The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมและวางแผนก่อสร้างงานโยธา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaruwan, 2022-05-05 04:01:33

เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมและวางแผนก่อสร้างงานโยธา

เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมและวางแผนก่อสร้างงานโยธา

ลกั ษณะของอุบัติเหตทุ เี่ กดิ ขนึ้ ในงานก่อนสร้าง จาแนกได้ดงั นี้
1. อบุ ตั ิเหตุที่เกิดจำกควำมประมำทของคนงำนก่อสร้ำง
พอจะกล่ำวใหเ้ ห็นไดโ้ ดยสังเขปก็คือ ขณะทำงำนอำจแต่งกำยไม่รัดกุม รุ่มร่ำม ใส่รองเทำ้ แตะทำให้ล่ืนไถลได้
ง่ำย ไม่สวมหมวกนิรภยั เดินบนไมท้ ่ีพำดบนช่องเปิ ด หรืเกิดควำมสะเพร่ำจำกกำรทำงำนโดยทิ้งเศษไมท้ ี่ตอก
ตะปูหงำยข้ึน เกิดจำกกำรทำงำนติดเล่น หรือที่เรียกวำ่ “ทำไปเล่นไป”เยอ้ แหย่กนั ในขณะทำงำนก็อำจจะพลำด
พล้งั ทำใหเ้ กิดอุบตั ิเหตุที่ไมค่ ำดคดิ ข้ึนได้

รูปท่ี 2 ควำมประมำทของคนงำนก่อสร้ำง
2. อุบตั เิ หตทุ เ่ี กดิ จากลกั ษณะงาน
ลกั ษณะของอบุ ตั ิเหตุจะมีควำมแตกตำ่ งกนั ออกไปตำมลกั ษณะของงำนก่อสร้ำง เช่น งำนก่อสร้ำงถนน งำน
ก่อสร้ำงอำคำรสูง ลกั ษณะของอุบตั ิเหตทุ ี่เกิดจำกกำรก่อสร้ำงอำคำรสูง จึงเป็นลกั ษณะท่ีพลดั ตกจำกที่สูง วตั ถุ
หลน่ ใส่ ตะปตู ำเทำ่ เป็นตน้ แต่ถำ้ เป็นงำนก่อสร้ำงถนน ลกั ษณะของอุบตั ิเหตุจะเกี่ยวเน่ืองกบั กำรใช้
เครื่องจกั รกล หรือกำรใชเ้ ครื่องท่นุ แรงเป็นส่วนมำก ดงั น้นั ลกั ษณะของอบุ ตั ิเหตุที่นำมำเสนอ ณ ที่น้ี ส่วนมำกจึง
เป็นอุบตั ิเหตุที่เกิดข้ึนกบั งำนก่อสร้ำงอำคำร ซ่ึงมีลกั ษณะดงั ต่อไปน้ีคอื

2.1 กำรพลดั ตกจำกท่ีสูง
2.1 วสั ดุตกใส่
2.3 กำรพงั ของโครงสร้ำงชวั่ ครำว

2.4 กำรใชเ้ ครื่องทนุ่ แรง และเครื่องจกั รกล
2.5 กำรใชเ้ คร่ืองมือไปฟ้ำและอุปกรณ์ไฟฟ้ำ
กำรพลดั ตกจำกท่ีสูงมกั จะเกิดข้ึนอยู่เสมอ เช่น พลดั ตกจำกนั่งร้ำน จำกช่องเปิ ด บนั ได ลิฟต์ หลุม เสำเข็มเจำะ
หรือพลดั ตกจำกเคร่ืองจกั รในขณะปฏิบัติหน้ำที่ กำรพลดั ตกจำกที่สูงไม่อำจจะเกิดข้ึนได้ ถำ้ คนงำนมีควำม
รอบคอบ ไมป่ ระมำท ไม่สะเพร่ำในขณะทำงำน จึงตอ้ งถือเป็นภำระหนำ้ ท่ีของทุกฝ่ ำย ตอ้ งช่วยกนั สอดส่องดูแล
กำกบั ให้งำนบงั เกิดควำมปลอดภยั มำกท่ีสุด เช่น ปิ ดช่องต่ำง ๆ ทำรำวกนั ตก มีเข็มขดั นิรภยั สวมหมวกนิรภยั
เป็ นตน้ ถำ้ ปล่อยให้เป็ นหน้ำที่ของคนงำนท่ีจะตอ้ งระมดั ระวงั กนั เองแลว้ ก็จะไร้ผลโดยสิ้นเชิงเพรำะควำมไม่
รู้เท่ำถึงกำรณ์และวฒุ ิภำวะของเขำนนั่ เอง ดงั น้นั ผคู้ วบคมุ งำนก่อสร้ำงตอ้ งถือเป็นภำระหนำ้ ท่ีสำคญั ประกำรหน่ึง
จะตอ้ งคอยสอดส่องดูแลสภำพกำรทำงำนให้เกิดควำมปลอดภยั มำกท่ีสุด ไม่ว่ำจะเป็นกำรขนยำ้ ยวสั ดุก่อสร่ำง
กำรใชป้ ้ันจน่ั หอสูงตอ้ งผูกหรือมดั วสั ดุใหแ้ น่น หรือกำรก่อสร้ำงร้ำนของคนงำนก็ตอ้ งสังเกตดูว่ำจะรับน้ำหนัก
ไดอ้ ยำ่ งปลอดภยั หรือไม่ หรือกำรตอกเสำเข็มพืด (Sheet Pile) ตอ้ งมีควำมเช่ือมนั่ วำ่ สำมำรถรับแรงดนั ของดินได้
ตลอดจนกำรใช้เคร่ืองมือไฟฟ้ำ เคร่ืองทุ่นแรง เครื่องจกั รกลต่ำง ๆ ตอ้ งมีควำมชำนำญเพียงพอ และตอ้ งแน่ใจ
ดว้ ยวำ่ ใชไ้ ดอ้ ยำ่ งถูกตอ้ งกบั ลกั ษณะของงำน ดงั น้ีเป็นตน้

รูปท่ี 3 กำรพงั ทลำยของโครงสร้ำง

3. อบุ ตั ิเหตุท่เี กดิ จากส่ิงแวดล้อมในการทางาน
ผูท้ ่ีทำงำนก่อสร้ำงต้องพบกับสภำพแวดล้อมที่ไม่พึงประสงค์ด้วยกันท้ังน้ัน เช่น เสียงดังแสงที่จ้ำหรือมัว
จนเกินไป ควำมสะเทือน ฝ่ นุ ควนั กลิ่น เป็นตน้ เสียงรบกวน เป้ฯตน้ ว่ำกำรตอกเสำเขม็ กำรขดั โลหะดว้ ยเครื่อง
ขดั หรือเสียงอื่น ๆ ท่ีดงั มำกเกินไป ก็ทำให้เกิดอนั ตรำยไดด้ งั น้นั กรมแรงงำน กระทรวงมหำดไทย จึงกำหนด
มำตรฐำนรองรับเสียงในสถำนประกอบกำรดงั น้ี

เกณฑ์กาหนดระดับเสียงที่เป็ นอนั ตราย
3.1 ไดร้ ับเสียงไม่เกินวนั ละ 7 ชว่ั โมง ตอ้ งมีระดบั เสียงติดตอ่ กนั ไม่เกิด 91 เดซิเบล
3.2 ไดร้ ับเสียงวนั ละ 7-8 ชวั่ โมง ตอ้ งมีระดบั เสียงติดต่อกนั ไม่เกิด 91 เดซิเบล
3.3 ไดร้ ับเสียงวนั ละ 8 ชวั่ โมง ตอ้ งมีระดบั เสียงติดตอ่ กนั ไมเ่ กิด 80 เดซิเบล
3.4 นำยจำ้ งใหล้ ูกจำ้ งทำงำนในท่ี ๆ มีระดบั เสียง 140 เดซิเบลไมไ่ ด้

องคก์ รอนยั โลกไดก้ ำหนดระดบั เสียงท่ีดงั เกินกวำ่ 85 เดซิเบล ถือวำ่ เป็นอนั ตรำยต่อมนุษย์ และ
มำตรฐำนกำรตอกเสำเขม็ ของประเทศญี่ป่ ุน กำหนดไวว้ ำ่ ระยะห่ำง 30 เมตรจำกป้ันจนั่ ตอกเสำเขม็ ระดบั เสียง
จะตอ้ งไมส่ ูงเกินกวำ่ 75 เดซิเบล สำหรับประเทศสหรัฐอเมริกำ กำหนดไวว้ ำ่
เสียงรบกวนจะดงั เกิน 140 เดซิเบลไมไ่ ด้ ฉะน้นั กำรป้องอกนั อนั ตรำยสำหรับคนงำนอำจใชป้ ลก๊ั ลด
เสียง (Ear Plug) ที่ทำดว้ ยวสั ดุตำ่ ง ๆ เช่น พลำสติก ยำง ฯลฯ อดุ หูในขณะท่ีมีเสียงดงั ซ่ึงสำมำรถลด
เสียงลงได้ 15 เดซิเบล หรือใชค้ รอบหูซ่ึงลดเสียงไดไ้ มน่ อ้ ยกวำ่ 25 เดซิเบล

รูปที่ 4 ชุดอุปกรณ์ในกำรป้องกนั เสียงในงำนก่อสร้ำง
แสงสวำ่ งในกำรทำงำนก็เป็นสิ่งสำคญั อีกประกำรหน่ึง เพรำะถำ้ แสงแดดจำ้ มำกเกินไปอำจ
ทำใหเ้ กิดกำรระคำยเคอื ง ทำใหต้ ำพร่ำมองไมช่ ดั ก่อใหเ้ กิดอนั ตรำยไดง้ ่ำย หรือกำรทำงำนในที่ท่ีมี
แสงสวำ่ งไมเ่ พยี งพอ เช่น กำรทำงำนในเวลำกลำงคนื ถำ้ แสงสวำ่ งไมเ่ พยี งพอแลว้ นอกจำกจะได้
ผลงำนท่ีไม่เรียบร้อย ยงั เป็นเหตทุ ี่ทำใหเ้ กิดอบุ ตั ิเหตไุ ดง้ ่ำยอีกดว้ ย

รูปที่ 5 กำรทำงำนในที่ท่ีมีแสงสวำ่ งไม่เพียงพอ
ในเร่ืองของกำรสั่นสะเทือนกเ็ ช่นกนั เน่ืองจำกสภำพกำรทำงำนกำรก่อสร้ำงในปัจจุบนั มี
กำรใช้เคร่ืองทุ่นแรงและเครื่องจกั รกลเขำ้ มำดำเนินกำรเป็นจำนวนมำก เช่น รถแทรกเตอร์ รถขดุ รถตกั รถบด
ถนน รถเครน เคร่ืองตดั เคร่ืองเจำะ เป็นตน้ เม่ือใชเ้ ครื่องทุ่นแรงหรือเคร่ืองจกั รดงั กล่ำว ยอ่ ยมีควำมสนั่ สะเทือน
ท้งั น้นั ควำมสั่นสะเทือนในขณะท่ีใช้เครื่องทุ่นแรงเหล่ำน้นั ก่อให้เกิดควำมเม่ือยลำ้ อ่อนเพลีย เกิดควำมรำคำญ
เช่นเดียวกบั เรื่องฝ่ ุน ควนั กลิ่น ซ่ึงถำ้ คนงำนก่อสร้ำงทนสภำพดงั กล่ำวไม่ได้ ย่อมเป็ นช่องทำงทำให้บน่ั ทอน
ประสิทธิภำพในกำรทำงำน และก่อใหเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุเช่นเดียวกนั

รูปท่ี 6 กำรส่นั สะเทือนจำกกำรตอกเสำเขม็

4. อบุ ตั เิ หตเุ น่ืองจากการทางาน
เริ่มต้งั แต่ข้นั ตอนแรกของกำรก่อสร้ำง คือ อุบตั ิเหตุจำกกำรขดุ ดิน เช่น ดินยบุ ตวั โครงสร้ำง
ป้องกนั ดินพงั เพรำะมีแรงดนั ดำ้ นขำ้ ง ปัญหำตำ่ ง ๆ เหล่ำน้ีผดู้ ำเนินกำรก่อสร้ำงตอ้ งคดิ หำทำงป้องกนั ไวท้ กุ กรณี
หรือในงำนตอกเสำเข็ม จะพบเห็นอย่เู สมอวำ่ คนงำนก่อสร้ำงมีควำมประมำทในกำรทำงำนเป็ นอยำ่ งมำก ซ่ึงถำ้
เกิดกำรผิดพลำดข้ึนมำก็จะเป็นอนั ตรำยถึงแกช้ ีวติ แน่นอน ดงั น้นั ลกั ษณะกำรทำงำนดงั กล่ำวน้ีไม่สมควรกระทำ
โดยเด็จขำด อุบตั ิเหตุและอนั ตรำยจำกกำรตอกเสำเข็ม มีส่ิงที่ตอ้ งระมดั ระวงั อีกหลำยประกำร เป็ นตน้ ว่ำปัญหำ
กำรสนั่ สะเทือน ปัญหำดินไหลเนื่องจำกถูกเสำเข็มแทนท่ี ปัญหำกำรเกิดอนั ตรำยแก่ผปู้ ฏิบตั ิงำนและสิ่งก่อสร้ำง
ป้ันจนั่ ตอกเสำเขม็ ลม้ เป็นตน้ นอกจำกน้ีอบุ ตั ิเหตุท่ีเกิดจำกกำรปฏิบตั ิงำนซ่ึงตอ้ งระมดั ระวงั เช่น
1. อนั ตรำยจำกกำรใชป้ ้ันจนั่
2. อนั ตรำยจำกกำรใชเ้ คร่ืองทนุ่ แรง และเคร่ืองจกั รกล
3. อนั ตรำยจำกกำรใชน้ ง่ั ร้ำน
4. อนั ตรำยจำกกำรใชล้ ิฟตช์ วั่ ครำว
5. อนั ตรำยจำกกำรใชเ้ คร่ืองมือไฟฟ้ำ และอุปกรณ์ไฟฟ้ำ
6. อนั ตรำยจำกไฟไหม้
7. อนั ตรำยจำกช่องลิฟต์ และช่องเปิ ดลิฟต์
8. ควำมประมำทของผปู้ ฏิบตั ิงำน
9. กำรหยอกลอ้ กนั ในขณะปฏิบตั ิงำน
10. ควำมมกั ง่ำยของผปู้ ฏิบตั ิงำน
11. เมำสุรำแลว้ เขำ้ มำทำงำน
12. ไมเ่ ชื่อฟังคำสัง่ ของผคู้ วบคุมงำน
13. คนงำนไม่ใชอ้ ุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรำย
14. นำอปุ กรณ์ก่อสร้ำงที่ชำรุดมำปฏิบตั ิงำน
15. จดั เรียงวสั ดุท่ีใชก้ ่อสร้ำงไม่เป็นระเบียบ
16. ใชเ้ คร่ืองมือไม่ถูกวธิ ี
17. บริษทั ก่อสร้ำงไม่บงั คบั ใหค้ นงำนปฏิบตั ิตำมกฎของควำมปลอดภยั

รูปท่ี 7 กำรทำงำนของผปู้ ฏิบตั ิงำนโดยประมำท ไมม้ ีกำรป้องกนั ภยั
การเตรียมงานก่อสร้างในด้านความปลอดภยั
ในปี หน่ึง ๆ มีผปู้ ระสบอุบตั ิเหตุจำกงำนก่อสร้ำงนบั ต้งั แต่เลก็ ๆ นอ้ ย ๆ จนถึงทุพพลภำพ
หรือเสียชีวติ จำนวนไมน่ อ้ ย ท้งั ผทู้ ี่ทำงำนเองและผทู้ ่ีสญั จรไปมำหรือผทู้ ่ีพกั อำศยั ในอำคำรขำ้ งเคียง
ฉะน้นั กำรใหค้ วำมปลอดภยั ควรจะกระทำต้งั แต่เร่ิมดำเนินกำรก่อสร้ำงเลยทีเดียว คือ นบั ต้งั แต่กำร
ก้นั ร้ัว ควบคมุ กำรเขำ้ ออก กำรติดป้ำยเตือนภยั ตำ่ ง ๆ กำรใชอ้ ุปกรณ์ใหค้ วำมปลอดภยั แต่ละบุคคล
ตลอดจนส่ิงป้องกนั อนั ตรำยตำ่ ง ๆ

รูปที่ 8 กำรอบรมและใหค้ วำมรู้แก่พนกั งำนในกำรก่อสร้ำง

1. เจำ้ หนำ้ ท่ีควำมปลอดภยั
ตำมประกำศกระทรวงมหำดไทยเรื่อง “ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนของลกู จำ้ ง” ขอ้ 6
กำหนดวำ่ “ ให้นำยจำ้ งท่ีมีลูกจำ้ งต้งั แต่หน่ึงร้อยคนข้ึนไป ในสถำนประกอบกิจกำรแต่ละแห่งจดั ให้มีเจำ้ หนำ้ ท่ี
ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนอยำ่ งนอ้ ยแห่งล่ะหน่ึงคน เพื่อปฏิบตั ิหนำ้ ที่ตลอดเวลำในกำรทำงำน” เจำ้ หนำ้ ที่ดำ้ น
ควำมปลอดภยั หรือเรียกยอ่ ๆ วำ่ “จ.ป.” ท่ีดีจะตอ้ งพยำยำมทุกวิถีทำงท่ีจะลดอุบตั ิเหตุให้มำกท่ีสุดเท่ำท่ีจะทำได้
เป็นตน้ วำ่ ดูแลใหท้ ุกฝ่ำยปฏิบตั ิตำมกฎหมำย พยำยำมสร้ำง
จิตสำนึกให้กบั ทุก ๆ คนนบั ต้งั แต่คนงำนก่อสร้ำง วิศวกร สถำปนิก ช่ำงเทคนิค จนถึงเจำ้ ของโครงกำรท้งั ท่ีเป็น
หน่วยรำชกำรและเอกชนตลอดจนผูร้ ับเหมำก่อสร้ำง และผูท้ ี่เก่ียวขอ้ ง ให้เลง็ เห็นถึงควำมสำคญั ในเรื่องควำม
ปลอดภยั ในกำรก่อสร้ำงเพ่อื ที่จะไม่มีกำรตดั งบประมำณในดำ้ นน้ีลงไป
อยำ่ งไรก็ตำม ยงั มีนอ้ ยคนนกั ที่เห็นควำมสำคญั ในเรื่องน้ี เจำ้ ของโครงกำรมกั จะถือวำ่ เป็น
หน้ำท่ีของผูร้ ับเหมำก่อสร้ำงโดยตรง ทำไมจะต้องผลักภำระให้มำตกกับตน ฝ่ ำยผูร้ ับเหมำก็มักจะคิดว่ำ
ผรู้ ับเหมำช่วงจะตอ้ งเป็ นผูร้ ับภำระหำกเกิดอุบตั ิเหตุ และกองทุนเงินทดแทนก็มีอยแู่ ลว้ กำรท่ีจะทำตำมท่ี จ.ป.
กำหนดทุกอยำ่ งยอ่ มเป็นกำรสิ้นเปลือง และถำ้ บวกค่ำดำเนินกำรตำมมำตรกำรให้ควำมปลอดภยั เขำ้ ไปในรำคำ
ประมูล ก็คงจะประมูลไม่ได้ หรือไม่ก็ถูกเจำ้ ของโครงกำรต่อรำคำจนในท่ีสุดจำเป็ นตอ้ งตดั ค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆ
ดงั กล่ำวออกไปจนเกือบหมดสิ้น

รูปท่ี 9 เจำ้ หนำ้ ท่ีรักษำควำมปลอดภยั

2. อุปกรณ์ใหค้ วำมปลอดภยั แก่บุคคล
ตำมประกำศกระทรวงมหำดไทยวำ่ ดว้ ยเรื่องควำมปลอดภยั บคุ คลระบไุ วว้ ำ่ ผเู้ ขำ้ ใน
บริเวณก่อสร้ำงจะตอ้ งสวมหมวกแขง็ ทุกคน แตใ่ นทำงปฏิบตั ิกลบั เป็นขอ้ ท่ีละลำยกนั มำกท่ีสุด โย
เฉพำะกบั คนงำนก่อสร้ำง โดยอำ้ งวำ่ ไมส่ ะดวกในกำรทำงำนบำ้ ง คนงำนไม่ยอมใชบ้ ำ้ ง จะมีใชก้ นั ก็
เพียงในระดบั ผคู้ วบคุมงำนและหวั หนำ้ งำนตำ่ งๆเท่ำน้นั ซ่ึงเป็นกำรฝ่ำฝืนกฎหมำยมรบทลงโทษ
แน่นอน อยำ่ งไรก็ดียงั มรบริษทั ก่อสร้ำงหลำยบริษทั เหมือกนั ท่ีสำมำรถจดั ให้คนงำนของตนทุกคนทุกระดบั ได้
ใช้หมวกแข็งเป็ นประจำซ่ึงเป็ นสิ่งท่ีน่ำสรรเสริญ อุบตั ิเหตุที่พบมำกไดแ้ ก่ เศษไม้ ตะปู คอ้ นและอ่ืนๆตกใส่
ศีรษะไมท้ ่อนเล็กๆท่อนเดียวเคยทำให้คนดีๆกลำยเป็นคนไม่สมประกอบมำแลว้ ทำให้ชีวิตส่วนที่เหลือท้งั ชีวิต
เสียไป ซ้ำยงั เป็น ภำระใหก้ บั คนอ่ืนอีก ไมใ่ ช่ศีรษะอยำ่ งเดียวที่ตอ้ งป้องกนั อนั ตรำยอวยั วะอยำ่ งอื่นก็ตอ้ งป้องกนั
เช่นกนั เช่น มือ เทำ้ ตำ ใบหนำ้ ทกุ ส่วนของร่ำงกำยก็วำ่ ได้

รูปท่ี 10 อปุ กรณ์ป้องกนั ภยั อนั ตรำยจำกงำนก่อสร้ำง
3. กำรแตง่ กำย
นอกจำกถุงมือ รองเทำ้ หมวกแขง็ ซ่ึงจะตอ้ งสวมใส่ตำมท่ีกำหนดในประกำศที่
กระทรวงมหำดไทยเกี่ยวกบั “ควำมปลอดภยั ในกำรก่อสร้ำง” แลว้ กำรแตง่ กำยของคนงำนก็ควรจะ

ไดร้ ับกำรดูแลเอำใจใส่ดว้ ย ที่จริงแลว้ ในบริเวณก่อสร้ำงจะเตม็ ไปดว้ ยสิ่งระเกะระกะ นบั ต้งั แต่นง่ั ร้ำนค้ำยนั เศษ
ไม้ เศษเหลก็ ตะปู นอกจำกน้นั ยงั มีอุปกรณ์ก่อสร้ำงนำนชนิด ฉะน้นั คนงำนคนงำนทุกคนไม่วำ่ จะเป็นหญิงหรือ
ชำยไม่ควรแต่งกำยรุ่มร่ำม แต่ควรใหร้ ัดกมุ ท่ีสุด

รูปที่ 11 กำรแต่งกำยอยำ่ งถูกตอ้ งในกำรทำงำนก่อสร้ำง

4. เขตก่อสร้ำง
ตำมประกำศกระทรวงมหำดไทยเรื่อง “ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนก่อสร้ำงว่ำดว้ ยเขตก่อสร้ำง” กำหนดให้
นำยจำ้ งจดั ทำร้ัวหรือคอกก้นั และปิ ดประกำศแสดง “เขตก่อสร้ำง” ในบริเวณที่ดำเนินกำรก่อสร้ำงและให้กำหนด
เขตอนั ตรำย ในงำนก่อสร้ำงโดยทำเป็ นร้ัว หรือคอกก้ันหรือแผนผงั กำรตกและเขียนป้ำย “เขตอนั ตรำย” ปิ ด
ประกำศใหช้ ดั เจนในเวลำกลำงคนื ใหม้ ีไฟสีแดงแสดงตลอดเวลำดว้ ย
4.1 “เขตก่อสร้ำง” หมำยควำมวำ่ พ้ืนท่ีดินบริเวณโดยรอบท่ีดำเนินกำรก่อสร้ำง ซ่ึงนำยจำ้ งไดจ้ ดั ทำร้ัวหรือคอก
ก้นั ไวต้ ำมประกำศน้ี
4.2 “เขตอนั ตรำย” หมำยควำมว่ำ บริเวณที่กำลงั ก่อสร้ำงหรือบริเวณท่ีใชป้ ้ันจน่ั หรือบริเวณที่ติดต้งั น่ังร้ำนหรือ
ลิฟท์ขนส่ง หรือส่วนขอกกำรก่อสร้ำงอำคำร หรือลำเลียงวสั ดุเพ่ือกำรก่อสร้ำง หรือสถำนท่ีเก็บเช้ือเพลิงหรือ
วสั ดุเพ่ือกำรก่อสร้ำง หรือบริเวณที่ใชเ้ คร่ืองจกั รกล หรือกระแสไฟฟ้ำเพื่อกำรก่อสร้ำงร้ัวที่ใชใ้ นเขตก่อสร้ำงน้ี
นอกจำกจะทำตำมที่กำหนดในใบประกำศกระทรวงมหำดไทยแลว้ แต่ถำ้ ทำให้สวยงำมไดก้ ็ยิ่งดี ท่ีสำคญั คือ
ควำมมิดชิดและแข็งแรง หำกหน่วยก่อสร้ำงอยู่ชิดถนนหรือทำงเดินสำธำรณะ จะตอ้ งจดั ให้มีหลงั คำกนั วสั ดุท่ี
อำจจะตกลงมำถูกที่คนท่ีสัญจรไปมำดว้ ย ร้ัวจะตอ้ งมีประตูที่สำมำรถควบคุมกำรเขำ้ ออกท้งั คนและรถทุกชนิด
ผทู้ ่ีจะเขำ้ ไปในบริเวณก่อสร้ำงจะตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีหนำ้ ท่ีในหน่วยก่อสร้ำงน้นั ผทู้ ่ีไม่มีหนำ้ ที่จะตอ้ งไดร้ ับอนุญำตจึง
จะเขำ้ ได้ และทุกคนจะตอ้ งปฏิบตั ิตำมระเบียบขอ้ บงั คบั ในดำ้ นควำมปลอดภยั ทกุ ประกำร

รูปที่ 12 รูปแสดงบอกถึงขอบเขตกำรก่อสร้ำง

5. ปัญหำเรื่องเด็ก
ดงั ที่กล่ำวไปแลว้ ว่ำกำรท่ีจะเขำ้ ไปในบริเวณก่อสร้ำงควรจะอนุญำตเฉพำะผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั กำรก่อสร้ำงเท่ำน้ัน
แต่อย่ำงไรก็ดีวิถีควำมเป็ นอยู่ของคนงำนก่อสร้ำงส่วนใหญ่มกั จะปลูกบำ้ นพกั ชั่วครำวในบริเวณที่ก่อสร้ำง
นน่ั เอง เนื่องจำกกำรขนส่งคนงำนจำกที่อ่ืนมกั ไมค่ ่อยสะดวก จึงหลีกไม่พน้ ท่ีจะตอ้ งมีเด็กเลก็ ๆจำนวนมำก ณ ที่
พกั น้ัน วิธีท่ีถูกถำ้ ไม่สำมำรถแยกคนงำนให้อยู่คนละแห่งกบั สถำนที่ก่อสร้ำง จะตอ้ งทำร้ัวก้นั บริเวณที่พกั กบั
สถำนที่ก่อสร้ำง เพ่ือป้องกันไม่ให้เด็กเข้ำไปในบริเวณก่อสร้ำง เพรำะอันตรำยอำจเกิดได้ง่ำยกับเด็ก ซ่ึง
รู้เทำ่ ไม่ถึงกำรณ์

รูปท่ี 13 ปัญหำเร่ืองเดก็ เขำ้ ไปเลน่ ในเขตก่อสร้ำง

ลกั ษณะของอุบัติเหตุ มีดังนี้
1. ถกู ตะปู หรือเศษเหลก็ ตำที่เทำ้
2. ถูกไฟฟ้ำช็อต
3. เศษวสั ดุกระเดน็ เขำ้ ตำ
4. ถูกตมุ้ ป้ันจนั่ ทบั นิ้วขำด
5. เดินสะดุดกองวสั ดุ
6. วสั ดุตกหลน่ ใส่
7. ตกจำกนง่ั ร้ำน
8. เดินชนนง่ั ร้ำน และเหลก็ เสียบ

รูปที่ 14 อุบตั ิเหตุจำกกำรถกู ไฟฟ้ำช๊อตในระหวำ่ งกำรทำงำนก่อสร้ำง

การจดั การป้องกนั อบุ ตั ิเหตุในงานก่อสร้าง
1. การเตรียมงานก่อนการก่อสร้าง
โดยเริ่มวำงแผนป้องกนั อุบตั ิเหตุต้งั แต่กำรวำงผงั งำนก่อสร้ำง หรือต้งั แต่กำรกำหนดตำแหน่งของสิ่งปลูกสร้ำง
ชวั่ ครำว ซ่ึงพ้ืนที่บริเวณก่อสร้ำงออกเป็นส่วน ๆ ท้งั น้ีตอ้ งให้เกิดควำมสะดวกในกำรก่อสร้ำง ง่ำยต่อกำรควบคุม
และให้เกิดควำมปลอดภัยมำกที่สุด เช่น พ้ืนที่ท่ีใช้เก็บน้ำมนั เช้ือเพลิง ควรแยกให้ห่ำงจำกวสั ดุที่ไวไฟ แยก
บำ้ นพกั ของคนงำนก่อสร้ำงไวเ้ ป็ นส่วนต่ำงหำกมีประตูเขำ้ ออกโดยเฉพำะ ไม่ใช้ปะปนกบั ประตูที่ใช้เขำ้ ออก
สำหรับกำรก่อสร้ำง เพื่อเป็ นกำรป้องกนั มิให้คนงำนก่อสร้ำง หรือผูท้ ่ีพกั อำศยั อยู่เดินผ่ำนเขำ้ มำในบริเวณงำน
ก่อสร้ำง ซ่ึงนอกจำกจะอำนวยควำมสะดวกให้กบั คนงำนเหล่ำน้นั แลว้ ยงั จะลดอุบตั ิเหตุลงได้ และสะดวกต่อ
กำรควบคมุ ดูแลทรัพยส์ ินอีกดว้ ย นอกจำกน้ียงั ตอ้ งมีกำรจดั เตรียมในเร่ืองตำ่ ง ๆ ดงั น้ี
1.1 กำรจัดเตรี ยมเครื่องมือ เคร่ื องมือท่ีใช้ในกำรก่อสร้ำงต้องอยู่ในสภำพที่พร้อมจะใช้งำนได้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพ ไม่ใช้เครื่องมือหรือเคร่ืองทุ่นแรงที่ชำรุด ใชเ้ คร่ืองมือไม่ถูกวิธี และใชเ้ ครื่องมือไม่เหมำะสมกบั
ลกั ษณะของงำน จึงตอ้ งอบรมใหค้ นงำนตระหนกั ถึงควำมสำคญั ของเรื่องน้ี

1.2 กำรจดั กำรเตรียมเครื่องแต่งกำย และอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรำยของคนงำนก่อสร้ำงไดแ้ ก่ หมวกนิรภยั เครื่อง
ป้องกนั ใบหน้ำ ที่ครอบหู ที่ปิ ดจมูก ถุงมือ เข็มขดั นิรภยั และรองเทำ้ นิรภยั ตอ้ งจดั เตรียมไวใ้ ห้พร้อม มีจำนวน
พอเพยี งกบั จำนวนของคนงำนก่อสร้ำง และอยใู่ นสภำพท่ีพร้อมใชง้ ำนได้
1.3 กำรจดั ทำป้ำยเตือน ป้ำยหำ้ ม เก่ียวกบั กำรทำงำน เพ่ือเป็นสิ่งกระตนุ้ ใหค้ นงำนเพม่ิ ควำมระมดั ระวงั ยงิ่ ข้ึน
2. กำรป้องกนั อุบตั ิเหตใุ นขณะก่อสร้ำง

ผูค้ วบคุมงำนก่อสร้ำงตอ้ งถือเป็ นภำระหน้ำที่สำคญั ที่จะป้องกนั มิให้เกิดอุบตั ิเหตุข้ึน ซ่ึงนอกจำกจะ
กำชบั คนงำนให้ปฏิบตั ิตำมกฎระเบียบอยำ่ งเคร่งครัดแลว้ จะตอ้ งอบรมคนงำนให้ตระหนกั ถึงควำมสำคญั ของ
อุบัติเหตุ เพรำะกำรทำงำนในทุกข้ันตอนย่อมก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่ำย ดังน้ันจึงต้องแนะนำกำรทำงำนที่
ปลอดภยั ควบคุมกำรทำงำนอย่ำงใกลช้ ิด บรรดำเครื่องมือ เครื่องทุ่นแรง และเครื่องจักรกลท่ีชำรุด ไม่ควร
นำมำใชง้ ำนโดยเดจ็ ขำด ตอ้ งซ่อมแซมใหอ้ ยใู่ นสภำพที่พร้อมจะใชง้ ำนอยำ่ งมีประสิทธิภำพที่สุด
2.1 กำรป้องกนั อุบตั ิเหตุจำกของตก กำรป้องกนั ในเบ้ืองตน้ ก็คือ กำรทำใหบ้ ริเวณทีก่อสร้ำงสะอำดท่ีสุด จดั วำง
ของวสั ดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ตรงไหนท่ีเป็นช่องเปิ ดตอ้ งมีตำข่ำยรองรับเป็นช้นั ๆ วสั ดุที่ตกลงมำจะไดค้ ำ้ ง
อยู่บนตำข่ำยน้นั นอกจำกน้ีจะตอ้ งมีแผงก้นั วสั ดุ หรือผำ้ ใบป้องกนั มิให้วสั ดุตกลงมำเป็นอนั ตรำยต่อผทู้ ี่สัญจร
ไปมำ
2.2 กำรป้องกนั คนงำนพลดั ตกจำกท่ีสูง อำจจะกระทำไดห้ ลำยลกั ษณะ เป็นตน้ ว่ำช่องวำ่ งหรือช่องเปิ ดต่ำง ๆ ไม่
ควรเปิ ดทิ้งไว้ และทำรำวกนั ตกในส่วนที่เป็ นระเบียง หรือพ้ืนที่ที่ไม่มีผนังก้นั และกำรทำงำนในที่สูง เช่น กำร
ทำสีภำยนอกของอำคำร คนงำนตอ้ งมีเขม็ ขดั นิรภยั ดว้ ย

รูปที่ 15 กำรป้องกนั ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนในที่สูง

แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับการป้องอบุ ัตเิ หตุ

1. ข้นั ตอนกำรเตรียมกำร
1.1 ก่อนทำกำรก่อสร้ำงไดม้ ีกำรอบรมผปู้ ฏิบตั ิงำนก่อสร้ำงก่อนทกุ คร้ัง เพอ่ื เป็นกำรป้องกนั กำรเกิดอบุ ตั ิเหตุ
1.2 บงั คบั ใหค้ นงำนทกุ คนท่ีเขำ้ ไปในบริเวณท่ีก่อสร้ำงแตง่ กำยใหร้ ัดกุม และสวมหมวกนิรภยั ทุกคร้ัง
1.3 จดั ทำร้ัวท่ีมีควำมสูงประมำณ 5.50 เมตร เป็นกำรแสดงขอบเขตของพ้ืนที่ก่อสร้ำงป้องกนั บุคคลภำยนอกเขำ้
มำในบริเวณ และเพื่อป้องกนั เศษวสั ดุหลน่ ใส่ผทู้ ่ีสัญจรไปมำ
1.4 ติดป้ำย “ปลอดภยั ไวก้ ่อน” ไวร้ อบบริเวณท่ีก่อสร้ำง
1.5 จดั ต้งั หน่วยงำนปฐมพยำบำลข้ึนในบริเวณท่ีก่อสร้ำง
1.6 ส่งพนกั งำนของบริษทั เขำ้ รับกำรอบรมกำรปฐมพยำบำลจำกหน่วยงำนของรัฐ
1.7 ส่งตวั แทนของบริษทั ไปอบรมกำรดบั เพลิงจำกกรมตำรวจ
1.8 จดั ต้งั เจำ้ หนำ้ ท่ีรักษำควำมปลอดภยั
1.9 จดั ทำป้ำยเตือน ป้ำยหำ้ ม และกฎระเบียบขอ้ บงั คบั
1.10 ทำประกนั สงั คม และทำกองทนุ ทดแทนกบั คนงำน

2. การป้องกนั อบุ ัติเหตใุ นขณะปฏบิ ัติงาน
2.1 กำรป้องเกี่ยวกบั คนงำนก่อสร้ำง จำกกำรสังเกตพบวำ่ ส่วนมำกจะแต่งตวั กนั ตำมสบำยสวมรองเทำ้ แตะ และ
ไม่เคร่งครัดเก่ียวกบั อุปกรณ์ป้องกนั ควำมปลอดภยั เช่น หมวกนิรภยั รองเทำ้
นิรภยั ถงุ มือ เขม็ ขดั นิรภยั เป็นตน้

รูปที่ 16 กำรแตง่ กำยท่ีไม่ถูกระเบียบในกำรก่อสร้ำง

2.2 กำรป้องกนั วสั ดุตก มีกำรป้องกนั ดีพอสมควร

2.3 มีกำรป้องกนั คนตกจำกที่สูง
2.4 ผูค้ วบคุมงำนก่อสร้ำง จะเป็ นผสู้ อดส่องดูแลให้คนงำนสวมใส่เคร่ืองป้องกนั อนั ตรำยและบงั คบั ให้ปฏิบตั ิ
ตำมกฎระเบียบของบริษทั
2.5 ระบบแสงสวำ่ งโดยติดต้งั สปอร์ตไลท์ และติดต้งั ไวท้ ่ีแขนของป้ันจนั่ หอสูง
2.6 ลิฟตโ์ ดยสำร กำหนดใหน้ ้ำหนกั บรรทุกได้ 12 คน บรรทุกน้ำหนกั ไดไ้ ม่เกิน 1,100กิโลกรัม
2.7 กำรป้องกนั อบุ ตั ิเหตจุ ำกไฟฟ้ำ โดยติดต้งั ป้ำย “ระวงั ไฟฟ้ำดูด” ไวด้ ว้ ย
2.8 กำรเก็บรักษำวสั ดุที่ไวไฟ โดยไดท้ ำโครงเหล็กครอบไวเ้ พื่อป้องกนั กำรกระแทก และเก็บไวใ้ นท่ีร่มไม่มี
แสงแดด

รูปท่ี 17 ป้ำยเตือนให้ระวงั ไฟฟ้ำดูด
2.9 มีกำรกำหนดกฎรักษำควำมปลอดภยั และขอ้ ปฏิบตั ิในกำรทำงำนของคนงำนก่อสร้ำงดงั ตวั อยำ่ งดงั ตอ่ ไปน้ี
1. กฎรักษำควำมปลอดภยั และกำรปฏิบตั ิในกำรทำงำน
1.1 สวมหมวกนิรภยั และรองเทำ้ ท่ีทนทำนตลอดเวลำท่ีอยใู่ นเขตกำรก่อสร้ำง
1.2 พนกั งำนทุกคนจะตอ้ งติดป้ำยช่ือตลอดเวลำที่อยใู่ นเขตกำรก่อสร้ำง
1.3 จะตอ้ งมีกำรบำรุงรักษำแผงไฟฟ้ำ-เครื่องมือ อุปกรณ์ทุกชนิดใชง้ ำนดว้ ยควำมระมดั ระวงั และรับผิดชอบ
รวมถึงกำรไม่ใชอ้ ปุ กรณ์ทุกชนิดเกินขีดจำกดั ในสิ่งตอ่ ไปน้ี
1.3.1 ปลก๊ั ตวั นำและแผงตอ่ ควบคุมไฟฟ้ำจะตอ้ งควบคุมโดยช่ำงไฟฟ้ำ
1.3.2 บริษทั จะควบคุมและดูแลรักษำเฉพำะแผงไฟฟ้ำซ่ึงใชใ้ นหน่วยงำนเท่ำน้นั
1.3.3 อปุ กรณ์และสำยท่ีจะนำมำต่อท้งั หมดจะตอ้ งมีปลกั๊ นำอยำ่ งดี หำ้ มตอ่ กนั ดว้ ยสำยต่อพ่วง
1.4 ตวั นำจะตอ้ งอยหู่ ่ำงจำกพ้ืนดินในท่ีสำมำรถอยไู่ ดแ้ ละปรำศจำกน้ำตลอดเวลำ
1.5 ช่องเจำะท้งั หมดจะต้องป้องกนั ด้วยไมอ้ ัดและรำวกนั ตก อีกท้งั ไม่สำมำรถเคล่ือนยำ้ ยได้โดยรอบ และมี
เคร่ืองหมำย “หำ้ มเขำ้ ” ติดอยทู่ ี่รำวกนั ตก
1.6 รำวกนั ตกจะติดต้งั รอบท่ีขอบของพ้นื ที่ ซ่ึงมีพ้ืนท่ีอยเู่ หนือหรือต่ำกวำ่ ต้งั แต่ 1 ช้นั

1.7 วสั ดุท้งั หมดจะตอ้ งมีกำรกองเก็บรัด ส่งมำยงั หน่วยงำนดว้ ยควำมเรียบร้อยและปลอดภยั
1.8 ไม่อนุญำตใหน้ ำแอลกอฮอลเ์ ขำ้ มำในสถำนท่ีก่อสร้ำงโดยเดจ็ ขำด
1.9 คนงำนจะตอ้ งใชส้ ำยรัดนิรภยั เม่ือทำงำนในที่ที่ไมม่ ีนงั่ ร้ำนเพือ่ เป็นกำรร่วงหลน่
2. ระเบียบปฏิบตั ิสำหรับพนกั งำนขบั รถเครน และพนกั งำนบอกสัญญำณเครน
2.1 ในกำรปฏิบตั ิงำนทกุ คร้ังจะตอ้ งสวมหมวกนิรภยั ที่บริษทั จดั หำให้
2.2 พนกั งำนขบั รถเครน และพนกั งำนบอกสัญญำณเครน จะตอ้ งพร้อมเสมอ
2.3 พนกั งำนบอกสัญญำณขบั รถเครนจะตอ้ งอยู่ใกลช้ ิดกบั วสั ดุหรืออปุ กรณ์ที่จะยกและจะตอ้ งอยใู่ นเขตพ้ืนท่ีจะ
ขนยำ้ ยวสั ดุดว้ ยควำมระมดั ระวงั ปลอดภยั ที่สุด
2.4 ขอให้พนกั งำนบอกสัญญำณรถเครนทุกคนใชว้ ิทยสุ ื่อสำรของบริ ษทั ห้ำมมิให้ผูอ้ ่ืนท่ีมิไดเ้ ก่ียวขอ้ งใช้วิทยุ
ส่ือสำรแทนตวั ทำ่ นเป็นอนั ขำด

รูปท่ี 18 กำรใชร้ ถเครนในงำนก่อสร้ำง
2.5 ท้งั พนกั งำนขบั รถเครนและพนักงำนบอกสัญญำณรถเครน จะตอ้ งใชด้ ุลพินิจอย่ำงรอบคอบและปลอดภยั
ที่สุดในกำรที่จะขนยำ้ ยวสั ดุและอุปกรณ์เคร่ืองมือ ทุกอย่ำงและจะตอ้ งได้รับควำมเห็นชอบจำกเจำ้ หน้ำที่ผู้
ควบคุมงำนที่เกี่ยวขอ้ งดว้ ย
2.6 หำกพนักงำนขบั เครน หรือ พนักงำนบอกสัญญำณเครนพิจำรณำแลว้ เห็นว่ำไม่มีควำมปลอดภยั หรือเกิด
อนั ตรำยใด ๆ ในกำรยกวสั ดุอุปกรณ์แลว้ พนกั งำนขบั เครนหรือพนงั งำนบอกสัญญำณเครนทุกท่ำนมีสิทธิเด็จ
ขำดในกำรที่จะไมท่ ำกำรน้นั โดยชอบไม่วำ่ กำรสัง่ กำรน้นั จะมำจำกผใู้ ดก็ตำม
2.7 ให้พนกั งำนขบั รถเครนและพนกั งำนบอกสัญญำณรถเครน ดูแลบำรุงรักษำเครื่องมืออุปกรณ์ทุกประเภทที่
เกี่ยวขอ้ งกบั เครน

2.8 ทุกคร้ังที่มีกำรขนยำ้ ยวสั ดุอุปกรณ์โดยทำงกระเชำ้ พนกั งำนบอกสัญญำณเครนจะตอ้ งข้ึนไปกำกบั ดูแลดว้ ย
ตนเองบนกระเชำ้ ทุกคร้ัง
2.9 หำ้ มมิใหบ้ คุ คลอ่ืนบุคคลใดท่ีมิไดเ้ ก่ียวขอ้ งกบั เครนข้ึนไปเลน่ บนเครนโดยเดจ็ ขำด
2.10 พนกั งำนขบั เครน และพนกั งำนบอกสัญญำณเครนถำ้ จะลำป่ วย หรือลำกิจจะตอ้ งแจง้ ให้พนักงำนคุมงำน
ทรำบล่วงหนำ้ 1 วนั เพื่อพิจำรณำอนุมตั ิ
2.11 ห้ำมพนกั งำนขบั เครนและพนกั งำนบอกสัญญำณเครนหยดุ งำนไม่เกิน 3 วนั ยกเวน้ ลำป่ วย ซ่ึงจะตอ้ งไดร้ ับ
ควำมเห็นชอบอนุมตั ิจำกพนกั งำนควบคมุ ดูแล
2.12 หำ้ มพนกั งำนทุกทำ่ นดื่มสุรำ เลน่ กำรพนนั ในขณะปฏิบตั ิงำนโดยเดจ็ ขำด

รูปที่ 19 ป้ันจนั่ ในงำนก่อสร้ำง
3. ระเบียบปฏิบตั ิสำหรับพนกั งำนขบั ลิฟต์
3.1 ตรวจดูควำมเรียบร้อย ควำมสะอำจทกุ คร้ังก่อนใชล้ ิฟต์ และหลงั ใชล้ ิฟต์ โดยเฉพำะพ้นื ทำงเขำ้ ลิฟต์
3.2 ทกุ คร้ังที่เลิกใชล้ ิฟตจ์ ะตอ้ งปิ ดสวติ ชท์ ุกคร้ัง พร้อมลอ็ กกญุ แจประตูทำงเขำ้ ลิฟตท์ กุ ช้นั โดยเฉพำะช้นั ท่ี 1
3.3 พนกั งำนขบั ลิฟต์ จะมี 2 ผลดั ๆ ละ 2 คน โดยคนที่หน่ึงจะเป็นพนกั งำนขบั ลิฟตค์ วบคมุ คอนโทรลลิฟตข์ ้ึน-
ลง อีกหน่ึงคนจะเป็นพนกั งำนเปิ ด-ปิ ดประตทู ำงเขำ้ ลิฟต์
3.4 ประตูทำงเขำ้ ลิฟต์จะตอ้ งปิ ดล็อกกุญแจทุกคร้ังเมื่อผูโ้ ดยสำรผ่ำนเขำ้ ไปลิฟตจ์ ะตอ้ งดูประตูทำงเขำ้ ออกของ
แต่ละช้นั วำ่ มีคนท่ีใชล้ ิฟตห์ รือไม่ และลิฟตจ์ ะไมจ่ อดอยกู่ บั ท่ีเฉย ๆ จะเล่ือนข้นึ ลงตลอดเวลำ
3.6 ในกรณีท่ีพนกั งำนขบั ลิฟตห์ รือพนกั งำนเปิ ด-ปิ ดประตูลิฟตม์ ีควำมจำเป็นท่ีจะตอ้ งทำธุระส่วนตวั ในหอ้ งน้ำ
ใหผ้ ลดั เปลี่ยนกนั ปฏิบตั ิหนำ้ ท่ี ซ่ึงจะตอ้ งมีพนกั งำนลิฟตอ์ ยปู่ ฏิบตั ิหนำ้ ที่
ตลอดเวลำ หำ้ มมิใหผ้ ทู้ ี่ไม่มีหนำ้ ที่ปฏิบตั ิหนำ้ ที่แทน

3.7 จะตอ้ งตรวจดูควำมเรียบร้อยโดยรอบ ๆ ห้องโดยสำรลิฟต์ว่ำไม่มีวสั ดุอุปกรณ์ท่ีจะบรรทุกข้ึน หรือลงเล็ด
ลอดออกนอกตำข่ำยหอ้ งโดยสำรข้ึนหรือลงทุกคร้ัง
3.8 หำ้ มทกุ คนออกจำกนอกหอ้ งโดยสำรลิฟตข์ ณะท่ีลิฟตก์ ำลงั ทำงำนอยู่

การประกนั เมื่อเกดิ อุบัติเหตุ
แมว้ ่ำกำรป้องกันอนั ตรำยต่ำง ๆ ที่อำจเกิดข้ึนจำกกำรก่อสร้ำงจะกระทำอย่ำงรัดกุมเพียงใดแต่อุบตั ิเหตุย่อม
เกิดข้ึนไดเ้ สมอ ฉะน้นั เพื่อเป็ นกำรปกป้องผูเ้ สียหำยมิให้ตอ้ งไดร้ ับควำม กระทบกระเทือนมำกจนเกินไป และ
ให้ ไดร้ ับกำรชดเชยที่สมเหตุสมผล จึงควรอยำ่ งยง่ิ ท่ีจะตอ้ งมีกำรป้องกนั ชีวิตละคุณภำพและทรัพยส์ ิน ถึงแมท้ ำง
รำชกำรจะมีกองทุนเพ่ือชดเชยให้กบั คนงำนที่ไดร้ ับอุบตั ิเหตุแลว้ ก็ตำม กองทุนน้ีหักเงินจำกผูร้ ับเหมำก่อสร้ำง
คิดเป็นเปอร์เซ็นตข์ องรำตำก่อสร้ำง เมื่อคนงำนไดร้ ับอุบตั ิเหตุจะรับเงินชดเชยจำกกรมแรงงำนทนั ที แต่จำนวน
เงินอำจไม่เป็นกำรเพยี ง
อยำ่ งไรกด็ ี เงินกองทุนน้ีคุม้ ครองเฉพำะผูท้ ่ีทำงำนเกี่ยวกบั งำนก่อสร้ำงเทำ่ น้นั ไม่รวมผทู้ ี่อำศยั ขำ้ งเคียงตลอดจน
ทรัพยส์ ินอำคำรบำ้ นเรือนท่ีอำจไดร้ ับควำมเสียหำยจำกกำรก่อสร้ำง ฉะน้นั จึงควรมีกำรประกนั ภยั ต่ำงๆ ดงั กล่ำว
ดว้ ย มีอยูห่ ลำยโครงกำรท่ีเจำ้ ของโครงกำรเป็ นผูป้ ระกนั เอง เป็ นประกนั แบบรวมทุกชนิด นอกจำกจะประกนั
ควำมเสียหำยต่อชีวิต ร่ำงกำย และทรัพยส์ ินของผูร้ ่วมปฏิบตั ิงำนก่อสร้ำง และบุคคลท่ี 3 คือผูท้ ี่ไม่ไดเ้ ก่ียวขอ้ ง
เช่น ผูอ้ ยอู่ ำศยั ขำ้ งเคียงตลอดจนคนเดินสัญจรไปมำรอบบริเวณที่ก่อสร้ำงแลว้ ยงั ประกนั ต่อควำมเสียหำยหำก
ผรู้ ับเหมำก่อสร้ำงทำผิดพลำดหรือแมอ้ อกแบบผิดพลำดดว้ ย กำรประกนั รวมแบบน้ีดีที่สำมำรถครอบคลุมได้
ทว่ั ถึงอีกท้งั เบ้ียประกนั จะนอ้ ยกว่ำแยกเป็นรำยกำร ๆอยำ่ งไรก็ดีในกำรประกนั ควรอำ่ นกรมธรรมใ์ หล้ ะเอียดมำก
ๆ ทุกบรรทดั และทุกตวั อกั ษรแมแ้ ต่ตวั เล็ก ๆที่ไม่สำคญั ขอ้ ควำมไดท้ ่ีไม่ชดั เจนจะตอ้ งทำควำมเขำ้ ใจเสียก่อน
เข่น ในกรณีท่ีประกันควำมเสียหำนท่ีได้มำจำกกำรก่อสร้ำง บริษัทประกันมักจะไม่รับควำมเสียหำยอัน
เนื่องมำจำกควำมสั่นสะเทือนและกำรเคล่ือนตวั ของดินเขำ้ ไวใ้ นกรมธรรม์ ท้งั น้ีเพรำะควำมเสียหำยอนั เกิดจำก
สองสำเหตนุ ้นั มกั จะรุนแรงและยำกในกำรซ่อมแซมใหด้ ีด้งั เดิม เพรำะจะตอ้ งใชค้ วำมรู้ทำงวิศวกรรมเป็นพิเศษ
ท้งั ในกำรวนิ ิจฉยั และซ่อมแซมอำจเป็นเพรำะทำงบริษทั ประกนั ภยั ขำดบุคลำกร เช่น วิศวกรที่เช่ียวชำญทำงดำ้ น
น้ี หรืออำจเห็นว่ำไม่สำมำรถจะควบคุมกำรทำงำนของผูร้ ับเหมำก่อสร้ำงได้ ซ่ึงเห็นว่ำจะเป็ นกำรเสี่ยงมำก
เกินไปที่จะรับประกนั ในเรื่องน้ีก็เป็นไดเ้ ช่น ในกรณีที่ตอกเสำเขม็ และกำรขดุ ดิน เพ่อื ทำฐำนรำกดงั ไดก้ ล่ำวแลว้
ขำ้ งตน้ ฉะน้นั ก่อนจะลงนำมขอ้ ตกลงใดๆ เกี่ยวกบั กำรประกนั น้ีจะตอ้ งซกั ซ้อมทำควำมเขำ้ ใจให้ตรงกนั เสียกนั
เสียก่อนถึงขอบเขตและเน้ือหำกำรครอบคลุมของกรมธรรม์ เพ่ือท่ีจะได้ไม่มีขอ้ ถกเถียงกนั ในภำยหลงั ท่ีจริง
แลว้ จะใหก้ รมธรรมค์ ลมุ ควำมเสียหำยทุกชนิดแมจ้ ะเสียเบ้ียประกนั มำกข้ึนก็ตำม

การจ่ายค่าทดแทนเมื่อเกดิ อุบัติเหตุ
คำ่ ทดแทน หมำยถึง เงินที่ลกู จำ้ งไดร้ ับตำมกฎหมำยแรงงำน เป็นกำรทดแทนที่ไดจ้ ำกกำรประสบอนั ตรำยจำก
กำรทำงำนหรือเป็นโรคที่เกิดข้ึนจำกสภำพของงำนตำมท่ีกฎหมำยกำหนดวตั ถุประสงคข์ องกองทุนเงินทดแทน
กเ็ พอ่ื เป็นหลกั ประกนั แก่ลกู จำ้ งวำ่ จะไดร้ ับเงินทดแทนอยำ่ งรวดเร็ว และตำมสิทธิท่ีพงึ จะไดต้ ำมที่กฎหมำย
กำหนดไว้ ดงั น้ี

1. กรณีท่ีลูกจำ้ งจะไดร้ ับเงินทดแทน
1.1 กำรเจ็บป่ วยเน่ืองจำกกำรทำงำนใหก้ บั นำยจำ้ ง
1.2 กำรท่ีลกู จำ้ งไดร้ ับอนั ตรำยแก่ร่ำงกำย จิตใจ และถึงแก่ควำมตำยเน่ืองจำกกำรทำงำน
ใหก้ บั นำยจำ้ ง หรือป้องกนั ผลประโยชนใ์ หน้ ำยจำ้ งจนเกิดประสบภยั อนั ตรำยระหวำ่ งกำรทำงำน

2. กรณีที่ลูกจำ้ งไม่มีสิทธิรับเงินทดแทน
2.1 ไมไ่ ดเ้ ป็นลูกจำ้ งของนำยจำ้ งผมู้ ีหนำ้ ท่ีจ่ำยเงินสมทบเขำ้ กองทนุ เงินทดแทน
2.2 ลูกจำ้ งน้นั ไม่ไดป้ ระสบอนั ตรำยเน่ืองจำกกำรทำงำน หรือโรคที่มิไดเ้ กิดข้ึนจำกกำรทำงำนใหน้ ำยจำ้ ง
2.3 ลกู จำ้ งเสพเครื่องดองของเมำ จนไมส่ ำมำรถควบคมุ สติได้ จงใจใหต้ วั เองและผอู้ ่ืน
ประสบอนั ตรำย หรือยอมใหผ้ อู้ ื่นทำให้ตนประสบอนั ตรำย

3. ชนิดของอบุ ตั ิเหตุ แบง่ ไดด้ งั น้ี
3.1 ประสบอบุ ตั ิเหตุตอ้ งหยดุ งำนชวั่ ครำว
3.2 พกิ ำรบำงส่วนของร่ำงกำย เช่น แขนขำด ขำขำด เป็นตน้
3.3 ทพุ พลภำพ อวยั วะของร่ำงกำยสูญเสียสมรรถภำพในกำรทำงำน ไมส่ ำมำรถจะทำงำนในอำชีพเดิมต่อไปได้
3.4 เสียชีวติ อำจเสียชีวิตทนั ทีเม่ือประสบอุบตั ิเหตุ หรือหลงั จำกกำรพกั รักษำตวั แลว้ ก็ตำมโดยมีสำเหตมุ ำจำก
กำรเกิดอุบตั ิเหตนุ ้นั ๆ

4. กำรประเมินกำรจ่ำยค่ำทดแทน
ควำมสูญเสียที่เกิดอบุ ตั ิเหตขุ ้ึนแต่ละคร้ัง จะตอ้ งมีค่ำใชจ้ ่ำยคือคำ่ รักษำพยำบำล ค่ำทดแทนที่นำยจำ้ งตอ้ งจ่ำยให้
เน่ืองจำกกำรหยดุ งำน พิกำร หรือทุพพลภำพ คำ่ ทำขวญั ต่ำง ๆ ซ่ึงมีรำยละเอียดอยมู่ ำก กำรประเมินค่ำของกำร
สูญเสียตำมกรณีดงั กลำ่ วขำ้ งตน้ ท่ำนที่สนใจศึกษำคน้ ควำ้ เพ่มิ เติมจำกกำรประกำศของกระทรวงมหำดไทย เร่ือง

กำหนดกำรจ่ำยค่ำทดแทน พ.ศ. 2524 และตอ่ ไปน้ีเป็นตวั อยำ่ งกำรแสดงกำรบำดเจบ็ กบั ระยะเวลำกำรจ่ำยเงินคำ่
ทดแทน

ใบงานท่ี 14 หน่วยท่ี 14
สอนคร้ังที่ 14
วิชา การควบคมุ และวางแผนการก่อสร้างงานโยธา รหัสวชิ า 30121-2101 เวลา 3 ช่ัวโมง
ช่ือหน่วย ความปลอดภยั ในการปฏิบัติงาน
ชื่องาน ความปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ าน

จุดประสงค์

เม่ือฝึกกำรปฏิบตั ิงำนตำมใบงำนน้ีแลว้ นกั ศึกษำจะสำมำรถ
1. อธิบำยควำมรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำนได้
2. อธิบำยกำรกฎหมำยและมำตรฐำนที่เก่ียวขอ้ งกบั ควำมปลอดภยั ได้
3. อธิบำยสำเหตุและกำรป้อกนั อุบตั ิเหตุในงำนก่อสร้ำงได้

เคร่ืองมือ - อปุ กรณ์
1.เอกสำรใบงำน

ลาดบั ข้ันการปฏบิ ตั งิ าน
1. ครูบอกประโยชนค์ วำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำน
2. ครูอธิบำยขอ้ ควรระวงั ในกำรใชง้ ำน และจุดที่ตอ้ งระวงั ของควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำน
3. ใหน้ กั ศึกษำปฏิบตั ิกำรคน้ ควำ้ และศึกษำ
4. ใหน้ กั ศึกษำสรุปควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำน โดยรำยงำนใน
สมดุ

การประเมินผล
1. นกั ศึกษำสำมำรถอธิบำยกำรควบคุมงำนและตรวจสอบงำนก่อสร้ำงได้
2.ประเมินผลจำกผลกำรปฏิบตั ิใบงำน

แบบประเมินผลก่อนเรียนหน่วยท่ี 14 เรื่อง ความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน
คาส่ัง จงอธิบำยเกี่ยวกบั หวั ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี
1. สิ่งท่ีส่งผลใหค้ วำมถี่และควำมรุนแรงของกำรเกิดอุบตั ิเหตุในงำนก่อสร้ำง คือ อะไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

2.วิถีทำงหน่ึงของกำรป้องกนั กำรเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นงำนก่อสร้ำง คอื กำรจดั ใหม้ ีควำมปลอดภยั ในงำนก่อสร้ำง
ออกเป็น 3 ส่วนคือจงอธิบำย

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………….......
3. “งำนก่อสร้ำง” หมำยควำมวำ่

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

4.จงบอกกำรคุม้ ครองควำมปลอดภยั ส่วนบุคคลมำอยำ่ งนอ้ ย 7 ตวั อยำ่ ง

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………

5.อบุ ตั ิเหตุท่ีเกิดข้ึนกบั งำนก่อสร้ำงอำคำร ซ่ึงมีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ีคือ
…………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
6. “เขตก่อสร้ำง”และ “เขตอนั ตรำย” หมำยควำมวำ่

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….
7จงบอกแนวทำงปฏิบตั ิสำหรับกำรป้องอบุ ตั ิเหตุ

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
8.ขอ้ ปฏิบตั ิในกำรทำงำนของคนงำนก่อสร้ำงดงั ตวั อยำ่ งดงั ต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
9.คำ่ ทดแทน หมำยถึง

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….
10.ชนิดของอุบตั ิเหตุ แบ่งไดด้ งั น้ี คือ

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

แบบประเมนิ ผลหลงั เรียนหน่วยท่ี 14 เร่ือง ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน
คาส่ัง จงอธิบำยเก่ียวกบั หวั ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี
1. ส่ิงท่ีส่งผลใหค้ วำมถ่ีและควำมรุนแรงของกำรเกิดอุบตั ิเหตใุ นงำนก่อสร้ำง คอื อะไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

2.วิถีทำงหน่ึงของกำรป้องกนั กำรเกิดอบุ ตั ิเหตุในงำนก่อสร้ำง คือกำรจดั ใหม้ ีควำมปลอดภยั ในงำนก่อสร้ำง
ออกเป็น 3 ส่วนคือจงอธิบำย

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………….......
3. “งำนก่อสร้ำง” หมำยควำมวำ่

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

4.จงบอกกำรคุม้ ครองควำมปลอดภยั ส่วนบุคคลมำอยำ่ งนอ้ ย 7 ตวั อยำ่ ง

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………

5.อบุ ตั ิเหตุท่ีเกิดข้ึนกบั งำนก่อสร้ำงอำคำร ซ่ึงมีลกั ษณะดงั ต่อไปน้ีคือ
…………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
6. “เขตก่อสร้ำง”และ “เขตอนั ตรำย” หมำยควำมวำ่

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….
7จงบอกแนวทำงปฏิบตั ิสำหรับกำรป้องอุบตั ิเหตุ

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
8.ขอ้ ปฏิบตั ิในกำรทำงำนของคนงำนก่อสร้ำงดงั ตวั อยำ่ งดงั ตอ่ ไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
9.คำ่ ทดแทน หมำยถึง

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….
10.ชนิดของอุบตั ิเหตุ แบ่งไดด้ งั น้ี คือ

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

แผนการจัดการเรียนรู้

วิชา การควบคมุ และวางแผนการก่อสร้างงานโยธา รหสั วชิ า 30121-2101

หน่วยท่ี 15 เรื่อง การทดสอบคุณสมบตั ิวสั ดุ เวลา 3 ชั่วโมง

หัวเรื่อง-หัวข้อย่อย
15.1 ควำมรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั กำรทดสอบคุณสมบตั ิวสั ดุ
15.2 กำรทดสอบกำลงั คอนกรีต
15.3 กำรทดสอบแรงดึงเหลก็ เสริม

สาระสาคัญ
1. กำรนำวสั ดุมำใช้ ผใู้ ชจ้ ำเป็นจะตอ้ งทรำบถึงคุณสมบตั ิตำ่ งๆของวสั ดุ เช่น คณุ สมบตั ิทำงกำยภำพ

ทำงกล และทำงเคมี เป็นตน้ เพือ่ จะไดเ้ ลือกประเภทวสั ดุใหเ้ หมำะสมกบั งำน กำรทดสอบคุณสมบตั ิวสั ดุแตล่ ะ
ประเภทจะมีลกั ษณะท่ีแตกต่ำงกนั ข้นึ อยกู่ บั คณุ สมบตั ิท่ีตอ้ งกำรทรำบ

2. คุณภำพของคอนกรีตสำมำรถตรวจสอบไดต้ ้งั แต่คอนกรีตยงั ไม่แขง็ ตวั และเม่ือคอนกรีตแขง็ ตวั แลว้
ผใู้ ชค้ วรทรำบถึงข้นั ตอนกำรตรวจสอบวธิ ีตำ่ งๆและกำรแปลผล กำรทดสอบกำลงั อดั ของคอนกรีตโดยทวั่ ไปจะ
ประกอบดว้ ย กำรทดสอบคุณสมบตั ิคอนกรีตสด กำรทดสอบกำลงั อดั ของคอนกรีต กำรทดสอบกำลงั ตำ้ นทำน
แรงดึง และกำรทดสอบกำลงั คอนกรีตจำกชิ้นส่วนโครงสร้ำง

3. เหลก็ เสริมสำมำรถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ เหลก็ เสริมปกติในงำนคอนกรีตเสริมเหลก็ และ
ลวดเหลก็ อดั แรงสำหรับงำนคอนกรีตอดั แรง ซ่ึงวสั ดุท้งั สองประเภทมีหนำ้ ที่ในกำรรับแรงดึงเป็นหลกั ในกำร
ทดสอบผปู้ ฏิบตั ิจะตอ้ งทรำบวิธีกำรทดสอบแรงดึง และกำรแปลผลของวสั ดุ

4. นอกจำกคอนกรีตและเหล็กเสริมแลว้ ยงั มีวสั ดุประเภทอ่ืนอีกหลำยประเภทที่จะตอ้ งทดสอบ
คณุ สมบตั ิและกำลงั เช่นแผน่ พ้นื สำเร็จรูป และอิฐ กำรทดสอบกระทำเพื่อท่ีจะเลือกประเภทของวสั ดุไปใชใ้ ห้
เหมำะสมกบั งำน รวมท้งั ควำมปลอดภยั ในกำรใชง้ ำนดว้ ย

จุดประสงค์การเรียน การสอน
จดุ ประสงค์ทั่วไป
เม่ือศึกษำจบหน่วยกำรเรียนน้ีแลว้ นกั ศึกษำจะสำมำรถ
1. อธิบำยควำมรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั กำรทดสอบคณุ สมบตั ิวสั ดุได้
2. อธิบำยกำรทดสอบกำลงั คอนกรีตได้
3. อธิบำยกำรทดสอบแรงดึงเหลก็ ได้
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
เม่ือศึกษำจบหน่วยกำรเรียนน้ีแลว้ นกั ศึกษำจะสำมำรถ

1.บอกคุณสมบตั ิของวสั ดุในเชิงวิศวกรรมได้
2.อธิบำยกำรทดสอบวสั ดุได้
3.บอกเกณฑก์ ำหนดและปะเภทของมำตรฐำนได้

กจิ กรรมการเรียน- การสอน
กจิ กรรมครู กจิ กรรม การสอน
ข้นั นำ
อธิบำย ควำมสำคญั ประโยชน์ ของกำรทดสอบคุณสมบตั ิวสั ดุ เพื่อนำเขำ้ สู่บทเรียน
ข้นั ใหข้ อ้ มูล
1.อธิบำย ควำมหมำย ควำมสำคญั เน้ือหำสำระ เร่ืองกำรทดสอบคุณสมบตั ิวสั ดุ
ในเอกสำรประกอบกำรสอน
2. อธิบำยกระบวนกำรงำนก่อสร้ำง ควำมรู้พ้ืนฐำน หนำ้ ท่ี ของกำรทดสอบคณุ สมบตั ิวสั ดุ3. มอบหมำย
งำนใหน้ กั ศึกษำปฏิบตั ิงำน ตำมใบงำน และควบคุม ดูแลกำรปฏิบตั ิงำนของนกั ศึกษำ
4. ตรวจผลงำนกำรปฏิบตั ิงำน และรำยงำนกำรปฏิบตั ิงำนของนกั ศึกษำ
ข้ันสรุป
สรุปสำระสำคญั เร่ืองหลกั ปฏิบตั ิในกำรควบคุมและกำรตรวจงำนและสรุปผลจำกกำร ปฏิบตั ิงำนตำมใบ
งำน

กจิ กรรมนกั ศึกษา กจิ กรรม การเรียน
1. บอกจุดประสงคก์ ำรเรียนรู้
2. ครูบรรยำยสำระสำคญั
3. นกั เรียนทำกำรอภิปรำยกลมุ่ ยอ่ ย
4. นกั เรียนทำกิจกรรมตำมที่ครูมอบหมำย
5. ครุและนกั เรียนช่วยกนั สรุป
6.นกั เรียนทำกิจกรรมตำมท่ีครุมอบหมำย
7.นกั เรียนทำแบบประเมินผลกำรเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้
1. เอกสำรประกอบกำรสอนวิชำกำรควบคมุ และวำงแผนกำรก่อสร้ำงงำนโยธำ
2. ส่ือแผน่ ใส และสื่อนำเสนอ (Presentation)
3. สื่อ power point
4.ใบงำน
5.แบบประเมินผลกำรเรียนรู้

ประเมินผล
1. แบบประเมินผลหลงั กำรเรียน
2. ประเมินผลจำกใบงำน
3. กำรทำแบบประเมินผลกำรเรียนรู้

บรรณานุกรม

หน่วยท่ี 15

การทดสอบคุณสมบตั วิ สั ดุ

1. ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกบั การทดสอบคุณสมบตั ิวัสดุ

หำกจะกลำ่ วถึงคณุ สมบตั ิของวสั ดุต่ำง ๆ โดยละเอียดแลว้ กจ็ ะมีมำกกวำ่ ร้อยอยำ่ งและบำงอยำ่ งก็เป็น
คณุ สมบตั ิเฉพำะ ซ่ึงมีขอบขำ่ ยใชง้ ำนที่แคบมำก ดงั น้นั ที่จะกลำ่ วถึงต่อไปน้ีจะเป็นคุณสมบตั ิที่สำคญั ๆ ซ่ึง
วศิ วกรควรจะรู้และเขำ้ ใจ สำมำรถนำไปไวป้ ระกอบกำรพิจำรณำและเลือกใชว้ สั ดุต่ำง ๆ ได้ คณุ สมบตั ิที่สำคญั
ดงั กล่ำวพอจะจำแนกออกเป็นหวั ขอ้ ไดด้ งั น้ี คือ

1. คุณสมบตั ิเชิงกล (Mechanical Properties)
2. คุณสมบตั ิเชิงอุณหภมู ิ (Thermal Properties)
3. คุณสมบตั ิเชิงเคมี (Chemical Properties)
4. คุณสมบตั ิเชิงไฟฟ้ำ (Electrical Properties)
5. คณุ สมบตั ิอ่ืน ๆ (Other Properties)

1. คณุ สมบตั ิเชิงกล

คุณสมบตั ิเชิงกลของวสั ดุ เช่น ควำมแขง็ (Hardness) ,ควำมแขง็ แรง (Strength),ควำมเหนียว (Ductility) ฯลฯ
เป็นสิ่งท่ีจะบอกวำ่ วสั ดุน้นั ๆ สำมำรถท่ีจะรับหรือทนทำนแรง หรือ พลงั งำนเชิงกลภำยนอกท่ีมำกระทำไดด้ ีมำก
นอ้ ยเพยี งใด ในงำนวิศวกรรมคุณสมบตั ิเชิงกลมี
ควำมสำคญั มำกที่สุด เพรำะเม่ือเรำจะเลือกใชว้ สั ดุใด ๆ ก็ตำม สิ่งแรกที่จะนำมำพจิ ำรณำกค็ ือคุณสมบตั ิเชิงกล
ของมนั กำรท่ีเครื่องจกั รหรืออปุ กรณ์ใด ๆ จะสำมำรถทำงำนไดอ้ ยำ่ งปลอดภยั ข้ึนอยกู่ บั คุณสมบตั ิเชิงกลของ
วสั ดุที่ใชท้ ำเครื่องจกั ร อปุ กรณ์น้นั ๆ เป็นสำคญั ในหวั ขอ้ น้ีจะกล่ำวถึงควำมรู้เบ้ืองตน้ ของคณุ สมบตั ิเชิงกลของ
วสั ดุรวมท้งั กำรทดสอบที่สำคญั บำงประเภท เพ่อื เป็นพ้นื ฐำนในกำรศึกษำข้นั ต่อไป

1.1 ควำมเคน้ (Stress)
ตำมควำมเป็ นจริงควำมเคน้ หมำยถึง แรงตำ้ นทำนภำยในเน้ือวสั ดุท่ีมีต่อแรงภำยนอกท่ีมำกระทำต่อหน่ึงหน่วย
พ้ืนท่ี แต่เน่ืองจำกควำมไม่เหมำะสมทำงปฏิบตั ิ และควำมยำกในกำรวดั หำค่ำน้ี เรำจึงมกั จะพดู ถึงควำมเคน้ ในรูป
ของแรงภำยนอกที่มำกระทำต่อหน่ึงหน่วยพ้ืนที่ ด้วยเหตุผลที่ว่ำ แรงกระทำภำยนอกมีควำมสมดุลกับแรง
ตำ้ นทำนภำยใน

โดยทวั่ ไปควำมเคน้ สำมำรถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ชนิด ตำมลกั ษณะของแรงท่ีมำกระทำ
1. ควำมเคน้ แรงดึง (Tensile Stress) เกิดข้ึนเม่ือมีแรงดึงมำกระทำต้งั ฉำกกบั พ้ืนท่ีภำคตดั ขวำง โดยพยำยำมจะ
แยกเน้ือวสั ดุใหแ้ ยกขำดออกจำกกนั
2. ควำมเคน้ แรงอดั (Compressive Stress) เกิดข้ึนเมื่อมีแรงกดมำกระทำต้งั ฉำกกบั พ้ืนท่ีภำคตดั ขวำง เพอื่ พยำยำม
อดั ใหว้ สั ดุมีขนำดส้ันลง
3. ควำมเค้นแรงเฉือน (Shear Stress) ใช้สัญลักษณ์ τ เกิดข้ึนเมื่อมีแรงมำกระทำให้ทิศทำงขนำนกับพ้ืนที่
ภำคตดั ขวำง เพ่ือให้วสั ดุเคล่ือนผ่ำนจำกกนั มีค่ำเท่ำกบั แรงเฉือน (Shear Force) หำรดว้ ยพ้ืนท่ีภำคตดั ขวำง A ซ่ึง
ขนำนกบั ทิศทำงของแรงเฉือนในทำงปฏิบตั ิควำมเคน้ ท่ีเกิดจะมีท้งั 3 แบบน้ีพร้อม ๆ กนั

1.2 ควำมเครียดและกำรเปล่ียนรูป (Strain and Deformation)

ควำมเครียด (Strain) คือ กำรเปล่ียนแปลงรูปร่ำงของวสั ดุ (Deformation) เมื่อมีแรงภำยนอกมำกระทำ (เกิดควำม
เคน้ ) กำรเปลี่ยนรูปของวสั ดุน้ีเป็นผลมำจำกกำรเคล่ือนท่ีภำยในเน้ือวสั ดุ ซ่ึงลกั ษณะของมนั สำมำรถแบ่งเป็ น 2
ชนิดใหญ่ ๆ คือ

1. กำรเปลี่ยนรูปแบบอิลำสติกหรือควำมเครียดแบบคืนรูป (Elastic Deformation or Elastic Strain) เป็ นกำร
เปลี่ยนรูปในลกั ษณะที่เม่ือปลดแรงกระทำ อะตอมซ่ึงเคล่ือนไหวเนื่องจำกผลของควำมเคน้ จะเคลื่อนกลบั เขำ้
ตำแหน่งเดิม ทำให้วสั ดุคงรูปร่ำงเดิมไวไ้ ด้ ตัวอย่ำงได้แก่ พวกยำงยืด, สปริง ถ้ำเรำดึงมันแล้วปล่อยมนั จะ
กลบั ไปมีขนำดเท่ำเดิม
2. กำรเปล่ียนรูปแบบพลำสติกหรือควำมเครียดแบบคงรูป (Plastic Deformation or Plastic Strain) เป็ นกำร
เปล่ียนรูปที่ถึงแม้ว่ำจะปลดแรงกระทำน้ันออกแลว้ วสั ดุก็ยงั คงรูปร่ำงตำมที่ถูกเปลี่ยนไปน้ัน โดยอะตอมท่ี
เคล่ือนที่ไปแลว้ จะไมก่ ลบั ไปตำแหน่งเดิมวสั ดุทุกชนิดจะมีพฤติกรรมกำรเปลี่ยนรูปท้งั สองชนิดน้ีข้ึนอยกู่ บั แรง
ท่ีมำกระทำ หรือควำมเคน้ วำ่ มีมำกน้อยเพียงใด หำกไม่เกินพิกดั กำรคืนรูป (Elastic Limit) แลว้ วสั ดุน้ันก็จะมี
พฤติกรรมคืนรูปแบบอิลำสติก (Elastic Behavior) แต่ถำ้ ควำมเคน้ เกินกว่ำพิกดั กำรคืนรูปแลว้ วสั ดุก็จะเกิดกำร
เปลี่ยนรูปแบบถำวรหรือแบบพลำสติก (Plastic Deformation) นอกจำกควำมเครียดท้ัง 2 ชนิดน้ีแล้ว ยงั มี
ควำมเครียดอีกประเภทหน่ึงซ่ึงพบในวสั ดุประเภทโพลีเมอร์ เช่น พลำสติก เรียกวำ่ ควำมเครียดก่ึงอิลำสติกจะมี
ลกั ษณะท่ีเม่ือปรำศจำกแรงกระทำวสั ดุจะมีกำรคืนรูป แต่จะไม่กลบั ไปจนมีลกั ษณะเหมือนเดิมกำรวดั และ
คำนวณหำคำ่ ควำมเครียดมีอยู่ 2 ลกั ษณะคือ

1. แบบเส้นตรง ควำมเครียดที่วดั ไดจ้ ะเรียกว่ำ ควำมเครียดเชิงเส้น (Linear Strain)จะใชไ้ ดเ้ ม่ือแรงที่มำกระทำมี
ลกั ษณะเป็นแรงดึงหรือแรงกด คำ่ ของควำมเครียดจะเทำ่ กบั ควำมยำวท่ีเปลี่ยนไปต่อควำมยำวเดิม
2. แบบเฉือน เรียกวำ่ ควำมเครียดเฉือน (Shear Strain) ใชก้ บั กรณีท่ีแรงที่กระทำมีลกั ษณะเป็นแรงเฉือน (τ ) ดงั
รูป ค่ำของควำมเครียดจะเทำ่ กบั ระยะท่ีเคลื่อนที่ไปตอ่ ระยะห่ำงระหวำ่ งระนำบ

1.3 ควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งควำมเคน้ กบั ควำมเครียด (Stress-Strain Relationship)

ในกำรแสดงควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงควำมเคน้ และควำมเครียด ในที่น้ีเรำจะใช้เส้นโคง้ ควำมเคน้ -ควำมเครียด
(Stress-Strain Curve) ซ่ึงได้จำกกำรทดสอบแรงดึง (Tensile Test) เป็ นหลกั โดยจะพลอตค่ำของควำมเคน้ ใน
แกนต้ังและควำมเครียดในแกนนอน กำรทดสอบแรงดึงนอกจำกจะให้ควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงควำมเค้น-
ควำมเครียดแลว้ ยงั จะแสดงควำมสำมำรถในกำรรับแรงดึงของวสั ดุ ควำมเปรำะ เหนียวของวสั ดุ (Brittleness
and Ductility) และบำงคร้ังอำจใชบ้ อกควำมสำมำรถในกำรข้ึนรูปของวสั ดุ (Formability) ไดอ้ ีกดว้ ย

การทดสอบแรงดึง (Tension Test)

วิธีกำรทดสอบน้ัน เรำจะนำตวั อยำ่ งที่จะทดสอบมำดึงอย่ำงชำ้ ๆ แลว้ บนั ทึกค่ำของควำมเคน้ และควำมเครียดที่
เกิดข้นึ ไว้ แลว้ มำพลอ๊ ตเป็นเส้นโคง้ ดงั รูปที่ 2.4 ขนำดและรูปร่ำงของชิ้นทดสอบมีต่ำง ๆ กนั ข้ึนอยกู่ บั ชนิดของ
วสั ดุน้ัน ๆ มำตรฐำนต่ำง ๆ ของกำรทดสอบ เช่น มำตรฐำนของ ASTM (American Society of Testing and
Materials), BS (British Standards), JIS(Japanese Industrial Standards) ห รื อ แ ม้ แ ต่ ม อ ก . (ม ำ ต ร ฐ ำ น
ผลิตภณั ฑ์อุตสำหกรรมไทย) ไดก้ ำหนดขนำดและรูปร่ำงของชิ้นทดสอบไว้ ท้งั น้ีเพื่อให้ผลของกำรทดสอบ
เช่ือถือได้ พร้อมกับกำหนดควำมเร็วในกำรเพ่ิมแรงกระทำเอำไว้ด้วยจำกกำรศึกษำเส้นโค้งควำมเค้น-
ควำมเครียด เรำพบวำ่ เม่ือเรำเริ่มดึงชิ้นทดสอบอย่ำงชำ้ ๆ ชิ้นทดสอบจะค่อย ๆ ยดื ออก จนถึงจุดจุดหน่ึง (จุด A)
ซ่ึงในช่วงน้ีควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งควำม
เคน้ -ควำมเครียดจะเป็ นสัดส่วนคงท่ี ทำให้เรำไดก้ รำฟที่เป็ นเส้นตรง ตำมกฎของฮุค (Hook’s law)ซ่ึงกล่ำวว่ำ
ควำมเคน้ เป็นสัดส่วนโดยตรงกบั ควำมเครียด จุด A น้ี เรียกว่ำพกิ ดั สดั ส่วน (Proportional Limit) และภำยใตพ้ กิ ดั
สัดส่วนน้ี วสั ดุจะแสดงพฤติกรรมกำรคืนรูปแบบอิลำสติก (Elastic Behavior)นั่นคือเม่ือปล่อยแรงกระทำ ชิ้น
ทดสอบจะกลบั ไปมีขนำดเท่ำเดิมเมื่อเรำเพ่ิมแรงกระทำต่อไปจนเกินพิกดั สัดส่วน เส้นกรำฟจะค่อย ๆ โคง้ ออก
จำกเส้นตรง วสั ดุหลำยชนิดจะยงั คงแสดงพฤติกรรมกำรคืนรูปไดอ้ ีกเล็กน้อยจนถึงจุด ๆ หน่ึง (จุด B)เรียกว่ำ

พิกัดยืดหยุ่น (Elastic limit) ซ่ึงจุดน้ีจะเป็ นจุดกำหนดว่ำควำมเคน้ สูงสุดท่ีจะไม่ทำให้เกิดกำรแปรรูปถำวร
(Permanent Deformation or Offset) กบั วสั ดุน้นั เม่ือผ่ำนจุดน้ีไปแลว้ วสั ดุจะมีกำรเปล่ียนรูปอย่ำงถำวร (Plastic
Deformation) ลกั ษณะกำรเร่ิมตน้ ของควำมเครียดแบบพลำสติกน้ีเปล่ียนแปลงไปตำมชนิดของวสั ดุในโลหะ
หลำยชนิด เช่น พวกเหล็กกลำ้ คำร์บอนต่ำ (Low Carbon Steel) จะเกิดกำรเปล่ียนรูปอยำ่ งรวดเร็ว โดยไม่มีกำร
เพิ่มควำมเคน้ (บำงคร้ังอำจจะลดลงก็มี) ที่จุด C ซ่ึงเป็ นจุดที่เกิดกำรเปลี่ยนรูปแบบพลำสติก จุด C น้ีเรียกว่ำจุด
ครำก (Yield Point) และค่ำของควำมเคน้ ที่จุดน้ีเรียกวำ่ ควำมเคน้ จุดครำก (Yield Stress) หรือ Yield Strength ค่ำ
Yield Strength น้ีมีประโยชนก์ บั วิศวกรมำก เพรำะเป็นจุดแบ่งระหว่ำงพฤติกรรมกำรคืนรูปกบั พฤติกรรมกำรคง
รูปและในกรณีของโลหะจะเป็นค่ำควำมแขง็ แรงสูงสุดที่เรำคงใชป้ ระโยชนไ์ ดโ้ ดยไม่เกิดกำรเสียหำย

หลงั จำกจุดครำกแลว้ วสั ดุจะเปลี่ยนรูปแบบพลำสติกโดยควำมเคน้ จะค่อย ๆ เพม่ิ อยำ่ งชำ้ ๆ หรืออำจจะคงท่ี
จนถึงจุดสูงสุด (จุด D) ค่ำควำมเคน้ ท่ีจุดน้ีเรียกวำ่ Ultimate Strength หรือควำมเคน้ แรงดึง (Tensile Strength) ซ่ึง
เป็นค่ำควำมเคน้ สูงสุดที่วสั ดุจะทนไดก้ ่อนที่จะขำดหรือแตกออกจำกกนั (Fracture) เนื่องจำกวสั ดุหลำยชนิด
สำมำรถเปลี่ยนรูปอยำ่ งพลำสติกไดม้ ำก ๆ คำ่ ควำมเคน้ สูงสุดน้ีสำมำรถนำมำคำนวณใชง้ ำนได้ นอกจำกน้ี คำ่ น้ี
ยงั ใชเ้ ป็นดชั นีเปรียบเทียบคุณสมบตั ิของวสั ดุไดด้ ว้ ยวำ่ คำวำ่ ควำมแขง็ แรง (Strength) ของวสั ดุ หรือ กำลงั วสั ดุ
น้นั โดยทวั่ ไปจะหมำยถึงค่ำควำมเคน้ สูงสุดที่วสั ดุทนไดน้ ้ีเองที่จุดสุดทำ้ ย (จุด E) ของกรำฟ เป็นจุดท่ีวสั ดุเกิด
กำรแตกหรือขำดออกจำกกนั (Fracture) สำหรับโลหะบำงชนิด เช่น เหลก็ กลำ้ คำร์บอนต่ำหรือโลหะเหนียว คำ่
ควำมเคน้ ประลยั (Rupture Strength) น้ีจะต่ำกวำ่ ควำมเคน้ สูงสุด เพรำะเม่ือเลยจุด D ไป พ้ืนที่ภำคตดั ขวำงของ
ตวั อยำ่ งทดสอบลดลง ทำให้พ้ืนที่จะตำ้ นทำนแรงดึงลดลงดว้ ย ในขณะท่ีเรำยงั คงคำนวณค่ำของควำมเคน้ จำก
พ้นื ท่ีหนำ้ ตดั เดิมของวสั ดุก่อนที่จะทำกำรทดสอบแรงดึง ดงั น้นั คำ่ ของควำมเคน้ จึงลดลง ส่วนโลหะอ่ืน ๆ เช่น
โลหะที่ผำ่ นกำรข้ึนรูปเยน็ (Cold Work) มำแลว้ มนั จะแตกหกั ท่ีจุดควำมเคน้ สูงสุด โดยไม่มีกำรลดขนำดพ้ืนที่

ภำคตดั ขวำง

เส้นโคง้ ควำมเคน้ -ควำมเครียดน้ี นอกจำกจะใชบ้ อกคำ่ ควำมแขง็ แรง ณ จุดครำก(Yield Strength) ควำมเคน้
สูงสุดและควำมเคน้ ประลยั แลว้ ยงั จะใชบ้ อกค่ำต่ำง ๆ ไดอ้ ีกดงั น้ี คือ
1. ควำมเหนียว (Ductility) ค่ำที่ใชว้ ดั จะบอกเป็นเปอร์เซ็นต์ กำรยดื ตวั (Percentage Elongation) และกำรลดพ้ืนที่
ภำคตดั ขวำง (Reduction of Area)
2. Modulus of Elasticity or Stiffness ภำยใตพ้ กิ ดั สัดส่วนซ่ึงวสั ดุมีพฤติกรรมเป็นอิลำสติก อตั รำส่วนระหวำ่ ง
ควำมเคน้ ต่อควำมเครียดจะเทำ่ กบั ค่ำคงท่ี คำ่ คงท่ีน้ีเรียกว่ำ Modulus of elasticity (E) หรือ Young’s Modulus
หรือ Stiffness

1.4 ควำมคบื (Creep)
วสั ดุส่วนใหญ่เม่ืออยู่ภำยใตแ้ รงท่ีมำกระทำ แมว้ ่ำจะต่ำกว่ำพิกดั ยืดหยุ่น หำกทิ้งไวน้ ำน ๆ แลว้ ก็อำจเกิดกำร
เปลี่ยนรูปอยำ่ งถำวรหรือแบบพลำสติกได้ ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั อุณหภูมิท่ีใช้ดว้ ยปรำกฏกำรณ์เช่นน้ีเรำเรียกว่ำ ควำม
คืบ ปริมำณของควำมคืบท่ีเกิดจะข้ึนอยู่กับชนิดของวสั ดุปริมำณของควำมเคน้ อุณหภูมิและเวลำ หำกเรำให้
สภำวะที่เหมำะสมและมีเวลำเพียงพอ ควำมคบื จะเกิดข้ึนไดจ้ นครบ 3 ข้นั ตอน ดงั ที่แสดงในรูป ท่ี 2.7 เม่ือเรำใช้
แรงกระทำคงที่จะเกิดควำมเครียด (OA) ข้ึนทนั ที ซ่ึงค่ำควำมเครียด OA น้ีข้ึนอยกู่ บั ชนิดของวสั ดุและสภำวะท่ี
ให้ (ปริมำณของแรงกระทำ ควำมเคน้ และอุณหภูมิ) และจะมีควำมสัมพนั ธ์กบั ค่ำ Modulus of elasticity (E) ของ
วสั ดุน้นั หลงั จำกน้นั วสั ดุกจ็ ะเริ่มเกิดควำมคบื ในช้นั ที่ I ซ่ึงอตั รำกำรเกิดควำมเครียดจะค่อย ๆ ลดลง (AB) ในข้นั
ที่ II (BC) อตั รำกำรเกิดควำมเครียดจะคงที่และเป็นอัตรำกำรเกิดควำมเครียดต่ำสุดในขณะท่ีวสั ดุเกิด Creep ข้ึน

อตั รำกำรเกิดควำมเครียดน้ีเรียกวำ่ Minimum Creep Rate จำกน้นั เม่ือถึงข้นั ที่ III (CD) อตั รำกำรเกิดควำมเครียด
จะเพิ่มข้ึนอยำ่ งรวดเร็ว จนวสั ดุขำดหรือแตกออกจำกกนั ที่จุด D กำรเกิดควำมคืบไม่จำเป็นจะตอ้ งครบท้งั 3 ข้นั
ข้นึ อยกู่ บั สภำวะและเวลำที่ใช้

1.5 ควำมแกร่ง (Toughness)
ควำมสำมำรถของวสั ดุท่ีจะดูดซึมพลงั งำนไวไ้ ดโ้ ดยไม่เกิดกำรแตกหัก เรียกว่ำ ควำมแกร่ง (Toughness) ซ่ึงมี
ควำมสัมพนั ธ์กบั คุณสมบตั ิดำ้ นควำมแข็งแรงและควำมเหนียวของมนั โดยกำหนดว่ำ Modulus of Toughness
เท่ำกับพ้ืนท่ีภำยใต้เส้นโค้งควำมเค้น-ควำมเครียดท่ีได้จำกกำรทดสอบแรงดึงดังรูปท่ี 2.9 ค่ำ Modulus of
Toughness น้ี จะแสดงถึงงำนต่อหน่วยปริมำตรของวสั ดุท่ีตอ้ งใช้จนทำให้เกิดกำรแตกหักดว้ ย ขอ้ กำหนดน้ีจะ
แสดงให้เห็นถึงขอ้ แตกต่ำงระหว่ำงวสั ดุเหนียวที่มีควำมแกร่งสูงและวสั ดุเปรำะที่มีควำมแกร่งต่ำดว้ ย ดงั รูปท่ี
2.9 a และ b กำรวดั ค่ำควำมแกร่งท่ีแน่นอนเป็ นเรื่องค่อนขำ้ งยำก จึงไดม้ ีผูก้ ำหนดวิธีกำรทดสอบท่ีเรียกว่ำกำร
ทดสอบแรงกระแทก (Impact Test) วดั ค่ำ Impact Energy หรือ Impact Toughness ซ่ึงเป็ นกำรวดั ปริมำณของ
พลงั งำนที่วสั ดุจะดูดซึมไวไ้ ดเ้ ม่ือไดร้ ับแรงจำกกำรกระแทกจนหกั (Dynamic Impact Force) วธิ ีกำรทดสอบมีอยู่
2 ชนิดคือ Charpy Impact Test และ Izod Impact Test วิธีกำรทดสอบของท้งั 2 ชนิดน้ีคลำ้ ยกนั คอื จะวำงชิ้นงำน
ทดสอบไวร้ ับแรงกระแทกจำกกำรเหวี่ยงของลูกตุม้ ที่น้ำหนักค่ำหน่ึง พลงั งำนน้ีข้ึนอยู่กบั มวลของลูกตุม้ และ
ควำมเร็วของมันขณะกระแทก จุดกระแทกจะเป็ นจุดต่ำสุดของกำรเหว่ียง ซ่ึงลูกตุม้ มีควำมเร็วมำกท่ีสุด เมื่อ
ลูกตุม้ กระทบชิ้นทดสอบ ลูกตมุ้ จะเสียพลงั งำนไปจำนวนหน่ึงในกำรจะทำใหช้ ิ้นทดสอบหกั พลงั งำนที่เสียไปน้ี
กค็ อื ค่ำ Impact Energy นน่ั เอง มีหน่วยเป็น ft-lbf หรือ Joule ชิ้นทดสอบจะเป็นแท่งยำว มีพ้นื ท่ีภำคตดั ขวำงเป็น
สี่เหล่ียมจตุรัส และมีรอยบำกอยู่ตรงกลำง รอยบำกน้ีจะทำเป็ นรูปตวั V, U หรือรูปรูกุญแจ ข้ึนอยู่กบั ชนิดของ
วสั ดุ ซ่ึงมีมำตรฐำนกำหนดไวข้ อ้ แตกต่ำงระหว่ำง Charpy และ Izod กค็ ือ กำรวำงชิ้นทดสอบ Charpy test จะวำง
ชิ้นทดสอบไวใ้ นแนวระดบั ให้ลูกตุม้ ตกกระแทกท่ีดำ้ นตรงขำ้ มกบั รอยบำก ส่วน Izod จะวำงชิ้นทดสอบไวใ้ น
แนวต้งั และให้ลูกตุ้มกระแทกกับด้ำนท่ีมีรอยบำกอุณหภูมิมีผลต่อควำมแกร่งอย่ำงมำก วสั ดุเหนียวอำจจะ
เปล่ียนเป็ นวสั ดุเปรำะได้เมื่ออุณหภูมิต่ำลง ถ้ำเรำนำค่ำ Impact Energy มำพลอตกับอุณหภูมิ เรำจะพบว่ำมี
อุณหภูมิอยู่ช่วงหน่ึงซ่ึงมีค่ำของ Impact Energy เพิ่มข้ึนอย่ำงรวดเร็วดงั รูปท่ี 2.11 ค่ำอุณหภูมิในช่วงน้ีเรียกว่ำ
Impact Transition Temperature (ITT) Impact Transition Temp. น้ีเป็ นอุณหภูมิท่ีเกิดกำรเปล่ียนแปลงจำกวสั ดุ
เหนียวมำเป็นวสั ดุเปรำะ คือช่วงท่ีมีค่ำพลงั งำนสูงจะเป็นวสั ดุเหนียวและช่วงที่มีพลงั งำนต่ำจะเป็นวสั ดุเปรำะค่ำ
Impact energy จะไม่นำมำใช้โดยตรงในกำรออกแบบ แต่มนั มีประโยชน์ท่ีจะใช้เป็ นแนวทำงในกำรประเมิน
คุณสมบตั ิของวสั ดุ เมื่อใชง้ ำนที่อุณหภูมิต่ำ ๆ โดยเฉพำะพวกเหลก็ ท่ีมีค่ำ ITT อยใู่ กลก้ บั อณุ หภูมิห้อง เรำจะตอ้ ง
ระมดั ระวงั ไม่ใชง้ ำนวสั ดุท่ีอุณหภูมิต่ำกว่ำ ITT ของมนั วิธีกำหนดค่ำ ITT เป็นค่ำเดียว (ไม่ใช่ช่วงอุณหภูมิดงั ท่ี

แสดงในรูป 2.11) มีอยหู่ ลำยวธิ ีเช่น ตรวจสอบผิวรอยแตกของชิ้นงำนทดสอบแรงกระแทกแลว้ ใชอ้ ุณหภูมิท่ีผิว
รอยแตกมีสัดส่วนของกำรแตกแบบเปรำะ (Brittle Fracture) กับกำรแตกแบบเหนียว (Ductile Fracture) เป็ น
50:50 พอดีเป็ นค่ำ ITT (ซ่ึงมีช่ือเรียกเฉพำะว่ำ Fracture Appearance Transition Temperature - FATT) แต่วิธีที่
นิยมใชก้ นั มำกที่สุด คือ กำหนดค่ำ Impact Energy ท่ีต่ำค่ำหน่ึงข้ึนมำเป็ นเกณฑ์ ซ่ึงถำ้ วสั ดุใดทดสอบแลว้ มีค่ำ
Impact Energy ต่ำกว่ำน้ีก็ถือว่ำเป็ นวสั ดุเปรำะอย่ำงแน่นอน แลว้ กำหนดให้อุณหภูมิที่ทดสอบได้ค่ำ Impact
Energy เท่ำกับเกณฑ์น้ีพอดีเป็ น ITT (ITT ท่ีกำหนดโดยวิธีน้ีเรียกว่ำ Ductility Transition Temperature) ค่ำ
พลงั งำนแรงกระแทกท่ีใชเ้ ป็นเกณฑ์ คอื 20 J สำหรับกำรทดสอบ Charpy V-Notch (ชิ้นงำนมีรอยบำกรูปตวั V)

15.2 การทดสอบกาลงั คอนกรีต

กำลงั อดั ของคอนกรีต เป็นคณุ สมบตั ิสำคญั ท่ีคอนกรีตที่แขง็ ตวั แลว้ ซ่ึงหำกมิไดม้ ีกำรกำหนดไวเ้ ป็นอยำ่ งอื่น จะ
ถือว่ำผลกำรทดสอบกำลงั อดั ของคอนกรีตที่อำยุ 28 วนั เป็ นเกณฑ์ กำรทดสอบทำโดยกำรหล่อก้อนตวั อย่ำง
คอนกรีตมำตรฐำนแบ่งออกเป็น 2 มำตรฐำน คือ
1 รูปทรงลูกบำศก์ ตำมมำตรฐำนองั กฤษ BS 1881:Part 3 ขนำดท่ีใชค้ ือ 15x15x15 ซม.
2 รูปทรงกระบอก ตำมมำตรฐำนอเมริกนั ASTM C 192 ขนำดท่ีใชค้ ือ ขนำนเส้นผำ่ ศูนยก์ ลำง 15 ซม. สูง 30
ซม.

กำลงั อดั ของคอนกรีตท้งั 2 รูปทรงน้ี จะใหค้ ่ำกำลงั อดั ท่ีแตกต่ำงกนั ถึงแมว้ ่ำจะใชส้ ่วนผสมเดียวกนั ทำกำรบ่ม
ภำยไดส้ ภำวะเดียวกนั และทดสอบที่อำยเุ ท่ำกนั ท้งั น้ีเน่ืองจำก
1. องคป์ ระกอบเร่ืองควำมชะลูด กล่ำวคอื รูปทรงกระบอกมีสตั วส์ ่วนควำมสูงต่อควำมกวำ้ ง
( Slenderness Ratio ) มำกกว่ำรูปทรงลูกบำศก์ ซ่ึงมีอัตรำส่วนควำมชะลูดดังกล่ำว ส่งผลให้กำลังอัดรูป
ทรงกระบอกต่ำกวำ่ รูปทรงลูกบำศก์
2. ขณะท่ีกดก่อนตวั อยำ่ ง กอ้ นตวั อยำ่ งจะแตกออกดำ้ นขำ้ ง ทำใหเ้ กิดแรงเสียดทำนระหวำ่ งผวิ ของกอ้ นตวั อยำ่ ง
กบั แผ่นรองกด แรงเสียดทำนดงั กล่ำว จะก่อให้เกิดแรงตำ้ นทำนต่อกำรแตกดำ้ นขำ้ งของกอ้ นตวั อย่ำงท่ีเรียกว่ำ
Confining Stress ดงั รูปท่ี 1 โดยค่ำ Confining Stress น้ีจะมีค่ำมำกถำ้ ผิวสัมผสั ของกอ้ นตวั อยำ่ งกบั เคร่ืองกดมีค่ำ
มำก ดงั น้นั ผลกำรทดสอบกำลงั อดั รูปทรงลูกบำศก์ จึงมีคำ่ สูงกวำ่ รูปทรงกระบอก

รูปท่ี 1 ลักษณะแรงต้านต่อการแตกด้านข้าง ( Confining Stress )
ของก้อนตวั อย่างรูปทรงลกู บาศก์

ปัจจยั ท่ีมีผลต่อค่ากาลงั อดั ของคอนกรีต
1. กำรเตรียมตวั อย่ำง คอนกรีตที่ไดร้ ัยกำรทำให้แน่น โดยกำรกระทุง้ ดว้ ยเหลก็ จะใหค้ ่ำกำลงั อตั รำต่ำ

กวำ่ จำกกำรทำใหแ้ น่นดว้ ยเคร่ืองเขยำ่
2. ลกั ษณะของผิวคอนกรีต ในทำงปฏิบตั ิน้ัน ผิวดำ้ นบนของกอ้ นตวั อยำ่ งรูปทรงกระบอกมกั จะไม่

เรียบ ทำใหผ้ ลกำรทดสอบผิดพลำดได้ ดงั รูปที่ 2 จึงตอ้ วงกำรมี Cap ผิวกอ้ นตวั อย่ำงดว้ ย กำมะถนั ก่อนกำรทด
สอย ส่วนกอ้ นตวั อย่ำงรูปทรงลูกบำศก์น้ัน ไม่ตอ้ ง Cap กอ้ นตวั อย่ำงเพรำะมีผิวดำ้ นขำ้ ง อีก 4 ดำ้ นเรียบพอที่
สำมำรถนำมำทดสอบได้

รูปท่ี 2 ลกั ษณะการรับแรงของตัวอย่างทรงกระบอกท่ี Cap และไม่ Cap

3. ขนำดและลกั ษณะของกอ้ นตวั อยำ่ ง กำรใชแ้ ท่งทดสอบรูปทรงกระบอกทีมีขนำดแตกตำ่ งจำก
ขนำดมำตรฐำนที่กำหนดให้ควำมสูงเป็น 2 เทำ่ ของเส้นผ่ำนศูนยก์ ลำง จะมีผลทำใหค้ ำ่ กำลงั อดั ของคอนกรีตเกิด
ควำมแตกต่ำงกนั เช่น กอ้ นตวั อยำ่ งท่ีไดจ้ ำกกำรเจำะทดสอบ( Core Test )ถำ้ ควำมสูงที่เจำะออกมำส้ันกวำ่ 2
เท่ำของเส้นผำ่ นศูนยก์ ลำง จะตอ้ งปรับแกก้ ำลงั คอนกรีตดว้ ย

ตารางท่ี 1 ผลของอตั ราส่วนความสูงต่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางต่อกาลงั อดั

สัดส่วนของความสูงต่อ เส้นผ่าน ค่าปรับแก้ของกาลงั อดั
ศูนย์กลาง ( L/ D )

2.00 1.00

1.75 0.98

1.50 0.97

1.25 0.94

1.00 0.91

4. อตั รำกำรทดสอบ ถำ้ ใชอ้ ตั รำกำรทดสอบสูง จะทำให้ค่ำกำลงั อดั ของคอนกรีตสูงตำมไปดว้ ย ดงั น้นั จึงควร
ใชอ้ ตั รำกำรกดมำตรฐำนท่ีกำหนดไวค้ ือ 1.47-3.47 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตรต่อวินำทีสำหรับกอ้ นตวั อย่ำง
รูปทรงกระบอก และ 1.12-2.72 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตรตอ่ วินำทีสำหรรัยกอ้ นตวั อยำ่ งรูปทรงลกู บำศก์
5. ควำมชื่นของกอ้ นตวั อย่ำง กอ้ นตวั อย่ำงท่ีมีควำมช่ืนจะให้ค่ำกำลงั ท่ีต่ำกว่ำกอ้ นตวั อย่ำงที่แห้ง เพรำะกำร
ขยำยตวั ของซีเมนตเ์ พสท์ อนั เนื่องมำจำกกำรดูดซึมน้ำส่งผลให้แรงยดื เหน่ียวระหวำ่ งซีเมนต์เพสทก์ บั มวลรวม
ลดลง โดยมำตรฐำน ASTM C 39 แนะนำให้ทำกำรทดสอบกอ้ นตวั อย่ำงสภำพช่ืน ท้งั น้ีเพ่ือหลีกเลี่ยงควำมผนั
แปรเน่ืองมำจำกระดบั ของควำมแหง้ กำรประเมินผลกำลงั อดั ของคอนกรีตสำหรับกรณีทว่ั ไป

6. ค่ำเฉลี่ยของกำลงั จำกกำรทดสอบ 3 คร้ังติดต่อกนั ตอ้ งมีค่ำมำกกวำ่ ค่ำกำลงั ทีอดั ท่ีกำหนด ( Fc) 7. ค่ำกำลงั
อดั แตล่ ะคร้ัง จะมีคำ่ ต่ำกวำ่ กำลงั ที่กำหนด ( Fc)ไดไ้ ม่เกิน 30 กิโลกรัมตอ่ ตำรำงเซนติเมตร

15.3 การทดสอบแรงดึงเหลก็ เสริม

โครงสร้ำงคอนกรีตทว่ั ไปมกั มีกำรเสริมเหลก็ เพอื่ ช่วยในกำรรับแรง ดงั น้นั กำลงั ในกำรยดึ เหนี่ยว
(Bond Strength) ของคอนกรีตกับเหล็กเสริมท่ีเพียงพอจึงเป็ นส่ิงสำคัญท่ีต้องพิจำรณำ เพื่อให้โครงสร้ำง
คอนกรีตเสริมเหลก็ สำมำรถรับแรงหรือถ่ำยแรงไดเ้ ตม็ ประสิทธิภำพตำมท่ีไดอ้ อกแบบไวก้ ำลงั ในกำรยดึ เหนี่ยว
เกิดจำกกำรยดึ ติด (Adhesion) และแรงเสียดทำน (Friction) ของเหลก็ เสริม
กบั ซีเมนตเ์ พสตท์ ี่แขง็ ตวั แลว้ ซ่ึงมีหลำยปัจจยั ที่ส่งผลกระทบต่อแรงยดึ เหน่ียว เช่น
- ขณะที่คอนกรีตไดร้ ับกำรบ่มและแขง็ ตวั จะเกิดกำรหดตวั ทำให้พ้ืนท่ีผิวสัมผสั ระหว่ำงเหลก็ เสริมและคอนกรีต
ลดลงส่งผลใหแ้ รงยดึ เหน่ียวลดลง
- คอนกรีตมีกำรแตกร้ำวหรือน้ำซึมผำ่ นไดง้ ำ่ ยกจ็ ะทำใหเ้ กิดกำรกดั กร่อนเหลก็ เสริมทำใหแ้ รงยดึ เหนี่ยวลดลง
- ตำแหน่งในกำรเสริมเหลก็ เช่น บริเวณใตเ้ หลก็ บนอำจมีช่องอำกำศเนื่องจำกกำรเยมิ้ ทำใหแ้ รงยดึ เหน่ียวลดลง
- กำรใส่สำรผสมเพม่ิ เช่น สำรกกั กระจำยฟองอำกำศ ทำใหแ้ รงยดึ เหนี่ยวลดลง

รูปที่ 16.1 แสดงกำรเกิด Bond และ Adhesion ในโครงสร้ำงคอนกรีตเสริมเหลก็

นอกจำกน้ีชนิดของซีเมนต์ ขนำดของเหล็กเสริม ชนิดของเหล็กเสริม หน้ำท่ีในกำรรับแรงของเหล็ก
เสริม (รับแรงดึง แรงอดั หรือแรงดดั ) กำรจ้ีเขยำ่ บริเวณเหล็กเสริมและสภำวะแวดลอ้ มต่ำงก็มีผลกระทบต่อแรง
ยดึ เหน่ียวท้งั สิ้น

กำรทดสอบแรงยึดเหนี่ยวด้วยกำรดึง(Bond Pull Out Test) เป็ นวิธีหน่ึงที่ได้รับควำมนิยมในกำร
เปรียบเทียบค่ำกำลงั ในกำรยดึ เหนี่ยวของคอนกรีต ซ่ึงทำโดยกำรหล่อกอ้ นตวั อย่ำงคอนกรีตทรงลูกบำศกข์ นำด
15×15×15 ซ.ม. แล้วฝังเหล็กเสริมไว้ เม่ือคอนกรีตมีอำยุตำมต้องกำรก็ทำกำรดึงเหล็กเสริมออกด้วยเคร่ือง
ทดสอบแรงดึง วดั ระยะเลื่อนไถลในขณะที่ออกแรงดึงท่อนเหล็กน้ัน แลว้ นำมำเขียนกรำฟระหว่ำงกำลงั ยึด
เหนี่ยวกบั ระยะเลื่อนไถล กำรทดสอบกระทำจนกวำ่ แรงท่ีใชด้ ึงท่อนเหลก็ มีค่ำเท่ำกบั กำลงั ณ จุดครำกของเหลก็
น้ัน หรือ เม่ือคอนกรีตเริ่มชำรุดแยกออกจำกกัน หรือ จนกระท่ังระยะเล่ือนไถลมีค่ำมำกกว่ำ2.5 ม.ม. กำร
คำนวณหำค่ำกำลังยึดเหนี่ยว(Bond Strength) หำได้จำกแรงดึงหำรด้วยพ้ืนท่ีผิวของเหล็กเสริมท่ีสัมผสั กับ
คอนกรีตในทำงปฏิบตั ิถือว่ำ กำลังยึดเหนี่ยวของคอนกรีต (Bond Strength) มีควำมสัมพนั ธ์กับกำลงั อัดของ
คอนกรีต คือ เมื่อกำลงั อดั ของคอนกรีตเพิ่มข้ึนกำลงั ยึดเหน่ียวจะเพิ่มข้ึนตำม และกำลงั ยึดเหนี่ยวของเหล็กขอ้
ออ้ ยจะมำกกว่ำเหล็กกลม และกำลงั ยึดเหน่ียวจะลดลงอย่ำงมำกเม่ืออุณหภูมิสูงข้ึนเน่ืองจำกสัมประสิทธ์ิกำร
ขยำยตวั ท่ีไม่เทำ่ กนั ของเหลก็ และคอนกรีต

ใบงานที่ 15 หน่วยที่ 15
สอนคร้ังท่ี 15
วชิ า การควบคมุ และวางแผนการก่อสร้างงานโยธา รหัสวิชา 30121-2101 เวลา 3 ชั่วโมง
ช่ือหน่วย การทดสอบคณุ สมบัติวสั ดุ
ชื่องาน การทดสอบคณุ สมบัตวิ ัสดุ

จุดประสงค์
เมื่อฝึกกำรปฏิบตั ิงำนตำมใบงำนน้ีแลว้ นกั ศึกษำจะสำมำรถ
1. อธิบำยควำมรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั กำรทดสอบคุณสมบตั ิวสั ดุได้
2. อธิบำยกำรทดสอบกำลงั คอนกรีตได้
3. อธิบำยกำรทดสอบแรงดึงเหลก็ ได้

เคร่ืองมือ - อปุ กรณ์
1.เอกสำรใบงำน

ลาดบั ข้นั การปฏิบตั ิงาน
1. ครูบอกชื่อเคร่ืองมือ และประโยชน์กำรใชง้ ำนของเคร่ืองมือในกำรทดสอบประเภทตำ่ งๆ ทีละชิ้น
2. ครูอธิบำยขอ้ ควรระวงั ในกำรใชง้ ำน และจุดท่ีตอ้ งระวงั เป็นพิเศษของเคร่ืองมือ
แตล่ ะชิ้น
3. ครูสำธิตวธิ ีใชเ้ ครื่องมือโดยสังเขป
4. ใหน้ กั ศึกษำปฏิบตั ิกำรบำรุงรักษำทดสอบชนิดตำ่ งๆ
5. ใหน้ กั ศึกษำสรุปกำรใชง้ ำน โดยรำยงำนในสมุด

การประเมินผล
1. นกั ศึกษำสำมำรถอธิบำยเร่ืองกำรทดสอบคณุ สมบตั ิวสั ดุได้
2.ประเมินผลจำกผลกำรปฏิบตั ิใบงำน

แบบประเมนิ ผลก่อนเรียนหน่วยท่ี 15 เรื่องการทดสอบคณุ สมบตั ิวัสดุ

คาสั่ง จงทำเครื่องหมำย  หนำ้ คำตอบท่ีถกู ตอ้ งท่ีสุดเพยี งคำตอบเดียว

1. คุณสมบตั ิทีสำคญั สำหรับกำรทดสอบคณุ สมบตั ิวสั ดุคือ

ก. คณุ สมบตั ิเชิงกล

ข. คุณสมบตั ิเชิงอุณหภูมิ

ค. คณุ สมบตั ิเชิงเคมี

ง. คุณสมบตั ิเชิงไฟฟ้ำ

จ. ถกู ทกุ ขอ้ ท่ีกล่ำวมำ

2. ในงำนดำ้ นวศิ วกรรมคุณสมบตั ิใดท่ีมีควำมสำคญั มำกท่ีสุด

ก. คุณสมบตั ิเชิงกล ข. คณุ สมบตั ิเชิงอุณหภมู ิ

ค. คณุ สมบตั ิเชิงเคมี ง. คุณสมบตั ิเชิงไฟฟ้ำ

3. ควำมแคน้ (Stress)หมำยถึงอะไร

ก. แรงท่ีมำกระทำใหท้ ิศทำงขนำนกบั พ้นื ท่ีภำคตดั ขวำง

ข. กำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงของวสั ดุเม่ือมีแรงภำยนอกมำกระทำ

ค. แรงตำ้ นทำนภำยในเน้ือวสั ดุท่ีมีตอ่ แรงภำยนอกที่มำกระทำตอ่ หน่ึงหน่วยพ้นื ที่

ง. แรงกดมำกระทำต้งั ฉำกกบั พ้นื ท่ีภำคตดั ขวำง

4.ตวั อยำ่ งใดคือ กำรเปล่ียนรูปแบบอิลำสติกหรือควำมเครียดแบบคนื รูป

ก. คอ้ นยำง ข. ยำงยดื สปริง

ค. พลำสติก ง. ไม่มีขอ้ ถูก

5.กฎของฮุก(Hook’s law)กล่ำวไวว้ ำ่ อยำ่ งไร

ก. ควำมเคน้ เป็นสดั ส่วนโดยตรงกบั ควำมเครียด

ข. วสั ดุจะแสดงพฤติกรรมกำรคนื รูปแบบอิลำสติก

ค. ชิ้นกำรทดสอบจะกลบั ไปมีขนำดเทำ่ เดิมเมื่อเรำเพม่ิ แรงกระทำ

ง. วตั ถเุ มื่อถกู กระทำจนถึงจุดๆหน่ึงจะไม่เกิดกำรเปลี่ยนแปลง

คำสง่ั จงดูภำพขำ้ งบนแลว้ ตอบคำถำมตอ่ ไปน้ี
6. จุด A เรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
7. จุด B เรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
8. จุด C เรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
9. จุด D เรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

10. จุด Eเรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย
……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
11. ขนำดคอนกรีตรูปทรงลกู บำศก์ ตำมมำตรฐำนองั กฤษที่ใช้ คือ

ก. 10x10x10 cm
ข. 15x15x15 cm
ค. 20x20x20 cm
ง. 25x25x25 cm
12. เพรำะเหตใุ ดคอนกรีตรูปทรงกระบอกจึงมีกำลงั อดั ต่ำกวำ่ รูปทรงลกู บำศก์
ก. เวลำกำรบ่มท่ีไม่เทำ่ กนั
ข. ส่วนผสมของคอนกรีตในแต่ล่ะตวั อยำ่ งไม่เทำ่ กนั
ค. สดั ส่วนควำมสูงต่อควำมกวำ้ งของรูปทรงกระบอกมำกกวำ่ รูปทรงลูกบำศก์
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
13. ควรใชอ้ ตั รำกำรทดสอบอยทู่ ่ีเท่ำไรจึงจะทำใหไ้ ดค้ ่ำกำลงั อดั ของคอนกรีตสูง
ก. 1.47-3.47 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
ข. 1.12-2.72 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
ค. 1.35-3.25 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
ง. 2.17-3.11 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
14. เพรำะเหตใุ ดจึงตอ้ งมีกำรเสริมเหลก็ ในโครงสร้ำงคอนกรีต
ก. เพือ่ ควำมสวยงำม
ข. เพอื่ เพมิ่ กำลงั อดั ของคอนกรีต
ค. เพอื่ ช่วยในกำรรับแรงดึง
ง. เพือ่ ลดปริมำณคอนกรีตของงำน
15. ปัจจยั ใดที่ส่งผลตอ่ แรงยดึ เหนี่ยวของเหลก็ เสริมกบั คอนกรีตท่ีแขง็ ตวั แลว้
ก. กำรแตกร้ำวของคอนกรีตทำใหน้ ้ำซึมผำ่ นไดง้ ่ำยทำใหเ้ กิดกำรกดั กร่อน
ข. ตำแหน่งในกำรเสริมเหลก็
ค. กำรสำรผสมเพิม่
ง. ถกู ทุกขอ้ ท่ีกล่ำวมำ

แบบประเมินผลหลงั เรียนหน่วยท่ี 15 เร่ืองการทดสอบคุณสมบัติวสั ดุ

คาสั่ง จงทำเครื่องหมำย  หนำ้ คำตอบท่ีถูกตอ้ งที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. คณุ สมบตั ิทีสำคญั สำหรับกำรทดสอบคณุ สมบตั ิวสั ดุคือ

ก. คุณสมบตั ิเชิงกล

ข. คุณสมบตั ิเชิงอุณหภูมิ

ค. คุณสมบตั ิเชิงเคมี

ง. คณุ สมบตั ิเชิงไฟฟ้ำ

จ. ถกู ทุกขอ้ ที่กลำ่ วมำ

2. ในงำนดำ้ นวศิ วกรรมคุณสมบตั ิใดที่มีควำมสำคญั มำกท่ีสุด

ก. คุณสมบตั ิเชิงกล ข. คุณสมบตั ิเชิงอุณหภมู ิ

ค. คุณสมบตั ิเชิงเคมี ง. คุณสมบตั ิเชิงไฟฟ้ำ

3. ควำมแคน้ (Stress)หมำยถึงอะไร

ก. แรงท่ีมำกระทำใหท้ ิศทำงขนำนกบั พ้นื ท่ีภำคตดั ขวำง
ข. กำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงของวสั ดุเมื่อมีแรงภำยนอกมำกระทำ

ค. แรงตำ้ นทำนภำยในเน้ือวสั ดุท่ีมีตอ่ แรงภำยนอกที่มำกระทำต่อหน่ึงหน่วยพ้ืนที่

ง. แรงกดมำกระทำต้งั ฉำกกบั พ้นื ที่ภำคตดั ขวำง

4.ตวั อยำ่ งใดคือ กำรเปลี่ยนรูปแบบอิลำสติกหรือควำมเครียดแบบคนื รูป

ก. คอ้ นยำง ข. ยำงยดื สปริง

ค. พลำสติก ง. ไม่มีขอ้ ถูก

5.กฎของฮุก(Hook’s law)กล่ำวไวว้ ำ่ อยำ่ งไร

ก. ควำมเคน้ เป็นสดั ส่วนโดยตรงกบั ควำมเครียด

ข. วสั ดุจะแสดงพฤติกรรมกำรคืนรูปแบบอิลำสติก

ค. ชิ้นกำรทดสอบจะกลบั ไปมีขนำดเท่ำเดิมเม่ือเรำเพ่มิ แรงกระทำ
ง. วตั ถเุ ม่ือถกู กระทำจนถึงจุดๆหน่ึงจะไม่เกิดกำรเปลี่ยนแปลง

คำสง่ั จงดูภำพขำ้ งบนแลว้ ตอบคำถำมตอ่ ไปน้ี
6. จุด A เรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
7. จุด B เรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
8. จุด C เรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
9. จุด D เรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

10. จุด Eเรียกวำ่ อะไร และ มีพฤติกรรมอยำ่ งไรจงอธิบำย
……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
11. ขนำดคอนกรีตรูปทรงลูกบำศก์ ตำมมำตรฐำนองั กฤษที่ใช้ คือ

ก. 10x10x10 cm
ข. 15x15x15 cm
ค. 20x20x20 cm
ง. 25x25x25 cm
12. เพรำะเหตใุ ดคอนกรีตรูปทรงกระบอกจึงมีกำลงั อดั ต่ำกวำ่ รูปทรงลกู บำศก์
ก. เวลำกำรบ่มท่ีไมเ่ ทำ่ กนั
ข. ส่วนผสมของคอนกรีตในแต่ล่ะตวั อยำ่ งไม่เทำ่ กนั
ค. สดั ส่วนควำมสูงต่อควำมกวำ้ งของรูปทรงกระบอกมำกกวำ่ รูปทรงลูกบำศก์
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
13. ควรใชอ้ ตั รำกำรทดสอบอยทู่ ่ีเท่ำไรจึงจะทำใหไ้ ดค้ ่ำกำลงั อดั ของคอนกรีตสูง
ก. 1.47-3.47 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
ข. 1.12-2.72 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
ค. 1.35-3.25 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
ง. 2.17-3.11 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
14. เพรำะเหตใุ ดจึงตอ้ งมีกำรเสริมเหลก็ ในโครงสร้ำงคอนกรีต
ก. เพือ่ ควำมสวยงำม
ข. เพอื่ เพมิ่ กำลงั อดั ของคอนกรีต
ค. เพอื่ ช่วยในกำรรับแรงดึง
ง. เพื่อลดปริมำณคอนกรีตของงำน
15. ปัจจยั ใดที่ส่งผลตอ่ แรงยดึ เหนี่ยวของเหลก็ เสริมกบั คอนกรีตท่ีแขง็ ตวั แลว้
ก. กำรแตกร้ำวของคอนกรีตทำใหน้ ้ำซึมผำ่ นไดง้ ่ำยทำใหเ้ กิดกำรกดั กร่อน
ข. ตำแหน่งในกำรเสริมเหลก็
ค. กำรสำรผสมเพม่ิ
ง. ถกู ทุกขอ้ ท่ีกลำ่ วมำ


Click to View FlipBook Version