเวเนซูเอลา สาธารณรัฐอารเจนตินา ประเทศยูเครน สาธารณรัฐประชาธิปไตย

๒๑๕

ประชาชนแอลจเี รยี สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี สาธารณรฐั สโลวกั และประเทศโรมาเนยี และเพกิ ถอน
คำวินิจฉัยชั้นที่สุดของจำเลยที่ ๑ ที่ไมคืนอากรตอบโตการทุมตลาดใหแกโจทก กรณีที่โจทกนำ
เขา เหลก็ แผน รดี รอ นจากยเู ครน ตามพกิ ดั อตั ราศลุ กากรประเภท ๗๒๒๖.๙๙.๙๐ ซง่ึ อยนู อกเหนอื
พกิ ดั อตั ราศลุ กากรทถ่ี กู เรยี กเกบ็ อากรตอบโตก ารทมุ ตลาด กบั ขอใหศ าลมคี ำสง่ั ใหจ ำเลยทง้ั สาม
คนื อากรตอบโตก ารทุม ตลาดพรอ มดอกเบย้ี ตามอัตราท่กี ฎหมายกำหนดแกโ จทก

จำเลยท้งั สามใหก าร ขอใหยกฟอ ง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษายกฟอ ง ใหโ จทกใ ช
คาฤชาธรรมเนยี มแทนจำเลยทั้งสาม โดยกำหนดคาทนายความจำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท
โจทกอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่โจทกและจำเลยทั้งสามไมโตแยงกันในชั้นอุทธรณรับฟงไดวา โจทกเปน
นิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด มีวัตถุประสงคในการทำอูเรือ สราง ซอมเรือเดินสมุทร เรือกลไฟ
และบรรดาเรือทุกชนิด และเปนรัฐวิสาหกิจซึ่งอยูในความควบคุมดูแลของกระทรวงกลาโหม
จำเลยที่ ๑ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจาก
ตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๗๒ มรี ฐั มนตรวี า การกระทรวงพาณชิ ย เปน ประธานกรรมการ
และมจี ำเลยท่ี ๒ เปน กรรมการ จำเลยท่ี ๓ เปน นติ บิ คุ คลมฐี านะเปน กรม สงั กดั กระทรวงพาณชิ ย
มอี ำนาจหนา ทด่ี ำเนนิ การดา นกฎหมายวา ดว ยการตอบโตก ารทมุ ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา
จากตา งประเทศ เมอ่ื ป ๒๕๔๕ บรษิ ทั สหวริ ยิ าสตลี อนิ ดสั ตรี จำกดั (มหาชน) ในฐานะอตุ สาหกรรม
ภายใน ยื่นคำขอใหจำเลยที่ ๓ ดำเนินการพิจารณาตอบโตการทุมตลาดสินคาเหล็กแผนรีดรอน
ชนดิ เปน มว น และไมเ ปน มว นทม่ี แี หลง กำเนดิ จากญป่ี นุ สาธารณรฐั แอฟรกิ าใต สหพนั ธรฐั รสั เซยี
สาธารณรฐั คาซคั สถาน สาธารณรฐั อนิ เดยี สาธารณรฐั เกาหลี ดนิ แดนไตห วนั สาธารณรฐั เวเนซเู อลา
สาธารณรฐั อารเ จนตนิ า ยเู ครน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนแอลจเี รยี สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี
สาธารณรัฐสโลวัก และโรมาเนีย (ตอไปจะเรียกวา สินคาเหล็กแผนรีดรอนที่มีแหลงกำเนิดจาก
ยูเครน ฯลฯ) จำเลยที่ ๓ จึงออกประกาศไตสวนการทุมตลาดและความเสียหาย ตามสำเนา
ประกาศจำเลยที่ ๓ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๕ ตอมาจำเลยที่ ๑ มีคำวินิจฉัยเบื้องตนวา
ผูผลิตหรือผูสงออกสินคาเหล็กแผนรีดรอนที่มีแหลงกำเนิดจากยูเครน ฯลฯ ไดสงสินคาเขามา
ทุมตลาดและกอใหเกิดความเสียหายแกอุตสาหกรรมผูผลิตในประเทศ ซึ่งเปนความเสียหาย
อยา งสำคญั จงึ กำหนดใหใ ชม าตรการชว่ั คราวตอบโตก ารทมุ ตลาด ตามสำเนาประกาศจำเลยท่ี ๑
ลงวนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๕ และตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖ จำเลยท่ี ๑ มคี ำวนิ จิ ฉยั

๒๑๖

ชัน้ ทีส่ ุดวา มีการทมุ ตลาดและมีความเสียหาย ตามพระราชบญั ญตั ิการตอบโตการทุม ตลาดและ
การอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา จากตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๙ (๑) และใหเ รยี กเกบ็ อากรตอบโต
การทมุ ตลาดในการนำเขา สนิ คา เหลก็ แผน รดี รอ นทม่ี แี หลง กำเนดิ จากยเู ครน ฯลฯ เปน ระยะเวลา
๕ ป นับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยสินคาที่มีแหลงกำเนิดจากยูเครน
ซึ่งผลิตจาก (ก) IRON & STEEL เก็บในอัตรารอยละ ๓๐.๔๕ ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. (ข) ผูผลิต
รายอน่ื เกบ็ ในอตั รารอ ยละ ๖๗.๖๙ ของราคา ซ.ี ไอ.เอฟ. ตามสำเนาประกาศจำเลยท่ี ๑ (ฉบบั ท่ี ๕)
ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖
จำเลยท่ี ๓ ออกประกาศแสดงรายละเอยี ดขอ เทจ็ จรงิ และขอ กฎหมายอนั เปน สาระสำคญั ทใ่ี ชเ ปน
พน้ื ฐานในการพจิ ารณาผลการไตส วนชน้ั ทส่ี ดุ ตามสำเนาประกาศจำเลยท่ี ๓ (ฉบบั ท่ี ๒) ลงวนั ท่ี
๑๑ มิถุนายน ๒๕๔๖ กอนครบกำหนดเวลาการบังคับใชมาตรการตอบโตการทุมตลาด บริษัท
สหวริ ยิ าสตลี อนิ ดสั ตรี จำกดั (มหาชน) ยน่ื คำขอใหท บทวนเพอ่ื เรยี กเกบ็ อากรตอบโตก ารทมุ ตลาด
ตอ ไปอกี ๕ ป จำเลยท่ี ๑ วนิ จิ ฉยั วา คำขอดงั กลา วมมี ลู เพยี งพอทจ่ี ะพจิ ารณาทบทวนความจำเปน
ในการตออายุมาตรการตอบโตการทุม ตลาด และเหน็ สมควรใหท บทวนขอบเขตของสนิ คาที่อาจ
เรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดตอไป จึงใหจำเลยที่ ๓ เปดการทบทวนเรื่องดังกลาว ตาม
สำเนาประกาศจำเลยที่ ๓ ลงวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ตอมาจำเลยที่ ๑ มีมติใหเรียกเก็บ
อากรตอบโตก ารทมุ ตลาดสำหรบั การนำเขา สนิ คา เหลก็ แผน รดี รอ นทม่ี แี หลง กำเนดิ จากยเู ครน ฯลฯ
ตอไปอีก ๕ ป นับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยสินคาที่มีแหลงกำเนิด
จากยูเครน ซึ่งผลิตจาก (ก) Ilyich Iron เก็บในอัตรารอยละ ๓๐.๔๕ ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. (ข)
ผูผลิตรายอื่น เก็บในอัตรารอยละ ๖๗.๖๙ ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. ตามสำเนาประกาศจำเลยที่ ๑
ลงวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒
จำเลยท่ี ๓ ออกประกาศแสดงรายละเอยี ดขอ เทจ็ จรงิ และขอ กฎหมายอนั เปน สาระสำคญั ทใ่ี ชเ ปน
พื้นฐานในการพิจารณาทบทวนความจำเปนในการตออายุการใชมาตรการตอบโตการทุมตลาด
ตามสำเนาประกาศจำเลยท่ี ๓ ลงวนั ท่ี ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๕๒ ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒
จำเลยที่ ๑ มีมติใหเรียกเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดในการนำเขาสินคาเหล็กแผนรีดรอน
ที่มีแหลงกำเนิดจากยูเครน ฯลฯ ในอัตรารอยละ ๐ ของราคา ซี.ไอ.เอฟ. กรณีนำเขามาใน
ราชอาณาจกั รเพอ่ื สง ออกภายใตก ฎหมายวา ดว ยการนคิ มอตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทยกฎหมาย
วา ดว ยการสง เสรมิ การลงทนุ และกฎหมายวา ดว ยศลุ กากร สำหรบั ใชใ นกลมุ อตุ สาหกรรมตอ เรอื และ
ซอ มเรอื และกลมุ อตุ สาหกรรมกอ สรา งงานเหลก็ ตามสำเนาประกาศจำเลยท่ี ๑ ลงวนั ท่ี ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๕๒
เมื่อป ๒๕๕๒ โจทกสั่งซื้อสินคาแผนเหล็กสำหรับตอเรือ (mild steel ship plates-ABS GR A)

๒๑๗

พกิ ดั อตั ราศลุ กากรประเภทท่ี ๗๒๒๖.๙๙.๙๐ รวม ๔ รายการ จากบรษิ ทั เอเซยี เอน็ เตอรไ พร จำกดั
สาธารณรัฐสิงคโปร และนำเขามาในราชอาณาจักรไทยผานคลังสินคาทัณฑบน ตามสำเนา
ใบขนสนิ คา ขาเขา พรอ มแบบแสดงรายการภาษสี รรพสามติ และภาษมี ลู คา เพม่ิ สำเนา Commercial
Invoice และอน่ื ๆ ตอ มากรมศลุ กากรแจง วา โจทกช ำระคา ภาษอี ากรไวไ มถ กู ตอ งครบถว น ๓ รายการ
เนอ่ื งจากเปน สนิ คา เหลก็ แผน รดี รอ นทม่ี แี หลง กำเนดิ จากยเู ครน ฯลฯ ทต่ี อ งเสยี อากรตอบโตก าร
ทุมตลาด โดยโจทกตองชำระภาษีมูลคาเพิ่ม ๓๑,๔๐๕ บาท และภาษีอากรซึ่งเปนอากรตอบโต
การทุมตลาด ๔๔๘,๖๐๕ บาท ตามสำเนาแบบแจงการประเมิน/เรียกเก็บอากรขาเขา/ขาออก
ภาษีสรรพสามิต ภาษีมูลคาเพิ่ม และภาษีอื่น ๆ (กรณีอื่น ๆ) ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๓
กอ นหนา น้ี กรมศลุ กากรเคยแจง ใหโ จทกจ ดั ทำใบขนสนิ คา เพอ่ื ชำระคา อากรตอบโตก ารทมุ ตลาด
เนอ่ื งจากตรวจสอบพบวา มสี นิ คา เหลก็ แผน รดี รอ นทจ่ี ะตอ งชำระคา อากรตอบโตก ารทมุ ตลาดมาแลว
หลายครง้ั ตามหนงั สอื ฝา ยบรกิ ารคลงั สนิ คา ทณั ฑบ นและเขตปลอดอากรท่ี ๑ ท่ี กค ๐๕๐๔(๓.๑)/๔๖๘
ลงวันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๕๒ และอน่ื ๆ รวม ๑๑ ฉบบั โจทกช ำระคาอากรตอบโตการทมุ ตลาด
คาภาษีมูลคาเพิ่ม และเงินเพิ่มคาภาษีมูลคาเพิ่มรวม ๕๐๔,๙๗๖.๗๑ บาท ตามสำเนาใบเสร็จ
รับเงิน ตอมาโจทกนำสงแบบคำขอคืนอากรตอบโตการทุมตลาดตอจำเลยที่ ๒ เพื่อขอคืนอากร
ตอบโตการทุมตลาด ตามสำเนาหนังสือโจทก ที่ กห ๕๗๐๐/๕๖ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๗
จำเลยที่ ๓ แจงโจทกวา การยื่นแบบคำขอและเอกสารประกอบคำขอคืนอากรตอบโตการทุม
ตลาดตามพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๙ จำเปนตองมีหลักฐานขอมูลที่แสดงวา ไมมีสวนเหลื่อมการทุมตลาด
หรอื สว นเหลอ่ื มการทมุ ตลาดลดลงตำ่ กวา อากรตอบโตก ารทมุ ตลาดทใ่ี ชบ งั คบั ซง่ึ กรณนี ห้ี มายถงึ
(๑) ขอ มลู รายการขายภายในยเู ครนของบรษิ ทั ผสู ง ออก (Sales on domestic market-Transaction)
(๒) ขอ มลู รายการขายสง ออกมายงั ราชอาณาจกั รไทย ซง่ึ ทอนเปน ระดบั ราคาขาย ณ หนา โรงงาน
ประเทศผสู ง ออก (Export to Thailand-Transaction) (๓) ขอ มลู แสดงการคำนวณการเปลย่ี นแปลง
ของสวนเหลื่อมการทุมตลาด (Dumping margin) และใหโจทกสงขอมูลและหลักฐานประกอบ
คำขอภายในวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๗ ตามสำเนาหนังสือจำเลยที่ ๓ ที่ พณ ๐๓๑๐/๓๖๗
ลงวนั ท่ี ๒๐ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๗ โจทกข อขยายระยะเวลาการจดั สง เอกสารประกอบคำขอหลายครง้ั
ตามสำเนาหนังสือโจทก ที่ กห ๕๗๐๐/๒๐๙ ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๗, ที่ กห ๕๗๐๐/๓๕๑
ลงวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗, ที่ กห ๕๗๐๐/๔๗๑ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๗ และที่
กห ๕๗๐๐/๖๑๙ ลงวนั ท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๕๗ ตอ มาโจทกแ จง จำเลยท่ี ๓ วา สถานการณใ นยเู ครน
ยังไมมีความปลอดภัย และขอใหจำเลยที่ ๓ ใชวิธีการและกลไกของกระทรวงพาณิชยในการขอ

๒๑๘

ราคาเทียบเคียงอันจะเปนผลเพื่อนำมาบรรเทาอัตราภาษีที่เรียกเก็บ ตามสำเนาหนังสือโจทก
ที่ กห ๕๗๐๐/๑๘๘ ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๘ ตอมาเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘
จำเลยท่ี ๑ มมี ตวิ า คำขอคนื อากรตอบโตก ารทมุ ตลาดของโจทก ไมม ขี อ มลู และหลกั ฐานเพยี งพอ
ทจ่ี ะพสิ จู นต ามพระราชบญั ญตั กิ ารตอบโตก ารทมุ ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา จากตา งประเทศ
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๙ ไดว า ไมม สี ว นเหลอ่ื มการทมุ ตลาด หรอื สว นเหลอ่ื มการทมุ ตลาดลดลง
ต่ำกวาอากรตอบโตการทุมตลาดที่ใชบังคับจึงเห็นสมควรไมคืนอากร ตามสำเนาระเบียบวาระ
การประชุมจำเลยที่ ๑ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๘ จำเลยที่ ๓ แจงมติดังกลาวใหโจทกทราบ และแจงดวย
วา หากโจทกไ มพ อใจคำวนิ จิ ฉยั ดงั กลา ว ใหอ ทุ ธรณต อ ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศไดภ ายใน ๓๐ วนั นบั แตว นั ไดร บั แจง ตามสำเนาหนงั สอื จำเลยท่ี ๓ ท่ี พณ ๐๓๐๙/๒๑๐๘
ลงวนั ที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของโจทกประการแรกวา โจทกมีอำนาจฟองคดีนี้
หรือไม เห็นวา ตามพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตาง
ประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๑ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ผูใดไมพอใจคำวินิจฉัยชั้นที่สุดของ
คณะกรรมการตามมาตรา ๔๙ หรือคำวินิจฉัยของคณะกรรมการในการขอใหทบทวนตาม...
มาตรา ๕๗ ... มาตรา ๕๙ ใหอทุ ธรณคำวินจิ ฉัยดังกลา วตอศาลทรัพยสินทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศไดภายในสามสบิ วันนบั แตไ ดร บั แจง คำวินิจฉยั น้นั ” เมอ่ื ปรากฏวา เอกสารหมาย
จ.๑๔ หรอื ล.๘ เปน คำวนิ จิ ฉยั ชน้ั ทส่ี ดุ ของจำเลยท่ี ๑ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารตอบโตก ารทมุ ตลาด
และการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๙ สวนเอกสารหมาย ล.๗
เปน คำวนิ จิ ฉยั ของจำเลยท่ี ๑ ในการขอใหท บทวน ตามพระราชบญั ญตั กิ ารตอบโตก ารทมุ ตลาด
และการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา จากตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๗ ไดป ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖ และวนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ตามลำดบั ถอื วา โจทกท ราบ
คำวนิ จิ ฉยั ชน้ั ทส่ี ดุ และคำวนิ จิ ฉยั ดงั กลา วตง้ั แตว นั ทป่ี ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว การทโ่ี จทก
ฟอ งคดนี เ้ี มอ่ื วนั ท่ี ๑๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘ จงึ ลว งพน ระยะเวลาทก่ี ฎหมายกำหนด โจทกไ มม อี ำนาจ
ฟองขอใหเพิกถอนคำวินิจฉัยชั้นที่สุดของจำเลยที่ ๑ ตามสำเนาประกาศจำเลยที่ ๑ (ฉบับที่ ๕)
ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๖ และคำวนิ จิ ฉยั ของจำเลยที่ ๑ ท่ตี อ อายกุ ารใชมาตรการตอบโต
การทมุ ตลาด ตามสำเนาประกาศจำเลยท่ี ๑ ลงวนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ปญ หาเรอ่ื งกำหนด
ระยะเวลาดังกลาว มิใชเรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หากแตเปน
เรื่องอำนาจฟองอันเปนปญหาขอกฎหมายเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอย แมไมมีคูความฝายใด
อุทธรณ ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษมีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได ตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง

๒๑๙

ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญา
และการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๙ ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพง มาตรา ๒๔๖ และมาตรา ๑๔๒ (๕) สว นคำวนิ จิ ฉยั ของจำเลยท่ี ๑ ตามเอกสารหมาย
จ.๘ หรอื ล.๓๗ นน้ั ปรากฏทม่ี มุ บนขวาบนของเอกสารหมาย จ.๘ วา โจทกไ ดร บั หนงั สอื แจง ผล
การวินิจฉัยคำขอคืนอากรตอบโตการทุมตลาดเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ (๒๐/๕/๕๘)
โจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๘ จึงเปนการฟองภายในกำหนดระยะเวลาตาม
ทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบญั ญตั กิ ารตอบโตก ารทมุ ตลาดและการอดุ หนนุ ซง่ึ สนิ คา จากตา งประเทศ
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๑ แลว โจทกม อี ำนาจฟอ งขอใหเ พกิ ถอนคำวนิ จิ ฉยั ของจำเลยท่ี ๑ ทไ่ี มค นื
อากรตอบโตการทุมตลาดใหแกโจทก ตามสำเนาหนังสือจำเลยที่ ๓ ที่ พณ ๐๓๐๙/๒๑๐๘
ลงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ อทุ ธรณข องโจทกฟง ขึ้นบางสวน

มปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกป ระการตอ มาวา คำวนิ จิ ฉยั ของจำเลยท่ี ๑
ที่ไมคืนอากรตอบโตการทุมตลาดใหแกโจทกชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติ
การตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๙
วรรคหนง่ึ บญั ญตั วิ า “ผนู ำเขา อาจขอคนื อากรตอบโตก ารทมุ ตลาดในขณะหนง่ึ ขณะใดได ถา ผนู น้ั
พิสูจนไดวาไมมีสวนเหลื่อมการทุมตลาดหรือสวนเหลื่อมการทุมตลาดลดลงต่ำกวาอากรตอบโต
การทมุ ตลาดทใ่ี ชบ งั คบั ” โจทกจ งึ มหี นา ทพ่ี สิ จู นใ หจ ำเลยท่ี ๑ เหน็ วา ไมม สี ว นเหลอ่ื มการทมุ ตลาด
หรือสวนเหลื่อมการทุมตลาดลดลงต่ำกวาอากรตอบโตการทุมตลาดที่ใชบังคับ แตโจทกไมมี
หลักฐานขอมูลที่แสดงวาการนำเขาสินคาเหล็กแผนรีดรอนที่มีแหลงกำเนิดจากยูเครน ฯลฯ
ของโจทกใ นชวงเวลาท่มี ีการเรยี กเก็บอากรตอบโตการทุมตลาดตามประกาศจำเลยที่ ๑ ลงวันที่
๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ไมม สี ว นเหลอ่ื มการทมุ ตลาด หรอื สว นเหลอ่ื มการทมุ ตลาดลดลงตำ่ กวา
อากรตอบโตการทุม ตลาดท่ีใชบ ังคับ ทัง้ ที่จำเลยท่ี ๑ ไดใ หโอกาสโดยการขยายระยะเวลาการสง
หลักฐานขอมูลถึงหนึ่งป การที่จำเลยที่ ๑ มีคำวินิจฉัยไมคืนอากรตอบโตการทุมตลาดจึงชอบ
ดวยเหตุผลแลว สวนที่โจทกอุทธรณวา โจทกนำเขาสินคาโดยสงออกจากประเทศอื่นซึ่งมิใช
ประเทศแหลงกำเนิด จำเลยที่ ๑ สามารถใชขอมูลราคาที่เปนอยูในประเทศผูสงออกเปนเกณฑ
ในการหามูลคาปกติตามพระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคา
จากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ และหาสวนเหลื่อมราคาตามพระราชบัญญัติการ
ตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ ถึง
มาตรา ๑๘ ไดแ ตจ ำเลยท่ี ๑ และท่ี ๓ กลบั อา งวา โจทกไ มม ขี อ มลู และหลกั ฐานเพยี งพอนน้ั เหน็ วา
พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒

๒๒๐

ยอมใหมกี ารคำนวณหามลู คา ปกติโดยใชข อมูลราคาจากประเทศแหลง กำเนิดไดต ามมาตรา ๑๕
วรรคสอง (๒) และมาตรา ๑๗ ประกอบกับจำเลยทั้งสามมีนางสาวปยชาติ นักวิชาการพาณิชย
ชำนาญการพิเศษ กองปกปองและตอบโตทางการคา จำเลยที่ ๓ พยานจำเลยทั้งสามเบิกความ
ประกอบบันทึกถอยคำยืนยันขอเท็จจริงหรือความเห็นวา การขอคืนอากรตอบโตการทุมตลาด
ไมสามารถใชขอมูลราคาที่เปนอยูในประเทศผูสงออกเปนเกณฑในการหามูลคาปกติตาม
พระราชบัญญัติการตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินคาจากตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๕ ได เนื่องจากเปนการคืนใหเฉพาะธุรกรรมที่มีการสงออกมายังราชอาณาจักรไทย
และไมมีสวนเหลื่อมการทุมตลาดหรือสวนเหลื่อมการทุมตลาดต่ำกวาอากรที่ไดชำระไปแลว
การหามูลคาปกติเพื่อนำมาพิสูจนสวนเหลื่อมการทุมตลาด จึงตองใชขอมูลราคาของยูเครน
ประกอบการพจิ ารณา ขอ ตอ สขู องโจทกฟ ง ไมข น้ึ คำวนิ จิ ฉยั ของจำเลยท่ี ๑ ทไ่ี มค นื อากรตอบโต
การทุมตลาดใหแกโจทกชอบดวยกฎหมายแลว ที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางพิพากษายกฟอ งจำเลยท้ังสามนน้ั ศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษเหน็ พองดว ยในผล
อุทธรณของโจทกฟ ง ไมข ้นึ

พิพากษายนื คาฤชาธรรมเนยี มชน้ั อทุ ธรณใหเปนพบั .

(สุรพล คงลาภ - ตลุ เมฆยงค - คมนท นงชัย ฉายไพโรจน)

สธุ รรม สุธมั นาถพงษ - ยอ
นิภา ชัยเจรญิ - ตรวจ

๒๒๑

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๓๙๓๙/๒๕๖๑ บริษทั โตเกยี วมารนี แอนด

นชิ ิโดะ ไฟร อินชวั รันซ จำกดั

กบั พวก โจทก

บริษัทโอเชยี น ครเี อท

เอส.เอ. จำกัด จำเลย

กรมเจาทา จำเลยรวม

ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๑๒
พ.ร.บ. การชว ยเหลอื กภู ยั ทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔, ๑๔ วรรคหนงึ่
พ.ร.บ. การเดนิ เรือในนานน้ำไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๐๒, ๑๖๓
พ.ร.บ. ความรับผดิ ทางแพงและคาเสียหายจากเรอื โดนกัน พ.ศ. ๒๕๔๘

มาตรา ๑๒, ๑๔, ๑๕, ๑๖, ๑๘, ๒๑

ความเสยี หายของสนิ คา ทเ่ี กดิ ขน้ึ เปน ผลโดยตรงจากเหตเุ รอื โดนกนั ความเสยี หาย
ที่เกิดแกสินคาจึงเปนความเสียหายของทรัพยสินบนเรือ ตามความหมายมาตรา ๑๘
วรรคหนง่ึ (๒) แหง พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ทางแพง และคา เสยี หายจากเรอื โดนกนั พ.ศ. ๒๕๔๘
ทีเ่ จา ของสินคา ยอ มมีสทิ ธเิ รียกรองในฐานะเจา ของสินคาตามหลักกฎหมายละเมิด มไิ ด
เปน เรอื่ งเฉพาะของคกู รณซี ่งึ เปน ของเจาของเรือลำท่ีเกย่ี วของเทา น้ัน

การกซู ากสนิ คา เปน เรอ่ื งของการชว ยเหลอื กภู ยั ตาม พ.ร.บ. การชว ยเหลอื กภู ยั
ทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๐ ซง่ึ มาตรา ๔ ใหค ำนยิ ามวา การชว ยเหลอื กภู ยั หมายความวา การ
กระทําหรือกิจกรรมใดที่ไดกระทําขึ้นเพื่อชวยเหลือเรือหรือทรัพยสินอยางอื่นซึ่งประสบ
ภยันตรายในทะเลหรือนานน้ำใด ๆ ซึ่งตามมาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา ผูมีสวน
ไดเสียในเรือหรือทรัพยสินอยางอื่นตองจายเงินรางวัลตามสวนแหงมูลคาของเรือและ
ทรพั ยส นิ อยา งอน่ื ตามสภาพทช่ี ว ยเหลอื กภู ยั ไวไ ด ดงั นน้ั เมอ่ื มกี ารชว ยเหลอื กภู ยั เพอ่ื นำ
ซากสนิ คา ขน้ึ มา เจา ของสนิ คา ซง่ึ เปน ผมู สี ว นไดเ สยี ในทรพั ยส นิ จงึ ตอ งจา ยเงนิ คา กซู าก
สนิ คา ตามกฎหมายทก่ี ำหนดไว เพอ่ื ทำใหก ารชว ยเหลอื กภู ยั เปน ไปไดอ ยา งเรยี บรอ ยและ
เปนการบรรเทาความเสียหายตอสิ่งแวดลอมที่เจาของทรัพยสินตองรับผิดชอบตอการ
จัดการกับสินคาที่จมอยูใตทะเล คากูซากสินคาจึงถือวาเปนคาใชจายที่เกิดจากเหตุเรือ
โดนกนั และเปน คา เสยี หายทเ่ี ปน ผลโดยตรงจากเรอื โดนกนั และเปน คา เสยี หายตาม พ.ร.บ.
ความรับผิดทางแพงและคาเสียหายจากเรือโดนกัน พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยสิทธิเรียกรองใน

๒๒๒

คา เสยี หายของสนิ คา และคา กซู ากสนิ คา มอี ายคุ วาม ๒ ป นบั แตว นั ทเ่ี รอื ทรพั ยส นิ บนเรอื
เกดิ ความเสยี หายตามมาตรา ๒๑ ของพระราชบัญญัติดงั กลาว

โจทกท ่ี ๑ และผรู บั ประกนั ภยั รายอน่ื อกี สองรายตกลงเขา รบั ประกนั ภยั การขนสง
สินคารวมกันโดยกำหนดสัดสวนความรับผิดชอบของแตละรายไวแนนอน โดยมุงหวัง
แบงปนกำไรอันพึงไดตามสัดสวนจากการประกันภัย ยอมเขาลักษณะเปนสัญญาจัดตั้ง
หางหุนสวนสามัญ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย กรณีจึงเปนการตกลงกัน
ระหวางหุนสวนใหโจทกที่ ๑ กระทำการแทนหุนสวนรายอื่น โจทกที่ ๑ ซึ่งเปนหุนสวน
รายหนง่ึ ยอ มมสี ทิ ธเิ รยี กรอ งคา เสยี หายทง้ั หมดเพอ่ื ประโยชนแ กผ รู บั ประกนั ภยั รายอน่ื ได
โดยไมตองคำนึงวาผูรับประกันภัยรายอื่นจะทำหนังสือมอบสิทธิของตนใหแกโจทกที่ ๑
หรือไม โจทกที่ ๑ ยอมมีสิทธิแทนผูรับประกันภัยทุกรายมาฟองเรียกคาเสียหายของ
สนิ คา ไดเ ตม็ จำนวนคาสินไหมทดแทนทีจ่ า ยใหแกผซู อ้ื ไปได

พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ทางแพง และคา เสยี หายจากเรอื โดนกนั พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๑๒
บัญญตั ไิ ววา กรณีเรอื โดนกันเนือ่ งจากความผดิ ของผูน ำรอ ง เรอื ลำท่ีผิดจะปฏเิ สธความ
ผดิ ตอ ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ มไิ ด เหน็ ไดว า กฎหมายไมไ ดบ ญั ญตั ขิ อ ยกเวน ใด ๆ วา หาก
เหตุเรือโดนกันจะตองเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเลอของผูนำรองแตเพียงผูเดียว
เจา ของเรอื สามารถปฏเิ สธความรบั ผดิ ได อกี ทง้ั กฎหมายกไ็ มไ ดบ ญั ญตั เิ งอ่ื นไขเรอ่ื งผนู ำรอ ง
จะถูกฟองบังคับคดีดวยไมได ดังนั้น จำเลยในฐานะเจาของเรือจึงไมอาจหลุดพนจาก
ความรบั ผิดตามกฎหมายในกรณีของเรอื โดนกันที่เกิดขน้ึ ได

ตามกฎขอบังคับสำหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๒๘ ซึ่งออกตาม
ความในมาตรา ๑๖๓ ของ พ.ร.บ. การเดนิ เรอื ในนา นนำ้ ไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด จ. วา ดว ย
อุบัติเหตุตาง ๆ และความเสียหาย ขอ ๑ ที่ระบุวา เมื่อเรือลำใดไดรับความเสียหายจาก
อุบัติเหตุใด ๆ ใหเจาของเรือหรือผูแทนเจาของเรือ แจงความแกกรมเจาทาโดยพลัน
เพื่อใหเจาพนักงานตรวจเรือทำการตรวจความเสียหายนั้น ๆ วามากนอยเพียงใด และ
ตามมาตรา ๑๐๒ ของ พ.ร.บ. การเดนิ เรอื ในนา นนำ้ ไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ ทร่ี ะบวุ า ถา มเี หตใุ ด ๆ
เกิดขึ้นในหนาที่ขณะที่นายเรือกระทำการควบคุมเรืออยูนั้น นายเรือลำนั้นตองรายงาน
เหตุที่เกิดขึ้นตอเจาพนักงานผูมีหนาที่ โดย (๑) เรือที่ยังไมออกจากเขตทาในทะเลทันที
ทนั ใด ใหร ายงานตอ เจา ทา ภายในเวลายส่ี บิ สช่ี ว่ั โมง เหน็ ไดว า กฎหมายดงั กลา วเปน เรอ่ื ง
เกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเรือ ไมไดเกี่ยวของกับการสำรวจความเสียหายที่จะ
ประเมนิ มลู คา ความเสียหายใด

______________________________

๒๒๓

โจทกฟองและแกไขคำฟอง ขอใหบังคับจำเลยชำระเงิน ๓๑,๖๖๙,๐๘๙.๘๕ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๒๙,๕๖๑,๑๙๔.๖๘ บาท นับถัดจากวันฟอง
เปน ตน ไป จนกวา จะชำระเสรจ็ สน้ิ แกโ จทกท ่ี ๑ ใหจ ำเลยชำระเงนิ ๗,๒๗๘,๕๗๐.๖๘ บาท พรอ ม
ดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๖,๘๒๗,๐๑๐.๓๕ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไป
จนกวา จะชำระเสรจ็ สน้ิ แกโ จทกท ่ี ๒ ใหจ ำเลยชำระเงนิ ๘๖๗,๘๐๔.๕๗ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รา
รอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ จำนวนดงั กลา ว นบั ถดั จากวนั ทโ่ี จทกท ่ี ๑ ไดช ำระเงนิ จำนวนดงั กลา ว
เปนตนไปจนกวาจำเลยจะชำระเสร็จสิ้นแกโจทกที่ ๑ ใหจำเลยชำระเงิน ๒๑๖,๑๐๒.๗๑ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาวนับถัดจากวันที่โจทกที่ ๒
ไดช ำระเงินจำนวนดงั กลาวไปเปน ตนไปจนกวาจำเลยจะชำระส้ินเสร็จใหแ กโจทกท ี่ ๒

จำเลยใหก ารและแกไขคำใหการ ขอใหยกฟอ ง
ระหวา งพจิ ารณา จำเลยยน่ื คำรอ งขอใหเ รยี กกรมเจา ทา เขา มาเปน จำเลยรว ม ศาลทรพั ยส นิ
ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางอนญุ าต
จำเลยรวมใหการ ขอใหยกฟอ งและยกคำรอ งขอเรียกจำเลยรวมของจำเลย
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางพพิ ากษาใหจ ำเลยและจำเลยรว ม
รว มกนั ชำระเงนิ แกโ จทกท ่ี ๑ จำนวน ๓๑,๔๐๘,๒๙๔.๔๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕
ตอ ป ของตน เงนิ จำนวน ๒๘,๔๓๒,๕๙๔.๖๖ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไป จนกวา จะชำระเสรจ็
แกโจทก ใหจำเลยและจำเลยรวมรวมกันชำระเงินแกโจทกที่ ๒ จำนวน ๗,๒๑๒,๑๒๖.๒๑ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๖,๕๔๔,๔๖๓.๑๗ บาท นับถัดจากวันฟอง
เปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทกท ่ี ๒ กบั ใหจ ำเลยและจำเลยรว มรว มกนั ใชค า ฤชาธรรมเนยี ม
แทนโจทกที่ ๑ และที่ ๒ โดยกำหนด คาทนายความ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เฉพาะคาขึ้นศาลใหจำเลย
และจำเลยรว มใชแทนตามจำนวนทนุ ทรพั ยท ่โี จทกท ่ี ๑ และโจทกที่ ๒ ชนะคดี
จำเลยและจำเลยรว มอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ เบอ้ื งตน รบั ฟง ยตุ ไิ ดว า เดอื นกรกฎาคม ๒๕๕๔ บรษิ ทั เมทลั วนั คอรป อเรชน่ั จำกดั
ผูขายในประเทศญี่ปนุ ขายสินคาประเภทแผนเหล็กรีดรอนชนิดมวนและแผนเหล็กชุบ
อลั ลอยดร อ นชนดิ มว นใหแ กบ รษิ ทั ซมั มทิ แอดวานซ แมททเี รยี ล จำกดั ผซู อ้ื ในประเทศไทย และ
ขายสนิ คา ประเภทเหลก็ รดี รอ นชนดิ มว น และแผน เหลก็ ชบุ ชนดิ มว นใหแ กบ รษิ ทั เอม็ ซี เมทลั เซอรว สิ
เอเชีย (ประเทศไทย) จำกัด ผูซื้อในประเทศไทย บริษัทฮอนดา เทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จำกัด
ผูขายในประเทศญี่ปุนไดขายสินคาประเภทแผนเหล็กรีดเย็นชนิดมวนสำหรับใชในอุตสาหกรรม

๒๒๔

รถยนต แผน เหลก็ รดี รอ นชนดิ มว นสำหรบั ใชใ นอตุ สาหกรรมรถยนต แผน เหลก็ กลา รดี เยน็ ชนดิ มว น
สำหรบั ใชใ นอตุ สาหกรรมรถยนต และแผน เหลก็ ชบุ ชนดิ มว นสำหรบั ใชใ นอตุ สาหกรรมรถยนตใ หแ ก
บรษิ ทั ฮอนดา เทรดดง้ิ เอเชยี จำกดั ผซู อ้ื ในประเทศไทย และบรษิ ทั สมุ กิ นิ บสุ สนั คอรป อเรชน่ั จำกดั
ผูขายในประเทศญี่ปุน ขายสินคาประเภทแผนเหล็กรีดรอนและเย็นชนิดมวน ใหแกบริษัท
ยูไนเต็ด คอยล เซ็นเตอร จำกัด ผูซื้อในประเทศไทย ในการขนสงสินคาดังกลาว บริษัทฮอนดา
เทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จำกัด บริษัทเมทัล วัน คอรปอเรชั่น จำกัด และบริษัทสุมิกิน บุสสัน
คอรป อเรชน่ั จำกดั วา จา งบรษิ ทั สมุ โิ ตโม เมทลั โลจสิ ตกิ ส เซอรว สิ จำกดั ขนสง สนิ คา จากประเทศ
ญี่ปุนมายังทาเทียบเรือเคอรี่ สยามซีพอรต ในเขตทาเทียบเรือแหลมฉบัง และทาเรือกรุงเทพ
ประเทศไทย เพอ่ื สง มอบใหแ กบ รษิ ทั ผซู อ้ื หลงั จากทบ่ี รษิ ทั สมุ โิ ตโม เมทลั โลจสิ ตกิ ส เซอรว สิ จำกดั
ไดรับมอบสินคาจากผูขายในสภาพครบถวนเรียบรอยแลวก็ไดลำเลียงสินคาลงระวางเรือยูนิซัน
วิเกอร และออกใบตราสงใหแกบริษัทฮอนดา เทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จำกัด บริษัทเมทัล วัน
คอรปอเรชน่ั จำกัด และบรษิ ทั สมุ ิกิน บสุ สัน คอรป อเรชัน่ จำกดั เพ่ือเปน หลกั ฐานในการขนสง
สนิ คา และการขนสง สนิ คา ดงั กลา วไดม กี ารเอาประกนั ภยั การขนสง สนิ คา ทางทะเลโดยบรษิ ทั เมทลั
วัน คอรปอเรช่ัน จำกดั และบรษิ ัทฮอนดา เทรดดง้ิ คอรปอเรชั่น จำกัด เอาประกนั ภยั การขนสง
สินคาทางทะเลไวกับโจทกที่ ๑ โจทกที่ ๑ ตกลงรับประกันภัยและสัญญาวาหากสินคาดังกลาว
ไดร บั ความเสยี หายหรอื สญู หายจากภยั ทกุ ชนดิ ในระหวา งการขนสง จากทา เทยี บเรอื ใด ๆ กต็ าม
ในประเทศญป่ี นุ มายงั สถานทใ่ี ด ๆ กต็ ามภายในประเทศไทย โจทกท ่ี ๑ จะชดใชค า สนิ ไหมทดแทน
ใหแ กผ เู อาประกนั ภยั หรอื ผรู บั ประโยชน โดยคำนวณตามวธิ กี ารและประเพณขี องการประกนั ภยั
ทางทะเลและภายใตบังคับแหงกฎหมายประเทศอังกฤษ ภายในวงเงินประกันตามที่ตกลงกันไว
บรษิ ทั ยไู นเตด็ คอยล เซน็ เตอร จำกดั ไดเ อาประกนั ภยั การขนสง สนิ คา ทางทะเลไวก บั โจทกท ่ี ๒
โดยโจทกที่ ๒ ตกลงรับประกันภัยและสัญญาวาหากสินคาดังกลาวไดรับความเสียหายหรือ
สูญหายจากภัยทุกชนิด ในระหวางการขนสงจากเมืองคาชิมะประเทศญี่ปุนมายังสถานที่ใด ๆ
ก็ตามภายในประเทศไทย โจทกที่ ๒ จะชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูเอาประกันภัยหรือผูรับ
ประโยชน โดยคำนวณตามวิธีการและประเพณีของการประกันภัยทางทะเลและภายใตบังคับ
แหง กฎหมายประเทศองั กฤษ ภายในวงเงนิ ประกนั ตามทต่ี กลงกนั ไว ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔
เรอื ยนู ซิ นั วเิ กอร เดนิ ทางมาถงึ ทา เทยี บเรอื เคอร่ี สยามซพี อรต ในเขตทา เรอื แหลมฉบงั ประเทศไทย
และเขาเทียบทาหมายเลข ๒ ตอมาวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ เวลาประมาณ ๙ นาิกา
ขณะที่เรือยูนิซัน วิเกอร จอดเทียบทาเพื่อขนถายสินคาออกจากระวางเรือไดถูกเรือโอเชียน
เฟลเวอร ของจำเลยพุงเขาชนบริเวณกราบขวาทางดานหนาของเรือ ทำใหเรือยูนิซัน วิเกอร

๒๒๕

พรอมสินคาที่บรรทุกอยูบนเรือจมลง ณ ทาเทียบเรือดังกลาว สินคาที่บรรทุกอยูบนเรือยูนิซัน
วเิ กอร เปนสินคา ทโี่ จทกท้ังสองเปน ผูร บั ประกันภัยไวจ ากผขู ายไดรับความเสียหาย คดมี ีปญ หา
ตอ งวนิ ิจฉยั ตามอุทธรณข องจำเลยและจำเลยรวมโดยจะไดวนิ จิ ฉยั ตามลำดบั ดังนี้

มปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยและจำเลยรว มในประการแรกวา ฟอ งโจทก
ขาดอายุความหรือไม เห็นวา ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางแพงและคาเสียหายจากเรือโดนกัน
พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๑๔ ไดบ ญั ญตั เิ รอ่ื งคา เสยี หายทจ่ี ะพงึ เรยี กได ไดแ ก คา เสยี หายซง่ึ คำนวณ
ไดจากความเสียหายอันเปนผลโดยตรงจากเรือโดนกัน ซึ่งในมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา
“ในกรณที ท่ี รพั ยส นิ บนเรอื เปน สนิ คา คา เสยี หายอนั พงึ เรยี กไดม ดี งั น้ี (๒) กรณที รพั ยส นิ นน้ั เสยี หาย
ความเสยี หายคาํ นวณจากผลตา งระหวา งมลู คา ทรพั ยส นิ ณ ทา ปลายทางในสภาพปกตกิ บั มลู คา
ในสภาพทเ่ี สยี หาย” กฎหมายระบไุ วช ดั แจง วา ทรพั ยส นิ บนเรอื ทเ่ี ปน สนิ คา หากไดร บั ความเสยี หาย
ยอ มเรยี กรอ งไดต ามกฎหมายฉบบั น้ี ซง่ึ ขอ เทจ็ จรงิ ในเรอ่ื งนท้ี รพั ยส นิ ทเ่ี สยี หายเปน สนิ คา ทบ่ี รรทกุ
อยูบนเรือยูนิซัน วิเกอร ซึ่งรับขนสงสินคาตามสัญญารับขนของทางทะเล และความเสียหาย
ของสินคาที่เกิดขึ้นเปนผลโดยตรงจากเหตุเรือโดนกัน ความเสียหายที่เกิดแกสินคาดังกลาว
จึงเปนความเสียหายของทรัพยสินบนเรือตามความหมายมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๒) ที่เจาของ
สินคายอมมีสิทธิเรียกรองในฐานะเจาของสินคาตามหลักกฎหมายละเมิด มิไดเปนเรื่องเฉพาะ
ของคกู รณซี ง่ึ เปน ของเจา ของเรอื ลำทเ่ี กย่ี วขอ งเทา นน้ั พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ทางแพง และคา เสยี หาย
จากเรอื โดนกนั พ.ศ. ๒๕๔๘ เปน กฎหมายทบ่ี ญั ญตั ขิ น้ึ เปน กรณพี เิ ศษวา ดว ยเหตลุ ะเมดิ ของเรอื
โดนกนั การบงั คบั ใชก ฎหมายเพอ่ื การชดใชค า เสยี หายจากการกระทำละเมดิ ตอ ผเู สยี หายซง่ึ เปน
เจาของสินคาจึงตองเปนไปตามกฎหมายที่ไดกำหนดไวเฉพาะ สำหรับกรณีคาเสียหายจากการ
กซู ากสนิ คา นน้ั เหน็ วา การกซู ากสนิ คา เปน เรอ่ื งของการชว ยเหลอื กภู ยั ตาม พ.ร.บ. การชว ยเหลอื
กภู ยั ทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๐ ซง่ึ ในมาตรา ๔ ไดใ หค ำนยิ ามวา “การชว ยเหลอื กภู ยั ” หมายความวา
การกระทําหรือกิจกรรมใดที่ไดกระทําขึ้นเพื่อชวยเหลือเรือหรือทรัพยสินอยางอื่นซึ่งประสบ
ภยนั ตรายในทะเลหรอื นา นนำ้ ใด ๆ ซง่ึ ตามมาตรา ๑๔ วรรคหนง่ึ บญั ญตั วิ า ผมู สี ว นไดเ สยี ในเรอื
หรือทรัพยสินอยางอื่นตองจายเงินรางวัลตามสวนแหงมูลคาของเรือและทรัพยสินอยางอื่น
ตามสภาพทช่ี ว ยเหลอื กภู ยั ไวไ ด ดงั นน้ั เมอ่ื มกี ารชว ยเหลอื กภู ยั เพอ่ื นำซากสนิ คา ขน้ึ มา เจา ของ
สินคาซึ่งเปนผูมีสวนไดเสียในทรัพยสินจึงตองจายเงินคากูซากสินคาตามกฎหมายที่กำหนดไว
เพื่อทำใหการชวยเหลือกูภัยเปนไปไดอยางเรียบรอยและเปนการบรรเทาความเสียหายตอ
สิ่งแวดลอมที่เจาของทรัพยสินตองรับผิดชอบตอการจัดการกับสินคาที่จมอยูใตทะเลดังกลาว
คากูซากสินคา จึงถือวา เปนคา ใชจ า ยทเ่ี กดิ จากเหตุของเรอื โดนกันสวนทีจ่ ำเลยอทุ ธรณโตแ ยงวา

๒๒๖

ตาม พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ทางแพง และคา เสยี หายจากเรอื โดนกนั พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๑๕ และ ๑๖
กำหนดไวเพียงวา เฉพาะคาชวยเหลือกูภัยทางทะเลที่เกิดแกตัวเรือเทานั้นเปนคาเสียหายตาม
กฎหมาย เหน็ วา การระบคุ า เสยี หายของการกเู รอื ใน พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ทางแพง และคา เสยี หาย
จากเรอื โดนกนั พ.ศ. ๒๕๔๘ นน้ั เพอ่ื ใหเ กดิ ความชดั เจนในเรอ่ื งคา เสยี หายเกย่ี วกบั เรอื ซง่ึ หาก
เรอื จมสทู อ งทะเลยอ มตอ งมกี ารกเู รอื เสมอ แตส นิ คา บนเรอื นน้ั มคี วามแตกตา งออกไป ทง้ั กฎหมาย
มิไดจำกัดวาการกูเรือเทานั้นเปนคาเสียหายตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางแพงและคาเสียหาย
จากเรือโดนกัน พ.ศ. ๒๕๔๘ นอกจากนั้นการกูซากสินคาขึ้นจากทะเลนั้น ก็เพื่อใหสามารถนำ
สินคามาประเมินมูลคาความเสียหายที่เกิดเพื่อคํานวณจากผลตางระหวางมูลคาทรัพยสิน
ณ ทาปลายทางในสภาพปกติกับมูลคาในสภาพที่เสียหายตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางแพงและ
คาเสียหายจากเรือโดนกัน พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๑๘ (๒) อีกดวย คาเสียหายในการกูซากสินคา
จงึ เปน คา เสยี หายทเ่ี ปน ผลโดยตรงจากเหตเุ รอื โดนกนั และเปน คา เสยี หายตาม พ.ร.บ. ความรบั ผดิ
ทางแพงและคาเสียหายจากเรือโดนกัน พ.ศ. ๒๕๔๘ ฟองของโจทกทั้งสองจึงไมขาดอายุความ
อทุ ธรณข องจำเลยและจำเลยรวมฟง ไมขึ้น

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยในประการตอมาวา โจทกที่ ๑ มีอำนาจ
ฟอ งหรอื ไม เหน็ วา สญั ญาประกนั ภยั ตามสำเนากรมธรรม เปน สญั ญาระหวา งโจทกท ่ี ๑ กบั บรษิ ทั
ฮอนดา เทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จำกัด และบริษัทเมทัล วัน คอรปอเรชั่น จำกัด ผูเอาประกันภัย
ซึ่งเปนนิติบุคคลสัญชาติญี่ปุน ทำสัญญาประกันภัยที่ประเทศญี่ปุน โดยมีขอตกลงในสัญญาวา
“การประกนั ภยั นเ้ี ปน ทเ่ี ขา ใจและตกลงกนั วา ใหอ ยภู ายใตก ฎหมายและธรรมเนยี มการคา องั กฤษ
ในเรื่องความรับผิดและการยุติของขอเรียกรองทุกกรณี (This insurance is understood and
agreed to be subject of English Law and usage as to liability for and settlement of any
all claims) ดงั นน้ั การใชก ฎหมายวนิ จิ ฉยั เกย่ี วกบั สญั ญาประกนั ภยั ทางทะเลจงึ ตอ งใชก ฎหมาย
ของประเทศองั กฤษมาบงั คบั ซง่ึ ในกรณนี ้ี คอื พ.ร.บ. ประกนั ภยั ทางทะเล ค.ศ. ๑๙๐๖ (The Marine
Insurance Act 1906) อันเปนไปตามเจตนารมณของคูสัญญาโดยนัยของ พ.ร.บ. วาดวยการ
ขดั กนั แหง กฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ มาตรา ๑๓ วรรคหนง่ึ เมอ่ื พจิ ารณาขอ เทจ็ จรงิ แลว ไดค วามวา
สญั ญาประกนั ภยั ทางทะเลแบบเปด ตามสำเนากรมธรรมป ระกนั ภยั แผน ท่ี ๑๕ ระหวา งโจทกท ่ี ๑
ผรู บั ประกนั ภยั กบั บรษิ ทั ฮอนดา เทรดดง้ิ คอรป อเรชน่ั จำกดั ผขู ายและผเู อาประกนั ภยั มบี รษิ ทั
ฮอนดา เทรดดิ้ง เอเชีย จำกัด เปนผูซื้อ และตามสำเนากรมธรรมแผนที่ ๒๘ ระหวางโจทกที่ ๑
ผูรับประกันภัย กับบริษัทเมทัล วัน คอรปอเรชั่น จำกัด ผูขายและผูเอาประกันภัยมีบริษัทเอ็มซี
เมทัลเซอรวิส เอเชีย (ประเทศไทย) จำกัด เปนผูซื้อ ทั้งนี้ การซื้อขายสินคาดังกลาวระบุวา

๒๒๗

เปน การซอ้ื ขายแบบ Cost Insurance Freight (CIF) ซง่ึ หมายถงึ ราคาคา สนิ คา รวมถงึ คา สนิ คา
คา เบย้ี ประกนั ภยั และคา ขนสง ผขู ายจงึ มหี นา ทท่ี ำประกนั ภยั สนิ คา ความเสย่ี งภยั ในความเสยี หาย
หรอื สญู หายของสนิ คา ทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ ไดโ อนไปยงั ผซู อ้ื เมอ่ื สนิ คา ไดน ำไปวางบนเรอื ณ ทา เทยี บเรอื
ตน ทางตามกฎของหอการคา นานาชาติ (Incoterms of International Chamber of Commerce)
บรษิ ทั ฮอนดา เทรดดง้ิ เอเชยี จำกดั และบรษิ ทั เอม็ ซี เมทลั เซอรว สิ เอเชยี (ประเทศไทย) จำกดั
ผูรับตราสงและผูซื้อทั้งสองราย จึงเปนผูมีสวนไดเสียในสินคาที่เอาประกันภัยเมื่อความเสี่ยงภัย
ของสนิ คา ไดโ อนมาดงั กลา ว ตามนยั ของ พ.ร.บ. การประกนั ภยั ทางทะเล ค.ศ. ๑๙๐๖ มาตรา ๖ (๑)
ที่ระบุวา ผูเอาประกันตองมีสวนไดเสียในวัตถุที่เอาประกันภัยไวในเวลาที่ความเสียหายเกิดขึ้น
(The assured must be interested in the subject-matter insured at the time of the loss)
สว นเรอ่ื งของการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งนน้ั พ.ร.บ. การประกนั ภยั ทางทะเล ค.ศ. ๑๙๐๖ มาตรา ๕๐ (๓)
บัญญัติวา กรมธรรมประกันภัยทางทะเลอาจโอนกันไดโดยการสลักหลังบนกรมธรรมประกันภัย
นน้ั เองหรอื ดว ยธรรมเนยี มวธิ กี ารอยา งอน่ื (A marine policy may be assigned by indorsement
thereon or in other customary manner) ซึ่งในเรื่องนี้โจทกทั้งสองมีนางสาวพนิดา พนักงาน
ของโจทกท ่ี ๒ ใหถ อ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ วา บรษิ ทั เมทลั วนั คอรป อเรชน่ั จำกดั และบรษิ ทั ฮอนดา
เทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จำกัด ทำสัญญาประกันภัยแบบเปด (Open Cover) ไวกับโจทกที่ ๑ โดย
ตกลงกรอบความคมุ ครองตามสญั ญาประกนั ภยั และขอ ตกลงเรอ่ื งทว่ั ไปทป่ี ระสงคจ ะนำมาใชบ งั คบั
กบั การประกนั ภยั ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ในอนาคตเอาไวล ว งหนา และเมอ่ื ผเู อาประกนั ภยั ทราบรายละเอยี ด
เกี่ยวกับการขนสงสินคาแตละเที่ยวก็จะแจงใหผูรับประกันภัยทราบเพื่อคำนวณเบี้ยประกันภัย
และออกเอกสารรบั รองการประกนั ภยั ตอ ไป สำหรบั ในกรณกี ารออกใบเรยี กเกบ็ คา เบย้ี ประกนั ภยั นน้ั
ถือวาผูขายหรือผูเอาประกันภัยตกลงกับผูรับประกันภัยและผูซื้อหรือผูรับตราสงวาใหสิทธิ
ตามสัญญาประกันภัยโอนไปยังผูซื้อในทันทีที่ความเสี่ยงภัยสินคาไดโอนจากผูขายไปยังผูซื้อ
นางสาวนันทพัฒน พนักงานโจทกที่ ๒ เบิกความตอบทนายโจทกทั้งสองวา ในการประกันภัย
ตามกรมธรรมป ระกนั ภยั แบบเปด นน้ั โจทกท ่ี ๑ จะออกใบเรยี กเกบ็ เบย้ี ประกนั ภยั ไวเ ปน หลกั ฐาน
ประเพณใี นทางการคา ในทางปฏบิ ตั จิ ะออกใบเรยี กเกบ็ คา เบย้ี ประกนั ภยั แทนใบรบั รองการประกนั ภยั
ประเพณดี งั กลา วใชม านานกวา ๑๐ ป แลว โดยเฉพาะการประกนั ภยั ของประเทศญป่ี นุ เนอ่ื งจาก
สินคาท่ซี ้อื ขายระหวา งประเทศตอ เดอื นเปนจำนวนมาก ในปญหาน้เี ม่ือพิจารณาขอ เทจ็ จริงจาก
พยานของโจทกทั้งสองดังกลาวแลวเห็นไดวา สัญญาประกันภัยระหวางผูขายกับโจทกที่ ๑
เปนกรมธรรมแบบเปด ตามสำเนากรมธรรม ซึ่งกรมธรรมเปด (Open Cover) เปนกรมธรรม
ระยะยาว มผี ลบงั คบั ใชส ำหรบั ระยะเวลาทก่ี ำหนดไว เชน ระยะ ๑๒ เดอื น เปน ตน โดยมเี งอ่ื นไข

๒๒๘

ในการตออายุโดยอัตโนมัติหรืออาจมีผลบังคับเรื่อยไปโดยไมมีกำหนดจนกวาจะมีการยกเลิก
เปน การใหค วามสะดวกแกผ ขู าย เนอ่ื งจากใหค วามคมุ ครองตอ เนอ่ื งโดยอตั โนมตั ิ ลดความยงุ ยาก
ในการที่จะตองจัดทำประกันภัยคุมครองใหมทุกครั้งที่มีการขนสง ดังนั้น การที่บริษัทฮอนดา
เทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จำกัด และ บริษัทเมทัล วัน คอรปอเรชั่น จำกัด ซึ่งเปนผูขายและผูเอา
ประกันภัยแจงรายละเอียดของสินคาที่ประสงคใหโจทกที่ ๑ รับประกันภัยในแตละครั้ง ตาม
ใบกำกับสินคาแตละใบที่มีบริษัทฮอนดา เทรดดิ้ง เอเชีย จำกัด และบริษัทเอ็มซี เมทัลเซอรวิส
เอเชยี (ประเทศไทย) จำกดั เปน ผซู อ้ื โดยระบคุ า เบย้ี ประกนั ภยั สนิ คา แตล ะเทย่ี วไวช ดั เจนในขณะ
เดยี วกนั โจทกท ่ี ๑ ออกใบเรยี กเกบ็ คา เบย้ี ประกนั ภยั การขนสง สนิ คา ตามทร่ี ะบไุ วใ นใบกำกบั สนิ คา
ขา งตน แตล ะฉบบั ตามสำเนาใบเรยี กเกบ็ คา เบย้ี ประกนั ภยั ขนสง สนิ คา ทางทะเลแทนการสง มอบ
หรอื สลกั หลงั กรมธรรม หรอื ออกใบโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งซง่ึ ไมส ะดวกในทางปฏบิ ตั ิ ขน้ั ตอนดงั กลา ว
จงึ สอดคลอ งและตรงกบั คำเบกิ ความของพยานโจทกท ง้ั สองปากนางสาวพนดิ าและนางสาวนนั ทพฒั น
ทย่ี นื ยนั วา เปน ธรรมเนยี มประเพณปี ฏบิ ตั ใิ นทางการคา มาเปน เวลานานกรณจี งึ มหี ลกั ฐานเพยี งพอ
ที่จะรับฟงไดวา ขั้นตอนดังกลาวเปนธรรมเนียมวิธีการอยางอื่น นอกเหนือไปจากการสลักหลัง
กรมธรรมใ นการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ งตาม พ.ร.บ. การประกนั ภยั ทางทะเล ค.ศ. ๑๙๐๖ มาตรา ๕๐ (๓)
ดงั นน้ั บรษิ ทั ฮอนดา เทรดดง้ิ เอเชยี จำกดั และบรษิ ทั เอม็ ซี เมทลั เซอรว สิ เอเชยี (ประเทศไทย) จำกดั
ผูซื้อจึงเปนผูรับโอนสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยโดยถูกตอง
ตามกฎหมายแลว การที่โจทกที่ ๑ ผูรับประกันภัยไดชดใชคาสินไหมทดแทนตามกรมธรรม
ประกันภัยดังกลาวใหแกผูซื้อ จึงมีสิทธิเขารับชวงสิทธิจากบริษัททั้งสองดังกลาวและฟองรอง
จำเลยได อทุ ธรณข องจำเลยฟงไมข ้ึน

มปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยในประการตอ มาวา โจทกท ่ี ๑ มอี ำนาจฟอ ง
แทนผูรับประกันภัยรวมรายอื่นหรือไม เห็นวา โจทกที่ ๑ และผูรับประกันภัยรายอื่นอีก ๒ ราย
ตกลงเขารับประกันภัยการขนสงสินคารวมกันโดยระบุชื่อและกำหนดสัดสวนความรับผิดชอบ
ของแตล ะรายไวแ นน อน โดยมงุ หวงั แบง ปน กำไรอนั พงึ ไดต ามสดั สว นดงั กลา วจากการรบั ประกนั ภยั
รายนี้ ยอมเขาลักษณะเปนสัญญาจัดตั้งหางหุนสวนสามัญตาม ป.พ.พ. ทั้งนี้ไดความตามสำเนา
กรมธรรมในขอ ๗ ระบุวา “โจทกที่ ๑ ในฐานะตัวแทนผูรับประกันภัยรวมในการออกกรมธรรม
ประกันภัยหรือหนังสือรับรองการประกันภัย ใบเสร็จคาเบี้ยประกันภัย ชดใชคาสินไหมทดแทน
และดำเนนิ การอน่ื ใดกต็ ามอนั เกย่ี วกบั กรมธรรมป ระกนั ภยั ฉบบั น”้ี (Tokio Marine and Nichido
Fire Insurance Co., Ltd., as the representative company shall act for the Co-Insurers
in suspect of issuance of Policy or Certificate, receipt of premium, settlement of claim

๒๒๙

and all other matters regarding this Open Policy) กรณีจึงเปนการตกลงกันระหวางหุนสวน
ใหโจทกที่ ๑ กระทำการแทนหุนสวนรายอื่น โจทกที่ ๑ ซึ่งเปนหุนสวนรายหนึ่งยอมมีสิทธิ
เรียกรองคาเสียหายทั้งหมดเพื่อประโยชนแกผูรับประกันภัยรายอื่นได โดยไมตองคำนึงวาผูรับ
ประกันภัยรายอื่นจะทำหนังสือมอบสิทธิของตนใหแกโจทกที่ ๑ หรือไม โจทกที่ ๑ ยอมใชสิทธิ
แทนผรู บั ประกนั ภยั ทกุ รายมาฟอ งรอ งเรยี กคา เสยี หายของสนิ คา ไดเ ตม็ จำนวนคา สนิ ไหมทดแทน
ท่ีไดจ ายใหแกผ ูซื้อไปได อุทธรณข องจำเลยฟง ไมขนึ้

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยในประการตอมาวา จำเลยตองรับผิดตอ
เหตลุ ะเมดิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ หรอื ไม ในปญ หาน้ี เมอ่ื พจิ ารณาตามถอ ยคำแหง พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ทางแพง
และคาเสียหายจากเรือโดนกัน พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๑๒ ซึ่งบัญญัติไววา “กรณีเรือโดนกัน
เนื่องจากความผิดของผูนำรอง เรือลำที่ผิดจะปฏิเสธความผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นมิได”
เห็นไดวากฎหมายไมไดบัญญัติขอยกเวนใด ๆ วา หากเหตุเรือโดนกันจะตองเกิดขึ้นเพราะ
ความประมาทเลินเลอของผูนำรองแตเพียงผูเดียว เจาของเรือสามารถจะปฏิเสธความรับผิดได
อีกทั้งกฎหมายก็มิไดบัญญัติเงื่อนไขเรื่องผูนำรองจะถูกฟองบังคับคดีดวยหรือไม ดังนั้น จำเลย
ในฐานะเจา ของเรอื จงึ ไมอ าจหลดุ พน จากความรบั ผดิ ตามกฎหมายในกรณขี องเรอื โดนกนั ทเ่ี กดิ ขน้ึ
นไ้ี ด อทุ ธรณข องจำเลยฟงไมข้ึน

คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยรวมวา จำเลยรวมตองรวมรับผิดกับ
จำเลยตอ โจทกท ง้ั สองในเหตเุ รอื โดนกนั หรอื ไม จากขอ เทจ็ จรงิ ทไ่ี ดค วามมาทง้ั หมดขา งตน เหน็ ไดว า
ในการนำรอ งการเดนิ เรอื ของนาวาเอกณรงคย ศนน้ั นาวาเอกณรงคย ศมคี ำสง่ั โดยตรงไปยงั ลกู เรอื
โดยลูกเรือจะทวนคำสั่งและปฏิบัติตามคำสั่งของผูนำรอง มิใชเพียงใหคำแนะนำแกนายเรือ
เพื่อใหมีคำสั่งไปยังลูกเรืออีกทอดหนึ่งดังที่จำเลยรวมอุทธรณ ซึ่งตามกฎกระทรวงเศรษฐการ
วาดวยการนำรอง ออกตามความในมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือในนานน้ำสยามแกไข
เพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) ขอ ๓๗ วรรคสอง กำหนดวา “คำวา ทำการนำรอง
ใหหมายความวา เขาทำหนาที่ชวยเหลือ หรือทำหนาที่แทนนายเรือเฉพาะในเรื่องการเดินเรือ
และการบงั คบั เรอื ใหเ คลอ่ื นเดนิ ไปอยา งปลอดภยั ในเขตทา หรอื นา นนำ้ ซง่ึ บงั คบั ใหเ ปน เขตทต่ี อ ง
เดินเรือโดยมีผูนำรอง โดยนายเรือรับรูและใหความเห็นชอบดวยกับคำบอก คำแนะนำ หรือ
คำสั่งการของผูนำรอง” การนำรองของนาวาเอกณรงคยศตามขอเท็จจริงขางตนนั้น ถือไดวา
เปน การทำหนา ทแ่ี ทนนายเรอื โอเชยี น เฟลเวอร มใิ ชเ พยี งทำหนา ทช่ี ว ยเหลอื โดยเพยี งแตใ หค ำบอก
และคำแนะนำเทานั้น แตเปนการสั่งการโดยผูนำรองเพื่อบังคับเรือเขาสูการเทียบทาใหเปนไป
อยางปลอดภัย นาวาเอกณรงคยศจึงเปนผูทำการควบคุมบังคับเรือที่ตองมีสวนรับผิดชอบการ

๒๓๐

เดินเรือเพื่อเขาสูการเทียบทาเรือดวย สำหรับการปฏิบัติหนาที่ของนาวาเอกณรงคยศผูนำรอง
ในการนำรองเรอื โอเชยี น เฟลเวอร ดงั ท่ีไดวนิ จิ ฉัยไปขางตน เปนไปดว ยความประมาทปราศจาก
ความระมัดระวังจนทำใหนายเรือตองคัดคานคำสั่งและไมสามารถแกไขสถานการณจนทำให
เรอื โดนกนั ไมเ ปน ไปตามกฎกระทรวงเศรษฐการ วา ดว ยการนำรอ ง ออกตามความในมาตรา ๔
แหง พ.ร.บ. การเดนิ เรอื ในนา นนำ้ สยาม แกไ ขเพม่ิ เตมิ พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๗ (ฉบบั ท่ี ๒) ขอ ๔๗
ทบ่ี ญั ญตั วิ า “ผนู าํ รอ งทกุ คนทท่ี าํ การนาํ รอ งเรอื ลาํ ใดตอ งใชค วามระมดั ระวงั และพยายามใหม าก
ที่สุด ที่จะหลีกเลี่ยง หรือปองกันมิใหเกิดอันตราย หรือเสียหายแกเรือลํานั้นหรือเรืออื่น หรือ
แกทรัพยสิ่งของอยางใด ๆ โดยเขาปฏิบัติหนาที่แทน สั่งการแทน หรือแนะนํานายเรือใหกระทํา
หรอื หลกี เลย่ี งการกระทาํ ใด ๆ เพอ่ื ปอ งกนั ความเสยี หายดงั กลา ว” ดงั นน้ั เหตทุ เ่ี กดิ ขน้ึ นาวาเอก
ณรงคย ศผนู ำรอ ง ซง่ึ เปน เจา พนกั งานของจำเลยรว มจงึ มสี ว นในการกระทำละเมดิ ดว ยจำเลยรว ม
จงึ ตองมสี ว นรบั ผดิ ในความเสยี หายที่เกิดข้นึ จากการโดนกนั ของเรอื ทง้ั สองลำตามฟอ ง อุทธรณ
ของจำเลยรวมฟง ไมข้นึ

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยรวมในประการสุดทายวา จำเลยรวม
ตองรับผิดตอโจทกในคาเสียหายตามฟองหรือไม เพียงใด เห็นวา สำหรับคาเสียหายที่เกิดขึ้น
จากคาทนายความและที่ปรึกษากฎหมายนั้น ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางวินิจฉัยวา คาที่ปรึกษากฎหมายตามฟองขอ ๖.๓ ที่โจทกทั้งสองนำสืบวาเปน
คาวาจางหางหุนจำกัด ค. เปนคาเจรจาเพื่อลดจำนวนเงินคาชวยเหลือกูภัยทางทะเลกอนที่จะมี
การระงบั ขอ พพิ าทโดยอนญุ าโตตลุ าการ มใิ ชค า เสยี หายอนั จะพงึ เรยี กไดต าม พ.ร.บ. ความรบั ผดิ
ทางแพง และการดำเนนิ และคา เสยี หายจากเรอื โดนกนั พ.ศ. ๒๕๔๘ จงึ ไมอ าจบงั คบั ใหไ ดต ามขอ
อุทธรณของจำเลยรวมในขอนี้จึงไมมีประเด็นที่ตองพิจารณา และจำเลยรวมไมตองรับผิดใน
คา เสยี หายสว นน้ี สว นคา เสยี หายของสนิ คา ทโ่ี จทกท ง้ั สองรบั ประกนั ภยั ไวไ ดร บั ความเสยี หายนน้ั
เห็นวา โจทกทั้งสองมีทั้งพยานบุคคลและพยานเอกสารยืนยันขอเท็จจริงเกี่ยวกับสินคาที่โจทก
ทง้ั สองรบั ประกนั ภยั ไวว า เปน สนิ คา ทอ่ี ยบู นเรอื จรงิ มกี ารสำรวจความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยละเอยี ด
และนำสินคาที่เสียหายขึ้นมาขายทอดตลาด พยานหลักฐานของโจทกทั้งสองจึงมีน้ำหนัก
ใหรับฟงถึงความเสียหายของสินคาไดชัดเจน สวนที่จำเลยรวมอุทธรณวา คาเสียหายของเรือ
และสินคาที่โจทกทั้งสองรับประกันภัยนั้น โจทกทั้งสองไมไดขอใหจำเลยรวมเขารวมสำรวจ
และประเมินความเสียหายตามตามกฎขอบังคับสำหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๒๘
ซึ่งออกตามความในมาตรา ๑๖๓ ของ พ.ร.บ. การเดินเรือในนา นนำ้ ไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด จ.
วา ดว ยอบุ ตั เิ หตตุ า ง ๆ และความเสยี หาย และมาตรา ๑๐๒ ของ พ.ร.บ. การเดนิ เรอื ในนา นนำ้ ไทย

๒๓๑

พ.ศ. ๒๕๔๖ นน้ั เหน็ วา ตามกฎขอ บงั คบั สำหรบั การตรวจเรอื (ฉบบั ท่ี ๑๕) พ.ศ. ๒๕๒๘ ซง่ึ ออก
ตามความในมาตรา ๑๖๓ ของ พ.ร.บ. การเดนิ เรอื ในนา นนำ้ ไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด จ. วา ดว ย
อบุ ตั เิ หตตุ า ง ๆ และความเสยี หายขอ ๑ ทร่ี ะบวุ า เมอ่ื เรอื ลำใดไดร บั ความเสยี หายจากอบุ ตั เิ หตใุ ด ๆ
ใหเ จา ของเรอื หรอื ผแู ทนเจา ของเรอื แจง ความแกก รมเจา ทา โดยพลนั เพอ่ื ใหเ จา พนกั งานตรวจเรอื
ทำการตรวจความเสียหายนนั้ ๆ วา มากนอ ยเพยี งใด และมาตรา ๑๐๒ ของ พ.ร.บ. การเดินเรือ
ในนานน้ำไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่ระบุวา ถามีเหตุใด ๆ เกิดขึ้นในหนาที่ขณะที่นายเรือกระทำการ
ควบคุมเรืออยูนั้น นายเรือลำนั้นตองรายงานเหตุที่เกิดขึ้นนั้นตอเจาพนักงานผูมีหนาที่ โดย
(๑) เรอื ทย่ี งั ไมอ อกจากเขตทา ไปในทะเลทนั ทที นั ใด ใหร ายงานตอ เจา ทา ภายในเวลายส่ี บิ สช่ี ว่ั โมง
เหน็ ไดว า กฎหมายดงั กลา วเปน เรอ่ื งเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในการเดนิ เรอื มไิ ดเ กย่ี วขอ งกบั การ
สำรวจความเสยี หายทจ่ี ะประเมนิ มลู คา ความเสยี หายใด สว นทจ่ี ำเลยรว มอทุ ธรณว า การทโ่ี จทก
ทั้งสองไมไดฟองใหจำเลยรวมชดใชคาเสียหายแตแรกนั้น ก็มิไดเปนเหตุหามมิใหโจทกทั้งสอง
ไดร บั ชำระหนจ้ี ากจำเลยรว มในคดนี ้ี เมอ่ื โจทกท ง้ั สองนำสบื เรอ่ื งความเสยี หายของสนิ คา ไดช ดั เจน
และมีน้ำหนักใหรับฟงไดตามพยานหลักฐานที่โจทกทั้งสองมีภาระนำสืบ จำเลยรวมจึงตองรวม
รบั ผดิ ตอ โจทกท ง้ั สองในความเสยี หายของสนิ คา สว นทจ่ี ำเลยรว มอทุ ธรณว า กรมธรรมป ระกนั ภยั
ของโจทกท ง้ั สองไมค มุ ครองรวมถงึ คา กซู ากสนิ คา ดว ย เหน็ วา ตามกรมธรรมป ระกนั ภยั ของโจทก
ทง้ั สองเปน เงอ่ื นไขความคมุ ครอง (เอ) Institute Cargo Clauses (A) ซง่ึ มขี อ กำหนดความคมุ ครอง
สนิ คา ในความเสยี หายทว่ั ไป ขอ ๒ วา การประกนั ภยั นค้ี มุ ครองความเสยี หายทว่ั ไปและคา กภู ยั ดว ย
(This insurance covers general average and salvage charges) ซง่ึ เปน ขอ กำหนดมาตรฐาน
ของสถาบนั ผรู บั ประกนั ภยั แหง เมอื งลอนดอน (Institute of London Underwriters) ตามกรมธรรม
ที่โจทกทั้งสองรับประกันภัย ดังนั้น คากูซากสินคาจึงอยูภายใตเงื่อนไขของกรมธรรมของโจทก
ทั้งสอง อุทธรณของจำเลยรว มฟง ไมขนึ้

พพิ ากษายืน คาฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณใ หเปนพบั .

(จักรกฤษณ เจนเจษฎา - วราคมน เล้ียงพนั ธุ - กรกันยา สวุ รรณพานิช)

จนั ทรกระพอ ตอสวุ รรณ สินธวถาวร - ยอ
ปรานี เสฐจินตนนิ - ตรวจ

๒๓๒

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๗๙๐/๒๕๖๑ ธนาคารกรุงไทย จำกัด

(มหาชน) โจทก

บริษทั ไทยคอปเปอร อนิ ดัสตรี่

จำกัด (มหาชน) กบั พวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๓๖๘, ๗๖๙

การพจิ ารณาวาความผูกพนั ระหวา งคูค วามมีลักษณะเปน สัญญาประเภทใดนั้น
ตองพิจารณาถึงขอเท็จจริงในการดำเนินการตอกัน จึงจะทราบเจตนาของคูสัญญา เมื่อ
พจิ ารณาหนงั สอื ใหค ำมน่ั (The Letter of Undertaking by Khun Prayudh) จะพบวา ขอ ๑
และขอ ๒ เปน กรณที จ่ี ำเลยท่ี ๒ ยอมรบั ผดิ ชอบสำหรบั หนแ้ี ละความรบั ผดิ ของจำเลยท่ี ๒
หาไดเปนเพียงการใหคำมั่นในเรื่องทางเทคนิคและการเงิน ซึ่งจำเลยที่ ๒ ก็ไมไดใหการ
ถึงรายละเอียดเรื่องคำมั่นทางเทคนิคอยางชัดเจน เมื่อพิจารณาขอความของหนังสือ
ประกอบทางปฏบิ ตั ขิ องโจทกแ ละจำเลยท่ี ๒ แลว หนงั สอื ใหค ำมน่ั นไ้ี มไ ดเ ปน เพยี งคำมน่ั
เพื่อใหโจทกมีความมั่นใจ แตคูสัญญารับทราบกันอยูวาเปนเรื่องภาระผูกพันที่จะตอง
ปฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื ดงั กลา ว จำเลยท่ี ๒ กไ็ มไ ดป ฏเิ สธภาระผกู พนั น้ี เพยี งแตอ า งวา จำเลยท่ี ๒
ปฏบิ ตั ติ ามภาระผกู พนั ครบถว นแลว ซง่ึ ขอ ๓ (ข) เปน ขอ ความทร่ี ะบวุ า จำเลยท่ี ๒ จะให
การสนับสนุนทางการเงินแกจำเลยที่ ๑ จนกวาจำเลยที่ ๑ จะจดทะเบียนเปนบริษัทใน
ตลาดหลกั ทรพั ยแ หง ประเทศไทย เมอ่ื ขอ เทจ็ จรงิ ยตุ แิ ละจำเลยท่ี ๒ เองกร็ บั วา จำเลยท่ี ๑
ยงั ไมไ ดจ ดทะเบยี นเปน บรษิ ทั ในตลาดหลกั ทรพั ยแ หง ประเทศไทย จำเลยท่ี ๒ ยอ มมภี าระ
ผกู พนั ใหก ารสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกจ ำเลยท่ี ๑ ตอ ไป อนั หมายความวา ตอ งเพม่ิ ทนุ ให
จำเลยที่ ๑ จนสามารถชำระหนี้และดำเนินการทางพาณิชยได ดังนั้น หากจำเลยที่ ๑ ยัง
มหี นต้ี อ งชำระแกโ จทก จำเลยท่ี ๒ กต็ อ งสนบั สนนุ จำเลยท่ี ๑ เพอ่ื ชำระหนด้ี งั กลา ว อนั เปน
วัตถุประสงคที่โจทกและจำเลยที่ ๒ ทำหนังสือใหคำมั่นแทนการทำสัญญาค้ำประกัน
แมจ ำเลยท่ี ๒ จะไมต อ งรวมรับผิดกบั จำเลยท่ี ๑ ก็ตาม

เมื่อพิจารณาสัญญาจำนำหุนขอ ๑ แลวจะพบวา จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ จำนำหุน
เพอ่ื เปน หลกั ประกนั การชำระสนิ เชอ่ื Tranche C1 แตม กี ารนำไปใชเ ปน สนิ เชอ่ื ตว๋ั สญั ญา
ใชเงินและโจทกนำหนี้ดังกลาวไปฟองใหจำเลยที่ ๑ รับผิดที่ศาลจังหวัดพระโขนง แสดง
ใหเ หน็ เจตนาระหวา งโจทกก บั จำเลยท่ี ๑ วา เมอ่ื โรงงานถกู สง่ั ใหห ยดุ การประกอบกจิ การ

๒๓๓

จงึ ไมอ าจใชว งเงนิ สนิ เชอ่ื Tranche C1 แตม กี ารตกลงใชว งเงนิ สนิ เชอ่ื ตว๋ั สญั ญาใชเ งนิ แทน
อันมีลักษณะเปนการเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของตัวหนี้ ถือวาเปนการแปลงหนี้ใหม
หนี้เดิมยอมระงับไป เมื่อไมมีขอตกลงเปนอยางอื่นสัญญาจำนำเปนอันระงับไปดวย
ตามสญั ญาเดิม

_____________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหบ งั คบั จำเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ รว มกนั รบั ผดิ ในยอดหน้ี ๔,๔๒๖,๒๐๗,๘๒๖.๙๐ บาท
พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๑๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๓,๐๘๘,๖๐๙,๗๖๘.๕๕ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ ง
เปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ จำเลยท่ี ๓ รว มรบั ผดิ ในยอดหนด้ี งั กลา ว ๙๐๒,๓๐๑,๓๖๙.๘๖ บาท
พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๖๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไป
จนกวาจะชำระเสร็จ และจำเลยที่ ๔ รวมรับผิดในยอดหนี้ดังกลาว ๖๑๔,๗๖๖,๘๘๒.๖๐ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๕๑๓,๐๓๗,๘๑๐ บาท นับถัดจากวันฟอง
เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ หากจำเลยทั้งสี่ชำระไมครบถวนใหบังคับจำนองและจำนำโดย
ยดึ ทรพั ยด งั กลา วและทรพั ยส นิ อน่ื ของจำเลยทง้ั สอ่ี อกขายทอดตลาดนำเงนิ มาชำระหนใ้ี หแ กโ จทก
จนครบถว น

จำเลยที่ ๑ ขอใหยกฟอ ง
จำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ ใหการและแกไขคำใหก าร ขอใหยกฟอง
จำเลยที่ ๓ ใหก ารและแกไขคำใหก าร ขอใหยกฟอง
ระหวางพิจารณา เจาพนักงานพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๑ ยื่นคำแถลงวาไมประสงค
จะดำเนินคดนี ี้ ขอใหจ ำหนา ยคดสี ำหรับจำเลยที่ ๑ ศาลทรพั ยสนิ ทางปญ ญาและการคา ระหวาง
ประเทศกลางมคี ำสง่ั จำหนา ยคดสี ำหรบั จำเลยที่ ๑
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิจารณาแลวพิพากษาให
จำเลยที่ ๒ ชำระเงินโจทก ๔,๔๒๖,๒๐๗,๘๒๖.๙๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป
ของตนเงิน ๓,๐๘๘,๖๐๙,๗๖๘.๕๕ บาท นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒)
เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ ใหจำเลยที่ ๓ รวมรับผิดเปนเงิน ๙๐๒,๓๐๑,๓๖๙.๘๖ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๖๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟอง
เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ และใหจำเลยที่ ๔ รวมรับผิดเปนเงิน ๖๑๔,๗๖๖,๘๘๒.๖๐ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๕๑๓,๐๓๗,๘๑๐ บาท นับถัดจากวันฟอง
เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จ หากจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ชำระหนี้ไมครบถวนใหบังคับจำนำที่ให

๒๓๔

ไวแกโจทก ใหจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทก โดยกำหนดคาทนายความให
๒๐๐,๐๐๐ บาท

จำเลยที่ ๒ ถงึ ที่ ๔ อทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
วินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงในเบื้องตนตามที่คูความไมโตแยงกันในชั้นนี้วา จำเลยที่ ๑ เปนหนี้
โจทกต ามมลู หนส้ี ญั ญาเลตเตอรอ อฟเครดติ ทรสั ตร ซี ที และแสตนดบ ายเลตเตอรอ อฟเครดติ เปน
เงนิ ตน พรอ มดอกเบย้ี ถงึ วนั ฟอ ง ๔,๔๒๖,๒๐๗,๘๒๖.๙๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๑๕ ตอ ป
นบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก จำเลยท่ี ๒ ทำหนงั สอื ใหค ำมน่ั ไวแ กโ จทก
จำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ จำนำหุนของจำเลยที่ ๑ ไวตอโจทก โดยจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ยอมรวมรับผิด
ตอโจทกตามจำนวนที่กำหนด จำเลยที่ ๑ ไมไดชำระหนี้แกโจทก ซึ่งโจทกไดบอกเลิกสัญญา
ดังกลาวตอจำเลยทั้งสี่ พรอมบอกกลาวบังคับจำนำตอจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ตามกฎหมายแลว
จำเลยท่ี ๑ ยงั ไมไ ดจ ดทะเบียนเปน บริษัทในตลาดหลักทรพั ยแ หง ประเทศไทย
ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ขอแรกมีวา จำเลยที่ ๒ ตอง
รับผิดชำระหนี้ตามหนังสือใหคำมั่นแกโจทกหรือไม โดยจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ อุทธรณวา หนังสือ
ดังกลาวไมไดระบุเลยวา จำเลยที่ ๒ จะตองรับผิดชอบชำระหนี้ที่จำเลยที่ ๑ คงคางแกโจทก
จำเลยที่ ๒ เพียงใหคำมั่นวา จำเลยที่ ๒ จะรับผิดชอบทางเทคนิคและการเงินใหจำเลยที่ ๑
สามารถกอสรางโรงงานใหแลวเสร็จและผลิตสินคาเชิงพาณิชยได ซึ่งจำเลยที่ ๒ ไดปฏิบัติตาม
คำมัน่ ดงั กลา วแลว หนังสอื ใหค ำมัน่ ระบุขอตกลงไวอ ยางชดั แจง ไมม ขี อความใดอาจตีความเปน
๒ นัย เลย เจตนารมณของคูความมีขอตกลง ๒ สวน คือ ใหคำมั่นในหนี้สินเดิมของจำเลยที่ ๑
ที่มีอยูกอนวันที่จำเลยที่ ๑ กูเงินโจทก โดยจำเลยที่ ๒ จะเพิ่มทุนใหจำเลยที่ ๑ เพื่อจัดการหนี้
ดังกลาว และดำเนินการโครงการใหเสร็จสิ้น จึงเปนเรื่องที่จำเลยที่ ๒ ตองเพิ่มทุนจำเลยที่ ๑
ใหเพียงพอเพื่อสรางโรงงานจนแลวเสร็จเทานั้น ขออางของโจทกเปนการกลาวอางลอย ๆ ไมมี
หลักฐานวาจำเลยที่ ๒ ตองรับผิดตอโจทก ปญหานี้ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางวนิ จิ ฉยั วา หนงั สอื ใหค ำมน่ั เปน สญั ญาเชงิ พาณชิ ยท ม่ี ลี กั ษณะครอบคลมุ กวา งขวาง
รบั ผดิ ชอบตอ หนท้ี ง้ั หมดและการสนบั สนนุ ทางการเงนิ ดว ยการเพม่ิ ทนุ แกจ ำเลยท่ี ๑ เปน การให
คำมั่นผูกพันจำเลยที่ ๒ ในการชำระหนี้ทั้งปวงและเพิ่มทุนใหแกจำเลยที่ ๑ จนกวาจำเลยที่ ๑
จะสามารถเขาเปนบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เห็นวา โจทกมีนายอิทธิพล และ
นางจีรนันท นำสืบวา จำเลยที่ ๒ ทำหนังสือใหคำมั่นไวแกโจทก โดยตกลงยินยอมรับผิดชอบ
อยางเต็มที่สำหรับหนี้ ขอเรียกรองหรือความรับผิดทั้งหมดและอยางหนึ่งอยางใดที่เกิดขึ้นตอ

๒๓๕

จำเลยที่ ๑ เมื่อจำเลยที่ ๑ ยังไมไดจดทะเบียนเปนบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
และประสบปญ หาสภาพคลอ ง จำเลยท่ี ๒ ตอ งรบั ผดิ ตอ โจทก แมพ ยานทง้ั ๒ ปาก นจ้ี ะเบกิ ความ
ตอบทนายจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ถามคานในทำนองวา พยานไมทราบเรื่องการทำสัญญาระหวาง
โจทกและฝายจำเลย แตพยานไดตรวจสอบเอกสารแลว ทั้งนายอิทธิพลยังเบิกความตอบทนาย
จำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ถามคานตอไปวา จำเลยที่ ๒ ยังไมไดปฏิบัติตามสัญญาใหคำมั่นขอ ๓ (ข)
ในขณะที่ฝายจำเลยมีจำเลยที่ ๒ และนายสมชัย นำสืบวา พยานเกี่ยวของในการทำสัญญาใน
คดีนี้ หนังสือใหคำมั่นจัดทำขึ้นเพื่อใหจำเลยที่ ๑ ดำเนินโครงการสำเร็จเทานั้น จำเลยที่ ๒
ปฏิบัติตามหนังสือใหคำมั่นแลว ขอตกลงนั้นเพียงใหจำเลยที่ ๒ ชวยเพิ่มทุนใหจำเลยที่ ๑
ดำเนินโครงการกอสรางโรงงานใหแลวเสร็จและดำเนินการเชิงพาณิชยไดเทานั้น ไมมีเรื่องที่
จำเลยที่ ๒ ตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ แตอยางใด ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมีการ
ปรับปรุงหลักเกณฑการรับบริษัทเขาจดทะเบียน จึงเปนเรื่องพนวิสัยไมสามารถทำไดอีกตอไป
หนังสือใหคำมั่นไมใชการค้ำประกัน หนังสือใหคำมั่น ขอ ๓ (ข) หมายความวา จำเลยที่ ๒ ตอง
เพม่ิ ทนุ ใหจ ำเลยท่ี ๑ เพอ่ื ใหจ ดทะเบยี นเปน บรษิ ทั ในตลาดหลกั ทรพั ยแ หง ประเทศไทยไดเ ทา นน้ั
ในปญหานี้แมพยานโจทกจะไมไดรูเห็นในขณะทำสัญญาตอกัน แตก็นำสืบตามพยานเอกสาร
ที่ปรากฏอยู ซึ่งการพิจารณาวาความผูกพันระหวางคูความมีลักษณะเปนสัญญาประเภทใดนั้น
ตองพิจารณาถึงขอเท็จจริงในการดำเนินการตอกัน จึงจะทราบเจตนาของคูสัญญา จำเลยที่ ๒
นำสืบยืนยันวา จำเลยที่ ๒ ไมตองการค้ำประกันจำเลยที่ ๑ โจทกจึงใหจำเลยที่ ๒ ทำหนังสือ
ใหคำมั่นโดยไมมีการระบุวา จำเลยที่ ๒ จะตองรับผิดชอบชำระหนี้ที่จำเลยที่ ๑ คงคางแกโจทก
จำเลยที่ ๒ เพียงใหคำมั่นวา จำเลยที่ ๒ จะรับผิดชอบทางเทคนิคและการเงินใหจำเลยที่ ๑
สามารถกอสรางโรงงานใหแลวเสร็จและผลิตสินคาเชิงพาณิชย แตเมื่อพิจารณาจะพบวา ขอ ๑
และขอ ๒ เปน กรณที จ่ี ำเลยท่ี ๒ ยอมรบั ผดิ ชอบสำหรบั หนแ้ี ละความรบั ผดิ ของจำเลยท่ี ๒ หาได
เปนเพียงการใหคำมั่นในเรื่องทางเทคนิคและการเงิน คำใหการของจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ก็ไมได
กลา วถงึ เรอ่ื งคำมน่ั ทางเทคนคิ อยา งชดั เจน เมอ่ื พจิ ารณาขอ ความของหนงั สอื ประกอบทางปฏบิ ตั ิ
ของโจทกแ ละจำเลยท่ี ๒ แลว หนงั สอื ใหค ำมั่นน้ไี มไ ดเปนเพยี งคำมน่ั เพอื่ ใหโ จทกม คี วามมน่ั ใจ
แตค สู ญั ญารบั ทราบกนั อยวู า เปน เรอ่ื งภาระผกู พนั ทจ่ี ะตอ งปฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื ดงั กลา ว จำเลยท่ี ๒
ก็ไมไดปฏิเสธภาระผูกพันนี้ เพียงแตอางวาจำเลยที่ ๒ ปฏิบัติตามภาระผูกพันครบถวนแลว
แตโ จทกน ำสบื ไวว า จำเลยท่ี ๒ ยงั ไมไ ดป ฏบิ ตั ติ ามขอ ๓ (ข) ซง่ึ เปน ขอ ความทร่ี ะบวุ า จำเลยท่ี ๒
จะใหก ารสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกจ ำเลยท่ี ๑ จนกวา จำเลยท่ี ๑ จะจดทะเบยี นเปน บรษิ ทั ในตลาด
หลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อขอเท็จจริงยุติและจำเลยที่ ๒ เอง ก็รับวา จำเลยที่ ๑ ยังไมได

๒๓๖

จดทะเบียนเปนบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทั้งจากทางนำสืบของฝายจำเลย
ก็ไมปรากฏวาการไมสามารถจดทะเบียนดังกลาวเปนเรื่องพนวิสัยเพราะเหตุใด เปนเพียงการ
กลาวอางลอย ๆ ของฝายจำเลยเทานั้น เมื่อจำเลยที่ ๒ ยังไมสามารถปฏิบัติตามขอ ๓ นี้จน
สำเร็จเสร็จสิ้น จำเลยที่ ๒ ยอมมีภาระผูกพันใหการสนับสนุนทางการเงินแกจำเลยที่ ๑ ตอไป
อันหมายความวา จำเลยที่ ๒ ตองเพิ่มทุนใหจำเลยที่ ๑ จนสามารถชำระหนี้และดำเนินการ
ทางพาณิชยได ดังนั้น หากจำเลยที่ ๑ ยังมีหนี้ตองชำระแกโจทก จำเลยที่ ๒ ก็ตองใหความ
สนบั สนนุ จำเลยท่ี ๑ เพอ่ื ชำระหนด้ี งั กลา ว อนั เปน วตั ถปุ ระสงคท โ่ี จทกแ ละจำเลยท่ี ๒ ทำหนงั สอื
ใหคำมั่นแทนการทำสัญญาค้ำประกัน แมจำเลยที่ ๒ จะไมตองรวมรับผิดกับจำเลยที่ ๑ ก็ตาม
สวนขอตอสูของฝายจำเลยในถอยคำวา “Operation of the project” วาแตกตางจากคำวา
“Commercial operation” นน้ั เหน็ ไดวา คำแรกอยูในสวนแรกของขอ ๓ (ข) สวนคำท่สี องอยูใน
ขอยอย (๒) ของขอ ๓ (ข) จำเลยที่ ๒ จะอางวาตนมีความรับผิดเฉพาะในการดำเนินกิจการ
เชิงพาณิชยเทานั้น หาไดเกี่ยวของกับการดำเนินการโครงการไมได จำเลยที่ ๒ จึงตองรับผิด
ตามยอดหนท้ี จ่ี ำเลยท่ี ๑ เปน หนโ้ี จทกท ศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
วนิ จิ ฉัยมานั้นชอบดว ยในผล อทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๔ ขอนฟ้ี งไมข้นึ

ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๔ ขอ ถดั ไปมวี า จำเลยท่ี ๒ และ
ที่ ๔ ตอ งรบั ผิดตามสญั ญาจำนำหุน แกโ จทกห รือไม เพียงใด โดยจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ อุทธรณวา
วงเงินนี้ไมมีการเบิกใชเลยและโรงงานถูกสั่งใหหยุดการประกอบกิจการไปกอนที่จะมีการเบิก
ใชวงเงินนี้ จึงไมไดมีหนี้เกิดขึ้น แตโจทกถือวิสาสะรวมวงเงินนี้เขากับวงเงินอื่นโดยไมมีความ
ผกู พนั กนั เปน ลายลกั ษณอ กั ษร ปญ หานศ้ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
วินิจฉัยวา เม่ือจำเลยท่ี ๑ ผิดนดั ชำระหน้ีตอ โจทก ทัง้ จำเลยที่ ๒ ไมป ฏบิ ัติตามหนังสือใหค ำมนั่
จึงเปนการปฏิบัติผิดสัญญาจำนำ โจทกยอมมีสิทธิฟองบังคับจำนำไดโดยจำเลยที่ ๒ และที่ ๔
ตองรับผิดรวมกับจำเลยที่ ๑ อยางลูกหนี้ชั้นตนตอโจทก เห็นวา แมโจทกจะมีนายอิทธิพลมา
นำสืบวา จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ตกลงยินยอมใหเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระหนี้ตามสัญญา
เลตเตอรอ อฟเครดติ และสญั ญาทรสั ตร ซี ที (เฉพาะคราว) ได แตพ ยานเบกิ ความตอบทนายจำเลยท่ี ๒
ถึงที่ ๔ ถามคานวา หลังจากทำสัญญาจำนำหุน มีการกันวงเงินบางสวนไปใชในสัญญา P/N
เปนสินเชื่อตั๋วสัญญาใชเงิน และวงเงินสินเชื่อ Tranche C1 สวนที่เหลือนั้นฝายจำเลยไมมีการ
ขอวงเงินดังกลาว สินเชื่อตั๋วสัญญาใชเงินนี้โจทกฟองบังคับคดีตอฝายจำเลยที่ศาลจังหวัด
พระโขนงแลว โดยเปนยอดเงินจำนวนเดียวกับคดีนี้ และเบิกความตอบทนายโจทกถามติงวา
โจทกฟองคดีนี้ตามสัญญาจำนำ ไมไดฟองใหชำระหนี้ตามสินเชื่อตั๋วสัญญาใชเงิน ฝายจำเลย

๒๓๗

มีนายสมชัยและจำเลยที่ ๒ นำสืบวา เมื่อมีคำสั่งใหโรงงานหยุดการประกอบกิจการ จึงไมมีการ
ใชวงเงินที่สัญญาจำนำหุนเปนประกัน เมื่อหนี้ประธานไมเกิด จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ยอมไมตอง
รับผิดตามสัญญาจำนำหุนดังกลาว ฝายจำเลยไมตองรับผิดตามสัญญา P/N รวมทั้งหนี้อื่น ๆ
ที่ไมไดกำหนดไวในสัญญาจำนำหุน ดังนี้ เมื่อพิจารณาสัญญาจำนำหุน ขอ ๑ แลวจะพบวา
จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ จำนำหุนเพื่อเปนหลักประกันการชำระสินเชื่อ Tranche C1 โดยสัญญา
ไมไดระบุใหสิทธิแกคูสัญญาในการเปลี่ยนแปลงหนี้ประธานที่มีการจำนำหุนไวตอกัน ทั้งไมใช
เรื่องการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระหนี้ตามที่โจทกนำสืบ ประกอบกับขอเท็จจริงฟงไดวา
ฝายจำเลยไมไดใชสินเชื่อ Tranche C1 แตมีการนำไปใชเปนสินเชื่อตั๋วสัญญาใชเงินและโจทก
นำหนี้ดังกลาวไปฟองใหจำเลยที่ ๑ รับผิดที่ศาลจังหวัดพระโขนง แสดงใหเห็นเจตนาระหวาง
โจทกกับจำเลยที่ ๑ วา เมื่อโรงงานถูกสั่งใหหยุดการประกอบกิจการ จึงไมอาจใชวงเงินสินเชื่อ
Tranche C1 โจทกแ ละจำเลยท่ี ๑ มกี ารตกลงใชว งเงนิ สนิ เชอ่ื ตว๋ั สญั ญาใชเ งนิ แทน อนั มลี กั ษณะ
เปนการเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของตัวหนี้ ถือวาเปนการแปลงหนี้ใหม หนี้เดิมยอมระงับไป
เมอ่ื ไมม ขี อ ตกลงเปน อยา งอน่ื สญั ญาจำนำเปน อนั ระงบั ไปดว ยตามสญั ญาเดมิ จงึ ไมอ าจถอื ไดว า
จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ผิดสัญญาจำนำหุน ทั้งไมตองรับผิดตอโจทกตามสัญญาดังกลาว ที่ศาล
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั มานน้ั ไมช อบ อทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๒
ถึงที่ ๔ ขอ น้ีฟง ขึ้น

ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๔ ขอ ตอ มามวี า จำเลยท่ี ๓ ตอ ง
รับผิดตามสัญญาจำนำหุนแกโจทกหรือไม เพียงใด โดยจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ อุทธรณวา สัญญา
จำนำหุนมีกำหนดอายุ ๔ ป คำขอบังคับทรัพยสินอื่นของจำเลยที่ ๓ เปนคำขอที่ขัดตอสัญญา
จำนำ โจทกไ มม สี ทิ ธเิ รยี กใหจ ำเลยท่ี ๓ ชำระหนเ้ี ดยี วกนั ๒ ครง้ั คำขอบงั คบั ทา ยคำฟอ งขดั ตอ
สัญญาจำนำ การระงับของสัญญาจำนำตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๗๖๙
เปน การบญั ญตั เิ พม่ิ เตมิ จากหลกั ทว่ั ไป สทิ ธยิ ดึ หนว งของโจทกร ะงบั ไปแลว ปญ หานศ้ี าลทรพั ยส นิ
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวินิจฉัยวา สัญญาจำนำหุน ถือเปนสัญญาพาณิชย
ที่ไมขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน เมื่อสัญญาดังกลาวมีผลผูกพัน
และจำเลยท่ี ๑ ผดิ นดั ไมช ำระหน้ี โจทกจ งึ บงั คบั ใหจ ำเลยท่ี ๓ รบั ผดิ ตามสญั ญาจำนำได เหน็ วา
จำเลยที่ ๓ ใหการวา จำเลยที่ ๓ ยื่นฟองโจทกคดีนี้เปนจำเลยในคดีของศาลแพงเพื่อเรียกรอง
ใหโ จทกป ลดภาระจำนำใหแ กจ ำเลยท่ี ๓ เมอ่ื โจทกอ า งสง คำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๑๒๖๗๒/๒๕๕๗
แสดงวา ในปญหานี้ ศาลฎีกาวินิจฉัยแลววา สัญญาจำนำ ขอ ๖.๑ ไมอาจแปลความหมายวา
การจำนำระงับสิ้นไปในทันทีเมื่อครบกำหนด ๔ ป นับแตวันที่ทำสัญญาจำนำ โจทกคดีนี้มีสิทธิ

๒๓๘

ยึดหุนไวจนกวาจะมีการชำระหนี้และคาอุปกรณครบถวน ดังนี้ จำเลยที่ ๓ มีความผูกพันตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาดังกลาว จึงไมอาจอางใหโจทกปฏิบัติตามสัญญาจำนำขอ ๖.๑ ในคดีนี้อีก
สำหรบั ขอ ทว่ี า โจทกฟ อ งจำเลยท่ี ๓ ใหร บั ผดิ ๒ ครง้ั จากสญั ญาจำนำฉบบั เดยี วกนั นน้ั เนอ่ื งจาก
โจทกแยกฟองฝายจำเลยตามมูลหนี้ประธานตางมูลหนี้กัน โดยจำเลยที่ ๓ ทำสัญญาจำนำเปน
ประกันหนี้ดังกลาว โจทกยอมมีสิทธิที่จะฟองบังคับคดีเอาจากจำเลยที่ ๓ ตามมูลหนี้อุปกรณได
สวนการบังคับคดีตามคำพิพากษาทั้ง ๒ คดี นี้ ยอมไมอาจกระทำ ๒ ครั้ง ไดดังที่จำเลยที่ ๓
อุทธรณ สวนเรื่องสิทธิยึดหนวงนั้น จำเลยที่ ๓ ไมไดใหการไวโดยชัดแจง จึงเปนขอที่ไมได
ยกขึ้นวากันมาแลวในศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง ไมรับวินิจฉัย
ใหจำเลยที่ ๓ ตองรับผิดตามสัญญาจำนำหุนแกโจทกตามจำนวนที่กำหนดตอกันตามสัญญา
เทา นน้ั ซง่ึ ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางกไ็ มไ ดว นิ จิ ฉยั ใหจ ำเลยท่ี ๓
ตอ งรบั ผดิ เกนิ ไปกวา ทรพั ยจ ำนำ ทง้ั ทโ่ี จทกฟ อ งใหจ ำเลยท่ี ๓ รบั ผดิ อยา งลกู หนส้ี ามญั แตโ จทก
ไมอ ทุ ธรณ จงึ ไมเ ปลย่ี นแปลงแกไ ขให ทศ่ี าลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
วนิ จิ ฉัยมานัน้ ชอบดว ยในผล อุทธรณของจำเลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๔ ขอ นฟ้ี ง ไมข ึ้น

ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ ขอสุดทายมีวา ฟองโจทก
เปนฟองซอนหรือไม โดยจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ อุทธรณวา ฟองโจทกในสวนที่เกี่ยวกับจำเลยที่ ๒
ถึงที่ ๔ เปนฟองซอนกับคดีของศาลจังหวัดพระโขนง หมายเลขแดงที่ ๔๓๗/๒๕๕๔ ปญหานี้
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั วา คดขี องศาลจงั หวดั พระโขนง
เปน หนภ้ี ายในประเทศ ไมอ ยใู นอำนาจของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
สำหรับคดีนี้อยูในเขตอำนาจของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง
จึงไมเปนฟองซอน เห็นวา แมโดยหลักทั่วไปนั้น ถาขออางที่อาศัยเปนหลักแหงขอหาอยาง
เดียวกัน การที่จะเรียกรองใหรับผิดเพิ่มเติมที่โจทกสามารถเรียกไดในคดีกอนแลว ถือเปนการ
ฟองเรื่องเดียวกัน และเปนฟองซอนกับคดีกอน แตคดีนี้ มูลหนี้ตามฟองเปนมูลหนี้ตามสัญญา
เลตเตอรออฟเครดิต ทรัสตรีซีท และแสตนดบายเลตเตอรออฟเครดิต ซึ่งตางจากมูลหนี้สัญญา
วงเงินสนิ เชอ่ื มลู หนีแ้ หงคดยี อมแตกตา งกัน จงึ ไมเปน ฟองซอ น ทศ่ี าลทรพั ยส ินทางปญ ญาและ
การคา ระหวา งประเทศกลางวนิ จิ ฉยั มานน้ั ชอบแลว อทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๔ ขอ นฟ้ี ง ไมข น้ึ
เชนกนั

๒๓๙

พิพากษาแกเปนวา ใหยกฟองโจทกสำหรับจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ในภาระหนี้สัญญา
จำนำหนุ ตามนอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำพพิ ากษาศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศกลาง คาฤชาธรรมเนียมชนั้ อุทธรณใ หเปน พับ.

(ไชยยศ วรนันทศ ริ ิ - จุมพล ภญิ โญสนิ วัฒน - สรุ พล คงลาภ)

สุจนิ ต เจนพาณิชพงศ - ยอ
ปรานี เสฐจินตนิน - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎกี าพิพากษาแก ตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๗๕๒/๒๕๖๓

๒๔๐


Click to View FlipBook Version