The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปแบบการสอนที่ประสบความสำเร็จ 2564 โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pimyodying, 2022-09-11 01:21:09

Best practice 2564

รูปแบบการสอนที่ประสบความสำเร็จ 2564 โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย

ภำพกำรจดั กำรสอบปลำยภำคเรียนท่ี 2/2564 แบบ On Line ควบคู่ On – Site
ระหว่ำงวันที่ 14 – 23 มนี ำคม 2565

โดยนำงธญั พร คำนวล ครปู ระจำชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 2/1





รูปแบบการสอนที่ประสบผลสาเร็จ

นางสาวนภสั วรรณ แซงยะ
ตำแหนง่ ครู คศ.1

โรงเรยี นวดั แมแ่ กด้ นอ้ ย อำเภอสนั ทราย จงั หวัดเชยี งใหม่
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 2

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1. ขน้ั เตรยี ม 2. ข้นั จดั การ
ความพรอ้ ม เรยี นการสอน
แบบออนไลน์

3. ขั้นพบปะนักเรยี น 4. ขนั้ วัดผลและ
และผ้ปู กครอง ประเมินผลในการ

เพ่อื นัดหมายส่งงาน จดั การเรยี นการสอน
2 สัปดาห์ 1 ครั้ง แบบออนไลน์

โรงเรยี นวดั แมแ่ ก้ดนอ้ ย

รายงาน

การจดั การเรยี นการสอน On demand

ประจาเดอื นพฤศจิกายน 2564

นางสาวธมลวรรณ แซงยะ

ตาแหน่ง ครู

โรงเรยี นวดั แมแ่ ก้ดนอ้ ย

สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำเชยี งใหม่ เขต 2

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

รายงาน

การจดั การเรียนการสอน

On demand

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

สปั ดาหท์ ี่ 1 1 2 3 45 นางสาวธมลวรรณ แซงยะ
พฤศจกิ ายน 2564

รายละเอียดการสอน ส่ือ/เอกสารประกอบการสอน

วิชาคณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3

เป็นสัปดาห์ของการสอบ
ปลายภาคเรียนที่ 1 ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 โดยครูได้จัดทา
คลิปอธิบายสาหรับการสอบ เพื่อ
สนับสนุนให้นักเรียนที่มีปัญหาด้าน
การอ่าน การเขียน ยังไม่คล่อง
สามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเอง
ซึ่งวิชาคณิตศาสตร์จะมีข้อสอบทั้ง
แบบปรนัยและอัตนัย คะแนนรวม
ทั้งหมด 30 คะแนน

Application ท่ีใชใ้ นการสอน จานวนนกั เรยี นทั้งหมด

137 คน

รายงาน

การจดั การเรยี นการสอน

On demand

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

สปั ดาหท์ ่ี 2 8 9 10 11 12 นางสาวธมลวรรณ แซงยะ
พฤศจกิ ายน 2564

รายละเอยี ดการสอน สื่อ/เอกสารประกอบการสอน

วชิ าคณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

เนื้อหาที่สอน : เรื่องการคูณ

ตัวชี้วัด : หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน
ประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของ
จานวน 1 หลักกับจานวนไม่เกิน 4 หลัก
และจานวน 2 หลักกับจานวน 2 หลัก

สาระการเรียนรู้ :
การหาผลคูณของจานวนหนึ่งหลักกับ

100 200 … 900 และการหาผลคูณของ
จานวนหนึ่งหลักกับ 1,000 2,000 …
9,000

การหาผลคูณของจานวนหนึ่งหลักกับ
จานวนสามหลัก สี่หลักโดยการตั้งคูณ

Application ทีใ่ ชใ้ นการสอน จานวนนกั เรยี นท้ังหมด

137 คน

รายงาน นางสาวธมลวรรณ แซงยะ
พฤศจกิ ายน 2564
การจัดการเรียนการสอน

On demand
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

สปั ดาหท์ ่ี 3 15 16 17 18 19

รายละเอียดการสอน ส่ือ/เอกสารประกอบการสอน

วชิ าคณติ ศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3

เนื้อหาที่สอน : เรื่องการคูณ ( 2 )

ตัวชี้วัด : หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน
ประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของ
จานวน 1 หลักกับจานวนไม่เกิน 4 หลัก
และจานวน 2 หลักกับจานวน 2 หลัก

สาระการเรียนรู้ :
การหาผลคูณของจานวนหนึ่งหลักกับ

จานวนสี่หลัก สี่หลักโดยการตั้งคูณ
การหาผลคูณของจานวนสองหลักกับ

10 20 30 … 90
การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน

ประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณ

Application ที่ใชใ้ นการสอน จานวนนกั เรียนท้ังหมด

137 คน

รายงาน นางสาวธมลวรรณ แซงยะ
พฤศจกิ ายน 2564
การจัดการเรียนการสอน

On demand
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

สปั ดาหท์ ่ี 4 22 23 24 25 26

รายละเอียดการสอน สื่อ/เอกสารประกอบการสอน

วชิ าคณติ ศาสตร์

ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3

เนื้อหาที่สอน : เรื่องการหาร

ตัวชี้วัด : หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่
ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลัก ตัวหาร 1 หลัก

สาระการเรียนรู้ :
การหาผลหารและเศษที่ตัวตั้งสอง

หลัก ตัวหารและผลหารหนึ่งหลักโดย
การหารยาว

การหาผลหารและเศษที่ตัวตั้งสอง
หลักและสามหลัก ตัวหารหนึ่งหลัก
และผลหารสองหลักโดยการหารยาว

Application ท่ใี ชใ้ นการสอน จานวนนกั เรียนทัง้ หมด

137 คน

รายงาน นางสาวธมลวรรณ แซงยะ

การจดั การเรียนการสอน 2 3 ธนั วาคม 2564

On demand
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

สปั ดาหท์ ี่ 5 29 30 พฤศจกิ ายน 2564 1

รายละเอยี ดการสอน ส่ือ/เอกสารประกอบการสอน

วิชาคณติ ศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3

เนื้อหาที่สอน : เรื่องการหาร ( 2 )

ตัวชี้วัด : หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่
ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลัก ตัวหาร 1 หลัก

สาระการเรียนรู้ :
การหาผลหารและเศษที่ตัวตั้งไม่เกิน

สี่หลักและตัวหารหนึ่งหลักโดยการหาร
สั้น

การหาผลหารและเศษที่ตัวตั้งไม่เกิน
สี่หลักและตัวหารหนึ่งหลักโดยการหาร
สั้น ( มีเศษ )

Application ที่ใช้ในการสอน จานวนนักเรียนทัง้ หมด

137 คน

การจดั การเรยี นการสอน On demand

ประจาเดอื น ธนั วาคม 2564

นางสาวธมลวรรณ แซงยะ

ตาแหนง่ ครู

โรงเรยี นวัดแม่แกด้ น้อย

สำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำเชียงใหม่ เขต 2

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร

On demand

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

สปั ดาห์ท่ี 6 ระหวา่ งวันท่ี 6 – 10 ธันวาคม 2564

วชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3

นางสาวธมลวรรณ แซงยะ รายละเอียดการสอน

ครผู สู้ อน เนื้อหาที่สอน : การวัดความยาว
ตัวชี้วัด : การเลือกใช้เครื่องวัดความยาวที่
Application ที่ใช้ในการสอน
เหมาะสม วัดและบอก ความยาวของสิ่งต่างๆ
เปน็ ซม. และ มม. ม. และ ซม.

คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็น ซม.

เปรียบเทียบความยาวระหว่าง ซม. กับ มม.
ม. กับ ซม. กม. กับ ม. จากสถานการณ์ต่างๆ

สาระการเรียนรู้ :

การวัดความยาวเปน็ ซม. กับ มม.
ความยาวเป็น ม. กับ ซม. กม. กับ ม.
การเลือกเครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม
การคาดคะเนความยาวเป็น ม. และเป็น ซม.
การเปรียบเทียบความยาว

สอ่ื /เอกสารประกอบการสอน

https://youtu.be/dKOswlNHOAg

On demand

ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

สัปดาหท์ ่ี 7 ระหวา่ งวันท่ี 13 – 17 ธันวาคม 2564

วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3

นางสาวธมลวรรณ แซงยะ รายละเอียดการสอน

ครผู สู้ อน เนื้อหาที่สอน : การวัดความยาว (2)
ตัวชี้วัด : แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์
Application ทใ่ี ช้ในการสอน
ปญั หาเกี่ยวกับความยาว ที่มีหน่วยเป็น
เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ
เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร

สาระการเรียนรู้ :

โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับความยาว

สอ่ื /เอกสารประกอบการสอน

https://youtu.be/6XfrV2pQAws

On demand

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

สปั ดาห์ท่ี 8 ระหว่างวันท่ี 20 – 24 ธนั วาคม 2564

วิชาคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3

นางสาวธมลวรรณ แซงยะ รายละเอยี ดการสอน

ครูผู้สอน เนื้อหาที่สอน : การวัดนํ้าหนัก
ตัวชี้วัด : เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม
Application ท่ใี ชใ้ นการสอน
วัดและบอกน้ําหนักเป็นกิโลกรัมและขีด
กิโลกรัมและกรัม

คาดคะเนน้ําหนักเป็นกิโลกรัมและเปน็ ขีด
เปรียบเทียบน้ําหนักระหว่างกิโลกรัมกับ
กรัมเมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์
ต่างๆ

สาระการเรียนรู้ :

การวัดน้ําหนักเปน็ กิโลกรัมและขีด
กิโลกรัมและกรัม การเลือกเครื่องชั่งที่
เหมาะสม การคาดคะเนนํ้าหนักเปน็ กิโลกรัม
และเป็นขีด

สอ่ื /เอกสารประกอบการสอน

https://youtu.be/naRsOYh9GmA

รายงาน

การจดั การเรียนการสอน On demand

ประจาเดอื น มกราคม 2565

นางสาวนภัสวรรณ แซงยะ

ตาแหน่ง ครู

โรงเรียนวดั แมแ่ ก้ดน้อย

สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 2

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร

รายงานผลการจดั การเรยี นการสอน

On demand

สปั ดาหท์ ่ี 9 ระหวา่ งวนั ท่ี 10 - 14 มกราคม 2565
วชิ าคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3

รายละเอยี ดการสอน

นางสาวนภสั วรรณ แซงยะ เนื้อหาที่สอน : การวัดน้าหนัก (คลิปที่ 2)

ครูผ้สู อน ตัวชี้วัด : แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์
ปัญหาเกี่ยวกับน้าหนักที่มีหน่วยเปน็
Application ทใ่ี ช้ในการสอน กิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม

สาระการเรียนรู้ :
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการวัดน้าหนัก

สื่อ/เอกสารประกอบการสอน

รายงานผลการจดั การเรยี นการสอน

On demand

สัปดาห์ท่ี 10 ระหว่างวันท่ี 17 – 21 มกราคม 2565
วิชาคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3

รายละเอยี ดการสอน

นางสาวนภสั วรรณ แซงยะ เนื้อหาที่สอน : การวัดปริมาตร

ครผู ู้สอน ตัวชี้วัด : เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม
วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็น
Application ทใี่ ช้ในการสอน ลิตรและมิลลิลิตร

คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร

สาระการเรียนรู้ :
การวัดปริมาตรและความจุเปน็

มิลลิลิตร การวัดปริมาตรและความจุเปน็
ลิตรและมิลลิลิตร การเลือกเครื่องตวงที่
เหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและ
ความจุเป็นลิตร

สอื่ /เอกสารประกอบการสอน

รายงานผลการจดั การเรยี นการสอน

On demand

สปั ดาห์ที่ 11 ระหว่างวันที่ 24 – 28 มกราคม 2565
วิชาคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3

รายละเอียดการสอน

นางสาวนภสั วรรณ แซงยะ เนื้อหาที่สอน : การวัดปริมาตร (คลิปที่ 2)

ครูผู้สอน ตัวชี้วัด : แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์
ปญั หาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มี
Application ที่ใชใ้ นการสอน หน่วยเปน็ ลิตรและมิลลิลิตร

สาระการเรียนรู้ :
โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับปริมาตรและ

ความจุ

สื่อ/เอกสารประกอบการสอน



บนั ทึกขอความ

สว นราชการ โรงเรยี นวัดแมแ กด นอย อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม
ท…ี่ ………….……./2565 วันท่ี 4 เมษายน พ.ศ. 2565
เร่ือง สง รายงานเทคนิควิธีการสอนท่ปี ระสบผลสำเรจ็ ในสถานการโควิด 19
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เรียน ผูอำนวยการโรงเรยี นวัดแมแกดนอ ย

ดว ยขาพเจา นางวลัยลักษณ เปง แสนหนู ตำแหนง ครู โรงเรยี นวดั แมแ กดนอย ไดจ ดั ทำรายงาน
เทคนิควธิ กี ารสอนท่ปี ระสบผลสำเร็จในสถานการโควิด 19 สำหรบั นกั เรยี นประถมศึกษาปท ่ี 3 ในรายวิชาท่ี
ไดรบั มอบหมายในจดั การเรียนการสอน มวี ตั ถปุ ระสงคเ พ่ือพัฒนาการเรียนการสอนใหกับผเู รียนใหมี
ประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผลใหไดมากทส่ี ดุ

บัดนี้ ขา พเจาจงึ ขอสง รายงานเทคนิควธิ กี ารสอนที่ประสบผลสำเร็จในสถานการโควดิ 19 ตาม
เอกสารแนบทาย

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา

ลงชอื่ ................... ................................ผรู ายงาน
(นางวลยั ลกั ษณ เปง แสนหนู)

ความเห็นของผูบริหาร

ความเหน็ ของรองผูอำนวยการกลุมบรหิ ารงานวิชาการ ความเหน็ ของผูอำนวยการ
.......................................................................................... .....................................................................................
.......................................................................................... .....................................................................................
.......................... ............................................................... .....................................................................................

ลงช่อื ........................................................ ลงชือ่ .............................................
(นางสาวปรยี าภทั ร บุรมยชัยสนิ ) (นายณรงค ลุมมา)

รองผอู ำนวยการกลุมบรหิ ารงานวชิ าการ ผอู ำนวยการโรงเรียนวัดแมแ กด นอย

เทคนคิ วธิ ีการสอนท่ีประสบผลสำเรจ็
อดั คลิปวดี ีโอชว ยสอน
“COVID-19” (โควิด-19) เปนโรคอุบัติใหมที่เริ่มระบาดทั่วโลกในเดือนธันวาคม ปพ.ศ.2562 โดย

ไดรับรายงานครั้งแรกจากนครอูฮั่น มณฑลหูเปย สาธารณรัฐประชาชนจีน ตอมาพบการระบาดเปนวงกวาง
มากกวา 100 ประเทศทั่วโลกในระยะเวลาอันรวดเรว็ (WHOThailand, 2020) และประเทศไทยไดประกาศให
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปนโรคติดตออันตรายตาม พระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 ที่ตองมีการ
เฝา ระวงั ปอ งกนั และควบคุมโรคอยางเขมงวด โดยตรวจพบผูปว ยมีอัตราการติดเชื้อเพิ่มมากข้นึ ถึง 3,716 คน
หรืออัตราการเพิ่มขึ้นของผูติดเชื้อ 10-15คน/วัน ทั้งนี้ รัฐบาลไดประกาศสถานการณฉุกเฉินเมื่อวันที่ 25
มีนาคม 2563 เพื่อเปนการปองกันและควบคุมการระบาดของโรคโควิด-19 โดยกำหนดแนวทางการปองกัน
โรคดวยการงดการเดินทางไปที่ชุมชน การเวนระยะหางทางสังคม(Social Distancing) ใสหนากากอนามัย
ลางมือบอ ย ๆ และปฏิบัติตามคำแนะนำเกี่ยวกบั อนามัยทางเดนิ หายใจ (กรมควบคุมโรค, 2563)

ท้ังนี้ รฐั บาลไทยไดกำหนดใหมจี ัดการเรียนการสอนแบบออนไลนแทนการเขา เรยี นในช้นั เรยี น โดยยึด
หลัก“การมีเอกภาพดานนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ” เพื่อใหผูเรียน มีสมรรถนะและมี
คุณภาพที่สอดคลองตามหลักสูตรกำหนด โดยใหมีการแบง กลุมผูเรียนเปน กลุมรายวิชาสลับเวลาเรียนรู แบบ
Online หรอื On Air เพือ่ ลดภาระการจดั หองเรยี นในสถานศึกษา

เนื่องจากสถานศึกษาหลายแหงมีพื้นที่จำกัดแตมีจำนวนนักเรียนมาก ไมสามารถขยายหองเรียน
ออกไปได สวนกลุมรายวิชาที่มีความเขมขนทางวิชาการมาก จะไมสามารถใชรูปแบบการเรียนการสอน
ดังกลาวได จึงตองมีการจัดการเรียนรูแบบ Onsite ในพื้นที่ที่มีความปลอดภัย และใหผูบริหารสถานศึกษามี
อิสระ ในการบริหารจัดการศึกษาเอง เชน การจัดหองเรียน การจัดพื้นที่โรงอาหาร แตตองเปนไปตาม
มาตรการเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) (คณะกรรมาธิการการศึกษา, 2563) มหาวิทยาลัย
รามคำแหง เดิมมกี ารจัดการเรยี นการสอนแบบตลาดวชิ า นน่ั คือ การผสมผสานระหวา งการเรยี นแบบชั้นเรียน
บรรยายกับการเรยี นรูด ว ยตนเองผานสื่อการสอนในรูปแบบตา ง ๆ เชน การถา ยทอดสดการเรียนการสอนจาก
หองเรียนผานเครือขายอินเทอรเนต็ (RU Cyber classrooms) การบรรยายยอนหลังผานเน็ตไดทุกทีท่ ุกเวลา
ทุกอุปกรณ (m-Learning) และการศึกษาดวยตนเองผานทางการอานตำรา (ขาวมหาวิทยาลัยรามคำแหง,
2563) ในสวนของคณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรการศึกษาเปนบัณฑิตสายวิชาชีพครู
และนักเรียนทางจิตวิทยา เปนกลุมรายวิชาที่มีความเขมขนทางวิชาการมาก และจำเปนตองมีการฝก
ปฏบิ ัติการภายใตก ารกำกับของอาจารยผ สู อน โดยการมีสว นรว มในชน้ั เรียนของกระบวนวิชาตา ง ๆ เพ่ือใหเ กิด
ทกั ษะปฏบิ ัติการทด่ี แี ตส ถานการณโ รคระบาดโควิด-19 สงผลใหก ารจัดการเรียนการสอนเปน ไปอยางจำกดั ทำ
ใหเ กดิ ผลกระทบตอการปรบั ตัวและความเครียดของนักเรียนตามมาในหลาย ๆ ดา น เชน ดา นการเรียน พบวา
อาจารยผูสอนตองปรับเปลี่ยนรปู แบบการเรียนการสอน ไมสามารถดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนไดอยา ง
เต็มที่เชนเคย สวนนักเรียนถูกจำกัดจำนวนในการเขาชั้นเรียน สงผลตอประสิทธิภาพการเรียนรู ดานสังคม
นักเรยี นไมส ามารถรวมกจิ กรรมตาง ๆ ที่ตอ งทำรวมกันในชั้นเรียนได เนอื่ งจากตองเวน ระยะหา งทางสังคม ใน
การติดตอสือ่ สารทุกรูปแบบ (เทื้อน ทองแกว, 2563) ดานอารมณ พบวานักเรียนมีความเครียดและวิตกกังวล
เกี่ยวกับการติดเชื้อโควิด-19 เมื่อตองเขารวมเรียนในชั้นเรียนที่มีนักเรียนเรียนรวมกันจำนวนมาก (กานต
จำรูญโรจน, 2563) และดา นการเขารว มกจิ กรรมตาง ๆของมหาวิทยาลยั ท่ีมคี วามจำเปน ในการจัด จะตองทำ
กิจกรรมทางสังคมหางกัน 1-2 เมตรใสหนากากอนามัยตลอดเวลาในทุกกิจกรรม สรางความกังวลและความ
ยากลำบากในการเขารว มกิจกรรม

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณโลกในเรื่องของโรคระบาด ทำใหบุคคลตองปรับตัวให
สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เพื่อใหสามารถดำเนินชีวิตไดตามปกติภายใตการเอาชนะความกังวล
เกี่ยวกับการติดเชื้อ เชน การใสหนากากอนามัยตลอดเวลาเมื่ออยูในที่ชุมชน การลางมือการงดกิจกรรมในที่
ชุมนุมชน และการเวนระยะหางระหวางบุคคล เปนตน ตามทฤษฎีการปรับตัวของ (Rogers, 1967) กลาววา
บุคคลที่ปรับตัวได คือ บุคคลที่เปนตัวของตัวเอง เขาใจยอมรับตนเองและผูอื่น รวมทั้ง สามารถรับรู
ประสบการณตาง ๆ ตามความเปนจริง สามารถนำประสบการณนั้นมาจัดใหสอดคลองกับโครงสรางหรือ
บุคลิกลักษณะของตนอยางไมขัดแยงหรือบิดเบือน สวนบุคคลที่ปรับตัวไมได จะมีความขัดแยงระหวาง
ความคิดเกี่ยวกับตนกับประสบการณท ีเ่ กิดขึ้นมาใหมอยางมาก ทำใหเกิดความตึงเครยี ด วิตกกังวล สับสน ไม
แนใจ สญู เสียความเปนตัวของตวั เอง และมีความคิดเก่ยี วกับตนเองในทางลบ หากบคุ คลไมสามารถปรับตัวให
สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาวได จะสงผลโดยตรงตอสุขภาพกายและสุขภาพจิตของบุคคลนั้น ๆ อีก
ท้งั ยงั สง ผลตอการเรียนและความสำเรจ็ ทางการศึกษาของนักเรียนอีกดว ย การปรับตัว จงึ ถอื เปน เรื่องสำคัญที่
นำพาบุคคลไปสกู ารดำเนนิ ชวี ิตอยา งปกติสขุ ตอ ไป

เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 (Coronavirus Disease 2019) ทำให
โรงเรียนวัดแมแกดนอยไดปดสถานศึกษา และไมสามารถเปดการเรียนการสอนไดตามปกติ ขาพเจาจึงใช
รปู แบบในการเรียนการสอน คืออดั คลิปวีดโี อชว ยสอน ในระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 3 ในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร
รายวิชาสังคมศึกษา และรายวิชาประวัติศาสตร ในแตละสัปดาหจะอัดคลิปวีดีโอ ลงในกลุมไลนใหกับ
ผปู กครอง แลว ใหนักเรยี นทำงานตามคลปิ วีดโี อท่ีนกั เรยี นไดดูแตล ะสัปดาห แลวมีกำหนดในการสง งานคือ จะ
สง งานทุก 2 อาทติ ย เพ่ือใหค รูนำงานมาตรวจสอบและดูพัฒนาการเรยี นการสอนของนกั เรียน

วธิ ดี ำเนินการ

อดั คลิปวิดิโอ / Upload วดิ ีโอลง Youtube

ส่ง Link ทางกลมุ่ ไลนข์ องผปู้ กครองใหก้ บั นกั เรียน
นกั เรียนเรียนและทาํ งานตามคลิปวีดีโอ

ส่งงานทกุ ๆ 2 อาทิตย์

ครูนาํ งานกลบั ไปตรวจและดูพฒั นาการการเรียนของนกั เรียน/ประเมินผลการ
เรียน

ประโยชนจากการเรยี นการสอนแบบอดั คลปิ วีดีโอชวยสอน ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3
1. ผูปกครองสามารถเปด ดวู ดี โี อชว ยสอนยอ นหลงั ใหน กั เรยี นดูได
2. เหมาะสมสำหรบั ผูป กครองทไ่ี มมีเวลาสอนนักเรยี น
3. สามารถยอนดูวีดีโอชว ยสอนยอ นหลงั ได
4. สามารถดวู ดี ีโอชว ยสอนก่ีคร้งั กไ็ ด
5. สามารถดวู ดี โี อชว ยสอนที่ไหน เวลาไหนก็ได

ภาคผนวก



กจิ กรรมการเรียนของนักเรยี น

วดี โี อช่วยสอนและชอ่ งทางการรบั ชม





เทคนคิ การสอนทีป่ ระสบผลสาเร็จ
ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์

นายทวีป กนั ทวี
ตาแหนง่ ครู คศ.1
โรงเรียนวดั แมแ่ กด้ นอ้ ย

เทคนคิ การสอนทปี่ ระสบความสำเร็จในการสอนวชิ าการงานอาชีพ

วิชาการงานอาชีพ ในการจดั การเรียนการสอนแบบปกตเิ ปน็ วิชาทีเ่ น้นใหน้ กั เรียนได้ลงมือปฏบิ ัติ เชน่ การ
ทำงานบา้ น การทำอาหาร การทำขนม การทำงานประดิษฐ์ เปน็ ต้น แตเ่ น่อื งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควดิ 19 ทำใหน้ กั เรยี นตอ้ งเรียนออนไลนท์ บ่ี ้าน ซง่ึ ครผู ู้สอนตอ้ งปรบั เนอื้ หาในการสอนให้เหมาะสมกบั รูปแบบ
การเรยี นแบบออนไลนโ์ ดยสว่ นใหญแ่ ล้วจะเปน็ การสอนเนื้อหา ข้าพเจา้ จึงได้ออกแบบการสอนทใ่ี หผ้ ู้เรยี นได้ลงมือ
ปฏบิ ัติแบบงา่ ยๆ ดงั นี้

การเยบ็ ผ้าด้วยวิธีต่างๆ ในช่วงแรกไดท้ ำการสาธิตให้นักเรียนดทู าง Google Meet ซง่ึ พบวา่ เมอ่ื สอนเสร็จ
แล้วนกั เรียนมกั จะมีคำถามเก่ียวกบั วิธกี ารเย็บผา้ เชน่ การขมวดปมด้าย การเรมิ่ เยบ็ การเก็บดา้ ย เป็นต้น ผู้สอน
จึงจดั ทำคลปิ การสอนวิธีการเยบ็ ผา้ ประกอบดว้ ย การเนาผ้า การสอยซอ่ นดา้ ย การดน้ ตะลุย และการด้นถอยหลัง
จากนั้นอัพโหลดวีดีโอลงบน YouTube และส่งให้นักเรียนทาง Facebook หรือ Messenger เพื่อให้นักเรียนดู
ประกอบการทำงาน อีกทั้งสามารถย้อนกลับไปดูในขั้นตอนที่ไม่เข้าใจได้ ผลการสอนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่
สามารถทำได้ถูกต้องตามขั้นตอน อย่างไรก็ตาม การสอนงานปฏิบัตนิ ้ันความรับผิดชอบของนักเรยี นมสี ่วนสำคัญ
เพราะจากการสงั เกตการสง่ งานของนกั เรยี นพบว่านกั เรยี นห้อง 1 ส่วนมากจะส่งงานครบ สว่ นนักเรียนห้อง 2 และ
หอ้ ง 3 จะส่งงานเพียงบางสว่ น

คลปิ การสอนเกย่ี วกับการเย็บผ้า

1. การเนาเท่ากัน

ผลงานนักเรยี น “การเนาเทา่ กนั ” สง่ งานออนไลนใ์ นกล่มุ Facebook

2. การสอยซ่อนดา้ ย
ผลงานนกั เรยี น “การสอยซอ่ นด้าย” ส่งงานออนไลนใ์ นกลุ่ม Facebook

3. การด้นตะลยุ และการดน้ ถอยหลงั

ผลงานนกั เรยี น “การดน้ ตะลยุ และการดน้ ถอยหลงั ” ส่งงานออนไลนใ์ นกล่มุ Facebook

การสอนวชิ าจัดดอกไม้ เน่อื งจากไม่สามารถให้นักเรียนเตรยี มวสั ดุ-อุปกรณใ์ นการฝกึ จดั ดอกไม้ได้
เนอ่ื งจากจะทำให้สน้ิ เปลืองคา่ ใช้จ่ายของผปู้ กครอง จงึ ไดท้ ำคลิปการสอนปักโครงสร้างของการจัดดอกไม้ทรงตา่ งๆ
ทใ่ี ชบ้ อ่ ย รว่ มกับการมอบหมายงานให้นักเรยี นเขยี นแผนผงั ของการปักดอกไม้แต่ละทรง เมื่อเรียนครบทัง้ 3 แบบ
ไดแ้ ก่ ทรงสามเหลี่ยม ทรงครึง่ วงกลม และทรงกลมแล้ว ใหน้ ักเรียนเตรียมอุปกรณ์ในการจัดดอกไม้ ได้แก่ ดอกไม้
สด พาน และโอเอซสิ ซึ่งโอเอซิสผู้สอนไดท้ ำการแบ่งเปน็ ชิน้ ให้นกั เรยี นมารับท่โี รงเรยี นหนา้ หอ้ งการงานอาชีพ
และจ่ายเงินช้นิ ละ 5 บาท เพ่อื ช่วยลดค่าใช้จา่ ย
4. คลปิ การสอนเกยี่ วกับการจดั ดอกไม้

ผลงานนักเรยี น “การจดั ดอกไมส้ ด” สง่ งานออนไลนใ์ นกล่มุ Facebook

เทคนคิ การสอนทป่ี ระสบผลสาเร็จ
ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์

นางรงุ่ นภา เมอื งอินทร์
ตาแหนง่ ครชู านาญการพิเศษ

โรงเรียนวัดแมแ่ กด้ นอ้ ย

เทคนิคการสอนทป่ี ระสบความสำเรจ็ ในการสอนวิชาดนตรี - นาฏศลิ ป์

ในช่วงปดิ เรียนเพ่ือปอ้ งกันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการ
สอนที่โรงเรียนตามปกติได้ ข้าพเจ้าจึงได้ทำการปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการเรียน
ออนไลนเ์ พื่อใหน้ ักเรยี นสามารถเรยี นรู้ได้ในช่วงปดิ เรียน ผ่านแอพลเิ คชนั Google Meet และได้จดั ทำสื่อการสอน
ได้แก่ Power Point ที่สามารถนำเสนอผ่านออนไลน์ประกอบด้วยเนื้อหาการสอน รูปภาพและวีดีโอที่สามารถ
สอดแทรกประกอบการสอนได้

Power Point การสอนวชิ าดนตรี นาฏศิลป์

1. ดนตรี

2.

2 . การผลติ สื่อวีดีโอ
การผลิตส่ือวีดโี อ เพอ่ื ใช้ประกอบการสอนในชั่วโมงเรียนและสง่ ให้นักเรยี นดยู ้อนหลังนอกเวลาเรียนได้ทุก

ที่ทุกเวลา โดยผู้สอนได้ถ่ายทำวีดีโอการสอน ทำการตัดต่อให้กระชับ ชัดเจน น่าสนใจ จากนั้นอัพโหลดลงใน
เวบ็ ไซต์ยูทปู จากนั้นส่งลิงค์ใหน้ กั เรยี นเข้าชม เพ่ือให้ทำงานปฏิบัติตามตวั อย่างหรอื สามารถค้นควา้ ในอินเทอร์เน็ต
เพ่มิ เตมิ ไดต้ ามความคิดสร้างสรรค์

วดี โี อเรอ่ื ง นาฏยศัพท์การจีบ

วีดีโอเรื่อง รำวงมาตรฐาน

วีดโี อเรอื่ ง ไม้ดอกไม้ประดับ
วีดีโอเร่อื ง การปลูกไมด้ อกไมป้ ระดบั

ผลงานนักเรยี นสง่ งานออนไลน์


Click to View FlipBook Version