The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WANVIPHA CHAIYASING, 2022-04-18 22:01:56

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

หลกั การวจยั

สาธารณสุขขนั พืนฐาน

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ พนั ตํารวจตรหญิง ดร. พนู รตั น์ ลียติกลุ



หลกั การวจยั

สาธารณสุขขนั พืนฐาน

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ พันตํารวจตรหญงิ ดร. พนู รตั น์ ลียติกลุ

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขน้ั พน้ื ฐาน

ISBN 978-616-590-456-8
สงวนลิขสิทธ์ิตามกฎหมาย

พิมพค์ รงั้ ที่ 1 ปี พ.ศ. 2565

จดั พิมพจ์ าํ หน่ายโดย
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ พนั ตํารวจตรหี ญงิ ดร. พนู รตั น์ ลยี ตกิ ุล
อาจารยป์ ระจาํ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กุล
ถนนมติ รภาพ อําเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000
E–mail : [email protected]

สถานที่พิมพ์
บรษิ ทั จรลั สนทิ วงศก์ ารพมิ พ์ จาํ กดั
219 ซอยเพชรเกษม 102/2 แขวงบางแคเหนือ
เขตบางแค กรงุ เทพฯ 10160

ราคา 385 บาท

คาํ นาํ

หนังสอื เล่มน้ี เป็นส่วนหน่ึงในผลงานการสอนและประสบการณ์การทํางานวิจัย ซ่ึงผู้เขยี น
ได้นํามาพัฒนาเป็นหนังสือ “หลักการวิจัยสาธารณสุขขนั้ พ้ืนฐาน” ให้มีเน้ือหาเร่ืองระเบียบวิธีวิจัย
แนวคิดท่ีสําคัญ และรูปแบบของการวิจยั แบบต่าง ๆ ท่ผี ู้อ่านจะนําไปใช้เป็นแนวทางในการทําวิจยั
ทางสาธารณสขุ ได้ หวั ขอ้ ต่าง ๆ ในหนงั สอื เล่มน้ี ตงั้ ใจจะใหเ้ ป็นพน้ื ฐานสาํ หรบั ผทู้ ต่ี อ้ งการทาํ วจิ ยั สขุ ภาพ
โดยเฉพาะนักศึกษา นักวิจัย หรือผู้ท่ีสนใจจึงได้เขียนให้เป็ นหลักการขัน้ พ้ืนฐานท่ีเข้าใจได้ง่าย
เน้ือหาของหนังสอื ผูเ้ ขยี นพยายามเขยี นใหก้ ระชบั และเพม่ิ เติมเน้ือหาสถติ ทิ ่จี ําเป็นท่จี ะใชใ้ นการวจิ ยั
ไดเ้ ลอื กเฉพาะจุดทส่ี าํ คญั ทจ่ี ะนําไปใชใ้ นทางปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนินการวจิ ยั มากล่าวไวเ้ ทา่ นนั้ ซง่ึ ใชส้ ตู รและ
สญั ลกั ษณ์ใหด้ งู ่ายต่อการเขา้ ใจ

ผเู้ ขยี นขอขอบคณุ บพุ การี พส่ี าวทร่ี กั นางไพราํ ตนั สกลุ และพนั ตาํ รวจโทหญงิ ดร. รงั สยิ า วงศอ์ ุปปา
ทใ่ี หก้ ารสนบั สนุนในดา้ นต่าง ๆ ไดส้ ่งเสรมิ และสนบั สนุนใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพ นอกจากน้ีผเู้ ขยี น
ขอขอบพระคณุ รองศาสตราจารย์ ดร. มานพ คณะโต อาจารยผ์ ปู้ ระสทิ ธปิ์ ระสาทวชิ าความรู้ อบรมสงั่ สอน
การทาํ งานวจิ ยั ผเู้ ป็นแรงบนั ดาลใจใหผ้ เู้ ขยี นไดแ้ ต่งและเรยี บเรยี งหนงั สอื เล่มน้สี าํ เรจ็ ลลุ ่วงไดด้ ว้ ยดี

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ พนั ตาํ รวจตรีหญิง ดร. พนู รตั น์ ลียติกลุ
มกราคม 2565



สารบญั

บทท่ี 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกี่ยวกบั การวิจยั หน้า
บทท่ี 2 1.1 ความหมายของการวจิ ยั 1
1.2 การวจิ ยั ทางสาธารณสขุ 1
1.3 ความจาํ เป็นทต่ี อ้ งทาํ การวจิ ยั ทางสาธารณสขุ 2
1.4 เกณฑใ์ นการพจิ ารณาวา่ กจิ กรรมใดเป็นงานวจิ ยั 3
1.5 ประเภทของงานวจิ ยั 4
1.6 บทบาทของการวจิ ยั ต่อปัญหาทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 5
1.7 เป้าหมายและวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 10
1.8 ความจาํ เป็นทต่ี อ้ งทาํ การวจิ ยั ทางสาธารณสขุ 11
1.9 ขนั้ ตอนการวจิ ยั 12
1.10 คณุ สมบตั ขิ องนกั วจิ ยั 13
1.11 คุณลกั ษณะของนกั วจิ ยั 18
1.12 นิยามศพั ทท์ างการวจิ ยั ทค่ี วรทราบ 19
สรปุ 19
เอกสารอา้ งองิ 22
คาํ ถามทา้ ยบท 23
การเลือกหวั ขอ้ การกาํ หนดปัญหาวิจยั และการเตรียมโครงรา่ งวิจยั 24
2.1 การเลอื กหวั ขอ้ การวจิ ยั 29
2.2 ความสาํ คญั ของปัญหา 29
2.3 การกาํ หนดปัญหาวจิ ยั 32
2.4 การเตรยี มโครงร่างการวจิ ยั 35
สรปุ 37
เอกสารอา้ งองิ 44
คาํ ถามทา้ ยบท 45
46

บทที่ 3 การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตงานวิจยั และคาํ นิยามศพั ท์ หน้า
บทที่ 4 3.1 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 47
บทท่ี 5 3.2 หน้าทข่ี องวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั 47
3.3 หลกั การเขยี นวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 48
3.4 ตวั อยา่ งรปู แบบการเขยี นวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั 48
3.5 คาํ นยิ ามศพั ท์ 49
54
3.6 เทคนคิ การเขยี นนยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
สรปุ 54
เอกสารอา้ งองิ 57
คาํ ถามทา้ ยบท 58
การทบทวนเอกสารงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งและการประเมินวรรณกรรม 60
4.1 ขนั้ ตอนการศกึ ษาทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 61
62
4.2 การบนั ทกึ ขอ้ มลู
4.3 ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั 63
4.4 แหลง่ สารสนเทศทใ่ี ชแ้ สวงหาความรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทจ่ี ะวจิ ยั 65
4.5 ประโยชน์ของการศกึ ษาทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 66
4.6 จดุ ประสงคข์ องการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 69
4.7 วธิ กี ารเขยี นเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 69
4.8 รปู แบบในการนําเสนอขอ้ คน้ พบ 69
70
4.9 การประเมนิ เอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
4.10 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั 73
สรปุ 74
เอกสารอา้ งองิ 83
คาํ ถามทา้ ยบท 84
การออกแบบงานวิจยั 86
5.1 การวจิ ยั เชงิ สงั เกตหรอื ปราศจากการทดลอง 87
5.2 การศกึ ษาวจิ ยั เชงิ ทดลอง (Experimental studies) 88
5.3 วธิ กี ารเลอื กรปู แบบการวจิ ยั ทเ่ี หมาะสม 97
สรปุ 101
เอกสารอา้ งองิ 105
คาํ ถามทา้ ยบท 107
109

บทท่ี 6 ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง หน้า
บทท่ี 7 6.1 ประชากร (Population) 111
6.2 การสมุ่ ตวั อยา่ ง (sampling) 111
บทท่ี 8 6.3 เทคนคิ การสมุ่ ตวั อย่าง 114
6.4 การกาํ หนดขนาดตวั อยา่ ง (Determination of Sample Size) 115
สรปุ 121
เอกสารอา้ งองิ 134
คาํ ถามทา้ ยบท 135
ตวั แปร การวดั ตวั แปร และเครอ่ื งมอื 136
7.1 ตวั แปร 137
7.2 ประเภทของตวั แปร 137
7.3 การใหค้ าํ นยิ ามตวั แปร 138
7.4 วธิ กี ารกาํ หนดตวั แปร 141
7.5 การวดั ตวั แปร 143
7.6 เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 145
7.7 ประเภทของเคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 147
7.8 คณุ ลกั ษณะทด่ี ขี องเคร่อื งมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 148
7.9 ลกั ษณะทด่ี ขี องเคร่อื งมอื วจิ ยั 155
สรปุ 156
เอกสารอา้ งองิ 176
คาํ ถามทา้ ยบท 177
ความรเู้ บอื้ งต้นในการสรา้ งมาตรวดั 179
8.1 แบบจาํ ลองการวดั (Measurement Model) 183
8.2 กระบวนการวดั (Measurement Process) 183
8.3 ทฤษฎคี ะแนนจรงิ (True Score Theory) 186
8.4 ความแมน่ ตรง (Validity) 190
8.5 ความน่าเชอ่ื ถอื (reliability) 193
8.6 ขอ้ พจิ ารณา 196
สรปุ 198
เอกสารอา้ งองิ 200
คาํ ถามทา้ ยบท 201
202

บทท่ี 9 การจดั การขอ้ มูลและการวิเคราะหข์ ้อมลู หน้า
บทท่ี 10 9.1 ขนั้ ตอนในการจดั การขอ้ มลู 203
9.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 203
บทที่ 11 9.3 การแปลความหมายขอ้ มลู ทใ่ี ชส้ ถติ วิ เิ คราะห์ 212
สรปุ 216
เอกสารอา้ งองิ 218
คาํ ถามทา้ ยบท 220
สถิติพนื้ ฐานในการวิจยั 221
10.1 ความหมาย 223
10.2 ประเภทของสถติ ิ 223
10.3 สถติ เิ บอ้ื งตน้ 224
10.4 ความหมายของขอ้ มลู และตวั แปร 224
10.5 แนวคดิ และหลกั การของขอ้ มลู 225
10.6 สมมตฐิ าน 228
10.7 การพจิ ารณาความมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ 230
10.8 การนําสถติ มิ าใชใ้ นงานวจิ ยั 231
10.9 ตวั อย่างการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยสถติ ติ ่าง ๆ 231
สรปุ 233
เอกสารอา้ งองิ 259
คาํ ถามทา้ ยบท 260
การเผยแพรผ่ ลงานวิจยั 261
11.1 ประโยชน์ของการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั 263
11.2 หลกั การเบอ้ื งตน้ ในการเขยี นรายงาน 263
11.3 รปู แบบรายงาน (Types of Research Report) 264
11.4 การนําเสนอผลงานวจิ ยั ดว้ ยวาจาและโปสเตอร์ 265
11.5 การนําผลงานวจิ ยั ทเ่ี ผยแพร่ไปประยุกตใ์ ช้ 272
11.6 ปัญหาขอ้ เสนอแนะในการเขยี นรายงานการวจิ ยั 274
11.7 การเลอื กวารสาร 274
11.8 จรยิ ธรรมการวจิ ยั 275
11.9 การเตรยี มตวั เป็นนกั วจิ ยั 276
สรปุ 295
เอกสารอา้ งองิ 281
คาํ ถามทา้ ยบท 282
283

สารบญั รปู

รปู ท่ี 1 การประเมนิ ผลโครงการพฒั นาสขุ ภาพ หน้า
รปู ท่ี 2 ขนั้ ตอนของการวจิ ยั (ปรบั ปรงุ จาก ธวชั ชยั วรพงศธร, 2543 : 23) 11
รปู ท่ี 3 วฏั จกั รของขนั้ ตอนการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ 14
รปู ท่ี 4 กรอบแนวคดิ ปัญหาวจิ ยั 17
รปู ท่ี 5 ขนั้ ตอนการสาํ รวจวรรณกรรม 36
รปู ที่ 6 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั และการพฒั นาระบบเฝ้าระวงั เพ่อื ลดการใชส้ ารเสพตดิ 62
โดยการมสี ว่ นรว่ มของนกั เรยี น 78
รปู ท่ี 7 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั (Conceptual Framework)
รปู ที่ 8 กรอบแนวคดิ แบบแผนภาพ 79
รปู ที่ 9 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั (Conceptual Framework) 80
รปู ที่ 10 จาํ แนกรปู แบบของการวจิ ยั ตามวธิ ดี าํ เนินการวจิ ยั 81
รปู ท่ี 11 การจาํ แนกการวจิ ยั โดยการสงั เกต เชงิ วเิ คราะห์ 88
รปู ท่ี 12 คาํ ถาม 3 ขอ้ ในการจาํ แนกรปู แบบการวจิ ยั 91
รปู ที่ 13 แสดงการเลอื กประชากรไปสตู่ วั อย่าง 104
รปู ที่ 14 การสมุ่ ตวั อย่างแบบแบง่ ชนั้ ภมู ิ (Stratified random sampling) 113
รปู ท่ี 15 การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบแบง่ กล่มุ (Cluster sampling) 118
รปู ท่ี 16 การสมุ่ ตวั อย่างแบบหลายขนั้ ตอน (Multistage sampling) 118
รปู ที่ 17 ตวั อยา่ งบลอ็ กทส่ี าํ นกั งานสถติ แิ ห่งชาตสิ มุ่ ไดใ้ นเขตเทศบาล 119
รปู ท่ี 18 ตวั อยา่ งภาพถ่ายทางอากาศ บลอ็ กในเขตเทศบาล จาก Google Earth 130
รปู ที่ 19 แผนทค่ี นเดนิ 131
รปู ท่ี 20 การสรา้ งเคร่อื งมอื ประเมนิ โครงการ 131
รปู ท่ี 21 สรุปขนั้ ตอนการสรา้ งและพฒั นาเครอ่ื งมอื วจิ ยั 156
รปู ที่ 22 Measurement Model 172
รปู ท่ี 23 ความคลาดเคลอ่ื นจากการวดั 184
รปู ที่ 24 องคป์ ระกอบของปัจจยั 185
รปู ที่ 25 การบนั ทกึ ขอ้ มลู ในโปรแกรม MS-Excel 190
รปู ท่ี 26 ตวั อย่างการการลงหสั ขอ้ มลู และเรยี งขอ้ มลู ตามเลขทแ่ี บบสอบถาม 209
210



บทที่ 1

ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั การวจ� ยั

การวจิ ยั เป็นเคร่อื งมอื สาํ คญั ในการคน้ ควา้ และพฒั นาความรูใ้ นศาสตร์ทุกแขนงการวจิ ยั จะช่วย
อธบิ ายเหตุผลในการปฏิบตั ิได้ อย่างเช่น วิทยาศาสตร์ความรู้ท่ไี ด้จากการวจิ ยั เป็นการขยายขอบเขต
ความรู้ให้กว้างขวางมากยิ่งข้นึ กระบวนการวิจัยใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการ
ในการแกป้ ัญหาซง่ึ ทกุ คน ไดน้ ํามาใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วนั อยแู่ ลว้ จงึ ไมเ่ ป็นการยากทจ่ี ะเรยี นรู้

เป้าหมายท่ีสําคญั ของความรู้เร่อื งระเบียบวธิ กี ารวิจยั คอื การมีความสามารถในการทําวิจยั
ไดด้ ว้ ยตนเอง การทจ่ี ะบรรลุถงึ เป้าหมายดงั กลา่ วจาํ เป็นจะต้องรถู้ งึ ลกั ษณะทวั่ ไปของงานวจิ ยั ทกุ ขนั้ ตอน
ท่เี ก่ียวข้อง และรายละเอียดของแต่ละขนั้ ตอนทงั้ ในเชิงทฤษฎีและในด้านปฏิบตั ิ ในบทน้ีจะกล่าวถึง
ลกั ษณะทวั่ ไปของงานวจิ ยั โดยเรมิ่ ตงั้ แต่ ความหมายของงานวจิ ยั ประเภทของงานวจิ ยั บทบาทการวจิ ยั
ทางการแพทย์และสาธารณสุข เป้าหมายและวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข
ขนั้ ตอนของการวจิ ยั และคุณสมบตั ิของนักวจิ ยั ในบทต่อ ๆ ไปจะเสนอรายละเอยี ดของแต่ละขนั้ ตอน
ของการวจิ ยั

1.1 ความหมายของการวิจยั

มนี กั วชิ าการกล่าวถงึ ความหมายของการวจิ ยั ไวม้ ากมาย ดงั น้ี
การวิจัย คือ การศึกษาหาความรู้ท่ีจะทําให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการหรือทําให้เกิด
ประโยชน์ในทางปฏบิ ตั ดิ ว้ ยกระบวนการอนั เป็นทย่ี อมรบั ในวทิ ยาการแต่ละสาขา (ทสั สนี นุชประยรู และ
เตมิ ศรี ชาํ นิจารกจิ , 2541)
การวจิ ยั คอื การศกึ ษาค้นคว้าเพ่อื ใหไ้ ด้ความรู้ใหม่ โดยใช้วธิ กี ารศกึ ษาท่สี ามารถให้คําตอบ
ทถ่ี กู ตอ้ งและเชอ่ื ถอื ได้ (อรุณ จริ วฒั น์กุล, 2534)
การวจิ ยั คอื การศกึ ษาคน้ ควา้ หาขอ้ เทจ็ จรงิ ในปัญหาทส่ี งสยั ภายในขอบเขตทก่ี าํ หนดไวโ้ ดยใช้
วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (ธวชั ชยั วรพงศธร, 2543)
การวจิ ยั คอื การคน้ หาความรอู้ ย่างมรี ะบบและแบบแผนเพ่อื ใหเ้ กดิ ความกา้ วหน้าทางวชิ าการ
หรอื เกิดประโยชน์แก่มนุษย์โดยอาศยั วธิ กี ารทเ่ี ป็นท่ียอมรบั ในแต่ละสาขาวชิ า (จริยา เสถบุตร อ้างใน
บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2532)
จากความหมายของคาํ วา่ “การวจิ ยั ” ตามทม่ี ผี ใู้ หค้ วามหมายไวอ้ ย่างหลากหลายอาจจะสรุปไดว้ ่า
การวจิ ยั หมายถึง การใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่อื แสวงหาคําตอบสาํ หรบั
ปัญหาและคําถามการวิจยั ท่ีกําหนดไว้ แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ท่เี กิดความก้าวหน้าทางวชิ าการหรือ
เกดิ ประโยชน์ในทางปฏบิ ตั ิ

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

คําว่า “กระบวนการ” ในท่ีน้ีหมายถึงกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีได้กระทําข้ึนโดยมีความเก่ียวโยง
ต่อเน่ืองกนั อย่างมรี ะเบยี บเพอ่ื ใหบ้ รรลถุ งึ เป้าหมาย

กจิ กรรมต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั ในอนั ทจ่ี ะใหไ้ ดม้ าซง่ึ คาํ ตอบอนั ถูกตอ้ งต่อปัญหาทไ่ี ดต้ งั้ ไว้
มตี งั้ แต่การกําหนดหวั ขอ้ การแจกแจงประเดน็ การออกแบบการวจิ ยั การกําหนดประชากรเป้าหมาย
วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล การดําเนินการกบั ข้อมูลไปจนถึงการวิเคราะห์และการตีความหมายข้อมูล
กิจกรรมต่าง ๆ เหล่าน้ีจะต้องดําเนินไปอย่างมีระเบียบแบบแผนและกฎเกณฑ์ท่ีเป็นท่ียอมรับกัน
ในทางวชิ าการ

การดําเนินการอย่างมีระเบียบแบบแผนและกฎเกณฑ์เป็นสิ่งจําเป็น เพราะเป็นส่ิงท่ีผู้วิจัย
จะนําไปใชท้ ดสอบความถกู ต้องของคาํ ตอบหรอื ขอ้ คน้ พบทไ่ี ดจ้ ากการวจิ ยั ผทู้ ท่ี าํ การวจิ ยั ในเร่อื งเดยี วกนั
ในสภาวะทเ่ี หมอื นกนั หากใช้ระเบยี บวธิ แี ละกฎเกณฑอ์ ย่างเดยี วกนั ขอ้ ค้นพบท่ไี ดร้ บั ควรจะเหมอื นกนั
ความถูกตอ้ งของผลการวจิ ยั จงึ ขน้ึ อย่กู บั ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั

ในการแสวงหาคําตอบอนั ถูกต้องของปัญหา หรือคําถามท่ีตัง้ ไว้เป็นเป้าหมายของการวิจยั
ควรเป็นการค้นหาคําตอบทย่ี งั ไม่เคยมผี ู้ใดค้นพบมาก่อนหรอื มกี ย็ งั ไม่เพยี งพอ คําตอบท่ไี ดม้ าต้องเป็น
คาํ ตอบทใ่ี หค้ วามรูใ้ หม่ แต่ทงั้ น้ีไม่ไดห้ มายความว่าการศกึ ษาจะเป็นการวจิ ยั ไดจ้ ะต้องมุง่ แสวงหาคาํ ตอบ
ต่อคําถามท่ีใหม่และไม่มีผู้ใดศึกษามาก่อนเลย เพราะคําถาม บางคําถามเป็ นคําถามท่ีกว้างต้อง
ทําการศกึ ษาหลาย ๆ ดา้ น ดงั นนั้ ถึงแมว้ ่าไดม้ กี ารศกึ ษามาแลว้ ด้านหน่ึงกย็ งั ต้องศกึ ษาดา้ นอ่นื ๆ ทย่ี งั
ไม่ไดศ้ กึ ษาคําถาม บางเร่อื งตอ้ งทําการศกึ ษาเกบ็ รวบรวมและวเิ คราะหห์ ลายๆ ครงั้ แต่ละครงั้ ตอ้ งอาศยั
ผลงานทไ่ี ด้มาจากครงั้ ก่อน ๆ เพ่อื ให้ได้มาซ่งึ คําตอบทน่ี ่าพอใจ ในบางครงั้ ผู้วจิ ยั อาจจะทําการศึกษา
ปัญหาเดียวกันกับท่ีเคยมีผู้วิจัยมาก่อน เพราะมีความสงสยั ในความถูกต้องหรือความเช่ือถือได้
ของขอ้ คน้ พบของงานวจิ ยั ท่ไี ด้ทํามาก่อนนัน้ ซง่ึ อาจเป็นเพราะจากแบบของการวจิ ยั ท่ใี ชม้ ขี อ้ บกพร่อง
นอกจากนัน้ แล้ว ในบางครงั้ เพ่อื ท่ีจะยนื ยนั หรือปฏิเสธข้อค้นพบของงานวจิ ยั ท่ีได้ทํามาแล้วว่ายงั คง
เป็นจรงิ ในสภาวะทแ่ี ตกต่างกนั หรอื ไม่ ผูว้ จิ ยั ไม่เพยี งแต่ศกึ ษาปัญหาเดยี วกนั เท่านนั้ ยงั อาจใชว้ ธิ ศี กึ ษา
อยา่ งเดยี วกนั ไดด้ ว้ ย

ในส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั คําถามซ่งึ นําไปสู่เป็นหวั ขอ้ และประเดน็ ของการวจิ ยั คําถามทุกคําถาม
ไม่จาํ เป็นจะต้องเป็นคําถามทส่ี ามารถนําไปสกู่ ารวจิ ยั ไดเ้ สมอไป คําถามทส่ี ามารถวจิ ยั ไดต้ อ้ งมคี ณุ สมบตั ิ
บางประการ คอื ต้องเป็นคําถามทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สงิ่ ท่เี ป็นปรากฏการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ สามารถสงั เกตหรือ
สมั ผสั ได้ และเป็นคําถามท่ตี ้องการคําตอบท่ีสามารถทดสอบความถูกต้องได้จากการเกบ็ รวบรวมและ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู อย่างมรี ะบบ

การวจิ ยั หรอื งานทเ่ี ป็นการวจิ ยั ตอ้ งประกอบดว้ ยลกั ษณะสาํ คญั 3 ประการ
1. เป็นกระบวนการคน้ ควา้ หาขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ
2. เป็นกระบวนการหรอื การกระทาํ ทม่ี รี ะบบระเบยี บ
3. เป็นการกระทาํ ทม่ี จี ุดประสงคท์ แ่ี น่นอน

2

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

1.2 การวิจยั ทางสาธารณสขุ

การวจิ ยั ทางสาธารณสขุ ถอื วา่ เป็นการวจิ ยั ทอ่ี าจเป็นไดท้ งั้ การวจิ ยั พน้ื ฐาน การวจิ ยั ประยกุ ต์ และ
การวจิ ยั แบบผสมผสานหลาย ๆ แขนงทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั การวจิ ยั ทางสาธารณสขุ หมายถงึ การศกึ ษาคน้ ควา้
หาความรู้ หาวธิ กี ารใหม่ ๆ คดิ คน้ หาเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพในการป้องกนั และรกั ษาโรค
รวมทงั้ การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในการปฏบิ ตั ิงานทางสาธารณสุขเพ่อื ใหป้ ระชาชนมสี ุขภาพอนามยั ทด่ี ี
สามารถประกอบอาชพี และดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ้ ย่างเป็นปกตสิ ขุ

1.3 ความจาํ เป็นที่ต้องทาํ การวิจยั ทางสาธารณสขุ

งานสาธารณสุขเป็นงานท่มี ขี อบเขตกวา้ งขวางทงั้ ในด้านการป้องกนั และรกั ษาโรค เป็นงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั คนทุกเพศ ทกุ วยั ทุกชนชนั้ อาชพี ตงั้ แต่เกดิ จนตาย ทงั้ ในเขตเมอื งและเขตชนบท เป็นงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั สง่ิ มชี วี ติ และไมม่ ชี วี ติ เช่น การคน้ หาวธิ กี ารรกั ษาใหม่ ๆ คน้ หาตวั ยาใหม่ คดิ คน้ อุปกรณ์และ
เครอ่ื งมอื ใหม่ ๆ หรอื คดิ คน้ กลยุทธใ์ หม่ ๆ ทจ่ี ะนํามาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การระบบสขุ ภาพของประเทศใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล งานสาธารณสขุ จงึ เป็นงานทป่ี ระสบกบั ปัญหาต่าง ๆ มากมาย ไมย่ ง่ิ หย่อน
ไปกวา่ งานในสาขาอาชพี อ่นื ๆ ขอยกตวั อยา่ งปัญหาสาธารณสขุ ทส่ี าํ คญั ในปัจจบุ นั เช่น

 ปัญหาคณุ ภาพการใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ
 ปัญหาสขุ ภาพจติ
 ปัญหาสารเสพตดิ
 ปัญหาโรคตดิ ต่อทย่ี งั ไมม่ วี คั ซนี หรอื ยารกั ษาทม่ี คี ณุ ภาพ
 ปัญหาโรคตดิ เชอ้ื ทด่ี อ้ื ยา
 ปัญหาโรคเอดส์ และวณั โรคปอด
 ปัญหาโรคไมต่ ดิ ต่อเรอ้ื รงั โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู โรคหวั ใจ โรคมะเรง็ และโรค

หลอดเลอื ดสมอง
 ปัญหาอบุ ตั เิ หตุทางจราจร
 ปัญหาอบุ ตั ภิ ยั และภยั พบิ ตั ทิ เ่ี กดิ จากมนุษยแ์ ละภยั ทางธรรมชาติ
 ปัญหาดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั หรอื โรคและภยั จากการประกอบอาชพี
ปัญหาทางสาธารณสุขเหล่าน้ีเป็นปัญหาท่ีต้องการคําตอบ และต้องการหาวิธีการท่ีดีท่ีสุด
ทเ่ี หมาะสมทส่ี ุดเขา้ ไปช่วยแก้ไข การค้นหาและสบื สาวเขา้ ไปถงึ ต้นตอของปัญหาต้องอาศยั วธิ กี ารวจิ ยั
อย่างมขี นั้ ตอนท่ีถูกต้องจะช่วยให้สามารถมองเห็นสาเหตุของปัญหา มองเห็นปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมสี ่วน
เก่ยี วขอ้ งหรอื เก้อื กูลใหเ้ กดิ ปัญหา และด้วยวธิ กี ารวจิ ยั อกี เช่นเดยี วกนั จะช่วยใหไ้ ดค้ วามรูใ้ หม่ ๆ จาก
การศกึ ษาปัญหานัน้ ทงั้ ในดา้ นวชิ าการ ในดา้ นการคน้ พบทฤษฎใี หม่ ๆ เทคโนโลยใี หม่ ๆ ในการนําไป
ประยุกต์กบั การปฏิบตั ิงานให้ได้ผลดีมีประสทิ ธิภาพสูงกว่า วิธีการท่ีปฏิบัติมาแต่เดิมได้ ด้วยเหตุน้ี
การวิจัยจึงนับว่ามีบทบาทท่ีสําคัญในการช่วยพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศให้ก้าวหน้า
ไปอย่างรวดเรว็ ช่วยใหน้ กั สาธารณสุขสามารถประยกุ ต์วธิ กี ารใหม่ ๆ ในการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสม
และไดผ้ ลดมี ากขน้ึ

3

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

1.4 เกณฑใ์ นการพิจารณาว่ากิจกรรมใดเป็นงานวิจยั

การทจ่ี ะประเมนิ วา่ การศกึ ษาคน้ ควา้ หรอื กจิ กรรมใดกจิ กรรมหนง่ึ เป็นงานวจิ ยั หรอื ไม่นนั้ ชน้ิ งาน
บางชน้ิ สามารถบอกไดช้ ดั เจนวา่ เป็นงานวจิ ยั แต่มหี ลายกรณีไมส่ ามารถระบใุ หแ้ น่ลงไปไดว้ ่าเป็นงานวจิ ยั
เช่น การทบทวนวรรณกรรมการรายงานผปู้ ่วย บทฟ้ืนฟูวชิ าการ หรอื บทความพเิ ศษเป็นตน้ เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ น
การพจิ ารณาซง่ึ เป็นเกณฑส์ งั เขปมี 4 ประการ ไดแ้ ก่

เกณฑ์ท่ี 1 ความสมบูรณ์ของกระบวนการ หมายถึง กจิ กรรมนัน้ ต้องใช้ปัญญาในการแสดง
ความรสู้ กึ ซง่ึ จะก่อใหเ้ กดิ กระบวนการศกึ ษาดงั น้ี

1. คดิ คอื การใชค้ วามคดิ วจิ ารณญาณในการกําหนดปัญหาการวจิ ยั ทช่ี ดั เจนเหมาะสมมคี ุณค่า
น่าสนใจ มคี วามมงุ่ มนั่ ในการแสวงหาคาํ ตอบ

2. ทํา คอื ดําเนินกิจกรรมการวิจยั ได้แก่ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การนําขอ้ มูลมาวเิ คราะห์
แปลผล สรปุ ผลการวจิ ยั

3. นําเสนอ คอื นําผลการวจิ ยั ทไ่ี ดอ้ อกเผยแพร่ทงั้ ลายลกั ษณ์อกั ษรหรอื นําเสนอในทป่ี ระชมุ เวที
วชิ าการเพอ่ื ใหส้ งั คมไดร้ บั รรู้ บั ทราบ และมกี ารนําผลการวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์

เกณฑ์ท่ี 2 ความลกึ ซง้ึ ของการคน้ คว้า หมายถงึ มกี ารค้นควา้ อย่างละเอยี ดรอบคอบ มรี ะบบ
ระเบียบทุกขนั้ ตอน มีเหตุมีผลของการศึกษา ดังนัน้ การทบทวนศึกษาวรรณกรรมเอกสารงานวจิ ยั ท่ี
เกย่ี วขอ้ งแล้วนํามาต่อ ๆ กนั โดยไม่มวี จิ ารณญาณในการวเิ คราะห์แปรผล และสรุปผลหรอื การรายงาน
ผู้ป่ วย (Case report) ท่ีไม่ใช่เร่ืองใหม่ กิจกรรมเช่นน้ีไม่ผ่านเกณฑ์ข้อน้ี จึงนับไม่ได้ว่าเป็นงานวิจัย
งานวจิ ยั ตอ้ งเป็นการศกึ ษาทม่ี ขี อ้ มลู จาํ นวนมากพอและมขี อบเขตทงั้ กวา้ งและลกึ

เกณฑ์ที่ 3 ความใหม่ของความรูท้ ไ่ี ดจ้ ากผลการวจิ ยั หมายถึง กจิ กรรมการศกึ ษานัน้ ๆ น่าจะ
กอ่ ใหเ้ กดิ ความรใู้ หม่ หรอื คน้ พบสงิ่ ใหม่ใหแ้ กว่ งการหรอื ศาสตรส์ าขานนั้ ๆ

เกณฑ์ท่ี 4 ความถูกต้องและความเช่อื ถือได้ หมายความรวมถึง ความถูกต้องเช่อื ถอื ได้ของ
ขอ้ มลู กระบวนการรวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มูล ตลอดจนการแปรผลโดยผา่ นกระบวนการการป้องกนั อคติ
ต่าง ๆ ทอ่ี าจจะเกดิ ไดใ้ นทุก ๆ ขนั้ ตอนการศกึ ษา ซง่ึ คุณสมบตั เิ กณฑน์ ้ีเป็นหวั ใจสาํ คญั ของการทาํ วจิ ยั

ดงั นัน้ จะเหน็ ไดว้ ่าการวจิ ยั นัน้ เป็นกจิ กรรมทเ่ี ป็นกระบวนการและมกี ารคน้ หาคําตอบทเ่ี ป็นจรงิ
เป็นการแสวงหาองคค์ วามรใู้ หม่ทถ่ี ูกตอ้ งและเชอ่ื ถอื ได้ แต่บางครงั้ บางขนั้ ตอนของการวจิ ยั กอ็ าจจะมกี าร
เปล่ยี นแปลงแม้ว่าจะควบคุมกระบวนการอย่างดีแล้วอาจทําให้ผลของการวิจยั มคี วามคลาดเคล่ือนได้
ซ่งึ ผูว้ ิจยั ต้องป้องกนั และลดความคลาดเคล่ือนทจ่ี ะเกิดขน้ึ ทุกขนั้ ตอนของการวิจยั โดยผู้วจิ ยั จะต้องใช้
มาตรการ 3 ประการรว่ มกนั ในการลดความคลาดเคลอ่ื นของการทาํ วจิ ยั คอื

1. รปู แบบการวจิ ยั ทเ่ี หมาะสม (Research session)
2. วธิ กี ารวจิ ยั (Research methodology)
3. เทคนิคทางสถติ ทิ เ่ี หมาะสม
และนอกจากความถูกต้องเช่อื ถือได้ ยงั ต้องคํานึงถึงความเป็นไปได้ (Feasibility) ด้วยเพราะ
บางสถานการณ์ทม่ี ขี อ้ จํากดั หลายประการรวมกนั ซง่ึ นกั วจิ ยั ควรมกี ารระบุจุดอ่อนไวใ้ นบทวเิ คราะหผ์ ล
ดว้ ยเพ่อื ผู้ทจ่ี ะนําผลการวจิ ยั ไปใช้จะสามารถใช้วจิ ารณญาณได้อย่างถูกต้อง แต่ต้องตระหนักเสมอว่า
อยา่ ใหค้ วามเป็นไปไดท้ าํ ลายความถูกตอ้ งเพราะจะสง่ ผลใหง้ านวจิ ยั นนั้ เชอ่ื ถอื ไม่ได้

4

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

1.5 ประเภทของงานวิจยั

มผี ู้แบ่งประเภทของการวิจัยไว้หลายวิธีด้วยกนั ข้ึนอยู่กบั เหตุผลของการแบ่ง ดังนัน้ ผู้วิจยั
จงึ ไม่ควรทจ่ี ะไปยดึ ถอื การแบ่งประเภทของการวจิ ยั อย่างจรงิ จงั มากนกั เพราะการแบ่งประเภทการวจิ ยั
มแี นวโน้มทําให้ผู้วจิ ยั มอี คติ โดยยดึ ถอื ว่า ประเภทการวจิ ยั ท่ตี นยดึ ถือนัน้ ดกี ว่าและเหนือกว่าการวจิ ยั
ประเภทอ่ืน โดยเฉพาะในกลุ่มนักวิจัยบางคนยงั มีอคติท่ีว่า การวิจัยประเภททดลองยอมเหนือกว่า
การวจิ ัยประเภทการสํารวจ หรือเหนือกว่าการวิจยั เชิงการสงั เกตแบบนักมนุษย์วทิ ยา หรือการวจิ ยั
ประยุกตด์ กี วา่ งานวจิ ยั พน้ื ฐาน ความคดิ เหล่าน้ีนบั วา่ มผี ลเสยี ต่อการวจิ ยั ทงั้ สน้ิ เพราะความจริงแลว้ การ
วิจัยแบบไหนจะดีหรือไม่ดี ไม่ได้ขึ้นอยู่กับชนิ ดของประเภทวิจัยนั้น แต่ขึ้นอยู่กับปัจจัย
หลาย ๆ อย่าง เช่น ปัญหาสาํ หรบั วจิ ยั นนั้ เหมาะสมกบั ลกั ษณะของประเภทวจิ ยั ชนิดนนั้ หรอื ไม่ ลกั ษณะ
การวิจยั นัน้ มีการวางรูปแบบถูกต้องหรือไม่ มีการเลือกตวั อย่างและขนาดของตวั อย่างเหมาะสมและ
เพยี งพอหรอื ไม่ มกี ารเกบ็ ขอ้ มลู โดยใชเ้ คร่อื งมอื ทม่ี คี วามเช่อื ถอื ไดม้ ากน้อยแค่ไหน มกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ถูกต้องหรอื ไม่ เหล่าน้ีเป็นต้น การพจิ ารณาว่าการวจิ ยั ใดจะดกี ว่าหรอื เหนือกว่ากนั โดยยดึ ถอื แต่ช่อื หรอื
ประเภทของการวจิ ยั จงึ นบั วา่ ไม่ไดใ้ ชเ้ หตุผลหรอื ใชส้ ตปิ ัญญาชว่ ยพจิ ารณาเลย นบั วา่ ไม่ถูกตอ้ งเป็นอย่าง
ยง่ิ อย่างไรกต็ าม แมว้ ่าการแบ่งประเภทของการวจิ ยั จะมไิ ดม้ คี วามสาํ คญั ต่อกระบวนการวจิ ยั ทน่ี กั วจิ ยั จะ
ทําเท่าใดนัก แต่การทราบประเภทของการวจิ ยั กพ็ อมีประโยชน์อยู่บ้างในแง่ทว่ี ่าถ้าหากนักวจิ ยั ทราบ
ลกั ษณะการวจิ ยั ของตนว่าอย่ใู นแนวไหน กจ็ ะช่วยใหก้ ารวางกรอบการวจิ ยั ของตนมคี วามรดั กุม และหา
จดุ ยนื ในการวจิ ยั ไดแ้ น่นอน ชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ (ธวชั ชยั วรพงศธร, 2543)

การแบ่งประเภทของการวจิ ยั สามารถแบ่งไดห้ ลายวธิ ขี น้ึ อยกู่ บั เกณฑท์ ใ่ี ชซ้ ง่ึ มอี ยหู่ ลายเกณฑ์
ขน้ึ กบั วา่ ผทู้ แ่ี บง่ ประเภทการวจิ ยั นนั้ จะเลอื กใชเ้ กณฑใ์ ด เช่น
บญุ ชม ศรสี ะอาด (2532) ไดแ้ บง่ ประเภทของการวจิ ยั ดงั น้ี

1. แบง่ ตามระเบยี บวธิ ี
2. แบง่ ตามสาขาวชิ า
3. แบง่ ตามประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั
4. แบง่ ตามวธิ กี ารศกึ ษา
5. แบง่ ตามชนิดของขอ้ มลู
6. แบง่ ตามเวลา
7. แบง่ ตามการควบคมุ ตวั แปร
ธวชั ชยั วรพงศธร (2540) ไดแ้ บง่ ประเภทของการวจิ ยั ดงั น้ี
1. การวจิ ยั จาํ แนกตามประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ บั จากการวจิ ยั

1.1 การวจิ ยั พน้ื ฐาน
1.2 การวจิ ยั ประยุกต์
2. การวจิ ยั จาํ แนกตามจุดมงุ่ หมายหลกั ของการวจิ ยั
2.1 การวจิ ยั เพอ่ื คน้ หาขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ (Exploratory research)
2.2 การวจิ ยั เชงิ พรรณนา (Descriptive research)

5

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

2.3 การวจิ ยั เชงิ อรรถาธบิ าย (Explanatory research)
2.4 การวจิ ยั เชงิ คาดการณ์ (Predictive research)
3. การวจิ ยั จาํ แนกตามกระบวนการเกบ็ ขอ้ มลู
3.1 การวจิ ยั แบบสงั เกต (Observational research)
3.2 การวจิ ยั แบบสาํ รวจ (Survey research)
3.3 การวจิ ยั แบบทดลอง (Experimental research)

ประเภทของงานวิจยั ทางวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพทพ่ี บบ่อยออกเป็น 3 ลกั ษณะ คอื

1. การจาํ แนกชนดิ ของงานวจิ ยั ตามคุณลกั ษณะของขอ้ มลู แบ่งออกเป็น 2 วธิ ี คอื
1.1 การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative research)

เป็นการวจิ ยั ทเ่ี น้นการศกึ ษาขอ้ มูลในแนวลกึ และศกึ ษาในบรบิ ทของสง่ิ ทต่ี อ้ งการศกึ ษา มกั ทําการศกึ ษา
ในกลุ่มตวั อย่างจาํ นวนน้อย ขอ้ มลู ท่ไี ดร้ บั สามารถนํามาอธบิ ายการเกดิ เหตุการณ์หรอื ปรากฏการณ์และ
สว่ นต่าง ๆ ไดอ้ ย่างละเอยี ด ทาํ ใหเ้ ขา้ ใจถงึ เหตุผลหรอื รายละเอยี ดของปรากฏการณ์และเหตุการณ์ต่าง ๆ
ไดช้ ดั เจน

1.2 การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative research)
เป็นการวจิ ยั ในแนวกวา้ งซง่ึ ทําในกลุ่มตวั อย่างขนาดใหญ่เพ่อื ใหไ้ ดข้ นาดของปัญหาหรอื ลกั ษณะต่าง ๆ
ของประชากรสว่ นใหญ่ ซง่ึ อาจนํามาใชค้ าดคะเนหรอื ทาํ นายการเกดิ เหตุการณ์ในประชากรได้

2. การจาํ แนกตามวธิ กี ารวจิ ยั แบง่ เป็น 3 วธิ ี คอื
2.1 การวิจยั เชงิ พรรณนา (Descriptive research) เป็นการศกึ ษาท่ที ําในกลุ่มผู้ป่ วย หรอื
ผู้ท่ีมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีสนใจ โดยท่ีไม่ทราบรายละเอียดของลักษณะและปัจจัย
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โรคหรอื พฤตกิ รรมนนั้ ๆ มาก่อน จุดประสงคข์ องการศกึ ษาชนิดน้ีกเ็ พ่อื
จะให้ทราบรายละเอียดต่าง ๆ ของผู้ป่ วย (หรือผู้ท่ีมีพฤติกรรมท่ีต้องการศึกษา)
ผลการศกึ ษาน้ีจะนําไปใชใ้ นการศกึ ษาหาสาเหตุต่อไป เช่น การศกึ ษาพฤตกิ รรมของ
ผูป้ ่ วยโรคเอดส์ ลกั ษณะของคนทเ่ี สพสารเสพติด ลกั ษณะของผูป้ ่ วยท่มี ารบั บรกิ ารท่ี
สถานอี นามยั เป็นตน้
2.2 การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical research) เป็ นการศึกษาเพ่ือหาคําอธิบาย
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างปัจจยั ต่าง ๆ กบั การเกดิ โรคหรอื พฤตกิ รรม แบ่งออกเป็น 3 วธิ ี คอื
♦ การศกึ ษาตดิ ตามผลระยะยาว (Cohort study) เป็นการตดิ ตามคน 2 กลุม่ ทไ่ี ดร้ บั
ปัจจยั เสย่ี งต่างกนั ว่าจะมโี อกาสเป็นโรค หรอื เกดิ พฤตกิ รรมต่างกนั หรอื ไม่
♦ การศกึ ษาภาคตดั ขวางเปรยี บเทยี บ (Comparative cross-sectional study) เป็น
การศกึ ษาความสมั พนั ธข์ องปัจจยั ต่าง ๆ กบั ผลการเกดิ โรค หรอื เกดิ พฤตกิ รรม
ในกลุ่มตวั อย่างกลุ่มหน่ึงในช่วงระยะเวลาหน่ึง เช่น การเป็นโรคขาดสารอาหาร
การได้รบั วคั ซีนครบ เป็นต้น การศกึ ษาวธิ นี ้ีจะสุ่มตวั อย่างจากประชาชนทวั่ ไป

6

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ซ่ึงจะมีทัง้ ท่ีเป็นโรคและไม่เป็นโรครวมอยู่ด้วย แล้วนํามาวิเคราะห์และสรุป
หาความสมั พนั ธร์ ะหว่างปัจจยั ต่าง ๆ กบั การเกดิ โรคหรอื พฤตกิ รรมนนั้ ๆ
♦ การศกึ ษาแบบ Case-control study เป็นการศกึ ษาหาปัจจยั เสย่ี งของการเกดิ โรค
โดยทน่ี กั วจิ ยั มกี ล่มุ ตวั อย่างทเ่ี ป็นโรคอยแู่ ลว้ (Case) และกาํ หนดวธิ กี ารเลอื กกลุ่ม
ตวั อย่างทไ่ี ม่เป็นโรค (Control) ศกึ ษาขอ้ มลู ปัจจยั ต่าง ๆ ของกลุ่มตวั อย่างทงั้ สอง
แลว้ นํามาวเิ คราะหห์ าปัจจยั เสย่ี งของการเกดิ โรคนนั้ ๆ
2.3 การวิจัยแบบทดลอง (Experimental research) เป็นการศึกษาท่ีแบ่งกลุ่มตัวอย่าง
ออกเป็น 2 กลุ่ม คอื กลุ่มควบคมุ และ กลมุ่ ทดลอง โดยนกั วจิ ยั จะตอ้ งสามารถควบคุม
ปัจจยั อ่นื ๆ หรอื จดั สถานการณ์ในกลุ่มทงั้ สองให้เหมอื นกนั จะแตกต่างกนั เพยี งกลุ่ม
หน่ึงได้รับส่งิ ทดลอง (Treatment) อีกกลุ่มหน่ึงไม่ได้รบั ซ่ึงการทดลองดังกล่าวจะ
สามารถบอกถงึ การเปลย่ี นแปลงหรอื ผลทเ่ี กดิ จากการไดร้ บั สงิ่ ทดลองไดด้ ที ส่ี ดุ
3. การจาํ แนกตามระบบงานทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ สามารถจาํ แนกการวจิ ยั ออกได้
3 วธิ ี คอื
3.1 การวจิ ยั ทางชวี วทิ ยาการแพทย์ (Biomedical research) เป็นการศกึ ษาในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
เกย่ี วกบั เชอ้ื โรค เซลล์ ชวี เคมี และอ่นื ๆ ทางด้านวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ซง่ึ มุ่งไปท่ี
ปัญหาสุขภาพอนามยั ส่วนบุคคลและปัญหาสาธารณสุข ทงั้ ในแง่การป้องกนั โรคและ
การบําบัดโรค ตลอดจนปัญหาทางสงั คมและจิตวิทยาท่ีมีความสมั พันธ์กบั ปัญหา
สุขภาพอนามยั นอกจากนัน้ การวิจยั ทางชวี การแพทย์ยงั เก่ียวข้องกบั การส่งเสริม
สขุ ภาพ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพ และการควบคุมความพกิ าร ดตู วั อยา่ งท่ี 1
ตวั อยา่ งที่ 1
กนษิ ฐา ภูวนาถนรานุบาล และคณะ (2559) ไดท้ าํ การทดสอบความถกู ตอ้ งของวธิ กี าร
ตรวจวเิ คราะห์ ความแรงของอมิ มูโนโกลบูลนิ ทท่ี าํ จากมนุษยส์ าํ หรบั ป้องกนั โรคบาดทะยกั ดว้ ยชุด
น้ํายาทดสอบสาํ เรจ็ รูป พบว่า วธิ กี ารตรวจวเิ คราะห์ความแรงของเซรุ่มแกโ้ รคบาดทะยกั ด้วยวธิ ี
ELISA โดยใช้ชุดน้ํายาทดสอบสําเร็จรูป มีความเท่ียง ความแม่น ความทนทาน และมีความ
เหมาะสมใหผ้ ลการตรวจวเิ คราะหไ์ ดถ้ กู ต้อง เช่อื ถอื ได้ สามารถลดขนั้ ตอน ระยะเวลา ตน้ ทุน และ
ยกเลิกการใช้สตั ว์ทดลองได้ จงึ เป็นวธิ ีท่เี หมาะสมสาํ หรบั นํามาใช้ในการตรวจหาประสทิ ธภิ าพ
Human tetanus immunoglobulin ท่ีใช้ในประเทศในการควบคุมกํากับประสิทธิภาพของอิมมู
โนโกลบลู นิ ทท่ี าํ จากมนุษยส์ าํ หรบั ป้องกนั โรคบาดทะยกั

3.2 การวจิ ยั ทางคลนิ ิก (Clinical research) เป็นการวิจยั ท่เี ก่ียวข้องกบั วธิ ีการ
รกั ษาและการดูแลผู้ป่ วย ดงั นัน้ จงึ เป็นเร่อื งท่เี ก่ียวกบั คนและโรคท่เี ป็น ดู
ตวั อยา่ งท่ี 2 และ 3

7

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ตวั อยา่ งท่ี 2
กรรณิการ์ พรประเสรฐิ สขุ (2551) ไดท้ าํ การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพของยา Budesonide และ

ยา Levocetirizine dihydrochloride เพ่อื ควบคุมอาการและรกั ษาโรคหวดั ภมู แิ พ้ (Allergic rhinitis)
เม่อื ใชย้ ารกั ษาไปเป็นระยะเวลา 4 สปั ดาห์ พบว่า ยา Levocetirizine dihydrochloride มปี ระสทิ ธภิ าพ
ดกี ว่ายา Budesonide ในการรกั ษาโรคหวดั ภูมแิ พ้ โดยเฉพาะในผปู้ ่ วยทม่ี อี าการน้อย (Low total
symptom score) เน่ืองจากควบคุมอาการหวดั ภูมแิ พไ้ ด้เรว็ กว่า และหลงั จากหยุดยาแลว้ มอี าการ
กลบั มาช้ากว่า แต่ไม่มคี วามแตกต่างอย่างมีนัยสําคญั ทางสถิติ ส่วนยา Budesonide สามารถ
ควบคุมอาการหวดั ภูมแิ พใ้ นระยะยาวไดด้ กี ว่ายา Levocetirizine dihydrochloride โดยเฉพาะใน
ผปู้ ่วยทม่ี อี าการมาก (High total symptom score) แต่ไมม่ คี วามแตกต่างอยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ
ตวั อยา่ งท่ี 3

ดิเรก พงศ์พิพัฒน์ และคณะ (2530) ได้ศึกษา ประสทิ ธิภาพของการใช้ Hepatitis B
immunoglobulin (HBIG) ฉดี ใหแ้ ก่ทารกแรกเกดิ ภายใน 24 ชวั่ โมงหลงั เกดิ เพ่อื ป้องกนั การตดิ เชอ้ื
ไวรสั ตบั อกั เสบชนิดบี พบว่า HBIG สามารถลดอตั ราการตดิ เช้อื ไวรสั บใี นทารกเกดิ จากแม่ทเ่ี ป็น
พาหะเร้ือรังของไวรัสน้ี และมีแอนติเจนอีของเช้ือไวรัสตับอักเสบบีลงได้ด้วยถึงร้อยละ 75
นอกจากน้ีผูว้ จิ ยั ยงั ไดศ้ กึ ษาผลของการฉีด HBIG ร่วมกบั วคั ซนี ป้องกนั ไวรสั ตบั อกั เสบบใี นทารก
เกดิ ใหมท่ เ่ี กดิ จากแม่ทเ่ี ป็นพาหะเรอ้ื รงั ของไวรสั น้ี และตามดว้ ยการฉีดวคั ซนี อกี 2 ครงั้ เม่อื ทารก
อายุ 1 และ 2 เดอื นจะไดผ้ ลดที ส่ี ดุ

3.3 การวจิ ยั ระบบสาธารณสุข (Health system research) เป็นการทําวจิ ยั เพ่อื ประเมนิ ผล
การดาํ เนินงานการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ รวมทงั้ การทําวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื พฒั นา
ระบบการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ในระดบั ต่าง ๆ เป็นการวจิ ยั เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ วธิ ที ด่ี ที ส่ี ุด
โดยการนําเอาเทคโนโลยตี ่าง ๆ เขา้ มาใช้ในระดบั สาธารณสุขมูลฐาน (ระบบสุขภาพ
ปฐมภูมิ) และในระบบการส่งต่อของระบบสาธารณสุข นอกจากนัน้ การวิจัยระบบ
สาธารณสขุ จะทาํ ใหไ้ ดม้ าซง่ึ วธิ กี ารทด่ี ที ส่ี ดุ ในการจดั รปู โครงสรา้ งของระบบสาธารณสขุ
เริม่ ตัง้ แต่ระดบั ปฐมภูมหิ รือการสาธารณสุขมูลฐาน ซ่งึ เป็นระดบั แรกท่ีมีการสมั ผัส
ระหว่างบุคคลหรอื ประชาชนกบั ระบบสาธารณสุขเร่อื ยขน้ึ มาจนถงึ ระบบของการส่งต่อ
แต่ละระดบั ตลอดจนการทดสอบกลไกทท่ี าํ ใหเ้ กดิ มกี ารต่นื ตวั และการใหค้ วามรว่ มมอื
ของชุมชนมากขน้ึ (ประกอบ ตู้จนิ ดา, 2524) การวจิ ยั ระบบสาธารณสุขยงั ครอบคลุม
การวจิ ยั บรกิ ารสาธารณสขุ ดว้ ย (อารี วลั ยเสว,ี 2529) ดตู วั อยา่ งท่ี 4

8

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ตวั อยา่ งที่ 4
ขวญั ประชา เชยี งไชยสกุลไทย และอุทุมพร วงษ์ศลิ ป์ (2561) ไดศ้ กึ ษาต้นทุนเครอื ข่าย

บรกิ ารปฐมภูมิ เขตสุขภาพ 8 พบว่า ภาพรวมของทุกเครอื ข่ายมตี ้นทุนค่าแรงเป็นตน้ ทุนหลกั ใน
ระบบบรกิ ารปฐมภูมติ ้นทุนค่าแรงของบางเครือข่ายสูงกว่าต้นทุนค่าวสั ดุถึงสองเท่า รองมาคือ
ต้นทุนค่าวสั ดุและต้นทุนค่าเส่อื มราคา โดยเครอื ข่ายอําเภอน้ําโสมมตี ้นทุนรวม 22.9 ล้านบาท
เครอื ขา่ ยอําเภอวานรนิวาสมตี น้ ทุนรวม 49.4 ลา้ นบาท และเครอื ข่ายอําเภอนากลางมตี น้ ทุนรวม
46.2 ลา้ นบาท เมอ่ื พจิ ารณาตน้ ทนุ รายเครอื ขา่ ยต่อประชากรทร่ี บั ผดิ ชอบ พบว่าเครอื ขา่ ยอาํ เภอน้ํา
โสมมตี ้นทุนเฉล่ีย 612.61 บาทต่อประชากร รองมาคอื เครอื ข่ายอําเภอนากลางมตี ้นทุนเฉล่ีย
603.08 บาทต่อประชากร และเครอื ขา่ ยอาํ เภอวานรนิวาส มตี น้ ทุนเฉลย่ี 461.52 บาทต่อประชากร
ตามลาํ ดบั

3.4 การวจิ ยั นโยบายสาธารณสขุ (Health policy research) เป็นการวจิ ยั ทม่ี ุ่งเน้นทางดา้ น
นโยบายสาธารณสุขโดยเฉพาะ ซง่ึ การวจิ ยั ในแขนงน้ีนบั วนั จะมบี ทบาทมากขน้ึ เพราะ
การวจิ ยั ในแขนงน้ีมสี ว่ นช่วยอยา่ งมากในการกาํ หนดแนวทางและปรบั ปรุงนโยบายให้
เหมาะสมกบั การพฒั นางานสาธารณสุขของประเทศให้ไปในทศิ ทางท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ
มากยงิ่ ขน้ึ ดตู วั อย่างท่ี 5

ตวั อยา่ งท่ี 5
กาญจน์หทยั กองภา และสมหิ รา จิตตลดากร (2564) ได้ทําการศึกษาถึงการนํา

นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขไปปฏิบัติ: กรณีศึกษา SMART HOSPITAL ในพ้นื ท่ีจงั หวัด
อุดรธานี โดยมจี ดุ เรมิ่ ตน้ มาจากการกาํ หนดนโยบายเพ่อื สขุ ภาพในลกั ษณะจากบนลงลา่ ง เพอ่ื สรา้ ง
สงั คมไทยไปสสู่ งั คมสขุ ภาวะ เพ่อื ความมสี ุขภาพดขี องประชาชนทุกคน พบว่า การใหบ้ รกิ ารดา้ น
สุขภาพและปรับเปล่ียนโครงสร้างการพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพเพ่ือเพิ่มกําลงั คนและเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการดูแลคนไทย พร้อมทัง้ นํานวัตกรรมเดิมและเสริมนวัตกรรมใหม่โดยใช้
เทคโนโลยที ม่ี อี ยู่ในปัจจุบนั มาพฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นสุขภาพใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ไดง้ ่าย
และครอบคลุม การปรบั ระบบหลกั ประกนั สุขภาพใหป้ ระชาชนไดร้ บั สทิ ธิและประโยชน์จากการ
บรหิ ารจดั การ และการเขา้ ถงึ บรกิ ารทม่ี คี ุณภาพและสะดวก ทดั เทยี มกนั

1.6 บทบาทของการวิจยั ต่อปัญหาทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

ปัจจุบนั น้ีการสาธารณสุขและการแพทยไ์ ทยไดก้ า้ วหน้าไปมากเม่อื เทยี บกบั ระยะทผ่ี ่านมา
ในดา้ นการแพทยน์ นั้ จะเหน็ ไดว้ ่าไดม้ คี วามกา้ วหน้าในการบรกิ ารผปู้ ่วยจนทดั เทยี มต่างประเทศแลว้ เช่น
การผ่าตดั เปล่ยี นอวยั วะ การผ่าตดั เปล่ยี นหลอดเลอื ดหวั ใจ การช่วยสตรมี บี ุตรยากให้มบี ุตรไดโ้ ดยการ

9

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ผสมเทยี มในหลอดแกว้ เหล่าน้ี เป็นตน้ สําหรบั งานดา้ นสาธารณสุขกไ็ ด้มกี ารใชค้ วามรูแ้ ละเทคโนโลยที ่ี
เหมาะสมไปใชใ้ นระดบั หมบู่ า้ นได้ อย่างไรกด็ ยี งั มปี ัญหาดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ อกี มากทต่ี อ้ งการ
คําตอบเพ่อื นําไปใช้แก้ไขปัญหานัน้ ๆ การวจิ ยั จงึ จดั ว่ามคี วามจําเป็นและควรส่งเสรมิ บุคลากรทางการ
แพทยแ์ ละสาธารณสขุ ใหม้ คี วามสามารถทาํ วจิ ยั ได้ ทงั้ น้เี พอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามองคก์ รกาํ หนดไว้

ปัญหาดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ของประเทศไทย มีปัญหาใหญ่ ๆ 3 ปัญหา คอื
1. ปัญหาประชากรเพ่ิมและผลท่ีตามมา ปัญหาน้ีแม้ว่ารฐั บาลได้ตระหนักดแี ละได้พยายาม
สง่ เสรมิ การวางแผนครอบครวั อย่างมากกต็ าม แต่ปัญหาเหล่าน้กี ย็ งั มอี ยู่ แมว้ ่าอตั ราการเพม่ิ ประชากรของ
ประเทศจะบรรลุเป้าหมายของรฐั บาลกต็ าม ปัญหาร่วมอ่นื กย็ งั มมี ากอยู่ เช่น ปัญหาทางเศรษฐกจิ สงั คม
ปัญหาโรคตดิ ต่อ โรคทางชวี เคมสี งิ่ แวดลอ้ มเป็นพษิ ปัญหาอาชญากรรม และปัญหาสารเสพติด ซง่ึ จาก
จํานวนประชากรท่มี ีในปัจจุบนั กบั การบริการทางสงั คมท่ยี งั ไม่สมดุลกนั กท็ ําให้ปัญหาเหล่าน้ียงั มอี ยู่
ครบถว้ นในปัจจุบนั
2. ปัญหาการขาดทรพั ยากรท่ีจะแก้ไขปัญหา ปัญหาน้ีประกอบด้วยการขาดทรพั ยากรทาง
บุคลากร การขาดเงนิ ปัญหาคณุ ภาพคนและความรู้
3. ปัญหาการจดั การไม่ดพี อ ทําใหผ้ ลทไ่ี ดจ้ ากการดําเนินการไม่ดเี ท่าทค่ี วร หรอื ทําใหป้ ระเทศ
หรอื ประชาชนเสยี ประโยชน์
การแก้ปัญหาต่าง ๆ ของประเทศไทยเพ่ือให้คนไทยมีสุขภาพดี และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้นึ
ยงั มีปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีสําคญั และมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวติ ท่ีดีอกี หลายประการ คอื เศรษฐกิจ สงั คม
การศกึ ษา สงิ่ แวดล้อม การเมอื ง การเกษตรและผลผลิตทางอุตสาหกรรม ตลอดจนเทคโนโลยี และ
การมสี ว่ นรว่ มของชุมชนการพฒั นาของทอ้ งถนิ่
ปัจจยั ต่าง ๆ เหล่าน้ีทด่ี ยี ่อมมผี ลทําใหค้ ุณภาพชวี ติ ดแี น่นอน ดงั นัน้ แนวความคดิ ในการแกไ้ ข
ปัญหาต่าง ๆ เพ่อื ใหค้ นไทยมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี นี นั้ ควรจะตอ้ งมองปัญหาในหลาย ๆ ดา้ นดงั ไดก้ ล่าวมาแลว้
สาํ หรบั การวจิ ยั ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุขเพ่อื ให้รู้และเขา้ ใจปัญหาโดยนําผลการวจิ ยั ไป
แกไ้ ขปัญหานนั้ ควรเป็นวจิ ยั เพ่อื แกไ้ ขปัญหาตามวกิ ฤตกิ ารณ์ คอื เน้นวจิ ยั ตามเป้าหมายทต่ี งั้ ไว้ โดยมี
วตั ถุประสงคท์ จ่ี ะดาํ เนนิ การใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมาย (Management objective) เช่น วจิ ยั เพอ่ื แกไ้ ขปัญหา
โรคตดิ ต่อใหล้ ดน้อยลงตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสขุ เป็นตน้
การวจิ ยั ทางสาธารณสขุ ถอื ว่าเป็นการวจิ ยั ทอ่ี าจเป็นไดท้ งั้ การวจิ ยั พน้ื ฐาน การวจิ ยั ประยุกต์ และการวจิ ยั
แบบผสมผสานหลาย ๆ แขนงทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกนั การวจิ ยั ทางสาธารณสุข หมายถงึ การศกึ ษาคน้ คว้าหา
ความรู้ หาวธิ กี ารใหม่ ๆ คดิ คน้ หาเทคโนโลยที ่เี หมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพในการป้องกนั และรกั ษาโรค
รวมทงั้ การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในการปฏบิ ตั ิงานทางสาธารณสุขเพ่อื ใหป้ ระชาชนมสี ุขภาพอนามยั ทด่ี ี
สามารถประกอบอาชพี และดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งเป็นปกตสิ ขุ

1.7 เป้าหมายและวตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

การวิจยั ทางการแพทย์และสาธารณสุขตามเป้าหมายท่กี ําหนด ส่วนใหญ่จะเน้นการวจิ ยั เชิง
ประยกุ ต์ โดยมวี ตั ถุประสงค์ 3 ประการ ดงั ต่อไปน้ี

10

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

1. การวจิ ยั เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจ หรอื องคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั ปัญหา และปัจจยั ต่าง ๆ ทม่ี ผี ลกระทบ
ต่อสขุ ภาพ

2. การวจิ ยั เพ่อื หาทางเลอื กในการแกไ้ ขปัญหา การวจิ ยั ชนิดน้ีเป็นการหาขอ้ มูลทถ่ี ูกต้องเก่ยี ว
กบั การหาทางเลือก หรือปรับปรุงวธิ ีการหรือเลือกเทคโนโลยที ่ีมอี ยู่ให้นําไปใช้ประโยชน์ได้ทงั้ ระดับ
นโยบาย วางแผน และดาํ เนนิ งาน โดยการแกไ้ ขปัญหาจะมุ่งแกไ้ ขทางบุคคลและสง่ิ แวดลอ้ ม นอกจากน้ียงั
รวมถงึ การวจิ ยั เพอ่ื สรา้ งระบบกระจายบรกิ ารทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ใหท้ วั่ ถงึ ดว้ ย

3. การวิจัยเพ่ือประเมินผล การวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเพ่ือวัดประสิทธิภาพ (Efficiency) และ
ประสทิ ธผิ ล (Effectiveness) ของโครงการต่าง ๆ ตลอดจนหาทางปรบั ปรุงแกไ้ ขหรอื พฒั นาระบบบรกิ าร
ใหด้ ยี ง่ิ ขน้ึ

การประเมนิ ผลโครงการนนั้ มวี ตั ถุประสงคด์ งั น้ี
- วดั ประสทิ ธผิ ลของวธิ กี ารทใ่ี ชว้ ่าไดผ้ ลตามเป้าหมายหรอื ไม่
- วดั ประสทิ ธภิ าพของการดาํ เนินงานวา่ ไดผ้ ลคุม้ กบั ปัจจยั การผลติ หรอื ไม่
- วดั ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการดาํ เนินงาน

ความตอ้ งการ ความตอ้ งการดา้ น ทรพั ยากร ทรพั ยากรทม่ี ี
ในมมุ มองของ สขุ ภาพ ดา้ นสขุ ภาพ เช่น บรกิ าร
การเขา้ แทรกแซง
เจา้ หน้าท่ี สาธารณสขุ ,
อาจแตกต่างจาก หน่วยงานอ่นื ๆ
ความตอ้ งการของ และจากประชาชน

ชาวบา้ น

- ความครอบคลุม?
- ประสทิ ธผิ ล?
- ความสามารถในการจา่ ย?
- ประสทิ ธภิ าพ?
- การยอมรบั ?

รปู ที่ 1 การประเมนิ ผลโครงการพฒั นาสขุ ภาพ

ในการประเมนิ ผลโครงการพฒั นาสุขภาพต่าง ๆ ต้องการวธิ กี ารในการประเมนิ ทด่ี ที ่สี ุด ดงั นัน้
ขอ้ มูลท่มี รี ายละเอยี ดและขอ้ มูลท่ถี ูกต้อง จงึ เป็นสงิ่ ทจ่ี ําเป็นอย่างยงิ่ นอกจากนัน้ การพจิ ารณาถงึ ความ
เป็นไปได้ของการดาํ เนินการ ผล และ ผลกระทบท่อี าจตดิ ตามมาเน่ืองจากกจิ กรรมต่าง ๆ เป็นทจ่ี าํ เป็น
เพ่อื การตดั สนิ ใจ แต่โดยปกติขอ้ มลู ในลกั ษณะดงั กล่าว มกั จะหาไม่ได้ มไี ม่เพยี งพอ มไี ม่ครบถ้วน หรอื
แมแ้ ต่หากมขี อ้ มูลกม็ กั จะเชอ่ื ถอื ไมไ่ ด้ ดงั นนั้ การวจิ ยั จงึ เป็นทางออกหน่ึงเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทจ่ี าํ เป็นและเป็น
ประโยชน์ต่อการตดั สนิ ใจ

11

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

การวจิ ยั นนั้ ถอื ว่าเป็นการรวบรวมความรหู้ รอื ขอ้ มูลใหม่ ๆ จากแหล่งขอ้ มลู ปฐมภมู ิ การวจิ ยั มใิ ช่
เป็นเพยี งการกล่าวอ้างซ้าํ หรอื เป็นการรวบรวมเร่อื งขน้ึ มาใหม่จากสงิ่ ทท่ี ราบกนั อย่แู ลว้ หรอื จากสงิ่ ท่มี ี
ผรู้ ายงานไวแ้ ลว้ หากแต่การวจิ ยั จะบง่ ชถ้ี งึ การคน้ หาขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ความรใู้ หมซ่ ง่ึ จะเกย่ี วโยงไปถงึ สง่ิ และ
สภาวะเฉพาะอยา่ งทไ่ี ดท้ าํ การคน้ ควา้ ตลอดจนวธิ กี ารเลอื กประชากรทศ่ี กึ ษาและการสมุ่ ตวั อยา่ งมาศกึ ษา
เพ่อื ใชก้ ล่าวอา้ งสรปุ ถงึ คณุ ลกั ษณะของประชากรตามขอ้ เทจ็ จรงิ

นอกจากนัน้ แลว้ งานวจิ ยั ยงั เป็นงานดา้ นความชาํ นาญพเิ ศษ (Expert) ทต่ี อ้ งประกอบดว้ ยวธิ กี าร
ทม่ี ีความถูกต้องแม่นยํา นักวิจยั ย่อมเป็นผู้รูถ้ ึงปัญหาท่ีไดร้ ู้มาแล้ว และเป็นผู้มีคุณสมบตั ิติดใจ สงสยั
ซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นวิจัยเพ่ือตอบปัญหาหรือค้นหาความรู้ใหม่ท่ียังไม่รู้ โดยมีการวางแผนงานท่ีรดั กุม
มกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใชเ้ คร่อื งมอื ทเ่ี ช่อื ถอื ได้ ตลอดจนสามารถวเิ คราะหข์ อ้ มูล แปล และ สรุปผล
ได้อย่างถูกต้องและมหี ลกั เกณฑ์ การทําวจิ ยั จดั เป็นงานท่ตี ้องใช้ความรู้ ความคดิ ความมเี หตุผล และ
การดําเนินการวิจยั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และต้องใช้วิธที างสถิติเพ่อื ทดสอบความจรงิ เก่ยี วกบั ข้อมูล
ทร่ี วบรวมมาไดน้ นั้ ดว้ ย

1.8 ความจาํ เป็นที่ต้องทาํ การวิจยั ทางสาธารณสขุ

งานสาธารณสุขเป็นงานท่มี ขี อบเขตกว้างขวางทงั้ ในดา้ นการป้องกนั และรกั ษาโรค เป็นงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั คนทุกเพศ ทุกวยั ทุกชนชนั้ อาชพี ตงั้ แต่เกดิ จนตาย ทงั้ ในเขตเมอื งและเขตชนบท เป็นงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั สง่ิ มชี วี ติ และไมม่ ชี วี ติ เช่น การคน้ หาวธิ กี ารรกั ษาใหม่ ๆ คน้ หาตวั ยาใหม่ คดิ คน้ อุปกรณ์และ
เครอ่ื งมอื ใหม่ ๆ หรอื คดิ คน้ กลยทุ ธใ์ หม่ ๆ ทจ่ี ะนํามาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การระบบสขุ ภาพของประเทศใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล งานสาธารณสขุ จงึ เป็นงานทป่ี ระสบกบั ปัญหาต่าง ๆ มากมาย ไมย่ ง่ิ หย่อน
ไปกว่างานในสาขาอาชพี อ่นื ๆ ขอยกตวั อยา่ งปัญหาสาธารณสขุ ทส่ี าํ คญั ในปัจจบุ นั เชน่

 ปัญหาคณุ ภาพการใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ
 ปัญหาสขุ ภาพจติ
 ปัญหาสารเสพตดิ
 ปัญหาโรคตดิ ต่อทย่ี งั ไมม่ วี คั ซนี หรอื ยารกั ษาทม่ี คี ณุ ภาพ
 ปัญหาโรคตดิ เชอ้ื ทด่ี อ้ื ยา
 ปัญหาโรคเอดส์ และวณั โรคปอด
 ปัญหาโรคไม่ตดิ ต่อเรอ้ื รงั โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู โรคหวั ใจ โรคมะเรง็ และ โรคหลอด

เลอื ดสมอง
 ปัญหาอุบตั เิ หตุทางจราจร
 ปัญหาอบุ ตั ภิ ยั และภยั พบิ ตั ทิ เ่ี กดิ จากมนุษยแ์ ละภยั ทางธรรมชาติ
 ปัญหาดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั หรอื โรคและภยั จากการประกอบอาชพี

ปัญหาทางสาธารณสุขเหล่าน้ี เป็นปัญหาท่ีต้องการคําตอบ และต้องการหาวิธีการท่ีดีท่ีสุด
ทเ่ี หมาะสมทส่ี ุดเขา้ ไปช่วยแก้ไข การคน้ หาและสบื สาวเขา้ ไปถงึ ต้นตอของปัญหาต้องอาศยั วธิ กี ารวจิ ยั

12

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

อย่างมขี นั้ ตอนท่ีถูกต้องจะช่วยให้สามารถมองเห็นสาเหตุของปัญหา มองเห็นปัจจยั ต่าง ๆ ท่ีมสี ่วน
เก่ียวข้องหรือเก้ือกูลให้เกิดปัญหา และด้วยวิธีการวิจัยอีกเช่นเดียวกนั จะช่วยให้ได้ความรู้ใหม่ ๆ
จากการศึกษาปัญหานัน้ ทัง้ ในด้านวิชาการ ในด้านการค้นพบทฤษฎีใหม่ ๆ เทคโนโลยีใหม่ ๆ
ในการนําไปประยุกต์กบั การปฏิบตั ิงานให้ได้ผลดมี ีประสทิ ธิภาพสูงกว่า วธิ ีการท่ีปฏิบตั ิมาแต่เดิมได้
ดว้ ยเหตุน้ีการวจิ ยั จงึ นบั วา่ มบี ทบาททส่ี าํ คญั ในการชว่ ยพฒั นาระบบสาธารณสขุ ของประเทศใหก้ า้ วหนา้ ไป
อย่างรวดเรว็ ช่วยใหน้ กั สาธารณสขุ สามารถประยุกต์วธิ กี ารใหม่ ๆ ในการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและ
ไดผ้ ลดมี ากขน้ึ

1.9 ขนั้ ตอนการวิจยั

จากคําจํากดั ความของการวจิ ยั ระเบยี บวิธที ใ่ี ช้ในการแสวงหาคําตอบความรูน้ ัน้ นักวิจยั จะใช้
ระเบยี บวธิ ที างวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นพน้ื ฐาน ดงั นัน้ การดาํ เนนิ การวจิ ยั จะเป็นกระบวนการและมขี นั้ ตอนชดั เจน
ในท่ีน้ีจะนําเสนอขนั้ ตอนการวิจัย 2 รูปแบบ คือ ขนั้ ตอนการวิจัยเชิงปริมาณ และขนั้ ตอนการวิจัย
เชงิ คณุ ภาพ ซง่ึ แตกต่างกนั ในรายละเอยี ดเลก็ น้อย

1. ขนั้ ตอนการวิจยั เชิงปริมาณ

เร่ิมตัง้ แต่การเลือกเร่ืองและการกําหนดปัญหาการวิจัย การทบทวนเอกสารและงานวิจัย
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การกาํ หนดกรอบแนวคดิ / กรอบทฤษฎี การตงั้ สมมตฐิ าน การกําหนดตวั แปร การออกแบบ
การวจิ ยั การเตรยี มเคร่อื งมอื ในการวจิ ยั การกําหนดกลุ่มประชากร การเลอื กตวั อย่าง การเกบ็ รวบรวม
ขอ้ มลู การเตรยี มขอ้ มลู เพ่อื การวเิ คราะห์ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การแปรผลขอ้ มลู และ การเขยี นรายงานวจิ ยั
เผยแพร่ ดงั แสดงในรปู ท่ี 2

13

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน ปรากฏการณ์
Phenomena
อุดมคตหิ รอื อุดมการณ์
Ideology

ความอยากรู้ แนวความคดิ ทฤษฎี
Curiosity Theoretical concept

การกาํ หนดปัญหาและขอบเขตของปัญหา
Research problem

การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
Literature review

โมเดลหรอื กรอบแนวคดิ กรอบทฤษฎี
Model or Conceptual Framework Theoretical framework

การตงั้ สมมตฐิ าน การกาํ หนดตวั แปร
Hypothesis Variable

การออกแบบวจิ ยั Research design การสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั ในการวจิ ยั
Instrument
ประชากรและการเลอื กตวั อยา่ ง การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
Sampling technique Data collection

การจดั การขอ้ มลู Data Management

สถติ พิ รรณนา การวเิ คราะหข์ อ้ มลู สถติ อิ นุมาน
Descriptive Statistics Data analysis Inferential statistics

การแปลผล Interpretation

รายงานผลการวิจยั Research report

รปู ท่ี 2 ขนั้ ตอนของการวจิ ยั (ปรบั ปรงุ จาก ธวชั ชยั วรพงศธร, 2543 : 23)
14

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

1. การเลอื กเร่อื งและกําหนดปัญหาการวจิ ยั เป็นกจิ กรรมทท่ี ําพรอ้ ม ๆ กนั และเป็นจุดเรมิ่ ต้นท่ี
สาํ คญั ยง่ิ นกั วจิ ยั มกั ใชเ้ วลาค่อนขา้ งมากในการตงั้ ปัญหาเพ่อื ใหด้ ที ส่ี ดุ ถา้ ทาํ ไดด้ จี ะเป็นผลดแี ก่
ขนั้ ตอน อ่นื ๆ ของกระบวนการวจิ ยั เร่อื งทจ่ี ะทําวจิ ยั ดนี ัน้ ตอ้ งมขี อบเขตชดั เจน ไม่กวา้ งหรอื
แคบเกนิ ไป เป็นเร่อื งทส่ี ามารถดาํ เนนิ การได้ และมปี ระโยชน์ทม่ี าของเรอ่ื งอาจจะเกดิ จากความ
อยากรู้ ความสงสยั จากนักคดิ จากปรากฏการณ์ หรอื จากการคน้ คว้า การฟัง การอ่าน การ
สนทนา หรอื สงั เกตจากสภาพแวดลอ้ มทวั่ ไป

2. การทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง จะทําร่วมไปกบั การกําหนดปัญหาในขนั้ ตอน
แรกเริ่ม แต่ถ้าจะให้ปัญหาวิจยั มคี วามชดั เจนมขี ้อมูลท่ีเพียงพอผู้วิจยั จะต้องทบทวนอ่าน
เอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและประเมนิ ดว้ ยวจิ ารณญาณว่าอะไรเกย่ี วขอ้ งอย่างไร เพอ่ื จะนํามา
พจิ ารณาเป็นกรอบแนวคดิ และกรอบของงานวจิ ยั ทท่ี าํ การศกึ ษาขอ้ มลู ดว้ ยการทบทวนเอกสาร
ใหม้ ากทส่ี ดุ และละเอยี ดรอบครอบ จะทาํ ใหก้ รอบความคดิ ชดั เจน ทงั้ ยงั ทําใหส้ ามารถกาํ หนด
ตวั แปร การตงั้ สมมตฐิ านไดแ้ ม่นยาํ อกี ดว้ ย

3. กาํ หนดจดุ ประสงคก์ ารวจิ ยั บางครงั้ อาจเกดิ ขน้ึ เพอ่ื นําไปสกู่ ารวจิ ยั กไ็ ดห้ รอื เกดิ ตามปัญหาการ
วิจยั กไ็ ด้ กรณีเกิดก่อนการกําหนดปัญหาการวจิ ยั เช่น ผู้วจิ ยั ต้องการทราบว่าการสวนคา
ปัสสาวะนาน ๆ ถา้ มกี ารฝึกการทาํ งานของกระเพาะปัสสาวะจะชว่ ยใหก้ ารทาํ งานของกระเพาะ
ปัสสาวะเป็นไปไดด้ กี วา่ การไดฝ้ ึกการทาํ งานของกระเพาะปัสสาวะหรอื ไม่ และมคี วามแตกต่าง
เร่อื งการติดเชอ้ื อย่างไร เป็นต้น การกําหนดวตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั ก่อนน้ีเป็นได้ในกรณี
ปัญหาการวจิ ยั ในทางปฏบิ ตั ติ กลงกนั ไมไ่ ดซ้ ง่ึ มแี นวปฏบิ ตั ทิ ห่ี ลากหลาย

4. การตงั้ สมมตฐิ าน การตงั้ สมมตฐิ านมคี วามใกลช้ ดิ กบั การกําหนดปัญหาการวจิ ยั เป็นการวาง
กรอบของปัญหาในแนวลึกเจาะลกึ ในปัญหา ทําให้คาดได้ว่าผลการวจิ ยั จะออกมาอย่างไร
ดงั นัน้ สมมตฐิ านจงึ เป็นข้อความแสดงถึงการคาดการณ์ถึงผลการวจิ ยั ท่จี ะได้รบั มาเขยี นใน
ลกั ษณะของความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปรทส่ี าํ คญั ในการวจิ ยั นนั้

5. การกําหนดตวั แปร ชนิด และ จํานวนตวั แปร ทไ่ี ดจ้ ากกรอบแนวคดิ กรอบทฤษฎี โดยสร้าง
ทฤษฎีและสมมติฐาน ผู้วิจัยต้องนํามาขยายรายละเอียดในเร่ืองของคํานิยามตัวแปร คือ
ความหมายทช่ี ดั เจน จะวดั สงั เกตไดอ้ ยา่ งไร เป็นตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม ตวั แปรควบคุม เป็น
ต้น ถา้ สามารถทาํ ใหค้ วามหมายและชว้ี ดั ไดช้ ดั เจน จะมสี ่วนช่วยในการสรา้ งเคร่อื งมอื ในการ
วจิ ยั หรอื เลือกเคร่ืองมือมาใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม ทงั้ ยงั ช่วยเลอื กสถิตทิ ่ีจะใชใ้ นการวิเคราะห์
ขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ งอกี ดว้ ย

6. การออกแบบการวจิ ยั เป็นการวางแผนขนั้ ต้นว่าจะดําเนินการวจิ ยั อย่างไร มขี นั้ ตอนอย่างไร
กําหนดประชากรกลุ่มตวั อย่างอย่างไร ใชเ้ คร่อื งมอื รวบรวมข้อมูลอย่างไร และจะวเิ คราะห์
ข้อมูลอย่างไรเป็ นการกําหนดทรัพยากรท่ีต้องใช้ในการวิจัยด้วย เช่น บุคลากร เวลา
งบประมาณการออกแบบการวจิ ยั ท่รี ดั กุมถูกตอ้ ง จะช่วยใหก้ ารดาํ เนินการวจิ ยั ราบร่นื ประสบ
ปัญหาน้อย

15

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

6.1 การเตรยี มเคร่อื งมอื ในการวจิ ยั เคร่อื งมอื การวจิ ยั เป็นอุปกรณ์สาํ คญั ส่วนหน่ึงในการเกบ็
รวบรวมขอ้ มลู ใหค้ รบถ้วนตามวตั ถุประสงคท์ ก่ี าํ หนดไว้ นกั วจิ ยั ต้องรจู้ กั ชนดิ ของเคร่อื งมอื
การวจิ ยั ตลอดจนวธิ ใี ชเ้ ป็นอย่างดี จงึ จะเลอื กใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสมกบั การวดั ตวั แปรทศ่ี กึ ษา

6.2 การกาํ หนดประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง เป็นการระบขุ อบเขตของประชากรทจ่ี ะนําผลการวจิ ยั
ไปสรุปอ้างองิ ให้ชดั เจนจะเป็นกลุ่มไหน เป็นใคร เป็นช่วงเวลาใด การกําหนดประชากร
ชดั เจนจะช่วยใหพ้ จิ ารณากรอบของตวั อย่างและคณุ สมบตั ขิ องตวั อยา่ งทจ่ี ะถูกเลอื กใหเ้ ป็น
ตวั แทนของประชากรอยา่ งเหมาะสม

7. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เป็นการลงมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามท่กี าํ หนดไวใ้ นการออกแบบการ
วจิ ยั ว่าเป็นการวจิ ยั เชงิ พรรณนา การวจิ ยั เชงิ ทดลอง และ การวจิ ยั กง่ึ ทดลอง ซง่ึ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งเกบ็
ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ภายในเวลาท่วี างแผนไว้ รวมทงั้ ต้องคํานึงถึงการควบคุมคุณภาพของ
ขอ้ มลู ดว้ ย

8. การเตรยี มขอ้ มลู เพ่อื การวเิ คราะห์ เม่อื ผวู้ จิ ยั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มาไดแ้ ลว้ ต้องนํามาตรวจสอบ
วา่ มสี ง่ิ ใดผดิ พลาดบกพร่องไปบา้ ง ถา้ มแี กไ้ ขไดห้ รอื ไม่ ถา้ แกไ้ ขไม่ไดจ้ ะทาํ อย่างไร

9. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เม่อื เกบ็ รวบรวมและผ่านการตรวจสอบขอ้ มลู แลว้ กต็ อ้ งนําขอ้ มลู นนั้ มาทาํ
การวิเคราะห์ตามวิธีการท่ีกําหนดไว้ การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้สถิติ 2 ประเภท คือ สถิติ
พรรณนา และสถิติอนุมาน ซ่ึงใช้ในการทดสอบสมมติฐานเพ่ือตอบปัญหาการวิเคราะห์ท่ี
กาํ หนดไว้

10. การแปรผล เม่อื วเิ คราะห์ขอ้ มูลแลว้ ต้องมกี ารแปรผลวเิ คราะหเ์ พ่อื ให้ความหมายแก่ผลการ
วเิ คราะหใ์ นการน้ตี อ้ งมกี ารสรปุ ผลประมวลผล และใหข้ อ้ เสนอแนะโดยยดึ ตามผลการวจิ ยั ทไ่ี ด้

11. การรายงานผลการวจิ ยั เป็นขนั้ ตอนทผ่ี ูว้ จิ ยั ตอ้ งเขยี นรายงานเสนอผลการวจิ ยั โดยตอ้ งเสนอ
ตามรูปแบบทก่ี ําหนดการรายงาน ถอื เป็นรายงานทางวชิ าการต้องเสนอในลกั ษณะรายงาน
วิชาการต้องระมัดระวังการใช้ถ้อยคํา และการเสนอความเห็นส่วนตัวท่ีไม่เก่ียวข้องกับ
ผลการวจิ ยั

12. การเผยแพร่ ผู้วจิ ยั ต้องส่งรายงานการวจิ ยั ทงั้ เล่มออกเผยแพร่เพ่อื จุดประสงค์ในการเสนอ
ข้อมูลค วาม รู้ใ หม่แ นว ทาง กา รแก้ปั ญ หาเ พ่ือ ให้ผู้สน ใจนํ าไ ปใช้ให้เกิด ปร ะโย ชน์ ตรง ตา ม
ผลการวจิ ยั นอกจากรายงานเป็นเล่มแลว้ ยงั สามารถส่งบทคดั ย่อลงพมิ พใ์ นวารสารและเสนอ
ผลงานดว้ ยตนเอง (ปากเปลา่ ) ในเวทวี ชิ าการต่าง ๆ ทเ่ี ปิดโอกาสใหไ้ ดอ้ กี ดว้ ย

2. ขนั้ ตอนการวิจยั เชิงคณุ ภาพ

ขนั้ ตอนการวิจยั เชงิ คุณภาพต่างจากขนั้ ตอนวจิ ยั เชิงปริมาณบางประการ ได้แก่ การวิจยั เชงิ
คุณภาพมกั ไม่มีการตัง้ สมมติฐานล่วงหน้า และขนั้ ตอนการทําวิจัยไม่ได้จําแนกออกจากกันชดั เจน
โดยเฉพาะในขนั้ ตอนของการรวบรวมขอ้ มูล การบนั ทกึ และ การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ขนั้ ตอนการวจิ ยั เชงิ
คุณภาพจะมลี กั ษณะแบบวฏั จกั ร คอื หมนุ เวยี นไปตามขนั้ ตอนจนครบเป็นวงจร ดงั แสดงในภาพท่ี 3

16

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

การกําหนดปัญหาการวจิ ยั
(1)

สรปุ และเขยี นรายงาน การเตรยี มการรวบรวม
เผยแพร่ (6) ขอ้ มลู (2)

วเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ คุณภาพ รวบรวมขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ
(5) (3)

บนั ทกึ ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ
(4)

รปู ท่ี 3 วฏั จกั รของขนั้ ตอนการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ

จากรปู ท่ี 3 จะเหน็ ไดว้ ่าขนั้ ตอนการวจิ ยั เชงิ คุณภาพประกอบดว้ ย 6 ขนั้ ตอน ดงั มรี ายละเอยี ดดงั น้ี
1. การกําหนดปัญหาการวจิ ยั ลกั ษณะทม่ี าเหมอื นขนั้ ทเ่ี ลอื กและกําหนดปัญหาการวจิ ยั ในการ

วิจัยเชิงปริมาณ จุดมุ่งหมายการวิจัยในขัน้ น้ีเพ่ือแสวงหาข้อมูลพ้ืนฐานอันนําไปสู่
การตัง้ สมมติฐานในขัน้ ตอนน้ีรวมกิจกรรมการกําหนดหน่วยการวิจัยหรือพ้ืนท่ี ท่ีจะ
ทาํ การศกึ ษาดว้ ย
2. การเตรียมการรวบรวมข้อมูล เป็นการดําเนินการ เช่น การเข้าเย่ียมสํารวจพ้ืนท่ีท่ีจะ
ทาํ การศกึ ษา เตรยี มเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ใหพ้ รอ้ ม สมดุ บนั ทกึ แถบบนั ทกึ เสยี ง แถบบนั ทกึ ภาพ
การทาํ ความรจู้ กั กบั บคุ คลทจ่ี ะเป็นแหลง่ ขอ้ มลู สาํ คญั (Key informants)
3. การรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นท่ีท่ีผู้วิจัยลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น การสงั เกต
สมั ภาษณ์ และบนั ทึกข้อมูลจากแหล่งขอ้ มูลสําคญั และการรวบรวมเอกสารและหลกั ฐาน
เพมิ่ เติมขนั้ ตอนน้ีจะใชเ้ วลาทาํ ต่อเน่ืองเป็นเวลานาน และจะต้องไปคลุกคลใี กลช้ ดิ กบั บุคคล
ต่าง ๆ ในพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
4. การบนั ทึกข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นขนั้ ตอนท่ีทําควบคู่ไปกบั ขนั้ ตอนท่ี 3 โดยจะนําข้อมูล
ทร่ี วบรวมได้แต่ละวนั มาจดั ระบบตามแผนท่กี ําหนดและบนั ทกึ ไว้ในช่วงท้ายของกจิ กรรม
แต่ละวนั
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ ทําควบคู่ไปกบั ขนั้ ตอนท่ี 3 และ 4 การวิเคราะห์เป็นการ
ตคี วามหมายของขอ้ มลู เชงิ พรรณนา จะทาํ ไดเ้ มอ่ื มขี อ้ มลู มากเพยี งพอ และการใหค้ วามหมาย

17

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

เป็นการวเิ คราะห์แต่ละครงั้ ไม่ถือว่าสน้ิ สุด จะสามารถวเิ คราะหใ์ ห้ความหมายใหม่ไดถ้ ้ามี
ขอ้ มลู ใหม่ซง่ึ ทาํ ใหม้ ผี ลต่อการศกึ ษาแตกต่างไปจากเดมิ
6. การสรุปเขยี นรายงานและเผยแพร่ ขนั้ ตอนน้ีสามารถทําไดห้ ลงั จากขนั้ ตอนท่ี 3, 4 และ 5
สน้ิ สุดลง ผวู้ จิ ยั เขยี นรายงานจนเสรจ็ สมบูรณ์ แต่บางกรณีการเสนอรายงานอาจไม่มบี ทสรุป
แต่เป็นเพยี งการเสนอเร่อื งราวให้ผูอ้ ่านไดร้ บั ทราบและใหผ้ ูอ้ ่านเกดิ ขอ้ สรุปขนั้ ตอนในใจได้
สาํ หรบั การเผยแพร่ทาํ เชน่ เดยี วกบั การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ

1.10 คณุ สมบตั ิของนักวิจยั

การใช้ความคิด
เรมิ่ ดว้ ยการมคี วามคดิ มุ่งมนั่ ทจ่ี ะทาํ วจิ ยั เร่อื งนนั้ ๆ (ใจถงึ ) และพรอ้ มทจ่ี ะนําความคดิ ผอู้ ่นื มาใช้
ประโยชน์ในงานวจิ ยั ดว้ ย (ยอมรบั ความคดิ ผอู้ ่นื ) รวมทงั้ ยนิ ดหี รอื ยอมรบั คําตชิ มหรอื วจิ ารณ์จากผอู้ น่ื ดว้ ย
คุณสมบตั ิประกอบอ่นื ๆ ได้แก่ นักวจิ ยั จะต้องมคี วามคดิ ทถ่ี ูกต้อง มกี ารตดั สนิ ใจรวดเรว็ และมเี หตุผล
ประการสุดท้ายกค็ อื นักวจิ ยั จะต้องมคี วามคดิ ยดึ มนั่ ในความจรงิ หรือมคี วามซ่ือสตั ย์ซง่ึ เป็นคุณสมบตั ิท่ี
นกั วจิ ยั จะขาดคุณสมบตั ทิ ส่ี าํ คญั น้มี ไิ ด้
การปฏิบตั ิ
ในการดาํ เนินการวจิ ยั นนั้ นกั วจิ ยั จะตอ้ งเรม่ิ ดว้ ยการวางแผนงานการวจิ ยั นนั้ ก่อนทจ่ี ะถงึ ขน้ึ ตอน
การดาํ เนนิ การวจิ ยั ตลอดระยะเวลาทน่ี กั วจิ ยั ดาํ เนินการวจิ ยั นนั้ นกั วจิ ยั จะตอ้ งมคี วามอดทน
ไมท่ อ้ แท้ มคี วามเขม้ แขง็ และการดาํ เนินงานวจิ ยั ทกุ อยา่ งตอ้ งทาํ ตามวตั ถุประสงคท์ ก่ี าํ หนดไว้
ทุกประการ สาํ หรบั นกั วจิ ยั ทเ่ี ป็นผวู้ จิ ยั หลกั กจ็ าํ เป็นตอ้ งสามารถดาํ เนนิ งานในลกั ษณะเป็นผนู้ ําทมี วจิ ยั
ไดอ้ กี ดว้ ย
การเผยแพรผ่ ลงานวิจยั
เน่ืองจากการดาํ เนินงานวจิ ยั ตอ้ งลงทุนทงั้ ทรพั ยากรบุคคลและงบประมาณ ตลอดจน
ความม่งุ มนั่ อดทนของนกั วจิ ยั เพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู ใหส้ ามารถไดค้ าํ ตอบในประเดน็ ปัญหาทส่ี นใจ
การเผยแพร่ผลงานวจิ ยั นบั ว่ามคี วามสาํ คญั ทค่ี วรจะไดม้ กี ารนําผลงานไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป การเผยแพร่
ผลงานวจิ ยั นอกจากจะเผยแพร่ในรปู จดั ทํารายงานผลงานวจิ ยั ตามหลกั เกณฑ์ทวั่ ไปแลว้ ยงั ต้องมกี าร
เผยแพร่ผลงานวจิ ยั ในรูปแบบอ่นื ๆ อกี ดว้ ย เช่น นําเสนอผลงานวจิ ยั ในการประชุมวชิ าการ จดั พมิ พใ์ น
วารสารการแพทย์ หรอื เผยแพรท่ างวทิ ยุและโทรทศั น์ ตามความเหมาะสมต่อไปอกี ดว้ ย
จรรยาบรรณของนักวิจยั
ในการทาํ วจิ ยั นอกจากระเบยี บวธิ กี ระบวนการ เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ คาํ ตอบทเ่ี ช่อื ถอื ไดแ้ ลว้ สง่ิ สาํ คญั
อย่างยิ่งอีกประการหน่ึงก็คือ จรรยาบรรณของนักวิจัยท่ีนักวิจัยทุกคนต้องตระหนักและปฏิบตั ิตาม
จรรยาบรรณซง่ึ แบ่งออกเป็น 2 ขอ้ ใหญ่ ๆ คอื
1. ความซ่ือสตั ย์ในการดําเนินการวิจยั นักวิจยั ต้องดําเนินการวจิ ยั ทุกขนั้ ตอนอย่างซ่อื สตั ย์
ทงั้ ต่อตนเองและต่อผอู้ น่ื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะหก์ ารรายงานผลการวจิ ยั ตอ้ งใชข้ อ้ มลู จรงิ ไม่

18

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

สร้างข้อมูลท่ีเป็นเท็จ และรายงานผลการวจิ ยั ทุกด้าน รวมทงั้ ข้อบกพร่องในการวิจยั เพ่อื ให้ผู้ท่ีจะนํา
ผลการวจิ ยั ไปใชจ้ ะไดป้ ้องกนั ขอ้ ผดิ พลาดทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ

2. การเคารพสทิ ธขิ องผูถ้ ูกวจิ ยั ในการทําวิจยั กบั คนนัน้ แต่ละคนมสี ทิ ธขิ องตนในการจะเป็น
ผถู้ กู วจิ ยั หรอื เป็นตวั อย่างในการวจิ ยั สทิ ธติ ่าง ๆ ไดแ้ ก่

2.1 การไดร้ บั ความเคารพในความเป็นบคุ คล มสี ทิ ธใิ นการตดั สนิ ใจดว้ ยตนเองในการเขา้ รว่ ม
การวจิ ยั ตลอดจนการถอนตวั จากการวจิ ยั

2.2 การไดร้ บั ความปลอดภยั จากอนั ตรายและผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ จากการวจิ ยั ทงั้ ดา้ นกาย
จติ สงั คม จติ วญิ ญาณ และ เศรษฐกจิ

1.11 คณุ ลกั ษณะของนักวิจยั

นกั วจิ ยั คอื ผทู้ พ่ี ยายามหาขอ้ เทจ็ จรงิ ของธรรมชาตโิ ดยใชก้ ระบวนการทถ่ี ูกตอ้ งและเชอ่ื ถอื ได้
ในสาขานนั้ ๆ นกั วจิ ยั ควรมคี ณุ ลกั ษณะอยา่ งน้อย 7 ประการ ต่อไปน้ี

1. มคี วามสงสยั ไมเ่ ช่อื สงิ่ ต่าง ๆ อยา่ งง่าย
2. มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์
3. ขยนั หมนั่ เพยี ร
4. มวี จิ ารณญาณ
5. ใจกวา้ ง
6. ซ่อื สตั ย์
7. มคี วามสขุ ในการทาํ งาน
นอกจากคณุ ลกั ษณะ 7 ประการน้ีแลว้ นกั วจิ ยั ควรจะมจี รยิ ธรรมในการวจิ ยั 8 ประการ ไดแ้ ก่
1. ควรไดร้ บั การยนิ ยอมจากกลมุ่ ตวั อยา่ งของการวจิ ยั
2. การเกบ็ ความลบั ของขอ้ มลู
3. การป้องกนั ความบบี คนั้ (Stress) ทงั้ ทางกายและทางจติ ของกลุ่มตวั อยา่ ง
4. ใหเ้ กยี รตผิ มู้ สี ว่ นชว่ ยเหลอื ในการวจิ ยั
5. ใหเ้ กยี รตใิ นการอา้ งองิ ขอ้ มลู
6. ความเป็นกลางจากแหล่งทุนอุดหนุน
7. ซอ่ื สตั ยต์ ่อกลุ่มตวั อยา่ ง
8. ซ่อื สตั ยต์ ่อสาธารณชน ไมม่ ุ่งเผยแพรง่ านวจิ ยั เฉพาะพวกพอ้ งของตน

1.12 นิยามศพั ทท์ างการวิจยั ที่ควรทราบ

นักวิจยั ต้องทําความเขา้ ใจความหมายของศพั ท์ต่าง ๆ ในการวจิ ยั เพ่ือนําไปใช้ในการเขยี น
รายงานวจิ ยั ทถ่ี ูกตอ้ ง รวมทงั้ สอ่ื ใหผ้ อู้ ่านงานวจิ ยั เขา้ ใจศพั ทท์ ใ่ี ชบ้ อ่ ย ไดแ้ ก่

1. แนวคิด หมายถงึ คาํ วลี ทก่ี ล่าวถงึ สง่ิ ใดสงิ่ หน่ึงทม่ี ขี อบเขตไม่ชดั เจนนกั การตคี วามขน้ึ กบั
ความรแู้ ละประสบการณ์ของผอู้ ่าน คาํ เหลา่ น้ี ไดแ้ ก่ สขุ ภาพดี ความเจบ็ ปวด ภาวะไข้

19

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

2. คาํ นิยามปฏิบตั ิการ (Operational definition) เป็นการใหค้ วามหมายของคําท่เี ป็นแนวคดิ
ออกมาในลกั ษณะทว่ี ดั ไดส้ งั เกตได้ เพ่อื ใหม้ คี วามหมายทแ่ี น่นอนมขี อบเขตเป็นอยา่ งเดยี วกนั จะไดไ้ ม่เกดิ
ความคลาดเคล่ือนในงานวจิ ยั ทําให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายตรงกนั การให้ความหมายของคําในเชิง
ปฏบิ ตั กิ ารจะต่างไปจากความหมายเชงิ ทฤษฎี คอื จะเน้นทก่ี ารวดั การสงั เกตทป่ี ฏบิ ตั ไิ ดแ้ ต่คาํ นิยามทใ่ี ห้
ต้องไม่ขดั กบั ความหมายเชงิ ทฤษฎี ตวั อย่างเช่น คําว่า “ภาวะไข้” ในการวจิ ัยนิยามปฏบิ ัติการจะให้
ความหมายวา่ “ภาวะทอ่ี ุณหภูมกิ ายสงู เกนิ 38 องศาเซลเซยี ส โดยการวดั อณุ หภูมทิ างทวารหนกั เป็นเวลา
2 นาที สอดเทอรโ์ มมเิ ตอรล์ กึ ประมาณ 2-3 เซนตเิ มตร จะเหน็ ว่าจากตวั อย่าง การตคี วามภาวะใชจ้ ะได้
ขอบเขตความหมายชดั เจน และการจะระบวุ ่ามไี ขห้ รอื ไม่จะระบุตรงกนั

3. ตวั แปร (Variables) หมายถงึ สงิ่ ทเ่ี ปลย่ี นค่าไดเ้ ป็นหลายค่า เป็นลกั ษณะคุณภาพคุณสมบตั ิ
ของบุคคล สงิ่ ของ หรอื สงิ่ ทส่ี นใจจะนํามาศกึ ษาทส่ี ามารถนบั ไดว้ ดั ได้ และแจกแจงไดห้ ลายค่า ในการทํา
วจิ ยั เม่อื นําแนวคดิ มาระบุนิยามปฏบิ ตั กิ ารแลว้ จะกลายเป็นรูปของตวั แปร เช่น ความเจบ็ ปวดมกี ารแปร
ค่าไดเ้ ป็น เจบ็ น้อย ปานกลาง เจบ็ มาก หรอื ใหค้ ่าเป็นตวั เลข 1 ถงึ 10 หรอื ภาวะไข้ อาจแปรค่าเป็นไขส้ งู
ไขเ้ ลก็ น้อย ไม่มไี ข้ หรอื ระบุค่าอุณหภูมขิ องกายตงั้ แต่ 38 องศาเซลเซยี ส ลงไปกไ็ ด้ หรอื แมแ้ ต่ค่าความ
คดิ เหน็ แปรคา่ เป็น เหน็ ดว้ ยอย่างยง่ิ จนถงึ ไมเ่ หน็ ดว้ ยเป็นตน้ โดยทวั่ ไปตวั แปรมี 3 ชนดิ คอื ตวั แปรอสิ ระ
ตวั แปรตาม และ ตวั แปรภายนอกหรอื ตวั แปรแทรกซอ้ น

4. คา่ สงั เกต (Observation) หมายถงึ ค่าทว่ี ดั ไดข้ องตวั แปรวดั ไดจ้ ากตวั อย่างแต่ละหน่วย เช่น
การศกึ ษาน้ําหนกั แรกเกดิ ของทารกเพศหญงิ จากการผสมเทยี ม น้ําหนกั แต่ละคนทว่ี ดั ไดเ้ รยี กว่าค่าสงั เกต

5. ข้อมูล (Data) หมายถงึ ชดุ ของค่าสงั เกตทว่ี ดั ไดจ้ ากกลมุ่ ตวั อยา่ งชุดหน่งึ ๆ เชน่ การวจิ ยั
มตี วั อย่าง 100 คน คา่ น้ําหนกั แต่ละคน 100 คนทว่ี ดั ไดค้ อื ชุดของค่าสงั เกต เรยี กวา่ ขอ้ มลู

6. หน่วยวิจยั (Subject) หมายถงึ หน่วยเบอ้ื งตน้ มลี กั ษณะทผ่ี วู้ จิ ยั สนใจศกึ ษา อาจเป็นสง่ิ มชี วี ติ
หรอื ไมม่ ชี วี ติ กไ็ ด้ เช่น การสาํ รวจความพงึ พอใจของผปู้ ่วยทม่ี ารบั การรกั ษาทห่ี อผปู้ ่ วยหนัก โรงพยาบาล
ราชวถิ ี หน่วยวจิ ยั คอื ผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ บั การเลอื กขน้ึ มาศกึ ษา

7. ตวั อย่าง (Sample) หมายถงึ ลกั ษณะทผ่ี วู้ จิ ยั ศกึ ษาไดม้ าจากการเลอื กมาเพยี งบางส่วนของ
ประชากร โดยมุ่งหมายว่า ตวั อย่างทเ่ี ลอื กมาจะเป็นตวั แทนของประชากร ตามตวั อย่างในขอ้ 6 ตวั อย่าง
คอื ผู้ป่ วยท่มี ารบั บรกิ ารในหอผูป้ ่ วยหนักเฉพาะคนท่เี ลอื กขน้ึ มาเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม เร่อื งความพงึ
พอใจ บางกรณตี วั อยา่ งกบั หน่วยการวจิ ยั เป็นสงิ่ เดยี วกนั ได้

8. ประชากร (Population) หมายถึง หน่วยทงั้ หมดท่ีมีลกั ษณะท่ีผู้วิจัยสนใจจะศึกษา จาก
งานวจิ ยั เรอ่ื งสาํ รวจความพงึ พอใจของผปู้ ่วยทม่ี ารกั ษาทห่ี อผปู้ ่วยหนกั ในโรงพยาบาลราชวถิ ี ประชากรคอื
ผปู้ ่วยทุกคนทม่ี ารบั การรกั ษาทห่ี อผปู้ ่วยหนกั โรงพยาบาลราชวถิ ี

9. ประชากรเป้าหมาย (Target population) หมายถงึ ประชากรทผ่ี ูว้ จิ ยั กําหนดขอบเขตหรอื
คุณสมบตั ขิ น้ึ โดยมคี วามมุ่งหมายจะใหผ้ ลการวจิ ยั สามารถนํามาสรุปรวมกลุ่มประชากรเป้าหมายน้ีดว้ ย
เช่น การสาํ รวจสตั วน์ ้ําในอ่าวไทย ประชากรเป้าหมายคอื สตั วน์ ้ําทกุ ชนิดในทะเลเฉพาะอา่ วไทย เป็นตน้

20

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

10. การเลือกตวั อย่าง (Sampling) เป็นวธิ กี ารเลอื กบางสว่ นของประชากรขน้ึ มาศกึ ษาซง่ึ ทาํ ได้
หลายวธิ ี เป็นต้นว่ากําหนดลงไปเลยว่าต้องการหน่วยใดของประชากรบา้ ง หรอื ใชก้ ารจบั ฉลากหรอื การ
กาํ หนดโควตา้ เป็นตน้

11. การเป็ นตวั แทนในการวิจยั (Representativeness) หมายถงึ การท่ตี ัวอย่างหรอื หน่วย
วจิ ยั มคี ณุ สมบตั เิ ช่นเดยี วกบั คุณสมบตั ขิ องประชากรการจะเป็นตวั แทนประชากรไดน้ นั้ การเลอื กตวั อย่าง
จะตอ้ งใชเ้ ทคนิคทเ่ี หมาะสม ซง่ึ การจะใชเ้ ทคนิคการเลอื กตวั อย่างแบบใดขน้ึ กบั ลกั ษณะของประชากรและ
คุณสมบตั ทิ ต่ี อ้ งการจะศกึ ษา

12. การสุ่ม (Randomization) เป็นวธิ กี ารท่ที าํ ใหเ้ กดิ ความเท่าเทยี มกนั ของการทแ่ี ต่ละหน่วย
ของประชากรจะถกู เลอื กมาเป็นตวั อยา่ ง และ/หรอื แต่ละหน่วยของตวั อย่างจะถกู จดั เขา้ ไวใ้ นกลมุ่ หรอื ของ
การศกึ ษา โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพ่อื ลดอคตทิ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ จากการเลอื กวธิ กี ารดงั กล่าว อาจใชก้ ารจบั ฉลาก ทอด
ลกู เต๋า หรอื ใชต้ ารางเลขสมุ่

13. ตวั อย่างสุ่ม (Random sampling) หมายถงึ ตวั อย่างทถ่ี กู เลอื กมาจากประชากร โดยวธิ แี ต่
ละหน่วยของประชากรมโี อกาสในการถูกเลอื กเทา่ เทยี มกนั

14. การออกแบบการวิจยั (Research design) เป็นแนวทางในการดําเนินการวิจยั ในเร่อื ง
เกย่ี วกบั การเลอื กกลุ่มตวั อย่าง การรวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยนกั วจิ ยั ตอ้ งออกแบบการวจิ ยั เพอ่ื มุง่ ใน
การหาคาํ ตอบทจ่ี ะตอบวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั ทด่ี ที ส่ี ดุ

15. โครงการวิจยั (Research proposal) เป็นแผนการท่ีกําหนดไว้ล่วงหน้าอย่างละเอยี ดถึง
ขนั้ ตอนของการทาํ วจิ ยั ทกุ ขนั้ โครงการวจิ ยั จะสอ่ื ถงึ ปัญหาวจิ ยั ความสาํ คญั และประโยชน์ในการศกึ ษาการ
เขยี นมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ใชใ้ นการขออนุมตั ทิ าํ การศกึ ษาหรอื เขยี นขอทุนในการทาํ วจิ ยั และเป็นแม่แบบใน
การดาํ เนนิ การวจิ ยั

16. การจดั กระทาํ (Manipulation) หมายถงึ สภาพการณ์หรอื การกระทาํ ทผ่ี วู้ จิ ยั จดั ขน้ึ เพอ่ื การ
ควบคุมหรอื การกาํ หนดคา่ ตวั แปรอสิ ระ ในการวจิ ยั แบบทดลองหรอื กง่ึ ทดลองเพ่อื วดั ค่าจะมผี ลใดเกดิ ขน้ึ
จากการกระทาํ นนั้ ๆ

17. สิ่งทดลอง (Treatment) หมายถงึ สง่ิ ทผ่ี วู้ จิ ยั ใหก้ ลุ่มตวั อยา่ งทดลองเพ่อื เป็นการควบคุมหรอื
กาํ หนดค่าตวั แปรอสิ ระในการวจิ ยั ทดลองหรอื กง่ึ ทดลอง

18. ความเท่ียง (Reliability) หมายถงึ ระดบั ความสม่าํ เสมอหรอื ความคงทท่ี เ่ี คร่อื งมอื วจิ ยั วดั ค่า
ของสงิ่ ทต่ี อ้ งการวดั

19. ความตรง (Validity) หมายถงึ ระดบั ความสมารถในการวดั ทเ่ี คร่อื งมอื วจิ ยั จะวดั ค่าของสง่ิ
ตอ้ งการไดต้ รงความเป็นจรงิ

20. ระดบั ความมีนัยสาํ คญั (The level significant) หมายถึง ระดบั ท่ีสามารถยอมใหม้ ีการ
คลาดเคล่อื นได้ คดิ เป็นรอ้ ยละเทา่ ไร เชน่ การเชค็ ตวั ดว้ ยน้ําเยน็ และการเชด็ ตวั ดว้ ยแอลกอฮอล์ ชว่ ยทาํ ให้
ไขล้ ดไดแ้ ตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั 0.01 หมายความว่า ในการทดสอบการเชด็ ตวั ดว้ ย
น้ําเยน็ และแอลกอฮอล์ 100 ครงั้ ยอมใหห้ รอื จะเกดิ ความไมแ่ ตกต่างกนั เพยี ง 1 ครงั้

21

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

21. การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ (Action research) การวิจยั ซ่ึงผู้ดําเนินการมีความมุ่งหวงั ท่ีจะ
ศกึ ษาหาความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ธรรมชาติของปัญหาสงั คม รวมทงั้ ธรรมชาติของกลยุทธ์เพ่อื แก้ไขปัญหา
ดงั กลา่ ว เคเลวนิ (K. Lewin) เป็นผรู้ เิ รม่ิ ใชค้ าํ ดงั กล่าวในปี ค.ศ. 1948

22. การวิจยั ประยุกต์ (Applied research) การวจิ ยั ซ่ึงผู้ดําเนินการมุ่งเน้นความสําคญั ของ
ประโยชน์ในการปฏบิ ตั แิ ละการบรหิ ารมากยงิ่ กวา่ ประโยชน์ในทางวชิ าการ คาํ วา่ ประยุกต์ จดั เป็นมโนทศั น์
ซง่ึ ใชร้ ่วมกลุ่มการวจิ ยั แบบต่าง ๆ ทม่ี งุ่ หวงั ผลในการปฏบิ ตั กิ ารมากกว่าความกา้ วหน้าในทางทฤษฎี

23. การวิจยั พื้นฐาน (Basic research) การวจิ ยั ซง่ึ มจี ุดมุ่งหมายหลกั เพ่อื การสรา้ ง และ/หรอื
ทดสอบทฤษฎใี นสาขาต่าง ๆ ทางสงั คมศาสตร์ การคน้ ควา้ และสงั่ สมองค์ความรจู้ กั เป็นประเดน็ หลกั ใน
การวจิ ยั พน้ื ฐานซง่ึ ทําใหก้ ารวจิ ยั ประเภทน้ีมลี กั ษณะทแ่ี ตกต่างไปจากการวจิ ยั ประยุกต์ แมใ้ นความเป็น
จรงิ การวจิ ยั แต่ละหวั ขอ้ มกั มลี กั ษณะผสมผสาน ทงั้ เป็นประโยชน์ทางทฤษฎแี ละทางปฏบิ ตั กิ ต็ าม

คาํ ศพั ทต์ ่าง ๆ ทก่ี ล่าวขา้ งตน้ ผวู้ จิ ยั ควรทราบและศกึ ษาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจเพอ่ื จะไดน้ ําไปใชใ้ น
การเขยี นรายงานการวจิ ยั ไดอ้ ย่างไม่ผดิ พลาด เอกสารฉบบั น้ียกตวั อย่างเพยี งคาํ ศพั ทว์ จิ ยั ทใ่ี ชบ้ ่อยเท่านนั้

สรปุ

การวจิ ยั หมายถงึ การคน้ ควา้ หาความรใู้ หม่ หรอื ยนื ยนั ความรเู้ ดมิ ภายใตข้ อบเขตทก่ี าํ หนดโดย
ใชร้ ะเบยี บวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ การวจิ ยั เป็นการรวบรวมความรูห้ รอื ขอ้ มลู ใหม่ ๆ จากแหลง่ ขอ้ มลู ปฐม
ภมู ิ การวจิ ยั มใิ ช่เป็นเพยี งการกล่าวอา้ งซ้าํ หรอื เป็นการรวบรวมเร่อื งขน้ึ มาใหม่จากสง่ิ ทท่ี ราบกนั อยู่แลว้
หรอื จากสง่ิ ทม่ี ผี ูร้ ายงานไวแ้ ลว้ แต่การวจิ ยั จะบง่ ชถ้ี งึ การคน้ หาขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ความรใู้ หม่ ซง่ึ จะเกย่ี วโยง
ไปถึงสงิ่ และสภาวะเฉพาะอย่างท่ีได้ทําการค้นคว้า ตลอดจนวิธกี ารเลือกประชากรทศ่ี กึ ษาและการสุ่ม
ตัวอย่างมาศกึ ษาเพ่ือใช้กล่าวอ้างสรุปถึงคุณลกั ษณะของประชากรตามข้อเท็จจรงิ จรรยาบรรณของ
นักวจิ ยั ท่นี ักวจิ ยั ทุกคนตอ้ งตระหนกั และถอื ปฏบิ ตั ิ คอื การเคารพสทิ ธขิ องผถู้ ูกวจิ ยั และความซ่อื สตั ยใ์ น
การดําเนินการวจิ ยั เกณฑ์ในการพิจารณาว่ากิจกรรมใดเป็นการวจิ ยั มีหลกั เกณฑ์ในการพจิ ารณา 4
ประเดน็ คอื เกณฑค์ วามสมบรู ณ์ของกระบวนการศกึ ษา ความลกึ ซง้ึ ของการคน้ ควา้ ความใหม่ของความรู้
ทไ่ี ด้ และ ความถกู ตอ้ งเช่อื ถอื ได้

ประเภทของงานวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพทพ่ี บบ่อยออกเป็น 3 ลกั ษณะ
1. การจําแนกชนิดของงานวิจัยตามคุณลักษณะของข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 วิธี การวิจัย

เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative research) และการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative research)
2. การจาํ แนกตามวธิ กี ารวจิ ยั แบ่งเป็น 3 วธิ ี คอื การวจิ ยั เชงิ พรรณนา (Descriptive research)

การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะห์ (Analytical research) การวจิ ยั เชงิ ทดลอง (Experimental research)
3. การจาํ แนกตามระบบงานทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ จาํ แนกสามารถแบ่ง การวจิ ยั ออกได้

3 วิธี คือ การวิจยั ทางชีววิทยาการแพทย์ (Biomedical research) การวิจัยทางคลินิก
(Clinical research) การวจิ ยั ระบบสาธารณสขุ (Health system research) การวจิ ยั นโยบาย
สาธารณสขุ (Health policy research)

22

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ ตอนของการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ
1. ขนั้ ตอนการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ ประกอบดว้ ย การกาํ หนดปัญหาและขอบเขตปัญหา การทบทวน
เอกสารงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง การกําหนดจุดประสงคก์ ารวจิ ยั การตงั้ สมมติฐาน การกําหนดตวั แปร การ
ออกแบบการวจิ ยั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การเตรยี มขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การแปลผล การรายงาน
ผลการวจิ ยั และ การเผยแพร่
2. ขนั้ ตอนการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ ประกอบดว้ ย การกําหนดปัญหาวจิ ยั การเตรยี มการรวบรวม
ข้อมูล การรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ การบนั ทกึ ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การสรุปเขยี นรายงานและเผยแพร่งานวจิ ยั
นิยามศพั ทก์ ารวจิ ยั ท่พี บบ่อย ๆ ได้แก่ แนวคิด คํานิยามปฏบิ ตั ิการ ตวั แปร ค่าสงั เกตขอ้ มูล
หน่วยวิจยั ตัวอย่าง ประชากร ประชากรเป้าหมาย การเลือกตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง การออกแบบ
การวจิ ยั โครงการวจิ ยั การจดั กระทาํ สง่ิ ทดลอง ความเทย่ี งความตรงระดบั นยั สาํ คญั

23

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

เอกสารอ้างอิง

กาญจนา ปาณิกบตุ ร, จรสั อรยิ ฤทธ,ิ์ อนุพงศ์ ชติ วรากร, และชยั ณรงค์ วงษ์บา. (2528).
การรกั ษาโรคหนองใน ในผปู้ ่ วยชายดว้ ยยาไรแฟมปิ ซินรว่ มกบั ยาเอริโทรมยั ซิน.
จดหมายเหตุทางการแพทย,์ 68, 11, 579-583.

กาญจนห์ ทยั กองภา และ สมหิ รา จติ ตลดากร (2564). การนํานโยบายของกระทรวงสาธารณสขุ
ไปปฏิบตั ิ: กรณีศึกษา SMART HOSPITAL ในพนื้ ที่จงั หวดั อดุ รธานี.
วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาเชงิ พุทธ, 6, 3, 152-164.

กนิษฐา ภวู นาถนรานุบาล, วชิ ชดุ า จรยิ ะพนั ธุ์ และสายวรฬุ จดรู กติ ตนิ นั ท.์ (2559). การทดสอบ
ความถกู ต้องของวิธีการตรวจวิเคราะห์ ความแรงของอิมมูโนโกลบลู ินท่ีทาํ จากมนุษย์
สาํ หรบั ป้องกนั โรคบาดทะยกั ดว้ ยชดุ นํ้ายาทดสอบสาํ เรจ็ รปู . วารสารกรมวทิ ยาศาสตร์
การแพทย,์ 58, 3, 169-179.

กรรณกิ าร์ พรประเสรฐิ สขุ . (2551). ประสิทธิภาพของยา Budesonide และยา Levocetirizine
dihydrochloride เพื่อควบคมุ อาการและรกั ษาโรคหวดั ภมู ิแพ้ [Allergic Rhinitis]
เม่ือใช้ยารกั ษาไปเป็นระยะเวลา 4 สปั ดาห.์ วทิ ยานพิ นธข์ องการศกึ ษาและฝึกอบรม
ตามหลกั สตู รเพ่อื วุฒบิ ตั รแสดงความรคู้ วามชาํ นาญในการประกอบวชิ าชพี เวชกรรม สาขาโสต ศอ
นาสกิ วทิ ยาของแพทยสภา.

กองแผนงานสาธารณสขุ . (2526). โครงการศกึ ษาวิจยั ต้นทุนของโรงพยาบาลระดบั จงั หวดั พ.ศ. 2523.
กระทรวงสาธารณสขุ .

ขวญั ประชา เชยี งไชยสกุลไทย และ อุทุมพร วงษศ์ ลิ ป์ (2561). ต้นทนุ เครอื ขา่ ยบริการปฐมภมู ิ
เขตสุขภาพ 8. วารสารวจิ ยั ระบบสาธารณสขุ , 12, 4, 681-690.

จรสั สวุ รรณเวลา. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการบรรยายในการประชุมปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง
กระบวนการวิจยั ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย.์ กรุงเทพฯ:
สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

ดเิ รก พงศพ์ พิ ฒั น์, วนิ ยั สวุ ตั ถ,ี และอมรา อสั ธรี วฒั น์. (2530). การป้องกนั การเกิดเชื้อไวรสั
ตบั อกั เสบชนิดบีในทารกเกิดใหมโ่ ดยการใช้ Hepatitis B globulin และฉีดวคั ซีนป้องกนั
ไวรสั ตบั อกั เสบชนิดบี. จุลสารมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, 12, 15, 13-14.

ทสั สนี นุชประยรู และ เตมิ ศรี ชาํ นจิ ารกจิ , (2541). สถติ ใิ นวจิ ยั ทางการแพทย.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2
ฉบบั ปรบั ปรงุ . กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

บุญชม ศรสี ะอาด. (2532). การวิจยั เบอื้ งต้น. ภาควชิ าพน้ื ฐานของการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ มหาสารคาม.

24

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ประกอบ ตจู้ นิ ดา. (2524). นโยบายกระทรวงสาธารณสุขในการส่งเสริมและสนับสนุนการวิจยั
บริการสาธารณสขุ ในการประชุมปฏิบตั ิการ เรอ่ื ง การวิจยั บริการสาธารณสุข.
รายงานการประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั บรกิ ารสาธารณสขุ . คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, 17-21.

พพิ ฒั น์ ลกั ษมจี รลั กุล, สมชาย พรี ะปกรณ์, เสาวลกั ษณ์ ลมิ ปิวฒั ก,ี และประจวบ สงั ฆสวุ รรณ. (2528).
การใช้เอนเซมล์ ิงคอ์ ิมมโู นซอบเบนทแ์ อสเส (ELISA) เพอ่ื ยนื ยนั ทางห้องปฏิบตั ิการใน
ผปู้ ่ วยท่ีมีอาการคลา้ ยโรคไอกรน. คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.

ภริ มย์ กมลรตั น์กลุ . (2531). หลกั เบือ้ งต้นในการทาํ วิจยั . แพทยช์ นบท, ปีท่ี 8: 8 - 21.
ภริ มย์ กมลรตั นกุล, มนตช์ ยั ชาลาประวรั รตน์ และ ทวสี นิ ตนั ประยรู . (2542). หลกั การทาํ วิจยั ให้สาํ เรจ็ .

กรุงเทพฯ. เทก็ ซแ์ อนดเ์ จอรน์ ลั พบั ลเิ คชนั่ จาํ กดั .
มดี ธนะมนั่ และทสั สนี นุชประยรู . (บรรณาธกิ าร). (2541). การวิจยั ชมุ ชนทางการแพทย.์ กรงุ เทพฯ:

ภาควชิ าเวชศาสตรป์ ้องกนั และสงั คม คณะแพทยศ์ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ยุวดี ฤชา และคณะ. (2523). วิจยั ทางการพยาบาล. กรงุ เทพฯ: สยามศลิ ป์ การพมิ พ.์
เรณา พงษเ์ รอื งพนั ธุ์ และประสทิ ธิ์ พงษเ์ รอื งพนั ธุ.์ (2541). การวิจยั ทางการพยาบาล. ชลบรุ :ี

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา.
จุมพล สวสั ดยี ากร. (บรรณาธกิ าร). (2520), หลกั และวิธีการวิจยั ทางสงั คมศาสตร.์ กรุงเทพฯ:

โรงพมิ พ์ สวุ รรณภมู .ิ
ถาวร มาตน้ และปัทมา สพุ รรณกลุ . (2556). ประสิทธิผลของโครงการคนไทยไรพ้ งุ ต่อการลดคา่ BMI

และเส้นรอบเอวของประชาชนท่ีเขา้ รว่ มโครงการในเขตจงั หวดั ภาคเหนือตอนลา่ ง.
วารสารสาธารณสขุ ศาสตร.์ 42, 3, 83-94.
เทยี นฉาย กรี ะนนั ท์ และจรญั จนั ทลกั ขณา. (2534). “ความรพู้ นื้ ฐานในการวิจยั ” หน่วยท่ี 1
ในเอกสารการสอนชุดวชิ า 20302 สถติ วิ จิ ยั และการประเมนิ ผลการศกึ ษา. นนทบรุ :ี
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
ธวชั ชยั วรพงศธร. (2543). หลกั การวิจยั ทางสาธารณสขุ ศาสตร.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .
สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธ.ุ์ (2532). “การวิจยั ทางสงั คมศาสตร”์ หน่วยท่ี 13 ในเอกสารการสอนชดุ วชิ า
10131 มนุษยก์ บั สงั คม. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
วญั ญา วศิ าสาภรณ์. (2531). การวิจยั ทางการศึกษา หลกั การและแนวปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ:
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร.
วจิ ติ ร ศรสี พุ รรณ และเทยี นศร พองสวสั ด.ิ์ (2521). วิจยั ทางการพยาบาล. เชยี งใหม:่
คณะพยาบาลศาสตร.์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
อรณุ จริ วฒั น์กุล. (2534). การวิจยั เบือ้ งต้นทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ ขอนแก่น :
ภาควชิ าชวี สถติ แิ ละประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.

25

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

อารี วลั ยเสว.ี (2529). การสรา้ งนักวิจยั ในวงการแพทย.์ รายงานการสมั มนาย่อย แพทยศาสตรศ์ กึ ษา
เรอ่ื ง การวจิ ยั เพอ่ื การสาธารณสขุ ของประเทศ 23-25 กรกฎาคม 2559. คณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธบิ ดี และวทิ ยาลยั พระมงกฎุ เกลา้ . 40-45.

Adebo, Elfeida O. (1997). Identifying problems for nursing Research. Int Nurs Rev. 21, 53 – 41.
Best, John W. (1981). Research in education. (4th ed.) Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice

Hall.
Kerlinger Fred N. (1986). Foundation of Behavioral Research. (Third edition). New York: Holt,

Rinehart and Wiston, Inc.
Kurt, Lewin. (1991). Action Research and Minority Problems. Journal of Social. 2(4): 34-36.
Lewin, K. (1948). Action Research and Minority Problems: 1946. In G. W. Lewin (Ed.),

Resolving Social Conflicts. New York: Harper & Row
Hongvivatana, T., Denduang, S., & Kumtong, N. (1982). District hospitals in Thailand: a policy

study. Center for Health Policy Studies, Mahidol University, Bangkok.

26

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

คาํ ถามท้ายบท

1. ขอ้ ใดจดั เป็นเกณฑใ์ นการพจิ ารณาว่าเป็นงานวจิ ยั
ก. การศกึ ษากระบวนการวจิ ยั
ข. การใชก้ ระบวนการวจิ ยั เพอ่ื ตอบคาํ ถามวจิ ยั
ค. การไดม้ าซง่ึ องคค์ วามรใู้ หมท่ ถ่ี ูกตอ้ งน่าเช่อื ถอื
ง. การวเิ คราะหเ์ พ่อื แปลผลขอ้ มลู

2. ขอ้ ใดคอื จุดประสงคข์ องการวจิ ยั
ก. เพ่อื ศกึ ษาหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ
ข. เพ่อื คน้ ควา้ หาคาํ ตอบในเร่อื งทย่ี งั ไม่รู้
ค. เพอ่ื สรา้ งหลกั เกณฑท์ ฤษฎใี หม่ๆ
ง. ถูกทกุ ขอ้

3. การวจิ ยั ทแ่ี บง่ ตามลกั ษณะของขอ้ มลู ไดแ้ กก่ ารวจิ ยั ประเภทใด
ก. การวจิ ยั เชงิ พรรณนา
ข. การวจิ ยั เชงิ ทดลอง
ค. การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ
ง. การวจิ ยั แบบสงั เกต

4. คาํ กล่าวในข้อใดไมถ่ กู ต้อง
ก. การวจิ ยั เป็นการแสวงหาความรู้
ข. การวจิ ยั ทกุ อย่างลว้ นมงุ่ เพอ่ื แกป้ ัญหาทงั้ สน้ิ
ค. การวจิ ยั จะไดอ้ งคค์ วามรใู้ หมท่ น่ี ําไปใชป้ ระโยชน์
ง. การวจิ ยั เพ่อื ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการสว่ นใหญ่จะปรากฏในระดบั มหาวทิ ยาลยั

5. ขอ้ ใดเป็นประโยชน์ทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ ของการวจิ ยั
ก. ช่วยในการกาํ หนดนโยบาย
ข. ช่วยใหค้ น้ พบทฤษฎแี ละสงิ่ ประดษิ ฐใ์ หม่ ๆ
ค. ชว่ ยกระตุน้ ความสนใจของนกั วชิ าการใหม้ ผี ลการวจิ ยั มากขน้ึ และนําผลการวจิ ยั ไปใช้
ง. ช่วยใหก้ ารจดั การศกึ ษาและการจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื ผเู้ รยี นเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

27

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

28

บทที่ 2

การเลอื กหวั ขอ้ การกําหนดปญ� หาวจ� ยั
และการเตรย� มโครงรา่ งวจ� ยั

หวั ขอ้ เร่อื ง หรอื หวั ขอ้ ปัญหาการวจิ ยั เป็นหวั ใจทส่ี าํ คญั ของการวจิ ยั หวั ขอ้ เรอ่ื งทด่ี คี วรเป็นหวั ขอ้
ทไ่ี มก่ วา้ ง หรอื แคบเกนิ ไป ควรเป็นเรอ่ื งทม่ี ปี ระโยชน์ และอยใู่ นความสามารถทผ่ี วู้ จิ ยั ดาํ เนนิ การได้ หวั ขอ้
เร่ืองควรสอดคล้องกบั ปัญหาทต่ี ้องการศกึ ษา ซ่ึงเกิดจากความอยากรู้ความสนใจ ปรากฏการณ์ หรอื
การสังเกตจากสภาพแวดล้อม ตลอดจนการอ่าน การฟัง และการค้นคว้าเน้ือหาสาระของบทน้ีคือ
การเสนอแนะแนวทางในการกําหนดหัวข้อประเด็นของการวิจัยและการเลือกแนวคิดในการวิจัย
โดยจะกล่าวถึงท่ีมาของหัวข้อ วิธกี ารกําหนดหวั ข้อ และหลกั เกณฑ์ในการเลือกหัวข้อในอนั ดับแรก
และวธิ กี ารกําหนดประเดน็ หลกั เกณฑ์ในการกําหนดประเด็น และประโยชน์ของการกําหนดประเด็น
ในอันดับต่อมา รวมทัง้ จะกล่าวถึงท่ีมาของกรอบแนวความคิดในการวิจัย หลักในการเลือกกรอบ
แนวความคดิ ในการวจิ ยั และประโยชน์ของการเลอื กกรอบแนวความคดิ ในการวจิ ยั เป็นอนั ดบั สดุ ทา้ ย

รูปแบบและเน้ือหาของโครงร่างการวิจัยมกั แตกต่างกนั ไปตามระเบียบและข้อกําหนดของ
แต่ละหน่วยงาน หรอื แหล่งทุน นักวจิ ยั จึงควรศกึ ษาขอ้ กําหนดต่าง ๆ แล้วจดั เตรยี มโครงร่างการวิจยั
ตามข้อกําหนดการเตรียมข้อเสนอโครงการวิจัยนัน้ นอกจากจะมีเน้ือหาครบถ้วนตามท่ีองค์กร
หน่วยงานและสถาบนั ท่ีเก่ยี วข้องกําหนดแล้ว การใช้ภาษาและการจดั เตรยี มเอกสารให้ชวนอ่านและ
สามารถส่อื ให้ผู้อ่านเขา้ ใจเน้ือหาไดง้ ่ายในเวลาอนั สนั้ กม็ คี วามสําคญั ท่ีจะทําให้ผูป้ ระเมนิ โครงการวจิ ยั
ประทบั ใจ ซ่ึงจะทําให้โอกาสท่โี ครงการวิจยั จะได้รบั การสนับสนุนหรอื โอกาสท่ขี อ้ เสนอโครงการวิจยั
จะประสบความสาํ เรจ็ กม็ มี ากขน้ึ ดว้ ย

2.1 การเลือกหวั ข้อการวิจยั

ในการศกึ ษาและการวจิ ยั ทางสาธารณสุข ขนั้ ตอนท่นี ักวจิ ยั ทงั้ หลายประสบความยากลําบาก
มากทส่ี ุดคอื ขนั้ ตอนของการเลอื กหรอื กําหนดหวั ขอ้ เร่อื งทจ่ี ะวจิ ยั ทม่ี คี วามสาํ คญั และไม่ซ้าํ ซอ้ นกบั ผอู้ ่นื
แมแ้ ต่นักวจิ ยั ทม่ี ปี ระสบการณ์ทางการวจิ ยั และมคี วามชํานาญรอบรูใ้ นขนั้ ตอนอ่นื ๆ ของการวจิ ยั (เช่น
ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล การดําเนินการกบั ขอ้ มูล หรอื การประมวลผลและการใช้เทคนิคสถติ ิต่าง ๆ
ในการวิเคราะห์ข้อมูล) ก็ยงั มีปัญหาในการเลือกหรือกําหนดหัวข้อท่ีน่าสนใจควรแก่การทําการวิจัย
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในงานวจิ ยั ทต่ี ้องมคี ่าใชจ้ ่ายในการดาํ เนินการสงู เกนิ ขดี ความสามารถของผูว้ จิ ยั และ
อาศยั การสนบั สนุนทางดา้ นการเงนิ จากแหล่งอ่นื การเลอื กหวั ขอ้ วจิ ยั ทาํ ได้ ดงั น้ี

1. การได้มาซ่ึงเร่ืองในการทําวิจัยอาจได้จาก ความสนใจของผู้วิจัยได้จากการสังเกต
ในสภาพการณ์จริง ซ้ํา ๆ หลาย ๆ ครัง้ จะช่วยให้ได้รายละเอียดของเร่ืองราวท่ีเก่ียวข้องกับปัญหา
และช่วยยนื ยนั ความสาํ คญั ของปัญหาทจ่ี ะศกึ ษาวา่ มเี พยี งพอ

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ตวั อย่าง การติดเช้อื ในโรงพยาบาล ปัญหาจากการสงั เกตหลายครงั้ พบว่า ทารกท่มี าคลอด
ในช่วงเวลาหน่งึ มกี ารตดิ เชอ้ื ทอ้ งเสยี ในจาํ นวนมาก และมกั รบั ไวใ้ นหอ้ งเดมิ ทุกครงั้ น่าจะเกดิ จากการแพร่
ระบาดของเชอ้ื จากแหล่งโรค (common source) ภายในหอ้ งนนั้ กไ็ ด้ เป็นตน้

2. การเลอื กเร่อื งวจิ ยั บางครงั้ ไดจ้ ากการทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดเ้ ร่อื งการวจิ ยั
ทผ่ี วู้ จิ ยั อ่นื เสนอแนะกไ็ ด้

3. เป็นเร่อื งทอ่ี ย่ใู นสาขาของผูว้ จิ ยั หรอื ผวู้ จิ ยั มคี วามรพู้ อสมควร หากความรนู้ ้อยในเร่อื งทศ่ี กึ ษา
อาจทาํ ใหเ้ กดิ การหยดุ ชะงกั ได้

ก่อนการเลอื กเร่อื งหรอื หวั ขอ้ ในการทําวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ต้องสาํ รวจก่อนว่าเร่อื งทจ่ี ะเลอื กมเี อกสารหรอื
ผลงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องหรือไม่เพ่ือนํามาใช้ประกอบการอ้างองิ ต่อไป และทําให้ทราบว่า เร่อื งท่จี ะทํา
มใี ครทาํ มาบา้ งหรอื คลา้ ยกนั ในประเดน็ ใด การอ่านรายงานการวจิ ยั มาก ๆ เป็นทางหน่ึงทจ่ี ะช่วยใหไ้ ดม้ า
ซง่ึ เร่อื ง / หวั ขอ้ ในการทาํ วจิ ยั

ลกั ษณะของปัญหาทจ่ี ะทําวจิ ยั ได้ ต้องเป็นปัญหาทไ่ี ม่กวา้ งเกนิ ไป ตวั แปรสาํ คญั ๆ ไม่มากนัก
และตอ้ งคาํ นึงองคป์ ระกอบดา้ นเวลา และทุนดว้ ย

ปัญหาถ้าแคบเกินไป เช่น “การเปรยี บเทยี บความรเู้ รอ่ื งการใชอ้ ุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภยั
ในการป้องกนั อบุ ตั เิ หตุในการทาํ งาน”

เป็นปัญหาทแ่ี คบไปไม่คุม้ ค่าเวลาและทุนท่ใี ช้ ควรปรบั ใหเ้ หมาะสม เช่น เพมิ่ เป็นศกึ ษาความรู้
เจตคตแิ ละการปฏบิ ตั ติ นในการป้องกนั อุบตั เิ หตุในการทํางานบุตร เป็นตน้ หรอื ปัญหาทก่ี วา้ งเกนิ ไป เช่น
“ปัญหาของแพง” เป็นปัญหาท่กี วา้ งมาก ถ้าจะใหค้ รอบคลุมต้องศกึ ษาว่า สาํ รวจราคาไข่ มรี าคาเพม่ิ ขน้ึ
มากและน้อย มผี ลอยา่ งไรต่อความเป็นอย่ขู องประชาชนอยา่ งไร

การกําหนดปัญหาทางการวิจยั ต้องกําหนดให้เหมาะสมไม่กว้างหรอื แคบเกินไป ตัวแปรท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั ปัญหาตอ้ งสามารถวดั ได้ สงั เกตไดอ้ ยา่ งมรี ะบบ เป็นปัญหาทม่ี ปี ระโยชน์ทงั้ ดา้ นการนําไปใช้
และด้านการเพม่ิ พูนความรู้ในศาสตร์นัน้ ๆ เป็นปัญหาท่ผี ู้วิจยั สนใจและมคี วามรู้เร่อื งนัน้ ๆ เพยี งพอ
ปัญหานนั้ ๆ สามารถชน้ี ําไปสกู่ ารใชส้ มมตฐิ านได้ และเป็นไปไดใ้ นการทาํ จรงิ

การเขยี นปัญหาการวจิ ยั การเขยี นปัญหาการวจิ ยั ตอ้ งกระทาํ 3 สง่ิ คอื
ก. เขยี นความคิดนัน้ ลงไปเป็นประโยคในครัง้ แรกท่คี ิดได้ โดยไม่ต้องคํานึงถึงความถูกต้อง
ตามหลกั ภาษาและไวยากรณ์
ข. พจิ ารณาประโยคทเ่ี ขยี นว่าเป็นไปตามเกณฑ์ 2 ประการดงั น้ี

1) ปัญหานนั้ ตอบไดจ้ ากการสงั เกตเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ และไดข้ อ้ มลู ชดั เจนตรวจสอบได้
2) มคี วามสมั พนั ธข์ องตวั แปรอย่างน้อย 2 ตวั ขน้ึ ไปหรอื ไม่
ค. ทาํ ประโยคนัน้ ใหส้ ละสลวย (ไม่ไดห้ มายถงึ ความสละสลวยเชงิ ภาษา) เป็นการทาํ ใหป้ ระโยค
นัน้ บ่งช้ีรูปแบบการวิจัย ซ่ึงผู้วิจยั ต้องมีความรู้เดิมและได้ประเมินการทบทวนเอกสารและงานวิจัย
มาบา้ งแลว้ คร่าว ๆ ตอ้ งเขยี นใหก้ ะทดั รดั ชดั เจน ไดใ้ จความสมบรู ณ์ โดยครอบคลุมตวั แปรตามประชากรท่ี
ใชใ้ นการวจิ ยั ลกั ษณะขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั และแนวทางการวจิ ยั

30

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ตวั อยา่ งชื่อเรอ่ื งหรอื ปัญหาการวิจยั
- ปัจจยั ท่มี อี ทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรมการรกั ษาความปลอดภยั ของคนงานโรงงานกระเบอ้ื งในนิคม
อุตสาหกรรม
- ระบาดวทิ ยาของโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย
- การสาํ รวจและศกึ ษาพฤตกิ รรมเสย่ี งของวยั รนุ่ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
- ความพงึ พอใจในการปฏบิ ตั งิ านของบุคลากรมหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กลุ
- ปัจจยั ทส่ี มั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมการใชส้ ารเสพตดิ ของผส้ งู อายุไทย การวเิ คราะหอ์ ภมิ าน
- พฤติกรรมสุขภาพกบั ภาวะน้ําหนักเกินของประชากรวยั แรงงาน : กรณีศกึ ษาพ้นื ท่อี ําเภอ
ปากช่อง จงั หวดั นครราชสมี า

2.1.1 หวั ขอ้ สาํ หรบั การวิจยั
การกําหนดหวั ขอ้ สาํ หรบั การวจิ ยั หมายถงึ กระบวนการต่าง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการระบุใหช้ ดั เจนว่าผู้ท่ี
จะทําการวิจยั หรือผู้วิจัยมีความประสงค์จะศึกษาเร่ืองอะไร การกําหนดหวั ข้อน้ีน่าจะทําได้โดยง่าย
แต่ในทางปฏบิ ตั มิ กั จะไม่ง่ายอย่างทค่ี ดิ การกาํ หนดหวั ขอ้ สาํ หรบั การวจิ ยั เป็นสง่ิ ทต่ี ้องอาศยั ความฉลาด
และไหวพรบิ สว่ นบุคคลในการทจ่ี ะระบุหรอื กาํ หนดหวั ขอ้ ใหเ้ ป็นทน่ี ่าสนใจและชดั เจนสาํ หรบั ผอู้ ่นื อย่างไร
กต็ าม มหี ลกั หรอื แนวทางทวั่ ไปบางประการทช่ี ่วยในการเลอื กหวั ขอ้ และในการตงั้ ปัญหาสาํ หรบั การวจิ ยั
ความรูเ้ กย่ี วกบั หลกั หรอื แนวทางต่าง ๆ เหล่าน้ี จะช่วยใหผ้ ทู้ จ่ี ะทาํ การวจิ ยั สามารถหาหวั ขอ้ เร่อื งทจ่ี ะทาํ
การวจิ ยั ได้รวดเรว็ ขน้ึ หรอื มคี วามเช่อื มนั่ ในตวั เองมากขน้ึ ในการเลอื กหวั ขอ้ ความรู้ทวั่ ไป ประการแรก
สาํ หรบั ผทู้ จ่ี ะทาํ การวจิ ยั ทจ่ี ะใชใ้ นการกาํ หนดหวั ขอ้ ของการวจิ ยั คอื ความรเู้ กย่ี วกบั แหล่งทม่ี าของหวั ขอ้
หรอื ปัญหาของการวจิ ยั
ในการเลอื กหวั ขอ้ การวจิ ยั ในทางสาธารณสุข ควรช่วยตอบปัญหาสุขภาพหรอื ปัญหาของการ
ดาํ เนินการพฒั นาสขุ ภาพ ลกั ษณะทวั่ ๆ ไปของขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการจะสามารถจดั กลมุ่ ได้ 3 กลมุ่ ใหญ่ ๆ ดงั น้ี
1. การพรรณนาปัญหาสุขภาพเพ่อื ใชใ้ นการวางแผนการพฒั นาสุขภาพ สง่ิ ท่ผี ู้ใชข้ ้อมูลและ

นักวางแผนต้องการคอื การทราบถงึ ขนาดของปัญหาและการกระจายของปัญหาสุขภาพ
ความตอ้ งการดา้ นบรกิ ารสาธารณสขุ ตลอดจนทรพั ยากรดา้ นสาธารณสขุ ทม่ี อี ยู่ ทงั้ น้เี พ่อื ใช้
ในการกาํ หนดนโยบายการดาํ เนินงานและการวางแผนจดั กจิ กรรมทเ่ี หมาะสมสอดคลอ้ งกบั
สถานการณ์และบรบิ ทของพน้ื ท่ี
2. ความต้องการขอ้ มูลเพ่ือใช้ในการประเมินโครงการและกิจกรรมท่ีอยู่ระหว่างดําเนินการ
ซง่ึ ไดแ้ ก่

- ความครอบคลมุ ของความตอ้ งการดา้ นสขุ ภาพ
- ความครอบคลมุ ของกจิ กรรมและบรกิ ารสขุ ภาพในกลมุ่ ประชากรเป้าหมาย
- คณุ ภาพของกจิ กรรมและบรกิ ารสาธารณสขุ
- คา่ ใชจ้ ่าย/ตน้ ทุน ของกจิ กรรมและบรกิ ารสาธารณสขุ
- ผลและผลกระทบจากการดาํ เนนิ กจิ กรรมและบรกิ ารสาธารณสขุ

31

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

3. ความต้องการข้อมูลเพ่ือใช้ระบุสถานการณ์/ปัญหา ผล และผลกระทบท่ีเกิดข้ึนเน่ือง
จากการดาํ เนินกจิ กรรมและบรกิ ารสาธารณสขุ โดยเน้นหนกั ในการวเิ คราะหส์ าเหตุทเ่ี ป็นไป
ไดแ้ ละแนวทางการแกไ้ ขปัญหา

ดงั นัน้ สถานการณ์ด้านสาธารณสุขท่ีจะนําไปสู่การกําหนดปัญหาของการวิจัยจึงมักออกมา
ใน 3 ลกั ษณะ คอื

1. มคี วามแตกตา่ งระหวา่ งสถานการณ์ทเ่ี ป็นอยกู่ บั สถานการณ์ทต่ี อ้ งการหรอื เป้าหมาย
ทก่ี าํ หนดไว้

2. สาเหตุของความแตกต่างนนั้ ยงั ไม่ชดั แจง้ หรอื มคี วามเขา้ ใจทแ่ี ตกต่างกนั
3. คําตอบ/แนวทางท่ีเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา/สถานการณ์ดงั กล่าวมหี ลากหลาย

รปู แบบ วธิ ี
2.1.2 หลกั เกณฑใ์ นการเลือกหวั ขอ้ การวิจยั
แม้ว่าหวั ข้อท่จี ะทําการวิจยั ด้านการแพทย์และสาธารณสุขอาจจะมอี ยู่มากมาย และสําหรบั
ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในพ้ืนท่ี ซ่ึงพบว่ามปี ัญหาหลากหลายในพ้นื ท่ี แต่กจ็ ะพบว่าไม่สามารถทําวิจยั ไดท้ งั้ หมด
ท่จี ะทําการวิจยั ก็ยงั จะต้องตัดสนิ ใจว่าจะเลือกศึกษาในหวั ข้อใดตามลําดบั ก่อนหลงั เกณฑ์ท่จี ะช่วย
ในการตดั สนิ ใจเลอื กหวั ขอ้ ทจ่ี ะทาํ การวจิ ยั มอี ย่ดู งั น้ี คอื

1. ความสาํ คญั ของปัญหา
2. ความเป็นไปไดท้ จ่ี ะทาํ การศกึ ษาวจิ ยั
3. ความน่าสนใจและการทนั ต่อเหตุการณ์
4. ความสนใจของผวู้ จิ ยั เอง
5. ความสามารถทจ่ี ะดาํ เนนิ การวจิ ยั ใหล้ ุล่วงไปได้
6. การยอมรบั ในเชงิ นโยบาย
7. การนําขอ้ มลู และขอ้ เสนอแนะไปใช้

2.2 ความสาํ คญั ของปัญหา

ในการวจิ ยั ไม่ว่าจะเป็นในเร่อื งใดกต็ าม จะตอ้ งสน้ิ เปลอื งคา่ ใชจ้ ่าย เสยี เวลา เงนิ ทุน และแรงงาน
ดงั นัน้ การตดั สนิ ใจว่าจะทําการวจิ ยั ในหวั ขอ้ ใดกจ็ ะตอ้ งคาํ นึงว่า หวั ขอ้ นัน้ มคี วามสาํ คญั มากน้อยเพยี งใด
ทงั้ ในตวั ของมนั เองและเม่อื เปรยี บเทยี บกบั หวั ขอ้ อน่ื ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เม่อื โครงการวจิ ยั นนั้ ต้องเสนอ
ขอรบั ทุนจากผอู้ ่นื

ความสาํ คญั ของปัญหา ขน้ึ อย่กู บั จาํ นวนบุคคลทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หรอื ทถ่ี ูกกระทบกระเทอื นจากปัญหา
หรือเร่ืองท่ีจะทําการวิจยั ถ้ามีบุคคลจํานวนมากถูกกระทบกระเทือน หวั ข้อนัน้ ก็มีความสําคญั มาก
ถ้าหัวข้อเร่ืองนัน้ เก่ียวข้องกับจํานวนบุคคล หรือกระทบกระเทือนบุคคลจํานวนน้อย ความสําคัญ
ของปัญหากล็ ดลงตามลาํ ดบั

32

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ความสําคัญของปัญหายังข้ึนอยู่กับความถ่ี และความกว้างของการเกิดข้นึ ของเหตุการณ์
ถ้าเหตุการณ์ใดเกิดข้ึนถ่ีและมีความกว้างขวางจนเป็นท่ีน่าสนใจ เหตุการณ์นัน้ ก็มีความสําคัญมาก
และมากกว่าเหตุการณ์ซง่ึ นาน ๆ จะเกดิ ขน้ึ และมขี อบเขตแคบ ๆ

ตวั อย่างเช่น โรคเอดสแ์ ละการใช้สารเสพติดเป็นเร่อื งท่มี ีความสําคญั มีขอบเขตกว้างขวาง
กระทบกระเทอื นบุคคลจาํ นวนมาก

ความเป็ นไปได้
หลกั เกณฑ์ขอ้ ท่สี องท่ใี ช้ในการเลอื กหวั ขอ้ การวจิ ยั คอื ความเป็นไปได้ หวั ขอ้ ท่จี ะทําการวจิ ยั
หลาย ๆ หวั ขอ้ ไม่อาจเป็นโครงการวจิ ยั อย่างจริงจงั ข้นึ มาได้ ด้วยเหตุผลหลายประการ ประการแรก
ผทู้ จ่ี ะทาํ การวจิ ยั ไม่สามารถหาระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั เพ่อื ใหไ้ ดค้ ําตอบอนั ถูกต้องได้ ประการทส่ี อง งานวจิ ยั
บางหวั ข้อต้องการจํานวนตวั อย่างมาก ๆ แต่กว่าจะเก็บรวบรวมข้อมูลได้เพยี งพอก็อาจล้าสมยั เช่น
การประเมนิ ผลวิธีการคัดเลอื กบุคลากรเข้าทํางาน ซ่ึงมีหลายรูปแบบ การจะทดสอบว่ารูปแบบใดดี
กต็ ้องใชจ้ ํานวนตวั อย่างให้มากเพยี งพอ ซง่ึ กว่าจะเก็บรวบรวมได้ต้องใช้เวลานานปี เพราะหน่วยงาน
แต่ละแห่งนาน ๆ จึงจะรับบุคลากรเพิ่ม สมมติว่าสามารถรอจนเก็บข้อมูลได้ครบ ผลท่ีได้ก็แทบ
จะไม่มีประโยชน์อะไร เพราะบุคคลเหล่านัน้ ได้กลายเป็นสมาชิกของระบบไปแล้ว ประการท่ีสาม
หวั ขอ้ บางเร่อื งไม่อาจศกึ ษาได้ เพราะอาจเป็นอนั ตรายต่อบุคคลท่ตี กเป็นตวั อย่างศกึ ษา หรอื ต่อบุคคล
ท่ีจะทําการศึกษาเอง ประการสุดท้าย หวั ข้อบางหัวข้อไม่อาจศึกษาได้เพราะต้องใช้ทุนทรัพย์มาก
และผลลพั ธท์ ไ่ี ดอ้ าจไม่คุม้ คา่
ความน่าสนใจและการทนั ต่อเหตกุ ารณ์
ผทู้ จ่ี ะทาํ การวจิ ยั จะต้องเลอื กหวั ขอ้ ทก่ี าํ ลงั อย่ใู นความสนใจ หรอื หวั ขอ้ ทค่ี าดว่ากําลงั จะเป็นเรอ่ื ง
ทน่ี ่าสนใจ หวั ขอ้ เร่อื งใดทไ่ี ดม้ ผี ูศ้ กึ ษามาแล้วเป็นเร่อื งท่ยี ากทจ่ี ะไดร้ บั การสนับสนุนทางดา้ นการเงนิ อกี
ดว้ ยเหตุน้ีผูท้ จ่ี ะทําการวจิ ยั จะตอ้ งเป็นคนหูไว ตาไว สมองไว และ ลงมอื ไว จงึ จะทนั ต่อเหตุการณ์ ไดห้ วั
เร่อื งทจ่ี ะทาํ การวจิ ยั ก่อนทผ่ี อู้ ่นื จะทาํ การวจิ ยั ในเร่อื งนนั้ ๆ
ความสนใจของผวู้ ิจยั เอง
ไม่ว่าหวั ขอ้ ท่จี ะทําการวจิ ยั นัน้ จะมคี วามสําคญั มากน้อยเพยี งใด กําลงั อยู่ในความสนใจของคน
ทวั่ ไปหรือไม่ก็ตาม หากผู้วิจัยเองไม่มีความสนใจในหวั ข้อนัน้ ๆ ก็ไม่ควรท่ีจะทําการวิจยั หวั ข้อนัน้
งานวิจยั จํานวนมากไม่สามารถลุล่วงไปได้ดีด้วยเหตุผลเดียวคือ ผู้วิจยั ไม่มีความสนใจอย่างแท้จริง
ในหัวข้อนัน้ แต่อาจจะสนใจท่ีจะทําด้วยเหตุผลอ่ืน เช่น หาหัวข้ออ่ืนยังไม่ได้ มีคนชวนให้ทํา
มีเงินค่าตอบแทน หรือ อยากได้ผลงานทางวิชาการ ซ่ึงผลท่ีจะเกิดข้ึนคือ การวิจัยนัน้ ไม่ประสบ
ความสาํ เรจ็ ตามเป้าหมาย
ความสนใจในเร่อื งท่จี ะทําการวจิ ยั มคี วามสําคญั มาก เพราะเป็นแรงจูงใจท่ผี ลกั ดนั ให้นักวจิ ยั
ตดิ ตามคน้ ควา้ เพ่อื ใหโ้ ครงการวจิ ยั ไดบ้ รรลุเป้าหมายดว้ ยความกระตอื รอื รน้ และซอ่ื ตรง ความสนใจอย่าง
แทจ้ รงิ ในเรอ่ื งทศ่ี กึ ษาจะทาํ ใหผ้ วู้ จิ ยั มมี านะ มคี วามอดทน และยอมลาํ บากทาํ งานไปจนถงึ ทส่ี ดุ

33

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ความสามารถที่จะดาํ เนินการให้ลุลว่ ง
การวจิ ยั เป็นงานทต่ี ้องอาศยั ความรู้ ความเขา้ ใจ และความสามารถในดา้ นต่าง ๆ โดยเฉพาะ
อย่างย่ิง การวิจัยท่ีใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลสนาม ความสามารถในท่ีน้ีรวมตัง้ แต่ความสามารถ
ในการแปรวตั ถุประสงคข์ องโครงการวจิ ยั ออกมาเป็นแบบสอบถามทด่ี ี ความสามารถในการเกบ็ ขอ้ มูล
ความสามารถในการควบคุมงานสนาม ความสามารถในการใหร้ หสั ขอ้ มูล ความสามารถในการเลอื กใช้
สถติ วิ เิ คราะหท์ เ่ี หมาะสมกบั ขอ้ มลู และการตคี วามหมายขอ้ มูล ความสามารถในการใชเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอร์
ในการประมวลผลขอ้ มลู
ความสามารถในดา้ นต่าง ๆ ทก่ี ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ ไม่ไดห้ มายความว่าจะตอ้ งอย่ใู นตวั ผทู้ จ่ี ะทํา
การวจิ ยั แต่เพยี งผูเ้ ดยี ว แต่ผวู้ จิ ยั จะตอ้ งมคี วามสามารถทจ่ี ะระดมบคุ คลทม่ี คี วามสามารถต่าง ๆ ใหเ้ ขา้ มา
มสี ว่ นรว่ มในการวจิ ยั ในบทบาทและสถานภาพต่าง ๆ เช่น เป็นผรู้ ว่ มวจิ ยั หรอื เป็นทป่ี รกึ ษาโครงการ
การยอมรบั ในเชิงนโยบาย
โดยทวั่ ไปงานวจิ ยั ทท่ี าํ ควรเป็นเรอ่ื งทอ่ี ย่ใู นความสนใจของนักวจิ ยั แต่กไ็ ม่ควรละเลยความสนใจ
และการสนบั สนุนของฝ่ายบรหิ ารและผกู้ าํ หนดนโยบาย ซง่ึ เป็นการเพม่ิ โอกาสในการไดร้ บั การสนบั สนุนให้
ดาํ เนนิ การวจิ ยั อยา่ งไรกต็ ามภายใต้สภาวการณ์บางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การดําเนินการทผ่ี ลวจิ ยั ใช้
และนโยบายบรหิ ารหรอื นกั วจิ ยั อาจตอ้ งพจิ ารณาใหผ้ มู้ อี าํ นาจหรอื ผกู้ าํ หนดนโยบายไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มใน
การกาํ หนดปัญหาวจิ ยั และแนวทางการวจิ ยั ตงั้ แต่ระยะแรก ๆ เพ่อื หลกี เลย่ี งโอกาสจะเกดิ ความขดั แยง้ ท่ี
จะตามมาในภายหลงั
การนําข้อมูลและขอ้ เสนอแนะไปใช้
นกั วจิ ยั ตอ้ งถามตวั เองว่าหากดําเนินการวจิ ยั ไปแลว้ โอกาสทข่ี อ้ มูลและผลของการวจิ ยั ตลอดจน
ขอ้ เสนอแนะจะถูกนําไปใช้มีมากน้อยเพยี งใด ซ่งึ ควรคํานึงถึงการยอมรบั จากหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง
ตลอดจนทรัพยากรท่ตี ้องการใช้ตามข้อเสนอแนะท่ีคาดว่าจะได้จากการวิจยั ตลอดจนกลุ่มท่ีคาดว่า
จะเป็นหน่วยงานเป้าหมายและผปู้ ฏบิ ตั งิ านจะสามารถดาํ เนินการตามขอ้ เสนอแนะได้
ข้อพิจารณาทางจริยธรรม
นกั วจิ ยั เองตอ้ งพจิ ารณาว่าในการดําเนินงานวจิ ยั จะมโี อกาสก่อใหเ้ กดิ อนั ตราย (ทงั้ ทางร่างกาย
และจติ ใจ) ต่อผอู้ ่นื หรอื ไม่ เช่น

- การยอมรบั ประเดน็ วจิ ยั จากกลมุ่ ทเ่ี ราศกึ ษา เชน่ ประเดน็ ทศ่ี กึ ษาเป็นเรอ่ื งทไ่ี วต่อความรสู้ กึ
หรอื กระทบต่อวฒั นธรรม หรอื ไม่
- ผเู้ ขา้ รว่ มวจิ ยั จะลงชอ่ื ในแบบยนิ ยอมเขา้ รว่ มการวจิ ยั หรอื ไม่
- จะมกี ารพิจารณาสถานะของตัวอย่าง หรือไม่ เช่น หากกลุ่มตวั อย่างได้รับการวินิจฉัย
มีการเจ็บป่ วย เขาจะได้รบั การรักษาหรือไม่ และการรักษานัน้ ๆ จะมีผลกระทบต่อ
ผลของการวจิ ยั หรอื ไม่

34

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

2.3 การกาํ หนดปัญหาวิจยั

เม่อื เลอื กเรอ่ื งหรอื หวั ขอ้ สาํ หรบั ทาํ วจิ ยั ไดแ้ ลว้ กม็ าถงึ ขนั้ การกาํ หนดปัญหาวจิ ยั พอมาถงึ ตอนน้ี
กค็ งมผี ูส้ งสยั อกี ว่า เม่อื เลอื กหวั ขอ้ วจิ ยั ได้แลว้ จะตอ้ งมากําหนดปัญหาอะไรอกี ในแง่ปฏบิ ตั ิ หวั ขอ้ วจิ ยั
กค็ อื ปัญหาวจิ ยั นนั่ เอง แต่เป็นปัญหาในระดบั ทก่ี วา้ งจะนําไปทาํ การวจิ ยั เลยยงั ไม่ได้ เพราะยงั ไม่ทราบว่า
ผวู้ จิ ยั มองปัญหาในประเดน็ ไหนบา้ ง จะเจาะปัญหาในแง่มมุ ใด ลกึ มากน้อยแค่ไหน ประเดน็ ต่าง ๆ เหลา่ น้ี
ผูว้ จิ ยั จะต้องตีกรอบออกมาใหช้ ดั เจนเสยี ก่อน สาํ หรบั ผู้ท่เี รมิ่ ทาํ วจิ ยั ใหม่ ๆ การกําหนดปัญหาวจิ ยั เป็น
เร่อื งทค่ี ่อนขา้ งสบั สน จบั ประเดน็ ของปัญหาไมค่ ่อยได้ เกดิ ความลงั เลใจอยู่ตลอดเวลา การกาํ หนดปัญหา
จงึ ตอ้ งใชเ้ วลานานพอสมควร เพราะตอ้ งการหาขอ้ มลู อน่ื ๆ มาประกอบการพจิ ารณาดว้ ย

ขอ้ เสนอแนะในท่นี ้ีกค็ อื ขณะท่ที ําการคน้ หาเร่อื งวิจยั นัน้ กใ็ ห้ศกึ ษาถึงปัญหาทต่ี ้องการทราบ
ไปพรอ้ ม ๆ กนั ดว้ ย ถ้าพยายามตงั้ เป็นคําถามไดจ้ ะดมี าก ปัญหานัน้ คอื อะไร? ปัญหานัน้ มคี วามสาํ คญั
อย่างไร? มคี วามคดิ ทอ่ี ยากจะรใู้ นเร่อื งของปัญหานัน้ ในแง่มุมใด กใ็ หล้ องเขยี นออกมาไวใ้ นกระดาษเลย
นึกอะไรไดข้ อใหเ้ ขยี นออกมาเป็นขอ้ ๆ ไวก้ ่อน โดยไม่ต้องไปพะวงในเร่อื งอ่นื ไม่ต้องไปพะวงว่าเร่อื งท่ี
อยากรู้นัน้ สําคญั หรือไม่สําคญั ทําได้หรือไม่ได้ เขยี นแล้วไม่เป็นภาษาเขยี น ใช้ไม่ได้ อะไรทํานองน้ี
เร่ืองเหล่าน้ีเอาไว้ค่อยมาพิจารณาปรบั ปรุงแก้ไขภายหลัง ท่ีสําคัญคือพยายามถ่ายทอดความคิด
ความสงสยั ออกมาใหป้ รากฏเป็นขอ้ เขยี นอย่ใู นกระดาษใหเ้ หน็ ก่อนจะทาํ ใหส้ ามารถจบั ประเดน็ สาํ คญั ๆ
ในปัญหาไดง้ ่ายเขา้

กล่าวอกี นัยหน่ึงกค็ อื การกําหนดปัญหาวจิ ยั เป็นการวเิ คราะหห์ วั ขอ้ วจิ ยั ไปทลี ะขนั้ เพ่อื ตกี รอบ
ของปัญหาใหแ้ คบเขา้ เหมาะสมทจ่ี ะนําไปปฏบิ ตั จิ รงิ ๆ การกําหนดปัญหาสาํ หรบั เร่อื งวจิ ยั ทค่ี ่อนขา้ งยาก
บางครัง้ ผู้วิจัยต้องอาศัยข้อมูลจากการสังเกตการณ์ในสภาพการณ์จริง ๆ ผสมผสานกับแนวคิด
ทางทฤษฎี และกระบวนการใช้ความเป็นเหตุเป็นผล รวมทงั้ ข้อมูลท่ีได้จากข้อเสนอแนะของงานวิจยั
ท่ที ํามาแลว้ มาช่วยกําหนดปัญหาจงึ จะไดข้ อบเขตของปัญหาและแง่มุมต่าง ๆ ของปัญหาอย่างชดั เจน
โดยทัว่ ไปแล้วมีข้อสงั เกตว่าการตีกรอบของปัญหาส่วนมากข้ึนอยู่กับพ้ืนฐานความสามารถและ
ประสบการณ์ของผวู้ จิ ยั ทจ่ี ะมองปัญหาในประเดน็ ต่าง ๆ

ตัวอย่างท่ี 1 เป็นการกําหนดปัญหาวิจัยในหัวข้อเร่ือง การศึกษาการใช้สารเสพติดในประชากร
จะเหน็ ไดว้ ่ายงั เป็นเร่อื งทย่ี งั กวา้ งอยู่ จําเป็นต้องระบุปัญหาให้ชดั เจนและแคบลงไปกว่าน้ีอกี แต่การท่ี
จะระบุปัญหาให้ได้ทนั ทที นั ใดในระยะแรกน้ีคงเป็นไปไม่ได้ นักวิจยั จะต้องมานัง่ คดิ พจิ ารณาถงึ ปัญหา
ต่าง ๆ วา่ ควรจะเป็นปัญหาในประเดน็ ไหนไดบ้ า้ ง คดิ ไดแ้ ลว้ ลองเขยี นออกมาดู เช่น

1. ปัญหาการใชส้ ารเสพตดิ จะศกึ ษาในระดบั ทงั้ ประเทศ หรอื ในเขตพน้ื ทใ่ี ดพน้ื ทห่ี น่ึงทค่ี ดิ ว่าเป็น
ปัญหามาก เช่น ในเขตชนบท ในเขตเมอื ง ในภาคเหนือ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื และในภาคใต้ หรอื
เป็นการศกึ ษาเปรยี บเทยี บในพน้ื ทต่ี ่าง ๆ กนั

2. ปัญหาการใช้สารเสพติด จะศึกษาในประชากรทัว่ ไป กลุ่มผู้ใช้แรงงาน กลุ่มวยั รุ่น หรือ
ในกลุม่ ผถู้ ูกดาํ เนินคดี

35

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

3. ปัญหาการใช้สารเสพติดจะเก่ียวข้องไปยงั ปัจจัยอะไรบ้าง ลองพิจารณาปัจจัยต่อไปน้ี
ว่าจะเกย่ี วขอ้ งไหม?

- ปัจจยั ทางดา้ นชวี วทิ ยาและสขุ ภาพ (Biological, physiological factors)
- ปัจจยั ทางดา้ นประชากร (Demographic factors)
- ปัจจยั ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม (Socio-economic factors)
- ปัจจยั ทางดา้ นวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี ม และพฤตกิ รรมเกย่ี วกบั การเลย้ี งดคู รอบครวั

(Cultural and behavioral factors)
คาํ ถามและปัจจยั ต่าง ๆ เหล่าน้ี ขอใหผ้ วู้ จิ ยั ลองเขยี นแผนภูมดิ ู จะทาํ ใหม้ องเหน็ ความเชอ่ื มโยง
ของประเดน็ ต่าง ๆ ในปัญหาทจ่ี ะศกึ ษามากขน้ึ

ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ และสงั คม การใชส้ ารเสพตดิ ของประชากรทวั่ ไป
การใชส้ ารเสพตดิ
ปัจจยั ทางวฒั นธรรม
ขนบธรรมเนยี ม และ
พฤตกิ รรมเกย่ี วกบั การเลย้ี งดู

ปัจจยั ทางชวี วทิ ยา, สขุ ภาพ การใชส้ ารเสพตดิ ของผใู้ ชแ้ รงงาน
ปัจจยั ทางประชากร

รปู ท่ี 4 กรอบแนวคดิ ปัญหาวจิ ยั

คําถามต่าง ๆ ท่ีผู้วิจัยเขียนข้ึนนัน้ บางคําถามผู้วิจัยสามารถตอบได้เลย แต่บางคําถาม
ยังต้องการข้อมูลท่ีเก่ียวข้องมาช่วยเสริมจนทําให้ผู้วิจัยพอมองเห็นภาพ และหาข้อยุติได้ว่า
จะเจาะปัญหาประเด็นไหน และตีกรอบของปัญหาไว้แค่ไหน ขอ้ มูลเสรมิ ท่จี ะนํามาช่วยกําหนดปัญหา
และขอบเขตของปัญหาได้นนั้ อาจไดจ้ ากการใชค้ วามคดิ และเหตุผลแยกแยะขอ้ มูลต่าง ๆ หรอื แยกแยะ
แนวคดิ ของทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ งทาํ ใหม้ องเหน็ ปัญหาชดั เจนขน้ึ

ข้อมูลเสริมท่ีสําคัญอีกลักษณะหน่ึงคือ ข้อมูลท่ีได้จากเอกสารต่าง ๆ หรืองานวิจัย
ท่ีเก่ียวข้องจะช่วยให้ผู้วิจัยตีกรอบปัญหาได้รวดเร็วข้นึ เช่น จากการอ่านสถิติข้อมูลการวิจัยพบว่า
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีผูม้ ปี ระสบการณ์ใชส้ ารเสพตดิ สงู กว่าภาคอ่นื ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กญั ชา

36

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

สารระเหย และ ยาบ้า น่าจะมปี ัจจยั อะไรเป็นพเิ ศษท่ีแตกต่างไปจากภาคอ่ืน ปัจจยั เหล่าน้ีคอื อะไร?
ซง่ึ นักวจิ ยั อาจศกึ ษาไดใ้ น 2 ประเดน็ คอื ศกึ ษาเปรยี บเทยี บการใชส้ ารเสพตดิ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
และภาคอ่ืน ๆ หรือศึกษาแค่ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเท่านัน้ ซ่ึงข้นึ อยู่กบั งบประมาณและเวลา
ในการวจิ ยั ทจ่ี ะตอ้ งนํามาพจิ ารณาประกอบดว้ ยอกี ครงั้

จากขอ้ มูลทงั้ หมดทําให้ผูว้ จิ ยั สามารถเขยี นเร่อื งวจิ ยั ให้กระชบั ชดั เจน และครอบคลุมประเดน็
ปัญหาทจ่ี ะศกึ ษาได้ 2 เร่อื ง ดงั น้ี
เรอ่ื งท่ี 1 การใชส้ ารเสพตดิ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยมปี ัญหา (Research problems or research
questions) ทต่ี อ้ งการศกึ ษาคอื

1) อตั ราการใชส้ ารเสพตดิ ของประชากรทวั่ ไปในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมอี ตั ราสงู เพยี งใด?
และเมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายชนดิ ของสารเสพตดิ แลว้ เป็นอยา่ งไร

2) อตั ราการใชส้ ารเสพตดิ ในแต่ละกลุ่มอายุ, กลุ่มอาชพี เป็นอยา่ งไร
3) มปี ัจจยั อะไรบา้ ง ทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การใชส้ ารเสพตดิ ของประชากรทวั่ ไป

ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ?

เรื่องท่ี 2 การใชส้ ารเสพตดิ ของประชากรทวั่ ไปในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เปรยี บเทยี บกบั ภาคอ่นื ๆ
โดยมปี ัญหาทต่ี อ้ งการศกึ ษา คอื

1) อตั ราการใชส้ ารเสพติดของประชากรทวั่ ไปในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มรี ะดบั ท่สี งู กว่า
ระดบั ประเทศและภาคอน่ื ๆ หรอื ไม่?

2) มปี ัจจยั อะไรบา้ งทท่ี าํ ใหอ้ ตั ราการใชส้ ารเสพตดิ ของประชากรทวั่ ไปในแต่ละภาคแตกต่างกนั ?
3) ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี มีอิทธิพลมากน้อยแค่ไหนต่อการใช้สารเสพติด

ของประชากรทวั่ ไปในแต่ละภาค?
4) การดาํ เนินงานเพอ่ื ป้องกนั แกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื แตกต่าง

จากภาคอ่นื ๆ?

2.4 การเตรยี มโครงร่างการวิจยั

การเขยี นโครงร่างการวจิ ยั (Research protocol) คอื การเขยี นแผนการศกึ ษาวจิ ยั ทใ่ี หร้ ายละเอยี ด
ครอบคลุมตงั้ แต่กรอบแนวคดิ คําถามระเบยี บวธิ วี จิ ยั และ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล เทยี บเคยี งไดก้ บั การทํา
พมิ พ์เขียว (Blueprint) ก่อนการสร้างบ้าน หรอื แผนท่กี ารเดินทาง (Roadmap) ในการดําเนินกลยุทธ์
ต่าง ๆ เหตุผลหลกั ในการเขยี นโครงร่างการวิจยั คอื 1) เพ่ือให้ผู้ให้ทุน (Funding agency) พิจารณา
2) เพอ่ื เสนอต่อคณะกรรมการจรยิ ธรรมก่อนทาํ การศกึ ษาวจิ ยั ในคน

รูปแบบและเน้ือหาของโครงร่างการวิจยั มักแตกต่างกนั ไปตามระเบียบและข้อกําหนดของ
แต่ละหน่วยงาน หรือแหล่งทุน นักวิจยั จงึ ควรศึกษาข้อกําหนดต่าง ๆ แล้วจดั เตรยี มโครงร่างการวจิ ยั
ตามขอ้ กาํ หนดดงั กล่าว สาํ หรบั บทน้ีจะกล่าวถงึ ประเดน็ ต่าง ๆ ทเ่ี ป็นหลกั การของการเตรยี มโครงร่างการ
วจิ ยั ซง่ึ ประกอบดว้ ย

37

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ส่วนประกอบหลกั ของโครงรา่ งการวิจยั
1. ช่อื เร่อื ง หรอื ช่อื โครงการวจิ ยั
2. ขอ้ มลู นกั วจิ ยั
3. บทนํา
3.1 ภมู หิ ลงั และสถานการณ์
3.2 ประเดน็ ปัญหาและความสาํ คญั
3.3 ทบทวนงานทท่ี าํ มาแลว้
4. วตั ถุประสงคข์ องงานวจิ ยั
5. ระเบยี บวธิ วี จิ ยั
5.1 แบบของการวจิ ยั ตวั แปร และ เทคนิคการเกบ็ ขอ้ มลู
5.2 ตวั อยา่ ง
5.3 แผนการเกบ็ ขอ้ มลู
5.4 แผนการจดั ขอ้ มลู
5.5 ขอ้ พจิ ารณาทางจรยิ ธรรม
5.6 การทดสอบ
6. แผนการทาํ งาน (ใหร้ วมถงึ คาํ อธบิ ายเกย่ี วกบั บุคลากรในโครงการ)
7. งบประมาณ (ใหร้ ะบุคาํ ชแ้ี จง โดยเฉพาะในรายการงบประมาณใหญ่ ๆ)
8. แผนการบรหิ ารโครงการ การตดิ ตามผล และการนําผลการวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์

1. ชื่อโครงการวิจยั ควรเป็นช่อื ทก่ี ะทดั รดั มคี วามจาํ เพาะ สอ่ื ความหมายไดด้ ี และดงึ ดดู ความ
สนใจจากผอู้ า่ นและผปู้ ระเมนิ การตงั้ ชอ่ื โครงการวจิ ยั ควรพจิ ารณาจากโจทยว์ จิ ยั โดยชอ่ื ของโครงการวจิ ยั
ควรประกอบดว้ ย เร่อื งวจิ ยั ประเดน็ วจิ ยั และ วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ช่อื เร่อื งมกั เป็นสว่ นดงึ ดดู ความ
สนใจจดุ แรก (First impression) ของโครงร่างการวจิ ยั มกั จะสอ่ื ใหท้ ราบถงึ องคค์ วามรหู้ ลกั ทก่ี าํ ลงั จะศกึ ษา
(Content) และอาจบ่งบอกถงึ รปู แบบการวจิ ยั ดว้ ย จงึ ควรตงั้ ช่อื เรอ่ื งใหก้ ระชบั หลกี เลย่ี งการใชค้ าํ ฟุ่มเฟ่ือย
น่าสนใจ ทนั ต่อเหตุการณ์ และเป็นเรอ่ื งทว่ี จิ ยั ได้ (Researchable topic) และควรแก่การแสวงหาคาํ ตอบ

2. ข้อมูลนักวิจยั ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลส่วนบุคคลของหวั หน้าโครงการวิจยั หรอื ผู้วจิ ยั หลกั (Principal
investigator) ผู้ร่วมวิจัย (Investigator หรือ Co-investigator) ท่ีปรึกษาโครงการวิจัย ผู้ควบคุม
โครงการวจิ ยั และองค์กร หน่วยงาน สถาบนั ท่เี ก่ียวขอ้ ง ทงั้ หน่วยงานท่ผี ู้วจิ ยั และผู้ร่วมวจิ ยั สงั กดั อยู่
หน่วยงานทใ่ี ช้เป็นสถานทว่ี จิ ยั และหน่วยงานสนับสนุนการวิจยั ท่อี ยู่และสถานท่ที ่ีจะติดต่อได้สะดวก
รวมทงั้ ประวตั ิและผลงาน (Curriculum vitae) ของผู้วจิ ยั ทุกคน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ผลงานวจิ ยั สาํ หรบั
ให้แหล่งทุนสนับสนุน การวิจัยได้ใช้เป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาอย่างมัน่ ใจว่าคณะผู้วิจัย
มคี วามสามารถในโครงการวจิ ยั ทเ่ี สนอและคณะผู้วจิ ยั มคี วามสามารถท่จี ะผลิตผลงานวจิ ยั ท่มี คี ุณภาพ
ไดต้ ามเวลาทก่ี าํ หนด

38


Click to View FlipBook Version