The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องที่ 1 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanoksak.john, 2022-12-20 10:25:53

เรื่องที่ 1 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model

เรื่องที่ 1 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model

การพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model
เพือ่ ส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ เร่อื ง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรม

ไมโครซอฟต์พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5

กนกศกั ด์ิ บัวทอง

โรงเรยี นเทศบาล 3 (บ้านนาตาลว่ ง)
สังกดั สานักการศึกษา เทศบาลนครตรัง

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถนิ่



เร่อื ง การพัฒนารูปแบบการจดั การเรยี นรู้ CREATE Model เพื่อสง่ เสรมิ
ความคดิ สร้างสรรค์ เร่ือง การสรา้ งงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์
ผวู้ จิ ยั พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรยี น
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5
ปีการศึกษา กนกศกั ด์ิ บวั ทอง
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2563

บทคัดย่อ

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เรอื่ ง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟตพ์ าวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint
2016) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้ 1) เพ่ือศึกษาสภาพ
ปัจจุบันและปัญหาในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 2) เพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงาน
นาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับ
นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 ตามเกณฑ์ 80/80 3) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน
และหลังเรยี นของนักเรียนท่ีเรยี นโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 4) เพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของ
นักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง
การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint
2016) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 5) เพื่อประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE
Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
6) เพ่ือขยายผลรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ CREATE Model เพื่อสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ เรอื่ ง การ
สร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5



กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนเทศบาล 3 (บ้าน
นาตาล่วง) อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ที่เรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวนนักเรียน 22
คน ซ่ึงได้มาโดยการสุ่มแบบเป็นกลุ่ม (Cluster Random Sampling) กลุ่มทดลองเครื่องมือ คือ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง)) อาเภอเมือง จังหวัดตรัง
ท่ีเรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 จานวนนักเรียน 29 คน และกลุ่มขยายผลรูปแบบคร้ังนี้
เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) อาเภอเมือง จังหวัดตรัง
ท่ีเรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 จานวนนักเรียน 17 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย คือ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 – ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่องการสร้างงาน
นาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3) แบบประเมินความคิด
สร้างสรรค์ และ4) แบบประเมินความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย ค่าร้อยละ ส่วน
เบยี่ งเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานดว้ ยสถติ ิ t-test (Dependent Samples)

ผลการวิจัย พบวา่
1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE

Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบวา่
ครูส่วนใหญ่จัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบบรรยายเป็นหลัก เน้นการจัดการเรียนรู้โดยให้
นกั เรียนทาความเข้าใจความคิดรวบยอดในเน้ือหาบทเรยี น กระบวนการเรียนรู้ไมส่ นับสนนุ ใหน้ ักเรียน
ฝกึ คิดสังเคราะห์ เชื่อมโยงความรู้และสร้างความรดู้ ้วยตนเอง ขาดการสรปุ ความรแู้ ละต่อยอดความคิด
ไม่เน้นให้คิดวิธีการหาคาตอบท่ีหลากหลาย หาความคิดใหม่ท่ีน่าสนใจ หรือหาแนวทางในการหา
คาตอบที่แตกต่างด้วยวธิ ีการใหม่ นักเรียนส่วนใหญไ่ ม่มีความมั่นใจในตนเอง ขาดการมีปฏิสัมพันธ์กับ
เพื่อนในช้ันเรียน นักเรยี นไม่กล้าคิด ไมก่ ลา้ ถาม การจดั บรรยากาศการเรียนรู้ไม่เอ้ือต่อการให้นักเรียน
ไดล้ งมอื ปฏิบัติ ไดค้ ดิ และแสดงความคดิ เหน็ อย่างอสิ ระ

2. ผลการพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เรอ่ื ง การสรา้ งงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint
2016) สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้ มีองค์ประกอบ ดังนี้
1) หลักการแนวคิดและทฤษฎีพ้ืนฐาน 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 4)
ระบบสังคม 5) หลักการตอบสนอง 6) ระบบสนับสนุน โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียนรู้เป็น
ประกอบด้วย 6 ข้นั ตอน ดงั น้ี ข้นั ที่ 1 ตระหนักรู้ (Cognition) ข้นั ที่ 2 สะท้อนความคิด (Reflection)



ขั้นที่ 3 คิดสร้างสรรค์ผลงาน (Elaborate To Create) ข้ันที่ 4 ประเมินคุณค่า (Assessment) ข้ันท่ี
5 คิดเชื่อมโยง (Thinking) ข้ันที่ 6 แสดงผลงาน (Exhibition) ซ่ึงผลการศึกษาประสิทธิภาพของ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เมื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model
เพื่อส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ เรอ่ื ง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเท่ากับ
85.00/83.18

3. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนท่เี รยี นโดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model
เพอ่ื ส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ เร่อื ง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า 1) นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีพัฒนาข้ึน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
หลงั เรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05

4. ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model
เพือ่ ส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ เรอื่ ง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า นักเรียนมี
คะแนนเฉล่ียเท่ากับ 2.85 คะแนน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบตามเกณฑ์แล้ว อยู่ในระดับ ดี เมื่อ
พจิ ารณาเปน็ รายด้านพบวา่ อยใู่ นระดบั ดี ทุกด้าน

5. ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 ( Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ใน
ระดบั มากท่ีสุด ( X = 4.73,S.D.= 0.45) เม่อื แยกเป็นรายดา้ น พบวา่ ทกุ ดา้ นอยู่ในระดับมากท่ีสดุ

6. ผลการขยายผลรปู แบบการจัดการเรยี นรู้ CREATE Model เพอ่ื ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เร่อื ง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟตพ์ าวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint
2016) สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า 1) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีเรียนโดยใช้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาข้ึน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการ
เรียนรูท้ ีพ่ ัฒนาข้ึน มีทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4 ดา้ น โดยใช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบรบู รคิ (scoring
rubrics) พบว่า นกั เรยี นมีคะแนนเฉลี่ยเทา่ กับ 2.91 คะแนน เมอื่ พจิ ารณาเปรยี บเทยี บตามเกณฑ์แล้ว
อยู่ในระดับ ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับ ดี ทุกด้าน 3) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปี
ที่ 5 ท่ีเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้นมีความพึงพอใจโดยรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด
( X = 4.73,S.D.= 0.46) เมือ่ แยกเปน็ รายดา้ น พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมากทีส่ ุด



กิตติกรรมประกาศ

รายงานการพัฒนาการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริม
ความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016
(Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 น้ีสาเร็จได้ด้วยความกรุณาย่ิง
จาก ผศ.ดร.บุญสิทธิ์ ไชยชนะ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา อาจารย์ประจาหลักสูตรครุศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยเพ่ือการพัฒนา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ดร.ศิริชัย นามบุรี รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร อาจารย์ประจาหลักสูตรคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะ
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผศ.ดร.วิชิต สุขทร
รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร อาจารย์ประจาหลักสูตร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศคณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ดร.ศิลา สงอาจินต์ ศึกษานิเทศก์เช่ียวชาญ
สานักการศึกษา เทศบาลนครตรัง นางกรภชา เพ็งรัศมี ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญโรงเรียน
เทศบาล ๒ (วัดกะพังสุรินทร์) เทศบาลนครตรัง จังหวัดตรัง ที่ให้คาแนะนาและติดตามการศึกษา
อย่างใกล้ชดิ ตลอดมา ตลอดจนเสนอแนะในการจดั ทาเอกสาร และเก็บรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ ซ่ึงเปน็ ประโยชน์
อย่างยิ่งในการพัฒนารายงานการพัฒนาการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือ
ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ในคร้ังน้ี

ขอขอบพระคุณ ผู้อานวยการสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง)
ทุกท่าน รวมท้ังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนท่ีไม่สามารถกล่าวนามได้ท้ังหมด ขอขอบพระคุณมา
ณ โอกาสนี้ คุณคา่ และประโยชน์จากการศึกษาในคร้ังนี้ ขอมอบเปน็ เครื่องบูชาแด่บพุ การี บูรพาจารย์
และผู้มพี ระคุณทุกท่าน

กนกศักดิ์ บัวทอง



สารบัญ หน้า

เรอื่ ง ง
บทคัดย่อ.......................................................................................................................... จ
กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................... ฌ
สารบญั ....................................................................................................................... ...... ฐ
สารบญั ตาราง.................................................................................................................. 1
สารบัญภาพ..................................................................................................................... 1
บทท่ี 1 บทนา 6
7
ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา………………………………………………………….. 7
คาถามในการวจิ ยั …………………………………………………………………………………………. 8
วัตถุประสงคข์ องการวิจยั ………………………………………………………………………………. 9
สมมตฐิ านของการวิจัย……………………………………………….…………………………………. 11
ขอบเขตของการวจิ ยั …………………………………………………………………………………….. 12
นิยามศพั ท์เฉพาะ…………………………………………………………………………………………. 14
ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ…………………………………………………………………………………………… 15
กรอบแนวคิดในการวิจัย………………………………………………………………………………… 23
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วข้อง 29
หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี……………………………….…. 31
รูปแบบการเรยี นการสอน………………………………………………………………………….…… 51
การวจิ ยั และพฒั นา…………………………………………………………………………………….…. 85
ความคดิ สร้างสรรค์………………………………………………………………………………….……. 96
ทฤษฎีและแนวคิดพนื้ ฐานทเ่ี กีย่ วข้องกับรปู แบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model
งานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้อง……………………………………………………………………………………….. 98
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั
ระยะท่ี 1 การวิจัย (Research : R1) การศึกษาสภาพปัจจบุ ันและปญั หาในการ 106
พฒั นารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือสง่ เสรมิ ความคิดสร้างสรรค์
เรื่อง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016
(Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5………………
ระยะท่ี 2 การพฒั นาและหาประสิทธภิ าพของรปู แบบการจัดการเรยี นรู้ CREATE
Model เพอ่ื สง่ เสริมความคิดสรา้ งสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วย
โปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5………………………………………………………......…



สารบญั (ตอ่ ) หน้า

เรื่อง 130
ระยะที่ 3 เพื่อประเมินประสิทธิผลของรปู แบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model
เพื่อสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรม 133
ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั 135
นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5………………………………...……………………………………… 136
ระยะท่ี 4 เพื่อขยายผลรปู แบบการจดั การเรียนรู้ CREATE Model เพอ่ื สง่ เสรมิ 141
ความคิดสรา้ งสรรค์ เร่ือง การสรา้ งงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์ 141
พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรยี นชั้น 141
ประถมศึกษาปที ี 5………………………………………………………………………………………… 142
แบบแผนการวิจยั …………………………………………………………………………………………..
สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล.................................................................................. 142

บทท่ี 4 ผลการวิจยั 150
สัญลกั ษณท์ ี่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล………………………………………….
ลาดับข้ันตอนในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ………………………………………….. 160
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ……………………………………………………………………………………
ตอนที่ 1 ผลการศกึ ษาสภาพปัจจบุ ันและปัญหาในการพัฒนารูปแบบการจัดการ
เรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสรา้ งงาน
นาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5……………………………..…
ตอนท่ี 2 ผลการพัฒนาและหาประสิทธภิ าพของรปู แบบการจัดการเรยี นรู้ CREATE
Model เพอื่ สง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ เร่อื ง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรม
ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั
นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5...................................................................................
ตอนท่ี 3 ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรยี นและหลังเรียนของ
นกั เรียนทเี่ รียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือสง่ เสริม
ความคดิ สรา้ งสรรค์ เรื่อง การสรา้ งงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรียน
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5………………………………………...............………………………………



สารบัญ (ตอ่ ) หน้า

เร่ือง 162
ตอนที่ 4 ผลการขยายผลของรปู แบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่อื
ส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ เรื่อง การสรา้ งงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์ 164
พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรียนชนั้
ประถมศึกษาปีท่ี 5………………………..................………………………………………………… 166
ตอนที่ 5 ผลการประเมนิ รูปแบบการจดั การเรียนรู้ CREATE Model เพอ่ื ส่งเสรมิ 173
ความคดิ สร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์ 174
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรยี นชั้น 176
ประถมศึกษาปีท่ี 5………………………..................………………………………………………… 183
ตอนที่ 6 ผลการขยายผลรูปแบบการจดั การเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริม 185
ความคดิ สรา้ งสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์ 196
พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรยี นชน้ั 197
ประถมศึกษาปที ่ี 5………………………..................………………………………………………… 213

บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ……………………………………………………… 219
สรปุ ผลการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………..
อภปิ รายผล………………………………………………………………………………………………….. 225
ขอ้ เสนอแนะ.............................................................................................................

บรรณานกุ รม...................................................................................................................
ภาคผนวก........................................................................................................................
ภาคผนวก ก รายช่อื และหนังสือเชิญผู้เช่ียวชาญ............................................................
ภาคผนวก ข แบบสมั ภาษณ์..........................................................................................
ภาคผนวก ค แบบประเมนิ ความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ CREATE

Model เพือ่ สง่ เสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรม
ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับ
นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5...................................................................................
ภาคผนวก ง แบบประเมนิ ความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้โดยใช้รูปแบบ
การจัดการเรยี นรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ เร่อื ง
การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016
(Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5………………



สารบญั (ตอ่ ) หน้า
232
เรอื่ ง 249
ภาคผนวก จ การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เรอ่ื ง การ
256
สรา้ งงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5………………................... 262
ภาคผนวก ฉ การหาคณุ ภาพของแบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ สาหรับนกั เรียน
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5……………………………………….............………………….............….. 267
ภาคผนวก ช แบบประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการเรยี นด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้
CREATE Model เพือ่ ส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วย 272
โปรแกรม ไมโครซอฟตพ์ าวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) 277
สาหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5.......................................................................
ภาคผนวก ซ ประสิทธิภาพของรูปแบบการจดั การเรียนรู้ CREATE Model เพอื่ ส่งเสริม 280
ความคิดสรา้ งสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์ 299
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรยี น 365
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ..............................................................................................
ภาคผนวก ฌ ประสิทธผิ ลของการทดลองหาประสทิ ธภิ าพของรปู แบบการจัดการเรยี นรู้
CREATE Model เพือ่ ส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสรา้ งงานนาเสนอด้วย
โปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของกลุ่มตัวอย่าง...........................................
ภาคผนวก ญ ประสทิ ธผิ ลของรปู แบบการจดั การเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริม
ความคิดสรา้ งสรรค์ เร่ือง การสรา้ งงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรยี น
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ของกลุ่มขยายผล..................................................................
ภาคผนวก ฎ ตวั อยา่ งผลงานนกั เรยี น.............................................................................
ภาคผนวก ฏ ตัวอยา่ งแผนการจัดการเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE
Model เพ่อื ส่งเสริมความคิดสรา้ งสรรค์ เรือ่ ง การสรา้ งงานนาเสนอด้วยโปรแกรม
ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับ
นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5………………………………………………………….............…
ภาคผนวก ฐ การเผยแพรผ่ ลงาน....................................................................................
ประวตั ผิ ู้วจิ ยั ...................................................................................................................



สารบญั ตาราง หน้า
36
เร่อื ง 46
ตารางท่ี 2.1 แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งอายุกบั พฤตกิ รรมในทางสรา้ งสรรค์ของเด็ก 47
ตง้ั แตแ่ รกเกดิ จนถึงวยั รุ่น................................................................................................. 54
ตารางท่ี 2.2 การสังเคราะห์กระบวนการความคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่ือเป็นขั้นตอนการจดั การ 71
เรยี นรู้ท่ใี ชใ้ นการวิจัย…………………………………………………………………………………………..
ตารางที่ 2.3 แสดงการสังเคราะหก์ ระบวนการความคดิ สรา้ งสรรค์…………………………. 84
ตารางที่ 2.4 เปรียบเทียบลักษณะของการคิดนอกกรอบและการคดิ ในกรอบ............... 98
ตารางท่ี 2.5 ระดับขนั้ อายุของเพียเจตก์ บั การพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์…………………..
ตารางท่ี 2.6 แนวคิดและทฤษฎีพ้ืนฐานท่นี าไปใชใ้ นการพฒั นารูปแบบการจัดการ 102
เรียนรู้ CREATE Model เพ่ือสง่ เสริมความคดิ สรา้ งสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอ
ดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์ พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) 105
สาหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5............................................................................. 106
ตารางที่ 3.1 ข้นั ตอนการดาเนนิ การวิจยั ในระยะที่ 1...................................................
ตารางที่ 3.2 เกณฑ์การให้คะแนนทักษะความคิดสรา้ งสรรค์รายวิชาเพิ่มเติม 109
วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 112
เรอ่ื ง การสรา้ งงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอรพ์ อยต์ 2016
(Microsoft PowerPoint 2016) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5…………………………………………
ตารางท่ี 3.3 แนวคดิ และทฤษฎพี ืน้ ฐานทีน่ าไปใชใ้ นการพัฒนารปู แบบการจดั การ
เรยี นรู้ CREATE Model เพ่ือสง่ เสริมความคิดสรา้ งสรรค์ เรื่อง การสรา้ งงานนาเสนอ
ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์ พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรบั นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5……………………………………………………………………
ตารางท่ี 3.4 ขน้ั ตอนการดาเนินการวจิ ัยในระยะท่ี 2……………………………………………….
ตารางท่ี 3.5 สังเคราะห์ร่างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริม
ความคดิ สร้างสรรค์ เร่ือง การสรา้ งงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรียน
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5…………………………………………………………………………………………
ตารางที่ 3.6 รายละเอยี ดของการปรับปรงุ รูปแบบการจดั การเรียนรูต้ ามคาแนะนา
ของผูเ้ ช่ียวชาญ…………………………………………………………………………………………………..



สารบญั ตาราง (ต่อ) หน้า
117
เรอ่ื ง 123
ตารางที่ 3.7 วิเคราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้
ผลการเรยี นรู้และเวลาทใี่ ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้………………………………………………………. 126
ตารางท่ี 3.8 การวิเคราะหส์ าระการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรูแ้ ละจานวนขอ้ สอบ 130
ที่ต้องการ................................................................................................................... ...... 133
ตารางท่ี 3.9 เกณฑก์ ารให้คะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์รายวชิ าเพิม่ เตมิ 145
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรอ่ื ง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 158
(Microsoft PowerPoint 2016) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5................................................
ตารางที่ 3.10 ขั้นตอนการดาเนินการวิจยั ในระยะที่ 3.................................................... 160
ตารางที่ 3.11 ขั้นตอนการดาเนินการวิจัยในระยะที่ 4....................................................
ตารางท่ี 4.1 ผลการประเมินความคิดสรา้ งสรรค์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 161
ปีการศึกษา 2561............................................................................................................
ตารางที่ 4.2 ผลการประเมินความเหมาะสมของรปู แบบการจัดการเรียนรู้ CREATE
Model เพอ่ื ส่งเสริมความคดิ สรา้ งสรรค์ เรอื่ ง การสรา้ งงานนาเสนอด้วยโปรแกรม
ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรยี น
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5.....................................................................................................
ตารางที่ 4.3 แสดงประสทิ ธภิ าพของรปู แบบการจัดการเรยี นรู้ CREATE Model
เพือ่ สง่ เสริมความคิดสรา้ งสรรค์ เรือ่ ง การสรา้ งงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนกั เรียน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 กับกลุ่มตัวอย่าง...........................................................................
ตารางที่ 4.4 ผลการเปรยี บเทียบคะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ที่ได้รับการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรู้
CREATE Model เพือ่ ส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ เร่ือง การสรา้ งงานนาเสนอด้วย
โปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างกอ่ นเรียนและหลงั เรียนของ
นกั เรียนกลมุ่ ตวั อยา่ ง……………………………………………………………………………………………



สารบัญตาราง (ตอ่ ) หน้า
162
เรอ่ื ง 164
ตารางท่ี 4.5 ผลการวิเคราะห์ระดบั ความคิดสรา้ งสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา 167
ปที ี่ 5 ที่ไดร้ ับการจดั การเรยี นร้โู ดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model 168
เพื่อสง่ เสริมความคิดสรา้ งสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์ 170
พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรียน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนของนักเรยี นกลุม่ ตัวอย่าง............................................
ตารางท่ี 4.6 ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ CREATE Model เพอ่ื ส่งเสริม
ความคดิ สรา้ งสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟตพ์ าวเวอร์
พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง……………………………....................................................…………
ตารางที่ 4.7 ผลการเปรยี บเทียบคะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียนชั้น
ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ที่ไดร้ บั การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรู้ CREATE
Model เพือ่ สง่ เสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรม
ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรยี น
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ระหวา่ งกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นของนกั เรยี นกลุ่มขยายผล...........
ตารางท่ี 4.8 ผลการวเิ คราะห์ระดบั ความคิดสรา้ งสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี
ท่ี 5 ท่ีไดร้ ับการจัดการเรียนรู้โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรู้ CREATE Model เพื่อ
ส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสรา้ งงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาว
เวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษา
ปที ่ี 5 หลังเรยี นของนักเรียนกลมุ่ ขยายผล........................................................................
ตารางท่ี 4.9 ผลการประเมนิ รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริม
ความคดิ สร้างสรรค์ เร่ือง การสรา้ งงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์
พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5
หลงั เรียน ของนักเรียนกลุ่มขยายผล.................................................................................



สารบัญภาพ

เรื่อง หน้า
ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย................................................................................ 13
ภาพท่ี 2.1 สาระ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วดั กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)……………………………………………………………… 16
ภาพที่ 2.2 การพฒั นาความคิดและความคดิ สร้างสรรค์ตามแนวคิดของวกี ็อทสก.้ี ......... 75
ภาพที่ 2.3 ขั้นตอนการสอนแบบสร้างสรรค์เปน็ ฐาน..................................................... 82
ภาพท่ี 3.1 แสดงขั้นตอนการดาเนินการวิจัย.................................................................. 97
ภาพท่ี 4.1 รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์
เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 153
(Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5......................

1

บทที่ 1
บทนำ

ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ
ปัจจุบันเป็นยุคท่ีโลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว อันสืบเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยี

เพ่ือเช่ือมโยงข้อมูลต่าง ๆ ของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมท่ี
เกิดข้ึนในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและ
เตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมคว ามพร้อมให้ นักเรียน มีทักษะสา หรับการออกไป
ดารงชวี ติ ในโลกในศตวรรษที่ 21 ทเ่ี ปลยี่ นไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21
ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้
เพื่อให้เด็กในศตวรรษท่ี 21 น้ี มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซ่ึงเป็นผลจากการปฏิรูป
เปลยี่ นแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมดา้ นต่าง ๆ ที่เป็นปจั จัย
สนับสนุนท่ีจะทาให้เกิดการเรียนรู้ดังกล่าว (วรางคณา ทองนพคุณ, 2556) ในประเทศสหรัฐอเมริกา
แนวคดิ เรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21" ไดถ้ กู พฒั นาขึ้น โดยภาคส่วนท่ีเกิด
จากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนา ขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัท
ไมโครซอฟท์ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสานักงานด้านการศึกษาของรัฐ
รวมตัวและก่อต้ังเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพ่ือทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า เครือข่าย P21 หน่วยงานเหล่าน้ีมีความ
กังวลและเห็นความจาเป็นท่ีเด็กและเยาวชนจะต้องมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 จึงได้พฒั นาวสิ ัยทศั นแ์ ละกรอบความคิดเพ่ือการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ข้นึ ซึง่ สามารถ
สรุปขอบขา่ ยทักษะที่สาคัญที่สามารถชว่ ยพัฒนาทักษะให้กบั เด็กและเยาวชนได้ โดยทกั ษะการเรียนรู้
และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C ซ่ึงมีองค์ประกอบ ดังน้ี 3R ได้แก่ การอ่าน (Reading) การเขียน
(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4C การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) การสื่อสาร
(Communication) การร่วมมือ (Collaboration) และ ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) รวมถึง
ทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศส่ือและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้าน
การศกึ ษาแบบใหมด่ ว้ ย (วิจารณ์ พานชิ , 2555)

ความคดิ สรา้ งสรรค์เป็นหนึง่ ในทักษะทสี่ าคัญอย่างย่ิงต่อเด็กและเยาวชน ซง่ึ เปน็ กระบวนการ
คิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได้หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนาไป
ประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมีความถูกต้อง จนนาไปสู่การคิดค้นและสร้าง
ส่ิงประดิษฐ์ท่ีแปลกใหม่หรือรูปแบบความคิดใหม่ นอกจากลักษณะการคิดสร้างสรรค์ดังกล่าวน้ีแล้ว
ยังมีสามารถมองความคิดสร้างสรรค์ในหลายมุม ซึ่งอาจจะมองในแง่ที่เป็นกระบวนการคิดมากกว่า

2

เนื้อหาการคิด โดยที่สามารถใช้ลักษณะการคิดสร้างสรรค์ในมิติท่ีกว้างข้ึน เช่น การมีความคิด
สร้างสรรค์ในการทางาน การเรียน หรือกิจกรรมท่ีต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ด้วย อย่างเช่น
การทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรือการเล่นกีฬาที่ต้องสร้างสรรค์รูปแบบเกมให้หลากหลาย ไม่ซ้า
แบบเดิม เพื่อไม่ให้คู่ต่อสู่รู้ทัน เป็นต้น ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นลักษณะการคิดสร้างสรรค์ในเชิงวิชาการ
แต่อย่างไรก็ตาม ลักษณะการคิดสร้างสรรค์ต่าง ๆ ที่กล่าวน้ันต่างก็อยู่บนพ้ืนฐานของความคิด
สร้างสรรค์ โดยที่บุคคลสามารถเช่ือมโยงนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ดี (มานินทร์ เจริญลาภ, 2558)
ความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นคุณลักษณะที่ควรปลูกฝัง รวมท้ังส่งเสริมให้เกิดข้ึนในตัวบุคคล อีกท้ัง
ความคิดสร้างสรรค์มีความสาคัญและเป็นสิ่งจาเป็นของมนุษย์ในสังคมปัจจุบัน เพราะสังคม
มีความเปลี่ยนแปลง ความเจริญก้าวหน้า ทั้งในด้านวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และด้านต่าง ๆ
อยู่ตลอดเวลา ผลของความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ทาให้เกิดผลิตผล แนวทางหรือวิธีการใหม่ ๆ
ท่ีแตกต่างไปจากเดิมที่เคยมีมาก่อน เป็นกระบวนการคิดท่ีมีคุณค่าต่อการพัฒนางานในทุก ๆ ด้าน
การเจริญพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้นมากมายและรวดเร็ว จากอดีตจนถึง
ปัจจุบันล้วนเกิดจากผลิตผลจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ท้ังส้ิน ความคิดสร้างสรรค์จึงเป็น
ความคิดของมนุษย์ที่เกิดขึ้นใหม่จากการคิดเช่ือมโยงความสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมรวมกับ
ประสบการณ์ใหม่เช่ือมโยงจนสามารถสร้างแนวคิดออกมาใหม่ได้ บุคคลใดมีความคิดสร้างสรรค์แล้ว
ย่อมมีแนวทางที่หลากหลายแบบแปลกใหม่ เม่ือเกิดปัญหาจะมีแนวทางแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย
และไม่ได้ใช้เพียงการแก้ปัญหาเท่าน้ันหากยังใช้ในการเรียนรู้ ในการทางานและการใช้ชีวิต
(ลักขณา สริวัฒน์. 2549 : 137–139 ; สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี. 2555 : 53 ;
เนาวนิตย์ สงคราม. 2556 : 33) ผู้ท่ีมีความคิดสร้างสรรค์จะมีความคิดอเนกนัยมาจากความคิดที่เป็น
ความคิดแปลกใหม่ เปน็ สง่ิ ใหมห่ รือความคิดรเิ รม่ิ ความคดิ ปรบั เปล่ียนหรอื แตกต่างจากที่เคยมีอยู่เป็น
ลักษณะท่ีนาไปสู่การสร้างสิ่งประดิษฐ์ท่ีแปลกใหม่ รวมไปถึงการคิดหาวิธีแก้ปัญหา มองเห็นแนวทาง
ใหม่ มองเหน็ ปญั หาที่แตกต่างไปจากเดิม การแก้ปญั หาอย่างมปี ระสิทธภิ าพ (Guilford.1967 : 139 ;
Geethanjali. 2005 : 26 ; McGregor. 2007 : 169 ; citing Lipman.2003 : 245) การสอนความคิด
สร้างสรรค์และการฝึกฝนให้นักเรียนสามารถคิดอย่างสร้างสรรค์จึงเป็นส่วนหน่ึงท่ียกระดับคุณภาพ
การศึกษา และคุณภาพในตนของเด็ก ให้เด็กมีชีวิตอย่างมั่นใจในตนเองและมีคุณภาพมากข้ึน
(อษุ ณีย์ อนรุ ทุ ธว์ งศ.์ 2555 : 147)

จากผลการประเมนิ ของ World Economic Forum 2014 (WEF) ซงึ่ ได้ประเมนิ ในมิติตา่ ง ๆ
ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษาและด้านอื่น ๆ จาก 144 ประเทศโดยเฉพาะข้อมูลท่ี
เกีย่ วกบั ในมติ ดิ ้านการศึกษาของไทย ในประเดน็ การคิดค้นส่งิ ใหม่ พบวา่ ประเทศไทยอยู่ในลาดับที่ 5
จากประเทศในกลุ่มอาเซียน ลาดับที่ 67 จาก 144 ประเทศ (ณรงค์ ซุ้มทอง. 2558 : 2) ผลการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาระดับประเทศของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ

3

การศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่งมาตรฐานด้านนักเรียน มาตรฐานที่ 4 ที่กล่าวว่า นักเรียนมี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง
เป็นมาตรฐานท่ีโรงเรียนไม่ผ่านการประเมิน มีผลการประเมินต่าเม่ือเทียบกับด้านอื่น ๆ และจากการ
สัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวิชาการของโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) (จรุวัฒน์ กิตติบุญญาทิวากร:
2559) เก่ียวกับผลการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) อาเภอเมือง จังหวัดตรัง พบว่า จากผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบที่ 3 (ปี 2554 - 2558) สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) (2559) ได้กล่าวถึง จุดที่ควรพัฒนาของนักเรียน ด้านผลการจัดการศึกษา พบว่า
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคุณภาพต่ากว่าระดับดี และด้านการ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ พบว่า การจัดการเรียนการสอนของครู และแบบวัด
แบบทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนแก้ไขข้อบกพร่องของครูแต่ละคน การเปิดโอกาสให้นักเรียนได้
ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของตนเอง การนาปญั หาทีเ่ กิดจากบนั ทึกหลังสอน มาจดั ทาวิจยั ในชั้นเรียนเพื่อ
พัฒนานักเรียน ส่ือ และกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ยังไม่ดาเนินการอย่าง
ต่อเนื่อง ขาดสื่อการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้แบบใหม่ท่ีช่วยเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของ
นักเรียน ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ทาให้นักเรียนท่ีเข้าแข่งขันการ
สร้างผลงานทางวิชาการในงานมหกรรมการจัดการศึกษาท้องถิ่น ตง้ั แต่ระดบั กลุ่มโรงเรียนเทศบาลไป
จนถึงระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ มีผลงานไม่เป็นที่พึงพอใจ ได้อันดับในการแข่งขัน
ทางวิชาการไม่ประสบผลสาเร็จตามท่ีต้ังเป้าหมายไว้ ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงระดับทักษะความคิด
สร้างสรรค์ของนักเรียนในการออกแบบผลงานยังไม่ดีเท่าที่ควร ท้ังนี้เนื่องจากนักเรียนยังขาดทักษะ
ความคิดสร้างสรรค์ที่สามารถช่วยให้นักเรียนพัฒนาสร้างสรรค์ชิ้นงานออกมาได้ด้วยตนเอง ซึ่งครูมี
ความต้องการท่ีจะส่งเสริมและพัฒนาระดับความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนโดยภาพรวมให้อยู่ใน
ระดับดีขึ้น สามารถสร้างสรรค์ผลงานออกมาได้อย่างรวดเร็ว เป็นผลงานที่แปลกใหม่ และมีความ
ประณีตสวยงาม มีความสอดคล้องกับทักษะความคิดสร้างสรรค์ 4 ด้าน ตามแนวคิดของกิลฟอร์ด
ได้แก่ ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ สามารถส่งผล
ต่อการสร้างผล งาน ทางวิช าการ ใน การเ ข้าแข่งขัน ใน งาน มห กรร มการ จัด การ ศึกษาท้องถ่ิน แล ะ
การแขง่ ขันในรายการอ่นื ๆ ในครั้งตอ่ ไป

รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model ผู้วิจัยได้นาแนวคิดและทฤษฎีเป็นพื้นฐานในข้นั
ที่ 1 ตระหนักรู้ (Cognition) ขั้นท่ี 2 สะท้อนความคิด (Reflection) ข้ันที่ 3 คิดสร้างสรรค์ผลงาน
(Elaborate To Create) ขั้นที่ 4 ประเมินคณุ ค่า (Assessment) ข้ันท่ี 5 คดิ เชอื่ มโยง (Thinking) ข้ัน
ที่ 6 แสดงผลงาน (Exhibition) ประกอบด้วย 1) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ท่ีเชื่อวา่
“นักเรียนต้องเป็นผู้ค้นพบและเช่ือมโยงข้อมูลความรู้ด้วยตนเองจึงจะเกิดการเรียนรู้” แนวคิดของ

4

Piaget ท่ีเช่อื ว่า “การเรียนรเู้ ปน็ กระบวนการทีเ่ กิดภายในของนักเรียน โดยนกั เรยี นเป็นผู้สรา้ งความรู้
จากความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ แวดล้อมกับประสบการณ์เดมิ ของนักเรียน” แนวคิดของ Vygotsky ท่ีว่า
“นกั เรยี นสรา้ งความรู้โดยผา่ นการมปี ฏิสัมพนั ธ์ทางสังคมกับผู้อนื่ ในขณะที่อยู่ในบริบททางสังคมน้ัน”
2) แนวคิดสืบเสาะความรู้ (Inquiry Approach) ท่ีว่า นักเรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยเป็นผู้ลงมอื
ปฏบิ ตั ิ โดยเป็นกระบวนการวิธีคดิ หรอื วิธีแก้ปญั หา รวมทง้ั การใชท้ ักษะตั้งคาถามเพื่อการสืบเสาะและ
ทักษะในการแก้ปัญหาโดยครูเปน็ ผู้ให้คาช้ีแนะและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทาให้เกดิ ความรู้และวธิ ีการใหม่
3) ทฤษฎีการคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking) แนวคิดของ De Bono (1986) เป็นการคิดท่ี
ปรับเปล่ียนทัศนคติหรือมุมมองของปัญหาในแง่มุมใหม่ ๆ สร้างสรรค์คาตอบที่แตกต่างไปจากรูป
แบบเดิม ๆ ที่ตายตัว และ4) รูปแบบการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creative Based Learning)
เป็นรูปแบบการสอนแบบ Active Learning ออกแบบการสอนให้นักเรียนได้ครบ ท้ังด้านเนื้อหาวิชา
และทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงทาให้นักเรยี นมีทักษะในการคิดสร้างสรรค์

ดังน้ัน การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นคุณลักษณะที่ควรได้รับการส่งเสริมและปลูกฝัง
ช่วยให้นักเรียนสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาการเรียนในด้านการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และใน
ชีวิตของตนเองได้ อีกท้ังยังสามารถใช้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนได้อีกด้วย จึงควรจัดให้มีการ
ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้นกั เรยี นเกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ ทกั ษะความคดิ สร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรมเป็นหนึ่ง
ในทักษะหลักของทักษะในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งเป็นทักษะในการคิดอะไรใหม่ ๆ ถือว่าจาเป็นมาก
ในศตวรรษท่ี 21 เพราะการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนในทุกด้านและทุกแบบ การแก้ปัญหาย่ิงต้องใช้
ความคิดใหม่ ๆ อย่างมาก (Bellanca and Brandt.2010, วิโรจน์ สารรัตนะ. 2556 : 122, ไพฑูรย์
สินลารัตน์. 2557 : 15) จากผลการวิเคราะห์ของนักวิชาการชาวตะวันตกท่ีวิเคราะห์ทักษะสาหรับ
ศตวรรษที่ 21 แล้วนามาเปรียบเทียบกับเด็กไทย ชี้ให้เห็นว่าประเทศที่พัฒนาแล้วโดยเฉพาะประเทศ
ทางตะวันตก ได้พัฒนาคนในประเทศให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทาการวิจัยค้นคว้า นักเรียนได้
เรียนรู้และพัฒนาทักษะเพื่อสร้างผลงานใหม่ สาหรับประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาอยู่ ไม่มี
ลักษณะของการพฒั นานวัตกรรมหรือการวิจัยการส่งเสริมความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ การคิดอะไรใหม่ ๆ
ก็น้อย กระบวนการสอนหลักท่ีจะให้นักเรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ได้นั้น ต้องให้นักเรียนอยู่ใน
สภาพแวดล้อมและได้ลงมือเรียนรู้ด้วยตัวเองให้มากท่ีสุด หลักการจัดการเรียนรู้จึงต้องให้นักเรียน
กาหนดเป้าหมายเอง หาความรู้เอง รู้จักเลือกข้อมูลสร้างความรู้ขึ้นมาได้ รู้จักคัดกรอง ตกผลึกใน
ความรู้ และประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ พร้อมดว้ ยประเมินตนเองในที่สดุ (ไพฑูรย์ สินลารตั น.์ 2557 : 22-23)

งานวิจัยที่ศึกษาเก่ียวกับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน มีแนวทางในการพัฒนา
และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ท้ังการใช้แนวคิด ทฤษฎี เทคนิค วิธีสอนและกลวิธีในการจัดการ
เรียนรู้ รวมท้ังการส่งเสริมในด้านอ่ืน ๆ เช่น การพัฒนาหลักสูตร การจัดบรรยากาศช้ันเรียน
ส่ิงแวดล้อม บทบาทครูและบทบาทนักเรียน เป็นต้น จากงานวิจัยมีการใช้วิธีการและทฤษฎีแตกต่าง

5

กันตามบริบท รูปแบบการจัดการเรียนรู้เป็นวิธีหนึ่งที่ถูกนามาพัฒนาและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ให้กบั นักเรียน ซงึ่ รปู แบบการจดั การเรียนรเู้ ป็นสภาพลักษณะของการเรยี นรู้ทีค่ รอบคลุมองคป์ ระกอบ
สาคัญท่ีได้รับการจัดการไว้อย่างเป็นระบบตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือความเชื่อ
ต่าง ๆ โดยประกอบด้วยกระบวนการหรือข้ันตอนสาคัญในการเรยี นรู้เป็นไปตามทฤษฎี หลักการหรอื
แนวคิดที่ยึดถือเป็นรูปแบบ (ทิศนา แขมมณี. 2557 : 222) และแสดงกระบวนการจัดข้ันตอนและ
กิจกรรมการเรียนรู้เอาไว้อย่างเป็นระบบทุกขั้นตอนมีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง และในแต่ละข้ัน
ชี้นาหรือบ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้นักเรียนเกิดความรู้ แล้วดาเนินการสอนภายใต้เง่ือนไข
ของกระบวนการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอนของรูปแบบการเรียนรู้น้ัน ๆ เพ่ือมุ่งหมายให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ได้อย่างสมบูรณ์ (วีณา ประชากูล และประสาท เนืองเฉลิม. 2554 : 119) ช่วยให้นักเรียน
ได้รับข้อมูลความรู้ ความคิด ทักษะ ค่านิยม วิธีการคิด และการแสดงออกในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้
วิธีการเรียนรู้ ส่งผลระยะยาวทาให้นักเรียนเพิ่มความสามารถในการเรียนร้งู ่ายขึ้นและมีประสทิ ธิภาพ
ในอนาคต ทัง้ ในเรื่องของความรแู้ ละทกั ษะที่ได้รับ (Joyce and Calhoun (2011 : 6)

แนวคิด ทฤษฎีที่ให้ความสาคัญกับการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ และให้
ความสาคัญกับกระบวนการคิดและความคิดสร้างสรรค์ ที่ผู้วิจัยศึกษานามาเป็นกรอบแนวคิด ทฤษฎี
สาคัญ เพื่อสนับสนุนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 ได้แก่ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ แนวคิดการสืบเสาะหาความรู้ และการคิด
นอกกรอบ ซึ่งการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ นักเรียนเป็นผู้ลงมือกระทา เป็นผู้สร้าง
ความหมายของความรู้ด้วยตนเอง และเกิดการสร้างความรู้จากการมีปฏิสมั พันธ์กับสงั คม เป็นผู้สร้าง
ความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจท่ีมีอยู่เดิม (Woolfolk. 2007 :
344) ตามแนวคิดเพียเจต์ให้ความสาคัญ หลักการของโครงสร้างทางสติปัญญา (Schemas) ท่ีต้อง
กระตุ้นดว้ ยปัญหาเพ่ือก่อใหเ้ กิดความขดั แย้งทางปัญญา ทาให้นกั เรยี นพยายามปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
ทางสติปัญญาท่ีจะสามารถการสร้างความรู้ขึ้นใหม่ได้เป็นการความรู้สร้างข้ึนด้วยตนเองบนพ้ืนฐาน
การลงมือปฏิบัติและมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมบุคคลจะเกิดการเปล่ียนแปลง ทางความคิดอย่าง
ต่อเนื่องตลอดเวลาโดยการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเขากับโลกภายนอก (Banerjee. 2011 : 407 ;
citing Piaget. 1970 : 703) และการพัฒนาความสามารถเป็นไปตามลาดับข้ันพัฒนาการทางด้าน
สติปัญญา การสร้างความรู้ของนักเรียนถูกนาไปประยุกต์ใช้ในการสอนระดับประถมศึกษา เป็น
รูปแบบท่ีแสดงการคิดตามแนวคิดของวีก็อทสกี้ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมสังคมและภาษา การมี
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นเป็นเคร่อื งมือทางวฒั นธรรม สังคมมีความสาคัญตอ่ การเรียนรู้ การร่วมมือกัน
ในการแก้ปัญหาเป็นกลุ่มจะเกิดประสิทธิผลต่อความสามารถอย่างหลากหลายของ นักเรียน
(Hassard.2005 : 171-173) ส่วนภาษาจะทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง ส่งผลต่อจินตนาการอย่าง
สร้างสรรค์อันจะนาไปสูก่ ระบวนการคิดข้ันสูง (Carlile and Jordan. 2012 : 283-285) การสืบเสาะ

6

หาความรู้เป็นการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเจตคตินาไปสู่การ
อธิบายเหตุผลและการวิเคราะห์ ชว่ ยสรา้ งความเข้าใจในมโนทัศนไ์ ด้ เรยี นรดู้ ้วยตนเอง ให้นกั เรียนเกิด
การเรียนรู้ตลอดชีวิต และพฒั นาความสามารถเฉพาะด้านเพิ่มขึน้ นักเรียนมีสว่ นรว่ มในการเรยี นรู้โดย
ลงมือปฏิบัติ มีสถานการณ์หรือปัญหาท่ีทาให้เกิดแรงจูงใจ มีโครงสร้างเพียงพอท่ีจะทาให้พวกเขานั้น
ทาให้เกิดผล และมีอิสระในการเปรียบเทียบความคิด เป็นหลักการสาคัญที่ช่วยให้นักเรียนน้ันสร้าง
ความรู้ใหม่ (Martin. 2002 : 8 ; citing Nation Research Council. 1996 : 4 ; Martin and
Gerlovich. 2002 : 201 ; Bruning and Norby.2011 : 347) กระบวนการสืบเสาะแต่ละข้ันตอน
จาเป็นจะต้องใช้ความคิดที่แปลกใหม่และอาจมีหลายล่ทู างเพ่ือเปน็ ทางเลอื กที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็น
โอกาสดีมากที่นักเรียนได้ฝึกฝนการคิดสร้างสรรค์อยู่เสมอ นับต้ังแต่การมองเห็นปัญหา ซึ่งถือเป็นจุด
ของกระบวนการค้นหาคาตอบ ผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์สูงมักมองเห็นปัญหาต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
มองเห็นปัญหาที่ผู้อ่ืนอาจมองไม่เห็น มองเห็นปัญหาที่แปลกใหม่ซ่ึงล้วนแล้วแต่ส่งผลให้เกิดแนวคิดที่
แปลกแตกต่างออกไปอย่างมาก (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2555 : 54–
55) อีกท้ังการสืบเสาะหาความรู้เป็นพ้ืนฐานความเข้าใจของนักเรียนในการพัฒนาผลการเรียน
วิทยาศาสตร์ (Bybee. 2010 : 79-80) แนวคิดของ De Bono (1986) เป็นกระบวนการคิดพิจารณา
ปญั หา แสวงหาแนวคดิ มาใช้ในการแก้ปัญหา เปน็ การคดิ ท่ปี รับเปล่ียนทัศนคติหรือมุมมองของปัญหา
ในแง่มุมใหม่ ๆ สร้างสรรค์ที่แตกต่างไปจากรูปแบบเดิม ๆ การคิดนอกกรอบเป็นการหลีกเลี่ยง
ความคิดเดิม ด้วยการทาส่ิงต่าง ๆ ให้มีความหลากหลายและพยายามท่ีจะไม่พิจารณาส่ิงต่าง ๆ ใน
มมุ มองเดมิ และการกระตนุ้ ให้เกดิ ความคดิ ใหม่

จากเหตุผลและความสาคัญดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรม
ไมโครซอฟตพ์ าวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 ในโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริงและบรรลผุ ล
ตามความมงุ่ หมายของการวิจัยต่อไป สามารถพฒั นาผลงานหรอื ชนิ้ งานออกมาได้อยา่ งดี

คำถำมในกำรวจิ ัย
1. สภาพปัจจุบันและปัญหาในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือ

ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 เป็นอย่างไร

2. ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 เปน็ ไปตามเกณฑ์ 80/80 หรอื ไม่

7

3. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนของนักเรยี นท่เี รียนโดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้ CREATE
Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาว
เวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สูงกว่า
กอ่ นเรยี นหรือไม่

4. ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model
เพอื่ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 เป็นอย่างไร

5. ผลการประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 เป็นอยา่ งไร

6. การขยายผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 เปน็ อย่างไร

วัตถปุ ระสงค์ของกำรวิจยั
1. เพ่ือศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE

Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5

2. เพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อ
ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ตามเกณฑ์ 80/80

3. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงาน
นาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับ
นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5

4. เพ่ือศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE
Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5

5. เพ่ือประเมินรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 ( Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรับนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5

8

6. เพ่ือขยายผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 ( Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5

ขอบเขตของกำรวจิ ยั
1. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำงทใ่ี ช้ในกำรวิจยั
1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนเทศบาล 3

(บ้านนาตาล่วง) อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ที่เรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 2 ห้อง
จานวนนักเรียนท้งั หมด 43 คน

1.2 กลุ่มตัวอยา่ งที่ใชใ้ นการวิจยั คอื นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 โรงเรยี นเทศบาล 3
(บ้านนาตาล่วง) อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ที่เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวนนักเรียน
22 คน ซง่ึ ได้มาโดยการสุ่มแบบเป็นกลุ่ม (Cluster Random Sampling)

1.3 กลุ่มทดลองเคร่ืองมือ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/1 โรงเรียนเทศบาล 3
(บ้านนาตาล่วง) อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ท่ีเรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 จานวนนักเรียน
29 คน

1.4 กลมุ่ ขยายผลรปู แบบครง้ั น้ี เป็นนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5/1 โรงเรยี นเทศบาล 3
(บ้านนาตาล่วง) อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ท่ีเรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 จานวนนักเรียน
17 คน

2. เนื้อหำทใ่ี ช้ในกำรวิจยั
เน้อื หาท่ีใชใ้ นการวจิ ัยคร้งั น้ี เป็นเนื้อหาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในรายวิชาเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์
พาวเวอรพ์ อยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) จานวน 14 ชั่วโมง ดังน้ี

2.1 รูจ้ ักกับโปรแกรมไมโครซอฟตพ์ าวเวอร์พอยต์ 2016
2.2 การสร้างและจดั การสไลด์
2.3 การจัดการกบั ขอ้ ความ
2.4 การตกแตง่ แผน่ งาน
2.5 การแทรกรปู ภาพและอักษรประดษิ ฐ์
2.6 การใส่เอฟเฟ็คต์ใหเ้ นือ้ หา
2.7 การกาหนดการนาเสนอและเชื่อมสไลด์

9

3. ตัวแปรท่ใี ชใ้ นกำรวิจยั
ตัวแปรท่ีใช้ในการวิจยั ครงั้ นปี้ ระกอบดว้ ยตวั แปร 2 ประเภทคือ
3.1 ตัวแปรอสิ ระ (Independent Variable)
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การ

สร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5

3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่
3.2.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
3.2.2 ความคิดสรา้ งสรรค์
3.2.3 ความพึงพอใจ

4. ระยะเวลำที่ใช้ในกำรวิจยั
ระยะเวลาท่ีใช้ในการวิจัย คือ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 – ภาคเรียนที่ 1

ปกี ารศึกษา 2563

นยิ ำมศัพท์เฉพำะ
1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การ

สร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 หมายถึง กรอบโครงสร้างแนวคิดการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงพัฒนา
ตามกรอบแนวคิดของ Joyce and Calhoun (2011) อธิบายด้วยขอบข่ายสาระสาคัญองค์ประกอบ
รูปแบบ มีองค์ประกอบ 6 ดงั นี้

1.1 หลักการ แนวคิดและทฤษฎีพ้ืนฐาน (Principle of the Model) ประกอบด้วย
1) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) 2) แนวคิดการคิดนอกกรอบ (lateral thinking)
3) แนวคิดสืบเสาะความรู้ (Inquiry Approach และ 4) รูปแบบการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน
(Creative Based Learning)

1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องรปู แบบ (Objective of the Model) แบง่ เป็น 4 องค์ประกอบ
ได้แก่ 1) ความคิดริเร่ิม (Originality) 2) ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) 3) ความคิดยืดหยุ่น
(Flexibility) และ4) ความคดิ ละเอยี ดลออ (Elaboration)

1.3 ขนั้ ตอนการจดั การเรียนรู้ (Syntax of the Learning) ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน
ดังนี้ ขั้นท่ี 1 ตระหนักรู้ (Cognition) ข้ันท่ี 2 สะท้อนความคิด (Reflection) ขั้นที่ 3 คิดสร้างสรรค์
ผลงาน (Elaborate To Create) ขั้นท่ี 4 ประเมินคุณค่า (Assessment) ข้ันท่ี 5 คิดเชื่อมโยง
(Thinking) ขน้ั ท่ี 6 แสดงผลงาน (Exhibition)

10

1.4 ระบบสังคม (Social System) ไดแ้ ก่ บทบาทครู บทบาทนักเรียน ในการจัดการ
เรียนรู้ตามรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ CREATE Model เพ่อื สง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ เรือ่ ง การสร้าง
งานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016)
สาหรบั นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 นกั เรียนจะต้องมปี ฏิสมั พันธร์ ะหว่างกัน และมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ครู
อยา่ งต่อเนอ่ื ง

1.5 หลักการตอบสนอง (Principle of Reaction) เป็นวิธีการท่ีครูจะตอบสนองต่อ
การแสดงออกของนักเรียนในระหว่างเรียนรู้โดยให้ความสาคัญกับนักเรียนในการคิด การเรียนรู้ หรือ
ปฏิบัติกิจกรรมอย่างอิสระ เช่น สนทนาซักถามเพ่ือกระตุ้นการคิดอย่างต่อเนื่อง สร้างแรงจูงใจเพ่ือ
ส่งเสริมให้ลักษณะเป็นนักคิดอย่างต่อเนื่อง ให้คาแนะนา ให้ข้อมูลย้อนกลับในทางบวกและเป็นผู้
อานวยความสะดวกในการเรยี น

1.6 ระบบสนับสนุน (Support System) เป็นหรือเง่ือนไขท่ีจาเป็นในการที่จะใช้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ให้เกิดผลตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริม
ความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016
(Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เช่น การสอนให้ฝึกทักษะ
การคิดสร้างสรรค์ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอ กาหนดสถานการณ์ปัญหาท่ีใกล้เคียงสภาพจริง
และมีประเด็นหลากหลายแง่มุมและเหมาะสมกับการเรียนรู้ จัดบรรยากาศในการเรียนรู้ท้ังทางด้าน
กายภาพและจินตภาพในเชิงบวก

2. ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดหาวิธกี ารแก้ปัญหาจากสถานการณ์
ท่ีกาหนดให้ ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด เพ่ือนาไปสู่กระบวนการหรือข้ันตอนที่แตกต่างจากเดิมให้
บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ สร้างผลผลิตหรือชิ้นงานท่ีใหม่หรือแตกต่างจากสถานการณ์ทั่วไปสามารถ
วดั โดยใชแ้ บบทดสอบวัดความคดิ สร้างสรรค์ ดังน้ี

2.1 ความคิดริเร่ิม หมายถึง ความสามารถในการสังเคราะห์หรือออกแบบวิธีการ
หรือกระบวนการ ผลผลติ หรือผลงานชนิ้ ใหม่ทแี่ ตกต่างจากเดิมหรือไม่เคยปฏบิ ัติในลักษณะน้ีมาก่อน
หรือไม่ซา้ กบั คนอ่นื เปน็ ความคิดใหม่ มปี ระโยชน์และมคี ณุ ค่ามากขน้ึ

2.2 ความคิดคล่อง (Fluency) หมายถึง ความสามารถในการระบุข้อมูลหรือ
องค์ประกอบปัจจัยเงื่อนไขท่ีมีเหตุผลเป็นไปได้ในบริบทหรือสถานการณ์ที่กาหนดหน่ึง ๆ ได้ถูกต้อง
หลากหลายและรวดเร็ว เน้นปรมิ าณการคดิ คาตอบที่เหมาะสมกบั สถานการณ์ในเวลากาหนด

2.3 ความคดิ ยืดหยุ่น หมายถึง ความสามารถในการระบคุ วามคดิ ปรบั เปลี่ยนเงื่อนไข
ด้านคุณลักษณะความสาคัญหรือประโยชน์ของเหตุการณ์หรือสิ่งของท่ีปรากฏในบริบทสถานการณ์
ใหมไ่ ดห้ ลายแง่มมุ และแตกต่างกัน

11

2.4 ความคิดละเอียดลออ หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมโยงสังเคราะห์
ผสมผสานความรู้หรือสงิ่ ที่มีอยู่กับเงื่อนไขปัจจัยอ่ืน เพื่อปรับเปลี่ยนคุณลักษณะหรือบทบาท ให้อยู่ใน
บรบิ ทคณุ สมบัติตามเง่อื นไขอ่นื ๆ และขยายรายละเอียดให้ชัดเจน ครอบคลุมและสมบรู ณ์

ซ่ึงวัดจากผลงานของนักเรียนท่ีทาหลังจากเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี
ผู้วิจัยพัฒนาข้ึน โดยใช้แบบประเมินความคิดสรา้ งสรรค์ และเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Rubric
Score) ท่ผี ู้วิจัยพฒั นาขนึ้

3. ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ตามเกณฑ์ที่กาหนดเท่ากับ 80/80
(E1/E2) โดยมีความหมายดังนี้

80 ตัวแรก (E1) หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบหลังเรียนทุกชุด คิดเป็นร้อยละ
80 ของคะแนนทั้งหมด ซึ่งเป็นประสิทธภิ าพของกระบวนการ

80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนคิดเป็น
รอ้ ยละ 80 ของคะแนนทง้ั หมด ซงึ่ เปน็ ประสทิ ธิภาพของผลลัพธ์

4. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถของนักเรียนที่ได้จากการทาแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย จานวน
40 ข้อ วัดโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ ผู้วิจัยสร้างข้ึนในช่ัวโมงสุดท้ายของการ
ทดลอง

ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั

1. ทาให้ทราบข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อ
ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์
2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5

2. ทาให้ทราบถึงการออกแบบและพัฒนาเครื่องมือการวิจัยรูปแบบการจัดการเรียนรู้
CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรม
ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษา
ปที ่ี 5 ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80

3. ทาให้ทราบผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริม
ความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016
(Microsoft PowerPoint 2016) สาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5

12

4. ทาให้ทราบถึงผลการประเมินความคิดสร้างสรรค์และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงาน
นาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับ
นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

5. ช่วยในการสร้างและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริม
ความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016
(Microsoft PowerPoint 2016) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ที่ทาให้นักเรียนได้รับความรู้
ท่ีถูกต้อง เข้าใจง่ายและมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016
(Microsoft PowerPoint 2016)

กรอบแนวคดิ ในกำรวิจัย
การวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพื่อส่งเสริมความคิด

สร้างสรรค์ เร่ือง การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft
PowerPoint 2016) สาหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 แสดงไดด้ งั ภาพที่ 1.1

13

ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ตำมแนวคดิ วตั ถปุ ระสงค์ของรปู แบบ
ของกลิ ฟอร์ด
เพื่อส่งเสริมความคิดสรา้ งสรรค์
1. คดิ รเิ รมิ่ 2. คิดคลอ่ งแคลว่
3. คดิ ยดื หยุ่น 4. คดิ ละเอยี ดลออ กำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้

แนวคิดและทฤษฎีพน้ื ฐำน ขัน้ ท่ี 1 ตระหนักรู้ (Cognition)
1) ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ สิ ต์ ข้ันท่ี 2 สะท้อนความคิด (Reflection)
(Constructivism) 2) แนวคิดการคิดนอก ข้นั ท่ี 3 คิดสรา้ งสรรคผ์ ลงาน (Elaborate To Create)
กรอบ (lateral thinking) 3) แนวคิด ขนั้ ท่ี 4 ประเมินคณุ คา่ (Assessment)
สบื เสาะความรู้ (Inquiry Approach) และ ข้นั ท่ี 5 คิดเชือ่ มโยง (Thinking)
4) รูปแบบการสอนแบบสร้างสรรค์เปน็ ฐาน ขั้นท่ี 6 แสดงผลงาน (Exhibition)
(Creative Based Learning)
ระบบสังคม (Social System)
การทดลองใช้รปู แบบการจดั การ บทบำทครู :
เรยี นรู้ CREATE Model เพ่ือสง่ เสรมิ - กระตุ้นใหน้ กั เรยี นสรา้ งความคิดใหม่
ความคดิ สรา้ งสรรค์ เรื่อง การสร้าง - จดั ประสบการณ์ใหน้ กั เรยี นอยูใ่ นบริบทการแก้ปญั หา
งานนาเสนอด้วยโปรแกรม - ให้คาแนะนา ชแ้ี นะในการทากิจกรรม
ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 บทบำทนักเรียน :
(Microsoft PowerPoint 2016) ทากจิ กรรมกล่มุ /ทาความเขา้ ใจสถานการณ์ปญั หา/
สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ระดมความคดิ /สังเคราะห์ความร/ู้ วางแผน /ออกแบบ/
ทากจิ กรรม/นาเสนอและวจิ ารณ์อย่างสรา้ งสรรค์ โดย
1. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เนน้ ความคดิ ใหม่และหลากหลาย
2. ความคดิ สร้างสรรค์
3. ความพึงพอใจ ระบบกำรสนับสนุน (Support System)
- จดั สถานการณใกลเ้ คยี งสภาพจรงิ และหลากหลาย
การขยายผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE แง่มมุ
Model เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง - สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ ใหน้ กั เรียนได้อภิปราย
การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์ ซกั ถาม นาเสนอและแสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระ
พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint
2016) สาหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 หลักกำรตอบสนอง (Principles of reaction)
- กระต้นุ ใหค้ ิดอย่างต่อเนอ่ื ง
- ให้อิสระในการแสดงความคดิ เหน็ โดยไมป่ ระเมินว่า
ถกู ผดิ
- ให้ขอ้ มลู ย้อนกลับในทางบวก

ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

14

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model เพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เร่ือง
การสร้างงานนาเสนอด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ 2016 (Microsoft PowerPoint
2016) สาหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ผ้วู ิจยั ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง ดงั ต่อไปนี้

1. หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.1 เปา้ หมายของการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
1.2 เรยี นรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
1.4 คุณภาพนักเรยี น
1.5 คาอธิบายรายวชิ า
1.6 โครงสร้างรายวิชา

2. รูปแบบการเรียนการสอน
2.1 ความหมายของรปู แบบการเรยี นการสอน
2.2 องคป์ ระกอบของรูปแบบการเรียนการสอน
2.3 ขั้นตอนการพัฒนาของรปู แบบการเรยี นสอน

3. การวิจัยและพัฒนา
3.1 ความหมายของการวจิ ยั และพฒั นา
3.2 ผลลัพธข์ องการวจิ ัยและพฒั นา
3.3 กระบวนการวจิ ยั และพฒั นา

4. ความคิดสร้างสรรค์
4.1 ความหมายของความคดิ สร้างสรรค์
4.2 ความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์
4.3 พฒั นาการความคดิ สร้างสรรค์
4.4 ทฤษฎที ี่เกย่ี วข้องกับความคิดสรา้ งสรรค์
4.5 องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
4.6 กระบวนการความคิดสรา้ งสรรค์
4.7 การส่งเสริมความคิดสรา้ งสรรค์และพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์
4.8 การวัดความคดิ สรา้ งสรรค์

15

5. ทฤษฎแี ละแนวคิดพืน้ ฐานท่เี กีย่ วข้องกบั รปู แบบการจัดการเรียนรู้ CREATE Model
5.1 ทฤษฎแี ละแนวคิดพนื้ ฐาน
5.1.1 แนวคดิ การคิดนอกกรอบ
5.1.2 แนวคิดการสืบเสาะหาความรู้
5.1.3 ทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสต์
5.1.4 การสอนแบบสรา้ งสรรค์เป็นฐาน
5.2 รูปแบบการจดั การเรียนรู้ CREATE Model

6. งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง
6.1 งานวจิ ยั ในประเทศ
6.2 งานวจิ ยั ต่างประเทศ

1. หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับ

ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ได้กาหนด
สาระการเรียนรู้ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์
กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ และสาระท่ี 4 เทคโนโลยี ซ่ึงองค์ประกอบของ
หลักสูตร ทั้งในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้นั้นมี
ความสาคัญอย่างย่ิงในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนในแต่ละระดับชั้นให้มี
ความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันต้ังแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 จนถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้กาหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่นักเรียน
จาเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐาน เพ่ือให้สามารถนาความรู้นไี้ ปใช้ในการดารงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพ
ท่ตี อ้ งใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ โดยจดั เรียงลาดับความยากงา่ ยของเนื้อหาท้ัง 4 สาระในแต่ละ
ระดับช้ันให้มีการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้
นักเรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะท่ี
สาคัญทัง้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์
ความรู้ด้วยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้
ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนกั ถึงความสาคัญของการจดั การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ีม่ ุ่งหวัง
ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธติ์ อ่ นักเรียนมากท่สี ุด จงึ ไดจ้ ดั ทาตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ข้ึน เพ่ือให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ ได้ใช้เป็น

16

แนวทางในการพัฒนาหนังสือเรียน คู่มือครู ส่ือประกอบการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและ
ประเมินผล โดยตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท่ีจัดทาขึ้นนี้ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกันและ
ระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจนการเชื่อมโยง
เนอ้ื หาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์กับคณติ ศาสตรด์ ้วย นอกจากนี้ ยังไดป้ รับปรุงเพื่อให้มคี วามทนั สมัยต่อ
การเปลี่ยนแปลง และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ และทัดเทียมกับนานาชาติ กลุ่มสาระ
การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีสรุปเป็นแผนภาพได้ดังนี้

สาระท่ี 2
วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
- มาตรฐาน ว 2.1-ว 2.3

สาระที่ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สาระท่ี 3
วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ วทิ ยาศาสตร์และ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
- มาตรฐาน ว 1.1-ว 1.3
เทคโนโลยี - มาตรฐาน ว 3.1-ว 3.3

สาระท่ี 4
เทคโนโลยี
- มาตรฐาน ว 4.1-ว 4.2

ภาพท่ี 2.1 สาระ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ัดกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560)

วิทยาศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ  สาระชวี วทิ ยา  สาระเคมี  สาระฟิสิกส์

 สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

17

สาหรับวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติม สาระชีววทิ ยา เคมี ฟิสิกส์ และโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ
จัดทาขึ้นสาหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ที่จาเป็นต้อง
เรียน เพ่ือเป็นพื้นฐานสาคัญและเพียงพอสาหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพด้าน
วิทยาศาสตร์

1.1 เป้าหมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต
สารวจตรวจสอบ และการทดลองเก่ียวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนาผลมาจัดระบบ หลักการ
แนวคิดและทฤษฎี ดังน้ันการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้นักเรียนได้เป็นนักเรียนรู้และ
ค้นพบด้วยตนเองมากท่ีสุด น่ันคือให้ได้ท้ังกระบวนการและองค์ความรู้ ต้ังแต่วัยเรมิ่ แรกก่อนเข้าเรยี น
เม่ืออยู่ในสถานศึกษาและเมื่อออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแล้ว การจัดการเรียนการสอน
วทิ ยาศาสตรใ์ นสถานศึกษามเี ปา้ หมายสาคัญดังนี้

1. เพือ่ ใหเ้ ข้าใจหลกั การ ทฤษฎที เี่ ป็นพ้ืนฐานในวทิ ยาศาสตร์
2. เพอ่ื ให้เข้าใจขอบเขต ธรรมชาติและข้อจากดั ของวทิ ยาศาสตร์
3. เพื่อให้มีทักษะที่สาคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
4. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปญั หาและการ
จดั การทักษะในการส่อื สาร และความสามารถในการตดั สินใจ
5. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ
สภาพแวดลอ้ มในเชงิ ท่มี อี ิทธิพลและผลกระทบซงึ่ กันและกนั
6. เพ่ือนาความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ต่อสังคมและการดารงชวี ติ
7. เพ่ือให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์
1.2 เรยี นรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้นักเรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการ
เช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้
กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
ทุกข้ันตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับช้ัน โดย
กาหนดสาระสาคัญ ดังนี้

18

1. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของ
สิ่งมีชีวิต การดารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์การดารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ และวิวัฒนาการของสิง่ มีชีวิต

2. วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของ
สาร การเคลอ่ื นท่ี พลังงาน และคล่นื

3. วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกย่ี วกับ องคป์ ระกอบของเอกภพปฏสิ ัมพันธ์
ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ
เปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อส่งิ มีชีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

4. เทคโนโลยี
4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี เรยี นรู้เกย่ี วกบั เทคโนโลยเี พื่อการดารงชีวิตใน

สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
ศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
วศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และส่ิงแวดล้อม

4.2 วิทยาการคานวณ เรียนรู้เก่ียวกับการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์
แก้ปัญหา เป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการสอ่ื สาร ในการแกป้ ัญหาท่พี บในชีวิตจรงิ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

1.3 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ
ถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและ
ผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและ
การแก้ไขปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม รวมท้งั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวติ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสาร
เข้าและออกจากเซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ี
ทางานสมั พันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ที่ ของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ทีท่ างานสัมพันธ์
กนั รวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทาง
ชีวภาพและวิวัฒนาการของสงิ่ มีชีวติ รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

19

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง

สมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติของการ
เปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ
ลักษณะการเคลอ่ื นทีแ่ บบตา่ ง ๆ ของวตั ถรุ วมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอน
พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน
ปรากฏการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกบั เสียง แสง และคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ

เอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต
และการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลกกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้า อากาศและ
ภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลตอ่ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอ้ ม

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการ

เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ
เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เลือกใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม โดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และส่งิ แวดล้อม

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่าง
เปน็ ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการ
แก้ปัญหาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมีจรยิ ธรรม

1.4 คุณภาพนกั เรยี น
จบชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6

1. เขา้ ใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรบั ตวั ของส่ิงมีชีวิต รวมทง้ั ความสมั พันธ์
ของสงิ่ มชี ีวติ ในแหล่งที่อยู่ การทาหนา้ ที่ของสว่ นต่าง ๆ ของพชื และการทางานของระบบย่อยอาหาร
ของมนษุ ย์

20

2. เขา้ ใจสมบัตแิ ละการจาแนกกลุ่มของวสั ดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสาร
การละลาย การเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงทผ่ี ันกลับไดแ้ ละผันกลบั ไม่ได้ และการแยกสาร
อย่างง่าย

3. เขา้ ใจลกั ษณะของแรงโน้มถว่ งของโลก แรงลพั ธ์ แรงเสยี ดทาน แรงไฟฟา้ และผล
ของแรงต่าง ๆ ผลท่ีเกิดจากแรงกระทาต่อวัตถุ ความดัน หลักการท่ีมีต่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ปรากฏการณเ์ บ้อื งต้นของเสียง และแสง

4. เข้าใจปรากฏการณ์การข้ึนและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของ
ดวงจันทร์ องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์
และ ดาวฤกษ์ การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกิดสุริยุปราคา พัฒนาการและ
ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ

5. เขา้ ใจลกั ษณะของแหลง่ นา้ วัฏจกั รนา้ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าคา้ ง น้าค้าง
แข็ง หยาดนา้ ฟา้ กระบวนการเกิดหิน วฏั จกั รหิน การใชป้ ระโยชน์หนิ และแร่ การเกิดซากดึกดาบรรพ์
การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและ
ผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก

6. คน้ หาข้อมลู อย่างมีประสทิ ธภิ าพและประเมนิ ความน่าเชื่อถือ ตัดสนิ ใจเลอื กขอ้ มูล
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทางานร่วมกัน
เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ทีข่ องตน เคารพสิทธขิ องผูอ้ นื่

7. ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาเกยี่ วกับสง่ิ ทจ่ี ะเรยี นรู้ตามที่กาหนดให้หรือตามความ
สนใจ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคาถามหรือปัญหาท่ีจะสารวจ
ตรวจสอบ วางแผนและสารวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่
เหมาะสม ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ

8. วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเหน็ และสรปุ ความสมั พนั ธข์ องข้อมลู ท่ีมาจากการสารวจ
ตรวจสอบในรูปแบบท่ีเหมาะสม เพื่อส่ือสารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบได้อย่างมีเหตุผลและ
หลักฐานอ้างองิ

9. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเร่ืองที่
จะศกึ ษาตามความสนใจของตนเอง แสดงความคดิ เหน็ ของตนเอง ยอมรบั ในข้อมูลท่ีมหี ลักฐานอ้างอิง
และรบั ฟังความคดิ เหน็ ผู้อ่นื

10. แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ
ประหยัด ซอ่ื สัตย์ จนงานลลุ ่วงเป็นผลสาเร็จ และทางานรว่ มกับผ้อู ่นื อยา่ งสร้างสรรค์

21

11. ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรู้และ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงาน

ของผคู้ ดิ คน้ และศึกษาหาความรเู้ พ่ิมเตมิ ทาโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กาหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

12. แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้ การดูแลรักษา

ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งรู้คณุ คา่

1.5 คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว15201 ช่ือรายวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ

รายวชิ าเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชวั่ โมง

ศกึ ษาความหมายของข้อมูล แหล่งขอ้ มลู ประเภทของขอ้ มลู ประโยชนข์ องขอ้ มลู รวบรวม

ขอ้ มลู ช่ือและหน้าท่ขี องอปุ กรณ์ องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ การใชง้ านคอมพวิ เตอร์อย่าง ถกู วธิ ี

การใช้อนิ เทอร์เนต็ การใชง้ านโปรแกรม Microsoft PowerPoint ในการนาเสนอ จัดรูปแบบภาพนิง่

แทรกตารางและแผนภูมใิ นงานนาเสนอ นาเสนองานภาพนิ่ง

โดยการสืบค้น รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใกล้ตัว และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้

ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถอธิบายสิง่ ที่เรยี นรู้ สร้างสรรค์ผลงานจากสิ่งที่ได้เรยี น สามารถนาไปใช้

ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั เห็นคณุ ค่า ความสาคญั ของชิ้นงานที่สรา้ งขนึ้

ผลการเรยี นรู้

1. ใชง้ านโปรแกรม Microsoft PowerPoint ในการนาเสนอ จดั รูปแบบภาพนง่ิ ได้

2. แทรกตารางและแผนภมู ใิ นงานนาเสนอได้

3. นาเสนองานภาพน่ิงได้

4. บอกความหมายของข้อมูล แหลง่ ข้อมูล ประเภทของข้อมูล ประโยชนข์ องขอ้ มลู และ

รวบรวมขอ้ มลู ได้

5. บอกชื่อและหน้าท่ีของอุปกรณ์ องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์และใชง้ านคอมพิวเตอรไ์ ด้

อย่างถูกวิธี

6. สืบคน้ ข้อมลู โดยใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตได้

7. ประยุกตเ์ พ่ือใชง้ านได้และเหน็ ความสาคัญของชน้ิ งาน

รวมทงั้ หมด 7 ผลการเรียนรู้

22

1.6 โครงสรา้ งรายวิชา
โครงสร้างรายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (รายวชิ าเพม่ิ เติม)
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 40 ช่วั โมง จานวน 1 หน่วยกติ

ท่ี ช่อื ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นาหนกั
หนว่ ยการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

1. โปรแกรมนาเสนอ 1. ใชง้ านโปรแกรม 1. การใช้งานโปรแกรม 5 10

งาน Microsoft PowerPoint Microsoft PowerPoint ใน 10
10
ในการนาเสนอ จัดรปู แบบ การนาเสนอ จัดรปู แบบภาพนิ่ง 10

ภาพนิ่งได้ 10

2. นาเสนอข้อมลู ด้วย 2. แทรกตารางและ 2. การแทรกตารางและแผนภูมิ 5 10
20
ตารางและแผนภูมิ แผนภมู ใิ นงานนาเสนอได้ ในงานนาเสนอ
10
3. การนาเสนองาน 3. นาเสนองานภาพนิ่งได้ 3. การนาเสนองานภาพน่ิง 4 10
100
4. ข้อมลู นา่ รู้ 4. บอกความหมายของ 4. ความหมายของข้อมูล 6

ขอ้ มูล แหล่งข้อมูล แหลง่ ข้อมูล ลักษณะของข้อมูล

ประเภทของข้อมูล วธิ ีการเกบ็ รักษาข้อมูล

ประโยชน์ของข้อมูล และ ประโยชนข์ องข้อมลู การ

รวบรวมข้อมูลได้ รวบรวมข้อมูลความหมาย

ลกั ษณะ และแหล่งข้อมลู

5. รู้จกั คอมพวิ เตอร์ 5. บอกชื่อและหน้าท่ีของ 5. ชอ่ื และหนา้ ท่ีของอุปกรณ์ 6

อุปกรณ์ องค์ประกอบของ องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์

คอมพวิ เตอร์และใชง้ าน การใช้งานคอมพิวเตอรอ์ ย่างถูก

คอมพิวเตอร์ได้อยา่ งถูกวิธี วธิ ี

6. สืบค้นข้อมูลจาก 6. สืบค้นข้อมูลโดยใช้ 6. การสืบคน้ ข้อมูลโดยใช้ 6

อนิ เทอร์เน็ต อินเทอรเ์ น็ตได้ อินเทอรเ์ น็ต

7. 7. การประยุกต์ 7. ประยุกต์เพ่ือใชง้ านได้ 7. การประยุกต์เพ่ือใชง้ าน 6

เพื่อใชใ้ นงานอาชีพ และเห็นความสาคัญของ

ช้ินงาน

สอบปลายภาคเรยี นท่ี 1 1

สอบปลายภาคเรยี นที่ 2 1

รวม 40

23

2. รูปแบบการเรยี นการสอน
2.1 ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน
Joyce และ Weil (1986) และ Joyce, Weil และ Calhoun (2004) กล่าวว่า ความหมาย

ของรูปแบบการเรยี นการสอนเป็นแผน (Plan) หรอื แบบ (Pattern) ซง่ึ สามารถใช้เพ่อื การจดั การเรียน
การสอนแบบเผชิญหน้าในห้องเรียนหรือการสอนพิเศษเป็นกลุ่มย่อย หรือเพื่อจัดเตรียมส่ือการสอน
รวมถึงหนังสือ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือหลักสูตรรายวิชา ซ่ึงรูปแบบ
การเรียนการสอนนั้น สามารถใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการสอนท่ีช่วยให้นักเรียนบรรลุ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ได้ ซึ่งรูปแบบการสอนที่แท้จริงน้ัน จะต้องเป็นส่ิงท่ีสามารถช่วยให้นักเรียน
ได้รับ ความรู้ แนวคิด ทักษะต่าง ๆ ค่านิยม วิธีการคิด และวิธีการที่แสดงออกซึ่งความคิดของตนเอง
ในการสอนน้ันต้องสอนวิธีการที่จะเรียนในความเป็นจริงแล้วผลลัพธ์ระยะยาวที่สาคัญท่ีสุดของการ
สอน คือ การเพิ่มข้ึนของความสามารถในการเรียน ทาให้เรียนรู้ได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขน้ึ ในอนาคต ทง้ั น้ีเพราะว่าความรแู้ ละทักษะท่ีไดม้ าจากการท่ีนักเรียนสามารถควบคมุ กระบวนการ
เรียนรขู้ องตนเองได้

ทิศนา แขมมณี (2550) กล่าวว่า ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน หมายถึง
ลักษณะของการเรียนการสอนที่ครอบคลุมองค์ประกอบสาคัญ ซ่ึงได้รับการจัดไว้อย่างเป็นระเบียบ
ตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือความเชื่อต่าง ๆ ประกอบด้วย กระบวนการหรือขั้น
ตอนสาคัญในการเรียนการสอน รวมท้ังวิธีสอนและเทคนิคการสอนต่าง ๆ ท่ีสามารถช่วยให้สภาพ
การเรียนการสอนนั้นเป็นไปตามทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดท่ียึดถือ ซึ่งได้รับการพิสูจน์ทดสอบหรือ
ยอมรับว่ามีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแบบแผนในการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์เฉพาะ
ของรูปแบบนั้น ๆ และได้อธิบายถึงคาว่า รูปแบบการเรียนการสอน และคาว่าระบบการจัดการเรียน
การสอนไว้ว่ามี ความหมายเหมือนกัน แต่นิยมใช้ต่างกัน คือ ระบบการเรียนการสอนนิยมใช้กับ
ระบบใหญ่ ซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบสาคัญของการเรียนการสอนในภาพรวม ส่วนรูปแบบการเรียน
การสอนนิยมใช้กับระบบที่ย่อยกว่า และได้เสนอว่ารูปแบบการเรียนการสอนควรมีองค์ประกอบดังนี้
1) ปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อที่เป็นพื้นฐานหรือหลักของรูปแบบการสอนน้ัน ๆ
2) การบรรยายและอธิบาย สภาพหรือลักษณะของการจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับหลักการ
ที่ยึดถือ 3) การจัดระบบ คือ มีการจัดองค์ประกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบให้
สามารถนานักเรียนไปสู่เป้าหมายของกระบวนการน้ัน ๆ 4) การอธิบายหรือให้ข้อมูลเก่ียวกับวิธีสอน
และเทคนคิ การสอนอนั จะชว่ ยใหก้ ระบวนการเรยี นการสอนน้นั ๆ เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ

สรุปได้ว่า รูปแบบการเรียนการสอน หมายถึง ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนที่
ครอบคลุมองค์ประกอบสาคัญ ซึ่งจัดไว้อย่างเป็นแบบเป็นแผนตามหลักการ แนวคิด และทฤษฎีท่ี
เชื่อถือได้ โดยการจัดลาดับขั้นของกระบวนการของการเรียนการสอนให้สามารถใช้ในการเรียน

24

การสอนได้ในสถานการณ์จริง ทาให้การเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ
บรรลุ วัตถุประสงค์ในการเรียนการสอนนั้นได้ อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้จะต้องได้รับ
การพิสจู น์ และทดสอบตามกระบวนการทีเ่ ปน็ ที่ยอมรับ

2.2 องคป์ ระกอบของรูปแบบการเรยี นการสอน
Brown, Lewis และ Harcleroad (1983) กล่าวว่า รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเน้นการ

จัดให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ โดยพิจารณาวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนเป็นสาคญั
เพ่ือให้ผู้สอนจัดการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับความต้องการ ความสามารถและความสนใจของ
นักเรียน โดยมีองค์ประกอบของรูปแบบ 4 องค์ประกอบ คือ เป้าหมายในการเรียนการสอน (Goals)
สภาพการณ์ (Conditions) แหล่งการเรยี นรู้ (Resource) และผลลัพธ์ (Outcomes)

1. เป้าหมายในการเรียนรู้ (Goals) ในการจัดการเรียนการสอนที่มีเป้าหมายให้
นักเรียนบรรลุผลสาเร็จนั้น จะต้องกาหนดวัตถุประสงค์และเนื้อหาสอดคล้องจุดมุ่งหมายในการเรียน
โดยผู้สอนต้องเขียนเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีสามารถวัดหรือสังเกตได้ และการเลือกเนื้อหา
ของบทเรียนต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ เพ่ือให้นักเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมตามท่ีกาหนดไว้
ในการกาหนดวัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมน้ัน กฤษมนั ต์ วัฒนาณรงค์ (2559) ได้นาเสนอแนวการเขียน
จุดประสงค์ทางการสอนท่ีเรียกว่า “Taxonomy of Educational Objectives” โดยแยกเนื้อหาวิชา
ที่จะสอนออกเป็นสามด้าน (Domain) ดังน้ี 1) Cognitive Domain เน้นความสามารถทางสมองใน
การจา การเข้าใจ และการคิด 2) Affective Domain เน้นในด้านอารมณ์และความรู้สึก เช่น ความ
สนใจ ทัศนคติ และความซาบซง้ึ และ 3) Psychomotor Domain เน้นในดา้ นทักษะและฝีมอื ทางการ
กระทากิจกรรมต่าง ๆ

2. สถานการณ์การเรียนรู้ (Conditions) ควรจัดสภาพการณเ์ พ่ือให้นักเรียนสามารถ
เรียนอย่างได้ผล เพื่อบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้มีการเลือกประสบการณ์ท่ีเหมาะสมแก่นักเรียน
โดยเน้นถึงสภาพความแตกต่างระหว่างบุคคลเพ่ือการจัดรูปแบบหรือวิธีการเรียนท่ีเหมาะสม
ประกอบด้วย 1) การจัดประสบการณ์การเรียน เป็นการจัดประสบการณ์ในรูปลักษณะกิจกรรมการ
เรียนต่าง ๆ เพ่ือนาไปสู่การเรียนรู้ ประสบการณ์ท่ีนาไปสู่การเรียนรู้แบ่งได้เป็นหลายรูปแบบ เช่น
การฝึกให้คิด การอภิปราย การเขียน การอ่าน การฟัง เป็นต้น 2) การจัดรูปแบบการเรียนการสอน
การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ควรคานึงถึงจานวนนักเรียน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและเน้ือหา
บทเรยี นดว้ ย ทาไดโ้ ดยการจัดห้องตามขนาดของกลุ่มนักเรยี น โดยถา้ เป็นนักเรยี นกลุ่มใหญ่ ผู้สอนมัก
ใช้วิธีการบรรยายในห้องเรียนใหญ่ ถ้ากลุ่มนักเรียนขนาดกลางหรอื กลุ่มเล็กก็ใชก้ ารบรรยาย และอาจ
จัดให้มกี ารซกั ถามโต้ตอบกัน รวมท้ังควรมีการใชส้ อื่ การสอนรว่ มด้วย

3. แหล่งการเรียนรู้ (Resources) หมายถึง บุคคลหรือวัสดุอุปกรณ์และเคร่ืองมือท่ี
เหมาะสมในการสอน ตลอดจนการจัดสถานท่ีและสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในการเรียนการสอน

25

ด้วย ได้แก่ 1) แหล่งการเรียนรู้ท่ีบุคคลซึ่งมิได้หมายถึงเพียงผู้สอนหรือนักเรียนเท่าน้ัน แต่จะ
หมายรวมถึง บุคคลทุกคนที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 2) วัสดุอุปกรณ์และส่ือการสอน
การเลือกใช้สื่อ ควรคานึงถึงความเหมาะสมกับระดับความรู้ความสามารถและประสบการณ์เดิมของ
นักเรียน และความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ ความเหมาะสมระหว่างส่ือท่ีนามาใช้กับ
กิจกรรมการเรียนการสอน และส่ือการสอนนั้น เช่น สื่อน้ันสามารถหาได้ในแหล่งวิชาการหรือใน
ท้องถ่ิน และท่ีสาคัญคือความสะดวกในการใช้ส่ือน้ัน ซ่ึงส่ือการสอนท่ีใช้ในการจัดประสบการณ์
การเรียนรู้จะต้องช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เช่น เคร่ืองเทปบันทึกเสียง
เครื่องฉายสไลด์ เคร่ืองฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เป็นต้น และ 3) สถานที่และสิ่ง
อานวยความสะดวก หมายถงึ การจดั สภาพห้องเรยี นตามขนาดของกลุม่ นักเรียน ตลอดจนการจัดวัสดุ
อุปกรณ์และส่ือการสอนเพ่ือความสะดวกในการใช้ด้วยสิ่งอานวยความสะดวกและสถานท่ี ซ่ึงได้แก่
หอ้ งเรยี นห้องสมดุ และสอื่ การศกึ ษา เปน็ ต้น

4. ผลลัพธ์ (Outcomes) ผลลัพธ์ของการเรียนรู้เป็นผลที่เกิดข้ึนจากกระบวนการ
เรียนรู้ ซ่ึงอาจประเมินความสาเร็จจากเป้าหมายการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ โดยการพิจารณาปัจจัยท่ี
จาเป็นต้องปรับปรุง การประเมินผลและการปรับปรุงเป็นการประเมินว่าหลังจากที่สอนแล้วนักเรียน
ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ และสามารถเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์หรือไม่ การ
ประเมินผลจะทาให้ผู้สอนสามารถทราบได้ว่าระบบการสอนน้ันมีข้อบกพร่องอะไรบ้าง เช่น แผนการ
สอน จุดมุ่งหมาย ส่อื การสอน เน้ือหา หรอื แมแ้ ต่ความพร้อมของนักเรียนเอง ท้ังน้เี พอ่ื เปน็ แนวทางใน
การปรับปรุงแกไ้ ขข้อบกพร่องต่อไป

Thorne (2003) กลา่ ววา่ รูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานมี 2 ประการ ดังนี้
1. การจัดการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ (Online)
2. การจดั การเรียนรู้แบบออฟไลน์ (Offline)

Joyce และ Weil (2004) กล่าววา่ องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน มี 3 ประการ
ดงั นี้

1. หลกั การหรือทฤษฎที เี่ ป็นพืน้ ฐานของรปู แบบ
2. แนวทางในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนและส่ิงแวดล้อมในการเรียน
การสอน
3. วิธสี อนและวธิ ีเรยี นทีจ่ ะชว่ ยใหก้ ารเรยี นการสอนบรรลุวัตถุประสงค์ทต่ี ้องการ
ทิศนา แขมมณี (2545) กล่าวว่า รูปแบบการเรียนการสอนจาเป็นต้องมีองค์ประกอบสาคัญ
4 ประการ ดงั น้ี
1. ปรชั ญา ทฤษฎี หลักการ แนวคดิ หรือความเชอ่ื ท่เี ปน็ พ้ืนฐานของรูปแบบการสอน
น้ัน

26

2. การบรรยายและอธิบายสภาพหรือลักษณะของการจัดการเรียนการสอนที่
สอดคลอ้ งกบั หลกั การทีย่ ึดถอื

3. การจัดระบบ คือ มีการจัดองค์ประกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของ
ระบบใหส้ ามารถนานักเรยี นไปส่เู ป้าหมายของระบบหรือกระบวนการน้ัน

4. การอธิบายหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีสอนและเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่จะช่วยให้
กระบวนการเรียนการสอนนัน้ ๆ เกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สุด

สายชล จินโจ (2550) กล่าวว่า องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
มี 4 ประการ ดังนี้

1. การสอนแบบบรรยายปฏิสมั พันธ์
2. การสอนแบบช้ีแนะ
3. การสอนดว้ ยบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนผ่านระบบเครือข่าย
4. การสอนแบบมสี ่วนรว่ มผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
ปณิตา วรรณพิรุณ (2551) กล่าวว่า องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน มี 4
องค์ประกอบ ดังน้ี
1. หลักการของรปู แบบ
2. วัตถปุ ระสงคข์ องรปู แบบ
3. กระบวนการเรยี นรู้
4. การวัดและประเมินผล
ทิพเนตร ขรรค์ทัพไทย (2554) กล่าวว่า องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน มี 4
ประการ ดงั นี้
1. หลักการของรปู แบบการเรยี นการสอน
2. วตั ถุประสงคข์ องรูปแบบ
3. การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
4. การวดั และประเมนิ ผล
จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนของ
นักออกแบบระบบการเรียนการสอน ได้แก่ ทิศนา แขมมณี (2545) Thorne (2003) Joyce และ
Weil (2004) และจากการศึกษางานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน
ของสายชล จินโจ (2550) ปณิตา วรรณพริ ุณ (2551) ทิพเนตร ขรรคท์ พั ไทย (2554) โดยนาหลักการ
แนวคิดทส่ี อดคล้องกันมากาหนดเป็นองคป์ ระกอบของรูปแบบการเรียนการสอน พบว่า องค์ประกอบ
ของรูปแบบการเรียนการสอนจากที่ผู้วิจัยได้ศึกษาจากนักวิชาการและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ผู้วิจัยได้
เลือกองค์ประกอบสาคัญท่ีเน้นการส่งเสริมการเรียนรู้ และเป็นองค์ประกอบที่นักวิชาการมีความเห็น

27

สอดคล้องตรงกัน เพ่ือได้รูปแบบการเรยี นการสอนท่ีใช้ในการวิจัยครงั้ น้ี ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4
องคป์ ระกอบ ดังน้ี

องคป์ ระกอบที่ 1 หลักการ แนวคดิ ทฤษฎีทเ่ี ป็นพ้ืนฐานของรูปแบบ
องคป์ ระกอบท่ี 2 วตั ถุประสงค์ของรปู แบบ
องค์ประกอบท่ี 3 กระบวนการเรียนการสอนท่ีจะช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ

รูปแบบ
องคป์ ระกอบที่ 4 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ของรูปแบบ
2.3 ขนั ตอนการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
Gagne และ Briggs (1985) และ Gagne, Wager และ Golas (2005) กล่าวว่า ทฤษฎี
การจัดเรียนรู้แบบผสมผสาน (Gagne's eclecticism) คือ เป็นการผสมผสานระหว่างทฤษฎี
พฤติกรรมนิยมและพุทธินิยมเข้าด้วยกัน โดยเน้นการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้
และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ภายในสมอง โดยจัดสภาพภายนอกท่ีเอ้ือต่อกระบวนการเรียนรู้
ภายในตัวนักเรียน และเน้นการใช้สอ่ื การเรยี นสอน โดยมีข้นั การพัฒนารปู แบบการเรียนการสอน ดงั นี้
ขั้นท่ี 1 การเร้าความสนใจ (Gaining Attention) เป็นการกระตุ้นและดึงดูดความ
สนใจของนักเรียน เพอื่ ให้นักเรียนพร้อมที่จะเรียนโดยการเลือกสง่ิ เร้า เชน่ รปู ภาพ ภาพยนตร์ การใช้
คาถาม การสาธิต ในส่วนของบทเรียนท่ีใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐาน Gagne, Wager and Golas (2005)
ไดแ้ นะนาใหใ้ ชภ้ าพการเคลื่อนไหวตอ่ เน่อื งและภาษาทเ่ี ร้าความสนใจนักเรียน
ข้ันท่ี 2 การแจ้งวัตถุประสงค์ให้นักเรียนทราบ (Informing Learners of the
Objective) เพ่ือให้นักเรียนทราบถึงส่ิงท่ีคาดหวังจากการเรียนรู้โดยใช้ภาษาที่นักเรียนสามารถเข้าใจ
ไดง้ า่ ย
ขั้นท่ี 3 ส่งเสริมให้ระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนมาแล้ว ( Stimulating Recall of
Prerequisite Learning) เป็นการช่วยในการดึงข้อมูลเดิมจากภายในตัวนักเรียน เพื่อเช่ือมโยงกับ
ความรใู้ หม่
ข้ันที่ 4 การเสนอส่ิงเร้าหรือเน้ือหาใหม่ ๆ เพื่อการเรียนใหม่ (Presenting the
Stimulus Materials) โดยท่สี ิง่ ใหม่ ๆ นน้ั จะตอ้ งมีความชดั เจน เพื่อให้สามารถปรบั เข้ากบั ความรู้เพิ่ม
ได้
ขั้นท่ี 5 การให้คาแนะนาช่วยเหลือในการเรียน (Providing Learning Guidance)
เป็นการช่วยให้นักเรยี นทาความเขา้ ใจกับเรอื่ งทเ่ี รยี นไดง้ า่ ยขนึ้
ข้ันท่ี 6 สนับสนุนให้นักเรียนได้มีการแสดงออก (Eliciting the Performance) เป็น
การช่วยให้นักเรียนแสดงออกถึงความสามารถในการเรียนรู้ เช่น ให้นักเรียนลงมือทากิจกรรม
ปฏิบัติการทดลอง ผสู้ อนคอยให้ความสะดวกจัดเตรียมเครื่องมือใหพ้ ร้อมสาหรบั การปฏบิ ัติการ

28

ข้ันที่ 7 การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Providing Feedback) เพ่ือให้นักเรียนทราบว่าการ
ทากิจกรรมหรือปฏิบัติการทดลองได้ผลถูกต้อง หรือต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้
ตาม จุดประสงคท์ ก่ี าหนดไว้

ข้ันที่ 8 การประเมินผล (Assessing Performance) การวัดผลการเรียนรู้ของ
นักเรียนให้การทากิจกรรมอาจทาได้โดยข้อสอบวัดได้ในขณะเรียนและเมื่อส้ินสุดการเรียน ท้ังนี้ การ
ทดสอบระหว่างเรียนนั้นควรมีการกาหนดแนวทางให้นักเรียนได้ปฏิบัติ ทั้งท่ีผลการประเมินนั้นผ่าน
และไมผ่ า่ น ทัง้ นี้เพ่ือใหก้ ารเรียนของนกั เรียนบรรลุความสาเรจ็

ข้ันท่ี 9 ส่งเสริมระดับความคงทนในเร่ืองท่ีเรียน และการถ่ายโยง (Enhancing
Retention and Transfer) การใหน้ กั เรยี นได้ฝกึ ปฏิบตั ซิ ้า เพ่ือใหเ้ กดิ ความคงทนของความรู้ หรอื การ
ทบทวนและนาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่เพ่ือฝึกการถ่ายโอนการเรียนรู้ในส่วนของบทเรียนท่ีใช้
คอมพิวเตอร์เป็นฐาน Gagne, Wager และ Golas (2005) ได้แนะนาให้ใช้การยกตัวอย่างเพ่ิมเติม
ทีไ่ มซ่ ้าซากและมกี ารใช้คาถามเพอื่ ทบทวน

กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์ (2559) กล่าวว่า การจัดทรัพยากรและกระบวนการท่ีจะส่งเสริม ให้
เกิดการเรียนรู้ได้น้ัน จะต้องเป็นกระบวนการเชิงระบบของการพัฒนาการเรียนและการพัฒนา
การสอน ซึ่งเป็นกระบวนการของการนาระบบหรือแผนงานไปใช้ในการสอน หรือเรียกว่าเป็น
การออกแบบการสอน โดยได้นาเสนอลาดับข้นั ของการออกแบบการสอนไว้ ดงั น้ี

ขน้ั ท่ี 1 Instructional Goals ข้ันกาหนดจดุ ม่งุ หมายของการสอน
ขั้นที่ 2 Instructional Analysis ขั้นวิเคราะห์จุดมุ่งหมายการสอนและกระบวนการ
สอน
ขั้นท่ี 3 Entry Behaviors and Learner Characteristics เป็นการสารวจและการ
กาหนดทักษะ ความรู้ของนักเรียนท่ีมีอยู่แล้ว รวมท้ังลักษณะนิสัยและความสามารถเฉพาะของ
นักเรียน
ขั้นท่ี 4 Performance Objectives ขั้นถ่ายทอดจุดมุ่งหมายและความต้องการเป็น
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซง่ึ ใช้ในการวัดผลและตรวจสอบได้
ขั้นท่ี 5 Criterion-Referenced Test Items ข้ันการสร้างข้อสอบแบบองิ เกณฑ์
ขั้นที่ 6 Instructional Strategy การใช้วิธีสอนน้ันไม่เฉพาะจะต้องใช้สื่อการสอน
เป็นตัวนาหรือเป็นหลักในการจัดการเรียนการสอนในรูปของเทคนิควิธี หรือนวัตกรรมทางการศึกษา
ต่าง ๆ แต่หมายถึง การสอนท่ีใช้ครูเป็นสาคัญด้วย ดังเช่น การสอนในวิชาชีพน้ันครูยังมีความจาเป็น
และยังมีคุณค่าทางการสอนมาก และจะขาดเสียมิได้ถงึ แม้ว่าจะมีเทคโนโลยมี าแทนได้บ้างในบางส่วน
แต่ก็ไม่สามารถทดแทนครูได้ท้ังหมด

29

ข้ันท่ี 7 Instructional Materials แต่เดิมผู้สอนไม่ได้ผลิตส่ือได้เอง จะใช้วิธีเลือก
จากสิ่งทม่ี ีอยู่ ซง่ึ วธิ นี ย้ี ังคงใช้ได้ดี แตส่ ื่อบางชนิดผ้สู อนจาเป็นต้องสร้างขึน้ เองเพื่อใหบ้ รรลุจุดมุ่งหมาย
ในการสอน

ข้ันที่ 8 Formative Evaluation เป็นการประเมินผลเพ่ือทดสอบประสิทธิภาพของ
สื่อการสอนและวิธีการสอนโดยการดาเนินการ 3 ข้ัน ดังน้ี 1) ทดลองกับนักเรียนหน่ึงคนก่อนแล้ว
ปรับปรุงผล การดาเนินการนี้เพื่อต้องการทดสอบและปรับปรุง ซ่ึงจะช่วยให้ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้
2) ทดลองกับนักเรียนเป็นกลุ่มเล็กประมาณ 6-8 คน 3) ขั้นทดลองกับชั้นเรียนจริง ๆ แล้วนาผลไป
ปรับปรงุ แก้ไข และใช้เป็นมาตรฐานหรือเรยี กว่า สื่อท่มี ีการทดสอบแลว้ (Tested Media)

ขั้นที่ 9 Summative Evaluation เป็นการประเมินท้ังกระบวนการสอนเป็นการ
ประเมินผลหลังจากท่ีการสอนได้จบสิ้นกระบวนการแล้ว หรือเม่ือจบการสอนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด
หน่ึง (Point-by-Point) เรียบรอ้ ยแลว้

สรุปได้ว่า การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเป็นการสร้างระบบขึ้นใหม่ เพื่อการปรับปรุง
การเรยี นการสอนที่มีอยู่เดิมให้เปน็ รูปแบบที่ครบทุกองค์ประกอบ และขัน้ ตอนการสอนท่ชี ดั เจนท้ังใน
ด้านหลักปรัชญา ทฤษฎี แนวคิด ความเชื่อประกอบเข้าด้วยกัน มีข้ันตอนท่ีสาคัญในการเรียน ได้แก่
การกาหนดจุดมุ่งหมายการเรียนการสอน การวิเคราะห์ และสารวจทักษะความรู้ของนักเรียนท่ีมีอยู่
แล้วและความสามารถเฉพาะของนักเรียน วิธีสอนและเทคนิคการสอนต่าง ๆ รวมถึงส่ือการสอน
ประเภทต่าง ๆ เช่น หนังสือ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ท่ีสามารถช่วยให้
นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ได้ เพื่อสะดวกกับผู้สอนในการนาไปปฏิบัติ เช่น การเตรียม
ของผู้สอน บทบาทของผู้สอน นักเรียน การจัดสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ
นักเรียน โดยท่ีรูปแบบการเรยี นการสอนที่สร้างข้ึนนั้นจะต้องได้รบั การยอมรับว่ามีประสิทธภิ าพ และ
ให้บรรลุตามจดุ มุ่งหมายทกี่ าหนดไว้

3. การวิจยั และพฒั นา
3.1 ความหมายของการวจิ ัยและพฒั นา
มนี กั การศกึ ษา ได้ให้ความหมายของการวิจยั และพัฒนา ดังนี้
กฤษิยากร เตชะปิยะพร (2552 : 1) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การวิจัยและพัฒนา (The

Research and Development) หมายถึง ลักษณะหนึ่งของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ( Action
Research) ท่ีใช้กระบวนการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มุ่งพัฒนาทางเลือกหรือวิธีการใหม่ ๆ เพ่ือ
ใชใ้ นการยกระดับคณุ ภาพงานหรือคณุ ภาพชีวติ

30

ชุมพล เสมาขันธ์ (2552 : 97) ได้ให้ความหมายไว้วา่ การวิจัยและพัฒนา หมายถึง การสร้าง
ผลิตภัณฑ์ข้ึนมาโดยอาศัยกระบวนการวิจัย และดาเนินการประเมินผลผลิตภัณฑ์ที่สร้างขึ้นก่อนทา
การเผยแพรต่ ่อไป

ญาณภัทร สีหะมงคล (2552 : 1) ให้ความหมายไว้ว่า การวิจัยและพัฒนาเป็นกระบวนการ
ศึกษาค้นคว้า คิดค้น อย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาผลผลิตเทคโนโลยี
สิง่ ประดิษฐ์ สอ่ื อปุ กรณ์ เทคนิควิธีหรอื รปู แบบการทางาน หรอื ระบบบรหิ ารจัดการ ให้มีประสทิ ธิภาพ
และประสิทธผิ ลยิง่ ข้นึ อย่างชัดเจน

สรุปได้ว่า การวิจัยและพัฒนา หมายถึง กระบวนการค้นคว้า คิดค้น อย่างเป็นระบบ เพื่อให้
ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้นมา ทั้งส่ิงประดิษฐ์ สื่อ อุปกรณ์ เทคนิควิธีหรือรูปแบบการทางาน เพ่ือยกระดับ
คณุ ภาพงานหรือชวี ติ ให้ดขี น้ึ

3.2 ผลลัพธ์ของการวจิ ยั และพัฒนา
ผลลัพธข์ องการวิจัยและพัฒนา มดี งั ตอ่ ไปนี้ (กฤษิยากร เตชะปยิ ะพร 2552 : 1)

2.1 นวัตกรรมประเภทวัตถุที่เป็นชิ้นอัน ซึ่งอาจเป็นประเภท วัสดุ อุปกรณ์ ชิ้นงาน
เชน่ รถยนต์ คอมพวิ เตอร์ ชุดการสอน ส่อื การสอน ชดุ กิจกรรม เสรมิ ความรู้ คู่มือประกอบการทางาน
เปน็ ต้น

2.2 นวัตกรรมประเภทท่ีเป็นรูปแบบ วิธีการ กระบวนการ ระบบปฏิบัติการ เช่น
รูปแบบการสอน วิธีการสอน รูปแบบการบริหารจัดการ ระบบการทางาน Quality Control (Q.C.)
Total Quality Management (TQM) The Balanced Scorecard (BSC) ระบบ ISO เป็นตน้

ผลงานทางวชิ าการประเภทงานวิจยั และพัฒนา คุณค่าของงานจะอยู่ที่สิง่ ประดิษฐ์ผลงานเป็น
ชิ้นเป็นอันที่สร้างขึ้น หรือวิธีการ รูปแบบการทางาน รูปแบบการจัดการ ท่ีพัฒนาขึ้นผลงานวิจัยและ
พฒั นาท่ีมีคณุ ค่ามาก คอื กรณที ี่สามารถสร้างสงิ่ ประดิษฐ์หรือวธิ ีการท่ดี ูดี มคี ณุ คา่ ใช้งานได้อย่างดี มี
ประสทิ ธภิ าพ

สรปุ ไดว้ ่า ผลลพั ธท์ ่ีไดจ้ ากการวิจัยและพฒั นาสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คอื นวตั กรรมท่ีเป็น
ชนิ้ งานและนวัตกรรมท่เี ปน็ รูปแบบหรอื วิธีการ

3.3 กระบวนการวจิ ยั และพัฒนา
กระบวนการวิจัยและพัฒนา อาจเร่ิมด้วยระบบของการวิเคราะห์สภาพปญั หาใหช้ ัดเจน แล้ว
เข้าสู่ระยะของการพัฒนาทางเลือก หรือวิธีการใหม่ ๆ ซ่ึงระยะของการพัฒนาทางเลือกจะมีข้ันตอน
คล้ายคลึงกับการวิจัยโดยท่ัวไป แต่เป็นการพัฒนาต้นแบบนวัตกรรมให้ได้มาตรฐานก่อนที่จะทาการ
ทดลองใช้ในสภาพจริง เพ่ือตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรม โดยหลัก ๆ มีกระบวนการดังต่อไปน้ี
(กฤษยิ ากร เตชะปิยะพร. 2552 : 2)

31

ขั้นท่ี 1 พัฒนาต้นแบบ (อาจเป็นการพัฒนาส่ือ อุปกรณ์ หรือรูปแบบการบริหาร
จัดการ) มีขั้นตอน ได้แก่ ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับนวัตกรรม (Review literature) และ
สร้างต้นฉบับนวตั กรรม (D1 = Development ครัง้ ที่ 1)

ข้ันที่ 2 ทดลองใช้นวัตกรรม มีข้ันตอน ได้แก่ การหาประสิทธิภาพของต้นแบบการ
ตรวจสอบประสิทธิภาพในกลมุ่ ตัวอย่างขนาดเล็ก (R1 =Research คร้งั ท่ี 1) และปรับปรุงตน้ ฉบับ

ขนั้ ท่ี 3 สรุปผลการทดลอง เขยี นรายงาน มขี ั้นตอน ได้แก่ ทดลองใชใ้ นกลุ่มตัวอย่าง
ทีม่ ขี นาดใหญข่ ้นึ และดาเนนิ การจนไดต้ ้นแบบนวัตกรรมท่ีมคี ณุ ภาพตามเกณฑท์ ี่กาหนด

4. ความคดิ สรา้ งสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางความคิดอย่างหนึ่งที่มีอยู่ในตัวบุคคล บุคคลจะมี

ความคิดสร้างสรรค์มากหรือน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ความคิดสร้างสรรค์มีหลากหลาย
ทิศทางและมีมุมมองแตกต่างกันออกไป นิยามความหมายแบ่งออกเป็นหลายแนวทาง ผู้วิจัยนิยาม
ความหมายของความคิดสรา้ งสรรค์ สรุปเป็นแนวทาง ดังน้ี

4.1 ความหมายของความคิดสรา้ งสรรค์
4.1.1 ความหมายในเชิงกระบวนการ
นักการศึกษาและนักจิตวิทยาไดใ้ ห้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ในเชิงกระบวนการ

ดังนี้ Torrance (1962 : 16) ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการในการมองเห็น
ปัญหา แล้วสร้างความคิดเป็นสมมติฐาน ทาการทดสอบและปรับสมมติฐาน และรายงานผลการ
ค้นพบ นอกจากน้ี Lipman (McGregor. 2007 - 169 ; citing Lipman. 2003 : 205) กล่าวว่า
ความคิดสร้างสรรค์ คือ ความสามารถในการมองเห็นแนวทางใหม่ มองเห็นปัญหาท่ีแตกต่างไปจาก
เดิม และพัฒนาขึ้นมาใหม่ มีลักษณะเฉพาะและการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง Wallach
และ Kogan (1965 : 34) ให้ความหมายความคิดสร้างสรรค์ว่า เป็นความสามารถเชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ กล่าวคือ เม่ือระลึกถึงสิ่งใดได้ก็จะเป็นแนวทางให้ระลึกถึง ส่ิงอื่นเป็นลูกโซ่ สิ่งที่ระลึกก็
เป็นสิง่ ที่สะสมไวใ้ นสมองของตน เมือ่ สงิ่ เรา้ มากระตุ้นกต็ อบสนองออกมา

สรุปได้ว่า ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ดังกล่าว เป็นลักษณะของกระบวนการใน
การมองเห็นปัญหา เป็นความสามารถท่ีไวต่อปัญหาและหาวิธีการแก้ปัญหาในแนวทางใหม่ และ
ความสามารถในการเชอื่ มโยงความสัมพนั ธข์ องส่งิ ต่าง ๆ เข้าด้วยกนั

4.1.2 ความหมายในเชิงผลผลิต
นักการศึกษาและนกั จิตวิทยาได้ให้ความหมายของความคดิ สร้างสรรคใ์ นเชงิ ผลผลติ ดังนี้

32

Guilford (1967 : 139) ให้คานิยามของความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็นความคิดแบบ
อเนกนัย (Divergent Thinking) เป็นความคิดหลายทาง หลากหลายแง่มุม เป็นลักษณะท่ีนาไปสู่การ
สรา้ งสง่ิ ประดษิ ฐ์ทแ่ี ปลกใหม่ รวมไปถงึ การคดิ หาวิธแี ก้ปญั หาให้สาเร็จ

Evens (1991 : 1) ให้ความหมายว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการ
ค้นพบความสัมพันธ์ใหม่ มุมมองใหม่ และมาจากการรวมกันต้ังแต่ 2 แนวคิดข้ึนไป เกิดเป็นความคิด
ใหม่ ผลผลิต สี วัตถุ คาและอ่ืน ๆ ความคิดสร้างสรรค์เปน็ ผลมาจากการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ การ
ประดษิ ฐ์คดิ คน้ ส่งิ ใหม่ ศิลปะ บทประพนั ธ์ ซงึ่ สนองความตอ้ งการของมนษุ ย์

Sternberg (2003 : 325) อธิบายว่า ความคิดสร้างสรรค์ เป็นการคิดในสิ่งท่ีแปลก
ใหม่ (Novel) ทนี่ าไปสกู่ ารเกดิ ผลผลิตที่มีคณุ คา่ โดยใชก้ ารคดิ อเนกนยั เพ่ือสร้างสรรค์ผลงานใหม่และ
การคดิ เอกนยั ท่ีอธบิ ายการคิดทางเลือกท่เี หมาะสม และนาไปปฏิบตั ิใหป้ ระสบผลสาเร็จ

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555 : 53) ให้ความหมายของ
ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความคิดที่ก่อให้เกิดผลผลิต แนวทาง หรือวิธีการใหม่ ๆ ที่แตกต่างไป
จากส่งิ เดิม ๆ ที่เคยมมี าก่อน

เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ (2556 : 4) ให้ความหมายว่า เป็นการสร้างส่ิงใหม่ท่ี
แตกต่างไปจากเดิมและใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ดังกล่าว เป็นลักษณะของผลผลิตหรือผลงาน
สร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการคิดท่ีก่อให้เกิดการสร้างเชิงผลงาน การประดิษฐ์คิดค้น หรือคิด
สร้างสงิ่ ใหม่ แปลกใหม่ แตกต่างไปจากเดิม

4.1.3 ความหมายในเชิงลกั ษณะการคดิ
นกั การศกึ ษาและนักจติ วทิ ยาได้ใหค้ วามหมายของความคิดสรา้ งสรรค์ ในเชงิ การคิด ดงั นี้

National Advisory Committee on Creative and Cultural Education (1999
: 29) นยิ ามความคดิ สรา้ งสรรค์ เป็นการจนิ ตนาการเพ่ือสรา้ งผลลัพธ์ (Outcome) ซ่งึ เปน็ ท้งั สิ่งแปลก
ใหม่และมีคุณค่า ถ้าให้ความหมายจากนิยามน้ีถึงการสอนในชั้นเรียน มี 5 แนวคิด คือ การใช้
จินตนาการ กระบวนการ การทาตามวัตถุประสงค์ การสร้างสิ่งแปลกใหม่ และการตัดสินคุณค่า
(Joubert, 2007 : 18 ; citing NACCCE. 1999 : 29)

Plucker และ Dow (Zhong and Rayner. 2012 : 193 ; citing Plucker and
Dow. 2004 : 9) อธิบายว่าความคิดสร้างสรรค์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง ความถนัด กระบวนการ
และสภาพแวดลอ้ ม โดยเฉพาะบคุ คลหรือเป็นกลุ่มในการสร้างผลผลติ ท่ีท้ังแปลกใหม่และมีประโยชน์
ทอี่ ยใู่ นบรบิ ทสงั คมน้ัน

33

Geethanjali (2005 : 26) ได้ให้ความหมายว่า ความคิดสร้างสรรค์ คือความคิด
อเนกนยั (Divergent Thinking) ซึ่งมาจากความคิดทเ่ี ป็นความคิดแปลกใหม่ เป็นสงิ่ ใหม่หรอื ความคิด
รเิ ริ่ม ความคดิ ปรบั เปล่ยี นหรือแตกต่างจากท่เี คยมีอยู่

ลักขณา สริวัฒน์ (2559 : 137) ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง
ความสามารถทางสมองของบุคคลท่ีประกอบด้วยความคิดคล่อง คิดยืดหยุ่น คิดละเอียดลออ และคิด
ริเร่ิม ผสมผสานกันจนเกิดเป็นความคิดหลายทิศทาง หรืออเนกนัย (Divergent Thinking) เป็นการ
คิดท่ีทาให้เกิดส่ิงใหม่ ๆ หรือเป็นการปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพดีกว่าเดิม
หรอื ประดษิ ฐ์คิดคน้ สิ่งใหม่ ๆ ท่ีไมซ่ า้ ของเดมิ และการคดิ ไม่ซ้ากับผู้อืน่

วัชรา เล่าเรยี นดี (2555 : 40-41) ได้กล่าวถึง ความคดิ สรา้ งสรรค์ เป็นความสามารถ
ในการคิดอย่างหลากหลายทั้งในด้านการคิดและการปฏบิ ตั ิ สร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ แตกต่างจากเดิม
รวมไปถึงความสนใจ ความกล้าที่จะแสดงข้อคิดเห็นใหม่ ๆ แสวงหาคาตอบ ที่หลากหลายและ
แตกต่างจากบุคคลอื่น ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ท่ีสาคัญคือ ความยืดหยุ่น (Flexibility) ความเป็น
ต้นฉบับและความคิดริเร่ิม (Originality) ความคล่องแคล่ว (Fluency) ความละเอียดถี่ถ้วน
(Elaboration) การระดมสมอง (Brainstorming) การแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงและปรบั ปรงุ (Modification)
การจินตนาการ (imaginary) การเชื่อมโยงความคิด (Associative Thinking) การกาหนดลักษณะ
(Attribute Listing) การคิดเปรียบเทียบ (Metaphorical Thinking) และการหาความสัมพันธ์
(Forces Relationships) เป้าหมายหลักของความคิดสร้างสรรค์ กระตุ้นความใคร่รู้และส่งเสริมการ
คดิ ทีห่ ลากหลายและสร้างสรรค์ (Promote Divergence)

สคุ นธ์ สินธพานนท์ และคณะ (2555 : 63) ให้ความหมายของความคดิ สรา้ งสรรค์ว่า
เป็นความสามารถของบุคคลที่คิดได้หลากหลายทิศทาง หลายแง่มุม คิดได้กว้างไกล โดยนา
ประสบการณ์ทีผ่ ่านมาเป็นพน้ื ฐานท่ีทาให้เกิดความคิดใหม่ อันนาไปส่กู ารประดิษฐ์คดิ ค้นพบส่ิงต่าง ๆ
ท่แี ปลกใหม่

อารี พันธ์มณี (2557 : 7) ได้อธิบายความคิดสร้างสรรค์ เป็นกระบวนการทางสมอง
ที่คิดในลักษณะอเนกนัยอันนาไปสู่การค้นพบสิ่งแปลกใหม่ด้วยการคิดดัดแปลงปรุงแต่งจากความคิด
เดิมผสมผสานกันให้เกิดส่ิงใหม่ ซึ่งรวมทั้งการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนวิธีการคิด ทฤษฎี
หลักการได้สาเร็จ ความคิดสร้างสรรค์จะเกิดขึ้นได้มิใช่เพียงแต่คิดในส่ิงท่ีเป็นไปได้หรือเป็นเหตุ เป็น
ผลเพียงอย่างเดียวเท่านั้น หากแต่ความคิดจินตนาการก็เป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดความคิดแปลกใหม่
แต่ต้องควบคไู่ ปกบั ความพยายามท่ีจะสรา้ งความคิดฝันหรือจนิ ตนาการให้เปน็ ไปได้

ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ดังกล่าว เป็นลักษณะของการคิด ที่เป็นความคิดอเนกนัย
ความสามารถในการคิดได้หลากหลายแง่มมุ หลายทิศทาง เปน็ ความคิดแปลกใหม่ แตกตา่ งจากบุคคล

34

อื่น การคิดท่ีทาให้เกิดสิ่งใหม่ รวมไปถึงวิธีการแก้ปัญหา หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นลักษณะของบุคคล
แสดงออกด้านการคดิ และการปฏบิ ัติ การจนิ ตนาการ และการกลา้ แสดงออก

สรุปได้วา่ ความคดิ สรา้ งสรรค์เป็นลักษณะของกระบวนการ ผลงาน และความคิดท่ีเก่ียวกับ
การแสดงออกทางพฤติกรรมเพื่อตอบสนองตอ่ ปัญหา เปน็ ความสามารถในการคดิ หาวิธีการแกป้ ญั หา
จากสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ ภายใต้เง่อื นไขที่กาหนด เพอ่ื นาไปส่กู ระบวนการหรือขน้ั ตอนทแี่ ตกต่าง
จากเดิม ใหบ้ รรลุผลผลผลติ หรือช้ินงานที่ใหม่หรือแตกตา่ งจากสถานการณท์ วั่ ไป

4.2 ความสาคญั ของความคดิ สรา้ งสรรค์
การพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ต้ังแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน ได้อาศัยผลผลิต
ด้านความคิดสร้างสรรค์ไปใช้ในการแก้ปัญหาและการสร้างพัฒนาการให้เกิดความเจริญด้านต่าง ๆ
จากการศึกษาแนวโน้มต่าง ๆ ในปัจจุบันเชื่อว่าสังคมในอนาคตจะเต็มไปด้วยความหลากหลายความ
ซบั ซ้อนมากข้ึน ตอ้ งใช้ความคิดสร้างสรรค์ควบคไู่ ปกับความรู้ ทกั ษะ เจตคตแิ ละข้อมลู ตา่ ง ๆ ในสังคม
เขา้ มารว่ มในการแกป้ ญั หา
พรรณี เกษกมล (2554 : 75) ได้กล่าวถึงความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ไว้ว่า ความคิด
สร้างสรรค์ทาให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการ การค้นพบสิ่งแปลกใหม่ไม่ว่าจะเป็นด้าน
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ศิลปะ อุตสาหกรรม ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ทาให้เกิด
ความสะดวกสบายในชีวิตประจาวนั มปี ระโยชนต์ อ่ สงั คม ทาใหเ้ กดิ รายไดแ้ ก่ประเทศ ซึง่ สอดคลอ้ งกับ
ความคิดของอารี พันธ์มณี (2549 : 1) ท่ีกล่าวว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถท่ีสาคัญอย่าง
หนึ่งของมนุษย์ และเป็นปัจจัยที่จาเป็นอย่างย่ิงในการส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติ
ประเทศใดก็ตามท่ีสามารถแสวงหา พัฒนา และดึงเอาศักยภาพเชิงสร้างสรรค์ของคนในประเทศชาติ
ออกมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์มากเท่าใด ก็ย่ิงมโี อกาสพฒั นาความเจริญกา้ วหน้าไดม้ ากเท่าน้ัน ดังจะเห็น
ไดจ้ ากประเทศพัฒนาทง้ั หลายซ่ึงจัดเปน็ ประเทศผนู้ าของโลก ทั้งน้เี พราะประเทศดังกล่าวมีประชากร
ทมี่ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ประชาชนกลา้ คิดกลา้ ใชจ้ ินตนาการ สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานแปลกใหม่ เป็น
ประโยชน์ เอื้ออานวยความสะดวกสบาย เหมาะสมกบั สถานการณ์
ทองคณู หงสพ์ ันธ์ (2554 : 53-54) ได้กล่าวถงึ ความคิดสร้างสรรคว์ า่ มีคณุ ค่าทั้งต่อสังคมและ
ต่อตนเอง โดยมรี ายละเอียดตอ่ ไปน้ี
1. คุณค่าต่อสังคม

1.1 กอ่ ใหเ้ กดิ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยแี ละวิทยาการในสาขาตา่ ง ๆ
1.2 ชว่ ยแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดขึ้น
1.3 ทาใหผ้ ู้คนดารงชวี ิตอยา่ งสงบสขุ
1.4 ชว่ ยให้เกดิ การคน้ พบส่ิงแปลก ๆ ใหม่ ๆ ที่มีคณุ ประโยชน์ตอ่ การดารงชวี ติ
1.5 ชว่ ยให้สงั คมมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ เกดิ การพฒั นา

35

1.6 ชว่ ยให้เกดิ ความสะดวก อานวยประโยชน์สขุ ต่อทุก ๆ คน
1.7 ชว่ ยใหเ้ กิดรายไดแ้ กป่ ระเทศชาติ
2. คุณคา่ ต่อตนเอง
2.1 ทาให้ผู้สร้างสรรคม์ ีความพงึ พอใจ มคี วามสุข
2.2 พัฒนาบุคลิกภาพในด้านความม่นั ใจในตนเอง
2.3 สามารถเผชญิ ปัญหาตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
2.4 ชว่ ยใหบ้ ุคคลประสบความสาเรจ็ ทง้ั ในด้านครอบครวั และหนา้ ทก่ี ารงาน
2.5 ชว่ ยใหป้ รบั ตัวเขา้ กับสังคมได้ดี
สรุปได้ว่า ความคิดสร้างสรรค์น้ัน มีคุณค่าและมีความสาคัญอย่างย่ิง ทั้งต่อตนเองและต่อ
สังคม ดังนัน้ ครหู รอื ผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้องกับนักเรียนควรชว่ ยกนั ส่งเสริมและดึงเอาศักยภาพเชิงสร้างสรรค์
มาใช้ประโยชน์ให้มากท่ีสุด จะช่วยให้นักเรียนดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป จาก
ความสาคัญดังท่ีกล่าวมาแล้วน้ัน ผู้วิจัยจึงเห็นว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งท่ีสาคัญและควรปลูกฝัง
และสง่ เสริมตง้ั แต่ยังเด็ก
4.3 พัฒนาการความคดิ สรา้ งสรรค์
ทอแรนซ์ (Torance. 1963 : 160-161) ได้ศึกษาพัฒนาการความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก
แรกเกดิ จนถงึ ระยะวัยรุ่นตอนปลาย โดยสงั เกตจากพฤติกรรมต่าง ๆ ทีเ่ ดก็ แสดงออกในแตล่ ะช่วงอายุ
และพบว่ามีพฤติกรรมหลาย ๆ อย่างที่มีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกับความคิดสร้างสรรค์โดยแบ่งเด็ก
ออกเป็น 9 ช่วงอายุ ดังต่อไปน้ี (วนิช สุธารัตน์. 2557 : 45-47 ; อ้างอิงจาก Torance. 1963 .
Education and the Creative Potential. : 160-161) ดงั ตารางท่ี 2.1

36

ตารางท่ี 2.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับพฤติกรรมในทางสร้างสรรค์ของเด็กต้ังแต่แรกเกิด
จนถงึ วยั ร่นุ

อายุ (ป)ี พฤตกิ รรมในทางสรา้ งสรรค์
0–2 เริ่มต้นสัมผัสส่ิงต่าง ๆ ด้วยความอยากรู้ อยากเห็น ด้วยวิธีการคืบคลานไปจับต้อง
2–4 ดู และชมิ ถือวา่ เปน็ วัยเรม่ิ ต้นของนกั สารวจ
มีความต้องการเป็นอิสระ และต้องการทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง มีความอยากรู้
4–6 อยากเห็นสิ่งต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อมมากขึ้นกว่าเดิม การสารวจการใช้ประสาท
6–8 สัมผัสในวัยนี้จะกระทาได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น เน่ืองจากเด็กเดินได้คล่องแล้ว
8 – 10 นอกจากน้ีความเจริญทางการใช้ภาษาทาให้เด็กสามารถใช้ภาษาในการซักถาม
ทาให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจสิ่งตา่ ง ๆ มากขึ้น
10 - 12 เร่ิมมีการพัฒนาทักษะการคิด สามารถคิดคาดการณ์ล่วงหน้าได้ ชอบทดลอง
12 – 14 สิ่งต่าง ๆ ในลักษณะของการเล่นเชิงจินตนาการ มีการเรียนรู้ในลักษณะการค้นหา
14 – 16 ลกั ษณะของความเหมาะสม และความถกู ตอ้ ง
ความคิดจินตนาการจะค่อย ๆ ปรับเข้าสู่โลกแห่งความเป็นจริงมากขึ้น มีความรู้สึก
สนุกกับการทางาน การบ้าน การเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากประสบการณ์หรือ
สถานการณก์ ารเรยี นร้นู นั้ มลี ักษณะท้าทายและน่าสนใจ
เด็กชอบทางานที่ต้องใช้ความสนใจ และใช้ความพยายามที่จะทาส่ิงต่าง ๆ
อย่างต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานาน โดยที่การทางานจะต้องระดมความสามารถ
หลาย ๆ ด้านมาใช้ได้ ค้นพบความสามารถเฉพาะตัวในการทางานอย่างสร้างสรรค์
และชอบต้ังคาถามในลกั ษณะแปลก ๆ มากขึ้น
เดก็ หญงิ ชอบการค้นหาคาตอบจากการอ่าน เด็กชายคน้ คว้าด้วยการใช้
ประสบการณต์ รง ความสามารถเชงิ ศิลปะและดนตรพี ฒั นาอย่างรวดเรว็
เป็นวัยที่เด็กชอบกิจกรรมโลดโผน ตื่นเต้น ระทึกใจ หรือเส่ียงภัย เด็กท่ีมี
ความสามารถทางด้านจินตนาการจะสามารถเรียนรู้สร้างสรรค์งานทางด้านศิลปะ
ดนตรี และความสามารถเชิงช่างดา้ นตา่ ง ๆ ได้ดี
เด็กในวัยน้ียังคงชอบโลดโผนและชอบเส่ียงภัย มีลักษณะการใช้จินตนาการสาหรับ
เรื่องต่าง ๆ ในอนาคต มีความคิดฝันเรื่องอาชีพมีพัฒนาการด้านความสนใจ และ
ความถนัด

37

ตารางที่ 2.1 (ตอ่ )

อายุ (ปี) พฤติกรรมในทางสร้างสรรค์
16 – 18 มีความต้องการที่จะทากิจกรรมต่าง ๆ อย่างอิสระเสรีและสร้างสรรค์โดยไม่ต้องติด
ยึดอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ ระเบียบ หรือการควบคุมใด ๆ สนใจในส่ิงที่แปลกใหม่ หรือ
ส่ิงท่ีตนเองไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน เป็นวัยที่เหมาะสมสาหรับการรับข้อมูล
ต่าง ๆ เกี่ยวกับอาชีพ สามารถรับรู้และเข้าใจความเป็นไปทางสังคมตามสภาพที่
เป็นจริงได้มากขึ้น สามารถแก้ปัญหาและมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่มด้วยความสนใจ
และทุม่ เท

ท่ีมา : Torrance (ณัฏฐพงษ์ เจริญทิพย์. 2541 : 119 ; อ้างอิงมาจาก Torrance. 1963 : 160 –
161)

จากตารางท่ี 2.1 จากพัฒนาการของความคดิ สรา้ งสรรค์ สรปุ ไดว้ ่า ความคิดสร้างสรรค์เกิดได้
ทุกช่วงวัย ควรเร่ิมพัฒนาตั้งแต่เร่ิมต้น ในส่วนพัฒนาการของบุคคลท่ีมีพฤติกรรมท่ีทางานต้องอาศัย
ความสนใจและต้องใช้ความพยายามต่อเนื่องยาวนาน สามารถระดมความสามารถต่าง ๆ ท่มี อี ยู่มาใช้
รวมท้ังค้นพบวิธีการที่จะใช้ความสามารถเฉพาะตัวในการทางานได้อย่างสร้างสรรค์ และชอบค้นหา
คาตอบจากการอ่านและการค้นควา้ ดว้ ยประสบการณ์ตรง อยู่ในชว่ ง 10 - 12 ปี

4.4 ทฤษฎที ีเ่ ก่ียวข้องกับความคิดสร้างสรรค์
มีนักจิตวิทยาเสนอแนวคิดในลักษณะท่ีคล้อยตามกัน และแตกต่างกันไปในรายละเอียด

ของทฤษฎที ี่เกีย่ วข้องกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์ซ่งึ มีดงั น้ี
4.4.1 ทฤษฎีโครงสร้างของสมรรถภาพทางสมองของกลิ ฟอรด์
กิลฟอร์ด (Guilford.1988) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันอธิบายโครงสร้าง ของสมรรถภาพ

ทางสมองของมนุษย์ในรูปแบบ 3 มิติ ดังรายละเอียดต่อไปน้ี (ลักขณา สริวัฒน์ 2557 : 82-84 ;
อารี พนั ธ์มณี 2557 : 31-37)

4.4.1.1 มติ ดิ ้านเนือ้ หา (Contents) หมายถึง ข้อมลู หรอื สง่ิ เร้า ทวี่ า่ เป็นสื่อใน
รูปแบบต่าง ๆ ท่สี มองรบั เข้าไปดว้ ยการคดิ จาแนกเป็น 5 ลกั ษณะ คือ

1) ภาพ (Figural) หมายถงึ ข้อมูลหรือเปน็ สงิ่ เร้าท่ี เป็นรปู ธรรมหรือรปู ท่ี
แนน่ อน สามารถรับรู้ได้ดว้ ยตา และทาใหเ้ กิดความรสู้ กึ นกึ คิดได้ เช่น รปู ทรง ผงั ภาพ ภาพ เป็นตน้

2) เสียง (Auditory) หมายถึง สง่ิ ประเภทที่สามารถรบั รไู้ ด้ด้วยหู
3) สัญลักษณ์ (Symbolic) หมายถึง ข้อมูลท่ีอยู่ในรูปของเคร่ืองหมาย
ตา่ ง ๆ เช่นตวั อกั ษร ตวั เลข ตวั โนต้ ดนตรี หรอื รหัสตา่ ง ๆ


Click to View FlipBook Version