The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WANVIPHA CHAIYASING, 2022-04-18 22:01:56

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

หลักการวิจัยสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

Skewness เป็นคา่ ทบ่ี อกวา่ โค้งความถีข่ องขอ้ มลู มลี กั ษณะความเบข้ องเสน้ โคง้ เป็นอย่างไร
- Skewness < 0 โคง้ ความถจ่ี ะมลี กั ษณะเบท้ างดา้ นซา้ ย หรอื เบท้ างดา้ นลบ
- Skewness = 0 โคง้ ความถจ่ี ะมลี กั ษณะสมมาตร เป็นรปู ระฆงั คว่าํ หรอื Normal curve
- Skewness > 0 โคง้ ความถจ่ี ะมลี กั ษณะเบท้ างดา้ นขวา หรอื เบท้ างดา้ นบวก

Kurtosis เป็นคา่ ทบ่ี อกวา่ โค้งความถ่ขี องขอ้ มลู มลี กั ษณะของเสน้ โคง้ มกี ารกระจายเป็นอยา่ งไร
- Kurtosis < 0 ขอ้ มลู มกี ารกระจายมาก โคง้ ความถจ่ี ะมลี กั ษณะคอ่ นขา้ งแบน
- Kurtosis = 0 ขอ้ มลู มกี ารกระจายแบบปกติ โคง้ ความถจ่ี ะมลี กั ษณะคลา้ ยการแจกแจงปกติ
- Kurtosis > 0 ขอ้ มลู มกี ารกระจายน้อย โคง้ ความถจ่ี ะมลี กั ษณะคอ่ นขา้ งสงู โดง่

10.9.3 การเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ย 1 คา่ และ 2 คา่
1. การเปรยี บเทียบคา่ เฉล่ียคา่ เดียว โดยคาํ สงั่ One sample T-test
มลี กั ษณะของขอ้ มลู และวตั ถุประสงคด์ งั น้ี
1.1 มขี อ้ มลู เป็นตวั แปร 1 กลมุ่ ตวั อย่าง
1.2 ระดบั ของตวั แปรเป็นช่วงมาตรา (Interval scale) หรอื อตั ราสว่ นมาตรา (Ratio scale)
1.3 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ของตวั แปรกบั ค่าคงท่ี โดยทดสอบความแตกต่างระหวา่ งคา่ เฉลย่ี
ดว้ ย t – test
ตารางท่ี แสดงผลการทดความแตกต่างระหว่างคา่ เฉล่ียของ………………..
เปรยี บกบั …………

ชื่อตวั แปร จาํ นวน คา่ เฉลี่ย ค่าคงท่ี S.D. t p-value

ตวั แปร

ขนั้ ที่ 1 เลอื กเมนูและคาํ สงั่ ตามลาํ ดบั ดงั น้ี

Analyze → Compare means → One-sample T test

จะปรากฏหน้าตา่ งของ One-simple T test ดงั น้ี

239

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ ท่ี 2 เลอื กตวั แปรทต่ี อ้ งการวเิ คราะห์ (Age) ไปไวใ้ นบ๊อกซข์ อง Variable(s)
ขนั้ ที่ 3 เตมิ ค่าทต่ี อ้ งการเปรยี บเทยี บ (ตวั เลข) ในชอ่ ง Test value
ขนั้ ที่ 4 คลกิ ปุ่ม OK จะปรากฏผลลพั ธใ์ นหน้าต่าง Output ดงั น้ี

เป็นการทดสอบว่าค่าเฉลย่ี ของประชากรหรอื กลุ่มตวั อย่างท่คี ่าแตกต่างไปจากค่าท่กี ําหนดไว้
หรอื ไม่ ซง่ึ อาจจะมกี ารทดสอบแบบสองทาง (Two-tail) หรอื การทดสอบแบบทางเดยี ว (One-tail)
การตงั้ สมมตฐิ าน

H0: อายขุ องผใู้ ชย้ าบา้ เทา่ กบั 15 ปี หรอื H0: µ = 15
H1: อายุของผใู้ ชย้ าบา้ ไมเ่ ทา่ กบั 15 ปี หรอื H1: µ ≠ 15

ผลการวิเคราะหส์ รุปไดว้ ่า อายขุ องผใู้ ชย้ าบา้ ไม่เทา่ กบั 15 ปี
ความหมายของผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ากโปรแกรม SPSS
N คอื จาํ นวนขอ้ มลู ทน่ี ํามาคาํ นวณค่าสถติ เิ บอ้ื งตน้
Mean คอื ค่าเฉลย่ี
Std. deviation คอื ค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานแสดงถงึ การกระจายของขอ้ มลู
Std. error mean คอื ค่าความคลาดเคลอ่ื นมาตรฐานของคา่ Mean
t คอื คา่ สถติ ิ t
df คอื Degree of freedom
95% Confidence interval of the difference

คอื เป็นช่วงความเช่อื มนั่ 95% ของคา่ เฉลย่ี เพราะฉะนนั้ ชว่ งความเชอ่ื มนั่
95% ของคา่ เฉลย่ี ของประชากร คอื Lower bound< µ <Upper bound

Sig. (2-tailed) คอื คา่ p – value ซง่ึ ใชค้ า่ น้เี ปรยี บเทยี บกบั ระดบั นยั สาํ คญั α
240

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

2. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ สองคา่ โดยคาํ สงั่ Independent -samples T-test
วเิ คราะหข์ อ้ มลู เป็นค่าเฉลย่ี โดยมลี กั ษณะของขอ้ มลู และวตั ถุประสงคด์ งั น้ี

2.1 มขี อ้ มลู เป็นตวั แปร 2 กลมุ่ ตวั อย่าง
2.2 ระดบั ของตวั แปรเป็นช่วงมาตรา (Interval scale) หรอื อตั ราสว่ นมาตรา (Ratio scale)
2.3 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ของตวั แปรกลมุ่ ท่ี 1 กบั กลุ่มท่ี 2 (กรณีประชากร 2 ชดุ

เป็นอิสระต่อกนั ) โดยทดสอบความแตกต่างระหวา่ งค่าเฉลย่ี ดว้ ย t – test
2.4 คาํ สงั่ ใน SPSS คอื Analyze -> Compare means -> Independent-sample T test

ตารางท่ี แสดงผลการทดความแตกต่างระหวา่ งคา่ เฉลี่ยของ………………..
กบั ………………
จาํ นวน ค่าเฉล่ีย S.D. t p-value
ช่ือตวั แปร

ตวั แปร 1
ตวั แปร 2

ขนั้ ที่ 1 เลอื กเมนูและคาํ สงั่ ตามลาํ ดบั ดงั น้ี

Analyze → Compare means → Independent-sample T test

จะปรากฏหน้าตา่ งของ Independent-sample T test ดงั น้ี

ขนั้ ท่ี 2 เลอื กตวั แปร “ค่าใชจ้ า่ ยรายเดอื น” มาไวท้ บ่ี ๊อกซข์ อง Test variable(s):
241

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ ที่ 3 เลอื กตวั แปร “ผใู้ ชย้ าบา้ ” มาไวท้ บ่ี อ๊ กซข์ อง Grouping variable: และดาํ เนินการดงั น้ี
กดปุ่ม Define groups… จะปรากฏหน้าต่างใหก้ าํ หนดค่าของแต่ละกลมุ่
กาํ หนดค่า 1 ซง่ึ แทน กลมุ่ 1 ใชย้ าบา้ ไวใ้ นบอ๊ กซข์ อง Group 1
กาํ หนดค่า 2 ซง่ึ แทน กลมุ่ 2 ไมใ่ ชย้ าบา้ ไวใ้ นบ๊อกซข์ อง Group 2
เม่อื ดาํ เนนิ การเสรจ็ ใหค้ ลกิ ทป่ี ่มุ Continue

ขนั้ ท่ี 4 คลกิ ปุ่ม OK จะปรากฏผลลพั ธใ์ นหน้าตา่ ง Output ดงั น้ี
ผลลพั ธท์ ไ่ี ดจ้ ากโปรแกรม SPSS สาํ หรบั การทดสอบคา่ เฉลย่ี ของ 2 กลุ่มตวั อยา่ ง
ส่วนที่ 1 Group statistics

242

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ส่วนท่ี 2 Independent samples test D

A

BC

ผลการวิเคราะห์ สรปุ ไดว้ ่า รายไดข้ องผใู้ ชย้ าบา้ และผไู้ มใ่ ชย้ าบา้ ไมแ่ ตกต่างกนั (ดคู า่ D=Sig
(2-tailed))

ความหมายของผลลัพธ์ท่ีได้จากโปรแกรม SPSS ในผลลัพธ์ท่ีได้ แบ่งได้ 2 ส่วนใหญ่ ๆ
โดยมคี วามหมายตามลาํ ดบั ดงั น้ี
ส่วนท่ี 1 Group statistics เป็นสว่ นทแ่ี สดงคา่ สถติ เิ บอ้ื งตน้ ของตวั แปรทน่ี ํามาทดสอบในทน่ี ้ี คอื

ค่าใช้จ่ายรายเดือน
N คอื คา่ แสดงจาํ นวนของแต่ละกลุม่ ยอ่ ย
Std. deviation คอื ค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานแสดงการกระจายของค่าใชจ้ ่ายแต่ละกลุ่ม
Std. error mean คอื คา่ ความคลาดเคลอ่ื นของคา่ ใชจ้ า่ ยแต่ละกลุ่ม
ส่วนท่ี 2 Independent samples test
เป็นสว่ นทแ่ี สดงค่าสถติ สิ าํ หรบั ทดสอบค่าตวั แปร ค่าใช้จ่ายรายเดือน ซง่ึ วตั ถุประสงคห์ ลกั ของ
คาํ สงั่ น้ีคอื ใชท้ ดสอบค่าเฉล่ยี ของขอ้ มูลผูใ้ ชย้ าบา้ 2 กลุ่ม แต่ในการทดสอบน้ีมเี ง่อื นไขทจ่ี ะตอ้ งพจิ ารณา
จากผลลพั ธท์ ไ่ี ดด้ งั ต่อไปน้ี
1) พจิ ารณาการกระจายของขอ้ มลู ทงั้ 2 กลุ่ม

(1.1) ถา้ ทราบวา่ ขอ้ มลู ทงั้ 2 กลุม่ มกี ารกระจายไม่แตกต่างกนั (σ1 = σ2) จะพจิ ารณาเฉพาะ
ผลลพั ธใ์ นแถวทต่ี รงกบั B หรอื แถว Equal variances assumed

(1.2) ทราบว่าขอ้ มูลทงั้ 2 กลุ่มมกี ารกระจายแตกต่างกนั (σ1 ≠ σ2) จะพิจารณาเฉพาะ
ผลลพั ธใ์ นแถวทต่ี รงกบั C หรอื แถว Equal variances not assumed

243

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

โดยการพจิ ารณาการกระจายของขอ้ มูลให้ดูผลลพั ธ์ ในบรเิ วณท่ี Levene’s test for equality
หลงั จากนนั้ จงึ จะเลอื กพจิ ารณาผลลพั ธใ์ นแถวท่ี B (Equal variances assumed) หรอื C (Equal variances
not assumed) ตามผลสรปุ ทจ่ี ะไดจ้ ากการทดสอบน้ี การทดสอบน้ีจะพจิ ารณาจากค่าต่อไปน้ี

F คอื คา่ สถติ ทิ ค่ี าํ นวณไดจ้ ากขอ้ มลู ตวั อยา่ งจะใชเ้ ทยี บกบั ค่าจากตาราง
Sig คอื คา่ ความน่าจะเป็นในการยอมรบั สมมตฐิ าน H0
การสรปุ ผล สาํ หรบั สมมตฐิ าน

H0 : σ1 = σ2
H1 : σ1 ≠ σ2 โดยกาํ หนด α เป็น 0.05
จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 ถา้ คา่ Sig ทโ่ี ปรแกรมคาํ นวณไดม้ คี า่ น้อยกว่าค่า α ทก่ี าํ หนด
เน่ืองจาก ค่าความน่าจะเป็น Sig (2-tailed) คอื 0.455 มคี า่ มากกวา่ คา่ α ท่ี กาํ หนดไวเ้ ท่ากบั 0.05
ดงั นัน้ จงึ ยอมรบั สมมตฐิ าน H0 : σ1 = σ2
และสรปุ ผลไดว้ ่า σ1 = σ2 นนั่ คอื ในการทดสอบค่าเฉลย่ี ต่อไปจะตอ้ งดผู ลลพั ธใ์ นแถวท่ี B คือ Equal
variances assumed
2) พจิ ารณาจากค่าต่อไปน้ี คอื
t และ df คอื คา่ สถติ ทิ ค่ี าํ นวณไดจ้ ากขอ้ มลู ตวั อย่างจะใชเ้ ทยี บกบั ค่าจากตาราง
Sig (2-tailed) คอื ค่าความน่าจะเป็นในการยอมรบั สมมตฐิ าน Ho (หรอื คา่ p-value)
Mean difference คอื ค่าผลต่างระหวา่ งคา่ เฉลย่ี ทงั้ 2 กลมุ่
Std. error difference คอื คา่ ความคลาดเคลอ่ื นมาตรฐานของคา่ ผลต่าง
95% Confidence interval of the difference (Lower, upper) คอื คา่ แสดงขอบเขตของ
ชว่ งความเช่อื มนั่ 95% ของผลต่างค่าเฉลย่ี ผใู้ ชส้ ามารถเปลย่ี นระดบั ความเชอ่ื มนั่ ไดโ้ ดยกด
ปุ่ม Options…
หมายเหตุ Sig (2-tailed) โดยปกติโปรแกรมจะแสดงระดับนัยสําคัญแบบสองทาง
(Two tailed) ถ้าสมมตฐิ านทตี่ งั้ ไวเ้ ป็นสมมตฐิ านแบบทางเดยี วจะต้องนําระดบั นัยสาํ คญั มา
หารสอง

3. ค่าเฉล่ียสองค่าโดยคาํ สงั่ Paired-samples T-test
วเิ คราะหข์ อ้ มลู เป็นค่าเฉลย่ี โดยมลี กั ษณะของขอ้ มลู และวตั ถุประสงคด์ งั น้ี
3.1 มขี อ้ มลู เป็นตวั แปร 1 กล่มุ ตวั อยา่ ง
3.2 ระดบั ของตวั แปรเป็นช่วงมาตรา (Interval scale) หรอื อตั ราสว่ นมาตรา (Ratio scale)
3.3 เปรยี บเทยี บค่าเฉลย่ี ของตวั แปร (ก่อน-หลงั , อดตี -ปัจจบุ นั ) (กรณปี ระชากร 2 กลุ่ม
ไมเ่ ป็นอสิ ระต่อกนั ) โดยทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลย่ี ดว้ ย t – test
3.4 คาํ สงั่ ใน SPSS คอื Analyze -> Compare means -> Paired-sample T test

244

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ตารางที่ แสดงผลการทดความแตกต่างระหวา่ งคา่ เฉล่ียของ………….เปรียบ
ระหว่าง…………

ชื่อตวั แปร จาํ นวน ค่าเฉล่ีย S.D. t p-value

คา่ ของตวั แปร (กอ่ น,อดตี )

ค่าของตวั แปร (หลงั ,ปัจจบุ นั )

ขนั้ ที่ 1 เลอื กเมนูและคาํ สงั่ ตามลาํ ดบั ดงั น้ี
Analyze → Compare means → Paired-sample T test

จะปรากฏหน้าต่างของ Paired-sample T test ดงั น้ี

ใช้เมนู Analyze เมนู รอง Compare means เมนู ย่อย Paired-sample T-test จะปรากฏ
หน้าต่าง Paired-sample T-test ใหเ้ ลอื กค่ขู องตวั แปรทต่ี อ้ งการทดสอบใหม้ าอย่ใู นช่อง Paired variables
โดยการคลกิ ทลี ะตวั แปร ในตอนแรกใหค้ ลกิ ก่อนอบรม เป็น Variable 1 และคลกิ ตวั แปรตวั ท่ี 2 หลงั อบรม
เป็น Variable 2 อยใู่ นกรอบ Paired variable แลว้ กดปุ่ม OK

245

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ผลการวิเคราะห์ สรุปไดว้ ่า ค่าเฉลย่ี ของคะแนนกอ่ นและหลงั อบรมแตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ
(ดคู ่า Sig (2-tailed))

ความหมายของผลลพั ธท์ ่ีได้จากโปรแกรม SPSS
1) ตาราง Paired samples statistics ใชอ้ า่ นคา่ สถติ พิ รรณนา เชน่ คา่ เฉลย่ี ทไ่ี ดจ้ ากการวดั ทงั้ 2 ครงั้
2) ตาราง Paired samples correlations เป็นการทดสอบความสอดคลอ้ ง คอื สถติ ทิ ดสอบความสมั พนั ธ์
ระหว่างค่าทว่ี ดั ไดท้ งั้ 2 ครงั้
หรอื ไมม่ คี วามสมั พนั ธเ์ ชงิ เสน้

หรอื มคี วามสมั พนั ธเ์ ชงิ เสน้
จะปฏเิ สธ H0 เมอ่ื ค่า 2-Tail Prob. < แสดงว่า มคี วามสมั พนั ธก์ นั
จะยอมรบั H0 เม่อื ค่า 2-Tail Prob. > แสดงว่า ไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ นั

3) ตาราง Paired samples test อ่านคา่ สถติ ทิ ดสอบ Paired t-test ซง่ึ ใชท้ ดสอบความแตกต่างของ
ค่าเฉลย่ี ทว่ี ดั ทงั้ 2 ครงั้ ซง่ึ มคี า่ เฉลย่ี ของความแตกต่าง (Mean) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความ

แตกต่าง ( ) Standard error ( ) และคา่ t-value และคา่ 2 tail sig. (p-value)

246

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

4. การทดสอบไคสแควรด์ ้วยโปรแกรม SPSS
ไคสแควรเ์ ป็นวธิ กี ารตรวจสอบขอ้ มูลเพ่อื หาความสมั พนั ธ์ของตวั แปร 2 ตวั ว่ามคี วามสมั พนั ธก์ นั หรอื ไม่
ขอ้ มูลท่ผี ู้วจิ ยั นํามาวเิ คราะหด์ ว้ ยไคสแควร์ต้องเป็นขอ้ มูลระดบั นามบญั ญตั ิ (Nominal scale) และระดบั
เรยี งอนั ดบั (Ordinal scale) เทา่ นนั้

ตวั อยา่ ง มกี ารศกึ ษาถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างระดบั การศกึ ษากบั ความพงึ พอใจของกลุ่มตวั อย่าง
ต่อการรบั บรกิ ารของสถานพยาบาล โดยมกี ลมุ่ ตวั อย่าง 21 ราย

การตงั้ สมมตฐิ านจะหาความเป็นอสิ ระระหว่างระดบั การศกึ ษากบั ระดบั ความพงึ พอใจของกลุ่ม
ตวั อยา่ ง

H0: ระดบั การศกึ ษาและความพงึ พอใจในการรบั บรกิ ารเป็นอสิ ระต่อกนั
H1: ระดบั การศกึ ษาและความพงึ พอใจในการรบั บรกิ ารไมเ่ ป็นอสิ ระต่อกนั
คาํ นวณโดยใชโ้ ปรแกรม SPSS มขี นั้ ตอน ดงั น้ี
ขนั้ ที่ 1 เลอื กเมนูและคาํ สงั่ ตามลาํ ดบั ดงั น้ี
Analyze → Descriptive statistics → Crosstabs
จะปรากฏหน้าต่างของ Crosstabs ดงั น้ี

247

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ขนั้ ท่ี 2 เลอื กตวั แปร การศกึ ษา มาไวท้ บ่ี ๊อกซข์ อง Row(s):
เลอื กตวั แปร ความพงึ พอใจ มาไวท้ บ่ี ๊อกซข์ อง Column(s):

ขนั้ ท่ี 3 คลกิ ทป่ี ่มุ Statistics เลอื กคา่ สถติ ิ Chi-square คลกิ ทป่ี ่มุ Continue
ขนั้ ท่ี 4 คลกิ ทป่ี ุ่ม OK จะปรากฏผลลพั ธใ์ นวนิ โดวส์ Output ดงั น้ี

ผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ากโปรแกรม SPSS

248

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ความหมายของผลลพั ธท์ ่ีได้จากโปรแกรม SPSS
Case processing summary เป็นสว่ นทแ่ี สดงรายละเอยี ดเกย่ี วกบั จาํ นวนขอ้ มลู ทน่ี ํามาใชว้ เิ คราะห์
เป็นสว่ นทแ่ี สดงรายละเอยี ดเกย่ี วกบั ความถข่ี องขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมมาไดจ้ ากตวั อย่าง
Chi-square tests เป็นส่วนท่ีแสดงค่าสถิติและความน่าจะเป็นท่ีใช้ในการทดสอบสมมติฐาน
ในทน่ี ้ีจะกลา่ วถงึ เฉพาะค่าสถติ ขิ องไคสแควร์
Asymp. Sig (2-sided) ค่าความน่าจะเป็นในการยอมรบั สมมตฐิ าน Ho (หรอื ค่า p-value) ถ้ามคี ่า
น้อยกว่าหรอื เท่ากบั 0.05 นนั่ คอื บอกใหท้ ราบวา่ ตวั แปรทงั้ สองตวั มนี ยั สาํ คญั ต่อกนั ทร่ี ะดบั นยั สาํ คญั 0.05
หรอื ทร่ี ะดบั ความเช่อื มนั่ รอ้ ยละ 95 ถ้าค่าน้อยกว่า 0.01 แสดงว่ามคี วามสมั พนั ธก์ นั กนั ทร่ี ะดบั นัยสาํ คญั
0.01 หรอื ทร่ี ะดบั ความเชอ่ื มนั่ รอ้ ยละ 99 แต่ถา้ มคี า่ มากกวา่ 0.05 แสดงว่าตวั แปรไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ นั
จากตัวอย่าง ค่าความน่าจะเป็นท่ีโปรแกรมคํานวณมาให้ คือ 0.009 ซ่งึ มีค่าน้อยกว่าค่า α
ท่ี 0.05 ดงั นนั้ จงึ ตดั สนิ ใจปฏเิ สธสมมตฐิ าน และ
สรุปว่า ค่าท่ีได้จากการคํานวณได้เท่ากบั 0.009 ซ่ึงน้อยกว่าค่า p value ท่ีกําหนดไว้ 0.05
ทาํ ใหต้ อ้ งปฏเิ สธสมมตฐิ าน H0 ทร่ี ะบุว่า ระดบั การศกึ ษาและความพงึ พอใจในการรบั บรกิ ารเป็นอสิ ระต่อกนั
และยอมรบั สมมตฐิ าน H1 ทร่ี ะบุว่า ระดบั การศกึ ษาและความพงึ พอใจในการรบั บรกิ ารไม่เป็นอสิ ระต่อกนั
(คอื สมั พนั ธก์ นั ) ทร่ี ะดบั ความเชอ่ื มนั่ 95%
5. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุม่ ตงั้ แต่ 2 กล่มุ ขนึ้ ไปใช้ ANOVA
การวิเคราะหค์ วามแปรปรวน (Analysis of variances) แบบจาํ แนกทางเดียว: One-way
ANOVA
ศกึ ษาหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปร 2 ประเภท คอื
- ตวั แปรตาม (Dependent):
* ตวั แปรตามควรเป็นขอ้ มลู ทส่ี ามารถคาํ นวณได้ ในระดบั ชว่ ง (Interval) อตั ราสว่ น (Ratio)

แต่อาจใชก้ บั ขอ้ มลู ระดบั ลาํ ดบั มาตรา (Ordinal) บางประเภทได้
249

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

- ตัวแปรอิสระ, ต้น (Independent): ซ่ึงแบ่งข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ มากกว่าสองกลุ่มข้ึนไป
เพ่อื ทดสอบว่าในแต่ละกลุ่มทแ่ี ตกต่างกนั นนั้ จะทาํ ใหค้ า่ เฉลย่ี ของตวั แปรตาม แตกต่างกนั หรอื ไม่

* ตวั แปรอสิ ระ, ตวั แปรตน้ อาจเป็นขอ้ มลู ระดบั นามมาตรา (Nominal) หรอื ลําดบั มาตรา (Ordinal)
* เน่ืองจากมจี าํ นวนตวั แปรอิสระ หรอื ตวั แปรต้น จาํ นวน 1 ตวั แปร ที่มีการนํามา

แบ่งเป็นกลุ่มตา่ ง ๆ จงึ เรยี กวา่ One-way ANOVA เช่น
- การทดสอบว่าผทู้ ม่ี รี ะดบั การศกึ ษาแตกต่างกนั มเี งนิ เดอื นแตกต่างกนั หรอื ไม่
ตวั แปรตน้ อสิ ระ, ตน้ : กลมุ่ ระดบั การศกึ ษา ตวั แปรตาม: เงนิ เดอื น
- การทดสอบวา่ ประชาชนอาชพี ต่าง ๆ มที ศั นคตติ ่อการเปิดบ่อนเสรแี ตกต่างกนั
อยา่ งไร ตวั แปรตน้ อสิ ระ, ตน้ : กลุ่มอาชพี ตวั แปรตาม: ทศั นคตติ ่อการเปิดบอ่ นเสรี

ขอ้ กาํ หนดของการวิเคราะหค์ วามแปรปรวนแบบพาราเมติก
ทดสอบขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ (Assumption) ของการใชส้ ถติ ิ Parametric statistics -- >One way
analysis of variance
1.) ขอ้ มลู ไดจ้ ากการสมุ่
2.) ตวั แปรตน้ หรอื ตวั แปรแบง่ กลุ่มมมี ากกว่า 2 กลุ่ม เป็นอสิ ระต่อกนั
3.) ตัวแปรตามเป็นตัวแปรต่อเน่ือง มีระดบั การวดั Interval หรอื Ratio scale ตวั แปรตาม
แต่ละกลมุ่ มกี ารแจกแจงแบบปกติ
4.) ตวั แปรตามแต่ละกลุ่มมคี วามแปรปรวนเท่ากนั กรณีเป็นไปตามขอ้ ตกลงเบ้อื งต้น ใชส้ ถติ ิ
Parametric statistics -- >One way ANOVA (One way analysis of variance) หรอื F-test ถา้ หากพบวา่
มคี วามแตกต่างกนั ใชส้ ถติ ใิ นการทดสอบรายคู่ (Multiple comparisons) โดยใชส้ ถติ ิ LSD หรอื Bonferroni
หรอื Scheffe ฯลฯ กรณีไม่เป็นไปตามขอ้ ตกลงเบ้อื งต้น ใชส้ ถติ ิ Non parametric statistics -- >Kruskal
Wallis Test
ขนั้ ตอนการทดสอบสมมติฐาน ANOVA
ขนั้ ตอนท่ี 1 การใชโ้ ปรแกรม SPSS ตรวจสอบการแจกแจงของขอ้ มลู
ขนั้ ตอนที่ 2 การใชโ้ ปรแกรม SPSS วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนแบบจาํ แนกทางเดยี ว: One-way
ANOVA

ตวั อยา่ ง การวิจยั เรอื่ งปัจจยั ท่ีมีความสมั พนั ธต์ ่อพฤติกรรมการใช้สารระเหยในจงั หวดั
นครราชสีมา

ศกึ ษาอายุของผเู้ สพสารระเหยในระดบั ความเสย่ี งต่าง ๆ จากการคดั กรองซง่ึ จาํ แนก ดงั น้ี
- เสย่ี ง (คะแนน 0-3 )
- เสย่ี งสงู (คะแนน 4-26) และ
- เสย่ี งสงู มาก (คะแนน > 27)

250

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ ตอนของการทดสอบสมมติฐาน
1. กาํ หนดสมมติฐาน
H0 : อายุของผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งในการเสพสารระเหยระดบั ต่าง ๆ ไม่แตกต่างกนั
H1 : : อายขุ องผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งในการเสพสารระเหยระดบั ต่าง ๆ แตกต่างกนั อยา่ งน้อยหน่ึงกลุ่ม
2. กาํ หนดเกณฑ์
ผทู้ ม่ี รี ะดบั ความเสย่ี งในการเสพสารระเหยแตกต่างกนั อยา่ งน้อยหน่งึ กลุ่มมอี ายแุ ตกต่างกนั
3.เลอื กวิธีการทางสถิติ/ตวั สถิติท่ีเหมาะสม
การวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนแบบจาํ แนกทางเดยี ว: One-way ANOVA
4.สรา้ งขอบเขตของการตดั สินใจ
- การเลอื กระดบั นยั สาํ คญั α = 0.05
5.คาํ นวณค่าสถิติจากข้อมลู ตวั อยา่ ง
คาํ นวณจากโปรแกรม SPSS เลอื กคาํ สงั่ Analyze Compare means One-way ANOVA

251

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

เลอื กตวั แปรอสิ ระ/ตน้ : Factor (เตมิ ตวั แปร ระดบั ความเสย่ี งในการเสพสารระเหย)
เลอื กตวั แปรตาม : Dependent List (เตมิ ตวั แปร อายุ)
Options -พรรณนาขอ้ มลู ทวั่ ไป, การทดสอบความแปรปรวน หรอื การกระจายระหวา่ งกลมุ่

252

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ผลการทดสอบความแปรปรวน หรอื การกระจายระหวา่ งกลมุ่
สรปุ วา่ อายขุ องกลุ่มทม่ี รี ะดบั ความเสย่ี งในการเสพสารระเหยมคี วามแปรปรวนไมแ่ ตกต่างกนั
(p value = 0.111)
หากขอ้ มลู แจกแจงเป็นแบบโคง้ ปกตแิ ละมคี วามแปรปรวนเทา่ กนั สามารถเลอื กใช้ Parametric
statistic -- > One way ANOVA (F – test) ได้
Post hoc: ทดสอบความแตกต่างของคา่ เฉลย่ี แบบจบั คพู่ หุคณู (Multiple comparison)
Click ทป่ี ุ่ม Post Hoc…
Click เลอื ก สถติ ทิ ดสอบความแตกต่างของคา่ เฉลย่ี รายคู่ (Multiple comparison)

- กรณีความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน ใช้สถิติทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียรายคู่
(Multiple comparison) อย่ใู นสว่ นของ Equal variance assumed เชน่ Bronferroni, Scheffe

- กรณีความแปรปรวนแตกต่างกัน ใช้สถิติทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียรายคู่
(Multiple comparison) อยใู่ นสว่ นของ เช่น Tamhane’s T2

253

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ผลการศกึ ษา
สว่ นท่ี 1 พรรณนาลกั ษณะของขอ้ มลู

สว่ นท่ี 2 ทดสอบความแปรปรวน หรอื การกระจายของกลมุ่ ตวั อย่างว่าแตกต่างกนั หรอื ไม่

H0: ความแปรปรวนของอายุในแต่ละกลุ่มไมแ่ ตกต่างกนั
H1: มีอยา่ งน้อย 2 กลมุ่ ท่ีอายุในแต่ละกลุ่มแตกต่างกนั
จะปฏเิ สธสมมตฐิ าน H0 ถา้ ค่า Sig ทค่ี าํ นวณไดน้ ้อยกวา่ α ทก่ี าํ หนด (α=0.05)

- ค่าความน่าจะเป็ น Sig ท่ีโปรแกรมคํานวณได้ 0.111 มีค่ามากกว่า α=0.05
จงึ ยอมรบั สมมตฐิ าน: ความแปรปรวนของทศั นคตใิ นแต่ละกลมุ่ ไม่แตกต่างกนั
*สรุปได้ว่า: ถ้าค่าความน่าจะเป็น หรือ Sig ท่ีโปรแกรมคํานวณได้ มีค่ามากกว่าค่าระดับ
นยั สาํ คญั α ทก่ี าํ หนด แสดงว่าขอ้ มลู ในแต่ละกลุ่มมคี วามแปรปรวน หรอื การกระจายทไ่ี มแ่ ตกต่างกนั
สว่ นท่ี 3 แสดงค่าต่าง ๆ ของตารางวเิ คราะหค์ วามแปรปรวน เพ่อื ใชใ้ นการทดสอบความแตกต่าง
ของค่าเฉลย่ี

254

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

จากสมมตฐิ านทต่ี งั้ ไว้
H0 : อายุของผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งในการเสพสารระเหยระดบั ต่าง ๆ ไมแ่ ตกต่างกนั
H1 : อายุของผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งในการเสพสารระเหยระดบั ต่าง ๆ แตกต่างกนั อยา่ งน้อยหน่ึงกลมุ่
*ปฏิเสธสมมติฐานหลกั H0 ถ้าค่า Sig ที่คาํ นวณได้น้อยกวา่ ระดบั นัยสาํ คญั (α) ท่ีกาํ หนด
ค่า Sig (0.001) น้อยกว่า α= 0.05
แสดงว่า ปฏเิ สธสมมตฐิ านหลกั H0
ยอมรบั สมมตฐิ านรอง H1: อายุของผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งในการเสพสารระเหยระดบั ต่าง ๆ แตกต่างกนั
อยา่ งน้อยหนง่ึ กลมุ่
สว่ นท่ี 4 แสดงคา่ สถติ สิ าํ หรบั ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลย่ี แบบจบั คพู่ หุคณู
(Multiple comparison): Post Hoc tests

เลือกจากคาํ สงั่ Post Hoc ใช้คา่ Scheffe
พจิ ารณาจากค่า Sig เพ่อื พจิ ารณาวา่ ค่าเฉลย่ี ของ 2 กลุ่มแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ ถา้ ค่า Sig น้อยกวา่
ระดบั นยั สาํ คญั ทก่ี าํ หนด แสดงวา่ ค่าเฉลย่ี ของสองกล่มุ แตกต่างกนั
สรปุ ไดว้ า่
- ผอู้ ายุของผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งในการเสพสารระเหยระดบั ต่าง ๆ แตกต่างกนั (Sig=0.05)
- ผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งในการเสพสารระเหยระดบั Moderate และ High มอี ายแุ ตกต่างกนั (Sig=0.021)
6. การสรปุ ผล
ผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งในการเสพสารระเหยแตกต่างกนั อยา่ งน้อย 2 ระดบั มอี ายแุ ตกต่างกนั ทร่ี ะดบั
นยั สาํ คญั 0.05

255

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

6. การวิเคราะหห์ าความสมั พนั ธเ์ ป็นตวั แปรต่อเนื่องทีละคู่
ตวั อย่าง การหาความสมั พนั ธ์เชิงเส้นตรง ระหว่างอตั ราผูท้ ใ่ี ชย้ าบา้ ต่อ 10,000 ประชากร
อายเุ ฉลย่ี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบาํ บดั และอตั ราการเขา้ รบั การรกั ษาแบบสมคั รใจ ใชส้ ถติ สิ มั ประสทิ ธิ์ สหสมั พนั ธ์
ข อ ง เ พีย ร์สัน (Pearson product moment correlation coefficient; r) ซ่ึง เ ป็ น Parametric statistics
กรณีข้อมูลแจกแจงแบบปกติ หรือ สมั ประสิทธิส์ หสมั พันธ์ของสเปียร์แมน (Spearman Correlation
coefficient; rs) ซง่ึ เป็น Non parametric statistics ในกรณขี อ้ มลู มกี ารแจกแจงไมเ่ ป็นปกติ จาํ นวนตวั อย่าง
น้อย หรอื ขอ้ มลู มรี ะดบั การวดั เป็น Ordinal scale
ตวั อย่าง หาความสมั พนั ธร์ ะหว่างอตั ราผทู้ ใ่ี ชย้ าบา้ ต่อ 10,000 ประชากร อายุเฉลย่ี วนั ท่เี ขา้ รบั
การบําบดั และ อตั ราการเข้ารับการรกั ษาแบบสมคั รใจในระบบฐานขอ้ มูลสํานักงานงานป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติด ปี พ.ศ. 2554 มขี นั้ ตอนการทดสอบดงั น้ี การทดสอบการแจกแจงของขอ้ มูลว่า
เป็นโค้งปกติหรือไม่ พบว่าข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ จึงใช้สถิติ Parametric statistics โดยใช้
สมั ประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธข์ องเพยี รส์ นั (Pearson product moment correlation coefficient; r)
คาํ ถามการวจิ ยั :
1. อายเุ ฉลย่ี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบาํ บดั มคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั อตั ราผทู้ ใ่ี ชย้ าบา้ หรอื ไม่
2. อายุเฉลย่ี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบําบดั มคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั อตั ราการเขา้ รบั การรกั ษา
แบบสมคั รใจหรอื ไม่
3. อตั ราผทู้ ใ่ี ชย้ าบา้ มคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั อตั ราการเขา้ รบั การรกั ษาแบบสมคั รใจหรอื ไม่
สมตฐิ านการวจิ ยั :
1. อายุเฉลย่ี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบาํ บดั มคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั อตั ราผทู้ ใ่ี ชย้ าบา้
2. อายุเฉลย่ี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบําบดั มคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั อตั ราการเขา้ รบั การรกั ษา
แบบสมคั รใจ
3. อตั ราผทู้ ใ่ี ชย้ าบา้ มคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั อตั ราการเขา้ รบั การรกั ษาแบบสมคั รใจ
การนําเสนอและแปลผล
การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) ของตวั แปร อตั ราผู้ทใ่ี ช้ยาบ้าต่อ 10,000 ประชากร
อายเุ ฉลย่ี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบาํ บดั และ อตั ราการเขา้ รบั การรกั ษาแบบสมคั รใจ
ตารางแสดงคา่ สมั ประสิทธ์ิสหสมั พนั ธข์ องเพยี รส์ นั ของตวั แปร
อตั ราผูท้ ่ีใช้ยาบา้ ต่อ 10,000 ประชากร อายุเฉล่ยี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบําบดั และ อตั ราการเข้ารบั
การรกั ษาแบบสมคั รใจ

256

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

จากตาราง การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างอตั ราผทู้ ใ่ี ชย้ าบา้ ต่อ 10,000 ประชากร อายุเฉลย่ี
วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบาํ บดั และ อตั ราการเขา้ รบั การรกั ษาแบบสมคั รใจ โดยใชก้ ารหาค่าสมั ประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธ์
ของเพยี รส์ นั พบวา่

อายุมคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) ทางบวกกบั ดชั นมี วลกายอยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ (r = 0.336;
p value = 0.013) ส่วนตวั แปรอายุมคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั ระดบั น้ําตาลในเลอื ด และ ดชั นีมวล
กายมคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั ระดบั น้ําตาลในเลอื ดอยา่ งไมม่ นี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ (r=-0.142; p value
= 0.307 และ r = -.161; p value = 0.246 ตามลาํ ดบั )

อายุเฉลย่ี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบาํ บดั มคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั อตั ราผทู้ ใ่ี ชย้ าบา้ อย่างมนี ยั สาํ คญั
ทางสถติ ิ (r = 0.208; p value = 0.000)

อายุเฉลย่ี วนั ทเ่ี ขา้ รบั การบาํ บดั มคี วามสมั พนั ธ์ (เชงิ เสน้ ตรง) กบั อตั ราการเขา้ รบั การรกั ษาแบบ
สมคั รใจอยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ (r = 0.1125; p value = 0.000)

อตั ราผู้ท่ีใช้ยาบ้ามีความสมั พันธ์ (เชิงเส้นตรง) กับอตั ราการเข้ารบั การรักษาแบบสมคั รใจ
อย่างมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ (r = 0.583; p value = 0.000)
คาํ สงั่

1.) Click ทค่ี าํ สงั่ Analyze
2.) Click ทค่ี าํ สงั่ Correlate
3.) Click ทค่ี าํ สงั่ Bivariate….

257

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

การเลือกใช้สถิติเชิงพรรณนาในงานวิจยั กบั ชนิดของสเกลขอ้ มลู โดยสามารถสรปุ ไวด้ งั นี้

ชนิดขอ้ มลู สถิติเชิงพรรณา

1. สเกลแบง่ กลุ่ม (Nominal scale) 1 ตวั - ความถ่ี รอ้ ยละ
- ฐานนยิ ม (Mode)

2. สเกลอนั ดบั (Ordinal scale) 1 ตวั - ความถ่ี รอ้ ยละ
- คา่ มธั ยฐาน ฐานนิยม

3. เชงิ ปรมิ าณ (Interval or Ratio scale) 1 ตวั - คา่ กลาง (ค่าเฉลย่ี ค่ามธั ยฐาน ค่าฐานนิยม)
- ค่าการกระจาย (คา่ แปรปรวน พสิ ยั คา่ เบย่ี งเบน
มาตรฐาน)

4. ตวั แปรเชงิ กลุ่ม 2 ตวั - ตารางไขว้ (Crosstab) แสดงจาํ นวนและรอ้ ยละ

5. ตวั แปรเชงิ ปรมิ าณ 1 ตวั และตวั แปรเชงิ กลุ่ม - ค่ากลางและค่าการกระจายของตวั แปรเชงิ
1 ตวั ปรมิ าณแยกตามกลมุ่ ยอ่ ยของตวั แปรเชงิ กล่มุ

6. ตวั แปรเชงิ ปรมิ าณ 2 ตวั - การวเิ คราะหค์ วามถดถอย
- สมั ประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธ์

7. ตวั แปรเชงิ เปรยี บเทยี บความแตกต่างระหวา่ ง - การวเิ คราะหค์ วามแปรปรวน (Analysis of
กลุ่มตงั้ แต่ 2 กลุ่ม ขน้ึ ไป variances) แบบจาํ แนกทางเดยี ว: One-way
ANOVA

258

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

สรปุ

สถติ เิ ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งกบั กระบวนการวจิ ยั หลายขนั้ ตอน ตวั อย่างเช่น การคํานวณขนาดตวั อย่าง
การสุ่มตัวอย่าง การสร้างเคร่ืองมือ และ การหาคุณภาพของเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเพ่อื บรรยายลกั ษณะกลุ่มท่ีศกึ ษา การวิเคราะหข์ อ้ มูลเพ่อื ตอบคําถามการวจิ ยั หรอื
สรุปผลการศกึ ษาตามวตั ถุประสงค์ การทดสอบสมมตฐิ านการวจิ ยั การนําเสนอและสรุปผลการวจิ ยั ใชเ้ ป็น
เคร่อื งมอื ในการตดั สนิ และสรุปผลการวจิ ยั เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจสถติ มิ ากยงิ่ ขน้ึ และนําความรูส้ ถติ ไิ ปใชใ้ นงานวจิ ยั
ไดอ้ ย่างเหมาะ ผวู้ จิ ยั ควรมคี วามรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั สถติ ิ

259

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

เอกสารอ้างอิง

กลั ยา วานชิ ยบ์ ญั ชา. การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู . พมิ พค์ รงั้ ท่ี 6.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2546.

จติ สทิ ธอิ มร, จริ าพร เขยี วอยู่ และวนิ สิ อุดมประเสรฐิ กุล. การเลือกใช้สถิติในการวิจยั . [online].
คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
แหล่งทเ่ี ขา้ ถงึ : http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re1.htm. [10 มกราคม 2550]

ฉตั รศริ ิ ปิยะพมิ ลสทิ ธ.ิ์ การใช้ SPSS เพือ่ การวิเคราะหข์ อ้ มลู . [online].
แหล่งทเ่ี ขา้ ถงึ : http://www.watpon.com/spss/. [10 มกราคม 2550]

จติ สทิ ธอิ มร และคณะ. การเลอื กใช้สถิติในการวิจยั . [online]. คณะแพทยศ์ าสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . แหลง่ ทเ่ี ขา้ ถงึ : http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re1.htm.

ดสุ ติ สจุ ริ ารตั น์. (2540). การวิเคราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยโปรแกรม SPSS for WINDOWS. กรุงเทพมหานคร:
คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, 2540.

ธวชั ชยั วรพงศธร. (2538). หลกั การวิจยั ทางสาธารณสขุ ศาสตร.์ กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ฯ, 2538.

บณั ฑติ ถน่ิ คาํ รพ. (2541). “สถิติสาํ หรบั การวิจยั ทางสาธารณสขุ : ตอนท่ี 2 วิธีการนําเสนอขอ้ มูล
ทางสถิติในรายงานวิจยั (ภาคท่ี 1).” วารสารระบาดวทิ ยาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื . 3: 17-20.

อรณุ จริ วฒั น์กลุ และคณะ. (2542). ชีวสถิติ. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. ขอนแกน่ : โรงพมิ พค์ ลงั นานาวทิ ยา.
อรณุ จริ วฒั น์กลุ . (2547). ชีวสถิติสาํ หรบั งานวิจยั ทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ. ขอนแกน่ :

โรงพมิ พค์ ลงั นานาวทิ ยา.
Danial WW. (1995). Biostatistics: A Foundation for Analysis in the health Science. New York:

John Wiley & Sons,

260

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

คาํ ถามท้าย
1. การคาํ นวณคา่ มธั ยฐาน และฐานนยิ ม สามารถคาํ นวณไดด้ ว้ ยคาํ สงั่ ใด
ก. Frequency ข. Means
ค. Descriptives ง. Crosstab
2. ขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ ในใชอ้ นุมานแบบมพี ารามเิ ตอร์ คอื ขอ้ ใด
ก. Normal distribution
ข. การเลอื กตวั อยา่ ง (Sampling) เป็นไปอยา่ งอสิ ระ
ค. ขอ้ มลู ทว่ี ดั ไดค้ วรอยใู่ นระดบั ช่วง Interval scale หรอื Ratio scale
ง. ถกู ทุกขอ้
3. ขอ้ ใดเป็นการตรวจสอบ การแจกแจงปกตขิ องตวั แปร Normality test
ก. วเิ คราะหด์ ว้ ยสถติ ิ Komolgorov-Smirnov (ตอ้ งไม่ sig หรอื p-value>0.05)
ข. การวเิ คราะหด์ ว้ ยสถติ ิ Independent T-test
ค. การวคิ ราะหด์ ว้ ยสถติ ิ Chi-square test
ง. ถูกทุกขอ้
4. ทร่ี ะดบั ความเช่อื มนั่ 95 เปอรเ์ ซน็ ต์ จะมคี วามน่าจะเป็นของความผดิ พลาดเท่ากบั เท่าใด
ก. 0.005 ข. 0.025
ค. 0.050 ง. 0.095
5. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งเกย่ี วกบั การประมาณคา่
ก. เป็นวธิ กี ารใชค้ า่ สถติ ทิ ไ่ี ดจ้ ากตวั อยา่ งไปประมาณคา่ พารามเิ ตอร์
ข. เป็นการนําตวั เลข คา่ สถติ ทิ ไ่ี ดม้ าจากกลมุ่ ตวั อย่าง ไปประมาณหาคา่ ความจรงิ ระดบั ประชากร
ค. ทาํ ไดท้ งั้ การประมาณแบบจุด หรอื ประมาณแบบช่วง
ง. ถูกทกุ ขอ้
6. จากการทดสอบวชิ าคณติ ศาสตรพ์ บว่าคะแนนสอบของนกั เรยี นชนั้ ป.5 มคี า่ เฉลย่ี 70 คะแนน
ค่ามธั ยฐาน 75 คะแนน และคา่ ฐานนยิ ม 80 คะแนน ขอ้ มลู น้มี กี ารแจกแจงลกั ษณะใด
ก. แจกแจงแบบโคง้ ปกติ ข. ขอ้ มลู เบซ้ า้ ย
ค. ขอ้ มลู เบข้ วา ง. ขอ้ มลู แบนราบ
7. ถา้ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งการทดสอบสมมตฐิ านเพอ่ื เปรยี บเทยี บผลการเรยี นเฉลย่ี ของนกั ศกึ ษา 2 คณะวชิ า
ผวู้ จิ ยั ตอ้ งใช้ สถติ ใิ ดในการทดสอบสมมตฐิ าน
ก. Z-test ข. T-test
ค. F-test ง. Chi-square test

261

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

8. ขอ้ มลู ทเ่ี หมาะสมสาํ หรบั นํามาวเิ คราะหด์ ว้ ยไคสแควรต์ อ้ งเป็นขอ้ มลู ระดบั ใด
ก. ระดบั เรยี งอนั ดบั และอตั ราสว่ น
ข. ระดบั อนั ตรภาค และอตั ราสว่ น
ค. นามบญั ญตั ิ และระดบั เรยี งอนั ดบั
ง. ระดบั เรยี งอนั ดบั และระดบั อนั ตรภาค
9. คน 5 คน ออกกาํ ลงั กายแลว้ อตั ราเตน้ ของหวั ใจเปลย่ี นไปจากเดมิ หรอื ไม่เป็นการเปรยี บเทยี บอตั ราการ
เตน้ ของหวั ใจในคน ๆ เดยี วกนั กอ่ นและหลงั การออกกาํ ลงั กาย ทงั้ 2 กลมุ่ จากขอ้ มลู ควรใชส้ ถติ ทิ ดสอบ
t-test แบบใด
ก. One Sample test
ข. Independent test
ค. Paired sample test
ง. ถกู ทงั้ ขอ้ ข และ ค
10. การเปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่าง 2 กลุ่ม โดยกลุม่ ตวั อย่างเป็นอสิ ระกนั ทาํ โดยเปรยี บเทยี บ
ค่าเฉลย่ี เป็นการสถติ ทิ ดสอบ t-test แบบใด
ก. Independent test
ข. One Sample test
ค. Paired sample test
ง. ถูกทงั้ ขอ้ ก และ ค
11. การหาค่าความถแ่ี ละรอ้ ยละดว้ ยโปรแกรม SPSS for Windows โดยใหม้ ผี ลลพั ธแ์ สดงในรปู ตารางแจก
แจงความถท่ี างเดยี ว ใชค้ าํ สงั่ ใด
ก. Frequency ข. Means
ค. Descriptives ง. Crosstab
12. ขอ้ ใดคอื สถติ ทิ ใ่ี ชท้ ดสอบความแปรปรวน
ก. T-test ข. Z-test
ค. F-test ง. Chi-square test
13. ค่า “ P-value <0.05” หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. ค่าความคาดเคลอ่ื ทย่ี อมรบั ไดท้ ่ี 0.05
ข. คา่ ความคาดเคลอ่ื ทย่ี อมรบั ไดท้ ่ี 95 เปอรเ์ ซน็ ต์
ค. โอกาสในการสรปุ ผดิ 0.05
ง. โอกาสในการสรปุ ผดิ 95 เปอรเ์ ซน็ ต์

262

บทที่ 11

การเผยแพรผ่ ลงานวจ� ยั

การเผยแพร่ผลงานวจิ ยั เป็นการนําเสนอวธิ กี ารวจิ ยั และผลการวจิ ยั จากการวจิ ยั ทเ่ี สรจ็ สมบูรณ์
แลว้ หรอื การวจิ ยั ทก่ี ําลงั ดาํ เนินการอยู่ ต่อบุคคล องคก์ ร หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และสาธารณชนในรปู แบบ
ต่าง ๆ กนั การเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั จดั เป็นขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยของกระบวนการวจิ ยั การวจิ ยั ทไ่ี ดม้ กี ารวางแผน
อยา่ งรอบคอบและดาํ เนนิ การมาอย่างเหมาะสม ควรจะมกี ารเผยแพร่ผลงานวจิ ยั นนั้ เสมอไม่วา่ ผลการวจิ ยั
นัน้ จะมผี ลการวจิ ยั ในเชงิ บวก (การวจิ ยั ไดผ้ ลดตี ามความคาดหวงั ของผวู้ จิ ยั ) หรอื มผี ลการวจิ ยั ในเชงิ ลบ
(การวจิ ยั มไิ ดผ้ ลดตี ามความคาดหวงั ของผวู้ จิ ยั ) อยา่ งไรกด็ ี งานวจิ ยั ทไ่ี ดผ้ ลการวจิ ยั เชงิ บวกมกั มแี นวโน้ม
ทจ่ี ะไดร้ บั การพมิ พเ์ ผยแพร่มากกว่างานวจิ ยั ทไ่ี ดผ้ ลการวจิ ยั เชงิ ลบ และงานวจิ ยั ทไ่ี ดผ้ ลไม่ตรงตามความ
คาดหวงั ของผูว้ จิ ยั หรอื องค์กรท่ใี ห้การสนับสนุนการวจิ ยั กม็ กั จะไม่ไดร้ บั การเผยแพร่ ทําให้ขาดข้อมูล
และนําไปส่กู ารศกึ ษาซ้ําในเร่อื งเดมิ อนั เป็นการเสยี เวลาและสน้ิ เปลอื งทรพั ยากรโดยไม่จําเป็น งานวจิ ยั
จาํ นวนมากทม่ี กี ารศกึ ษาไวแ้ ลว้ อย่างดแี ละจดั เตรยี มเป็นเอกสารเรยี บรอ้ ยแต่มไิ ดเ้ ผยแพร่ทวั่ ไปในวงกวา้ ง
(เช่น วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาโทและนักศึกษาปริญญาเอก) ซ่ึงเป็นท่ีน่าเสียดายอย่างย่ิง
เน่ืองจากงานวิจยั จํานวนไม่น้อยเป็นงานวิจยั ท่ีมีคุณค่ามากในเชิงวิชาการ การเผยแพร่ผลงานวิจยั
ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ยง่ิ มีความสําคญั เพราะการวิจัยแต่ละครงั้ จําเป็นต้องใช้ทรพั ยากร เวลา
และ สตปิ ัญญามาก ผลงานวจิ ยั ควรจะไดน้ ําไปใชป้ ระโยชน์ใหค้ ุม้ ค่าไม่ว่าผลงานวจิ ยั จะไดผ้ ลเชงิ บวกหรอื
ไดผ้ ลเชงิ ลบกต็ าม

11.1 ประโยชน์ของการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั

การเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั มปี ระโยชน์ทส่ี าํ คญั หลายประการ ไดแ้ ก่
 การเผยแพร่ผลงานวิจัยเป็ นการประชาสัมพันธ์ระหว่างผู้วิจัยกับบุคคลท่ีเก่ียวข้อง

และผทู้ จ่ี ะไดร้ บั ประโยชน์/โทษจากสงิ่ ทน่ี ํามาวจิ ยั
 การเผยแพร่ผลงานวิจยั เป็นการให้ข้อมูลแก่นักวจิ ยั อ่ืนท่จี ะนําไปใช้เป็นแนวทางสําหรบั

การศกึ ษาต่อไป เป็นแนวทางสาํ หรบั การศกึ ษาเพม่ิ เตมิ หรอื การศกึ ษาซ้าํ
การเผยแพร่ผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์มีได้หลายรูปแบบ รูปแบบท่ีสําคญั ของ
การเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ไดแ้ ก่
 นพิ นธต์ น้ ฉบบั (Original article) ในวารสารหรอื หนงั สอื
 รายงานผลการวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ์ (รวมถงึ รายงานความคบื หน้าของการวจิ ยั ดว้ ย)
 วทิ ยานิพนธ์ (Thesis หรอื Dissertation)
 บทคดั ยอ่ (Abstract)

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

 การนําเสนอผลงานวจิ ยั ดว้ ยวาจา (Oral presentation)
 การนําเสนอผลงานวจิ ยั ดว้ ยโปสเตอร์ (Poster presentation)

11.2 หลกั การเบือ้ งต้นในการเขียนรายงาน

1. คาํ นึงถึงวา่ ใครคอื ผอู้ ่านรายงาน
ลกั ษณะเฉพาะตัวและระดบั ความรู้ของผู้อ่านรายงานเป็นหลกั ขอ้ แรกท่ีต้องคํานึงถึง เพราะ
จะเกย่ี วไปถงึ วธิ กี ารเสนอขอ้ มูล ควรจะเน้นอะไรมากน้อย ความตอ้ งการของบคุ คลแต่ละคนจะแตกต่างกนั
พอจะจดั แบง่ กล่มุ ผอู้ ่านรายงานออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คอื
ก. ผู้เช่ียวชาญ หรอื นักวชิ าการในแต่ละสาขาวชิ า บุคคลประเภทน้ีจะสนใจในกรรมวิธที ่ใี ชใ้ น
การคน้ หาขอ้ เทจ็ จรงิ และผลลพั ธ์ทไ่ี ด้จากการคน้ พบ ฉะนัน้ การเขยี นรายงานใหบ้ ุคคลกลุ่มน้ีอ่านจะต้อง
อธบิ ายรายละเอยี ดของวธิ กี ารต่าง ๆ อย่างชดั แจง้ ทุกขนั้ ตอน และแต่ละขนั้ ตอนท่กี ล่าวถงึ กจ็ ะแสดงถึง
ผลลพั ธท์ ไ่ี ดม้ าดว้ ย
ข. ผู้บริหารผู้อ่านท่ีเป็นผู้บริหารส่วนใหญ่จะไม่มีเวลามากในการทําความเข้าใจหรืออ่าน
รายละเอยี ดมาก ๆ เพ่อื ความรวดเรว็ ในการทําความเขา้ ใจ ผบู้ รหิ ารจะสนใจทบ่ี ทสรุปและขอ้ เสนอแนะ
มากกวา่ สว่ นอ่นื ๆ ของรายงาน รายงานจงึ ควรมลี กั ษณะกะทดั รดั บง่ ชผ้ี ลลพั ธท์ เ่ี กดิ ขน้ึ อย่างชดั เจน และ
เสนอแนะวธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาของกจิ การได้ ไม่จําเป็นทจ่ี ะต้องอธบิ ายวธิ กี ารต่าง ๆ ในการทาํ วจิ ยั อย่าง
ละเอยี ด และควรใชภ้ าษาทเ่ี ขา้ ใจง่ายแต่ไมล่ ะเลยศพั ทเ์ ทคนคิ ทใ่ี ชก้ นั ทวั่ ไปในวงการนนั้ ๆ
ค. ผู้อ่านทวั่ ไปอาจเป็นผูอ้ ่านท่มี คี วามรูม้ าก ๆ เป็นนักวชิ าการหรอื ผอู้ ่านในระดบั ความรู้น้อย
ชาวบา้ นธรรมดา ทงั้ น้ีขน้ึ อย่กู บั สอ่ื ทใ่ี ชใ้ นการเผยแพรข่ อ้ มลู รายงานจะช่วยบ่งชร้ี ะดบั ความรขู้ องผอู้ า่ นได้
เช่น การเสนอผลการวจิ ยั ในรปู บทความตพี มิ พใ์ นวารสารต่าง ๆ ถา้ กล่มุ ผูอ้ ่านเป็นบคุ คลทม่ี คี วามรสู้ งู มี
ประสบการณ์ในสาขาวชิ าชพี นัน้ ๆ มาก การเขยี นรายงานควรใชศ้ พั ท์เทคนิคและเขยี นถงึ หลกั วชิ าการ
หรอื แสดงเหตุผลประกอบ แต่ถ้าหากผู้อ่านเป็นบุคคลระดบั ชาวบา้ นทวั่ ๆ ไป รายงานกค็ วรเขยี นแบบ
ภาษาชาวบา้ นทจ่ี ะเขา้ ใจไดง้ ่าย หลกี เล่ยี งการใชศ้ พั ทเ์ ทคนิค ควรใชร้ ูปภาพอธบิ ายประกอบใหม้ ากกว่า
การใชต้ วั อกั ษรหรอื ตวั เลขบรรยายลว้ น ๆ
2. เนื้อหาของรายงาน
เน้ือหาสาระของรายงานแต่ละฉบบั จะตอ้ งประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ไม่มหี ลกั เกณฑต์ ายตวั ขน้ึ อยู่
กบั เง่อื นไขต่อไปน้ี
ก. ความตอ้ งการของผอู้ ่านรายงาน เช่น รายงานอาจจะมแี ต่ขอ้ มลู ตารางสถติ ติ ่าง ๆ หรอื จะตอ้ ง
มกี ารเสนอแนะวธิ กี ารแก้ไขต่าง ๆ รายงานบางฉบบั อาจเป็นการเสนอขอ้ มูลท่คี น้ ควา้ เกบ็ รวบรวมมา
ตลอดจนการวเิ คราะหผ์ ลต่าง ๆ แต่การนําผลไปใชอ้ ยา่ งไรปลอ่ ยไวใ้ หเ้ ป็นดลุ ยพนิ ิจของผอู้ ่านรายงาน
ข. ความยุ่งยากซบั ซ้อนของรายงานวจิ ยั แต่ละงาน ได้แก่ การอธิบายกรรมวธิ ตี ่าง ๆ ในการ
ปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั แต่ละขนั้ ตอน ควรใชแ้ ผนภูมปิ ระกอบมากน้อยเพียงไร การอธบิ ายสูตรหรอื วิธคี ํานวณ
ต่าง ๆ ควรจะเน้นทฤษฎหี รอื สว่ นปฏบิ ตั มิ ากน้อยสาํ หรบั รายงานแต่ละฉบบั จะแตกต่างกนั

264

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

ค. ความสามารถในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และแปลความหมายขอ้ มลู ของผูท้ าํ วจิ ยั จะทาํ ใหเ้ น้ือหาท่ี
จะนําเสนอในรายงานยาวหรอื สนั้ ถ้าผูท้ าํ วจิ ยั วเิ คราะหไ์ ดล้ ะเอยี ดลกึ ซ้งึ เน้ือหาท่จี ะนําเสนอในรายงาน
ย่อมมากกว่าผทู้ ม่ี องขอ้ มลู ไดแ้ คบ ๆ

3. องคป์ ระกอบในการสื่อความหมายไดด้ ี
การเสนอรายงานทุกครงั้ จะต้องคํานึงถึงหลกั การส่อื ความหมายท่ดี ี (Good communication) กล่าวคอื
ชดั เจน ถูกตอ้ ง และ เขา้ ใจไดต้ รงกนั ทงั้ ผรู้ บั ขอ้ มลู และผถู้ ่ายทอดขอ้ มลู โดยคาํ นงึ ถงึ องคป์ ระกอบทใ่ี ชเ้ ป็น
สอ่ื เหล่าน้ี

ก. ภาษา ควรใช้ภาษาทถ่ี ูกต้องในดา้ นตวั สะกด ไวยากรณ์ แสดงความคดิ เหน็ และความหมาย
ของขอ้ มลู ไดช้ ดั เจนไมส่ บั สน คลมุ เครอื

ข. สาํ นวน ใชส้ าํ นวนทค่ี นทวั่ ไปเขา้ ใจและใชก้ นั อยเู่ สมอ ไม่ควรแต่งสาํ นวนทว่ี จิ ติ รพสิ ดารจะทํา
ใหเ้ ขา้ ใจยากและมกั จะเขา้ ใจผดิ ไปจากความหมายทต่ี อ้ งการ

ค. ประโยค ใชป้ ระโยคทส่ี นั้ ๆ กะทดั รดั การเรยี งความประโยคใหต้ ่อเน่ือง ไม่มสี ว่ นขยายความ
มาก ควรหลกี เล่ยี งประโยคซ้อนประโยค หรอื ประโยคทม่ี ขี อ้ ความยาว ๆ ประโยคชดั เจนไม่สบั สนหรอื
คลุมเครอื

ง. รปู ภาพ ควรนําเขา้ มาใชป้ ระกอบเพ่อื ความเขา้ ใจง่าย หรอื ทาํ ใหเ้ ขา้ ใจชดั เจนขน้ึ อกี ทงั้ ชว่ ยให้
รายงานดมู ชี วี ติ ชวี าขน้ึ

4. ขอ้ มลู ที่นําเสนอต้องมีความกลมกลนื (Unity)
ก. การจดั เรยี งลําดบั ทถ่ี ูกตอ้ งในการบนั ทกึ เน้ือเร่อื ง ขอ้ มลู สว่ นใดเป็นเหตุควรตอ้ งกล่าวถงึ ก่อน
จงึ จะกล่าวถึงผลต่อเน่ืองและตดิ ตามดว้ ยขอ้ มูลทเ่ี ก่ียวขอ้ งในด้านอ่นื ๆ ทยอยตามมา ซง่ึ จะต้องมกี าร
วางแผนลว่ งหน้าในการจดั ลาํ ดบั หวั ขอ้
ข. การสะดุดอารมณ์ของผอู้ ่านรายงาน การเรม่ิ ต้นทด่ี จี ะเป็นสง่ิ ชกั จูงใหเ้ กดิ ความสนใจตดิ ตาม
อา่ น แต่ถา้ อารมณ์ตดิ ตามสะดดุ บ่อย ๆ จากการทต่ี อ้ งยอ้ นกลบั ไปดหู น้าเก่า ๆ ทผ่ี า่ นมาแลว้ เพ่อื ใหต้ ดิ ต่อ
เร่อื งราวได้ ทส่ี ดุ กจ็ ะสบั สนและเลกิ อ่าน
ค. รูปแบบของรายงาน ลกั ษณะของรายงานแบบย่อหรอื ฉบบั สมบูรณ์จะมคี วามแตกต่างกนั ใน
การจดั เรยี งลาํ ดบั ขนั้ ตอนของหวั ขอ้ บา้ ง ดงั นนั้ ขณะเขยี นรายงานตอ้ งสาํ นึกอยู่ตลอดเวลาวา่ เขยี นรายงาน
แบบใด

11.3 รปู แบบรายงาน (Types of research report)

รายงานผลการวจิ ยั ทเ่ี ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร มี 2 แบบ คอื
 รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ์
 รายงานวจิ ยั ฉบบั ย่อ

265

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

11.3.1 รายงานผลการวิจยั ฉบบั สมบูรณ์
รายงานผลการวจิ ยั ท่ีนําเสนอเม่ืองานเสร็จเรยี บร้อยจะประกอบด้วยเน้ือหาต่าง ๆ ครบถ้วน
รวมทัง้ รายละเอียดเก่ียวกับทฤษฎีการวิจัยท่ีนํามาใช้ รายละเอียดเก่ียวกับตัวอย่างกฎเกณฑ์หรือ
ขนั้ ตอนต่าง ๆ และจดั เรยี งลําดับอย่างถูกต้องตัง้ แต่วตั ถุประสงค์ ภูมิหลงั ของปัญหา จนถึงสรุปและ
เสนอขอ้ แนะนําอยู่ท้ายสุด รายงานลกั ษณะดงั กล่าวขา้ งต้นถือเป็นรายงานทส่ี มบูรณ์แบบเป็นทางการ
(Formal report)
องคป์ ระกอบรายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณ์ ประกอบด้วย
1. สว่ นนํา
- หน้าปก (Title page)
- คาํ นํา (Preface)
- สารบญั (Table of contents)
- สารบญั ตาราง (List of tables)
- สารบญั รปู ภาพ (List of figures)
2. บทสรุปสาํ หรบั ผบู้ รหิ าร (Executive summary)
- วตั ถุประสงค์ (Objectives)
- ผลทไ่ี ด้ (Results)
- บทสรุป (Conclusion)
- ขอ้ เสนอแนะ (Recommendations)
3. สว่ นเน้ือหา (Body of report)
- บทนํา (Introduction)
- วธิ กี ารวจิ ยั (Methodology)
- ผลการวจิ ยั (Results)
- ขอ้ จาํ กดั (Limitations)
4. สรปุ และขอ้ เสนอแนะ (Conclusion and recommendations)
5. ภาคผนวก (Appendix)
- แผนการสมุ่ ตวั อย่าง (Sampling plan)
- แบบฟอรม์ ต่าง ๆ
- ตารางและแผนภาพขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ

1. ส่วนนํา
หน้าปก หน้าปกของรายงานอาจจะมปี กนอกและปกใน ถ้ารายงานมคี วามยาวมาก หนามาก
จะมปี กนอกทเ่ี ป็นปกแขง็ เพ่อื ความทนทาน สว่ นของหน้าปกจะประกอบดว้ ย
(1) ชอ่ื เรอ่ื งงานวจิ ยั ทงั้ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ (ถา้ ม)ี
(2) ช่อื ผทู้ าํ วจิ ยั ถา้ มหี ลายคนใหเ้ รยี งตามลาํ ดบั ความสาํ คญั

266

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

(3) หน่วยงานทร่ี บั รายงาน อาจเป็นตวั บคุ คลหรอื หน่วยงาน
(4) วนั ทเ่ี สนอรายงาน เป็นการแสดงหลกั ฐานอา้ งองิ ความทนั สมยั เหมาะสมของขอ้ มลู ณ เวลาท่ี
นําเสนอขอ้ มลู
ถ้ามปี กใน จะปรากฏทงั้ 4 หวั เร่อื งในปกใน ส่วนปกนอกจะเว้นช่อื ผู้ทําวจิ ยั ไว้มเี พยี งช่อื เร่อื ง
ชอ่ื หน่วยงานทร่ี บั รายงาน วนั ทเ่ี สนอรายงาน
คาํ นํา ประกอบดว้ ย สรุปเน้ือหาย่อ ๆ ของงานวจิ ยั นนั้ แสดงเหตุผล วตั ถุประสงคใ์ นการจดั ทํา
วจิ ยั การกล่าวอา้ งองิ ถงึ บคุ คล หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานวจิ ยั แสดงความขอบคุณบุคคลหรอื หน่วยงาน
ทใ่ี หค้ วามช่วยเหลอื สนบั สนุนการดาํ เนนิ งานวจิ ยั ลงชอ่ื ผจู้ ดั ทาํ วจิ ยั ตอนทา้ ย
สารบญั จดั ลําดบั เน้ือเรอ่ื งโดยแบ่งหวั ขอ้ และระบุหน้าในรายงานทงั้ หมดเพ่อื ความสะดวกในการ
เปิดดเู ฉพาะหวั ขอ้ อกี ทงั้ เป็นการแสดงเน้ือหาทจ่ี ะมปี รากฏในรายงานน้ี
สารบญั ตาราง จดั ลําดบั ตารางโดยแบ่งช่อื ตารางและระบุหน้าในรายงานทงั้ หมดเพ่อื ความ
สะดวกในการเปิดดู
สารบญั ภาพ จดั ลาํ ดบั ภาพโดยแบ่งชอ่ื ภาพและระบุหน้าในรายงานทงั้ หมดเพอ่ื ความสะดวกในการเปิดดู
2. บทสรปุ สาํ หรบั ผบู้ ริหาร
งานวจิ ยั ทางสาธารณสุขโดยเฉพาะการวจิ ยั ระบบสาธารณสขุ หรอื การวจิ ยั ประเมนิ ผล มกั จะมี
ผบู้ รหิ ารระดบั ต่าง ๆ เขา้ มาเกย่ี วขอ้ งในการอ่านรายงาน เพ่อื ประหยดั เวลาในการอ่านจงึ ตอ้ งจดั ทําบทย่อ
ของรายงานเพ่อื การสรุปภาพรวมของงานวจิ ยั ควรมคี วามยาวประมาณ 2-3 หน้า ประกอบดว้ ยประเดน็
สาํ คญั ทจ่ี ะนําไปใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจ ประกอบดว้ ย
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการวิจยั แสดงสาเหตุทต่ี อ้ งมกี ารวจิ ยั
ผลท่ีไดร้ บั จากการวิจยั เฉพาะประเดน็ ทต่ี รงกบั วตั ถุประสงคแ์ ละสาํ คญั
บทสรปุ จากการแปลความหมายขอ้ มลู ทว่ี เิ คราะหข์ องผวู้ จิ ยั
ขอ้ เสนอแนะ แนวทางการแกไ้ ขปัญหาทต่ี อ้ งการผลจากการวจิ ยั ไปปฏบิ ตั ิ ซง่ึ เป็นสว่ นทผ่ี บู้ รหิ ารจะสนใจ
และตอ้ งการอยา่ งยง่ิ
3. ส่วนเนื้อหา
บทนํา จะประกอบดว้ ย

- ภูมิหลัง (Background) หรือข้อมูลเบ้ืองต้นท่ีจะบ่งช้ีถึงท่ีมาหรือสาเหตุของปัญหา
มที งั้ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากเอกสารและจากการสอบถามอยา่ งไม่เป็นทางการ

- ระบสุ าเหตุหรอื ความจาํ เป็นทจ่ี ะตอ้ งใชก้ ารวจิ ยั มาแกป้ ัญหา ปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ คอื อะไร
- แสดงวตั ถุประสงคห์ รอื จุดมุง่ หมายทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั จากการวจิ ยั
- ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั จากการวจิ ยั
- ขอ้ สมมตฐิ านของงานวจิ ยั

267

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

วิธีการวิจยั ประกอบดว้ ย
- แหล่งทม่ี าของขอ้ มลู ระบรุ ายละเอยี ดของขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการ ประเภทของตวั อยา่ ง คณุ สมบตั ิ

ของตวั อย่าง ขนาดของตวั อยา่ ง สถานทท่ี เ่ี กบ็ ขอ้ มลู
- วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ใชก้ ารสาํ รวจ การสงั เกต การทดลอง หรอื รายละเอยี ด วธิ กี าร

อยา่ งใด รวมทงั้ วธิ กี ารสมุ่ ตวั อยา่ ง ลกั ษณะแบบสอบถาม แผนงานเกย่ี วกบั เวลา กาํ ลงั คน คา่ ใชจ้ ่าย
ผลการวิจยั
นําขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการออกแบบสอบถามหรอื จากการเกบ็ บนั ทกึ ขอ้ มลู โดยวธิ กี ารใด ๆ ซง่ึ ผ่าน

ขนั้ ตอนการตรวจสอบ การบนั ทกึ ขอ้ มลู วเิ คราะหแ์ ละแปลความ แลว้ นํามาจดั เรยี งลําดบั เน้ือเร่อื ง รวมทงั้
ตารางขอ้ มลู แผนภูมิ หรอื การสรุปขอ้ มลู ใด ๆ ทางสถติ ิ

ขอ้ จาํ กดั
ขอ้ จาํ กดั ต่าง ๆ ในทางปฏบิ ตั ิ อุปสรรคในการปฏบิ ตั งิ านทท่ี ําใหต้ อ้ งมกี ารเปลย่ี นแปลงแผนงาน
ทก่ี าํ หนดไวห้ รอื ทาํ ใหไ้ ม่อาจปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามแผนงาน เช่น ขนาดของตวั อย่างลดจาํ นวนลงจากทก่ี าํ หนดไว้
เพราะไม่ได้รับความร่วมมือจากตัวอย่าง หรือ ระยะเวลาท่ีกําหนดไว้ในแผนงานมีอุปสรรคจาก
การเปลย่ี นแปลงของธรรมชาติ
4. บทสรปุ และข้อเสนอแนะ
- สรุปผลการวิจยั ท่ีนําเสนอในส่วนท่ีแล้ว หยิบยกเฉพาะส่วนท่ีสําคญั ตัวเลขข้อมูลอ้างอิง
หยบิ ยกเฉพาะตวั เลขทช่ี ผ้ี ลแตกต่างไดช้ ดั เจน
- เสนอแนะวธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยใชผ้ ลทไ่ี ดร้ บั จากการวจิ ยั เป็นหลกั ฐานหรอื น้ําหนัก
สนับสนุนขอ้ เสนอแนะ และควรต้องคํานึงถึงความเป็นไปไดใ้ นทางปฏบิ ตั สิ ําหรบั ขอ้ เสนอแนะ ไม่เสนอ
ข้อแนะนําท่ีขดั ต่อความเป็นจริง หรือข้อเท็จจริงท่ีได้จากผลของการวิจัย หรือขดั กับนโยบายหรือ
วธิ ปี ฏบิ ตั งิ านขององคก์ าร ในรายงานบางฉบบั อาจไม่ตอ้ งมขี อ้ เสนอแนะ ถา้ ผสู้ งั่ ใหท้ ําวจิ ยั เพยี งตอ้ งการให้
รวบรวมขอ้ มลู ใหเ้ ท่านนั้
5. ภาคผนวก
- รายงานของตารางขอ้ มลู ถ้ามมี ากการนําเสนอในตวั เน้ือหาของรายงานจะทาํ ใหร้ กรุงรงั มาก
เกนิ ไป จะนํามารวมเสนอในสว่ นภาคผนวก โดยจดั เรยี งลาํ ดบั ตามเน้ือเรอ่ื งใหถ้ กู ตอ้ ง
- รายละเอยี ดในการสุ่มตวั อย่าง กล่าวถงึ วธิ กี ารต่าง ๆ หรอื เง่อื นไขทก่ี ําหนดขน้ึ ในการเลอื ก
ตัวอย่าง เช่น ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบ Stratified random sampling โดยมีการคัดเลือกตัวอย่างจาก
ครอบครวั ทม่ี สี มาชกิ ในครอบครวั ระหว่าง 4-6 คน จาํ นวน 100 ครอบครวั จากหม่บู า้ นต่าง ๆ ทวั่ ประเทศ
โดยกาํ หนด 5 ภาค ๆ ละ 20 ครอบครวั และครอบครวั ทจ่ี ะคดั เลอื กมาเป็นตวั อย่างตอ้ งมาจากหม่บู า้ นท่ี
ได้รบั การคดั เลอื กเขา้ โครงการหมู่บ้านพฒั นา มจี ํานวนครวั เรอื นในหมู่บ้านไม่น้อยกว่า 100 ครวั เรอื น
เช่นน้เี ป็นตน้
- รายละเอยี ดอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ หนงั สอื อา้ งองิ หรอื วธิ กี ารในการคาํ นวณต่าง ๆ
- แบบฟอรม์ ต่าง ๆ ทใ่ี ช้ กรณที ม่ี แี บบฟอรม์ หลายแบบทน่ี ํามาใชป้ ระกอบการวจิ ยั

268

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

11.3.2 รายงานการวิจยั ฉบบั ยอ่ หรอื นิพนธต์ ้นฉบบั เพอ่ื ส่งตีพิมพใ์ นวารสาร
สําหรบั รูปแบบ (Format) และแนวทาง (Style) ของการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั กม็ ีไดห้ ลากหลาย
แลว้ แต่ขอ้ กาํ หนดของวารสาร ดงั นนั้ ในการเตรยี มผลงานวจิ ยั เพ่อื เผยแพร่ นกั วจิ ยั จะตอ้ งศกึ ษาขอ้ กาํ หนด
เก่ียวกบั รูปแบบ และ แนวทางการจดั เตรียมผลงานวิจยั ให้ละเอยี ดถ่ีถ้วน จะต้องดําเนินการไปตาม
ข้อกําหนดเหล่านัน้ อย่างเคร่งครดั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การเตรยี มต้นฉบบั เพ่ือส่งผลงานวิจยั ไปพิมพ์
เผยแพร่ในวารสารทม่ี ชี ่อื เสยี งและเป็นทน่ี ิยม เน่ืองจากการแขง่ ขนั ในเชงิ คุณภาพของผลงานวจิ ยั มสี งู มาก
และคณะบรรณาธกิ ารมกั จะใหค้ วามสนใจพจิ ารณาเฉพาะต้นฉบบั ทเ่ี ตรยี มอย่างถูกต้องตามขอ้ กําหนด
เป็นสาํ คญั
ผู้วิจัยท่ีมีงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ีมีคุณค่าและมีความประสงค์จะเผยแพร่
ผลงานวจิ ยั นนั้ ควรคาํ นงึ ถงึ หลกั การเตรยี มผลงานวจิ ยั และปัจจยั ต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดงั ต่อไปน้ี
1. รายงานการวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ จดั เป็นรายงานเชงิ วชิ าการมิใช่บทประพนั ธ์
จงึ ควรใชภ้ าษาทเ่ี รยี บง่าย มคี วามหมายทไ่ี มค่ ลมุ เครอื กระชบั ตรงไป-ตรงมา ไมอ่ อ้ มคอ้ ม การใชป้ ระโยค
สนั้ หลายประโยค จะส่อื ความหมายไดด้ กี ว่าประโยคยาวท่ซี บั ซอ้ นเพยี งประโยคเดยี ว รายงานการวจิ ยั
ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ควรมีเน้ือหากะทดั รดั ไม่ยาวเกินไปและไม่เยิ่นเย้อ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
การเผยแพร่ผลงานในวารสารทางวชิ าการ เน่ืองจากวารสารเหลา่ น้มี เี น้ือทจ่ี าํ กดั
2. ภาษาทใ่ี ชใ้ นรายงานการวจิ ยั ต้องถูกหลกั ภาษาและตรงความหมาย ไม่ควรใชค้ ําสแลงหรอื
ภาษาพดู ถ้าบทความเป็นภาษาองั กฤษควรใหช้ าวต่างชาตทิ เ่ี ป็นผใู้ ชภ้ าษาองั กฤษเป็นประจาํ ช่วยตรวจ
ถา้ บทความเป็นภาษาไทยกไ็ ม่ควรใชค้ าํ ภาษาองั กฤษเกนิ ความจาํ เป็น ศพั ทท์ างวชิ าการทไ่ี ดบ้ ญั ญตั แิ ลว้
ควรใชใ้ หถ้ กู ต้อง ศพั ทท์ ย่ี งั ไม่ไดบ้ ญั ญตั หิ รอื คาํ ทไ่ี ม่แน่ใจควรมภี าษาองั กฤษกาํ กบั ไวส้ าํ หรบั การกลา่ วถงึ
ในครงั้ แรก พยายามหลกี เลย่ี งการใชอ้ กั ษรย่อโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ อกั ษรย่อทย่ี งั ไมเ่ ป็นทท่ี ราบและเขา้ ใจกนั
โดยทวั่ ไป ถา้ ต้องการใชค้ าํ ย่อควรใชค้ าํ เดยี วกนั ตลอด และถา้ เป็นคาํ ยอ่ ทค่ี นทวั่ ไปยงั ไมค่ นุ้ เคยกค็ วรใสค่ าํ
เตม็ ไวส้ าํ หรบั การกล่าวถงึ ในครงั้ แรกดว้ ย
3. เน้ือหาของรายงานการวจิ ยั ควรมคี วามกระจา่ งมเี อกภาพและมสี มั พนั ธภาพ กล่าวคอื เน้อื หา
ของรายงานการวจิ ยั ต้องมรี ายละเอยี ดมากพอทจ่ี ะทําใหผ้ อู้ ่านทวั่ ไปเขา้ ใจได้ ไม่ควรละเน้ือหาทจ่ี าํ เป็นไว้
โดยคาดหวงั ว่าผอู้ ่านน่าจะเขา้ ใจไดเ้ องหรอื น่าจะทราบอย่แู ลว้ ขอ้ ความทกุ ประโยคทุกตอนรวมทงั้ แผนภูมิ
และภาพจะตอ้ งสมั พนั ธส์ อดคลอ้ งกนั และเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยไม่มคี วามขดั แยง้ กนั
4. ส่อื ประกอบ (ถ้าจําเป็นต้องมี) ไม่ว่าจะเป็นภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ จะต้องเตรยี มให้
มคี วามชดั เจน ส่อื ความหมายได้ดี สอดคล้องกบั เน้ือหาและควรอยู่ในตําแหน่งท่เี หมาะสม ในแต่ละรูป
จะตอ้ งมคี ําอธบิ ายประกอบด้วยเสมอ มตี วั เลขกาํ กบั ไวด้ ว้ ยในกรณีทม่ี หี ลายรูป ในแต่ละตาราง แผนภูมิ
กราฟ จะตอ้ งมหี น่วยวดั ทช่ี ดั เจน การจดั แถวขอ้ มลู ในตารางตอ้ งพยายามจดั ใหง้ า่ ยต่อการอ่าน สญั ลกั ษณ์
และคําย่อท่มี บี รรจุอยู่ควรใช้เท่าท่จี ําเป็น และควรมคี ําอธบิ ายสญั ลกั ษณ์และคําย่อเหล่านัน้ ทส่ี ่วนของ
เชงิ อรรถ (Footnote) ประกอบดว้ ยเสมอ

269

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

5. ผูเ้ ตรยี มรายงานการวจิ ยั ควรอ่านรายงานวจิ ยั ทไ่ี ดเ้ ตรยี มไวแ้ ลว้ ซ้าํ หลาย ๆ ครงั้ แลว้ ปรบั ปรุง
แกไ้ ข ควรให้ผูร้ ่วมวจิ ยั ทุกคนไดม้ สี ่วนร่วมในการจดั เตรยี มและอ่าน ควรให้ผู้อ่นื ท่เี กย่ี วขอ้ งไดอ้ ่านและ
วิจารณ์ด้วยแล้วนําข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาพิจารณาปรับปรุงแก้ไขก่อนส่งบทความดังกล่าวไปรับ
การพจิ ารณาเพ่อื พมิ พเ์ ผยแพร่ วารสารวชิ าการสว่ นมากมกั มขี อ้ กาํ หนดใหผ้ มู้ ชี ่อื อย่ใู นบทความรายงาน
การวจิ ยั ทุกคนยนิ ยอมใหเ้ ผยแพร่ผลงานวจิ ยั ได้

รายงานการวจิ ยั ฉบบั ย่อดา้ นวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่เี ผยแพร่ในวารสารวชิ าการหรอื หนังสอื
วชิ าการมกั ประกอบดว้ ยสว่ นต่าง ๆ ดงั น้ี

ชื่อเรอ่ื ง (Title) ช่อื เร่อื งทด่ี คี วรกระชบั กะทดั รดั ไมย่ าวเกนิ ไป แต่กต็ อ้ งไม่สนั้ จนไมส่ อ่ื ความหมาย
ควรเป็นช่อื ทด่ี งึ ดดู ความสนใจใหผ้ อู้ ่านตดิ ตามรายละเอยี ดในสว่ นต่อไป ควรมหี วั เร่อื งย่อย (Subtitle) และ
คาํ สาํ คญั (Key words) แจง้ ใหว้ ารสารทราบดว้ ยเพ่อื สะดวกในการนําไปทําดชั นสี าํ หรบั การคน้ ควา้ ต่อไป
วารสารบางฉบบั อาจจะกาํ หนดความยาวของช่อื เรอ่ื งและหวั เร่อื งยอ่ ยไวด้ ว้ ย ในกรณที ผ่ี ลงานวจิ ยั ดงั กลา่ ว
เคยมกี ารนําเสนอในการประชมุ วชิ าการแลว้ ควรแจง้ ใหบ้ รรณาธกิ ารของวารสารทราบดว้ ย

ข้อมูลที่เก่ียวกบั นักวิจยั และผเู้ ก่ียวขอ้ ง ไดแ้ ก่ ชอ่ื ผรู้ ่วมวจิ ยั รวมทงั้ สถานทว่ี จิ ยั สถานทท่ี าํ งาน
สถานท่ีติดต่อ และช่ือผู้วิจัยท่ีเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเตรียมบทความ และเป็นผู้ท่ีจะส่อื สารกับ
กองบรรณาธกิ ารและผูอ้ ่าน (Correspondent) เพ่อื ความสะดวกในการติดต่อ ผูท้ ่จี ะมนี ามปรากฏอยู่ใน
ฐานะผูร้ ่วมวจิ ยั จะต้องเป็นผูท้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การวางแผนการวจิ ยั การดําเนินการวจิ ยั การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
การวจิ ยั และการเตรยี มต้นฉบบั ผลงานวจิ ยั ดว้ ย สาํ หรบั ผทู้ ท่ี าํ หน้าทส่ี นบั สนุนการวจิ ยั ใหค้ าํ ปรกึ ษาหารอื
หรือเป็ นหัวหน้าหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัยนัน้ ควรระบุไว้ในส่วนของกิตติกรรมประกาศ
(Acknowledgement)

บทคดั ย่อ (Abstract) หรือ สาระสงั เขป (Summary) เป็นส่วนท่ผี ู้เตรียมบทความควรเขยี น
ภายหลงั จากการเขยี นส่วนอ่ืนเรียบร้อยแล้ว แม้ว่าในการจดั เตรยี มเอกสารและรายงานนัน้ ส่วนท่ีเป็น
บทคดั ยอ่ จะปรากฏอยู่ในสว่ นแรก ๆ กต็ าม เน้ือหาของบทคดั ย่อจะตอ้ งประกอบดว้ ยเน้ือหาทร่ี ะบวุ า่ ผวู้ จิ ยั
ทาํ อะไร เพราะเหตุใด ทาํ อย่างไร ไดผ้ ลอยา่ งไรอย่างสนั้ ๆ แต่สอ่ื ความหมายไดค้ รบถว้ น บทคดั ย่อของ
ผลงานวจิ ยั จะเป็นสว่ นทม่ี กั มปี รากฏอยใู่ นฐานขอ้ มลู ต่าง ๆ นอกเหนอื ไปจากช่อื วารสารและช่อื นกั วจิ ยั แลว้
การเขยี นบทคดั ย่อของวารสารด้านวทิ ยาศาสตร์การแพทยม์ แี นวโน้มท่จี ะเป็นบทคดั ย่อชนิดมีรูปแบบ
(Structured abstract) มากข้นึ กล่าวคอื ในเน้ือหาของบทคดั ย่อจะมีการกําหนดหวั ขอ้ ของส่วนต่าง ๆ
ทจ่ี ะตอ้ งมใี นบทคดั ย่อไวอ้ ย่างชดั เจน ไดแ้ ก่ วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั (Objective) รูปแบบของการวจิ ยั
(Study design) สถานการณ์และสถานภาพของการวจิ ยั (Setting) วสั ดุหรอื ผปู้ ่วย (Materials or patients)
วธิ กี ารและปัจจยั ทผ่ี ูว้ จิ ยั ใหก้ บั ประชากรทศ่ี กึ ษา (Methods & intervention) การวดั ผลและผลการศกึ ษา
(Measurements & main results) และสรุป (Conclusion) สําหรบั วารสารบางฉบบั อาจจะกําหนดหวั ข้อ
ของส่วนต่าง ๆ ดงั น้ี คือ ภูมหิ ลงั (Background) วธิ กี ารวจิ ยั (Methods) ผลการศึกษา (Results) และ
สรปุ (Conclusions)

ในกรณีท่อี งค์กรท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การเผยแพร่งานวจิ ยั มไิ ด้กําหนดหวั ข้อเหล่าน้ีไวอ้ ย่างชดั เจน
ผู้เตรียมบทความก็ควรคํานึงถึงประเด็นเหล่าน้ี และพยายามเตรียมบทคดั ย่อให้มีเน้ือหาครอบคลุม

270

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

สว่ นต่าง ๆ เหล่าน้ีดว้ ย โดยทวั่ ไปความยาวของบทคดั ย่อมกั จะถูกจาํ กดั ดว้ ยเน้ือทห่ี รอื จํานวนคําอย่แู ล้ว
(เช่น 200-300 คาํ ) ดงั นนั้ การเตรยี มบทคดั ยอ่ ทด่ี จี ะตอ้ งอาศยั ทกั ษะทส่ี าํ คญั คอื การย่อความ บทคดั ย่อทด่ี ี
จะทาํ ใหผ้ อู้ า่ นสนใจและไดส้ าระสาํ คญั อนั จะนําไปส่กู ารตดิ ตามรายละเอยี ดของสว่ นอน่ื ของบทความต่อไป
หรอื นําไปสกู่ ารยอมรบั ใหน้ ําเสนอผลงานวจิ ยั นนั้ ในการประชุมวชิ าการ

บทนํา (Introduction) มักมีสาระคล้ายคลึงกับส่วนหลักเหตุผลของข้อเสนอโครงการวิจัย
กล่าวคอื บทนําจะมคี วามครอบคลุมเน้ือหาในสว่ นของภูมหิ ลงั และความสาํ คญั ของเร่อื งทน่ี ําไปสกู่ ารวจิ ยั
ความรู้ท่ีมีอยู่ในปัจจุบนั สง่ิ ท่ตี ้องการรูเ้ พม่ิ เติมหรือต้องการพสิ ูจน์ ขอบเขตหรือข้อจํากดั ของการวจิ ยั
และ ในส่วนท้ายของบทนําผู้เตรียมควรระบุถึงวัตถุประสงค์ของการวิจยั และสมมติฐานของการวิจัย
ทต่ี อ้ งการพสิ จู น์ (ถา้ ม)ี เน้ือหาในสว่ นบทนําน้ตี อ้ งมกี ารอา้ งองิ ถงึ งานวจิ ยั ขอ้ มูล สถติ ติ ่าง ๆ หรอื การวจิ ยั
นํารอ่ งทม่ี อี ยแู่ ลว้ ดว้ ย

วสั ดแุ ละวิธีการ มกั มสี าระคลา้ ยคลงึ กบั สว่ นของแผนการวจิ ยั และระเบยี บวธิ วี จิ ยั เน้ือหาสว่ นน้ี
นบั เป็นสว่ นทส่ี าํ คญั ทส่ี ุดเพราะเป็นส่วนทจ่ี ะทําใหผ้ อู้ ่านสามารถพจิ ารณาถงึ ความถูกตอ้ งของผลการวจิ ยั ได้
โดยวเิ คราะหค์ วามคลาดเคล่อื นเชงิ ระบบและความคลาดเคล่อื นแบบสุ่มทอ่ี าจจะมอี ย่ดู ว้ ย ควรมรี ายละเอยี ด
มากพอทผ่ี อู้ า่ นจะพจิ ารณาไดว้ ่าจะสามารถนําผลการวจิ ยั ไปประยุกตใ์ ชไ้ ดห้ รอื ไมเ่ พยี งใด เน้ือหาในสว่ นน้ี
จะครอบคลมุ ถงึ รปู แบบการวจิ ยั ประชากรทน่ี ํามาศกึ ษา ทงั้ ลกั ษณะของประชากรและการไดม้ าซง่ึ ประชากร
เกณฑ์คดั เลอื กประชากร จํานวนประชากรทเ่ี หมาะสม โดยกําหนดสมมตฐิ านและค่าต่าง ๆ ทางสถิติ
ประกอบด้วยเคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการศกึ ษา วิธีการวดั ผลการศกึ ษาและการติดตามประเมนิ ผลการศกึ ษา
ตวั แปรและขอ้ มลู ทจ่ี ะนํามาวเิ คราะห์ วธิ กี ารทางสถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และวเิ คราะห์ผลการวจิ ยั
ถา้ ใชเ้ คร่อื งมอื หรอื วธิ กี ารทางสถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และวเิ คราะหผ์ ลการวจิ ยั ถ้าใชเ้ คร่อื งมอื หรอื
วธิ กี ารมาตรฐานในการวจิ ยั ทเ่ี ป็นรจู้ กั กนั ดโี ดยทวั่ ไปแลว้ อาจไม่ตอ้ งระบุรายละเอยี ดแต่ควรใชว้ ธิ อี า้ งองิ ถงึ
เอกสารทม่ี รี ายละเอยี ดดงั กล่าว ถ้านําเคร่อื งมอื หรอื วธิ ใี หม่มาใชใ้ นการศกึ ษา ผเู้ ตรยี มรายงานควรระบุถงึ
วธิ กี ารพฒั นาเคร่ืองมอื การทดสอบความแม่นยําและความเช่อื ถือได้ของเคร่ืองมอื และวธิ กี ารเหล่านัน้
ซง่ึ อาจจะแนบรายละเอยี ดไวใ้ นภาคผนวก

ผลการวิจยั การเตรยี มเน้ือหาสว่ นน้ีควรนําเสนอขอ้ มลู ทเ่ี ป็นผลของการศกึ ษาและขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งเท่านัน้ โดยไม่นําความเหน็ การคาดคะเน และขอ้ สรุปของผูว้ จิ ยั มาปะปนดว้ ย การแสดงผล
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและผลการศึกษาทางสถติ ิควรระบุถงึ วธิ ที ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ การเสนอผลการวจิ ยั
อาจจะนําเสนอตามลําดบั ความสําคัญท่ีระบุไว้ในวัตถุประสงค์หรือนําเสนอตามตัวแปรต่าง ๆ ก็ได้
การนําเสนอผลการวจิ ยั ควรพจิ ารณาการนําเสนอดว้ ยตาราง แผนภูมิ กราฟ ภาพประกอบดว้ ย เน่อื งจาก
การนําเสนอดว้ ยส่อื เหล่าน้ีมกั จะส่อื ความหมายไดด้ กี ว่าการบรรยายด้วยตวั อกั ษรแต่เพยี งประการเดยี ว
แผนภูมิ กราฟ ภาพท่ีจะนํามาประกอบนัน้ ต้องมขี อ้ มูลมากพอ และมคี วามจําเป็นอย่างแท้จริง ต้องมี
คําอธบิ ายสนั้ ๆ ประกอบส่อื เหล่านัน้ ปรากฏอยู่ในส่วนของผลการวิจยั ด้วยเสมอ การเตรียมส่อื เหล่าน้ี
ควรคาํ นึงปัจจยั ต่าง ๆ ดงั ทก่ี ล่าวไว้แล้วขา้ งต้น และควรเตรยี มสอ่ื เหล่าน้ีให้ชดั เจนและมขี นาดใหญ่กว่า
หรอื ขนาดเท่ากบั ขนาดทจ่ี ะพมิ พจ์ รงิ

271

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

การอภิปรายหรือวิจารณ์ (Discussion หรือ comment) เน้ือหาส่วนน้ีมักประกอบด้วย
การระบุถึงจุดเด่น จุดด้อย และข้อจํากัดของวิธวี ิจัย อภิปรายผลของการวิจยั ในเชงิ เปรียบเทียบกบั
การวจิ ยั อ่นื ๆ ทม่ี มี าก่อน ระบุถงึ ประโยชน์และขอ้ จํากดั ของการนําผลการวจิ ยั ไปประยุกต์ใช้ รวมทงั้ ให้
ข้อเสนอแนะถึงประเด็นท่ีควรศึกษาเพิ่มเติมหรือประเด็นท่ีควรศึกษาซ้ํา รวมทงั้ ข้อเสนอแนะว่าใคร
ควรทาํ อะไรต่อไปอย่างไรสบื เน่ืองจากผลการวจิ ยั ทไ่ี ด้

สรุป (Conclusion) เน้ือหาส่วนน้ีเป็นการสรุปเฉพาะข้อเท็จจริงท่ีได้จากการวิจัยเท่านัน้
ซง่ึ แตกต่างจากเน้ือหาในสว่ นของบทคดั ย่อซง่ึ เป็นสว่ นยอ่ ของสว่ นประกอบแทบทกุ สว่ นของการวจิ ยั สาระ
ของสว่ นสรุปน้ตี อ้ งไม่กวา้ งเกนิ ไปและไมแ่ คบเกนิ ไปและสงิ่ ทส่ี รปุ ไวต้ อ้ งเป็นสง่ิ ทม่ี หี ลกั ฐานจากผลงานวจิ ยั
สนบั สนุนเทา่ นนั้

เอกสารอ้างอิง (Reference) วธิ กี ารเขยี นรายช่อื เอกสารอา้ งองิ ต้องเขยี นตามขอ้ กําหนดของ
แต่ละวารสารหรอื หนงั สอื ทผ่ี วู้ จิ ยั ตอ้ งการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) เป็ นการแสดงความขอบคุณบุคคล องค์การ
หน่วยงาน และ สถาบนั ทม่ี สี ่วนเกย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั และการสนบั สนุนการวจิ ยั ผเู้ ตรยี มรายงานการวจิ ยั
จะตอ้ งระบุใหค้ รบถว้ นโดยไมป่ ิดบงั

อื่น ๆ เช่น ภาคผนวก (Appendix)
ส่วนต่าง ๆ ท่กี ล่าวถึงขา้ งต้นนัน้ เป็นเพียงรูปแบบและข้อเสนอแนะเท่านัน้ รายงานการวจิ ัย
จะมคี ุณค่าเพยี งใดย่อมขน้ึ อยู่กบั คุณภาพของเน้ือหาเป็นสาํ คญั หากเน้ือหาของผลงานวจิ ยั มคี ณุ ภาพไม่ดี
ก า ร จัด เ ต รีย ม รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร นํ า เ ส น อ ใ ห้ ดีเ พีย ง ใ ด ก็ค ง ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ พ่ิม คุ ณ ภ า พ ข อ ง เ น้ื อ ห า ไ ด้
แต่ถ้าเน้ือหาของงานวจิ ยั มคี ุณภาพดอี ยู่แลว้ การใชร้ ูปแบบของการนําเสนอทด่ี ดี ้วยกจ็ ะช่วยสง่ เสรมิ ให้
รายงานการวจิ ยั นนั้ ดยี ง่ิ ขน้ึ และน่าสนใจมากขน้ึ ได้

11.4 การนําเสนอผลงานวิจยั ด้วยวาจาและโปสเตอร์

การนําเสนอผลงานวจิ ยั ดว้ ยวาจาและ / หรอื โปสเตอรใ์ นการประชุมวชิ าการอาจกระทําระหว่าง
ดาํ เนินการวจิ ยั แลว้ ระยะหน่ึงจนได้ผลการวจิ ยั เบอ้ื งต้นหรอื ภายหลงั การวจิ ยั เสรจ็ สน้ิ แล้วกไ็ ด้ ก่อนการ
นําเสนอผลงานวจิ ยั ดว้ ยวาจาและโปสเตอร์ ผวู้ จิ ยั จะตอ้ งสง่ บทคดั ย่อของรายงานการวจิ ยั ไปใหผ้ จู้ ดั ประชุม
วชิ าการได้พจิ ารณา การเตรียมบทคดั ย่อควรใช้หลกั การเดียวกนั กบั การเตรยี มบทคดั ย่อของรายงาน
การวจิ ยั เพ่อื เผยแพร่ผลงานวจิ ยั ในวารสารวชิ าการดงั กล่าวแล้ว แต่ควรพยายามเตรยี มบทคดั ย่อชนิด
มรี ูปแบบ (Structured abstract) เวน้ แต่จะมขี อ้ กําหนดเป็นอย่างอ่นื และอาจจะใส่ตาราง แผนภูมิ กราฟ
และ ภาพประกอบลงในบทคดั ย่อด้วย เพ่ือให้ส่อื ความหมายได้ดีขน้ึ และประหยดั เน้ือท่ขี องบทคดั ย่อ
เน่ืองจากผูจ้ ดั ประชุมมกั จะกาํ หนดเน้ือทห่ี รอื จาํ นวนคําสงู สุดเอาไว้ การนําเสนอผลงานวจิ ยั ดว้ ยโปสเตอร์
ก็ควรเตรียมโปสเตอร์ให้คล้ายคลึงกับบทคัดย่อแต่ต้องมีขนาดตัวอักษรและตาราง แผนภูมิ กราฟ
ภาพประกอบทม่ี ขี นาดเหมาะสมกบั เน้อื ทท่ี ก่ี ําหนด และผอู้ ่านสามารถมองเหน็ เน้อื หาทุกสว่ นไดช้ ดั เจนใน
ระยะทย่ี นื ห่างจากโปสเตอรพ์ อสมควร

272

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

การนําเสนอผลงานวจิ ยั ดว้ ยวาจานัน้ ผูน้ ําเสนอควรเตรยี มตวั และสอ่ื ทใ่ี ชป้ ระกอบการนําเสนอให้
พรอ้ มดงั น้ี

- ผนู้ ําเสนอควรจะเป็นผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั การวจิ ยั และมคี วามรเู้ กย่ี วกบั การวจิ ยั ในประเดน็
ทจ่ี ะนําเสนออยา่ งละเอยี ด

- ผนู้ ําเสนอควรสรา้ งกรอบความคดิ เกย่ี วกบั เน้อื หาทจ่ี ะนําเสนอและตอ้ งการสอ่ื ใหผ้ ูฟ้ ังไดท้ ราบ
โดยเน้ือหาดงั กล่าวไม่ควรมีปริมาณมากเกนิ กว่าท่จี ะนําเสนอไดใ้ นเวลาท่ีกําหนด โดยทวั่ ไปมกั มเี วลา
นําเสนอประมาณ 10 ถงึ 15 นาที เทา่ นนั้ ในกรณีทม่ี เี น้อื หามากและเน้ือหาดงั กล่าวมคี วามสาํ คญั ใกลเ้ คยี ง
กนั หรอื ต่อเน่ืองกนั อาจจะแบ่งเป็น 2 เร่อื ง เพ่อื นําเสนอต่อเน่ืองกนั โดยนักวจิ ยั คนเดยี วกนั หรอื นักวจิ ยั
ต่อคนกนั เน้อื หาของผลงานวจิ ยั ทน่ี ําเสนอดว้ ยวาจาควรครอบคลมุ เร่อื งวจิ ยั ประเดน็ วจิ ยั ความสาํ คญั ของ
การวจิ ยั วตั ถุประสงค์หรอื คําถามวจิ ยั ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ผลการวจิ ยั และ / หรอื Output ของการวจิ ยั และ
ประโยชน์ของผลการวจิ ยั อย่างกะทดั รดั สว่ นทผ่ี ู้นําเสนอควรจะเน้นเป็นพเิ ศษจะขน้ึ อยู่กบั เร่อื งวจิ ยั และ
ผฟู้ ังหรอื ผใู้ ชผ้ ลงานวจิ ยั เป็นสาํ คญั ซง่ึ ผนู้ ําเสนอจะตอ้ งพจิ ารณาวา่ ควรทจ่ี ะเน้นในสว่ นใดเป็นพเิ ศษ

- ผู้นําเสนอควรเตรยี มบทพูดท่จี ะนําเสนอโดยเฉพาะอย่างยงิ่ การนําเสนอเป็นภาษาองั กฤษ
ในกรณีทง่ี านวจิ ยั นนั้ ไดม้ กี ารเตรยี มเป็นบทความเพ่อื เผยแพร่ในวารสารวชิ าการเรยี บรอ้ ยแลว้ การเขยี น
บทพดู ทจ่ี ะนําเสนอจะทาํ ไดส้ ะดวกขน้ึ โดยการตดั ตอนจากบทความดงั กลา่ วแลว้ นํามาปรบั ปรุงใหอ้ ย่ใู นรูป
ของบทพดู

- ผู้นําเสนอต้องเตรียมส่อื ประกอบการนําเสนอ ผูน้ ําเสนอจะต้องตรวจสอบกบั ผู้เกย่ี วขอ้ งว่า
ผจู้ ดั ประชุมมอี ุปกรณ์ดงั กล่าวพรอ้ ม การเตรยี มสอ่ื ประกอบการนําเสนอ (Power point, VDO) ควรเตรยี ม
ให้มีจํานวนพอเหมาะกบั เวลาท่กี ําหนด แต่สไลด์จะต้องบรรจุเน้ือหา (ตัวอักษร ภาพ แผนภูมิ กราฟ
ตาราง) เฉพาะทส่ี าํ คญั เท่านนั้ โดยไม่มรี ายละเอยี ดทม่ี ากเกนิ ความจาํ เป็น ตวั อกั ษร ภาพ แผนภมู ิ กราฟ
ตาราง ทบ่ี รรจุอยู่นนั้ จะตอ้ งมคี วามชดั เจนและขนาดใหญ่พอทผ่ี ูฟ้ ังทุกคนจะมองเหน็ ไดช้ ดั เน้ือหาทม่ี อี ยู่
ในสไลด์มคี วามสาํ คญั มากกว่าลวดลายและภาพประกอบทม่ี อี ยู่ ผเู้ ตรยี มจงึ ไม่ควรเตรยี มสอ่ื ทม่ี ลี วดลาย
และภาพมากเกนิ ความเหมาะสมทจ่ี ะใหส้ อ่ื ดงั กล่าวเป็นดงึ ดดู ความสนใจของผฟู้ ัง

- ผูน้ ําเสนอควรฝึกฝนการนําเสนอผลงานดว้ ยเสมอ และควรใหผ้ อู้ ่นื ทงั้ ผรู้ ่วมวจิ ยั ผเู้ ชย่ี วชาญ
ในเร่ืองทว่ี จิ ยั และผูฟ้ ังทวั่ ไปได้ร่วมฟังด้วย ผูน้ ําเสนอควรให้ความสนใจกบั เวลาในการนําเสนอให้มาก
และต้องพยายามปรบั ให้การนําเสนออยู่ในระยะเวลาทก่ี ําหนดให้เสมอ ควรนําคําถามและขอ้ เสนอแนะ
ของผู้ร่วมฟังมาพิจารณาเพ่ือปรับปรุงเน้ือหาและวิธีการนําเสนอ รวมทงั้ เตรียมตัวท่ีจะตอบคําถาม
ทอ่ี าจจะมใี นระหว่างการนําเสนอจรงิ ดว้ ย

- ผู้นําเสนอควรไปถึงสถานท่ีท่ีจะนําเสนอก่อนเวลานําเสนอจริง เพ่ือทดสอบส่ือท่ีจะใช้
ประกอบการนําเสมอ ตลอดจนทาํ ความคุน้ เคยกบั สถานทแ่ี ละอปุ กรณ์ทต่ี อ้ งใช้ เพ่อื ป้องกนั ความขลุกขลกั

273

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

11.5 การนําผลงานวิจยั ที่เผยแพร่ไปประยกุ ต์ใช้

การนําผลงานวจิ ัยท่ีเผยแพร่ไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบตั ิก็เป็นประเด็นท่ีมีความสําคญั และ
เป็นเป้าหมายสุดท้ายของการวจิ ยั ด้านวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ผลงานวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
ทไ่ี ด้ผลทงั้ เชงิ บวกและเชงิ ลบลว้ นแลว้ แต่มคี วามสาํ คญั ทงั้ สน้ิ การนําผลการวจิ ยั เชงิ บวกไปประยุกต์ใช้
ก็จะเกิดประโยชน์ในเชิงวิชาการและประโยชน์ต่อผู้ป่ วยและสงั คม ส่วนการนําผลงานวิจัยเชิงลบ
ไปประยุกต์ใชก้ จ็ ะมปี ระโยชน์ทงั้ ในดา้ นการหลกี เลย่ี งการวจิ ยั ซ้ําในเร่อื งเดยี วกนั และการปกป้องผลเสยี
ท่อี าจจะเกดิ กบั ผู้ป่ วย ผลงานวจิ ยั หลายช้ินทพ่ี บว่ามีประโยชน์มากและพมิ พ์เผยแพร่แล้ว แต่กม็ ไิ ด้มี
การนําเอาไปปฏบิ ตั ิอย่างรวดเรว็ และแพร่หลายเท่าท่ีควร อาจจะเน่ืองจากผู้ใช้ผลงานวจิ ยั ขาดทกั ษะ
ในการคน้ หาตดิ ตามงานวจิ ยั และทกั ษะในการประเมนิ ผลงานวจิ ยั

การทจ่ี ะทําใหก้ ารนําผลงานวจิ ยั ไปประยุกตใ์ ชป้ ระสบความสาํ เรจ็ คงตอ้ งอาศยั วธิ กี ารและกลไก
บางประการ เช่น ผู้วจิ ยั ควรจะเลอื กแหล่งและวธิ กี ารเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ท่เี หมาะสมสาํ หรบั ผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ผทู้ เ่ี ป็นกลุ่มเป้าหมายทจ่ี ะใชผ้ ลงานวจิ ยั นนั้ และนกั วชิ าการในสาขาเดยี วกนั และสาขา
ท่เี ก่ยี วข้องได้รบั ทราบเพ่อื นําไปประยุกต์ใช้ ดงั นัน้ ผูว้ ิจยั ควรเลอื กวารสารทเ่ี หมาะสมกบั งานวจิ ยั เพ่อื
เผยแพร่ผลงานวจิ ยั ผลงานวิจยั บางเร่ืองอาจจะเหมาะสมท่จี ะเผยแพร่ไปสู่สาธารณชนโดยใช้ส่อื อ่ืนท่ี
ครอบคลุมกวา้ งขวางมากกวา่ วารสารทางวชิ าการ เช่น หนงั สอื พมิ พ์ โทรทศั น์ วทิ ยุ เป็นตน้ แต่การเผยแพร่
ผลงานวจิ ยั ทางส่อื ดงั กล่าวน้ี ผู้วจิ ยั จะต้องกระทําโดยคํานึงถงึ จรยิ ธรรมของการวิจยั และจรรยาบรรณ
ของนกั วจิ ยั ดว้ ย

นอกจากผู้วจิ ยั จะเผยแพร่ผลงานวจิ ยั โดยอาศยั แหล่งและวธิ กี ารดงั กล่าวมาแล้ว ผลงานวจิ ยั
บางช้นิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การปรบั เปลย่ี นนโยบาย อาจจะต้องนําเสนอต่อผูบ้ รหิ ารของหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง
โดยตรง ก่อนทจ่ี ะนําไปเผยแพรต่ ่อสาธารณชน

ผลงานวจิ ยั จํานวนไม่น้อยทไ่ี ดอ้ งคค์ วามรใู้ หม่ทแ่ี ตกต่างจากทม่ี อี ยเู่ ดมิ หรอื ความเช่อื ทม่ี อี ย่เู ดมิ
หรอื ไดว้ ธิ กี ารปฏบิ ตั ใิ หมท่ แ่ี ตกต่างจากวธิ กี ารทป่ี ฏบิ ตั อิ ยเู่ ดมิ ผวู้ จิ ยั ควรพยายามหากลยุทธและมาตรการ
ท่จี ะทําให้ผลการวจิ ยั ใหม่เหล่าน้ีเป็นท่ยี ่อมรบั ทัง้ ในเชิงวชิ าการและในเชงิ การนําไปประยุกต์ใช้ เช่น
การศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ในประเดน็ ของประโยชน์ต่อการนําผลการวจิ ยั ไปประยุกตใ์ ช้ ทงั้ การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพ
(Effectiveness study) และการศกึ ษาความคุม้ ค่า (Efficiency study) การนําวธิ กี ารใหม่ไปผสมผสานกบั
สนับสนุนจากผูเ้ ชย่ี วชาญ/ผคู้ วบคุมนโยบาย การประชาสมั พนั ธ์ การขอความร่วมมอื เป็นต้น มาตรการ
เหล่าน้ีน่าจะมสี ่วนทําใหผ้ ลงานวจิ ยั ถูกนําไปประยุกต์ใช้ไดแ้ พร่หลายมากขน้ึ สมดงั เป้าประสงคส์ ุดทา้ ย
ของการวจิ ยั

274

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

11.6 ปัญหาข้อเสนอแนะในการเขียนรายงานการวิจยั

การเขยี นรายงานการวจิ ยั เป็นขนั้ ตอนหน่ึงท่สี าํ คญั มาก เน่ืองจากในทางปฏบิ ตั แิ ล้วไม่ใช่เร่อื ง
ทง่ี ่ายนัก เพราะต้องอาศยั การฝึกฝนในด้านการเขยี นมาด้วย ผู้ท่ียงั ไม่เคยมปี ระสบการณ์ในการเขยี น
มาก่อนมกั จะมีปัญหาว่าไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไรหรอื เขยี นแล้วอ่านไม่รู้เร่ือง ปัญหาเหล่าน้ีเป็นปัญหาท่ี
ประสบมากบั ทุกคนโดยเฉพาะผทู้ เ่ี รม่ิ ทาํ วจิ ยั ใหม่ ๆ จงึ เป็นเรอ่ื งทผ่ี วู้ จิ ยั ตอ้ งฝึกในดา้ นการเขยี นใหม้ ากขน้ึ
มกี ารวางโครงร่างและหวั ขอ้ ต่าง ๆ ให้ชดั เจน รวมทงั้ อาศยั ดูตวั อย่างจากรายงานวจิ ยั ท่ดี เี ป็นแนวทาง
ในการเขยี นรายงานกจ็ ะชว่ ยแกป้ ัญหาไดม้ าก

สําหรับผู้ท่ีมปี ระสบการณ์ในการทําวิจยั และเคยเขยี นรายงานการวจิ ยั มาแล้ว ก็จะมีปัญหา
อกี ลกั ษณะหน่ึง คอื ความล่าชา้ ในการเขยี นรายงานวจิ ยั ซ่งึ นอกจากต้องการความพร้อมในเร่อื งขอ้ มูล
ต่าง ๆ ความพร้อมในบรรยากาศ สถานท่ี และยงั ต้องการความพร้อมในเร่ืองอารมณ์และมีสมาธิ
เป็นอยา่ งดอี กี ดว้ ย ความพรอ้ มในเร่อื งอารมณ์และสมาธนิ ้ี เป็นเร่อื งสาํ คญั ทม่ี สี ว่ นช่วยใหก้ ารเขยี นดําเนิน
ไปอยา่ งรวดเรว็ และต่อเน่ืองมากทส่ี ดุ

ขอ้ เสนอแนะสําหรับการเขียนรายงานวิจยั ในท่ีน้ี คอื ควรเขยี นรายงานวิจยั ในขณะท่ีกําลัง
วเิ คราะหข์ อ้ มลู หรอื เมอ่ื วเิ คราะหข์ อ้ มูลเสรจ็ ใหม่ ๆ เพราะผวู้ จิ ยั มขี อ้ มลู พรอ้ ม และกาํ ลงั ทราบรายละเอยี ด
ของปัญหาทศ่ี กึ ษาอย่างละเอยี ดและต่อเน่ืองตงั้ แต่ต้น โอกาสทจ่ี ะเขยี นรายงานวจิ ยั ไดเ้ สรจ็ อย่างรวดเรว็
จงึ อยู่ในช่วงน้ี ถ้าปล่อยระยะเวลาให้เน่ินนาน โอกาสท่ีจะเขยี นรายงานวิจยั ได้สําเร็จกย็ งิ่ นานมากข้นึ
เพราะต้องเสยี เวลาปะติดปะต่อเร่อื งราวใหม่ รวมทงั้ ทําความเขา้ ใจกบั ขอ้ มูลท่วี ิเคราะห์ไว้นานแล้วว่า
วเิ คราะห์อะไรไว้บ้าง ข้อมูลท่วี เิ คราะห์ไวแ้ ล้วอาจไม่ครบถ้วน เม่อื ลงมือเขยี นรายงานไปจนถึงตอนท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มูลในส่วนนนั้ จงึ จะทราบว่ามขี อ้ มูลผดิ พลาดหรอื ไม่ครบถ้วนจําเป็นต้องกลบั ไปวเิ คราะห์
ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ใหม่

การเขยี นรายงานวิจยั ต้องมคี วามอดทน พยายามแบ่งงานเป็นขนั้ เป็นตอน เรมิ่ ด้วยการวาง
โครงร่างหวั ขอ้ ใหญ่ ๆ ทส่ี าํ คญั ให้ชดั เจนเสยี ก่อน แล้วจงึ ขยายรายละเอยี ดในแต่ละหวั ขอ้ อกี ที ทส่ี ําคญั
คอื หวั ขอ้ ทงั้ หมดจะตอ้ งอย่ใู นกรอบของปัญหาทศ่ี กึ ษาและครอบคลุมวตั ถุประสงคท์ งั้ หมด รายงานทเ่ี ขยี น
ฉบบั แรก จะต้องมกี ารปรบั ปรุงแก้ไขอกี อย่างน้อยไม่ต่ํากว่า 2 ครงั้ วธิ ที ด่ี ี คอื ใหผ้ ูร้ ูใ้ นเร่อื งนัน้ ช่วยอ่าน
พรอ้ มทงั้ เสนอแนะจดุ ทค่ี วรปรบั ปรงุ แกไ้ ขก่อนทจ่ี ะนําไปจดั พมิ พร์ ายงานฉบบั จรงิ

11.7 การเลือกวารสาร

เม่อื ไดต้ ้นฉบบั ทค่ี รบถ้วนพรอ้ มจะลงพมิ พแ์ ลว้ ขนั้ ต่อไปจะเป็นการเลอื กวารสารทางการแพทย์
หรอื สาธารณสขุ ทต่ี ้องการ จะส่งต้นฉบบั ไปรบั การพจิ ารณาเพ่อื ลงพมิ พค์ วรจะเลอื กวารสารตามคาํ ถาม
วจิ ัยของเรา ประการสําคญั ข้อแรกคือ ต้องตรงกับวัตถุประสงค์ของวารสารนัน้ วารสารนัน้ เน้นเร่ือง
ความเจ็บปวด เช่น วารสาร Pain ก็ควรจะส่งการศึกษา ซ่ึงมีคําถามวิจยั เก่ยี วข้องกบั ความเจ็บปวด
ไปลงพมิ พ์ นอกจากน้ีวารสารบางฉบบั มคี วามสนใจเน้นหวั ขอ้ ทางการแพทยด์ า้ นใดเป็นพเิ ศษในเร่อื งใด
สามารถดไู ดจ้ ากต้นฉบบั ทต่ี พี มิ พใ์ นวารสารยอ้ นหลงั ถดั มาจะดทู ค่ี วามสาํ คญั ของคาํ ถามวจิ ยั และผลกระทบ

275

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน

กบั ประโยชน์ท่ีจะเกิดข้นึ ในการดูแลรักษาผู้ป่ วยมากน้อยเพียงไร ถ้าคําถามวิจยั มีความสําคญั มาก
ควรจะเลอื กวารสารทม่ี กี ารยอมรบั อย่างแพร่หลาย มบี ุคลากรทางการแพทยต์ ดิ ตามอ่านเป็นจาํ นวนมาก
โดยถ้าวิธีการศกึ ษาเป็นวิธกี ารท่ีมคี วามรดั กุมดี มคี วามเท่ยี งตรงถูกต้องดี กส็ ามารถเลอื กลงวารสาร
ทม่ี คี ุณภาพสงู ได้ ขอ้ แนะนําทน่ี ่าจะลองปฏบิ ตั ิ คอื เลอื กลงวารสารท่มี ผี ลกระทบผอู้ ่านสงู สุด ซง่ึ โอกาส
ทจ่ี ะไดร้ บั ลงตพี มิ พจ์ ะไม่มากนกั แต่จากการส่งต้นฉบบั จะไดร้ บั คําแนะนําทด่ี มี ากจากกองบรรณาธกิ าร
ท่เี ขม็ แขง็ ของวารสารนัน้ หลงั จากแก้ไขแล้วถ้าไม่สามารถลงตีพมิ พใ์ นวารสารท่มี ผี ลกระทบสงู สุดนัน้
กส็ ามารถจะส่งต้นฉบบั ทแ่ี กไ้ ขดขี น้ึ แลว้ เขา้ รบั การพจิ ารณาจากวารสารในอนั ดบั รองลงมาได้ วธิ กี ารส่ง
ตน้ ฉบบั ในอดตี จะต้องสง่ ต้นฉบบั ทางจดหมายไปต่างประเทศ วธิ กี ารน้ลี ดความนิยมลงเร่อื ย ๆ เน่อื งจาก
ความล่าช้าในการโต้ตอบระหว่างผูส้ ่งและผูร้ บั ในปัจจุบนั น้ีวารสารทางการแพทย์ทม่ี คี ุณภาพทงั้ หลาย
สามารถส่งต้นฉบับได้ทาง Internet หรือE-mail เช่น http://www.asianbiomed.org / สําหรับ Asian
biomedicine โดยผู้ทจ่ี ะส่งต้องไปลงทะเบยี นแจ้งช่อื ท่ีอยู่ว่ามตี วั ตนจรงิ และแจ้งความประสงคว์ ่าจะส่ง
ตน้ ฉบบั เพ่อื เขา้ รบั การพจิ ารณา หลงั จากไดร้ หสั ผา่ นมาแลว้ จงึ จะมสี ทิ ธสิ์ ง่ ไฟลต์ น้ ฉบบั โดยไฟลท์ จ่ี ะสง่ ให้
แยกกนั ระหว่างเน้ือหา รูปภาพ และ ตาราง ทางวารสารจะเป็นผู้นําไปเรยี บเรยี งอกี ครงั้ หน่ึง หลงั จาก
เรยี บเรยี งแลว้ จะสง่ ใหผ้ ปู้ ระพนั ธต์ รวจสอบก่อนสง่ กรรมการพจิ ารณา

การส่งทาง Internet น้ีจะทําให้ทราบผลค่อนขา้ งเร็วมีการโต้ตอบได้ดี หลงั จากทราบผลแล้ว
ผูว้ จิ ยั ควรจะปรบั แก้ ตอบคาํ ถามทผ่ี ู้ทบทวนต้นฉบบั ใหค้ ําแนะนํามาในทุก ๆ ขอ้ ไม่ละเลยขอ้ ปลกี ย้อย
ขอ้ ใดเลย คําถามทแ่ี ก้ไขไม่ได้ต้องบอกตามตรงว่าแก้ไขไม่ไดด้ ว้ ยเหตุใด มใิ ช่ทง้ิ ว่างไว้ การส่งต้นฉบบั
ลงตีพิมพ์วารสารต่างประเทศต้องใช้ความพยายามสูง ไม่ควรย่อท้อ ไม่เกิดอารมณ์กับข้อติชมของ
กรรมการผูพ้ จิ ารณา โปรดระลกึ ว่ากองบรรณาธกิ ารใหค้ ําแนะนําเพ่อื ปรบั ปรุงใหบ้ ทความดขี น้ึ ถ้าตงั้ ใจ
แกไ้ ข ความสาํ เรจ็ กอ็ ย่ไู ม่ไกลเกนิ เออ้ื ม

11.8 จริยธรรมการวิจยั

การวจิ ยั ดา้ นสาธารณสุขหรอื วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มกั มมี นุษยเ์ ป็นประชากรในการศกึ ษา ดงั นนั้
ผวู้ จิ ยั ตอ้ งวางแผนการจดั การเพ่อื หลกี เลย่ี งผลรา้ ยอนั อาจเกดิ ขน้ึ กบั ประชากรทศ่ี กึ ษา รวมทงั้ การกระทาํ
ทอ่ี าจถอื ได้ว่าเป็นการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชน การกระทําท่ขี ดั ต่อขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรม
อนั ดขี องสงั คม

ขอ้ พึงปฏิบตั ิดา้ นจริยธรรมสาํ หรบั การวิจยั ที่ใช้มนุษยเ์ ป็นประชากรในการศึกษา
การวจิ ยั ทใ่ี ชม้ นุษยเ์ ป็นประชากรในการศกึ ษาจะต้องมกี ารวางแผนการวจิ ยั อย่างรดั กุมเพ่อื มใิ ห้
เกดิ ผลเสยี แก่ผทู้ เ่ี ป็นประชากรในการศกึ ษา สาํ หรบั การวจิ ยั เชงิ สงั เกต (Observational study) มกั ไม่ค่อย
มปี ัญหาดา้ นจรยิ ธรรมมากเหมอื นกบั การวจิ ยั เชงิ ทดลอง (Experimental study) เน่ืองจากผู้วจิ ยั มไิ ดใ้ ห้
ปัจจยั ใด ๆ แก่ประชากรทศ่ี กึ ษา ผวู้ จิ ยั เพยี งแต่เฝ้าตดิ ตามและสงั เกตกลุม่ ประชากรทศ่ี กึ ษา อยา่ งไรกต็ าม
การวจิ ยั เชงิ สงั เกตนนั้ ผวู้ จิ ยั กค็ วรปฏบิ ตั ติ ่อประชากรทศ่ี กึ ษา ดงั น้ี

- การซกั ถามขอ้ มูลต่าง ๆ จากประชากรท่ีศกึ ษาและผู้เก่ียวขอ้ งควรกระทําเป็นส่วนตัว
ในสถานการณ์ทเ่ี หมาะสม

276

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

- ผวู้ จิ ยั ควรระมดั ระวงั การใชค้ าํ ถามทล่ี ่อแหลมต่อความรสู้ กึ ของประชากรทศ่ี กึ ษา
- การเฝ้าสังเกต การตรวจร่างกาย และ การทําหัตถการใด ๆ (เช่น การเจาะเลือด)
กบั ประชากรทศ่ี กึ ษา ผวู้ จิ ยั ตอ้ งกระทาํ ดว้ ยความระมดั ระวงั และตอ้ งไดร้ บั การยนิ ยอมจากประชากรทศ่ี กึ ษา
กอ่ นเสมอ
สว่ นการวจิ ยั เชงิ ทดลอง ซง่ึ ผูว้ จิ ยั ใหป้ ัจจยั บางประการแก่ประชากรทศ่ี กึ ษา ผวู้ จิ ยั ควรมแี นวทาง
ดา้ นจรยิ ธรรมในการวจิ ยั ดงั น้ี
- การวจิ ยั เชงิ ทดลองในมนุษยจ์ ะตอ้ งมหี ลกั ฐานการวจิ ยั ในสตั วท์ ดลองหรอื ผลการวจิ ยั อ่นื ในหอ้ ง
ปฏบิ ตั ิการ หรอื ในสถานการณ์อ่ืนท่ีช้ีแนะว่าปัจจยั ท่ีผู้วจิ ยั ต้องการศึกษาและเป็นปัจจยั ท่ผี ู้ถูกทดลอง
จะไดร้ บั นัน้ น่าจะมปี ระโยชน์และน่าจะมคี วามปลอดภยั และมคี วามจําเป็นอย่างหลกี เลย่ี งไม่ไดท้ ่จี ะตอ้ ง
ทดลองในมนุษย์ รวมทงั้ จะตอ้ งใชผ้ ถู้ ูกทดลองจาํ นวนน้อยทส่ี ดุ ตามความจาํ เป็นทางสถติ ิ
- โครงการวจิ ยั data sheet, inform consent ต้องย่นื ต่อคณะกรรมการจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคน
ก่อนเรม่ิ การทดลอง และการขอความยนิ ยอมจากอาสาสมคั รต้องมเี วลาเพยี งพอใหอ้ าสาสมคั รตดั สนิ ใจ
และมคี วามเป็นสว่ นตวั
- การวจิ ยั นนั้ ตอ้ งไม่ขดั ต่อกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี และ วฒั นธรรมทด่ี งี ามของสงั คม
- ผลการวจิ ยั จะตอ้ งไดข้ อ้ มลู หรอื ความรใู้ หมท่ เ่ี ป็นประโยชน์
- ผวู้ จิ ยั จะตอ้ งเป็นผมู้ คี วามรคู้ วามชาํ นาญในเร่อื งทจ่ี ะวจิ ยั เป็นอย่างดี โดยรถู้ งึ ผลดแี ละผลเสยี อนั
อาจจะเกดิ ขน้ึ จากการวจิ ยั นัน้ และพร้อมทจ่ี ะใหก้ ารดูแลผู้ยอมตนใหท้ ดลองไดอ้ ย่างเหมาะสม รวมทงั้
มอี ุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็นเพ่อื การดแู ลดงั กล่าวไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและทนั ทว่ งที
- ผวู้ จิ ยั ตอ้ งเลอื กวธิ กี ารวจิ ยั ทผ่ี ยู้ อมตนใหท้ ดลองนนั้ เสย่ี งอนั ตรายน้อยทส่ี ดุ และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลรา้ ย
แกผ่ ยู้ อมตนใหท้ ดลองน้อยทส่ี ดุ ดว้ ย
- ผวู้ จิ ยั ตอ้ งปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั ดว้ ยความระมดั ระวงั เป็นพเิ ศษตามมาตรฐานวชิ าชพี แหง่ ตน และตอ้ ง
ระงบั การวจิ ยั ทนั ทที ม่ี ขี อ้ บง่ ชว้ี ่าอาจเกดิ อนั ตรายแกผ่ ถู้ กู ทดลองได้
- ผูว้ จิ ยั หรอื คณะผูว้ จิ ยั จะตอ้ งประกอบดว้ ยผไู้ ดร้ บั อนุญาตให้ประกอบวชิ าชพี เวชกรรมรวมอยู่
ดว้ ยอย่างน้อย 1 คน และจะต้องเป็นผู้รบั ผดิ ชอบในการดูแลรกั ษาในกรณีทเ่ี กดิ อนั ตรายแก่ผู้ยอมตนให้
ทดลอง
- ผวู้ จิ ยั ตอ้ งรบั ผดิ ชอบและดูแล แกไ้ ขขอ้ เสยี ทเ่ี กดิ ขน้ึ แก่ผถู้ ูกทดลองทนั ทอี ยา่ งสดุ ความสามารถ
ผูว้ จิ ยั ต้องมอี ุปกรณ์ทจ่ี ําเป็นสาํ หรบั การช่วยเหลอื ผูถ้ ูกทดลองอย่างครบถ้วนและสามารถปฏบิ ตั ไิ ดท้ นั ที
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
- การวจิ ยั ในมนุษยจ์ ะกระทาํ ไดเ้ ม่อื ไดร้ บั ความยนิ ยอมโดยอสิ ระเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผยู้ อม
ตนให้ทดลอง ในกรณีท่ผี ู้ยอมตนให้ทดลองไม่สามารถแสดงความยนิ ยอมได้ ผู้ปกครอง ผู้ใช้อํานาจ
ปกครอง ผอู้ นุบาลหรอื ผแู้ ทนโดยชอบธรรมจะเป็นผใู้ หค้ วามยนิ ยอมเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรแทน
- เอกสารยนิ ยอมเขา้ รบั การทดลองจะตอ้ งมสี าระสาํ คญั ดงั น้ี
วธิ ีการหรือแผนงานทัง้ ในส่วนท่ีผู้วิจยั จะดําเนินการต่อผู้ยอมตนให้ทดลอง และท่ีผู้ยอมตน
ใหท้ ดลองตอ้ งปฏบิ ตั ิ

277

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

อนั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ ทงั้ ในระยะระหว่างการวจิ ยั และภายหลงั การวจิ ยั ตลอดจนการป้องกนั
อนั ตรายทผ่ี วู้ จิ ยั ไดจ้ ดั เตรยี มเอาไว้

ประโยชน์ทพ่ี งึ ไดจ้ ากการวจิ ยั นนั้
ผู้ยอมตนให้ทดลอง ผู้ปกครอง ผู้ใช้อํานาจปกครอง ผู้อนุบาล หรือ ผู้แทนโดยชอบธรรม
ของผู้ยอมตนให้ทดลอง สามารถบอกเลิกการยินยอมเข้าร่วมการวิจัยเม่ือใดก็ได้ โดยการยกเลิก
การยนิ ยอมนนั้ ตอ้ งไม่มผี ลกระทบต่อสทิ ธขิ องผยู้ อมตนใหท้ ดลองทจ่ี ะไดร้ บั การรกั ษาตามปกติ
- การขอความยนิ ยอมจากประชากรทศ่ี กึ ษาและการอธบิ ายเน้ือความของเอกสารยนิ ยอมควรให้
บุคคลทไ่ี ม่ใช่นกั วจิ ยั เป็นผปู้ ฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การทดลองทเ่ี กย่ี วกบั การรกั ษาโดยผวู้ จิ ยั เป็นผใู้ หก้ าร
รกั ษานนั้ ผถู้ ูกทดลองอาจยอมเขา้ รบั การทดลองเพราะอยใู่ นสภาวะจาํ ยอม
- ผู้ถูกทดลองจะต้องได้รบั คําอธบิ ายต่าง ๆ ท่ีอยู่ในเอกสารยนิ ยอมเขา้ รบั การทดลองอย่าง
ละเอยี ดจนผยู้ อมตนใหท้ ดลองเขา้ ใจอย่างถ่องแทแ้ ละหมดขอ้ สงสยั
- ผวู้ จิ ยั ตอ้ งไมย่ นิ ยอมใหบ้ ุคคลภายนอกคณะวจิ ยั ของตนทาํ วจิ ยั หรอื ทดลองแทน
- ผวู้ จิ ยั ตอ้ งตดิ ตามการวจิ ยั และผลการวจิ ยั โดยใกลช้ ดิ ตลอดเวลา
- เดก็ จะไม่ถูกนํามาเป็นผูถ้ ูกทดลอง ถา้ หากการวจิ ยั นนั้ สามารถจะปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นผใู้ หญ่ ในกรณีท่ี
การวจิ ยั จาํ เป็นตอ้ งทาํ ในเดก็ เน่ืองจากผลการวจิ ยั ในผใู้ หญ่ไมส่ ามารถนํามาประยกุ ตก์ บั เดก็ ได้ การวจิ ยั นนั้
ควรไดผ้ ่านการศกึ ษาถงึ ประโยชน์และความปลอดภยั ในผใู้ หญ่กอ่ นทจ่ี ะนํามาวจิ ยั ในเดก็
หลกั จริยธรรมเบอื้ งต้น
หลกั จรยิ ธรรมท่ถี ูกอ้างองิ และใช้สําหรบั การพจิ ารณาจรยิ ธรรมวิจยั เสมอ ๆ ได้แก่ Belmont
Report (1979) ซ่ึงเป็ นรายงานการประชุมร่วมกันของกลุ่มนักวิชาการ นักปรัชญา นักจริยธรรม
ทส่ี หรฐั อเมรกิ าเม่อื ปี พ.ศ. 2519 สาํ หรบั ในไทยได้ใช้หลกั การทส่ี อดคล้องกนั และกําหนดเป็นแนวทาง
จรยิ ธรรมการทาํ วจิ ยั ในคนแห่งชาติ โดยชมรมจรยิ ธรรมการทาํ วจิ ยั ในคนในประเทศไทยเม่อื ปี พ.ศ. 2545
หลกั จรยิ ธรรมเบอ้ื งตน้ ประกอบไปดว้ ย
ก. หลกั การเคารพในความเป็ นบุคคล (Respect for persons) ครอบคลุมการปฏบิ ตั ติ ่อบุคคล
ในฐานะทเ่ี ขาเหล่านนั้ มคี วามเป็นตวั ของตวั เอง และสามารถกาํ หนดทางเลอื กไดด้ ว้ ยตวั เอง (Autonomy)
สําหรบั ในกรณีบุคคลท่ีอ่อนแอ หรือ เปราะบาง (Vulnerability) อันเน่ืองมาจากความสามารถในการ
ตดั สนิ ใจบกพร่อง ไม่สามารถตดั สนิ ใจดว้ ยตนเองได้ สทิ ธขิ องบุคคลนัน้ ตอ้ งไดร้ บั การปกป้อง หลกั การน้ี
ถูกถ่ายทอดสู่การปฏบิ ตั ิโดยกระบวนการให้ความยนิ ยอมโดยไดร้ บั การบอกกล่าว (Informed consent
process) ซง่ึ ประกอบดว้ ยผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั ไดร้ บั ขอ้ มูล (Informed) สามารถเขา้ ใจขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ บั อย่างสมบรู ณ์
เพยี งพอสาํ หรบั การตดั สนิ ใจ (Comprehensible) และตดั สนิ ใจเขา้ ร่วมวจิ ยั ดว้ ยความสมคั รใจ (Voluntary)
โดยปราศจากการบงั คบั หรอื การใชอ้ ทิ ธพิ ลหรอื การเชญิ ชวนใด ๆ ครอบงาํ (Coercion & undue influence)
ในกรณีท่ีบุคคลไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง เพ่ือปกป้ องประโยชน์สูงสุดของผู้เข้าร่วมวิจัย
(Participants’ best interest) จําเป็นต้องมีผู้แทนโดยชอบธรรม (Legally authorized representative)
ทาํ หน้าท่ี หลกั การเคารพในความเป็นบคุ คลอาจรวมถงึ การเคารพความเป็นสว่ นตวั (Respect for privacy)
ซง่ึ หมายถึง การทผ่ี เู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั สามารถควบคุมการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ส่วนตวั มสี ทิ ธเิ ต็มท่ใี นการปฏเิ สธหรอื

278

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

จํากดั การเข้าถึงข้อมูลเหล่านัน้ ความเป็นส่วนตวั น้ีเก่ยี วข้องกบั ประเดน็ ความเสย่ี งในเร่อื งการรกั ษา
ความลบั (Confidentiality) ซง่ึ เป็นการปกป้องขอ้ มูลทบ่ี ่งถงึ ตวั ผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั อนั เกดิ จากขอ้ ตกลงระหว่าง
ผวู้ จิ ยั และผูเ้ ขา้ ร่วมวจิ ยั เกย่ี วกบั ขอบเขตการเขา้ ถงึ และการจดั การขอ้ มลู เหลา่ นนั้ โดยทวั่ ไปผวู้ จิ ยั มกั ระบุ
เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรว่า การรกั ษาความลบั น้ีครอบคลุมหรอื ไม่ครอบคลุมกรณีใดบา้ ง ตวั อย่างกรณที ก่ี าร
รกั ษาความลบั มกั ไม่ครอบคลุมถงึ กม็ ี เช่น ขอ้ มลู วจิ ยั อาจไดร้ บั การตรวจสอบจากหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ภายใตข้ อ้ กาํ หนดของกฎหมายหรอื จากคณะกรรมการฯ แทน

ข. หลกั คณุ ประโยชน์และเว้นการก่อโทษ (Beneficences & Nonmaleficence) ครอบคลุม
การไมก่ ่ออนั ตรายและการยงั ประโยชน์สงู สดุ โดยใหม้ คี วามเสย่ี งต่อผูเ้ ขา้ ร่วมวจิ ยั น้อยทส่ี ดุ เป็นทย่ี อมรบั
โดยทวั่ ไปว่าบุคคลไม่ควรก่ออนั ตรายแก่อกี บุคคลหน่ึงถงึ แมว้ ่าจะเกดิ คุณประโยชน์ต่อบุคคลอ่นื โดยรวม
ดงั นัน้ ถึงแม้งานวิจัยอาจส่งผลให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการ เกิดประโยชน์กับสงั คมในวงกว้าง
แต่หากก่ออันตรายรุนแรงแม้แต่คนเดียว การวิจัยนัน้ ก็ไม่จัดว่ามีความเหมาะสมทางจริยธรรม
การพจิ ารณาประโยชน์และโทษ จําเป็นต้องพจิ ารณาควบคู่กนั เน่ืองจากในการวจิ ยั ประโยชน์เป็นเร่อื ง
ความรทู้ จ่ี ะไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นวงกวา้ งกบั คนอน่ื แต่โทษอาจเกดิ ขน้ึ กบั ผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั เป็นหลกั

ค. หลกั ความยุติธรรม (Justice) ในการวจิ ยั จะหมายถงึ การกระจายประโยชน์ทพ่ี งึ มกี บั ภาระ
ทต่ี ้องแบกรบั อย่างเสมอกนั (Fairness in distribution) ผู้เขา้ ร่วมวจิ ยั ทต่ี ้องรบั ภาระความเสย่ี งทเ่ี กดิ ขน้ึ
จากการวจิ ยั ต้องเป็นตวั แทนของกลุ่มท่มี โี อกาสได้รบั ประโยชน์จากงานวจิ ยั ด้วย การใชผ้ ูเ้ ขา้ ร่วมวจิ ยั
ท่เี ลือกหาได้ง่าย เช่น ผู้ด้อยโอกาสบางกลุ่ม ซ่ึงอาจเข้าร่วมวิจยั จากการเชิญชวนด้วยอามิสสนิ จ้าง
ทงั้ ๆ ทไ่ี ม่มที างทจ่ี ะเขา้ ถงึ หรอื ไดร้ บั ประโยชน์จากการวจิ ยั หากการวจิ ยั สน้ิ สุดลง และพบว่ายาทใ่ี ชว้ จิ ยั
มปี ระสทิ ธภิ าพเพราะอาจมรี าคาแพงหรอื หาไดย้ าก การเลอื กผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั เช่นน้ีถือเป็นการละเมดิ หลกั
ความยตุ ธิ รรม

11.9 การเตรยี มตวั เป็นนักวิจยั

การทาํ งานวจิ ยั เป็นงานทฝ่ี ึกใหผ้ วู้ จิ ยั ทํางานอย่างมรี ะเบยี บแบบแผน มกี ฎเกณฑ์ มกี ารใชค้ วามคดิ
และใช้สตปิ ัญญาอย่างรอบคอบ รู้จกั ใช้เหตุและผลในการตอบปัญหา ดงั นัน้ ผู้ท่จี ะเป็นนักวิจยั จะต้องมี
การเตรยี มตัว มีการฝึกฝนหาความรู้ในเร่ืองระเบียบวิธีวิจยั และฝึกในการทําวจิ ัยมาบ้างพอสมควร
มใิ ช่ว่าทุกคนทผ่ี ่านการศกึ ษาขนั้ อุดมศกึ ษามาแลว้ จะเป็นนกั วจิ ยั ไดเ้ ลยเหมอื นกนั หมด ผูท้ จ่ี ะเป็นนกั วจิ ยั
ท่ดี ไี ด้จะต้องฝึกฝนปรบั ปรุงตนเองให้มคี ุณสมบตั เิ หมาะสมกบั การเป็นนักวจิ ยั เช่นเดยี วกบั การฝึกฝน
ในสาขาวชิ าชพี อน่ื ๆ

คณุ สมบตั ิของนักวิจยั ท่ีดี
สาํ หรบั ผทู้ จ่ี ะเป็นนกั วจิ ยั ทด่ี ไี ด้ ควรฝึกฝนใหม้ คี ณุ สมบตั ดิ งั ต่อไปน้ี
1. เป็นผทู้ ี่ใฝ่ หาความรู้ มีสาํ นึกและวิญญาณของนักวิชาการและนักวิจยั
คุณสมบัติข้อน้ีนับว่าเป็นคุณสมบัติพ้ืนฐานท่ีสําคัญ ซ่ึงมีส่วนช่วยกระตุ้นให้เกิดคุณสมบัติ
ขอ้ ต่อ ๆ ไปได้ง่าย ผูท้ จ่ี ะเป็นนักวจิ ยั จะต้องมคี วามคดิ กระตอื รอื รน้ ในการคน้ หาความรใู้ หม่ ๆ อย่เู สมอ

279

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

ไม่หยุดน่ิงอยู่กบั ท่ี เพราะวชิ าการต่าง ๆ ในโลกปัจจุบนั มกี ารเปลย่ี นแปลงก้าวหน้าไปอย่างรวดเรว็ อยู่
ตลอดเวลา

2. เป็นคนช่างสงั เกต รจู้ กั ใช้ความคิดในแง่เหตแุ ละผล
ตอ้ งฝึกใหร้ จู้ กั สงั เกตสง่ิ ต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ดกู ารเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ รอบ ๆ ตวั แลว้
พยายามหดั ตงั้ คําถาม หดั คดิ หาเหตุและผลเพ่อื ตอบคําถาม ทําไมเหตุการณ์นัน้ ถึงเกดิ ขน้ึ ทาํ ไมจงึ เกดิ
ในลกั ษณะนนั้ ทาํ ไมจงึ ไมเ่ กดิ ในอกี ลกั ษณะหน่ึง นกั วจิ ยั จะตอ้ งฝึกมองใหเ้ หน็ ปัญหา ไม่มองขา้ มสงิ่ เลก็ ๆ
น้อย ๆ ไป มตี วั อย่างในอดตี ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ว่านักวจิ ยั และนักวทิ ยาศาสตรจ์ ํานวนมากทม่ี ชี ่อื เสยี งโด่งดงั
ขน้ึ มาได้เน่ืองจากเป็นคนช่างสงั เกต รู้จกั แยกแยะปัญหา มองจุดเล็ก ๆ น้อย ๆ ซ่ึงสําคญั แต่คนอ่ืน
มองขา้ มไปอย่างไม่สนใจ ตวั อย่างเช่น เซอร์ ไอแซค นิวตนั สงั เกตว่าทําไปลกู แอปเปิ้ลจงึ หล่นลงบน
พ้ืนดินทุกครงั้ ทําไมไม่ลอยออกไปกลางอากาศบ้าง จากจุดสงสยั น้ีทําให้นิวตันค้นคว้าหาคําตอบ
จนสามารถคน้ พบทฤษฎใี หม่ ๆ ตงั้ กฎแรงโน้มถ่วงขน้ึ มา เป็นตน้
3. เป็นคนอดทนและใจกวา้ ง
การทําวจิ ยั กว่าจะสาํ เรจ็ แต่ละเร่อื งต้องผ่านกระบวนการหลายขนั้ ตอน ในแต่ละขนั้ ตอนอาจมี
อุปสรรคมากบา้ งน้อยบา้ ง ซง่ึ นักวจิ ยั จะต้องใช้สติปัญญา ความรู้ และ ประสบการณ์แก้ไขปัญหานัน้ ๆ
ใหล้ ลุ ่วงไป บางปัญหาอาจตอ้ งใชเ้ วลาและความอดทนอย่างมาก ถา้ นกั วจิ ยั ไมม่ คี วามอดทนเพยี งพอแลว้
กอ็ าจล้มเลกิ งานวจิ ยั นัน้ ไปเลย ซ่ึงนับว่าไม่เป็นผลดีต่อตวั ผู้วจิ ยั เองและต่อผู้ร่วมงานด้วย โดยเฉพาะ
ถา้ เป็นงานวจิ ยั ทไ่ี ดร้ บั ทุนอดุ หนุนจากองคก์ ารหรอื สถาบนั อ่นื ๆ จะทาํ ใหไ้ ม่เป็นทเ่ี ช่อื ถอื ในการขอทนุ วจิ ยั
คราวต่อไป
นอกจากนกั วจิ ยั จะมคี วามอดทนแลว้ ยงั ต้องมคี ุณลกั ษณะใจกวา้ งอกี ดว้ ย ผลงานวจิ ยั ทท่ี าํ เสรจ็
แลว้ ตอ้ งมกี ารพมิ พเ์ ผยแพร่ใหค้ นอ่นื ไดร้ บั ทราบ โดยเฉพาะในสาขาวชิ าชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งจะไดม้ กี ารพฒั นา
ความรู้ใหม่ ๆ รวมถึงการนําผลการวจิ ยั นัน้ ไปใช้ด้วย และแน่นอนการเผยแพร่ผลการวิจยั ย่อมอาจมี
คาํ วพิ ากษ์วจิ ารณ์ทงั้ ตแิ ละชมงานวจิ ยั นนั้ กลบั มาถงึ ตวั ผวู้ จิ ยั เอง นกั วจิ ยั ทด่ี ตี ้องเปิดใจกวา้ ง รบั ฟังความ
คดิ เหน็ ของผอู้ ่นื แลว้ พจิ ารณาคาํ ตชิ มนนั้ ๆ อย่างรอบคอบมเี หตุมผี ล โดยเฉพาะจุดอ่อนหรอื ขอ้ บกพร่อง
ในงานวจิ ยั จะต้องใชห้ ลกั วชิ าการเขา้ พจิ ารณาดว้ ยว่าเป็นจรงิ ตามคําวจิ ารณ์นัน้ หรอื ไม่ ผู้วจิ ยั มเี หตุผล
เพยี งพอในการหกั ลา้ งคาํ วจิ ารณ์ไดช้ ดั เจนหรอื ไม่ ถ้าบกพร่องจรงิ กต็ ้องยอมรบั และถอื เป็นประสบการณ์
ทใ่ี ชเ้ ป็นแนวทางปรบั ปรุงแกไ้ ขงานวจิ ยั ครงั้ ต่อไป
4. เป็นคนมีจริยธรรมและมีจรรยาบรรณของการวิจยั
การวจิ ยั เป็นงานท่ตี ้องใช้ความรู้ด้านศาสตร์และศลิ ป์ เขา้ มาช่วย นอกจากน้ีนักวจิ ยั เองจะต้อง
มจี ติ สาํ นึกในแง่ของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของการวจิ ยั ไว้ด้วย เร่อื งน้ีถือว่าเป็นคุณสมบตั ิทส่ี ําคญั
ขอ้ หน่ึงทน่ี กั วจิ ยั จะมองขา้ มไปไม่ได้ เพราะถ้านักวจิ ยั ละเลยคุณลกั ษณะขอ้ น้ีเสยี แล้ว งานวจิ ยั นนั้ อาจมี
ผลกระทบใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อผอู้ ่นื โดยเฉพาะต่อตวั อยา่ งทถ่ี ูกเลอื กมาศกึ ษาดงั ทก่ี ลา่ วมาแลว้
นักวจิ ยั ต้องซ่อื สตั ย์ต่อตนเองและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อผลของการวจิ ยั โดยต้องดาํ เนินการวจิ ยั
โดยปราศจากอคตใิ นทกุ ขนั้ ตอน ผวู้ จิ ยั ตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู และรายงานขอ้ มลู ตามทไ่ี ดป้ ฏบิ ตั จิ รงิ ตอ้ งไมร่ ายงาน
ผลการวจิ ยั ทเ่ี ป็นเทจ็ ไม่ตกแต่งขอ้ มลู หรอื รายงานผลโดยการคาดคะเนโดยไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั จิ รงิ

280

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน

นักวจิ ยั ต้องไม่แอบอ้างความคดิ ผูอ้ ่นื มาเป็นของตน ต้องอ้างอิงเจ้าของผลงานหรอื แหล่งทม่ี า
เสมอ นักวจิ ยั ต้องใหเ้ กยี รตแิ ก่ผู้ร่วมวจิ ยั และดํารงไวซ้ ่งึ ความยุติธรรมในการแบ่งความรบั ผดิ ชอบและ
ความดคี วามชอบแก่ผรู้ ่วมงาน โดยการไม่เอาเปรยี บทงั้ ดา้ นการมสี ว่ นรว่ มในงานวจิ ยั และค่าตอบแทน

นักวจิ ยั ตอ้ งรกั ษาความลบั ของผู้ใหข้ อ้ มลู โดยการไม่เปิดเผยแหล่งขอ้ มูล หรอื ปกปิดขอ้ มูลของ
ผู้ให้ขอ้ มูลเพ่ือไม่ให้ทราบว่าเป็นใคร การนําเสนอขอ้ มูลควรนําเสนอเป็นภาพรวมของกลุ่ม ทงั้ น้ีเพ่ือ
ป้องกนั ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ต่อผใู้ หข้ อ้ มลู ในภายหลงั

การเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ทุกครงั้ ควรระบุถึงผูร้ ่วมวจิ ยั และผูม้ สี ่วนช่วยเหลอื องคก์ ร หน่วยงาน
สถาบนั ทส่ี นบั สนุนการวจิ ยั เสมอ

สรปุ

เมอ่ื เสรจ็ สน้ิ การศกึ ษาวจิ ยั ควรจะไดน้ ําเสนอ ผลงานวจิ ยั ในทป่ี ระชุมวชิ าการต่าง ๆ และควรเขยี น
บทความวจิ ยั เพอ่ื สง่ ตพี มิ พ์ การเขยี นบทความควรตอ้ งสอดคลอ้ งไปกบั รปู แบบของวารสารทจ่ี ะสง่ รวมถงึ
การเลอื กลงวารสารทต่ี รงตามคาํ ถามวจิ ยั และมผี ลกระทบต่อผอู้ า่ นตามเป้าหมายไดส้ งู สดุ
การพิทกั ษ์สิทธ์ิ/จริยธรรมวิจยั ในมนุษย์

ประการท่ีหน่ึง หลกั ความเคารพในบคุ คล (Respect for person)
1.1 การเคารพในศกั ดศิ์ รี (Respect for human dignity)
1.2 การเคารพในการให้คํายนิ ยอมโดยบอกกล่าวและความเป็นอิสระ (Free and informed
consent) ในการตดั สนิ ใจ
1.3 การเคารพในศกั ดศิ์ รขี องกลุ่มเปราะบางและอ่อนแอ (Respects for vulnerable persons)
เช่น เดก็ ผถู้ ูกคมุ ขงั เป็นตน้
1.4 การเคารพในความเป็ นส่วนตัวและรักษาความลับ (Respects for privacy and
confidentiality)
ประการท่ีสอง หลกั ผลประโยชน์ (Beneficence)
2.1 การชงั่ น้ําหนกั ความเสย่ี งและผลประโยชน์ (Balancing harms and benefits)
2.2 การลดความเสย่ี งใหน้ ้อยทส่ี ดุ (Minimizing harm)
2.3 การสรา้ งประโยชน์ใหส้ งู สดุ (Maximizing benefit)
ประการที่สาม หลกั ความยุตธิ รรม (Justice) ความเทย่ี งธรรม (Fairness) และความเสมอภาค
(Equity)

281

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

เอกสารอ้างอิง

ชาํ นาญ รอดเหตุภยั . (2552). ความรพู้ ืน้ ฐานเก่ียวกบั การวิจยั . ใน: ชาํ นาญ รอดเหตุภยั , บรรณาธกิ าร.
การวจิ ยั ทางภาษาไทย หลกั การและวธิ ดี าํ เนินการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพทางภาษาไทย ไทยคดศี กึ ษา
ศกึ ษาศาสตรม์ นุษยศาสตร์ สงั คมศาสตรว์ ฒั นธรรมศาสตรแ์ ละศาสตรส์ าขาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง. กรงุ เทพฯ:
สาํ นกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .

แนวทางจรยิ ธรมการทาํ วจิ ยั ในคนแหง่ ชาติ ชมรมจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคนในประเทศไทย, พ.ศ. 2545.
อา้ งใน พเิ ชฐ สมั ปทานุกลุ (2554). หลกั การทาํ วิจยั : สู่ความสาํ เรจ็ ในการปฏิบตั ิ. ศนู ยว์ ทิ ยาการ
วจิ ยั แพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . โฟคลบั อมิ เมจ พรน้ิ ตง้ิ กรปุ๊ จาํ กดั

ภริ มย์ กมลรตั นกุล. (2550). หลกั เบอื้ งต้นในการวิจยั . ใน: ภริ มย์ กมลรตั นกุล, มนตช์ ยั ชาลาประวรรตน์,
ทวสี นิ ตนั ประยรู , บรรณาธกิ าร. หลกั การทาํ วจิ ยั ใหส้ าํ เรจ็ . กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั เทก็ ซแ์ อนดเ์ จอรน์ ลั
พบั ลเิ คชนั่ จาํ กดั .

Barron JP. (2006). The uniform requirements for manuscripts submitted to biomedical
journals recommended by the International Committee of Medical Journal Editors.
Chest, 129(4), 1098-9.

Bender AE. (1997). How to write a scientific paper. J R Soc Health, 117(1), 17-9.
Belmont Report. (1979). Ethical principles and guidelines for the protection of Human

research subjects. The national Commission for the Protection of Human Subjects of
Biomedical and Behavioral Research. Federal Report Document 79-12065, Washington.
Peh WC, Ng KH. (2006). Preparing a manuscript for submission. Singapore Med J, 50(8), 759-
61; quiz 62.
Singer AJ, Hollander JE. (2006). How to write a manuscript. J Emerg Med, 36(1), 89-93
Thompson PJ. (2007). How to choose the right journal for your manuscript. Chest, 132(3),
1073-6.
Welch HG. (1999). Preparing manuscripts for submission to medical journals: the paper trail.
Eff Clin Pract, 2(3), 131-7.

282

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน

คาํ ถามท้ายบท

1. จงอธบิ ายหลกั การเบอ้ื งตน้ ในการเขยี นรายงาน
2. รายงานการวจิ ยั ฉบบั ยอ่ หรอื นิพนธต์ น้ ฉบบั เพอ่ื สง่ ตพี มิ พใ์ นวารสารประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
3. หากตอ้ งการนําเสนอผลงานวจิ ยั ดว้ ยวาจาและโปสเตอร์ ทาํ อยา่ งไร
4. อธบิ ายการเขยี นปัญหาขอ้ เสนอแนะในรายงานการวจิ ยั
5. จงใหข้ อ้ คดิ เหน็ หากตอ้ งการตพี มิ พผ์ ลการวจิ ยั ในวารสารจะตอ้ งเลอื กวารสารอย่างไร

283

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน

ดัชนีคําศัพท์

กรอบตวั อย่าง,114 การบนั ทกึ ขอ้ มลู , 63, 208
กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั , 74 การปฏบิ ตั ,ิ 18
กรอบพน้ื ท,่ี 114 การประเมนิ ผล, 70
กรอบรายช่อื , 114 การประเมนิ วรรณกรรม, 61
กระดาษทด, 210 การเป็นตวั แทน, 21
กระบวนการ, 1 การแปรผล, 16
กระบวนการวดั , 186 การเผยแพร,่ 16
กลุ่มควบคมุ , 91 การพรรณนาปัญหาสขุ ภาพ, 31
กลมุ่ ตวั อย่าง, 113 การยอมรบั ในเชงิ นโยบาย, 34
กลมุ่ ศกึ ษา, 90 การรายงานผลการวจิ ยั , 16
การกลนั่ กรอง, 47 การเรยี บเรยี ง, 70
การกาํ หนดขนาดตวั อย่าง, 121 การเลอื กวารสาร, 275
การกาํ หนดตวั แปร, 15 การเลอื กหวั ขอ้ การวจิ ยั , 29
การกาํ หนดประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง, 16 การวดั ความเบ,้ 224
การกาํ หนดปัญหาการวจิ ยั , 4 การวดั , 183
การกาํ หนดปัญหาวจิ ยั , 33 การวดั ความคงท,่ี 166
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู , 40, 127 การวดั ความโด่ง, 225
การเขยี นโครงร่างการวจิ ยั , 37 การวดั ความเทา่ เทยี ม, 167
การโควทโดยตรง, 70 การวดั ความสอดคลอ้ งภายใน, 167
การจดั กระทาํ , 21 การวดั ตวั แปร, 145
การจดั การขอ้ มลู , 42 การวดั แบบอตั วสิ ยั , 187
การใชค้ วามคดิ , 18 การวดั ระดบั แบ่งกลมุ่ , 145
การตรวจสอบร่องรอย, 175 การวดั ระดบั อตั ราสว่ น, 146
การตงั้ สมมตฐิ าน, 15 การวดั ระดบั อนั ดบั , 146
การเตรยี มตวั เป็นนกั วจิ ยั , 279 การวดั ระดบั อนั ตรภาค, 146
การถอดความ, 70 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู , 16
การทบทวนวรรณกรรม, 61 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู , 212
การทบทวนวรรณคด,ี 61 การวเิ คราะหส์ หสมั พนั ธ,์ 232
การทบทวนเอกสาร, 15, 61 การวจิ ยั , 1
284

การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ, 6 หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พนื้ ฐาน
การวจิ ยั เชงิ ทดลอง, 103
การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร, 22 การอภปิ ราย, 272
การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ, 6 การออกแบบการวจิ ยั , 15
การวจิ ยั เชงิ พรรณนา, 6, 89 กาํ หนดจุดประสงค,์ 15
การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะห,์ 6, 88 กาํ หนดตวั บง่ ช,้ี 188
การวจิ ยั ทางคลนิ ิก, 7 กติ ตกิ รรมประกาศ, 272
การวจิ ยั นโยบายสาธารณสขุ , 9 ขอบเขตของการวจิ ยั , 52
การวจิ ยั แบบกง่ึ ทดลอง, 100 ขอบเขตดา้ นเน้ือหา, 53
การวจิ ยั แบบทดลอง, 7 ขอบเขตดา้ นพน้ื ท,่ี 54
การวจิ ยั แบบผสมผสาน, 3 ขอ้ พจิ ารณาทางจรยิ ธรรม, 34, 42
การวจิ ยั ประยกุ ต,์ 3, 22 ขอ้ มลู , 20, 225
การวจิ ยั พน้ื ฐาน, 3, 22 ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ, 227
การวจิ ยั เพอ่ื ประเมนิ ผล, 11 ขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณ, 227
การวจิ ยั เพ่อื สบื คน้ หาขอ้ มลู , 88 ขอ้ มลู ดบิ , 203
การวจิ ยั ระบบสาธารณสขุ , 8 ขอ้ มลู ทุตยิ ภมู ,ิ 226
การวจิ ารณ์วรรณคด,ี 61 ขอ้ มลู นกั วจิ ยั , 38
การศกึ ษาความคุม้ ค่า, 274 ขอ้ มลู ปฐมภมู ,ิ 226
การศกึ ษาเฉพาะราย, 155 ขอ้ มลู ระดบั จลุ ภาค, 230
การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพ, 274 ขอ้ มลู สถติ ,ิ 223
การศกึ ษาระยะยาว, 90 ขนั้ ตอนการวจิ ยั , 13
การสรุปความ, 70 ควอไทล,์ 225
การสงั เกตการณ์, 153 ความกลมกลนื , 265
การสนทนากล่มุ , 154 ความคงท,่ี 192
การสาํ รวจเอกสาร, 61 ความคลาดเคลอ่ื นเชงิ ระบบ, 185
การสมุ่ , 21 ความเชอ่ื ใจ, 175
การสมุ่ ตวั อย่าง, 114 ความตรง, 21, 158
การสมุ่ ตวั อย่างแบบกลมุ่ , 117 ความตรงเชงิ โครงสรา้ ง, 158
การสมุ่ ตวั อย่างแบบงา่ ย, 115 ความตรงเชงิ เน้อื หา, 158
การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบแบง่ ชนั้ ภมู ,ิ 117 ความตรงตามเกณฑส์ มั พนั ธ,์ 158
การสมุ่ ตวั อย่างแบบไมย่ ดึ สดั สว่ น, 117 ความตรงในการวจิ ยั , 105
การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบหลายขนั้ ตอน, 117 ความตรงภายนอก, 105
การสมุ่ ตวั อย่างอย่างเป็นระบบ, 116 ความตรงภายใน, 105
การใหร้ หสั ขอ้ มลู , 204 ความถูกตอ้ งเชงิ โครงสรา้ ง, 165
ความถูกตอ้ งเชงิ ตวั สรา้ ง, 196
ความถูกตอ้ งเชงิ ทาํ นายผล, 165
285

หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พนื้ ฐาน เชงิ อรรถ, 269
ฐานขอ้ มลู สาํ เรจ็ รปู , 67
ความถูกตอ้ งตามสภาพปัจจบุ นั , 164 ฐานนยิ ม, 214
ความเทย่ี ง, 21, 159 ดชั นสี ถานการณ์, 56
ความน่าจะเป็น, 113 ตวั แปร, 20, 41, 139
ความน่าเชอ่ื ถอื , 196 ตวั แปรกด,142
ความเป็นไปได,้ 33 ตวั แปรกวน, 186
ความแมน่ ตรง, 193 ตวั แปรคมุ , 141
ความแมน่ ตรงเชงิ เกณฑส์ มั พนั ธ,์ 195 ตวั แปรตน้ , 141
ความแมน่ ตรงปัจจบุ นั , 195 ตวั แปรต่อเน่อื ง, 140
ความแมน่ ตรงพยากรณ์, 195 ตวั แปรตาม, 140
ความยาก, 159 ตวั แปรแทรก, 142
ความรบั รอง, 176 ตวั แปรเป็นชว่ งมาตรา, 237
ความวางใจ, 174 ตวั แปรแฝง, 190
ความสาํ คญั , 187 ตวั แปรพน้ื หลงั , 186
ความสาํ คญั ของปัญหา, 32 ตวั แปรภายนอก, 141
ค่าการเสย่ี ง, 91 ตวั แปรไม่ต่อเน่ือง, 140
ค่าคลาดเคล่อื นมาตรฐานของคา่ เฉลย่ี , 225 ตวั แปรรบกวน, 141
ค่าความถ,่ี 212 ตวั แปรสว่ นประกอบ, 141
คา่ ความยากงา่ ยของขอ้ คาํ ถาม, 192 ตวั แปรสงั เกตได,้ 190
คา่ เฉลย่ี , 225 ตวั อย่าง, 20, 224
คา่ แปรปรวน, 225 ตวั อยา่ งสมุ่ , 21
คา่ มธั ยฐาน, 214 ตารางไขว,้ 213
คา่ สถติ ,ิ 224 ตารางจาํ ลอง, 212
ค่าสงั เกต, 20 ตาํ รา, 66
ค่าอาํ นาจจาํ แนกของคาํ ถาม, 192 ทฤษฎคี ะแนนจรงิ , 190
คาํ นิยามปฏบิ ตั กิ าร, 20 เทคนิคการเขยี น, 54
คาํ นยิ ามศพั ท,์ 54 เทคโนโลยสี ารสนเทศ, 66
คาํ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ, 55 ธรรมชาตขิ องประชากร, 122
คุณลกั ษณะของนกั วจิ ยั , 19 นยั สาํ คญั แบบสองทาง, 231
โครงการวจิ ยั , 21 นพิ นธต์ น้ ฉบบั , 263
งบประมาณการวจิ ยั , 43 นิยามปฏบิ ตั กิ าร, 55
งานวจิ ยั เชงิ ทดลอง, 87 แนวคดิ , 19
งานวจิ ยั เชงิ สงั เกต, 87 แนวทาง, 269
จรรยาบรรณของนกั วจิ ยั , 18 286
จรยิ ธรรมการวจิ ยั , 276

บทคดั ยอ่ , 270 หลกั การวจ� ยั สาธารณสุขขนั้ พน้ื ฐาน
บทนํา, 39, 271
บทบาทของการวจิ ยั , 9 ระดบั ของการวดั , 188
แบบจาํ ลองการวดั , 184 ระดบั ความมนี ยั สาํ คญั , 21
แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู , 208 ระดบั มหภาค, 230
แบบสอบถาม, 149 ระเบยี บวธิ วี จิ ยั , 41
แบบสมั ภาษณ,์ 152 รายงานการวจิ ยั , 66
ประชากร, 20, 111, 224 รปู แบบ, 269
ประชากรทวั่ ไป, 111 รปู แบบของการวจิ ยั , 41, 270
ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา, 112 วตั ถุประสงค,์ 40
ประชากรเป้าหมาย, 112 วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั , 47
ประเดน็ จรยิ ธรรม, 187 วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ, 40
ประเภทการวจิ ยั , 87 วสั ดุ และวธิ กี าร, 271
ประเภทของงานวจิ ยั , 5 วสั ดตุ พี มิ พ,์ 66
ประเภทชว่ ง, 206 วารสาร, 66
ประเภทสมุ่ , 206 วเิ คราะหร์ ปู แบบขอ้ มลู , 64
ประเภทอนั ดบั , 206 วจิ ารณ์, 272
ประเมนิ เอกสาร, 73 วทิ ยานิพนธ,์ 66, 263
ประสทิ ธภิ าพตวั ลวง, 192 วธิ กี ารกาํ หนดตวั แปร, 145
เปอรเ์ ซน็ ตไ์ ทล,์ 223 วธิ กี ารเขยี นเอกสาร, 69
ผลการวจิ ยั , 268 วธิ กี ารวจิ ยั , 268
แผนการบรหิ ารโครงการ, 43 วธิ แี บ่งครง่ึ , 167
แผนงานดาํ เนินการวจิ ยั , 42 วธิ สี มั ประสทิ ธอิ์ ลั ฟา, 169
พารามเิ ตอร,์ 224 สถติ เิ ชงิ พรรณนา, 224
พสิ ยั , 225 สถติ เิ ชงิ อนุมาน, 224
พสิ ยั ควอไทล,์ 225 สถติ บิ รรยาย, 223
ภาคผนวก, 268 สถติ เิ บอ้ื งตน้ , 224
ภูมหิ ลงั , 267 สถติ แิ บบนอนพาราเมตรกิ , 224
ภูมหิ ลงั และสถานการณ์, 39 สถติ แิ บบพาราเมตรกิ , 224
มาตรวดั กลมุ่ , 228 สถติ อิ า้ งองิ , 223
มาตรวดั ช่วง, 229 สมมตฐิ าน, 230
มาตรวดั อตั ราสว่ น, 229 สมมตฐิ านทางการวจิ ยั , 230
มาตรวดั อนั ดบั , 228 สมมตฐิ านทางสถติ ,ิ 231
รวบรวมความร,ู้ 73 สรปุ , 272
สงั เคราะหข์ อ้ มลู , 62
สมั ประสทิ ธคิ์ วามแปรผนั , 225
287

หลกั การวจ� ยั สาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐาน Coefficient of variation, 225
Comment, 272
สารานุกรม, 66 Component variables, 141
สง่ิ ทดลอง, 21 Computer select, 67
สอ่ื โสตทศั น,์ 64 Conclusion, 272
หน่วยวจิ ยั , 20 Concurrent validity, 164, 195
หน้าทข่ี องวตั ถุประสงค,์ 48 Conformability, 176
หลกั การเขยี นวตั ถุประสงค,์ 48 Confounding variables, 141
หอ้ งสมดุ อตั โนมตั ,ิ 66 Construct validity, 158, 165, 196
หวั ขอ้ สาํ หรบั การวจิ ยั , 31 Continuous variable, 140
องคป์ ระกอบรายงานวจิ ยั , 266 Control or comparison group, 89
อาชวี อนามยั และความปลอดภยั , 3 Control Variables, 141
อาํ นาจจาํ แนก, 159 Controls, 93
เอกสารอา้ งองิ , 44, 272 Criterion-Related Validity, 158, 164
Abstract, 270 Cross tabulation, 213
Accidental, 121 Cross-culture Cd, 67
Acknowledgement, 272 Cross-sectional study, 87, 90, 91
Action research, 21 Dao, 67
Agricola, 67 Data Entry, 208
Alpha-Coefficient, 169 Data, 20
Analytical Studies, 90 Dependent variable, 140
Animal Experiment, 97 Descriptive research, 6, 89
ANOVA, 249 Descriptive statistics, 224
Applied Research, 21 Determination of sample size, 121
Area Frame, 114 Difficulty, 159
Asfa, 67 Discontinuous variable, 140
Audit Trail, 175 Discrete, 140
Background variable, 186 Discrimination power, 159
Background, 267 Discussion, 272
Basic Research, 22 Disproportional sampling, 117
Case Study, 155 Dissertation, 263
Cases, 94 Documentation, 208
Chi-Square, 232 Dummy table, 212
Cluster Sampling, 117 Effectiveness study, 274
Coding, 204 288


Click to View FlipBook Version