The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WANVIPHA CHAIYASING, 2022-04-18 22:01:56

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ในการดาํ เนนิ การวจิ ยั เพ่อื หาขอ้ มลู พน้ื ฐาน มกั เป็นการทาํ วจิ ยั ขนาดเลก็ ๆ หรอื ทาํ ในเวลาสนั้ ๆ
เพ่อื หาขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ทจ่ี ะชว่ ยใหท้ ราบถงึ ลกั ษณะของปัญหาหรอื ความตอ้ งการในการแกป้ ัญหา ตลอดจน
ความเป็นไปไดข้ องการแกป้ ัญหา

ตวั อยา่ ง
ตวั อยา่ งงานวจิ ยั ของ สมปอง พรหมพลจร และ ปิยธดิ า คหู ริ ญญั รตั น์ (2559) เร่อื ง ภาวะสขุ ภาพ

ของผู้กรีดยางพาราในอําเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี เป็ นการศึกษาข้อมูลเบ้ืองต้นเก่ียวกับ
ภาวะสุขภาพผู้กรีดยางพารารวมถึงศึกษาพฤติกรรมสุขภาพ สํารวจสภาพแวดล้อมและลกั ษณะ
ในการทํางาน และศึกษาอุบตั ิเหตุท่เี กิดข้นึ จากการทํางานของผู้กรดี ยางพารา ในอําเภอบ้านผือ
จงั หวดั อดุ รธานี

ในการวิจัยเพ่ือหาข้อมูลเบ้ืองต้น นักวิจัยอาจทําการศึกษาเพ่ิมเติมเพ่ือหาคําอธิบาย
ความแตกต่างท่ีสงั เกตได้ เพ่ือค้นหาสาเหตุของปัญหา ซ่ึงกรณีน้ีนักวิจยั อาจต้องทําการเปรยี บเทยี บ
ระหว่างกลุม่ โดยเฉพาะการเปรยี บเทยี บระหวา่ งกลุ่มทม่ี คี วามแตกต่างกนั มาก ๆ จะชว่ ยใหเ้ ป็นประโยชน์
ในการคน้ พบปัญหาของการบรหิ ารจดั การได้ ตวั อย่างเช่น

- ชุมชนแห่งหน่ึงมคี วามร่วมมอื ของชุมชนดี ในการดําเนินกจิ กรรมสาธารณสขุ เปรยี บเทยี บกบั
ชุมชนทไ่ี ม่ใหค้ วามร่วมมอื ในการดาํ เนนิ กจิ กรรม เพ่อื คน้ หาสาเหตุทม่ี ผี ลต่อความร่วมมอื ของชมุ ชน

- สถานอี นามยั แห่งหน่งึ ใหบ้ รกิ ารไดเ้ ป็นทพ่ี งึ พอใจ ในขณะทส่ี ถานีอนามยั อกี แห่งหน่ึงใหบ้ รกิ าร
ไดไ้ มด่ ี สามารถเปรยี บเทยี บกนั เพ่อื คน้ หาสาเหตุของขอ้ ขดั ขอ้ งในการใหบ้ รกิ ารในระดบั ชุมชน

การดาํ เนินการวจิ ยั เพอ่ื หาขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ซง่ึ ดาํ เนินการโดยใชร้ ะยะเวลาสนั้ ๆ หรอื “การประเมนิ
แบบเร่งด่วน” มกั จะใหข้ อ้ มูลเบอ้ื งต้นทม่ี ากพอ ช่วยในการวางแผนเพ่อื การดําเนินการในส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ไดร้ ะดบั หน่ึง อย่างไรกต็ าม สาํ หรบั การศกึ ษาในระดบั ทใ่ี หญ่กวา่ นัน้ จะตอ้ งดาํ เนนิ การโดยระเบยี บวธิ วี จิ ยั
ทเ่ี ป็นการศกึ ษาเปรยี บเทยี บอยา่ งแทจ้ รงิ เพอ่ื สามารถทดสอบความแตกต่างของปัจจยั ระหวา่ งกลุม่ ได้

5.1.2 การวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive research)
คือ การวิจัยท่ีไม่มีกลุ่มควบคุมหรือกลุ่มเปรียบเทียบ (Control or Comparison group)
ส่วนใหญ่แลว้ มกั จะเป็นการทําวจิ ยั แบบสงั เกตทบ่ี รรยายถงึ Pattern ของโรคใด ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยสมั พนั ธ์
กับตัวแปร เช่น บุคคล สถานท่ี เวลา ข้อมูลท่ีได้จากการวิจัยเชิงพรรณนาน้ีมีประโยชน์อย่างมาก
แก่นกั วางแผนงานสาธารณสขุ หรอื นักระบาดวทิ ยา สาํ หรบั นักระบาดวทิ ยาแลว้ การทําวจิ ยั เชงิ พรรณนา
ทํา ให้ไ ด้ข้อ มูล พ้ืนฐ าน เ บ้ือ ง ต้น แ ละ ใช้เ ป็ น แ นว ท าง ใน ก าร ส ร้า ง สม มุติฐ าน เ พ่ือ นํ าไ ปสู่ก าร ทําวิจัย
เชงิ วเิ คราะหห์ รอื เชงิ ทดลอง เพอ่ื ศกึ ษาหาความสมั พนั ธข์ องปัจจยั เสย่ี งกบั การเกดิ โรคนนั้ ๆ ต่อไป
นักวจิ ยั จะเลอื กทําวิจยั เชิงพรรณนาเม่ือต้องการศกึ ษาถึงการกระจาย หรือแนวโน้มของโรค
ในชุมชนนนั้ ๆ โดยอาจจะศกึ ษาถงึ อนั ตราย (Mortality rate) ของโรคใดโรคหน่งึ หรอื อตั ราป่วย (Morbidity
rate) เชน่ ความชกุ (Prevalence) หรอื อบุ ตั กิ ารณ์ (Incidence) ของโรคนนั้ ๆ กไ็ ด้ ในทางคลนิ กิ การวจิ ยั
เพ่ือศึกษาถึงคุณค่าของการตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic test) จัดเป็น Descriptive studies เช่นกัน
ซง่ึ จะไดก้ ลา่ วถงึ รายละเอยี ดในตอนต่อไป

89

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ชนิดของการวิจยั เชิงพรรณนา
ถา้ แบ่งตามระยะเวลาทศ่ี กึ ษา จะแบ่งเป็น 2 ชนดิ คอื
1) การศกึ ษา ณ จุดเวลาหน่ึง (Cross-sectional study) เป็นการศกึ ษาโรคในชว่ งระยะเวลาสนั้ ๆ
หรอื ทจ่ี ดุ เวลาใดเวลาหน่ึง การศกึ ษาแบบน้จี ะเป็นการศกึ ษาหาความชุกของโรค
2) การศกึ ษาระยะยาว (Longitudinal study) เป็นการศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงของตวั แปรทผ่ี วู้ จิ ยั
สนใจจะติดตามดูในกลุ่มตวั อย่างในช่วงระยะเวลาท่ยี าวนาน เช่น สงั เกตดูการเจริญเติบโตของเด็ก
ตงั้ แต่แรกเกดิ และตดิ ตามดพู ฒั นาการไปจนอายุ 15 ปี หรอื การเฝ้าตดิ ตามกลุ่มประชากรทม่ี ภี าวะสขุ ภาพ
ปกติ ตดิ ตามดูอตั ราการเกดิ โรคในช่วงระยะเวลาทส่ี นใจ เป็นการตดิ ตามไปขา้ งหน้า (Prospective) เช่น
สงั เกตดูการเจบ็ ป่ วยของนักเรยี นตงั้ แต่เรม่ิ เขา้ โรงเรยี นจนจบปีการศกึ ษา ซง่ึ จะทาํ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลเก่ยี วกบั
อุบตั กิ ารณ์ของโรค
การศึกษาระยะยาวนอกจากจะศึกษาไปข้างหน้าแล้วยังอาจทําการศึกษาย้อนหลังด้วย
(Retrospective) เป็นการศึกษาโดยย้อนกลับไปดูข้อมูลในอดีต ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ลักษณะ
ของผู้ป่ วยท่ีมารับการรกั ษาในโรงพยาบาล โดยการนําเอาทะเบียนประวตั ิผู้ป่ วยท่ไี ด้รบั การวินิจฉัย
มาทบทวนและวเิ คราะห์แลว้ ทําการสรุปผลการศกึ ษา ซ่งึ การศกึ ษาแบบน้ีอาจเรยี กว่า “Retrospective
chart review”
ตวั อยา่ ง
ตวั อย่างงานวจิ ัยของ สุขุมาล หุนทนทาน (2557) เร่ือง การศึกษาความชุก ความเส่ียง
ทางคลนิ ิก และผลการรกั ษาของทารกแรกเกดิ ท่ีมภี าวะตวั เหลอื ง โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราช
ด่านซ้าย เป็นเร่ืองท่ีผู้วิจยั ได้เก็บรวบรวมข้อมูลตัวเลขเก่ียวกับความชุก ลักษณะความเส่ียง
ทางคลนิ ิก และ ผลการรกั ษาของทารกแรกเกดิ ทม่ี ภี าวะตวั เหลอื งในโรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราช
ด่านซ้าย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบยี นผู้ป่ วยในและผู้ป่ วยนอกของเด็กทารกแรกเกิด
ทไ่ี ดร้ บั การวนิ ิจฉยั เป็น Neonatal jaundice
การศึกษาเชิงพรรณนาเป็นรูปแบบการศึกษาท่ีใช้มากท่ีสุด โดยเฉพาะอย่างย่ิงการศึกษา
ณ จุดเวลาหน่ึง หรอื การสาํ รวจ
5.1.3 การศึกษาวิจยั เชิงวิเคราะห์ (Analytical studies)
การศกึ ษาวจิ ยั ชนิดน้ีเป็นการศกึ ษาโดยการสงั เกตแบบมีการเปรยี บเทียบ ซ่งึ มกั เริม่ ต้นด้วย
การตัง้ สมมุติฐานเก่ียวกบั สาเหตุของโรคหรือความสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบต่าง ๆ ต่อปัญหาสุขภาพ
หรอื การเกิดโรค ดงั นัน้ ประชากรทศ่ี กึ ษาจงึ ต้องประกอบด้วยกลุ่ม 2 กลุ่มขน้ึ ไป โดยใหก้ ลุ่มหน่ึงเป็น
กลุ่มควบคุมและอีกกลุ่มหน่ึงเป็นกลุ่มศกึ ษา แล้วใช้สถิติช่วยในการสุ่มตัวอย่างจากประชากรศึกษา
วเิ คราะหผ์ ลและทดสอบสมมตุ ฐิ าน

90

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ประโยชน์ในการศกึ ษาชนดิ น้ี คอื
1. บอกถงึ ความสมั พนั ธข์ องสาเหตุ หรอื องคป์ ระกอบต่อการเกดิ โรคทศ่ี กึ ษานนั้
2. แสดงใหเ้ หน็ ว่ากลุ่มทม่ี อี งค์ประกอบต่อการเกดิ โรคนนั้ จะมกี ารเสย่ี งต่อการเกดิ โรคมากกว่า
กลุ่มทไ่ี ม่มอี งคป์ ระกอบต่อการเกดิ โรคกเ่ี ท่า โดยดคู ่าการเสย่ี ง (Relative risk)
3. จากคําตอบท่ีได้นําไปใช้ประโยชน์ในการให้ความรู้แก่ประชาชน เพ่ือช่วยลดการเส่ียง
ต่อโรคนนั้ ๆ ใหน้ ้อยลง
4. สามารถคํานวณได้ว่า ถ้าขจดั องค์ประกอบเส่ยี งนัน้ ๆ ได้จรงิ จะลดการเกดิ โรคท่ศี กึ ษาใน
ประชากรและในกลุ่มเสย่ี งไดม้ ากน้อยเพยี งใด ซง่ึ เป็นประโยชน์ในการวางแผนในงานดา้ นสาธารณสขุ เป็น
อย่างมาก
ชนิดของการศึกษาเชิงวิเคราะหแ์ บ่งออกเป็น 3 ชนิดใหญ่ ๆ
1. การศกึ ษา ณ จดุ เวลาใดเวลาหน่งึ (Comparative cross-sectional study)
2. การศกึ ษาชนดิ ยอ้ นหลงั (Retrospective study)
3. การศกึ ษาชนิดไปขา้ งหน้า (Prospective study)

เหตุ ผล
EXPOSURE OUTCOME / EFFECT

RISK FACTOR HEALTH PROBLEM

Comparative
cross-sectional

Past Preset Future

รปู ท่ี 11 การจาํ แนกการวจิ ยั โดยการสงั เกต เชงิ วเิ คราะห์

การศกึ ษา ณ จดุ เวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional study)
การศึกษาชนิดน้ีมีประโยชน์ในทางคลินิก จัดเป็นการศึกษาท่ีอธิบายถึงความสมั พันธ์ของ
องค์ประกอบต่าง ๆ กบั โรคในแต่ละบุคคล (จากประชากรทวั่ ไป) พร้อม ๆ กบั การพรรณนาลกั ษณะ
ของแต่ละกลุ่มทท่ี ําการศกึ ษา โดยศกึ ษา ณ จดุ เวลาใดเวลาหน่ึงเท่านนั้ การศกึ ษาชนิดน้ศี กึ ษาการมแี ละ
ไม่มีองค์ประกอบขณะทําการศึกษาทัง้ ในกลุ่มศึกษาและกลุ่มควบคุม ทําให้ไม่สามารถบอกได้ว่า
องคป์ ระกอบทศ่ี กึ ษานนั้ มากอ่ นหรอื หลงั การเกดิ โรคขน้ึ แลว้

91

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

เป็นโรค มอี งคป์ ระกอบ

ประชากร ไมม่ อี งคป์ ระกอบ
ศกึ ษา เกบ็ ขอ้ มลู การม/ี ไมม่ อี งคป์ ระกอบ
ในขณะศกึ ษา ณ จุดเวลาใดเวลาหน่ึง

ไมเ่ ป็นโรค มอี งคป์ ระกอบ

ไม่มอี งคป์ ระกอบ

ตวั อย่าง การศกึ ษาชนิดน้ี เช่น การศกึ ษาภาวะขาดสารอาหารในเดก็ 0-5 ปี จะสามารถช่วยใหไ้ ดข้ อ้ มูล
ดงั น้ี
- รอ้ ยละของเดก็ อายุ 0-5 ปี ทม่ี ภี าวะขาดสารอาหาร
- ลกั ษณะทางกายภาพของพ้ืนท่ี เศรษฐกิจสงั คม และการปกครองท่ีอาจมีผลต่อความ
หลากหลายของอาหารทม่ี ใี นพน้ื ท่ี
- พฤตกิ รรมการจดั หาและใหอ้ าหารแก่เดก็
- ความรู้ ความเช่อื และ ความคดิ เหน็ ทอ่ี าจมอี ทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรมดงั กลา่ ว
ซง่ึ นักวจิ ยั ท่ที ําการศกึ ษามกั จะพรรณนารายละเอยี ดของขอ้ มูลตามตวั แปรต่าง ๆ ทส่ี นใจแลว้

ทําการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มเด็กปกติและเด็กท่ีมีภาวะขาดสารอาหาร เพ่ือค้นหาว่ามีปัจจัย
ดา้ นพฤตกิ รรม หรอื เศรษฐกจิ สงั คมปัจจยั ใดทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั ภาวะขาดสารอาหารดงั กลา่ ว

การศกึ ษาวิจยั ชนิดยอ้ นหลงั (Retrospectives studies)
การศกึ ษาชนิดยอ้ นหลงั ไปในอดตี หากเรม่ิ ตน้ จากเหตุไปหาผลในอดตี เรยี กว่า Historical Cohort
แต่หากเรม่ิ จากผลไปหาเหตุ เรยี กกวา่ Case-control กลา่ วคอื การศกึ ษาทเ่ี รม่ิ ตน้ จากการศกึ ษาผปู้ ่วยดว้ ย
โรคทจ่ี ะทาํ การศกึ ษา (Cases) แลว้ ถามประวตั ยิ อ้ นหลงั เพอ่ื หาสาเหตุ รวมทงั้ ถามประวตั อิ ยา่ งเดยี วกนั ใน
กลุ่มคนปกตหิ รอื ผูป้ ่วยอ่นื ๆ ทไ่ี ม่เป็นโรคนนั้ ในระยะเวลาใกลเ้ คยี งกนั (Control) การศกึ ษาทเ่ี รมิ่ จากผล
ไปหาเหตุและเลอื กจากผปู้ ่ วยเปรยี บเทยี บกบั กลมุ่ ควบคุมโดยวเิ คราะหป์ ัจจยั เสย่ี งน้ีเรยี กว่า Case-control
study ขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากการถามประวตั ยิ อ้ นหลงั ถงึ ปัจจยั ต่าง ๆ ท่อี าจเป็นสาเหตุจากทงั้ สองกลุ่มสามารถ
นํามาวเิ คราะหผ์ ลทางสถติ เิ พ่อื หาอตั ราเสย่ี งประเภทต่าง ๆ ต่อไป
การศกึ ษาชนดิ น้ีสามารถทาํ ได้ 2 แบบ คอื
1. Match paired case-control study โดยจบั คู่กลุ่มควบคุมให้มีลักษณะสําคัญ ๆ ท่ีต้องการ
เหมอื น (หรอื ใกลเ้ คยี ง) กบั กลุ่มผปู้ ่วยมากทส่ี ดุ เป็นคู่ ๆ ไป จาํ นวน Control จะเท่ากบั จาํ นวน Cases
2. Unmatched case control study เป็นการศกึ ษาชนิดยอ้ นหลงั ทก่ี ลมุ่ ควบคุมมลี กั ษณะกวา้ ง ๆ
เหมอื นกนั กบั กลุ่มผปู้ ่วย เชน่ เชอ้ื ชาตเิ ดยี วกนั เพศเดยี วกนั อยใู่ นเกณฑว์ ยั ทาํ งานเหมอื นกนั

92

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

การศกึ ษาชนิดน้ีมปี ระโยชน์ในการหาปัจจยั เสย่ี งต่อการเกดิ โรค และในการนําผลการศกึ ษาไป
พจิ ารณาหาวธิ กี ารเพ่อื ลดการเสย่ี งของโรคนนั้ ๆ ในกลุ่มประชากรทศ่ี กึ ษาต่อไป

อดีต (เหต)ุ ปัจจบุ นั (ผล)
มอี งคป์ ระกอบ ผเู้ ป็นโรค

ไมม่ อี งคป์ ระกอบ

ถามประวตั ยิ อ้ นหลงั

มอี งคป์ ระกอบ ผไู้ มเ่ ป็นโรค
ไมม่ อี งคป์ ระกอบ

ตวั อยา่ งที่ 1: Unmatched case-control study
ช่อื เรอ่ื ง: ปัจจยั เสย่ี งของมารดาทใ่ี หก้ าํ เนดิ ทารกน้ําหนกั น้อยกวา่ ปกตใิ นประเทศไทย
สมมุติฐาน: ปัจจยั อะไรบา้ งทเ่ี ป็นปัจจยั เสย่ี งของมารดาท่ใี ห้กําเนิดทารกแรกเกดิ น้ําหนักน้อย
กว่าปกติ
การออกแบบการศกึ ษา : Unmatched case-control study
1. กลุ่มศกึ ษา (Cases) ได้แก่ มารดาทุกคนท่คี ลอดบุตรน้ําหนักน้อยกว่าปกติ (<2,500 กรมั )
ของโรงพยาบาลแม่และเดก็ 5 เขต ของประเทศไทย และท่ีแผนกสูติกรรม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ในปี 2529
2. กล่มุ ควบคมุ (Controls) มารดาทใ่ี หก้ าํ เนดิ ทารกน้ําหนกั ปกติ (2,500-4,000 กรมั )
ในแหลง่ เดยี วกนั กบั กล่มุ ศกึ ษา และในระยะเวลาใกลเ้ คยี งกนั กบั กลุม่ ศกึ ษา
3. เก็บข้อมูลจากมารดาทัง้ สองกลุ่มโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชุดเดียวกัน ทําการสัมภาษณ์
โดยพยาบาลหรือนักสงั คมสงเคราะห์ท่ีได้รับการฝึกอบรมแล้วของทุกเขตท่ศี ึกษา รวมทงั้ เก็บขอ้ มูล
ของตวั แปรต่าง ๆ ของทารกและมารดาโดยการวดั
4. ขอ้ มูลท่ไี ด้จากทงั้ สองกลุ่มนํามาวเิ คราะห์ผลโดยใช้สถติ ิเชงิ พรรณนา และสถติ ิเชงิ อนุมาน
ซง่ึ ทดสอบสมมุติฐานว่าตวั แปรใดจะเป็นปัจจยั เสย่ี งของมารดาท่ใี หก้ ําเนิดทารกน้ําหนักน้อยกว่าปกติ
สถติ ทิ ใ่ี ชท้ ดสอบ คอื X2 – test, คาํ นวณ Odds ratio หรอื Relative Risk และ 95% Confidence interval
ของ Relative risk ต่อไป โดยค่า X2 และ 95% CI RR จะบอกว่ามีความสมั พนั ธ์ทางสถิติ (Significant
association) หรือไม่ ส่วนค่า Odds ratio หรือ Relative risk จะบอกความมากน้อยของความสมั พนั ธ์
(Degree of association)

93

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

สรุป : ปัจจยั เส่ยี งทางชวี ภาพของมารดาท่มี ีผลต่อการให้กําเนิดทารกน้ําหนักน้อยกว่าปกติ
อยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ (p < 0.05) คอื

1. มารดาทต่ี วั เลก็ ซง่ึ ไดแ้ กป่ ัจจยั ต่าง ๆ ดงั น้ี มารดาน้ําหนักน้อยกวา่ 45 กโิ ลกรมั สงู น้อยกว่า
150 เซนตเิ มตร และเสน้ รอบแขนต่าํ กว่า 25 เซนตเิ มตร

2. การทส่ี บู บุหรส่ี ม่ําเสมอ ตดิ ยาเสพตดิ และด่มื กาแฟในระหว่างตงั้ ครรภ์ จดั เป็นปัจจยั เสย่ี ง
ต่อการใหก้ าํ เนิดทารกน้ําหนกั น้อยกวา่ ปกตอิ ยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ (p < 0.05)

ตวั อยา่ งท่ี 2: Match paired case-control study
ช่อื เร่อื ง: ความสมั พนั ธข์ องยาขบั ประจําเดอื น และ/หรอื ยาทดสอบการตงั้ ครรภ์ต่อความพกิ าร
ของทารกแรกเกดิ
สมมุตฐิ าน : การใชย้ าขบั ประจําเดอื น และ/หรอื การใชย้ าทดสอบการตงั้ ครรภม์ คี วามสมั พนั ธ์
ต่อการใหก้ าํ เนิดทารกพกิ ารหรอื ไม่
การออกแบบการศกึ ษา: Match paired case-control study
1. กลุ่มศกึ ษา (Cases): มารดาทใ่ี หก้ ําเนิดทารกพกิ าร แผนกสตู กิ รรม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
จาํ นวน 114 ราย
2. กลุ่มควบคุม (Controls) มารดาท่ใี ห้กําเนิดทารกท่มี รี ่างกายปกติ จบั คู่ตามลกั ษณะต่าง ๆ
8 ประการ (8 ตัวแปร) ซ่ึงได้แก่ เพศทารก น้ําหนักทารกแรกเกิด ระยะเวลาเกิด อายุมารดา
จํานวนการตัง้ ครรภ์ รายได้ครอบครัว การศึกษามารดา และช่วงเวลากําหนดคลอด โดยเลือกให้
แต่ละรายในกลุ่มควบคุมมาเป็ นคู่ของแต่ละรายในกลุ่มศึกษา โดยให้มีลักษณะต่าง ๆ ดังกล่าว
อย่ใู นเกณฑเ์ ดยี วกนั
3. ถามมารดาทงั้ 2 กลุ่ม จํานวนทงั้ หมด 114 คู่ โดยใช้แบบสมั ภาษณ์ชุดเดยี วกนั ถงึ ประวตั ิ
การใช้ยาทดสอบการตงั้ ครรภ์ และ/หรอื การใช้ยาขบั ประจําเดอื นในขณะตงั้ ครรภ์ โดยใหด้ ูตวั อย่างยา
ทไ่ี ดจ้ ากการรวบรวมของผวู้ จิ ยั
4. ผลท่ีได้นํามาวเิ คราะห์ผลเพ่อื ทดสอบความสมั พนั ธ์ของการใช้ยาต่อความพกิ ารของทารก
สถิติท่ีใช้ทดสอบ คือ χ 2- test และคํานวณค่า Relative Risk (RR) เพ่ือดูระดับความสัมพันธ์ และ
คาํ นวณ 95% Confidence interval
สรปุ : การใชย้ าขบั ประจําเดอื นและหรอื ยาทดสอบการตงั้ ครรภ์มคี วามสมั พนั ธต์ ่อการใหท้ ารก
พกิ ารแต่กาํ เนิดอย่างมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ (p <.05) RR = 2 (95% CI = 1.01-3.94)
การศึกษาชนิด Retrospective studies น้ี อาจมีปั ญหาได้หลายอย่างจากอคติท่ีเกิดข้ึน
ซง่ึ อาจมสี าเหตุต่อไปน้ี
1. จากการกําหนดความสมั พนั ธ์มากไปหรอื น้อยไป ซ่งึ ส่วนมากมสี าเหตุจากการวนิ ิจฉัยโรค
ทอ่ี าจยดื หยุน่ มากไป หรอื การพจิ ารณาองคป์ ระกอบผดิ ไป
2. กลุ่มศึกษา (Cases) ส่วนมากใช้ผู้ป่ วยท่ีมารักษาตัวท่ีโรงพยาบาล ซ่ึงผู้ป่ วยท่ีมีอาการ
เลก็ น้อยจะไม่ไดเ้ ขา้ รกั ษาตวั ในโรงพยาบาล

94

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

3. เป็นการศกึ ษาทต่ี ้องไดป้ ระวตั ยิ อ้ นหลงั ปัญหาจงึ เกดิ จากความจาํ เกย่ี วกบั เร่อื งทผ่ี ่านมาแลว้
อาจไมด่ พี อ หรอื จาํ ไม่ได้ หรอื คาํ ตอบอาจมอี คตจิ ากผตู้ อบเองได้

4. ผู้สมั ภาษณ์อาจมีอคติในการถามพวกท่เี ป็นกลุ่มศึกษา เช่น จงใจในการถามถึงสาเหตุ
หรอื องคป์ ระกอบของการเกดิ โรคในกล่มุ ศกึ ษามากกว่าถามในกลุ่มควบคุม ซง่ึ เป็นกลุม่ ปกตทิ ไ่ี มม่ โี รค

5. การเลือกกลุ่มควบคุม (Controls) อาจมีอคติ โดยเฉพาะในการเลือกกลุ่มควบคุมจาก
โรงพยาบาลดว้ ยกนั อาจเลอื กไดไ้ มเ่ หมาะสมพอ

การศึกษาวิจยั ไปขา้ งหน้า (Prospective study)
จดั เป็นการศึกษาไปข้างหน้า โดยเริ่มจากสาเหตุ (Cause) ไปหาผล (Effect) แบ่งประชากร
ทจ่ี ะศกึ ษาเป็นสองกลุ่ม กลุม่ หน่ึงเป็นกลุ่มทไ่ี ดร้ บั องคป์ ระกอบทส่ี งสยั จะเป็นสาเหตุทท่ี าํ ใหเ้ กดิ โรค (Study
group) สว่ นอกี กล่มุ หน่งึ ไม่ไดร้ บั องคป์ ระกอบนนั้ (Non-exposed group) ซง่ึ จดั เป็นกลุ่มควบคุมหรอื กลุ่ม
เปรียบเทียบ แล้วเฝ้ าสังเกตทัง้ 2 กลุ่มไปข้างหน้าเป็ นระยะ ๆ เพ่ือดูอัตราการเกิดโรคท่ีศึกษา
ในทงั้ สองกลุม่ การศกึ ษาแบบน้เี ป็นการศกึ ษาทางระบาดวทิ ยาทส่ี าํ คญั และมปี ระโยชน์มาก แต่มขี อ้ แมอ้ ยู่
ว่าองค์ประกอบท่ีศึกษานัน้ จะต้องเป็นส่ิงท่ีเกิดโดยธรรมชาติและไม่ผิดจริยธรรม เช่น การคลอด
ด้วยคีม (Forceps) ต่อการเกิดโรคลมชักในเด็ก การใช้ยาเม็ดคุมกําเนิด และการใส่ห่วงอนามัย
ต่อการเกิดอุ้งเชิงกรานอักเสบ (Pelvic inflammatory disease) เป็ นต้น อุปสรรคท่ีสําคัญได้แก่
เวลาทศ่ี กึ ษานาน ทุนวจิ ยั สงู โดยเฉพาะถา้ อุบตั กิ ารณ์ของโรคน้อยกย็ ง่ิ ตอ้ งใชข้ นาดตวั อย่างมากขน้ึ ดว้ ย

ปัจจบุ นั (เหต)ุ อนาคต (ผล)

ประชากร ไดร้ บั องคป์ ระกอบ เกดิ โรค
ศกึ ษา ตดิ ตามไปขา้ งหน้า ไม่เกดิ โรค
เกดิ โรค
ไมไ่ ดร้ บั องคป์ ระกอบ ไมเ่ กดิ โรค

ตวั อยา่ ง
ช่อื เรอ่ื ง: Hepatocellular carcinoma and hepatitis B virus
สมมุตฐิ าน: Hepatitis B virus สมั พนั ธต์ ่อการเกดิ Hepatocellular carcinoma?
การออกแบบการศกึ ษา: Prospective study
1. กลุ่มศึกษา (Exposed group) ข้าราชการของประเทศไต้หวันท่ีเจาะเลือดพบ HbsAg
จาํ นวน 3,454 ราย โดยไดร้ บั การยนื ยนั วา่ เป็นพาหะของไวรสั ตบั อกั เสบบี (HBV carriers)

95

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

2. กลุ่มเปรียบเทยี บ (Non-exposed group) ขา้ ราชการท่ไี ด้รบั การตรวจเลือดไม่พบ HbsAg
จาํ นวน 19,253 ราย

3. เก็บข้อมูล อายุ เพศ ผลการเจาะเลือดเพ่ือตรวจ HbsAg, Anti-HBs, Anti-HBc และตรวจ
หน้าท่ขี องตบั ซง่ึ ไดแ้ ก่ SGOT, SGPT และ AFP (Alpha fetoprotein) ซง่ึ เป็นการตรวจ Tumor marker
ของมะเรง็ ตบั

สรปุ : ผูเ้ ป็นพาหนะไวรสั ตบั อกั เสบบี มโี อกาสเสย่ี งต่อการเกดิ โรคมะเรง็ ตบั มากกว่าคนปกติ 232 เท่า
5.1.4 ขอ้ ดีและขอ้ จาํ กดั ของการศึกษาเชิงวิเคราะหช์ นิดต่าง ๆ
ในการศกึ ษาเพ่อื หาสาเหตุหรอื ปัจจยั ทม่ี คี วามสมั พนั ธต์ ่อปัญหาสุขภาพ นักวจิ ยั อาจเลอื กทจ่ี ะใช้
การศึกษาชนิดใดก็ได้ ระหว่างการศึกษาเชิงวิเคราะห์ ณ จุดเวลาใดเวลาหน่ึง การศึกษาแบบ
Retrospective หรอื การศกึ ษาแบบ Prospective ตวั อย่างเช่น นักวจิ ยั ทต่ี ้องการศกึ ษาความสมั พนั ธ์ของ
อุบตั กิ ารณ์การเกดิ อจุ จาระรว่ งในเดก็ 0-5 ปี กบั แหล่งน้ําด่มื อาจทาํ การศกึ ษาวจิ ยั ไดด้ งั น้ี
- ทาํ การสาํ รวจโดยสมั ภาษณ์แม่ของเดก็ 0-5 ปี เพ่อื สอบถามถงึ การเกดิ อุจจาระรว่ งของเดก็

0-5 ปี ในรอบ 30 วันท่ีผ่านมา พร้อมกับสอบถามถึงแหล่งน้ําด่ืมของครัวเรือน
เพ่อื เปรยี บเทียบแหล่งน้ําด่ืมของครวั เรอื นท่เี ดก็ เกดิ อุจจาระร่วง และไม่เกิดอุจจาระร่วง
(Comparative cross-sectional)
- ทาํ การศกึ ษาแบบ Retrospective โดยทาํ แบ่งกลุ่มเดก็ 0-5 ปี เป็น 2 กลุ่ม คอื กลุ่มทม่ี ารบั
การรกั ษา ณ สถานีอนามยั /โรงพยาบาลดว้ ยอุจจาระร่วง และเด็กกลุ่มท่มี ารบั การรกั ษา
ดว้ ยอาการอน่ื ๆ เช่น ไข้ หวดั แลว้ ทาํ การสมั ภาษณ์เกย่ี วกบั แหล่งน้ําดม่ื ของเครอื ขา่ ย
- ทําการศกึ ษาแบบ Prospective โดยการสงั เกตประชากรเด็ก 0-5 ปี ท่คี รวั เรอื นใชน้ ้ําด่มื
แหล่งทส่ี นใจ เปรยี บเทยี บกบั เดก็ 0-5 ปี ทค่ี รวั เรอื นใช้น้ําด่มื จากแหล่งอ่นื แลว้ ทําการเฝ้า
ตดิ ตามดอู ตั ราการเกดิ อุจจาระร่วงในเดก็ ทงั้ สองกลุ่มไปในระยะเวลาทก่ี าํ หนด (เชน่ 1 ปี)
การศึกษาแบบ Comparative cross-sectional และ Retrospective จะเป็ นท่ีนิยมมากกว่า
การศึกษาแบบ Prospective ทัง้ น้ีเน่ืองมาจาก 2 ชนิดแรกใช้ระยะเวลาในการศึกษาสนั้ กว่าและใช้
งบประมาณน้อยกว่า นักวจิ ยั สามารถดําเนินการได้ง่ายกว่า อย่างไรกต็ ามขอ้ จํากดั ของ Comparative
cross-sectional คอื ความสมั พนั ธท์ ป่ี รากฏอาจไมส่ ามารถบอกไดว้ ่าความสมั พนั ธข์ องตวั แปรทงั้ หลายนนั้
ตวั แปรใดเกดิ กอ่ นหรอื บอกความเป็นสาเหตุได้
ขอ้ จํากัดของ Retrospective จะอยู่ท่ีการเลือกตัวอย่างของกลุ่มศึกษาและกลุ่มเปรียบเทียบ
อาจมคี วามแตกต่างในลกั ษณะอ่นื ทอ่ี าจทําใหผ้ ลการศกึ ษาไม่ไดข้ อ้ สรุปทด่ี ี ดงั นัน้ การศกึ ษาจงึ ควรเลอื ก
กลุ่มประชากรทม่ี ลี กั ษณะทวั่ ไปคลา้ ยคลงึ กนั
Prospective เป็นรูปแบบการศกึ ษาท่ีดที ่สี ุดในการท่จี ะได้ขอ้ สรุปท่ชี ดั เจนเก่ยี วกบั สาเหตุของ
การเกดิ โรค แต่เป็นรูปแบบท่มี กั ใช้เวลาในการศกึ ษายาวนาน และต้องติดตามกลุ่มตวั อย่างเป็นระยะ
จงึ สน้ิ เปลืองค่าใช้จ่ายสูงและมกั มีปัญหาการติดตามกลุ่มตวั อย่างมาได้ (Lose follow up) จํานวนมาก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นโรคท่ีมีอุบัติการณ์ต่ํา มกั จะมีปัญหาในการต้องการประชากรตัวอย่าง
จาํ นวนมาก ๆ รปู แบบการศกึ ษาชนิดน้ีจงึ ทาํ ไดย้ ากและมนี ้อย

96

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

5.2 การศึกษาวิจยั เชิงทดลอง (Experimental studies)

การศกึ ษาเชงิ ทดลองเป็นการศกึ ษาท่ีผู้ทําการวิจยั เป็นผู้กําหนดสง่ิ แทรกแซง (Intervention)
เช่น ยา วธิ กี ารรกั ษา โครงการ กจิ กรรมต่าง ๆ ทจ่ี ะทดลองในกลุ่มต่าง ๆ ทท่ี าํ การศกึ ษา เช่น การศกึ ษา
เก่ียวกับองค์ประกอบท่ีสงสยั ว่าจะทําให้เกิดโรค หรือศึกษาถึงประสทิ ธิภาพของยาในการรกั ษาโรค
การศกึ ษาเก่ยี วกบั ประสทิ ธภิ าพของวคั ซนี หรอื ยาทใ่ี ชใ้ นการป้องกนั โรค ตลอดจนการศกึ ษาประสทิ ธผิ ล
ของรูปแบบการใหส้ ขุ ศกึ ษาเพ่อื การดแู ลผปู้ ่ วย ดงั นัน้ จงึ เป็นการศกึ ษาทใ่ี หค้ ําตอบทด่ี ที ส่ี ดุ และสามารถ
ทดสอบสมมุติฐานต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นสมมุติฐานเก่ียวกบั การเป็นสาเหตุของโรค การรักษาโรค
หรอื การป้องกนั โรค

การศกึ ษาวจิ ยั เชงิ ทดลองแบง่ เป็น 3 ประเภท คอื
1. การทดลองในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (Laboratory experiment)
2. การทดลองในสตั ว์ (Animal experiment)
3. การทดลองในคน (Human experiment)
ในทน่ี ้ีจะกล่าวเฉพาะการศกึ ษาเชงิ ทดลองในคนเท่านนั้ โดยทวั่ ไปการศกึ ษาเชงิ ทดลองในคนนนั้
มกั มกี ารสุ่มเลอื กตวั อย่างเพ่อื กําหนดการได้รบั /ไม่ได้รบั Intervention และแบ่งการศกึ ษาเป็นประเภท
ต่าง ๆ ดงั น้ี
1. การศกึ ษาเชงิ ทดลองเพ่อื ดผู ลการรกั ษาหรอื การป้องกนั โรค
1.1 การศึกษาเชิงทดลองเพ่ือดูผลการรักษาโรค (Therapeutic trials) โดยการศึกษาน้ี

สามารถทําได้ทงั้ ในคลนิ ิกและในชุมชน เช่น การทดลองใช้ยารกั ษาผู้ป่ วยวณั โรคปอด
ในโรงพยาบาล นอกจากจะเป็นการศกึ ษาเกย่ี วกบั ประสทิ ธภิ าพของยาต่อการรกั ษาโรค
แลว้ ยงั รวมถงึ วธิ หี รอื เทคโนโลยใี หม่ ๆ ทใ่ี ชใ้ นการรกั ษาโรคดว้ ย เช่น การทดลองรกั ษา
โรคล้ินหัวใจรัว่ โดยวิธีการผ่าตัดวิธีต่าง ๆ หรือใช้เทคโนโลยีใหม่เปรียบเทียบกับ
เทคโนโลยแี บบมาตรฐานทใ่ี ชก้ นั อยเู่ ดมิ
1.2 การศกึ ษาเชงิ ทดลองเพ่อื ดูผลการป้องกนั โรค (Prophylactic trials) การศกึ ษาประเภทน้ี
ส่วนมากเป็ นการศึกษาเชิงทดลองภาคสนามในชุมชน (Field trials) ในโรงเรียน
ในโรงงาน หรือในองค์กรต่าง ๆ ก็ได้ เช่น การทดลองประสิทธิภาพของวคั ซีนบีซีจี
ในการป้องกนั วณั โรคกบั คนในชุมชน หรือการทดลองใช้ยาป้องกนั มาลาเรียในกลุ่ม
คนงานอสี านทไ่ี ปทาํ งานในภาคตะวนั ออก เป็นตน้
ตวั อย่าง การประเมินประสทิ ธิผลของยาแฟนซเิ มฟในการป้องกนั ไข้มาลาเรยี ในกลุ่มคนงาน
ท่ีอพยพมาทํางานในไร่อ้อยท่ีอําเภอบ่อทอง โดยผู้วิจัยเริ่มการศึกษาจากกลุ่มคนงานท่ีไม่มีประวัติ
รับประทานยาป้ องกันไข้มาลาเรียมาก่อน จากนัน้ จึงทําการแบ่งกลุ่มโดยวิธีสุ่มออกเป็ น 2 กลุ่ม
โดยกลุ่มแรกกําหนดให้ได้รับยาแฟนซิเมฟในการป้องกันไข้มาลาเรีย โดยมีการกําหนดแน่นอน
ให้รบั ประทานยาแฟนซเิ มฟ 1 เมด็ ทุกสปั ดาหเ์ ป็นเวลา 12 สปั ดาห์ ท่อี พยพมาทํางานในท่นี ัน้ ดงั นัน้
กลุม่ น้ีจงึ เรยี กว่า กลุ่มทดลอง (Experimental group) เพราะเป็นกลุ่มทก่ี าํ หนดใหไ้ ดร้ บั ยาทต่ี ้องการศกึ ษา
หรอื ทดลองหาประสทิ ธผิ ล สว่ นอกี กลุ่มหน่ึงถูกกาํ หนดใหไ้ ดร้ บั ยาแฟนซดิ าร์ ซง่ึ เป็นยาป้องกนั ไขม้ าลาเรยี

97

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ทน่ี ิยมใช้กนั อยู่ในขณะนัน้ โดยไดร้ บั ยา 1 เมด็ ทุก ๆ สปั ดาหเ์ ช่นเดียวกนั ดงั นัน้ กลุ่มหลงั น้ีจงึ เรยี กว่า
กลุ่มควบคุม (Control group) หรอื กลมุ่ เปรยี บเทยี บ (Comparison group)

2. การศกึ ษาเชงิ ทดลองทใ่ี ส่สง่ิ กระตุน้ แลว้ วดั ผล (Intervention studies) การศกึ ษาน้ีผถู้ ูกศกึ ษา
จะไดร้ บั สง่ิ กระตุ้นแลว้ วดั ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ถ้าเป็นการศกึ ษาในคนกจ็ ําเป็นต้องนกึ ถงึ ปัญหาดา้ นจรยิ ธรรมดว้ ย
และมขี ดี จาํ กดั มากทจ่ี ะทาํ การทดลองชนิดน้ใี นคน

ตวั อยา่ ง
งานวิจัยของ วัชราภรณ์ อนวัชชกุล. (2562) เร่ือง ประสิทธิผลของยาคีโตโลแลค

เปรยี บเทยี บกบั มอรฟ์ ีนในการระงบั อาการปวดแผลหลงั ผ่าตดั คลอดดว้ ยวธิ ดี มยาสลบ ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษา
เปรยี บเทยี บประสทิ ธผิ ลของยาคโี ตโลแลคกบั มอรฟ์ ีนในการระงบั อาการปวดแผลหลงั ผ่าตดั คลอด
ดว้ ยวิธดี มยาสลบ ภายใน 24 ชวั่ โมงแรกหลงั ผ่าตดั ผลขา้ งเคยี งของยา และจํานวนครงั้ ท่ขี อยา
พบว่า ทงั้ สองกลุ่มไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสําคญั ทางสถิติในด้านอายุ น้ําหนัก ส่วนสูง
โรคประจําตัว อายุครรภ์ ปริมาณเลือดท่ีเสยี ขณะผ่าตัด และจํานวนบุตร แต่พบความแตกต่าง
ในดา้ นอาชพี ขอ้ บง่ ชใ้ี น การผา่ ตดั น้ําหนกั ทารกแรกเกดิ และ ระยะเวลาผ่าตดั ไมพ่ บความแตกต่าง
ของคะแนนความเจ็บปวดหลงั ผ่าตัด ชวั่ โมงท่ี 3, 6, 12 และ 24 (MD=-0.21, 0.15, 0.33, 0.02,
95%CI=-0.91-0.48, -0.49-0.80, -0.31-0.9, -0.34-0.37) และพบว่ากลุ่มท่ีได้ยาคีโตโลแลค
มอี าการคลน่ื ไสอ้ าเจยี นและวงิ เวยี นน้อยกวา่ (p<0.001) กลุ่มทไ่ี ดม้ อรฟ์ ีนอยา่ งมนี ยั สาํ คญั

3. การศึกษาชนิดทดลองปฏิบตั ิการ (Operational research) เป็นการศึกษาซ่งึ นําวิทยาการ
หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีมีอยู่แล้วมาประยุกต์ผสมผสานเพ่ือทําให้การปฏิบตั ิการอย่างใดอย่างหน่ึง
เป็นไปโดยได้ผลดที ่สี ุด และโดยการใช้ทรพั ยากรทม่ี อี ยู่อย่างประหยดั สุด สามารถนํามาสร้างแม่แบบ
(Model) แลว้ ทาํ การทดลองปฏบิ ตั แิ ละวดั ผลเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุป/ขอ้ เสนอแนะของผลการใชแ้ ม่แบบนนั้ ต่อไป

การออกแบบการศึกษาเชิงทดลอง แบ่งตามวิธีการวดั ผลดงั ต่อไปนี้
การวจิ ยั แบบทดลอง (Experimental research design) เป็นกระบวนการศกึ ษาทผ่ี วู้ จิ ยั จดั กระทาํ
ใหส้ ง่ิ ทดสองกบั ตวั แปรอสิ ระแลว้ ดูผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตวั แปรตามโดยเปรยี บเทยี บกบั กลุ่มทไ่ี ม่ไดจ้ ดั กระทํา
การควบคุมตวั แปรภายนอกใหผ้ ลท่ไี ดจ้ ากการทดลองเป็นผลมาจากตวั แปรอสิ ระทไ่ี ดจ้ ากการจดั กระทํา
อย่างแท้จริงจุดมุ่งหมายของการวิจยั แบบทดลอง เพ่อื หาความสมั พนั ธ์เชงิ เหตุผลของตวั แปร 2 ตัว
ทส่ี นใจ และเพ่อื พสิ จู น์ทฤษฎี ลกั ษณะสาํ คญั ของการวจิ ยั แบบทดลอง คอื มกี ารจดั กระทาํ (Manipulate)
มกี ารควบคุม (Control) และมกี ารสมุ่ (Randomization) การวจิ ยั แบบทดลองมหี ลายรปู แบบ เชน่
แบบท่ี 1 (Pretest - Posttest control group design) มรี ปู แบบสงั เขป ดงั น้ี
วิธีการ 1. สมุ่ กลุ่มตวั อย่างจากประชากรตามจาํ นวนทต่ี อ้ งการ

2. สมุ่ กลุ่มตวั อย่างเขา้ เป็นกลมุ่ ควบคุมและกลุ่มทดลอง
98

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

3. ทดสอบกอ่ นการทดลอง (Pretest) กบั ทงั้ 2 กล่มุ
4. จดั กระทาํ กบั กลุ่มตวั อย่าง (ให้ Treatment)
5. ทดสอบหลงั การทดลอง (Post-test) ทงั้ กลุ่มควบคุมและกล่มุ ทดลอง
6. เปรยี บเทยี บ Pre-test และ Post-test ของทงั้ กลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคุม
7. เปรยี บเทยี บคา่ ทว่ี ดั ไดจ้ ากทงั้ 2 กลมุ่
สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการเปรยี บเทยี บ Independent t-test, dependent t-test หรอื ANCOVA

แบบที่ 2 Post - test only control group design เป็นแบบวจิ ยั ทม่ี กี ารสมุ่ กล่มุ ควบคุมและกล่มุ
ทดลอง แต่ทดสอบหลงั การทดลองอย่างเดยี ว
วิธีการ 1. สมุ่ ตวั อย่างจากประชากรตามจาํ นวนทต่ี อ้ งการ

2. สมุ่ กลุม่ ตวั อย่างเป็นกลมุ่ ทดลอง 1 กลมุ่ กล่มุ ควบคุม 1 กลุ่ม
3. ใหก้ ารจดั กระทาํ ให้ Treatment แก่กลุ่มทดลอง
4. วดั ค่าตวั แปรตามและเปรยี บเทยี บค่าทว่ี ดั ไดท้ งั้ สองกล่มุ
สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการเปรยี บเทยี บ Independent t-test

99

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

แบบท่ี 3 Solomon four group design เป็นแบบวจิ ยั ท่มี กี ารสุ่มกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง
อย่างละ 2 กลุ่ม และใหไ้ ดร้ บั การทดลอง 2 กลุ่ม ทงั้ น้เี พอ่ื การควบคุม แหลง่ ทท่ี าํ ใหเ้ กดิ การขยาย
ความตรงภายในและอทิ ธพิ ลปฏกิ ริ ยิ าร่วมระหว่าง Pre-test และ post-test เพ่อื ผลการทดลอง
ทไ่ี ดเ้ ป็นผลจากการทผ่ี วู้ จิ ยั จดั กระทาํ จรงิ ๆ
วิธีการ 1. สมุ่ ตวั อย่างจากประชากรเท่าทต่ี อ้ งการ

2. สมุ่ กลุ่มตวั อยา่ งจาก 1 เขา้ กลมุ่ โดยแบง่ เป็น 4 กลุม่
3. สมุ่ กลุม่ รนั การทดลอง 2 กลมุ่ จดั ใหเ้ ป็นกลุ่ม 1 และ 3
4. สมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง 2 กลุ่ม จากกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม และกลมุ่ ควบคมุ 1 กล่มุ
5. ทาํ การทดสอบก่อนทดลองในกลุ่ม 1 และ 2
6. จดั กระทาํ / ให้ Treatment กบั กล่มุ 1 และ 3
7. ทาํ การทดสอบหลกั การทดลองทงั้ 4 กลุ่ม
8. ทดสอบผลการจดั กระทาํ โดยหาความแตกต่างระหว่าง Pretest - Posttest
สถติ ทิ ใ่ี ชท้ ดสอบ Independent t-test, dependent t-test, ANOVA, ANCOVA

การวิจยั แบบก่ึงทดลอง
การวิจยั แบบก่ึงทดลอง (Quasi - experimental research design) มแี บบแผนคล้ายการวิจัย
แบบทดลอง คอื มกี ารจดั กระทาํ แต่ควบคุมไดไ้ ม่เตม็ ท่ี เพราะไมต่ อ้ งมกี ารควบคมุ หรอื การสมุ่ อาจไมต่ อ้ งมี
กลมุ่ เปรยี บเทยี บ หรอื การสมุ่ ไม่ตอ้ งครบทกุ ขนั้ ตอน เป็นการวจิ ยั ทก่ี ระทาํ กบั คน และทาํ ใหส้ ภาพแวดลอ้ ม
จรงิ ตามธรรมชาติ ทําให้มีขอ้ จํากดั บางครงั้ ไม่สามารถสุ่มกลุ่มตวั อย่างได้ หรอื ไม่ไดจ้ ดั กลุ่มควบคุมแต่
อย่างไรก็ดีต้องมีการจดั กระทํา และติดตามศึกษาผลจากการจัดกระทํานัน้ ๆ ในท่ีน้ีจะนําเสนอแบบ
การวจิ ยั แบบกง่ึ ทดลองทม่ี นี กั วจิ ยั นยิ มใชเ้ พยี ง 3 แบบ ไดแ้ ก่
Non - randomized control group pretest posttest design เป็นการวจิ ยั แบบกลุ่มควบคุม
ไม่ได้สุ่ม มีการทดสอบก่อนหลงั การทดลอง แต่ไม่สามารถควบคุมปฏิกิรยิ าร่วมระหว่างการทดสอบ
ก่อนทดสอบกบั การจดั กระทาํ ทใ่ี หใ้ นกลุ่มควบคุมได้

100

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

วิธีการ 1. เลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2 กลุ่ม จดั ใหเ้ ป็นกลมุ่ ทดลอง 1 กลุ่ม กลุม่ ควบคมุ 1 กลุม่
2. ให้ Treatment / จดั กระทาํ กบั กลมุ่ ทดลอง
3. ทดสอบหลงั การทดลอง (Posttest) กบั กลุม่ ทดลองและกลุ่มควบคมุ
4. หรอื ทดสอบกอ่ นทดลอง (Pretest) และ หลงั การทดลอง (Posttest) แกท่ งั้ 2 กลุ่ม
5. เปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่าง Posttest - Pretest ของทงั้ 2 กลุ่ม

สถิติท่ีใช้เปรียบเทียบ Independent t-test, dependent t-test, ANCOVA

สิ่งท่ีต้องระวงั เพ่ือมิให้เกิดความผิดพลาดในการทดลอง
• Co-intervention
อทิ ธพิ ลของปัจจยั ภายนอกอ่นื ๆ ทจ่ี ะมผี ลต่อการเกดิ ผลทต่ี อ้ งการ
• Contamination
การปนเป้ือนของสง่ิ ทดลองในกลุ่มควบคมุ
• Confounders
อิทธิพลของปัจจยั ภายนอกอ่ืน ๆ ท่ีมีผลต่อการทดลองทําให้อิทธิพลของสง่ิ ทดลอง
ทม่ี ตี ่อผลทต่ี อ้ งการเปลย่ี นไป
101

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

5.3 วิธีการเลือกรปู แบบการวิจยั ท่ีเหมาะสม

ดงั ไดก้ ล่าวมาแลว้ ในตอนต้นบทน้ีว่า การเลอื กรปู แบบของการวจิ ยั ทเ่ี หมาะสมนัน้ จะตอ้ งสอดคลอ้ ง
กบั คาํ ถามของการวจิ ยั ซง่ึ อาจสรปุ ไดด้ งั น้ี

(1) คาํ ถามของการวจิ ยั อยใู่ นลกั ษณะของการประเมนิ สถานการณ์ ขอบเขต และขนาดของปัญหา
รปู แบบการวจิ ยั ทเ่ี หมาะสมกค็ อื การวจิ ยั เชงิ พรรณนา (Descriptive study)

(2) คําถามของการวจิ ยั อยู่ในลกั ษณะของการค้นหาสาเหตุหรอื ปัจจยั เส่ยี งของโรค รูปแบบ
การวจิ ยั ในขนั้ ตอนน้ีอาจใชไ้ ด้หลายรูปแบบขน้ึ อยู่กบั องคค์ วามรู้ท่ีมอี ยู่ ถ้ายงั ไม่มขี อ้ มูลพ้นื ฐานอยู่เลย
กต็ ้องเรม่ิ ต้นการศกึ ษาดว้ ยการวจิ ยั เชงิ พรรณนา เช่น แต่เดมิ นนั้ เราไม่ทราบว่าบุหรเ่ี ป็นปัจจยั เสย่ี งของ
โรคมะเรง็ ปอด ขอ้ มูลพน้ื ฐานทร่ี วบรวมไดค้ รงั้ แรกไดจ้ ากผู้ป่ วยดว้ ยโรคมะเรง็ ปอด ซง่ึ จากประวตั พิ บว่า
มอี ตั ราการสบู บหุ รส่ี งู มากในผปู้ ่วยเหล่าน้ี

จากข้อมูลดงั กล่าวก็นํามาสู่การตัง้ สมมุติฐานว่าอาจมีความสมั พนั ธ์กันระหว่างการสูบบุหร่ี
และการเป็นมะเร็งปอด การพสิ ูจน์สมมุตฐิ านดงั กล่าวจําเป็นต้องใช้การวิจยั เชงิ วเิ คราะห์หรือการวจิ ยั
โดยการทดลองต่อไป เป็นทย่ี อมรบั กนั โดยทวั่ ไปว่าการพสิ จู น์สมมุตฐิ านเกย่ี วกบั การศกึ ษาเพ่อื หาตน้ เหตุ
ของปัญหานนั้ รปู แบบการวจิ ยั ทเ่ี ช่อื ถอื ไดม้ ากทส่ี ุดกค็ อื การวจิ ยั โดยการทดลอง เพราะสามารถหลกี เลย่ี ง
อคตติ ่าง ๆ ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ไดม้ ากทส่ี ดุ แต่กม็ กั จะประสบปัญหาทางดา้ นจรยิ ธรรม โดยเฉพาะการกําหนด
ปัจจยั เสย่ี งใหก้ บั กลุ่มประชากรทศ่ี กึ ษา

(3) คําถามของการวจิ ยั เพอ่ื หาวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมในการแกป้ ัญหาหรอื การประเมนิ ผลบรกิ ารต่าง ๆ
รปู แบบการวจิ ยั ทเ่ี หมาะสม คอื การวจิ ยั โดยการทดลอง

แม้ว่าการเลือกรูปแบบการวิจัยจะข้ึนอยู่กับคําถามการวิจัยเป็ นหลัก แต่อย่างไรก็ตาม
ในทางปฏบิ ตั อิ าจจาํ เป็นตอ้ งพจิ ารณาปัจจยั อ่นื ๆ รว่ มไปดว้ ย เชน่

(ก) ทรัพยากร การออกแบบการวิจัยจําเป็ นต้องพิจารณาถึงทรัพยากร ทัง้ กําลังคน
งบประมาณ และ เวลาท่มี อี ยู่ เช่น ถ้าต้องการทดสอบสมมติฐานบางอย่างในเวลาและ
งบประมาณอันจํากัด อาจจําเป็ นต้องเลือกรูปแบบการวิจัยเชิงวิเคราะห์ย้อนหลัง
แต่ถ้ามีงบประมาณมากพอ และต้องการผลท่เี ช่อื ถือได้มากข้นึ กอ็ าจเลอื กใช้รูปแบบ
การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะหช์ นิดไปขา้ งหน้า

(ข) องค์ประกอบท่ีต้องการศึกษา ถ้าหากว่าโรคท่ตี ้องการศกึ ษานัน้ พบยากควรเลอื กใช้
รปู แบบการวจิ ยั เชงิ วเิ คราะหย์ อ้ นหลงั เพราะจะประหยดั เวลาและค่าใชจ้ ่ายลงไปไดม้ าก
แต่ถ้าองค์ประกอบท่สี งสยั พบได้ง่าย และจํานวนโรคท่เี กดิ ขน้ึ มคี วามถ่มี ากพอสมควร
การใชร้ ปู แบบการวจิ ยั เชงิ วเิ คราะหช์ นิดไปขา้ งหน้ากอ็ าจจะเกดิ ผลดกี ว่ารปู แบบการวจิ ยั
อน่ื ๆ

(ค) ประชากรท่ีศึกษา ขนาดตวั อย่างพอหรอื ไม่สําหรบั รูปแบบการศกึ ษาชนิดนัน้ ๆ เช่น
การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะห์ชนิดไปขา้ งหน้าอาจต้องใชต้ วั อย่างค่อนขา้ งมาก เพราะต้องใช้
เวลายาวนานในการตดิ ตามศกึ ษา หากกลุ่มทศ่ี กึ ษาจาํ นวนน้อยหรอื ถา้ เลอื กทาํ การศกึ ษา
กบั กลมุ่ ประชากรทม่ี กี ารเคลอ่ื นยา้ ยมากกจ็ ะมผี ลกระทบต่อการศกึ ษาได้
102

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

เม่อื ไดอ้ ่านโครงร่างการวจิ ยั หรอื ผลงานวจิ ยั แล้วต้องการทราบว่าการศกึ ษานัน้ ๆ ใชร้ ูปแบบ
การวจิ ยั ชนิดไหน ใหท้ ดลองถามตวั เองดว้ ยคาํ ถาม 4 ขอ้

คาํ ถามหรอื วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั รปู แบบการวิจยั
1. ศกึ ษาขนาดของปัญหา เช่น การกระจายของโรค การวจิ ยั โดยการสงั เกต เชงิ พรรณนา

หรอื การกระจายขององคป์ ระกอบทม่ี อี ทิ ธพิ ล การวจิ ยั โดยการสงั เกต เชงิ พรรณนา
ต่อการเกดิ โรค การวจิ ยั โดยการสงั เกต เชงิ วเิ คราะห์
2. ศกึ ษาเกย่ี วกบั ธรรมชาตขิ องโรค การวจิ ยั โดยการทดลอง
3. ศกึ ษาสาเหตุ ปัจจยั เสย่ี ง
4. ประเมนิ ผลการใหบ้ รกิ าร

การเลอื กรปู แบบการวจิ ยั ตามคาํ ถามของการวจิ ยั
คาํ ถามขอ้ 1: การเขา้ แทรกแซง (intervention) หรอื ไม?่

ถา้ ตอบว่า “ม”ี เป็นรปู แบบการวจิ ยั เชงิ ทดลอง
ถ้าตอบว่า “ไม่ม”ี เป็นรูปแบบการวจิ ยั แบบปราศจากการทดลอง ซ่งึ มี 2 ชนิด อยากทราบว่า
เป็นชนดิ ไหน ใหถ้ ามดว้ ยคาํ ถามท่ี 2
คาํ ถามท่ี 2: การวจิ ยั แบบปราศจากการทดลองนนั้ มีกลุม่ เปรียบเทียบหรอื ไม?่
ถา้ ตอบว่า “ไมม่ ”ี เป็นรปู แบบการวจิ ยั เชงิ พรรณนา
ถา้ ตอบวา่ “ม”ี เป็นรปู แบบการวจิ ยั เชงิ วเิ คราะห์ ซง่ึ มี 3 ชนดิ อยากทราบวา่ ชนิดไหนใหถ้ ามดว้ ย
คาํ ถามท่ี 3
คาํ ถามขอ้ 3: การนําตวั อยา่ งเขา้ มาศกึ ษาเรม่ิ ศกึ ษาจากผปู้ ่วยหรอื คนทวั่ ไป
- ถ้าเริ่มจากกลุ่มตัวอย่างท่ีมีผู้ป่ วยศึกษาย้อนกลับไปหาปัจจัยเส่ียง เป็นรูปแบบการวิจัย
เชงิ วเิ คราะหช์ นิดยอ้ นหลงั (Retrospective)
- ถ้าเรม่ิ จากกลุ่มตัวอย่างทวั่ ไป ติดตามไปข้างหน้าเพ่อื หาอุบตั ิการณ์ของโรค เป็นรูปแบบ
การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะหแ์ บบไปขา้ งหน้า (Prospective)
- ถา้ กลุ่มตวั อย่างทน่ี ํามาศกึ ษา ณ จุดเวลาทท่ี ําการศกึ ษา โดยมที งั้ ผปู้ ่ วยและคนทวั่ ไปปะปนกนั
เป็นรปู แบบการวจิ ยั เชงิ วเิ คราะห์ ณ จดุ เวลาใดเวลาหน่ึง (Comparative cross-sectional analysis)

103

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

1. มกี าร assign exposure หรอื intervention หรอื ไม?่

มี ไมม่ ี
รปู แบบการวจิ ยั เชงิ ทดลอง รปู แบบการวจิ ยั แบบปราศจากการทดลอง

2. มกี ลุ่มเปรยี บเทยี บหรอื ไม?่

มี ไม่มี
รปู แบบการวจิ ยั เชงิ วเิ คราะห์ รปู แบบการวจิ ยั เชงิ พรรณนา
3. การนําตวั อยา่ งมาศกึ ษาเรม่ิ จากผปู้ ่วยหรอื คนทวั่ ไป

ปัจจยั เสย่ี ง ผปู้ ่วย คนทวั่ ไป อบุ ตั กิ ารณ์ มที งั้ เหตุ/ผล ณ จุดท่ี
(การทวจาิํ ยกั เาชรงิ ศวเิกึ คษราาะห์
(การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะห์ (การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะหช์ นดิ ไปขา้ งหน้า)
ชนดิ ยอ้ นหลงั ) ณ จดุ เวลาใดเวลาหน่ึง)

รปู ท่ี 12 คาํ ถาม 3 ขอ้ ในการจาํ แนกรปู แบบการวจิ ยั

104

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ความตรงในการวิจยั
ความตรงในการวจิ ยั มี 2 แบบ คอื ความตรงภายใน (Internal validity) และความตรงภายนอก
(External validity)
ความตรงภายใน หมายถงึ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากตวั แปรตามอนั เน่ืองมาจากตวั แปรต้นหรอื ตวั แปร
อสิ ระท่เี กดิ มาจากการจดั กระทําในการวิจยั แบบก่งึ ทดลอง/ทดลอง องค์ประกอบท่สี ่งผลต่อความตรง
ภายใน ไดแ้ ก่
1. เหตุการณ์ทเ่ี กย่ี วเน่ืองกบั สงิ่ ทดลอง (History)
2. การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ อนั เน่อื งมาจากเวลาทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา (Maturation)
3. ผลจากการการทดสอบ (Testing effect)
4. ความลาํ เอยี งในการเลอื ก (Selection bias)
5. ความไมเ่ ทย่ี งของเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั (Instrumentation)
6. การถดถอยทางสถติ ิ (Statistic regression)
7. การสญู หายของกลมุ่ ตวั อยา่ ง (Mortality)
ความตรงภายนอก หมายถงึ การทผ่ี ลการทดลองนนั้ ถกู ต้องสามารถสรุปอา้ งองิ ไปยงั ประชากร
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยาํ องคป์ ระกอบทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความคลาดเคลอ่ื นของความตรงภายนอก
1. ผลฮอรท์ อรน์ (Hawthorne effect)
2. ผลจากสงิ่ ทดลองทแ่ี ปลกใหม่ (Novelty effect)
3. ปฏสิ มั พนั ธท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จากเหตุการณ์ทเ่ี กย่ี วเน่ืองกบั สงิ่ ทดลองกบั การใหส้ งิ่ ทดลอง

(Interaction of history and the treatment effect)
4. ผลจากการทาํ การทดลอง (Experimenter effect)
5. ผลจากการวดั (Measurement effect)
6. ผลจากการทต่ี วั อยา่ งแต่ละรายไดร้ บั สงิ่ ทดลองหลายอย่าง (Multiple treatment interference)

สรปุ

การออกแบบการวิจยั หมายถงึ การกําหนดแผนการ โครงสร้างตลอดจนวธิ กี ารวจิ ยั ไว้อย่าง
เป็นระบบมวี ธิ กี ารทําตัวแปรท่ศี กึ ษาให้มคี วามเด่นชดั ท่สี ุดเกดิ ความคลาดเคล่อื นในการวจิ ยั น้อยท่สี ุด
และควบคุมตวั แปรภายนอกได้ ลกั ษณะการออกแบบการวจิ ยั ท่ีดี จะต้องเหมาะสมกบั ปัญหาการวิจยั
เรอ่ื งนนั้ ๆ และปราศจากความลาํ เอยี ง

การวจิ ยั แบบทดลอง (Experimental research design) เป็นกระบวนการศกึ ษาทผ่ี วู้ จิ ยั จดั กระทาํ
ใหส้ ง่ิ ทดสองกบั ตวั แปรอสิ ระแลว้ ดผู ลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตวั แปรตาม โดยเปรยี บเทยี บกบั กลุ่มท่ไี ม่ไดจ้ ดั กระทํา
การควบคุมตวั แปรภายนอกใหผ้ ลทไ่ี ดจ้ ากการทดลองเป็นผลมาจากตวั แปรอสิ ระทไ่ี ดจ้ ากการจดั กระทํา
อย่างแท้จริง จุดมุ่งหมายของการวิจยั แบบทดลองเพ่อื หาความสมั พนั ธ์เชิงเหตุผลของตัวแปร 2 ตัว

105

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ทส่ี นใจและเพ่อื พสิ ูจน์ทฤษฎี ลกั ษณะสาํ คญั ของการวจิ ยั แบบทดลอง คอื มกี ารจดั กระทํา (Manipulate)
มกี ารควบคมุ (Control) และ มกี ารสมุ่ (Randomization)

การวจิ ยั แบบไม่ทดลอง (Non - experimental research design) หมายถงึ การแสวงหาคาํ ตอบ
ของปัญหาการวิจัยโดยอาศัยการเก็บข้อมูลจากสงิ่ ท่ีเป็นอยู่หรือส่ิงท่ีเกิดข้ึนอยู่แล้วตามธรรมชาติ
ผูว้ จิ ยั ไม่ได้เปลย่ี นแปลงหรอื สร้างขน้ึ ใหม่ เพ่อื ทราบลกั ษณะคุณสมบตั ิของประชากรหรอื เปรยี บเทยี บ
ระหว่างกลมุ่ ประชากร หรอื เพ่อื หาความสมั พนั ธข์ องตวั แปรทส่ี นใจของเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในปัจจบุ นั อดตี
หรอื อนาคต ทงั้ น้ีผวู้ จิ ยั ไม่ไดจ้ ดั กระทาํ ใด ๆ กบั กลุม่ ตวั อยา่ ง

การวจิ ยั เพ่อื หาสาเหตุหรอื ปัจจยั เสย่ี งของการเกดิ โรค ควรเลอื กรปู แบบการวจิ ยั ทด่ี แี ละเหมาะสม
กบั วตั ถุประสงค์ ทรพั ยากร กําลงั คน ค่าใช้จ่าย และ เวลา โดยคํานึงถึงข้อดขี อ้ เสยี ของแต่ละรูปแบบ
การวิจยั ขจดั อคติท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ให้มากท่ีสุดเท่าท่จี ะเป็นไปได้ และใช้สถิติท่ีเหมาะสมในการวเิ คราะห์
หาระดบั ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเส่ยี งนัน้ กบั การเกิดโรค การแปลผลเพ่ือพิจารณาว่าปัจจัยนัน้
เป็นสาเหตุของโรคทแ่ี ท้จรงิ หรอื ไม่ ควรพจิ ารณาจากความน่าเช่อื ถอื ของรปู แบบงานวจิ ยั เป็นลาํ ดบั แรก
รปู แบบการทดลอง และ randomized controlled trial เป็นรปู แบบทม่ี คี วามน่าเช่อื ถอื มากทส่ี ุด หากไม่ได้
ใชร้ ูปแบบดงั กล่าว ควรพจิ ารณาเกณฑ์ต่าง ๆ ซ่งึ สนับสนุนว่า ปัจจยั เสย่ี งท่ศี กึ ษาอาจเป็นปัจจยั ท่เี ป็น
สาเหตุได้ ประกอบดว้ ย มหี ลกั ฐานการทดลองในมนุษย์ มลี ําดบั ก่อนหลงั ของการได้รบั ปัจจยั และการ
เกดิ โรค ระดบั ความสมั พนั ธร์ ะหว่างปัจจยั เสย่ี งกบั การเกดิ โรคมคี ่าทส่ี ูง มรี ะดบั ความสมั พนั ธแ์ ปรตาม
ปรมิ าณปัจจยั ทไ่ี ดร้ บั มผี ลการศกึ ษาสอดคลอ้ งหรอื ไดผ้ ลเหมอื นกบั การศกึ ษาอ่นื และมเี หตุผลอธบิ ายตาม
หลกั ชวี วทิ ยา และระบาดวทิ ยา

106

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

เอกสารอ้างอิง

จรสั สวุ รรณเวลา. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการบรรยายในการประชมุ ปฏิบตั ิการ เรอื่ ง
กระบวนการวิจยั ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย.์ กรุงเทพฯ: สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

จุมพล สวสั ดยิ์ ากร. (บรรณาธกิ าร). (2520). หลกั และวิธีการวิจยั ทางสงั คมศาสตร์ กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พ์ สวุ รรณภูม.ิ

ถาวร มาตน้ . (2557). ระเบียบวิธีวิจยั ทางสาธารณสขุ . สโุ ขทยั : คณะสาธารณสขุ ศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง.

เทยี นฉาย กรี ะนนั ท,์ และจรญั จนั ทลกั ขนา. (2554). “ความรพู้ นื้ ฐานในการวิจยั ” หน่วยที่ 1 ใน
เอกสารการสอนชุดวิชา 20302 สติวิจยั และการประเมินผลการศึกษา. นนทบุร:ี
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

ธวชั ชยั วรพงศธร. (2540). หลกั การวิจยั ทางสาธารณสขุ ศาสตร.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .

ปฐมธดิ า บวั สม, ยนิ ดี พรหมศริ ไิ พบลู ย์ และอตญิ าณ์ ศรเกษตรนิ . (2560). ไดศ้ กึ ษาผลของการใช้
โปรแกรมสง่ เสรมิ สมรรถนะแหง่ ตนต่อการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพของผสู้ งู อายุกลมุ่ เสย่ี ง
โรคความดนั โลหติ สงู ในตาํ บลรมณีย์ อาํ เภอกะปง จงั หวดั พงั งา. วารสารการพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชน
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 5, 4, 549-567.

ประพนั ธ์ ธรรมไชย. (2536). การวิเคราะหอ์ ตั ราผลตอบแทนในการผลิตบณั ฑิต สาขาวิชาศิลปะ
ศาสตรแ์ ละสาขาวิชาวิทยาศาสตรข์ องวิทยาลยั ครใู นสหวิทยาลยั ล้านนา. กรงุ เทพฯ:
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.

ภริ มย์ กมลรตั น์กุล และคณะ. (2542). หลกั การทาํ วิจยั ให้สาํ เรจ็ . กรงุ เทพฯ:
เทก็ ซแ์ อนดเ์ จอรน์ ลั พบั ลเิ คชนั่ จาํ กดั .

ภริ มย์ กมลรตั น์กุล. (2531). หลกั เบือ้ งต้นในการทาํ วิจยั . แพทยช์ นบท, ปีท่ี 8, - 21.
มดี ธนะมนั่ และทสั สนี นุชประยรู . (บรรณาธกิ าร). (2541). การวิจยั ชมุ ชนทางการแพทย.์ กรงุ เทพฯ :

ภาควชิ าเวชศาสตรป์ ้องกนั และสงั คม คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ยวุ ดี ฤาชา และคณะ. (2523). วิจยั ทางการพยาบาล. กรงุ เทพฯ: ยามศลิ ป์ การพมิ พ.์
เรณา พงษ์เรอื งพนั ธุ์ และประสทิ ธิ์ พงษ์เรอื งพนั ธุ.์ (2541). การวิจยั ทางการพยาบาล. ชลบรุ :ี

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา.
วชั ราภรณ์ อนวชั ชกุล. (2562). ประสิทธิผลของยาคีโตโลแลคเปรียบเทียบกบั มอรฟ์ ี นในการระงบั

อาการปวดแผลหลงั ผา่ ตดั คลอด ด้วยวิธีดมยาสลบ. วารสารการแพทยโ์ รงพยาบาลอุดรธานี,
27, 3, 240-248.
วญั ญา วศิ าลาภรณ์. (2531). การวิจยั ทางการศึกษา หลกั การและแนวปฏิบตั ิ. กรงุ เทพฯ:
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร.

107

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

วจิ ติ ร ศรสี พุ รรณ และเทยี นศร ยงสวสั ด.ิ์ (2521). วิจยั ทางการพยาบาล. เชยี งใหม;่ คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่

สมปอง พรหมพลจร และปิยธดิ า คหู ริ ญญั รตั น์. (2559). ภาวะสขุ ภาพของผกู้ รดี ยางพาราในอาํ เภอ บา้ นผอื
จงั หวดั อุดรธานี. วารสารการพฒั นาสขุ ภาพชุมชน มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 4, 2, 225-239.

สายทพิ ย์ ผลาชุม, พชั รี หลงุ่ หมา่ น, และอจั รยิ า วชั ราววิ ฒั น์. (2558). การพฒั นาสมรรถนะการป้องกนั
วณั โรคปอด สาํ หรบั ประชากรกลมุ่ เสย่ี งของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตาํ บลเขาต่อ อาํ เภอปลาย
พระยา จงั หวดั กระบ.่ี วารสารการพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , 3, 2, 307-319.

สขุ มุ าล หุนทนทาน. (2557). การศกึ ษาความชุก ความเสย่ี งทางคลนิ ิก และผลการรกั ษาของทารกแรกเกดิ
ทม่ี ภี าวะตวั เหลอื ง โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชดา่ น.วารสารการพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชน
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , 2, 4, 21-34.

สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธุ.์ (2532). “การวิจยั ทางสงั คมศาสตร”์ หน่วยที่ 13 ในเอกสารการสอนชดุ วิชา
10131 มนุษยก์ บั สงั คม. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

Kerlinger Fred N. (1986). Foundation Behavioral Research. 3 nd. New York: Holt, Rinehart and
Wiston, Inc.

108

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

คาํ ถามท้ายบท

1. ถ้าต้องการทราบว่า “วธิ กี ารใหค้ วามรูโ้ ดยการฝึกปฏบิ ตั ชิ ่วยใหป้ ระชาชนนําความรูท้ ไ่ี ดไ้ ปใช้ สูงกว่า
วธิ อี บรมแบบเดมิ หรอื ไม่” จะใชว้ ธิ กี ารวจิ ยั ประเภทใด
ก. Descriptive research
ข. Experimental research
ค. Historical research
ง. Correlation research

2. ถ้าต้องการสํารวจสดั ส่วนของการป่ วยด้วยโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในชุมชนแห่งหน่ึงจะใช้วิธี
การวจิ ยั ประเภทใด
ก. Descriptive research
ข. Experimental research
ค. Cross-sectional research
ง. Correlation research

3. “การกําหนดหรอื เลอื กกลุม่ ควบคุมทเ่ี หมาะสมทาํ ไดย้ าก” จากขอ้ ความดงั กล่าว เป็นขอ้ เสียของรปู แบบ
การวจิ ยั ใด
ก. การศกึ ษายอ้ นหลงั
ข. การศกึ ษาไปขา้ งหน้า
ค. การศกึ ษาแบบภาคตดั ขวาง
ง. การศกึ ษาระยะสนั้

4. การศกึ ษาทเ่ี รม่ิ ตน้ จากการศกึ ษาในกลุ่มทไ่ี ดร้ บั ปัจจยั เสย่ี งแลว้ ตดิ ตามไปดผู ลทป่ี ีท่ี 5 ของการศกึ ษา
จากขอ้ ความดงั กลา่ วเป็นการศกึ ษาประเภทใด
ก. การศกึ ษาแบบไปขา้ งหน้า
ข. การศกึ ษาแบบยอ้ นหลงั
ค. การศกึ ษาแบบภาคตดั ขวาง
ง. การวจิ ยั เชงิ ทดลอง

5. การศกึ ษาความชกุ ของโรค ณ จุดเวลาหน่ึง เป็นลกั ษณะของการศกึ ษาในขอ้ ใด
ก. การศกึ ษาไปขา้ งหน้า
ข. การศกึ ษาระยะสนั้
ค. การศกึ ษาแบบภาคตดั ขวาง
ง. การศกึ ษายอ้ นหลงั
109

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

110

บทที่ 6

ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

จุดมุ่งหมายสําคัญของการทําวิจัย คือ การนําผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้กับประชากรได้
ในการน้ีจึงต้องกําหนดประชากรเป้าหมาย เลอื กประชากรท่ีจะนํามาศึกษา และสุ่มตัวอย่างเพ่อื ให้ได้
ตวั อย่างท่ีเป็นตัวแทนท่ีแท้จริงของประชากร ตลอดจนการแบ่งหรือกระจายตัวอย่างไปสู่กลุ่มศึกษา
กลมุ่ ใดกลุม่ หน่ึง (allocation) ขนั้ ตอนทก่ี ล่าวมาเป็นกระบวนการทางการวจิ ยั ทส่ี าํ คญั ทจ่ี ะทาํ ใหผ้ ลงานวจิ ยั
มคี วามถูกต้อง แม่นยํา ไม่ลาํ เอยี ง และสามารถขยายผลนํากลบั ไปใชก้ บั ประชากรไดส้ มดงั ความตอ้ งการ
ของการทาํ การศกึ ษาวจิ ยั

6.1 ประชากร (Population)

การกําหนดประชากร (Population) เป็นการระบุขอบเขตของประชากรท่ีจะนําผลการวิจัย
ไปสรุป อ้างอิงให้ชัดเจน จะเป็นกลุ่มไหน เป็นใคร เป็นช่วงเวลาใด การกําหนดประชากรชัดเจน
จะช่วยใหพ้ จิ ารณากรอบของตวั อยา่ ง และคุณสมบตั ขิ องตวั อย่างทจ่ี ะถูกเลอื กใหเ้ ป็นตวั แทนของประชากร
อย่างเหมาะสม อาจมคี วามหมายตามขอบเขตท่ผี ู้วจิ ยั กําหนดดงั ต่อไปน้ี ประชากร (Population) หรอื
ประชากรทวั่ ไป (General population) ประชากรเป้าหมาย (Target population) และ ประชากรท่ีใช้ใน
การศกึ ษา (Study population)

6.1.1 ประชากรทวั่ ไป (General population)
หมายถงึ สมาชกิ ทุกหน่วย (ทงั้ หมด) ท่ตี ้องการศกึ ษาหรอื ต้องการนําผลการวจิ ยั ไปใชอ้ ้างอิง
ซ่งึ อาจเป็นได้ทงั้ คน สตั ว์ พืช สง่ิ ของ หน่วยงานหรือสถาบัน ประชากรแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.) ประชากรท่ีมีจํานวนจํากดั (Finite population) หมายถึง ประชากรท่ีประกอบด้วยหน่วยตัวอย่าง
ท่ีมีจํานวนแน่นอน เช่น ประชากรของนักเรียนในโรงเรียน ประชากรของหลังคาเรือนในหมู่บ้าน
ท่ีรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล เป็ นต้น 2.) ประชากรท่ีมีจํานวนไม่จํากัด
(Infinite population) หมายถึง ประชากรท่ีประกอบด้วยหน่วยตัวอย่างท่ีมีจํานวนไม่แน่นอนหรือ
มจี ํานวนอนันต์ เช่น เมด็ เลอื ดแดงในร่างกายมนุษย์ จุลนิ ทรยี ใ์ นอากาศ ผูต้ ิดเช้อื HIV ผู้ใช้สารเสพติด
เป็นตน้
ประชากรท่ตี ้องการศึกษา ต้องบ่งให้ชดั เจน โดยบอกลกั ษณะต่าง ๆ ท่กี ําหนดไว้ให้ชดั เจน
และละเอยี ดพอ รวมทงั้ บ่งเวลา สถานทด่ี ว้ ย เพราะตามปกตแิ ลว้ ประชากรทุกชนิดยอ่ มมกี ารเปลย่ี นแปลง
อยตู่ ลอดเวลา ถา้ ประชากรทศ่ี กึ ษาเป็นผปู้ ่วยดว้ ยโรคหน่ึงโรคใด กจ็ าํ เป็นตอ้ งกาํ หนดเกณฑใ์ นการวนิ ิจฉยั
การเป็นโรคนนั้ ๆ ใหเ้ ดน่ ชดั และรดั กุมเพยี งพอดว้ ย

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

6.1.2 ประชากรเป้าหมาย (Target population)
หมายถึง ประชากรท่ีเรากําหนดกรอบหรือกฎเกณฑ์ให้เฉพาะเจาะจงข้ึน เพ่อื ความถูกต้อง
หรอื ตรงกบั ความประสงค์ของการศึกษาวิจยั กรอบท่ีกําหนดจะขน้ึ กบั วตั ถุประสงค์ คําถามวิจยั หรือ
เกณฑ์คุณสมบตั ิท่เี คยมผี ู้กําหนดไว้ก่อนหน้าน้ี ซ่ึงเป็นเกณฑ์มาตรฐานท่ยี อมรบั กนั อยู่แล้ว นํามาใช้
เป็นกรอบในการกาํ หนดประชากรเป้าหมายได้
6.1.3 ประชากรท่ีใช้ในการศกึ ษา (Study population, accessible population)
หมายถงึ ประชากรทผ่ี ่านเกณฑใ์ นการคดั เลอื กท่จี ะนํามาศกึ ษาโดยพยายามใหเ้ ป็นตวั แทนทด่ี ี
สามารถครอบคลุมประชากรเป้าหมายได้เกอื บทงั้ หมด ในสดั ส่วนท่ถี ูกต้องและคํานึงถงึ ความปลอดภยั
ของประชากรทจ่ี ะเขา้ ร่วมงานวจิ ยั ดว้ ย การตงั้ เกณฑ์ในการพจิ ารณา (Eligibility criteria) มที งั้ การเลอื ก
ผู้ป่ วยเข้าและคัดผู้ป่ วยออก (Inclusion และ exclusion criteria) มีข้อควรพิจารณา ดังมีรายละเอียด
ในหวั ขอ้ ต่อไป
เกณฑ์ในการเลือกประชากรท่ีใช้ในการศึกษา (Eligibility criteria) เราต้องกําหนดเกณฑ์
ในการเลอื กประชากรทจ่ี ะเขา้ สกู่ ารศกึ ษาวจิ ยั ไวก้ อ่ นทจ่ี ะทาํ การศกึ ษาโดยมขี อ้ ควรพจิ ารณา ดงั น้ี
1. เลือกสถานท่ี ท่ีจะทําการศึกษาให้สอดคล้องกับคําถามวิจัยและรูปแบบการทําวิจยั เช่น
ต้องการศึกษาเร่ืองหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีมีอาการซีดก็ควรกําหนดสถานท่ีเป็ นท่ีรับฝากครรภ์ ซ่ึงก็มีได้
ทงั้ สถานีอนามยั ไปจนถึงโรงพยาบาลท หรอื สถาบนั ขนาดใหญ่ ซ่งึ ต้องดูรายละเอยี ดและวตั ถุประสงค์
ของการศึกษาว่าจะต้องการประชากรกลุ่มใด และจําเป็นต้องใช้เคร่ืองมือชนิดใดในการศึกษาวิจัย
เพอ่ื ชว่ ยในการเลอื กสถานทท่ี าํ การวจิ ยั
2. กาํ หนดคณุ ลกั ษณะของประชากร โดยคาํ นงึ ถงึ

2.1 ประโยชน์ทต่ี วั อย่างหรอื ผปู้ ่วยทจ่ี ะไดจ้ ากการศกึ ษาวจิ ยั น้ี
2.2 ความปลอดภยั ของผู้เขา้ ร่วมการศกึ ษา เช่น อาจต้องกําหนดอายุหรอื แยกเอาผูป้ ่ วย

สงู อายุ เดก็ อ่อน หรอื สตรตี งั้ ครรภอ์ อก ในกรณีทผ่ี ูป้ ่ วยกลุ่มน้ีไม่ไดเ้ ป็นกลุ่มประชากร
ทส่ี นใจจะศกึ ษา
2.3 พจิ ารณาระยะของโรค โรคต่าง ๆ ส่วนมากยงั สามารถแบ่งได้อีกหลายระยะ เช่น
ผปู้ ่ วยโรคมะเรง็ ระยะแรก ระยะหลงั หรอื จะรวบรวมทุก ๆ ระยะของโรคเลย หรอื ระบุ
ค่าเฉพาะลงไปเลย เช่น ระบุว่าจะศึกษาวิจัยในหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีมีอาการซีดและ
มรี ะดบั hemoglobin ต่ํากวา่ 10 mg% เป็นตน้
2.4 เลอื กประชากรทส่ี ามารถตดิ ตามผลไดส้ ะดวกและวดั ผลไดร้ วดเรว็ จงึ ต้องพจิ ารณาถงึ
ระยะเวลาการวดั ผลระยะของโรค วธิ กี ารตดิ ต่อกบั ผปู้ ่วย ซง่ึ อาจต้องกาํ หนดภูมลิ ําเนา
หรอื ทพ่ี กั อาศยั
2.5 โรคอ่นื ๆ ทเ่ี กดิ ร่วมดว้ ย ตอ้ งกาํ หนดว่าจะแยกโรคใดออกจากการศกึ ษาหรอื แยกออก
เฉพาะบางโรค หรอื ความรุนแรงของโรค เพ่อื ป้องกนั อนั ตรายให้กบั ตัวอย่างท่ีร่วม
การวิจยั และในบางกรณีเป็นการลดปัจจยั กวน (Confounding factor) ของการศกึ ษา
นนั้ ๆ ดว้ ย

112

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

2.6 เพศ ในการศกึ ษาวจิ ยั บางครงั้ อาจสนใจทจ่ี ะศกึ ษาในเพศใดเพศหน่งึ
2.7 อายุ อายุมกั มเี ป็นตวั แปรทส่ี าํ คญั ต่อผลการรกั ษาเสมอ จงึ ควรพจิ ารณาว่าจําเป็นต้อง

กาํ หนดอายุของประชากรทน่ี ํามาศกึ ษาหรอื ไม่
2.8 เศรษฐฐานะ ขน้ึ อยู่กบั วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ว่าจะต้องการศกึ ษาเร่อื งเศรษฐฐานะ

ดว้ ยหรอื ไม่
2.9 ในกรณีทศ่ี กึ ษาในผูป้ ่วย ผทู้ ําการวจิ ยั ตอ้ งขอความยนิ ยอมจากผปู้ ่วยก่อนทาํ การศกึ ษา

วจิ ยั และมใี บแสดงความยนิ ยอมเขา้ สกู่ ารศกึ ษาวจิ ยั นนั้ ๆ ดว้ ย

Population Research
Target Population question
Study Population
Eligibility
criteria

Sampling

Samples

รปู ท่ี 13 แสดงการเลอื กประชากรไปสตู่ วั อยา่ ง

6.1.4 กล่มุ ตวั อยา่ ง (Sample; n)
หมายถงึ สมาชกิ บางสว่ นของประชากรทถ่ี กู เลอื กจากประชากรเพ่อื นํามาศกึ ษา ในสว่ นของกลุ่ม
ตัวอย่างประกอบด้วย 2 ประเด็นท่ีต้องระบุ ได้แก่ 1.) การกําหนดขนาดตัวอย่าง (Sample size; n)
ทเ่ี หมาะสม ซง่ึ ตอ้ งเลอื กสตู รและแสดงการคํานวณขนาดตวั อย่างทเ่ี หมาะสมกบั รูปแบบและวตั ถุประสงค์
การวจิ ยั 2.) การเลือกวิธกี ารสุ่มตวั อย่างเพ่อื ใหไ้ ด้ตวั อย่างท่ีเป็นตวั แทนท่ดี ขี องประชากร เน้นการสุ่ม
ตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น (Probability sampling) ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple
random sampling) การสุ่มตวั อย่างแบบมรี ะบบ (Systematic sampling) การสุ่มตวั อย่างแบบแบ่งชนั้ ภูมิ
(Stratified sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขัน้ ตอน (Multi-stage sampling) หน่วยตัวอย่าง
(Sampling unit) หมายถงึ หน่วยทก่ี ําหนดขน้ึ เพ่อื ใชใ้ นการเลอื กตวั อย่าง เช่น นักเรยี น ผปู้ ่ วยเบาหวาน
ผสู้ งู อายุ บุคลากรสาธารณสขุ ครวั เรอื น หม่บู า้ น โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตําบล เป็นตน้

113

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

6.1.5 กรอบตวั อยา่ ง (Sampling frame)
หมายถึง รายช่ือหรือส่วนทัง้ หมดของหน่วยตัวอย่างซ่ึงใช้สําหรบั สุ่มตัวอย่าง เช่น รายช่ือ
(เลขประจาํ ตวั ) ของนกั เรยี น รายช่อื ของผปู้ ่วยเบาหวาน รายช่อื ผสู้ งู อายุ รายช่อื ของบคุ ลากรสาธารณสุข
บา้ นเลขท่ี รายช่อื หม่บู า้ น รายชอ่ื (รหสั ) โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาํ บล เป็นตน้
กรอบตัวอย่าง (Sampling frame) เป็นเคร่อื งมอื ท่ชี ่วยให้นักวจิ ยั สามารถเข้าถึงตัวประชากร
เป้าหมายไดโ้ ดยทวั่ ไปมี 2 ประเภท คอื กรอบรายช่อื (List frame) และกรอบแผนท่ี (Area frame)
1. กรอบรายช่อื (List frame) เป็นเคร่อื งมอื ทช่ี ่วยใหน้ ักวจิ ยั สามารถเขา้ ถงึ ประชากรเป้าหมาย
ได้โดยตรง ในกรอบรายช่ือควรประกอบด้วย ช่ือ ท่ีอยู่ เบอร์โทรศัพท์ หรือ e-mail address
และรายละเอยี ดอ่นื ๆ เช่น สมุดโทรศพั ท์ บญั ชีรายช่อื โรงพยาบาล ช่ือผู้ป่ วยช่ือบุคลากรทป่ี ฏบิ ตั งิ าน
ในแผนกต่าง ๆ
2. กรอบพน้ื ท่ี (Area frame) เป็นเคร่อื งมอื ท่ชี ่วยใหน้ ักวจิ ยั สามารถเขา้ ถงึ ประชากรเป้าหมาย
ได้โดยทางอ้อม (Indirect frame) ระบบ Global Positioning System (GPS): ระบบกําหนดตําแหน่ง
บนโลกเป็นตวั อย่างหน่ึงของกรอบพน้ื ท่ี ทป่ี ัจจุบนั ไดม้ กี ารนํามาใชใ้ นการกําหนดขอบเขตพ้นื ท่ีศกึ ษา
ทางดา้ นระบาดวทิ ยาสงิ่ แวดลอ้ มและการวจิ ยั ทางสงั คมมากขน้ึ เม่อื ไดข้ อบเขตพน้ื ทศ่ี กึ ษาแลว้ นักวจิ ยั
อาจตอ้ งหารายชอ่ื ของประชากรทอ่ี ยใู่ นกรอบพน้ื ทศ่ี กึ ษานนั้ อาจใชว้ ธิ เี ดนิ เกบ็ ขอ้ มลู จากประชากรทอ่ี าศยั
อยู่ในบริเวณนัน้ ซ่ึงมขี ้อดคี อื ได้ข้อมูลท่เี ป็นปัจจุบนั แต่ข้อเสยี คอื สน้ิ เปลืองเวลา งบประมาณ และ
ทรพั ยากรบุคคล กรอบรายช่อื และกรอบพน้ื ท่สี ามารถสรา้ งขน้ึ เองไดห้ รอื สามารถหาไดจ้ ากหน่วยงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั ประชากรเป้าหมายทน่ี กั วจิ ยั ไดก้ าํ หนดไว้ หากเป็นอย่างหลงั ต้องระวงั ในเร่อื งของความเป็น
ปัจจบุ นั ความครบถว้ นและความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู
คณุ สมบตั ทิ ด่ี ขี องกรอบตวั อย่าง คอื มขี อ้ มลู ของประชากรเป้าหมายทุกคน ขอ้ มลู ควรเป็นขอ้ มลู
ปัจจุบันมากท่ีสุด และข้อมูลไม่ควรซ้ํากัน ส่ิงท่ีควรกระทําก่อนท่ีจะทําการสุ่มตัวอย่างทุกครัง้ คือ
การตรวจทานความสมบูรณ์ของกรอบตวั อย่าง เพ่อื ให้แน่ใจว่าทุกหน่วยของประชากรมโี อกาสถูกเลอื ก
มาศกึ ษาดว้ ยความน่าจะเป็นเท่า ๆ กนั

6.2 การส่มุ ตวั อย่าง (Sampling)

หลังจากท่ีเราคัดเลือกได้ประชากรท่ีจะใช้ในการศึกษาแล้ว ถ้าประชากรท่ีจะนํามาศึกษา
มจี ํานวนมากอาจไม่เหมาะทจ่ี ะทําการศกึ ษาทงั้ หมด โดยมกั มขี อ้ จํากดั ทางดา้ นระยะเวลาในการทําวจิ ยั
หรืองบประมาณ จะต้องวางแนวทางในการสุ่มตัวอย่างเพ่ือเลือกตัวอย่าง (Sample) ท่ีจะใช้ศึกษา
โดยมวี ธิ กี ารสุ่มตวั อย่างโดยอาศยั ทฤษฎคี วามน่าจะเป็น (Probability sampling) และโดยไม่อาศยั ทฤษฎี
ความน่าจะเป็น (Non-probability sampling) ดงั แสดงในภาพแสดงขนั้ ตอนการเลอื กประชากรไปสตู่ วั อยา่ ง

ขอ้ ดใี นการเลอื กตวั อยา่ ง
1. ลดคา่ ใชจ้ า่ ย
2. ลดกาํ ลงั คน
3. ไดข้ อ้ มลู เรว็

114

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

4. ไดข้ อ้ มลู จากสงิ่ ทไ่ี ม่สามารถทาํ ไดห้ มด
5. เพมิ่ ความถูกตอ้ ง (Accuracy) ไดด้ กี วา่ ทาํ การศกึ ษาในจาํ นวนทม่ี ากเกนิ ไป
6. จากการใชเ้ ทคนคิ การเลอื กตวั อย่าง สามารถนําคา่ สถติ จิ ากตวั อย่างนนั้ ๆ มาแปลและ

สรุปผลเป็นของประชากรเป้าหมายได้ นอกจากนนั้ ยงั สามารถนําค่าสถติ จิ ากตวั อยา่ งนนั้
มาวดั ความเชอ่ื ถอื ไดอ้ กี ดว้ ย

6.3 เทคนิคการสุ่มตวั อย่าง การสุ่มตวั อยา่ งโดยไม่อาศยั ทฤษฎี
ความน่าจะเป็น (Non-probability sampling)
การสุ่มตวั อยา่ งแบบต่าง ๆ 1. การเลอื กตวั อยา่ งแบบสะดวก (Convenience
การสุ่มตวั อยา่ งโดยอาศยั ทฤษฎี
ความน่าจะเป็น (Probability sampling) sampling)
2. การเลอื กตวั อย่างแบบกาํ หนดจาํ นวนไวก้ อ่ น
1. การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบงา่ ย (Simple random
sampling) (Quota sampling)
3. การเลอื กตวั อย่างแบบมจี ุดมงุ่ หมาย
2. การสมุ่ ตวั อย่างเป็นระบบ (Systematic
sampling (Purposive sampling)
4. Snowball sampling
3. การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบแบง่ ชนั้ (Stratified
random sampling)

4. การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบไมย่ ดึ สดั สว่ น
(Disproportional sampling)

5. การสมุ่ ตวั อย่างแบบกล่มุ (Cluster sampling)
และการสมุ่ ตวั อย่างแบบหลายขนั้ ตอน
(Multistage sampling)

6.3.1 การสมุ่ ตวั อย่างโดยอาศยั ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability sampling)
เป็นการสมุ่ แบบเปิดโอกาสใหท้ ุก ๆ หน่วย เช่น ทุกคนมโี อกาสถกู เลอื กเขา้ สกู่ ารวจิ ยั ไดเ้ ทา่ ๆ กนั
การใชก้ ารสุ่มแบบน้ีทําใหท้ ราบค่าของโอกาสท่จี ะถูกเลือกเขา้ ร่วมการศกึ ษาวิจยั และสามารถคํานวณ
ค่าความคลาดเคล่ือนจกการสุ่มตัวอย่างได้ (Sampling errors) ความคลาดเคล่ือนน้ี โดยหลักการ
จะเกดิ จากโอกาสทจ่ี ะมคี วามคลาดเคล่อื นเองตามธรรมชาตไิ ม่ไดเ้ กดิ จากความลาํ เอยี ง (Selection bias)
หรอื โดยการกระทําของผทู้ าํ การวจิ ยั ซง่ึ มที งั้ ทจ่ี งใจลําเอยี งหรอื ไม่จงใจลาํ เอยี ง การสมุ่ แบบน้ีจะทําใหไ้ ด้
ตวั อย่างเขา้ สกู่ ารศกึ ษาวจิ ยั ไดอ้ ย่างน่าเช่อื ถอื ซง่ึ การสมุ่ ตวั อย่างโดยอาศยั ทฤษฎคี วามน่าจะเป็นสามารถ
ทาํ ไดห้ ลายวธิ ขี น้ึ อยกู่ บั จาํ นวนประชากร คณุ สมบตั ิ และ วตั ถุประสงคห์ ลกั ของการวจิ ยั ดงั น้ี

1. การสุ่มตวั อยา่ งแบบงา่ ย (Simple random sampling)
วธิ กี ารน้ีเป็นการส่มุ ตวั อย่างแบบไม่ลาํ เอยี ง การสุ่มแต่ละครงั้ จะเป็นอสิ ระไม่ขน้ึ ต่อกนั
และมโี อกาสทจ่ี ะไดร้ บั เลอื กเทา่ ๆ กนั การสมุ่ แบบน้ีสามารถทาํ ไดห้ ลายวธิ ี ไดแ้ ก่

115

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

1.1 การจบั สลาก เชน่ มสี มาชกิ อยู่ 1,000 คน จะเลอื กมาศกึ ษา 100 คน กต็ อ้ งทาํ สลาก
1,000 ใบ ซง่ึ ขนาดและสเี หมอื น ๆ กนั และเขยี นช่อื หรอื เบอรไ์ ว้ จากนนั้ สมุ่ จบั มา 100 ใบ

1.2 ทอดลกู เต๋า โดยใหล้ กู เต๋าแต่ละลกู แทนเลขแต่ละหลกั แต่ลกู เต๋ามแี ค่ 1-6 จะตอ้ งทาํ
เลขกํากบั แต่ละคนของประชากรทจ่ี ะศกึ ษาใหเ้ หมาะสมกบั การขน้ึ ของลูกเต๋าดว้ ย (111-666 และไม่นับ
เลข 0)

1.3 ตารางการสมุ่ ตวั อยา่ ง ซง่ึ เป็นหมายเลขทท่ี าํ ขน้ึ จากการสมุ่ สามารถใชจ้ าํ นวนหลกั
ใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดของประชากรทจ่ี ะศกึ ษา เช่น จะเลอื กตวั อย่างมา 100 คน จากประชากรทจ่ี ะนํามา
ศกึ ษา 900 คน ทาํ ไดโ้ ดย

- ทาํ หมายเลขประจาํ ตวั ใหก้ บั ประชากรแต่ละคน ดว้ ยหมายเลข 001-900
- เลือกสุ่มไปท่ีส่วนใดของตารางก็ได้ แล้วอ่านเลข 3 หลกั ท่ีอ่านได้เบอร์แรก เช่น

สุ่มได้บรรทัดท่ี 8 หลักท่ี 12 อ่านเลข 3 หลักได้เท่ากับ 695 จากนัน้ จะขยบั ไป
ตามทศิ ทางไหนกไ็ ด้ เลอื กทศิ ทางหน่ึงแล้วอ่านตวั เลข 3 ตวั ถดั ไป เช่น กําหนดให้
อ่านไปตามขวางทลี ะ 3 หลกั กจ็ ะได้ 556 719 981 050 ตามลาํ ดบั หมายเลขใดตรง
กบั ประชากรทา่ นใด กถ็ อื ว่าถกู เลอื กเป็นตวั อย่างทจ่ี ะนําไปศกึ ษาวจิ ยั ต่อไป
- ถา้ ไดเ้ ลขทเ่ี กนิ กวา่ ประชากรทม่ี อี ยกู่ ใ็ หข้ า้ มเลข 3 หลกั นนั้ ไปเลย
- ทาํ เชน่ น้ีไปจนไดจ้ าํ นวนครบตามตอ้ งการ
ตวั อยา่ งตารางเลขสุ่ม
03 47 43 73 86 36 96 47 36 61 46 98 63 71 62 33 26 16 80 45 60 11 14 10 95
97 74 24 67 62 42 81 14 57 20 42 53 32 37 32 27 07 36 07 51 24 51 79 89 73
16 76 62 27 66 56 50 26 71 07 32 90 79 78 53 13 55 38 58 59 88 97 54 14 10
12 56 85 99 26 96 96 68 27 31 05 03 72 93 15 57 12 10 14 21 88 26 49 81 76
55 59 56 35 64 68 54 82 46 22 31 62 43 09 90 06 18 44 32 53 23 83 01 30 30
16 22 77 94 39 49 54 43 54 82 17 37 93 23 78 87 35 20 96 43 84 26 34 91 64
84 42 17 53 31 57 24 55 06 88 77 04 74 47 67 21 76 33 50 25 83 92 12 06 76
63 01 63 78 59 16 95 55 67 19 98 10 50 71 75 12 86 73 50 25 83 92 12 06 76
33 21 12 34 29 78 64 56 07 82 52 42 07 44 38 15 51 00 13 42 99 66 02 79 54

2. การสุ่มตวั อยา่ งอยา่ งเป็นระบบ (Systematic sampling)
เป็นการสุ่มตวั อย่างแบบโอกาสเท่าเทยี มกนั อย่างหน่ึง ลกั ษณะการทํากจ็ ะคล้ายกนั
แต่ช่วยใหง้ ่ายข้นึ กว่าการสุ่มตวั อย่างแบบปกติ วธิ ที ํา ต้องทํารายช่ือหรอื หมายเลขกํากบั ให้ประชากร
ทจ่ี ะใชศ้ กึ ษา จากนัน้ เอาจํานวนตวั อย่างไปหารจํานวนประชากรทจ่ี ะใชศ้ กึ ษา กจ็ ะได้ Sampling interval
เชน่ ตอ้ งการตวั อย่าง 100 คน จากประชากร 1,000 คน (1,000/100) ได้ Sampling interval = 10 จากนนั้
สมุ่ เลอื กว่าจะเรม่ิ ทห่ี มายเลขใดใน 10 คนแรก เม่อื ไดก้ จ็ ะใช้ Interval = 10 บวกเขา้ ไปตลอดจนได้ Sample
size ตามตอ้ งการ เชน่ สมุ่ 10 คนแรกไดเ้ ลข 3 หมายเลขต่อไปคอื 13, 23, 33, 43, 53 ไปเร่อื ย ๆ

116

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

3. การสุ่มตวั อยา่ งแบบแบ่งชนั้ ภมู ิ (Stratified random sampling)
เป็นการปรบั ปรุงการสมุ่ ตวั อย่างแบบปกตเิ พอ่ื ลดความคลาดเคล่อื นของการสุ่มตวั อยา่ ง โดยแบ่งประชากร
ทศ่ี กึ ษาออกเป็นชนั้ ภูมติ ามคุณลกั ษณะพเิ ศษทแ่ี ยกไดอ้ ยา่ งชดั เจน โดยภายในชนั้ ภมู มิ คี วามคลา้ ยคลงึ กนั
แต่มคี วามแตกต่างระหว่างชนั้ ภูมิ การแบ่งชนั้ ภมู นิ ้ที าํ เพ่อื

- ใหไ้ ดต้ วั แทนของลกั ษณะพเิ ศษนนั้ ๆ ในสดั สว่ น หรอื ในจาํ นวนตามตอ้ งการ
- ใหไ้ ดจ้ าํ นวนตวั อยา่ งในแต่ละชนั้ เพยี งพอต่อการคาํ นวณ
- เพอ่ื ใหไ้ ดป้ รมิ าณมากพอทเ่ี ป็นการกระจายของขอ้ มลู เป็นการกระจายแบบปกติ
ตวั อยา่ งเช่น แบ่งประชากรศกึ ษาตาม เพศ ระดบั การศกึ ษา หรอื เศรษฐานะ
4. การสุ่มตวั อยา่ งแบบไม่ยึดสดั ส่วน (Disproportional sampling)
โดยปกติการสุ่มตัวอย่างควรยึดสดั ส่วนเพ่ือให้ได้ตัวแทนท่ีแท้จริง ทงั้ จํานวนและ
คุณภาพ แต่ในบางกรณีทก่ี ารยดึ สดั สว่ นจะทาํ ให้ไดต้ วั อย่างจากบางสดั ส่วนน้อยเกนิ ไป ดงั นัน้ อาจเลอื ก
สัดส่วนนัน้ มากข้ึน (Over samples) โดยกําหนดน้ําหนักของผลลัพธ์ให้น้อยลงเพ่ือความถูกต้อง
ในการคํานวณ เช่น ในการถามความเหน็ จากประชาชน 1,200 คน ในเร่อื งการรกั ษาทุกโรค 30 บาท
จะเลอื กประชาชน (Sample) อย่างน้อยร้อยละ 10 มาศกึ ษา (120 คน) แต่จํานวนเพศชายมี 1,000 คน
เพศหญิง 200 คน จํานวนทเ่ี ลอื ก คอื ชาย 100 คน หญงิ 20 คน ซง่ึ ผู้วจิ ยั คดิ ว่าจํานวนเพศหญงิ 20 คน
น้อยเกินไป อาจไม่ได้ข้อมูลท่ีดี จึงสุ่มเลือกเพศชายมา 100 คน หญิง 100 คน แต่ก่อนการคํานวณ
จะให้ค่าน้ําหนักของคําตอบของเพศชายมีน้ําหนัก x 10 ส่วนคําตอบของเพศหญิง x 2 กจ็ ะได้สดั ส่วน
ตามความเป็นจรงิ
5. การสุ่มตวั อยา่ งแบบกลุ่ม (Cluster sampling)
โดยแบ่งประชากรเป็นกลุ่ม ๆ ใหแ้ ต่ละกลุ่มมลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั แต่ขณะเดยี วกนั
คุณลักษณะภายในกลุ่มมีความหลากหลาย สุ่มโดยเลือกกลุ่มข้นึ มา แล้วทําการศึกษาทุก ๆ หน่วย
ในกลุ่มนัน้ เช่น การสํารวจความชุกของโรคหนอนพยาธใิ นภาคอสี าน เม่ือเลอื กจงั หวดั ใดจงั หวดั หน่ึง
เป็นตวั แทนแลว้ กจ็ ะสาํ รวจทุก ๆ หลงั คาเรอื น
6. การสุ่มตวั อยา่ งแบบหลายขนั้ ตอน (Multistage sampling)
การสุ่มตัวอย่างวิธนี ้ีมกั ใช้กบั โครงการสํารวจขนาดใหญ่ และใช้วิธีผสมหลายแบบ
คอื เม่อื เลอื กกลุ่มมาแลว้ จะเลอื กหน่วยย่อยลงไปอกี ทลี ะขนั้ ตอน เม่อื ได้ขนั้ ตอนสุดท้ายแล้วก็จะศึกษา
ทุก ๆ หน่วยในกลุ่มนัน้ เช่น การสาํ รวจในระดบั จงั หวดั จะแบ่งประชากรตามหน่วยอําเภอ แลว้ สมุ่ ชนั้ ท่ี 1
เพ่อื เลอื กอาํ เภอตวั อย่าง จากนนั้ ในแต่ละอาํ เภอตวั อย่างจะแบ่งประชากรตามจํานวนตําบล จะสมุ่ ชนั้ ท่ี 2
เพ่อื เลอื กตําบลตวั อย่าง จากนนั้ สุ่มขนั้ ท่ี 3 เพ่อื เลอื กหมู่บา้ นตวั อย่าง และสุม่ ชนั้ ท่ี 4 เพ่อื เลอื กครวั เรอื น
ตวั อยา่ ง

117

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

รปู ที่ 14 การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบแบง่ ชนั้ ภมู ิ (Stratified random sampling)

รปู ท่ี 15 การสมุ่ ตวั อย่างแบบแบง่ กลุ่ม (Cluster sampling)
118

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

รปู ที่ 16 การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบหลายขนั้ ตอน (Multistage sampling)

ขอ้ ดี ขอ้ ดอ้ ย ของการสมุ่ ตวั อยา่ งแต่ละชนดิ ในการสมุ่ ตวั อยา่ งโดยอาศยั ทฤษฎคี วามน่าจะเป็น
(Probability sampling)

ชนิด คาํ อธิบายโดยยอ่ ข้อดี ขอ้ เสีย

Simple ทกุ หน่วยมโี อกาสไดร้ บั - นําขอ้ มลู ทางสถติ ไิ ปใช้ - ตอ้ งการกรอบตวั อย่าง
random คดั เลอื กเทา่ กนั กบั ประชากรกลมุ่ (Sampling frame)
เป้าหมายได้ ความถกู ทถ่ี กู ตอ้ งสมบรู ณ์
ตอ้ งจากการศกึ ษาขน้ึ อยู่
กบั ขนาด ตวั อยา่ ง,
- ง่ายแก่การวเิ คราะห์
และคาํ นวณหา
standard errors

Systematic เรยี งลาํ ดบั หน่วยแลว้ หา - งา่ ยในการปฏบิ ตั งิ าน - ตอ้ งการกรอบตวั อย่างท่ี
Interval และเลอื ก ภาคสนาม ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์
ตวั อย่างจนครบจาํ นวน

119

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ชนิ ด คาํ อธิบายโดยย่อ ข้อดี ขอ้ เสีย
Stratified แบง่ ประชากรเป็นกลมุ่
ย่อยตามคณุ สมบตั ิ แลว้ - ไดต้ วั แทนแต่ละกลมุ่ - ยากในการปฏบิ ตั กิ ว่า
Cluster สมุ่ ตวั อย่างจากแต่ละ - ไดจ้ าํ นวนของแต่ละกลมุ่ Sample random
กลมุ่ เพยี งพอ - ตอ้ งมกี รอบตวั อย่างของ
Multistage - ลด Standard error แต่ละกลมุ่
เลอื กประชากรเป็นกลุ่ม - ตอ้ งแบง่ กลุ่มไดอ้ ยา่ ง
หมบู่ า้ นและเกบ็ ขอ้ มลู ชดั เจน
ทุกคนในหมบู่ า้ น
- ไม่ตอ้ งการกรอตวั อยา่ ง - Standard error มากกว่า
เลอื กตวั อย่างหลายชนั้ อยา่ งสมบรู ณ์จงึ ทาํ ไดง้ ่าย วธิ ี Simple random
(จากจงั หวดั เป็นอาํ เภอ - ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการ sample
จากอาํ เภอ เป็นตําบล ปฏบิ ตั ภิ าคสนามถา้ กล่มุ - ตอ้ งกาํ หนดหน่วยในแต่
จากตาํ บลเป็นหม่บู า้ น อยใู่ กลก้ นั ละ Cluster ใหช้ ดั เจน
จากหมบู่ า้ นเป็น
ครวั เรอื น - ไมต่ อ้ งการกรอบ - Standard error สงู
ตวั อยา่ งทส่ี มบรู ณ์จงึ ทาํ - ยากแก่การวเิ คราะห์
ไดง้ า่ ยขน้ึ
- ถา้ แบง่ ตามภูมศิ าสตรจ์ ะ
ลดคา่ ใชจ้ า่ ย

6.3.2 การส่มุ ตวั อยา่ งโดยไมอ่ าศยั ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Non-probability sampling)
เป็นการเลือกตัวอย่างด้วยวิธีการอ่ืน ๆ ท่ีโอกาสในการถูกเลือกเป็นตัวอย่างจะไม่เท่ากัน
ดังนัน้ จึงไม่สามารถเป็นตัวแทนของประชากรเป้าหมายได้เต็มท่ี การสรุปผลการวิจัยต้องทําด้วย
ความระมดั ระวงั ไม่ควรขยายผลการวจิ ยั เกนิ สมควร การสุ่มตวั อย่างโดยไม่อาศยั ทฤษฎคี วามน่าจะเป็น
แบง่ ออกไดห้ ลายวธิ ี คอื
1. การเลอื กตวั อยา่ งแบบบงั เอญิ (Accidental sampling) เป็นวธิ กี ารทพ่ี บบ่อย เช่น การทเ่ี ลอื ก
เอาผูป้ ่ วยท่เี ขา้ มารบั การรกั ษาในแผนกผปู้ ่ วยนอกในช่วงเวลาหน่ึงมาเป็นตวั อย่าง เจอใครเกบ็ ขอ้ มูลได้
กเ็ กบ็ ขอ้ มูลไปตามจํานวนท่ตี ้องการ โดยไม่มกี ารสุ่มหรือเลอื กตวั อย่าง วธิ กี ารน้ีมกั จะใช้ในการสํารวจ
ประชามติ (Poll) ซง่ึ นิยมใชก้ นั มาก โดยอาจจะใชว้ ธิ กี ารสมั ภาษณ์ทางโทรศพั ท์ หรอื สอบถามในทช่ี ุมชน
ซง่ึ มคี นไปรวมอยู่
2. การเลอื กตวั อย่างแบบกําหนดจํานวนไว้ก่อน (Quota sampling, Convenience) มลี กั ษณะ
คลา้ ยการสุ่มแบบแบ่งชนั้ แต่ไม่ไดส้ ุ่มแบบมโี อกาสเท่าเทยี มกนั ในการถูกเลือก วธิ นี ้ีจะกําหนดจํานวน
ทต่ี อ้ งการไวก้ ่อนเม่อื ไดจ้ าํ นวนทต่ี อ้ งการกห็ ยุด เช่น ต้องการสาํ รวจความคดิ เหน็ ต่อการไปฝากครรภข์ อง
หญิงวยั เจรญิ พนั ธุ์ท่สี มรสแล้ว ต้องการจํานวนคนทถ่ี ูกสมั ภาษณ์ 20 เปอร์เซน็ ต์ ถ้าหญิงวยั เจรญิ พนั ธุ์
ท่ีสมรสแล้วมีจํานวน 1,000 คน ก็เลือกมา 200 คน เม่ือได้ครบก็หยุด วิธีน้ีอาจมีอคติเกิดข้ึนจาก
การทต่ี วั แทนทเ่ี ลอื กไดอ้ าจมลี กั ษณะทไ่ี มค่ รอบคลมุ ตามตอ้ งการ

120

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

3. การสมุ่ แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) การเลอื กตวั อย่างท่มี าศกึ ษาจะขน้ึ อย่กู บั
การตดั สนิ ใจของผวู้ จิ ยั ว่าจะเลอื กตามลกั ษณะอย่างไร ในหลายกรณีมกั เป็นการเลอื กเฉพาะคนทม่ี ลี กั ษณะ
พเิ ศษ หรอื มคี ณุ สมบตั ทิ ต่ี อ้ งการ เมอ่ื มคี ุณสมบตั ติ ามทต่ี งั้ ไวก้ จ็ ะถูกนําเขา้ มาศกึ ษา ดงั นนั้ ตวั อย่างทน่ี ํามา
ศกึ ษาจงึ เป็นตวั แทนของกลุ่มทม่ี คี ุณสมบตั ดิ งั กล่าวนนั้ ไม่ใช่ประชากรทงั้ หมด
4. Snowball sampling ใช้ในกรณีท่ีหาผู้ท่ีจะเข้าสู่การศึกษายาก หรือมีลักษณะพิเศษ
เม่อื ได้ผู้ท่ีจะเข้าสู่การศึกษาชุดแรกมากจ็ ะถามหรือให้ตัวอย่างชุดแรกเป็นผู้แนะนําตัวอย่างต่อ ๆ ไป
ถา้ เขา้ เกณฑก์ ร็ วมเขา้ สกู่ ารศกึ ษาและใหแ้ นะนําตวั อย่างต่อ ๆ ไปเป็นลกู โซ่จนไดจ้ าํ นวนตวั อย่างทต่ี อ้ งการ
วิธีน้ีไม่ได้ตัวอย่างจากการสุ่ม ดังนัน้ การขยายผลการรักษาจึงมีขีดจํากัดเฉพาะตามเกณฑ์ท่ีใช้
ในการเลอื กตวั อยา่ งทจ่ี ะนําเขา้ สกู่ ารศกึ ษาเท่านนั้
ขอ้ ดี ขอ้ ดอ้ ย ของการเลอื กตวั อย่างแต่ละชนิดในการสมุ่ ตวั อยา่ ง โดยไมอ่ าศยั ทฤษฎคี วามน่าจะเป็น
(Non-probability sampling)

ชนิด คาํ อธิบายโดยยอ่ ข้อดี ข้อเสีย

Accidental ศกึ ษาในกลมุ่ ใกลต้ วั สะดวก ง่าย เหมาะสาํ หรบั ขอ้ อคตมิ ากขน้ึ อย่กู บั
ศกึ ษากลุม่ พเิ ศษ เฉพาะ ผใู้ หค้ วามเหน็

Quota แบ่งประชากรตาม ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการคดั เลอื ก คุณสมบตั ทิ ใ่ี ชใ้ นการ
คุณสมบตั ิ แลว้ กาํ หนด ปฏบิ ตั กิ ารภาคสนาม แยกกลุ่มอาจไมช่ ดั เจน
จาํ นวนทต่ี อ้ งการในแต่ละ
กลมุ่ จาํ นวนในแต่ละกล่มุ
อาจน้อยเกนิ ไป

Purposive, คดั เลอื กตามอธั ยาศยั และ ครอบคลมุ ไดท้ ุกระดบั ตาม ควบคุมความหลากหลาย
Convenience เจตนาของผวู้ จิ ยั ความสามารถของผชู้ าํ นาญ และอคตไิ มไ่ ด้

Snowball ทาํ ในกลุม่ ประชากรทม่ี ี ลดอคตทิ เ่ี กดิ จากการเลอื ก ผลการศกึ ษาวจิ ยั นําไป
ลกั ษณะเฉพาะและหายาก โดยบงั เอญิ ขยายผลไดย้ าก

6.4 การกาํ หนดขนาดตวั อย่าง (Determination of sample size)

ในงานวจิ ยั หรอื การทดลองศกึ ษาเร่อื งใด ๆ มกั จะมปี ัญหาว่าขนาดตวั อย่างเท่าใดจงึ พอเหมาะ
เป็นตวั แทนทด่ี ขี องประชากรได้ การกําหนดขนาดตวั อย่างมหี ลายวธิ ี ทงั้ น้ี ขน้ึ อยู่กบั วธิ ที ่ใี ช้สุม่ ตวั อย่าง
และข้นึ อยู่กบั ลกั ษณะของข้อมูลหรือตวั แปรท่สี ําคญั ซ่งึ ต้องการประมาณค่า (Estimation) โดยเฉพาะ
อย่างยง่ิ ในการวจิ ยั แบบทดลองซ่งึ ต้องทดสอบสมมตฐิ าน (Hypothesis testing) เพราะว่าขนาดตวั อย่าง
น้อยเกินไปก็อาจไม่สามารถบอกความแตกต่างระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองได้ (ความจริง
มคี วามแตกต่าง) หรอื ในทางตรงกนั ขา้ มถา้ ขนาดตวั อย่างใหญ่เกนิ ไป นอกจากจะทาํ ใหส้ น้ิ เปลอื งคา่ ใชจ้ า่ ย
และเวลาแล้ว ผลการวจิ ยั อาจพบความแตกต่างระหว่างกลุ่มควบคุมกบั กลุ่มทดลองได้ ทงั้ ๆ ท่ีความ
แตกต่างนนั้ ไม่มคี วามหมายในทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

121

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ขนาดของกลุ่มตวั อย่างกค็ อื จํานวนสมาชกิ กลุ่มตวั อย่าง ในการวจิ ยั ทจ่ี ะศกึ ษากบั กลุ่มตวั อย่าง
ผู้วิจยั จะต้องกําหนดจํานวนของกลุ่มตัวอย่างว่าจะใช้จํานวนเท่าใด การใช้กลุ่มตัวอย่างจํานวนน้อย
จะทําใหโ้ อกาสทจ่ี ะเกดิ ความคลาดเคล่อื นมมี าก การใช้กลุ่มตวั อย่างจาํ นวนมากจะทําใหโ้ อกาสท่จี ะเกดิ
ความคลาดเคล่อื นมนี ้อย เม่อื กลุ่มตวั อย่างมจี าํ นวนน้อย ค่าความคลาดเคล่อื นจะมมี ากค่าสถติ ทิ ค่ี ํานวณ
จากกลุ่มตวั อย่างจะแตกต่างไปจากค่าพารามเิ ตอร์ ซง่ึ เป็นคุณลกั ษณะของประชากร แต่เม่อื กลมุ่ ตวั อย่าง
เพมิ่ ขน้ึ ค่าความคลาดเคล่อื นจะลดลง ค่าสถติ ิท่คี ํานวณจากกลุ่มตวั อย่างจะใกล้เคยี งกบั ค่าพารามเิ ตอร์
ดงั นนั้ โดยทวั่ ไปแลว้ ถ้าใชก้ ลุ่มตวั อย่างจํานวนมากจะดกี ว่าการใชก้ ลุ่มตวั อย่างจาํ นวนน้อย แต่อย่างไร
กต็ ามการใชก้ ลมุ่ ตวั อย่างจาํ นวนมาก ย่อมจะสน้ิ เปลอื งค่าใชจ้ ่าย เวลา และ แรงงานมาก จงึ พยายามเลอื ก
จํานวนน้อยทส่ี ุด แต่ใหไ้ ดผ้ ลเช่อื ถือไดม้ ากทส่ี ุด นัน่ คอื มคี วามเคล่อื นน้อยทส่ี ุด ในการกําหนดขนาดของ
กลมุ่ ตวั อย่าง ควรพจิ ารณาถงึ สงิ่ ต่อไปน้ี

1. ธรรมชาติของประชากร (Nature of population) ถ้าประชากรมีความเป็นเอกพันธ์มาก
ความแตกต่างกนั ของสมาชกิ มนี ้อย นัน่ คอื มคี วามแปรปรวนน้อยกใ็ ชก้ ลุ่มตวั อย่างน้อยไดแ้ ต่ถา้ ประชากร
มลี กั ษณะเป็นววิ ิธพนั ธ์ ความแตกต่างกนั ของสมาชิกมมี าก ความแปรปรวนมีมากกค็ วรจะใช้จํานวน
กลุม่ ตวั อย่างมาก

2. ลกั ษณะของเร่ืองวจิ ยั การวจิ ยั บางประเภทไม่จําเป็นต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจํานวนมาก เช่น
การวิจัยเชิงทดลอง การใช้กลุ่มตัวอย่างจํานวนมากจะก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดี เพราะยากต่อ
การควบคุมสภาพการทดลอง การวิจัยโดยใช้วิธีสัมภาษณ์รายบุคคลจะใช้กลุ่มตัวอย่างน้อยกว่า
การสง่ แบบสอบถามใหต้ อบ เป็นตน้

6.4.1 การกาํ หนดขนาดตวั อยา่ งสาํ หรบั การศกึ ษาวิจยั เชิงพรรณนา
1) ขนาดตวั อยา่ งท่ีใช้ในการสาํ รวจเพือ่ การประมาณคา่ เฉลี่ยในประชากร
1.1) กรณีที่ไมท่ ราบจาํ นวนประชากร
สตู ร

Z 2 2σ2
α

n = d2
n = ขนาดตวั อยา่ ง
Z = ค่ามาตรฐานภายใตโ้ คง้ ปกติ

σ2 = ความแปรปรวนของตวั แปร x ในประชากร
d = ความคลาดเคล่อื นทย่ี อมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในการประมาณค่าเฉลย่ี

ตวั อย่าง นักโภชนวทิ ยาต้องการสํารวจหญงิ วยั รุ่นว่า มคี ่าสารอาหารโปรตนี โดยเฉล่ยี ท่ไี ด้รบั ประจําวนั
เท่าไร จงึ ขอคําปรึกษาจากนักชวี สถิติให้ช่วยหาขนาดตัวอย่างเพ่ือทําการวิจยั นักโภชนวิทยายอมให้
คา่ ประมาณผดิ จากของจรงิ ได้ 5 หน่วย สมั ประสทิ ธคิ์ วามเช่อื มนั่ 95 เปอรเ์ ซน็ ต์ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
20 กรมั

122

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

จากสตู ร Z 2 2σ2
α
n
n = d2
Z = ขนาดตวั อยา่ ง
= คา่ มาตรฐานภายใตโ้ คง้ ปกตเิ ท่ากบั 1.96
σ2
= ความแปรปรวนของค่าสารอาหาร = (20)2 กรมั
d = ความคลาดเคล่อื นทย่ี อมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในการประมาณค่าสารอาหาร = 5 กรมั

แทนค่าในสตู รจะได้

(1.96)2 (20)2

n = (5)2
= 61.47
= 62
นนั่ คอื จะตอ้ งใชข้ นาดตวั อยา่ งจากหญงิ วยั รุน่ 62 คน เพ่อื ประมาณคา่ เฉลย่ี คา่ สารอาหารโปรตนี
ท่ไี ด้รบั ต่อวนั โดยยอมให้มคี วามคลาดเคล่อื นในการประมาณค่าเฉล่ยี ของค่าสารอาหารโปรตนี ไม่เกิน
5 กรมั
1.2) กรณีที่ทราบจาํ นวนประชากร
สตู ร

Z 2 N 2 σ 2
α x
2

n =Z 2 2σ 2 Nd 2
α x

n = ขนาดตวั อยา่ ง
N = จาํ นวนประชากร
Z = ค่ามาตรฐานภายใตโ้ คง้ ปกติ

σ2 = ความแปรปรวนของตวั แปร x ในประชากร
d = ความคลาดเคล่อื นทย่ี อมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในการประมาณค่าเฉลย่ี
ตัวอย่าง ในการศึกษาค่าใช้จ่ายโดยเฉล่ียต่อครัง้ ในการรักษาของผู้ป่ วยภายนอกโรงพยาบาล
ในอําเภอหน่ึง ในรอบเวลา 1 เดอื น มผี ู้ป่ วยทงั้ หมด 500 คน จะต้องสุ่มตวั อย่างจํานวนผู้ป่ วยภายนอก
มาเทา่ ไร โดยใหม้ คี วามคลาดเคล่อื นของคา่ ใชจ้ ่ายในการรกั ษาไม่เกนิ 20 บาท ในระดบั ความเช่อื มนั่ 95%
และจากการศกึ ษาคา่ ใชจ้ ่ายในการรกั ษาผปู้ ่วยภายนอกในอดตี พบว่า คา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษามคี ่าเบย่ี งเบน
มาตรฐานเทา่ กบั 120 บาท

123

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

จากสตู ร

Z 2 2 Nσ 2
α x

n =Z 2 2σ 2 Nd 2
α x

n = ขนาดตวั อยา่ ง
N = จาํ นวนประชากร คอื ผปู้ ่วยทงั้ หมด 500 คน
Z = ค่ามาตรฐานภายใตโ้ คง้ ปกติ เท่ากบั 1.96

σ2 = ความแปรปรวนของคา่ ใชจ้ ่ายในการรกั ษา = (120) 2 บาท
d = ความคลาดเคลอ่ื นทย่ี อมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในการประมาณค่าเฉลย่ี
ของค่ารกั ษา = 20 บาท
แทนคา่ ในสตู รจะได้

(1.96)2 (500)(120)2

n = (1.96)2 (120)2 + (500)(20)2

27,659,520

= 255,319.04
= 108.51
= 109
นนั่ คอื จะต้องใชข้ นาดตวั อย่างจากผปู้ ่ วยภายนอก 109 คน เพ่อื ประมาณค่าเฉลย่ี ของการรกั ษา
ต่อครัง้ ในผู้ป่ วยนอกทงั้ หมด 500 คน โดยยอมให้มีความคลาดเคล่ือนในการประมาณค่าเฉล่ียของ
การรกั ษา ไมเ่ กนิ 20 บาท

2) ขนาดตวั อยา่ งที่ใช้ในการสาํ รวจเพอื่ การประมาณสดั ส่วนหรอื คา่ ความชกุ ของโรค
2.1) กรณีที่ไมท่ ราบจาํ นวนประชากร
สตู ร

Z 2 2 PQ
α

n= d2

n = ขนาดตวั อยา่ ง
Z = คา่ มาตรฐานภายใตโ้ คง้ ปกติ
P = ค่าสดั สว่ นของตวั แปร (Primary outcome)
Q = 1–P
d = ความคลาดเคลอ่ื นทย่ี อมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในการประมาณค่าสดั สว่ น

ตวั อย่าง ตอ้ งการศกึ ษาเพอ่ื สาํ รวจถงึ สดั สว่ นของครอบครวั ทม่ี บี ตั รประกนั สขุ ภาพ ผวู้ จิ ยั คดิ วา่ ค่าสดั สว่ น
น้ีควรมคี า่ ไม่เกนิ 35 เปอรเ์ ซน็ ต์ ดว้ ยความเชอ่ื มนั่ 95 เปอรเ์ ซน็ ต์ ควรสมุ่ ตวั อย่างมากค่ี รวั เรอื น โดยใหม้ ี
ความคลาดเคลอ่ื นในการประมาณสดั สว่ นไม่เกนิ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์

124

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

จากสตู ร

Z 2 2 PQ
α

n= d2

n = ขนาดตวั อยา่ ง
Z = คา่ มาตรฐานภายใตโ้ คง้ ปกตเิ ท่ากบั 1.96
P = ค่าสดั สว่ นของครอบครวั ทม่ี บี ตั รสขุ ภาพเท่ากบั 35%
d = ความคลาดเคล่อื นทย่ี อมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในการประมาณสดั ส่วนเท่ากบั 5 เปอรเ์ ซน็ ต์
แทนคา่ ในสตู ร

(1.96)2 (.35)(1 − .35)

n= (.05)2

= 349.6
= 350
นนั่ คอื จะตอ้ งใชจ้ าํ นวนตวั อย่าง 350 ครอบครวั เพอ่ื ประมาณการครอบครวั ทม่ี บี ตั รประกนั
สขุ ภาพ โดยใหม้ คี วามคลาดเคลอ่ื นในการประมาณสดั สว่ นไดไ้ มเ่ กนิ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์

2.2) กรณีท่ีทราบจาํ นวนประชากร
สตู ร

Z2 α 2 NP(1 − P)
n = Z2 α 2 P(1 − P) + Nd 2
n = ขนาดตวั อย่าง
N = จาํ นวนประชากร
Z = คา่ มาตรฐานภายใตโ้ คง้ ปกติ
P = ค่าสดั สว่ นของตวั แปร x
d = ความคลาดเคล่อื นทย่ี อมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในการประมาณคา่ สดั สว่ น
ตวั อย่าง ต้องการศกึ ษาปัจจยั ท่มี ผี ลกระทบต่อการรบั บรกิ ารต่อเน่ืองในผู้ป่ วยวณั โรคท่ีคลนิ ิกวณั โรค
แห่งหน่ึง ซ่ึงมีผู้ป่ วยวัณโรคปอดทัง้ หมดท่ีอยู่ในทะเบียนผู้ป่ วย 300 คน จากข้อมูลในอดีตพบว่า
ผปู้ ่วยขาดการรบั บรกิ ารรกั ษาอย่างต่อเน่ืองประมาณ 40 เปอรเ์ ซน็ ต์ จะตอ้ งสมุ่ ตวั อย่างผปู้ ่วยมาเท่าไรโดย
ใหม้ คี วามคลาดเคลอ่ื นในการประมาณสดั สว่ นไมเ่ กนิ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์

125

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

จากสตู ร

Z2 α 2 NP(1 − P)

n = Z2 α 2 P(1 − P) + Nd 2
n = ขนาดตวั อย่าง
N = จาํ นวนประชากร คอื ผปู้ ่วยวณั โรคปอดทงั้ หมด 300 คน
Z = ค่ามาตรฐานภายใตโ้ คง้ ปกติ เท่ากบั 1.96
P = คา่ สดั สว่ นของผปู้ ่วยทข่ี าดการรบั บรกิ ารต่อเน่อื งเทา่ กบั 40 เปอรเ์ ซน็ ต์
d = ความคลาดเคล่อื นทย่ี อมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในการประมาณสดั สว่ นเท่ากบั

5 เปอรเ์ ซน็ ต์
แทนค่าในสตู ร

(1.96)2 (300)(.4)(1− .4)
n = (1.96)2 (.4)(1− .4) + (300 −1)(.05)2

276.60

= 1.67
= 165.43
= 166
นัน่ คือ จะต้องใช้จํานวนตัวอย่างของผู้ป่ วยวัณโรคปอดจํานวน 166 คน เพ่ือประมาณการ
ขาดการรบั บรกิ ารต่อเน่ืองของผู้ป่ วยวณั โรคปอดทงั้ หมด โดยให้มีความคลาดเคล่อื นในการประมาณ
สดั สว่ นไดไ้ ม่เกนิ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์

การคํานวณขนาดตวั อย่าง กรณีทราบจํานวนประชากรทไ่ี ดก้ ล่าวมาขา้ งต้นแลว้ ยงั มอี กี วธิ หี น่ึง
ท่ีไม่ต้องจําสูตรซับซ้อน คือ การคํานวณขนาดตัวอย่างเบ้ืองต้น โดยใช้สูตรกรณีไม่ทราบจํานวน
ประชากรก่อน แลว้ จงึ คาํ นวณขนาดตวั อยา่ งทต่ี อ้ งการอกี ครงั้ โดยใชส้ ตู รดงั น้ี

n0

n = 1+ n0
N

n = ขนาดตวั อย่างทต่ี อ้ งการ

n0 = จาํ นวนขนาดตวั อยา่ งเบอ้ื งตน้ ทค่ี าํ นวณไดใ้ นกรณีไมท่ ราบจาํ นวน
ประชากร

N = จาํ นวนประชากร
จากตวั อยา่ งทศ่ี กึ ษาปัจจยั ทม่ี ผี ลกระทบต่อการรบั บรกิ ารต่อเน่อื งในผปู้ ่วยวณั โรคทค่ี ลนิ ิกวณั โรค
ซง่ึ มผี ปู้ ่วยทงั้ หมดในทะเบยี น 300 คน และอตั ราการขาดรบั บรกิ ารรกั ษาอย่างต่อเน่อื ง 40 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดย
ใหม้ คี วามคลาดเคล่อื นในการประมาณสดั สว่ นไม่เกนิ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ทาํ การคาํ นวณดงั น้ี

126

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ ท่ี 1 คาํ นวณขนาดตวั อย่างเบอ้ื งตน้ แทนคา่ ในสตู ร

=n Z 2 2 PQ
α

0 d2

(1.96)2 (0.4)(1 − 0.4)
n 0 = (.05)2
= 368.79
= 369
ขนั้ ท่ี 2 ขนาดตวั อยา่ งทต่ี อ้ งการ แทนคา่ ในสตู ร

n0

n = 1+ n0
N

369

n = 1 + 369
300

ขนาดตวั อย่างทต่ี อ้ งการ = 165.47
= 166 คน

ตวั อย่าง
โครงการวิจยั สาํ รวจคุณภาพชีวิตและสภาพความเป็ นอยู่ของประชาชน: ประมาณการ

จาํ นวนผเู้ กี่ยวขอ้ งกบั สารเสพติดในประเทศไทย 2562 (มานพ คณะโต และพนู รตั น์ ลยี ตกิ ลุ , 2562)
การศึกษาครัง้ น้ีเป็ นการสํารวจเพ่ือประมาณการจํานวนผู้เก่ียวข้องกับสารเสพติดโดยมี

วตั ถุประสงคด์ งั ต่อไปน้ี
1. เพ่อื ประมาณการจาํ นวนผเู้ กย่ี วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ โดยจาํ นวนทป่ี ระมาณไดส้ ามารถจาํ แนก
ชนิดยาหรอื สารเสพตดิ แต่ละชนดิ
2. ศกึ ษาความชกุ ผเู้ สพสารเสพตดิ ต่อประชากร
3. ศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพและสงั คม เน่ืองมาจากการใช้สารเสพติดจําแนกกลุ่ม
ประชากรเพศ และวยั ต่าง ๆ เปรยี บเทยี บกบั ผไู้ มเ่ สพสารเสพตดิ

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การศกึ ษาครงั้ น้ีเป็นการศกึ ษาวจิ ยั สาํ รวจครวั เรอื น (House hold survey) โดยใชแ้ บบสมั ภาษณ์
และแบบสอบถามตอบเองกบั ครวั เรอื นทถ่ี ูกสมุ่ เลอื กมาเป็นตวั อย่าง มเี น้ือหาซง่ึ ประกอบดว้ ย พฤตกิ รรม
การใชส้ ารเสพตดิ ของสมาชกิ ในครวั เรอื นทม่ี อี ายตุ งั้ แต่ 12 ปี ถงึ 65 ปี ทุกคนเป็นหลกั และมเี น้ือหาทเ่ี ป็น
องค์ประกอบสนับสนุนพฤติกรรมการใช้สารเสพติดเป็นเน้ือหารอง ดังนัน้ การศึกษาในขอบเขตของ
ครวั เรอื นจงึ ประกอบดว้ ย
 ลกั ษณะประชากรของสมาชกิ ในครวั เรอื น
 สภาพเศรษฐกจิ สงั คมของสมาชกิ ในครวั เรอื น

127

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

 สขุ ภาพทวั่ ไปและพฤตกิ รรมเสย่ี ง
 เครอื ขา่ ยทางสงั คม
 ความรแู้ ละทศั นคตติ ่อสารเสพตดิ
 พฤติกรรมการใช้สารเสพติด/สงิ่ มึนเมาชนิดต่าง ๆ อนั ประกอบด้วย ยา/สารเสพตดิ ทไ่ี ม่ผดิ

กฎหมาย และสารเสพตดิ ทผ่ี ดิ กฎหมาย
 ผลกระทบจากการใชส้ ารเสพตดิ ทส่ี มาชกิ ไดร้ บั
 ระดบั การเสพ/ตดิ สรุ าและยาเสพตดิ ต่าง ๆ
 ประสบการณ์การบาํ บดั รกั ษาและการตอ้ งโทษ
การคดั เลอื กประชากรกลุ่มตวั อย่าง
ประชากรเป้าหมาย คอื ประชากรท่มี อี ายุ 12-65 ปี ทอ่ี าศยั อย่ใู นครวั เรอื นนัน้ ๆ เกนิ 3 เดอื น
แผนการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชัน้ ภูมิหลายขนั้ (Stratified multi-stage sampling)
โดยแบ่งพ้นื ทเ่ี ป้าหมายออกเป็น 2 พ้นื ท่ี คอื ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลในความรบั ผดิ ชอบ
ของสาํ นกั งาน ปปส. ภาค
เกณฑก์ ารคดั ออก (Exclusion criteria) ของประชากรเป้าหมาย

- ไมย่ นิ ยอมร่วมในการศกึ ษา
- ไมส่ ามารถสอ่ื สารไดด้ ว้ ยตนเอง
แผนการสุ่มพืน้ ที่ตวั อย่าง
ประชากรเป้าหมาย คอื ประชากรทม่ี อี ายุ 12-65 ปี ทอ่ี าศยั อย่ใู นครวั เรอื นนัน้ ๆ เกนิ 3 เดอื น
แผนการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชัน้ ภูมิหลายขนั้ (Stratified multi-stage sampling)
โดยแบ่งพน้ื ทเ่ี ป้าหมายออกเป็น 2 พน้ื ท่ี คอื ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล โดยทงั้ ในเขตเทศบาล
และนอกเขตเทศบาล แบ่งตามจงั หวดั ในความรบั ผดิ ชอบของสาํ นักงาน ปปส. ภาค มรี ะดบั ขนั้ ของการสมุ่
ตวั อย่างแตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะการปกครอง ดงั น้ี
1) แบ่งชัน้ ภูมิเป็ นกรุงเทพมหานครและภาค ปปส. แบ่งออกเป็ น 10 ชัน้ ภูมิย่อย คือ
กรุงเทพมหานคร 50 เขต ภาค 1 รวม 9 จงั หวดั ภาค 2 รวม 8 จงั หวดั ภาค 3 รวม 8
จงั หวดั ภาค 4 รวม 12 จงั หวดั ภาค 5 รวม 8 จงั หวดั ภาค 6 รวม 9 จงั หวดั ภาค 7 รวม 8
จงั หวดั ภาค 8 รวม 7 จงั หวดั และ ภาค 9 รวม 7 จงั หวดั
2) การสมุ่ ตวั อย่างขนั้ ทห่ี น่งึ คอื สมุ่ ตวั อย่างจงั หวดั /เขต ใชก้ ารสมุ่ ตวั อยา่ งแบบมรี ะบบกาํ หนด
ความน่าจะเป็นให้เป็นสดั ส่วนกับขนาดของประชากรใน ปปส. ภาคนัน้ (Systematic
sampling with probability proportional to size)
3) การสมุ่ ตวั อย่างขนั้ ทส่ี อง คอื สมุ่ ตวั อยา่ งตาํ บล/แขวง ใชก้ ารสมุ่ ตวั อย่างแบบมรี ะบบกาํ หนด
ความน่าจะเป็น ใหเ้ ป็นสดั สว่ นกบั ขนาดของประชากรจงั หวดั นนั้
4) การสมุ่ ตวั อย่างขนั้ ทส่ี าม คอื สมุ่ ตวั อยา่ งหม่บู า้ น/ชุมชน (ในเขตเทศบาล) ใชก้ ารสมุ่ ตวั อยา่ ง
แบบมรี ะบบ

128

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

5) การสุ่มตวั อย่างขนั้ ท่สี ่ี คอื สุ่มตวั อย่างครวั เรอื นแบบมรี ะบบ โดยใชบ้ ญั ชรี ายช่อื ครวั เรอื น
จากแผนท่ี ซง่ึ ไดจ้ ากการนบั จดในหม่บู า้ น/ชุมชน (ในเขตเทศบาล) (Systematic sampling)

6) เลือกตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามเป็นสมาชิกครัวเรือนท่ีมีอายุ 12-65 ปี ท่ีสามารถ
พูดจาส่อื สารได้ดี และยนิ ยอมร่วมมอื ในการตอบแบบสมั ภาษณ์ แยกเป็นชายและหญิง
ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายด้วยตารางเลขสุ่ม (Simple random sampling with tables)
แต่ละเพศ (ชาย 1 คน หญงิ 1 คน รวมครวั เรอื นละ 2 คน)

จาํ นวนประชากรตวั อยา่ ง
สํารวจครัวเรือนประชากรภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ และ
กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง เพ่ือให้การประมาณการจํานวนเป็นไปตามหลักสถิติ
ท่ีถูกต้อง ยกตัวอย่างเช่น สําหรบั พ้ืนท่ภี าคเหนือประกอบด้วย สํานักงาน ปปส. ภาค 5 และ ภาค 6
จาํ นวนครวั เรอื นตวั อย่างดงั ตาราง
ตารางท่ี 1 จาํ นวนครวั เรอื นทงั้ หมด และขนาดตวั อย่างครวั เรอื นภาคเหนือ

ปปส.ภาค จาํ นวน จงั หวดั ประมาณจาํ นวน ประมาณจาํ นวน
จงั หวดั ตวั อยา่ ง ครวั เรอื นตวั อย่าง ประชากรตวั อยา่ ง*

ภาค 5 8 3 1,426 2,852

ภาค 6 9 3 1,533 3,066

รวม 17 6 2,959 5,918

ขนาดตวั อยา่ งน้ี คาํ นวณภายใตค้ วามชกุ ในพน้ื ทต่ี ่าง ๆ อย่รู ะหวา่ ง 17.48-240.72 ต่อ 1,000
ประชากรความคลาดเคลอ่ื น รอ้ ยละ 1 คา่ design effect เท่ากบั 8

129

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

การสุ่มตวั อยา่ ง
การสุ่มตัวอย่าง ตัวแปรท่ีใช้ในการสุ่มตัวอย่างประกอบด้วย อายุ เพศ และ เขตเทศบาล
ใช้ “ชุมรุมอาคาร (block)” เป็นหน่วยของการสุ่ม โดยแบ่งเป็นในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล
ในแต่ละ block ทําการสํารวจจํานวน “ครวั เรือน” และทําการสุ่ม “ครวั เรอื น” ตามสดั ส่วนของจํานวน
ครัวเรือน (ตาราง 1) ด้วยวิธี สุ่มตัวอย่างแบบชัน้ ภูมิหลายขัน้ (Stratified multi-stage sampling)
สมาชิกทุกคนที่มีอายุตงั้ แต่ 12 ปี ขึน้ ไปจนถึง 65 ปี และอาศยั อยู่ในครวั เรือนนี้มากกว่า 3 เดือน
จะเป็นประชากรตวั อย่างในการศกึ ษาครงั้ น้ี หากครวั เรอื นท่สี มุ่ ไดไ้ ม่มผี ูอ้ าศยั หรอื ไม่สามารถเกบ็ ขอ้ มูล
ไดด้ ว้ ยเหตุใด ๆ ในแต่ละครวั เรอื นตวั อย่าง (ควรทจ่ี ะระบุเหตุผลทไ่ี ม่สามารถเกบ็ ได)้
การทาํ แผนที่เพอ่ื การสมุ่ ที่ถกู ต้อง
ทีม ง า น ภ า ค ส น า ม ใ น แ ต่ ล ะ ทีม ต้ อ ง มี ก า ร เ ต รีย ม พ้ืน ท่ีก่ อ น ท่ีจ ะ ล ง ป ฏิบัติ ง า น ภ า ค ส น า ม
โดยในแต่ละพน้ื ทจ่ี ะตอ้ งทาํ การศกึ ษาขอ้ มลู อย่างละเอยี ดของตําแหน่ง และองคป์ ระกอบของชุมรมุ อาคาร
(blocks) ในเขตเทศบาลจากแผนทข่ี องสาํ นกั งานสถติ หิ รอื จากภาพถ่ายดาวเทยี ม (ดงั รูปท่ี 17 และ 18)
สาํ หรบั นอกเขตเทศบาลศกึ ษาจากแผนทภ่ี าพถ่ายดาวเทยี มของ Google เป็นตน้
ก่อนการเกบ็ ขอ้ มูลในแต่ละทมี ต้องมกี ารประสานงานเพ่อื ขออนุญาตผนู้ ําทอ้ งถนิ่ ในการเขา้ พน้ื ท่ี
เพ่อื สํารวจ และขอความร่วมมอื ในการสําเนารายช่อื ครวั เรอื น หรอื จํานวนครวั เรอื น เพ่อื ใช้เป็นกรอบ
ตวั อย่างสาํ หรบั การสมุ่ ตวั อย่าง พรอ้ มทงั้ สรา้ งแผนทส่ี าํ รวจ

รปู ที่ 17 ตวั อยา่ งบลอ็ กทส่ี าํ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาตสิ มุ่ ไดใ้ นเขตเทศบาล
130

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

รปู ท่ี 18 ตวั อยา่ งภาพถ่ายทางอากาศ
บลอ็ กในเขตเทศบาล จาก Google Earth

รปู ท่ี 19 แผนทค่ี นเดนิ
การเรม่ิ ต้นสรา้ งแผนท่สี าํ รวจนัน้ เรม่ิ ต้นจากการเขา้ ไปดูในพ้นื ท่ตี วั อย่างทม่ี กี ารสุ่มแลว้ ทําการ
สาํ รวจเพ่อื เขยี นออกมาเป็นแผนท่ี ผสู้ าํ รวจต้องสงั เกตสงิ่ ต่าง ๆ ทพ่ี บเหน็ รวมทงั้ ลกั ษณะทางกายภาพท่ี
สามารถบอกถงึ ลกั ษณะสถานทท่ี ส่ี าํ คญั ในหม่บู า้ น ตรอก ซอย ทต่ี งั้ ของบา้ นทงั้ หมด จาํ นวนครวั เรอื นใน
บลอ็ กนนั้ ๆ ว่ามจี าํ นวนเทา่ ไหร่ แลว้ บนั ทกึ ลงในกระดาษ ซง่ึ อาจจะมกี ารบนั ทกึ แบบงา่ ย หรอื แบบรา่ งไว้
ก่อนเพ่ือป้องกนั การลืม สําหรบั การจดั ทําแผนท่ีแบบสมบูรณ์ ควรใหไ้ ด้ขอ้ มูลมากท่สี ุดเท่าท่ีจะทําได้
วธิ กี ารเขา้ ไปสงั เกตพน้ื ทน่ี นั้ กระทาํ ได้ ดงั น้ี
1. สอบถามจากผู้ใหญ่บ้าน ผู้นําชุมชน ในแต่ละพ้ืนท่ีโดยเฉพาะผู้ใหญ่บ้าน จะมกี ารบนั ทึก
จํานวนครวั เรอื นของหมู่บ้านตน เช่นเดียวกบั ผู้นําชุมชนจะมีบญั ชคี รวั เรือน ซ่งึ การสอบถามมที งั้ ข้อดี
และข้อเสีย โดยการสอบถามนัน้ ผู้ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีจะทราบข้อมูลเป็นอย่างดี แต่อาจจะประสบปัญหา
ในกรณที ม่ี กี ารเปลย่ี นผนู้ ําหม่บู า้ น ผนู้ ําชมุ ชนในขณะนนั้ พอดี

131

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

2. เดนิ สาํ รวจ เป็นวิธกี ารท่ีดที ่สี ุด เน่ืองจากได้สงั เกตลกั ษณะทางกายภาพไดถ้ ่ีถ้วน ถูกต้อง
และแม่นยาํ รวมทงั้ สามารถหยุดพกั ทกั ทายกบั ชาวบา้ นเพ่อื สรา้ งสมั พนั ธไมตรี พรอ้ มทงั้ สอบถามขอ้ มูล
บางประการทต่ี ้องการทราบ เช่น บา้ นของผูน้ ําหมู่บา้ น กจิ กรรมของหมู่บ้านต่าง ๆ ทม่ี ใี นช่วงเวลานัน้
สาํ รวจสถานทส่ี ําคญั ต่าง ๆ เช่น วดั โบสถ์ สวนสาธารณะ แหล่งน้ํา และอ่นื ๆ ท่เี ป็นประโยชน์รวมถึง
ซากปรกั หกั พงั ท่รี กรา้ ง ว่างเปล่า ขอ้ มูลจุดเช่อื มต่าง ๆ เพ่อื ป้องกนั การสบั สนในเร่อื งของทศิ และทําให้
ทราบถงึ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ในช่วงเวลาทท่ี ําวจิ ยั การกระทําดว้ ยวธิ นี ้ีจะมขี อ้ เสยี อยู่ตรงทต่ี ้องใช้
เวลามากในการสาํ รวจ บางทหี ากสาํ รวจผดิ พลาดในจดุ ทส่ี าํ รวจไปแลว้ กต็ อ้ งเดนิ ยอ้ นกลบั มาเพอ่ื สาํ รวจซ้าํ
และพน้ื ทห่ี น่ึง ๆ ในการสาํ รวจนนั้ ไม่ไดอ้ ย่ใู กลก้ นั มากนกั จะต้องใชแ้ รงในการเดนิ และอาศยั ความอดทน
เป็นอยา่ งมากในการสาํ รวจโดยการเดนิ เทา้

3. ใช้จกั รยาน เป็นอีกวิธีหน่ึงท่ดี ีไม่แพ้การเดิน เพราะสามารถทําให้สะดวกในการเดนิ ทาง
ขอ้ มูลท่ไี ด้กส็ มบูรณ์ไม่แพ้การเดินสํารวจ แต่จะเสยี ตรงท่ี หากเป็นการสํารวจในเน้ือทไ่ี กล ๆ จะต้องมี
การขนยา้ ยจกั ยานไปดว้ ยตอ้ งลาํ บากในการขนยา้ ย

4. จกั รยานยนต์ เป็นอกี วธิ หี น่ึงทด่ี ไี ม่แพก้ ารเดนิ หรอื การใชจ้ กั รยาน เพราะสามารถทาํ ใหส้ ะดวก
ในการเดินทางท่ีรวดเร็ว ข้อมูลท่ีได้ก็สมบูรณ์ไม่แพ้การเดินสํารวจหรือใช้จกั รยาน แต่จะเสยี ตรงท่ี
หากเป็นการสาํ รวจในเน้ือท่ีไกล ๆ จะต้องมีการขนย้ายจกั รยานยนต์ไปด้วยต้องลําบากในการขนย้าย
และใชเ้ น้ือทใ่ี นการบรรทกุ มาก ใชแ้ รงงานในการโยกยา้ ยจดุ ในแต่ละท่ี

5. สอบถามจากผู้นําชุมชน หรือบุคคลในชุมชนท่ีสามารถให้ข้อมูลได้ มีทงั้ ขอ้ ดีและขอ้ เสีย
โดยการสอบถามนัน้ ผู้ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีจะทราบข้อมูลเป็ นอย่างดี แต่อาจจะประสบปัญหาในกรณีท่ี
มกี ารเปลย่ี นผนู้ ําหม่บู า้ น ผนู้ ําชมุ ชนในขณะนนั้ พอดี

สิ่งสาํ คญั ในการทาํ แผนท่ีคนเดิน
1. เดนิ ดใู หท้ วั่ ดใู หเ้ หน็ พน้ื ท่ี ถนน บา้ นทุกหลงั คาเรอื นดว้ ยตาของตนเอง แลว้ ทาํ การบนั ทกึ ทนั ที
2. เขยี นบา้ นเลขท่กี ํากบั พร้อมให้ลําดบั ทุกหลงั คาเรอื น เพ่อื นํามาเป็นกรอบตวั อย่างสําหรบั

การสมุ่ ครวั เรอื นตวั อย่าง
3. หากใชย้ านพาหนะตอ้ งมกี ารจอดทกุ ระยะ 50-100 เมตร หรอื ต่าํ กว่านนั้
4. ต้องทําการจดบนั ทกึ ทนั ทที ่พี บเหน็ สงิ่ ท่แี ปลกตา จุดสงั เกตุ จุดสําคญั ท่รี กรา้ ง เส่อื มโทรม

รอยสสี เปรย์ ซากปรกั หกั พงั วดั โรงเรยี น แทง็ คน์ ้ําต่าง ๆ รา้ นขายเหล้าในหม่บู า้ น รวมถงึ
ถนนภายใน ทางโคง้ ทางแยก เพอ่ื ป้องกนั การหลงทางของผทู้ ใ่ี ชแ้ ผนท่ี
5. หากมขี อ้ สงสยั ใหส้ อบถามกบั ชาวบา้ น หรอื คนในพน้ื ท่ี ดว้ ยความสภุ าพ เป็นมติ ร
หลงั จากท่เี ขา้ พ้นื ท่เี พ่อื สํารวจ ร่างแผนทอ่ี ย่างคร่าว ๆ แล้ว ทีมสํารวจต้องจดั ทําแบบบนั ทกึ
ลกั ษณะของครวั เรอื นแต่ละครวั เรอื นทส่ี งั เกตได้ พรอ้ มแผนทฉ่ี บบั สมบรู ณ์ โดยในแผนทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ความ
แตกต่างของครวั เรอื นในพน้ื ทน่ี นั้ ๆ และกําหนดลาํ ดบั ของครวั เรอื น โดยเรม่ิ จากเลขน้อยไปหามาก จาก
ซา้ ยไปขวาตามเขม็ นาฬกิ า (ดงั รปู ท่ี 19) (เรยี งตามบา้ นเลขทหี่ รอื การรนั ตวั เลข 1, 2, 3 ...)

132

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ข้อควรระวงั และไม่ควรปฏิบตั ิ คอื การนัง่ จดบนั ทกึ บนรถยนต์ เพราะจะทําใหผ้ ลการสาํ รวจ
ท่ไี ด้ไม่ทวั่ ถงึ และจะตกเป็นเป้าสายตาของชาวบา้ นท่พี บเห็น เพราะเป็นคนแปลกหน้าท่เี ขา้ มาภายใน
หม่บู า้ นทาํ ใหเ้ กดิ การเขา้ ใจผดิ กนั ได้

การสุ่มตวั อยา่ งครวั เรอื นในแต่ละบลอ็ ก
1. จดั หาแผนทช่ี มุ ชน ตามรายชอ่ื ชุมชนทไ่ี ดก้ าํ หนดไว้ รายชอ่ื ใดทม่ี หี ลายแผ่นใหเ้ รยี งตาม
ทศิ ทางตามภมู ศิ าสตร์ หากมพี น้ื ทร่ี ายชอ่ื แยกจากกนั เป็นหลายพน้ื ท่ี (หลายคมุ้ ) ใหเ้ รยี งตามทศิ ทางตาม
ภมู ศิ าสตร์ ใหแ้ ผ่นทอ่ี ยบู่ นซา้ ยเป็นแผ่นท่ี 1

2. จดั ทาํ กรอบการสมุ่ จากแผนทแ่ี ต่ละแผ่น ใหก้ าํ หนดทางเขา้ หมู่บา้ นสะดวกทส่ี ุดเป็นจดุ เรมิ่ ต้น
หนั หน้าเขา้ หมู่บา้ น นบั หลงั แรกซา้ ยมอื เป็นหลงั ท่ี 1 เรยี งลาํ ดบั ตามเขม็ นาฬกิ าเป็นกน้ หอย จากขอบนอกสุด
เรียงไปทลี ะวง ไปถึงหลังสุดท้าย (จากรูป 24 หลงั จะได้บัญชีหมายเลขประจําหลงั ) กรณีมหี ลายคุ้ม
ในคุ้มท่ี 2 ให้กําหนดหลังแรกซ้ายมอื ทางเขา้ หมู่บ้านสะดวกท่ีสุดเป็นจุดเร่ิมต้น หนั หน้าเข้าหมู่บ้าน
นบั หลงั แรกซา้ ยมอื เป็นหลงั ท่ี 25 (เลขทต่ี ่อจากหลงั สดุ ทา้ ยของคุม้ ท่ี 1) เรยี งลาํ ดบั ตามเขม็ นาฬกิ าเป็นกน้
หอยต่อไป ทาํ เช่นเดยี วกนั กบั คุม้ ท่ี 3

3. ให้หา Sampling interval โดยใช้จํานวนหลังจากกรอบการสุ่มในข้อ 2 หารด้วยจํานวน
ทต่ี ้องการในตารางขนาดตวั อย่าง เช่น มกี รอบการสมุ่ อยู่ 240 หลงั ต้องการ 18 หลงั ช่วงห่างจะเท่ากบั
240/18 = 13.3 หากหารแลว้ ผลเป็นเศษ ปัดเศษทง้ิ ทกุ กรณี ในกรณีน้ปี รบั เป็น 13

133

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

4. หาตวั Random start ให้จบั ฉลากเลอื กตวั เรม่ิ ต้น อยู่ระหว่างหมายเลข 1 และหมายเลขทไ่ี ด้
จากขอ้ 3 ในตวั อย่าง ตวั เรม่ิ ต้องอย่รู ะหว่างเลข 1-13 สมมตวิ ่า จบั สลากไดเ้ ลข 6 จงึ เรมิ่ ครวั เรอื นลําดบั
แรกทห่ี มายเลข 6 ตามบญั ชหี มายเลขประจาํ หลงั ทไ่ี ดจ้ ากขนั้ ตอนท่ี 2

5. เลอื กครวั เรอื นตวั อย่าง ใหเ้ อาครวั เรอื นแรกบวกกบั ช่วงห่าง (หมายเลข 6+13) หลงั ต่อไปคอื
19...32...45...58 ฯลฯ ครวั เรอื นตวั อย่างจงึ เป็น 6...19...32...45...58...ฯลฯ เลอื กจนไดจ้ าํ นวนทต่ี ้องการ
ตามขนาดตวั อย่างในตาราง กรณีครวั เรอื นตงั้ อย่ตู ่ํากวา่ 6 เดอื น ใหเ้ ลอื กครวั เรอื นใกลเ้ คยี งมาทดแทน เรมิ่
จากครวั เรอื นทอ่ี ย่ทู างทศิ เหนือใกลท้ ส่ี ดุ ของครวั เรอื นทส่ี มุ่ ไดค้ รงั้ แรก เวยี นตามเขม็ นาฬกิ า

การสุ่มบุคคลในครวั เรอื น
1. ให้ถามว่าสมาชิกในครัวเรือนน้ี มีคนท่ีอายุ 12-65 ปี ทัง้ สองเพศอาศัยอยู่จริงหรือไม่
หากพบว่ามไี ม่ครบ 2 เพศ ให้เลอื กครวั เรอื นใกล้เคยี งมาทดแทน เรมิ่ จากครวั เรือนทอ่ี ยู่ทางทิศเหนือ
ใกลท้ ส่ี ดุ ของครวั เรอื นทส่ี มุ่ ไดค้ รงั้ แรก เวยี นตามเขม็ นาฬกิ าเป็นกน้ หอย เช่นเดยี วกนั

จากรูป สมมติว่าหลัง 19 ไม่มีกลุ่มเป้าหมายอยู่ทัง้ 2 เพศ ให้เลือกทดแทน จากหลัง 20
หากหลงั 20 มคี รบ 2 เพศกใ็ ห้ใช้หลงั 20 แทนหลงั 19 แต่หากยงั ไม่มี ให้ถามหลงั 13 หากยงั ไม่ได้
ใหถ้ ามหลงั 14...15...18...

2. เม่อื ไดห้ ลงั ทต่ี อ้ งการแลว้ ใหท้ าํ บญั ชสี มาชกิ ในครวั เรอื นเฉพาะคนไทย (มบี ตั รประชาชนไทย)
ท่ีมีอายุ 12-65 ปี อาศยั อยู่ในครัวเรือนตัวอย่างไม่น้อยกว่า 3 เดือนในปีท่ีผ่านมา ท่ีสามารถพูดจา
ส่ือสารได้ดี และยินยอมร่วมมือในการตอบแบบสมั ภาษณ์ ให้ทําบัญชีสมาชิกในครวั เรือนแยกเพศ
เรยี งตามอายจุ ากน้อยไปมาก จะได้ 2 บญั ชี เป็นบญั ชเี พศชาย และบญั ชเี พศหญงิ แต่ละบญั ชตี อ้ งมบี คุ คล
อย่างน้อย 1 คนท่ีมีอายุ 12-65 ปี ท่ีสามารถพูดจาส่อื สารได้ดี และยินยอมร่วมมือในการตอบแบบ
สมั ภาษณ์

3. เรมิ่ จากบญั ชผี ู้ชาย สมมตวิ ่า บา้ นเลขท่ี 22 มบี ญั ชผี ูช้ ายทม่ี อี ายุ 12-65 ปี ทส่ี ามารถพูดจา
ส่อื สารได้ดี และยินยอมร่วมมอื ในการตอบแบบสมั ภาษณ์ เรียงอายุจากมากไปน้อยแล้วจํานวน 2 คน
ใหใ้ ชต้ ารางเลขสมุ่ ดงั น้ี

134

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ตาราง 2 ตารางเลขสมุ่

ให้ดูลําดบั ท่คี รวั เรือนทถ่ี ูกสุ่มจากขอ้ 5-6 ในแนว Column และดูจํานวนสมาชิกในบญั ชีขอ้ 7
ในแนว Row ดจู ุดตดั จากตาราง จะไดต้ วั อย่างเป็นบุคคลทต่ี อ้ งการ จากตวั อย่าง บา้ นเลขท่ี 22 ใหด้ ูจาก
Column เลข 2 และดูว่ามจี ํานวนสมาชกิ เพศชายอายุ 12-65 ปี ทงั้ สน้ิ 2 คน ใหด้ ูบรรทดั ท่ี 2 จากตาราง
จุดตดั เป็นเลข 1 จึงไดบ้ ุคคลตัวอย่างเป็นผูช้ ายหมายเลข 1 จากบญั ชี ทําเช่นเดยี วกนั กบั บญั ชผี ูห้ ญิง
จะได้ตัวอย่างครวั เรือนละ 2 คนตามต้องการ กรณีมีตัวตนแต่ไม่อยู่บ้าน ให้นัดสมั ภาษณ์ภายหลัง
หากนดั หมายไม่ได้ ใหใ้ ชค้ นอน่ื ในบญั ชลี าํ ดบั ถดั ไป (ขอใหร้ ะบุในบนั ทกึ แนบทา้ ยมาดว้ ย)

ข้อยกเว้น สถานท่ที ่ีไม่เขา้ ข่ายของครัวเรือน ไม่สามารถนับรวมได้ คอื สถานท่ที ่มี ลี กั ษณะ
การอยู่รวมกนั เชงิ อ่นื ทไ่ี ม่ใช่ลกั ษณะของครอบครวั เช่น บ้านท่ีแบ่งห้องเช่าใหเ้ ช่า (ไม่มีการทําอาหาร
สาํ หรบั รบั ประทานร่วมกนั ) หอพกั ทม่ี จี ํานวนห้องมาก (มากกว่าประมาณ 6 หอ้ งข้นึ ไป) วดั โรงเรยี น
สถานท่รี าชการ ร้านค้า อาคารพาณิชท่ีเป็นสํานักงานโดยไม่มกี ารพกั อาศยั โรงนอนสําหรบั โรงงาน
คา่ ยกองรอ้ ยทหาร เป็นตน้

ทาํ ความเขา้ ใจแบบเกบ็ ขอ้ มลู คาํ ถาม และ การสมั ภาษณ์
เน่ืองจากแบบสอบถามท่ีใช้เป็ นเคร่ืองมือเดียวท่ีนําไปสู่ผลลัพธ์ท่ีจะนําไปใช้ประโยชน์
ดงั นัน้ พนักงานสมั ภาษณ์จาํ เป็นตอ้ งศกึ ษาแบบสอบถามเป็นอย่างดี มคี วามเขา้ ใจในประเดน็ ทส่ี อบถาม
อย่างลึกซ้ึง สามารถปรับวิธีถามเพ่ือให้ได้รับข้อมูลท่ีถูกต้องตรงความเป็นจริง ก่อนการสํารวจ
พนักงานสนาม จึงจาํ เป็นต้องผา่ นการอบรม ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจทงั้ ในเน้ือหาคาํ ถาม วธิ กี ารถาม
และการบนั ทกึ คาํ ตอบ และขอ้ สงั เกตต่าง ๆ ทถ่ี กู ตอ้ งแมน่ ยาํ

135

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

จะทาํ อยา่ งไรถา้ ไม่มคี นอยใู่ นบา้ นในช่วงเวลาทท่ี าํ การสาํ รวจ ?
กรณีท่ี 1 ถา้ คนทพ่ี บมอี ายไุ ม่อยใู่ นชว่ งทก่ี าํ หนดไวใ้ ห้ทาํ การสอบถามจากสมาชิกในบา้ นนนั้
เพอื่ ทาํ การนัดสมั ภาษณ์สมาชิกทีม่ ีอายเุ ข้าขา่ ย
กรณีท่ี 2 บ้านหลงั นัน้ ปิด ให้สอบถามเพ่ือนบ้านท่ีอยู่ข้างเคียงว่า “บ้านหลงั ทีส่ ุ่มมีคนอยู่
หรือไม่” หรือ “ส่วนใหญ่คนในบ้านทีส่ ุ่มได้จะกลบั เข้าบ้านเวลาใด” และสาํ รวจซ้าํ ครวั เรือนสุ่ม
ทีเ่ ดิมตามจาํ นวนครงั้ ทีก่ าํ หนดไวใ้ ห้ครบ
กรณีที่ 3 หากพบปัญหาคนในบา้ นทอ่ี ายุ 12-65 ปี มบี างคนไม่อย่ใู นบา้ นใหส้ อบถามคนในบา้ น
ว่าจะกลบั บา้ นเม่อื ไหร่ และนดั สมั ภาษณ์ หากเขา้ พบแลว้ 3 ครงั้ แล้วไม่พบ ให้ ตดั คนนัน้ ออก นับเป็ น
non-response
กรณี ท่ี 4 ในเหตุการณ์ท่ีเข้าไปครัวเรือนตัวอย่างแล้วไม่เจอใครเลยท่ีอยู่ในวัย 12-65 ปี
กใ็ ห้ถือว่าเป็นครวั เรือนทีไ่ ม่มีกลุ่มเป้าหมายอยู่ ให้จดบนั ทกึ ลงแผนทช่ี ุมชนนัน้ ว่า No Target (NT)
ลงบนครัวเรือนนัน้ ในแผนท่ี และทําสรุปบนแผนท่ีนัน้ ว่ามีก่ีหลงั และนับเป็ นร้อยละเท่าไหร่
ของกลุม่ เป้าหมายครวั เรอื นในพืน้ ที่ชมุ ชนนัน้

สรปุ

ประชากร หมายถึง คน สัตว์ และสิ่งของต่าง ๆ ท่ีมีคุณสมบัติตามท่ีผู้วิจัยกําหนด และ
สนใจศกึ ษาตามเง่อื นไข 1) งานวจิ ยั เกย่ี วกบั เรอ่ื งอะไร 2) หน่วยในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล และ ผวู้ จิ ยั กาํ หนด
ขอบเขตของการวจิ ยั กวา้ งขวางเพยี งใด มคี วามครอบคลุมเพอ่ื นําไปใชอ้ า้ งองิ ขอ้ มลู เพยี งใด

กลุ่มตวั อย่าง หมายถึง สมาชกิ กลุ่มย่อย ๆ ของประชากรท่ตี ้องการศกึ ษา ทน่ี ํามาเป็นตวั แทน
เพ่อื ศกึ ษาคุณลกั ษณะของประชากร แลว้ นําผลจากการศกึ ษาคุณลกั ษณะของกลุ่มตวั อย่างไปใช้อา้ งองิ
คุณลกั ษณะของประชากรไดท้ ม่ี คี วามเป็นตวั แทนทด่ี ี และมขี นาดทเ่ี หมาะสม กลุ่มตวั อย่างทเ่ี ป็นตวั แทน
ทด่ี เี ป็นกลุ่มตวั อย่างทม่ี คี ุณลกั ษณะอยา่ งครบถว้ นหรอื คลา้ ยคลงึ หรอื สอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของประชากร
ท่ีได้จากการสุ่มตัวอย่างท่ีไม่มีอคติและมีจํานวนมากเพียงพอ ขนาดของกลุ่มตัวอย่างท่ีเหมาะสม
สาํ หรบั การวจิ ยั ขน้ึ อยกู่ บั ระดบั ความถูกตอ้ งของการวจิ ยั และจาํ นวนตวั แปรในการวจิ ยั

เหตุผลท่ีจําเป็นจะต้องวิจยั /ศึกษาจากกลุ่มตวั อย่างแทนประชากร มีดงั น้ี 1) มีความถูกต้อง
แม่นยํามากข้ึน 2) จากการพิจารณาประชากรแล้วพบว่าไม่สามารถดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ไดค้ รอบคลุม 3) ประหยดั เวลาในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4) มเี วลาทจ่ี ะศกึ ษาและเกบ็ ขอ้ มลู ทม่ี รี ายละเอยี ด
ไดช้ ดั เจนมากขน้ึ 5) นําผลการวเิ คราะหม์ าใชป้ ระโยชน์ไดส้ อดคลอ้ งกบั เหตุการณ์ และ 6) สามารถสรุปผล
อา้ งองิ ไปสปู่ ระชากรได้

การสุ่มตัวอย่าง เป็นวิธีการได้มาของกลุ่มตัวอย่างจากประชากรท่ีมีความเป็นตัวแทนท่ีดี
โดยในการดําเนินการสุ่มกลุ่มตวั อย่างจะมวี ธิ กี ารสุ่มท่หี ลากหลายท่นี ํามาใช้ สอดคล้องกบั คุณลกั ษณะ
ของประชากร

136

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

เอกสารอ้างอิง

พรศกั ดิ์ผอ่ งแผว้ . (2529). การสุ่มตวั อยา่ งสาํ หรบั การวิจยั แบบสาํ รวจ. กรงุ เทพฯ: เจา้ พระยาการพมิ พ.์
ยวุ ดี ฤาชา และคณะ. (2534). วิจยั ทางการพยาบาล. กรงุ เทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล

รามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.
ธวชั ชยั วรพงศธร. (2543). หลกั การวิจยั ทางสาธารณสขุ ศาสตร.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ:

โรงพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .
มานพ คณะโต และพนู รตั น์ ลยี ตกิ ลุ (2562). วิธีการสาํ รวจครวั เรอื นเพื่อประมาณการผใู้ ช้

สารเสพติดของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562 วารสารสาํ นกั งาน ป.ป.ส. 36, 11 (ต.ค. 2562-
ม.ค. 2563) 6-13.
วจิ ติ ร ศรสี พุ รรณ. (2521). การวิจยั ทางการพยาบาล. เชยี งใหม่: คณะพยาบาลพยาบาลศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
ประคอง กรรณสตู . (2544). สถิติเพอื่ การวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร.์ กรงุ เทพฯ: คณะครศุ าสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ประคอง กรรณสตู . (2542). สถิติเพ่อื การวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ แก้ไข). กรงุ เทพฯ:
พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. ดา่ นสทุ ธาการพมิ พ.์
Daniel, W.W. (1995). Biostatistics: A foundation for analysis in the health sciences. 5 th ed.
New York: John Wiley & Sons.
Krejeic, R.V. & Morgan, D.W. (1970). "Determining sample size for research activities"
Educational and Psychological Measurement. 30 (30): 607 - 610.
Polit, D, F. & Hemgler, B.P. (1995). Nursing Research: Principles and Methods. 5th ed;
Philadelphia: J.B Lippincotto.

137

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

คาํ ถามท้ายบท

ใหต้ อบคาํ ถามจากประเดน็ คาํ ถามทก่ี าํ หนดใหอ้ ย่างถูกตอ้ ง และชดั เจน
1. ในการดาํ เนินการวจิ ยั เพอ่ื ใหไ้ ดก้ ลุ่มตวั อยา่ งทด่ี ี ควรจะปฏบิ ตั อิ ย่างไร
2. ใหท้ ่านไดอ้ ธบิ ายคาํ ทก่ี าํ หนดให้

2.1 ประชากร
2.2 กลมุ่ ตวั อยา่ ง
2.3 การสมุ่ ตวั อยา่ ง
2.4 กรอบการสมุ่
3. วเิ คราะหข์ อ้ ดแี ละขอ้ จาํ กดั ระหวา่ งการศกึ ษาจากกลุม่ ตวั อย่างแทนประชากร
4. ทา่ นมเี กณฑใ์ นการพจิ ารณาลกั ษณะของกลมุ่ ตวั อย่างทด่ี จี ากประชากรอยา่ งไร
5. ท่านมหี ลกั เกณฑเ์ ลอื กใช้ “การสมุ่ ตวั อย่างแบบใช-้ ไม่ใชค้ วามน่าจะเป็น” อย่างไร
6. ใหอ้ ธบิ ายวธิ กี ารสมุ่ ตวั อย่าง พอสงั เขป
6.1 การสมุ่ ตวั อย่างอยา่ งง่าย
6.2 การสมุ่ ตวั อย่างแบบมรี ะบบ
6.3 การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบแบ่งชนั้
6.4 การสมุ่ ตวั อย่างแบบแบง่ กลุ่ม
6.5 การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบหลายขนั้ ตอน
7. ใหท้ ่านศกึ ษางานวจิ ยั 1 เร่อื ง แลว้ พจิ ารณาวา่ มวี ธิ กี ารสมุ่ อย่างไร มคี วามถูกตอ้ ง
และเหมาะสมหรอื ไม่ และถา้ ใหท้ า่ นไดเ้ ปลย่ี นแปลงการสมุ่ ทา่ นจะดาํ เนนิ การอยา่ งไร

138


Click to View FlipBook Version