The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WANVIPHA CHAIYASING, 2022-04-18 22:01:56

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

3. บทนํา (Introduction) หรอื ความสาํ คญั และที่มาของปัญหาการวิจยั (Background and
Rationale) ประกอบด้วย

บทนํา คอื ส่วนท่จี ะบอกกล่าวกบั ผู้อ่านว่าทําไมผูว้ จิ ยั จงึ ทําการศกึ ษาน้ี โดยผู้วจิ ยั ตอ้ งสามารถ
แสดงให้เหน็ ว่ามีความรู้พน้ื ฐานและเขา้ ใจในปัญหาท่กี ําลงั จะศกึ ษาอย่างถ่องแท้ชดั เจนทงั้ ทางทฤษฎี
และปฏบิ ตั ิ ตลอดจนสามารถเช่อื มโยงเขา้ ส่กู รอบความคดิ ของการวจิ ยั น้ีได้ สามารถระบุถึงความสําคญั
ของปัญหา รวมทงั้ ความจําเป็น คุณค่าและประโยชน์ท่ีจะได้จากผลการวจิ ยั ในเร่อื งน้ีอย่างมีเหตุมผี ล
ระบุไดว้ ่ามกี ารศกึ ษาเกย่ี วกบั เร่อื งน้ีมาแลว้ หรอื ยงั ทใ่ี ดบา้ ง และการศกึ ษาท่เี สนอน้ีจะช่วยเพมิ่ คุณค่า
ต่องานดา้ นน้ไี ดอ้ ย่างไร

ภูมหิ ลงั และสถานการณ์ ของเร่อื งทจ่ี ะวจิ ยั และโจทยว์ จิ ยั หรอื ปัญหาวจิ ยั การเขยี นบทนําสว่ นน้ี
ต้องช้ีให้เห็นประเด็นปัญหาและความสําคัญของปัญหาท่ีสนใจ รวมถึงการทบทวนงานวิจัยท่ีผู้อ่ืน
ทาํ มาแลว้ โดยทบทวนงานวจิ ยั น้ีมใิ ช่เป็นการนําเอาขอ้ สรุปจากผลงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ งแต่ละช้นิ ท่คี ้นได้
มาใส่เรยี งกนั ไว้ตามลําดบั เวลาของการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั เหล่านัน้ แต่ผู้เตรยี มขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั
จะต้องระบุถึงการค้นหาและการวิเคราะห์งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องและท่ีมีอยู่แล้วทุกช้ินอย่างละเอียด
รวมทงั้ การสงั เคราะหป์ ระเดน็ ความรทู้ ่มี อี ยู่แลว้ และประเดน็ ความรทู้ ่ยี งั ขาดและมคี วามสําคญั ท่นี ํามาสู่
การวจิ ยั ครงั้ น้ี

ก่อนท่ีจะวางแผนทําวิจัยเร่ืองใดก็ตาม ควรจะมีการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ยี วข้องกบั เร่ือง
ทจ่ี ะทําวจิ ยั อย่างละเอยี ดและรอบคอบ เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจอย่างแทจ้ รงิ เกย่ี วกบั เร่อื งนัน้ ๆ โดยในขนั้ ตอนแรก
ต้องแน่ใจเสียก่อนว่าเรากําลังจะศึกษาเร่ืองอะไร แหล่งท่ีมาของวรรณกรรมเหล่าน้ีอาจรวบรวมได้
มาจากกลุ่มผู้เชย่ี วชาญในเร่อื งนนั้ , ตํารามาตรฐานในสาขาทจ่ี ะทําวจิ ยั , วารสารต่าง ๆ, Current contents
ซ่ึงรวบรวมสารบญั ของสาขาต่าง ๆ เอาไว้, Index Medicus, Science Citation Index หรือ MEDLINE
(MEDLARS onLINE ) ซ่ึงเป็ นระบบวิเคราะห์จัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูลทางการแพทย์โดยอาศัย
คอมพวิ เตอรม์ าชว่ ย เป็นตน้ เม่อื คน้ ไดร้ ายงานต่าง ๆ ออกมาแลว้ ขนั้ ตอนต่อไปกค็ อื ตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ
ความสามารถในการใช้วิจารณญาณในการประเมินบทความเหล่านัน้ โดยควรจะวิเคราะห์ออกมา
ใน 2 ประเดน็ คอื

ก. บทความนนั้ ถกู ตอ้ งและเชอ่ื ถอื ไดห้ รอื ไม่ ?
ข. สามารถประยุกต์ (Applicable) เขา้ กบั เร่อื งทเ่ี ราจะศกึ ษาไดห้ รอื ไม่ ?
การสรุปการศกึ ษารายงานอ่นื ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ควรสรุปวเิ คราะห์ออกมาว่ารายงานทงั้ หมดเก่ยี วกบั
เรอ่ื งนนั้ มจี าํ นวนเท่าไร ในจาํ นวนนนั้ มที น่ี ่าเชอ่ื ถอื ไดก้ เ่ี รอ่ื ง ทไ่ี มน่ ่าเชอ่ื ถอื มปี ัญหาอะไรบา้ ง และในจาํ นวน
ทเ่ี ช่อื ถือไดน้ ้ีมีท่เี หน็ ด้วยกบั สมมติฐานของเราเท่าไร และมที ่คี ดั ค้านเท่าไร โดยสรุปออกมาให้ได้ว่าใน
กรอบความรนู้ นั้ มอี ะไรทท่ี ราบแลว้ และมอี ะไรทย่ี งั ไม่ทราบ โดยทวั่ ๆ ไปควรจะวเิ คราะหอ์ อกมาในลกั ษณะ
ทว่ี ่าความรู้เท่าทม่ี อี ยู่ในปัจจุบนั ไม่สามารถตอบปัญหาการวจิ ยั ของเราได้ จงึ จําเป็นต้องทําวจิ ยั ในเร่อื งน้ี
โดยระบุว่าเมอ่ื ทําวจิ ยั เสรจ็ แลว้ จะนําผลการวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์อย่างไรไดบ้ า้ ง การเขยี นโครงรา่ งการวจิ ยั
ในสว่ นน้ี ควรบรรยายในลกั ษณะการสรปุ วเิ คราะหด์ งั กล่าวมาแลว้ ไม่ใช่นํารายงานเหลา่ นัน้ มาย่อหรอื ยก
เอาบทคดั ยอ่ (Abstract) ของแต่ละบทความมาปะตดิ ปะต่อกนั เพราะจะทาํ ใหเ้ หตุผลต่าง ๆ ออ่ นลงไปมาก

39

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

4. วตั ถปุ ระสงค์ โครงร่างการวจิ ยั ต้องกําหนดวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการให้
ชดั เจนและเฉพาะเจาะจงไม่คลุมเครือ โดยบ่งช้ีถึงสิ่งท่ีจะทําทงั้ ขอบเขตและคําตอบท่คี าดว่าจะได้รบั
อนั เป็นสง่ิ ซ่ึงผู้วิจยั มุ่งหวงั ท่จี ะทําให้การวจิ ยั นัน้ บรรลุทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว การตงั้ วตั ถุประสงค์
ต้องให้สมเหตุสมผลกบั ทรพั ยากรท่เี สนอขอ และเวลาท่ีจะใช้ โดยทัว่ ไป วัตถุประสงค์อาจจําแนกได้
เป็น 2 ระดบั คอื

ก. วตั ถุประสงค์ทวั่ ไป (General objective) จะกล่าวถึงสงิ่ ท่ีคาดหวงั (Implication) หรือ
สง่ิ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึน จากการวิจัยน้ีเป็นการแสดงรายละเอียดเก่ียวกับจุดมุ่งหมายในระดับกว้าง
จงึ ควรครอบคลมุ งานวจิ ยั ทจ่ี ะทาํ ทงั้ หมด

ข. วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ (Specific objective) จะพรรณนาถงึ สงิ่ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ จรงิ ในงานวจิ ยั น้ี
โดย อธิบายรายละเอียดว่าจะทําอะไร โดยใครทํามากน้อย เพียงใด ท่ีไหน เม่ือไร และ เพ่ืออะไร
โดยการเรยี งหวั ขอ้ ควร เรยี งตามลาํ ดบั ความสาํ คญั ก่อนหลงั

ผู้เตรยี มขอ้ เสนอโครงการวิจยั ต้องระบุวตั ถุประสงค์ของการวิจยั หรอื คําถามวจิ ัยให้ชดั เจน
จําเพาะ และสอดคล้องกบั ปัญหาวิจยั ทร่ี ะบุไว้ในข้อวตั ถุประสงค์หรอื คําถามของการวิจยั แต่ไม่ควรมี
วัตถุประสงค์หรือคําถามวิจัยจํานวนมากเกินไปจนทําให้ความสําคัญของวัตถุประสงค์หลักหรือ
คาํ ถามวจิ ยั หลกั มคี ุณคา่ ลดลง

จากคําถามและวตั ถุประสงค์การวจิ ยั ถ้าในคําถามวิจยั หรอื วตั ถุประสงค์ต้องการตอบคําถาม
ในเชงิ เปรยี บเทยี บ เช่น มากกว่าหรอื น้อยกว่าหรอื ไม่? หรอื สงิ่ น้ีเป็นปัจจยั นําไปส่ภู าวะหรอื โรคทส่ี งสยั
หรอื ไม่? การทจ่ี ะตอบคาํ ถามไดว้ ่าเม่อื เปรยี บเทยี บแลว้ มคี วามแตกต่างกนั จรงิ หรอื ไม่ ในการพสิ จู น์ดว้ ย
วธิ ีทางสถิติจําเป็นต้องมกี ารตัง้ สมมติฐานเพ่อื ท่จี ะทดสอบสมมติฐานนัน้ แลว้ จึงสามารถตอบได้ว่าเม่อื
เปรียบเทียบแล้วมีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติหรือไม่ ดังนัน้ การตัง้ สมมติฐานจึงมี
วัตถุประสงค์หลักเพ่ือแปลงคําถามวิจัยไปสู่สมมติฐานท่ีสามารถพิสูจน์ได้ด้วยวิธีทางสถิติ การ
ตงั้ สมมติฐานเป็นการคาดคะเน (Predict) หรอื การทายคําตอบของปัญหาอย่างมเี หตุมผี ลจงึ มกั เขยี น ใน
ลักษณะการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ (Independent variables) และตัวแปรตาม
(Dependent variable) เชน่ การตดิ เฮโรอนี ชนดิ ฉีดเป็นปัจจยั เสย่ี งของโรค AIDS ซง่ึ สมมตฐิ านจะทาํ หน้าท่ี
เสมอื นเป็นทศิ ทางและแนวทางในการวจิ ยั ซง่ึ จะช่วยเสนอแนะแนวทาง ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและการ
วเิ คราะห์ขอ้ มลู ต่อไป สมมติฐานทต่ี งั้ ขน้ึ ไม่จาํ เป็นต้องถูกเสมอไป แต่ถ้าทดสอบแลว้ ผลสรุปว่าเป็นความ
จรงิ กจ็ ะไดค้ วามรู้ใหม่เกดิ ขน้ึ อย่างไรกต็ ามงานวจิ ยั บางชนิดไม่จาํ เป็นตอ้ งมสี มมตฐิ าน เช่น การวจิ ยั ขนั้
สํารวจ (Exploratory or formulative research) หรือการวิจัยเชิงพรรณนา (Observational descriptive
design) เป็นตน้ การวจิ ยั ทจ่ี ําเป็นต้องมสี มมตฐิ านของการวจิ ยั ผูเ้ ตรยี มขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั กต็ ้องระบุ
สมมติฐานท่ีต้องการทดสอบจากการวิจัยน้ีให้ชดั เจนโดยอาศยั แนวคดิ และองค์ความรู้ท่มี ีอยู่เป็นฐาน
สมมติฐานของการวิจัยท่ีระบุไว้ต้องเป็นสมมติฐานท่ีสามารถพิสูจน์ได้จากการวิจยั นัน้ และการระบุ
สมมตฐิ านของการวจิ ยั จะตอ้ งมแี นวคดิ หรอื ทฤษฎปี ระกอบ หรอื อา้ งถงึ ความเป็นไปได้ รวมทงั้ สมมตฐิ าน
ของการวจิ ยั ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ภมู หิ ลงั ของปัญหาวจิ ยั และวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ดว้ ย

40

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

คาํ ถามของการวจิ ยั (Research question) ในการวางแผนทาํ วจิ ยั นนั้ สงิ่ สาํ คญั อนั ดบั แรกทผ่ี วู้ จิ ยั
ต้องกําหนดข้นึ ก็คอื “การกําหนดคําถามของการวิจยั ” (Problem identification) และให้นิยามคําถาม
หรือปัญหานัน้ อย่างชดั เจน เพราะปัญหาท่ีชดั เจนจะช่วยให้ผู้วจิ ยั กําหนดเป้าหมายและวตั ถุประสงค์
ตัง้ สมมติฐานให้นิยามตัวแปรท่ีสําคัญ ๆ ตลอดจนการวัดตัวแปรเหล่านัน้ ได้ ถ้าผู้วิจัยตัง้ คําถาม
ท่ีไม่ชัดเจนสะท้อนให้เห็นว่าแม้แต่ตัวผู้วิจัยเองก็ยังไม่แน่ใจว่าจะศึกษาอะไร ทําให้การวางแผน
ในขนั้ ต่อ ๆ ไปเกิดความสบั สนได้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าปัญหาเป็นส่วนสําคญั ของการวิจยั แต่ไม่ได้
หมายความว่าปัญหาทุกปัญหาต้องทําวิจยั เพราะคําถามบางอย่างไม่ต้องใช้กระบวนการในการวิจยั
กส็ ามารถตอบปัญหานนั้ ๆ ได้ หรอื บางคาํ ถามวจิ ยั กไ็ ม่อาจทาํ วจิ ยั เพ่อื หาคาํ ตอบ ดงั นนั้ สง่ิ ทถ่ี อื เป็นความ
ท้าทายของการตั้งคําถามวิจัยคือความยากลําบากในการหาคําถามวิจัยท่ีดี มีความสําคัญ
และสามารถนําไปสู่การศึกษาวิจัยเพ่ือให้ได้คําตอบท่ีถูกต้อง (Feasible and valid study plan)
คําถามวิจัยท่ีดีควรมีลักษณะดังน้ี 1) ทําได้จริง (Feasible) โดยมีจํานวนประชากรเป้ าหมาย
ท่ีมากเพียงพอ มีบุคลากรผู้เช่ียวชาญ มีเวลาและงบประมาณท่ีเพียงพอ และมีการบริหารจัดการ
ท่ีเอ้ืออํานวย 2) น่าสนใจท่ีจะศึกษา (Interesting) 3) เป็ นส่ิงใหม่ (Novel) อาจต่อยอดหรือหักล้าง
องค์ความรู้เดิม หรอื ค้นพบองค์ความรู้ใหม่ 4) ถูกหลกั จริยธรรม (Ethical) 5) สอดคล้อง (Relevant)
กับหลักความเป็ นจริง (Scientific knowledge) นโยบายขององค์กร และทิศทางแผนงานการวิจัย
ซง่ึ สามารถจดจาํ ง่าย ๆ ว่า “FINER”

ประโยชน์ และ/หรอื ผลได้ (Output) ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั จากการวจิ ยั ผเู้ ตรยี มขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั
จะต้องระบุให้ชัดเจนว่าผลการวิจัยท่ีคาดว่าจะได้นั้นมีอะไรบ้าง และผลการวิจัยเหล่านั้น
จะมปี ระโยชน์อย่างไร มปี ระโยชน์ต่อใคร มปี ระโยชน์เมอ่ื ใด ใครควรจะเป็นผใู้ ชผ้ ลงานวจิ ยั และใครควรจะ
เป็นผู้นําผลงานวิจยั ไปสานหรือขยายผลต่อ ถ้าผลการวจิ ยั เป็นความรู้ใหม่เชงิ ทฤษฎีควรระบุจํานวน
และวธิ กี ารเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ดงั กล่าวดว้ ย

5. ระเบียบวิธีวิจยั
ผู้เตรยี มขอ้ เสนอโครงการวิจยั ต้องระบุรายละเอยี ดท่ชี ดั เจนและมากพอ ท่ีจะทําให้ผู้ประเมิน
ข้อเสนอโค รงการวิจัยได้ทราบว่ าผู้วิจัยได้พยายามป้ อ งกันและแ ก้ไขความค ลาดเคล่ือ นเชิงระบ บ
และความคลาดเคล่อื นแบบสมุ่ ไวม้ ากน้อยเพยี งใด โดยอาศยั มาตรการและวธิ กี ารใดตามหวั ขอ้ ต่าง ๆ ดงั น้ี
5.1 รูปแบบของการวิจัย (Study design) เน่ืองจากช่ือของรูปแบบของการวิจยั ชนิดต่าง ๆ
อาจจะส่อื ความหมายได้ไม่ตรงกนั ระหว่างผูว้ จิ ยั และผู้ประเมินขอ้ เสนอโครงการวิจยั หรอื บุคคลทวั่ ไป
ดงั นัน้ ผูเ้ ตรยี มขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั นอกจากจะระบชุ ่อื ของรูปแบบการวจิ ยั แลว้ กค็ วรมรี ายละเอยี ดดว้ ยว่า
รปู แบบการวจิ ยั ดงั กลา่ วนนั้ มลี กั ษณะอย่างไร พรอ้ มทงั้ ระบุเหตุผลและความจําเป็นทต่ี ้องเลอื กใชร้ ปู แบบ
การวจิ ยั ดงั กลา่ ว
ตัวแปร (Variables) ท่ีสําคัญทุกตัวแปรท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัย รวมทัง้ คําจํากัดความ
ของแต่ละตวั แปร
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยและการวัดผลการวิจัย ผู้เตรียมข้อเสนอโครงการวิจัยต้องระบุ
รายละเอยี ดของเคร่อื งมอื ทงั้ หมดท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั และจะนํามาใช้ในการวจิ ยั (ชนิดของเคร่อื งมือ

41

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

วิธีการวัดผลโดยใช้เคร่ืองมือ คุณสมบัติของเคร่ืองมือเก่ียวกับความเช่ือถือได้และความแม่นยํา)
ถ้าเป็นเคร่อื งมอื ทผ่ี ูว้ จิ ยั จะสรา้ งขน้ึ ใหม่สําหรบั การวจิ ยั น้ี (เช่น แบบสอบถาม) กต็ ้องระบุถึงวธิ กี ารสร้าง
การทดสอบความเชอ่ื ถอื ได้ และความแมน่ ยาํ ของเครอ่ื งมอื ดงั กล่าวไวด้ ว้ ย

5.2 ประชากรทศ่ี กึ ษาและตวั อย่าง ผเู้ ตรยี มขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ตอ้ งระบุคุณสมบตั ขิ องประชากร
ทศ่ี ึกษาให้ชดั เจนทงั้ ชนิดของประชากร ประเภทของประชากร ลกั ษณะของประชากร และแหล่งท่มี า
ของประชากร ถ้าไม่สามารถศกึ ษาประชากรเป้าหมายทงั้ หมดไดต้ ้องระบุวธิ กี ารเลอื กตวั อย่างประชากร
ทศ่ี กึ ษาและเกณฑ์การคดั เลอื กประชากรท่ศี กึ ษา นอกจากน้ีจะตอ้ งระบุจํานวนท่เี หมาะสมของประชากร
ท่ีศึกษาโดยองิ กบั สมมติฐานการวิจยั ท่ีนําไปสู่การคํานวณขนาดตวั อย่างท่ีศึกษาด้วย ในกรณีท่มี กี าร
แบ่งกลุ่มประชากรทศ่ี กึ ษากต็ ้องระบุวธิ กี ารแบ่งกลุ่มประชากรท่ศี กึ ษาดว้ ย ควรมรี ายละเอยี ดของวธิ กี าร
ตดิ ตามประเมนิ ผลประชากรทศ่ี กึ ษา

กรณีทจ่ี าํ เป็นต้องมกี ารฝึกอบรมผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั ทงั้ ก่อนเรมิ่ การวจิ ยั และระหว่างการวจิ ยั
ผูเ้ ตรยี มขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั กค็ วรระบุรายละเอยี ดของวธิ กี ารและระยะเวลาของการฝึกอบรมใหช้ ดั เจน
ดว้ ย

5.3 แผนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผเู้ ตรยี มขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ต้องระบุใหช้ ดั เจนทงั้ ผเู้ กบ็ ขอ้ มลู
ชนิดของขอ้ มลู วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ตลอดจนระยะเวลา

5.4 แผนการจดั การขอ้ มลู ผเู้ ตรยี มขอ้ เสนอโครงการตอ้ งระบใุ หช้ ดั เจนว่าจะบนั ทกึ ขอ้ มลู อยา่ งไร
วเิ คราะหข์ อ้ มลู อะไรบา้ ง จะวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใชเ้ คร่อื งมอื อะไรหรอื วธิ กี ารทางสถติ วิ ธิ ใี ด ต้องการพสิ จู น์
สมมตฐิ านอะไรและระดบั ความสาํ คญั ทจ่ี ะบ่งถงึ นยั สาํ คญั ทางสถติ ิ

5.5 ข้อพิจารณาทางจริยธรรม ผู้เตรียมข้อเสนอโครงการควรให้ข้อพิจารณา มาตรการ
การป้องกนั อนั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ กบั ประชากรทศ่ี กึ ษาและสงิ่ แวดลอ้ มและมาตรการการหยุดการศกึ ษาก่อน
กาํ หนด กรณีทเ่ี ป็นการวจิ ยั ในมนุษยแ์ ละอาจจะเกย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ ปฏบิ ตั ิด้านจรยิ ธรรมกต็ ้องระบุถงึ ความ
ยนิ ยอมของประชากรทศ่ี กึ ษา รวมทงั้ แนบเอกสารการขอความยนิ ยอมจากประชากรทศ่ี กึ ษาและคาํ แนะนํา
ทจ่ี ะใหแ้ ก่ประชากรทศ่ี กึ ษาเพ่อื ประกอบการตดั สนิ ใจของประชากรทจ่ี ะเขา้ ร่วมในการศกึ ษามาพรอ้ มกบั
ขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ดว้ ย

การวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การทดลองและมกี ารใหป้ ัจจยั /มาตรการแก่ประชากรทศ่ี กึ ษา ผูเ้ ตรยี ม
ขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั กต็ อ้ งระบรุ ายละเอยี ดของปัจจยั /มาตรการนนั้ ใหช้ ดั เจน (ปัจจยั /มาตรการนนั้ คอื อะไร
จะใหแ้ ก่ประชากรทศ่ี กึ ษาเม่อื ใด ให้อย่างไร ใหข้ นาดเท่าไร ใหร้ ะยะเวลานานเท่าใด) และละเอยี ดเพยี ง
พอทจ่ี ะใหผ้ ปู้ ระเมนิ ขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั พจิ ารณาถงึ ประโยชน์และโทษของปัจจยั /มาตรการเหล่านัน้ ได้
ดว้ ย ตลอดจนแนวทางวเิ คราะหแ์ ละนําเสนอขอ้ มลู ในลกั ษณะทจ่ี ะไมม่ ผี ลกระทบต่อตวั อยา่ ง

6. แผนงานดาํ เนิ นการวิจยั ผู้เตรียมข้อเสนอโครงการวิจัยต้องระบุระยะเวลาทัง้ หมดของ
โครงการวจิ ยั เวลาทเ่ี รมิ่ การวจิ ยั ได้ และงานทค่ี าดว่าจะตอ้ งทาํ ในแต่ละชว่ ง (ทุก 6 เดอื น) นอกจากน้ีควรระบุ
ผลได้ (Output) ท่ีเป็นรูปธรรมท่ีคาดว่าจะได้จากการวิจัยเป็นระยะ ๆ (ทุก 6 เดือน) ตามแผนการ
ดาํ เนินการวจิ ยั ดว้ ยเพ่อื ให้เกดิ ความสะดวกต่อทงั้ ผูว้ จิ ยั ผูท้ จ่ี ะตดิ ตามประเมนิ ผลการวจิ ยั และองค์กรท่ี

42

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

สนบั สนุนการวจิ ยั ดว้ ย นอกจากน้ีผเู้ ตรยี มขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ควรชแ้ี จงความเป็นไปไดข้ องโครงการวจิ ยั
ทงั้ ดา้ นบุคคลากร สถานท่ี เคร่อื งมอื และ เวลา

7. งบประมาณการวิจยั การระบุงบประมาณท่ีต้องการใช้ในการวิจัย ผู้เตรียมข้อเสนอ
โครงการวิจยั ควรระบุความจําเป็นและตามความเป็นจรงิ อย่างสมเหตุสมผล ไม่ควรระบุงบประมาณ
ให้มากกว่าความเป็นจรงิ โดยคาดหวงั ว่าอาจจะถูกปรบั ลด เพราะองค์กรให้ทุนอาจจะพิจารณาไม่ให้
การสนับสนุนเน่ืองจากงบประมาณทเ่ี สนอไวม้ ากเกนิ ไป หรอื อาจจะไม่ให้การสนับสนุนเพราะเขา้ ใจว่า
นักวจิ ยั ไม่มคี วามสามารถและไม่มเี หตุผลเพียงพอในการตัง้ งบประมาณ ในทางตรงกนั ข้ามการเสนอ
งบประมาณก็ไม่ควรตัง้ งบประมาณให้ต่ํากว่าความจริงเพียงเพ่ือต้องการให้ได้รับการสนับสนุน
เพราะอาจก่อให้เกิดอุปสรรคในภายหลงั เม่อื ไม่สามารถทําวจิ ยั ให้สําเร็จตามขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ได้
เน่อื งจากขาดแคลนงบประมาณ

การระบุงบประมาณการวจิ ยั นัน้ ผู้เตรียมขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ควรแจกแจงรายละเอียดของ
งบประมาณเป็นหมวดหมตู่ ามขอ้ กาํ หนดขององคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในแต่ละหมวดหม่ใู หร้ ะบหุ วั ขอ้ (Item) และ
งบประมาณของแต่ละหัวข้อให้ชัดเจน รวมทัง้ ยอดรวมของแต่ละหมวดหมู่และยอดรวมทัง้ หมด
ของโครงการวจิ ยั

การแบ่งหมวดหมู่ของงบประมาณของแต่ละองค์กรอาจจะมีความแตกต่างกนั ได้โดยทวั่ ไป
งบประมาณการวจิ ยั มกั จดั แบง่ หมวดหม่ใู หญ่ ๆ ดงั น้ี

- ค่าตอบแทนและค่าจา้ งบุคลากร อาจเป็นค่าตอบแทน ค่าจา้ งเตม็ เวลา ค่าจา้ งบางเวลา การคดิ
อตั ราค่าตอบแทนอาจจะองิ ตามอตั ราค่าตอบแทนท่ไี ด้รบั จากงานประจําหรอื อตั ราท่กี ําหนดไวใ้ นระบบ
ราชการ หรอื องิ ตามคุณวุฒแิ ละ/หรอื ปรมิ าณงาน หรอื องิ ตามอตั ราค่าตอบแทนในภาคเอกชนโดยเฉพาะ
คา่ ตอบแทนบุคลากรสาขาขาดแคลน

- คา่ ใชส้ อย
- ค่าครภุ ณั ฑ์
- คา่ วสั ดภุ ณั ฑ์
- ค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ เช่น ค่าหนังสอื และวารสาร เคร่ืองเขยี น โทรศพั ท์ ไปรษณีย์ ค่าตอบแทน
ประชากรทศ่ี กึ ษา (ค่าเดนิ ทาง ค่าเสยี เวลางาน) ค่าจดั พมิ พเ์ อกสารเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และค่าใชจ้ ่ายใน
การนําเสนอผลงานวจิ ยั
8. แผนการบริหารโครงการ การตดิ ตามผลและการนําผลการวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ นกั วจิ ยั ควร
นําเสนอแผนการบรหิ ารโครงการใหช้ ดั เจนว่า การบรหิ ารการเกบ็ ขอ้ มลู การตดิ ตามและตรวจสอบคุณภาพ
ขอ้ มลู การติดตามความคบื หน้า/กา้ วหน้าของการดําเนินการ ตลอดจนแนวทางการเผยแพร่ผลการวจิ ยั
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อการพฒั นางาน
9. สาระอ่ืน ๆ
ภาคผนวก (Appendix) เช่น เคร่อื งมอื ทจ่ี ะใชใ้ นการเกบ็ รวมรวมขอ้ มูล เช่น แบบบนั ทกึ ขอ้ มูล
การวจิ ยั ตวั อยา่ งแบบสอบถาม
หนงั สอื ยนิ ยอมจากประชากรทศ่ี กึ ษา ผลการวจิ ยั นําร่อง (Pilot study)

43

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

คาํ อธบิ ายคาํ ย่อทใ่ี ชใ้ นเอกสาร
บรรณานุกรม และ/หรอื เอกสารอา้ งองิ
หนงั สอื รบั รองจากหน่วยงาน/องคก์ รทเ่ี ป็นหน่วยงานตน้ สงั กดั ของผวู้ จิ ยั และ/หรอื เป็นหน่วยงาน
ทจ่ี ะเป็นสถานทว่ี จิ ยั แสดงความจาํ นงทจ่ี ะสนบั สนุนการวจิ ยั
หนงั สอื รบั รองจากหน่วยงาน/องคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ งเกย่ี วกบั ผลการพจิ ารณาขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั
ดา้ นจรยิ ธรรม
รายนามผมู้ อี าํ นาจเบกิ จ่ายเงนิ งบประมาณ
การเตรียมข้อเสนอโครงการวจิ ัยนัน้ นอกจากจะมเี น้ือหาครบถ้วนตามท่อี งค์กร หน่วยงาน
และสถาบันท่ีเก่ียวขอ้ งกําหนดแล้ว การใช้ภาษาและการจัดเตรียมเอกสารให้ชวนอ่านและสามารถ
สอ่ื ใหผ้ ูอ้ ่านเขา้ ใจเน้ือหาไดง้ ่ายในเวลาอนั สนั้ จะมคี วามสาํ คญั ทท่ี ําใหผ้ ู้ประเมนิ โครงการวจิ ยั ประทบั ใจ
ซ่ึงทําให้โอกาสท่ีโครงการวิจัยจะได้รบั การสนับสนุนหรือโอกาสท่ีข้อเสนอโครงการวิจัยจะประสบ
ความสาํ เรจ็ กม็ มี ากขน้ึ ดว้ ย

สรปุ

การเลอื กหวั ขอ้ เรอ่ื งทจ่ี ะทาํ วจิ ยั เป็นหวั ใจสาํ คญั ของการทาํ วจิ ยั เป็นสงิ่ แรกทผ่ี วู้ จิ ยั ตอ้ งดาํ เนนิ การ
เพราะการกาํ หนดหวั ขอ้ ทด่ี จี ะสามารถบอกใหท้ ราบถงึ ตวั แปรสาํ คญั ทจ่ี ะศกึ ษา ทงั้ ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
บอกถงึ ประชากรหรอื กลุ่มตวั อย่างในการวจิ ยั วธิ กี ารวจิ ยั ตลอดจนสถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ดว้ ยคาํ ถามของ
การวจิ ยั (Research question) เป็นสงิ่ สําคญั อนั ดบั แรกทผ่ี วู้ จิ ยั ต้องกําหนดขน้ึ กค็ อื “การกําหนดคําถาม
ของการวิจัย” (Problem identification) และให้นิยามคําถามหรือปัญหานัน้ อย่างชดั เจน เพราะปัญหา
ท่ีชดั เจนจะช่วยให้ผู้วจิ ยั กําหนดเป้าหมายและวตั ถุประสงค์ ตงั้ สมมติฐานให้นิยามตัวแปรท่ีสําคญั ๆ
ตลอดจนการวดั ตวั แปรเหล่านนั้ ได้ โครงร่างการวจิ ยั ตอ้ งกาํ หนดวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของโครงการ
ให้ชดั เจนและเฉพาะเจาะจงไม่คลุมเครอื โดยบ่งช้ถี งึ สงิ่ ท่จี ะทําทงั้ ขอบเขตและคําตอบท่คี าดว่าจะได้รบั
อนั เป็นสง่ิ ซง่ึ ผวู้ จิ ยั มุ่งหวงั ทจ่ี ะทําใหก้ ารวจิ ยั นนั้ บรรลุทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว การตงั้ วตั ถุประสงคต์ อ้ ง
ใหส้ มเหตุสมผลกบั ทรพั ยากรทเ่ี สนอขอและเวลาทจ่ี ะใช้

การเขยี นโครงร่างวจิ ยั ทําให้ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาค้นควา้ คดิ ทบทวน และวางแผนอย่างเป็นขนั้ ตอน
และมรี ะเบยี บแบบแผนก่อนดําเนินการศกึ ษาวจิ ยั จงึ เป็นประโยชน์อย่างยง่ิ ซง่ึ ผูว้ จิ ยั ควรทําแม้ไม่เสนอ
ขอทุนกต็ าม โครงร่างวจิ ยั ทเ่ี สรจ็ สมบูรณ์เหมอื นเขยี นงานวจิ ยั เสรจ็ ไปแล้วคร่งึ หน่ึง รอเพยี งผลการวจิ ยั
การวเิ คราะหผ์ ล และการสรปุ ผลเท่านนั้

44

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

เอกสารอ้างอิง

จรสั สวุ รรณเวลา. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการบรรยายในการประชมุ ปฏิบตั ิการ
เรอื่ งกระบวนการวิจยั ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย.์ กรงุ เทพฯ.
สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

ภริ มย์ กมลรตั น์กุล. (2531). หลกั เบอื้ งต้นในการทาํ วิจยั . แพทยช์ นบท. 8: 8 – 21.
ยวุ ดี ฤาชา และคณะ. (2523). วิจยั ทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: สยามศลิ ป์ การพมิ พ.์
ภริ มย์ กมลรตั น์กุล และคณะ. (2542). หลกั การทาํ วิจยั ใหส้ าํ เรจ็ . กรุงเทพฯ:

เทก็ ซแ์ อนดเ์ จอรน์ ลั พบั ลเิ คชนั่ จาํ กดั .
มดี ธนะมนั่ และทสั สนี นุชประยูร. บรรณาธกิ าร. (2541). การวิจยั ชุมชนทางการแพทย.์ กรุงเทพฯ:

ภาควชิ าเวชศาสตรป์ ้องกนั และสงั คม คณะแพทยศ์ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
เรณา พงษ์เรอื งพนั ธุ์ และประสทิ ธิ์ พงษเ์ รอื งพนั ธุ.์ (2541). การวิจยั ทางการพยาบาล. ชลบุร:ี

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา.
จุมพล สวสั ดยิ์ ากร. บรรณาธกิ าร. (2520). หลกั และวิธีการวิจยั ทางสงั คมศาสตร.์ กรุงเทพฯ:

โรงพมิ พส์ วุ รรณภมู .ิ
เทยี นฉาย กรี ะนนั ท์ และจรญั จนั ทลกั ขณา. (2534). "ความรพู้ น้ื ฐานในการวจิ ยั "หน่วยที่ 1 ในเอกสาร

การสอนชดุ วิชา 20302 สถิติวิจยั และการประเมินผลการศกึ ษา. นนทบุร:ี
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
ธวชั ชยั วรพงศธร. (2540). หลกั การวิจยั ทางสาธารณสุขศาสตร.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .
สชุ าติ ระสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธุ.์ (2532). "การวิจยั ทางสงั คมศาสตร"์ หน่วยท่ี 13 ในเอกสารการสอน
ชุดวชิ า10131 มนุษยก์ บั สงั คม. นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
วญั ญา วศิ าลาภรณ์. (2531). การวิจยั ทางการศึกษา หลกั การและแนวปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ:
คณะศกึ ษาศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร.
วจิ ติ ร ศรสี พุ รรณ และเทยี นศร ทองสวสั ด.ิ์ (2521). วิจยั ทางการพยาบาล. เชยี งใหม:่
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
Adebo, Elfeida O. (1997). "Identifying problems for nursing Research" Int. Nurs Rev.
Vol.21: 53-61.
Kerlinger Fred N. (1986). Foundation of Behavioral Research. 3 nd. New York: Holt,
Rinehart and Wiston, Inc.

45

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

คาํ ถามท้ายบท

1. ขอ้ ใดเป็นงานวจิ ยั ทม่ี คี ุณคา่ หากพจิ ารณาเพ่อื ขอรบั ทนุ สนบั สนุน
ก. มกี ารตงั้ และทดสอบสมมตฐิ าน
ข. มกี ารใชส้ ถติ ขิ นั้ สงู
ค. มคี วามสอดคลอ้ งของชอ่ื เร่อื ง วตั ถุประสงค์ กรอบแนวคดิ วธิ กี ารศกึ ษา และผลการศกึ ษา
ง. ผเู้ ขยี นมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก

2. งานวจิ ยั เร่อื ง “ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายใุ นเขตเทศบาลเมอื งบางมลู นาก
อาํ เภอบางมลู นาก จงั หวดั พจิ ติ ร” จากช่อื เรอ่ื ง นกั ศกึ ษาทราบอะไรบา้ ง
ก. ประเภทของงานวจิ ยั
ข. ตวั แปรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา
ค. ขอบเขตการวจิ ยั
ง. ถกู ทุกขอ้
3. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั มคี วามสมั พนั ธก์ บั ขอ้ ใดมากทส่ี ดุ
ก. เป็นการกาํ หนดหวั ขอ้ ของงานวจิ ยั
ข. บอกใหท้ ราบว่าผวู้ จิ ยั ตอ้ งการศกึ ษาคน้ ควา้ อะไร
ค. บอกแนวทางการแกไ้ ขและพฒั นางานวจิ ยั
ง. บอกใหท้ ราบถงึ รปู แบบการวจิ ยั
4. ขอ้ ใดต่อไปน้ีเรยี งลาํ ดบั การเขยี นโครงร่างวจิ ยั ไดถ้ ูกตอ้ ง
ก. ชอ่ื เร่อื ง วตั ถุประสงค์ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ขอบเขต สมมตฐิ าน
ข. ช่อื เรอ่ื ง วตั ถุประสงค์ ทม่ี าของปัญหาการวจิ ยั สมมตฐิ าน
ค. ชอ่ื เร่อื ง ความสาํ คญั ของปัญหา วตั ถุประสงค์ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ง. ช่อื เรอ่ื ง คาํ ถามของการวจิ ยั ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง วตั ถุประสงค์ กรอบแนวคดิ
5. หากสนใจจะทาํ การวจิ ยั เพอ่ื แกป้ ัญหา ถอื วา่ สอดคลอ้ งกบั แนวทางการเลอื กปัญหาการวจิ ยั
ในประเดน็ ใดมากทส่ี ดุ
ก. สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ต่องานวจิ ยั
ข. ผวู้ จิ ยั มคี วามสนใจอยา่ งแทจ้ รงิ
ค. มปี ระโยชนม์ คี ่าควรแกก่ ารทาํ การวจิ ยั
ง. ผวู้ จิ ยั มคี วามเกย่ี วขอ้ งและมคี วามรดู้ า้ นวจิ ยั

46

บทที่ 3

การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตงานวจ� ยั
และ คาํ นยิ ามศัพท์

การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย เป็ นขัน้ ตอนสําคัญขนั้ ตอนหน่ึงของการวิจัยการกําหนด
วตั ถุประสงคท์ ช่ี ดั เจน จะเป็นแนวทางการหาคําตอบและช่วยกาํ หนดทศิ ทางการทาํ วจิ ยั และช่วยทาํ ใหก้ าร
กาํ หนดสมมตฐิ านการวจิ ยั ไดด้ ขี น้ึ สามารถดาํ เนนิ การวจิ ยั ไดถ้ ูกจุด และทาํ ใหท้ ราบคุณลกั ษณะหรอื ตวั แปร
ตลอดจนประชากรทศ่ี กึ ษา เป็นการนําเอาแนวคดิ ของประเดน็ ปัญหาการวจิ ยั มาขยายรายละเอยี ด เพอ่ื เป็น
แนวทางให้ผู้วิจัยสามารถท่ีจะบอกรายละเอียดได้ว่าต้องการจะศึกษาอะไรบ้าง ซ่ึงเป็นแนวทางใน
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การนําเสนอผลการวจิ ยั ไดช้ ดั เจน การเขยี นวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั เป็นเคร่อื งชท้ี างไมใ่ ห้
ผวู้ จิ ยั หลงทาง สามารถเดนิ ไปสเู่ ป้าหมายไดถ้ กู ตอ้ ง สามารถกาํ หนดวธิ กี ารดาํ เนินการไดถ้ ูกจุด ตลอดจน
ทาํ ใหท้ ราบคณุ ลกั ษณะหรอื ตวั แปรทจ่ี ะศกึ ษา ตลอดจนประชากรเป้าหมายของการวจิ ยั ดว้ ย

ขอบเขตของการวิจัย เป็นการระบุว่าการวิจัยนัน้ ๆ ครอบคลุมอะไรบ้าง ซ่ึงอาจหมายถึง
ประชากร สถานทว่ี จิ ยั ตวั แปรทศ่ี กึ ษา หรอื ระยะเวลาในการทําวจิ ยั เป็นต้น หลกั การใหค้ าํ นิยามตวั แปร
หรอื นิยามศพั ทเ์ ฉพาะทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ในตวั แปรทุกตวั เป็นการใหค้ ํานิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิการทใ่ี ช้ในการวจิ ยั
เร่ืองนัน้ ทัง้ น้ี เน่ืองจากคําศัพท์บางคํามีความหมายได้หลายคําจะนิยามเฉพาะความหมายท่ีใช้
ในการวจิ ยั ครงั้ น้ีเท่านนั้ ความหมายทใ่ี หจ้ ะเป็นความหมายเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเป็นคาํ จาํ กดั ความทใ่ี หไ้ วเ้ พ่อื ให้
ผูอ้ ่านเขา้ ใจตรงกนั กบั ผวู้ จิ ยั การใหค้ วามหมายตอ้ งทาํ อย่างระมดั ระวงั ไม่ใหค้ ้านกบั แนวคดิ ทฤษฎแี ละ
มคี วามหมายทแ่ี น่นอนชดั เจนวา่ คอื อะไร วดั ไดอ้ ย่างไร

3.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั

เป็นการสรุปว่าสง่ิ ท่คี าดหวงั ว่าจะไดร้ บั จากการวจิ ยั การเขยี นวตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั เป็น
การขยายรายละเอียดของปัญหาวจิ ยั ทก่ี ําหนดกรอบไวใ้ ห้ชดั เจนขน้ึ ในลกั ษณะของภาษาเขยี น แต่กม็ ี
นกั วจิ ยั บางสว่ นทม่ี กั จะไมก่ ล่าวถงึ หวั ขอ้ การเขยี นวตั ถุประสงคน์ ้เี ลย เพราะถอื วา่ เป็นกจิ กรรมทร่ี วมอยใู่ น
ขนั้ ตอนของการกําหนดปัญหาวจิ ยั และนักวจิ ยั บางท่านกถ็ ือว่าการกําหนดปัญหาวจิ ยั กค็ อื การกําหนด
วตั ถุประสงค์ แต่ในทางปฏบิ ตั ิมกั พบว่าการท่ีจะเขยี นวตั ถุประสงค์ให้อยู่ในขนั้ ดจี ะต้องเป็นการเขยี น
หลงั จากทก่ี ําหนดปัญหาวจิ ยั ไดแ้ ลว้ กล่าวคอื การกาํ หนดปัญหาวจิ ยั เป็นการกลนั่ กรองแนวความคดิ ของ
ผวู้ จิ ยั ทจ่ี ะเจาะปัญหาในแต่ละประเดน็ ออกมาใหเ้ หน็ เป็นรปู ร่างเป็นจรงิ ขน้ึ มาสาํ หรบั การปฏบิ ตั ิ การเขยี น
วตั ถุประสงคเ์ ป็นการนําเอาแนวความคดิ ของประเดน็ ปัญหาวจิ ยั นนั้ ๆ มาขยายรายละเอยี ด เรยี บเรยี งให้
เป็นภาษาเขียนให้ชัดเจน รัดกุม เข้าใจง่ายข้ึน สําหรับผู้ท่ีเร่ิมทําวิจัยใหม่ ๆ มกั จะประสบปัญหา
กับการเขียนวัตถุประสงค์อยู่บ้าง แต่ก็เป็ นไปในระยะแรกเท่านัน้ ถ้าผู้วิจัยรู้จักฝึกฝนและสังเกต
หลกั การเขยี นวตั ถุประสงคจ์ ากรายงานวจิ ยั กด็ ี จะช่วยแกไ้ ขขอ้ บกพร่องได้

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

วตั ถุประสงค์ของการวิจยั ควรจะสมั พนั ธ์สอดคล้องกบั ประเด็นปัญหาการวิจัย ตัวอย่างเช่น
ประเดน็ ปัญหาคือ ต้องการทราบอตั ราการเสพสารเสพติด วตั ถุประสงค์หลกั ของการวิจัยควรเป็นไป
เพ่อื ศกึ ษาอตั ราการเสพสารเสพตดิ ในกลุ่มเป้าหมาย

3.2 หน้าที่ของวตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั

วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ถอื ว่าเป็นด่านแรกทส่ี าํ คญั ของการทาํ วจิ ยั ทจ่ี ะบอกรายละเอยี ดต่าง ๆ
ใหท้ งั้ ผูว้ จิ ยั และผู้อ่านไดท้ ราบถงึ รูปร่าง หน้าตาของการวจิ ยั นัน้ ว่าเป็นอย่างไร การกาํ หนดวตั ถุประสงค์
ของการวจิ ยั เปรยี บเสมอื นกบั การกาํ หนดแบบแปลนของสถาปนิกในการสรา้ งบา้ น หรอื แบบแปลนกระดกู งู
ของโครงสร้างเรอื ซง่ึ จะต้องกําหนดรายละเอยี ดท่สี าํ คญั ไว้ให้ชดั เจน หน้าท่สี าํ คญั ของวตั ถุประสงคข์ อง
การวจิ ยั มดี งั น้ี

1. การกาํ หนดวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั เป็นการกาํ หนดจุดม่งุ หมายเฉพาะในการศกึ ษาประเดน็
ต่าง ๆ ทส่ี าํ คญั ของปัญหาว่ามอี ะไรบา้ ง และจะเกย่ี วขอ้ งกบั เน้อื หาและตวั แปรใดบา้ ง

2. เพอ่ื กาํ หนดแนวทางของการวจิ ยั การกําหนดวตั ถุประสงคท์ ช่ี ดั เจน จะเป็นการวางแผนทาง
หรอื ทิศทางของการวิจยั ให้เหน็ ชัดว่า ลกั ษณะของการวจิ ยั จะดําเนินไปในลกั ษณะไหน
เช่น เป็นการสํารวจ การทดลอง หรือ การสงั เกตการณ์ การกําหนดแนวทางท่ีชัดเจน
จะทาํ ใหผ้ วู้ จิ ยั สามารถกาํ หนดวธิ กี ารวจิ ยั ไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม

3. เพ่อื กําหนดขอบเขตของการวจิ ยั วตั ถุประสงคจ์ ะเป็นเคร่อื งชบ้ี อกขอบเขตของการวจิ ยั ว่า
ครอบคลุมแค่ไหน ซง่ึ บางครงั้ การวจิ ยั ต้องระบุขอบเขตในลกั ษณะท่ตี ่างกนั เช่น อาจระบุ
ในแงข่ องวธิ กี าร ในแงข่ องกลุ่มประชากร ในแงข่ องระยะเวลา หรอื ในเขตของสถานทก่ี ไ็ ด้

โดยสรปุ วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั เป็นเคร่อื งชท้ี างเดนิ ใหน้ กั วจิ ยั ไมเ่ ดนิ หลงทาง สามารถเดนิ ไปสู่
เป้าหมายไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง การเขยี นวตั ถุประสงคไ์ วอ้ ยา่ งชดั เจนจะมปี ระโยชน์ คอื

1. ชว่ ยทาํ ใหป้ ัญหาการวจิ ยั มคี วามชดั เจนยง่ิ ขน้ึ รขู้ อบเขตและแนวทางปฏบิ ตั ิ
2. ทาํ ใหก้ ารวจิ ยั มเี ป้าหมายทแ่ี น่นอน และสามารถกาํ หนดวธิ ดี าํ เนินการไดอ้ ยา่ งถูกจุด
3. ทาํ ใหท้ ราบคณุ ลกั ษณะหรอื ตวั แปรทจ่ี ะศกึ ษา และยงั ทาํ ใหท้ ราบถงึ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย

อกี ดว้ ย

3.3 หลกั การเขียนวตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั

หลกั ทส่ี าํ คญั ของการเขยี นวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั คอื
1. ตอ้ งเขยี นประเดน็ ของปัญหาใหช้ ดั เจน ว่าตอ้ งการศกึ ษาอะไร ในแงม่ ุมใด และเรอ่ื งทศ่ี กึ ษา

ตอ้ งอยใู่ นกรอบของหวั เร่อื งทท่ี าํ วจิ ยั
2. วตั ถุประสงคท์ เ่ี ขยี นทกุ ขอ้ ตอ้ งสามารถศกึ ษาได้ กระทาํ ได้ หรอื เกบ็ ขอ้ มลู ได้
3. ตอ้ งเขยี นวตั ถุประสงคท์ ส่ี นั้ กะทดั รดั ใชภ้ าษาทง่ี า่ ย
4. วตั ถุประสงคจ์ ะเขยี นในรปู ประโยคบอกเลา่ หรอื ประโยคคาํ ถามกไ็ ด้

48

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

5. วตั ถุประสงค์สามารถเขยี นในรูปของการเปรยี บเทยี บ เพ่อื เน้นความแตกต่าง หรอื เขยี น
ในรปู ของความสมั พนั ธ์ ทงั้ น้ี ขน้ึ อยกู่ บั สงิ่ ทต่ี อ้ งการศกึ ษาวจิ ยั ในปัญหานนั้ ๆ

6. วัตถุประสงค์สามารถเขียนเป็นข้อเดียว หรืออาจแยกเขียนเป็นข้อ ๆ ก็ได้ ถ้าเขียน
วตั ถุประสงค์แยกเป็นขอ้ ๆ วตั ถุประสงคแ์ ต่ละขอ้ จะระบุปัญหาทศ่ี กึ ษาเพยี งประเดน็ เดยี ว
หา้ มเขยี นรวมประเดน็ ปัญหาหลาย ๆ ประเดน็ เอาไวใ้ นวตั ถุประสงคข์ อ้ เดยี วกนั

7. จํานวนขอ้ ของวตั ถุประสงค์มากน้อยแค่ไหนขน้ึ อยู่กบั ขอบเขต ซ่งึ รวมถึงความกว้างของ
ปัญหาวจิ ยั ทผ่ี วู้ จิ ยั ตอ้ งการศกึ ษา โดยหลกั การแลว้ ไมค่ วรตงั้ วตั ถุประสงคย์ อ่ ย ๆ มากเกนิ ไป

8. การเรียงหวั ข้อวตั ถุประสงค์ สามารถเรียงได้หลายลกั ษณะ เช่น เรียงตามความสําคัญ
ของประเด็นปัญหาวิจัยลดหลัน่ ลงมา หรืออาจเรียงตามลักษณะระดบั ปัญหาใหญ่และ
ปัญหารองลงมา หรอื อาจเรยี งวตั ถุประสงคต์ ามความสอดคลอ้ งของเน้ือหาในประเดน็ วจิ ยั
แต่ละประเดน็ หรอื อาจเรยี งวตั ถุประสงคต์ ามลําดบั การเกดิ ก่อน เกดิ หลงั ของแต่ละปัญหา
กไ็ ด้

9. ห้ามเอาประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับมาเขียนไว้ในวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพราะ
วตั ถุประสงค์เป็นเร่ืองท่ีผู้วิจยั จะต้องทํา แต่ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั เป็นผลท่ีคาดว่า
จะเกิดข้ึนหลงั จากส้นิ สุดการวิจัยแล้ว ซ่ึงอาจจะเป็นหรือไม่เป็นตามท่ีคาดหวังไว้ก็ได้
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั

3.4 ตวั อย่างรปู แบบการเขียนวตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั

1. วตั ถุประสงค์อาจเขยี นในรูปประโยคบอกเล่า หรือประโยคคําถาม ซ่ึงขน้ึ อยู่กบั ความนิยม
ของผูว้ จิ ยั เอง ผูท้ น่ี ิยมลกั ษณะการเขยี นวตั ถุประสงค์แบบการวจิ ยั ของต่างประเทศ จะเขยี นเป็นประโยค
คําถามมากกว่าประโยคบอกเล่า ซง่ึ ลกั ษณะของประโยคคําถามจะเป็นการเร้าใจ และชกั ชวนใหผ้ ูอ้ ่าน
สนใจในประเด็นปัญหาวิจยั ได้มากแบบหน่ึง สําหรบั การวิจัยในประเทศเรานิยมเขยี นวัตถุประสงค์
ในรปู ของประโยคบอกเลา่ ดงั ตวั อย่างเช่น
ตวั อยา่ งประโยคบอกเลา่

ช่ือเรอื่ งวิจยั : ประสทิ ธผิ ลของการคุมกาํ เนดิ แบบธรรมชาติ ในจงั หวดั นครศรธี รรมราช
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ศกึ ษาอตั ราการยอมรบั การคมุ กาํ เนดิ โดยวธิ ตี ่าง ๆ รวมทงั้ แบบธรรมชาตใิ นคสู่ มรส
วยั เจรญิ พนั ธุ์ ในจงั หวดั นครศรธี รรมราช

2. เพอ่ื ศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของการคุมกาํ เนดิ แบบธรรมชาติ เปรยี บเทยี บกบั การคมุ กาํ เนดิ แบบ
ชวั่ คราวต่าง ๆ ในปัจจุบนั และในผทู้ ไ่ี ม่ไดค้ มุ เลย โดยดจู ากอตั ราการตงั้ ครรภใ์ นระยะเวลา 1 ปี

3. เพ่อื ศกึ ษาปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อความลม้ เหลวของการใชว้ ธิ คี มุ กาํ เนิดแบบธรรมชาติ

49

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ตวั อยา่ งประโยคคาํ ถาม
ช่ือเรอื่ งวิจยั : โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธแ์ ละการใชถ้ ุงยางอนามยั เพอ่ื ป้องกนั โรคของนกั เรยี นชาย :
เปรยี บเทยี บระหวา่ งนกั เรยี นอาชวี ศกึ ษากบั นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลายในกรงุ เทพมหานคร 2560
วตั ถปุ ระสงค์
1. นกั เรยี นอาชวี ศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มปี ระสบการณ์การมเี พศสมั พนั ธอ์ ยา่ งไร?
2. นกั เรยี นอาชวี ศกึ ษาและนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลายในกรุงเทพมหานครมอี ตั ราการ
ป่วยเป็นโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธแ์ ตกต่างกนั หรอื ไม่ เพยี งใด?
3. นกั เรยี นอาชวี ศกึ ษาและนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร มกี ารใช้
ถุงยางอนามยั โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ป้องกนั โรคแตกต่างกนั หรอื ไม่ เพยี งใด?
4. มปี ัจจยั อะไรบา้ ง ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการใชแ้ ละไมใ่ ชถ้ งุ ยางอนามยั ในนกั เรยี นอาชวี ศกึ ษา และ
นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร?

2. วตั ถุประสงคส์ ามารถเขยี นในรปู ของการเปรยี บเทยี บ หรอื ในรปู ของความสมั พนั ธ์
ตวั อยา่ งในลกั ษณะของการเปรยี บเทียบ

ชื่อเรอื่ งวิจยั : การศกึ ษาเปรยี บเทยี บผลของวคั ซนี ป้องกนั โรคหดั ในเดก็ ปกติ และเดก็ ป่วยทม่ี ารบั
การตรวจและรกั ษาทค่ี ลนิ กิ เดก็ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื เปรยี บเทยี บความรุนแรงของการเจบ็ ป่วย หลงั จากไดร้ บั วคั ซนี และขณะท่ี
ยงั ไมไ่ ดร้ บั วคั ซนี เม่อื ปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนําของแพทย์

2. เพ่อื เปรยี บเทยี บผลขา้ งเคยี งของวคั ซนี ป้องกนั โรคหดั ในเดก็ ปกตแิ ละในเดก็ ป่วย

3. เพ่อื ศกึ ษาระดบั ภมู คิ ุม้ กนั โรค หลงั จากไดร้ บั วคั ซนี ป้องกนั โรคหดั ในกลุ่มเดก็ ปกติ

และในเดก็ ป่วย

ตวั อยา่ งในลกั ษณะความสมั พนั ธ์
ชื่อเรอื่ งวิจยั : ปัจจยั เสย่ี งของมารดาอายุ 35 ปี หรอื มากกว่า ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั อตั ราตาย
ของทารกในเขตกรุงเทพมหานคร
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื หาความสมั พนั ธร์ ะหว่างปัจจยั ดา้ นอายุ และปัจจยั อน่ื ๆ ของมารดา
กบั อตั ราตายของทารก
2. เพ่อื หาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผลลพั ธข์ องการคลอดบางประการอนั เป็นผลจากมารดา
ทม่ี ปี ัจจยั เสย่ี งกบั อตั ราตายของทารก
3. เพอ่ื เปรยี บเทยี บอตั ราเสย่ี งของการเกดิ อตั ราตายของทารก ระหวา่ งกลมุ่ มารดาอายุ 35 ปี
หรอื มากกวา่ กบั มารดาอายุ 20-34 ปี
50

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

3. วตั ถุประสงคอ์ าจเขยี นรวมเป็นขอ้ เดยี ว หรอื เขยี นแยกเป็นขอ้ ๆ โดยแยกออกเป็น 3 แบบใหญ่
ๆ คอื 1) รวมเป็นขอ้ เดยี ว 2) แยกเป็นขอ้ ๆ และ 3) แยกเป็นวตั ถุประสงคท์ วั่ ไปกบั วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ

แบบท่ี 1 เขยี นวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั รวมเป็นขอ้ เดยี ว ไม่มกี ารแยกวตั ถุประสงคเ์ ป็นหวั ขอ้ ย่อย ๆ
ลงไปอกี การเขยี นวตั ถุประสงคใ์ นแบบท่ี 1 น้ี เหมาะสาํ หรบั งานวจิ ยั ในระดบั ทต่ี อ้ งการศกึ ษาปัญหาใหญ่ ๆ
หรอื ปัญหาหลกั เพยี งปัญหาเดยี ว ไมต่ อ้ งการมองปัญหาย่อย ๆ ดงั ตวั อยา่ ง

ชื่อเรอื่ งวิจยั : การประเมนิ ผลโครงการพฒั นาเยาวชนเพอ่ื การป้องกนั ยาเสพตดิ และสรา้ งชุมชน
เขม้ แขง็
วตั ถปุ ระสงค์

เพ่อื ประเมนิ ผลการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาเยาวชนเพอ่ื การป้องกนั ยาเสพตดิ และสรา้ งชุมชน
เขม้ แขง็

แบบที่ 2 เขยี นวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั แยกเป็นขอ้ ๆ ตามประเดน็ ของปัญหาวจิ ยั ทต่ี อ้ งการศกึ ษา
ในแบบท่ี 2 น้ี เหมาะสาํ หรบั งานวจิ ยั ในระดบั ทวั่ ๆ ไปทต่ี อ้ งการมองปัญหาหลาย ๆ ประเดน็ เพ่อื ใหไ้ ด้
รายละเอยี ดครอบคลุมในหวั เร่อื งการวจิ ยั ดงั ตวั อยา่ ง

ช่ือเรอ่ื งวิจยั : ความคงทนของตวั อ่อนระยะเมตาเซอรค์ าเรยี ของพยาธใิ บไมป้ อด ในระดบั
ความเขม้ ขน้ ของเกลอื แกง และระยะเวลาต่างกนั
วตั ถปุ ระสงค์

โรคพยาธใิ บไมป้ อดเป็นโรคทพ่ี บว่าเป็นปัญหา และมแี หล่งระบาดในประเทศไทย ซง่ึ พบวา่ มี
พยาธิหลายชนิดท่ีทําให้เกิดโรคน้ี แต่ชนิดท่ีทําให้เกิดโรคน้ีในคนไทย มีเพียงชนิดเดียว คือ
Paragonimus heterotremus และจากการศกึ ษาทผ่ี ่านมาเน้นไปในดา้ นการรกั ษาเป็นสว่ นใหญ่ ดงั นนั้
การทาํ วจิ ยั ครงั้ น้ีจงึ ม่งุ ทจ่ี ะศกึ ษาในดา้ นการป้องกนั การเกดิ โรคโดย

1. ศกึ ษาระดบั ความเขม้ ขน้ ของเกลอื แกง ทม่ี ผี ลต่อการยบั ยงั้ การมชี วี ติ ของเมตาเซอรค์ าเรยี ในปู
2. ศกึ ษาระยะเวลาของการใชค้ วามเขม้ ขน้ ของเกลอื แกง ทม่ี ผี ลต่อการยบั ยงั้ การมชี วี ติ ของเม

ตาเซอรค์ าเรยี ในปู

ชื่อเรอ่ื งวิจยั : การประเมนิ ผลระบบดาํ เนินงานป้องกนั และควบคุมโรคไมต่ ดิ ต่อ จงั หวดั นครราชสมี า
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ประเมนิ ขบวนการและกจิ กรรมของจงั หวดั ในการดาํ เนินงานแกไ้ ขปัญหา
โรคไมต่ ดิ ต่อในทอ้ งถน่ิ โดยเฉพาะอุบตั เิ หตุ โรคหวั ใจหลอดเลอื ด และ โรคมะเรง็

2. เพ่อื ประเมนิ ศกั ยภาพของบคุ ลากรสาธารณสขุ ทงั้ ดา้ นเทคนิคและการบรหิ ารจดั การก่อน
เรมิ่ โครงการราชบุรี

3. เพอ่ื ประเมนิ ระบบขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งรวมทงั้ การใชข้ อ้ มลู ในการแกไ้ ขปัญหา

51

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

แบบที่ 3 เขียนวัตถุประสงค์การวิจยั แยกเป็นวตั ถุประสงค์ทัว่ ไป (หรือวัตถุประสงค์หลัก)
และวตั ถุประสงค์เฉพาะ ซง่ึ ในวตั ถุประสงค์เฉพาะจะเขยี นแยกเป็นขอ้ ๆ ไปอกี การเขยี นวตั ถุประสงค์
ในแบบท่ี 3 นยิ มใชใ้ นงานวจิ ยั ระดบั ใหญ่ ซง่ึ ตอ้ งการศกึ ษาปัญหาใหญ่ ๆ หลายปัญหา หรอื อาจมกี จิ กรรม
ทต่ี ้องการกระทําร่วมไปในขณะดําเนินการวิจยั หลายเร่ืองดว้ ยกนั ในวตั ถุประสงค์หลกั จะเป็นการระบุ
ปัญหารวมทงั้ หมด เสมอื นเป็นการเกรน่ิ นําใหผ้ อู้ ่านทราบถงึ ปัญหาใหญ่ ๆ ทจ่ี ะศกึ ษาครอบคลุมอะไรบา้ ง
แลว้ ถงึ ไประบุรายละเอยี ดของปัญหาในแต่ละประเดน็ เอาไวใ้ นวตั ถุประสงค์เฉพาะอกี ทหี น่ึง ขอ้ ควรระวงั
ในการเขยี นวตั ถุประสงคแ์ บบท่ี 3 น้ีกค็ อื ประเดน็ ปัญหาในวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะจะตอ้ งสอดคลอ้ งเป็นเร่อื ง
เดยี วกนั และอยู่ในกรอบของปัญหาท่ีระบุไว้ในวตั ถุประสงค์ทวั่ ไป นอกจากน้ีจํานวนประเด็นปัญหาใน
วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ จะต้องมรี ายละเอยี ดครบถว้ นตามขอบเขตของปัญหาทเ่ี ขยี นไวใ้ นวตั ถุประสงคท์ วั่ ไป
ดว้ ย ขอ้ บกพร่องทงั้ 2 ขอ้ น้ี มกั พบเสมอในงานวจิ ยั ทวั่ ๆ ไป ทน่ี ยิ มเขยี นวตั ถุประสงคใ์ นแบบท่ี 3 น้ี

การเขยี นวตั ถุประสงคใ์ น 3 แบบท่นี ้ี เป็นทศั นะหน่ึงของผเู้ ขยี นเองเท่านนั้ เพราะโดยทวั่ ๆ ไป
แลว้ ไม่ไดม้ กี ฎเกณฑต์ ายตวั ทส่ี ามารถระบลุ งไปไดว้ ่า ลกั ษณะงานวจิ ยั ชนดิ ไหนจะตอ้ งเขยี นวตั ถุประสงค์
แบบนัน้ โดยเฉพาะ การเลือกเขยี นวตั ถุประสงค์แบบใดแบบหน่ึง ขน้ึ อยู่กบั ตวั ผู้วจิ ยั ว่านิยมแบบไหน
มากกว่า ประเดน็ สาํ คญั กค็ อื ขอใหย้ ดึ หลกั การเขยี นวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั ทเ่ี สนอแนะไวใ้ นตอนต้นใหด้ แี ละ
ถูกตอ้ งเทา่ นนั้

ชื่อเรื่องวิจยั : การศึกษาตัวแบบทํานายสถานการณ์การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพติดของ
ประเทศไทย
วตั ถปุ ระสงคท์ วั่ ไป (หรอื วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั )

เพอ่ื ศกึ ษาตวั แบบโคง้ พฒั นาการเพอ่ื ทาํ นายสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ ของประเทศไทย
วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ

1. เพ่อื วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบดชั นชี ว้ี ดั สถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ ของประเทศไทย
2. เพ่อื สรา้ งตวั แบบทท่ี าํ นายสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ ของประเทศไทย
3. เพอ่ื ทดสอบความสอดคลอ้ งของตวั แบบโคง้ พฒั นาการทาํ นายสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ ของ

ประเทศไทยทพ่ี ฒั นาขน้ึ จากแนวคดิ และทฤษฎกี บั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์

ขอบเขตของการวิจยั
ในการวิจยั ทุกเร่ือง ควรมีการกําหนดขอบเขตของการวิจยั ให้ชดั เจนเพ่ือให้งานวิจยั เป็นไป
ตามปัญหาและวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ทต่ี งั้ ไว้ ขอบเขตการวจิ ยั คอื การกําหนดขอบเขตเร่อื งทจ่ี ะศกึ ษา
มเี น้ือหาครอบคลมุ อยา่ งไร การกาํ หนดพน้ื ทข่ี องการศกึ ษา และการกาํ หนดประชากรในการศกึ ษาวจิ ยั
หลกั การเขียนขอบเขตของการวิจยั
การวจิ ยั แต่ละเรอ่ื งมขี อบเขตมากน้อยเพยี งใดขน้ึ อย่กู บั งบประมาณและระยะเวลาทจ่ี ะทาํ การวจิ ยั
การกําหนดขอบเขตของการวิจัยจะช่วยให้ผู้วิจัยวางแผนการเก็บข้อมูลได้ครอบคลุมและตรงกับ
ความมุ่งหมายของการวจิ ยั ทต่ี งั้ ไว้

52

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ขอบเขตของการวิจยั ท่ีสาํ คญั ที่ผวู้ ิจยั ต้องกาํ หนด มดี งั น้ี
1. ดา้ นเน้ือหาของการวจิ ยั
2. ดา้ นพน้ื ทใ่ี นการวจิ ยั
3. ลกั ษณะประชากรและจาํ นวนประชากร (ถา้ หาได)้

ตวั อยา่ งการเขียนขอบเขตการวิจยั
การวิจยั เรื่อง การศกึ ษาตวั แบบทํานายสถานการณ์การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพตดิ ของ
ประเทศไทย
การศกึ ษาน้ีเป็นการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาตวั แบบโคง้ พฒั นาการทาํ นายสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ
ของประเทศไทย เป็นการวิเคราะห์ตัวช้ีวดั สถานการณ์และปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลต่อสถานการณ์ปัญหา
ยาเสพตดิ
ขอบเขตของการวิจยั เขยี นไว้ ดงั น้ี
1. ขอบเขตดา้ นเน้อื หา
ด้านข้อมูลการศึกษา การศึกษาน้ีใช้เทคนิคการคาดทํานายทางสถิติมาใช้วิเคราะห์ทํานาย
แนวโน้มและทศิ ทางของปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา
เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีใกล้เคียงสถานการณ์ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตและมีความแม่นตรงในการทํานาย
โดยวเิ คราะห์ปัจจยั ทํานายจากตัวแปรจากฐานขอ้ มูลสาํ นักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปราม
ยาเสพติด (ป.ป.ส.) เช่น การเฝ้าระวงั ติดตามสถานการณ์ปัญหายาเสพติดจากรายงานระบบข้อมูล
การบําบดั รกั ษาและฟ้ืนฟูผูต้ ดิ ยาเสพติดของประเทศ (บสต.) สถติ ิการเขา้ รบั การบําบดั สถิติการจบั กุม
ทงั้ ผคู้ า้ ผเู้ สพ จาํ นวนคดที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ และ ตวั ยาเสพตดิ ทเ่ี ป็นปัญหาสาํ คญั รวมถงึ ฐานขอ้ มูล
อ่นื ๆ จากหน่วยงานทางราชการ (Secondary data) ปี พ.ศ. 2547 - 2555 นํามาวเิ คราะหโ์ ดยใชว้ ธิ กี าร
ทางสถติ ิประยุกต์เพ่อื สร้างตวั แบบโคง้ พฒั นาการในการทาํ นายสถานการณ์ ปัญหายาเสพตดิ ดาํ เนินการ
วจิ ยั ระหวา่ ง เดอื นพฤษภาคม 2556 ถงึ เดอื นตุลาคม 2557
2. ดา้ นพน้ื ท่ี
ด้านพ้ืนท่ีในการศึกษา การศึกษาน้ีศึกษาครอบคลุมพ้ืนท่ีในระดับอําเภอทัง้ ประเทศไทย
จาํ นวน 927 อาํ เภอ/เขต ในจงั หวดั 77 จงั หวดั ของประเทศ
3. ดา้ นประชากร
ด้านประชากร ในการศึกษาใช้ข้อมูลจากฐานขอ้ มูลสํานักงาน ป.ป.ส. ดงั นัน้ ประชากรท่ีใช้
ในการวิจัยครัง้ น้ี คือ อําเภอท่ีมีการรายงานข้อมูลยาเสพติดจํานวน 927 อําเภอ/เขต ในจังหวัด
77 จงั หวดั ของประเทศ
การวิจัยเร่ือง การคาดประมาณประชากรท่ีด่ืมแอลกอฮอล์และผู้ท่ีได้รับผลกระทบจาก
การด่มื แอลกอฮอลใ์ นชนบทภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ขอบเขตของการวิจยั เขยี นไว้ ดงั น้ี

53

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

1. ขอบเขตดา้ นเน้อื หา ประเดน็ ท่ีจะศึกษา
การประมาณการจํานวนประชากรท่ีด่ืมแอลกอฮอล์และผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากการด่ืม
แอลกอฮอล์โดยใช้วธิ ีการขยายเครือข่าย (Network Scale-up Method) ซ่ึงเป็นวิธกี ารสํารวจโดยการ
สอบถามประสบการณ์ทางออ้ ม (Indirect method) ประมาณการประชากรทม่ี ปี ระชากรทด่ี ่มื แอลกอฮอล์
และผูท้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการด่มื แอลกอฮอล์ ไดแ้ ก่ กลุ่มเมาแลว้ ขบั กลุ่มทไ่ี ดร้ บั อุบตั เิ หตุทม่ี ผี ลมาจาก
เมาเหลา้ กลุ่มตดิ แอลกอฮอล์ กลุ่มทป่ี ่วยเป็นโรคตบั แขง็ หรอื มะเรง็ ตบั
2. ขอบเขตดา้ นพน้ื ท่ี
การศกึ ษาครงั้ น้ีมเี ป้าประสงคท์ จ่ี ะคาดการประมาณการประชากรทด่ี ่มื แอลกอฮอลแ์ ละผทู้ ไ่ี ดร้ บั
ผลกระทบจากการด่มื แอลกอฮอล์ในพน้ื ทข่ี อบเขตบรกิ ารของหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ บา้ นแคน ตําบลแคน
อาํ เภอวาปีปทุม จงั หวดั มหาสารคาม ทย่ี นิ ดรี ว่ มมอื ในการศกึ ษา
3. ขอบเขตดา้ นประชากรทศ่ี กึ ษา
ในการศกึ ษาครงั้ น้ไี ดส้ าํ รวจกลมุ่ ตวั อยา่ งในพน้ื ท่ี บา้ นแคน ตาํ บลแคน อาํ เภอวาปีปทมุ โดยใชว้ ธิ ี
Simple Random Sampling (ตารางเลขสุ่ม) จากประชากรในหมู่บ้านกําหนดอายุระหว่าง 12 - 65 ปี
เท่านนั้ ทงั้ เพศหญงิ และเพศชาย และอาศยั อย่ใู นหม่บู า้ นไมต่ ่ํากว่า 3 เดอื น

3.5 คาํ นิยามศพั ท์

คํานิยามศพั ท์ หลกั การใหค้ าํ นิยามตวั แปรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ทุกตวั เป็นการใหค้ าํ นิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั เร่อื งนัน้ ๆ ทงั้ น้ีเน่ืองจากคาํ ศพั ทบ์ างคํามคี วามหมายไดห้ ลายคาํ จะใหเ้ ฉพาะความหมาย
ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ครงั้ น้ีเทา่ นนั้ ความหมายทใ่ี หจ้ ะเป็นความหมายเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเป็นคาํ จาํ กดั ความที่ให้ไว้
เพื่อให้ผ้อู ่านเข้าใจตรงกนั กบั ผ้วู ิจยั การใหค้ วามหมายตอ้ งทําอย่างระมดั ระวงั ไม่ให้ค้านกบั แนวคิด
ทฤษฎีและมีความหมายที่แน่นอนชดั เจน วดั ไดเ้ ป็นอยา่ งเดียวกนั ไม่วา่ ใครวดั

การใหค้ าํ นยิ ามศพั ท์ มวี ตั ถุประสงค์ 2 ประการ
1. เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความคงทข่ี องตวั แปรทศ่ี กึ ษาตลอดระยะเวลาของการวจิ ยั
2. เพ่อื นําไปสกู่ ารสรา้ งเคร่อื งมอื วดั และวธิ กี ารวดั ตวั แปรนนั้ ๆ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

3.6 เทคนิคการเขียนคาํ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

1. หลกั การเขียนคาํ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
การให้นิยามศพั ท์เฉพาะเป็นการให้ความหมายของคําท่ีมีความสําคัญในการวิจัยเร่ืองนัน้
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ค่าท่เี ป็นตวั แปรตามท่เี ป็นนามธรรม เช่น ตวั แปร แรงจูงใจใฝ่ สมั ฤทธิ์ เชาว์ปัญญา
ทางอารมณ์ ความพึงพอใจในการบริการ เจตคติต่อสินค้า เป็นต้น ซ่ึงจะต้องนิยามโดยอาศยั ทฤษฎี
หลกั การ แนวคดิ จากผู้รู้ ตลอดจนงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ซ่งึ จะต้องนิยามให้อยู่ในรูปของนิยามปฏบิ ตั ิการ
จงึ จะสามารถสรา้ งเคร่อื งมอื วจิ ยั ทม่ี คี ุณภาพดา้ นความเทย่ี งตรง

54

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

นิยามปฏิบัติการ (Operational definition) เรียกสนั้ ๆ ว่า OD คือการให้ความหมายตัวแปร
ทส่ี าํ คญั โดยเฉพาะตวั แปรตาม (Dependent variable) ทต่ี อ้ งการศกึ ษา หรอื ตวั แปรอสิ ระทม่ี ลี กั ษณะเป็น
นามธรรม ซ่ึงจะต้องนิยามให้เป็นคุณลักษณะพฤติกรรมและ/หรือกิจกรรมท่ีจะศึกษาให้อยู่ในรูปท่ี
วดั ได้ สงั เกตได้ ซง่ึ จะเป็นประโยชน์ต่อการสรา้ งเครอ่ื งมอื วจิ ยั ใหม้ คี วามเทย่ี งตรง (Validity)

2. ประเภทของการเขียนคาํ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
การนิยามศพั ทเ์ ฉพาะทเ่ี พ่อื ให้ผู้อ่านงานวจิ ยั มคี วามเขา้ ใจในตวั แปรทศ่ี กึ ษาและมคี วามเขา้ ใจ
ตรงกนั กบั ผูว้ จิ ยั และเป็นการช่วยใหก้ ารเขยี นเคา้ โครงการวจิ ยั รดั กุมขน้ึ ประเภทของการเขยี นคํานิยาม
ศพั ทเ์ ฉพาะแบง่ ไดเ้ ป็น
2.1 คาํ นิ ยามศพั ท์เฉพาะ ในการวจิ ยั ทวั่ ๆ ไปมักจะต้องให้ความหมายของคําบางคําท่ีใช้
ในรายงานการวิจัยให้เฉพาะเจาะจงในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัย เพ่ือให้ผู้วิจัยและผู้อ่าน
มคี วามเขา้ ใจตรงกนั ดงั นนั้ นักวจิ ยั จะทาํ การวจิ ยั เร่อื งใดจะต้องนิยามศพั ทเ์ ฉพาะแต่ละตวั ใหช้ ดั เจนก่อน
ซง่ึ จะช่วยให้งานวจิ ยั อยู่ในกรอบมากยงิ่ ขน้ึ อกี ดว้ ย สําหรบั คําท่คี วรให้นิยามนัน้ อาจเป็นคําย่อ ๆ หรือ
คําสัน้ ๆ ท่ีใช้แทนข้อความยาว ๆ เพราะถ้าเขียนข้อความยาว ๆ ซ้ํากันบ่อย ๆ จะให้เสียเวลา
ในการเขยี น ผเู้ ขยี นจงึ กําหนดเป็นคําย่อหรอื คาํ สนั้ ๆ แทน ซง่ึ คาํ เหล่าน้ีจะต้องใหน้ ิยามศพั ทเ์ ฉพาะดว้ ย
เพ่อื ใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจตรงกบั ผวู้ จิ ยั วา่ คาํ นนั้ ๆ หมายถงึ อะไร เช่น
การก้าวร้าว หมายถงึ การกระทําทร่ี ุนแรงผดิ ไปจากปกติเป็นการกระทําทท่ี ําใหผ้ ูอ้ ่นื เจบ็ ปวด
เสยี หาย หรอื มุ่งทาํ รา้ ยผอู้ น่ื ทงั้ มเี จตคตแิ ละไม่มเี จตคตโิ ดยตรง
เกษตรกร หมายถงึ ผทู้ ป่ี ระกอบอาชพี ในการทาํ นา ทาํ ไร่ ทาํ สวน หรอื เลย้ี งสตั ว์
สําหรับคําท่ีมีความหมายเฉพาะเจาะจงในการวิจัย ซ่ึงอาจมีความหมายไม่ใช่ความหมาย
ทวั่ ๆ ไป ผวู้ จิ ยั จะตอ้ งใหค้ าํ นยิ ามคาํ เหลา่ น้ีดว้ ยเพ่อื ไม่ใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจไปเป็นอย่างอ่นื เช่น
- โฮสต์ (Host) หมายถงึ คนหรอื สตั วท์ ม่ี ปี รสติ อาศยั อยู่
- ผู้บริหารมหาวทิ ยาลยั หมายถึง อธกิ ารบดี รองอธกิ ารบดี ผู้ช่วยอธกิ ารบดี คณะกรรมการ
บรหิ ารมหาวทิ ยาลยั และ คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั
2.2 การนิ ยามแบบทัว่ ไป เป็ นการกําหนดความหมายโดยทัว่ ไปอย่างกว้าง ๆ อาจให้
ความหมายตามทฤษฎีพจนานุกรมหรือตามผู้เช่ียวชาญก็ได้ เป็นการนิยามในรูปมโนภาพซ่ึงยาก
แก่การปฏบิ ตั ไิ มร่ วู้ า่ จะวดั ไดโ้ ดยวธิ ใี ดและใชอ้ ะไรวดั เชน่
วรรณกรรม หมายถึง งานเขียนในรูปบทกวีนิพนธ์ ร้อยกรอง และ ข้อเขียนทัง้ หมดท่ีใช้
ภาษารอ้ ยแกว้
การตอบและการตรวจให้คะแนนวิธี 0-1 (Zero-one method) หมายถึง วิธีการท่ีให้นักเรียน
เลือกตอบเฉพาะตวั เลือกท่ถี ูก ถ้านักเรียนตอบผิดจะให้คะแนน 0 คะแนน และให้คะแนน 1 คะแนน
ถา้ นกั เรยี นตอบถูก
2.3 การนิ ยามปฏิบตั ิการ (Operational definition) เป็นนิยามทส่ี ามารถเอาผลมาใช้ปฏิบตั ิ
ไดจ้ รงิ หรอื อธบิ ายไดว้ ่าพฤติกรรมหรือตัวแปรนัน้ วดั ได้หรอื สงั เกตไดด้ ้วยอะไร ซ่งึ แสดงถึงคุณสมบตั ิ
นัน้ ๆ เช่น เจตคตติ ่อวชิ าวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ ความรสู้ กึ หรอื อารมณ์ของนกั ศกึ ษาว่าชอบหรอื ไม่ชอบ

55

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

พอใจหรือไม่พอใจต่อวิชาคณิตศาสตร์ อันเกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์ซ่ึงจะแสดงออกมา
ในทิศทางใดทิศทางหน่ึง วัดได้โดยแบบสอบถามท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน นักเรียนคนใดท่ีได้คะแนนมาก
กม็ เี จตคตติ ่อวชิ าคณิตศาสตรด์ กี วา่ คนทไ่ี ดค้ ะแนนน้อย

ความสนใจทางวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ ความรูส้ กึ ชอบหรอื พอใจทม่ี ตี ่อวทิ ยาศาสตรห์ รอื กจิ กรรม
ทางวทิ ยาศาสตร์ เชน่ สละเวลาใหก้ บั วทิ ยาศาสตรม์ ากกว่าอยา่ งอน่ื เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรด์ ว้ ย
ความสมคั รใจ
ตวั อยา่ งการให้คาํ นิยามศพั ทใ์ นการวิจยั
ตวั อย่างท่ี 1 การวิจยั เรอื่ ง การศกึ ษาตวั แบบทาํ นายสถานการณ์การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพตดิ ของ
ประเทศไทย
ความหมายหรอื คาํ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

1. ยาเสพตดิ หมายถงึ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 4 แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดย
พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 20) พ.ศ. 2528 มาตรา 4 ใหค้ วามหมาย ยาเสพตดิ
ใหโ้ ทษ หมายถงึ สารเคมหี รอื วตั ถุชนิดใด ๆ ซง่ึ เม่อื เสพเขา้ ส่รู ่างกายไม่ว่าจะโดยรบั ประทาน
ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทําให้เกิดผลต่อร่างกายและจติ ใจในลกั ษณะสําคญั
เช่น ตอ้ งเพมิ่ ขนาดการเสพเรอ่ื ย ๆ มอี าการถอนยาเม่อื ขาดยา มคี วามตอ้ งการเสพทงั้ ร่างกาย
และจติ ใจอย่างรุนแรงอย่ตู ลอดเวลา และสุขภาพโดยทวั่ ไปจะทรุดโทรมลง กบั ใหร้ วมตลอดถงึ
พชื หรอื ส่วนของพชื ทเ่ี ป็นหรอื ใหผ้ ลผลติ เป็นยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ หรอื อาจใชผ้ ลติ เป็นยาเสพติด
ใหโ้ ทษและสารเคมที ใ่ี ชใ้ นการผลติ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ดงั กล่าวดว้ ย ทงั้ น้ี ตามทร่ี ฐั มนตรปี ระกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา แต่ไม่หมายความถึงยาสามัญประจําบ้าน บางตํารับตามกฎหมาย
วา่ ดว้ ยยาทม่ี ยี าเสพตดิ ใหโ้ ทษผสมอยู่

2. ปัจจยั ดา้ นอุปสงค์ หมายถงึ ปัจจยั ทเ่ี กย่ี วสมั พนั ธก์ บั การเสพและการบาํ บดั ยาเสพตดิ
3. ปัจจยั ดา้ นอุปทาน หมายถงึ ปัจจยั ทเ่ี กย่ี วสมั พนั ธก์ บั ยาเสพตดิ ในสว่ นของการผลติ และการคา้
4. ตัวช้ีวดั ท่ีใช้เป็นตัวพยากรณ์ (Predictors) หมายถึง ตัวแปรสงั เกตได้ (Observe variables)

หมายถงึ ตวั แปรทส่ี ามารถเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลไดจ้ ากเคร่อื งมอื ทใ่ี ชเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดโ้ ดยตรง
เป็นตวั แปรทใ่ี ชเ้ ป็นตวั ชว้ี ดั สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในโมเดลการวเิ คราะห์
ในระดบั อาํ เภอ ประกอบดว้ ย 1) ปัจจยั ดา้ นอุปทาน 2) ปัจจยั ดา้ นอปุ สงค์
5. ดชั นีสถานการณ์ (Situation index) หมายถงึ ตวั แปรแฝง (Latent variable) ทบ่ี ่งชส้ี ถานการณ์
ปัญหายาเสพติด ซ่ึงเป็นตัวเลขสมมติท่ีสะท้อนภาพรวมการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ทส่ี รา้ งขน้ึ ดว้ ยวธิ ที างคณิตศาสตร์

56

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ตวั อย่างที่ 2 การวิจยั เรื่อง การคาดประมาณประชากรท่ีด่ืมแอลกอฮอล์และผู้ท่ีได้รบั ผลกระทบจาก
การด่มื แอลกอฮอลใ์ นชนบทภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

1. Network Scale-Up Method (NSUM) หมายถงึ วธิ กี ารขยายเครอื ข่าย เป็นวธิ กี ารประมาณการ
จาํ นวนประชากรในกลุ่มเขา้ ถงึ ยาก หรอื ยากในการนับจํานวน เช่น กลุ่มผูใ้ ชส้ ารเสพตดิ กลุ่มหญงิ
ขายบรกิ าร กลุ่มชายรกั ชาย กลุ่มแรงงานต่างด้าว กลุ่มเร่ร่อน เป็นวธิ ีการท่ปี ระยุกต์ใช้แนวคิด
การศกึ ษาเชงิ คุณภาพโดยการเกบ็ ขอ้ มลู ทางออ้ ม (Indirect) เพ่อื หาขนาดเครอื ข่ายของคนทร่ี จู้ กั ใน
สงั คม (Network size) และหาจํานวนคนท่ีกลุ่มตัวอย่างรู้จกั ท่ีเป็นกลุ่มยากท่ีจะเข้าถึง และใช้
หลกั การทางสถติ ิโดยสุ่มตวั อย่างมาศึกษา เพ่อื ใหไ้ ดค้ ่าขนาดเครอื ข่ายของคนท่เี รารู้จกั ในสงั คม
และค่าเฉล่ยี จํานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายทต่ี ้องการประมาณการ แล้วทําการคํานวณกลบั เพ่ือ
ประมาณการจํานวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย ในการศกึ ษาน้ีในวธิ ี Summation method (การควบ
รวมผล)

2. Network size (ค่า c) ขนาดเครอื ข่าย หมายถงึ จํานวนคนทงั้ หมดทแ่ี ต่ละคนรจู้ กั ในขอบเขต
พน้ื ทท่ี ก่ี าํ หนดในรอบปีทผ่ี า่ นมา

3. Proxy Respondent Method (PRM) หมายถึง เป็นวธิ กี ารประมาณการจํานวนประชากรในกลุ่ม
เข้าถึงยาก หรือยากในการนับจํานวน ซ่ึงมีวิธีคล้าย ๆ กันกบั NSUM แต่ต้องการเก็บข้อมูล
น้อยกว่า PRM จะถามให้ตอบคําถามเก่ียวกบั พฤติกรรมเส่ยี งและสุ่มเลือกคนท่ีพวกเขารู้จักดี
โดยไม่ถามกลุ่มเสย่ี งโดยตรงแต่จะถามคนทร่ี จู้ กั พวกเขา แต่ไมร่ ะบชุ ่อื ในการสมั ภาษณ์

4. Game of Contact หมายถึง วิธีใช้ card ในการสุ่มรายช่ือ โดยรวบรวมรายช่ือคนในชุมชน
มาจดั ทํา card รายช่อื ให้กลุ่มตวั อย่างเลอื กบตั รเลอื ก แลว้ นํามาเขยี นรายช่อื ลงในแบบสมั ภาษณ์
แล้วอ่านรายช่ือจากบตั รท่ีสุ่มได้ให้กลุ่มตวั อย่างตอบคําถามว่ารู้จกั คนท่ีมีรายช่อื ใน card ก่คี น
ผู้สมั ภาษณ์บนั ทึกจํานวนคนท่กี ลุ่มตวั อย่างรู้จกั ลงในแบบสมั ภาษณ์ นํามาหาขนาดเครอื ข่าย
(คา่ c)

5. การรูจ้ กั หมายถงึ เรารจู้ กั เขา เขารูจ้ กั เรา รูจ้ กั ทงั้ ช่อื และหน้าตา เคยมกี ารตดิ ต่อกนั อย่างน้อย
1 ครงั้ ใน 2 ปีทผ่ี า่ นมา และปัจจุบนั ยงั สามารตดิ ต่อไดถ้ า้ ตอ้ งการ

สรปุ

การเขยี นวตั ถุประสงค์มหี ลายแบบ แต่ต้องเขยี นให้กระชบั ใช้ภาษาเรียบง่ายประเดน็ ปัญหา
ชดั เจน เขยี นแล้วต้องศึกษาได้ แต่ห้ามเขยี นในรูปของประโยคท่ีเป็นลกั ษณะของประโยชน์ท่ีคาดว่า
จะไดร้ บั การกาํ หนดขอบเขตการวจิ ยั จะชว่ ยใหผ้ วู้ จิ ยั วางแผนการเกบ็ ขอ้ มูลไดค้ รอบคลุม และตรงกบั ความ
มุง่ หมายของการวจิ ยั ทต่ี งั้ ไว้ สว่ นการใหน้ ิยามศพั ทเ์ ฉพาะเป็นการใหค้ วามหมายของคําทม่ี คี วามสาํ คญั ใน
การวจิ ยั เร่อื งนัน้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ คําทเ่ี ป็นตวั แปรตามทเ่ี ป็นนามธรรมจะต้องนิยามโดยอาศยั ทฤษฎี
หลกั การ แนวคดิ จากผรู้ ู้ ตลอดจนงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ซง่ึ จะตอ้ งนยิ ามใหอ้ ยใู่ นรปู ของนิยามปฏบิ ตั กิ าร จงึ
จะสามารถชว่ ยใหก้ ารสรา้ งเคร่อื งมอื วจิ ยั มคี ุณภาพดา้ นความเทย่ี งตรงไดม้ ากยง่ิ ขน้ึ

57

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

เอกสารอ้างอิง

ครองสนิ มติ ะทงั . (2548). การศกึ ษาตวั แปรสภาพแวดล้อมในครอบครวั ลกั ษณะครแู ละลกั ษณะ
ของนักเรียนที่ส่งผลต่อความสามารถในการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณของนักเรียนชนั้
มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 5 จงั หวดั นครพนม. ปรญิ ญานพิ นธ์ การศกึ ษามหาบณั ฑติ . กรุงเทพฯ:
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

จรสั สวุ รรณเวลา. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการบรรยายในการประชมุ ปฏิบตั ิการเรอื่ ง
กระบวนการวิจยั ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย.์ กรงุ เทพฯ: สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

เจตวชั ร์ พาตา. (2550). กระบวนการจดั การชมรมผสู้ ูงอายุโดยประยกุ ตใ์ ช้การจดั การของ
Henri Fayol รว่ มกบั เทคนิคการวางแผนแบบมีส่วนรว่ ม (A-I-C) ในเขตเทศบาลตาํ บล
อากาศอาํ นวย จงั หวดั สกลนคร. วทิ ยานิพนธ์ หลกั สตู รปรญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจดั การระบบสขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.

จุมพล สวสั ดยิ์ ากร. (บรรณาธกิ าร). (2520). หลกั และวิธีการวิจยั ทางสงั คมศาสตร.์ กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พ์ สวุ รรณภูม.ิ

พนู รตั น์ ลยี ตกิ ลุ . (2557). การคาดประมาณประชากรที่ดม่ื แอลกอฮอลแ์ ละผทู้ ่ีไดร้ บั ผลกระทบจาก
การด่ืมแอลกอฮอล์ ในชนบทภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ. วารสารการพฒั นาสขุ ภาพชุมชน
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 2557; 2(4): 1-20.

พนู รตั น์ ลยี ตกิ ุล. (2558). การศึกษาตวั แบบทาํ นายสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของปัญหายาเสพติด
ของประเทศไทย. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าการพฒั นาสขุ ภาพชุมชน
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .

ภริ มย์ กมลรตั น์กลุ . (2531). หลกั เบอื้ งต้นในการทาํ วิจยั . แพทยช์ นบท. 8, 8 - 21.
ยวุ ดี ฤาชา และคณะ. (2523). วิจยั ทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: ยามศลิ ป์ การพมิ พ.์
ภริ มย์ กมลรตั น์กุล และคณะ. (2542). หลกั การทาํ วิจยั ใหส้ าํ เรจ็ . กรุงเทพฯ:

เทก็ ซแ์ อนดเ์ จอรน์ ลั พบั ลเิ คชนั่ จาํ กดั .
มดี ธนะมนั่ และทสั สนี นุชประยรู . (บรรณาธกิ าร). (2541). การวิจยั ชุมชนทางการแพทย.์ กรุงเทพฯ:

ภาควชิ าเวชศาสตรป์ ้องกนั และสงั คม คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
เทยี นฉาย กรี ะนนั ท์ และจรญั จนั ทลกั ขณา. (2534). "ความรพู้ น้ื ฐานในการวจิ ยั " หน่วยท่ี 1

ในเอกสารการสอนชดุ วิชา 20302 สถิติวิจยั และการประเมินผลการศึกษา. นนทบรุ :ี
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
ธวชั ชยั วรพงศธร. (2540). หลกั การวิจยั ทางสาธารณสขุ ศาสตร.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .

58

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

นชิ าภา เลศิ ชยั เพชร. (2553). พฤติกรรมสุขภาพกบั ภาวะนํ้าหนักเกินของประชากรวยั แรงงาน
กรณีศกึ ษาพืน้ ท่ีเฝ้าระวงั ทางประชากรกาญจนบุร.ี การประชุมวชิ าการประชากรศาสตร์
แห่งชาติ 2553 จดั โดยสมาคมนกั ประชากรไทย.

ประพนั ธ์ ธรรมไชย. (2536). การวิเคราะหอ์ ตั ราผลตอบแทนในการผลิตบณั ฑิต สาขาวิชาศิลปะ
ศาสตรแ์ ละสาขาวิชาวิทยาศาสตรข์ องวิทยาลยั ครใู นสหวิทยาลยั ลา้ นนา. กรุงเทพฯ:
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.

ราม รงั สนิ ธ,ุ์ ธรี ยุทธ สขุ ม,ี และปิยทศั น์ ทศั นาววิ ฒั น์. (2554). การประเมินผลการดแู ลผปู้ ่ วยเบาหวาน
ชนิดที่ 2 และความดนั โลหิตสงู ของโรงพยาบาลในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ และ
โรงพยาบาลในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร ประจาปี 2554. สนบั สนุนโดย สานกั งานหลกั ประกนั
สขุ ภาพแห่งชาติ (สปสช.).

เรณา พงษเ์ รอื งพนั ธ,ุ์ และประสทิ ธิ์ พงษ์เรอื งพนั ธ.ุ์ (2541). การวิจยั ทางการพยาบาล. ชลบรุ :ี
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา.

วญั ญา วศิ าลาภรณ์. (2531). การวิจยั ทางการศึกษา หลกั การและแนวปฏิบตั ิ. กรงุ เทพฯ :
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร.

วจิ ติ ร ศรสี พุ รรณ, และเทยี นศร ทองสวสั ด.ิ์ (2521). วิจยั ทางการพยาบาล. เชยี งใหม่:
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่

สมประสงค์ แตงพลอย. (2553). พฤติกรรมการซื้อยาจากรา้ นขายยาของผบู้ ริโภคในอาํ เภอ
พระประแดง จงั หวดั สมุทรปราการ. สารนิพนธ์ หลกั สตู รปรญิ ญาบรหิ ารธุรกจิ มหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจดั การ. บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธ.ุ์ (2532). การวิจยั ทางสงั คมศาสตร.์ หน่วยท่ี 13 ในเอกสารการสอนชุด
วชิ า 10131 มนุษยก์ บั สงั คม. นนทบุร:ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

อาภาพร เผา่ วฒั นา, ภูษติ า อนิ ทรประสงค,์ วนั เพญ็ แกว้ ปาน, และปาหนนั พชิ ยภญิ โญ. (2551).
การศึกษาองคค์ วามรแู้ ละรปู แบบกิจกรรมกลุม่ โรคไมต่ ิดต่อเรอื้ รงั (โรคเบาหวาน
โรคความดนั โลหิตสงู โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด). คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
รว่ มกบั สาํ นกั โรคไมต่ ดิ ต่อ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ .

Kerlinger Fred N. (1986). Foundation of Behavioral Research. 3 nd. New York: Holt, Rinehart
and Wiston, Inc.

59

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

คาํ ถามท้ายบท

1. ปัจจยั ทส่ี าํ คญั มากทส่ี ดุ ในการพจิ ารณารปู แบบการวจิ ยั คอื ขอ้ ใด
ก. ประชากร
ข. งบประมาณ
ค. วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั
ง. ระยะเวลาในการวจิ ยั

2. สว่ นทช่ี ใ้ี หท้ ราบวา่ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งการศกึ ษาอะไร ตรงกบั ขอ้ ใด
ก. ช่อื เรอ่ื งการวจิ ยั
ข. สมมตฐิ านการวจิ ยั
ค. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั
ง. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

3. “สภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นหมายถงึ การรบั รพู้ ฤตกิ รรม เหตกุ ารณ์สถานท่ี หรอื ลกั ษณะใด ๆ
ในโรงเรยี นทน่ี กั เรยี นสงั เกตหรอื รบั รไู้ ด”้ ขอ้ ความน้หี มายถงึ ขอ้ ใด
ก. จุดมุ่งหมายของการวจิ ยั
ข. สมมุตฐิ านการวจิ ยั
ค. ขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้
ง. นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

4. “การระบใุ หท้ ราบวา่ การวจิ ยั ทจ่ี ะศกึ ษากวา้ งขวางเพยี งใดเกย่ี วขอ้ งกบั ใคร เน้ือเร่อื งทต่ี อ้ งการพฒั นา
และระยะเวลาทท่ี าํ การวจิ ยั ” ขอ้ ความดงั กลา่ วคอื ความหมายของขอ้ ใด
ก. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั
ข. ขอบเขตของการวจิ ยั
ค. สมมตฐิ านของการวจิ ยั
ง. ประโยชน์ของการทาํ วจิ ยั

5. ขอ้ ใดคอื คาํ นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะในการวจิ ยั ชอ่ื พฤตกิ รรมความปลอดภยั ในการทาํ งานของพนกั งาน
โรงงานอตุ สาหกรรมในจงั หวดั นครราชสมี า
ก. พฤตกิ รรม
ข. พฤตกิ รรมความปลอดภยั
ค. การทาํ งานของพนกั งาน
ง. พนกั งานโรงงาน

60

บทที่ 4

การทบทวนเอกสารงานวจ� ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งและ
การประเมนิ วรรณกรรม

เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การวิจยั หมายถึง ข้อมูลต่าง ๆ ในสง่ิ ท่ีพิมพ์สารสนเทศ
ท่ีเก็บรวบรวมไว้อย่างเป็นระเบียบเพ่ือนํามาใช้ในประโยชน์ทางการศึกษาวิจยั การศึกษาเอกสาร
และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องจะช่วยให้ผู้วิจัยเกิดความรู้ ความเข้าใจ แนวคิด หลักการทฤษฎี ตลอดจน
ตวั แปรทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั เร่อื งท่ศี ึกษาช่วยให้สามารถกําหนดสมมติฐานการวจิ ยั ท่มี พี ้นื ฐานมาจากทฤษฎี
ตลอดจนทําใหเ้ หน็ ภาพของความเช่อื มโยงระหว่างงานวจิ ยั ในอดตี กบั งานวจิ ยั ท่กี าํ ลงั จะทํา การทบทวน
เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งมคี วามสาํ คญั ในการสะทอ้ นใหเ้ หน็ ระดบั คุณภาพของการวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ควร
เรมิ่ ต้นทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งตงั้ แต่แรกเรม่ิ ทาํ เพ่อื ใหไ้ ด้มาซ่งึ เร่อื งการวจิ ยั หรอื ปัญหา
ทางการวิจยั หรอื วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั น้ีบางครงั้ เรยี กว่า การทบทวน
วรรณคดี การทบทวนวรรณกรรม การสาํ รวจเอกสาร การวจิ ารณ์วรรณคดี หรอื การประเมนิ วรรณกรรม
การเขยี นเอกสารจากงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จะเขยี นนําเสนอใน 4 ส่วนสาํ คญั คอื องค์ความรู้ ผลงานวจิ ยั
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สว่ นของการสงั เคราะหจ์ ะออกมาเป็นกรอบความคดิ และตวั แบบของการศกึ ษา และ สว่ นของ
สมมติฐานการวิจัย วรรณกรรมมีหลายประเภทผู้วิจัยสามารถค้นคว้าได้หลากหลาย เช่น หนังสือ
หนังสอื อา้ งองิ วารสารและจุลสาร ข่าวสาร หนังสอื พมิ พ์ เอกสารประกอบการสมั มนา รายงานการวจิ ยั
วทิ ยานิพนธ์ สารนิพนธ์ เอกสารสงิ่ พมิ พ์อ่นื ๆ ไมโครฟิล์ม ฐานขอ้ มูลจากหอ้ งสมุด หรอื อนิ เทอร์เน็ต
ขนั้ ตอนการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งจะตอ้ งเรมิ่ ตน้ จากการกาํ หนดเร่อื งหวั เรอ่ื ง หวั ขอ้ เร่อื งให้
มคี วามชดั เจนกําหนดขอบเขตและประเภทขอ้ มูลท่ตี ้องการ กําหนดประเภทของวรรณกรรม พจิ ารณา
แหล่งคน้ ควา้ ทม่ี อี ยแู่ ละปฏบิ ตั ติ ามระบบ วธิ กี าร กระบวนการคน้ ควา้ ตามแต่ละประเภทของเอกสาร

ในการวิจัยเร่ืองหน่ึง ๆ การทบทวนเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง (Related literature)
เป็นกระบวนการอย่างเป็นระบบในการช้บี ่งลกั ษณะ คุณสมบัติ สถานท่ี และ วเิ คราะห์เอกสารขอ้ มูล
เก่ยี วกบั ปัญหาการวิจยั เอกสารเหล่าน้ี ได้แก่ หนังสอื อ้างอิงวารสาร จุลสาร ข่าวสาร บทคดั ย่อตํารา
บทความวิชาการ รายงานการประชุมสมั มนา งานวิจยั ต่าง ๆ ฐานขอ้ มูล ระบบเครือข่าย แม้กระทงั่
การสมั ภาษณ์จากผทู้ รงคุณวุฒิ การศกึ ษาทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งน้ีจะนําความรทู้ ่ไี ดร้ บั
มาใชเ้ ป็นกรอบความคดิ ในการวจิ ยั ขอ้ มูลในสมมตฐิ านการวจิ ยั และช่วยทาํ ใหป้ ัญหาการวจิ ยั กระจ่างขน้ึ
ผู้วจิ ยั เสยี เวลามากในการทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งแต่กเ็ ป็นสงิ่ ท่มี ปี ระโยชน์ หลายอย่าง
คมุ้ กบั เวลาทเ่ี สยี ไปและความพยายามทใ่ี ชไ้ ปกบั การคน้ ควา้

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

4.1 ขนั้ ตอนการศึกษาทบทวนเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

การทบทวนวรรณกรรมเป็ นการรวบรวมความรู้ท่ีมีมาก่อนเก่ียวกับเร่ืองท่ีเราจะศึกษา
เร่มิ โดยการพินิจพิจารณาข้อมูลท่ีได้รบั มาจากวรรณกรรมท่คี ้นมาได้ จะเป็นการสรุปผลโดยการสร้าง
เป็นเร่ืองราวทอ่ี ธบิ ายอะไรท่รี ูเ้ ก่ยี วกบั หวั ขอ้ ท่ศี ึกษา การสาํ รวจวรรณกรรมดําเนินการ 3 ระยะ ได้แก่
ระยะท่ี 1: รวบรวมขอ้ มูลท่ีเกบ็ ไว้ ระยะท่ี 2: สงั เคราะห์ขอ้ มูล และระยะท่ี 3: วิเคราะห์รูปแบบขอ้ มูล
โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

ระยะที่ 1: รวบรวมข้อมูลท่ีเกบ็ ไว้
- การสาํ รวจวรรณกรรมเรม่ิ โดยการรวบรวมขอ้ มลู กลมุ่ ขอ้ มลู และประเมนิ
- การรวบรวมขอ้ มลู จะทาํ ใหเ้ หน็ สว่ นทไ่ี ม่เขา้ ใจ งานวจิ ยั ทเ่ี ขา้ ใจยาก
- โครงสรา้ ง Document center ในการรวบรวมจดั การขอ้ มลู โดยสามารถออกแบบรปู แบบ

เอกสารตามความตอ้ งการของแต่ละคน (ตวั อยา่ งในรปู ท่ี 5)

ระยะการตรวจสอบ งาน
ระยะท่ี 1: รวบรวมข้อมูลที่เกบ็ ไว้
รายการเอกสารและเอกสารทส่ี าํ คญั ทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั :
Journals, texts ฯลฯ สรา้ งรายการตามผแู้ ตง่ , การอา้ งองิ
ทบทวนคณุ ภาพและขอ้ ดขี องขอ้ มูล สรา้ ง survey tally matrix
บนั ทกึ แนวคดิ หลกั

ระยะที่ 2: สงั เคราะห์ขอ้ มูล จดั เรยี งและจดั หมวดหมงู่ านทส่ี าํ คญั ไวโ้ ดยจดั หมวดหมู่
ระยะที่ 3: วิเคราะหร์ ปู แบบ ตามผเู้ ขยี น อธบิ ายสงิ่ ทส่ี าํ คญั และสาระสาํ คญั เรยี งตามลาํ ดบั
เหตุการณ์ทฤษฎแี ละอ่นื ๆ
ข้อมลู
จดั โครงรา่ งหลกั (Core maps) และเคา้ โครงแสดงตามรปู แบบ

ขยายเพมิ่ เตมิ แผนทผ่ี เู้ ขยี น แผนทท่ี ฤษฎี บทคดั ย่อ บตั รรายการ
บรรณานุกรม และ บนั ทกึ ทฤษฎที วั่ ไป หลกั การและอ่นื ๆ
สรา้ งขอ้ กลา่ วอา้ งงา่ ย ๆ

ตรวจสอบ core maps และนําขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าจดั กล่มุ และบนั ทกึ
ตามรายละเอยี ดกาํ หนดรายการขอ้ เทจ็ จรงิ และรปู แบบของผลลพั ธ์
เพ่อื ลงความเหน็ อะไรทร่ี เู้ กย่ี วกบั หวั ขอ้ งานวจิ ยั

สรา้ งเร่อื งราวความคดิ Mind map และโครงรา่ ง ขอ้ คน้ พบ
สรา้ งสว่ นประกอบของขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ อา้ งองิ หลกั

เรยี บเรยี งเอกสารทคี น้ มาไดจ้ ากองคค์ วามรปู้ ัจจบุ นั
เกย่ี วกบั เน้ือหาของการวจิ ยั เป็นการบอกเล่าเร่อื งราว

รปู ท่ี 5 ขนั้ ตอนการสาํ รวจวรรณกรรม

62

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

4.2 การบนั ทึกข้อมลู

การรวมวรรณกรรมต้องสร้าง Subject maps, โครงร่างหลกั (Core maps) และ บตั รรายการ
บรรณานุกรม (Bibliographic entry card) ใช้ขอ้ มูลเหล่าน้ี สามารถรวบรวมขอ้ มลู จากเอกสารส่วนกลาง
เพ่อื ทบทวนและดําเนินการ เรม่ิ รวบรวมงานโดยบนั ทกึ ขอ้ มูลท่รี วบรวมจากบตั รรายการบรรณานุกรม
ไปยัง tally matrix บันทึกข้อมูลท่ีเก่ียวข้องได้ ดําเนินการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลท่ีรวบรวม
บนั ทึกการประมาณคุณภาพ ในขณะท่ีต้องการท่ีจะปรบั ความสมบูรณ์ของขอ้ เท็จจรงิ มี 3 ทางเลือก
ในดดั แปลงขอ้ มลู

1. สามารถใช้รหัสง่าย ๆ สําหรับ Cross-referencing แหล่งเอกสาร และ Central documents

วธิ ที ง่ี ่ายทส่ี ดุ คอื เรยี งลําดบั ตวั อกั ษรโดยผู้แต่ง หรอื หนงั สอื สามารถใชอ้ กั ษรย่อ หรอื คําสาํ คญั
เพ่อื บนั ทกึ Core ideas ใน Selection review และ Abstract sections สงิ่ สาํ คญั คอื ใจความสาํ คญั
ทถ่ี ูกถอกรหสั และการใหค้ ะแนน ไม่ไดเ้ ป็นสง่ิ ทเ่ี ป็นไปไม่ได้ เมอ่ื ใชร้ ปู แบบการเขา้ รหสั ตรวจสอบ
ใหแ้ น่ใจวา่ ขอ้ มลู ทงั้ หมดสามารถสง่ กลบั ไปยงั ตน้ ฉบบั

2. สามารถทาํ ไดใ้ นโปรแกรมสาํ เรจ็ รปู เช่น Citation หรอื EndNote เชน่ โปรแกรมตงั้ คาํ ถาม คน้ หา

และ รายงาน เม่ือใช้โปรแกรมอิเลก็ โทนิคสามารถแก้ไขและปรบั รายงานให้ครอบคลุมส่วน
ทไ่ี ม่อยู่ในโปรมแกรมคอมพวิ เตอร์ บนั ทกึ รายการอา้ งองิ ทส่ี มบูรณ์ สามารถเรม่ิ วเิ คราะห์ขอ้ มูล
สรา้ งหลกั ฐาน

3. สามารถใช้กระดาษโน้ตขนาดใหญ่ (Large stick note) ในการรวบรวมขอ้ มูล ใช้ Storyboard

techniques เมอ่ื ใชว้ ธิ นี ้ีจะสามารถปรบั ขอ้ มลู ดว้ ยตวั เอง ตดั หรอื วางไดโ้ ดยตรง

ระยะที่ 2: สงั เคราะหข์ ้อมลู การสงั เคราะหข์ อ้ มลู และสรา้ งหลกั ฐาน
ในขนั้ ท่ี 1 ของการตรวจสอบวรรณกรรม รวบรวมขอ้ มูลโดยคน้ หาวรรณกรรม ตอนน้ีในระยะท่ี 2
จะออกแบบขอ้ มูลจากตวั ของหลกั ฐานเพ่อื สรา้ งการอา้ งองิ อย่างง่าย เรม่ิ ตรวจจากรายงานในแบบบนั ทกึ
เพอ่ื รวมขอ้ มลู เป็นหน่งึ เดยี ว หลกั ฐานคอื ขอ้ มลู ทม่ี วี ตั ถุประสงค์ ขอ้ มลู ทถ่ี กู รวมเพ่อื บอกเลา่ เรอ่ื งราววธิ กี าร
ตรวจขอ้ มูลทม่ี อี ยู่ในแบบบนั ทกึ โดย คาํ บรรยายทส่ี าํ คญั ความคดิ หลกั หรอื ผูแ้ ต่ท่พี ฒั นารูปของขอ้ มูล
เขา้ กบั หลกั ฐาน
ใช้ ความคดิ หลกั และ แผนทผ่ี แู้ ต่ง เพ่อื ช่วยในการสรา้ งภาพในการป้อนขอ้ มลู จดั กลุ่มขอ้ มลู ทด่ี ี
ถ้าเป็นเช่นนัน้ ดําเนินการการจัดลําดับข้อมูล matrix data หรือ หลกั ฐานอาจจดั รูปแบบตามหัวข้อ
รวมเน้ือหาและใจความของหลกั ฐานเพ่อื เปรยี บเทยี บหรอื สร้างแบบจําลอง ตามความต้องการจดั กลุ่ม
ข้อมูลในรูปแบบของหลักฐานตามผู้แต่งต่าง ๆ การจัดกลุ่มข้อมูลรวมกันเป็นวิธีการท่ีสะดวกและ
ง่ายในการใชง้ านอย่างเหมาะสม
แบบฟอรม์ รปู แบบหลกั ฐาน เอกสารเหล่าน้ี การพฒั นารปู แบบการเขา้ รหสั บญั ชรี ายการหลกั ฐาน
รหสั รายการจะใชค้ ําสาํ คญั หรอื เรยี งตามสญั ลกั ษณ์ตวั อกั ษรหรอื ตวั เลขเป็นรหสั สาํ หรบั จดั การหลกั ฐาน
ใชแ้ ผ่นรหสั ลงรายการแต่ละรหสั ขอ้ มูลท่มี คี ําอธบิ ายสนั้ ๆ จะระบุกลุ่มหลกั ฐาน ใส่รหสั รายการหลกั ฐาน
ของแบบบนั ทกึ จาํ นวน แผ่นรหสั คอื การอา้ งองิ ซง่ึ จาํ เป็นสาํ หรบั สนบั สนุนการดาํ เนินการ

63

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

สามารถพฒั นาช่อื สาํ หรบั เน้อื หาของขอ้ มลู core map แผ่นรหสั จะบนั ทกึ ชอ่ื สว่ นสาํ คญั และรายการยอ่ ย
และคาํ ย่อทต่ี รงกนั ซง่ึ สามารถนําไปอา้ งองิ ได้ ขนั้ ตอนน้ดี าํ เนินการต่อเน่ืองจนกระทงั่ ถอดรหสั สมบรู ณ์และ
จดั การขอ้ มลู ทงั้ หมด

ระยะที่ 3: วิเคราะหร์ ปู แบบขอ้ มูล
การทบทวนวรรณกรรม คอื เหตุผล มแี นวทางพน้ื ฐานในบางสถานการณ์และสามารถใชเ้ พ่ือ
จดั ระบบหลกั ฐานการวจิ ยั และขอ้ อา้ งองิ เพอ่ื สรา้ งขอ้ เทจ็ จรงิ ทค่ี น้ พบ (Discovery argument)
หลังจากตรวจสอบ กําหนดรายการข้อเท็จจริงและรูปแบบของผลลัพธ์ เพ่ือลงความเห็น
อะไรทร่ี ูเ้ กย่ี วกบั หวั ขอ้ งานวจิ ยั แลว้ นําขอ้ เทจ็ จรงิ ทไ่ี ดม้ าสรา้ งเร่อื งราวความคดิ Mind map และโครงร่าง
Discovery argument สรา้ งส่วนประกอบของขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ อา้ งองิ หลกั เรยี บเรยี งเอกสารท่คี น้ มาได้
จากองคค์ วามรปู้ ัจจุบนั เกย่ี วกบั เน้ือหาของการวจิ ยั เป็นการบอกเลา่ เร่อื งราว
Alec Fisher, ได้เขียนไว้ใน The Logic of Real Argument (2003) และ Citation Thinking:
An Introduction (2004) ไดแ้ บ่งรูปแบบการใช้เหตุผลขนั้ พน้ื ฐานไว้ 4 ประเภท one-on-one reasoning,
side-by-side reasoning, chain reasoning, and joint reasoning รปู แบบการใชเ้ หตุผล เรม่ิ จากแบบง่าย
ไปซบั ซอ้ นแต่ละรปู แบบจะทาํ ใหก้ ารจดั ระเบยี บมศี กั ยภาพสาํ หรบั การเลยี นแบบเชงิ ตรรกะในการเช่อื มต่อ
ระหวา่ งขอ้ มลู รปู แบบเหลา่ น้เี ป็นรายการรบั ประกนั สาํ หรบั เชอ่ื มโยงหลกั ฐานกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ
 one-on-one reasoning
รปู แบบเหตุผลพน้ื ฐานสว่ นมากเป็นสมั พนั ธง์ ่ายๆระหว่างเหตุผลและขอ้ สรุป ดงั ภาพน้ี

R ∴ C (R คอื เหตุผล, C คอื ขอ้ สรปุ )
รปู แบบงา่ ย ๆ หน่งึ เหตผุ ลกเ็ พยี งพอทจ่ี ะสรปุ และสามารถพสิ จู น์ว่าอะไรจรงิ หรอื เทจ็
ตวั อยา่ งเช่น กระดงิ่ ดงั เวลากลางวนั เพราะฉะนนั้ มนั เป็นเวลาทานอาหารเทย่ี ง ถา้ มขี อ้ มลู สถติ ิ
ทช่ี ดั เจนจะนําไปสขู่ อ้ เทจ็ จรงิ
 side-by-side reasoning เป็นรปู แบบเหตุผลทม่ี กี ารป้อนขอ้ มลู จาํ นวนมาก ขอ้ มลู ทงั้ หมด
มเี หตุผลเหมอื นกนั และจะนําไปสนบั สนุนอธบิ ายบทสรปุ โดยมโี ครงสรา้ งของรปู แบบดงั น้ี

R1, R2, R3, R4, … Rn, ∴ C
เป็นรปู แบบตวั อยา่ งการรบั รองเหตุผลทม่ี กั ใชใ้ นการวจิ ยั ทาง social science ในสว่ นการอา้ งองิ
ขอ้ เทจ็ จรงิ สาํ หรบั การทบทวนวรรณกรรมรปู แบบน้มี กั ใชผ้ แู้ ต่งหลายคน หรอื ใชท้ ฤษฎสี นบั สนุน
ขอ้ อา้ งองิ เช่น ความคดิ เหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญ การศกึ ษาวจิ ยั สถติ ิ หลกั ฐานของผเู้ ชย่ี วชาญ และ ขอ้ มลู
สนบั สนุนอ่นื ๆ
ตวั อย่าง: ขา่ วพยากรณ์เร่อื งฝนตก
- วทิ ยุพยากรณ์ว่าจะมฝี น
- เขา้ ไปดใู น Internet คาดวา่ จะมฝี นเพราะนนั้ จงึ มโี อกาสเป็นไปไดท้ ฝ่ี นจะตก

64

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

 Chain reasoning มีประโยชน์ในการติดตามขอ้ มูลลาํ ดบั เหตกุ ารณ์รายการและ
การพฒั นาทฤษฎี

ตวั อยา่ ง
- รถยนตจ์ ะใชน้ ้ํามนั น้อยเม่อื ใชค้ วามเรว็ ต่ํา
- ความเรว็ ต่าํ แสดงว่าใชน้ ้ํามนั น้อย
- การใชน้ ้ํามนั น้อยแสดงวา่ จะปลอ่ ยมลพษิ ออกมาน้อย
- มลพษิ ทป่ี ลอ่ ยออกมาน้อยหมายถงึ จะไมม่ ผี ลต่อมลพษิ ทางอากาศ
ดงั นนั้ การจาํ กดั ความเรว็ มลพษิ ทางอากาศน้อย

ในการศึกษาทบทวนเอกสารงานวิจัยนัน้ มีขนั้ ตอนต่าง ๆ ท่ีช่วยให้ผู้วจิ ัยสามารถวางแผน
คน้ ควา้ ทเ่ี ป็นระบบเพ่อื ให้ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ไดข้ อ้ มูลครบถ้วนตามขอบเขตของการศกึ ษาและใชเ้ วลา
ในการค้นคว้าได้รวดเร็วตรงวตั ถุประสงค์ สรุปขนั้ ตอนการศกึ ษาทบทวนเอกสารงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
มดี งั ต่อไปน้ี

1. กาํ หนดเรอ่ื ง หวั เร่อื ง หวั ขอ้ เร่อื งใหม้ คี วามชดั เจน
2. กาํ หนดขอบเขตและประเภทของขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการ
3. กาํ หนดประเภทของเอกสาร
4. พจิ ารณาแหลง่ คน้ ควา้
5. ปฏบิ ตั ติ ามระบบ วธิ กี ารและกระบวนการศกึ ษา ในแต่ละประเภทของเอกสาร
6. อ่านทบทวนและบนั ทกึ ขอ้ มลู
7. เขยี นผลการศกึ ษาทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทไ่ี ดค้ น้ ควา้ มา

4.3 ข้อเสนอแนะในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกบั การวิจยั

1. พยายามแสวงหาเอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั ใหม้ ากทส่ี ุด ศกึ ษาเน้ือหาสาระของทฤษฎี
แนวคดิ หลกั การผลการวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งใหม้ าก

2. ทาํ ความเขา้ ใจกบั ระบบอา้ งองิ ต่าง ๆ
3. พจิ ารณาถงึ พฒั นาการของเรอ่ื งทจ่ี ะวจิ ยั ดคู วามทนั สมยั ในการทจ่ี ะนํามาอา้ งองิ
4. พจิ ารณาและคดั เอาสว่ นทม่ี ปี ระโยชน์ต่อการวจิ ยั ของตน
5. ทําการศึกษาแบบวิเคราะห์ เช่น ดูความสมั พนั ธ์ระหว่างเร่อื งท่ศี กึ ษา ระหว่างส่วนต่าง ๆ
ขอ้ ความต่าง ๆ สมเหตุสมผลหรอื ไม่ ผู้เขยี นขดั แยง้ ตนเองหรอื ไม่ ขอ้ มูลไดม้ าอย่างไร เพยี งพอหรอื ไม่
น่าเชอ่ื ถอื หรอื ไม่ ขอ้ สรุปมเี หตุผลน่าเชอ่ื ถอื หรอื ไม่ เป็นตน้

65

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

4.4 แหล่งสารสนเทศที่ใช้แสวงหาความรทู้ ี่เก่ียวข้องกบั เรื่องท่ีจะวิจยั

มแี หล่งสบื ค้นสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์สําหรบั ศึกษา ค้นคว้า รวบรวม เพ่อื วิเคราะห์และ
สงั เคราะหค์ วามรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั มากมาย ในทน่ี ้จี ะกล่าวถงึ บางสว่ น ไดแ้ ก่

1. วสั ดตุ ีพิมพ์ เช่น
- ตาํ รา (Textbook) ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั หลกั การ กฎเกณฑ์ ทฤษฎี มโนภาพ (Concept) ต่าง ๆ
- วารสาร (Journal) ใหค้ วามรแู้ ละเร่อื งราวใหม่ ๆ และรายงานผลการวจิ ยั ทท่ี นั สมยั
- สารานุกรม (Encyclopedia) ใชศ้ กึ ษาและตรวจสอบสาระความรู้ต่าง ๆ ทผ่ี รู้ ู้ ผูเ้ ช่ยี วชาญ
ในแต่ละสาขาเขียนข้ึนเพ่ือการศึกษา ค้นคว้า และเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ เช่น
Encyclopedia of Educational Research
- รายงานการวิจยั และวิทยานิ พนธ์ เป็ นแหล่งสําคัญท่ีสุดในการศึกษาผลการวิจัย
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รายงานการวจิ ยั นิยมพมิ พเ์ ป็นเอกสารรปู เล่ม โดยผูว้ จิ ยั ซง่ึ มกั เป็นบุคลากรใน
หน่วยงาน องค์กร สถาบนั การศกึ ษา ซ่งึ อาจวจิ ยั เด่ยี วหรอื ทําเป็นคณะ ส่วนวทิ ยานิพนธ์
หรอื ปรญิ ญานิพนธเ์ ป็นรายงานการวจิ ยั ของนิสติ นกั ศกึ ษา ซง่ึ เป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษา
เพ่ือรบั ปรญิ ญาขนั้ บณั ฑิตศึกษา ในระดบั ปรญิ ญาโทจะตรงกบั คําว่า Thesis ส่วนระดับ
ปรญิ ญาเอกตรงกบั คา่ วา่ Dissertation
- รวมบทคัดย่อของงานวิจัยและวิทยานิ พนธ์ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
จากมหาวิทยาลยั ต่าง ๆ เป็นแหล่งคน้ ควา้ ผลงานวจิ ยั สนั้ ๆ ในรปู แบบบทคดั ยอ่

2. สื่อโสตทศั น์ เป็นสอ่ื ทถ่ี ่ายทอดสารสนเทศดว้ ยวธิ พี เิ ศษหลากหลายรปู แบบ สว่ นใหญ่ตอ้ งใช้
เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์เฉพาะวสั ดนุ นั้ ๆ เพอ่ื ชว่ ยลดขดี จาํ กดั ในดา้ นต่าง ๆ เช่น สามารถศกึ ษาจากขอ้ สนเทศท่ี
บนั ทกึ ไวใ้ นรปู แบบวสั ดุย่อสว่ น (Microform) สงิ่ จาํ ลอง (Model) แผ่นซดี ี (Compact disc) วดิ ทิ ศั น์ (Video)
รายการวทิ ยุและรายการโทรทศั น์ (Radio and television program) เป็นตน้

3. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology)
การศกึ ษาในปัจจบุ นั ไดม้ กี ารนําเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศรนุ่ ใหม่ ๆ เชน่ คอมพวิ เตอร์ การสอ่ื สาร
มลั ติมเี ดยี มาใชใ้ นการสบื ค้นและเรยี กใชส้ ารสนเทศท่ตี ้องการจากแหล่งต่าง ๆ ทวั่ โลก ผู้ใชจ้ ําเป็นต้อง
เรียนรู้และพัฒนาตนเองให้คุ้นเคยและสามารถใช้เทคโนโลยีเหล่าน้ีในการศึกษา และเรียนรู้ให้
เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ไดแ้ ก่
3.1 การสืบค้นด้วยระบบห้องสมุดอัตโนมัติ หรือการสืบค้นจาก OPAC (Online Public
Access Catalog) OPAC เป็นบรกิ ารฐานขอ้ มูลทห่ี อ้ งสมดุ ระบบอตั โนมตั สิ รา้ งขน้ึ เพ่อื อํานวยความสะดวก
แกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารในการคน้ หาหนงั สอื ปรญิ ญานิพนธ์ งานวจิ ยั ต่าง ๆ บทความจากวารสาร และโสตทศั นวสั ดุ
ทงั้ ในห้องสมุดของตนและใชท้ รพั ยากรร่วมกนั กบั หอ้ งสมุดสมาชกิ ในเครอื ข่ายความร่วมมอื โดยการยมื
ระหวา่ งหอ้ งสมุด การสบื คน้ จะกระทาํ ไดโ้ ดยป้อนขอ้ มูลทางแป้นพมิ พ์ (Key board) ในเมนูหลกั ของระบบ
ซง่ึ จะสรา้ งทางเลอื กต่าง ๆ ใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถคน้ ควา้ ไดด้ ว้ ยตนเอง ตามขนั้ ตอนทแ่ี นะนําในจอคอมพวิ เตอร์
แลว้ ระบบกจ็ ะแจง้ ผลการสบื คน้ ใหท้ ราบวา่ หอ้ งสมุดนนั้ มสี ารสนเทศทต่ี อ้ งการหรอื ไม่ และมอี ย่ทู ไ่ี หน เป็นตน้

66

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

3.2 การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลสําเรจ็ รูปใน ซีดี-รอม (CD-ROM: Compact
Disc-Read Only Memory) CD-ROM เป็นส่ือบันทึกฐานข้อมูลชนิดหน่ึง ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและ
สาระสงั เขปของเอกสารในสาขาวชิ าต่าง ๆ ซง่ึ รวบรวมจากวทิ ยานิพนธ์ งานวจิ ยั บทความจากวารสาร
หนงั สอื รายงานการประชุม ฯลฯ ขอ้ มลู ทบ่ี นั ทกึ มที งั้ ทเ่ี ป็นขอ้ มูลย่อ (Bibliography and abstract) เน้อื หา
แบบเต็มรูป (Full-text) ภาพ ตัวเลข กราฟิก สถิติ แผนภูมิและเสียง ฐานข้อมูลสําเร็จรูป ซีดี-รอม
ทผ่ี ใู้ ชจ้ ําเป็นต้องรูจ้ กั ช่อื ฐานขอ้ มูล รจู้ กั เลอื กใชฐ้ านขอ้ มูลใหเ้ หมาะสมกบั วตั ถุประสงคข์ องตน การสบื คน้
สารสนเทศจากฐานขอ้ มลู ซดี -ี รอม ทาํ ไดโ้ ดยสบื คน้ จากคาํ ทบ่ี นั ทกึ ไวใ้ นฐานขอ้ มลู เกอื บทุกค่า โดยเฉพาะ
คําสําคญั (Key word) นอกจากน้ียงั สามารถใช้คําสงั่ “And” และ “Not” โดย And ใช้ในกรณีทต่ี ้องการ
เจาะจงข้อมูลให้แคบลง เช่น Environment and Pollution ส่วน Not ใช้ในกรณีต้องการเจาะจงข้อมูล
ใหแ้ คบทส่ี ดุ โดยตดั คา่ หรอื วลที ใ่ี กลเ้ คยี งแต่ผคู้ น้ ไม่ตอ้ งการออก

ตวั อยา่ งฐานขอ้ มลู สาํ เรจ็ รปู CD-ROM บางสาขาวชิ าทน่ี ่าสนใจ ไดแ้ ก่
• ERIC (Educational Resources Information Center) ให้ข้อมูลทางบรรณานุ กรม และ

สาระสงั เขปของบทความ เอกสาร และงานวจิ ยั ดา้ นการศกึ ษาและสาขาวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
• SOCIOFILE ให้ข้อมูลบรรณานุกรม และสาระสังเขปของบทความ ด้านสังคมวิทยาและ

สาขาวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
• CROSS-CULTURE CD ใหข้ อ้ มลู ฉบบั เตม็ เกย่ี วกบั ชวี ติ และสงั คม
• PSYCLIT ให้ขอ้ มูลบรรณานุกรม และสาระสงั เขปของบทความ หนังสอื ด้านจติ วทิ ยาและ

สาขาวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
• DAO (Dissertation Abstracts Ondise) ให้บรรณานุกรม และสาระสงั เขปวทิ ยานิพนธ์ระดบั

ปรญิ ญาเอก และปรญิ ญาโทของมหาวทิ ยาลยั ทวั่ โลก
• SCIENCE CITATION INDEX ให้ขอ้ มูลบรรณานุกรมของเอกสาร สาขาวิทยาศาสตร์ทวั่ ไป

ทไ่ี ดร้ บั การอา้ งถงึ ตลอดจนบรรณานุกรมของเอกสารทอ่ี า้ งถงึ เอกสารอน่ื (Citing Work)
• LIFE SCIENCES COLLECTION ON CD-ROM ให้ข้อมูลบรรณานุกรม และสาระสังเขป

ของวารสารและสง่ิ พมิ พ์ สาขาวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพและสาขาวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
• AGRICOLA (Agricultural Online Access) ใหข้ อ้ มูลทางท่เี ป็นบรรณานุกรมและบางรายการ

มีสาระสังเขปประกอบ โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารส่ิงพิมพ์ทางด้านการเกษตร
ภาษาต่างประเทศทวั่ โลก
• ASFA (Aquatic Sciences & Fisheries Abstracts) ให้ข้อมูลบรรณานุกรม และสาระสงั เขป
ของเอกสารในสาขาวชิ าชวี วทิ ยา และนิเวศวทิ ยาทางน้ํา การประมง ตลอดจนทรพั ยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ มทางน้ํา
• COMPUTER SELECT ให้ข้อมูลในสาขาคอมพิวเตอร์ และเร่ืองท่ีเก่ียวข้องจากวารสาร
กว่า 150 ช่อื โดยมขี อ้ มูลทงั้ ทเ่ี ป็นขอ้ มูลฉบบั เต็ม (Full-text) และบทคดั ย่อ หรอื สาระสงั เขป
(Abstract)

67

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

• NTIS (National Technical Information Service) ให้ข้อมูลบรรณานุกรม และสาระสังเขป
ของงานวจิ ยั ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละวศิ วกรรมศาสตรท์ ่ไี ดร้ บั การสนับสนุนจาก
รฐั บาลสหรฐั อเมรกิ าและมขี อ้ มลู เกบ็ อย่ทู ่ี NTIS, US Department of Commerce

3.3 การสืบคน้ สารสนเทศจากอินเทอรเ์ น็ต (Internet) อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นระบบเครอื ขา่ ย สอ่ื สาร
เช่อื มโยงระหวา่ งคอมพวิ เตอรท์ วั่ โลก เปิดบรกิ ารใหต้ ดิ ต่อกบั ผใู้ ชอ้ ่นื ๆ ตลอด 24 ชวั่ โมง และยงั เป็นแหล่ง
ความรอู้ นั ทนั สมยั มจี าํ นวนมากมายมหาศาลทงั้ ดา้ นวชิ าการและบนั เทงิ มกี ารปรบั ปรงุ และเพมิ่ เตมิ ความรู้
ใหม่ ๆ ตลอดเวลาเปรียบเสมือนห้องสมุดของโลกหรือห้องสมุดเสมือนจริง (Virtual library) ซ่ึงเป็น
หอ้ งสมุดทไ่ี รพ้ รมแดน สามารถจดั เกบ็ และเช่อื มโยงกบั แหล่งสารสนเทศ สรรพวชิ าการ และความบนั เทงิ
ต่าง ๆ ทวั่ โลก

การสบื คน้ ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ทาํ ไดห้ ลายทาง เชน่ การสบื คน้ สารสนเทศทเ่ี ป็นขอ้ ความ สามารถใช้
บรกิ ารในอนิ เทอรเ์ นต็ ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ Telnet Gopher Lynx Wais

การเขา้ สรู่ ะบบคอมพวิ เตอรท์ างไกล (Remote login) โดยอาศยั โปรแกรม Telnet ใชง้ านบรกิ าร
ผ่านระบบเครอื ขา่ ยไดโ้ ดยไม่ต้องเดนิ ทางไป ณ เคร่อื งนนั้ ๆ วธิ นี ้ีผูใ้ ชจ้ ะตอ้ งรู้ IP Number และรหสั ผ่าน
(Password)

การสบื คน้ ในระบบเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ (World Wide Web: WWW) ปัจจุบนั เป็นทน่ี ิยมมาก หน่วยงาน
เอกชนและรัฐบาล ตลอดจนสถาบนั การศึกษาต่าง ๆ ได้สร้างแหล่งข้อมูลหรือเว็บไซต์ (Web site)
เพ่อื การประชาสมั พนั ธห์ น่วยงาน กจิ การงานของตน ตลอดจนการใหบ้ รกิ ารสารสนเทศในรปู แบบต่าง ๆ
บางหน่วยงานได้เสนอขายสินค้าและบริการต่าง ๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตทงั้ สาระและบันเทิงมากมาย
โดยสร้างโฮมเพจ (Homepage) สําหรับเช่ือมโยง (Link) ไปยัง Web page ท่ีเตรียมไว้ สารสนเทศ
ทผ่ี ใู้ ชบ้ รกิ ารเขา้ ถงึ ทเ่ี กบ็ อย่ใู น Web page มรี ปู แบบของสอ่ื ผสม (Multimedia) ซง่ึ ประกอบดว้ ย ตวั อกั ษร
ขอ้ ความ รปู ภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี ง วดี ทิ ศั น์ ไฮเปอรเ์ ทก็ ซ์ (Hypertext) และ แฟ้มขอ้ มูล ผใู้ ชส้ ามารถ
ตดิ ต่อกบั เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ เซริ ฟ์ ทเ่ี กบ็ สารสนเทศโดยใชโ้ ปรแกรมเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ บราวเซอร์ (World Wide Web
Browser) เช่น Netscape communicator หรืออินเทอร์เน็ตเอ็กโพลเรอร์ (IE = Internet Explorer)
แล้วสืบค้นตามท่ีอยู่ของเว็บไซต์หรือยูอาร์แอล (URL: Uniform Resource Locator) ท่ีผู้ใช้บริการ
จะไปเรยี กดขู อ้ มลู

ตวั อย่างรหสั ทอ่ี ยขู่ อง URL
- http://www.onec.or.th เป็น URL ของสภาวจิ ยั แหง่ ชาติ
- http://www.air.or.th เป็น URL ของสมาคมวจิ ยั สถาบนั และพฒั นาอดุ มศกึ ษา

ปัจจุบนั หอ้ งสมุดต่าง ๆ ไดจ้ ดั หาทรพั ยากรสารสนเทศทเ่ี ป็นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ วบ้ รกิ าร สาํ หรบั
ผูใ้ ชส้ บื ค้นไดบ้ นเวบ็ ของหอ้ งสมุดเป็นจํานวนมาก เช่น การบอกรบั ฐานขอ้ มลู อา้ งองิ ทวั่ ไปและฐานขอ้ มูล
สาขาวชิ าเฉพาะต่าง ๆ บอกรบั เป็นสมาชิกวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) ฐานข้อมูลท่ีมีเน้ือหา
ทรพั ยากรเตม็ รปู (Full text) นอกจากน้ีผใู้ ชส้ ามารถโยงการสบื คน้ ไปยงั หอ้ งสมุดอ่นื ๆ ทม่ี เี รอ่ื งทต่ี อ้ งการ
สบื คน้ แลว้ ยมื ระหวา่ งหอ้ งสมุดผ่านบรรณารกั ษห์ อ้ งสมุดในสงั กดั ของตนได้

68

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

4.5 ประโยชน์ของการศึกษาทบทวนเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง

1. ช่วยใหผ้ วู้ จิ ยั ทราบว่ามงี านวจิ ยั อะไรบา้ งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปัญหาการวจิ ยั ของเราซง่ึ มผี ทู้ าํ วจิ ยั
ไปแลว้ จะช่วยใหไ้ ม่ทาํ วจิ ยั ซ้าํ ซอ้ นและทราบว่างานวจิ ยั อะไรทค่ี วรทาํ ต่อไป

2. จะชว่ ยใหท้ ราบวธิ กี ารวจิ ยั เชน่ เป็นวจิ ยั แบบใด สมุ่ ตวั อยา่ งแบบใด มเี คร่อื งมอื ทใ่ี ช้
ในการวจิ ยั อะไรบา้ งทส่ี ามารถนํามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการวจิ ยั ของเรา

3. ทาํ ใหท้ ราบแหลง่ ขอ้ มลู ทไ่ี ม่เคยทราบมากอ่ น และนํามาใชใ้ นการวจิ ยั ได้
4. ทาํ ใหเ้ กดิ ความคดิ วธิ กี ารใหม่ ๆ ในการวจิ ยั
5. เป็นแนวทางในการตงั้ สมมตฐิ านการวจิ ยั
6. ทราบถงึ บุคคลทเ่ี ป็นผเู้ ชย่ี วชาญการวจิ ยั ในสาขานนั้ ๆ ทาํ ใหส้ ามารถสบื คน้ ผลงานวจิ ยั
หรอื สอบถาม สมั ภาษณ์และขอคาํ ชว่ ยเหลอื จากทา่ นเหล่านนั้ ได้
7. ช่วยประเมนิ ว่างานวจิ ยั ของเรา สง่ิ ทเ่ี ราคดิ ว่าไดพ้ ยายามแลว้ นนั้ มมี ากจรงิ ๆ หรอื เมอ่ื เทยี บ
กบั งานวจิ ยั ของคนอ่นื ๆ
8. ชว่ ยในการอภปิ รายผลการวจิ ยั วา่ สอดคลอ้ งสนบั สนุนผลงานวจิ ยั กอ่ น ๆ หรอื ไม่ หากผล
การคน้ พบไมต่ รงกนั กจ็ ะอธบิ ายไดว้ ่าทาํ ไมจงึ เป็นเช่นนนั้ หรอื เสนอแนะว่าควรศกึ ษาต่ออยา่ งไร เพอ่ื แกไ้ ข
ขอ้ คน้ พบทไ่ี มต่ รงกนั น้ี
9. ทาํ ใหม้ คี วามรเู้ กย่ี วกบั ขอบเขตของสงิ่ ทศ่ี กึ ษาทาํ ใหม้ องปัญหาการวจิ ยั กระจา่ งชดั เจน
ทาํ ใหป้ ัญหาการวจิ ยั รดั กุม เพราะมงี านวจิ ยั หลายเร่อื งทล่ี ม้ เหลวเพราะปัญหาการวจิ ยั ไมช่ ดั เจน

4.6 จดุ ประสงคข์ องการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง

1. เพ่ือให้ผู้วิจยั มีความรู้ความเขา้ ใจแนวคิดหลกั การทฤษฎีตลอดจนตัวแปรท่ีเก่ียวข้องกบั
เรอ่ื งทจ่ี ะทาํ วจิ ยั

2. เพ่อื ใหผ้ วู้ จิ ยั กาํ หนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ได้
3. เพ่อื ใหผ้ วู้ จิ ยั สามารถกําหนดสมมตฐิ านการวจิ ยั ทม่ี สี ณั ฐานมาจากทฤษฎไี ดท้ าํ ใหก้ ารทดสอบ
สมมตฐิ านไดง้ ่ายขน้ึ
4. เพ่อื ใหผ้ ูว้ จิ ยั เช่อื มโยงงานวจิ ยั ของตนเองกบั งานวจิ ยั ของผอู้ ่นื ได้ การศกึ ษาทบทวนเอกสาร
งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งน้ถี อื ว่าเป็นสง่ิ สาํ คญั อย่างมากทผ่ี วู้ จิ ยั ตอ้ งทาํ

4.7 วิธีการเขียนเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง

การเขยี นเอกสารงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่อื นําเสนอข้อมูลความรู้ ไม่มกี ฎตายตัวว่าต้องเขยี น
ยาวเทา่ ไรจงึ เพยี งพอ ผเู้ รม่ิ วจิ ยั ใหม่ ๆ มกั เขยี นใหม้ ากเขา้ ไว้ เพราะคดิ วา่ จะทาํ ใหง้ านวจิ ยั มคี ุณภาพ จรงิ
ๆ แลว้ ไม่ไดเ้ ป็นเช่นนนั้ การนําเสนอแต่เพยี งสนั้ ๆ โดยแต่ละเร่อื งมคี วามเกย่ี วขอ้ งจรงิ ๆ กบั ปัญหาของ
การวจิ ยั ของเราจะทาํ ใหง้ านวจิ ยั มคี ุณภาพมากกว่า และจะมคี ุณค่ามากขน้ึ ดว้ ยต่อเม่อื การนําเสนอนนั้ ได้
วเิ คราะหแ์ ลว้ นําเสนออย่างเป็นระบบ ผวู้ จิ ยั ควรหลกี เลย่ี งการนําเสนอทุกอย่างทพ่ี บโดยไมค่ าํ นึงถงึ ความ
เกย่ี วขอ้ งกบั ปัญหาการวจิ ยั

69

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

วธิ กี ารนําเสนอขอ้ คน้ พบจากการศกึ ษาทบทวนเอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งอาจทาํ ได้ 4 ลกั ษณะ
ดงั น้ี

1. การโควทโดยตรง (Quote) เป็นการคดั ลอกขอ้ ความชนดิ คาํ ต่อคําตามตน้ ฉบบั เดมิ ทุกประการ
และใหเ้ คร่อื งหมายอญั ประกาศกบั ภาษาขอ้ ความทค่ี ดั ลอกนนั้

2. การถอดความหรอื การเรยี บเรยี ง (Paraphrase) และการเขยี นขอ้ ความเดมิ ใหม่โดยใชค้ าํ พูด
ของผวู้ จิ ยั เอง

3. การสรุปความ (Summary) เป็นการกล่าว / อธบิ าย ถงึ ขอ้ ความเดมิ อย่างย่อ ๆ โดยเขยี นเป็น
คาํ พดู ของผวู้ จิ ยั เอง

4. การประเมนิ ผล (Evaluation) เป็นการคดิ คน้ คุณค่าขอ้ ความเดมิ ว่าดหี รอื ไม่ เหมาะสมหรอื ไม่
เกย่ี วขอ้ งสอดคลอ้ งสนบั สนุนงานวจิ ยั ของเราหรอื ไม่

การเขยี นรายงานเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั มขี อ้ เสนอแนะดงั น้ี
1. เสนอแนวคิดตามทฤษฎี แล้วจึงเสนอผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง อาจแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่
และหวั ขอ้ ย่อยลงไป ไม่ควรนําเรอ่ื งทไ่ี ม่เกย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั มาเขยี นไว้
2. แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธข์ องเร่อื งทจ่ี ะวจิ ยั นนั้ กบั ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ของคนอ่นื ในหวั ขอ้
เดยี วกนั
3. อธบิ ายปัญหาหรอื สถานการณ์ทย่ี งั มขี อ้ สงสยั และความรทู้ เ่ี ป็นปัจจบุ นั ในหวั ขอ้ ทว่ี จิ ยั
4. ไม่ควรใช้วธิ ีนําเอาผลวจิ ยั ของแต่ละคนมาเรยี งต่อ ๆ กนั ผู้วจิ ยั จะต้องมเี ค้าโครงการเขยี น
ของตนเอง โดยใชห้ ลกั ตามขอ้ 1
5. กรณีทม่ี ผี ลการศกึ ษาขดั แย้งกนั ผูว้ จิ ยั ควรบรรยายทฤษฎีแต่ละทฤษฎีแลว้ เสนอการอา้ งองิ
รวมทงั้ ผลงานวจิ ยั ทส่ี นบั สนุนแต่ละทฤษฎี
6. ใชก้ ารวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหง์ านวจิ ยั การวเิ คราะหค์ อื การแยกแยะจดั เขา้ หมวดหมู่ ชใ้ี หเ้ หน็
ความสมั พนั ธแ์ ละจดุ เดน่ หรอื จดุ สาํ คญั สว่ นการสงั เคราะหเ์ ป็นการนําเอาตงั้ แต่ 2 สง่ิ ขน้ึ ไปมาประกอบกนั
เป็นสงิ่ ใหม่เน้อื หาใหม่ อาจสงั เคราะหเ์ ชงิ คณุ ลกั ษณะ (Qualitative) หรอื สงั เคราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณ (Quantitative)
ดงั เช่นเทคนคิ ของ Meta-analysis เป็นตน้

4.8 รปู แบบในการนําเสนอข้อค้นพบ

1. ระบชุ อ่ื ผเู้ ขยี นหรอื ชอ่ื ผวู้ จิ ยั ไวก้ อ่ นในตอนตน้ ดงั ตวั อยา่ ง
พอล และโธมสั (Pol & Thomas) ไดส้ รุปแนวคดิ สขุ ภาพตามแนวคดิ ต่าง ๆ ไว้ 4 แนวคดิ
(Pol & Thomas, 1989) ดงั น้…ี ..
2. ระบุช่อื ผเู้ ขยี น/ผวู้ จิ ยั ไวเ้ มอ่ื จบขอ้ ความแลว้ ตวั อยา่ ง
.....วยั ร่นุ ทม่ี นี ้ําหนกั เกนิ พบวา่ ประมาณรอ้ ยละ 80 มแี นวโน้มจะเป็นผใู้ หญ่ทเ่ี ป็นโรคอว้ น
และมปี ัญหาทางสขุ ภาพ (Better Health Channel, 2007)
3. เขยี นแทรกในเน้ือหา ดงั ตวั อย่างเช่น

70

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

......ผลการวิจยั แสดงว่าในปี พ.ศ. 2546 พบความชุกของโรคอ้วนในเด็กเพ่ิมข้ึนตามอายุ
คอื อายุระหวา่ ง 0-5 ปี 6-14 ปี และ15-18 ปี เทา่ กบั รอ้ ยละ 4, 5.4 และ 12.9 ตามลาํ ดบั เดก็ ในเขตเมอื งมี
ปัญหาภาวะน้ําหนักเกินและโรคอ้วนมากกว่าเด็กในเขตชนบท (อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ, 2549)
ความชุกของโรคอ้วนในเดก็ นักเรยี นพบมากท่ีสุดคอื ภาคกลาง และจงั หวดั เพชรบุรี พบร้อยละ 17.7
(เครอื ขา่ ยวจิ ยั สภุ าพและมลู นิธสิ าธารณสขุ แหง่ ชาต,ิ 2550)…....หรอื

……สุดท้ายนักเรียนกลุ่มทดลองเลือกเหมือนกัน คือ วิธีการควบคุมอาหารร่วมกับ
การออกกําลงั กายเพมิ่ ขน้ึ จากทเ่ี คยปฏบิ ตั อิ ย่เู ป็นประจํา สอดคล้องกบั การศกึ ษาของ Byrne SM (2002)
แนะนําว่า การแกป้ ัญหาโรคอว้ นดว้ ยการควบคุมอาหารร่วมกบั การออกกําลงั กายเป็นผลใหก้ ารจดั การ
น้ําหนกั ลดลง

หลกั เกณฑส์ าํ คญั ในการเขียนเอกสารงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งให้มีคณุ ภาพมีดงั นี้
1. มกี ารวางแผนทด่ี ี กอ่ นเรมิ่ ตน้ เขยี นตอ้ งวางแผน วางเคา้ โครงการเขยี น (Outline) ก่อนกาํ หนด
หวั ขอ้ ใหญ่ หวั ขอ้ ย่อย แลว้ พจิ ารณาวา่ แต่ละหวั ขอ้ จะใสเ่ อกสารงานวจิ ยั เล่มใด
2. วธิ กี ารนําเสนอทด่ี ี ควรนําเสนอแนวคดิ หรอื สง่ิ ต่าง ๆ เสยี ก่อนแล้วค่อย ๆ แคบลงใกล้ชิด
เกย่ี วขอ้ งทส่ี ดุ กบั งานวจิ ยั ของเราใหม้ ากเฉพาะเจาะจงในทส่ี ดุ ตอนสดุ ทา้ ย ควรเสนอสง่ิ ทใ่ี กลช้ ดิ ทส่ี ดุ เช่น
ตวั อยา่ ง

แนวนโยบายของรฐั
แนวนโยบายของกระทรวง
การปฏบิ ตั ขิ องกรม
ปัญหาทเ่ี กดิ จากการปฏบิ ตั ิ
3. เน้นการเก่ียวข้องกบั ปัญหาการวิจัยท่ีทําต้องพยายามให้ผู้อ่านงานวิจยั ตระหนักเสมอว่า
ผลงานวจิ ยั ทก่ี าํ ลงั พดู ถงึ เกย่ี วขอ้ งกบั ปัญหาวจิ ยั ทเ่ี รากาํ ลงั ทาํ อยู่ ตวั อย่างเชน่
งานวิจยั เร่ืองปัจจยั ท่ีมีความสมั พนั ธ์ต่อพฤติกรรมการใช้สารระเหยในชุมชนจงั หวดั
ขอนแก่น
มีเพื่อนใช้สารเสพติดจะมีความเส่ียงต่อการใช้สารระเหย เป็น 9.01 เท่าของผู้ไม่มีเพ่ือน
ใชส้ ารเสพตดิ ปัจจยั ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม (Social) ได้แก่ อทิ ธพิ ลทางพ่ีน้อง เพ่อื นฝงู พรรคพวก โรงเรยี น
ทอ้ งถนิ่ ชุมชน ปัจจยั น้ีจะนําไปส่กู ารลองและตดิ ยาเสพตดิ ได้ สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ มานพ คณะโต
และคณะ ศึกษาปัจจยั เสย่ี งและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้เสพยาบนั เทิงในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
พบว่าการรวมกลุ่มเพ่ือน (มัว่ สุม) เป็ นปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติดโดยการมัว่ สุมกัน
ตงั้ แต่ 5 คนขน้ึ ไป ทาํ ใหม้ โี อกาสใชย้ าบนั เทงิ เป็น 2.5 เท่าของกลุ่มท่ไี ม่ใชย้ าบนั เทงิ และ ดุษฏี โยเหลา
และคณะ ศึกษาปัจจัยบ่งช้ีสาเหตุใช้และการติดสารระเหยของเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานคร
และจงั หวดั ยโสธร พบวว่าสาเหตุท่ีใช้สารระเหยเพราะอยากลอง และถูกชวนในสถานการณ์ท่ีอยู่ใน
กลุ่มเพอ่ื น รวมทงั้ มตี วั แปรทบ่ี ง่ ชส้ี าเหตุการใช้ สารระเหยของเดก็ และเยาวชนในกรุงเทพมหานคร คอื 1)
จาํ นวนเพอ่ื นทใ่ี ชส้ ารเสพตดิ 2) ความภาคภูมใิ จในตนเองดา้ นครอบครวั และ 3) บคุ ลกิ ภาพชอบทา้ ทาย

71

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

4. เป็นการทบทวน (Review) ไม่ใช่จําลอง (Reproduce) งานวิจัย การเขียนเอกสารและ
งานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องเป็ นการทบทวน สรุปวิเคราะห์ และสังเคราะห์ มิใช่การจาํ ลองงานวิจยั
ที่คดั ลอกข้อความยาว ๆ ดงั นัน้ ในการเขียนต้องพยายามให้เป็ นคาํ พูดของตนเอง เรยี บเรยี ง
ใหช้ ดั เจนยน่ ย่อคาํ กล่าวแต่ละตอนทเ่ี ขยี นและตอ้ งมอี า้ งองิ

5. มคี วามต่อเน่ืองและมลี ําดบั การเขยี นตอ้ งมกี ารเรยี งลาํ ดบั และต่อเน่ืองไม่วกวนตอ้ งจดั ลาํ ดบั
แนวคดิ ให้ดแี ละเสนอไปตามลําดบั เช่น เสนอระดบั ชาติ ระดบั กระทรวง กรม หน่วยงาน ตามลําดบั ปี
ก่อนหลงั เป็นตน้

6. สรุปสง่ิ ทก่ี ล่าวไปแลว้ ในแต่ละเร่อื ง แต่ละตอนทน่ี ําเสนอไปแล้ว ต้องสรุปใหเ้ หน็ จุดเน้นหรอื
ประเด็นสําคญั และแต่ละตอนท่นี ําเสนอนัน้ เก่ียวข้องกบั ปัญหาการวจิ ยั อย่างไรในตอนท้ายของส่วนน้ี
ตอ้ งมหี วั ขอ้ “สรปุ ” ดว้ ย

7. มหี ลกั ยดึ ในการเขยี นอา้ งองิ เน่ืองจากการเขยี นเอกสารงานวจิ ยั ตอ้ งมกี ารอา้ งองิ เป็นอนั มาก
มีความจําเป็นต้องให้เสมอต้นเสมอปลาย ต้องยึดรูปแบบการอ้างอิงแบบแบบหน่ึง และคงเส้นคงวา
ตลอดเลม่ การเขยี นอา้ งองิ มี 3 แบบ

7.1 อา้ งองิ แทรกในเน้ือหา
7.2 การเขยี นเชงิ อรรถ (Footnote) ตอนล่างของหน้า
7.3 การอา้ งองิ อยทู่ า้ ยบทเรยี งตามลาํ ดบั การอา้ งองิ หรอื เรยี งตามลาํ ดบั อกั ษร
8. สาระของการนําเสนอผลการทบทวนเอกสารงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ งท่จี ะนําเสนอในส่วนท่ี 2
ของการวจิ ยั มหี ลกั ต่าง ๆ ตามทก่ี ลา่ วขา้ งตน้ แลว้ สาระทค่ี วรนําเสนอจะมี 4 สว่ นสาํ คญั ไดแ้ ก่
8.1. ส่วนท่ีเป็ นองค์ความรู้ของเร่ืองและตัวแปรท่ีศึกษามักเขียนไว้เป็ นส่วนแรกของ

การนําเสนอ เช่น การเสนอองคค์ วามรูท้ า้ ยบทท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ปัญหาการวจิ ยั ท่ที ําและ
ตวั แปรทศ่ี กึ ษาเท่าทท่ี บทวนไดม้ า ซง่ึ ไดจ้ ากการสาํ รวจแนวคดิ ของนกั วชิ าการต่าง ๆ
ท่ีนําเสนอไว้ ไม่ว่าเป็นความหมาย ความเป็นมา รูปแบบ องค์ประกอบ แนวคิด
ความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปร วธิ กี ารวดั ตัวแปร ฯลฯ การนําเสนอเป็นสาระท่ไี ด้จาก
ผลทส่ี งั เคราะหแ์ ลว้ ลกั ษณะการนําเสนออาจเสนอสาระแนวคดิ ของนกั วชิ าการต่าง ๆ
ก่อนไปเรอ่ื ย ๆ โดยไม่มกี ารจดั กล่มุ กบั อกี แบบหน่งึ นําเสนอในลกั ษณะใหส้ อดคลอ้ งกบั
แนวคดิ และตวั แปรท่ผี ู้วจิ ยั ศกึ ษาและนําเสนอครงั้ ละแนวคดิ จากนัน้ เสนอส่วนองค์
ความรู้ท่เี ก่ยี วกบั การนําแนวคดิ ไปปฏิบตั กิ ไ็ ด้ หลกั สําคญั ในการเสนอสาระส่วนองค์
ความรู้ คอื ต้องมกี ารนําเสนอในลกั ษณะทแ่ี จงใหเ้ หน็ ว่ามกี ารทบทวนองคค์ วามรูท้ ุก
แนวคดิ และทกุ ตวั แปรในเรอ่ื งทก่ี าํ ลงั ทาํ การศกึ ษา อย่างครบถว้ นและมกี ารมองในหลาย
มติ ิ
8.2. ส่วนท่ีเป็ นผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องของเร่ืองและตัวแปรท่ีศึกษาหลังจากนําเสนอ
ผลงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทงั้ ไทยและต่างประเทศ การนําเสนอตอ้ งชใ้ี หเ้ หน็ ว่าใครทาํ งาน
วจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งบา้ งในเรอ่ื งใด ปี พ.ศ. ใด มวี ตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ขอบเขต ระเบยี บ
วธิ ี ตัวแปร สมมติฐาน ข้อค้นพบ และ ขอ้ เสนอแนะ เป็นเช่นใด หลกั การสําคญั การ

72

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

เขียนส่วนน้ีต้องเป็นผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกบั เร่ืองและตัวแปรท่ีผู้วิจยั กําลงั ศกึ ษา
เท่านัน้ ไม่นําผลงานวจิ ยั ท่ไี ม่เก่ยี วขอ้ งมาใส่ และต้องคํานึงถึงคุณภาพของงานวจิ ยั ท่ี
นํามาใสด่ ว้ ย
8.3. สว่ นการสงั เคราะห์ตอ้ งมคี วามรู้และผลงานวจิ ยั มาเป็นต้นแบบหรอื กรอบแนวคดิ ของ
การศกึ ษา การสงั เคราะหต์ อ้ งมคี วามรแู้ ละรายงานวจิ ยั มานําเสนอจะทาํ ใหเ้ หน็ ภาพการ
เช่อื มโยงทช่ี ดั เจนระหว่างแนวคดิ ของผูว้ จิ ยั เป็นการสรุปและพฒั นาขน้ึ มา โดยอาศยั
เหตุผลเชงิ ตรรกะมกี ารเช่อื มโยงเป็นระบบถึงความสมั พนั ธ์กบั ตัวแปรต่าง ๆ และมี
เหตุผลสอดรบั ทางวชิ าการเพอ่ื นําไปใชใ้ นการทดสอบต่อไป
8.4. ส่วนท่ีเป็นสมมติฐานของการวิจยั ในการเขียนสมมติฐานการวิจยั ท่เี ป็นผลจากการ
ทบทวนเอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทําใหท้ ราบว่า สมมตฐิ านมาจากท่ใี ด มเี หตุผลใด
รองรบั การเช่อื มโยงตวั แปรตามทฤษฎหี รอื แนวคดิ ดงั นนั้ สว่ นน้ีจะนําเสนอรากฐานหรอื
อนุมานจากทฤษฎหี รอื อาจพฒั นาสมมตฐิ านขน้ึ ภายหลงั จากสรา้ งตวั แปรงานวจิ ยั แลว้ ก็
ได้ เพราะต้นแบบการวจิ ยั จะเป็นการเช่อื มโยงใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธ์เชงิ สาเหตุและผล
ระหว่างตวั แปร

4.9 การประเมินเอกสารงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง

ในการทําวจิ ยั ผู้วจิ ยั ต้องศึกษาเพ่ือทบทวนเอกสารงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง การประเมินงานวจิ ยั
จะช่วยให้เขา้ ใจและเลือกผลการวิจยั มาประยุกต์ใช้กบั การทําวจิ ยั ได้การประเมนิ การวิจยั ต้องทําเพ่ือ
ใหพ้ จิ ารณาหวั ขอ้ ประเดน็ คําถามตลอดจนขอ้ เด่น ขอ้ ดอ้ ยของการวจิ ยั นนั้ ๆ มาพจิ ารณาหวั ขอ้ ประเดน็
งานวจิ ยั ของคนเราต่อไปการประเมนิ จะทาํ เป็นระบบขนั้ ตอนการประเมนิ ต่อไปน้ีจะช่วยใหน้ กั วจิ ยั ประเมนิ
เป็นระบบไดผ้ ลดี (ภริ มย์ กมลรตั นกลุ และคณะ, 2542)

ขนั้ ท่ี 1 ระบุจุดประสงค์ในการอ่านและประเมินเอกสารนัน้ ให้กระจ่างชัดโดยการระบุให้
เฉพาะเจาะจงและแคบเฉพาะกรณีใหม้ ากทส่ี ดุ เท่าทจ่ี ะมากได้

ขนั้ ที่ 2 อ่านบทความผ่าน ๆ อ่านหวั เร่อื ง บทคดั ย่อ ความย่อ ขอ้ สรุปเพ่อื กําหนดใหช้ ดั เจนว่า
หวั ขอ้ วจิ ยั ทําเร่อื งอะไร สงิ่ ค้นพบ และขอ้ สรุปทส่ี าํ คญั วธิ กี ารท่ผี ูป้ ระพนั ธใ์ ห้และสง่ิ ท่คี ้นพบนัน้ น่าสนใจ
สาํ หรบั เราอย่างไร การอ่านผ่าน ๆ จะทาํ ใหท้ ราบเคา้ โครงเร่อื ง สาํ รวจขอ้ เด่น ขอ้ ดอ้ ยและทบทวนไดว้ ่า
เกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งของเราอยา่ งไร

ขนั้ ที่ 3 ทบทวนจุดยืนของผู้ประเมินเองทบทวนจุดประสงค์ในการประเมินให้ชัดเจนว่า
เราคดิ เหน็ อย่างไร เพราะถา้ มจี ุดประสงคก์ ารอ่านเพ่อื สนบั สนุนความเช่อื เดมิ หรอื เพ่อื หาหกั ลา้ งความเหน็
ทต่ี ่างไปจากของตนเองอาจทาํ ใหเ้ กดิ ความลาํ เอยี งไม่ซอ่ื สตั ยต์ รงไปตรงมาได้

ขนั้ ที่ 4 รวบรวมความรู้ ความเขา้ ใจท่มี อี ยู่และเก่ยี วขอ้ งกบั เอกสาร ความรู้ ความเขา้ ใจของ
ผู้ประเมนิ ช่วยทําให้การพิจารณาเปรียบเทียบเอกสารท่ีประเมนิ กบั สงิ่ ท่ดี ําเนินการมานัน้ ทําให้เข้าใจ
ความเป็นไปไดใ้ นการนํามาใชอ้ ย่างไม่ลาํ เอยี ง

ขนั้ ที่ 5 ประเมนิ เอกสาร
73

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ น้ตี อ้ งอา่ นใหล้ ะเอยี ด พจิ ารณาอย่างมเี กณฑ์ และแยกองคป์ ระกอบในการประเมนิ เช่น
5.1. เคา้ โครง / คําถามการวจิ ยั ประเมนิ ว่า คําถามการวจิ ยั ง่ายต่อความเขา้ ใจ หาคาํ ตอบได้
ไมส่ บั สน คน้ พบปราศจากความลาํ เอยี งใชค้ าํ ต่าง ๆ เป็นกลาง
5.2. การทบทวนเอกสารงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง พจิ ารณาความครอบคลุม ฯ สนับสนุนและ
ขดั แยง้
5.3. นิยาม ประเมนิ ว่า นิยามหมายถึงอะไร เฉพาะเจาะจงเพียงพอหรอื ไม่ มคี วามหมาย
สอดคลอ้ งกบั ธรรมเนียมปฏบิ ตั แิ ละมปี ระโยชน์หรอื ไม่
5.4. กระบวนการวจิ ยั เป็นส่วนบรรยาย การได้มาซง่ึ ขอ้ มูลส่วนมากจะทาํ ในส่วน Material
และ Methods บรรยายเทคนิคการรวบรวมขอ้ มูล ผู้เขา้ ร่วมศกึ ษา วตั ถุประสงคท์ ่ใี ช้
ศกึ ษา การออกแบบการวจิ ยั การทบทวนเลอื กตวั อย่าง การจดั หาเคร่อื งมอื และการใช้
เครอ่ื งมอื
5.5. ผลการศกึ ษาและขอ้ สรุปเป็นส่วนทเ่ี ราจะพบว่า ผลการศกึ ษาเก่ยี วขอ้ งสนับสนุนหรอื
ขดั แยง้ กบั ตวั แปรทเ่ี รากําลงั ศกึ ษาอย่างไร ถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าหรอื ไม่ การวเิ คราะห์
ทางสถติ เิ หมาะสม มคี วามน่าเช่อื ถอื อย่างไรและมคี วามหมายต่อการนําไปประยุกตใ์ ช้
หรอื ไมเ่ พยี งไร

4.10 กรอบแนวคิดในการวิจยั

การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย เป็นขัน้ ตอนท่ีเกิดข้ึนหลังจากผู้วิจัยได้ปัญหาการวิจัย
และศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งแลว้ ผูว้ จิ ยั จะตอ้ งสงั เคราะหผ์ ลการศกึ ษาใหเ้ ป็นกรอบแนวคดิ
หรอื รปู ภาพทแ่ี สดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรทศ่ี กึ ษา โดยใชแ้ นวคดิ หลกั การ ทฤษฎี กฎ หรอื ขอ้ สรุป
ฯลฯ เพ่อื ทผ่ี วู้ จิ ยั จะได้นําแนวคดิ หรอื รปู ภาพไปตรวจสอบกบั ขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์ว่ามคี วามสอดคลอ้ งกนั
หรอื ไม่ อยา่ งไร มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

1. ความหมายของกรอบแนวคิดแนวคิดรวบยอด (Concept) เป็นขอ้ สรุปทบ่ี ุคคลใชอ้ ธบิ าย
ปรากฏการณ์ทส่ี งั เกตเหน็ โดยตรง หรอื รบั รโู้ ดยออ้ มผ่านการถ่ายทอด บอกเล่า หรอื การอธบิ ายจากผอู้ ่นื
กรอบแนวคดิ การวิจยั (Conceptual framework) เป็นรูปแบบท่แี สดงความสมั พนั ธ์ตามทฤษฎรี ะหว่าง
ตวั แปรทผ่ี ู้วจิ ยั ศกึ ษาจากเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง เพ่อื ให้เป็นภาพหรอื ตวั แทนของปรากฏการณ์
ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ตามธรรมชาติ

กรอบแนวคิดในการวิจัย หมายถึง ขอบเขตของเน้ือหาสาระ แนวความคิดของผู้วิจัย
ท่ีประกอบด้วยตัวแปรอะไรบ้าง (การวิจัยเชิงพรรณนา) และการระบุความสมั พันธ์ระหว่างตัวแปร
(การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะห)์ ทจ่ี ะใชอ้ ธบิ ายการเกดิ ขน้ึ หรอื การเปลย่ี นแปลงเชงิ สาเหตุและผลของปรากฏการณ์
ท่ตี ้องการศกึ ษา หรอื เพ่อื ป้องกนั ความคลาดเคล่อื นในการพิจารณาการศึกษาในประเดน็ หลกั เดียวกนั
แต่จะมีประเด็นย่อย ๆ ในมุมมองท่ีแตกต่างกันก็ได้ หรือใช้เป็นแนวทางในการกําหนดสมมุติฐาน
ของปรากฏการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ซ่งึ ในการกาํ หนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั จะต้องไดม้ าจากการศกึ ษาทฤษฎี

74

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ท่ีเก่ียวข้องว่ามีแนวทางท่ีจะอธิบายปรากฏการณ์ในประเด็นการวิจัยอย่างไร หรือมีจุดใดท่ีทฤษฎี
ยงั ไม่สามารถอธบิ ายได้อย่างชดั เจน ครบถ้วน รวมทงั้ หลงั จากได้ข้อค้นพบในการวจิ ยั ยงั จะสามารถ
อธิบายข้อค้นพบนัน้ ๆ โดยใช้ทฤษฎีท่ีศึกษาอีกด้วย ดังนัน้ จะพบว่าการกําหนดกรอบแนวคิด
ในการวิจยั ท่ีดี จะต้องกําหนดข้นึ หลงั จากท่ีผู้วิจยั ได้ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ งท่ีค่อนขา้ ง
ทจ่ี ะครบถว้ น สมบรู ณ์แลว้ (สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธุ,์ 2546)

สรปุ วา่ กรอบแนวคดิ การวจิ ยั เป็นแนวคดิ หรอื รูปแบบจําลองทไ่ี ดส้ รา้ งและพฒั นาใชใ้ น การแสดง
ความสมั พนั ธ์ระหว่างตัวแปรท่ศี ึกษาในการวิจยั ครงั้ นัน้ ๆ โดยมีแนวคิด หลกั การ ทฤษฎี กฎ หรือ
ผลการวิจัย ฯลฯ เพ่ือท่ีผู้วิจัยจะได้นําไปศึกษาและใช้ตรวจสอบข้อมูลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ว่า
มคี วามสอดคลอ้ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร

2. หลกั การในการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจยั ในการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย
มหี ลกั การทค่ี วรนําไปเป็นแนวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี (สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธุ,์ 2546)

2.1 ความตรงต่อประเด็นของการวิจยั เป็นการพิจารณาจากเน้ือหาสาระของตัวแปร และ
ระเบยี บวธิ กี ารทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ในประเดน็ นนั้ ๆ
หรอื ผูว้ จิ ยั จะตอ้ งสงั เคราะหก์ รอบแนวคดิ ทม่ี อี ย่แู ลว้ ใหเ้ ป็นกรอบแนวคดิ ใหม่ทจ่ี ะสามารถ
ใชต้ อบคาํ ถาม ในประเดน็ การวจิ ยั ไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน และแม่นยาํ

2.2 ความง่ายและไม่ซบั ซอ้ น เป็นกรอบแนวความคดิ ทเ่ี ลอื กใชท้ ฤษฎที ง่ี ่ายทส่ี ดุ ในการอธบิ าย
ปรากฏการณ์ ทจ่ี ะสามารถศกึ ษาและทําความเขา้ ใจไดอ้ ย่างง่าย ๆ โดยพจิ ารณาไดจ้ าก
จาํ นวนของตวั แปรและรปู แบบความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปรเหลา่ นนั้

2.3 ความสอดคล้องกับความสนใจ เป็นกรอบแนวความคิดท่ีกําหนดตัวแปรและรูปแบบ
ความสมั พันธ์ของตัวแปรท่ีผู้วิจัยสนใจและต้องการจะศึกษาท่ีจะก่อให้เกิดแรงจูงใจ
ทจ่ี ะทาํ ใหก้ ารศกึ ษามคี วามสาํ เรจ็ มากยงิ่ ขน้ึ

2.4 ความมีประโยชน์ ในการกําหนดกรอบแนวคิดควรพิจารณาประโยชน์ท่ีจะได้รับจาก
การกําหนดตัวแปรท่ีต้องการศึกษาว่าจะสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในประเด็นใด
ทงั้ ในเชงิ วชิ าการและการนําไปใช้

3. รปู แบบของการนําเสนอกรอบแนวคิดการวิจยั ประกอบไปดว้ ย กรอบแนวคดิ เชงิ พรรณนา
กรอบแนวคดิ แบบจาํ ลองหรอื ฟังกช์ นั ทางคณิตศาสตร์ และ กรอบแนวคดิ แบบแผนภาพ

3.1 กรอบแนวคดิ เชงิ พรรณนา เป็นการแสดงกรอบแนวคดิ โดยการพรรณนาเป็นขอ้ ความทร่ี ะบุ
1) ตัวแปรท่ีมุ่งศึกษาในครงั้ น้ีมตี ัวแปรอะไรบ้าง 2) ตัวแปรน้ีมคี วามสมั พนั ธ์กันอย่างไร
และ 3) มที ฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งอะไรบา้ งในการสนับสนุน ซ่งึ ในการนําเสนอกรอบ
แนวคดิ ในลกั ษณะน้ี ถา้ มหี ลายตวั แปรจะทําใหม้ คี วามยาวในการพรรณนาทอ่ี าจจะก่อใหเ้ กดิ
ความสบั สนและไมช่ ดั เจนในการทาํ ความเขา้ ใจ

ตวั อย่างการกาํ หนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั เชงิ พรรณนา

75

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

การวิจยั เรอื่ ง การพฒั นาระบบเฝ้าระวงั เพ่อื ลดความตอ้ งการใชส้ ารเสพตดิ โดยการมสี ว่ นร่วม
ของนกั เรยี นอาํ เภอคง จงั หวดั นครราชสมี า (สมเดจ็ กวั่ พทิ กั ษ์, 2560) มกี รอบแนวคดิ ของการวจิ ยั ดงั น้ี

1. การวเิ คราะห์สภาพปัญหาและศกั ยภาพของนักเรียนและชุมชน โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่อื ให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาและความตอ้ งการของพน้ื ท่ี ดงั น้ี

1.1 สภาพปัญหาการใชส้ ารเสพตดิ หมายถงึ การศกึ ษาสถานการณ์การใชส้ ารเสพตดิ ปัญหาและ
สาเหตุของการใช้สารเสพตดิ บรบิ ทสงิ่ แวดล้อมในชุมชนท่เี ก่ยี วขอ้ ง วฒั นธรรม ความเช่อื
การจดั การปัญหาเดมิ ของชุมชน และความสาํ คญั ของปัญหาการจมน้ํากบั ความต้องการ
แกไ้ ขปัญหาของชมุ ชน

1.2 ศกั ยภาพของนกั เรยี นและชุมชนในการเฝ้าระวงั หมายถงึ ความรู้ ความสามารถของบุคคล
ชมุ ชน รวมทงั้ ภาครฐั และเอกชนในการดาํ เนนิ การเฝ้าระวงั การใชส้ ารเสพตดิ

2. ปัจจยั เสย่ี งของการใช้สารเสพติดหมายถงึ ปัจจยั พ้นื ฐานส่วนบุคคล พฤตกิ รรม ตวั กระทํา
ทท่ี าํ ใหเ้ กดิ การใชส้ ารเสพตดิ รวมถงึ สง่ิ ทเ่ี ป็นปัจจยั ภายนอก ซง่ึ แบ่งออกเป็น 3 ปัจจยั ไดแ้ ก่ ปัจจยั ระดบั
บุคคล (Individual) ปัจจัยระดับครอบครัว (Family) และ ปั จจัยระดับสังคมส่ิงแวดล้อม (Social)
จากการวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา ศกั ยภาพของชุมชน รวมถงึ ปัจจยั เสย่ี งต่อการใชส้ ารเสพตดิ นําไปสขู่ นั้ ตอน
การวางแผนและออกแบบระบบเฝ้าระวงั โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

3. การวางแผน ออกแบบทดลอง พฒั นาและปรบั ปรุงระบบเฝ้าระวงั โดยอาศยั การมสี ่วนร่วม
ของนักเรียนและชุมชน หมายถึง กระบวนการดําเนินงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังการใช้สารเสพติด
จะเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบระบบ และการดําเนินงานเฝ้าระวัง
โดยชุมชนเอง เพ่ือได้รูปแบบท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับในการปฏิบตั ิงานจริงของพ้ืนท่ี โดยผลท่ีได้
จากการวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาจะนํามาออกแบบ และทดลองใชใ้ นระยะนําร่อง ตลอดจนพฒั นาปรบั ปรุง
แลว้ ทดลองใชก้ บั สภาพจรงิ เพอ่ื หาแนวทางแกไ้ ขปรบั ปรงุ กอ่ นการเผยแพร่

4. ระบบเฝ้าระวงั ทถ่ี งึ ประสงค์ หมายถงึ คุณลกั ษณะของระบบเฝ้าระวงั ทต่ี อ้ งการในดา้ นต่าง ๆ
ดงั น้ี

การมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการเฝ้าระวงั เพอ่ื ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา
การใชส้ ารเสพตดิ อย่างต่อเน่อื ง โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

4.1 การมปี ระสทิ ธภิ าพ หมายถงึ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการดาํ เนินงานเฝ้าระวงั การใชส้ ารเสพตดิ
โดยพจิ ารณาจากกระบวนการดาํ เนนิ งานดงั น้ี 1) มคี วามประหยดั (Economy) โดยใช้
เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม ราคาถกู และประชาชนสามารถดาํ เนินการไดเ้ อง 2) มโี ครงสรา้ ง
และกลไกการขบั เคลอ่ื นใหต้ วั ระบบสามารถทาํ งานไดอ้ ยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง

4.2 การมปี ระสทิ ธผิ ล (Effectiveness) หมายถงึ ผลสาํ เรจ็ ของการดาํ เนินงานเฝ้าระวงั ว่า
เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ หรอื เป้าหมายทก่ี าํ หนดไวห้ รอื ไม่ โดยจะมกี ารพจิ ารณา
ตวั ชว้ี ดั (Indicator) ของระบบเฝ้าระวงั การใชส้ ารเสพตดิ ทส่ี รา้ งขน้ ดงั น้ี
1) ความไว (Sensitivity) หมายถึง ความสามารถของระบบเฝ้ าระวังเพ่ือลด
การใช้สารเสพติด ท่จี ะพจิ ารณาความเส่ยี งต่อการการใช้สารเสพติดได้อย่าง
76

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

รวดเรว็ ทนั ต่อการเกดิ เหตุการณ์ หรอื การเปลย่ี นแปลง เทยี บกบั ความครบถว้ น
(Completeness) หรอื ปรมิ าณทต่ี รวจพบจากปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ
2) ความทนั เวลา (Timeliness) หมายถงึ ความสามารถของระบบเฝ้าระวงั การใช้
สารเสพตดิ ในการเช่อื มต่อขอ้ มูล หรอื การรายงานขอ้ มลู เพ่อื ใหส้ ามารถนําเขา้
ขอ้ มูลการใช้สารเสพตดิ ไปใช้ประโยชน์ไดใ้ นเวลาท่เี หมาะสมหรอื ทนั ตามเวลา
ทก่ี าํ หนด
3) การทาํ นายคา่ (Prediction) หมายถงึ ความสามารถของผมู้ ภี มู ปิ ัญญาในทอ้ งถน่ิ
หรอื ผูท้ ่เี ป็นเครอื ข่ายในการเฝ้าระวงั ท่จี ะตรวจพบหรอื ทํานายแนวโน้มความ
เสย่ี งกบั สภาพความเสย่ี งทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ
4) ความถูกต้อง (Validity) และความครบถ้วนของข้อมูล (Completeness)
หมายถึง ความน่าเช่ือถือและความครบถ้วนของขอ้ มูลการใช้สารเสพติดท่ี
รายงาน (Data quality) เม่อื เปรยี บเทยี บกบั สภาวะความเป็นจรงิ
5) ความไม่ซับซ้อน (Simple) หมายถึง ระบบเฝ้าระวังการการใช้สารเสพติด
ท่มี โี ครงสรา้ งไม่ซบั ซ้อนและง่ายต่อการทํางาน โดยเฉพาะการไหลเวียนของ
ขอ้ มลู ขา่ วสาร
6) ความยดื หยุ่น (Flexibility) หมายถึง ความสามารถของระบบเฝ้าระวงั การใช้
สารเสพติดท่ีจะเปล่ียนแปลง หรือปรับให้เข้ากับการพัฒนาของมาตรการ
หรอื การเปลย่ี นแปลงนโยบายแนวทางการการใชส้ ารเสพตดิ แลว้ ความตอ้ งการ
ในการอบรมหรือต้องใช้ทรพั ยากรลงทุนเพิ่มเติมในการเปล่ียนแปลงน้ีเป็น
จาํ นวนมากขน้ึ เท่าไหร่ กจ็ ะเป็นการแสดงใหเ้ หน็ ว่าระบบไมม่ คี วามยดื หยุ่นหรอื
มคี วามจาํ กดั (Rigid) เพม่ิ ขน้ึ เท่านนั้
7) การยอมรบั ได้ (Acceptability) หมายถึง ความสมคั รใจของผู้ท่ีเก่ียวข้องและ
องคก์ รทจ่ี ะเขา้ ร่วมในระบบเฝ้าระวงั การการใชส้ ารเสพตดิ
4.3 ชุมชนมสี ่วนร่วมในการเฝ้าระวงั เพ่อื ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาการใช้สารเสพติดอย่าง
ต่อเน่ือง หมายถึง กระบวนการท่ีประชากรเป้าหมาย เช่น โรงเรียน องค์กร หรือ
เครอื ขา่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมในกระบวนการ
ต่าง ๆ ดงั น้ี
1) การวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาการการใชส้ ารเสพตดิ ของชมุ ชน
2) การวางแผนและการกําหนดโครงสร้าง การจัดตัง้ เครือข่ายการดําเนินงาน
เฝ้าระวงั เพ่อื ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาการใชส้ ารเสพตดิ ในชุมชนตามแผนงาน
โครงการทก่ี าํ หนดร่วมกนั
3) การให้ข้อมูลข่าวสาร การติดต่อส่อื สาร เพ่ือสนับสนุนการสร้างกระแส และ
การระดมพลงั ทางสงั คมในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาการการใชส้ ารเสพตดิ
4) ร่วมรบั ผดิ ชอบในการแสวงหา การระดมทรพั ยากร งบประมาณ สอ่ื วสั ดอุ ุปกรณ์
อ่นื ๆ ตามความจาํ เป็นในการดําเนินการเฝ้าระวงั เพอ่ื ลดการใชส้ ารเสพตดิ เช่น
การฝึกอบรม การศกึ ษาดงู าน

77

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

5) การตดิ ตามประเมนิ ผลรว่ มกบั ชมุ ชน
5. ความต้องการใชส้ ารเสพตดิ ของนกั เรยี นลดลง หมายถงึ การวดั ผลสําเรจ็ จากการดาํ เนินงาน
ตามรูปแบบการเฝ้าระวงั ทก่ี ่อใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงของจํานวนนักเรยี นทม่ี ีพฤตกิ รรมใชส้ ารเสพติด
ทุกระดบั ความเสย่ี งลดลงอย่างต่อเน่ือง
ในการดําเนินการตามกรอบแนวคดิ ไดอ้ อกแบบการวจิ ยั โดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
แบบมสี ่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR) ซ่งึ เป้าหมายของการวจิ ยั ดงั ท่กี ล่าวมาแล้วนัน้
เป็นไปเพ่อื ใหไ้ ดน้ วตั กรรมทผ่ี ่านกระบวนการสร้างและพฒั นาในแต่ละขนั้ ตอนจะไม่สน้ิ สุด หรอื แยกเป็น
อสิ ระต่อกนั แต่จะมผี ลต่อการนําไปใชห้ รอื การทดลองปรบั ปรงุ ในขนั้ ตอนต่อไป
เม่อื นํากรอบแนวคดิ เชงิ พรรณนามาสรา้ งเป็นรปู ภาพกรอบแนวคดิ ได้ ดงั รปู ท่ี 6

ปัจจยั ระดบั บคุ คล การวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา และ
- เพศ อายุระดบั การศกึ ษา ศกั ยภาพของนกั เรยี น และชมุ ชน
- พฤตกิ รรมใชส้ ารเสพตดิ การวางแผน ออกแบบ ทดลอง
- ความรเู้ ท่าทนั สารเสพตดิ พฒั นาและปรบั ปรงุ ระบบเฝ้า
ระวงั โดยอาศยั การมสี ว่ นรว่ ม
ปัจจยั ระดบั ครอบครวั ของนกั เรยี นและชมุ ชน
- พกั อาศยั กบั พอ่ แม่ ระบบเฝ้าระวงั ทพ่ี งึ ประสงค์
- พ่อแมใ่ ชส้ ารเสพตดิ - ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
- ความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั - นกั เรยี น และชมุ ชน มสี ว่ นร่วม

ปัจจยั ระดบั สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม ในการเฝ้าระวงั เพ่อื ป้องกนั
- เพอ่ื น และแกไ้ ขปัญหาการใชส้ าร
- คนรจู้ กั เสพตดิ
- มลทนิ ทางสงั คม

ความตอ้ งการใชส้ ารเสพตดิ ใน
นกั เรยี น ลดลงอย่างต่อเน่ือง
รปู ท่ี 6 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั และการพฒั นาระบบเฝ้าระวงั เพ่อื ลดการใชส้ ารเสพตดิ
โดยการมสี ว่ นรว่ มของนกั เรยี น

78

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

3.2 กรอบแนวคดิ แบบจาํ ลองหรอื ฟังกช์ นั ทางคณิตศาสตร์ เป็นการใชส้ ญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์
ในการแสดงแนวคดิ ทฤษฎี หรอื ความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปรต้นตวั เดยี วกบั ตวั แปรตาม หรอื ตวั แปรต้น
หลายตวั กบั ตวั แปรตามในรปู แบบของสมการ ทําใหง้ ่ายต่อการวเิ คราะหห์ าความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปร
ทม่ี คี วามชดั เจน อาทิ y = f(x) หรอื y = f(x1,x2,x3,…,x n) เป็นตน้

ตวั อย่างแบบจาํ ลองทางคณติ ศาสตร์
การวิจยั เรอ่ื ง การศกึ ษาตวั แบบทาํ นายสถานการณ์การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพตดิ ของ
ประเทศไทย. (พนู รตั น์ ลยี ตกิ ลุ , 2558)

โมเดลโค้งพฒั นาการเพอ่ื ทาํ นายสถานการณ์ปัญหาสารเสพติดของประเทศไทย

รปู ที่ 7 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั (Conceptual framework)
ISITU หมายถึง คะแนนเรมิ่ ตน้ สถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ เฉลย่ี
SSITU หมายถึง คะแนนความชนั สถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ เฉลย่ี
f หมายถงึ ตวั แปรแฝงสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ รายปี
Y หมายถงึ ตวั แปรสงั เกตไดท้ ม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ
e หมายถงึ ความคาดเคล่อื นของตวั แปรสงั เกตได้
สถานการณ์ปัญหายาเสพติดของประเทศไทยปี พ.ศ. 2554 (f 8) = 0.991 (อตั ราผู้เขา้ รับ
การบําบัดใช้ยาร่วมกนั 2554 (Y128)) + 0.926 (อัตราผู้เข้ารับการบําบัดใช้ยาสลับกัน2554 (Y138))
+ 0.915 (อตั ราการบาํ บดั รกั ษาสมคั รใจ 2554 (Y148)) + 0.898 (อตั ราผใู้ ชย้ าเสพตดิ แบบสบู 2554 (Y158))
f หมายถึง ตวั แปรแฝงสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ รายปี
Y หมายถึง ตวั แปรสงั เกตไดท้ ม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อสถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ

79

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ตัวช้ีวัดสถานการณ์ปัญหายาเสพติดท่ีได้จากผลการศึกษา ทัง้ 4 ตัวช้ีวัด ซ่ึงประกอบด้วย
อตั ราผเู้ ขา้ รบั การบําบดั ใชย้ าร่วมกนั อตั ราผเู้ ขา้ รบั การบําบดั ใชย้ าสลบั กนั อตั ราการบาํ บดั รกั ษาสมคั รใจ
ผเู้ ขา้ บาํ บดั การเสพแบบกนิ มาวเิ คราะหโ์ ดยปรบั ตามค่าคา่ สมั ประสทิ ธคิ์ ะแนนองคป์ ระกอบ

3.3 กรอบแนวคดิ แบบแผนภาพ เป็นการใชแ้ ผนภาพทแ่ี สดงแนวคดิ ทฤษฎี หรอื ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งตวั แปรทม่ี คี วามเชอ่ื มโยงซง่ึ กนั และกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ภาพในการพจิ ารณาทช่ี ดั เจนมากขน้ึ

ตวั แปรต้น (เหต)ุ ตวั แปรตาม(ผล)
1................... 1...................
2……………. 2…………….
3……………. 3…………….

ตวั แปรต้น (เหต)ุ ตวั แปรตาม(ผล)
1................... 1...................
2……………. 2…………….
3…………….

ตวั แปรต้น (เหต)ุ
1...................
2…………….
3…………….

รปู ท่ี 8 กรอบแนวคดิ แบบแผนภาพ
ตวั อยา่ งกรอบแนวคดิ ของการวจิ ยั แบบแผนภาพ
การวิจยั เรอื่ ง ปัจจยั ทม่ี คี วามสมั พนั ธต์ ่อพฤตกิ รรมการใชส้ ารระเหย ในชมุ ชนจงั หวดั ขอนแกน่

(พนู รตั น์ ลยี ตกิ ุล, 2556)
จากการศกึ ษาทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วกบั ปัจจยั ทท่ี าํ ใหเ้ สพยาเสพตดิ ทผ่ี า่ นมา และนํามาทบทวน
สรปุ เพ่อื พฒั นาเป็นกรอบแนวคดิ ในการศกึ ษาครงั้ น้ี (รปู ท่ี 9)

80

ตวั แปรอิสระ หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ปัจจยั ส่วนบคุ คล ตวั แปรตาม
- เพศ - อายุ
- การศกึ ษา - อาชพี การเสพ
- การมโี รคประจาํ ตวั สารระเหย

ปัจจยั ดา้ นครอบครวั
- ลกั ษณะครอบครวั
- สถานภาพสมรส
- เศรษฐกจิ ของครอบครวั
- ลกั ษณะทพ่ี กั อาศยั
- ปัญหาครอบครวั

ปัจจยั เอื้อ
- ดา้ นสงั คม
- การคบเพอ่ื นทเ่ี สพสารเสพตดิ
- ปัญหาสขุ ภาพจติ
- การอยใู่ กลแ้ หลง่ จาํ หน่าย

ปัจจยั ดา้ นพฤติกรรมการใช้สารเสพติด (มีคาํ ถาม 8 ขอ้ )
1) เคยใชส้ ารเหลา่ น้บี า้ งหรอื ไม่
2) ใน 3 เดอื นทผ่ี า่ นมาใชส้ ารเหลา่ น้ีบอ่ ยแคไ่ หน
3) ใน 3 เดอื นทผ่ี า่ นมามคี วามปรารถนาทจ่ี ะใชส้ ารเหล่าน้บี อ่ ยแคไ่ หน
4) ใน 3 เดอื นทผ่ี ่านมามปี ัญหาทางดา้ นสขุ ภาพ สงั คม เศรษฐกจิ หรอื ปัญหาทางขอ้ กฎหมายจาก

การใชส้ ารเหล่าน้บี อ่ ยครงั้ แค่ไหน
5) ใน 3 เดือนท่ีผ่านมาล้มเหลวในการปฏบิ ตั ิภารกจิ ประจําวนั เน่ืองจากการใช้สารเหล่าน้ี

บอ่ ยครงั้ แค่ไหน
6) เคยมเี พอ่ื น ญาติ หรอื บุคคลอน่ื วติ กกงั วลเกย่ี วกบั การใชส้ ารเหล่าน้บี อ่ ยครงั้ แค่ไหน
7) เคยพยายามทจ่ี ะเลกิ หรอื ลดการใชส้ ารเหลา่ น้บี า้ งหรอื ไม่
8) เคยเสพสารเหลา่ น้ีดว้ ยวธิ ฉี ดี บา้ งหรอื ไม่

รปู ท่ี 9 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั (Conceptual framework)
81

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

จากรปู กรอบแนวคดิ จะเหน็ วา่ ปัจจยั ทม่ี คี วามสมั พนั ธต์ ่อพฤตกิ รรมการใชส้ ารระเหยประกอบดว้ ย
4 ปัจจยั อนั ไดแ้ ก่ 1. ปัจจยั ส่วนบุคคล 2. ปัจจยั ดา้ นครอบครวั 3. ปัจจยั เออ้ื และ 4. ปัจจยั ดา้ นพฤตกิ รรม
การใชส้ ารเสพตดิ โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

ตวั แปรอิสระ
1. ปัจจยั สว่ นบุคคล ประกอบดว้ ย เพศ อายุ การศกึ ษา อาชพี โรคประจาํ ตวั และ ภาวะสขุ ภาพ
2. ปัจจัยด้านครอบครัว ประกอบด้วย ลักษณะครอบครัว สถานภาพสมรส เศรษฐกิจของ

ครอบครวั ลกั ษณะทพ่ี กั อาศยั ปัญหาครอบครวั
3. ปัจจยั เอ้อื ประกอบดว้ ย ดา้ นสงั คม การคบเพ่อื นทเ่ี สพสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจติ และ

การอยใู่ กลแ้ หลง่ จาํ หน่าย
4. ปัจจยั ดา้ นพฤตกิ รรมการใชส้ ารเสพตดิ ประกอบดว้ ย คาํ ถาม 8 ขอ้ เพอ่ื ใชป้ ระเมนิ ความเสย่ี ง

ในการเสพสารระเหย
ตวั แปรตาม คอื พฤตกิ รรมการเสพสารระเหย
4. แหลง่ ข้อมูลของกรอบแนวคิดในการวิจยั ในการสรา้ งกรอบแนวคดิ การวจิ ยั มแี หล่งขอ้ มลู
ทค่ี วรศกึ ษาดงั น้ี (สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธุ,์ 2546)
4.1 ผลงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เป็นการศกึ ษาผลการวจิ ยั ทม่ี คี ุณภาพ ถูกต้อง น่าเช่อื ถือ ในการวจิ ยั
แต่ละเร่อื งมกี ารศกึ ษาตวั แปรอะไรบ้างในประเดน็ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กบั ประเดน็ ทผ่ี ูว้ จิ ยั สนใจ และความสาํ คญั /
ขอ้ คน้ พบของตวั แปรทศ่ี กึ ษาเป็นอย่างไร เพ่อื ทผ่ี วู้ จิ ยั จะไดน้ ํามากําหนดเป็นตวั แปรทม่ี ุ่งศกึ ษาในกรอบ
แนวความคดิ ของตนเองให้เกิดความถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์ในงานวจิ ยั ของตนเองให้มากท่ีสุด
ดังนัน้ ในการศึกษาผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องผู้วิจัยจะต้องศึกษางานวิจัยท่ีเก่ียวข้องให้มากท่ีสุดเท่าท่ี
จะดาํ เนนิ การได้ ทแ่ี สดงความรอบรขู้ องผวู้ จิ ยั ในประเดน็ นนั้ ๆ
4.2 ทฤษฎีทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เป็นการศกึ ษาทฤษฎีท่คี าดว่าน่าจะมีส่วนเก่ยี วขอ้ งกบั ตวั แปรทต่ี ้องการ
ศกึ ษาทงั้ หมดจะทําใหไ้ ดค้ วามชดั เจน/ความถูกต้องของตวั แปรเพมิ่ ขน้ึ และความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปร
กบั ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในเชงิ สาเหตุและผลทม่ี พี น้ื ฐานจากทฤษฎสี ง่ ผลใหง้ านวจิ ยั ทศ่ี กึ ษา มคี วามชดั เจน
และมเี หตุผลทน่ี ่าเชอ่ื ถอื มากขน้ึ ดว้ ย
4.3 แนวคิดของผู้วจิ ยั เป็นการนําเสนอกรอบแนวคดิ ของตวั แปรหรอื ความสมั พนั ธ์ของตัวแปร
กบั ปรากฏการณ์ท่ีได้จากประสบการณ์การเรียนรู้หรือการทํางานของผู้วิจัย แล้วนํามาสงั เคราะห์
เป็นกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ทต่ี อ้ งการศกึ ษา
5. ประโยชน์ของกรอบแนวคิดการวิจยั ดงั น้ี (พชิ ติ ฤทธจิ์ รญู , 2544)
5.1 ทราบวา่ ตวั แปรทม่ี งุ่ ศกึ ษามกี ต่ี วั แปร และมตี วั แปรอะไรบา้ งทม่ี ุ่งศกึ ษา และตวั แปรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
5.2 กําหนดแบบการวิจัยท่ีเหมาะสมกบั ตัวแปรท่ีมุ่งศึกษา และควบคุมตัวแปรท่ีไม่เก่ียวข้อง
จะทาํ ใหก้ ารวจิ ยั มคี วามเทย่ี งตรงภายในเพมิ่ ขน้ึ
5.3 เป็นแนวทางในการวางแผนในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลของตวั แปรท่ตี ้องการไดเ้ หมาะสมกบั
ลกั ษณะของตวั แปรและชว่ งเวลา

82

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

5.4 พจิ ารณาภาพรวมของความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปรว่ามคี วามสมั พนั ธก์ นั อย่างไร ทําให้การ
เลอื กสถติ ทิ น่ี ํามาใชก้ ารวจิ ยั มคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั

5.5 ใชใ้ นการอภปิ รายความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปรไดอ้ ย่างมเี หตุผล
6. ข้อบกพรอ่ งของการกาํ หนดกรอบแนวความคิดในการกาํ หนดกรอบแนวคิดการวิจยั
มกั จะพบขอ้ บกพรอ่ งในการกาํ หนด ดงั น้ี (เทยี นฉาย กรี ะนนั ทน์, 2544)
6.1 กําหนดความหมายของแนวความคิดในเชิงปฏิบัติท่ีไม่ชัดเจน (นิยามเชิงปฏิบัติการ
ของตวั แปรไมช่ ดั เจน) และขาดความเชอ่ื มโยงระหว่างนยิ ามเชงิ ทฤษฎกี บั นยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั ิ
6.2 กําหนดจากการศึกษาทฤษฎี หรือผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องอย่างไม่เพียงพอท่ีจะแสดง
ความเป็นเหตุและผลระหว่างตวั แปรทม่ี ่งุ ศกึ ษา
6.3 กาํ หนดอย่างไม่รอบคอบในการพจิ ารณาตวั แปรทเ่ี กย่ี วขอ้ งอ่นื ๆ ทอ่ี าจจะมอี ทิ ธพิ ลต่อตวั แปร
ทม่ี งุ่ ศกึ ษา หรอื ไมไ่ ดน้ ําตวั แปรทส่ี าํ คญั มากาํ หนดเป็นตวั แปรทม่ี ุ่งศกึ ษา
6.4 กาํ หนดโดยใชส้ ามญั สาํ นึก/ประสบการณ์ของผวู้ จิ ยั ทไ่ี ม่มกี ารอา้ งองิ เชงิ ทฤษฎแี ละเชงิ ประจกั ษ์
ยกเว้นว่าผู้วจิ ยั มีความแน่ใจว่าตนเองมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจและประสบการณ์ท่มี ากเพียงพอ และได้รบั
การยอมรบั

สรปุ

ในการทําวจิ ยั กจิ กรรมทจ่ี ําเป็นอย่างยงิ่ ประการหน่ึง คอื การศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง
กบั การวิจยั ซ่ึงจะช่วยให้ได้แนวทางในการวิจยั ช่วยให้วจิ ยั ได้สําเร็จอย่างมีคุณภาพ นอกเหนือจาก
การช่วยให้ได้ปัญหาในการวจิ ยั สําหรบั ผู้วิจยั บางคน เอกสารท่เี ก่ียวข้องกบั การวจิ ัย หมายถึง ตํารา
หนังสอื เอกสารอ้างอิง รายงานการวิจยั บทคดั ย่อ การวิจัย วารสาร นิตยสาร ฯลฯ ท่มี เี น้ือหาสาระ
เกย่ี วขอ้ งหรอื สอดคลอ้ งกบั เรอ่ื งทว่ี จิ ยั ทส่ี ามารถอา้ งองิ ได้

การศึกษาทบทวนเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องมีจุดประสงค์สําคัญ คือ ให้ผู้วิจัยเกิดความรู้
ความเขา้ ใจ แนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี ตลอดจนตวั แปรท่เี กย่ี วขอ้ งกบั เร่อื งทก่ี ําลงั ศกึ ษา ช่วยใหส้ ามารถ
เขียนกรอบแนวคิดในการวิจัยและสมมติฐานการวิจัยได้อย่างมีพ้ืนฐานทางทฤษฎีรองรับและ
ทาํ ใหเ้ ช่อื มโยงความคดิ ความสมั พนั ธก์ บั ผลงานวจิ ยั ในอดตี และงานวจิ ยั ทท่ี ํา ทฤษฎแี ละเอกสารงานวจิ ยั
ท่ีเก่ียวข้องมีหลายประเภท ต้องทําความเข้าใจและการนําเสนอสาระของการศึกษาทําได้ 2 แบบ
คอื แบบเสนอทุกแนวคดิ กบั เสนอทล่ี ะแนวคดิ ในองคป์ ระกอบของเอกสารจะมี 4 ดา้ น คอื องค์ความรู้
ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง การสังเคราะห์เน้นการพัฒนามาเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยหรือตัวแบบ
ของการวจิ ยั และสว่ นทเ่ี น้นการอธบิ ายสมมตฐิ านการวจิ ยั

กรอบความคดิ ในการวจิ ยั เป็นแนวทางความคดิ ของผวู้ จิ ยั ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธข์ องตวั แปร
ต่าง ๆ ท่ีใช้ในการวิจยั โดยท่ีมาของกรอบความคิดมาจากทฤษฎีหรืองานวิจัยท่ีเก่ียวข้องท่ีผู้วิจัย
ทําการศึกษาและนําแสดงไว้เป็นแผนภูมิกรอบความคิดจะช้ีให้เห็นว่า ผู้วิจยั ต้องทําการเก็บข้อมูล
ของตัวแปรใดบ้าง และจะวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไรตลอดจนใช้เป็นแนวทางในการสร้างเคร่ืองมือ
ในการวจิ ยั ดว้ ย

83

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

เอกสารอ้างอิง

จรสั สวุ รรณเวลา. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการบรรยายในการประชมุ ปฏิบตั ิการ
เรอื่ งกระบวนการวิจยั ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย.์ กรงุ เทพฯ: สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์
การแพทยจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

จุมพล สวสั ดยิ์ ากร. บรรณาธกิ าร. (2520). หลกั และวิธีการวิจยั ทางสงั คมศาสตร.์ กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พส์ วุ รรณภูม.ิ

ดษุ ฏี โยเหลา, ลดั ดาวลั ย์ เกษมเนตร, ชยั วฒั น์ องศอ์ าษา. การศกึ ษาปัจจยั บ่งชี้สาเหตกุ ารใช้และ
การติดสารระเหยของเดก็ และเยาวชนในกรงุ เทพมหานครและจงั หวดั ยโสธร. กรงุ เทพฯ:
สถาบนั วจิ ยั พฤตกิ รรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร; 2540.

เทยี นฉาย กรี ะนนั ท์ และจรญั จนั ทลกั ขณา. (2534). ความรพู้ นื้ ฐานในการวิจยั . หน่วยที่ 1 ในเอกสาร
การสอนชุดวิชา 20302 สถิติวิจยั และการประเมินผลการศกึ ษา. นนทบรุ :ี
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

เทยี นฉาย กรี ะนนั ท.์ (2544). สงั คมศาสตรว์ ิจยั . พมิ พค์ รงั้ ท่ี 5. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั

ธวชั ชยั วรพงศธร. (2543). หลกั การวิจยั ทางสาธารณสุขศาสตร.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4. กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .

นงลกั ษณ์ วริ ชั ชยั . (2542). โมเดลลิสเรล สถิติวิเคราะหส์ าํ หรบั การวิจยั . กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

พชิ ติ ฤทธจิ์ รญู . (2544). ระเบียบวิธีการวิจยั ทางสงั คมศาสตร.์ กรุงเทพฯ: คณะครศุ าสตร์
สถาบนั ราชภฏั พระนคร

พนู รตั น์ ลยี ตกิ ลุ . (2556). ปัจจยั ที่มีความสมั พนั ธต์ ่อพฤติกรรมการใช้สารระเหย ในชุมชนจงั หวดั
ขอนแก่น. วารสารการพฒั นาสขุ ภาพชุมชน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 2556; 1(1): 35-52.

พนู รตั น์ ลยี ตกิ ุล. (2558). การศึกษาตวั แบบทาํ นายสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของปัญหายาเสพติด
ของประเทศไทย. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าการพฒั นาสขุ ภาพชุมชน
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .

ภริ มย์ กมลรตั น์กุล และคณะ. (2542). หลกั การทาํ วิจยั ใหส้ าํ เรจ็ . กรุงเทพฯ:
เทก็ ซแ์ อนดเ์ จอรน์ ลั พบั ลเิ คชนั่ จาํ กดั .

ภริ มย์ กมลรตั น์กลุ . (2531). หลกั เบอื้ งต้นในการทาํ วิจยั . แพทยช์ นบท, ปีท่ี 8: 8 – 21.
มดี ธนะมนั่ และทสั สนี นุชประยรู . บรรณาธกิ าร. (2541). การวิจยั ชมุ ชนทางการแพทย.์ กรุงเทพฯ:

ภาควชิ าเวชศาสตรป์ ้องกนั และสงั คม คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
มานพ คณะโต. โครงการศกึ ษาสถานการณ์และการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษา

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: เครอื ขา่ ยพฒั นาวิชาการและข้อมลู สารเสพติด
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น; 2550.

84

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ยุวดี ฤาชา และคณะ. (2523). วิจยั ทางการพยาบาล. กรงุ เทพ: สยามศลิ ป์ การพมิ พ.์
เรณา พงษ์เรอื งพนั ธุ์ และประสทิ ธิ์ พงษ์เรอื งพนั ธุ.์ (2541). การวิจยั ทางการพยาบาล. ชลบุร:ี

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา.
วญั ญา วศิ าลาภรณ์. (2531). การวิจยั ทางการศึกษา หลกั การและแนวปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ:

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร.
วจิ ติ ร ศรสี พุ รรณ และเทยี นศร ทองสวสั ด.ิ์ (2521). วิจยั ทางการพยาบาล. เชยี งใหม:่

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
สมเดจ็ กวั้ พทิ กั ษ.์ (2560). การพฒั นาระบบเฝ้าระวงั เพ่อื ลดความต้องการใช้สารเสพติด โดยการมี

สว่ นรว่ มของนกั เรยี นอาํ เภอคง จงั หวดั นครราชสมี า. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ
สาขาวชิ าการพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชนบณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.
สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธ.ุ์ (2532). "การวิจยั ทางสงั คมศาสตร"์ หน่วยที่ 13 ในเอกสารการสอน
ชุดวิชา10131 มนษุ ยก์ บั สงั คม. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธ.ุ์ (2546). ระเบียบวิธีการวิจยั ทางสงั คมศาสตร.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 12. กรงุ เทพฯ :
สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์
Kerlinger Fred N. (1986). Foundation of Behavioral Research. 3 nd. New York: Holt, Rinehart
and Wiston, Inc.
Manchi, Lawrence A., McEvoy, Brenda T., 2009, The Literature Review: six steps to success.
Corwin Press A Sage Company, Thousand Oaks, CA.
Cooper, H., (2010). Research Synthesis and Meta-Analysis a step by step approach. 4th edition,
Sage Publication, Thousand Oaks, CA.

85

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

คาํ ถามท้ายบท
1. การคน้ ควา้ เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานวจิ ยั มคี วามสาํ คญั อย่างไร

ก. ช่วยใหม้ องเหน็ แนวทางในการแกป้ ัญหา
ข. ชว่ ยทาํ ใหเ้ หน็ ตวั แปรชดั เจนขน้ึ
ค. ชว่ ยใหม้ องเหน็ ปัญหาในการวจิ ยั ชดั เจนขน้ึ
ง. ช่วยใหเ้ ลอื กวธิ ดี าํ เนนิ การศกึ ษาไดถ้ กู ตอ้ ง
2. ขอ้ ใดถูกเกย่ี วกบั วตั ถุประสงคข์ องการทบทวนวรรณกรรม
ก. เพ่อื ทบทวนสถานภาพขององคค์ วามรแู้ ละงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ข. เพ่อื สรา้ งกรอบแนวคดิ การวจิ ยั และ สมมตฐิ านการวจิ ยั
ค. เพ่อื กาํ หนดตวั แปรและวธิ กี ารวดั ตวั แปร การใหค้ าํ นิยามตวั แปร
ง. ถูกทุกขอ้
3 ขอ้ ใดเป็นงานวจิ ยั ทม่ี คี ณุ คา่
ก. มกี ารตงั้ และทดสอบสมมตฐิ าน
ข. มกี ารใชส้ ถติ ขิ นั้ สงู
ค. มรี ะเบยี บวธิ วี จิ ยั ทถ่ี ูกตอ้ ง
ง. ผเู้ ขยี นมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก
4. ลกั ษณะงานวจิ ยั ตรงกบั ขอ้ ใดมากทส่ี ดุ
ก. สามารถพสิ จู น์ไดท้ กุ ขนั้ ตอน
ข. หาคาํ ตอบไดด้ ว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์
ค. มขี นั้ ตอนและระบบการศกึ ษาอยา่ งสมบรู ณ์
ง. เป็นการศกึ ษาความสมั พนั ธข์ องสงิ่ ทต่ี อ้ งการศกึ ษา
5. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
ก. ความรจู้ ากผลงานวจิ ยั
ข. ความรจู้ ากประสบการณ์ทางคลนิ ิก
ค. ความรจู้ ากผปู้ ่วย ผรู้ บั บรกิ าร
ง. ความรจู้ ากการปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มา

86

บทที่ 5

การออกแบบการวจ� ยั

การออกแบบการวิจัย เป็ นความพยายามเลือกวิธีการดําเนินการวิจัยเพ่ือให้ได้คําตอบ
ปัญหาการวจิ ยั ทถ่ี ูกต้องเช่อื ถอื ได้ และมคี วามเป็นไปไดท้ ่จี ะดําเนินการทําวจิ ยั ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
สง่ิ สําคญั ทผ่ี ู้ออกแบบการวจิ ยั ตอ้ งคํานึงถงึ คอื การพยายามทจ่ี ะควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ใน
การวจิ ยั เพ่อื ใหผ้ ลการวจิ ยั ทไ่ี ดถ้ ูกตอ้ งแม่นตรง ซง่ึ ทาํ ไดโ้ ดยการควบคมุ ตวั แปรต่าง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั

ประเภทการวิจยั

การจําแนกประเภทการวิจัยสามารถทําได้หลายวิธี ทัง้ น้ี ข้ึนกับว่าใช้อะไรเป็ นเกณฑ์
ในการจําแนกประเภท สําหรับการจําแนกรูปแบบการวิจัยท่ีจะกล่าวถึงในบทน้ีเป็ นการจําแนก
ตามวิธีดําเนินการวิจัย ซ่ึงสามารถแบ่งได้เป็ น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ การวิจัยโดยการทดลอง
(Experimental research) เป็นการวิจัยท่ีนักวิจัยเข้าไปเก่ียวข้องแทรกแซง หรือกระทําการอย่างใด
อย่างหน่ึงในสง่ิ ท่สี นใจ แล้ววดั ผลจากการกระทํานัน้ ๆ ซง่ึ การแทรกแซงอาจหมายถึงการใหส้ ุขศกึ ษา
การให้วัคซีน หรือ การให้การรกั ษาก็ได้ และการวิจัยโดยปราศจากการทดลอง การวิจยั เชิงสงั เกต
(Observational study) เป็ นการวิจัยท่ีนักวิจัยเพียงแต่พรรณนาหรือวิเคราะห์ส่ิงท่ีสนใจโดยไม่มี
การแทรกแซงใด ๆ

1) งานวิจัยเชิงทดลอง (Experimental study) เป็ นการศึกษาท่ีผู้วิจัยมีส่วนโดยตรง
ในการเปล่ียนแปลง (Modify) สาเหตุหรือปัจจัยเส่ียงท่ีมีการกําหนดและให้ส่งิ ทดลอง (Intervention
หรือ Experimental) แก่ผู้ป่ วย จดั เป็นการทดลองท่กี ระทํากบั มนุษย์จึงจําเป็นต้องคํานึงถึงจริยธรรม
(Ethic) ในการทาํ วจิ ยั รปู แบบการศกึ ษา เชน่ Clinical trials, Field trials และ Community trials เป็นตน้

2) งานวิจัยเชิงสังเกต (Observational study) เป็นการศึกษาท่ีผู้วิจัยไม่มีการกระทําใด ๆ
ต่อกลุ่มตวั อย่าง (Non-intervention) ปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติ ผูว้ จิ ยั มหี น้าทเ่ี พยี งบนั ทึก
และวดั ผลทต่ี ้องการ การศกึ ษาชนิดน้ีมที งั้ การศกึ ษาเชงิ พรรณนา (Descriptive) เช่น Case report และ
Case series และการศึกษาเชิงวิเคราะห์ (Analysis) เช่น Cohort, Case control study และ Cross-
sectional study

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

การวจิ ยั โดยการ การวจิ ยั เพ่อื สบื คน้ หาขอ้ มลู
ทดลอง(Experimental) (Exploratory study)
มกี ารกาํ หนดปัจจยั เสย่ี ง
รปู แบบ หรอื สงิ่ แทรกแซง การวจิ ยั เชงิ ศกึ ษา ณ จุดเวลาหน่ึง
การวจิ ยั พรรณนา (Cross-sectional)
ไม่มกี ารกาํ หนดปัจจยั เสย่ี ง (Descriptive study)
หรอื สง่ิ แทรกแซง ศกึ ษาระยะยาว
ไมม่ ีกลุ่มเปรียบเทียบ (Longitudinal)
การวจิ ยั เชงิ สงั เกต
(Observational research) มีกลุ่มเปรียบเทียบ ศกึ ษา ณ จุดเวลาใดเวลา
หน่ึง
การวจิ ยั เชงิ
วเิ คราะห์ (Comparative cross-sectional)
(Analytical study) ศกึ ษาชนดิ ไปขา้ งหน้า
(Prospective/Cohort study)
ศกึ ษาชนดิ ยอ้ นหลงั

(Retrospective/
Case-control study)

รปู ท่ี 10 จาํ แนกรปู แบบของการวจิ ยั ตามวธิ ดี าํ เนนิ การวจิ ยั

5.1 การวิจยั เชิงสงั เกตหรือปราศจากการทดลอง (Observational/Non experimental
research)

จาํ แนกรปู แบบไดด้ งั น้ี 1) การวจิ ยั เพ่อื สบื คน้ หาขอ้ มลู (Exploratory research)
2) การวจิ ยั เชงิ พรรณนา (Descriptive research) และ 3) การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะห์ (Analytical research)

5.1.1 การวิจยั เพอื่ สบื ค้นหาขอ้ มลู (Exploratory research)
เป็นลกั ษณะของการวิจยั เพ่ือหาข้อมูลพ้ืนฐาน ข้อเท็จจริง หรือรายละเอียดของเหตุการณ์
บางอย่าง การทต่ี อ้ งการทาํ วจิ ยั ในลกั ษณะน้ี กเ็ น่ืองมาจากไม่มขี อ้ มลู เบอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั เรอ่ื งหรอื เหตุการณ์
นัน้ ๆ อย่เู ลย หรอื มนี ้อยมากไม่พอทจ่ี ะทําความเขา้ ใจในเหตุการณ์นัน้ ๆ ได้ จงึ ไม่สามารถทจ่ี ะอธบิ าย
เหตุการณ์โดยใช้พ้ืนความรู้และข้อมูลท่มี อี ยู่ได้ งานวจิ ยั ประเภทน้ีจงึ เป็นเพียงแนวทางท่จี ะหาข้อมูล
บางประการ หรอื อาจใชเ้ ป็นขนั้ ตอนตน้ ๆ สาํ หรบั ประเภทการวจิ ยั ทส่ี งู ขน้ึ โดยใชผ้ ลการวจิ ยั น้ีเป็นขอ้ มูล
ในการตงั้ สมมตฐิ าน หรอื ใชเ้ ป็นกรอบการวางแผนการวจิ ยั ในเร่อื งทเ่ี กย่ี วขอ้ งต่อไป

88


Click to View FlipBook Version