The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปแบบการสอนที่ประสบความสำเร็จ 2564 โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pimyodying, 2022-09-11 01:21:09

Best practice 2564

รูปแบบการสอนที่ประสบความสำเร็จ 2564 โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย

0

การวิเคราะหค์ ุณภาพการจัดการเรยี นการสอนและรปู แบบการสอน
ท่เี ปน็ แบบอยา่ งในสถานการณโ์ ควดิ -19 วิชาวิทยาศาสตร์
ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

นางสาวรสรนิ พนั ธุ
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชานาญการ
ครูผสู้ อน/ครปู ระจาวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

โรงเรยี นวัดแม่แก้ดนอ้ ย อ.สันทราย จ.เชยี งใหม่
สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2

1

บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนวดั แมแ่ กด้ น้อย ตำบลปำ่ ไผ่ อำเภอสันทรำย จังหวัดเชียงใหม่

ที.่ ............/2565 วนั ท่ี 1 เดอื นเมษำยน พ.ศ. 2565

เรอ่ื ง กำรวเิ ครำะห์คณุ ภำพกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนและรปู แบบกำรสอนท่เี ปน็ แบบอยำ่ งในสถำนกำรณโ์ ควิด-19

วิชำวิทยำศำสตร์ ระดับช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 3

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เรยี น ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนวัดแม่แกด้ นอ้ ย

ดว้ ย นำงสำวรสรนิ พันธุ ตำแหน่ง ครู วิทยฐำนะครูชำนำญกำร โรงเรยี นวัดแมแ่ ก้ดนอ้ ย รบั ผดิ ชอบ

หน้ำที่ครูประจำชั้น / ครูประจำวิชำวทิ ยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ี่ 3 ได้รับมอบหมำยให้ติดตำมผลกำรจัด

กำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่ำ 2019 (COVID-19) จึงขอรำยงำน

กำรวิเครำะห์คณุ ภำพกำรจดั กำรเรียนกำรสอน และรูปแบบกำรสอนท่ีเป็นแบบอยำ่ งในสถำนกำรณ์โควิด-19

วิชำวิทยำศำสตร์ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 3 ดงั รำยละเอียดตำมแบบรำยงำนแนบท้ำย

จงึ เรยี นมำเพือ่ โปรดทรำบ

ลงชื่อ
( นำงสำวรสรนิ พนั ธุ )

........1.../......เมษำยน........../......65......
ขอ้ คดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

ลงชอ่ื ...............................................
(นางสาวพิมพพ์ ร ยอดยิ่งชนชีพ)
รองผ้อู านวยการกลมุ่ งานวชิ าการ

ข้อคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

ลงชอ่ื ...............................................
(นำยณรงค์ ลมุ มำ)

ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดแม่แกด้ น้อย

2

คานา

ตำมท่ี สถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) ซง่ึ ทำใหโ้ รงเรยี นไม่
สำมำรถดำเนินกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนได้ตำมปกตนิ ั้น เพอื่ ใหเ้ กิดควำมพร้อมในกำรดำเนินกำรตำมภำรกิจ
ดงั กลำ่ ว จึงจดั ใหม้ ีกำรจดั กำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรน่ำ 2019 (COVID-
19) จงึ ดำเนนิ กำรวเิ ครำะหค์ ณุ ภำพกำรจดั กำรเรียนกำรสอนและรูปแบบกำรสอนที่เปน็ แบบอย่ำงในสถำนกำรณ์
โควดิ -19 วิชำวิทยำศำสตร์ ระดับช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี 3 เพ่อื เป็นประโยชน์ในกำรนำไปเป็นฐำนข้อมลู สำรสนเทศใน
กำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนต่อไป

รสริน พนั ธุ
ผรู้ ำยงำน

3

สารบัญ

เรอื่ ง หน้า

บันทกึ ขอ้ ควำม 1

คำนำ 2

สำรบัญ 3

กำรวิเครำะหค์ ณุ ภำพกำรจดั กำรเรียนกำรสอน 4

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของผ้วู เิ ครำะห์ 4

ส่วนท่ี 2 ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ำกกำรปฏบิ ตั ิ 4

1. รูปแบบวธิ ีกำรสอน 5

2. จุดแข็ง/กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนที่ทำไดด้ ี คืออะไร ทำได้อย่ำงไร 8

3. จดุ อ่อน/ปัญหำอปุ สรรคทีเ่ กิดข้ึนในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน คืออะไร และแก้ไขปัญหำอยำ่ งไร 9

4. ท่ำนได้เรยี นร้/ู ประสบกำรณ์ใหม่ๆ อะไร จำกกำรจดั กำรเรียนกำรสอนในคร้ังน้ี 9

5. ขอ้ เสนอแนะ เพ่อื ใหก้ ำรจัดกำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณ์ COVID-19 เกดิ ประสทิ ธภิ ำพ 10

6. รปู แบบกำรสอนใหม่/นวตั กรรมท่ีเกดิ ขนึ้ จำกกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนในปกี ำรศึกษำน้ี 10

7. ควำมพงึ พอใจตอ่ กำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนในปกี ำรศกึ ษำนี้ 10

รปู แบบกำรสอนทีเ่ ปน็ แบบอยำ่ งในสถำนกำรณโ์ ควดิ -19 วิชำวทิ ยำศำสตร์ ระดับชั้นมธั ยมศึกษำปที ี่ 3 11

4

การวิเคราะห์คุณภาพการจดั การเรียนการสอนและรปู แบบการสอนที่เปน็ แบบอย่าง
ในสถานการณโ์ ควดิ -19 วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

*************************************************

คาช้แี จง

ดว้ ยโรงเรยี นวัดแม่แกด้ น้อยได้กำหนดรูปแบบกำรเรียนกำรสอนประจำภำคเรยี นท่ี 1/2564 และ
ภำคเรยี นท่ี 2/2564 ดว้ ยรปู แบบ On-Hand On-Demand และ Online ซึง่ ครูผูส้ อนไดเ้ ลือกรูปแบบทส่ี อดคลอ้ ง
กับควำมพร้อมและควำมต้องกำรของนักเรยี น ผูป้ กครองนั้น

ข้อมลู สำรสนเทศในครงั้ นี้จะเป็นประโยชนอ์ ยำ่ งย่ิง ต่อกำรจดั กำรศึกษำของโรงเรยี น เพอ่ื ใช้เป็นแนวทำง
และรปู แบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณด์ ังกล่ำวในภำยภำคหนำ้ ต่อไป

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้วเิ คราะห์

ชื่อ-สกุล นำงสำวรสรนิ พนั ธุ ตำแหนง่ ครู วิทยฐำนะ ครูชำนำญกำร
โรงเรียนวดั แม่แก้ดน้อย อ.สันทรำย จ.เชยี งใหม่
สงั กดั สำนกั งำนเขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต2

รายวชิ าทีร่ บั ผดิ ชอบ ชน้ั จานวนนกั เรยี น หมายเหตุ
ที่ ชอื่ รายวิชา ม.3/1-ม.3/3 79 คน
1 วทิ ยาศาสตร์ ว 23101- ว 23102 25 คน
2 แนะแนว ม.3/2 25 คน
3 ชุมนุมวทิ ยาศาสตร์ ม.1-ม.3 25 คน
4 ลกู เสือเนตรนารี ม.3/2

ส่วนที่ 2 ข้อมลู ที่ได้จากการปฏิบตั ิ

1. รปู แบบวิธีการสอนของท่าน

ในกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนวชิ ำวทิ ยำศำสตร์ จะดำเนนิ กำรจดั กจิ กรรมภำยใต้พน้ื ฐำนบริบทและ

ควำมพรอ้ ม ตลอดจนตำมควำมเหมำะสมของเน้ือหำและขีดควำมสำมำรถของผเู้ รยี น ทง้ั นี้นักเรยี นสามารถเขา้ ถงึ

ความรใู้ นเนือ้ หาทางวิทยาศาสตรไ์ ดต้ ามความเหมาะสมหรอื ความพรอ้ มของตนเอง

รูปแบบการสอน รายละเอียดการดาเนนิ การ ผลทไ่ี ด้

1.การเรียนแบบ ON ขนั้ ตอนวางแผน 1. นักเรียนสำมำรถเขำ้ ถึง
1. วเิ ครำะห์สภำพสถำนกำรณ์ขอ้ ดขี ้อเสีย ขดี จำกดั ใน กำรเรียนกำรสอนไดถ้ งึ แมจ้ ะ
Line เปน็ การเรียน กำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน รวมท้งั สภำพและ เกดิ สถำนกำรณก์ ำรแพร่
ผ่านอนิ เตอร์เนต็ ขีดควำมสำมำรถในกำรเข้ำเรียนของนกั เรียน ระบำดของไวรัสโควิด 19

5

2. พิจำรณำโปรแกรมออนไลนท์ เ่ี หมำะสมในกำรเรียน 2. นกั เรียนมีผลกำรเรยี น

กำรสอน On-Line เชน่ Zoom, Google Meet ฯลฯ คุณลกั ษณะและเจตคตใิ น

ท้งั น้ีโปรแกรมทเี่ ลือกใช้ คอื ระบบ Google meet กำรเรียนวทิ ยำศำสตรอ์ ยู่ใน

ลง้ิ ค์ในกำรเขำ้ เรียน คอื ระดับมำกทีส่ ดุ

วทิ ยาศาสตร์ ม.3_ครรู สรนิ พนั ธุ

1 พฤศจิกายน 2021 – 31 มนี าคม 2022

ขอ้ มลู การเขา้ รว่ ม Google Meet

ลิงก์วิดโี อคอล: https://meet.google.com/dfq-

ohyh-fnd

3. พจิ ำรณำเลือกโปรแกรมเสริมในกำรเรยี นที่

เหมำะสมและสะดวกต่อกำรจดั กิจกรรมกำรเรียน

กำรสอน เช่น โปรแกรมกำรเชค็ ชื่อนักเรียนหรือควำม

สม่ำเสมอในกำรเข้ำเรยี นตลอดชั่วโมงจะใช้ Meet

Attendance Monitor

4. กำรศึกษำเพม่ิ เติมจำกเพอ่ื นครถู ึงวิธกี ำรต้ังรหัสหอ้ ง

ทใ่ี ชน้ กั เรยี นสำมำรถเขำ้ เรียนได้ตลอดโดยใชล้ ิ้งคเ์ พยี ง

รหสั เดยี ว อกี ท้งั กำรอนมุ ัตเิ ขำ้ เรียนของนกั เรียนโดย

อตั โนมตั ิ

ขั้นตอนดาเนินการ

1. จัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนใหก้ ับนักเรยี นตำม

ตำรำงเรียนท่ีวชิ ำกำรกำหนด

2. มีกำรกระตุน้ กำรเรยี นกำรสอนโดยใช้สือ่ ที่

หลำกหลำย ไดแ้ ก่

2.1 บรรยำยเน้อื หำดว้ ย PowerPoint ที่มี

รูปภำพประกอบ

2.2 เปิด VDO เนื้อหำควำมรูจ้ ำกเวปต์ “Project

14 นำสู่ควำมปกติใหมท่ ำงกำรศกึ ษำ (New Normal

Education)”

2.3 ใช้เกมผำ่ นเวป Baamboozle เพื่อทบทวน

ควำมรเู้ นือ้ หำท่ีนกั เรียนไดเ้ รียนต้งั แต่ตน้ ช่ัวโมง

2.4 ใช้ Wordwall เพือ่ กระตนุ้ กำรโต้ตอบของ

นักเรียน

2.5 ใช้สถำนกำรณจ์ ำลองด้วยโปรแกรม PhET

Interactive Simulations ชว่ ยในกจิ กรรมกำรทดลอง

ทำงวทิ ยำศำสตร์

2.6 ใช้ส่อื 65 พรรษำ รว่ มในกำรจดั กจิ กรรม

กำรเรียนกำรสอน

6

3. ในกำรสอบ จะใช้ Google form
4. ในกำรส่งงำนของนกั เรียน จะใช้ Line กลมุ่
ห้องเรยี น
ขนั้ ตรวจสอบ ตดิ ตาม
1. ตรวจสอบเชค็ ช่ือนกั เรียนหรอื ควำมสมำ่ เสมอใน
กำรเขำ้ เรียนตลอดชัว่ โมงของนกั เรยี นจะใช้ Meet
Attendance Monitor ซ่ึงรำยงำนออกเป็นไฟล์
Excel ทปี่ ระกอบด้วยชอ่ื นกั เรยี น กำรเขำ้ -ออก ของ

นกั เรยี นกี่คร้ังในช่ัวโมงนัน้ ๆ และสรปุ ออกมำในรูป
ค่ำเฉลยี่ และเปอร์เซ็นต์
2. กำรวัดผลประเมินนกั เรียนด้ำนควำมรู้โดยใช้
กำรทดสอบท้ำยบทผำ่ นจะใช้ Google form
3. ตรวจสอบกำรสง่ งำนของนกั เรยี น โดยใช้ Line
กลุม่ ห้องเรียน และสรำ้ งอัลบมั้ งำนแตล่ ะชน้ิ
4. ตรวจสอบกำรโต้ตอบและกำรมีส่วนรว่ มของ
นักเรียน ผำ่ นกำรพิมพ์ในช่องแชทใน Meet กำรเปิด
หน้ำกล้องและเปดิ ไมคใ์ นกำรตอบคำถำมและยกควิ
5. ประเมินควำมพึงพอใจในกำรเรยี นของนกั เรียนโดย

ใช้ Google form เพื่อรับฟงั ผลกำรจัดกิจกรรม
กำรเรียนกำรสอน และสะทอ้ นผลจำกนกั เรียน
เพ่อื กำรพัฒนำกำรเรยี นกำรสอนตอ่ ไป
ข้นั สรปุ ผล
1. นกั เรียน ม.3 มีกำรเขำ้ เรยี นอยำ่ งสม่ำเสมอ
จำนวน 44 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.70 ไม่เขำ้ เรียน
จำนวน 35 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 44.30
2. นักเรียน ม.3 มคี วำมรูใ้ นวชิ ำวทิ ยำศำสตร์
ผ่ำนทดสอบดำ้ นควำมรู้ ผำ่ นเกณฑ์ จำนวน 78 คน

คิดเปน็ ร้อยละ 98.73 ไม่ผำ่ นเกณฑ์ จำนวน 1 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 1.27
3. นกั เรียน ม.3 มีกำรโต้ตอบและมสี ว่ นร่วมใน
กำรเรียน จำนวน 44 คน คิดเปน็ ร้อยละ 55.70
ไมเ่ ข้ำเรียน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 44.30
4. นกั เรยี น ม.3 มีกำรส่งงำนอยำ่ งสมำ่ เสมอ
จำนวน 66 คน คดิ เป็นร้อยละ 83.54 ไมส่ ่งงำน
จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 16.46
5. นักเรียน ม.3 มคี วำมพึงพอใจในกำรเรยี นกำรสอน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

7

2.การเรยี นแบบ ON ขน้ั ตอนวางแผน 1. นกั เรยี นสำมำรถเขำ้ ถงึ
1. วิเครำะห์สภำพสถำนกำรณ์ข้อดขี ้อเสีย ขีดจำกัดใน กำรเรยี นกำรสอนไดถ้ ึง
Demand เปน็ การ กำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน รวมทัง้ สภำพและ แม้จะเกิดสถำนกำรณก์ ำร
เรียนผา่ น ขดี ควำมสำมำรถในกำรเขำ้ เรียนของนักเรยี น แพร่ระบำดของไวรสั โควิด 19
Application 2. พจิ ำรณำช่องทำงกำรเขำ้ ถึงความรใู้ นเนื้อหาทาง 2. นักเรียนมผี ลกำรเรียน
คณุ ลักษณะและเจตคตใิ น
วทิ ยาศาสตร์ของนกั เรยี นไดต้ ามความเหมาะสมหรอื กำรเรียนวทิ ยำศำสตรอ์ ยใู่ น
ความพร้อมของตนเอง ระดับมำกทส่ี ดุ
ขัน้ ตอนดาเนนิ การ

1. มกี ำรสร้ำงเพจห้องเรยี นวทิ ยำศำสตร์ครูดำว เพ่ือ
อัพโหลด ใบควำมรู้, VDO, แบบฝกึ หดั , PowerPoint
ให้นักเรยี นเข้ำเรยี น ในกรณที ่ีนักเรียนเขำ้ เรียน On
line ไมท่ ันหรือใช้ทบทวนควำมรู้
2. มกี ำรเพ่ิมช่องทำงกำรเขำ้ ถึงเนือ้ หำกำรสอน โดย
สร้ำง Google Site ท่ปี ระกอบดว้ ยเนอ้ื หำ ใบงำน
ลง้ิ ค์กำรเขำ้ ถึงขอ้ สอบ เกม อน่ื ๆ ท่ีใชใ้ นกำรจดั
กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนทง้ั หมด
3. มีกำรจัดทำ VDO กำรสอน โดยอพั ผ่ำนช่องทำง
Youtube ครรู สริน พนั ธุ ทั้งนจ้ี ะแปะล้งิ ค์ไวก้ บั

เวปไซตข์ องโรงเรียน
ขน้ั ตรวจสอบ ติดตาม
1. กำรวัดผลประเมินนักเรียนดำ้ นควำมรูโ้ ดยใช้
กำรทดสอบทำ้ ยบทผ่ำนจะใช้ Google form
2. ตรวจสอบกำรส่งงำนของนักเรยี น โดยใช้ Line
กล่มุ หอ้ งเรียน และสร้ำงอัลบ้ัมงำนแต่ละชิน้ ตลอดจน
กำรสง่ งำนในแอปพลเิ คชนั้ ท่สี ร้ำงขนึ้ ให้แก่นกั เรียน
3. ประเมนิ ควำมพงึ พอใจในกำรเรยี นของนักเรียนโดย
ใช้ Google form เพ่ือรับฟงั ผลกำรจดั กจิ กรรมกำร

เรยี นกำรสอน และสะท้อนผลจำกนักเรียน เพื่อกำร
พัฒนำกำรเรยี นกำรสอนตอ่ ไป
4. กำรเข้ำศกึ ษำควำมรขู้ องนกั เรียนโดยใชแ้ นบภำพ
กำรเขำ้ เพจหรอื ช่องทำงควำมรู้วิชำวิทยำศำสตร์ใน
รูปแบบตำ่ งๆ โดยใช้ Google form
ขน้ั สรุปผล
1. นักเรยี น ม.3 มคี วำมร้ใู นวิชำวิทยำศำสตร์
ผ่ำนทดสอบด้ำนควำมรู้ ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน 78 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 98.73 ไม่ผำ่ นเกณฑ์ จำนวน 1 คน

คดิ เปน็ ร้อยละ 1.27

8

2. นักเรียน ม.3 มกี ำรสง่ งำนอยำ่ งสม่ำเสมอ

จำนวน 66 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 83.54 ไมส่ ง่ งำน

จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 16.46

3. นักเรียน ม.3 มคี วำมพึงพอใจในกำรเรียนกำรสอน

คิดเปน็ ร้อยละ 100

3.การเรียนแบบ ON ขั้นตอนวางแผน 1. นักเรียนสำมำรถเข้ำถงึ

Hand เปน็ การเรียน 1. วิเครำะห์สภำพสถำนกำรณ์ข้อดขี ้อเสยี ขีดจำกดั ใน กำรเรียนกำรสอนได้ถงึ แมจ้ ะ
ท่บี ้านโดยหนังสอื กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน รวมท้ังสภำพและ เกิดสถำนกำรณก์ ำรแพร่
เรยี น ใบความรู้ ขดี ควำมสำมำรถในกำรเขำ้ เรียนของนักเรียน ระบำดของไวรสั โควิด 19

แบบฝึกหัด 2. มอบหนงั สือเรยี นและหนังสือแบบฝกึ หัดให้กับ 2. นักเรียนมผี ลกำรเรียน

นกั เรยี นทกุ คน คณุ ลักษณะและเจตคติใน

ขั้นตอนดาเนินการ กำรเรียนวทิ ยำศำสตรอ์ ยใู่ น

1. แจ้งงำนใหน้ ักเรียนผ่ำนแอปกล่มุ หรือครูประจำช้ัน ระดบั มำกทีส่ ดุ

2. ให้นักเรียนศกึ ษำหำควำมรู้จำกในหนังสือเรียน

วิทยำศำสตร์ ม.3

ขั้นตรวจสอบ ตดิ ตาม

1. นักเรียนฝำกเพ่อื นสง่ งำนโดยถำ่ ยรปู งำนที่ทำใน

กลมุ่ Line สง่ งำนของห้องเรียน

2. ครผู สู้ อนแจง้ วนั เวลำนดั หมำยให้นกั เรยี นมำพบ

ครผู สู้ อน เพ่อื ติดตำมงำน

3. กำรสอบวัดควำมรู้จะให้ทำแบบทดสอบทีจ่ ดั ทำใน

รปู แบบเอกสำร

**ท้ังน้ีในกำรวัดผลและตดิ ตำมงำนของนักเรียนใน

กลมุ่ นี้ จะมีควำมเขม้ ข้นนอ้ ยกว่ำกล่มุ นกั เรยี นที่มี

ควำมพร้อม และจะมีค่ำคะแนนที่ไมเ่ หมอื นกบั

นักเรียนทีเ่ ขำ้ เรยี นในรูปแบบอื่นๆ

ขน้ั สรุปผล

1. นกั เรยี นสำมำรถเรียนรู้เนือ้ หำควำมรไู้ ดเ้ หมือน

เพอ่ื น

2. นักเรยี นสำมำรถสง่ งำนได้ตำมช่วงเวลำท่ีกำหนด

2. จุดแข็ง/การจัดการเรียนการสอนท่ีทาได้ดี คอื อะไร ทาได้อยา่ งไร

2.1 จดุ แขง็

1. นกั เรยี นมีทำงเลอื กในกำรเข้ำถึงเนอ้ื หำวิชำวิทยำศำสตรไ์ ด้ทุกรปู แบบและตำมศักยภำพของ

ตนเอง

2. ครูมีควำมพร้อมในกำรพัฒนำตนเอง พัฒนำส่อื กำรเรียนรู้ท่ที นั สมัย

3. นักเรียนมคี วำมสขุ และตื่นเต้นกบั รูปแบบกำรเรียนรแู้ บบใหม่ๆ

9

2.2 ทำได้อยำ่ งไร (วิเครำะห์ใหค้ รอบคลมุ ตั้งแต่เร่มิ -ส้ินสดุ กำรปฏิบัติ)
1. วเิ ครำะหส์ ภำพสถำนกำรณ์ขอ้ ดขี ้อเสีย ขดี จำกดั ในกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน รวมท้ัง

สภำพและขดี ควำมสำมำรถในกำรเข้ำเรยี นของนกั เรยี น
2. พจิ ำรณำรูปแบบกำรเรียนกำรสอนที่เหมำะสม โดยจำแนกออกเป็น 3 แบบ คอื 1) กำรเรียน

แบบ ON Line เปน็ กำรเรียนผำ่ นอนิ เตอร์เน็ต 2) กำรเรียนแบบ ON Demand เปน็ กำรเรียนผำ่ น Application
และ 3) กำรเรยี นแบบ ON Hand เปน็ กำรเรียนที่บ้ำนโดยหนังสือเรียน ใบควำมรู้ แบบฝึกหัด ทั้งนี้นักเรียน
สำมำรถเขำ้ ถึงควำมรู้ในเนอ้ื หำทำงวิทยำศำสตร์ได้ตำมควำมเหมำะสมหรอื ควำมพรอ้ มของตนเอง

3. จดั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนให้กับนกั เรยี นตำมรูปแบบต่ำงๆ
4. ตรวจสอบติดตำมนกั เรียนตำมรปู แบบกำรเรียนกำรสอนทกี่ ำหนดไว้ ทงั้ น้ีหำกนกั เรียนคนใดที่
ไมส่ ำมำรถเรียนได้ตำมท่ีกำหนดไว้ จะแจ้งครปู ระจำชั้นให้ดำเนินกำรติดตำมและวำงกรอบงำนให้ดำเนินกำร แต่
หำกนกั เรียนไมส่ ำมำรถดำเนินกำรเรียนกำรสอนได้ จะพิจำรณำให้ผลกำรเรียน คอื ร เพอื่ ใหน้ ักเรยี นกลับมำแกไ้ ข
ในภำคเรยี นถัดไป
5. กำรสรุปผล มีกำรประชุมผลกำรดำเนนิ ให้กบั ทำงฝำ่ ยบรหิ ำรโรงเรยี น และร่วมกบั คณะครูใน
ระดับช้ันมัธยม เพือ่ รำยงำนสภำพกำรเรียนกำรสอนที่ผ่ำนมำ ปัญหำ อปุ สรรค และแนวทำงกำรแกไ้ ข รวมท้ัง
มำตรกำรสำหรบั นักเรยี นท่ีไมเ่ ข้ำเรียนเลย

3. จดุ ออ่ น/ปัญหำอปุ สรรคท่ีเกิดขึ้นในกำรจดั กำรเรียนกำรสอน คืออะไร และแกไ้ ขปัญหำอยำ่ งไร
3.1 จุดออ่ น/ปัญหำอปุ สรรค
เนอ่ื งจำกวชิ ำวิทยำศำสตร์ เปน็ เนือ้ หำท่ีบำงเน้อื หำตอ้ งมีกำรทดลองและนักเรียนต้องลงมือ

ปฏิบตั เิ พื่อค้นพบควำมร้ดู ้วยตนเอง ด้วยสถำนกำรณด์ งั กลำ่ วจงึ ไมส่ ำมำรถจัดกิจกรรมกำรทดลองได้
3.2 แกไ้ ขปัญหำอยำ่ งไร
1. ครผู ู้สอนจดั กำรทดลองผ่ำนกำรเรียนออนไลน์ใหน้ ักเรยี นศึกษำและสังเกต
2. ครเู ปดิ คลิปกำรทดลองในเนื้อหำน้นั ๆ
3. ครผู ้สู อนปรับเปลีย่ นเนอื้ หำทมี่ คี วำมเหมำะสมมำจัดกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนก่อนในภำค

เรยี นน้ี และเนอื้ หำทม่ี กี ำรทดลองปรับเปล่ยี นไปใช้ในภำคเรียนถัดไป เผอื่ สถำนกำรณจ์ ะดขี นึ้ และกลบั มำเรียนได้
ตำมปกติ

4. ท่ำนไดเ้ รยี นร/ู้ ประสบกำรณ์ใหม่ๆ อะไร จำกกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนในคร้ังน้ี
1. ครไู ด้พัฒนำตนเองโดยเตรยี มควำมพรอ้ มในกำรสอนรูปแบบใหม่
2. ครไู ด้พัฒนำสอ่ื /นวัตกรรม และช่องทำงกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนท่นี ักเรยี นสำมำรถ

เขำ้ ถึงไดต้ ำมขดี ควำมสำมำรถของตนเอง
3. ครไู ด้เสรมิ ทกั ษะกำรออกแบบหน่วยกำรเรยี นรู้ เทคนิคกำรสอนในสถำนกำรณท์ ี่ไม่ปกติ

เทคนคิ กำรใช้คำถำมกระตุ้นควำมสนใจ เลือกใช้ส่ือหรือแอปพลิเคชั่นทีด่ ึงดดู ควำมสนใจและเหมำะสมกับผู้เรียน
ทำให้กำรเรียนรแู้ ต่ละหนว่ ยไดม้ คี ุณภำพมำกขึ้น

10

5. ขอ้ เสนอแนะ เพื่อให้กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนในสถำนกำรณ์ COVID-19 เกดิ ประสทิ ธิภำพ หำกโรงเรียน
ตอ้ งปิดอกี คร้งั
1. จัดอบรมใหก้ บั ครผู ้สู อนในรูปแบบกำรเรยี นกำรสอนทีเ่ หมำะสมกบั นักเรยี น และสถำนกำรณ์
2. อำนวยควำมสะดวก/สนับสนนุ เก่ียวกบั วัสดอุ ุปกรณใ์ นกำรจัดกจิ กรรมกำรสอนในรูปแบบต่ำง ๆ

6. รปู แบบกำรสอนใหม่/นวตั กรรมท่เี กดิ ข้นึ จำกกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนในปีกำรศกึ ษำน้ี
1. ส่อื กำรเรียนกำรสอนในรปู แบบออนไลน์ เชน่ E-book
2. กำรสรำ้ งคลิปกำรสอนโดยใชโ้ ปรแกรมตำ่ ง ๆ กำรตัดตอ่ วิดโี อ ฯลฯ

7. ควำมพึงพอใจต่อกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนในปีกำรศึกษำน้ี
โดยภำพรวมมคี วำมพึงพอใจในกำรเรียนกำรสอนในภำคเรียนน้ี ทั้งน้คี ิดวำ่ ไดด้ ำเนินกำรจัดกิจกรรมกำร

เรยี นให้กบั นักเรียนดว้ ยช่องทำงทหี่ ลำกหลำย เพอื่ ใหน้ ักเรียนไดเ้ ขำ้ ถงึ เนอื้ หำควำมรู้มำกที่สุด และดำเนนิ กำรจัด
กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนเตม็ ตำมศักยภำพแล้ว

11

รูปแบบการสอนที่เป็นแบบอยา่ งในสถานการณ์โควดิ -19
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
*************************************

เน่ืองจำกสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนำ 2019 ส่งผลใหก้ ำรจัดกำรเรียนกำรสอน
ในรูปแบบปกติไม่สำมำรถดำเนินกำรได้ ดังนน้ั เป็นควำมท้ำทำยอย่ำงมำกทจ่ี ะทำให้กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
สำมำรถดำเนนิ ไปไดอ้ ย่ำงต่อเนอ่ื ง อีกทั้งในกำรจัดกิจกรรมต้องคำนึงถึงควำมแตกต่ำงและควำมพรอ้ มของนักเรียน
มำกท่ีสุด ดังนั้นในวิชำวิทยำศำสตร์ ชนั้ ม.3 จงึ มกี ำรวำงแผนและดำเนินกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนจำนวน
3 รปู แบบ คือ

1. กำรเรยี นแบบ ON Line เปน็ กำรเรียนผ่ำนอนิ เตอรเ์ น็ต
2. กำรเรยี นแบบ ON Demand เป็นกำรเรียนผ่ำน Application
3. กำรเรียนแบบ ON Hand เป็นกำรเรียนทีบ่ ้ำนโดยหนงั สือเรยี น ใบควำมรู้ แบบฝกึ หดั
ทัง้ น้ีนกั เรยี นสำมำรถเขำ้ ถึงควำมรู้ทำงวทิ ยำศำสตร์ไดต้ ำมควำมเหมำะสมหรือควำมพร้อมของตนเอง

ภำพ บรรยำกำศในกำรเรียน On-Line

12

Application ที่ชว่ ยในกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน เชน่ เพจวิทยำศำสตร์ครดู ำว, Line กลมุ่ , Google site
การจดั การเรียนการสอนแบบ ON Line ในวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั ม.3

ในกำรเรยี นกำรสอนวิชำวทิ ยำศำสตร์ ครูผสู้ อนจะให้นกั เรียนเขำ้ เรียนผ่ำนระบบ Google meet และ
มีกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนทใ่ี ช้ Application ท่ีชว่ ยในกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนเสรมิ ในกำรสอน เชน่

1. ในกำรเชค็ ชือ่ นกั เรียนหรอื ควำมสมำ่ เสมอในกำรเขำ้ เรยี นตลอดชว่ั โมงจะใช้ Meet Attendance
Monitor

13

2. มกี ำรกระตุ้นกำรเรยี นกำรสอนโดยใช้สื่อทีห่ ลำกหลำย เชน่
2.1 บรรยำยเนือ้ หำด้วย PowerPoint ท่มี ีรปู ภำพประกอบ

2.2 เปดิ VDO เน้อื หำควำมรจู้ ำกเวป “Project 14 นำสู่ควำมปกตใิ หม่ทำงกำรศกึ ษำ (New
Normal Education)”

14
2.3 ใชเ้ กมผ่ำนเวป Baamboozle เพอื่ ทบทวนควำมร้เู นอื้ หำท่นี ักเรียนไดเ้ รียนต้งั แต่ต้นชว่ั โมง

15

2.4 ใช้ Wordwall เพื่อกระตุ้นกำรโตต้ อบของนักเรยี น

2.5 ใช้สถำนกำรณ์จำลองดว้ ยโปรแกรม PhET Interactive Simulations ช่วยในกิจกรรมกำรทดลองทำง
วทิ ยำศำสตร์

16

2.6 ใช้สอื่ 65 พรรษำ รว่ มในกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน

3. ผลการสอบวชิ าวิทยาศาสตร์
ผลกำรสอบเกบ็ คะแนนย่อย

ผลการทดสอบวชิ าวิทยาศาสตร์ เร่ือง พนั ธศุ าสตร์ ชัน้ ม.3

100 96.43
90
80 73.91
70 59.09
60
50 40.91
40 26.09
30
20 3.57
10
0
ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3

สอบผา่ น สอบไมผ่ า่ น

17

ผลการทดสอบวชิ าวิทยาศาสตร์ เร่ือง ระบบนิเวศ ชนั้ ม.3

90 89.29

80

70 65.22 64

60

50 34.78 36

40

30

20 3.57
10

0
ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3

สอบผา่ น สอบไมผ่ ่าน

ผลการทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟ้า ชนั้ ม.3

90 84.62
80

70 60 64
60

50 40
40

30 15.38 7.69
20

10

0
ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3

สอบผ่าน สอบไมผ่ า่ น

การเปรียบเทียบร้อยละนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระหวา่ งภาคเรียนท่ี 1 และภาคเรยี นที่ 2
วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564

การเปรียบเทียบร้อยละการผ่านเกณฑ์การประเมนิ ชนั้ ม.3

100 100 100 100 100 92.31

80

60 53.85

40

20

0
ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3

เทอม1 เทอม2

18
การจัดการเรยี นการสอนแบบ ON Line ในวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ัน ม.3

มีกำรอัพโหลด ใบควำมรู้, VDO, แบบฝึกหัด, PowerPoint ให้นกั เรียนเขำ้ เรยี นผ่ำนเพจวิทยำศำสตร์
ครูดำว ในกรณีที่นักเรียนเข้ำเรยี น On line ไมท่ นั หรอื ใชท้ บทวนควำมรู้และมีกำรส่งงำนหรอื ทดสอบควำมรผู้ ำ่ น
Google form และ Google Site

การจัดการเรยี นการสอนแบบ ON Hand ในวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั ม.3
จดั ทำใบควำมรหู้ รอื แจกหนงั สือ, แบบฝึกหดั ใหน้ กั เรยี นทไ่ี มส่ ำมำรถเรยี น On line หรือ

เข้ำเรียนผำ่ น Application ได้

19

นางสาวอัญชลี อนิ ทกาโมทย์ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรยี นวัดแม่แกด้ นอ้ ย 1

รายงานการนำเสนอนวตั กรรมการเรยี นรู้ Active Learning

ชอื่ ผลงาน : การเรียนการสอนแบบออนไลน์ by ครูอัญ ภายใต้สถานการณ์แพรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19
ดว้ ยนวตั กรรม 5 G to Competency MODEL

ผ้นู ำเสนอ : นางสาวอัญชลี อินทกาโมทย์ โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย อ.สันทราย จ.เชียงใหม่

ความเปน็ มา

ในห้วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลต่อการกระบวนการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนเป็นอย่างมาก เนื่องจากอำเภอสันทรายเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง มีประชากรอาศัยอยู่
หนาแน่น เหตุเพราะอำเภอสันทรายตั้งอยู่ไม่ห่างไกลจากตัวเมือง และประชากรส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพ
พลัดถิ่น มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ การเดินทางคมนาคมสะดวก โรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อยตั้งอยู่ใน
อำเภอสันทราย ถือได้ว่าเป็นโรงเรียนขยายโอกาสที่มีจำนวนนักเรียนมากที่สุดของสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหมเ่ ขต 2 ดังนัน้ โอกาสในการเกิดคลัสเตอร์การติดเชื้อไวรัส COVID-19 จึงมี
มากกว่าในพื้นที่อื่นๆประกอบกับจำนวนนักเรียนในโรงเรียนที่มีมากกว่า 1,000 คน ทางโรงเรียนจึงต้อง
ปฏิบัติตามมาตรการการเฝ้าระวังอย่างเคร่งครัด โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริหาร ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน จึงได้ประกาศปิดสถานศึกษาตามนโยบายของ สพฐ.และ
คำสั่งของจังหวัดเชียงใหม่ รวมทั้งสร้างความเข้าใจในวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นโดยให้ครูเป็นผู้มีบทบาท
ในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ตอบสนองกับความต้องการของนักเรียน พัฒนาครูและ
บุคลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยใี นการสร้างส่ือประกอบการสอนในรูปแบบการเรียนรู้
ที่หลากหลาย เพราะการเรียนรู้ไม่มีวันหยุดนิ่ง ครูต้องพัฒนาตนเองเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
และเป็นผู้สร้างนักเรียนให้เกิดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองภายใต้สถานการณ์ที่เกิดขึ้น จากสภาวะการ
ดังกล่าว ข้าพเจ้าจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ด้วยต้นทุนและทรัพยากรที่มี
อยู่อย่างคุ้มค่าและเกิดประสิทธิภาพ อีกทั้งเป็นการพัฒนานักเรียนให้เกิดสมรรถนะตามหลักสูตรฐาน
สมรรถนะซึ่งสอดคล้องกบั สภาพการเรยี นรู้ในปัจจบุ นั

วตั ถปุ ระสงค์

เพ่อื พัฒนากระบวนการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั
COVID-19 ดว้ ยนวตั กรรม 5 G to Competency MODEL

กระบวนการขบั เคลอื่ นนวตั กรรม

1. ศึกษาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 2551 / หลักสตู รสถานศกึ ษาปี 2564 /
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย และหลกั สูตรระดับชั้นเรียน (ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 )

นางสาวอัญชลี อินทกาโมทย์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ โรงเรียนวดั แม่แกด้ นอ้ ย 2

2. วเิ คราะห์ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคลเพ่ือแบ่งกลุ่มการเรียนรู้ตามศกั ยภาพและความสามารถของ
นกั เรยี นโดยใช้แบบสอบถามผ่าน Google form ในรปู แบบออนไลนภ์ ายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
ไวรสั COVID-19

3. ข้าพเจา้ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยเนน้ การปฏิบตั ิ Active Learning ซึ่งใชช้ อ่ งทาง

การติดต่อสื่อสารผ่านระบบอินเตอรเ์ น็ต สร้างกล่มุ ไลน์ Group Line เพ่อื ใชใ้ นการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้

กบั นกั เรยี นและการสร้างความรว่ มมือกับผู้ปกครองในการมสี ว่ นร่วมทางด้านสนบั สนนุ การเรยี นการสอน
ในสถานการณ์ดงั กล่าว

4. ดำเนนิ การสอนในรปู แบบออนไลนโ์ ดยใช้ Good Applications ตา่ งๆเป็นเครือ่ งมือ

ในการสร้างสรรคใ์ บงาน/ผลิตส่อื ประกอบการสอนอยา่ งหลากหลายรปู แบบ เพ่ือเปน็ การกระตุน้ ให้นักเรยี น
เกดิ ความกระตือรือรน้ ในการเรยี น การมีส่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน การโตต้ อบ-สนทนา
กบั ครผู ู้สอน การตอบคำถามซึ่งเป็นการบ่งบอกว่านกั เรยี นอยรู่ ว่ มกับครผู สู้ อนตลอดทง้ั ช่ัวโมง การนำเสนอ
แลกเปลย่ี นเรียนรรู้ ะหว่างครูผูส้ อนกับนกั เรียน บางช่วงมีการประเมนิ ผลระหวา่ งการเรียนการสอน
ในห้องเรียนออนไลน์ เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจทีต่ รงกนั และเปน็ การสรปุ เน้ือหาความรรู้ ว่ มกบั ครผู ู้สอน
Applications ท่ีนำมาใชใ้ นกิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ Kahoot /Quizz/ Wheelofname/ Wordwall/
Liveworksheet เปน็ ตน้

นางสาวอญั ชลี อินทกาโมทย์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวัดแมแ่ กด้ นอ้ ย 3

5. หอ้ งสะท้อนผลแบบออนไลน์ Google for Education เป็นการใช้ Platform ในการสร้าง

แบบทดสอบ อาทิ Google form/ Google doc การใช้ Google Meet ในการบันทกึ การสอนและอัพโหลด
ในชอ่ ง Youtube Channel / Google Drive ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ต่างๆ Google Sheet ในการสรา้ ง
ผงั ความก้าวหน้าทางการเรียน การกำกับ และตดิ ตามผลงานของนกั เรียน หลังจากจบชัว่ โมงมกี ารสรปุ
การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนและเผยแพร่ผ่าน Facebook อยา่ งสม่ำเสมอ

6. Good for Participate การได้รับความช่วยเหลอื / สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

จากฝ่ายบริหารและวชิ าการของโรงเรียน ในการนเิ ทศการสอนแบบออนไลน์เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้และ
เตมิ เตม็ ให้กระบวนการจดั การเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพ การมีส่วนรว่ มของผปู้ กครองในการสะทอ้ นผล
การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของครผู ู้สอน การติดตามภาระงานของนกั เรยี นที่ได้รับมอบหมาย
การปรึกษาปญั หาและแนวทางแก้ไขในการจัดการเรียนการสอน ในส่วนของเพ่ือนครู ได้เข้ารว่ มแลกเปลีย่ น
เทคนิค/วิธกี าร/รูปแบบการสอนผา่ นการประชุม อบรม และการแลกเปล่ียนเรยี นรทู้ างวชิ าชพี PLC ONLINE

7. Good Practice การสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานจนเปน็ แบบอยา่ งในจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

ภายหลังจากดำเนนิ งานในทุกข้ันตอนจะสง่ ผลใหเ้ กิดนวัตกรรมทางการศกึ ษา Innovation ในรูปแบบ New
Normal ท่ีสอดคลอ้ งกับสถานการณใ์ นห้วงเวลานั้นๆ และต้องมกี ารรายงานผลการดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่อื ง
และสม่ำเสมอ อกี ท้งั ตอ้ งมีการเผยแพรส่ ู่สาธารณะเพ่อื รับฟังผลสะทอ้ นจากการปฏบิ ัตงิ านของตนเองและ
นำขอ้ แนะนำท่ไี ด้รบั มาปรบั ปรุง/พัฒนาต่อยอดเพ่อื ให้เกิดความยัง่ ยืนของนวตั กรรมการศึกษาต่อไป

นางสาวอัญชลี อินทกาโมทย์ ครชู ำนาญการพิเศษ โรงเรียนวดั แม่แกด้ น้อย 4

ภาพนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning

ผลการดำเนนิ การ นวตั กรรม 5 G to Competency

ด้านนักเรียนตระหนักและเห็นสำคัญของการเรียนมากขึ้น ก่อให้เกิดสมรรถนะแฝงกล่าวคือ
สมรรถนะด้านการจัดการตนเอง นักเรียนมีความรับผิดชอบ และตรงต่อเวลาในการเขา้ เรียนทำงานที่ได้รับ
มอบหมายได้เป็นอย่างดี อีกทั้งเกิดสมรรถนะด้านการสื่อสารและการคิดขั้นสูงจากการโต้ตอบ-สนทนา
กับครูผู้สอน การทำใบงานออนไลน์จากสื่อที่หลากหลาย นักเรียนสามารถทำคะแนนได้เป็นที่น่าพอใจ
สังเกตไดว้ า่ นกั เรยี นมีความสขุ และสนุกในการเรยี นรู้ เพราะรปู แบบและส่ือการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับ
ส ภ า พ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ใ น ย ุ ค ป ั จ จ ุ บ ั น ท่ี ม ี ก า ร ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พ ิ ่ ม ม า ก ข ึ ้ น ซ ึ ่ ง เ ป ็ น ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง ส ม ร ร ถ น ะ
การเป็นพลเมอื งท่ีเขม้ แขง็ ในดา้ นครผู ูส้ อน เกิดการแลกเปลยี่ นเรยี นรูแ้ ละเกิดสมรรถนะการรวมพลงั เป็นทีม
จนสามารถสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาได้ในช่วงสถานการ์ทว่ี ิกฤต ครไู ด้รับการฝึกฝนและพัฒนาศักยภาพ
ทางด้านการสร้างสื่อเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องกา รของนักเรียน
และผ้ปู กครอง

ปจั จยั ความสำเรจ็

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื COVID-19 ทำใหข้ า้ พเจา้ ซึ่งเปน็ ครูผู้สอนมบี ทบาท
ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนไดพ้ ฒั นาตนเองในอีกระดบั หนง่ึ กลา่ วคือ การพฒั นาสื่อ/นวตั กรรม
ทีเ่ ก่ียวข้องการศึกษาผ่านรูปแบบการเรยี นรู้โดยใช้ช่องทางออนไลน์ ทำให้ข้าพเจ้าได้สร้างสรรค์นวตั กรรม
การจัดการเรียนการสอนทรี่ ปู แบบใหม่ที่ท้าทายความรคู้ วามสามารถและเป็นการพฒั นาศักยภาพการทำงาน
ในการตนเองอกี ดว้ ย

บทเรยี นทไี่ ดร้ บั

จากการดำเนนิ งานการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนข้าพเจา้ ไดพ้ บกบั อุปสรรคปญั หาระหวา่ ง
การดำเนนิ การจงึ ไดน้ ำสภาพปญั หาที่พบไปพูดคุยแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพอื่ นครผู ่านชมุ ชนการเรียนรู้
ทางวชิ าชีพ การได้รบั การกำกบั นิเทศการเรยี นการสอนแบบออนไลน์จากฝ่ายวิชาการ ซง่ึ ได้ข้อสรปุ และ
แนวทางในการพัฒนางานตอ่ ไปว่า ควรสรา้ ง web page เพ่ือเปน็ ชอ่ งทางในการจัดเก็บผลงาน การบนั ทึก
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลงานของนกั เรยี น และการเผยแพร่ในรูปแบบ Google site ตอ่ ไป

นางสาวอัญชลี อนิ ทกาโมทย์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวัดแม่แกด้ นอ้ ย 5

นางสาวอัญชลี อนิ ทกาโมทย์ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรยี นวัดแม่แกด้ นอ้ ย 6

นางสาวอัญชลี อนิ ทกาโมทย์ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรยี นวัดแม่แกด้ นอ้ ย 7



บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ กลุม่ บรหิ ารวชิ าการ โรงเรยี นวัดแม่แก้ดน้อย อำเภอสนั ทราย จังหวัดเชยี งใหม่

ท่ี /พเิ ศษ วันที่ 5 เดือน เมษายน พ.ศ. 2565
เรื่อง สรุปรายงานรูปแบบการสอนทีป่ ระสบความสำเรจ็ ประจำปีการศกึ ษา 2564

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดแม่แก้ดนอ้ ย

ด้วยข้าพเจ้า นางสาวศริ ขิ วญั ถาชน่ื ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ ไดท้ ำการสรุป
เกียรติบัตร เพื่อพัฒนาตนเอง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูผู้สอนได้พัฒนาตนเองและนำความรู้ที่ได้รับจากการ
อบรมไปใช้พัฒนาการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลประโยชน์ให้ได้มากที่สุด บัดน้ี
ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมการอบรมในหัวข้อที่กำหนด ดังกล่าวเสร็จสิ้นและบรรลุดังวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ จึงขอ
รายงานการพฒั นาตนเองดังกลา่ วโดยมีรายละเอยี ดทแ่ี นบมาน้ี

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบและพิจารณา

ลงชอ่ื ...................................................ผรู้ ายงาน
(นางสาวศริ ิขวญั ถาชืน่ )

ความเหน็ ของผบู้ ริหาร

ความเหน็ ของรองผูอ้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ความเห็นของผู้อำนวยการ

.......................................................................................... .....................................................................................

.......................................................................................... .....................................................................................

.......................................................................................... .....................................................................................

ลงชื่อ........................................................ ลงชอ่ื .............................................
(นางสาวปรยี าภทั ร์ บุรมยช์ ยั สนิ ) (นายณรงค์ ลุมมา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารงานวิชาการ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นวัดแมแ่ กด้ น้อย

รปู แบบการสอนท่ปี ระสบความสำเร็จ

รปู แบบการสอนที่ประสบความสำเรจ็ : รปู แบบการจดั การเรียนรู้รายวิชาคณติ ศาสตรช์ ัน้ มธั ยมศึกษาตอนตน้
โดยใช้เทคโนโลยีในระบบออนไลน์ในยคุ NEW NORMAL COVID-19

แนวคิดในการใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นร้โู ดยใช้เทคโนโลยี
COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหนึ่งกลับเป็นตัวแปรใน

การสร้าง การเปลี่ยนแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคลื่อนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบ
การศึกษาไทยดังนัน้ หาก ทุกฝา่ ยในระบบการศึกษาไทยช่วยกนั ทำระบบกลไกการศึกษาที่แข็งแรง ก็จะสามารถ
ขับเคลื่อนการศึกษาท่ามกลาง สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างแน่นอนระบบการศึกษาที่ดีควรมีความยืดหยุ่น
ปรับเปล่ยี นไดท้ ันสถานการณแ์ ละบริบท แวดลอ้ มท่ีไม่ใช่แค่ในประเทศแต่เป็นของโลก การบรหิ ารจัดการระบบ
การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 จึงต้องปรับตัวไปสู่ “การศึกษายกกำลังสอง” ที่จะเปลี่ยนจาก One-Size-Fits-All
ไปสูก่ ารตอบโจทย์การเรียนรู้และการพฒั นารายบุคคล มากยิง่ ขึ้น ตอ้ งมองกว้างกว่าแค่ระบบการศึกษาแต่เป็น
“ระบบนเิ วศ”การศึกษาของไทย (TE2S: Thailand Education Eco-System) เพื่อผลกั ดันให้ก้าวไปสู่การเป็น
ฐานการผลิตทุนมนุษย์ (Human Capital) ที่เป็นเลิศ (Office of the Basic Education Commission, 2020)

ความปกติใหม่ (New Normal) เปน็ รูปแบบการดำเนินชีวติ อย่างใหม่ท่ีแตกต่างจากอดีต อันเน่ืองจาก
มีบางสิ่ง มากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคยคาดหมาย
ล่วงหน้าได้ ต้อง เปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่น้ี
ประกอบด้วยวิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธี สื่อสาร วิธีปฏิบัติ และการจัดการ การใช้ชีวิตแบบใหม่เกิดขึ้น หลังจากเกิด
การเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงและ รุนแรงอย่างใดอย่างหนึ่ง ทำให้มนุษย์ต้องปรับตัวเพื่อรับมือกับ
สถานการณ์ปัจจุบันมากกว่าจะรักษาวิถีดั้งเดิมหรือ หวนหาถึงอดีตในช่วงหลังวิกฤติเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก
ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 (ค.ศ. 2007 – 2008) ได้เกิด การเปลี่ยนแปลงในระบบเศรษฐกิจคร้ังใหญ่ การ
จดั การบางอย่างซง่ึ แต่เดิมเคยถูกมองว่าผิดปกติได้กลับกลายมาเป็น สง่ิ ทีพ่ บเห็นกนั ได้ทว่ั ไป และถูกนำมาใช้ใน
บริบทอื่น ๆ อย่างเช่น ด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อสื่อสารและทำความเข้าใจถึง สภาวะการเปลี่ยนแปลงของ
ภูมิอากาศ เชน่ อณุ หภมู ทิ ี่สูงขน้ึ และความเปล่ียนแปลงของฤดูกาลสว่ น "New Normal" ใน บริบทสถานการณ์
การแพร่ระบาดของ “โควิด – 19” ช่วงปลาย พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2563 นั้น อธิบายได้ว่าเป็น สถานการณ์ท่ี
เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรงจนแพร่กระจายไปในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ผู้คนเจ็บป่วยและล้มตาย จำนวน
มาก จนกลายเป็น ความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงอีกครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ มนุษย์จึงจำเป็นต้องป้องกันตนเอง
เพื่อให้มีชีวิตรอดด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ผิดไปจากวิถีเดิม ๆ โดยมีการปรับหาวิถีการ
ดำรงชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อควบคู่ไปกับความพยายามรักษาและฟื้นฟูศักยภาพ ทาง
เศรษฐกิจและธุรกิจ นำไปสู่การสรรค์สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เทคโนโลยีใหม่ ๆ มีการปรับแนวคิด วิสัยทัศน์
วิธกี ารจัดการ ตลอดจน พฤตกิ รรมทีเ่ คยทำมาเปน็ กิจวัตร ความคุ้นเคยอันเปน็ ปกติมาแต่เดิมในหลายมิติ ทั้งใน

ด้านอาหาร การแต่งกาย การรักษาสุขอนามัย การศึกษาเล่าเรียน การสื่อสารการทำธุรกิจ ฯลฯ ซึ่งสิ่งใหม่
เหล่านี้ได้กลายเป็นความปกติใหม่ จนใน ที่สุดเมื่อเวลาผ่านไปก็ทำให้เกิดความคุ้นชินก็จะกลายเป็นส่วนหน่ึง
ของวถิ ีชีวิตปกตขิ องคนในสังคม (Supaporn Phrombut, 2020)

การเปล่ยี นแปลงพื้นท่ีการเรยี นรู้เปน็ เรื่องท่เี หน็ ได้ชัดเจนทส่ี ดุ ดว้ ยเทคโนโลยีในปัจจุบนั และนวัตกรรม
ที่ สร้างสรรค์คอนเทนต์(Content) อำนวยความสะดวกการสอนได้แค่ปลายนิ้ว ทำให้เราสามารถเรียนรู้ทุก
เนื้อหาได้จาก ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าการปฏิสัมพันธข์ องคุณอาจารย์และนักศึกษาจะ
ลดน้อยลง ชุมชนแห่ง การเรียนรู้ยังมีอยู่แต่เปลี่ยนพื้นที่จากมหาวิทยาลัยสู่โทรศัพท์มือถือหรือเครื่อง
คอมพิวเตอร์เท่านั้น ทุกคนอาจคุ้นชิน กับภาพห้องเรียนที่มีผู้เรียนจำนวนมากรวมตัวกันใช้หนังสือเหมือนกัน
สอ่ื ประกอบการสอนเหมือนกัน และมวี ธิ ีการ ประเมินผลเหมือนกัน เพือ่ ไปสเู่ ป้าหมายเดียวกันในการเรียนรู้วิถี
ใหม่นั้น เป้าหมายของการศึกษาอาจยังคงเดิมแต่ ผู้เรียนสามารถใช้วิธีที่แตกต่างในการไปให้ถึงจุดหมายได้
นักศึกษาบางคนอาจเรียนรู้ได้เร็วกว่าหากไดด้ ภู าพหรือคลิป วิดีโอ แต่นักศึกษาบางคนอาจชอบการฟังอาจารย์
บรรยาย เพราะรูปแบบการเรียนรู้ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน มหาวิทยาลัยจึงต้องกำหนดแนวทางการจัดการ
เรียนการสอนที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถดำเนินการเรียนการสอนให้ไป ได้ แสดงให้เห็นถึงการบริหารรูปแบบ
การเรียนการสอนหลังโควิด-19 (Social Distancing) และการการบริหารจัด การศึกษาที่สอดคล้องกับความ
ปกติใหม่ (New Normal) มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการ ทั้งนี้สะท้อนให้เห็นว่า การจัดการเรียนการสอน
นัน้ ต้องการการปรับเปลี่ยนรปู แบบการเรียนรู้ (Change Learning) เพื่อให้เกิดความเหมาะสม กับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโควดิ - 19 ทเ่ี กดิ ขึน้

การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้เทคโนโลยี เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรยี นรูว้ ่าขณะนี้มี เทคโนโลยี มี
ความกว้าหน้าก้าวไกลไปในลักษณะรูปแบบได้บ้าง ทั้งทางด้านวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีใหม่ๆ ให้ผู้เรียนมี ความรู้
ความเข้าใจ และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี มาเปน็ เครือ่ งมอื ในการเรยี นรขู้ องตนเองและงาน
แนวการจัดการเรยี นรู้

กระบวนการเรียนการสอนตามแนวคิดในการปฏิรูปต้องแตกตา่ งไปจากการเรยี นการสอนแบบ ดั้งเดิม
กลา่ วคอื

1) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยยึดผเู้ รยี นเป็นศูนย์กลางใหผ้ ู้เรยี นเกิดความรู้ ความคิดโดยฝึกการ
คิดวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล การใฝ่หาความรู้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาตนเอง
และแก้ปัญหาในชวี ิตประจำวนั อยา่ งเหมาะสม

2) จัดระบบเครือข่ายการเรียนรู้ให้เป็นแหล่งความรู้สำหรับการค้นคว้าหาความรู้ทุก ๆ ด้านท่ีผู้เรียน
ต้องการ เช่น สื่อมวลชนทุกแขนง เครื่องคอมพิวเตอร์ ทรัพยากรท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน และหน่วยงาน
ตา่ งๆ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรียนร้พู ัฒนาตนเอง และพัฒนาสงั คมและสิง่ แวดลอ้ มไดอ้ ย่างกวา้ ง-ขวาง

3) จดั กจิ กรรมทั้งใน และนอกหลักสูตร โดยใหผ้ ้ทู ำกิจกรรมท่ีต้องเรียนในห้องเรียนให้เสร็จส้ิน และให้
แบ่งเวลาทำกิจกรรมนอกหลักสตู รเพ่ือเสริมประสบการณท์ างสงั คม

4) ปรับกระบวนการเรียนการสอน และเทคนิคการสอนของครูให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการ จัด
การศึกษาเน้นให้ครูเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกและชี้แนะให้ผู้เรียนทำการศึกษาค้นคว้า คิดและตัดดสินใจ

ด้วยตนเองขณะเดียวกันครูต้องเป็นต้นแบบด้านคุณธรรม และจริยธรรมด้วย ซึ่งต้องปลูกฝังทั้งในชั่วโมงเรียน
และ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ

จากการสังเกตผู้เรียนเขาจะมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
การแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ ับบุคคลอืน่ ในประเด็นที่พวกเขานั้นสนใจ ที่สำคัญอย่างยิง่ เขามีจินตนาการ มีความคดิ
สรา้ งสรรค์ ในการเรยี นรู้ด้วยตนเอง เพราะฉะน้ันผูส้ อนยุคใหมค่ วรจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาศกั ยภาพของ
ผู้เรียนและนำมาใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ให้ตอบสนองกับธรรมชาติและความต้องการของ
ผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต้องการเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยี และธรรมชาติของเด็ก ๆ ในทุกวันนี้ก็คือ
ความสนใจ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ทำให้การเรียนรู้ยุคใหม่มีการใช้เทคโนโลยีมาสนับสนุนการ
จัดการเรยี นรู้ เพือ่ พัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี นมากย่ิงขึ้น

สำหรับปัจจุบันนี้ เป็นยุคที่ผู้เรียนทุกคนนัน้ มีอุปกรณ์การเรียนรู้ที่เป็นดิจิทัล เพราะฉะนั้นการเรียนรู้
ผ่านอุปกรณ์ดิจิทัลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ Smart Phone หรือเเท็บเล็ตต่าง ๆ เรียกว่าเป็น Mobile
Learning เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านเทคโนโลยีไร้สายซึ่งเป็นการ
เพิ่มชอ่ งทางและขยายขอบเขตของการเรยี นร้ใู นโลกดจิ ิทลั อย่างไม่มขี ้อจำกดั ฉะนนั้ ผสู้ อนยคุ ใหม่ จึงต้องมีการ
ผสมผสานเทคโนโลยีต่าง ๆ ในกระบวนการจัดการเรียนรู้เรียกว่า Learning Process เข้าด้วยกันอย่างลงตัว
แล้วยังต้องบูรณาการความรู้ที่เป็นสาระสำคัญหรือที่เรียกว่าเป็น Main Contept รวมทั้งสมรรรถนะและ
คุณลกั ษณะของผ้เู รยี น

สิ่งเหล่านี้ เป็นสิ่งที่ครูนั้นจะต้องนำมาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี ในลักษณะท่ี
เรยี กว่าเป็น “Didital learning” Platfrorm Digital มากขึ้น ผู้เรยี นจะสามารถเข้าถึงการเรยี นรไู้ ด้ด้วยตนเอง
ตลอดเวลา ส่วนการผสมผสานเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้นั้น นำมาสอดแทรกไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้
ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม อาจจะอยู่ในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งหรือหลายขั้นตอน เช่น การให้ผู้เรียนใช้
กระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ศึกษาเนื้อหาสาระจากคลปิ วีดีโอต่าง ๆ และจะให้ดีย่ิงขนึ้ คือ ผู้สอนต้องมีคลิป
วดี โี อที่จดั เตรียมไวล้ ่วงหน้า มีความทนั สมยั แลว้ ตอบโจทย์ธรรมชาตขิ องผู้เรยี นในปัจจุบนั

ข้าพเจ้าจึงได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ผ่าน Google Application of Education มาใช้ในการจัดการ
เรยี นการสอนด้วย Google Meet และมีการใช้ Application Online ต่างๆมาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้มี
ความเขา้ ใจในเน้ือหา มคี วามน่าสนใจ กระตนุ้ การเรียนรู้ของผู้เรียน อาทิ Construction Tool , Word wall ,
Blooket , Top worksheet , Live worksheet, GSP ฯลฯ มาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ และยังจดั ช่องยูทูป
เพื่อใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา หากผู้เรียนไม่สะดวกเรียนตามเวลาเรียนสามารถศึกษาเนื้อหา
ยอ้ นหลงั ได้

นอกจากนี้ข้าพเจ้ายังใช้ Platform ต่างๆ ในการติดต่อสื่อสารการส่งงาน การวัดผลการเรียนรู้ของ
ผูเ้ รยี นโดยการจัดทำกลุ่ม facebook และใช้ Google form ในการสร้างข้อสอบออนไลน์อกี ดว้ ย

ผลที่เกิดกับผู้เรยี น
ผลการเรียนรู้จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี ช่วยให้ผู้เรยี นได้เรียนร้ทู กั ษะการใช้เทคโนโลยี ใน
การสร้างความรู้ และพัฒนางาน บูรณาการการใช้เทคโนโลยีกับการวิเคราะห์ปัญหาและการท ำงาน และมี
ความรูค้ วามเขา้ ใจในเนือ้ หาคณติ ศาสตร์มากขนึ้ พฒั นาคุณคา่ และมีเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์

รปู ภาพประกอบการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้เทคโนโลยี

การใช้ Google Meet ในการจดั การเรียนการสอน

การใช้ Construction Tool ในเนื้อหาท่เี ป็น การสรา้ งทางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต

การใช้ GSP เร่ือง ฟังกช์ ันกำลังสอง มิตสิ ัมพนั ธ์

การใช้ Blooket ,Top worksheet , Live worksheet , Word wall , Quizizz ในการทำใบงาน เกม
ขอ้ สอบออนไลน์



การสรา้ งข้อสอบออนไลนโ์ ดยใช้ Google form

การสรา้ งกล่มุ Facebook สำหรบั การตดิ ตอ่ ผู้เรยี นและติดตามการส่งงานจาก google sheet



การจัดทำคลิปการสอนลงผ่านชอ่ ง Youtube เพื่อให้นกั เรียนเรียนได้มตามสะดวกหรือทบทวนความรู้









สารบญั หน้า
เรอื่ ง
1
1. การสรางเว็บไซตสำหรับเปนส่ือการเรยี นการสอน 2
2. การตดั ตอ่ วีดโี อ โดยโปรแกรม Openshot Video Editer 3
3. การนำเสนอหลกั สูตรสถานศกึ ษาสูการจัดการเรียนรรู ะดบั ช้ันเรียนเชงิ รุก 4
4. วินัยและการรักษาวินัยของขา้ ราชการครู 5
5. ขนมไทย 6
6. โครงการหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 7
7. อบรมออนไลน์ การวจิ ัยปฏบิ ตั กิ ารในชน้ั เรยี น 8
8. อบรมออนไลน์ ทักษะครกู ับการจดั การเรยี นรูอ้ อนไลน์

1

หลกั สูตรท่ี 1 การสรางเว็บไซตสำหรับเปนสอ่ื การเรยี นการสอน เม่อื วนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2564

การนำความรู้ ความสามารถมา ผลการดำเนนิ งาน หลักฐาน

ประยกุ ตใ์ ช้ในกิจกรรมการเรยี นการ

สอน

1. สามารถนำความรูม้ าพฒั นาตนเอง 1. เกดิ ความรู้ความเข้าใจและ เกยี รติบัตรการอบรม

ในการสรา้ งเวบ็ ไซตบ์ นแพลตฟอรม์ ทักษะในการสร้างเว็บไซต์ รายงานการอบรม

ของ Google ออนไลน์ และสามารถนำ

ความรมู้ าประยุกตใ์ ช้กับการ

เรยี นการสอน


Click to View FlipBook Version