The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wanitcha Praew, 2021-04-08 22:40:24

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

สาระการเรียนรภู้ มู ิปัญญาท้องถ่ิน
เรื่อง มรดกภูมิปญั ญาคา่ ล้ำ วัฒนธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย

จดั ทำโดย

นางสาวจริ าภรณ์ ชรู ตั น์ รหสั นสิ ิต 61010514007 กลุ่มเรยี นที่ 1
นายรตพิ งศ์ พรหมทา รหสั นิสติ 61010514025 กลุ่มเรยี นที่ 1
นางสาววณชิ ชา เพ็งสวสั ด์ิ รหสั นสิ ิต 61010514027 กลุ่มเรยี นท่ี 1
นางสาววริ ากานต์ อปุ นิตย์ รหสั นิสติ 61010514031 กลุ่มเรียนที่ 1
นางสาวศศปิ ระภา แชม่ ชื่น รหัสนสิ ิต 61010514033 กลุ่มเรยี นท่ี 1

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ชิ าภาษาไทย โรงเรยี นเทศบาลบ้านสอ่ งนางใย
อำเภอเมอื ง จังหวัดมหาสารคาม

กองการศกึ ษา เทศบาลเมอื งมหาสารคาม
(มีนาคม ๒๕๖๔)

คำนำ

สาระการเรียนรูภ้ ูมิปัญญาท้องถิ่นวิชาภาษาไทย เรื่อง มรดกคา่ ล้ำ วัฒนธรรมชมุ ชนส่องนางใย
จัดทำขึน้ โดยยดึ แนวทางตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยปรบั จากสาระการเรียนรู้
หลกั สูตรแกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วชิ าภาษาไทย ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพความต้องการและความเป็นอยู่
ในทอ้ งถนิ่ ชมุ ชนส่องนางใย มจี ดุ มุ่งหมายเพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับสภาพท้องถนิ่ ชมุ ชนส่อง
นางใย สามารถนำความรู้ท่ไี ดจ้ ากการเรยี นไปปรับใชใ้ ห้เหมาะสมกับการดำรงชีวติ เขา้ ใจกระบวนการเรียนรู้
ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามวัฒนธรรมของทอ้ งถ่ินอสี าน มเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ ทอ้ งถิ่นชุมชนสอ่ งนางใย และเหน็ คณุ คา่
ของการอนรุ ักษ์สภาพแวดลอ้ มต่อท้องถ่ินทีอ่ าศัย อาชีพ ภาษา วรรณกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
และวฒั นธรรมจนก่อให้เกดิ ความรัก ความภาคภูมใิ จ ความผกู พันในทอ้ งถ่นิ ชุมชนสอ่ งนางใย

ขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.อารยี ์รัตน์ โนนสุวรรณ อาจารย์ทปี่ รึกษารายวชิ าการส ร้างหลักสูต ร
ทอ้ งถิน่ วิชาภาษาไทย คุณครูสุดารตั น์ วฒั นบุตร คุณครูสุดารตั น์ สรุ ะสา และคุณครูกลั ยารัตน์ หรัญรัตน์
ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบ แนะนำ แก้ไขข้อบกพร่องและใหค้ วามรู้เชิงวิชาการ
เพือ่ ความสมบูรณข์ องหลกั สูตรทอ้ งถิน่ รายวิชาภาษาไทย

ขอขอบพระคุณบดิ า มารดา ครูบาอาจารย์ ตลอดจนผู้มพี ระคุณทกุ ท่านที่ทำให้ผู้จัดท ำมีค วามรู้
ความเข้าใจ รักและหวงแหนมรดกทางภูมิปญั ญาวัฒนธรรมท้องถ่นิ ของไทย และจดั ทำสาระทอ้ งถิน่ วชิ าภาษา
เพื่อสืบทอดและถ่ายทอดอตั ลักษณท์ างวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ใหด้ ำรงอยกู่ บั ชนรุ่นหลังสบื ไปตราบนจิ นริ นั ดร์

หวงั เปน็ อย่างย่ิงวา่ สาระการเรียนรู้ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ วิชาภาษาไทย เรอ่ื ง มรดกคา่ ลำ้ วฒั นธรรมชมุ ชน
ส่องนางใย จะเป็นประโยชนต์ ่อเยาวชนชาวมหาสารคามและบุคคลที่สนใจ

จริ าภรณ์ ชูรตั น์ และคณะ

สารบัญ

เรอื่ ง หน้า

๑ สาระการเรยี นรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ วชิ าภาษาไทย
เรื่อง มรดกภูมปิ ญั ญาคา่ ล้ำ วัฒนธรรมชมุ ชนส่องนางใย ...................................................... 1

๒ หลักการ .................................................................................................................................... 2
๓ จุดมงุ่ หมาย .............................................................................................................................. 2
๔ โครงสร้าง ................................................................................................................................. 3
๕ เวลา .......................................................................................................................................... 3
๖ ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรู้ในส่วนภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ................................................... 4
๗ คำอธิบายรายวชิ า .................................................................................................................... 9
๘ หน่วยการเรียนรู้ ................................................................................................................... 11
๙ แผนภาพความคดิ หนว่ ยการเรยี นรู้ .................................................................................... 12
๑0 แนวทางการจัดการเรยี นรู้ ................................................................................................... 13
๑๑ กำหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... 14
๑๒ รายวิชาภูมิปัญญาท้องถิ่นวิชาภาษาไทย

เร่อื ง มรดกภมู ปิ ญั ญาคา่ ลำ้ วัฒนธรรมชุมชนสอ่ งนางใย ................................................. 15
ความเป็นมาบ้านสอ่ ง ..................................................................................................... 16
ฮตี คองบญุ เบกิ ฟ้า ........................................................................................................... 19
สบื ภาษาบ้านหมอ้ .......................................................................................................... 21
สานต่องานจักสาน ......................................................................................................... 23
เล่าขานวรรณกรรมท้องถ่ิน ............................................................................................ 25

๑๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ
เรอ่ื ง มรดกภมู ิปัญญาค่าลำ้ วัฒนธรรมชุมชนสอ่ งนางใย ................................................. 27
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง ความเป็นมาบา้ นสอ่ ง ............................................................. 28
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง เลา่ ประวัติผ่านแผนภาพ ........................................ 29
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง แต่งกลอนสุภาพทราบความเป็นมา ...................... 63
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรือ่ ง ฮตี คองบญุ เบกิ ฟา้ ................................................................ 103
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรือ่ ง ประเพณีบญุ เบิกฟา้ มหาสารคาม ....................... 104
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ เรื่อง พธิ ีกรรมที่เกีย่ วข้องกบั ประเพณีบุญเบกิ ฟ้า ........ 137
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ เรื่อง สบื ภาษาบ้านหม้อ ............................................................... 161
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๕ เรื่อง ประวตั ิความเปน็ มาและความสำคัญ
ของภาษาไทยถิน่ โคราชบา้ นหม้อ ...................... 162
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง ลักษณะของภาษาไทยถ่ินโคราชบา้ นหม้อ ......... 185

สารบญั

เรือ่ ง หนา้

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เรอ่ื ง สานต่องานจกั สาน .............................................................. 212
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗ เรอ่ื ง ย่อความตามประสงค์ .......................................... 213
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๘ เรื่อง เขยี นเช่ือมโยงภาษาถิน่ ....................................... 235

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๙ เร่ือง วาทศลิ ปย์ นิ ยล ..................................................... 252
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๕ เร่ือง เล่าขานวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน ................................................ 273

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๐ เรื่อง สบื สานนทิ านพนื้ บ้านภาคอีสาน ..................... 274
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑ เร่ือง การเลา่ นทิ านพ้ืนบ้าน ....................................... 294
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๒ เรอ่ื ง อ่านนิทานกดุ นางใยฝกึ จบั ใจความ ................. 308

บรรณานุกรม .................................................................................................................................... 324
ภาคผนวก .................................................................................................................................. 325

ภาคผนวก ก หนงั สือขอความอนุเคราะหใ์ หน้ ิสิตไปสมั ภาษณ์และประเมินหลกั สูตร ... 326
ภาคผนวก ข แบบประเมนิ ความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกบั ตวั ชว้ี ดั .......................... 332
ภาคผนวก ค ข้อสอบวดั ผลสัมฤทธก์ิ อ่ นเรยี นและหลงั เรียน ............................................ 349

ภาคผนวก ง แบบประเมินหลักสูตรท้องถิน่ ...................................................................... 362
ภาคผนวก จ ประมวลภาพกระบวนการสรา้ งหลกั สตู ร .................................................... 374
ภาคผนวก ฉ ประวัตคิ ณะผู้จดั ทำ ....................................................................................... 381

สาระการเรยี นรภู้ มู ปิ ัญญาท้องถิน่ วชิ าภาษาไทย
เรอ่ื ง มรดกภูมปิ ัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย

กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ชิ าภาษาไทย ช่วงชั้นท่ี ๒ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

โรงเรียนเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย จงั หวัดมหาสารคาม

กองการศึกษา เทศบาลเมืองมหาสารคาม

*******************************************************************************

❖ หลักการ
❖ จุดม่งุ หมาย
❖ โครงสรา้ ง
❖ เวลาเรยี น
❖ ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้ในสว่ นภูมิปญั ญาท้องถนิ่
❖ คำอธิบายรายวชิ า
❖ หน่วยการเรยี นรู้
❖ แผนภาพความคดิ หน่วยการเรยี นรู้
❖ กำหนดการสอน
❖ แนวทางการจัดการเรียนรู้
❖ รายวชิ าภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ วชิ าภาษาไทย เรือ่ ง มรดกภมู ิปัญญาคา่ ล้ำ วฒั นธรรมชุมชนสอ่ งนางใย
❖ แผนการจัดการเรยี นรูต้ ามสาระการเรยี นรภู้ มู ิปัญญาทอ้ งถิน่ วชิ าภาษาไทย

เร่อื ง มรดกภูมิปัญญาคา่ ล้ำ วัฒนธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย
❖ แผนการจัดการเรียนรู้

1

สาระการเรยี นรภู้ มู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ วชิ าภาษาไทย
เรอื่ ง มรดกภมู ปิ ัญญาค่าลำ้ วฒั นธรรมชมุ ชนส่องนางใย

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ชิ าภาษาไทย ชว่ งช้นั ท่ี ๒ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖

โรงเรียนเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย จงั หวัดมหาสารคาม

กองการศกึ ษา เทศบาลเมืองมหาสารคาม

**************************************************************************************************

❖ หลักการ

สาระการเรียนรู้ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินวชิ าภาษาไทย เรื่อง มรกดภูมปิ ญั ญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชน
ส่องนางใย ได้กำหนดสาระการเรียนรู้ไว้จำนวน ๕ สาระ ประกอบดว้ ย การอา่ น การเขยี น การฟัง การดู
และการพูด หลักการใช้ภาษาไทย และวรรณคดแี ละวรรณกรรม สาระการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่นิ นี้
เปน็ การพฒั นาขึ้น โดยปรับเน้ือหาและกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ หม้ ีความเหมาะสมกับสภาพที่แท้จริงและวิถีชีวิต
ของชมุ ชนส่องนางใย โดยมหี ลกั การ ดงั น้ี

๑. เป็นการศกึ ษาทม่ี ุ่งเน้นให้ผูเ้ รยี นมคี วามหวงแหน ผูกพัน และภาคภูมใิ จในภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น
ชุมชนส่องนางใย

๒. เป็นการศึกษาทมี่ งุ่ เน้นให้ผู้เรียนได้นำประสบการณจ์ ากการเรยี นรูท้ ี่ประสบการณ์ต รงไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน

๓. เปน็ การศกึ ษาความสอดคลอ้ งระหวา่ งหลักสตู รภาษาไทยกบั ความเป็นท้องถนิ่ อสี าน
๔. เปน็ การศกึ ษาทีม่ ุง่ ส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณคี วามเป็นภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ภาคอีสาน
๕. เป็นการมงุ่ ใหผ้ เู้ รยี นเหน็ คุณคา่ ในภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินอีสาน

❖ จุดมงุ่ หมาย

การจัดการเรียนรู้สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่นวชิ าภาษาไทย เรื่อง มรดกค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชน
ส่องนางใย ซงึ่ พฒั นาขนึ้ โดยปรับเน้ือหาและกจิ กรรมการเรียนรู้ให้มีความเหมาะสมกับสภาพแทจ้ รงิ และวถิ ชี วี ติ
ของทอ้ งถน่ิ ชุมชนส่องนางใย โดยมีจดุ มุ่งหมาย ดังน้ี

๑. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับสภาพทอ้ งถ่ินชมุ ชนสอ่ งนางใย
๒. เพอ่ื ให้ผู้เรียนสามารถนำความร้ทู ไ่ี ด้จากการเรยี นไปปรบั ใช้ใหเ้ หมาะสมกับการดำรงชวี ติ
๓. เพื่อให้ผเู้ รยี นเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามวฒั นธรรมของท้องถน่ิ อีสาน
๔. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติทีด่ ีต่อท้องถิ่นชุมชนส่องนางใย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
สภาพแวดล้อมต่อท้องถิ่นท่ีอาศัย อาชีพ ภาษา วรรณกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
จนก่อให้เกดิ ความรัก ความภาคภูมใิ จ ความผูกพนั ในทอ้ งถนิ่ มหาสารคาม
๕. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถหาความรู้ที่ได้จากการเรียนไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพ
การดำรงชีวิตท่ีแท้จรงิ

2

❖ โครงสรา้ ง

สาระการเรยี นรภู้ มู ิปญั ญาท้องถ่ิน เรอื่ งมรดกภมู ิปญั ญาคา่ ล้ำ วฒั นธรรมชมุ ชนส่องนางใย ในกลุ่ม
สาระการเรียนรวู้ ชิ าภาษาไทย เป็นหลกั สตู รทส่ี ร้างขน้ึ โดยปรับเนื้อหา โครงสร้าง ให้สอดคลอ้ งกบั หลักสตู รกลมุ่
สาระการเรียนรูว้ ชิ าภาษาไทย ซ่ึงประกอบด้วย ๕ สาระ ดังนี้

สาระที่ ๑ สาระการอ่าน
สาระที่ ๒ สาระการเขยี น
สาระที่ ๓ สาระการฟงั การดู และการพดู
สาระท่ี ๔ สาระหลักการใช้ภาษา
สาระที่ ๕ สระวรรณคดีและวรรณกรรม
โดยจัดการเรยี นการสอนในลกั ษณะบรู ณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย ทัง้ ๕ สาระ

❖ เวลาเรียน

สาระการเรียนรู้ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินวิชาภาษาไทย เร่ืองมรดกภมู ปิ ญั ญาคา่ ล้ำ วฒั นธรรมชมุ ชนส่อง
นางใยในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วชิ าภาษาไทย กำหนดเวลาเรยี น ๑๒ ชวั่ โมง

3

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรยี นรใู้ นสว่ นของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ

กลุม่ สาระการเรียนรู้วชิ าภาษาไทย ชว่ งชั้นที่ ๒ ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

สาระท่ี 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคิดเพอ่ื นำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน

การดำเนินชีวติ และมนี สิ ยั รกั การอา่ น

ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั สาระการเรียนรู้
ในส่วนภูมิปัญญาท้องถิ่น

ท 1.1 ป.6/1 การอ่านออกเสยี ง 1. อธบิ ายความหมายของคำ มรดกภมู ิปัญญาคา่ ลำ้
และการบอกความหมาย ในภาษาไทยถ่นิ โคราชบา้ น วัฒนธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย

หม้อ 1. ความเปน็ มาบา้ นส่อง

2. อ่านออกเสียงบทร้อย - ประวัติความเป็นมา

กรองประเภทกลอนสุภาพ บ้านส่อง
เก่ยี วกบั ประวตั คิ วามเปน็ มา 2. สบื ภาษาบา้ นหมอ้
- ภาษาไทยโคราช
บ้านสอ่ งได้
ท 1.1 ป.6/3 การอ่านเรื่องสั้น ๆ อย่าง 3. สรุปใจความสำคญั จาก บา้ นหม้อ
3. เล่าขานวรรณกรรม
หลากหลายโดยจบั เวลา นิทานพน้ื บ้านได้ ทอ้ งถิ่น
แลว้ ถามเกย่ี วกบั เรอื่ งที่
อ่าน - นทิ านพื้นบ้าน
4. สามารถอธบิ ายการนำ เร่ือง กดุ นางใย
ท 1.1 ป.6/5 การนำความรแู้ ละ
ความคดิ จากเรอ่ื งทอี่ ่านไป ความรู้และความคดิ จากเร่ือง - นิทานพน้ื บา้ นท้องถน่ิ
ภาคอีสาน
ตัดสินใจแกป้ ญั หาในการ ทอี่ า่ นไปใช้ได้ถกู ตอ้ ง

ดำเนนิ ชีวิต

ท 1.1 ป.6/9 มารยาทในการอา่ น 5. มีมารยาทในการอ่าน

4

สาระท่ี 2 การเขยี น
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน

รูปแบบตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธิภาพ

ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง สาระการเรียนรู้
ในส่วนภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ท 2.1 ป.6/2 การเขียนส่ือสารโดยใช้คำ 1. เขยี นรายงานศกึ ษา มรดกภมู ิปญั ญาคา่ ลำ้
ได้ถูกตอ้ ง ชดั เจน คน้ ควา้ เกี่ยวกับความเปน็ มา วัฒนธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย
และเหมาะสม
และความสำคัญของประเพณี 1. ความเป็นมาบ้านสอ่ ง
ท 2.1 ป.6/3 การเขยี นแผนภาพ
ความคิด บญุ เบกิ ฟา้ ได้ - ประวัติความเป็นมา

ท 2.1 ป.6/5 การเขยี นย่อความ 2. เขยี นแผนภาพความคิด บ้านสอ่ ง
เกยี่ วกบั ประวตั คิ วามเปน็ มา 2. ฮีตคองบุญเบกิ ฟ้า
- ประวตั ิและความสำคญั
บ้านส่องได้ถกู ตอ้ ง

3. บอกความหมาย ประเพณีบุญเบิกฟา้

จุดมุง่ หมาย และหลกั การ 3. สานต่องานจักสาน
เขียนยอ่ ความไดถ้ กู ตอ้ ง - ประวัตคิ วามเป็นมาของ

4. เขยี นยอ่ ความไดถ้ กู ต้อง เครอ่ื งจกั สาน

5

สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ

และความร้สู ึกในโอกาสตา่ งๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั สาระการเรียนรู้
ในส่วนภูมปิ ัญญาท้องถิน่

ท 3.1 ป.6/1 การพดู แสดงความรู้ 1. พดู แสดงความรู มรดกภมู ปิ ญั ญาคา่ ลำ้
ความเข้าใจในจุดประสงค์ ความเขาใจเกยี่ วกับความ วัฒนธรรมชุมชนสอ่ งนางใย
ของเร่อื งท่ฟี งั และดู เป็นมาและความสำคัญ 1. สบื ภาษาบ้านหมอ้
ของภาษาไทยถิน่ โคราช
บา้ นหมอ้ - ภาษาไทยโคราช
บ้านหม้อ
2. พดู แสดงความรู้ 2. สานต่องานจกั สาน
ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การสาน
ปลาตะเพยี นและตะกร้อจาก - วิธีสานปลาตะเพียนจาก
ใบมะพรา้ ว
ใบมะพร้าว
- วธิ สี านตะกร้อจาก

ใบมะพรา้ ว

6

สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั

ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ

ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั สาระการเรียนรู้
ในสว่ นภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน

ท 4.1 ป.6/2 ภาษาถนิ่ 1. บอกความหมายของคำ มรดกภูมิปัญญาคา่ ลำ้
และสามารถนำมาแตง่ วัฒนธรรมชุมชนสอ่ งนางใย
ท 4.1 ป.6/5 กลอนสภุ าพ ประโยคได้ถูกต้อง
2. แต่งกลอนสุภาพเกีย่ วกบั 1. ความเป็นมาบา้ นสอ่ ง
ประวัตคิ วามเป็นมาของบ้าน
ส่องได้ - ประวัตคิ วามเป็นมา
บ้านส่อง

2. สานต่องานจักสาน
- คำในภาษาถิน่ อสี าน

เกยี่ วกบั เคร่ืองจกั สาน

7

สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่า

และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง สาระการเรยี นรู้
ในสว่ นภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ

ท 5.1 ป.6/2 นิทานพื้นบา้ น 1. เล่านทิ านพน้ื บา้ นทอ้ งถ่นิ มรดกภมู ิปัญญาคา่ ล้ำ
ของตนเองได้ วฒั นธรรมชุมชนส่องนางใย

ท 5.1 ป.6/3 การอธบิ ายคุณคา่ ของ 2. บอกคุณคา่ ของ 1. เล่าขานวรรณกรรม

วรรณคดีและวรรณกรรมที่ วรรณกรรมทีอ่ า่ นและนำไป ท้องถิน่
อ่าน ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั - นิทานพน้ื บา้ น

ได้ เรอื่ ง กดุ นางใย
- นทิ านพืน้ บา้ นท้องถ่นิ

ภาคอีสาน

8

คำอธิบายรายวิชา
เร่อื ง มรดกภูมิปัญญาคา่ ล้ำ วฒั นธรรมชมุ ชนส่องนางใย

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ชิ าภาษาไทย ชว่ งชั้นท่ี ๒ ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

โรงเรียนเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย จังหวัดมหาสารคาม

กองการศกึ ษา เทศบาลเมอื งมหาสารคาม

**************************************************************************************************

สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หาใน

การดำเนินชีวิตและมนี สิ ยั รักการอ่าน

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรือ่ งราว

ใน รปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด

และความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษา
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา

และพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า

และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง

9

คำอธบิ ายรายวชิ า
อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ การเขยี นแผนภาพความคดิ การแตง่ กลอนสุภาพ
การเขียนรายงาน การพูดลำดับเหตุการณ์ อธิบายความหมายของคำในภาษาไทยถิ่นโคราชบา้ นหม้อ
การพดู สรุปความรเู้ พอ่ื แสงความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของภาษาไทยถิ่น
โคราชบ้านหม้อ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู การเขียนยอ่ ความ การพดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับงานจักสาน ความหมายของคำในภาษาไทยถิ่นอีสาน อ่านจับใจความสำคัญจากนิทานพื้นบ้าน
อธบิ ายคณุ คา่ ของนทิ านพื้นบา้ น เลา่ นิทานพ้นื บา้ นซ่ึงเปน็ นทิ านพ้นื บา้ นของชาวชุมชนสอ่ งนางใย
โดยกระบวนการท่ใี ชใ้ นการเรยี นรู้ ได้แก่ การอ่าน การเขียน การฟงั การดู การพดู การใช้คำถาม
การคิดวิเคราะห์ การสบื คน้ และทักษะกระบวนการกลุ่ม พรอ้ มบูรณาการกบั สาระทอ้ งถิน่
เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนมีความรู้ ทักษะ และเห็นคุณค่าของการอ่าน การเขยี น การฟัง การดู การพดู วรรณคดี
และวรรณกรรม ภูมปิ ัญญาทางดา้ นภาษา ประวัติศาสตร์ท้องถิน่ นิทานพืน้ บ้าน การจักสาน ประเพณี
วัฒนธรรม รักษ์ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ มีมารยาทในการฟังการดู และการพูด สนใจใฝ่เรียนรู้
ขยนั ม่งุ มันในการทำงาน มีความรับผิดชอบ ตรงตอ่ เวลา และสามารถนำความร้มู าปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั
ตวั ชีว้ ัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๕
ท ๒.๑ ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๔, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๒, ป.๖/๕
ท ๕.๑ ป.๖/๒, ป.๖/๓
รวมทงั้ หมด ๑๔ ตัวช้ีวัด

10

หนว่ ยการเรียนรู้
เรอื่ ง มรดกภมู ปิ ญั ญาคา่ ล้ำ วฒั นธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย ช่วงชนั้ ที่ ๒ ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

โรงเรยี นเทศบาลบ้านส่องนางใย จงั หวดั มหาสารคาม

**************************************************************************************************

หน่วยการเรยี นรู้ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ เวลา (ชว่ั โมง)

1 ความเปน็ มาบา้ นสอ่ ง 2
2 ฮีตคองบญุ เบิกฟา้ 2
3 สืบภาษาบ้านหมอ้ 2
4 สานตอ่ งานจักสาน 3

5 เล่าขานวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ 3
รวม 12

หมายเหตุ
สอนร่วมกับวิชาหลัก/แกนภาษาไทย ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 6 (30% ของเวลาเรียนท้ังหมด

40 ช่วั โมง = 12 ชวั่ โมง)

11

แผนภาพความคิดหน่วยการเรยี นรภู้ ูมปิ ัญญาท้องถน่ิ วิชาภาษาไทย

เรื่อง มรดกภมู ิปัญญาคา่ ลำ้ วัฒนธรรมชมุ ชนส่องนางใย

ประวตั ิความเปน็ มาบา้ นส่อง ประเพณีบุญเบิกฟา้

ความเปน็ มาบ้านสอ่ ง ฮีตคองบุญเบิกฟา้

มมรรดดกกภภูมูมิปิปัญญั ญญาาคคา่ ลา่ ล้ำำ้
ววฒั ฒั นนธธรรรรมมชชมุ ุมชชนนสสอ่ อ่งนงนาางใงยใย

สืบภาษาบา้ นหม้อ สานต่องานจักสาน เลา่ ขานวรรณกรรมท้องถนิ่

ภาษาไทยโคราช งานจักสาน นิทานพน้ื บ้าน
บ้านหม้อ ทอ้ งถิน่ บา้ นสอ่ ง ทอ้ งถิ่น

12

แนวทางการจัดการเรยี นรูภ้ มู ปิ ัญญาท้องถ่ินวชิ าภาษาไทย

เร่อื ง มรดกภมู ปิ ญั ญาคา่ ลำ้ วัฒนธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย

**************************************************************************************************

เพอ่ื ให้การจัดการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรทอ้ งถิ่น วชิ าภาษาไทย เร่อื งมรดกภูมปิ ัญญาค่าลำ้ วัฒนธรรม
ชมุ ชนสอ่ งนางใย บรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรทกี่ ำหนดไว้ จึงกำหนดหลักการจดั กจิ กรรมก ารเรียนรู้
ไวด้ งั น้ี

๑. จดั การเรยี นรใู้ หย้ ืดหยุน่ ตามสภาพทอ้ งถ่นิ ชุมชนสอ่ งนางใย
๒. จดั การเรยี นรโู้ ดยเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ให้สอดคลอ้ งกบั ความสนใจและสภาพจริงของผเู้ รยี น
๓. จดั การเรยี นรู้โดยเนน้ กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิด และกระการแกไ้ ขปัญหา
๔. จัดการเรยี นรทู้ ่มี ุ่งเนน้ ให้ผูเ้ รียนมีเจตคติที่ดีและเห็นคณุ ค่าในภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ตนเอง
๕. จัดสภาพแวดลอ้ มและสรา้ งบรรยากาศท่ชี ่วยส่งเสริมการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน รวมทงั้ การใช้แหล่ง
เรยี นรแู้ ละวสั ดอุ ุปกรณ์ท่ีมีในทอ้ งถนิ่ ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด
การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ดำเนนิ การจดั กิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักการขา้ งตน้ ดังนี้
๑. ศกึ ษาคน้ ควา้ และอภปิ ราย นำเสนอขอ้ มูลเป็นกลุ่มและรายบุคคลเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถ่ิน
เรอ่ื ง มรดกภมู ิปัญญาค่าล้ำ วฒั นธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย ไดแ้ ก่

- ความเป็นมาบ้านส่อง
- ฮตี คองบุญเบิกฟ้า
- สบื ภาษาบา้ นหม้อ
- สานตอ่ งานจักสาน
- เลา่ ขานวรรณกรรมทอ้ งถิ่น
๒. การอ่านออกเสียงและบอกความหมาย การสรุปใจความสำคัญ การอธบิ ายความรจู้ ากการอ่าน
๓. เขยี นแผนภาพความคดิ การเขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ เขียนยอ่ ความ
๔. พดู ลำดบั เหตกุ ารณ์ พูดแสดงความรคู้ วามเขา้ ใจ
๕. การบอกความหมายของคำ การแต่งกลอนสุภาพ
๖. การเลา่ นิทานพืน้ บา้ น การบอกคณุ ค่าของวรรณกรรมทอี่ า่ น

13

กำหนดการจัดกิจกรรมการเรยี นรภู้ ูมปิ ัญญาท้องถิ่นวชิ าภาษาไทย

เรอื่ ง มรดกภูมปิ ญั ญาคา่ ลำ้ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

หนว่ ยการเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้/เนื้อหา เวลา
(ชั่วโมง)
ความเป็นมาบ้านส่อง เรียนรปู้ ระวตั คิ วามเป็นมา ประวตั ิความเปน็ มา
ฮตี คองบุญเบกิ ฟา้ บ้านส่อง บ้านสอ่ ง 2
สืบภาษาบ้านหม้อ เรยี นรู้ อนุรักษ์ และสืบสาน ประเพณบี ญุ เบิกฟา้
สานตอ่ งานจกั สาน ประเพณที อ้ งถน่ิ บา้ นสอ่ ง 2
เลา่ ขานวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ สง่ เสริมและอนุรักษภ์ าษาถน่ิ ภาษาไทยโคราชบา้ นหมอ้
บ้านสอ่ ง 2
สง่ เสริมและอนุรกั ษ์งาน งานจักสานทอ้ งถ่นิ บ้านสอ่ ง
หัตถกรรมทอ้ งถน่ิ 3
เรยี นร้วู รรณกรรมพื้นบา้ น นทิ านพ้นื บ้านทอ้ งถน่ิ
บ้านส่อง 3
12
รวม

14



ช่วงชนั้ ท่ี ๒ รายวิชา มรดกภูมปิ ญั ญาค่าลำ้ วัฒนธรรมชมุ ชนส่องทางใย
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื ง “ความเปน็ มาบ้านส่อง”

เวลา ๒ ช่ัวโมง

๑. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เรียนรปู้ ระวัติความเป็นมาบ้านสอ่ ง

สาระที่ ๑ การอ่าน
๑) นกั เรยี นอธบิ ายการนำความร้แู ละความคดิ จากเร่อื งทีอ่ า่ นไปใช้ไดถ้ ูกต้อง
๒) นกั เรยี นบอกหลักการอา่ นบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพไดถ้ ูกตอ้ ง
๒) นักเรยี นสามารถอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพเกี่ยวกบั ประวัตคิ วาม

เป็นมาบ้านส่องได้ถูกตอ้ ง
๓) นกั เรียนเหน็ ความสำคัญของเรอื่ งที่เรียนและรว่ มทำกิจกรรมกล่มุ

สาระที่ ๒ การเขียน
๑) นกั เรียนบอกขนั้ ตอนการเขยี นแผนภาพความคิดได้ถูกตอ้ ง
๒) นักเรียนสามารถเขยี นแผนภาพความคดิ จากเรอ่ื งท่อี า่ นไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
๓) นกั เรียนเหน็ ความสำคญั และประโยชน์ของการเขียนแผนภาพความคิด

สาระท่ี ๔ หลักการใชภ้ าษา
๑) นกั เรยี นอธิบายฉันทลักษณข์ องบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสุภาพไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
๒) นกั เรยี นสามารถแต่งกลอนสภุ าพได้ถกู ตอ้ ง
๓) นักเรียนเหน็ ความสำคัญและประโยชน์ของการแต่งกลอนสภุ าพ

๒. มาตรฐาน/เปา้ หมาย

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิด เพือ่ นำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาใน
การดำเนนิ ชวี ติ และมนี ิสยั รกั การอา่ น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวใน
รูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา และพลงั ของ
ภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ

๓. เน้อื หาสาระ หนว่ ยการเรยี นรูเ้ รื่อง ความเปน็ มาบา้ นส่อง
๓.๑ ประวตั คิ วามเปน็ มาบา้ นส่อง
๓.๒ การเขยี นแผนภาพความคิด

๓.๓ กลอนสุภาพ
๓.๔ การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง

16

๔. แนวการจดั การเรียนรู้ (องคค์ วามรู/้ ทกั ษะกระบวนการ)
สาระที่ ๑ การอา่ น
๑) เรียนรเู้ ก่ียวกบั การอา่ นบทรอ้ ยกรอง ประเภทกลอนสภุ าพ
๒) ศกึ ษาการอา่ นบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพเกยี่ วกบั ประวัติความเปน็ มาบา้ นส่อง

ทสี่ มาชิกในกลุ่มชว่ ยกันแต่งขน้ึ
๓) ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ อา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพเกี่ยวกบั ประวตั ิ

ความเปน็ มาบา้ นสอ่ งหนา้ ชัน้ เรียน
สาระที่ ๒ การเขยี น
๑) เรียนรหู้ ลกั การและวธิ กี ารเขียนแผนภาพความคดิ
๒) ศกึ ษาประวตั คิ วามเป็นมาบ้านส่อง
๓) เขียนแผนภาพความคดิ เกย่ี วกบั ประวัตคิ วามเป็นมาบ้านสอ่ ง
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษา
๑) เรยี นรูเ้ กี่ยวกับการแต่งกลอนสุภาพ
๒) ศึกษาประวัตคิ วามเปน็ มาบ้านส่อง
๓) แตง่ กลอนสุภาพเก่ียวกบั ประวตั ิความเปน็ มาบา้ นส่อง

๕. ผลงาน/การปฏิบัติ (ร่องรอย/หลกั ฐานการเรียนร)ู้
สาระท่ี ๑ การอา่ น
อ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพเกี่ยวกับประวตั คิ วามเปน็ มาบ้านสอ่ ง
สาระที่ ๒ การเขยี น
แผนภาพความคิดเก่ียวกบั ประวัติความเป็นมาบ้านส่อง
สาระท่ี ๔ หลักการใชภ้ าษา
แตง่ กลอนสุภาพเกี่ยวกับประวัตคิ วามเป็นมาบา้ นสอ่ ง

๖. การวัด/การประเมนิ ผลและแนวการตัดสิน (Scoring Grade)
สาระที่ ๑ การอ่าน
๑) ประเมินความรู้เกี่ยวกับการอ่านบทร้อยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ โดยการทำ

แบบทดสอบหลงั เรยี นชนิดปรนัยแบบเลอื กตอบ ๔ ตัวเลอื ก จำนวน ๑o ข้อ ๑o คะแนน
๒) ประเมนิ การอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรอง โดยประเมินจากการอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรอง

ประเภทกลอนสภุ าพเกย่ี วกบั ประวตั ิความเปน็ มาบา้ นส่องของสมาชิกในกลุ่มหนา้ ช้นั เรียน
สาระที่ ๒ การเขยี น
๑) ประเมินความรู้เก่ยี วกับการเขียนแผนภาพความคิด โดยการทำแบบทดสอบหลงั เรียน

ชนดิ ปรนยั แบบกาถกู -ผดิ จำนวน ๑o ขอ้ ๑o คะแนน
๒) ประเมนิ การเขยี นแผนภาพความคิด โดยประเมนิ จากผลงานการเขยี นแผนภาพความคิด

เรื่อง ประวัติความเป็นมาบ้านส่อง ชนิด Scoring Rubrics ๔ รายการประเมิน ๓ ระดับคุณภาพ
จำนวน ๑๒ คะแนน

17

๓) ประเมนิ การเห็นประโยชนแ์ ละความสำคญั ของการเขียนแผนภาพความคิด โดยใช้แบบ
สงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมในชน้ั เรียน ชนิด Scoring Rubrics ๔ รายการประเมิน ๓ ระดับคณุ ภาพ
จำนวน ๑๒ คะแนน

สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษา
๑) ประเมินความรู้เกี่ยวกับการการแต่งกลอนสุภาพประเภทกลอน ๘ โดยการทำ

แบบทดสอบหลงั เรยี นชนิดปรนยั แบบเลอื กตอบ ๔ ตัวเลือก จำนวน ๑o ขอ้ ๑o คะแนน
๒) ประเมินการกลอนสภุ าพ โดยประเมินจากผลงานการแต่งกลอนสุภาพเกีย่ วกับประวัติ

ความเป็นมาบ้านสอ่ ง ชนดิ Scoring Rubrics ๕ รายการประเมนิ ๓ ระดับคณุ ภาพ จำนวน ๑๕ คะแนน
๓) ประเมินการทำกิจกรรมกลุ่ม โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่ม

ชนดิ Scoring Rubrics ๕ รายการประเมนิ ๓ ระดับคณุ ภาพ จำนวน ๑๕ คะแนน
ประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ใช้แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ชนิด Scoring Rubrics ๔ รายการประเมนิ

๓ ระดับคุณภาพ จำนวน ๑๒ คะแนน
ประเมินสมรรถนะผเู้ รียน
ใช้แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน ชนิด Scoring Rubrics ๓ รายการประเมิน ๓ ระดับ

คุณภาพ จำนวน ๙ คะแนน

18

รายวชิ า มรดกภูมิปญั ญาค่าลำ้ วัฒนธรรมชมุ ชนส่องนางใย

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เร่อื ง “ฮีตคองบญุ เบกิ ฟา้ ”

ช่วงช้นั ท่ี ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เรื่อง ฮตี คองบญุ เบิกฟา้

สาระที่ ๒ การเขียน
๒.๑ นักเรยี นมคี วามรู้เกี่ยวกบั การเขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้
๒.๒ นักเรยี นสามรถเขียนรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ได้
๒.๓ นักเรียนมีมารยาทในการเขยี น

สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู
๓.๑ นกั เรียนสามารถบอกหลักการพูดลำดบั เหตกุ ารณ์ได้
๓.๒ นกั เรยี นสามารถพดู ลำดบั เหตกุ ารณป์ ระเพณบี ญุ เบกิ ฟา้ ได้
๓.๓ นกั เรียนมีมารยาทในการพดู

๒. มาตรฐาน/เปา้ หมาย

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอื่ งราวใน
รปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

๓. เนือ้ หาสาระ หนว่ ยการเรยี นรเู้ รอ่ื ง ฮตี คองบญุ เบิกฟา้
๓.๑ ประวตั คิ วามเปน็ มาและความสำคัญของประเพณบี ุญเบกิ ฟ้า
๓.๒ การเขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้าเก่ยี วขอ้ งกับประเพณบี ญุ เบกิ ฟา้

๓.๓ การพดู ลำดับเหตกุ ารณ์เกย่ี วกบั พธิ ีกรรมทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับบญุ เบกิ ฟ้า

๔. แนวการจดั การเรียนรู้ (องค์ความร/ู้ ทักษะกระบวนการ)

สาระท่ี ๒ การเขียน
๒.๑ ศกึ ษาการเขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้
๒.๒ ศึกษาประวัตคิ วามเป็นมาและความสำคญั ของประเพณบี ญุ เบิกฟ้า
๒.๓ เขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ เก่ยี วข้องกับประเพณีบญุ เบกิ ฟ้า

สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด
๓.๑ ศึกษาหลักการพดู ลำดับเหตุการณ์
๓.๒ ศกึ ษาพิธีกรรมที่เกย่ี วขอ้ งกบั ประเพณีบุญเบกิ ฟา้
๓.๓ พดู ลำดับเหตุการณ์เกย่ี วกบั พิธกี รรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกับประเพณีบุญเบกิ ฟ้า

19

๕. ผลงาน/การปฏบิ ัติ (รอ่ งรอย/หลกั ฐานการเรยี นรู้)
สาระที่ ๒ การเขียน
การเขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้าเก่ียวขอ้ งกับประเพณีบญุ เบิกฟา้
สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู
ใบงานการพูดลำดบั เหตกุ ารณเ์ ก่ียวกับพิธีกรรมทีเ่ กย่ี วข้องกบั ประเพณบี ุญเบกิ ฟ้า

๖. การวดั /การประเมินผลและแนวการตัดสิน (Scoring Grade)
สาระที่ ๒ การเขยี น
๒.๑ การประเมนิ ความร้เู รือ่ ง การเขียนรายงานการศึกษาค้นควา้ โดยการทำแบบทดสอบ

หลังเรยี น
๒.๒ การประเมินการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีบุญเบิกฟ้า

โดยการประเมินจากการเขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าเก่ียวกบั ประเพณบี ญุ เบิกฟ้า
๒.๓ การประเมนิ การมีมารยาทในการเขียน โดยการประเมินจากแบบประเมินการมมี ารยาท

ในการเขียน
๒.๔ การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รยี นโดยการสังเกตพฤตกิ รรมของผ้เู รยี น
๒.๕ การประเมนิ สมรรถนะของผู้เรียนโดยการสงั เกตพฤติกรรมของผ้เู รยี น

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
๓.๑ การประเมินความรู้เรื่อง การพูดลำดบั เหตุการณ์ โดยการทำแบบทดสอบหลงั เรยี น
๓.๒ การประเมนิ การพดู ลำดับเหตุการณ์เก่ียวกับพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกบั ประเพณบี ญุ เบกิ ฟ้า
๓.๓ การประเมนิ มารยาทในการพดู โดยใช้การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
๓.๔ การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผเู้ รียนโดยการสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น
๓.๕ การประเมนิ สมรรถนะของผู้เรียนโดยการสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รยี น

20

รายวิชา มรดกภูมิปญั ญาค่าลำ้ วฒั นธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เร่ือง “สืบภาษาบ้านหมอ้ ”

ชว่ งชนั้ ท่ี ๒ เวลา ๒ ชว่ั โมง

๑. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เร่อื ง “สืบภาษาบ้านหม้อ”

สาระที่ ๑ การอ่าน
๑) อธบิ ายลกั ษณะของคำในภาษาไทยถน่ิ โคราชบา้ นหม้อ
๒) อธบิ ายความหมายของคำในภาษาไทยถนิ่ โคราชบา้ นหมอ้ ได้
๓) อา่ นออกเสยี งคำในภาษาไทยถนิ่ โคราชบ้านหม้อได้

สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด
๑) สามารถพดู แสดงความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั ความเปน็ มา และความสำคญั ของภาษาไทย

ถน่ิ โคราชบ้านหม้อได้
๒) มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด

๒. มาตรฐาน/เป้าหมาย

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพอ่ื นำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปญั หาใน
การดำเนนิ ชีวิตและมนี ิสยั รักการอ่าน

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
และความรสู้ ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์

๓. เน้ือหาสาระ หน่วยการเรยี นรู้เรอ่ื ง “สืบภาษาบ้านหม้อ”

๓.๑ ประวตั คิ วามเป็นมาของภาษาไทยถิ่นโคราชบา้ นหม้อ
๓.๒ ลกั ษณะของภาษาไทยถ่ินโคราชบา้ นหม้อ
๓.๓ การพดู แสดงความรูความเขาใจเกย่ี วกับเรอ่ื งทฟี่ ังและดู
๓.๔ คำศพั ทน์ ่ารู้ของภาษาไทยถ่นิ โคราชบ้านหม้อ

๔. แนวการจดั การเรยี นรู้ (องค์ความรู้/ทักษะกระบวนการ)

สาระท่ี ๑ การอา่ น
๑) เรียนรู้ถึงลักษณะของคำในภาษาไทยถน่ิ โคราชบา้ นหมอ้
๒) เรียนรูค้ ำศัพท์น่ารูข้ องภาษาไทยถน่ิ โคราชบา้ นหม้อ
๓) อา่ นออกเสียงและอธิบายความหมายของภาษาไทยถนิ่ โคราชบา้ นหม้อ

สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพดู
๑) เรยี นร้ถู ึงประวตั คิ วามเป็นมา และความสำคัญของภาษาไทยถน่ิ โคราชบา้ นหม้อ
๒) พูดแสดงความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับความเป็นมา และความสำคัญของภาษาไทยถ่ินโคราช

บา้ นหม้อ
๓) ร่วมกันสรุปองค์ความรู้

21

๕. ผลงาน/การปฏบิ ตั ิ (รอ่ งรอย/หลกั ฐานการเรยี นร)ู้
สาระท่ี ๑ การอ่าน
ใบกิจกรรมสรปุ องคค์ วามรู้จากเร่อื งที่เรียน
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
ใบกจิ กรรมสมุดคำศพั ทข์ องภาษาไทยถ่ินโคราชบา้ นหมอ้

๖. การวดั /การประเมินผลและแนวการตดั สนิ (Scoring Grade)
สาระที่ ๑ การอา่ น
๑) ประเมินการอธิบายในลักษณะของภาษาไทยถิ่นโคราชบ้านหม้ อ โดยประเมนิ จาก

แบบทดสอบหลงั เรยี น
๒) ประเมนิ การอธบิ ายความหมายของคำในภาษาไทยถิ่นโคราชบา้ นหม้อได้ โดยประเมินจาก

ใบกิจกรรมคำศัพท์นา่ รูข้ องภาษาไทยถิ่นโคราชบ้านหม้อ
สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพูด
๑) ประเมินการอธิบายหลักการพดู สรปุ ความรู้เพอ่ื แสดงความรู้ความเข้าใจ โดยประเมินจาก

แบบทดสอบหลงั เรียน
๒) ประเมินการพูดแสดงความรูความเขาใจเก่ียวกับความเป็นมา และความสำคัญของ

ภาษาไทยถ่ินโคราชบา้ นหม้อ โดยแบบประเมินทักษะการพดู สรุปความรูเ้ พ่อื แสดงความรู้ความเข้าใจ
๓) ประเมินมารยาทในการฟัง การดู และการพดู โดยใชการสงั เกตดว้ ยแบบประเมินการมี

มารยาทในการฟง การดู และการพดู

22

ชว่ งชั้นที่ ๒ รายวิชา มรดกภูมปิ ญั ญาคา่ ลำ้ วฒั นธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๔ เร่อื ง “สานตอ่ งานจกั สาน”

เวลา ๓ ช่ัวโมง

๑. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เร่ือง “สานต่องานจกั สาน”
สาระท่ี ๒ การเขียน
๑) นักเรยี นสามารถบอกความหมาย จดุ มงุ่ หมาย และหลักการเขียนย่อความไดถ้ กู ต้อง
๒) นักเรียนสามารถเขยี นยอ่ ความได้ถกู ตอ้ ง
๓) นักเรยี นมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรียนรู้
สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพดู
๑) นักเรียนสามารถบอกหลกั การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ
๒) นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตติ ามสิ่งทด่ี ูไดถ้ กู ต้อง
๓) นักเรยี นมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรยี นรู้
สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษา
๑) นกั เรียนสามารถบอกความหมายของคำและนำมาแตง่ ประโยคไดถ้ กู ตอ้ ง
๒) นกั เรยี นสามารถเขียนความหมายของคำและนำมาแต่งประโยคไดถ้ กู ต้อง
๓) นักเรยี นมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้

๒. มาตรฐาน/เป้าหมาย

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่อื สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่อื งราวใน
รูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมีประสิทธภิ าพ

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
และความรสู้ ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา และพลงั ของ

ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ

๓. เน้ือหาสาระ หนว่ ยการเรียนรู้ เร่ือง “สานตอ่ งานจกั สาน”
๓.๑ การเขียนยอ่ ความ
๓.๒ การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ
๓.๓ การบอกความหมายของคำในภาษาถน่ิ อีสาน

๔. แนวการจัดการเรยี นรู้ (องค์ความรู้/ทกั ษะกระบวนการ)
สาระที่ ๒ การเขียน
๑) ศึกษาความหมาย จดุ ม่งุ หมาย และหลกั การเขยี นย่อความ
๒) เขียนแผนภาพความคดิ สรปุ เรอื่ ง หลกั การเขยี นยอ่ ความ
๓) นำเสนอผลงาน เร่ือง หลกั การเขียนยอ่ ความ
๔) ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

23

สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพูด
๑) ศึกษาหลกั การพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจ จากเรื่องทด่ี ู
๒) พดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ จากเรือ่ งทด่ี ู
๓) ปฏิบตั กิ ารสานปลาตะเพียนจากใบมะพรา้ ว
๔) ทำแบบทดสอบหลงั เรียน

สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษา
๑) ศึกษาคำในภาษาถ่ินอีสานเก่ียวกบั เครื่องจักสาน
๒) เสนอแนะคำอน่ื ๆ นอกเหนอื จากที่ครูสอนท่ีนกั เรียนรู้จกั
๓) ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

๕. ผลงาน/การปฏบิ ตั ิ (ร่องรอย/หลักฐานการเรยี นรู้)
สาระที่ ๒ การเขียน
แผนภาพความคิด เร่อื ง หลักการเขยี นย่อความ
ใบงานการเขยี นย่อความ เร่อื ง ประวัตคิ วามเปน็ มาของเครอื่ งจักสาน
แบบทดสอบหลงั เรียน
สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด
พดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ จากเรอ่ื งทดี่ ู
ใบงาน เรอื่ ง ดูใหด้ ีแล้วจะมีคำตอบ
สานปลาตะเพียนจากใบมะพรา้ ว
แบบทดสอบหลงั เรยี น
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษา
ใบงาน เรื่อง คำในภาษาถิ่นอสี านเกี่ยวกบั เครือ่ งจกั สาน
แบบทดสอบหลงั เรยี น

๖. การวดั /การประเมนิ ผลและแนวการตัดสนิ (Scoring Grade)
สาระท่ี ๒ การเขยี น
๑) ประเมนิ ผลงานการเขียนยอ่ ความ เร่อื ง ประวัตคิ วามเปน็ มาของเครื่องจกั สาน
๒) ประเมินจากแบบทดสอบหลังเรยี น แบบถกู -ผดิ จำนวน ๕ ขอ้ ๑๐ คะแนน
๓) ประเมนิ การมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรียนรู้
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
๑) ประเมินใบงาน เรื่อง ดใู หด้ แี ลว้ จะมีคำตอบ
๒) ประเมินจากแบบทดสอบหลังเรียน แบบถกู -ผดิ จำนวน ๕ ข้อ ๑๐ ข้อ
๓) ประเมนิ การมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรียนรู้
สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
๑) ประเมนิ ใบงาน เรื่อง คำในภาษาถิน่ อีสานเกี่ยวกบั เคร่ืองจักสาน
๒) ประเมินจากแบบทดสอบหลงั เรยี น แบบจับคู่ จำนวน ๕ ข้อ ๑๐ คะแนน
๓) ประเมนิ การมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้

24

ชว่ งชนั้ ท่ี ๒ รายวิชา มรดกภูมปิ ัญญาค่าลำ้ วฒั นธรรมชมุ ชนสอ่ งนางใย
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ เร่ือง “เลา่ ขานวรรณกรรมท้องถนิ่ ”

เวลา ๓ ชัว่ โมง

๑. จุดประสงค์การเรียนรู้ เรียนรวู้ รรณกรรมพน้ื บา้ นในท้องถ่นิ
สาระที่ ๑ การอ่าน
๑) นักเรยี นมีความรเู้ กีย่ วกับการอา่ นจบั ใจความสำคัญ

๒) นักเรียนสามารถจบั ใจความสำคญั จากนิทานพื้นบา้ นเรื่อง กุดนางใยได้
๓) นกั เรยี นมีมารยาทในการอา่ น

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
๑) นักเรียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกับนิทานพื้นบา้ น
๒) นกั เรียนสามารถเล่านทิ านพื้นบา้ นในทอ้ งถนิ่ ได้

๓) นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นร้แู ละใหค้ วามร่วมมอื ในการทำกจิ กรรมกลุม่

๒. มาตรฐาน/เป้าหมาย

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรูแ้ ละความคดิ เพือ่ นำไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หาใน
การดำเนินชีวติ และมนี ิสัยรักการอา่ น

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

๓. เนือ้ หาสาระ หน่วยการเรยี นรเู้ รอ่ื ง “เล่าขานวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ”
๓.๑ นทิ านพืน้ บา้ นภาคอีสาน

๓.๒ นทิ านพน้ื บ้านเรอ่ื งกุดนางใย
๓.๓ การอ่านจับใจความสำคญั

๓.๕ การเลา่ นิทานพนื้ บา้ น

๔. แนวการจดั การเรยี นรู้ (องคค์ วามร/ู้ ทักษะกระบวนการ)

สาระที่ ๑ การอา่ น
๑) ศกึ ษา ค้นควา้ ความหมาย หลักการ และประโยชนข์ องการจบั ใจความสำคัญ
๒) อา่ นจบั ใจความสำคญั จากนทิ านพ้ืนบ้าน เร่ือง กดุ นางใย

๓) นำเสนอความร้จู ากนทิ านพื้นบ้าน
๔) ออกแบบและสร้างสรรคผ์ ลงานเป็นหนังสือเล่มเลก็ นทิ านพืน้ บ้าน

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
๑) ศกึ ษาความหมายและความร้เู ก่ียวกับนิทานพนื้ บา้ นในท้องถ่นิ
๒) ศกึ ษาวิธกี ารเลา่ นิทานพืน้ บ้านให้มีความน่าสนใจ

๓) เล่านทิ านพ้ืนบ้านในทอ้ งถิน่ ของตนเองและทอ้ งถิน่ อื่นตามทสี่ นใจ

25

๕. ผลงาน/การปฏบิ ตั ิ (ร่องรอย/หลักฐานการเรยี นร)ู้
๑. ใบงาน เรื่อง การอา่ นใจความสำคญั นทิ านพืน้ บา้ น เรอ่ื ง กุดนางใย
2. สมดุ เลม่ เล็กนิทานพ้ืนบ้าน
3. การเล่านิทานพนื้ บ้าน

๖.การวดั /การประเมินผลและแนวการตดั สิน (Scoring Grade)
สาระท่ี ๑ การอ่าน
๑) ทดสอบหลังเรียน เรื่องการอา่ นจับใจความสำคญั โดยใช้แบบทดสอบย่อยชนิดปรนยั แบบถกู ผดิ

๕ ข้อ ๕ คะแนน
๒) ประเมินการอ่านจบั ใจความสำคญั โดยการประเมนิ ชิ้นงาน การอ่านจบั ใจความสำคัญนิทาน

พืน้ บ้าน เรอื่ ง กดุ นางใย
๓) ประเมินมารยาทในการอ่าน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมของผู้เรียน

สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
๑) ทดสอบหลังเรยี น เรื่อง สืบสานนิทานพ้ืนบ้าน โดยใช้แบบทดสอบหลังเรียนชนิดปรนัย

แบบถูกผดิ ๕ ขอ้ ๕ คะแนน
๒) ประเมนิ ชนิ้ งานการทำสมดุ เล่มเลก็ นิทานพนื้ บา้ น โดยใชแ้ บบประเมินผลงาน
๓) ประเมินทักษะการเล่านทิ านพนื้ บา้ น
๔) ประเมินการมสี ่วนรว่ มในการทำกจิ กรรมกลุ่มโดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมของผู้เรียน

26



แผนภาพความคดิ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรื่อง ความเปน็ มาบา้ นส่อง

การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง การเขียนแผนภาพความคิด
ประเภทกลอนสุภาพ

การอา่ น การเขียน

ความเป็นมาบ้านสอ่ ง

หลกั การใช้
ภาษาไทย

การแต่งกลอนสุภาพ

28

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1

โดยบูรณาการการจดั กจิ กรรมการเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ ีแบบอปุ นยั (Induction Method)

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ ความเป็นมาบา้ นส่อง ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๓

เรื่อง เลา่ ประวตั ิผ่านแผนภาพ เวลา ๑ ชวั่ โมง

สาระสำคญั
การเขียนแผนภาพความคดิ เป็นการถา่ ยทอดความคดิ จากสมองลงบนกระดาษ โดยให้เขยี นประเด็น

หลักไวต้ รงกลาง เขียนประเด็นรองล้อมรอบประเดน็ หลัก ประเด็นยอ่ ยลอ้ มรอบของประเด็นรอง แยกออกมา

โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใยให้มเี น้อื หาเกย่ี วข้องสมั พันธ์กนั แต่ละประเด็นจะเป็นคำสำคญั สั้น ๆ ที่มี
ความหมายชัดเจน

มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพอื่ นำไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ัญหาใน

การดำเนนิ ชีวติ และมีนสิ ัยรกั การอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสือ่ สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่อื งราว

ในรปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสทิ ธิภาพ
ตวั ชีว้ ดั
ท ๑.๑ ป.๖/๕ อธิบายการนำความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาใน

การดำเนนิ ชีวิต
ท ๒.๑ ป.๖/๓ เขียนแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคดิ เพ่อื ใชพ้ ัฒนางานเขียน

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๑. นกั เรยี นบอกหลกั การเขยี นแผนภาพความคดิ ไดถ้ กู ตอ้ ง (K)

๒. นักเรยี นสามารถเขียนแผนภาพความคดิ เกย่ี วกบั ประวัตคิ วามเป็นมาบา้ นส่องไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (P)
๓. นักเรียนเหน็ ความสำคัญและประโยชนข์ องการเขียนแผนภาพความคิด (A)

สมรรถนะผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
นักเรียนใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง

เพือ่ เปลย่ี นขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด
นักเรยี นรู้จกั คดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ คดิ อยา่ งสร้างสรรค์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และคิดเป็น

ระบบ เพอ่ื นำไปส่กู ารสรา้ งองค์ความรูห้ รอื สารสนเทศ เพื่อการตดั สนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมได้
๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

นักเรียนใช้กระบวนการตา่ ง ๆ ในการดำเนินชวี ิตประจำวัน เรยี นรู้ดว้ ยตนเองต่อเนอ่ื ง ทำงาน
และอยู่ร่วมกนั ในสงั คมด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล

29

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๑. มีวินยั
นักเรียนปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บขอ้ บงั คบั ตามท่ีตง้ั ไว้
๒. ใฝเ่ รยี นรู้
นักเรียนตง้ั ใจเรยี น มีความเพยี รพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้
๓. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
นกั เรียนตั้งใจเรยี นและรับผิดชอบงานที่ตนเองไดร้ ับมอบหมายใหส้ ำเรจ็
๔. รักความเปน็ ไทย
นกั เรยี นเห็นคณุ คา่ ของภาษาไทย และสามารถใชภ้ าษาไทยได้ถูกตอ้ ง

สาระการเรียนรู้/เนื้อหา
๑. ประวัตคิ วามเป็นมาบ้านส่อง
๒. การเขียนแผนภาพความคิด
- ความหมายของการเขียนแผนภาพความคิด
- หลักการเขยี นแผนภาพความคิด
- รูปแบบของแผนภาพความคิด
- ประโยชน์ของการเขยี นแผนภาพความคดิ

ผลงาน/การปฏบิ ัติ
แผนภาพความคิดเกย่ี วกับประวตั ิความเปน็ มาบา้ นสอ่ ง

กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรดู้ ้วยวธิ แี บบอปุ นยั (Induction Method)
๑. ขนั้ เตรยี ม (๕ นาที)
- ครกู ล่าวทกั ทายนักเรียนด้วยใบหน้าท่ียม้ิ แย้มแจม่ ใสหลงั จากนกั เรยี นทำคว ามเค ารพ เส ร็จ

จากน้ันครูตรวจสอบรายช่ือนักเรยี นท่ีมาเข้าเรยี น หากมนี ักเรยี นท่ไี มม่ าเรยี น ครคู วรสอบถามถงึ สาเหตทุ ่ไี ม่มา
เรยี นแลว้ บันทกึ ลงในใบรายชื่อนกั เรยี น

- ครูเขียนคำว่า “แผนภาพ” บนกระดาน แล้วใหน้ กั เรียนหาความหมายของคำว่า “แผนภาพ”
จากพจนานกุ รม ซ่ึงมคี วามหมายดังนี้

คำวา่ “แผนภาพ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดใ้ หค้ วามหมายว่า
“น. ภาพหรอื เค้าโครงทเี่ ขียนขึน้ เพ่อื ชว่ ยในการอธบิ ายเร่ืองราว”

- หลังจากนั้นใหค้ รูสนทนากับนกั เรยี นเก่ียวกบั ประเด็นต่อไปน้ี
๑) จากการค้นหาความหมายของคำวา่ “แผนภาพ” จากพจนานุกรม นักเรยี นคดิ ว่า “แผนภาพ
ความคิด” มคี วามหมายวา่ อยา่ งไร
๒) นักเรยี นเคยเขียนแผนภาพความคิดหรือไม่ หากเคย เขียนเพ่ือจุดประสงคใ์ ด
๓) นกั เรยี นคิดวา่ การเขียนแผนภาพความคิดมีความสำคัญหรือจำเป็นในชวี ิตประจำวนั หรือไม่

30

เพอ่ื เป็นการเตรยี มความพร้อมและตรวจสอบความรพู้ ื้นฐานของนักเรยี นก่อนเข้าสู่บท เรีย น
รวมทง้ั เปน็ การทบทวนความรู้เดมิ ของผเู้ รยี นโดยเชื่อมโยงกบั ส่ิงท่วั ไปที่นกั เรยี นสามารถเข้าใจโดยง่าย รวมท้ัง
ทำให้นักเรยี นเหน็ ความสำคัญของเร่อื งทีจ่ ะเรียนและกำหนดจุดม่งุ หมายในการเรยี นครั้งนไ้ี ด้

๒. ขัน้ แสดง (10 นาที)
- ครูชแ้ี จงเก่ียวกับเรื่องท่จี ะเรยี นในวนั นี้ นัน่ กค็ ือเรื่อง การเขียนแผนภาพความคิด ซง่ึ จะต้องใช้

การหาขอ้ คิดจากเรื่องทีอ่ ่านเช่ือมโยงไปสู่การเขยี นแผนภาพความคดิ จากการอ่านเรอ่ื งนน้ั ๆ
- ครูยกตัวอย่างการเขียนแผนภาพความคิด โดย การนำบทความสั้น ๆ เรื่อง อาเซียน มาใช้

ประกอบการเขียนแผนภาพความคดิ หลงั จากนนั้ เขยี นคำว่า “อาเซียน” บนกระดานหรือใชส้ ่ือ PowerPoint
ในการฉายหน้าชัน้ เรียนให้นักเรียนเห็นรว่ มกัน พร้อมกบั ลากเสน้ โยงหวั ข้อย่อยออกมา ไดแ้ ก่ จุดประสงค์
ประเทศสมาชกิ และสัญลักษณ์ แล้ว ให้ครูลากเส้นโยงในแต่ละหัวข้อวา่ ในหัวข้อย่อยน้ันควรจะเขียน
รายละเอยี ดหรอื เชือ่ มโยงไปสหู่ วั ขอ้ ยอ่ ยอะไรบา้ ง

(ตัวอย่างคำตอบ: ๑) จดุ ประสงค์ ลากเส้นโยงหวั ขอ้ ย่อยต่อไปวา่ เพอ่ื ส่งเสรมิ และร่วมมือใน
เรอื่ งสันตภิ าพ, ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ความรู้ และสงั คมวฒั นธรรม ๒) ประเทศสมาชิก ลากเส้นโยงหวั ขอ้
ย่อยตอ่ ไปว่า ไดแ้ ก่ ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปนิ ส์ บรไู น เวียดนาม ลาว พมา่ และกัมพูชา
๓) สญั ลกั ษณ์ ลากเสน้ โยงหัวขอ้ ยอ่ ยต่อไปวา่ ตน้ ข้าวสเี หลือง 10 ตน้ มดั รวมกันไว้ ซ่ึงหมายถงึ ประเทศสมาชิก
รวมกันเพ่ือมิตรภาพและความเป็นน้ำหนง่ึ ใจเดียวกนั )

- ครูอธิบายให้นกั เรยี นเข้าใจและเห็นความเชอ่ื มโยงระหว่ างหวั ข้อใหญ่และหวั ข้อย่อย ซ่ึงมี
ความสัมพนั ธก์ ันอย่างเห็นได้ชัด พรอ้ มทั้งชแี้ จงให้นักเรียนทราบวา่ การเขยี นลักษณะเช่นนีเ้ รยี กว่า “การเขียน
แผนภาพความคิด” โดยจะแสดงให้เห็นความคิดรวบยอดจากกระบวนการคิดของผู้เขียนได้ ถือเปน็
กระบวนการจัดการเรียนรู้ใหน้ ักเรียนดตู วั อย่าง เพอื่ พิจารณาและสามารถเปรียบเทียบจนสรุปกฎเกณฑ์ได้

๓. ขน้ั เปรียบเทยี บและรวบรวม (20 นาที)
- ให้นักเรียนแบง่ กลุม่ ออกเป็น ๕ กลุม่ กลุม่ ละ ๔-๕ คน ตามความสมคั รใจ โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มน่งั

หนั หน้าเข้าหากันเป็นวงกลม หลงั จากใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ รว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกับความรู้ทค่ี ุณครไู ด้อธิบายไปใน
ขา้ งตน้ เพื่อทำการสงั เกต คน้ ควา้ วเิ คราะห์ รวบรวม เปรียบเทยี บความคล้ายคลึงกนั ขององค์ประกอบใน
ตัวอย่าง แยกแยะขอ้ แตกต่างหรือมองเห็นความสัมพันธ์ในรายละเอียดที่เหมือนกัน ซึ่งแต่ละคนต้องได้
แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ กบั สมาชิกในกลมุ่ เกยี่ วกบั ประเด็นต่อไปนี้

๑) การเขียนแผนภาพความคิดหมายถงึ อะไร
๒) หลกั การเขยี นแผนภาพความคดิ มอี ะไรบา้ ง
หากมีประเด็นอืน่ ๆ ที่สงสัยหรอื อยากแลกเปล่ียนกบั เพอื่ นในกลุม่ ก็ให้ทกุ คนส ามารถแสดง
ความคิดเห็นได้ตามตอ้ งการ
- เมอ่ื อภปิ รายร่วมกนั เสร็จแล้วให้นักเรยี นจัดระบบความคิดของตนเองไว้ก่อ น จากนั้นจึงมา
ตรวจสอบความรคู้ วามเข้าใจตนเองว่าถูกหรือผดิ อยา่ งไรจากการให้ความรขู้ องครูผู้สอน
- ครูใชส้ ่ือ PowerPoint (หากโรงเรยี นไม่มอี ปุ กรณ์ท่ีชว่ ยอำนวยความสะดวกทางด้านเทคโนโลยี
ครูอาจใชก้ ระดานเป็นสอื่ ประกอบการสอนแทนได)้ พร้อมกบั แจกใบความร้เู รือ่ ง ประมวลความร้สู ่แู ผนภาพ
ความคดิ ให้กับนักเรียนเป็นรายบุคคล เพอ่ื เป็นการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนวา่ ส่ิงท่นี กั เรยี นอภิปราย

31

รว่ มกนั ในกล่มุ ถูกหรือผดิ อย่างไรบา้ ง รวมท้ังเปน็ การเพ่ิมเตมิ ความรใู้ ห้กบั นกั เรียนในประเดน็ ท่ียังไม่สมบูรณ์
หรือยังไม่มีความเข้าใจในรายละเอียดนั้น ๆ มากพอ

- ครแู จกใบงานเรื่อง หาข้อคดิ เขยี นแผนภาพ ใหน้ กั เรียนเป็นรายบุคคล เป็นใบงานให้นักเรียนอา่ น
เรื่อง เรอื นไทย ซงึ่ เปน็ บทอา่ นเสริมในหนงั สือภาษาพาที ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ หน้า 90 แล้วนำมาเขียน
แผนภาพความคดิ โดยมชี ่องวา่ งองคป์ ระกอบต่าง ๆ ของเรื่องทสี่ มั พันธ์กันให้นกั เรียนเขยี นเติมลงไป เพ่อื เป็น
การตรวจสอบความรคู้ วามเขา้ ใจของนักเรียนหลังจากการอภิปราย ไดร้ ับความรู้ และสรปุ ความรู้ร่วมกันแล้ว
เมือ่ ทำเสรจ็ เรียบร้อยให้รวบรวมส่งครู

๔. ข้ันสรปุ (๕ นาที)
- ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ความรู้เรื่อง การเขยี นแผนภาพความคดิ โดยให้แสดงความคิดเห็น

รว่ มกนั ในประเด็นคำถามสรุปความรู้ ดังนี้
๑) การหาข้อคิดจากเรือ่ งทอี่ ่านกับการเขียนแผนภาพความคิดว่ามคี วามเชื่อมโยงกันอย่างไ ร

(แนวคำตอบ: การเขียนแผนภาพความคิดเป็นการจดั ข้อมลู ความรู้หรอื ความคิดจากการอา่ นเร่ืองน้ัน ๆ มาจัด
อยา่ งเป็นระบบ)

๒) นักเรียนจะนำความรู้เรือ่ งการเขียนแผนภาพความคิดไปใช้ในชีวิตประจำวันอยา่ งไร
(แนวคำตอบ: นำความรเู้ ร่ืองการเขยี นแผนภาพความคดิ ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน เช่น ใช้ในการวางแผนงาน
สรุปเรือ่ งจากการอา่ น ใช้เขยี นเพือ่ ช่วยจำ และใช้ในการนำเสนอข้อมลู ให้คนอืน่ เข้าใจ เป็นตน้ )

- หากนักเรยี นมีขอ้ สงสยั หรอื อยากสอบถามและแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ก็สามารถยกมอื ไดเ้ สมอ
ถือเป็นการอธิบายให้เพื่อน ๆ ในห้องเขา้ ใจร่วมกันดว้ ย นอกจากนี้ครูครูอาจพดู สรุปควา มรู้เพ่มิ เตมิ
หรือขอ้ สงั เกตเพ่ิมเติม เพือ่ เป็นการเพิม่ พนู ความรใู้ หก้ บั นกั เรยี น

๕. ขนั้ นำไปใช้ (20 นาที)
- ครูให้นักเรียนอ่านประวัตคิ วามเปน็ มาของบ้านส่องจากกระดาษทีค่ รูแจกให้หรอื จากส่ือ

PowerPoint ท่ฉี ายหนา้ ช้ันเรยี น เปน็ รายบคุ คล
- ให้นกั เรียนหาข้อคิดจากการอา่ นแล้วนำมาเขียนแผนภาพความคดิ โดยจัดระบบขอ้ มลู ของเร่ือง

ตามทีต่ นเองเข้าใจ เชน่ จัดขอ้ มลู รายละเอยี ดเป็นลำดบั เหตกุ ารณ์ จดั ข้อมูลเปน็ หัวข้อยอ่ ยเร่ืองต่าง ๆ เปน็ ต้น
พร้อมกับสรา้ งสรรค์ผลงานให้มีความสวยงามและมคี วามนา่ สนใจ เม่อื นักเรียนทุกคนทำเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ ให้
รวบรวมสง่ ครูเพอื่ ตรวจให้คะแนนตอ่ ไป

- ครูแจกแบบทดสอบหลังเรยี นชนดิ ปรนัยแบบทดสอบหลังเรียนชนิดปรนยั แบบถูก-ผดิ จำนวน
10 ข้อ 10 คะแนน แล้วใหน้ กั เรียนลงมอื ทำแบบทดสอบ โดยใชเ้ วลา 10 นาที เมือ่ นักเรียนทำแบบทดสอบ
เสร็จแลว้ ใหร้ วบรวมส่งครู

สื่อ/นวตั กรรม/แหล่งการเรยี นรู้
สื่อและนวตั กรรม
๑. ส่อื PowerPoint เรื่อง การเขยี นแผนภาพความคิด
๒. ใบความร้เู รื่อง ประมวลความรสู้ ู่แผนภาพความคิด
๓. ใบงานเร่อื ง หาขอ้ คดิ เขียนแผนภาพ
๔. “ประวัติความเปน็ มาบา้ นส่อง” ใหน้ กั เรยี นอา่ นเปน็ รายบคุ คล

32

แหลง่ เรยี นรู้
๑. ห้องสมุด สำหรับใชใ้ นการสืบค้นความรู้เพม่ิ เตมิ

๒. อินเทอร์เนต็ ในการสบื ค้นขอ้ มลู รูปภาพ และความรู้เพมิ่ เตมิ
๓. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชีวิต ภาษาพาที ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖

การวัดและประเมินผล วิธกี ารวัด เครื่องมือทใี่ ช้ เกณฑ์
การวัด และประเมินผล การประเมนิ
ผ่านเกณฑ์
และประเมินผล การทดสอบความรู้ แบบทดสอบหลงั เรียน ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป
บอกหลกั การเขยี น
แผนภาพความคิดได้ ชนิดปรนัยแบบถกู -ผิด ผา่ นเกณฑ์
ถกู ตอ้ ง จำนวน 10 ขอ้ รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป

สามารถเขยี นแผนภาพ 10 คะแนน ผา่ นเกณฑ์
ความคิดเก่ียวกับประวตั ิ รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป
ความเปน็ มาบ้านส่องได้ การประเมินผลงานการ แบบประเมนิ ผลงาน
อย่างถูกต้อง ผ่านเกณฑ์
เขยี นแผนภาพความคดิ การเขยี นแผนภาพ ร้อยละ 80 ข้ึนไป
เห็นความสำคญั และ
ประโยชน์ของการเขยี น เกยี่ วกบั ประวตั ิความ ความคดิ เขยี นแผนภาพ ผา่ นเกณฑ์
แผนภาพความคิด ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป
เปน็ มาบ้านสอ่ ง ความคิดเกย่ี วกบั ประวัติ
คุณลกั ษณะอันพึง
ประสงค์ ความเปน็ มาบ้านส่อง

สมรรถนะผู้เรยี น ชนดิ Scoring Rubrics

๔ รายการประเมนิ
๓ ระดับคณุ ภาพ

การสังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม
การเขา้ ร่วมกจิ กรรมใน การเขา้ ร่วมกิจกรรมในช้นั

ชน้ั เรยี น เรยี น ชนิด Scoring
Rubrics ๔ รายการ

ประเมนิ ๓ ระดับคุณภาพ

การประเมิน แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ

คณุ ลกั ษณะอนั อันพึงประสงค์
พึงประสงค์ ชนดิ Scoring Rubrics

๔ รายการประเมิน

๔ ระดบั คณุ ภาพ

การประเมินสมรรถนะ แบบประเมินสมรรถนะ
ผู้เรยี น ผูเ้ รยี น ชนดิ Scoring

Rubrics ๓ รายการ
ประเมิน ๔ ระดบั คุณภาพ

33

บนั ทึกเพ่ิมเตมิ สำหรบั ผบู้ รหิ าร/ผูท้ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย
.................................................................................................. ............................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .........................................................ผปู้ ระเมนิ
(.....................................................................)
ตำแหน่ง...........................................................
วนั ที่..........เดือน............................พ.ศ. ..........

บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้
ผลการจดั การเรยี นร.ู้ ...............................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สภาพปญั หา............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

แนวทางการแก้ไขปัญหา.........................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ผลการแก้ไขปญั หา..................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ...........................................................ผบู้ ันทกึ
(.....................................................................)
ตำแหน่ง...........................................................
วนั ท.ี่ .........เดือน............................พ.ศ. ..........

34

สอื่ PowerPoint เร่อื ง การเขียนแผนภาพความคดิ
35

ส่อื PowerPoint เร่ือง การเขยี นแผนภาพความคิด (ตอ่ )
36

ส่อื PowerPoint เร่ือง การเขยี นแผนภาพความคิด (ตอ่ )
37

ส่อื PowerPoint เร่ือง การเขยี นแผนภาพความคิด (ตอ่ )
38

ส่อื PowerPoint เร่ือง การเขยี นแผนภาพความคิด (ตอ่ )
39

ส่อื PowerPoint เร่ือง การเขยี นแผนภาพความคิด (ตอ่ )
40

ส่อื PowerPoint เร่ือง การเขยี นแผนภาพความคิด (ตอ่ )
41

ส่อื PowerPoint เร่ือง การเขยี นแผนภาพความคิด (ตอ่ )
42



ใบความรู้

เรอื่ ง ประมวลความร้สู ู่แผนภาพความคิด
การเขียนแผนภาพความคดิ

อ Mind Mapping

“แผนภาพ” หมายถึง ภาพหรือเคา้ โครงทเ่ี ขยี นขึน้ เพ่อื ช่วยในการอธบิ ายเรือ่ งราว

(พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔)

การเขียนแผนภาพความคดิ คอื การถา่ ยทอดความคดิ จากสมองลงบน
กระดาษแผ่นเดียว โดยให้เขยี นประเด็นหลกั ไว้ตรงกลาง เขยี นประเด็นรอง
ลอ้ มรอบประเด็นหลัก ประเดน็ ยอ่ ยล้อมรอบของประเดน็ รองแยกออกมา
โดยการการโยงใยใหม้ ีเนอื้ หาเกย่ี วขอ้ งสัมพันธก์ นั

กอ่ นทีจ่ ะเขียนแผนภาพความคดิ ได้
ต้องใชก้ ารอ่านเพ่ือรวบรวมข้อมลู เปน็ ความคดิ ก่อน

การหาข้อคดิ จากเร่ืองท่ีอ่าน

การหาขอ้ คดิ จากเร่อื งทอี่ ่าน จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรอ่ื งทอ่ี ่านได้ลึกซ้ึง
และเข้าใจความคิดของผู้เขยี นทแี่ ฝงไว้ในเร่ือง เช่น

คตธิ รรม คาสอน มมุ มองต่าง ๆ

ผู้อา่ นตอ้ งอา่ นเรอ่ื งอย่างพนิ จิ พจิ ารณา
ต้องเขา้ ใจความหมายของคา ประโยค และสานวนภาษา
วิเคราะห์เหตกุ ารณ์ ข้อเทจ็ จริง ประเมนิ เหตกุ ารณ์


Click to View FlipBook Version