The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมและวางแผนก่อสร้างงานโยธา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaruwan, 2022-05-05 04:01:33

เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมและวางแผนก่อสร้างงานโยธา

เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมและวางแผนก่อสร้างงานโยธา

ตรวจสอบสภำพทวั่ ไป ภำยในห้องโดยสำรให้มีควำมกวำ้ ง
ควำมยำว และควำมสูงถูกตอ้ งตำมรูปแบบ ขนำดช่องเปิ ด
ประตูป่ ุมต่ำงๆ ป้ำยแสดงช้ันและส่วนประกอบอ่ืนๆติดต้งั
ครบถว้ นถูกตอ้ งตำมแบบที่บริษทั ผผู้ ลิตกำหนด

❖ ตรวจสอบกำรทำงำนของกล่องสัญญำณควบคุม
ลิฟต์

❖ ติดต้งั แท่นเครื่องใหม้ ีควำมมน่ั คงแงแรงปลอดภยั

❖ ติดรำงรับประตลู ิฟตต์ วั ล่ำงใหไ้ ดร้ ะดบั และมนั่ คง

❖ ตรวจแหล่งจ่ำยไฟเขำ้ ในลิฟต์ ใหท้ ำงำนเป็นปกติ

❖ กำรยดึ รำงลิฟตก์ บั โครงสร้ำงตอ้ งมนั่ คงแขง็ แรง

❖ ตรวจขนำดช่องเปิ ดสำหรับติดอุปกรณ์สำหรับติด
อปุ กรณ์ตำ่ งๆ

❖ ตรวจประสิทธิภำพเครื่องคุมกำรทำงำนของลิฟต์

❖ ตรวจอุปกรณ์ช่องลิฟต์ท่ีฝังในคอนกรีตให้ได้
ขนำด

❖ ตรวจกำรทำงำนและขนำดมอเตอร์ของลิฟต์ให้
ถกู

❖ ตรวจกำรติดต้ังรำงรับประตูลิฟต์ตัวบนให้
แขง็ แรง

❖ ตรวจกำรติดต้ังอุปกรณ์และทดสอบกำรว่ิงของ
ลิฟต์

❖ ตรวจกำรทำงำนของอุปกรณ์ควบคมุ ลิฟตใ์ หป้ กติ
❖ ตรวจสำยไฟที่ใชค้ วบคุมลิฟตใ์ หอ้ ยใู่ นสภำพดี
❖ ตรวจอปุ กรณ์ในกำรถว่ งน้ำหนกั ลิฟตใ์ หค้ รบถว้ น
❖ ควบคมุ ใหม้ ีกำรตอ่ รำงลิฟตด์ ว้ ยกรรมวธิ ีท่ีถูกตอ้ ง

❖ ตรวจกำรยึดรำงลิฟต์กับโครงสร้ำงให้ถูกต้อง
แน่นหนำ

❖ ตรวจจำนวนหลอดไฟท่ีติดต้งั บนเพดำนลิฟต์

❖ ต่อแผงวงจรควบคุมกำรทำงำนของลิฟต์ให้
สมบรู ณ์

บนั ไดเล่ือน

บนั ไดเล่ือน ใหค้ วำมสะดวกสบำยในกำรข้ึนลงระหวำ่ งช้นั นิยมใชใ้ นอำคำรศูนยก์ ำรคำ้ อำคำรสำนกั งำน เป็ น
ตน้ ปัจจุบนั มีกำรพฒั นำรูปแบบของบนั ไดเล่ือนใหม้ ีรูปทรงโคง้ แทนแบบเดิมซ่ึงเป็นเส้นตรงแต่แบบใหม่ยงั มี
รำคำสูงมำกจึงยงั ไม่แพร่หลำยนกั กำรติดต้งั บนั ไดเล่ือนในอำคำรมีควำมจำเป็นจะตอ้ งเตรียมงำนโครงสร้ำงให้
มีรูปแบบและขนำดตำ่ งๆตรงตำมท่ีผผู้ ลิตบนั ไดเล่ือนกำหนดไว้ เพอ่ื สำมำรถนำมำประกอบติดต้งั ให้มีควำมพอดี
มีควำมมน่ั คง แข็งแรงและใชง้ ำนไดอ้ ยำ่ งปลอดภยั ผูต้ ิดต้งั ตอ้ งเป็ นผูช้ ำนำญกำรโดยเฉพำะ จึงจะรู้ข้นั ตอนใน
กำรทำงำนอย่ำงถูกวิธี ไม่เกิดควำมเสียหำยต่อชิ้นงำนและอุปกรณ์ประกอบ ทำกำรสำรวจสภำพควำมเรียบร้อย
ของชิ้นส่วน ไม่มีริ้วรอยขดี ข่วน หำกมีชำรุดเสียหำยตอ้ งเปลี่ยนใหม่

กำรตรวจสอบบนั ไดเลื่อน ตอ้ งตรวจชิ้นส่วนและอุปกรณ์ท้งั หมดให้มีอยู่ในสภำพเรียบร้อยไม่ชำรุด
เนื่องจำกกำรขนส่ง ตรวจกำรติดต้งั ใหถ้ ูกตอ้ งตำมลำดบั กำรทำงำน มีกำรยดึ โครงเหลก็ กบั ส่วนโครงสร้ำงอยำ่ งดี

ตรวจกำรขนั ยึดสลกั เกลียวทุกตวั ใหแ้ น่น ตรวจกำรประกอบอุปกรณ์บนั ไดเลื่อนใหม้ ีควำมสมบูรณ์ เรียบร้อย
และครบถว้ น ทำกำรทดสอบกำรใชง้ ำนของบนั ไดเลื่อนและสวิตซ์ควบคุมควำมปลอดภยั กำรใชง้ ำนให้แน่ใจ
ทกุ ข้นั ตอน
ก่อนจะมำเป็นบนั ไดเลื่อนน้นั ตน้ แบบของบนั ไดเลื่อนไดถ้ กู คิดไวต้ ำ่ งๆนำๆ และไดร้ ับกำรจดสิทธิบตั รคร้ังแรก
โดย Nathan Ames ในปี คศ.1859 Leamon Souder ในปี คศ.1889 Jesse Wilford Reno และ George A. Wheeler
ในปี คศ.1892
ต่อมำในปี คศ.1896 Jesse Wilford Reno สำมำรถสร้ำง บนั ไดเลื่อนท่ีสำมำรถทำงำนไดจ้ ริงตวั แรกของโลก และ
ติดต้งั ไวท้ ี่นิวยอร์ค โดยเขำเรียกมนั วำ่ "inclined elevator"

โดยที่มำของช่ือ Escalator น้ัน มำจำกคำว่ำ "elevator" และ "scala" ซ่ึงเป็ นภำษำลำติน แปลว่ำ ข้นั บนั ได โดย
Charles Seeberger ผอู้ อกแบบบนั ไดเลื่อนซ่ึงถือเป็นตน้ แบบของบนั ไดเลื่อนในปัจจุบนั
สำหรับบนั ไดเล่ือนรูปแบบที่ใชอ้ ยู่ในปัจจุบนั น้นั บนั ไดแต่ละข้นั จะยึดติดกนั และมีลอ้ เลื่อนข้ึนลงได้ เล่ือนไป
ตำมรำงใตบ้ นั ได ข้นั บนั ไดจะเลื่อนลงไปสู่ปลำยบนั ไดขำ้ งหน่ึงของบนั ไดเล่ือน โดยจะค่อยๆ ลดระดบั ลง จน
สุดท่ีปลำยบนั ไดเลื่อน พำให้ผโู้ ดยสำรข้ึนไปถึงท่ีพกั บนั ได เพ่ือเล่ือนกลบั มำ กำรทำงำนของบนั ไดเล่ือน จะมี
มอเตอร์ไฟฟ้ำ หมุนเฟื องอนั ใหญ่ ฉุดใหข้ ้ึนบนั ไดเคล่ือนที่ นอกจำกน้ียงั ฉุดรำวบนั ไดซ่ึงเป็นสำยพำนว่งิ ไดร้ อบ
ใหเ้ คล่ือนท่ีตำมไปดว้ ย สำหรับใหผ้ ใู้ ชไ้ ดย้ ดึ จบั ไดม้ น่ั

ห้ำงสรรพสินคำ้ ไทยไดมำรู รำชประสงค์ เป็ นผูน้ ำบนั ไดเลื่อนตวั แรก เขำ้ มำเมืองไทย เปิ ดบริกำรเมื่อวนั ท่ี 10
ธนั วำคม พ.ศ.2507 ปรำกฏวำ่ ชำวกรุงแห่กนั ไปใชบ้ นั ไดเลื่อนกนั เนืองแน่น

การทางานของบนั ไดเลื่อน

บันไดเลื่อนเป็ นอุปกรณ์ท่ีสำมำรถเห็นได้ทั่วไปในห้ำงสรรพสินค้ำและอำคำรสำนักงำนใหญ่ๆ ที่มีผูค้ น
พลุกพล่ำน โดยบันไดเล่ือนน้ันเป็ นเครื่องจักรท่ีมีรำคำแพง แต่ก็เป็ นเคร่ืองจักรท่ีไม่สำมำรถขำดได้ใน
ชีวิตประจำวนั เน่ืองด้วยควำมสะดวกสบำยที่ได้ บนั ไดเล่ือนน้ันสำมำรถขนส่งผูค้ นได้เป็ นจำนวนมำก ใน
ระยะทำงส้ันๆ โดยหลกั กำรทำงำนง่ำยๆของสำยพำน หัวใจกำรทำงำนของบนั ไดเล่ือน คือ มอเตอร์ไฟฟ้ำหมุน
ดว้ ยกำลงั กว่ำ 100 แรงมำ้ ขบั เฟื องเกียร์ตวั บนพร้อมโซ่ พำบนั ไดท้งั ชุดให้เคลื่อนท่ีอยใู่ นโครงถกั (โครงโลหะที่
ตอ่ กนั อยรู่ ะหวำ่ งช้นั ท้งั สอง)
กำรออกแบบน้ัน จะทำเป็ นข้นั ๆแบบบนั ได ขณะที่โซ่กำลงั เคลื่อนที่ ข้นั บนั ไดจะอยู่ในระดบั เดียวกันตลอด
ยกเวน้ ดำ้ นบนและล่ำง ซ่ึงข้นั บนั ไดจะยบุ ตวั เป็ นแนวรำบ ช่วยให้ข้นั บนั ไดเล่ือนเขำ้ ไปไดง้ ่ำย ภำพล่ำงเป็ น
หลกั กำรทำงำนของบนั ไดเล่ือน

ข้นั บนั ได

ทกุ ๆข้นั ของ ข้นั บนั ไดในบนั ไดเล่ือนน้นั จะมีลกู ลอ้ อยู่ 2ตวั วง่ิ ไปตำม รำงเหลก็ ท้งั 2 โดยชุดบนน้นั (ชุกที่อยใู่ กล้
บริเวณที่เหยยี บ) จะต่อกบั โซ่ และถกู ดึงดว้ ยเกียร์ท่ีตอ่ กบั มอเตอร์ เพอ่ื ขบั เคล่ือนใหบ้ นั ไดเล่ือนน้นั หมุนไป ส่วน
ลูกลอ้ ชุดล่ำงน้นั เพยี งใหแ้ ต่ละข้นั ว่งิ ไปตำมรำงเท่ำน้นั

มือจับ

เน่ืองจำกระหวำ่ งข้นั บนั ได มีกำรเลื่อน จึงตอ้ งออกแบบเป็นร่องระหวำ่ งข้นั หนำ้ ท่ีของมอเตอร์ไฟฟ้ำ
อีกอย่ำงหน่ึงคือกำรหมุนมือจบั (Handrail) ทำดว้ ยยำง ซ่ึงเคล่ือนท่ีดว้ ยควำมเร็วเท่ำกับข้นั บนั ได เม่ือผูใ้ ช้
จบั ช่วยใหเ้ กิดควำมมนั่ คงไม่หกลม้

บนั ไดเลื่อนน้นั อำจจะไม่ดีเท่ำกบั ลิฟต์ เพรำะลิฟต์ ช่วยขนถ่ำยคนข้ึนลงสำหรับตึกสูงไดห้ ลำยช้นั และ
สำมำรถทำควำมเร็วไดม้ ำกกว่ำ แต่วำ่ มนั มีขอ้ ดีกวำ่ ลิฟต์ ในกรณีท่ีกำรข้ึนลงระหวำ่ งช้นั จะสำมำรถขนยำ้ ยคน
ไดจ้ ำนวนมำกและต่อเน่ือง โดยสำมำรถขนส่งผคู้ นไดเ้ ป็นจำนวนนบั หมื่นคนในหน่ึงชวั่ โมง เช่น ขณะท่ีคนแรก
เหยยี บลงบนข้นั บนั ได มนั จะเล่ือนไป มีท่ีวำ่ งใหค้ นถดั ไปเหยยี บไดท้ นั ที ไม่ตอ้ งรอเหมือนลิฟต์

มาตรฐานความกว้างของบันไดเลื่อน

Standard escalator step widths

Width (Between Width (Between

Size Balustrade Panels), in Badlustrade Panels), Single-step capacity Applications

Millimeters in Inches

Very 400 mm 16 in One passenger, with An older design, extremely
small
feet together rare today

Low-volume sites, uppermost

Small 600 mm 24 in One passenger levels of department stores,
when space is limited

Medium 800 mm 32 in One passenger + one Shopping malls, department
package or one piece stores, smaller airports
of luggage.

Two passengers — Mainstay of metro systems,

Large 1000 mm 40 in one may walk past larger airports, train stations,
another some retail usage

สรุปวิธีการตรวจสอบงานบนั ไดเลื่อน

ตรวจสอบน้ ำหนักของบันไดเล่ือนว่ำไม่เกินกำลังท่ี
โครงสร้ำงจะรับไวไ้ ด้ ตอ้ งเวน้ ช่วงว่ำงของโครงสร้ำง
สำหรับติดต้ังบันไดเล่ือนให้เพียงพอตำมท่ีกำหนดไว้
ตรวจบ่อ สำหรับชำนพกั บนั ไดเลื่อน ให้มีขนำดตำมท่ี
ผผู้ ลิตกำหนด

ตรวจชิ้นส่วนและอุปกรณ์ของบนั ไดเลื่อนให้ถูกตอ้ งตำม
รูปแบบรำยกำร ไม่ชำรุดเสียหำยหรือมีตำหนิจำกกำร
ขนส่ง ส่วนประกอบต่ำงๆมีครบถว้ นและอยู่ในสภำพดี
จัดเก็บรอติดต้ังไว้ในสถำนที่เหมำะสม ไม่เกิดควำม
เสียหำยใดๆข้ึนได้

เวน้ ระยะห่ำงของกำรติดต้งั ของบนั ไดเลื่อนใหถ้ ูกตอ้ งตำม
มำตรฐำนของผผู้ ลิต เมื่อติดต้งั เคยี งขำ้ งกนั จะตอ้ งจดั วำง
ใหข้ นำนกนั โดยใหม้ ีระยะห่ำงเท่ำกนั ตลอดควำมยำว จดั
ระดบั ลูกนอนบนั ไดใหอ้ ยใู่ นแนวระดบั ทุกข้นั

ตรวจกำรยึดขันสลักเกลียวทกตัวให้แน่นหนำแข็งแรง
ทุกๆจุด วสั ดุในกำรยดึ ต่อโครงเหล็กบนั ไดเล่ือน จะตอ้ ง
เป็ นชนิดท่ีผูผ้ ลิตเตรียมไวใ้ ห้ ตรวจรอยเช่ือมโครงเหล็ก
ใหอ้ ยใู่ นสภำพดีมีควำมปลอดภยั ต่อกำรใชง้ ำน

ตรวจวสั ดุอุปกรณ์ในกำรชกั ลำกบนั ไดเลื่อนให้ติดต้งั ได้
อย่ำงถูกวี แน่นหนำแข็งแรง ตรวจกำรทำงำนของ
อุปกรณ์ ให้ได้ตำมท่ีต้องกำร ประกอบชิ้นส่ วนให้
ครบถว้ นตำมที่ผูผ้ ลิตกำหนดไว้ ทำควำมสะอำดไม่ให้มี
เศษวสั ดุเขำ้ ไปติดขดั

ตรวจชนิด ขนำดของมอเตอร์ขบั เคล่ือนให้ถูกตอ้ งตำมท่ี
ผผู้ ลิตกำหนดไว้ ตำแหน่งกำรติดต้งั ให้ถูกตอ้ งและมนั่ คง
แข็งแรง ตรวจกำรต่อสำยไฟเขำ้ มอเตอร์ ทดสอบกำร
ทำงำนของมอเตอร์ใหใ้ ชง้ ำนไดต้ ำมที่ตอ้ งกำร

ตรวจลำดบั กำรติดต้งั บนั ไดเล่ือนใหถ้ ูกตอ้ งโดยติดต้งั จำก
ช้นั บนก่อนแลว้ จึงติดช้นั ล่ำงถดั ลงมำตำมลำดบั ไมใ่ หก้ ีด
ขวำงกัน อุปกรณ์ในกำรยกบันไดเล่ือนต้องแข็งแรง
พอท่ีจะทำงำนไดส้ ะดวก และปลอดภยั ตอ่ กำรใชง้ ำน

ตรวจกำรต่อวงจรไฟฟ้ำบนั ไดเล่ือนใหท้ ำงำนไดป้ ระกอบ
ชิ้นส่วนภำยนอกของบนั ไดเลื่อนให้ครบถว้ นมีอุปกรณ์
และมีสภำพเรียบร้อย ทดสอบกำรทำงำนของบนั ไดเลื่อน
จนแน่ใจวำ่ ใชง้ ำนไดต้ ำมตอ้ งกำรจึงรับมอบงำนได้

ตรวจขนำดและระดบั ของบ่อฐำนบนั ไดเลื่อนให้ถูกตอ้ ง
ตำมท่ีผูผ้ ลิตกำหนดไว้ เพ่ือให้สำมำรถติดต้งั บนั ไดเล่ือน
ให้อยู่ในตำแหน่งและระดบั ท่ีจะใช้งำนไดอ้ ย่ำงสมบูรณ์
มีควำมแขง็ แรงและปลอดภยั ต่อกำรใชง้ ำน

❖ ตรวจอุปกรณ์ที่ส่งมำพร้อมกนั ให้ครบถว้ นตำม
แบบ

❖ ตรวจแกนลอ้ เล่ือนใหม้ ีกำรยดึ อยำ่ งมนั่ คงแขง็ แรง

❖ ยดึ บนั ไดเล่ือนใหอ้ ยกู่ บั โครงสร้ำงอยำ่ งแขง้ แรง

❖ ตรวจกำรทำงำนของสวิตซป์ ิ ด –เปิ ด บนั ไดเลื่อน

❖ โครงเหลก็ ของบนั ไดเลื่อนตอ้ งมีสภำพดีไม่คดงอ

❖ โครงเหล็กบันไดต้องตรง ไม่บิดโค้งงอหรือ
ชำรุด

❖ ตรวจควำมหนำของโครงเหลก็ ใหไ้ ดต้ ำมกำหนด

❖ ควรป้องกนั เศษวสั ดุตำ่ งๆจะลงไปอดุ ตนั ดำ้ นใน

❖ คำนเหล็กท่ีใช้พำดต้องแข็งแรงพอท่ีใช้รับ
น้ำหนกั

❖ ขนำดรอกท่ีใช้ยกบันไดต้องรับน้ ำหนักได้
ปลอดภยั

❖ ติดต้ังบันไดเล่ือนจำกบนลงล่ำงเพ่ือไม่ให้กีด
ขวำงกนั

13.2 อธิบายเคร่ืองสูบนา้ สาหรับอาคาร

เคร่ืองปั๊มน้ำใชป้ ระโยชน์ในกำรส่งน้ำจำกท่ีหน่ึงไปอีกท่ีหน่ึงเพื่อให้ไดอ้ ตั รำกำรไหล(FLOW RATE)
ของน้ำตำมตอ้ งกำร ป๊ัมแบ่งตำมลกั ษณะของกำรทำงำนไดด้ งั น้ี คือ ป๊ัมที่ทำให้เกิดกำรดูดและกำรอดั เคลื่อนที่
แบบกลบั ไปมำ เหมำะสำหรับตอ้ งกำรควำมดนั สูง ป๊ัมที่ทำใหเ้ กิดกำรดูดและกำรอดั เคล่ือนที่แบบหมุน เหมำะ
สำหรับตอ้ งกำรควำมดนั สูง ปั๊มที่ทำให้เกิดกำรดูดและกำรอดั เคล่ือนที่แบบหมุน เหมำะสำหรับกำรควบคุมให้
ของเหลวไหลต่อเน่ืองสม่ำเสมอ ป๊ัมท่ีเร่งใหข้ องเหลวเกิดควำมเร็วสูงแลว้ เปล่ียนไปในรูปของควำมดนั ซ่ึงเป็น
ที่นิยมใชใ้ นงำนทว่ั ไปอยำ่ งแพร่หลำยมำกท่ีสุด แต่อยำ่ งไรกต็ ำมปั๊มแต่ละชนิดก็อำจมีขอ้ จำกดั จึงควรเลือกศึกษำ
รำยละเอียดเพิ่มเติมเพอ่ื กำรเลือกใชง้ ำนใหเ้ กิดประสิทธิภำพที่ดีและมีควำมประหยดั

กำรติดต้งั ป๊ัมเพ่ือใชง้ ำนน้ันตอ้ งคำนึงสถำนที่ให้เหมำะสม ไม่ควรเป็ นท่ีช้ืนแฉะและควรกวำ้ งพอท่ีจะ
เขำ้ ไปตรวจสอบ บำรุงรักษำไดส้ ะดวก สำมำรถระบำยควำมร้อนและระบำยอำกำศไดด้ ี แท่นยดึ ป๊ัมตอ้ งมน่ั คง
แข็งแรง ติดต้งั อุปกรณ์ป้องกนั กำรส่ันสะเทือนเพ่ือป้องกนั เสียงดงั ในกรณีท่ีแยกส่วนระหว่ำงตวั ป๊ัมกบั ตวั ขบั
ในกำรติดต้งั จะตอ้ งให้แนวเพลำตรงกันแลว้ ทำกำรขนั สลกั เกลียวให้แน่น และควรตรวจสอบแนวเพลำเป็ น
ระยะหลงั กำรใชง้ ำน

การแยกประเภทป๊ัม

ปัจจุบนั ได้มีกำรจดั แบ่งแยกประเภทของปั๊มหลำยรูปแบบ และมีกำรเรียกช่ือแตกต่ำงกนั ออกไปมำกมำย
ดงั น้นั จึงมีกำรจดั หมวดหม่อู อกไดเ้ ป็น 2 แบบดว้ ยกนั คือ

1. แ.ยกตามลกั ษณะการเพมิ่ พลงั งานให้แก่ของเหลว หรือการไหลของของเหลวในป้ัม ซ่ึงไดแ้ ก่

• ประเภทแบบป๊ัมแรงเหวี่ยง ( Centrifugal ) เพิ่มพลงั งำนให้แก่ของเหลวโดยอำศยั แรงเหว่ียงหนีจุด
ศูนยก์ ลำง ปั๊มแบบน้ีบำงคร้ังเรียกวำ่ เป็นแบบ Roto - dynamic

• ประเภทโรตารี่ ( Rotary ) เพมิ่ พลงั งำนโดยอำศยั กำรหมนุ ของฟันเฟื องรอบแกนกลำง
• ประเภทลูกสูบชัก ( Reciprocating ) เพิม่ พลงั งำนโดยอำศยั กำรอดั โดยตรงในกระบอกสูบ
• ประเภทพเิ ศษ ( Special ) ซ่ึงเป็นปั๊มท่ีมีลกั ษณะพเิ ศษไมส่ ำมำรถจดั ใหอ้ ยใู่ นสำมประเภทขำ้ งตน้ ได้

ในแต่ละประเภทตำมที่กล่ำวมำน้ียงั มีกำรดดั แปลงออกไปเป็นแบบตำ่ ง ๆ อีกหลำยแบบและมีชื่อเรียกของแต่
ละแบบแตกตำ่ งกนั ออกไป

2. แยกตามลกั ษณะการขบั ดันของเหลวในป๊ัม ซ่ึงแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทดว้ ยกนั คอื

• ประเภททางานโดยไม่อาศัยหลักการแทนท่ีของเหลว ( Dynamic ) ซ่ึงป๊ัมประเภทอำศยั แรงเหวยี่ งหนีจุด
ศนู ยก์ ลำงและแบบพเิ ศษจดั อยใู่ นกลุ่มน้ีดงั รูป

• ประเภททางานโดยอาศัยหลักการแทนท่ีของเหลว ( Positive Displacement ) คือ กำรเคลื่อนท่ีโดย
ชิ้นส่วนของเครื่องสูบ ปั๊มประเภทน้ีรวมแบบโรตำรี่และ แบบลูกสูบชกั เขำ้ อยใู่ นกลมุ่ เดียวกนั

นอกจำกกำรแบ่งเป็นสองแบบตำมที่กล่ำวขำ้ งตน้ แลว้ ยงั อำจแบ่งแยกปั๊มตำมวตั ถุประสงคก์ ำรใชง้ ำนของแต่ละ
ชนิดดว้ ย เช่น ป๊ัมดบั เพลิง ป๊ัมลม ปั๊มสุญญำกำศ ป๊ัมน้ำบำดำล เป็นตน้

o คณุ สมบัตขิ องปั๊มแต่ละชนดิ

ลกั ษณะและการทางานของเครื่องปั๊มแรงเหว่ียง

ปั๊มแรงเหว่ียง เป็ นป๊ัมที่ได้รับควำมนิยมในกำรใช้งำนสูงสุดเมื่อเทียบกบั ปั๊มชนิดอื่น ๆ เน่ืองจำกปั๊ม
ประเภทน้ีมีควำมยดื หยุ่นในกำรใชง้ ำนสูง เหมำะสมกบั กำรใชง้ ำนหลำยประเภทประกอบกบั กำรดูแลรักษำง่ำย
ส่วนประกอบของป๊ัมแรงเหวี่ยงดงั ท่ีแสดงในรูป มีใบพดั อยูใ่ นเส้ือเครื่องสูบรูปหอยโข่ง ( Volute Casing ) ให้
พลงั งำนแก่ของเหลวโดยกำรหมุนของใบพดั ทำใหส้ ำมำรถยกน้ำจำกระดบั ต่ำข้ึนไปสู่ระดบั สูงได้

หลักการทางาน คือ พลงั งำนจะเขำ้ สู่ปั๊มโดยผำ่ นเพลำซ่ึงมีใบพดั ติดอยู่ เม่ือใบพดั หมุนของเหลวภำยใน
ป๊ัมจะไหลจำกส่วนกลำงของใบพดั ไปสู่ส่วนปลำยของใบพดั ( Vane ) ซ่ึงจำกกำรกระทำของแรงเหวี่ยงจำกแผน่
ใบพดั น้ีจะทำใหเ้ ฮดควำมดนั ( pressure head ) ของเหลวเพิ่มข้นึ เมื่อของเหลวไดร้ ับควำมเร่งจำกแผน่ ใบพดั กจ็ ะ
ทำให้มีเฮดควำมเร็วสูงข้ึนส่งผลให้ของเหลวไหลจำกปลำยของใบพดั เขำ้ สู่เส้ือป๊ัมรูปหอยโข่ง แลว้ ออกไปสู่
ทำงออกของปั๊มในขณะเดียวกนั ก็เปลี่ยนเฮดควำมเร็วเป็ นควำมดนั ดงั น้ันเฮดท่ีให้แก่ของเหลวต่อหน่ึงหน่วย
ควำมหนกั เรียกวำ่ เฮดรวมของปั๊ม

ลกั ษณะและการทางานของเครื่องป๊ัมโรตารี่

ปั๊มโรตาร่ี ทำงำนโดยของเหลวถูกดูดเขำ้ และอดั ปล่อยออก โดยกำรหมุนรอบจุดศูนยก์ ลำงของเครื่องมือ
กล ซ่ึงมีช่องวำ่ งให้ของเหลวไหลเขำ้ ทำงดำ้ นดูด และเก็บอย่รู ะหวำ่ งผนงั ของห้องสูบกบั ชิ้นส่วนที่หมุนหรือโร
เตอร์ ( Rotor ) จนกว่ำจะถึงด้ำนจ่ำย กำรหมุนของโรเตอร์จะก่อนให้เกิดกำรแทนที่เป็ นกำรเพิ่มปริมำตรของ
ของเหลว ( positive Displacement ) ใหท้ ำงดำ้ นจ่ำย

1. ป๊ัมโรตารี่ชนิดเฟื อง ( Gear Pump ) เป็นชนิดท่ีใชก้ นั แพร่หลำยมำกท่ีสุด ซ่ึงประกอบดว้ ยฟันเฟื องหรือ
เกียร์สองตวั หมุนขบกนั ในหอ้ งสูบ ของเหลวจำกทำงดำ้ นดูดจะไหลเขำ้ ไปอยใู่ นร่องฟันซ่ึงจะหมนุ และ
พำของเหลวเข้ำไปสู่ทำงด้ำนจ่ำย ซี่ของฟันเฟื องซ่ึงอยู่ชิดกับผนังของห้องสูบ ป้องกันไม่ให้ของ
เหลวไหลยอ้ นมำสู่ทำงดำ้ นดูดได้ เมื่อมำถึงทำงดำ้ นจ่ำยแลว้ ร่องฟันเฟื องซ่ึงมีของเหลวบรรจุอยกู่ ็จะถูก
แทนที่ดว้ ยฟันจำกเฟื องอีกตวั หน่ึงซ่ึงขบกนั สนิทจนของเหลวไม่สำมำรถไหลผำ่ นฟันเฟื องไปสู่ดำ้ นดูด
ได้

2. ป๊ัมโรตารี่ชนิดครีบ ( Vane Pump ) ป๊ัมแบบน้ีมีห้องสูบเป็ นรูปทรงกระบอกและ มีโรเตอร์ซ่ึงเป็ น
ทรงกระบอกเหมือนกนั วำงเยอ้ื งศูนยใ์ หผ้ ิวนอกของโรเตอร์สัมผสั กบั ผนงั ของหอ้ งสูบท่ีก่ึงกลำงทำงดูด
กบั ทำงดำ้ นจ่ำย รอบ ๆ โรเตอร์จะมีครีบซ่ึงเลื่อนไดใ้ นแนวเขำ้ ออกจำกจุดศูนยก์ ลำงมำชนกบั ผนังของ
ห้องสูบ เม่ือโรเตอร์หมุนครีบเหล่ำน้ีก็จะกวำดเอำของเหลวซ่ึงอยู่ระหว่ำงโรเตอร์กับห้องสูบไปสู่
ทำงดำ้ นจ่ำย ปั๊มแบบน้ีไดเ้ ปรียบชนิดเฟื อง ( Gear Pump ) ตรงที่ว่ำ กำรสึกหรอของผนังห้องสูบหรือ
หลำยครีบจะไม่มีผลต่อประสิทธิภำพกำรทำงำนมำกเหมือนกำรสึกหรอของฟันเฟื อง เพรำะครีบ
สำมำรถเล่ือนออกมำจนชนกบั ผนงั ของหอ้ งสูบไดส้ นิท

3. ปั๊มโรตารี่ชนิดลอน ( Lobe Pump ) ป๊ัมชนิดน้ีมีลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั ชนิดเฟื อง ( Gear Pump ) แต่โร
เตอร์มีลกั ษณะเป็นลอนหรือพู สองถึงสี่ลอน ช่องว่ำงระหว่ำงลอนมีลกั ษณะแบนและกวำ้ ง ดงั น้นั อตั รำ
กำรสูบจึงสูงกวำ่ ชนิดแรง แต่เน่ืองจำกกำรถ่ำยทอดกำลงั หมุนของโรเตอร์แบบน้ีมีประสิทธิภำพต่ำมำก
จึงจำเป็นตอ้ งมีเฟื องนอกห้องสูบอีกชุดหน่ึงเพื่อช่วยให้จงั หวะกำรหมุนของโรเตอร์อำจมีไดต้ ้งั แต่หน่ึง
ถึงสำมตวั

4. ป๊ัมโรตารี่ชนิดสว่าน ( Screw Pump ) ป๊ัมชนิดน้ีเพิ่มพลงั งำน ให้แก่ของเหลวโดยอำศัยโรเตอร์ซ่ึงมี
ลกั ษณะเป็ นสว่ำนที่หมุน ในลกั ษณะขบั ดนั ให้ของเหลวเคล่ือนที่ไประหว่ำงร่องเกลียวสว่ำนกับผนัง
ของหอ้ งสูบจำกทำงดูดไปสู่ทำงจ่ำย จำนวนสวำ่ นหรือโรเตอร์อำจมีไดต้ ้งั แต่หน่ึงถึงสำมตวั

ลกั ษณะและการทางานของเครื่องป๊ัมลกู สูบชัก

ป๊ัมประเภทลกู สูบชกั ( Reciprocating Pump )

เป็ นประเภทที่เพ่ิมพลงั งำนให้แก่ของเหลวโดยกำรเคลื่อนท่ีของลูกสูบเขำ้ ไปอดั ของเหลวให้ไหลไปสู่ทำงดำ้ น
จ่ำย ปริมำตรของของเหลวที่สูบไดใ้ นแต่ละคร้ังจะเท่ำกบั ผลคูณของพ้ืนที่หน้ำตดั ของกระบอกสูบกบั ช่วงชกั
ของกระบอกสูบน้นั

ปั๊มประเภทพิเศษ ( Special Pump )

ปั๊มที่ใช้อยู่โดยทว่ั ๆ ไปเพ่ิมพลงั งำนให้แก่ของเหลวโดยอำศยั แรงเหวี่ยงหนีจุดศูนยก์ ลำงหรือ โดยกำรแทนท่ี
ของเหลวในห้องสูบด้วยกำรเคล่ือนท่ีของชิ้นส่วนป๊ัม อย่ำงไรก็ตำม ยงั มีปั๊มบำงประเภทท่ีทำงำนนอกเหนือ
กฎเกณฑด์ งั กล่ำวขำ้ งตน้

o การเลือกเครื่องปั๊มนา้

กำรเลือกเครื่องป๊ัมน้ำสำมำรถแบ่งออกได้ 2 ส่วนคือ บำ้ นพกั อำศยั อำคำรขนำดใหญ่และโรงงำน ดงั รำยละเอียด
ต่อไปน้ี

1. การเลือกเครื่องป๊ัมนา้ สาหรับบ้านพกั อาศัย

เครื่องป๊ัมน้ำสำหรับบำ้ นพกั อำศยั ส่วนใหญ่จะเป็นชนิดสำเร็จรูป ประกอบดว้ ยตวั ปั๊มและถึงควำมดนั ซ่ึง
จะมีอยู่หลำยรูปแบบ เช่น แบบน้ีเป็นตวั ปั๊มเกำะอยู่บนถงั ควำมดนั และมีฝำครอบท่ีเรียกวำ่ " ปั๊มกระป๋ อง " ตวั
ปั๊มจะควบคุมกำรทำงำนด้วยสวิทช์ควำมดัน ( Pressure Switch ) ซ่ึงจะทำงำนอตั โนมตั ิเมื่อมีกำรเปิ ดใช้น้ำใน
บำ้ น ควำมดนั ในท่อจะลดลงจนถึงค่ำท่ีต้งั ไว้ ป๊ัมก็จะทำงำนจ่ำยน้ำเขำ้ เส้นทอ่ เมื่อหยดุ หรือเปิ ดอุปกรณ์ ควำมดนั
จะเพ่ิมสูงข้ึนจนถึงค่ำที่ต้งั ไว้ ป๊ัมก็จะหยดุ เครื่องป๊ัมน้ำแบบน้ีมกั มีขนำดให้เลือกไม่มำกนกั เพรำะผลิตมำกเพื่อ
ใช้สำหรับบำ้ นขนำดเล็ก ๆ จนถึงขนำดกลำง ถำ้ เป็ นบ้ำนหรืออำคำรขนำดใหญ่ ตอ้ งใช้ชุดเคร่ืองปั๊มน้ำแบบ
Packaged booster Pump Set ซ่ึงจะจ่ำยน้ำไดใ้ นปริมำณสูงและเลือกควำมดนั ไดห้ ลำยระดบั

2. การเลือกเคร่ืองป๊ัมนา้ สาหรับอาคารขนาดใหญ่และโรงงานอตุ สาหกรรม

เคร่ืองป๊ัมน้ำสำหรับอำคำรขนำดใหญ่และโรงงำนอุตสำหกรรมน้นั จำเป็นตอ้ งพจิ ำรณำใหล้ ะเอียดมำกข้ึน
เน่ืองจำก มีขนำดใหญ่และมีเรื่องรำคำและค่ำกำรบำรุงรักษำ เขำ้ มำเก่ียวขอ้ ง ขอ้ มูลที่จำเป็นท่ีตอ้ งทรำบก่อนท่ีจะ
ทำกำรเลือกเคร่ืองปั๊มน้ำแรงเหวี่ยง ( Centrifugal ) มีดงั น้ี

1. ชนิดของน้ำ ที่ตอ้ งกำรสูบ อุณหภูมิ ควำมหนึด ควำมหนำแน่น
2. อตั รำกำรสูบ หรือ Flow rate ท่ีตอ้ งกำร
3. ควำมดนั หรือควำมสูงที่ตอ้ งยกน้ำน้นั ๆ ข้นึ ไป หรือท่ีเรียกกนั วำ่ HEAD
4. ควำมเร็วรอบของเครื่องป๊ัมน้ำที่เป็นไปได้

5. ค่ำ NPSHr หรือสภำวะทำงดำ้ นดูดของเคร่ืองป๊ัมน้ำนนั่ เอง
6. ตวั ขบั เคล่ือนท่ีเป็นไปไดข้ องสถำนที่ต้งั เครื่องป๊ัมน้ำน้นั
7. ลกั ษณะของระบบทอ่ ท่ีมี หรือจะตอ้ งมี System Head curve
8. ขอ้ มูลจำกผแู้ ทนจำหน่ำยเคร่ืองปั๊มน้ำ ไดแ้ ก่ Pump curve

o การใช้เคร่ืองป๊ัมน้าให้ประหยัดพลงั งาน

1. พยำยำมเลือกใช้เคร่ืองป๊ัมน้ำขนำดเล็กจำนวนหลำยตวั จะดีกว่ำใช้ขนำดใหญ่แต่มีจำนวนน้อย ท้งั น้ี
เนื่องจำกกำรสูบน้ำในขบวนกำรท่ัว ๆ ไป จะมีจุดกำรทำงำนที่แปรเปล่ียนไดใ้ นช่วงค่อนขำ้ งกวำ้ ง
เครื่องปั๊มน้ ำจึงมักทำงำน ท่ีจุดท่ีต่ำกว่ำควำมสำมำรถที่ทำได้เต็มที่ของมัน นั่นเป็ นเหตุที่ทำให้
ประสิทธิภำพต่ำไปดว้ ย ซ่ึงเรำสำมำรถแกไ้ ขปัญหำโดยกำรใชเ้ คร่ืองป๊ัมน้ำขนำดเล็กหลำยตวั ต่อขนำน
กนั เพอ่ื รองรับอตั รำกำรไหลท่ีไม่คงท่ี

2. ไม่ควรเผื่อขนำดเครื่องปั๊มน้ำใหม้ ีขนำดใหญ่จนเกินไปนกั ส่วนมำกมกั จะเผื่อสำหรับอนำคตไกล ๆ จะ
ทำให้ประสิทธิภำพกำรทำงำนต่ำสำหรับโหลดในปัจจุบนั น่ำจะเปลี่ยนกำรเผื่อพ้ืนท่ีติดต้งั เคร่ืองปั๊มน้ำ
เพม่ิ และติดต้งั เครื่องป๊ัมน้ำขนำดเลก็ ไปก่อน จะเหมำะสมกวำ่

3. ไม่ควรเลือกใช้ป๊ัมโดยเผ่ือขนำดใบพดั ให้เล็กกว่ำขนำดเต็มที่ของตวั เครื่องฉุดป๊ัมน้ำ เพรำะจะทำให้
ทำงำนที่ประสิทธิภำพต่ำ

4. เลือกเคร่ืองปั๊มน้ำซ่ึงมีจุดทำงำนอยใู่ นช่วงประสิทธิภำพสูงสุด โดยใกลเ้ คียงกบั จุดใชง้ ำนใหม้ ำกท่ีสุด
5. ควรคำนวณควำมเสียดทำนของระบบทอ่ โดยละเอียด ซ่ึงจะไดค้ ่ำ TDH ที่ถกู ตอ้ ง
6. เลือกใชม้ อเตอร์ประสิทธิภำพสูงในป๊ัมน้ำแทนกำรใชม้ อเตอร์แบบมำตรฐำนทวั่ ไป
7. กำรใช้ระบบปรับควำมเร็วรอบ ( VSD. Control ) ในป๊ัมน้ำแทนกำรปิ ดวำล์วหรือแทนกำร Bypass จะ

สำมำรถประหยดั พลงั งำนไฟฟ้ำไดม้ ำกกว่ำ เนื่องจำกผลกำรประหยดั พลงั งำนในป๊ัมจะแปรผนั ตรงกบั
ควำมเร็วรอบกำลงั สำม
8. กำรติดต้งั ระบบควบคุม PLG หรือเครื่องต้งั เวลำเพ่ือควบคุมกำรทำงำนและหยดุ กำรใชง้ ำนของปั๊มน้ำที่
ไมจ่ ำเป็นในช่วงเวลำคำ่ ควำมตอ้ งกำรสูงสุด ( On Peak )
9. กำรติดต้งั ระบบถงั เก็บน้ำใหเ้ พียงพอต่อควำมตอ้ งกำรน้ำในช่วงเวลำ On Peak เพื่อหลีกเลี่ยงกำรใชง้ ำน
ของปั๊มน้ำ
10. กำรจัดรำยกำรซ่อมบำรุงรักษำเครื่องปั๊มน้ำอย่ำงสม่ำเสมอ เพรำะกำรซ่อมบำรุงจะสำมำรถรักษำ
ประสิทธิภำพของป๊ัมน้ำใหส้ ูงอยเู่ สมอ และยงั เป็นกำรยดื อำยกุ ำรใชง้ ำนของป๊ัมน้ำใหย้ ำวนำนข้นึ

o การใช้งานและการบารุงรักษาเครื่องป๊ัมน้า

กำรใช้งำนและกำรบำรุงรักษำท่ีดีจะช่วยให้อำยุกำรใช้งำนของปั๊มน้ำยำวนำนมำกข้ึน และทำให้
ประสิทธิภำพของป๊ัมน้ำดีอยตู่ ลอด เป็นกำรช่วยประหยดั พลงั งำนและค่ำใชจ้ ่ำยของหน่วยงำนลงได้ ซ่ึงหลกั กำร
ใชง้ ำนและกำรบำรุงรักษำมีข้นั ตอนรำยละเอียดดงั น้ี

การเดินเคร่ือง

ข้นั ตอนในกำรเดินเคร่ืองให้ปั๊มน้ำทำงำนน้ันข้ึนอยู่กบั ชนิดของปั๊มน้ำและกำรติดต้งั ให้ป๊ัมน้ำน้ันทำงำน
ข้นั ตอนต่อไปน้ีเป็ นขอ้ แนะนำสำหรับป๊ัมน้ำประเภทแรงเหวี่ยงท่ีเหลำอยู่ในแนวนอน เมื่อจะเริ่มเดินเครื่องให้
ปฏิบตั ิดงั น้ี คือ

1. ปิ ดประตูจ่ำยน้ำทำงดำ้ นท่อจ่ำย โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงเมื่อเริ่มเดินเครื่องน้นั ไม่มีน้ำอยใู่ นท่อเลย ท้งั น้ีเพ่ือ
ป้องกนั มิให้อตั รำกำรสูบสูงมำกจนมอเตอร์ทำงำนเกินกำลงั เน่ืองจำกในขณะท่ีท่อแหง้ น้นั ควำมฝื ดจะ
นอ้ ยมำก ถำ้ ไม่ปิ ดประตูน้ำดำ้ นจ่ำยไวเ้ สียก่อนก็อำจจะทำให้อตั รำกำรสูบสูงกวำ่ ที่จุดให้ประสิทธิภำพ
สูงสุดมำก ทำใหม้ อเตอร์ทำงำนเกินกำลงั เกิดวอเตอร์แฮมเมอร์ในระบบท่อข้ึน และเกิดคำวเิ ตชนั่ ข้นึ ได้

2. ทำกำรกรอกน้ำให้น้ำเขำ้ มำหล่อเล้ียงห้องสูบจนเตม็ ก่อนจะเดินเครื่องตอ้ งแน่ใจว่ำมีน้ำในห้องสูบ ท้งั น้ี
เพรำะวำ่ ปั๊มส่วนใหญ่ตอ้ งมีน้ำมำหล่อลื่น และระยะบำยควำมร้อน ถำ้ เดินเครื่องโดยไม่มีน้ำหล่อเล้ียง
เป็นเวลำนำน แหวนกนั สึก , รองลื่น และดนั ร่ัวจะสึกกร่อน ใหม่ หรือชำรุดได้

3. ในกรณีที่กนั รั่ว ( Packing ) ออกแบบไวใ้ ห้มีน้ำหรือของเหลวอ่ืนมำหล่อเล้ียงก็ให้เปิ ดก๊อกให้น้ำหรือ
วสั ดุหลอ่ ลื่นเขำ้ มำหล่อเล้ียงไว้

4. เมื่อทกุ อยำ่ งพร้อมแลว้ กก็ ดป่ ุมเดินเครื่องป๊ัมน้ำได้
5. หลงั จำกมอเตอร์หรือเครื่องยนต์หมุนได้รอบเต็มที่และควำมดนั ในห้องสูบหรือหน้ำประตูน้ำข้ึนถึง

ระดบั กำหนดแลว้ ค่อย ๆ เปิ ดประตูจ่ำยน้ำทีละนอ้ ยจนกระทงั่ สุดหรือไดอ้ ตั รำที่ตอ้ งกำร

สำหรับป๊ัมบำงแบบ บริษทั ผผู้ ลิตจะยอมใหม้ ีกำรรั่วรอบ ๆ เพลำไดบ้ ำ้ งเล็กนอ้ ยเพ่อื ใหแ้ น่ใจวำ่ กนั รั่วที่เพลำน้นั มี
น้ำหล่อล่ืนอยเู่ พียงพอในขณะท่ีป๊ัมทำงำน

การหยุดเดินเครื่อง

ข้นั ตอนในกำรหยดุ เดินเครื่องป๊ัมน้ำก็คลำ้ ยกบั กำรเริ่มเดินเคร่ืองแต่ยอ้ นข้นั ตอนกนั กลำ่ วคือเมื่อตอ้ งกำรจะหยุด
ป๊ัมน้ำใหป้ ฏิบตั ิดงั น้ี

1. ปิ ดประตูจ่ำยน้ำอย่ำงชำ้ ๆ อยำ่ เปิ ดอยำ่ งรวดเร็ว หรือหยดุ เดินเครื่องโดยไม่มีกำรปิ ดประตูน้ำอยำ่ งชำ้ ๆ
เสียก่อน ท้งั น้ีเพรำะวำ่ อำจจะเกิดวอเตอร์แฮมเมอร์ข้ึนได้ ในกรณีท่ีตน้ กำลงั เป็นเคร่ืองยนตก์ ็อำจใชว้ ิธี
ลดควำมเร็วลงทีละนอ้ ยจนไดค้ วำมเร็วต่ำสุด แลว้ จึงค่อย ๆ ปิ ดประตูน้ำ

2. เม่ือปิ ดประตนู ้ำสนิทแลว้ จึงปิ ดสวิทซห์ ยดุ เดินเคร่ือง
3. ปิ ดก๊อกจ่ำยน้ำหรือของเหลวไปหล่อเล้ียงกนั ร่ัว

และเพ่ือให้ปั๊มน้ำมีอำยุกำรใช้งำนยำวนำน และไม่ตอ้ งหยุดทำงำนเพ่ือซ่อมแซมบ่อยคร้ัง ปั๊มน้ำขนำด
ใหญ่ทุกเคร่ืองควรมีสมุดประวตั ิกำรใช้งำนและบำรุงรักษำ ตลอดจนมีตำรำงเวลำสำหรับตรวจสอบและ
บำรุงรักษำที่แน่นอน รำยกำรตรวจสอบดังกล่ำวน้ีควรจะขอจำก บริษทั ผูผ้ ลิตป๊ัมน้ำเพรำะว่ำวิธีกำรอำจจะ
แตกต่ำงกนั ไปบำ้ งสำหรับปั๊มน้ำแตล่ ะแบบ

สำหรับปั๊มน้ ำประเภทแรงเหว่ียงชนิดเพลำนอนในแนวรำบ กำรตรวจสอบและบำรุงรักษำตำม
กำหนดเวลำต่ำง ๆ มีดงั น้ีคอื

การตรวจสอบและบารุงรักษาประจาวนั มดี ังนี้

1. อุณหภูมิของรองลื่น
2. ควำมดนั ทำงทอ่ ดูดและทอ่ จ่ำย
3. กำรรั่วจำกกนั ร่ัว ( Packing )
4. กำรหลอ่ ล่ืนกนั ร่ัวโดยดูจำกกำรไหลของของเหลวท่ีมำหลอ่ เล้ียง
5. โหลด ( Load ) ของเครื่องปั๊มน้ำ
6. ระดบั เสียงและกำรสัน่ สะเทือน
7. ระดบั น้ำมนั หล่อล่ืนที่มำเล้ียงรองล่ืน

การตรวจสอบและบารุงรักษาทกุ 6 เดือน มีดังนี้

1. กำรไดศ้ ูนยร์ ะหวำ่ งป๊ัมน้ำและตน้ กำลงั
2. กำรเติมน้ำมนั หรือไขใหก้ บั รองล่ืน

การตรวจสอบและบารุงรักษาประจาปี มีดังนี้

1. กำรรั่วตำมเพลำและกำรซ่อมบำรุงกนั ร่ัว
2. กำรสึกของปลอกเพลำ
3. ช่องวำ่ งระหวำ่ งใบพดั กบั แหวนกนั สึก
4. ทดสอบและปรับแกเ้ ก็จวดั ต่ำง ๆ ท่ีใชว้ ดั น้ำและกระแสไฟฟ้ำ
5. เปล่ียนน้ำมนั หลอ่ ลื่นและไขท่ีรองลื่น

สรุปวธิ ีการตรวจสอบระบบปั๊มนา้

ตรวจสอบสถำนีที่ติดต้งั ปั๊มน้ำให้ถูกตอ้ งตำมตำแหน่งที่ระบุไวใ้ น
แบบ ควรยกพ้ืนท่ีว่ำงโดยรอบเพื่อเขำ้ ไปตรวจสอบบำรุงรักษำเม่ือ
เกิดขดั ขอ้ งและดูแลตมกำหนดเวลำไม่ควรให้มีกำรกองวสั ดุใดๆ
กีดขวำง

ตรวจสอบกำรติดต้ังเครื่องปั๊มน้ำให้แข็งแรงมั่นคง มีอุปกรณ์
ป้องกันกำรส่ันสะเทือน เช่น สปริง หรือแผ่นยำงตำมท่ีผูผ้ ลิต
กำหนด หรือที่แบบระบุติดไว้ท่ีขำของเคร่ืองให้ถูกวิธี และ
ทดสอบวำ่ ไมม่ ีแรงสัน่ สะเทือนเกินกวำ่ กำหนด

ตรวจสอบน้ำหนกั ของเคร่ืองปั๊มน้ำวำ่ สำมำรถวำงบนพ้นื ท่ีรองรับ
ได้อย่ำงปลอดภัยตำมรู ปแบบท่ีกำหนด ตรวจดูว่ำได้มีกำร
ออกแบบโครงสร้ำงให้รองรับน้ ำหนักบรรทุกของเครื่ องปั๊ มน้ ำ
พร้อมอปุ กรณ์ตำ่ งๆไวเ้ พยี งพอแลว้

ตรวจสอบรำยละเอียดต่ำงๆเช่น ชนิด ขนำด คุณสมบตั ิของเคร่ือง
ปั๊มและอุปกรณ์ประกอบทุกชิ้นใหถ้ ูกตอ้ งตำมท่ีไดเ้ สนอขออนุมตั ิ
ไว้ ตรวจสภำพของเครื่องและชิ้นส่วนให้อยู่ในสภำพดีไม่ชำรุด
เสียหำยหรือมีตำหนิเนื่องจำกกำรขนส่ง

ปั๊มน้ำเพ่ือกำรดบั เพลิงน้นั จะตอ้ งบำรุงรักษำสภำพเครื่องยนตร์ วม
ไปถึงแบตเตอรี่ตำมกำหนดอย่ำงสม่ำเสมอ เพ่ือให้เครื่องสำมำรถ
ทำงำนไดท้ นั ทีเมื่อตอ้ งกำรที่จะใชง้ ำน ทดสอบประสิทธิภำพกำร
ทำงำนของเครื่องจนไดผ้ ลตำมตอ้ งกำร

ติดต้ังอุปกรณ์ประกอบท่อ ต่อเข้ำปั๊มน้ ำให้อยู่ในตำแหน่งที่
ถูกตอ้ ง ชนิด ขนำด คุณภำพ ให้ไดต้ ำมกำหนด ติดต้งั ขอ้ ต่ออ่อน
ประตูน้ำ สเตนเนอร์ตลอดจนมำตรวดั ควำมดนั ใหท้ ำงำนไดต้ ำม
ตอ้ งกำรทดสอบกำรทำงำนของระบบ

ตรวจสอบกำรติดต้งั อุปกรณ์ตำ่ งๆ ใหไ้ ดศ้ นู ยห์ นำ้ แปลนแนบสนิท
ปะเก็นถูกตอ้ งสมบูรณ์ไมฉ่ ีกขำดตรวจอุปกรณ์วดั ควำมดนั ใหอ้ ่ำน
ค่ำไดถ้ ูกตอ้ งไม่คลำดเคล่ือนโดย ทดสอบมำตรวดั ใหม้ ีควำม
ถูกตอ้ งตำมมำตรฐำน

ควรติดต้งั ขอ้ อ่อนระหวำ่ งตวั เคร่ืองซ่ึงมีกำรส่ันสะเทือนกบั ระบบ
ท่อเพ่ือป้ องกันระบบท่อเสี ยหำยหรื อรั่วซึ มจำกกำรสั่นสะเทื อน
ปรับแตง่ ระบบน้ำให้ถกู ตอ้ งตำมรูปแบบรำยกำรและมำตรฐำนของ
กำรใชง้ ำน รักษำเครื่องใหส้ ะอำด

ตรวจสอบกำรเขำ้ สำยไฟฟ้ำ แผงควบคุมและมอเตอร์ให้ถูกตอ้ ง
และแน่นหนำ ทดสอบฟังก์ชนั กำรทำงำนทุกฟังก์ชนั ให้สำมำรถ
ทำงำนได้ตำมตอ้ งกำรอุปกรณ์ไฟฟ้ำและแผงควบคุมจะตอ้ งใช้
วสั ดุที่ไดร้ ับอนุมตั ิแลว้

❖ จดั ตำแหน่งอุปกรณ์ภำยในหอ้ งปั๊มใหเ้ หมำะสม

❖ สำยไฟมอเตอร์ ควรร้อยท่อออ่ นชนิดกนั น้ำ

❖ ตรวจกำรทำงำนของประตคู วบคมุ กำรไหลของน้ำ

❖ ตรวจชนิดและขนำดของปั๊มน้ำใหถ้ ูกตอ้ งตำมแบบ

❖ ตรวจกำรทำงำนของแผงควบคมุ เครื่องป๊ัมน้ำ
❖ เดินทอ่ ผำ่ นโครงสร้ำง ตอ้ งแขง็ แรงและไมร่ ่ัวซึม
❖ ทดสอบประสิทธิภำพของป๊ัมเม่ือทดลองเดินเคร่ือง
❖ ตรวจสอบกำรต่อสำยไฟเขำ้ เครื่องใหไ้ ดม้ ำตรฐำน

❖ ตรวจอุปกรณ์ประกอบทกุ ชิ้นใหค้ รบถว้ นตำมแบบ
❖ ติดต้งั แผงควบคุมใหถ้ ูกตอ้ งตำมตำแหน่งที่ระบุ
❖ ทำควำมสะอำดพ้ืนที่บริเวณโดยรอบป๊ัมน้ำอยเู่ สมอ
❖ ชำระลำ้ งเศษปูนและสิ่งสกปรกออกจำกปั๊มใหห้ มด

❖ ตรวจกำรทำงำนของอุปกรณ์ควบคุมเครื่องอตั โนมตั ิ
❖ มำตรวดั ตำ่ งๆสำมำรถอำ่ นคำ่ ไดถ้ กู ตอ้ งตำมจริง
❖ ตรวจแรงส่นั สะเทือนของเคร่ืองไม่ให้เกินกำหนด
❖ ภำยในหอ้ งปั๊ม ควรจดั เตรียมใหม้ ีช่องระบำยน้ำ
❖ ยดึ หรือรองรับทอ่ อุปกรณ์ ใหแ้ น่นหนำแขง็ แรง

❖ ติดต้งั วำลว์ และอุปกรณ์ควรมีที่เขำ้ ไปซ่อมบำรุงได้

13.3 อธิบายอปุ กรณ์ระบบป้องกนั อคั คีภยั สาหรับอาคารได้

กฎหมำยกำหนดไวว้ ่ำอำคำรที่เป็นอำคำรสำธำรณะ,อำคำรขนำดใหญ่และอำคำรสูงตอ้ งมีขอ้ กำหนดสำหรับกำร
ป้องกนั อคั คีภยั ท่ีหลีกเลี่ยงมิไดเ้ ด็ดขำดแต่ใน อำคำรพกั อำศยั ทวั่ ไปไม่ว่ำจะเป็ นขนำดเล็กหรือขนำดใหญ่ เช่น
คอนโดมิเนียม อพำร์ทเมนท์ ก็จำเป็ นตอ้ งมีระบบป้องกันอคั คีภยั ตำมสมควรไวด้ ้วยท้งั น้ีเพื่อประโยชน์ และ
ควำมปลอดภยั แก่ชีวติ และทรัพยส์ ินของผอู้ ยอู่ ำศยั

การป้องกนั อคั คภี ัยสามารถกระทาได้ 2 ลกั ษณะคือ

1. กำรป้องกนั อคั คีภยั วิธี Passive
- เริ่มจำกกำรจดั วำงผงั อำคำรใหป้ ลอดภยั ต่ออคั คีภยั คือกำรวำงผงั อำคำรใหส้ ำมำรถป้องกนั อคั คีภยั จำกกำรเกิด
เหตุสุดวิสัยได้ มีวิธีกำรไดแ้ ก่ เวน้ ระยะห่ำงจำกเขตที่ดิน เพ่ือกนั กำรลำมของไฟตำมกฎหมำย กำรเตรียมพ้นื ที่
รอบอำคำร สำหรับเขำ้ ไปดบั เพลิง ไดเ้ ป็นตน้
- กำรออกแบบอำคำร คือกำรออกแบบใหต้ วั อำคำรมีควำมสำมำรถในกำรทนไฟ หรืออยำ่ งนอ้ ยใหม้ ีเวลำพอ
สำหรับหนีไฟได้ นอกเหนือจำกน้นั ตอ้ งมีกำรออกแบบที่ทำใหก้ ำรเขำ้ ดบั เพลิงทำไดง้ ่ำย และมีกำรอพยพคน
ออกจำกอำคำรไดส้ ะดวก มีทำงหนีไฟที่ดีมีประสิทธิภำพ
2. กำรป้องกนั อคั คีภยั วิธี Active คือกำรป้องกนั โดยใชร้ ะบบเตือนภยั ,กำรควบคุมควนั ไฟ,ระบำยควนั ไฟและ
ระบบดบั เพลิงท่ีดี
- ระบบสัญญำณแจง้ เหตเุ ตือนภยั เป็นระบบ ท่ีบอกให้คนในอำคำรทรำบวำ่ มีเหตุฉุกเฉิน จะไดม้ ีเวลำสำหรับกำร
เตรียมตวั หนีไฟ หรือดบั ไฟไดม้ ีอุปกรณ์ในกำรเตือนภยั 2 แบบ คือ อุปกรณ์ตรวจจบั เพลิงไหม้ (Fire Detector)
อนั ไดแ้ ก่อุปกรณ์ตรวจจบั ควำมร้อน (Heat Detector) และอุปกรณ์ตรวจจบั ควนั (Smoke Detector) อีกแบบหน่ึง
คอื อปุ กรณ์แจง้ เหตดุ ว้ ยมือ เป็นอปุ กรณ์ท่ีให้ ผพู้ บเหตเุ พลิงไหม้ ทำกำรแจง้ เตือนมีท้งั แบบมือดึงและผลกั
- ระบบดับเพลิงด้วยน้ำคือระบบท่ีมีกำรเก็บกกั น้ำสำรอง ท่ีมีแรงดันพอสมควร และเมื่อมีเหตุเพลิงไหมจ้ ะ
สำมำรถใช้ระบบดบั เพลิง ในกำรดบั ไฟไดร้ ะบบน้ีจะประกอบไปดว้ ยถึงน้ำสำรองดบั เพลิง ซ่ึงตอ้ งมีปริมำณ

สำหรับใชด้ บั เพลิงได1้ - 2 ชม.และประกอบดว้ ย ระบบส่งน้ำดบั เพลิงไดแ้ ก่ เคร่ืองสูบระบบทอ่ แนวต้งั แนวนอน
, หัวรับน้ำดับเพลิง, สำยส่งน้ำดับเพลิง, หัวกระจำยน้ำดับเพลิง นอกจำกน้ียงั มีระบบดับเพลิงด้วยน้ำแบบ
อตั โนมัติ โดยท่ีเคร่ืองท่ีอยู่บน เพดำนห้องจะทำงำน เมื่อมีปริมำณควำมร้อนที่สูงข้ึน จนทำให้ส่วนที่เป็ น
กระเปำะบรรจุปรอทแตกออก แลว้ น้ำดบั เพลิงท่ีตอ่ ทอ่ ไว้ กจ็ ะกระจำยลงมำดบั ไฟ
- เครื่องดบั เพลิงแบบมือถือ เป็ นอุปกรณ์ขนำดเล็ก ขำ้ งในบรรจุสำรเคมีสำหรับดบั เพลิงแบบต่ำง ๆ ในกรณีที่
เพลิงมีขนำดเลก็ กส็ ำมำรถใชเ้ ครื่องดบั เพลิงขนำดเลก็ หยดุ ย้งั กำรลุกลำมของไฟได้
- ลิฟตส์ ำหรับพนกั งำนดบั เพลิงสำหรับอำคำรสูง กฎหมำยจะกำหนดใหม้ ีลิฟตส์ ำหรับพนกั งำนดบั เพลิงทำงำน
ในกรณีไฟไหม้ โดยแยกจำกลิฟตใ์ ชง้ ำนปกติทวั่ ไป ซ่ึงจะทำใหก้ ำรผจญเพลิง และกำรช่วยเหลือผูป้ ระสบเหตุทำ
ไดม้ ีประสิทธิภำพมำกข้นึ
- ระบบควบคุมควนั ไฟ กำรสำลกั ควนั ไฟเป็นสำเหตุหลกั ของกำรเสียชีวติ ในเหตุไฟไหม้ อำคำรจึงตอ้ งมีระบบ ที่
จะทำให้มีกำรชะลอ กำรแพร่ ของควนั ไฟ โดยมำกจะใช้กำรอดั อำกำศลงไปในจุดท่ีเป็ นทำงหนีไฟ, โถงบนั ได
และโถงลิฟต์ โดยไม่ให้ควนั ไฟลำมเขำ้ ไป ในส่วนดงั กล่ำว เพ่ิมระยะเวลำกำรหนีออกจำกอำคำร และมีกำรดูด
ควนั ออกจำกตวั อำคำรดว้ ย

อปุ กรณ์เร่ิมสัญญาณแบบอตั โนมัติ (Automatic Initiation Devices) มหี ลายชนดิ ดงั นี้

1. อปุ กรณ์ตรวจจบั ควนั (Smoke Detector) แบง่ ออกเป็น 2 แบบดงั น้ี

1.1 อุปกรณ์ตรวจจบั ควนั ชนิดไอออนไนเซชนั่ (Ionization Smoke Detector) อุปกรณ์ชนิดน้ี เหมำะสำหรับใช้
ตรวจจบั สัญญำณควนั ในระยะเริ่มตน้ ท่ีมีอนุภำคของควนั เล็กมำก Ionization Detector ทำงำนโดยใชห้ ลกั กำร
เปล่ียนแปลงคุณลกั ษณะทำงไฟฟ้ำ โดยใช้สำรกมั มนั ตภำพรังสี ปริมำณน้อยมำกซ่ึงอยู่ใน Chamber ซ่ึงจะทำ
ปฎิกิริยำกับอำกำศท่ีอยู่ระหว่ำงข้ัวบวกและลบ ทำให้ควำมนำไฟฟ้ำ (Conductivity) เพิ่มข้ึนมีผลให้กระแส
สำมำรถไหลผ่ำนไดโ้ ดยสะดวก เมื่อมี อนุภำคของควนั เขำ้ มำใน Sensing Chamber น้ี อนุภำคของควนั จะไป
รวมตวั กบั อิออน จะมี ผลทำให้กำรไหลของกระแสลดลงด้วย ซ่ึงทำให้ตวั ตรวจจบั ควนั แจง้ สถำนะ Alarm
ทนั ที

1.2 อุปกรณ์ตรวจจับควนั ชนิดโฟโต้อิเลคตริก (Photoelectric Smoke Detector) เหมำะสำหรับ ใช้ตรวจจับ
สัญญำณควนั ในระยะที่มีอนุภำคของควนั ท่ีใหญ่ข้ึน Photoelectric Smoke Detector ทำงำนโดยใช้หลักกำร
สะทอ้ นของแสง เม่ือมีควนั เขำ้ มำใน ตวั ตรวจจบั ควนั จะไปกระทบกบั แสงที่ ออกมำจำก Photoemiter ซ่ึงไม่ได้
ส่องตรงไปยงั อุปกรณ์รับแสงPhoto receptor แต่แสงดงั กล่ำว บำงส่วนจะสะทอ้ นอนุภำคควนั และหักเหเขำ้ ไป
ท่ีPhoto receptor ทำใหว้ งจรตรวจจบั ของตวั ตรวจ จบั ควนั ส่งสัญญำณแจง้ Alarm

2. อุปกรณ์ตรวจจบั ควำมร้อน (Heat Detector)

อุปกรณ์ตรวจจบั ควำมร้อน เป็ นอุปกรณ์แจง้ อคั คีภยั อตั โนมตั ิรุ่นแรกๆ มีหลำยชนิด ซ่ึงนบั ไดว้ ่ำเป็น อุปกรณ์ที่
รำคำถูกท่ีสุดและ มีสัญญำณหลอก (Fault Alarm) นอ้ ยท่ีสุดในปัจจุบนั อุปกรณ์ตรวจจบั ควำมร้อน ท่ีนิยมใชก้ นั
มีดงั ตอ่ ไปน้ี

2.1 อุปกรณ์ตรวจจบั ควำมร้อนชนิดจบั อตั รำกำรเพ่ิมของอุณหภูมิ (Rate-of-Rise Heat Detector) อุปกรณ์ชนิดน้ี
จะทำงำน เมื่อมีอตั รำกำรเพ่ิมของอุณหภูมิ เปล่ียนแปลงไปต้งั แต่ 10 องศำ เซลเซียส ใน 1 นำที ส่วนลกั ษณะกำร
ทำงำนอำกำศ ในส่วนดำ้ นบน ของส่วนรับควำมร้อนเม่ือถูก ควำมร้อน จะขยำยตวั อย่ำงรวดเร็วมำกจนอำกำศท่ี
ขยำยไม่สำมำรถเล็ดลอดออกมำในช่องระบำย ได้ ทำให้เกิดควำมดนั สูงมำกข้ึนและไปดนั แผ่นไดอะแฟรมให้
ดนั ขำคอนแทคแตะกนั ทำใหอ้ ุปกรณ์ ตรวจจบั ควำมร้อน น้ีส่งสัญญำณ ไปยงั ตคู้ วบคมุ

2.2 อปุ กรณ์ตรวจจบั ควำมร้อนชนิดจบั อณุ หภมู ิคงท่ี (Fixed Temperature Heat Detector)
อุปกรณ์ชนิดน้ีจะทำงำน เมื่ออุณหภูมิของ Sensors สูงถึงจุดท่ีกำหนดไวซ้ ่ึงมีต้งั แต่ 60 องศำเซล เซียสไปจนถึง
150 องศำเซลเซียส กำรทำงำนอำศัยหลกั กำรของโลหะสองชนิด เม่ือถูกควำมร้อน แลว้ มีสัมประสิทธ์ิกำร
ขยำยตวั แตกต่ำงกนั เม่ือนำโลหะท้งั สองมำแนบติดกนั (Bimetal) และให้ ควำมร้อนจะเกิดกำรขยำยตวั ท่ีแตกต่ำง
กนั ทำใหเ้ กิดบิดโคง้ งอไปอีกดำ้ นหน่ึง เม่ืออุณหภูมิลดลง กจ็ ะคืนสู่สภำพเดิม
2.3 อุปกรณ์ตรวจจบั ควำมร้อนชนิดรวม (Combination Heat Detector) อุปกรณ์ชนิดน้ีรวมเอำ คุณสมบตั ิของ
Rate of Rise Heat และ Fixed Temp เขำ้ มำอยใู่ นตวั เดียวกนั เพ่อื ตรวจจบั ควำม ร้อนที่เกิดไดท้ ้งั สองลกั ษณะ

3. อปุ กรณ์ตรวจจบั เปลวไฟ (Flame Detector)

โดยปกติจะนำไปใช้ในบริเวณพ้ืนที่อนั ตรำยและมีควำมเสี่ยงในกำรเกิดเพลิงไหมส้ ูง (Heat Area) เช่น คลงั จ่ำย
น้ำมนั , โรงงำน อุตสำหกรรม, บริเวณเก็บวสั ดุท่ีเม่ือติดไฟจะเกิดควนั ไม่มำก หรือบริเวณที่ง่ำยต่อกำร ระเบิด
หรือง่ำยต่อกำรลุกลำม อุปกรณ์ตรวจจบั เปลวไฟ จะดกั จบั ควำมถี่คลื่นแสงในย่ำนอุลตร้ำไวโอเล็ท ซ่ึง มีควำม
ยำวคล่ืนอยู่ในช่วง 0.18-0.36 ไมครอนท่ีแผ่ออกมำจำก เปลวไฟเท่ำน้นั แสงสว่ำงที่เกิดจำกหลอดไฟและ แสง
อินฟรำเรดจะไม่มีผลทำใหเ้ กิด Fault Alarm ได้ กำรพิจำรณำเลือกติดต้งั อปุ กรณ์ตรวจจบั ในบริเวณตำ่ งๆ เรำจะ
คำนึงเรื่องควำมปลอดภยั ของชีวิต, ควำมเส่ียงต่อกำรเกิดอคั คีภยั ในบริเวณต่ำงๆ และลกั ษณะของเพลิงท่ีจะเกิด
เพ่อื ที่จะติดต้งั อุปกรณ์ตรวจจบั ที่ เหมำะสมสถำนท่ี และไม่สิ้นเปลืองคำ่ ใชจ้ ่ำยมำกเกินไป

การออกแบบระบบสัญญาณเตือนอคั คีภยั

ปัจจยั ที่ตอ้ งพิจำรณำในกำรออกแบบ
1. ควำมสูงของเพดำน : มีผลกบั จำนวนอุปกรณ์ตรวจจบั ท่ีตอ้ งใช้ต่อพ้ืนที่ ควำมร้อนหรือควนั ท่ีลอยข้ึนมำ ถึง
อุปกรณ์ตรวจจบั ท่ีติดต้งั บน เพดำนสูง จะตอ้ งมี ปริมำณควำมร้อน หรือควนั ท่ีมำกกวำ่ เพดำนต่ำ เพื่อใหอ้ ุปกรณ์
ตรวจจบั ทำงำน ในเวลำที่เท่ำกนั จึงตอ้ งลดระยะห่ำง ระหว่ำงตวั ตรวจจบั เพ่ือให้ระบบเสริมกำลงั ตรวจจบั ให้
ละเอียดถ่ีข้นึ เรำจะพิจำรณำกำหนดระยะ จดั วำงตวั ตรวจจบั ท่ีติดบนเพดำน
2. สภำพแวดลอ้ ม : อุณหภูมิ,ไอน้ำ,ลม,ฝ่ นุ ,สิ่งบดบงั ,ประเภทวสั ดุที่อยบู่ ริเวณน้นั ฯลฯ จะมีผลกบั กำรเลือกชนิด
ของอุปกรณ์ตรวจจบั และตำแหน่งกำรติดต้งั เช่น ตวั จบั ควนั จะไม่เหมำะกบั บริเวณที่มีฝ่นุ ,ไอน้ำและลม Rate of
Rise Heat Detector ไม่เหมำะที่จะติดไวใ้ นห้องBoiler ถำ้ เป็ นสำรติดท่ีติด ไฟแต่ไม่มีควนั ก็จำเป็ นตอ้ งใช้ Flame
Detector ดงั น้นั เรำจะตอ้ งมีพ้นื ฐำน เขำ้ ใจหลกั กำรทำงำนของ ตวั ตรวจจบั แต่ละชนิด
3. ระดับควำมสำคญั และควำมเส่ียง : เรำควรเลือกใช้อุปกรณ์ท่ีตรวจจบั ได้ไวท่ีสุด เพื่อรับรู้เหตุกำรณ์ ทนั ที
ก่อนที่จะลุกลำมใหญ่โต ในบำงสถำนที่อำจมีปัจจยั เสี่ยงต่ำ เช่น เป็นพ้ืนที่ท่ีอยู่ในระยะของสำยตำของเจำ้ หนำ้ ท่ี
ประจำตลอดเวลำ บริเวณที่ไมม่ ีวตั ถุติดไฟ หรือติดไฟยำก สำหรับบริเวณที่อำจเสี่ยงต่อกำรสูญเสียชีวิตเรำจะตอ้ ง
ใชอ้ ุปกรณ์ที่แจง้ เหตุไดเ้ ร็วที่สุดไวก้ ่อนไดแ้ ก่ ตวั จบั ควนั
4. เงินงบประมำณที่ต้งั ไว้ : งบลงทุนเป็นขอ้ จำกดั ทำให้ไม่สำมำรถเลือกอปุ กรณ์ตรวจจบั ชนิดที่ดีท่ีสุด ติดต้งั ไว้
ทุกจุดในอำคำรเพรำะรำคำสูง จำตอ้ งยอมเลือกชนิดที่มีรำคำถกู ไปแพง
อุปกรณ์ที่รับรู้เหตุไดไ้ วจะมีรำคำแพงกวำ่ แต่อำจจะไม่เหมำะสมกบั บำงสถำนที่ เรำจะตอ้ งพิจำรณำกบั ขอ้ อื่นดว้ ย

ใบงานท่ี 13 หน่วยที่ 13
สอนคร้ังที่13
วชิ า การควบคมุ และวางแผนการก่อสร้างงานโยธา รหัสวิชา 30121-2101 เวลา 3 ชั่วโมง
ชื่อหน่วย งานไฟฟ้า งานระบบสื่อสาร
ช่ืองาน งานระบบเคร่ืองกลประกอบอาคาร

จุดประสงค์
เมื่อฝึกกำรปฏิบตั ิงำนตำมใบงำนน้ีแลว้ นกั ศึกษำจะสำมำรถ
1. อธิบำยอุปกรณ์ขนส่งสำหรับอำคำรได้
2. อธิบำยเครื่องสูบน้ำสำหรับอำคำรได้
3. อธิบำยอปุ กรณ์ระบบป้องกนั อคั คภี ยั สำหรับอำคำรได้

เคร่ืองมือ - อปุ กรณ์
1.เอกสำรใบงำน

ลาดบั ข้นั การปฏบิ ัติงาน
1. ครูบอกช่ือเคร่ืองมือ และประโยชน์กำรใชง้ ำนของงำนระบบเครื่องกลประกอบอำคำร
ประเภทตำ่ งๆ ทีละชิ้น
2. ครูอธิบำยขอ้ ควรระวงั ในกำรใชง้ ำน และจุดท่ีตอ้ งระวงั เป็นพเิ ศษของเครื่องมือ
แตล่ ะชิ้น
3. ครูสำธิตวธิ ีใชเ้ คร่ืองมือโดยสังเขป
4. ใหน้ กั ศึกษำปฏิบตั ิกำรบำรุงรักษำเครื่องมืองำนระบบเครื่องกลประกอบอำคำรประเภทตำ่ งๆ
5. ใหน้ กั ศึกษำสรุปกำรใชง้ ำนและกำรบำรุงรักษำเครื่องมืองำนระบบเครื่องกลประกอบอำคำรประเภท
ต่ำงๆ โดยรำยงำนในสมุด

การประเมินผล
1. นกั ศึกษำสำมำรถอธิบำยกำรควบคมุ งำนและตรวจสอบงำนก่อสร้ำงได้
2.ประเมินผลจำกผลกำรปฏิบตั ิใบงำน

แบบประเมินผลก่อนเรียนหน่วยท่ี 13 เรื่อง งานระบบเคร่ืองกลประกอบอาคารประเภทต่างๆ

คาสั่ง จงอธิบำยคำถำมและหวั ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี
1. จงอธิบำยระบบกำรทำงำนของเคร่ืองป๊ัมน้ำและมีประโยชน์ในดำ้ นใดบำ้ งต่อกำรดำเนินชีวติ

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
2. เรำจดั แยกประเภทของปั๊มน้ำอยำ่ งไร จงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
3. จงบอกคุณสมบตั ิของป๊ัมน้ำแต่ละชนิด และ หลกั กำรทำงำน

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………
4.กำลงั ท่ีตอ้ งกำรและประสิทธิภำพของเครื่องป๊ัมน้ำ กำลงั งำน หมำยถึง

……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
ซ่ึงกำลงั งำนที่ใชใ้ นกำรคำนวณเกี่ยวกบั ป๊ัมมีอยู่ 2 ส่วนดว้ ยกนั คือ
1……………………………………………………………………………………………………..
2. ……………………………………………………………………………………………………

5.จงอธิบำยวธิ ีกำรเลือกปั๊มน้ำของบำ้ นพกั อำศยั อำคำรขนำดใหญแ่ ละโรงงำน
…………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………….
6. จงแนะนำวธิ ีกำรเลือกเคร่ืองป๊ัมน้ำใหป้ ระหยดั พลงั งำนมำ 7 ขอ้

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………..........
7. อธิบำยวิธีกำรใชง้ ำนและกำรบำรุงรักษำเครื่องป๊ัมน้ำมำพอเขำ้ ใจ

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
8. ระบบกำรป้องกนั อคั คีภยั สำมำรถกระทำได้ 2 ลกั ษณะ คืออะไรอธิบำยระละเอียดแต่ละ่ วธิ ี

1……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

2……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

9. อปุ กรณ์เริ่มสญั ญำณแบอตั โนมตั ิ มีหลำยชนิด เช่น อธิบำยอปุ กรณ์แตล่ ่ะชนิด
……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………
10. ปัจจยั ที่ตอ้ งพิจำรณำในกำรออกแบบสญั ญำณเตือนอคั คภี ยั คือ จงอธิบำยมำเป็นขอ้ ๆ

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

แบบประเมินผลก่อนเรียนหน่วยท่ี 13 เร่ือง งานระบบเครื่องกลประกอบอาคารประเภทต่างๆ

คาส่ัง จงอธิบำยคำถำมและหวั ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี
1. จงอธิบำยระบบกำรทำงำนของเครื่องปั๊มน้ำและมีประโยชนใ์ นดำ้ นใดบำ้ งต่อกำรดำเนินชีวิต

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
2. เรำจดั แยกประเภทของปั๊มน้ำอยำ่ งไร จงอธิบำย

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
3. จงบอกคณุ สมบตั ิของป๊ัมน้ำแต่ละชนิด และ หลกั กำรทำงำน

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………
4.กำลงั ท่ีตอ้ งกำรและประสิทธิภำพของเคร่ืองป๊ัมน้ำ กำลงั งำน หมำยถึง

……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
ซ่ึงกำลงั งำนที่ใชใ้ นกำรคำนวณเก่ียวกบั ป๊ัมมีอยู่ 2 ส่วนดว้ ยกนั คือ
1……………………………………………………………………………………………………..
2. ……………………………………………………………………………………………………

5.จงอธิบำยวิธีกำรเลือกปั๊มน้ำของบำ้ นพกั อำศยั อำคำรขนำดใหญแ่ ละโรงงำน
…………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………….
6. จงแนะนำวธิ ีกำรเลือกเคร่ืองปั๊มน้ำใหป้ ระหยดั พลงั งำนมำ 7 ขอ้

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………..........
7. อธิบำยวธิ ีกำรใชง้ ำนและกำรบำรุงรักษำเคร่ืองป๊ัมน้ำมำพอเขำ้ ใจ

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
8. ระบบกำรป้องกนั อคั คีภยั สำมำรถกระทำได้ 2 ลกั ษณะ คืออะไรอธิบำยระละเอียดแต่ละ่ วิธี

1……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

2……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

9. อปุ กรณ์เร่ิมสัญญำณแบอตั โนมตั ิ มีหลำยชนิด เช่น อธิบำยอุปกรณ์แตล่ ่ะชนิด
……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………
10. ปัจจยั ท่ีตอ้ งพิจำรณำในกำรออกแบบสัญญำณเตือนอคั คีภยั คอื จงอธิบำยมำเป็นขอ้ ๆ

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจัดการเรียนรู้

วิชา การควบคมุ และวางแผนการก่อสร้างงานโยธา รหัสวิชา 30121-2101

หน่วยที่ 14 เรื่อง ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน เวลา 3 ชั่วโมง

หัวเร่ือง-หัวข้อย่อย
14.1 ควำมรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั ควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำน
14.2 กฎหมำยและมำตรฐำนที่เก่ียวขอ้ งกบั ควำมปลอดภยั
14.3 สำเหตแุ ละกำรป้องกนั อุบตั ิเหตุในงำนก่อสร้ำง

สาระสาคัญ
1. ในกำรปฏิบัติงำนก่อสร้ำงเพื่อให้เกิดควำมปลอดภัยน้ัน ผูท้ ำกำรก่อสร้ำงจำเป็ นต้องทรำบถึง

ควำมสำคญั ของควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำนซ่ึงจดั ว่ำมีควำมสำคญั เป็ นอนั ดบั แรกในหน่อยงำนก่อสร้ำง
รวมท้งั แรงจูงใจในกำรพฒั นำมำตรกำรคุม้ ครองควำมปลอดภยั ซ่ึงโดยทว่ั ไปจะประกอบด้วย ขอ้ พิจำรณำ
ทำงดำ้ นขอ้ กำหนดและกฎหมำย ขอ้ พจิ ำรณำทำงดำ้ นมนุษยธรรม และขอ้ พจิ ำรณำทำงดำ้ นตน้ ทนุ ของโครงกำร

2. ข้อกำหนดและกฎหมำยนับเป็ นแรงจูงใจสำคัญอย่ำงหน่ึงท่ีจะพัฒนำมำตรกำรคุ้มครองควำม
ปลอดภยั ให้เกิดข้ึนในหน่วยงำนก่อสร้ำง โดยทว่ั ไปขอ้ กำหนดและกฎหมำยที่เกี่ยวขอ้ งกับควำมปลอดภยั ซ่ึง
ออกเป็นประกำศกระทรองมหำดไทย มีจำนวนท้งั สิ้น 18 ฉบบั นอกจำกน้ีเพ่ือเตรียมกำรรองรับกำรแข่งขนั ของ
อุตสำหกรรมกำรก่อสร้ำงในอนำคต อนั มีผลตอ่ เน่ืองมำจำกกำรขยำยตวั ทำงเศรษฐกิจของประเทศและของโลก
ไดม้ ีกำรกำหนดใหใ้ ชอ้ นุกรมมำตรฐำนที่เกี่ยวขอ้ งกบั ควำมปลอดภยั แก่ มำตรฐำนระบบกำรจดั กำรอำชีวอนำมยั
และควำมปลอดภยั หรือ มอก.18000

3. โดยทว่ั ไปกำรเกิดอุบตั ิเหตุในหน่วยงำนก่อสร้ำงจะก่อใหเ้ กิดควำมเสียหำยท้งั ต่ออำคำรท่ีก่อสร้ำงและ
ต่อบุคลำกรท่ีทำงำนในหน่วยงำนน้นั ในฐำนะของผทู้ ำกำรก่อสร้ำงและผคู้ วบคุมงำนจำเป็นตอ้ งทรำบถึงสำเหตุ
ของอุบตั ิเหตุของอุบตั ิเหตุท่ีอำจจะเกิดข้ึนเพ่ือจะไดเ้ ตรียมหำวิธีป้องกนั ไวล้ ่วงหนำ้ รวมท้งั ควรมีแนวทำงและ
วิธีกำรในกำรตรวจสอบระบบกำรป้องกนั น้ันอย่ำงสม่ำเสมอ อุบตั ิเหตุที่เกิดข้ึนในงำนก่อสร้ำงประกอบดว้ ย
อุบตั ิเหตจุ ำกงำนครงสร้ำง อุบตั ิเหตุจำกกระแสไฟฟ้ำ อุบตั ิเหตจุ ำกสำเหตธุ รรมชำติ

จุดประสงค์การเรียน การสอน
จุดประสงคท์ วั่ ไป
เม่ือศึกษำจบหน่วยกำรเรียนน้ีแลว้ นกั ศึกษำจะสำมำรถ
1. อธิบำยควำมรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำนได้
2. อธิบำยกำรกฎหมำยและมำตรฐำนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ควำมปลอดภยั ได้
3. อธิบำยสำเหตุและกำรป้อกนั อุบตั ิเหตใุ นงำนก่อสร้ำงได้

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
เม่ือศึกษำจบหน่วยกำรเรียนน้ีแลว้ นกั ศึกษำจะสำมำรถ
1.บอกควำมสำคญั ของควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำนได้
2.อธิบำยขอ้ พิจำรณำทำงดำ้ นมนุษยธรรมได้
3.อธิบำยขอ้ พิจำรณำทำงดำ้ นตน้ ทนุ โครงกำรได้

กจิ กรรมการเรียน- การสอน
กจิ กรรมครู กจิ กรรม การสอน
ข้นั นำ
อธิบำย ควำมสำคญั ประโยชน์ ของควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำนเพื่อนำเขำ้ สู่บทเรียน
ข้นั ใหข้ อ้ มลู
1.อธิบำย ควำมหมำย ควำมสำคญั เน้ือหำสำระ เร่ืองควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำน
ในเอกสำรประกอบกำรสอน
2. อธิบำยกระบวนกำรงำนก่อสร้ำง ควำมรู้พ้นื ฐำน หนำ้ ที่ ของควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิงำน
3. มอบหมำยงำนใหน้ กั ศึกษำปฏิบตั ิงำน ตำมใบงำน และควบคมุ ดูแลกำรปฏิบตั ิงำนของนกั ศึกษำ
4. ตรวจผลงำนกำรปฏิบตั ิงำน และรำยงำนกำรปฏิบตั ิงำนของนกั ศึกษำ

ข้ันสรุป
สรุปสำระสำคญั เรื่องหลกั ปฏิบตั ิในกำรควบคมุ และกำรตรวจงำนและสรุปผลจำกกำร ปฏิบตั ิงำนตำมใบ
งำน

กจิ กรรมนกั ศึกษา กจิ กรรม การเรียน
1. บอกจุดประสงคก์ ำรเรียนรู้
2. ครูบรรยำยสำระสำคญั
3. นกั เรียนทำกำรอภิปรำยกลุม่ ยอ่ ย
4. นกั เรียนทำกิจกรรมตำมท่ีครูมอบหมำย
5. ครุและนกั เรียนช่วยกนั สรุป
6.นกั เรียนทำกิจกรรมตำมท่ีครุมอบหมำย
7.นกั เรียนทำแบบประเมินผลกำรเรียนรู้

ส่ือการเรียนรู้
1. เอกสำรประกอบกำรสอนวชิ ำกำรควบคุมและวำงแผนกำรก่อสร้ำงงำนโยธำ
2. ส่ือแผน่ ใส และสื่อนำเสนอ (Presentation)
3. ส่ือ power point
4.ใบงำน
5.แบบประเมินผลกำรเรียนรู้

ประเมนิ ผล
1. แบบประเมินผลหลงั กำรเรียน
2. ประเมินผลจำกใบงำน
3. กำรทำแบบประเมินผลกำรเรียนรู้

บรรณานุกรม

หน่วยท่ี 14
ความปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ าน

14.1 ความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

งำนก่อสร้ำงในประเทศไทยไดก้ ำ้ วรุดหนำ้ และเพ่ิมปริมำณข้ึนมำก แต่ส่ิงที่มกั มองขำ้ มและเกิดข้ึนเป็ น
เงำตำมกำรปฏิบตั ิงำนในงำนก่อสร้ำง คือ อุบตั ิเหตุ ซ่ึงกำรเกิดอุบตั ิเหตุในแต่ละคร้ัง ก่อให้เกิดควำมสูญเสียท้งั
ชีวิต และทรัพยส์ ินอยำ่ งประมำณค่ำมิไดค้ วำมสูญเสียจำกงำนก่อสร้ำงในปัจจุบนั ไดท้ วคี วำมถี่และควำมรุนแรง
เพิ่มข้ึนทุกขณะจำกกำรรวบรวมจำนวนกำรประสบอันตรำยท้ังสิ้น 2,529 งำน ก่อสร้ำงมีจำนวนผูป้ ระสบ
อนั ตรำยท้งั สิน 2,889 คน ในจำนวนน้ีมีผูเ้ ส่ียงต่อกำรเกิดอนั ตรำยจำกงำนก่อสร้ำง ดงั น้นั กำรป้องกนั อุบตั ิเหตุ
และกำรลดกำรเกิดอุบตั ิเหตุ จึงเป็นเร่ืองท่ีตอ้ งรีบเร่ง และใหม้ ีกำรปฏิบตั ิอย่ำงจริงจงั ท้งั น้ีเพ่ือลดควำมสูญเสียท้งั
ชีวติ และทรัพยส์ ินที่อำจจะเกิดข้ึน

สาเหตขุ องการเกดิ อุบัติเหตุ
สิ่งท่ีส่งผลให้ควำมถ่ีและควำมรุนแรงของกำรเกิดอุบตั ิเหตุในงำนก่อสร้ำง คือ กำรนำเอำเทคโนโลยี

อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจกั ร อนั ทนั สมยั มำใช้เพ่ือทุ่นแรงและประหยดั เวลำ ไม่เพียงพอแต่ควำมปลอดภยั ใน
งำนก่อสร้ำงไม่ไดว้ ิวฒั นำกำรตำมเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั แลว้ ควำมปลอดภยั พ้ืนฐำนในงำนก่อสร้ำงยงั ถูกละเลย
ขำดควำมสนใจ และเอำใจใส่จำกผูร้ ับเหมำและผูเ้ ก่ียวขอ้ งต่ำง ๆ อย่ำงจริงจงั นอกจำกน้ีคนงำนยงั ขำดควำมรู้
ควำมเขำ้ ใจ และจิตสำนึกควำมปลอดภยั ในกำรปฏิบตั ิอย่ำงถูกตอ้ งเหมำะสม อุบตั ิเหตแุ ละโศกนำฏกรรมจึงยงั คง
เกิดซ้ำแลว้ ซ้ำเล่ำอยเู่ ช่นน้ีองคป์ ระกอบของควำมปลอดภยั ในงำนก่อสร้ำงงำนก่อสร้ำงเป็นงำน ซ่ึงมีกระบวนกำร
ข้นั ตอนในกำรดำเนินงำนท่ีมำกมำย และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ วิถีทำงหน่ึงของกำรป้องกนั กำรเกิดอุบตั ิเหตุใน
งำนก่อสร้ำง คือกำรจดั ใหม้ ีควำมปลอดภยั ในงำนก่อสร้ำงออกเป็น 3 ส่วนคือ

1.ความปลอดภัยในสถานที่

สถำนที่ก่อสร้ำง หมำยถึง อำณำบริเวณท้งั หมดที่เก่ียวขอ้ งกบั กำรก่อสร้ำง มิใช่เฉพำะบริเวณท่ีกำลงั ดำเนินกำร
ก่อสร้ำงเท่ำน้ัน แต่รวมไปถึงบริเวณที่จดั เก็บวสั ดุ โกดังเก็บเคร่ืองมือ เครื่องจกั ร และอื่นๆ เป็ นตน้ จึงควรมี
ขอ้ กำหนดและแนวกำรปฏิบตั ิในสถำนท่ีก่อสร้ำงข้ึน เพอ่ื ใหเ้ กิดควำมปลอดภยั กบั คนงำน ดงั น้ี
- กำรทำร้ัวก้นั โดยรอบบริเวณก่อสร้ำงท้งั หมด เพื่อป้องกนั ผูไ้ ม่เก่ียวขอ้ งเขำ้ มำในเขตก่อสร้ำง ถำ้ เป็ นอำคำรสูง
อยูใ่ กลช้ ุมชนนอกจำกกำรทำร้ัว ก้นั แลว้ ควรทำหลงั คำคลุมทำงเดินท่ีติดร้ัวก้นั น้นั ดว้ ย เพื่อป้องกนั เศษวสั ดุตก
ใส่ผสู้ ญั จรไปมำภำยนอก
- ในสถำนท่ีก่อสร้ำงตอ้ งมีกำรแบ่งเขตก่อสร้ำงอย่ำงชดั เจน โดยแบ่งเขตที่พกั อำศยั ออกจำกบริเวณก่อสร้ำง ท่ี
จดั เก็บเครื่องมือเครื่องจกั ร ท่ีเกบ็ วสั ดุและอุปกรณ์ท่ีใชแ้ ลว้ หรือยงั ไม่ใชอ้ อกเป็นระเบียบ ป้ำยสัญลกั ษณ์หรือป้ำย
เตือนภยั ตำ่ ง ๆ สถำนที่ท่ีอนั ตรำยทุกแห่งในเขตก่อสร้ำงตอ้ งมีป้ำยแสดงอนั ตรำย หรือขอ้ ควรปฏิบตั ิสำหรับผเู้ ขำ้
ไปในบริเวณดงั กล่ำว ซ่ึงป้ำยสญั ลกั ษณ์น้ีตอ้ งมีขนำดดงั กล่ำว ซ่ึงป้ำยสัญลกั ษณ์น้ีตอ้ งมีขนำดพอเหมำะและเห็น
ไดช้ ดั เจน ภำพแสดงและตวั อกั ษรตอ้ งเป็นส่ือสำกลที่ทกุ คนสำมำรถเขำ้ ใจไดง้ ำ่ ย
- รอบตวั อำคำรมีแผน่ ก้นั กนั วตั ถุตกลงมำ และมีตำข่ำยคลุมอีกช้นั อำคำรขณะก่อสร้ำงในที่มีช่องเปิ ดหรือที่ไม่มี
ผนงั ก้นั ควรทำรำวก้นั และมีตำข่ำยเสริมเพ่อื ป้องกนั กำรตก

2.ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองมือเคร่ืองจกั ร
เคร่ืองมือเครื่องจกั รที่ใช้ในกำรก่อสร้ำงมีจำนวนมำกมำยต้งั แต่ขนำดใหญ่มำก เช่น ป้ันจนั่ รถยกเคร่ือง

ตอกเสำเข็ม จนถึงขนำดเล็ก เช่น เครื่อง เจียร สวำ่ นไฟฟ้ำ คอ้ น เป็ นตน้ อนั ตรำยที่เกิดจำกกำรใชเ้ ครื่องมือหรือ
เคร่ืองจกั ร จึงมีมำกตำมจำนวนอุปกรณ์และจำนวนผใู้ ช้ ควำมปลอดภยั ในกำรใชเ้ คร่ืองมือ เคร่ืองจกั รจึงเป็ นส่ิง
สำคญั ซ่ึงผปู้ ฏิบตั ิงำนควรใชอ้ ยำ่ งถูกตอ้ ง ดงั เช่น
- กำรใชต้ อ้ งไม่ผดิ วตั ถปุ ระสงคข์ องอุปกรณ์ หรือเครื่องมือ เครื่องจกั รน้นั เช่น มกั พบว่ำมีกำรใชป้ ้ันจนั่ ไปใชใ้ น
กำรดึงหรือลำกของท่ีมีน้ำหนกั มำก ๆ หรือกำรใชล้ ิฟตส์ ่งวสั ดุในกำรข้นึ ลงของคนงำน ซ่ึงเป็นเรื่องไมค่ วรปฏิบตั ิ
อยำ่ งยงิ่ ในทำงปฏิบตั ิกำรใช้อุปกรณ์เคร่ืองมือเคร่ืองจกั รอยำ่ งเหมำะสมและถูกตอ้ งตำมประเภทของงำน จะทำ
ใหเ้ กิดประสิทธิผล และไม่ประสบอนั ตรำยจำกใชอ้ ปุ กรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองจกั รน้นั ๆ
- เคร่ืองมือเครื่องจกั รที่ใช้ไฟฟ้ำ หรือน้ำมนั เพลิง ขอ้ ควรปฏิบตั ิเคร่ืองมือเครื่องจกั รที่ตอ้ งใชไ้ ฟฟ้ำน้ัตอ้ งมีกำร
เกินสำยไฟอยำ่ งปลอดภยั มีฉนวนหุม้ โดยตลอด และหำกตอ้ งทำงำนใกลก้ บั บริเวณท่ีมีไฟฟ้ำหน่วยงำนของกำร
ไฟฟ้ำทรำบทุกคร้ัง เพื่อจดั กำรป้องกันอนั ตรำยซ่ึงอำจเกิดข้ึน หรือบริเวณท่ีมีกำรเก็บเช้ือเพลิง ห้ำมจุดไฟหรือ
บริเวณท่ีมีกำรเกบ็ เช้ือเพลิง หำ้ มจุดไฟหรือสูบบหุ รี่อยำ่ งเด็ดขำด
- เคร่ืองมือเครื่องจกั ร ตอ้ งมีกำร์ด ระบบควำมปลอดภยั ห้ำมถอดหรือปิ ดระบบควำมปลอดภยั ดงั กล่ำว หำก
เครื่องมือเครื่องจกั รใดยงั ไม่มี ควรจดั ใหม้ ีกำร์ดและระบบควำมปลอดภยั อยำ่ งเหมำะสมทนั ที

- ก่อนและหลงั กำรใชเ้ ครื่องมือเคร่ืองจกั รทุกคร้ังตอ้ งมีกำรตรวจสอบและซ่อมแซมแกไ้ ขก่อนหรือ
หลงั กำรใชท้ ุกคร้ัง
3.ความปลอดภยั ส่วนบคุ คล
สำเหตุหน่ึงของกำรเกิดอุบตั ิเหตุข้ึนในงำนก่อสร้ำงน้นั มำจำกผปู้ ฏิบตั ิงำน กำรควบคุมและกำรป้องกนั ไม่ใหเ้ กิด
อบุ ตั ิเหตขุ ้นึ น้นั จำเป็นตอ้ งใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงำนทุกคนในบริเวณทำกำรก่อสร้ำงปฏิบตั ิในงำนก่อสร้ำงในเร่ืองของ
- กำรแต่งกำยของผูป้ ฏิบตั ิงำนควรเป็ นชุดที่รัดกุมไม่ปล่อยชำยเส้ือหรือแขนเส้ือลุกลุ่ย กำรใส่ผำ้ ถุง (คนงำน
หญิง) ซ่ึงอำจทำให้เกิดกำรเกี่ยวสะดุด หรือกำรดึงเขำ้ ไปในเคร่ืองจกั รได้ รวมท้งั กำรไม่ใส่รองเทำ้ หรือใส่อย่ำง
ไมเ่ หมำะสม เช่น รองเทำ้ แตะ เป็นตน้
- กำรละเลยหรือกำรไม่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัยส่วนบุคคลให้เหมำะสมในงำนก่อสร้ำง
ผปู้ ฏิบตั ิงำนทุกคนควรสวมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองควำมปลอดภยั ส่วนบุคคลอย่ำงเหมำะสม เช่น หมวกนิรภยั ทุก
คนควรจะสวมอยู่เป็ นประจำ เขม็ ขดั นิรภยั เม่ือคนงำนทำงำนบนที่สูง สวมรองเทำ้ ยำงหุ้มแข็งและใสถุงมือยำง
ในกำรผสมคอนกรีต เป็นตน้
- หำ้ มดื่มสุรำเครื่องดองของมึนเมำ หำ้ มเล่นหรือหยอกลอ้ กนั ในระหวำ่ งกำรปฏิบตั ิงำนอยำ่ งเด็ดขำด ผฝู้ ่ำฝืนควร
ไดร้ ับกำรลงโทษ เพรำะเป็น สำเหตหุ น่ึงท่ีทำใหเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุอยำ่ งคำดไมถ่ ึง
- จดั ใหม้ ีกำรอบรมผูป้ ฏิบตั ิงำนใหต้ ระหนกั ถึงอนั ตรำย วิธีกำรปฏิบตั ิอย่ำงปลอดภยั กฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และ
ขอ้ ปฏิบตั ิที่ควรทรำบ และส่ิงท่ีสำคญั ย่ิง คือกำรสร้ำงจิตสำนึก ควำมปลอดภยั ใหเ้ กิดข้ึนในคนงำนทุกคน ไม่ว่ำ
จะปฏิบตั ิอะไรก็ตำมควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนตอ้ งมำเป็นอนั ดบั แรก เสมอ
- ตรวจสุขภำพคนงำน และตรวจประจำปี เพื่อทดสอบควำมพร้อมของร่ำงกำยคนงำนและเพ่ือเป็ นกำรสกดั ก้นั
โรคจำกำรทำงำน ซ่ึงอำจเกิดได้ สำหรับผูท้ ี่ตอ้ งปฏิบตั ิงำนภำยใตค้ วำมกดอำกำศสูงตอ้ งให้แพทยท์ ำกำรตรวจ
วินิจฉยั วำ่ แขง็ แรงสมบรู ณ์ และมีคุณสมบตั ิเหมำะสมก่อนเขำ้ ปฏิบตั ิงำน ทุกคร้ัง
- จัดให้มีหน่วยงำนปฐมพยำบำล และหน่วยฉุกเฉินข้ึนภำยในหน่วยก่อสร้ำง เพื่อเป็ นกำรช่วยเหลือ
ผไู้ ดร้ ับบำดเจ็บ และเพ่ือเป็นกำรระงบั เหตุ อนั ตรำยต่ำง ๆ ที่อำจจะเกิดข้ึน ซ่ึงอำจทวีควำมรุนแรงไปยงั บริเวณ
ใกลเ้ คยี งได้

14.2 กฎหมายและมาตรฐานทีเ่ กย่ี วข้องกบั ความปลอดภยั

อำศยั อำนำจตำมควำมในมำตรำ ๖ และมำตรำ ๑๐๓ วรรคหน่ึง แห่งพระรำชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงำน
พ.ศ. ๒๕๔๑ อนั เป็นกฎหมำยท่ีมีบทบญั ญตั ิบำงประกำรเกี่ยวกบั กำรจำกดั สิทธิและเสรีภำพของบคุ คล ซ่ึงมำตรำ
๒๙ ประกอบกับมำตรำ ๓๓ มำตรำ ๔๑ และมำตรำ ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจกั รไทย บญั ญัติให้

กระทำไดโ้ ดยอำศยั อำนำจตำมบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมำย รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงแรงงำนออกกฎกระทรวงไว้
ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขอ้ ๑ กฎกระทรวงน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั เมื่อพน้ กำหนดเกำ้ สิบวนั นบั แตว่ นั ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
เป็นตน้ ไป
ขอ้ ๒ ในกฎกระทรวงน้ี
“งำนก่อสร้ำง” หมำยควำมว่ำ กำรประกอบกำรเก่ียวกบั กำรก่อสร้ำงสิ่งก่อสร้ำงทุกชนิด เช่นอำคำร สนำมบิน
ทำงรถไฟ ทำงรถรำง ถนน อุโมงค์ ท่ำเรือ อู่เรือ คำนเรือ สะพำนเทียบเรือสะพำน ทำงน้ำ ท่อระบำยน้ำ ประปำ
ร้ัว กำแพง ประตู ป้ำยหรือส่ิงที่สร้ำงข้ึนสำหรับติดหรือต้งั ป้ำยพ้ืนท่ีหรือส่ิงก่อสร้ำงเพื่อจอดรถ กลบั รถ และ
ทำงเขำ้ ออกของรถ และหมำยควำมรวมถึงกำรต่อเติมซ่อมแซม ซ่อมบำรุง ดดั แปลง เคลื่อนยำ้ ย หรือกำรร้ือถอน
ทำลำยส่ิงก่อสร้ำงน้นั ดว้ ย
“อำคำร” หมำยควำมวำ่ อำคำรตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรควบคุมอำคำร
“เขตก่อสร้ำง” หมำยควำมว่ำ พ้ืนท่ีที่ดำเนินกำรก่อสร้ำง รวมท้งั พ้ืนท่ีโดยรอบบริเวณซ่ึงนำยจำ้ งไดก้ ำหนดข้ึน
ตำมกฎกระทรวงน้ี
“เขตอนั ตรำย” หมำยควำมว่ำ บริเวณท่ีเป็ นสถำนที่ท่ีกำลงั ก่อสร้ำง ที่ติดต้งั นง่ั ร้ำน ใชป้ ้ันจน่ั หรือใชเ้ คร่ืองจกั ร
หรืออุปกรณ์ไฟฟ้ำเพื่อกำรก่อสร้ำง พ้ืนท่ีที่เป็ นทำงลำเลียงวสั ดุเพ่ือกำรก่อสร้ำง หรือพ้ืนท่ีที่ใชเ้ ป็ นสถำนที่เก็บ
เช้ือเพลิง วตั ถุระเบิด หรือวสั ดุก่อสร้ำง
“อุปกรณ์ไฟฟ้ำ” หมำยควำมวำ่ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ หรือเครื่องจกั รท่ีใชไ้ ฟฟ้ำเป็นตน้ กำลงั หรือเป็นส่วนประกอบ
หรือใชเ้ กี่ยวเนื่องกบั ไฟฟ้ำ
“เสำเขม็ ” หมำยควำมว่ำ สิ่งซ่ึงทำให้จมลงไปในพ้ืนดินเพื่อรับน้ำหนกั ของโครงสร้ำงต่ำง ๆโดยถ่ำยน้ำหนกั จำก
โครงสร้ำงอำคำรหรือส่ิงก่อสร้ำงอื่นสู่ดินช้นั ลำ่ ง หรือเพ่อื ใชเ้ ป็นกำแพงกนั ดิน
“เสำเขม็ เจำะ” หมำยควำมวำ่ เสำเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหรือไม่เสริมเหลก็ ท่ีก่อสร้ำงโดยวิธีกำรขุดหรือเจำะเอำ
ดินออก แลว้ เทคอนกรีตลงในหลมุ ที่ขดุ หรือเจำะน้นั
“กำรตอกเสำเขม็ ” หมำยควำมวำ่ วธิ ีกำรทำใหเ้ สำเขม็ จมลงไปในพ้นื ดินตำมควำมตอ้ งกำรโดย
ใชน้ ้ำหนกั ตอกหรือกด
“เคร่ืองตอกเสำเข็ม” หมำยควำมว่ำ เครื่องจกั รท่ีใชใ้ นกำรตอกเสำเข็ม ประกอบดว้ ยโครงสร้ำงและเคร่ืองตน้
กำลงั ซ่ึงอำจแยกออกจำกกนั หรือรวมเป็นชุดเดียวกนั กไ็ ด้
“แคร่ลอย” หมำยควำมวำ่ เรือ แพ โป๊ ะ หรือส่ิงอื่นท่ีมีลกั ษณะเดียวกนั ท่ีใชใ้ นงำนก่อสร้ำง

“กำแพงพืด” หมำยควำมว่ำ กำแพงหรือผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก ซ่ึงเป็ นกำแพงกนั ดินหรือผนงั ของโครงสร้ำง
ส่วนท่ีอยใู่ ตด้ ิน ก่อสร้ำงโดยวธิ ีกำรขดุ หรือเจำะเอำดินออก แลว้ เทคอนกรีตลงในร่องท่ีขดุ หรือเจำะน้นั
“ค้ำยนั ” หมำยควำมวำ่ โครงชว่ั ครำวที่รองรับ ยึดโยง หรือเสริมควำมแข็งแรงของโครงสร้ำงนง่ั ร้ำน หรือแบบ
หล่อคอนกรีต ในระหวำ่ งกำรก่อสร้ำง
“เครื่องจกั ร” หมำยควำมว่ำ ส่ิงที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลำยชิ้นสำหรับก่อกำเนิดพลงั งำนเปลี่ยนหรือแปลง
สภำพพลังงำน หรือส่งพลังงำน ท้ังน้ี ด้วยกำลังน้ำ ไอน้ำ เช้ือเพลิง ลม ก๊ำซ ไฟฟ้ำหรือพลังงำนอื่น และ
หมำยควำมรวมถึงเคร่ืองอุปกรณ์ ลอ้ ตุนกำลงั รอก สำยพำน เพลำ เฟื อง หรือสิ่งอื่นที่ทำงำนสัมพนั ธ์กนั รวมท้งั
เคร่ืองมือกล
“ป้ันจนั่ ” หมำยควำมว่ำ เคร่ืองจกั รที่ใช้ยกส่ิงของข้ึนลงตำมแนวดิ่งและเคล่ือนยำ้ ยส่ิงของเหล่ำน้ันในลกั ษณะ
แขวนลอยไปตำมแนวรำบและหมำยควำมรวมถึงเคร่ืองจกั รประเภทรอกที่ใชย้ กสิ่งของข้ึนลงในแนวด่ิงดว้ ย
“ลิฟต์ขนส่งวสั ดุชวั่ ครำว” หมำยควำมว่ำ เครื่องสำหรับใช้ขนส่งวสั ดุข้ึนลงเพ่ือประโยชน์ในกำรก่อสร้ำง ซ่ึง
ประกอบดว้ ยหอลิฟตห์ รือปลอ่ งลิฟต์ ตวั ลิฟต์ และเครื่องจกั ร
“ลิฟต์โดยสำรชว่ั ครำว” หมำยควำมว่ำ เคร่ืองสำหรับใช้ขนส่งบุคคลข้ึนลงเพ่ือประโยชน์ในกำรก่อสร้ำง ซ่ึง
ประกอบดว้ ยหอลิฟตห์ รือปล่องลิฟต์ ตวั ลิฟต์ และเคร่ืองจกั ร

“ลวดสลิง” หมำยควำมวำ่ เชือกที่ทำดว้ ยเส้นลวดหลำยเสน้ ท่ีตีเกลียวหรือพนั กนั รอบแกนช้นั เดียวหรือหลำยช้นั
“นั่งร้ำน” หมำยควำมว่ำ ท่ีทำงำนซ่ึงจัดไวส้ ูงจำกพ้ืนดินหรือจำกพ้ืนของอำคำรหรือส่วนของงำนก่อสร้ำง
สำหรับเป็นที่รองรับผทู้ ำงำนหรือวสั ดุในงำนก่อสร้ำงเป็นกำรชว่ั ครำว
“งำนก่อสร้ำงในน้ำ” หมำยควำมวำ่ กำรก่อสร้ำงทุกประเภทในน้ำหรือบนสิ่งก่อสร้ำงซ่ึงอยู่ในน้ำและรวมถึงกำร
ก่อสร้ำงที่ใชแ้ คร่ลอย
“คำ่ ควำมปลอดภยั ” หมำยควำมวำ่ อตั รำส่วนของหน่วยแรงหรือน้ำหนกั บรรทกุ ท่ีคำดวำ่ จะทำใหเ้ กิดกำรวบิ ตั ิต่อ
หน่วยแรงหรือน้ำหนกั บรรทุกที่ใชง้ ำนจริง
“วิศวกร” หมำยควำมว่ำ ผูซ้ ่ึงได้รับใบอนุญำตเป็ นผูป้ ระกอบวิชำชีพวิศวกรรมควบคุมตำมกฎหมำยว่ำด้วย
วิศวกร
“ผคู้ วบคุมงำน” หมำยควำมว่ำ ผูซ้ ่ึงรับผิดชอบในกำรอำนวยกำรหรือควบคุมดูแลงำนก่อสร้ำงตำมลกั ษณะและ
ประเภทของงำน
“ผบู้ งั คบั เคร่ืองตอกเสำเข็ม” หมำยควำมว่ำ ผูซ้ ่ึงมีหน้ำที่บงั คบั กำรทำงำนของเครื่องตอกเสำเข็มให้ทำงำนตำม
ควำมตอ้ งกำร
“ผบู้ งั คบั ป้ันจน่ั ” หมำยควำมวำ่ ผซู้ ่ึงมีหนำ้ ท่ีบงั คบั กำรทำงำนของป้ันจนั่ ใหท้ ำงำนตำมควำมตอ้ งกำร

ขอ้ ๓ ใหน้ ำยจำ้ งจดั ทำแผนงำนดำ้ นควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนสำหรับงำนก่อสร้ำง

ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) งำนอำคำรซ่ึงมีพ้ืนท่ีรวมกนั ทกุ ช้นั หรือช้นั หน่ึงช้นั ใดในหลงั เดียวกนั เกิน ๒,๐๐๐ตำรำงเมตร หรืออำคำรท่ีมี
ควำมสูงต้งั แต่ ๑๕ เมตร ข้ึนไป และมีพ้ืนที่รวมกนั ทุกช้นั หรือช้นั หน่ึงช้นั ใดในหลงั เดียวกนั เกิน ๑,๐๐๐ ตำรำง
เมตร
(๒) งำนสะพำนท่ีมีช่วงควำมยำวต้งั แต่ ๓๐ เมตร ข้นึ ไป หรืองำนสะพำนขำ้ มทำงแยกหรือทำงยกระดบั สะพำน
กลบั รถ หรือทำงแยกต่ำงระดบั
(๓) งำนขดุ ซ่อมแซม หรือร้ือถอนระบบสำธำรณูปโภคที่ลึกต้งั แต่ ๓ เมตร ข้นึ ไป
(๔) งำนอโุ มงคห์ รือทำงลอด
(๕) งำนก่อสร้ำงอ่ืนท่ีอธิบดีประกำศกำหนดแผนงำนด้ำนควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนตำมวรรคหน่ึง ต้อง
เป็นไปตำมหลกั เกณฑท์ ี่อธิบดีประกำศกำหนด
ขอ้ ๔ ให้นำยจำ้ งจดั ทำพ้ืนที่ทำงำนก่อสร้ำงให้มีควำมม่ันคงแข็งแรงสำมำรถรองรับน้ำหนักเคร่ืองจกั รและ
อุปกรณ์ไดอ้ ยำ่ งปลอดภยั
ขอ้ ๕ ให้นำยจ้ำงจดั ให้มีผูค้ วบคุมงำนทำหน้ำที่ตรวจควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนก่อนกำรทำงำนและขณะ
ทำงำนทุกข้นั ตอนเพือ่ ใหเ้ กิดควำมปลอดภยั
ขอ้ ๖ ใหน้ ำยจำ้ งจดั ให้มีกำรรักษำควำมสะอำดในบริเวณพ้ืนท่ีก่อสร้ำง โดยจดั เก็บวสั ดุและอุปกรณ์ก่อสร้ำงให้
เรียบร้อยและแยกของเหลือใชห้ รือขยะท้งั ท่ีเป็นอนั ตรำยและไมเ่ ป็นอนั ตรำยโดยพจิ ำรณำแยกหรือกำจดั ทิ้งเพือ่ มิ
ให้เป็ นอนั ตรำยต่อสุขภำพอนำมยั และควำมปลอดภยั ของลูกจำ้ งรวมท้งั จดั ให้มีกำรขนยำ้ ยดินท่ีขุดออกจำกท่ี
ทำงำนก่อสร้ำงและหำกขนยำ้ ยไม่ทนั ใหจ้ ดั หำสิ่งรองรับดินดงั กลำ่ วเพอ่ื ใหเ้ กิดควำมปลอดภยั
ขอ้ ๗ ในกรณีที่มีกำรใชว้ ตั ถุระเบิดในงำนก่อสร้ำง ให้นำยจำ้ งจดั ให้มีระบบกำรเก็บรักษำและดูแลกำรใช้วตั ถุ
ระเบิดให้เป็ นไปตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยวตั ถุอนั ตรำยและกฎหมำยว่ำดว้ ยอำวุธปื นเคร่ืองกระสุนปื น วตั ถุระเบิด
ดอกไมเ้ พลิง และสิ่งเทียมอำวุธปื น พร้อมท้งั ควบคุมดูแลมิใหล้ ูกจำ้ งหรือบคุ คลใดนำไปใชเ้ พอ่ื กำรอื่น
ขอ้ ๘ ในกรณีท่ีลูกจำ้ งตอ้ งทำงำนก่อสร้ำงบนพ้นื ตำ่ งระดบั ท่ีมีควำมสูงต้งั แต่ ๑.๕๐ เมตรข้ึนไปให้นำยจำ้ งจดั ให้
มีบนั ไดหรือทำงลำดพร้อมท้งั ติดต้งั รำวก้นั หรือร้ัวกนั ตกท่ีมนั่ คงแขง็ แรงเพื่อใหเ้ กิดควำมปลอดภยั
ขอ้ ๙ ห้ำมนำยจำ้ งให้ลูกจ้ำงทำงำนก่อสร้ำงในขณะเกิดภยั ธรรมชำติ เวน้ แต่เป็ นกำรทำงำนเพ่ือให้เกิดควำม
ปลอดภยั ในงำนก่อสร้ำงหรือเพ่ือกำรช่วยเหลือหรือกำรบรรเทำเหตุ ท้งั น้ีให้คำนึงถึงควำมปลอดภยั ของลูกจำ้ ง
น้นั ดว้ ย
ขอ้ ๑๐ ใหน้ ำยจำ้ งจดั ใหม้ ีแสงสวำ่ งฉุกเฉินในเขตก่อสร้ำงใหเ้ พียงพอเพื่อใชใ้ นเวลำที่ไฟฟ้ำดบั
ขอ้ ๑๑ ให้นำยจำ้ งติดป้ำยเตือนอนั ตรำย ณ ทำงเขำ้ ออกของยำนพำหนะทุกแห่ง และจดั ให้มีผูใ้ ห้สัญญำณใน
ขณะที่มียำนพำหนะเขำ้ ออกเขตก่อสร้ำง

ขอ้ ๑๒ ให้นำยจำ้ งติดป้ำยแสดงหมำยเลขโทรศัพท์ของหน่วยงำนที่เก่ียวขอ้ งเพ่ือขอควำมช่วยเหลือในยำม
ฉุกเฉิน เช่น โรงพยำบำล หน่วยงำนดบั เพลิง หน่วยงำนบรรเทำสำธำรณภยั ที่ใกลท้ ่ีสุดไว้ ณ เขตก่อสร้ำงใหเ้ ห็น
ไดช้ ดั เจน
ขอ้ ๑๓ ใหน้ ำยจำ้ งติดหรือต้งั ป้ำยเตือนและป้ำยบงั คบั ในเขตก่อสร้ำงเพือ่ ควำมปลอดภยั เช่น ใหร้ ะวงั ห้ำมเขำ้ ให้
สวมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองควำมปลอดภยั ส่วนบุคคล โดยใช้เคร่ืองหมำยหรือขอ้ ควำมท่ีเข้ำใจง่ำยและเห็นได้
ชดั เจน
ขอ้ ๑๔ ให้นำยจ้ำงจัดให้มีกำรฝึ กอบรมลูกจ้ำงเก่ียวกับกำรทำงำนเป็ นระยะ ๆ เช่น กำรใช้เครื่องจกั ร รหัส
สัญญำณต่ำง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง
ขอ้ ๑๕ ในกรณีท่ีนำยจำ้ งจดั รับส่งลูกจำ้ งยงั สถำนท่ีก่อสร้ำง ให้นำยจำ้ งจดั ให้มีกำรใชย้ ำนพำหนะท่ีเหมำะสม
และมีควำมปลอดภยั
ขอ้ ๑๖ ใหน้ ำยจำ้ งกำหนดบริเวณเขตก่อสร้ำง โดยทำร้ัวสูงไม่นอ้ ยกวำ่ ๒ เมตร ที่มนั่ คงแขง็ แรงไวต้ ลอดแนวเขต
ก่อสร้ำง หรือก้นั เขตดว้ ยวสั ดุท่ีเหมำะสมตำมลกั ษณะงำน และจดั ทำป้ำย
“เขตก่อสร้ำง” แสดงใหเ้ ห็นไดช้ ดั เจน
ขอ้ ๑๗ ให้นำยจำ้ งกำหนดเขตอนั ตรำยในเขตก่อสร้ำง โดยจดั ทำร้ัวหรือก้นั เขตดว้ ยวสั ดุที่เหมำะสม และมีป้ำย
“เขตอนั ตรำย”แสดงใหเ้ ห็นไดช้ ดั เจน และในเวลำกลำงคืนใหม้ ีสญั ญำณไฟสีส้มตลอดเวลำ
ขอ้ ๑๘ ห้ำมนำยจำ้ งอนุญำตหรือปล่อยปละละเลยใหล้ ูกจำ้ งเขำ้ พกั อำศยั ในอำคำรซ่ึงอยู่ในระหว่ำงกำรก่อสร้ำง
หรือในเขตก่อสร้ำงน้ันเวน้ แต่นำยจำ้ งจะไดจ้ ดั ให้มีมำตรกำรดำ้ นควำมปลอดภยั และไดร้ ับควำมเห็นชอบเป็ น
หนังสือจำกวิศวกร และให้เก็บหนงั สือแสดงควำมเห็นชอบน้นั ไว้ ณ ท่ีก่อสร้ำง เพ่ือให้พนักงำนตรวจแรงงำน
ตรวจสอบได้ ท้งั น้ี นำยจำ้ งตอ้ งดูแลใหม้ ีกำรปฏิบตั ิตำมมำตรกำรน้นั ตลอดเวลำในกรณีที่ไดร้ ับควำมเห็นชอบให้
มีกำรเข้ำพักอำศัยในอำคำรซ่ึงอยู่ในระหว่ำงกำรก่อสร้ำงหรือในเขตก่อสร้ำงตำมวรรคหน่ึง ให้นำยจ้ำง
ดำเนินกำร ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ติดป้ำยแสดงเขตท่ีพกั อำศยั ใหเ้ ห็นไดช้ ดั เจน ณ เขตที่พกั อำศยั
(๒) จดั ทำร้ัวที่พกั อำศยั ใหม้ นั่ คงแขง็ แรง
(๓) กำหนดทำงเขำ้ ออกและทำ ทำงเดินเขำ้ ออกที่พกั อำศยั โดยมิให้ผ่ำนเขตอนั ตรำยหำกจำเป็ นตอ้ งผ่ำนเขต
อนั ตรำยตอ้ งมีมำตรกำรพิเศษเพ่ือควำมปลอดภยั ของลูกจำ้ ง รวมท้งั ตอ้ งมีมำตรกำรป้องกนั อนั ตรำยจำกส่ิงของ
ตกจำกท่ีสูงดว้ ย
ขอ้ ๑๙ ในกรณีที่มีทำงร่วมหรือทำงแยกในเขตก่อสร้ำง ให้นำยจำ้ งติดต้งั ป้ำยเคร่ืองหมำยเตือนหรือเครื่องหมำย
บงั คบั เพ่ือแสดงวำ่ ขำ้ งหน้ำเป็ นทำงร่วมหรือทำงแยกบริเวณทำงขนส่งที่เล้ียวโคง้ หรือหักมุม ให้นำยจำ้ งติดต้งั

กระจกนูนขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงไม่น้อยกว่ำ ๕๐ เซนติเมตร หรืออุปกรณ์อื่น เพื่อให้ลูกจ้ำงและผูข้ ับข่ี
ยำนพำหนะท่ีกำลงั สวนทำงมำมองเห็นไดส้ ะดวก

การค้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

(๑) งำนไมห้ รืองำนสี ใหส้ วมหมวกนิรภยั และรองเทำ้ พ้นื ยำงหุม้ สน้
(๒) งำนเหล็ก งำนอุโมงค์ หรืองำนประกอบ ติดต้ัง ซ่อมบำรุง ยก ขน แบก หรือหำมของหนักอันอำจเกิด
อนั ตรำยร้ำยแรง ใหส้ วมหมวกนิรภยั ถงุ มือผำ้ หรือหนงั และรองเทำ้ พ้นื ยำงหุม้ ส้นหรือรองเทำ้ นิรภยั
(๓) งำนประปำหรืองำนติดต้งั กระจก ใหส้ วมหมวกนิรภยั ถุงมือผำ้ หรือหนงั และรองเทำ้ พ้นื ยำงหุม้ ส้น
(๔) งำนก่ออิฐ ฉำบปูน หรือตกแต่งผวิ ปูน ใหส้ วมหมวกนิรภยั ถงุ มือผำ้ หรือหนงั และรองเทำ้ พ้ืนยำงหุม้ ส้น
(๕) งำนคอนกรีต เช่น ผสมปูนซีเมนต์ เทคอนกรีต ใหส้ วมหมวกนิรภยั ถงุ มือยำง และรองเทำ้ ยำงหุม้ แขง้
(๖) งำนเช่ือมหรือตดั ชิ้นงำนดว้ ยไฟฟ้ำ ก๊ำซ หรือพลงั งำนอื่น ใหส้ วมกระบงั หนำ้ ลดแสงหรือแวน่ ตำลดแสง ถุง
มือผำ้ หรือหนงั รองเทำ้ พ้ืนยำงหุม้ ส้นหรือรองเทำ้ นิรภยั และแผน่ ปิ ดหนำ้ อกกนั ประกำยไฟ
(๗) งำนตดั ร้ือถอน สกดั ทุบ หรือเจำะวสั ดุที่เป็นฝ่ นุ ใหส้ วมหมวกนิรภยั แวน่ ตำนิรภยั ที่กรองอำกำศสำหรับใช้
ครอบจมูกและปำกกนั ฝ่นุ ถุงมือผำ้ หรือหนงั และรองเทำ้ พ้นื ยำงหุม้ ส้นหรือรองเทำ้ นิรภยั
(๘) งำนที่มีเสียงดงั เกินที่กำหนดในกฎกระทรวงว่ำดว้ ยควำมปลอดภยั เก่ียวกบั เสียง ให้สวมปลก๊ั ลดเสียงหรือ
ครอบหูลดเสียง
(๙) งำนสำรพษิ ใหส้ วมหมวกนิรภยั ชุดหนำ้ กำกป้องกนั สำรพษิ ถุงมือยำงท่ีกนั อนั ตรำยจำก
สำรเคมีกระเด็น และรองเทำ้ พ้นื ยำงหุม้ ส้น
(๑๐) งำนกระเชำ้ แขวน น่ังร้ำนแขวน หรืองำนที่มีลกั ษณะโล่งแจง้ ในที่สูงต้งั แต่ ๔ เมตรข้ึนไป ให้สวมหมวก
นิรภยั เขม็ ขดั นิรภยั พร้อมสำยหรือเชือกช่วยชีวติ และรองเทำ้ พ้ืนยำงหุม้ สน้
(๑๑) งำนเจำะหรืองำนขุด ให้สวมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองควำมปลอดภยั ส่วนบุคคลท่ีเหมำะสมกบั สภำพของงำน
นอกจำกอุปกรณ์ท่ีกำหนดไวต้ ำมวรรคหน่ึง ให้นำยจำ้ งจดั อุปกรณ์คุม้ ครองควำมปลอดภยั ส่วนบุคคลอ่ืนให้
ลูกจำ้ งตำมควำมเหมำะสมกบั ลกั ษณะงำนดว้ ย

14.3 สาเหตแุ ละการป้องกนั อบุ ัติเหตใุ นงานก่อสร้าง

กำรก่อสร้ำงในประเทศไทยไดเ้ จริญรุดหนำ้ อยำ่ งรวดเร็ว สำมำรถทำกำรก่อสร้ำงอำคำรสูง

หลำยสิบช้นั และหอ้ งใตด้ ินลึกมำก ๆ ไดม้ ีกำรใชเ้ ทคนิคและอปุ กรณ์ท่ีทนั สมยั อยำ่ งครบครัน แตส่ ่ิงที่ยงั บกพร่อง
อยู่มำกก็คือ กำรป้องกนั อนั ตรำยต่ำง ๆ แต่อยำ่ งไรก็ดี ในปัจจุบนั จิตสำนึกในดำ้ นควำมปลอดภยั ในงำนก่อสร้ำง
ได้ดีข้ึนกว่ำเก่ำพอสมควร โดยเฉพำะกับอำคำรสูง จะเห็นว่ำมีกำรหุ้มอำคำรที่กำลังก่อสร้ำงอย่ำงมิดชิดเพื่อ
ป้องกนั ของและคนตกมีกำรใชป้ ้ันจนั่ ชนิดมีแขนเดี่ยว และกำรแต่งกำยของคนงำนก็รัดกุมข้ึน มีกำรสวมหมวก
แข็งและรองเทำ้ หุ้มส้นกนั มำกข้ึน แต่มำตรกำรในกำรป้องกนั อนั ตรำยดงั กล่ำวก็ยงั ไม่สมบูรณ์ และใชก้ นั เพียง
บำงงำนเทำ่ น้นั บำงงำนแทบจะไมม่ ีกำรป้องกนั เลยตำมประกำศกระทรวงมหำดไทยเร่ือง “ควำมปลอดภยั ในกำร
ทำงำนก่อสร้ำง” ได้กำหนดมำตรฐำนกำรป้องกันอนั ตรำยนับต้งั แต่บุคคล น่ังร้ำน และลิฟต์ขนของ เป็ นต้น
แมว้ ำ่ เป็นกฎหมำยที่จะตอ้ งปฏิบตั ิตำมแตก่ ็ยงั มีผลู้ ะเลยกนั มำกทำใหเ้ กิดอุบตั ิเหตุอยำ่ งท่ีไม่น่ำจะเกิดข้ึนเสมอ ท้งั
ท่ีควรจะป้องกนั ไดห้ ำกปฏิบตั ิตำมกฎหมำย เคยมีผูป้ ระมำณกำรสูญเสียชีวิตอนั เนื่องมำจำกกำรก่อสร้ำงวำ่ จะมี
คนตำยหน่ึงคนทุก ๆ มูลค่ำของกำรก่อสร้ำง 80 ลำ้ นบำท เม่ือคิดทำงดำ้ นเศรษฐกิจแลว้ แต่ละปี จะมีกำรสูญเสีย
อนั เกิดจำกอนั ตรำยในกำรก่อสร้ำงน้ีปี ละหลำยสิบลำ้ นบำท จึงควรที่ผเู้ กี่ยวขอ้ งทุกฝ่ำยนบั ต้งั แต่เจำ้ ของโครงกำร
ผูร้ ับเหมำก่อสร้ำง ผูค้ วบคุมงำน ผูอ้ อกแบบ และเจำ้ หนำ้ ท่ีบำ้ นเมืองจะตอ้ งตระหนักและเขม้ งวดเก่ียวกบั ควำม
ปลอดภยั ในกำรก่อสร้ำงใหม้ ำก

รูปที่ 1 อำคำรส่ิงก่อสร้ำงขนำดใหญ่
กำรป้องอุบตั ิเหตุในงำนก่อสร้ำง นับว่ำเป็ นสิ่งจำเป็ นอย่ำงยิ่งท้ังน้ีเพ่ือควำมปลอดภัยของชีวิตและ
ทรัพยส์ ินที่ตอ้ งสูญเสียไป ซ่ึงถำ้ เกิดอบุ ตั ิเหตุข้ึนมำแลว้ จะมีผลกระทบหลำย ๆ ดำ้ น เป็นตน้ วำ่ ทำงำนใหก้ ่อสร้ำง
ล่ำช้ำขำดแคลนแรงงำน เสียค่ำใช้จ่ำยเพิ่มขน้ สูญเสียอวยั วะ เช่น แขนหัก ขำหักพิกำร เสียชีวิต ฯลฯ บนั่ ทอน
ขวญั และกำลงั ใจของคนงำนเป็ นอย่ำงยิ่ง นอกจำกน้ีผูท้ ี่พอกำรจำกอุบตั ิเหตุเหล่ำน้ีจะตอ้ งเป็ นภำระของสังคม
ของครอบครัวที่ตอ้ งกำรเล้ียงดู ตอ้ งทนทุกข์ทรมำนและดำรงชีวิตต่อไปดว้ ยควำมหดหู่ ก่อให้เกิดปัญหำอ่ืน ๆ
ติดตำมข้ึนมำอีกเป็ นอนั มำก ฉะน้ันถำ้ ได้มีกำรจดั กำรจดั กำรป้องกนั อุบตั ิเหตุอย่ำงมีระบบแบบแผน โดยเห็น
ควำมสำคญั ของอุบตั ิเหตดุ ว้ ยกนั ทกุ ฝ่ำยแลว้ อุบตั ิเหตใุ นงำนก่อสร้ำงจะตอ้ งลดลงไดอ้ ยำ่ งแน่นอน


Click to View FlipBook Version