ความคิดเห็นของผพู้ ่ีเลีย้ ง
ได้ทำการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
(ว22101) และมีความคดิ เหน็ ดงั น้ี
1. เปน็ หนว่ ย/แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้
2. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ได้นำเอาทักษะกระบวนการเรยี นรู้
ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญใชใ้ นการสอนอยา่ งเหมาะสม
ทย่ี ังไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั ควรปรับปรุงพัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ หนว่ ย/แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี นำไปใช้ในการสอนไดจ้ ริง
ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……………
.……….……………………………………………………………………………………………………………………….………….……………
…...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.........................................................
(นางพชั รา ภริ ะกันทา) .
ครูพี่เล้ียง .
................../................./..................
กจิ กรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 1.8
หนว่ ยท่ี 1 ระบบตา่ ง ๆ ของมนุษย์ กิจกรรมตรวจสอบการเรยี นรู้ท่ี 6 เร่ือง ระบบสืบพนั ธุ์
อ้างองิ : หนังสือวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ม.2 (MAC 4.0) หนา้ 41
1. ครอบครัวมคี วามสำคัญอย่างไรต่อการป้องกนั การต้ังครรภ์ก่อนวยั อันควร
…ค…รอ…บ…ค…รัว…ท…ำ…ให…้ผ…เู้ ย…า…ว์ร…ับ…ท…รา…บ…ถ…งึ ค…ว…า…มร…ับ…ผ…ิด…ชอ…บ…ต…อ่ …ล…ูกใ…น…บ…ท…บา…ท…ข…อ…งพ…่อ…แ…ม…่ น…อ…กจ…า…ก…น…ี้คร…อ…บ…ค…รัว…ย…งั …………
…สา…ม…า…รถ…ใ…ห้ค…ำ…ป…ร…ึกษ…า…ก…า…รส…ัส่ …อ…น…แ…ล…ะ…ช่ว…ย…แ…กป้…ญั …ห…า…ท…่ีเก…ิด…ข…้ึน…แก…่ผ…ูเ้ ย…า…วไ์…ด…้ ท…ำ…ให…ไ้ …ม…่เก…ิด…กา…ร…ก…ระ…ท…ำ…ที่ไ…ม…่ม…กี า…ร……
…ยับ…ย…้งั …จ…ิตใ…จ…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ถ้าตอ้ งไปร่วมงานสังสรรคใ์ นกลุ่มเพ่ือน ควรปฏิบัตติ นอย่างไรเพื่อจะไม่ให้เกดิ การตั้งครรภ์กอ่ นวยั อันควร
…ก…าร…ไป…ร…ว่ …มง…า…น…สงั…ส…รร…ค…ใ์ น…ก…ล…ุ่ม…เพ…ื่อ…น…ใน…ว…ัย…เร…ีย…นไ…ม…่ค…วร…ด…ื่ม…เค…ร่อื…ง…ด…มื่ …ท่ีม…แี…อ…ล…กอ…ฮ…อ…ล…์ ไ…ม่ค…ว…ร…เส…พ…ย…าเ…สพ…ต…ดิ …แ…ล…ะ…
…ไม…่ค…ว…รพ…ัก…ค…า้ ง…ค…ืน…ก…ับเ…พ…ศ…ตร…ง…ข้…าม…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การคุมกำเนดิ โดยใช้ยาคมุ กำเนดิ ใช้ไดผ้ ลกับเพศใด และมีผลดผี ลเสียอย่างไร
…ก…าร…ค…มุ …กำ…เน…ิด…โ…ดย…ใ…ช้ย…า…ค…ุม…กำ…เน…ดิ…ใ…ช้ไ…ด…ผ้ …ลก…ับ…เพ…ศ…ห…ญ…งิ …ผ…ล…ด…ี ค…ือ…ท…ำ…ให…ไ้ …ม่ม…ีก…า…รต…ก…ไ…ข่…แ…ต่ผ…ล…เส…ีย……คือ……ทำ…ใ…ห…้ ……
…ฮ…อร…โ์ ม…น…แ…ป…ร…ปร…ว…น………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. การคมุ กำเนิดท่ไี ดผ้ ลดที ี่สุดเปน็ วิธีการคุมกำเนิดแบบใด
…กา…ร…ค…มุ ก…ำ…เน…ดิ …ท…่ีได…ผ้ …ล…ด…ีท…ส่ี ดุ……คือ……กา…ร…ค…ุมก…ำ…เน…ดิ …ถ…าว…ร…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. การป้องกนั ไม่ให้เซลลไ์ ข่เคล่อื นที่ไปตามท่อนำไขท่ ำได้อย่างไร และเป็นการคุมกำเนิดแบบใด
…กา…ร…ป…้อง…ก…ัน…ไม…่ใ…หเ้…ซ…ลล…์ไ…ข…เ่ ค…ล…ื่อน…ท…ไ่ี …ป…ตา…ม…ท…อ่ …นำ…ไ…ข่ท…ำ…ได…โ้…ด…ยก…า…ร…ตดั…ท…่อ…น…ำไ…ข…่ ซ…่ึง…เป…น็ …ก…าร…ค…ุม…กำ…เน…ิด…แ…บ…บ…ถา…ว…ร……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/1
วิชาวิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน เรือ่ ง การระเหยแหง้
ลำดบั ชอ่ื -สกุล ความรู้ ทักษะ คุณลกั ษณะ รวม ผลการประเมิน
1 เดก็ ชายเจษฎา อิน่ แก้ว 33 5 11 ผา่ น ไมผ่ า่ น
2 เดก็ ชายณัฐพงศ์ สมนา
3 เดก็ ชายสิทธิกร ชัยอาจ
4 เด็กชายอชติ ะ เพ็ชรมาศ
5 เด็กหญงิ นิลาวัลย์ ศริ ริ วง
6 เด็กหญงิ พัชรสดุ า บุญชยั อาจ
7 เด็กชายวรเชษฐ โพธ์นิ ลิ
8 เดก็ ชายดลุ ยวตั บรรพตผล
9 เดก็ ชายนพดล คมสูงเนิน
10 เด็กชายบวรภคั เทยี นหอม
11 เด็กหญิงวริ ากานต์ ธิดาธนาพร
12 เดก็ หญงิ ลีลาวดี อาเซาะ
13 เดก็ ชายปัญญา แซห่ าญ
14 เดก็ หญิงจารวุ รรณ สาธติ บุญ
15 เด็กชายพทิ ักษ์ เลายะ
16 เด็กหญงิ พรธดิ า ปูเ่ หล็ก
17 เดก็ หญิงสุนิสา บงกชผ่องอำไพ
18 เดก็ ชายปัณณวิชญ์ ทองใส
19 เด็กชายไพศาล กากลุ
20 เดก็ ชายภกั ดี แซ่มา้
21 เดก็ หญงิ กมลชนก จะหยอ่
**หมายเหตุ ผ่านเกณฑ์คะแนนรวมไม่ต่ำกวา่ 6 คะแนน
ผ่าน……………………..คน
ไม่ผา่ น………………….คน
แบบประเมินผลการเรียนร้ขู องนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/2
วิชาวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน เรอ่ื ง การระเหยแห้ง
ลำดบั ชือ่ -สกุล ความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะ รวม ผลการประเมิน
1 เด็กชายเจตษพิ ทั ธ์ เขตวัง 33 5 11 ผ่าน ไม่ผ่าน
2 เด็กชายมนุเชษฐ์ บวั เยน็
3 เดก็ หญงิ ซาราห์ รุ่งอรุณฉาย
4 เดก็ หญิงณฎั ฐณชิ า คำมลู
5 เดก็ หญงิ พรทิวา รตั นชมุ ภู
6 เด็กชายวันชนะ ทองใบ
7 เด็กชายจักริน แซต่ ั้ง
8 เด็กชายชุมพร เตชะพนาลัย
9 เดก็ ชายธนนิ ทรายโชติชลาลัย
10 เด็กชายวรโชติ สุดสายเขียว
11 เดก็ หญิงวรินทร ศรีสำราญ
12 เดก็ ชายวริ ตั น์พงษ์ ธดิ าชนาพร
13 เด็กหญิงอายานี ศรไี สวบงกช
14 เด็กชายอัสดงค์ แซ่ยา่ ง
15 เดก็ หญงิ สุนิสา ชะสุวรรณ์
16 เดก็ หญิงชนิดา มาแฮ
17 เด็กชายธนพัฒน์ คนหลวง
18 เด็กหญงิ ณิชา กิตตยิ งั กลุ
19 เด็กชายอุดมศักด์ิ พงกาง
20 เด็กหญงิ เบญจวรรณ บวั ระวงค์
**หมายเหตุ ผา่ นเกณฑค์ ะแนนรวมไม่ต่ำกว่า 6 คะแนน
ผา่ น……………………..คน
ไมผ่ า่ น………………….คน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
เวลาท้ังหมด 18 ช่วั โมง
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ เวลา 3 คาบ
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่อื ง การแยกสารผสม ผู้สอน นางสาวนุสรินทร์ อิ่นคำ
แผนท่ี 12 เรื่อง การระเหยแหง้
สอนวันที่ 21 กรกฎาคม 2564
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้วี ดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมบัติของสสาร
กบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ
เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี
ตวั ชี้วัด
ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกลนั่ อยา่ งงา่ ย โครมาโทกราฟแี บบ
กระดาษ การสกดั ดว้ ยตัวทำละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ
สกัดด้วยตัวทำละลาย
สาระสำคัญ
การแยกสารผสมใหเ้ ปน็ สารบริสุทธ์ิทำไดห้ ลายวิธีขึ้นอยู่กับสมบัติของสารน้ัน ๆ การระเหยแห้งใช้แยก
สารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้ความร้อนระเหย
ตัวทำละลายออกไปจนหมดเหลือแต่ตัวละลาย การตกผลึกใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัวแล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไป
บางส่วนตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่างง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายและ
ตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือดต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดยให้
ความร้อนกับสารละลายของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอ แยกจากสารละลายแล้วควบแน่นกลับเป็น
ของเหลวอกี ครั้ง ขณะท่ีของเหลวเดือด อุณหภมู ิของไอจะคงที่ โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวธิ กี ารแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย ตัวดูดซับ
แตกต่างกัน ทำให้สารแต่ละชนิดเคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกันได้ อัตราส่วน
ระหว่างระยะทางท่สี ารองค์ประกอบแต่ละชนิดเคล่ือนที่ได้บนตวั ดูดซบั กับระยะทางทตี่ ัวทำละลายเคล่ือนที่ได้
เป็นค่าเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธีการ
แยกสารผสมที่มสี มบัติการละลายในตัวทำละลายทีต่ ่างกัน โดยชนิดของตัวทำละลายมีผลตอ่ ชนิดและปริมาณ
ของสารที่สกดั ไดก้ ารสกัดโดยการกลั่นดว้ ยไอน้ำ ใชแ้ ยกสารท่รี ะเหยง่าย ไมล่ ะลายน้ำ และไม่ทำปฏิกริ ิยากับน้ำ
ออกจากสารทร่ี ะเหยยาก โดยใช้ไอน้ำเป็นตวั พา
สาระการเรยี นรู้
• ความหมาย
การระเหยแห้ง (dry evaporation) เป็นวิธีการแยกตัวละลายที่มีสถานะเป็นของแข็งออกจาก
สารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลว โดยให้ความร้อนแก่สารละลาย ทำให้ตัวทำละลายระเหยกลายเป็นไอไป
ทั้งหมดจนเหลอื ตวั ละลายติดอย่ทู ก่ี น้ ภาชนะ
การระเหย (evaporation) เป็นกระบวนการที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะโดยธรรมชาติเป็นแก๊ส โดยไม่
จำเปน็ ต้องมีอุณหภูมถิ ึงจดุ เดอื ด
• การนำวิธีการระเหยแห้งไปใชป้ ระโยชน์
การระเหยแห้งที่พบในชวี ติ ประจำวัน เช่น การทำนาเกลือ น้ำปลาที่ต้ังไว้หลายวันจะพบผลึกใสไม่มสี ี
ของโซเดียมคลอไรด์ น้ำหวานท่ีเข้มข้นมากจะพบผลกึ น้ำตาลท่ีกน้ ภาชนะ การสกัดสจี ากดอกไม้หรอื ใบไม้ด้วย
ตัวทำละลาย เมอ่ื นำไประเหยแห้งจะได้ผงสีท่ีนำไปใช้ผสมอาหาร ขงิ ผงสำเรจ็ รูปทำได้โดยนำขิงมาสกัดด้วยตัว
ทำละลายแล้วระเหยแหง้ ตัวทำละลายออก
การแยกสารโดยวิธีการระเหยแห้งอาจได้สารท่ีไม่บรสิ ุทธ์ิ ถ้ามีตัวละลายที่มีสถานะเป็นของแขง็ หลาย
ชนดิ ละลายอยู่ในตัวทำละลายชนิดเดยี วกัน ถา้ ต้องการแยกให้บรสิ ุทธ์ิใหน้ ำสารที่ได้จากการระเหยแห้งไปแยก
ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์โดยการตกผลกึ
ภาพที่ 1 ผลติ ภณั ฑ์จากการแยกสารโดยการระเหยแห้ง
จุดประสงค์การเรยี นรู้
ด้านความรู้ (K)
นกั เรียนสามารถอธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ ได้
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
นักเรียนสังเกตผลการทดลองการแยกสารโดยการระเหยแห้ง และตอบคำถามท้ายกิจกรรม
ไดก้ ระชบั ได้ใจความสมบรู ณ์
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
นักเรยี นมีความรบั ผดิ ชอบในภาระงานท่คี รมู อบหมาย และส่งงานไดใ้ นเวลาที่กำหนด
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการส่ือสาร
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. มคี วามสนใจใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งมัน่ ต้งั ใจทำงานด้วยความเพียรพยายาม
4. มจี ติ สาธารณะ
กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขัน้ ที่ 1 : ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี
1. ครูกลา่ วทักทายนกั เรียน และช้ีแจงเรือ่ งท่ีจะเรยี นรู้ในวันนี้ เรื่อง การแยกสารผสม
2. ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้ก่อนเรียน โดยให้นักเรียนระบุวิธีการแยกสารสำหรับสารผสมท่ี
กำหนดให้ เชน่ เหรียญสบิ บาทกับเหรยี ญบาท ใช้วิธีการหยิบออก การแยกน้ำมันกบั น้ำ ใช้วิธรี นิ ออก เปน็ ตน้
3. ครูใชค้ ำถามถามนักเรียนว่า “นักเรียนคิดวา่ การแยกสารผสมเน้ือเดียวท่ีเป็นสารละลายกับสารเน้ือ
ผสมสามารถแยกด้วยวิธีเดียวกันได้หรือไม่” (แนวคำตอบ : ไม่สามารถแยกสารละลาย ซึ่งเป็นสารผสมเน้ือ
เดียวได้)
ขน้ั ที่ 2 : ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (80 นาที)
1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “การระเหยแห้ง” แก่นักเรียน โดยใช้สื่อคลิปวีดีโอ เรื่อง “การระเหย
แหง้ (วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2 หนว่ ยที่ 6 บทที่ 1)” ให้นกั เรยี นดู (ทมี่ า: https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-
sci-book2/sci-m2b2-006/) และหนังสอื วิชาวิทยาศาสตร์ ม.2 (MAC 4.0) หน้า 48-49
2. ครูใหน้ ักเรียนดูกจิ กรรมแยกสารโดยการระเหยแหง้ (จากคลปิ วิดีโอ) ซง่ึ มีข้นั ตอนดังตอ่ ไปน้ี
2.1 ตวงสารละลายจุนสีปริมาตร 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้นเทสารละลายลงในถ้วยกระเบ้ือง
เทนำ้ ปริมาตร 20 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร โดยประมาณ ลงในบีกเกอร์ขนา 100 ลกู บาศก์เซนติเมตร
2.2 ให้ความร้อนผ่านไอของน้ำร้อนที่อยู่ในบีกเกอร์ จนของเหลวในกระเบื้องระเหยหมด สังเกต
และบันทึกผล
2.3 ครูสรปุ ผลการทำกิจกรรมแยกสารโดยการระเหยแหง้
ขน้ั ท่ี 3 : อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (20 นาท)ี
1. ครูให้นักเรียนสังเกตผลการทดลองจากคลิปวิดีโอ “การระเหยแห้ง (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2
หนว่ ยที่ 6 บทที่ 1)” แล้วตอบคำถาม 1-2 ในนาทีท่ี 11.20 ลงในสมดุ
1.1 ถา้ นำสารละลายท่มี ีตัวละลายเป็นของแขง็ 2 ชนิดในตวั ทำละลายทีเ่ ป็นของเหลว มาแยกด้วย
วิธีการระเหยแห้งสารที่แยกได้จะเป็นอย่างไร (แนวคำตอบ : พบว่าสารที่แยกได้ประกอบด้วยของแข็ง 2 ชนิด
ผสมกันอย)ู่
1.2 เราสามารถแยกเอทานอลออกจากสารละลายเอทานอลในน้ำด้วยวิธีการระเหยแห้งได้หรือไม่
เพราะเหตใุ ด (แนวคำตอบ : สารละลายเอทานอลประกอบด้วยเอทานอลกับน้ำ ซึ่งเป็นของเหลวทั้งคู่ และมีจุด
เดือดใกล้เคียงกนั เมื่อให้ความรอ้ นแก่สารทัง้ น้ำและเอทานอลจะระเหยกลายเปน็ ไอทั้งหมด ดังนั้นไม่สามารถ
แยกดว้ ยวิธรี ะเหยแหง้ ได้)
2. ครสู รุปเนื้อหาการระเหยแหง้ ให้นกั เรียนฟัง
ขนั้ ท่ี 4 : ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (30 นาที)
ครใู ห้นกั เรยี นทำใบงาน 2.1 เรอ่ื ง การระเหยแห้ง
ขัน้ ท่ี 5 : ข้ันประเมนิ (Evaluation) (10 นาท)ี
ครูประเมินผลการเรียนรู้จากใบงานที่ 2.1, การตอบคำถามท้ายการทดลองในสมุด และแบบประเมิน
สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล โดยใช้เกณฑก์ ารประเมินจากแผนการเรยี นรทู้ ่ี 12
ส่ืออปุ กรณก์ ารเรยี นรู้ และแหลง่ การเรยี นรู้
1) คลปิ วดิ โี อ “การระเหยแหง้ (วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 เลม่ 2 หนว่ ยที่ 6 บทที่ 1)”
(ทมี่ า: https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-sci-book2/sci-m2b2-006/)
2) หนังสอื วิชาวิทยาศาสตร์ ม.2 (MAC 4.0)
3) ใบงาน 2.1 เรอ่ื ง การระเหยแหง้
การวัดและการประเมนิ วิธีการวดั เครือ่ งมือวัด เกณฑใ์ ช้ประเมนิ
ประเด็นการประเมิน
ระดบั คุณภาพ
ดา้ นความรู้ (K) พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
นักเรียนสามารถอธิบายการแยกสาร ตรวจจากใบงานท่ี 2.1 ใบงานที่ 2.1 การระเหย
ผสมโดยการระเหยแห้งได้ การระเหยแหง้ แห้ง
ดา้ นทักษะ (P)
นกั เรยี นสงั เกตผลการทดลองการ ตรวจจากการตอบ การตอบคำถามท้าย ระดับคุณภาพ
แยกสารโดยการระเหยแห้ง และ คำถามท้ายกจิ กรรม กิจกรรม (ในสมุด) พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
ตอบคำถามทา้ ยกิจกรรมได้กระชับ
ไดใ้ จความสมบูรณ์ ระดบั คุณภาพ
พอใช้ ผ่านเกณฑ์
ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
นกั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบในภาระ ตรวจจากการส่งงานใบ แบบบนั ทึกการสง่ งาน
งานทีค่ รมู อบหมาย และส่งงานไดใ้ น งานที่ 2.1 และสมุด
เวลาที่กำหนด
เกณฑ์การประเมินดา้ นความรู้ (K)
ประเด็นการประเมิน 3 ระดับคุณภาพ 0
นกั เรียนสามารถ 21 นกั เรียนไมส่ ามารถ
นกั เรียนสามารถ อธบิ ายการแยกสาร นกั เรียนสามารถ นักเรยี นสามารถ อธิบายการแยกสาร
อธบิ ายการแยกสาร ผสมโดยการระเหย อธบิ ายการแยกสาร อธบิ ายการแยกสาร ผสมการระเหยแห้ง
ผสมโดยการระเหย แห้งในใบงานท่ี 2.1 ผสมโดยการระเหย ผสมโดยการระเหย ในใบงานที่ 2.1 ได้
แหง้ ได้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3-4 ขอ้ แห้งในใบงานที่ 2.1 แหง้ ในใบงานท่ี 2.1 ถูกต้อง
(3 คะแนน) ได้ถูกต้อง 2 ข้อ ได้ถูกต้อง 1 ขอ้
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรบั ปรงุ
เกณฑ์การประเมินดา้ นทักษะ (P)
ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
นกั เรยี นสังเกตผลการ 3 21 0
ทดลองการแยกสาร นกั เรยี นไมส่ ังเกต
โดยการระเหยแห้ง นกั เรียนสังเกตผล นักเรยี นสังเกตผล ผลการทดลองการ
และตอบคำถามทา้ ย แยกสารโดยการ
กจิ กรรมไดก้ ระชบั ได้ การทดลองการแยก การทดลองการ ระเหยแห้ง และ
ใจความสมบรู ณ์ ตอบคำถามท้าย
(3 คะแนน) สารโดยการระเหย แยกสารโดยการ กจิ กรรมได้กระชับ
ได้ใจความสมบูรณ์
แหง้ และตอบ ระเหยแห้ง และ (0 ขอ้ )
คำถามท้ายกิจกรรม ตอบคำถามท้าย
ได้กระชบั ได้ กจิ กรรมไดก้ ระชับ
ใจความสมบรู ณ์ 2 ได้ใจความสมบูรณ์
ขอ้ เพยี ง 1 ข้อ
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดับคณุ ภาพ
2 ดี
1
0 พอใช้
ปรบั ปรงุ
เกณฑ์การประเมินดา้ นความรู้ (A)
ประเด็นการประเมิน 3 ระดบั คุณภาพ 0
21
นักเรยี นมคี วาม สง่ งานตรงตามท่ี สง่ งานช้ากว่ากำหนด สง่ งานช้ากวา่ กำหนด สง่ งานช้ากว่ากำหนด
รบั ผิดชอบในภาระงาน กำหนด (อาทิตย์ทน่ี ัด 1-2 วนั 3 วนั มากกวา่ 3 วันหรือไม่
ที่ครูมอบหมาย และสง่ สง่ งาน) สง่
งานได้ในเวลาที่กำหนด
(3 คะแนน)
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คุณภาพ
3 ดี
2
พอใช้
0-1 ปรบั ปรงุ
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 12
เรือ่ ง การระเหยแห้ง ช้นั ม.2/1 .
ผลการประเมนิ ตามแบบประเมิน
-นักเรียนจำนวน......... คน คิดเป็นรอ้ ยละ............ มผี ลการประเมินดา้ น K ในระดับ …….......
-นกั เรียนจำนวน......... คน คิดเป็นรอ้ ยละ............. มีผลการประเมนิ ด้าน P ในระดับ ……......
-นกั เรียนจำนวน..........คน คิดเปน็ ร้อยละ.............. มผี ลการประเมนิ ดา้ น A ในระดับ …….....
ปัญหาที่พบจากการสอนในคาบเรยี น
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
.............................................................................................................. ................................................................
การแก้ไขปญั หาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ผลการแก้ไข
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะในการสอนครัง้ ถัดไป
.................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................... ..........................................
ลงชอ่ื .....................................................................
(นางสาวนสุ รินทร์ อ่นิ คำ) .
นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 12
เรื่อง การระเหยแหง้ ชั้น ม.2/2 .
ผลการประเมนิ ตามแบบประเมิน
-นกั เรียนจำนวน......... คน คิดเปน็ ร้อยละ............ มีผลการประเมนิ ดา้ น K ในระดบั …….......
-นกั เรยี นจำนวน......... คน คิดเปน็ ร้อยละ............. มผี ลการประเมนิ ด้าน P ในระดับ ……......
-นักเรยี นจำนวน..........คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.............. มีผลการประเมินดา้ น A ในระดบั …….....
ปญั หาที่พบจากการสอนในคาบเรยี น
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
.............................................................................................................. ................................................................
การแก้ไขปัญหาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ผลการแก้ไข
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะในการสอนครั้งถัดไป
........................................................................................................................................................ ......................
............................................................................................................. .................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชื่อ.....................................................................
(นางสาวนุสรินทร์ อิ่นคำ) .
นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู
ความคดิ เหน็ ของผพู้ ี่เลยี้ ง
ได้ทำการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
(ว22101) และมีความคดิ เหน็ ดงั นี้
1. เปน็ หนว่ ย/แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ดมี าก ดี พอใช้
2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ได้นำเอาทกั ษะกระบวนการเรียนรู้
ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญใชใ้ นการสอนอยา่ งเหมาะสม
ทย่ี ังไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป
3. เปน็ หนว่ ย/แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ในการสอนไดจ้ ริง
ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……………
.……….……………………………………………………………………………………………………………………….………….……………
…............................................................................................................................ ...............................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื .........................................................
(นางพชั รา ภิระกันทา) .
ครูพี่เล้ียง .
................../................./..................
ใบงานที่ 2.1 วชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 คะแนนที่ได้
หน่วยที่ 2 การแยกสารผสม ใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง การระเหยแห้ง
จงตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถกู ตอ้ ง ได้ใจความสมบรู ณ์
1. การระเหยแหง้ เป็นการแยกสารที่มลี กั ษณะอยา่ งไร……………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ยกตัวอย่างสารผสม ที่เหมาะสมในการแยกดว้ ยวิธีการระเหยแหง้ 4 ตัวอย่าง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การระเหยแห้ง มีหลักการอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
4. ในการทำนาเกลือ ใช้หลักการระเหยแห้ง นักเรียนจงอธิบายขั้นตอนและหลักการทางวิทยาศาสตร์ท่ี
เกิดขึ้นในกระบวนการทำนาเกลอื น้ี
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ช่อื ………………………………………………………………………….…..ชน้ั /ห้อง………………..……….เลขท…่ี …………………….
ใบงานท่ี 2.1 วชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เฉลย
คะแนนที่ได้
หนว่ ยที่ 2 การแยกสารผสม ใบงานที่ 2.1 เร่อื ง การระเหยแห้ง
จงตอบคำถามตอ่ ไปนีใ้ หถ้ ูกต้อง ไดใ้ จความสมบรู ณ์
1. การระเหยแหง้ เปน็ การแยกสารทีม่ ีลกั ษณะอย่างไร……เป…็น…ก…าร…แ…ยก…ส…า…รผ…ส…ม…ท…ปี่ …ระ…ก…อ…บ…ด้ว…ย…ข…อง…แ…ข…็งซ…ง่ึ …
…ละ…ล…าย…อ…ย…่ใู น…ข…อ…งเ…ห…ล…ว ………………………………………………………………………………………………………………
2. ยกตัวอย่างสารผสม ท่เี หมาะสมในการแยกดว้ ยวธิ กี ารระเหยแหง้ 4 ตัวอยา่ ง
…น้ำ…เก…ล…อื …น…้ำ…เช…อ่ื …ม…น…้ำ…เช…่ือ…ม…น…้ำ…อดั…ล…ม……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การระเหยแห้ง มหี ลักการอย่างไร
…นำ…ส…า…รด…ัง…กล…่า…ว…มา…ใ…ห้ค…ว…า…มร…อ้ …น…จ…นต…ัว…ล…ะ…ลา…ย…ถ…งึ จ…ดุ …เด…ือ…ด…ท…ำ…ให…้ต…ัว…ทำ…ล…ะ…ลา…ย……
…ระ…เห…ย…ก…ล…าย…เ…ปน็…ไ…อ…ไป…ท…ัง้ …หม…ด…จ…น…เห…ล…ือ…ตัว…ล…ะ…ลา…ย…ต…ดิ …อย…ู่ท…ก่ี …้น…ภ…าช…น…ะ………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
4. ในการทำนาเกลือ ใช้หลักการระเหยแห้ง นักเรียนจงอธิบายขั้นตอนและหลักการทางวิทยาศาสตร์ท่ี
เกดิ ข้นึ ในกระบวนการทำนาเกลือนี้
…1…. ส…บู …น…้ำ…ทะ…เ…ลม…า…ต…าก…แ…ด…ด…ไว…้ 1…5…-2…0…ว…ัน…เ…พ…ื่อใ…ห…้
…น…ำ้ ร…ะ…เห…ย…เพ…ิ่ม…ป…ร…ิมา…ณ…ค…ว…าม…เ…ข้ม…ข…น้ …ข…อง…น…ำ้ …เก…ล…ือ…
…2…. ว…ดั …ด…้วย…ป…ร…อ…ท…เพ…ื่อ…ใ…หม้…ีค…า่ …ค…วา…ม…ถ…ว่ ง…จ…ำเ…พ…าะ…ท…ี่
…น…ำ้ เ…ก…ลอื…พ…ร…้อ…มจ…ะ…ต…ก…ผล…กึ …เป…็น…เ…กล…ือ…ป…ร…ะ…ม…าณ………
…2…5-…35……ด…ีกร…ี …………………………………………………
…3…. ร…ะ…บ…าย…น…้ำ…เก…ล…ือเ…ข…า้ ส…ู่น…า…ป…ลง…ซ…ึง่ …จ…ะม…ีก…า…รก…ล…ิ้ง…
…ด…ิน…เพ…อ่ื …ป…ร…บั …พ้ืน…ท…่ีใ…ห…เ้ ร…ยี …บ…ร…ะห…ว…า่ …งท…่ีร…อใ…ห…้ต…ก……
…ผ…ลึก……น…ำ้ เ…กล…อื …จ…ะม…คี…ว…าม…ถ…ว่ …งจ…ำ…เพ…า…ะ…เพ…่ิม…ม…าก…ข…น้ึ …
…อ…าจ…ม…แี …มก…น…เี …ซยี…ม…ค…ล…อไ…ร…ด์…ห…รือ…แ…ม…ก…น…เี ซ…ยี …ม………
…ซ…ลั เ…ฟ…ต…ท…ี่ท…ำใ…ห…เ้ ก…ล…ือ…งแ…ก…งไ…ม…บ่ …รสิ…ุท…ธ…แ์ิ …ละ…ม…ี ………
…ค…ณุ …ภ…าพ…ต…่ำ…จ…งึ …ต้อ…ง…ระ…บ…า…ยน…ำ้…เข…า้ …ส…่นู …าป…ล…ง…………
…ส…ม่ำ…เส…ม…อ…เ…พ…ื่อ…ป้อ…ง…ก…นั …ไม…่ให…้ค…ว…าม…ถ…่ว…งจ…ำ…เพ…า…ะ……
…ข…อง…น…ำ้ …ไม…่ส…ูงเ…ก…ินไ…ป…………………………………………
…4…. จ…า…ก…นน้ั……2…0 …วนั……เก…ล…ือ…แก…ง…จ…ะต…ก…ผ…ลึก……จงึ…………
…ส…าม…า…รถ…เ…กบ็…ผ…ล…ผ…ลติ…ไ…ด…้ …………………………………
ช่อื ………………………………………………………………………….…..ชนั้ /ห้อง………………..……….เลขท…่ี …………………….
แบบประเมินผลการเรียนรูข้ องนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/1
วชิ าวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน เรื่อง การระเหยแห้ง
ลำดบั ช่ือ-สกุล ความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะ รวม ผลการประเมนิ
3 3 3 9 ผา่ น ไมผ่ า่ น
1 เดก็ ชายเจษฎา อิน่ แกว้
2 เด็กชายณัฐพงศ์ สมนา
3 เด็กชายสทิ ธิกร ชยั อาจ
4 เดก็ ชายอชติ ะ เพ็ชรมาศ
5 เดก็ หญิงนิลาวัลย์ ศริ ริ วง
6 เด็กหญงิ พชั รสุดา บญุ ชยั อาจ
7 เด็กชายวรเชษฐ โพธ์นิ ลิ
8 เด็กชายดุลยวัต บรรพตผล
9 เดก็ ชายนพดล คมสูงเนนิ
10 เด็กชายบวรภัค เทียนหอม
11 เดก็ หญิงวริ ากานต์ ธดิ าธนาพร
12 เด็กหญงิ ลีลาวดี อาเซาะ
13 เด็กชายปญั ญา แซห่ าญ
14 เด็กหญงิ จารวุ รรณ สาธิตบุญ
15 เด็กชายพทิ กั ษ์ เลายะ
16 เด็กหญิงพรธิดา ปู่เหลก็
17 เดก็ หญงิ สุนสิ า บงกชผอ่ งอำไพ
18 เดก็ ชายปัณณวิชญ์ ทองใส
19 เด็กชายไพศาล กากุล
20 เด็กชายภักดี แซม่ ้า
21 เดก็ หญงิ กมลชนก จะหยอ่
**หมายเหตุ ผา่ นเกณฑ์คะแนนรวมไมต่ ่ำกว่า 8 คะแนน
ผา่ น……………………..คน
ไม่ผ่าน………………….คน
แบบประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/2
วิชาวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน เรือ่ ง การระเหยแห้ง
ลำดับ ชือ่ -สกุล ความรู้ ทักษะ คณุ ลักษณะ รวม ผลการประเมิน
3 3 3 9 ผ่าน ไม่ผ่าน
1 เด็กชายเจตษิพทั ธ์ เขตวงั
2 เด็กชายมนเุ ชษฐ์ บวั เยน็
3 เดก็ หญงิ ซาราห์ ร่งุ อรณุ ฉาย
4 เด็กหญิงณัฎฐณิชา คำมลู
5 เดก็ หญิงพรทิวา รัตนชมุ ภู
6 เด็กชายวันชนะ ทองใบ
7 เด็กชายจักรนิ แซ่ต้งั
8 เดก็ ชายชมุ พร เตชะพนาลยั
9 เดก็ ชายธนนิ ทรายโชติชลาลยั
10 เดก็ ชายวรโชติ สดุ สายเขียว
11 เด็กหญิงวรนิ ทร ศรีสำราญ
12 เด็กชายวริ ตั น์พงษ์ ธดิ าชนาพร
13 เด็กหญิงอายานี ศรไี สวบงกช
14 เด็กชายอสั ดงค์ แซ่ย่าง
15 เดก็ หญงิ สนุ ิสา ชะสวุ รรณ์
16 เดก็ หญงิ ชนิดา มาแฮ
17 เด็กชายธนพัฒน์ คนหลวง
18 เด็กหญิงณชิ า กิตติยงั กุล
19 เด็กชายอดุ มศักด์ิ พงกาง
20 เดก็ หญงิ เบญจวรรณ บวั ระวงค์
**หมายเหตุ ผา่ นเกณฑ์คะแนนรวมไม่ตำ่ กว่า 5 คะแนน
ผา่ น……………………..คน
ไม่ผ่าน………………….คน
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2
เวลาทง้ั หมด 18 ชั่วโมง
รายวิชาวิทยาศาสตร์ เวลา 3 คาบ
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่ือง การแยกสารผสม ผ้สู อน นางสาวนสุ รินทร์ อนิ่ คำ
แผนที่ 13 เรอ่ื ง การตกผลกึ
สอนวนั ที่ 28 กรกฎาคม 2564
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ดั
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัติของสสาร
กบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ
เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี
ตวั ช้วี ัด
ม.2/1 อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลัน่ อย่างง่าย โครมาโทกราฟแี บบ
กระดาษ การสกดั ด้วยตวั ทำละลาย โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ
สกดั ดว้ ยตวั ทำละลาย
สาระสำคัญ
การแยกสารผสมให้เป็นสารบรสิ ทุ ธิ์ทำได้หลายวิธขี ้ึนอยู่กับสมบัติของสารนั้น ๆ การระเหยแห้งใช้แยก
สารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้ความร้อนระเหย
ตัวทำละลายออกไปจนหมดเหลือแต่ตัวละลาย การตกผลึกใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัวแล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไป
บางส่วนตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่างง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายและ
ตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือดต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดยให้
ความร้อนกับสารละลายของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอ แยกจากสารละลายแล้วควบแน่นกลับเป็น
ของเหลวอกี คร้งั ขณะทข่ี องเหลวเดือด อุณหภมู ขิ องไอจะคงท่ี โครมาโทกราฟแี บบกระดาษเปน็ วิธกี ารแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย ตัวดูดซับ
แตกต่างกัน ทำให้สารแต่ละชนิดเคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกันได้ อัตราส่วน
ระหวา่ งระยะทางทส่ี ารองคป์ ระกอบแต่ละชนิดเคล่ือนที่ได้บนตวั ดูดซบั กับระยะทางท่ีตวั ทำละลายเคลื่อนท่ีได้
เป็นค่าเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหน่ึง ๆ การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธีการ
แยกสารผสมที่มีสมบัติการละลายในตวั ทำละลายที่ต่างกัน โดยชนิดของตัวทำละลายมผี ลต่อชนดิ และปริมาณ
ของสารทส่ี กัดได้การสกัดโดยการกล่นั ดว้ ยไอนำ้ ใชแ้ ยกสารทรี่ ะเหยง่าย ไมล่ ะลายนำ้ และไม่ทำปฏกิ ิริยากับน้ำ
ออกจากสารทีร่ ะเหยยาก โดยใชไ้ อน้ำเปน็ ตวั พา
สาระการเรยี นรู้
• ความหมายการตกผลกึ
การตกผลกึ คือ ปรากฏการณ์ท่ีของแข็งท่เี ปน็ ตวั ละลายแยกออกจากสารละลายอ่ิมตัว เม่ือสารละลาย
อิ่มตัวมีอุณหภูมิลดลง ถ้าสารละลายอิ่มตัวเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว จะเกิดผลึกที่มีขนาดเล็ก แต่ถ้าสารละลาย
อิ่มตัวเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ จะเกิดผลึกที่มีขนาดใหญ่ ผลึกที่สมบูรณ์ของสารต่างชนิดกันจะมีรูปทรงที่แตกต่าง
กนั
วิธตี กผลึกทน่ี ยิ มใช้ในปจั จบุ นั คอื การตกผลกึ ในสารละลายดว้ ยตัวทำละลายที่เหมาะสม ตวั ทำละลาย
ท่ีใช้ในการตกผลึก ควรมสี มบตั ดิ งั นี้
- ละลายสารทต่ี ้องการตกผลึกไดด้ ใี นขณะรอ้ น
- จุดเดอื ดของตัวทำละลายไมส่ งู มาก
- ต้องมีจุดเดือดต่ำกวา่ จุดเดือดของสารท่ีตอ้ งการตกผลกึ
- ควรให้ผลกึ ท่มี รี ปู รา่ งดี
- ตดิ ไฟไดย้ าก
- มรี าคาถูก
• ขัน้ ตอนในการตกผลึก
1. เลือกตวั ทำละลายทีเ่ หมาะสม
2. บดสารทต่ี อ้ งการตกผลึกให้ละเอยี ด ใสใ่ นภาชนะทม่ี ีตวั ทำละลายอยู่เล็กนอ้ ย
3. อุ่นสารให้มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นช้าๆ พร้อมกับเติมตัวทำละลายลงไปจนมีปริมาณพอสมควร ทำให้
สารละลายที่ได้เปน็ สารละลายอ่ิมตัว แลว้ อุ่นสารละลายต่อไปจนอุณหภมู ใิ กลเ้ คียงกับจุดเดือดของตวั ทำละลาย
เพอื่ ใหผ้ ลึกทบ่ี ดละเอียดละลายหมด
4. กรองในขณะท่ีสารละลายยังรอ้ น
5. ปล่อยให้สารละลายที่ได้จากการกรองเย็นลงช้า ๆ อย่าให้ถูกกระทบกระเทือนหรือเคลื่อนไหว
เพื่อใหไ้ ด้รปู ผลกึ ท่ีสวยงาม
6. ผลึกท่ีตกครั้งแรกอาจไมบ่ รสิ ทุ ธิเ์ พียงพอ ต้องตกผลกึ ใหมอ่ กี ครั้งเพื่อให้มคี วามบรสิ ุทธ์เิ พิม่ ขน้ึ
• ประโยชน์ของการตกผลึกในชีวิตประจำวัน
- การทำนาเกลือ
- การทำนำ้ ตาลทราย
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
นักเรยี นสามารถอธิบายการแยกสารผสมโดยการตกผลกึ ได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นสามารถวาดผลกึ ของสารบางชนิดจากการแยกสารผสมโดยการตกผลึกได้
2) นักเรียนสงั เกตผลการทดลองการแยกสารโดยการตกผลึก และตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรมได้
กระชับ ไดใ้ จความสมบูรณ์
ด้านคุณลักษณะ (A)
นักเรียนมีความรับผิดชอบในภาระงานท่คี รูมอบหมาย และส่งงานได้ในเวลาทกี่ ำหนด
สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสอ่ื สาร
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มวี นิ ยั
2. มีความสนใจใฝ่เรยี นรู้
3. มุ่งมน่ั ตง้ั ใจทำงานดว้ ยความเพียรพยายาม
4. มีจติ สาธารณะ
กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ข้นั ที่ 1 : ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาที)
ครูนำเข้าสู่บทเรียน โดยการเปิดรูปเกลือแกง แล้วตั้งคำถามชวนคิดว่า “ทำอย่างไรจึงจะได้เกลือแกง
ลักษณะแบบนี้” (แนวคำตอบ : ขึ้นอยู่กับคำตอบของนักเรียน) และครูจะมาเฉลยท้ายคาบหลังเรียนเรื่องการ
แยกสารด้วยวธิ ีการตกผลกึ
ขัน้ ที่ 2 : ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (80 นาท)ี
1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “การตกผลึก” แก่นักเรียน โดยใช้สื่อคลิปวีดีโอ เรื่อง “การตกผลึก
(วิทยาศาสตร์ ม. 2 เลม่ 2 หนว่ ยที่ 6 บทที่ 1)” ให้นกั เรียนดู (ทมี่ า: https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-sci-
book2/sci-m2b2-007/) และหนังสอื วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ม.2 (MAC 4.0) หน้า 50-53
2. ครใู หน้ กั เรียนดูกจิ กรรมแยกสารโดยการตกผลกึ (จากคลิปวิดีโอ) ซ่ึงมีข้ันตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
2.1 ละลายจุนสีทีละ 1ช้อนเบอร์ 2 ในน้ำปริมาตร 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิห้อง
จนกระทัง่ จุนสีไม่สามารถละลายไดอ้ กี
2.2 ให้ความร้อนจนกระทั่งจุนสีละลายหมด จากนั้นค่อย ๆ เติมจุนสีทีละช้อน จำนวน 5-10 ช้อน
ถ้ามีจุนสีที่ไม่ละลายหรือสารเจือปนอื่น ๆ เหลืออยู่ในสารละลาย ให้กรองสารละลายจุนสีที่ได้ด้วยกระดาษ
กรอง ในขณะที่ยงั ร้อนอยู่
2.3 ตั้งสารละลายจุนสีที่กรองแลว้ ไว้จนกระท่ังสารละลายจุนสีมีอุณหภูมิลดลงจนถึงอุณหภูมิห้อง
และสงั เกตการเปล่ียนแปลง แลว้ บันทกึ ผล
2.4 กรองแยกของแข็งออกจากของเหลว สังเกตลักษณะของของแข็งที่ได้ และเปรียบเทียบ
ของแข็งทไี่ ดก้ บั จนุ สกี อ่ นละลายน้ำ แลว้ บันทึกผล
2.5 ครสู รุปผลการทำกิจกรรมแยกสารโดยการตกผลกึ
ขน้ั ที่ 3 : อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (20 นาท)ี
1. ครใู ห้นักเรยี นสงั เกตผลการทดลองจากคลิปวิดโี อ “การตกผลึก (วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 เลม่ 2 หน่วยที่
6 บทท่ี 1)” แลว้ ตอบคำถาม 1-2 ในนาทที ่ี 7.21 ลงในสมุด
1.1 จากภาพ ตัวทำละลายดังกล่าวเหมาะสำหรับใช้ในการตกผลึกสาร B และ C หรือไม่ เพราะ
เหตุใด (แนวคำตอบ : เมื่อลดอุณหภูมิลงสภาพละลายได้ของสาร B ยังคงเท่าเดิมสาร B จึงไม่ตกผลึก
แยกออกมาจากสารละลาย ส่วนสาร C เมื่อลดอุณหภูมิลงสภาพละลายได้ของสาร C จะลดลงเพียงเล็กน้อย
สาร C จึงตกผลึกแยกออกมาจากสารละลายในปริมาณเพียงเล็กน้อย ดังนั้นตัวทำละลายดังกล่าวไม่เหมาะ
สำหรบั การตกผลึกของสาร B และสาร C)
1.2 การแยกสารด้วยวธิ ีการระเหยแหง้ และการตกผลึกเหมือนและแตกต่างกนั อย่างไร
(แนวคำตอบ : สารที่แยกได้ทงั้ 2 วิธี มสี ถานะเป็นของแข็ง แตม่ ลี ักษณะของสารที่แตกต่างกัน
โดยวิธกี ารระเหยแหง้ จะไดส้ ารท่ีมรี ปู ร่างไม่แนน่ อน สว่ นวิธีการตกผลึกมรี ปู ร่างเป็นเรขาคณติ )
2. ครสู รปุ เน้ือหาการตกผลึกใหน้ ักเรยี นฟงั
ขน้ั ที่ 4 : ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) (30 นาท)ี
ครใู ห้นกั เรยี นทำใบงาน 2.2 เรื่อง การตกผลึก
ขัน้ ท่ี 5 : ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (10 นาท)ี
ครูประเมินผลการเรยี นรู้จากใบงานที่ 2.2, การตอบคำถามท้ายการทดลองในสมุด และแบบประเมิน
สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล โดยใช้เกณฑก์ ารประเมินจากแผนการเรยี นรทู้ ่ี 13
สอื่ อปุ กรณก์ ารเรียนรู้ และแหล่งการเรยี นรู้
1) คลิปวดิ ีโอ “การตกผลกึ (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2 หนว่ ยที่ 6 บทท่ี 1)”
(ทม่ี า: https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-sci-book2/sci-m2b2-007/)
2) หนงั สือวิชาวทิ ยาศาสตร์ ม.2 (MAC 4.0)
3) ใบงาน 2.2 เรือ่ ง การตกผลกึ
การวดั และการประเมนิ วิธีการวัด เครอื่ งมอื วัด เกณฑใ์ ช้ประเมิน
ประเด็นการประเมิน
ดา้ นความรู้ (K)
นักเรียนสามารถอธิบายการแยกสาร ตรวจจากใบงานที่ 2.2 ใบงานท่ี 2.2 การตกผลกึ ระดับคุณภาพ
ผสมโดยการตกผลึกได้ การตกผลึก (ขอ้ 1, 2 และ 3) พอใช้ ผ่านเกณฑ์
ดา้ นทักษะ (P)
1) นักเรียนสามารถวาดผลึกของสาร ตรวจจากใบงานที่ 2.2 ใบงานท่ี 2.2 การตกผลึก ระดบั คุณภาพ
บางชนิดจากการแยกสารผสมโดย การตกผลกึ (ขอ้ 4) พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
การตกผลกึ ได้
2) นกั เรยี นสงั เกตผลการทดลองการ ตรวจจากการตอบคำถาม การตอบคำถามท้าย ระดับคุณภาพ
พอใช้ ผ่านเกณฑ์
แยกสารโดยการตกผลึก และตอบ ท้ายกจิ กรรม กิจกรรม (ในสมุด)
คำถามทา้ ยกิจกรรมไดก้ ระชับ ได้
ใจความสมบรู ณ์
ด้านคุณลกั ษณะ (A)
นักเรียนมคี วามรับผิดชอบในภาระ ตรวจจากการส่งงานใบ แบบบนั ทกึ การสง่ งาน ระดบั คุณภาพ
งานทคี่ รมู อบหมาย และสง่ งานได้ใน งานท่ี 2.2 และสมุด พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
เวลาท่ีกำหนด
เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรู้ (K)
ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
3 21 0
นักเรยี นไม่สามารถ
นกั เรียนสามารถ นกั เรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ อธบิ ายการแยกสาร
ผสมโดยการตกผลึก
อธบิ ายการแยกสาร อธบิ ายการแยกสาร อธบิ ายการแยกสาร อธิบายการแยกสาร ในใบงานท่ี 2.2 ได้
(0 ข้อ)
ผสมโดยการตกผลกึ ได้ ผสมโดยการตกผลึก ผสมโดยการตกผลึก ผสมโดยการตกผลึก
(3 คะแนน) ในใบงานที่ 2.2 ได้ ในใบงานท่ี 2.2 ได้ ในใบงานท่ี 2.2 ได้
ถกู ต้อง 3 ข้อ ถูกต้อง 2 ข้อ ถูกต้อง 1 ข้อ
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นทักษะ (P)
ประเด็นการประเมนิ 3 ระดบั คณุ ภาพ 0
21
1) นักเรยี นสามารถวาด นกั เรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ นกั เรียนไมส่ ามารถ
ผลึกของสารบางชนิด วาดผลกึ ของสาร วาดผลกึ ของสาร วาดผลกึ ของสาร วาดผลกึ ของสาร
จากการแยกสารผสม บางชนิดจากการ บางชนิดจากการ บางชนิดจากการ บางชนดิ จากการ
โดยการตกผลกึ ได้ แยกสารผสมโดย แยกสารผสมโดย แยกสารผสมโดย แยกสารผสมโดย
(3 คะแนน) การตกผลกึ ได้ท้ัง 3 การตกผลกึ ได้ 2 การตกผลกึ ได้เพยี ง การตกผลกึ ได้ (0
ชนิด ชนดิ 1 ชนดิ ชนดิ )
2) นักเรยี นสังเกตผล นักเรียนสงั เกตผล นกั เรียนสังเกตผล นกั เรยี นไมส่ ังเกต
การทดลองการแยก การทดลองการแยก การทดลองการ ผลการทดลองการ
สารโดยการตกผลกึ สารโดยการตกผลกึ แยกสารโดยการ แยกสารโดยการตก
และตอบคำถามท้าย และตอบคำถาม ตกผลึก และตอบ ผลกึ และตอบ
กิจกรรมได้กระชบั ได้ ทา้ ยกจิ กรรมได้ คำถามท้าย คำถามท้าย
ใจความสมบรู ณ์ กระชับ ได้ใจความ กิจกรรมไดก้ ระชับ กิจกรรมไดก้ ระชบั
(2 คะแนน) สมบรู ณ์ 2 ขอ้ ไดใ้ จความสมบรู ณ์ ไดใ้ จความสมบรู ณ์
เพยี ง 1 ข้อ (0 ข้อ)
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
4-5 ดี
2-3
0-1 พอใช้
ปรับปรงุ
เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (A)
ประเด็นการประเมนิ 3 ระดับคุณภาพ 0
21
นกั เรียนมีความ ส่งงานตรงตามที่ สง่ งานช้ากว่ากำหนด ส่งงานช้ากวา่ กำหนด ส่งงานชา้ กว่ากำหนด
รบั ผิดชอบในภาระงาน กำหนด (อาทติ ย์ทนี่ ัด 1-2 วัน 3 วัน มากกวา่ 3 วันหรอื ไม่
ท่คี รมู อบหมาย และส่ง สง่ งาน) สง่
งานได้ในเวลาท่ีกำหนด
(3 คะแนน)
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดับคุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
เร่อื ง การตกผลึก ช้ัน ม.2/1 .
ผลการประเมนิ ตามแบบประเมนิ
-นกั เรียนจำนวน......... คน คดิ เป็นร้อยละ............ มผี ลการประเมนิ ด้าน K ในระดบั …….......
-นกั เรยี นจำนวน......... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ............. มีผลการประเมินดา้ น P ในระดบั ……......
-นักเรยี นจำนวน..........คน คดิ เป็นร้อยละ.............. มผี ลการประเมนิ ด้าน A ในระดบั …….....
ปญั หาทพ่ี บจากการสอนในคาบเรียน
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
.............................................................................................................. ................................................................
การแก้ไขปญั หาและอุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ผลการแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะในการสอนครั้งถัดไป
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงช่ือ.....................................................................
(นางสาวนุสรนิ ทร์ อิ่นคำ) .
นกั ศึกษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
เร่ือง การตกผลึก ช้นั ม.2/2 .
ผลการประเมนิ ตามแบบประเมนิ
-นักเรียนจำนวน......... คน คิดเปน็ ร้อยละ............ มผี ลการประเมนิ ด้าน K ในระดับ …….......
-นกั เรียนจำนวน......... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ............. มผี ลการประเมินดา้ น P ในระดบั ……......
-นักเรียนจำนวน..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ.............. มีผลการประเมนิ ด้าน A ในระดบั …….....
ปัญหาทพ่ี บจากการสอนในคาบเรยี น
..................................................................................................................................................................... .........
.......................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. .................................................
การแก้ไขปญั หาและอุปสรรค
................................................................................................................................ ..............................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ผลการแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ขอ้ เสนอแนะในการสอนครง้ั ถัดไป
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................................... ..........................................................................
ลงชื่อ.....................................................................
(นางสาวนสุ รนิ ทร์ อนิ่ คำ) .
นักศึกษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู
ความคิดเหน็ ของผพู้ ่ีเล้ียง
ได้ทำการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
(ว22101) และมีความคดิ เหน็ ดงั นี้
1. เปน็ หนว่ ย/แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ดมี าก ดี พอใช้
2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ไดน้ ำเอาทกั ษะกระบวนการเรยี นรู้
ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญใชใ้ นการสอนอยา่ งเหมาะสม
ทย่ี ังไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ หนว่ ย/แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ นำไปใช้ในการสอนไดจ้ ริง
ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……………
.……….……………………………………………………………………………………………………………………….………….……………
…............................................................................................................................ ...............................................
................................................................................................................................. .............................................
ลงช่ือ.........................................................
(นางพชั รา ภริ ะกนั ทา) .
ครูพี่เล้ียง .
................../................./..................
ใบงานท่ี 2.2 วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 คะแนนท่ไี ด้
หน่วยท่ี 2 การแยกสารผสม ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การตกผลึก
จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ใหถ้ กู ตอ้ ง ได้ใจความสมบูรณ์
1. สารละลายอมิ่ ตัว มีความหมายวา่ อยา่ งไร…………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การตกผลึก (crystallization) มหี ลกั การอยา่ งไร…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. จากภาพ เปน็ การตกผลกึ สารสม้ นกั เรยี นจงเขยี นอธิบายขั้นตอน ทั้ง 4 ข้นั ตอน ให้สมบูรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จงวาดผลกึ ของสารท้งั สามชนิด ลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง
ผลึกเกลอื แกง ผลกึ จุนสี ผลึกสารส้ม
ชือ่ ……………………………………………………………………………..ชน้ั /ห้อง………………………….เลขท…ี่ ………………….
ใบงานท่ี 2.2 วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 เฉลย
คะแนนทีไ่ ด้
หนว่ ยท่ี 2 การแยกสารผสม ใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง การตกผลึก
จงตอบคำถามตอ่ ไปนีใ้ ห้ถูกตอ้ ง ได้ใจความสมบูรณ์
1. สารละลายอ่ิมตวั มคี วามหมายว่าอยา่ งไร…ห…ม…าย…ถ…งึ …ส…าร…ล…ะล…า…ย…ท…ม่ี ปี…ร…มิ …าณ……ตัว…ถ…ูก…ละ…ล…า…ยอ…ย…ู่เต…็ม…ท…ี่ จ…น…ไ…ม่.
…สา…ม…าร…ถ…ล…ะล…า…ย…ต่อ…ไ…ป…ได…้อ…ีก…แล…้ว…ณ……อ…ณุ …ห…ภ…มู ิข…ณ…ะ…น…้นั ………………………………………………………………………
2. การตกผลึก (crystallization) มีหลักการอย่างไร…เป…็น…ก…า…รแ…ย…ก…ขอ…ง…แ…ขง็…อ…อ…กจ…า…ก…สา…ร…ล…ะล…า…ย…อมิ่…ต…ัว…ท…่ี …
…อณุ…ห…ภ…มู …ิส…งู …เม…ื่อ…อ…ุณ…ห…ภ…ูม…ิลด…ล…ง…คว…า…ม…สา…ม…าร…ถ…ใน…ก…า…รล…ะ…ล…าย…ก…็ล…ด…ลง……ส่ว…น…ข…อง…ต…ัว…ละ…ล…า…ยท…่ีม…ีม…า…กเ…ก…ิน…พอ……
…จะ…แ…ย…กต…ัว…อ…อ…กจ…า…ก…สา…ร…ละ…ล…า…ยเ…ป…น็ …ขอ…ง…แ…ข็ง…ท…่ีม…ีรปู…ท…ร…งเ…ล…ข…าค…ณ…ิต…เ…รีย…ก…ว…่า…ผ…ลกึ……(c…ry…s…ta…l)……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. จากภาพ เป็นการตกผลกึ สารส้ม นักเรียนจงเขยี นอธิบายข้นั ตอน ท้ัง 4 ขน้ั ตอน ให้สมบูรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…1.…ล…ะ…ลา…ย…ส…าร…ส…ม้ …ลง…ใน…น…้ำ…โ…ด…ยใ…ส…ส่ …าร…ส…้มป…ร…ิม…า…ณ…มา…ก…จ…น…ไ…มส่…า…ม…าร…ถ…ล…ะล…า…ย…ได…้ …………………………………
…2.…น…ำ…ไป…ให…ค้…ว…า…มร…้อ…น…เพ…่ิม…เ…พ…่ือ…ให…ส้ …าร…ส…ม้ …ละ…ล…า…ยไ…ด…ห้ …มด…เ…ป…น็ เ…น…อื้ …เด…ยี …ว………………………………………………
…3.…ป…ล…อ่ …ยใ…ห…้เย…น็ …ล…งด…ว้ …ยอ…ณุ…ห…ภ…ูม…ิห…้อ…ง…ส…าร…ส…ม้ …จะ…ค…่อ…ย…ๆ…จ…ับ…ก…ัน…เป…็น…ผ…ลึก…ข…อ…งแ…ข…ง็ …………………………………
…4.…ผ…ล…ึกเ…ก…ดิ ข…้ึน…อ…ย…่าง…ส…ม…บ…รู ณ…์………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จงวาดผลึกของสารท้ังสามชนดิ ลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกต้อง
ผลกึ เกลือแกง ผลึกจนุ สี ผลกึ สารสม้
ช่ือ……………………………………………………………………………..ชั้น/หอ้ ง………………………….เลขท…ี่ ………………….
แบบประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/1
วิชาวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน เรือ่ ง การตกผลกึ
ลำดบั ชื่อ-สกุล ความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะ รวม ผลการประเมนิ
1 เดก็ ชายเจษฎา อนิ่ แกว้ 35 3 11 ผ่าน ไม่ผ่าน
2 เดก็ ชายณฐั พงศ์ สมนา
3 เด็กชายสิทธกิ ร ชัยอาจ
4 เดก็ ชายอชติ ะ เพ็ชรมาศ
5 เด็กหญิงนลิ าวลั ย์ ศริ ริ วง
6 เด็กหญิงพชั รสดุ า บญุ ชยั อาจ
7 เด็กชายวรเชษฐ โพธนิ์ ิล
8 เด็กชายดุลยวัต บรรพตผล
9 เด็กชายนพดล คมสูงเนนิ
10 เด็กชายบวรภัค เทยี นหอม
11 เดก็ หญงิ วริ ากานต์ ธิดาธนาพร
12 เด็กหญิงลลี าวดี อาเซาะ
13 เดก็ ชายปญั ญา แซห่ าญ
14 เด็กหญงิ จารุวรรณ สาธติ บุญ
15 เดก็ ชายพทิ ักษ์ เลายะ
16 เด็กหญงิ พรธดิ า ปู่เหล็ก
17 เดก็ หญงิ สนุ ิสา บงกชผอ่ งอำไพ
18 เดก็ ชายปณั ณวชิ ญ์ ทองใส
19 เด็กชายไพศาล กากลุ
20 เด็กชายภกั ดี แซม่ า้
21 เด็กหญิงกมลชนก จะหย่อ
**หมายเหตุ ผ่านเกณฑ์คะแนนรวมไมต่ ำ่ กว่า 6 คะแนน
ผ่าน……………………..คน
ไมผ่ ่าน………………….คน
แบบประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/2
วิชาวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน เรอ่ื ง การตกผลกึ
ลำดับ ชอ่ื -สกุล ความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะ รวม ผลการประเมนิ
1 เดก็ ชายเจตษิพทั ธ์ เขตวงั 35 3 11 ผา่ น ไม่ผ่าน
2 เดก็ ชายมนเุ ชษฐ์ บัวเย็น
3 เดก็ หญงิ ซาราห์ รุ่งอรณุ ฉาย
4 เด็กหญงิ ณฎั ฐณิชา คำมูล
5 เดก็ หญิงพรทวิ า รตั นชมุ ภู
6 เดก็ ชายวันชนะ ทองใบ
7 เดก็ ชายจักริน แซ่ต้งั
8 เดก็ ชายชุมพร เตชะพนาลยั
9 เดก็ ชายธนนิ ทรายโชติชลาลัย
10 เดก็ ชายวรโชติ สดุ สายเขียว
11 เด็กหญงิ วรนิ ทร ศรีสำราญ
12 เด็กชายวริ ตั น์พงษ์ ธิดาชนาพร
13 เดก็ หญิงอายานี ศรีไสวบงกช
14 เดก็ ชายอสั ดงค์ แซ่ย่าง
15 เดก็ หญิงสนุ ิสา ชะสวุ รรณ์
16 เดก็ หญงิ ชนดิ า มาแฮ
17 เด็กชายธนพัฒน์ คนหลวง
18 เด็กหญงิ ณชิ า กติ ติยังกุล
19 เด็กชายอดุ มศกั ด์ิ พงกาง
20 เด็กหญงิ เบญจวรรณ บัวระวงค์
**หมายเหตุ ผ่านเกณฑ์คะแนนรวมไม่ตำ่ กวา่ 6 คะแนน
ผา่ น……………………..คน
ไมผ่ ่าน………………….คน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2
เวลาทง้ั หมด 18 ชวั่ โมง
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เวลา 3 คาบ
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง การแยกสารผสม ผู้สอน นางสาวนุสรินทร์ อ่นิ คำ
แผนที่ 14 เรือ่ ง การกลัน่ แบบธรรมดา
สอนวนั ท่ี 4 สงิ หาคม 2564
มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวดั
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมบัติของสสาร
กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ
เกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี
ตัวช้วี ดั
ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกล่นั อย่างง่าย โครมาโทกราฟแี บบ
กระดาษ การสกดั ด้วยตัวทำละลาย โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ
สกดั ด้วยตวั ทำละลาย
สาระสำคญั
การแยกสารผสมใหเ้ ปน็ สารบริสทุ ธ์ิทำไดห้ ลายวธิ ีข้นึ อยู่กับสมบตั ิของสารนน้ั ๆ การระเหยแห้งใช้แยก
สารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้ความร้อนระเหย
ตัวทำละลายออกไปจนหมดเหลือแต่ตัวละลาย การตกผลึกใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัวแล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไป
บางส่วนตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่างง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายและ
ตัวทำละลายที่เป็นของเหลวท่ีมีจุดเดือดต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดยให้
ความร้อนกับสารละลายของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอ แยกจากสารละลายแล้วควบแน่นกลับเป็น
ของเหลวอีกครงั้ ขณะทข่ี องเหลวเดือด อณุ หภมู ิของไอจะคงท่ี โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเปน็ วิธีการแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย ตัวดูดซับ
แตกต่างกัน ทำให้สารแต่ละชนิดเคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกันได้ อัตราส่วน
ระหวา่ งระยะทางท่ีสารองค์ประกอบแต่ละชนิดเคล่ือนท่ีได้บนตวั ดูดซบั กับระยะทางที่ตัวทำละลายเคล่ือนที่ได้
เป็นค่าเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหน่ึง ๆ การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธีการ
แยกสารผสมที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายทีต่ ่างกัน โดยชนิดของตัวทำละลายมีผลต่อชนดิ และปริมาณ
ของสารทสี่ กดั ไดก้ ารสกดั โดยการกล่ันดว้ ยไอนำ้ ใช้แยกสารที่ระเหยงา่ ย ไมล่ ะลายน้ำ และไม่ทำปฏิกริ ยิ ากับน้ำ
ออกจากสารท่ีระเหยยาก โดยใช้ไอนำ้ เปน็ ตัวพา
สาระการเรียนรู้
• ความหมายการกล่นั
การกลั่น (Distillation) คือ กระบวนการแยกสารละลายที่เป็นของเหลวหรือทำสารให้บริสุทธิ์
(Purification) จากสารละลายผสม โดยการให้ความร้อนที่อุณหภูมิต่างๆกัน เพื่อทำให้สารละลายหรือตัว
ทำลายหน่ึงระเหยกลายเป็นไอ จากนั้นไอจะเกดิ การเคลื่อนท่ผี ่านเครื่องควบแน่น (Condenser) ท่ีอุณหภูมิต่ำ
จึงเกิดการควบแน่นกลับเป็นของเหลวอีกครั้งในภาชนะอื่น การกลั่น เป็นกระบวนการที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย
ในอุตสาหกรรม เช่น การผลิตน้ำมัน (Gasoline) และน้ำมันเชื้อเพลิง (Kerosene), การผลิตน้ำกลั่น, การ
แยกตวั ทำละลายอนิ ทรยี ์ ฯลฯ
• การกล่ัน แบง่ เปน็ 4 ประเภท
1. การกลั่นแบบธรรมดาหรอื การกลั่นอย่างงา่ ย (Simple Distillation)
2. การกลน่ั ลำดับส่วน (Fractional Distillation)
3. การกลั่นน้ำมนั ดิบ (Refining)
4. การกลน่ั ดว้ ยไอน้ำ (Steam Distillation)
สำหรับในหัวข้อนี้ จะกล่าวเพียงแค่การกลั่นแบบธรรมดาหรือการกลั่นอย่างง่าย (Simple
Distillation) เพยี งเทา่ นัน้ เน่อื งจากการกลั่นประเภทน้ี เปน็ การกล่นั โดยทว่ั ไปที่นยิ มใช้ในห้องปฏิบัติการ ซึ่งมี
รายละเอียดดังต่อไปนี้
การกลั่นแบบธรรมดาหรือการกลั่นอย่างง่าย (Simple Distillation) เป็นวิธีการที่ใช้แยกสารระเหย
ง่ายซึ่งปนอยู่กับสารที่ระเหยยาก การกลั่นแบบธรรมดานี้ จะใช้แยกสารออกเป็นสารบริสุทธิ์เพียงครั้งเดียวได้
สารที่มีจุดเดือดต่างกันตง้ั แต่ 80 องศาเซลเซยี สขนึ้ ไป
• ข้นั ตอนการกล่ันอยา่ งง่าย มีขนั้ ตอนดงั ต่อไปน้ี
1. เทของเหลวหรือสารละลายผสมท่ีจะกลัน่ ลงในฟลาสกลน่ั (Distillation flask)
2. เติมเม็ดแก้ว (Glass beat) 2-3 เม็ด เพื่อลดการเดือดพลุ่ง ทำให้เกิดการเดือดอย่างสม่ำเสมอ ไม่
รนุ แรง
3. ต่อฟลาสกลน่ั เข้ากบั ข้อต่อของคอนเดนเซอร์ (Condenser) และภาชนะรองรับ (Receiving flask)
จากนัน้ เสยี บเทอรโ์ มมเิ ตอร์ ทีป่ ากฟลาสกลัน่ บนขอ้ ต่อ
4. เปิดนำ้ ให้ผ่านเขา้ ไปในคอนเดนเซอรเ์ ยน็ โดยให้นำ้ เข้าทางทตี่ ำ่ (Water-IN) แล้วไหลออกจากทางที่
สงู (Water-OUT)
5. ให้ความร้อนฟลาสกลัน่ จนของเหลวเริม่ เดือด ให้ความรอ้ นไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งอัตราการกล่งั คงท่ี
ใหส้ ารทีก่ ลนั่ ไดน้ ล้ี งในภาชนะรองรบั
6. การกลน่ั ต้องอยา่ กลนั่ ใหแ้ ห้ง ให้มสี ารในฟลาสกลัน่ เหลอื อยูเ่ พยี งเล็กนอ้ ย จึงหยุดกล่นั
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ด้านความรู้ (K)
นักเรยี นสามารถอธบิ ายการแยกสารผสมโดยการกล่นั แบบธรรมดาได้
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
นักเรียนสังเกตผลการทดลองการแยกสารโดยการกลั่นแบบธรรมดา และตอบคำถามท้าย
กจิ กรรมไดก้ ระชับ ไดใ้ จความสมบรู ณ์
ด้านคุณลักษณะ (A)
นกั เรยี นมีความรับผดิ ชอบในภาระงานท่คี รมู อบหมาย และส่งงานไดใ้ นเวลาทกี่ ำหนด
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการสอื่ สาร
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. มีความสนใจใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งม่ันต้ังใจทำงานดว้ ยความเพยี รพยายาม
4. มีจติ สาธารณะ
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขัน้ ท่ี 1 : ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียน โดยการกล่าวถึงบทเรียนเรื่องการแยกสารด้วยวิธีการระเหยแห้ง และการตก
ผลกึ ท่ีนกั เรียนได้ทำการศึกษาแลว้ เพือ่ เชอ่ื มโยงเข้ากบั บทเรยี นทจ่ี ะทำการสอน
2. ครูยกตัวอย่างเหตุการณ์ให้นักเรียนฟัง คือ มีชาวประมงประสบอุบัติเหตุเรือล่มแล้วติดอยู่บนเกาะ
ร้าง ระหว่างนั้นเขารู้สึกกระหายน้ำมาก แต่ไม่สามารถกินน้ำทะเลได้เพราะมีเกลือชนิดต่าง ๆ ละลายอยู่มาก
เกนิ ไป จึงจำเป็นตอ้ งแยกน้ำบริสุทธ์ิออกจากน้ำทะเล จากเหตุการณด์ ังกล่าวครูใช้คำถามถามนักเรียนว่า “เขา
จะต้องแยกสารดว้ ยวธิ กี ารใด” (แนวคำตอบ : ขน้ึ อยูก่ บั คำตอบของนกั เรยี น)
ขัน้ ท่ี 2 : ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration) (80 นาท)ี
1. ครูให้นักเรียนเปิดคลิปวีดีโอ เรื่อง “การกลั่นอย่างง่าย (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2 หน่วยที่ 6 บทที่
1)” ให้นักเรียนดู (ท่ีมา: https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-sci-book2/sci-m2b2-008/) และหนังสือวิชา
วทิ ยาศาสตร์ ม.2 (MAC 4.0) หนา้ 54-56
2. ครูใหน้ ักเรยี นดูกจิ กรรมแยกสารโดยการกลน่ั อย่างงา่ ย (จากคลิปวิดีโอ) ซง่ึ มขี ัน้ ตอนดังต่อไปน้ี
2.1 ใส่ก้อนกรวดขนาดเล็ก 2-3 ก้อน ลงในหลอดทดลองขนาดใหญ่ แล้วเติมสารละลายจุนสี
ปรมิ าตร 10 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร
2.2 จากนั้นต่อปลายสายยางข้างหนึ่งต่อกับหลอดนำแก๊สรูปตัววี แล้วนำหลอดแก๊สรูปตัววีกับ
เทอรโ์ มมิเตอร์ต่อเข้ากบั จุกยาง
2.3 นำจุกยางไปปิดหลอดทดลองที่มีสารละลายจุนสีอยู่ ยึดหลอดทดลอง โดยใช้ขาตั้งพร้อมที่จับ
แล้วดงึ ปลายอกี ด้านหน่งึ ของสายยางใสล่ งในหลอดทดลองขนาดเล็ก
2.4 ใช้ผา้ สำลีหรือกระดาษเยอื่ ชุบน้ำหมาด ๆ ก่อนแลว้ จึงนำมาพันสายยาง แล้วใชด้ า้ ยมัดให้แน่น
จากนั้นใชห้ ลอดหยดหยดนำ้ ให้พอเปียก
2.5 ให้ความร้อนแก่หลอดทดลองขนาดใหญ่ จากนั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสาร อุณหภูมิ
และสิง่ ทไี่ ดใ้ นหลอดทดลองขนาดเล็ก
2.6 จากน้ันดงึ สายยางออกจากหลอดทดลองขนาดเล็กก่อน แล้วจึงดับตะเกียงแอลกอฮอล์
2.7 ครสู รุปผลการทำกิจกรรมแยกสารโดยการกล่นั อยา่ งงา่ ย
ข้ันท่ี 3 : อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) (20 นาท)ี
1. ครูให้นักเรียนสังเกตผลการทดลองจากคลิปวิดีโอ “การกลั่นอย่างง่าย (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2
หน่วยที่ 6 บทที่ 1)” แลว้ ตอบคำถาม 1-2 ในนาทีที่ 6.44 ลงในสมดุ
1.1 การเปลย่ี นแปลงที่เกดิ ขึ้นจากการใหค้ วามรอ้ นแก่สารละลายจนุ สี เกดิ ขึน้ ได้อย่างไร
(แนวคำตอบ : เกิดจากสารละลายจุนสีเดือดกลายเป็นไอ และเจอกับอุณหภูมิตำ่ ทำให้เกิดการ
ควบแน่นกลายเป็นของเหลวไหลลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก สารละลายจุนสจี ึงมีสีเขม้ ขึ้น)
1.2 สารในหลอดทดลองขนาดเลก็ คืออะไร ทราบได้อยา่ งไร
(แนวคำตอบ : สารมีลกั ษณะเปน็ ของเหลว ใส ไม่มสี ี แสดงว่าเปน็ นำ้ )
2. ครสู รปุ เนื้อหาการกลัน่ อยา่ งง่ายใหน้ ักเรยี นฟัง
ขน้ั ท่ี 4 : ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (30 นาที)
ครใู หน้ ักเรยี นทำใบงาน 2.3 เร่ือง การกลน่ั แบบธรรมดา
ขน้ั ท่ี 5 : ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) (10 นาที)
ครูประเมินผลการเรยี นรู้จากใบงานที่ 2.3, การตอบคำถามท้ายการทดลองในสมุด และแบบประเมิน
สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล โดยใช้เกณฑ์การประเมินจากแผนการเรียนรู้ท่ี 14
สือ่ อปุ กรณ์การเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้
1) คลปิ วดิ โี อ “การกลนั่ อย่างงา่ ย (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2 หน่วยท่ี 6 บทที่ 1)”
(ทมี่ า: https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-sci-book2/sci-m2b2-008/)
2) หนงั สือวชิ าวิทยาศาสตร์ ม.2 (MAC 4.0)
3) ใบงาน 2.3 เรือ่ ง การกลัน่ แบบธรรมดา
การวดั และการประเมิน วธิ ีการวัด เคร่ืองมอื วดั เกณฑใ์ ชป้ ระเมนิ
ประเดน็ การประเมนิ
ดา้ นความรู้ (K)
นักเรียนสามารถอธิบายการแยกสาร ตรวจจากใบงานท่ี 2.3 ใบงานท่ี 2.3 การกลน่ั แบบ ระดับคุณภาพ
ผสมโดยการกลัน่ แบบธรรมดาได้ การกลนั่ แบบธรรมดา ธรรมดา พอใช้ ผ่านเกณฑ์
ดา้ นทักษะ (P)
นักเรียนสังเกตผลการทดลองการ ตรวจจากการตอบ การตอบคำถามท้าย ระดบั คุณภาพ
แยกสารโดยการกล่นั แบบธรรมดา คำถามทา้ ยกจิ กรรม กจิ กรรม (ในสมุด) พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
และตอบคำถามท้ายกจิ กรรมได้
กระชับ ไดใ้ จความสมบรู ณ์
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
นักเรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบในภาระ ตรวจจากการส่งงานใบ แบบบนั ทกึ การส่งงาน ระดบั คุณภาพ
งานท่ีครูมอบหมาย และส่งงานไดใ้ น งานท่ี 2.3 และสมุด พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
เวลาที่กำหนด
เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (K)
ประเดน็ การประเมิน 3 ระดับคุณภาพ 0
21 นกั เรยี นไมส่ ามารถ
นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ อธบิ ายการแยกสาร
อธิบายการแยกสาร อธบิ ายการแยกสาร ผสมการกลั่นแบบ
อธิบายการแยกสาร อธิบายการแยกสาร ผสมโดยการกล่ัน ผสมโดยการกลัน่ ธรรมดาในใบงานท่ี
แบบธรรมดาในใบ แบบธรรมดาในใบ 2.3 ไดถ้ กู ตอ้ ง
ผสมโดยการกลั่นแบบ ผสมโดยการกล่นั งานที่ 2.3 ไดถ้ ูกต้อง งานท่ี 2.3 ไดถ้ ูกต้อง
2 ขอ้ 1 ขอ้
ธรรมดาได้ แบบธรรมดาในใบ
(3 คะแนน) งานที่ 2.3 ไดถ้ ูกต้อง
3-4 ข้อ
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรบั ปรงุ
เกณฑ์การประเมินดา้ นทักษะ (P)
ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ
นักเรยี นสงั เกตผลการ 3 210
ทดลองการแยกสาร
โดยการกลั่นแบบ นักเรียนสงั เกตผล นกั เรียนสงั เกตผล นกั เรยี นไมส่ ังเกตผล
ธรรมดา และตอบ
คำถามท้ายกจิ กรรมได้ การทดลองการแยก การทดลองการแยก การทดลองการแยก
กระชับ ได้ใจความ
สมบูรณ์ สารโดยการกลน่ั สารโดยการกล่ัน สารโดยการกลน่ั
(2 คะแนน)
แบบธรรมดา และ แบบธรรมดา และ แบบธรรมดา และ
ตอบคำถามทา้ ย ตอบคำถามทา้ ย ตอบคำถามทา้ ย
กิจกรรมได้กระชับ กิจกรรมได้กระชบั กิจกรรมไดก้ ระชับ
ได้ใจความสมบูรณ์ ได้ใจความสมบูรณ์ ได้ใจความสมบรู ณ์
2 ขอ้ เพียง 1 ข้อ (0 ข้อ)
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
2 ดี
1
0 พอใช้
ปรบั ปรงุ
เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (A)
ประเด็นการประเมนิ 3 ระดับคุณภาพ 0
21
นกั เรียนมีความ ส่งงานตรงตามที่ สง่ งานช้ากว่ากำหนด ส่งงานช้ากวา่ กำหนด ส่งงานชา้ กว่ากำหนด
รบั ผิดชอบในภาระงาน กำหนด (อาทติ ย์ทนี่ ัด 1-2 วัน 3 วัน มากกวา่ 3 วันหรอื ไม่
ท่คี รมู อบหมาย และส่ง สง่ งาน) สง่
งานได้ในเวลาท่ีกำหนด
(3 คะแนน)
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดับคุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
เร่ือง การกลน่ั แบบธรรมดา ชั้น ม.2/1 .
ผลการประเมินตามแบบประเมนิ
-นกั เรยี นจำนวน......... คน คิดเป็นร้อยละ............ มผี ลการประเมินดา้ น K ในระดับ …….......
-นักเรียนจำนวน......... คน คิดเป็นรอ้ ยละ............. มผี ลการประเมินด้าน P ในระดบั ……......
-นกั เรียนจำนวน..........คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.............. มีผลการประเมินดา้ น A ในระดบั …….....
ปญั หาที่พบจากการสอนในคาบเรยี น
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
.............................................................................................................. ................................................................
การแก้ไขปัญหาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ผลการแก้ไข
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะในการสอนครั้งถัดไป
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชอ่ื .....................................................................
(นางสาวนสุ รนิ ทร์ อิน่ คำ) .
นักศึกษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
เร่ือง การกลน่ั แบบธรรมดา ชั้น ม.2/2 .
ผลการประเมินตามแบบประเมนิ
-นกั เรยี นจำนวน......... คน คิดเป็นร้อยละ............ มผี ลการประเมินดา้ น K ในระดับ …….......
-นักเรียนจำนวน......... คน คิดเป็นรอ้ ยละ............. มผี ลการประเมินด้าน P ในระดบั ……......
-นกั เรียนจำนวน..........คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.............. มีผลการประเมินดา้ น A ในระดบั …….....
ปญั หาที่พบจากการสอนในคาบเรยี น
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
.............................................................................................................. ................................................................
การแก้ไขปัญหาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ผลการแก้ไข
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ข้อเสนอแนะในการสอนครั้งถัดไป
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชอ่ื .....................................................................
(นางสาวนสุ รนิ ทร์ อิน่ คำ) .
นักศึกษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู
ความคดิ เหน็ ของผพู้ ี่เลยี้ ง
ได้ทำการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
(ว22101) และมีความคดิ เหน็ ดงั นี้
1. เปน็ หนว่ ย/แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ดมี าก ดี พอใช้
2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ได้นำเอาทกั ษะกระบวนการเรียนรู้
ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญใชใ้ นการสอนอยา่ งเหมาะสม
ทย่ี ังไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป
3. เปน็ หนว่ ย/แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ในการสอนได้จรงิ
ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……………
.……….……………………………………………………………………………………………………………………….………….……………
…............................................................................................................................ ...............................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื .........................................................
(นางพัชรา ภริ ะกนั ทา) .
ครูพี่เล้ียง .
................../................./..................
ใบงานที่ 2.3 วชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 คะแนนท่ไี ด้
หนว่ ยท่ี 2 การแยกสารผสม ใบงานที่ 2.3 เรือ่ ง การกลน่ั แบบธรรมดา
จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ีใหถ้ ูกต้อง ไดใ้ จความสมบูรณ์
1. สารละลาย (solution) คือ………………………………..………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การกล่ัน (distillation) คอื ………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การกลัน่ มีหลกั การอยา่ งไร………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. การกลั่นแบบธรรมดา คอื การแยกสารท่มี ีลกั ษณะอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. จงวาดรปู แลว้ เขยี นอธบิ ายขั้นตอน และบอกหลกั การของการกล่นั น้ำเกลือ ใหไ้ ดใ้ จความสมบรู ณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชอ่ื ……………………………………………………………………………...ชนั้ /ห้อง……………………….เลขท…ี่ ………………….
ใบงานท่ี 21 วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เฉลย
คะแนนที่ได้
หนว่ ยที่ 2 การแยกสารผสม ใบงานที่ 21 เรอ่ื ง การกล่ันแบบธรรมดา
จงตอบคำถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ถกู ตอ้ ง ไดใ้ จความสมบูรณ์
1. สารละลาย (solution) คือ…ข…อ…ง…ผส…ม…เน…้อื…เ…ดยี…ว…ซ…ึง่ .ป.…ร…ะก…อ…บ…ด…้วย…ส…า…รต…่า…งช…น…ิด…ด…ันต…ง้ั…แ…ต…่ 2…ช…น…ดิ …ข้ึน…ไ…ป……
…แผ…ก่ …ร…ะจ…า…ย…ออ…ก…เป…็น…อ…น…ภุ …าค…เ…ล็ก……ๆ…ผ…ส…มร…ว…ม…กนั…อ…ย…ู่อ…ยา่…ง…สม…ำ่ …เส…ม…อ…โ…ด…ยไ…ม…เ่ ก…ดิ …ป…ฏิก…ิร…ยิ …าเ…ค…มี…………………
2. การกลั่น (distillation) คือ…ก…า…รแ…ย…ก…สา…ร…ผ…สม…ท…เี่ …ปน็…ข…อ…งเ…ห…ล…วห…ร…อื …ขอ…ง…แ…ขง็…ท…่ลี …ะล…า…ย…เป…็น…เน…ื้อ…เด…ยี …ว…ก…ับ…..
ข…อ…ง…เห…ล…ว…โด…ย…อ…าศ…ัย…ค…ว…าม…แ…ต…กต…่า…งข…อ…ง…จดุ…เ…ดือ…ด…แ…ล…ะส…ม…บ…ตั …ิก…าร…ร…ะเ…ห…ยย…า…ก…ขอ…ง…ส…าร………………………………
3. การกลั่น มีหลักการอยา่ งไร…ก…า…รแ…ย…ก…ข…อง…เห…ล…ว…ผ…สม…ท…ม่ี …สี …าร…อ…งค…ป์…ร…ะ…กอ…บ…ต…้ัง…แต…่ …2…ช…นิด…ข…้ึน…ไป……โด…ย…ใช…้ …..
…ห…ลกั…ก…า…รท…วี่ …่าส…า…ร…แต…่ล…ะ…ช…นดิ…จ…ะ…ม…ีคว…า…ม…สา…ม…า…รถ…ใน…ก…า…รร…ะ…เห…ย…เป…น็…ไ…อ…ได…ไ้ ม…เ่ …ทา่…ก…นั …ณ……อ…ุณ…ห…ภ…ูมิแ…ล…ะ…ค…วา…ม…
…ดัน…เ…ด…ยี ว…ก…นั …เ…มอ่ื…ใ…ห…ค้ ว…า…ม…ร้อ…น…จ…น…ขอ…ง…เห…ล…ว…ผส…ม…ก…ล…าย…เป…็น…ไ…อ…บา…ง…ส…ว่ น……แล…้ว…น…ำไ…อ…น…น้ั ไ…ป…ค…วบ…แ…น…น่ …ก…ลบั…ใ…ห…้
…เป…น็ …ข…อง…เห…ล…ว…จ…ะ…ได…้ข…อ…งเ…ห…ลว…ผ…ส…ม…หล…ัง…ค…วบ…แ…น…่น…ท…ี่มสี…ว่ …น…ผ…สม…แ…ต…ก…ต่า…ง…จ…าก…ข…อ…งเ…หล…ว…ก…่อ…นก…า…ร…กล…ัน่ ……ดว้…ย…
…เห…ต…ผุ …ลน…ก้ี …า…รก…ล…่นั …จ…ึงส…า…มา…ร…ถ…ใช…้ใน…ก…า…รท…ำ…ให…้ข…อ…ง…เห…ล…วม…ีค…ว…าม…บ…ร…สิ …ทุ ธ…์ิ ………………………………………………
4. การกลัน่ แบบธรรมดา คือการแยกสารทีม่ ลี กั ษณะอย่างไร
…กา…ร…กล…่นั …เ…ป็น…ก…า…รแ…ย…ก…ข…อง…เห…ล…ว…ท…ี่ส…าม…า…รถ…ร…ะ…เห…ย…ได…้ ซ…ง่ึ …ม…ีอง…ค…์ป…ระ…ก…อ…บ…ตง้ั…แ…ต…่ 2…ข…ึ้น…ไ…ป…ก…าร…ก…ล…ั่น…แบ…บ………
…ธร…ร…มด…า…เห…ม…า…ะส…ำ…ห…รับ…ใ…ช…้กล…่ัน…ข…อ…งผ…ส…ม…ใน…ข…อ…งเ…ห…ลว…ท…มี่ …ี จ…ดุ …เด…ือ…ด…(…bo…i…lin…g…p…o…in…t)…แ…ต…ก…ตา่…ง…ก…ัน…3…0………
…อง…ศ…าเ…ซ…ลเ…ซ…ยี ส…ข…้นึ …ไป……………………………………………………………………………………………………………………
5. จงวาดรปู แล้วเขียนอธิบายขัน้ ตอน และบอกหลักการของการกลั่นนำ้ เกลือ ใหไ้ ด้ใจความสมบูรณ์
…นำ้…เ…กล…อื …จ…ะ…ม…ีน…ำ้ เ…ป…็นต…วั…ท…ำ…ละ…ล…า…ย…แ…ละ…น…้ำ…มจี…ุด…เด…ือ…ด…1…0…0…อ…ง…ศา…เซ…ล…เซ…ยี …ส…แ…ล…ะ…เก…ล…ือเ…ป…น็ …ตัว…ล…ะ…ลา…ย…ท…่ี …
…จุด…เ…ดอื…ด…ส…งู ถ…ึง…1…4…1…3…อ…งศ…า…เซ…ล…เซ…ยี …ส…เม…ื่อ…ได…ร้…บั …ค…วา…ม…ร…้อน……น…้ำจ…ะ…ระ…เ…หย…ข…้ึน…ไป…ก…อ่ …น…ก…ล…า…ยเ…ป…็นไ…อ…น…้ำ…แ…ละ…
…เม…อื่ …ไอ…น…้ำ…ผา่…น…เค…ร…อ่ื …งค…ว…บ…แน…่น……ก็จ…ะ…ก…ลับ…ม…า…เป…็น…น…ำ้ …ท่ีเ…ป…็น…ขอ…ง…เห…ล…ว…อกี…ค…ร…งั้ …แ…ต่เ…ก…ลือ…จ…ะ…ย…ังค…ง…อย…ู่ใ…น…ขว…ด……
…กล…นั่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชอ่ื ……………………………………………………………………………...ช้นั /หอ้ ง……………………….เลขท…่ี ………………….
แบบประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2/1
วชิ าวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง การกล่นั แบบธรรมดา
ลำดับ ชอื่ -สกุล ความรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะ รวม ผลการประเมิน
3 2 3 8 ผ่าน ไม่ผา่ น
1 เดก็ ชายเจษฎา อ่นิ แก้ว
2 เดก็ ชายณัฐพงศ์ สมนา
3 เดก็ ชายสิทธิกร ชยั อาจ
4 เด็กชายอชติ ะ เพ็ชรมาศ
5 เด็กหญงิ นิลาวัลย์ ศริ ริ วง
6 เด็กหญิงพชั รสดุ า บุญชัยอาจ
7 เดก็ ชายวรเชษฐ โพธน์ิ ิล
8 เดก็ ชายดลุ ยวตั บรรพตผล
9 เด็กชายนพดล คมสงู เนิน
10 เดก็ ชายบวรภคั เทียนหอม
11 เดก็ หญงิ วริ ากานต์ ธดิ าธนาพร
12 เดก็ หญิงลลี าวดี อาเซาะ
13 เด็กชายปัญญา แซห่ าญ
14 เด็กหญงิ จารุวรรณ สาธิตบญุ
15 เดก็ ชายพทิ กั ษ์ เลายะ
16 เด็กหญิงพรธดิ า ปู่เหล็ก
17 เดก็ หญิงสุนสิ า บงกชผ่องอำไพ
18 เด็กชายปณั ณวิชญ์ ทองใส
19 เด็กชายไพศาล กากลุ
20 เด็กชายภกั ดี แซ่ม้า
21 เดก็ หญงิ กมลชนก จะหย่อ
**หมายเหตุ ผ่านเกณฑค์ ะแนนรวมไม่ตำ่ กวา่ 4 คะแนน
ผ่าน……………………..คน
ไม่ผ่าน………………….คน
แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2/2
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง การกลน่ั แบบธรรมดา
ลำดบั ชอื่ -สกุล ความรู้ ทักษะ คณุ ลักษณะ รวม ผลการประเมนิ
3 2 3 8 ผา่ น ไม่ผ่าน
1 เด็กชายเจตษิพัทธ์ เขตวงั
2 เดก็ ชายมนุเชษฐ์ บัวเยน็
3 เดก็ หญงิ ซาราห์ รุง่ อรุณฉาย
4 เดก็ หญงิ ณฎั ฐณิชา คำมูล
5 เด็กหญิงพรทิวา รัตนชุมภู
6 เดก็ ชายวันชนะ ทองใบ
7 เดก็ ชายจักรนิ แซต่ งั้
8 เดก็ ชายชมุ พร เตชะพนาลัย
9 เด็กชายธนิน ทรายโชตชิ ลาลยั
10 เด็กชายวรโชติ สุดสายเขียว
11 เด็กหญงิ วรินทร ศรสี ำราญ
12 เด็กชายวิรัตน์พงษ์ ธดิ าชนาพร
13 เด็กหญงิ อายานี ศรไี สวบงกช
14 เดก็ ชายอัสดงค์ แซ่ย่าง
15 เดก็ หญิงสุนิสา ชะสวุ รรณ์
16 เด็กหญิงชนิดา มาแฮ
17 เด็กชายธนพัฒน์ คนหลวง
18 เด็กหญิงณิชา กติ ตยิ งั กลุ
19 เด็กชายอุดมศกั ด์ิ พงกาง
20 เด็กหญิงเบญจวรรณ บัวระวงค์
**หมายเหตุ ผ่านเกณฑค์ ะแนนรวมไม่ต่ำกวา่ 4 คะแนน
ผา่ น……………………..คน
ไม่ผา่ น………………….คน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
เวลาท้ังหมด 18 ช่วั โมง
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เวลา 3 คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง การแยกสารผสม ผู้สอน นางสาวนุสรินทร์ อิ่นคำ
แผนที่ 15 เรอื่ ง โครมาโทกราฟี
สอนวันที่ 11 สิงหาคม 2564
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมบัติของสสาร
กบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ
เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี
ตวั ชว้ี ดั
ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกลนั่ อยา่ งงา่ ย โครมาโทกราฟแี บบ
กระดาษ การสกดั ด้วยตัวทำละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ
สกัดดว้ ยตัวทำละลาย
สาระสำคัญ
การแยกสารผสมใหเ้ ป็นสารบริสุทธ์ิทำไดห้ ลายวิธีขึ้นอยู่กับสมบัติของสารน้ัน ๆ การระเหยแห้งใช้แยก
สารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้ความร้อนระเหย
ตัวทำละลายออกไปจนหมดเหลือแต่ตัวละลาย การตกผลึกใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัวแล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไป
บางส่วนตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่างง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายและ
ตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือดต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดยให้
ความร้อนกับสารละลายของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอ แยกจากสารละลายแล้วควบแน่นกลับเป็น
ของเหลวอกี ครงั้ ขณะที่ของเหลวเดือด อุณหภมู ิของไอจะคงที่ โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวธิ กี ารแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย ตัวดูดซับ
แตกต่างกัน ทำให้สารแต่ละชนิดเคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกันได้ อัตราส่วน
ระหว่างระยะทางท่ีสารองค์ประกอบแต่ละชนิดเคล่ือนที่ได้บนตวั ดูดซบั กับระยะทางทตี่ ัวทำละลายเคล่ือนที่ได้
เป็นค่าเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธีการ
แยกสารผสมที่มสี มบัติการละลายในตัวทำละลายทีต่ ่างกัน โดยชนิดของตัวทำละลายมีผลต่อชนดิ และปริมาณ
ของสารทสี่ กดั ไดก้ ารสกัดโดยการกลั่นดว้ ยไอน้ำ ใช้แยกสารท่ีระเหยง่าย ไมล่ ะลายน้ำ และไม่ทำปฏกิ ิริยากับน้ำ
ออกจากสารท่รี ะเหยยาก โดยใช้ไอน้ำเปน็ ตวั พา
สาระการเรยี นรู้
• ความหมายโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี (chromatography) เป็นวธิ ีการทางหอ้ งปฏิบัติการในการแยกสารผสมและตรวจสอบ
ความบริสุทธิ์ของสาร หลักการโดยทั่วไปคือตัวอย่างสารจะผสมกับตัวทำละลายบนตัวดูดซับ เมื่อสารแต่ละ
ชนดิ เคลอ่ื นทด่ี ว้ ยความเร็วต่างกนั ตามความสามารถในการละลายและความสามารถในการดูดซบั ของตัวดูดซับ
สารจะแยกออกจากกนั และปรากฏเป็นสตี ่าง ๆ บนตัวดูดซับ โดยวธิ ีนจ้ี ัดเป็นวธิ ีการแยกสารเน้ือเดยี ว
- ความสามารถในการดดู ซับ ดูดซบั ดี → จะข้ึนไปต่ำ ดดู ซบั น้อย → จะข้ึนไปได้สูง
- ความสามารถในการละลายในตัวทำละลาย ละลายดี → จะขึ้นไปได้สูง ละลายไม่ดี → จะขึ้นไป
ได้ตำ่
• ประเภทของโครมาโทกราฟี มี 3 แบบ ไดแ้ ก่
1. โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ (Paper chromatography) มักใช้กระดาษกรองเป็นส่วนอยู่กับที่
(stationary phase)
2. โครมาโทกราฟีแบบชั้นบาง (Thin layer chromatography) ใช้แผ่นแก้ว พลาสติกหรือโลหะทำ
หนา้ ทเี่ ป็นส่วนค้ำจุนของสว่ นอยูก่ ับที่ โดยสว่ นอยู่กบั ที่มลี กั ษณะเป็นชนั้ บาง ๆ
3. โครมาโทกราฟีแบบคอลัมน์ (Column chromatography) ส่วนอยู่กับที่จะถูกบรรจุไว้ในท่อแก้ว
พลาสตกิ หรอื โลหะ
• วิธกี ารแยกสารดว้ ยโครมาโทกราฟี
นำสารที่ต้องการแยกมาละลายในตัวทำละลายที่เหมาะสมแล้วให้เคลื่อนที่ไปบนตัว ดูดซับ การ
เคลื่อนที่ของสารบนตัวดูดซับขึ้นอยู่กับความสามารถในการละลายของ สารแต่ละชนิดในตัวทำละลาย และ
ความสามารถในการดูดซับที่มีต่อสารนั้น กล่าวคือ สารที่ละลายในตัวทำละลายได้ดี และถูกดูดซับน้อยจะถูก
เคลื่อนที่ออกมา ก่อน ส่วนสารที่ละลายได้น้อยและถูกดูดซับได้ดี จะเคลื่อนที่ออกมาทีหลัง ถ้าใช้ตัวดูดซับ
มาก ๆ จะสามารถแยกสารออกจากกนั ได้
การเลอื กตัวทำละลายและตัวดดู ซับ
1. ตัวทำละลายและสารทีต่ ้องการแยกจะต้องมีการละลายไม่เท่ากนั
2. ควรเลือกตวั ดดู ซบั ท่ีมีการดูดซบั สารไดไ้ มเ่ ทา่ กนั
3. ถ้าต้องการแยกสารที่ผสมกันหลายชนิด อาจต้องใช้ตัวทำละลายหลายชนิดหรือใช้ตัวทำละลาย
ผสม
4. ตวั ทำละลายท่ีนยิ มใช้ ไดแ้ ก่ เฮกเซน ไซโคลเฮกเซน เบนซนี อะซโี ตน คลอไรฟอรม์ เอทานอล
5. ตัวดูดซับทนี่ ิยมใช้ ไดแ้ ก่ อะลมู ินาเจค (Al2O3) ซลิ ิกาเจล (SiO2)
• ค่า Rf
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษสามารถนำมาคำนวณหาคา่ Rf ได้ค่า Rf (Rate of flow) เป็นคา่ เฉพาะตัว
ของสาร ขึน้ อย่กู บั ชนิดของตัวทำละลายและตัวดดู ซับ ดงั นั้นการบอกค่า Rf ของสารแต่ละชนิดจงึ ตอ้ งบอกชนิด
ของตวั ทำละลาย และตวั ดูดซับเสมอคา่ Rf สามารถคำนวณได้จากสตู ร
Rf = ระยะทางท่สี ารเคมีคล่ือนที่ (cm)
ระยะทางทีต่ วั ทำละลายเคลือ่ นท่ี (cm)
สารตา่ งชนิดกันจะมีค่า Rf แตกต่างกนั เพราะฉะน้ันเราจึงสามารถใช้ค่า Rf มาใช้ในการวิเคราะห์ชนิด
ของสารได้ กล่าวคือ ถ้าสารใดมีความสามารถในการละลายสูงจะมีค่า Rf มาก เนื่องจากตัวทำละลายจะ
เคลื่อนที่เร็วกว่าสารที่จะแยก ค่า Rf < 1 เสมอ ถ้าใช้ตัวทำละลายและตัวดูดซับชนิดเดยี วกันปรากฏวา่ มีคา่ Rf
เท่ากัน อาจสันนิษฐานได้ว่า สารดังกล่าวเป็นสารชนิดเดียวกัน หรือนำสารตัวอย่างมาทำโครมาโทกราฟีคู่กับ
สารจรงิ
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (K)
นกั เรียนสามารถอธบิ ายการแยกสารผสมโดยโครมาโทกราฟีแบบกระดาษได้
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1) นกั เรยี นสามารถคำนวณหาคา่ อตั ราการเคลื่อนที่ หรอื Rf ของสารได้
2) นักเรียนสังเกตผลการทดลองการแยกสารโดยโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ และตอบ
คำถามท้ายกิจกรรมได้กระชับ ไดใ้ จความสมบูรณ์
ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
นกั เรยี นมีความรับผดิ ชอบในภาระงานทคี่ รูมอบหมาย และส่งงานไดใ้ นเวลาที่กำหนด
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสอื่ สาร
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี นิ ัย
2. มคี วามสนใจใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งมั่นตัง้ ใจทำงานดว้ ยความเพียรพยายาม
4. มจี ติ สาธารณะ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 : ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียน โดยการกล่าวถึงบทเรียนเรื่องการแยกสารด้วยวิธีการระเหยแห้ง การตกผลึก
และการกล่ันแบบธรรมดาทีน่ กั เรยี นได้ทำการศกึ ษาแลว้ เพือ่ เชื่อมโยงเขา้ กับบทเรียนทจี่ ะทำการสอน
2. ครูใช้คำถามถามนักเรียนว่า “ถ้ามีสารที่ต้องการแยก มีปริมาณที่น้อย เช่น น้ำหมึกปากกา จะ
สามารถแยกด้วยวิธดี งั กล่าวได้หรือไม่ นักเรยี นมคี วามคดิ อยา่ งไร” และครูถามนักเรียนวา่ “นกั เรียนคิดว่าวันน้ี
เราจะมาเรียนเรือ่ งอะไร” (แนวคำตอบ : ขึ้นอยูก่ ับคำตอบของนักเรยี น)
ขั้นที่ 2 : ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (80 นาที)
1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “โครมาโทกราฟี” แก่นักเรียน โดยใช้สื่อคลิปวิดีโอวิทยาศาสตร์ ม.2
เรื่องโครมาโทกราฟี (chromatography) (ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=xozIVwiM_IY)
และหนงั สือวิชาวทิ ยาศาสตร์ ม.2 (MAC 4.0) หน้า 57-60
2. ครเู ปดิ คลปิ วีดีโอ เรอ่ื ง “แยกสารโดยวิธโี ครมาโทกราฟีไดอ้ ย่างไร (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เลม่ 2 หน่วย
ท่ี 6 บทท่ี 1)” ใหน้ ักเรียนดู (ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=Lg3veN9X024&t=0s)
ขน้ั ที่ 3 : อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (20 นาท)ี
1. ครูให้นักเรียนสังเกตผลการทดลองจากคลิปวิดีโอ “แยกสารโดยวิธีโครมาโทกราฟีได้อย่างไร
(วิทยาศาสตร์ ม. 2 เลม่ 2 หนว่ ยท่ี 6 บทที่ 1)” แล้วตอบคำถาม 1-3 ในนาทีท่ี 7.28 ลงในสมุด
1.1 เมือ่ นำกระดาษกรองทีม่ ีจุดสจี ุ่มลงในน้ำ จดุ สีแต่ละสีมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร
(แนวคำตอบ : เมื่อนำกระดาษกรองที่มีจุดสีจุ่มลงในน้ำ พบว่าสีที่จุดไว้เคลื่อนที่ขึ้นไปบน
กระดาษกรอง และมแี ถบสตี ่าง ๆ ปรากฏบนกระดาษกรอง)
1.2 จดุ สีแตล่ ะสมี ีองค์ประกอบเหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร ทราบได้อย่างไร
(แนวคำตอบ : จุดสีแต่ละสีมีองค์ประกอบแตกต่างกัน ทราบได้จากจำนวนแถบสี ระยะทางที่
แถบสีเคล่ือนทีไ่ ป และสีทป่ี รากฏบนกระดาษกรองมีลักษณะตา่ งกนั )
1.3 องค์ประกอบของจุดสีแตล่ ะองคป์ ระกอบสามารถเคลอ่ื นทีไ่ ปได้แตกตา่ งกันหรือไม่ อยา่ งไร
(แนวคำตอบ : องค์ประกอบของจุดสีแต่ละองค์ประกอบสามารถเคลื่อนที่ไปได้แตกต่างกัน
เนือ่ งจากองค์ประกอบของจดุ สแี ยกออกจากกนั และเคล่อื นท่ีไปไดร้ ะยะทางไมเ่ ทา่ กัน)
2. ครสู รปุ เนอ้ื หาโครมาโทกราฟีให้นักเรยี นฟัง
ขั้นที่ 4 : ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (30 นาท)ี
ครใู ห้นกั เรียนทำใบงาน 24 เรอื่ ง โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
ข้นั ที่ 5 : ข้นั ประเมนิ (Evaluation) (10 นาที)
ครูประเมินผลการเรียนรู้จากใบงานที่ 24, การตอบคำถามท้ายการทดลองในสมุด และแบบประเมิน
สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล โดยใช้เกณฑก์ ารประเมนิ จากแผนการเรียนรู้ที่ 15
ส่อื อุปกรณก์ ารเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้
1) คลปิ วดิ โี อ “วิทยาศาสตร์ ม.2 เรอื่ งโครมาโทกราฟี (chromatography)
(ท่ีมา: https://www.youtube.com/watch?v=xozIVwiM_IY)
2) คลปิ วิดีโอ แยกสารโดยวธิ โี ครมาโทกราฟไี ด้อย่างไร (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 2 หนว่ ยที่ 6 บทที่ 1)”
(ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=Lg3veN9X024&t=0s)
3) ใบงาน 24 เร่ือง โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
การวดั และการประเมิน วธิ กี ารวดั เครื่องมอื วดั เกณฑ์ใชป้ ระเมนิ
ประเด็นการประเมิน
ดา้ นความรู้ (K)
นักเรียนสามารถอธิบายการแยกสาร ตรวจจากใบงานที่ 24 ใบงานที่ 24 โครมาโท- ร้อยละ 60
ผสมโดยโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ โครมาโทกราฟี กราฟี (ขอ้ 1, 2 และ 4) ผา่ นเกณฑ์
ได้
ด้านทกั ษะ (P)
1) นักเรียนสามารถคำนวณหาค่า ตรวจจากใบงานที่ 24 ใบงานที่ 24 โครมาโท- ร้อยละ 60
ผา่ นเกณฑ์
อัตราการเคลื่อนที่ หรือ Rf ของสาร โครมาโทกราฟี กราฟี (ขอ้ 3)
ได้
2) นกั เรียนสังเกตผลการทดลองการ ตรวจจากการตอบ การตอบคำถามทา้ ย รอ้ ยละ 60
แยกสารโดยโครมาโทกราฟีแบบ คำถามทา้ ยกิจกรรม กจิ กรรม (ในสมุด) ผา่ นเกณฑ์
กระดาษ และตอบคำถามทา้ ย
กิจกรรมไดก้ ระชับ ไดใ้ จความ
สมบรู ณ์