The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wanitcha Praew, 2021-04-08 22:40:24

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

แบบประเมนิ การตรวจใบงาน
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นที่……… ปกี ารศกึ ษา………

โรงเรียนเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย

คำช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนทำเครือ่ งหมำย / ลงในชอ่ งวำ่ งตำมคะแนนควำมเป็นจริงของนักเรยี น

ท่ี ช่ือ-สกุล ความถูก ้ตอง ผลการ
ความสะอาด ประเมิน
ความเป็นระเบียบ
ความรับ ิผดชอบ
รวม

๓๒ ๑ ๓ ๒๑๓ ๒๑๓๒๑ ผ่าน ไมผ่ ่าน



















๑๐

บันทกึ เพ่ิมเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...........................................ผู้ประเมนิ
(…………………………………………)

วนั ที่........เดือน.....................พ.ศ............

๒๔๓

เกณฑ์การใหค้ ะแนนใบงาน
เรื่อง เขียนเรอ่ื งเคร่อื งจักสาน

รายการประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑
๓๒ เขยี นคำศัพทผ์ ิด ๖ คำ

ควำมถกู ต้อง เขยี นคำศัพท์ถูกต้องตำม เขียนคำศัพทผ์ ิดชนิด ขึ้นไป
มีรอยลบ รอยขีดฆำ่ ๓
ชนิดทกุ คำ ๒-๕ คำ
จุดขึน้ ไป
ควำมสะอำด สะอำด ไมม่ ีรอยลบ รอย มรี อยลบ รอยขีดฆ่ำ ๑- เขียนตวั หนงั สอื ไมเ่ ป็น
ขีดฆำ่ ๒ จดุ ระเบียบ และไม่สวยงำม
สง่ งำนช้ำกว่ำท่ีกำหนด
เป็นระเบียบ เขียนตวั หนังสอื เปน็ เขียนตวั หนังสือเปน็
ระเบยี บ สวยงำม ระเบยี บ แต่ไม่สวยงำม มำก

ควำมรบั ผิดชอบ สง่ งำนทันเวลำทก่ี ำหนด ส่งงำนช้ำกวำ่ ทกี่ ำหนด
เล็กนอ้ ย

เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรตรวจผลงำน กำหนดไวด้ ังน้ี

๓ หมำยถึง ดมี ำก

๒ หมำยถงึ ดี

๑ หมำยถึง ปรบั ปรงุ

โดย คะแนน ๑๐-๑๒ คะแนน หมำยถงึ ดีมำก

คะแนน ๖-๙ คะแนน หมำยถงึ ดี

ต่ำกวำ่ ๕ คะแนน หมำยถงึ ปรบั ปรุง

๒๔๔

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน

ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี……… ปกี ารศึกษา………

โรงเรียนเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย

คาชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่ำงเรียนและนอกเวลำเรยี น แล้วขีด ⁄ ลงในชอ่ งทตี่ รง

กับคะแนน

พฤติกรรม สรปุ

ที่ ช่ือ - สกุล ความ ้ัตงใจในการเ ีรยน
(๓)

ความสนใจและการ
ัซกถาม (๓)

การตอบคาถาม (๓)
การทางานทันตามเวลา ่ีท

กาหนด (๓)
การมีส่วน ่รวมในกิจกรรม

(๓)

รวม (๑๕)
ผ่าน/ไ ่ม ่ผาน










๑๐

บนั ทกึ เพ่มิ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมนิ
(…………………………………………)

วนั ท่ี........เดอื น.....................พ.ศ............

๒๔๕

เกณฑก์ ารสงั เกตพฤตกิ รรมในชั้นเรยี น

รายการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ
๓๒๑

๑. ควำมตั้งใจในกำรเรยี น

๑.๑ มีสมำธจิ ดจ่อ ตั้งใจเรยี นตำม ต้งั ใจเรยี นตำม ต้ังใจเรยี นตำม

๑.๒ ไมค่ ยุ และเลน่ กัน เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ เกณฑ์ ๑ ข้อ

๑.๓ เตรยี มหนังสือและอุปกรณ์

๒. ควำมสนใจและกำรซักถำม

๒.๑ ถำมในหัวข้อทีไ่ มเ่ ข้ำใจ สนใจและซกั ถำม สนใจและซกั ถำม สนใจและซักถำม

๒.๑ บนั ทกึ คำถำมและคำตอบ ตำมเกณฑ์ ๓ ข้อ ตำมเกณฑ์ ๒ ขอ้ ตำมเกณฑ์ ๑ ข้อ

๒.๓ กล้ำแสดงออก

๓. กำรตอบคำถำม

๓.๑ ร่วมตอบคำถำมผู้สอน ตอบคำถำมตำม ตอบคำถำมตำม ตอบคำถำมตำม

๓.๒ ตอบตรงตำมประเด็น เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ เกณฑ์ ๑ ข้อ

๓.๓ ตอบอยำ่ งมัน่ ใจเสยี งดัง ฟงั ชดั

๔. กำรทำงำนทนั ตำมกำหนดเวลำ

๔.๑ ทำงำนเสร็จทันเวลำ ทำงำนตำมเกณฑ์ ทำงำนตำมเกณฑ์ ทำงำนตำมเกณฑ์

๔.๒ ทำงำนถูกต้องและชัดเจน ๓ ขอ้ ๒ ขอ้ ๑ ข้อ

๔.๓ ทำงำนเป็นระเบียบ เรยี บรอ้ ย

๕. กำรมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม มีส่วนร่วมใน มสี ่วนรว่ มใน มีส่วนร่วมใน
๕.๑ ให้ควำมร่วมมอื กิจกรรมตำมเกณฑ์ กจิ กรรมตำมเกณฑ์ กจิ กรรมตำมเกณฑ์
๕.๒ มคี วำมเสียสละ
๕.๓ มคี วำมกระตือรือร้น ๓ ขอ้ ๒ ข้อ ๑ ขอ้

เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเรยี นรขู้ องนักเรยี น กำหนดไวด้ ังนี้

๓ หมำยถงึ ดีมำก

๒ หมำยถึง ดี

๑ หมำยถึง ปรับปรุง

โดย คะแนน ๑๓ - ๑๕ คะแนน หมำยถึง ดีมำก

คะแนน ๑๐ - ๑๒ คะแนน หมำยถึง ดี

ตำ่ กวำ่ ๙ คะแนน หมำยถึง ปรับปรุง

๒๔๖

แบบประเมินคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นท่ี……… ปีการศกึ ษา………

โรงเรียนเทศบาลบา้ นส่องนางใย

ช่อื -สกลุ ……………………………………………………………………………….………….ห้อง…………………เลขท่ี……………….…

คาชแี้ จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวำ่ งเรยี นและนอกเวลำเรยี น แล้วขดี ⁄ ลงในช่องทต่ี รง

กับคะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อันพึงประสงค์ ๓๒๑

๑. มวี นิ ยั ๑.๑ ปฏบิ ตั ติ ำมข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ

ครอบครวั โรงเรียน และสังคม ไมล่ ะเมิดสิทธขิ องผู้อนื่

๑.๒ แต่งกำยเรียบร้อยเหมำะสมกับกำลเทศะ

๑.๓ ปฏิบัติตำมกฎระเบียบของห้อง

๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๒.๑ แสวงหำข้อมูลจำกแหลง่ เรยี นรู้ต่ำง ๆ
๒.๒ มีกำรจดบันทกึ ควำมร้อู ย่ำงเปน็ ระบบ
๒.๓ สรปุ ควำมรไู้ ด้อยำ่ งมเี หตุผล

๓. มงุ่ ม่นั ในการทางาน ๓.๑ มีควำมตงั้ ใจ และพยำยำมในกำรทำงำนที่ไดร้ ับมอบหมำย

๓.๒ มีควำมอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพ่อื ใหง้ ำนสำเรจ็

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน สรปุ ผลการประเมิน ผำ่ น
(...........................................) ระดับ ดเี ยย่ี ม ดี ผำ่ นเกณฑ์กำรประเมิน

วนั ท.ี่ .......เดือน.....................พ.ศ............ ไมผ่ ่ำนระดบั ปรบั ปรงุ

เกณฑก์ ารให้คะแนน ร้อยละ ๕๐ – ๖๖ ระดับคณุ ภำพ ดเี ยย่ี ม (๑)
รอ้ ยละ ๔๐ – ๔๙ ระดับคณุ ภำพ ดี (๒)
- พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ ๓ คะแนน รอ้ ยละ ๒๐ – ๓๙ ระดบั คุณภำพ พอใช้ (๓)

- พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน

- พฤติที่ปฏิบัติบำงคร้ัง ให้ ๑ คะแนน

๒๔๗

สรุปแบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สรุป
ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่……… ปกี ารศึกษา………

โรงเรยี นเทศบาลบา้ นส่องนางใย

รายงานสงั เกต

ที่ ช่ือ-สกุล มีวินัย รวม
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
ผ่าน
ไม่ผ่าน

๑๒๓๑๒๓ ๑๒๓









๑๐

บนั ทกึ เพมิ่ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ...........................................ผู้ประเมนิ
(...........................................)

วนั ท.่ี .......เดือน.....................พ.ศ............

๒๔๘

เกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

รายการประเมนิ ๓๒๑
มีวนิ ยั
- นกั เรียนปฏิบัตติ นตำม นกั เรียนปฏบิ ัติตนตำม นกั เรียนปฏิบตั ติ นตำม
ใฝเ่ รยี นรู้
มุ่งมนั่ ในการทางาน ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์

ระเบียบ ข้อบงั คบั ของ ระเบยี บ ข้อบังคบั ระเบียบ ข้อบังคับ ของ

โรงเรยี น และไมล่ ะเมิด ตรงตอ่ เวลำในกำรปฏิบัติ โรงเรยี น ตรงต่อเวลำใน

สทิ ธิของผู้อื่น กิจกรรมและรบั ผิดชอบ กำรปฏิบัติกจิ กรรม

- นกั เรียนตรงตอ่ เวลำ ในกำรทำงำน

ในกำรปฏบิ ัติกจิ กรรม

และรับผิดชอบ ในกำร

ทำงำน

นักเรยี นเขำเรียนตรง นักเรยี นเข้ำเรยี นตรง นกั เรียนเข้ำเรียนตรง

เวลำ ตัง้ ใจเรียน เอำใจ เวลำ ตง้ั ใจเรียน เอำใจ เวลำ ตั้งใจเรยี น เอำใจ

ใส่ใจกำรเรียน และมี ใส่ในกำรเรียนและมสี ่วน ใส่ในกำรเรียน และมี

ส่วนร่วมในกำรเรยี นรู้ รว่ ม ในกำรเรยี นรู้ และ ส่วนรว่ ม ในกำรเรียนรู้

และเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกำร เขำ้ ร่วมกิจกรรมกำร และเขำ้

เรียนรู้ตำ่ ง ๆ ท้งั ภำยใน เรยี นรู้ต่ำง ๆ บ่อยครง้ั ร่วมกจิ กรรมกำรเรยี นรู้

และภำยนอกโรงเรียน ต่ำง ๆ เปน็ บำงครง้ั

เปน็ ประจำ

นักเรียนตงั้ ใจและ นักเรียนตงั้ ใจและ นกั เรียนต้ังใจและ

รบั ผดิ ชอบในกำรปฏิบตั ิ รบั ผดิ ชอบในกำรปฏบิ ัติ รบั ผิดชอบในกำรปฏบิ ตั ิ

หนำ้ ท่ีทไี่ ด้รับมอบหมำย หนำ้ ท่ี ท่ไี ด้รับมอบหมำย หนำ้ ท่ี ทไี่ ด้รบั มอบหมำย

ให้สำเรจ็ มีกำรปรับปรุง ให้สำเร็จ มีกำรปรบั ปรงุ ให้สำเรจ็

และพฒั นำกำรทำงำน และพฒั นำกำรทำงำนให้

ใหด้ ีข้ึนภำยในเวลำท่ี ดีขน้ึ

กำหนด

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กำหนดไวด้ ังน้ี
๓ หมำยถงึ ดีมำก
๒ หมำยถงึ ดี
๑ หมำยถึง ปรับปรงุ

๒๔๙

แบบทดสอบหลังเรยี น

คาช้แี จง : ให้นกั เรียนจบั คู่คำโดยนำตวั อักษรในกรอบดำ้ นบน ไปเตมิ ในควำมหมำยต่อไปนใี้ ห้สัมพนั ธ์กนั

ก. ขวน ข. จอบ ค. ข้อง ง.หวด จ. หวิง

๑. ………. เครื่องมอื สำหรบั ขุดดนิ พรวนดนิ หรือถำกหญำ้ เปน็ ตน้ ทำด้วยเหล็กหนำ้ แบนกว้ำงมีด้ำมยำว
๒. ………. เคร่อื งมอื มคี มสำหรบั ตัด ฟันผ่ำ หรือถำกไม้ ทำด้วยเหล็กสันหนำ คมบำง มีด้ำมจบั ทำดว้ ยไม้
๓. ………. เคร่ืองจกั สำนทำด้วยไมไ้ ผส่ ำหรบั ใส่ปลำ
๔. ………. เครอื่ งชอ้ นปลำชนดิ หนง่ึ ถกั เป็นร่ำงแห
๕. ………. ภำชนะที่สำนดว้ ยไมไ้ ผ่สำหรบั นึง่ ข้ำวเหนยี ว

ชอื่ -สกลุ …………………………………………………………. ชั้น……… เลขท่ี………….

๒๕๐

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นจบั คู่คำโดยนำตัวอกั ษรในกรอบดำ้ นบน ไปเติมในควำมหมำยต่อไปนใ้ี ห้สมั พันธก์ ัน

ก. ขวน ข. จอบ ค. ข้อง ง.หวด จ. หวิง

๑. ข. เคร่ืองมือสำหรบั ขุดดิน พรวนดิน หรือถำกหญ้ำ เปน็ ตน้ ทำดว้ ยเหลก็ หน้ำแบนกวำ้ งมดี ้ำมยำว
๒. ก. เครอ่ื งมอื มีคมสำหรบั ตดั ฟนั ผำ่ หรอื ถำกไม้ ทำดว้ ยเหลก็ สันหนำ คมบำง มดี ำ้ มจบั ทำดว้ ยไม้
๓. ค. เคร่อื งจักสำนทำด้วยไม้ไผส่ ำหรบั ใสป่ ลำ
๔. จ. เครือ่ งชอ้ นปลำชนิดหนงึ่ ถกั เป็นร่ำงแห
๕. ง. ภำชนะที่สำนดว้ ยไม้ไผ่สำหรับนึ่งข้ำวเหนยี ว

๒๕๑

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๙

โดยบรู ณาการการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบประสบการณ์ (Experiential Learning)

กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ สานตอ่ งานจักสาน ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๓

เรื่อง วาทศิลปย์ นิ ยล เวลา ๑ ชว่ั โมง

สาระสำคญั

การพดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ คือ การพูดแสดงความรจู้ ากเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู โดยเนอ้ื หาที่จะพดู เป็น

เชิงสรา้ งสรรค์ มีเหตผุ ลยกตวั อยา่ งประกอบการพูดให้เห็นจริง หลีกเล่ียงการพูดในเรอื่ งท่ีเปน็ ความคดิ เหน็

สว่ นตวั ท้ังก่อนพดู จะต้องมีการเรยี บเรียงเน้อื หาให้กระชับ สละสลวย และยังคงความรู้อยา่ งครบถว้ น

มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้ีวัด

มาตรฐานการเรียนรู้

ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความร้สู กึ ใน

โอกาสต่าง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด

ป. ๖/๑ พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจจดุ ประสงค์ของเร่ืองที่ฟงั และดู

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เมอ่ื นกั เรยี นเรยี น เรอื่ ง การพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจจบแล้ว นักเรยี นสามารถ
๑. บอกหลกั การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจไดถ้ ูกต้อง (K)
๒. ปฏบิ ัตติ ามสิง่ ท่ดี ไู ด้ถูกต้อง (P)
๓. นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรียนรู้ (A)

สมรรถนะผู้เรยี น
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

๑. มีวนิ ยั หมายถงึ คุณลกั ษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์และระเบยี บข้อบงั คบั
ของครอบครวั โรงเรียน และสังคม

๒. ใฝ่เรยี นรู้ หมายถงึ คุณลักษณะทแ่ี สดงออกถงึ ความต้งั ใจ เพยี รพยายามในการเรียนแสวงหาความรู้
จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

๓. ม่งุ มั่นในการทางาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตงั้ ใจ และรบั ผดิ ชอบในการทาหน้าท่ี
การงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพอื่ ใหงานสาเร็จตามเป้าหมาย

๒๕๒

สาระการเรียนร้/ู เนื้อหา
๑. หลักการพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ
๒. การสานปลาตะเพยี น

ผลงาน/การปฏบิ ัติ
๑. ใบงาน เรื่อง ดูใหด้ แี ล้วจะมคี าตอบ
๒. การสานปลาตะเพียน
๓. แบบทดสอบหลงั เรยี น

กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชร้ ปู แบบประสบการณ์ (Experiential Learning)
ขน้ั ที่ ๑ ข้นั ประสบการณ์ (๑๐ นาท)ี
๑. ครูกลา่ วทกั ทายนักเรยี นและพูดคยุ เพ่ือสรา้ งบรรยากาศทีเ่ ป็นกนั เอง เช่น
- พรอ้ มทจ่ี ะเรยี นกันหรอื ยงั
- ชว่ งนีเ้ ป็นอยา่ งไรบา้ ง
- วันน้ีมนี กั เรยี นคนใดไมม่ าบา้ ง
๒. ครทู วนกตกิ าอกี ครง้ั ก่อนทร่ี ่วมกบั นกั เรยี นก่อนท่จี ะเรม่ิ เรียนดังนี้
- ในขณะทค่ี รูสอนนักเรียนทุกคนต้องตงั้ ใจฟงั ไม่คุยกันเสียงดัง
- หากนกั เรยี นมคี ำถามให้ยกมือข้นึ และรอใหค้ รูอนุญาตใหถ้ ามก่อน จึงจะสามารถถามคำถาม

ได้
- ในระหวา่ งเรียนถา้ นักเรียนอยากเข้าห้องน้ำ หรือออกไปทำธรุ ะขา้ งนอก ควรยกมือแล้วขอ

อนุญาตครูผสู้ อนก่อน
- หากครูพาทำกจิ กรรมใด นักเรยี นจะตอ้ งมีส่วนร่วมทกุ คร้ัง

๓. ครูตงั้ คำว่า “ใครจำได้บา้ งวา่ ครงั้ ทีแ่ ลว้ เรยี นเก่ียวกับอะไร”
- ครใู ห้โอกาสนักเรียนตอบประมาณ ๒-๓ คน นักเรียนที่ยกมือตอบจะไดร้ บั สติกเกอร์ไปคนละ

๑ ดวง
- ครอู ธิบายเพม่ิ เตมิ จากสงิ่ ท่นี กั เรยี นตอบ

๔. กอ่ นที่จะเข้าส่บู ทเรียน ครเู ปิดภาพเครื่องสานชนิดต่าง ๆ ให้นกั เรยี นดู และให้นักเรียนตอบวา่
เครื่องจักสานทค่ี รูให้ดูนน้ั เรยี กว่าอะไร และมวี ธิ ีใช้อยา่ งไร

๒๕๓

ขน้ั ท่ี ๒ ขั้นนำเสนอและแลกเปลยี่ นประสบการณ์ (๓๐ นาที)
๑. ครูเริม่ บรรยายเก่ียวกับหลักการพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจ พรอ้ มPower Point และต้งั

คำถามว่า “หากนักเรยี นเคยฟงั เร่อื งราวจากผพู้ ดู คนหน่ึง และมาทราบในภายหลังว่าส่ิงท่ีผพู้ ูดพูดนน้ั ไม่เป็น
ความจริง นกั เรียนจะรสู้ ึกอย่างไร”

๒. ให้นักเรียนจับกลมุ่ ๒-๓ คนแลกเปล่ียนความคดิ เห็น และส่งตวั แทนออกมานำเสนอหนา้ ชั้น
เรียน

๓. เมอื่ นำเสนอครบแลว้ ครูสรุปความคดิ รวบยอดอีกครั้ง และกลา่ วถงึ ความสำคัญของการพดู
๔. ครแู จกใบงาน เร่ือง ดูให้ดแี ลว้ จะมีคำตอบ โดยเปดิ วิดโี อชื่อ “ศิลป์ไทยเท่ ตอนที่390 เครื่องจกั
สาน ให้นกั เรยี นดูก่อน”

(ท่มี า : https://www.youtube.com/watch?v=bgt5j-6OQrk&t=46s)
๕. ระหวา่ งนกั เรยี นทำใบงาน ครูเดินสังเกตการณ์ทำงานของนักเรียนและคอยให้คำช้ีแนะ
๖. หลงั จากทำใบงานเสร็จแลว้ ครเู ปดิ วดิ โี อชือ่ “วธิ ีสานปลาตะเพียนจากใบมะพร้าวแบบง่ายๆ
(ฉบับปรบั ปรุง) l แมเ่ นย น้องพอสDIY”

(ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v=jiixA9QyFrg&t=96s)
- ครใู ห้นกั เรียนจบั กลุ่ม ๕-๗ คน หรือตามความเหมาะสม จากน้ันแจกอปุ กรณ์การสานปลา
ตะเพียนใหแ้ ต่ละกลมุ่ โดย ๑ กลมุ่ จะต้องสานปลาตะเพยี นให้ได้ ๑-๒ ตวั
- ก่อนลงมอื ปฏิบตั คิ รสู าธติ ให้ดูก่อน
- จากนน้ั จึงใหน้ ักเรียนได้เรมิ่ ปฏิบัติ โดยครูเปิดวิดโี อการสานปลาตะเพียนควบคู่ไปดู
- ปลาตะเพยี นของแต่ละกลมุ่ เม่ือสานเสรจ็ แลว้ สามารถตกแตง่ ได้ตามจินตนาการ
๗. เมอ่ื ทกุ กลุ่มทำเสรจ็ แล้วครใู หอ้ อกมานำเสนอถึงความพเิ ศษของปลาตะเพยี นที่ได้จัดทำขึน้
๘. เมื่อนำเสนอครบแล้วครูให้นกั เรียนยกมือเลือกปลาตะเพยี นทช่ี อบท่สี ุด (ห้ามเลอื กกลุ่มตนเอง)
๙. กลุม่ ท่ชี นะจะได้สติกเกอรค์ นละ ๒ ดวงเป็นรางวลั
ขน้ั ท่ี ๓ ขั้นอภปิ รายผล (๑๐ นาท)ี
๑. ครูให้รว่ มกนั อภปิ รายส่ิงทไี่ ดเ้ รยี นในวันน้ี

๒๕๔

๒. ครคู อยเสริมสิ่งท่นี ักเรียนอภิปราย
ขั้นท่ี ๔ ขน้ั สรุป (๑๐ นาที)

๑. ครูแจกแบบทดสอบหลังเรยี น แบบถกู -ผิด จานวน ๕ ข้อ ๑๐ คะแนน
๒. เมอื่ หมดเวลาทาแบบทดสอบ ครเู ก็บแบบทดสอบแล้วกล่าวกับนกั เรียนก่อนจะหมดเวลา

- กลา่ วช่นื ชมและขอบคุณท่ีนักเรยี นใหค้ วามรว่ มมอื ในการเรยี นเปน็ อยา่ งดี
- หากนกั เรยี นตงั้ ใจเรยี นแบบน้ีอีก ครัง้ หนา้ ครูจะหากิจกรรมสนกุ ๆ มาใหท้ าอีก
สอื่ /นวัตกรรม/แหล่งการเรยี นรู้
ส่อื และนวัตกรรม
๑. Power Point เร่ือง การพดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ
๒. ใบงาน เรื่อง ดใู หด้ แี ล้วจะมีคาตอบ
แหล่งการเรยี นรู้
๑. ครู
๒. อินเทอรเ์ น็ต

๒๕๕

การวัดและการประเมินผล วิธีการวัดและ เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การ
ส่งิ ทตี่ ้องการวัด ประเมินผล ประเมนิ
การทาแบบทดสอบหลงั แบบทดสอบแบบถูก-ผิด ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
นักเรยี นสามารถบอก เรียน จำนวน ๕ ขอ้ ๑๐ คะแนน ๘๐ ขึน้ ไป
หลักการพูดแสดงความรู้
ความเข้าใจ การทาใบงาน เรอื่ ง ดใู ห้ แบบประเมนิ การตรวจใบ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ
นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิ ดีแลว้ จะมคี าตอบ งานชนิด Scoring Rubrics ๘๐ ข้ึนไป
ตามสิง่ ทีด่ ูได้ถูกตอ้ ง รายการประเมิน ๔ รายการ
การสงั เกตพฤติกรรมใน ๓ ระดับคุณภาพ ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ
นกั เรียนมีสว่ นร่วมใน ช้ันเรียน แบบสงั เกตพฤติกรรม ๘๐ ข้นึ ไป
กจิ กรรมการเรยี นรู้ นักเรียนชนิดScoring
การสงั เกตพฤติกรรมใน Rubrics รายการประเมนิ ๕ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ชน้ั เรียน รายการ ๓ ระดบั คุณภาพ ๘๐ ขึ้นไป
แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั
พงึ ประสงค์ ๓ คณุ ลกั ษณะ ๓
ระดับคุณภาพ

๒๕๖

บนั ทกึ เพิ่มเติมสำหรบั ผู้บริหาร/ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชือ่ .........................................................ผปู้ ระเมิน
(.....................................................................)
ตำแหนง่ ...........................................................
วันท.ี่ .........เดอื น............................พ.ศ. ..........

บันทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้
ผลการจดั การเรยี นรู้................................................................................................................................

............................................................................................................ ..................................................................
............................................................................................................................. .................................................

สภาพปัญหา.................................................................................................................................. ..........
........................................................................................................................ ......................................................
............................................................................................................................. .................................................

แนวทางการแก้ไขปัญหา.........................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ผลการแกไ้ ขปัญหา..................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ...........................................................ผู้บนั ทกึ
(.....................................................................)
ตำแหนง่ ...........................................................
วนั ท่.ี .........เดือน............................พ.ศ. ..........

๒๕๗

ใบงาน
เรื่อง ดใู หด้ แี ลว้ จะมคี าตอบ

คาชแ้ี จง : ให้นกั เรยี นดูวดิ ีโอ“ศลิ ปไ์ ทยเท่ ตอนท่ี390 เคร่ืองจกั สาน ให้นักเรียนดกู ่อน” แล้วตอบคำถามลงใน
ช่องว่างใหถ้ ูกตอ้ ง
๑. วัสดุท่ถี กู กล่าวถึงเปน็ อย่างแรกในวดิ โี อคือวสั ดใุ ด

ตอบ ..............................
๒. สถานท่ีในวดิ ีโอคอื สถานท่ีใด

ตอบ ..............................
๓. ปัจจบุ ันวสั ดุมกี ารเปล่ยี นแปลงไปเปน็ วสั ดุชนิดใด

ตอบ ..............................
๔. การสานเครือ่ งจกั สานมีลกั ษณะคล้ายกบั ส่ิงใด

ตอบ ..............................
๕. “เคร่อื งจกั สานตา่ งแสดงออกถึงภูมปิ ัญญาของคนในท้องถิน่ ” ใช่หรือไม่

ตอบ ..............................

ช่ือ-สกุล…………………………………………………………. ชั้น……… เลขที่………….

๒๕๘

เฉลยใบงาน
เร่อื ง ดใู หด้ แี ลว้ จะมีคาตอบ

คาช้แี จง : ใหน้ ักเรียนดวู ิดีโอ“ศลิ ปไ์ ทยเท่ ตอนท่ี390 เคร่ืองจักสาน ใหน้ ักเรยี นดกู ่อน” แล้วตอบคำถามลงใน
ชอ่ งว่างใหถ้ ูกตอ้ ง
๑. วสั ดทุ ่ถี ูกกลา่ วถึงเป็นอยา่ งแรกในวิดีโอคือวสั ดใุ ด

ตอบ ไม้ไผ่
๒. สถานท่ีในวิดโี อคือสถานท่ีใด

ตอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี
๓. ปจั จบุ ันวสั ดุมีการเปล่ียนแปลงไปเปน็ วสั ดุชนิดใด

ตอบ พลาสตกิ
๔. การสานเครอ่ื งจักสานมลี ักษณะคลา้ ยกับส่ิงใด

ตอบ การทอผา้
๕. “เครื่องจกั สานตา่ งแสดงออกถึงภูมิปัญญาของคนในท้องถ่นิ ” ใชห่ รอื ไม่

ตอบ ใช่

๒๕๙

สือ่ Power Point เรอื่ ง การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ
๒๖๐

สือ่ Power Point เร่ือง การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ (ตอ่ )
๒๖๑

สือ่ Power Point เร่ือง การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ (ตอ่ )
๒๖๒

ส่ือวิดโี อ “ศิลปไ์ ทยเท่ ตอนท่ี390 เครื่องจักสาน”

(ทมี่ า : https://www.youtube.com/watch?v=bgt5j-6OQrk&t=23s)
ส่อื วดิ โิ อ “วธิ สี านปลาตะเพียนจากใบมะพร้าวแบบงา่ ยๆ(ฉบับปรับปรุง) l แม่เนย นอ้ งพอสDIY”

(ทมี่ า : https://www.youtube.com/watch?v=jiixA9QyFrg&t=96s)
๒๖๓

แบบประเมนิ การตรวจใบงาน
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรียนที่……… ปกี ารศึกษา………

โรงเรียนเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย

คาช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนทาเครื่องหมาย / ลงในชอ่ งวา่ งตามคะแนนความเป็นจริงของนักเรียน

ท่ี ช่ือ-สกุล ความถูก ้ตอง ผลการ
ความสะอาด ประเมิน
ความเป็นระเบียบ
ความรับ ิผดชอบ
รวม

๓๒ ๑ ๓ ๒๑๓ ๒๑๓๒๑ ผ่าน ไม่ผา่ น



















๑๐

บนั ทกึ เพ่ิมเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
(…………………………………………)

วนั ที่........เดือน.....................พ.ศ............

๒๖๔

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน
เรื่อง เขยี นเรอื่ งเคร่ืองจกั สาน

รายการประเมิน เกณฑก์ ารให้คะแนน
๓๒๑

ความถกู ต้อง เขยี นคาศัพท์ถูกต้องตาม เขยี นคาศัพทผ์ ิดชนดิ เขียนคาศัพทผ์ ิด ๖ คา

ชนิดทกุ คา ๒-๕ คา ขน้ึ ไป

ความสะอาด สะอาด ไม่มรี อยลบ รอย มีรอยลบ รอยขีดฆา่ ๑-๒ มีรอยลบ รอยขีดฆ่า ๓

ขีดฆ่า จดุ จุดข้นึ ไป

เปน็ ระเบยี บ เขยี นตัวหนงั สอื เป็น เขยี นตวั หนงั สอื เปน็ เขยี นตัวหนงั สอื ไมเ่ ปน็
ระเบยี บ สวยงาม ระเบียบ แตไ่ มส่ วยงาม ระเบียบ และไมส่ วยงาม

ความรับผิดชอบ ส่งงานทนั เวลาทกี่ าหนด ส่งงานช้ากวา่ ทกี่ าหนด สง่ งานช้ากวา่ ทก่ี าหนด

เลก็ นอ้ ย มาก

เกณฑ์การให้คะแนนการตรวจผลงาน กาหนดไวด้ ังนี้

๓ หมายถงึ ดมี าก

๒ หมายถึง ดี

๑ หมายถึง ปรับปรงุ

โดย คะแนน ๑๐-๑๒ คะแนน หมายถงึ ดีมาก

คะแนน ๖-๙ คะแนน หมายถงึ ดี

ต่ากวา่ ๕ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

๒๖๕

แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี น

ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี……… ปีการศึกษา………

โรงเรียนเทศบาลบา้ นส่องนางใย

คาชีแ้ จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ⁄ ลงในชอ่ งท่ีตรง

กับคะแนน

พฤติกรรม สรุป

ที่ ชือ่ - สกลุ ความ ้ัตงใจในการเ ีรยน (๓)
ความสนใจและการ ัซกถาม

(๓)
การตอบคาถาม (๓)
การทางานทันตามเวลา ่ีท

กาหนด (๓)
การมีส่วน ่รวมในกิจกรรม (๓)

รวม (๑๕)
ผ่าน/ไ ่มผ่าน










๑๐

บันทกึ เพ่มิ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ...........................................ผู้ประเมนิ
(…………………………………………)

วันที่........เดอื น.....................พ.ศ............

๒๖๖

เกณฑ์การสังเกตพฤติกรรมในชนั้ เรียน

รายการประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน
๓๒๑

๑. ความต้งั ใจในการเรียน

๑.๑ มีสมาธิจดจ่อ ตง้ั ใจเรียนตาม ตัง้ ใจเรียนตาม ตง้ั ใจเรยี นตาม

๑.๒ ไม่คยุ และเลน่ กัน เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ เกณฑ์ ๑ ข้อ

๑.๓ เตรียมหนงั สือและอุปกรณ์

๒. ความสนใจและการซักถาม

๒.๑ ถามในหัวขอ้ ท่ีไมเ่ ขา้ ใจ สนใจและซกั ถาม สนใจและซกั ถาม สนใจและซกั ถาม

๒.๑ บันทกึ คาถามและคาตอบ ตามเกณฑ์ ๓ ข้อ ตามเกณฑ์ ๒ ข้อ ตามเกณฑ์ ๑ ขอ้

๒.๓ กล้าแสดงออก

๓. การตอบคาถาม

๓.๑ ร่วมตอบคาถามผูส้ อน ตอบคาถามตาม ตอบคาถามตาม ตอบคาถามตาม

๓.๒ ตอบตรงตามประเด็น เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ เกณฑ์ ๑ ข้อ

๓.๓ ตอบอย่างม่นั ใจเสยี งดัง ฟังชดั

๔. การทางานทันตามกาหนดเวลา

๔.๑ ทางานเสรจ็ ทนั เวลา ทางานตามเกณฑ์ ทางานตามเกณฑ์ ทางานตามเกณฑ์

๔.๒ ทางานถูกตอ้ งและชดั เจน ๓ ข้อ ๒ ขอ้ ๑ ข้อ

๔.๓ ทางานเป็นระเบียบ เรียบร้อย

๕. การมสี ่วนร่วมในกิจกรรม มสี ่วนร่วมใน มสี ว่ นร่วมใน มสี ่วนร่วมใน
๕.๑ ให้ความรว่ มมือ กิจกรรมตามเกณฑ์ กจิ กรรมตามเกณฑ์ กิจกรรมตามเกณฑ์
๕.๒ มคี วามเสยี สละ ๓ ข้อ ๒ ขอ้ ๑ ขอ้
๕.๓ มคี วามกระตอื รือรน้

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน กาหนดไวด้ ังน้ี

๓ หมายถงึ ดีมาก

๒ หมายถงึ ดี

๑ หมายถงึ ปรับปรุง

โดย คะแนน ๑๓ - ๑๕ คะแนน หมายถงึ ดีมาก

คะแนน ๑๐ - ๑๒ คะแนน หมายถึง ดี

ตา่ กว่า ๙ คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ

๒๖๗

แบบประเมนิ คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นท่ี……… ปีการศกึ ษา………

โรงเรยี นเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย

ช่ือ-สกลุ ………………………………………………………………………………….ห้อง…………………………เลขที่……………….…

คาชี้แจง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ⁄ ลงในช่องท่ีตรง

กับคะแนน

คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงค์ ๓๒๑

๑. มวี ินัย ๑.๑ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ

ครอบครวั โรงเรยี น และสงั คม ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อ่ืน

๑.๒ แตง่ กายเรยี บร้อยเหมาะสมกบั กาลเทศะ

๑.๓ ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บของห้อง

๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๒.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ
๒.๒ มกี ารจดบนั ทึกความร้อู ย่างเป็นระบบ
๒.๓ สรปุ ความร้ไู ดอ้ ยา่ งมีเหตุผล

๓. มงุ่ มั่นในการทางาน ๓.๑ มคี วามตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย

๓.๒ มีความอดทนและไม่ท้อแท้ตอ่ อุปสรรคเพือ่ ใหง้ านสาเร็จ

ลงชือ่ ...........................................ผู้ประเมิน สรุปผลการประเมนิ ผ่าน
(...........................................) ระดบั ดีเยย่ี ม ดี ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

วันท่ี........เดือน.....................พ.ศ............ ไม่ผ่านระดบั ปรบั ปรุง

เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละ ๕๐ – ๖๖ ระดับคณุ ภาพ ดเี ยี่ยม (๑)
รอ้ ยละ ๔๐ – ๔๙ ระดบั คุณภาพ ดี (๒)
- พฤติกรรมทปี่ ฏิบตั ิชดั เจนและสมา่ เสมอ ให้ ๓ คะแนน ร้อยละ ๒๐ – ๓๙ ระดับคณุ ภาพ พอใช้ (๓)

- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิชดั เจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน

- พฤตทิ ป่ี ฏิบัติบางครงั้ ให้ ๑ คะแนน

๒๖๘

สรุปแบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สรุป
ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่……… ปกี ารศกึ ษา………

โรงเรยี นเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย

รายงานสังเกต

ที่ ช่ือ-สกุล ีม ิวนัย รวม
ใ ่ฝเรียนรู้
ุ่มง ่ัมนในการทำงาน
ผ่าน
ไ ่ม ่ผาน

๑๒ ๓๑๒๓ ๑ ๒ ๓









๑๐

บนั ทกึ เพมิ่ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ...........................................ผู้ประเมิน
(...........................................)

วันท.ี่ .......เดอื น.....................พ.ศ............

๒๖๙

เกณฑ์การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

รายการประเมนิ ๓๒๑
มีวนิ ยั
- นกั เรยี นปฏบิ ตั ิตนตาม นกั เรียนปฏบิ ตั ติ นตาม นักเรยี นปฏบิ ตั ติ นตาม
ใฝเ่ รยี นรู้
มุ่งมนั่ ในการทางาน ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์

ระเบียบ ข้อบงั คบั ของ ระเบยี บ ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อบังคบั ของ

โรงเรยี น และไม่ละเมดิ ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัติ โรงเรยี น ตรงต่อเวลาใน

สทิ ธิของผอู้ นื่ กิจกรรมและรับผิดชอบ การปฏิบตั ิกจิ กรรม

- นกั เรยี นตรงตอ่ เวลา ในการทางาน

ในการปฏิบัติกจิ กรรม

และรับผดิ ชอบ ในการ

ทางาน

นักเรยี นเขา้ เรียนตรง นักเรยี นเข้าเรยี นตรง นกั เรยี นเข้าเรยี นตรง

เวลา ตัง้ ใจเรยี น เอาใจ เวลา ตง้ั ใจเรียน เอาใจ เวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ

ใส่ในการเรยี น และมี ใส่ในการเรยี นและมีส่วน ใส่ในการเรียน และมี

ส่วนรว่ มในการเรียนรู้ ร่วม ในการเรยี นรู้ และ ส่วนร่วม ในการเรียนรู้

และเขา้ ร่วมกิจกรรมการ เขา้ รว่ มกิจกรรมการ และเขา้ รว่ มกจิ กรรมการ

เรียนรู้ตา่ ง ๆ ทง้ั ภายใน เรียนรู้ตา่ ง ๆ บ่อยครงั้ เรียนรู้ต่าง ๆ เป็น

และภายนอกโรงเรียน บางครัง้

เปน็ ประจา

นักเรียนตงั้ ใจและ นักเรียนตั้งใจและ นกั เรียนตง้ั ใจและ

รบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิ รบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิ รับผดิ ชอบในการปฏบิ ัติ

หนา้ ที่ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย หนา้ ท่ี ทไี่ ด้รับมอบหมาย หนา้ ที่ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

ให้สาเรจ็ มกี ารปรับปรงุ ให้สาเรจ็ มกี ารปรับปรุง ใหส้ าเรจ็

และพัฒนาการทางาน และพัฒนาการทางานให้

ให้ดีข้ึนภายในเวลาที่ ดขี ึ้น

กาหนด

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ กาหนดไว้ดังน้ี
๓ หมายถงึ ดีมาก
๒ หมายถงึ ดี
๑ หมายถึง ปรับปรงุ

๒๗๐

แบบทดสอบหลังเรยี น
เรอื่ ง การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ

คาชี้แจง : ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ความทเี่ ป็นจรงิ และทาเคร่ืองหมาย × หน้าข้อความที่เป็น

เท็จ จานวน ๕ ข้อ ๑๐ คะแนน

๑. …………… ฟังหรือดูเร่ืองนนั้ ๆ โดยตลอดต้งั แต่ตน้ จนจบ
๒. …………… พูดไปโดยไม่ไดฝ้ ึกษามาก่อน หรือไม่ไดม้ ีความร้ใู นเรื่องนั้น ๆ
๓. …………… ถา้ เปน็ การฟัง ดกู ารบรรยายหรือการอภปิ ราย ควรจดสาระสาคัญไวเ้ พ่ือกันลมื
๔. …………… กอ่ นพดู ควรคิดกอ่ นเสมอ ระมดั ระวงั คาพดู ท่จี ะทาใหค้ นอ่ืนไมพ่ อใจ อย่าพดู พล่อย ๆ
โดยไม่มีหลกั ฐาน
๕. …………… ใชค้ าพดู ไม่สภุ าพ พูดจาหยาบคาย

ช่อื -สกลุ …………………………………………………………. ชั้น……… เลขที่………….

๒๗๑

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เร่ือง การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ

คาชแ้ี จง : ให้นกั เรียนทาเครื่องหมาย ✓ หน้าขอ้ ความทีเ่ ปน็ จรงิ และทาเครอ่ื งหมาย × หนา้ ข้อความท่ีเปน็

เท็จ จานวน ๕ ขอ้ ๑๐ คะแนน
๑. ✓ ฟงั หรอื ดเู รื่องนั้น ๆ โดยตลอดตั้งแต่ตน้ จนจบ

๒. × พดู ไปโดยไมไ่ ดฝ้ กึ ษามาก่อน หรือไม่ไดม้ ีความรใู้ นเรื่องนัน้ ๆ

๓. ✓ ถ้าเปน็ การฟัง ดกู ารบรรยายหรือการอภิปราย ควรจดสาระสาคัญไวเ้ พื่อกันลมื
๔. ✓ ก่อนพดู ควรคิดก่อนเสมอ ระมดั ระวงั คาพูดท่ีจะทาใหค้ นอ่ืนไม่พอใจ อยา่ พดู พลอ่ ย ๆ

โดยไม่มีหลกั ฐาน

๕. × ใช้คาพูดไมส่ ภุ าพ พดู จาหยาบคาย

๒๗๒

แผนภาพความคิด หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๕ เลา่ ขานวรรณกรรมท้องถ่นิ

อ่านจับใจความสาคญั จาก
นิทานพืน้ บา้ น

การอา่ น

เลา่ ขานวรรณกรรมท้องถ่นิ

วรรณคดี
และวรรณกรรม

อธบิ ายคณุ คา่ ของนิทาน เล่านทิ านพน้ื บ้านในท้องถ่นิ
พน้ื บ้าน
๒๗๓

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑๐

โดยบูรณาการการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบใชส้ มองเป็นฐาน (BBL)

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๕ เลา่ ขานวรรณกรรมท้องถ่นิ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๓

เรื่อง สืบสานนทิ านพ้ืนบา้ นภาคอีสาน เวลา ๑ ชวั่ โมง

สาระสาคญั
นิทานพื้นบ้าน เป็นนิทานประเภทหนึ่ง เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาซึ่งอาจไม่มีบันทึกเป็นหลักฐาน

เนื่องจากสมัยโบราณไม่มีความบันเทิงในรูปแบบอ่ืน ใช้การเล่าเรื่องสู่กันฟังซึ่งมักเป็นเรื่องราวจากจินตนาการ
แสดงความเชื่อของชาวบ้าน นิทานพื้นบ้านมักได้รับการบันทึกหรือตีพิมพ์ภายหลังและมักหาต้นกาเนิดไม่ได้
และมกี ารแต่งแต้มเร่ืองราวเพม่ิ เตมิ ตามจนิ ตนาการของผเู้ ลา่

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คุณคา่

และนามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จริง
ตวั ชว้ี ัด
ป.๖/๓ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จรงิ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เมอ่ื นักเรยี นเรียนเรอื่ ง สืบสานนทิ านพนื้ บา้ นไทยแล้ว นกั เรยี นสามารถ
๑. บอกความหมายของนทิ านพน้ื บา้ นได้ถูกต้อง (K)
๒. อธิบายคุณคา่ จากการอา่ นนทิ านพื้นบา้ นได้ (P)
๓. มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรียนรู้ (A)

สมรรถนะผู้เรียน
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ นักเรยี นยดึ ม่นั ในความถูกต้อง ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ตอ่
๑. ซ่อื สัตย์ สจุ รติ ตนเองและผู้อ่นื ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ
นกั เรยี นมคี วามตรงตอ่ เวลา รู้จักกาลเทศะ
๒. มีวนิ ยั

๒๗๔

๓. ใฝ่เรยี นรู้ นักเรียนตั้งใจเพียรพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้

๔. มงุ่ มัน่ ในการทางาน นกั เรยี นตง้ั ใจเรยี นและรบั ผิดชอบงานท่ตี นเองได้รบั มอบหมาย

๕. รักความเปน็ ไทย นักเรียนเหน็ คุณคา่ ของภาษาไทยและสามารถใชภ้ าษาไทยไดอ้ ย่างถูกต้อง

สาระการเรยี นรู้/เน้อื หา
นทิ านพนื้ บา้ น

ผลงาน/การปฏบิ ัติ
แผนผังความคดิ เรื่อง รคู้ ุณค่านิทานพื้นบา้ นภาคอีสาน

กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการการจดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบใชส้ มองเป็นฐาน (BBL)
ขน้ั นาเข้าสู่บทเรยี น (๕ นาที)
๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียนด้วยใบหน้าท่ียิ้มแย้มแจ่มใส เพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้

ท่ีดี จากน้ันครูตรวจสอบรายช่ือนักเรียนท่ีมาเข้าเรียน หากมีนักเรียนที่ไม่มาเรียน ครูควรสอบถามถึงสาเหตุ
ทไ่ี ม่เขา้ เรียน แลว้ บนั ทกึ ลงในใบรายชือ่ นกั เรยี น

๒. ครผู ูส้ อนแจง้ ข้อตกลงในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพอื่ เปน็ การควบคุมช้นั เรียน ดังนี้
- ห้ามเลน่ โทรศัพทใ์ นขณะท่ีครดู าเนินการสอน ยกเว้นครอู นุญาตให้ใช้ในการสบื คน้ ข้อมูล
- หา้ มส่งเสียงดงั รบกวนผู้อ่นื ขณะเรยี น
- ใหค้ วามสนใจขณะที่ครกู าลังสอน โดยร่วมแสดงความคิดเห็นและตอบคาถาม
- หากนกั เรยี นมีข้อสงสัยให้ยกมือขึน้ รอครูอนญุ าตใหถ้ ามจงึ ลดมอื ลง แล้วเริม่ ถามข้อสงสยั

๓. ครูสอบถามนักเรียนว่า “รู้จักนิทานพ้ืนบ้านหรือไม่ รู้จักเร่ืองอะไรบ้าง เคยอ่านหรือเคยได้ยิน
มาจากท่ีไหน แล้วรู้หรือไม่ว่าคุณค่าท่ีได้รับจากนิทานพ้ืนบ้านน้ันมีอะไรบ้าง แล้วสามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวันได้อยา่ งไรบา้ ง” เพอ่ื เป็นการทบทวนความรู้เดมิ และเช่อื มโยงเขา้ สู่เน้ือหาทีจ่ ะเรียนในวนั นี้

ขนั้ นาเสนอความรู้ (๑๐ นาท)ี
๑. ครเู ลา่ นิทานพืน้ บ้านภาคอีสาน เร่ือง ท้าวปาหลด ใหน้ ักเรียนฟัง ซ่งึ มีเนอื้ หาดังน้ี
มีตายายคู่หนง่ึ ซึ่งยากจนอันไมม่ ีจะกนิ เช้าวนั หนึ่งสองตายายได้ออกไปหาปลาบางวนั ก็หา

ปลาไม่ได้เลยซักตัว รุ่งเช้าตายายไปหาไปหาอีกจนถึงเย็นก็ไม่ได้ปลาซักตัว พอกลับบ้านได้เจอกับปลาหลด
จงึ เกบ็ มาเล้ยี ง พอเล้ียงไปได้หนงึ่ สัปดาหป์ ลาหลดก็เติบใหญ่ อกี สามวนั ปลาหลดจงึ ตายลง ตายายจึงเสียใจมาก
จึงเอากระดูกปลาหลดเก็บไว้เพื่อทาคราดนา พอไปคราดข้าวในนา ข้าวในนาจึงงอกงาม ทาให้ตายายร่ารวย
เป็นมหาเศรษฐีในหมู่บ้านน้ัน และหลายปีต่อมากระดูกปลาหลดก็ยังเหลืออยู่จึงเอามาทาเป็นหวี เม่ือนาไปหวี
ผมตายาย ผมตายายก็ได้ดาสวยงาม เหมือนกับเป็นหนุ่มสาว มีเศรษฐีคู่หนึ่งอยู่คนละหมู่บ้านกันเกิดคิดอิจฉา
ตายายคู่นั้น จึงให้พวกบ่าวไพร่ไปขโมยคราดและหวี รุ่งเช้าเศรษฐีจึงหวีผมด้วยหวีปลาหลด พออีกวันหน่ึงผม

๒๗๕

ของเศรษฐีก็ร่วงหมดหัว เศรษฐีคู่น้ันเจ็บใจเร่ืองหวีจึงนาคราดท่ีขโมยตายายมา มาคราดนาของตัวเองบ้าง
ข้าวในนาก็เฉาตายหมด เพราะความอิจฉาจึงทาให้เศรษฐีคู่น้ันจนมาก ปีต่อมาเศรษฐีคู่น้ันจึงสานึกผิด
จงึ นาคราดและหวมี าคืนตายาย ตายายไม่ตดิ ใจเอาความเศรษฐีค่นู ัน้

๒. ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มตอบคาถามและแลกเปล่ียนเรียนรจู้ ากการฟังนทิ าน ในประเดน็ ดังต่อไปนี้
- แสดงความคดิ เห็นต่อการกระทาของเศรษฐแี ละตายาย
- นกั เรยี นฟังเรอ่ื งนแ้ี ล้วมคี วามรู้สึกอย่างไร
- นทิ านพนื้ บา้ น เรอ่ื ง ทา้ วปาหลด ให้ขอ้ คิดอะไรบา้ ง และสามารถนาไปปรับใช้ได้อย่างไร

ข้นั ฝกึ ทกั ษะ (๑๕ นาท)ี
๑. ครูให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๔-๕ คน แล้วให้นักเรียนศึกษานทิ านพนื้ บ้านภาคอีสานท่ีคุณครู

เตรยี มไวใ้ ห้ จากนนั้ ให้นักเรียนร่วมกนั สังเคราะหข์ ้อคดิ ที่ได้จากการอ่านนิทานพนื้ บา้ น
๒. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนแผนผังความคิดเกี่ยวกับนิทานพ้ืนบ้านที่ตนเองได้ศึกษา จากน้ันให้

แตล่ ะกล่มุ ได้ออกมานาเสนอผลงาน
ข้นั สรุปองค์ความรู้ (๑๐ นาท)ี
ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้เกย่ี วกับนทิ านพื้นบา้ น และคุณคา่ ของนิทานพ้ืนบา้ น

รวมทั้งเปดิ โอกาสให้นักเรยี นไดซ้ ักถามข้อสงสัย
ข้นั ประยุกตใ์ ช้ความรู้ (๑๐ นาที)
๑. ครูมอบหมายงานใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานเปน็ สมดุ เล่มเล็ก โดยจะเลือกนิทาน

พ้ืนบ้านภาคอีสานเรื่องใหมห่ รือจะใช้เรื่องที่กลมุ่ ตนเองได้ศึกษาคุณค่าในชวั่ โมงเรียนนก้ี ็ได้ เพอื่ นาไปใช้
ประกอบการเลา่ นิทานในช่วั โมงถัดไป

๒. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียนชนดิ ปรนยั แบบถูกผดิ จานวน ๕ ข้อ (๕ คะแนน)
๓. ครูนัดหมายการเรยี นในช่วั โมงถัดไป

ส่ือ/นวตั กรรม/แหล่งการเรียนรู้
สื่อและนวตั กรรม
ใบความรู้ นิทานพนื้ บา้ นภาคอสี าน
แหลง่ การเรยี นรู้
๑. ครู
๒. ห้องสมุด
๓. อนิ เทอร์เนต็

๒๗๖

การวดั และการประเมินผล

การวัด วิธีการวัด เครื่องมอื ท่ีใช้ เกณฑ์
การประเมิน
และประเมนิ ผล และประเมินผล แบบทดสอบหลงั เรียน ผ่านเกณฑ์
เร่ือง สบื สานนิทานพืน้ บ้าน รอ้ ยละ ๗๐ ขึ้นไป
บอกความหมายของ การทดสอบหลังเรยี น ภาคอสี านถูกผิด จานวน ๕
ขอ้ ผ่านเกณฑ์
นิทานพ้ืนบา้ นได้ เรือ่ ง สบื สานนทิ าน แบบประเมินผลงานกลุ่ม รอ้ ยละ ๗๐ ขึ้นไป
แผนผงั ความคิดนิทาน
ถูกต้อง พนื้ บ้านภาคอีสาน พ้นื บา้ น ชนดิ Scoring ผ่านเกณฑ์
Rubrics รอ้ ยละ ๗๐ ขึ้นไป
อธิบายคุณคา่ จากการ การประเมนิ ผลงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมผ้เู รียน ผ่านเกณฑ์
อา่ นนิทานพื้นบ้านได้ แผนผังความคิดนิทาน รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป
แบบประเมนิ สมรรถนะที่ ผา่ นเกณฑ์
พน้ื บา้ น สาคญั ของผู้เรยี น ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป
แบบประเมินคุณลักษณะท่ี
การมีส่วนร่วมใน การสังเกตพฤติกรรมใน พึงประสงค์
กจิ กรรมการเรียนรู้ ช้ันเรียนของนกั เรยี น

สมรรถนะท่ีสาคัญของ การประเมินสมรรถนะท่ี
ผูเ้ รยี น สาคญั ของผู้เรยี น
คณุ ลักษณะที่พึง การประเมินคุณลักษณะ
ประสงค์ ท่พี งึ ประสงค์

๒๗๗

บันทกึ เพิม่ เติมสาหรบั ผู้บริหาร/ผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
.............................................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .........................................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................................)
ตาแหนง่ ...........................................................
วันท.่ี .........เดือน............................พ.ศ. ..........

บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้
ผลการจดั การเรียนรู้................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

สภาพปญั หา.................................................................................................................... ........................
.......................................................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. .................................................

แนวทางการแกไ้ ขปัญหา.........................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ผลการแก้ไขปญั หา..................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ...........................................................ผู้บนั ทึก
(.....................................................................)
ตาแหน่ง...........................................................
วนั ท.ี่ .........เดือน............................พ.ศ. ..........

๒๗๘

นิทานพน้ื บ้าน

นิทานพ้ืนบ้าน หมายถึง เรื่องเล่าท่ีสืบต่อกันมา ดั้งเดิมนั้นถ่ายทอดกันด้วยมุขปาฐะ (การเล่าแบบปากต่อ
ปาก) เปน็ นิทานที่เลา่ สูก่ ันฟงั ในหมู่บา้ น ในท้องถ่ิน หรือในภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ซึ่งอาจมีท่ีมาหลายแหล่งคือ
เป็นนิทานพื้นบ้านท่ีมีถ่ินกาเนิดในประเทศไทยเอง เช่น สังข์ทอง ปลาบู่ทอง ไกรทอง โสนน้อยเรือนงาม ขุนช้าง
ขนุ แผน ศรีธนญชัย นางนาคพระโขนง เป็นต้น หรืออาจมีท่ีมาจากต่างประเทศ แต่คนไทยรับเข้ามาไว้ในวัฒนธรรม
ไทยอย่างกลมกลนื เชน่ มหากาพยร์ ามายณะ ของอินเดีย ได้กลายมาเป็นนิทานพนื้ บ้านไทยหลายเร่ือง เช่น พระลัก-
พระลาม ทางอสี าน พรหมจักร-หรมาน ทางภาคเหนอื เปน็ ต้น

ลักษณะของนทิ านพน้ื บ้าน
นิทานพื้นบ้านมีลักษณะเฉพาะที่เห็นเด่นชัด คือ เป็นเร่ืองเล่าท่ีมีการดาเนินเรื่องอย่างง่าย ๆ โครงเรื่อง
ไม่ซับซ้อน วิธีการท่ีเล่าก็เป็นไปอย่างง่าย ๆ ตรงไปตรงมา มักจะเร่ิมเรื่องโดยการกล่าวถึงตัวละครสาคัญของเร่ือง
แล้วดาเนินเร่ืองตามปฏิทิน ตัวละครเอกพบอุปสรรคปัญหา แล้วก็ฟันฝ่าอุปสรรคหรือแก้ปัญหาลุล่วงไปจนจบเรื่อง
ซ่ึงมักจะจบแบบมีความสุข หรือสุขนาฏกรรม ถ้าเป็นนิทานคติ ก็มักจะจบลงว่า “นิทานเร่ืองน้ีสอนให้รู้ว่า…..” ถ้า
เปน็ นิทานชาดกกจ็ ะบอกว่าตัวละครสาคัญของเรื่องในชาติต่อไป ไปเกิดเป็นใครบ้าง ถ้าเป็นนิทานปริศนาก็จะจบลง
ดว้ ยประโยคคาถาม

ความสาคัญของนทิ านพ้ืนบ้าน
๑. เป็นเครื่องช่วยให้มนุษย์เข้าใจสภาพของมนุษย์โดยท่ัวไปได้ดีย่ิงข้ึน เพราะในนิทานพื้นบ้านเป็นท่ี

ประมวลแหง่ ความร้สู กึ นึกคิด ความเชือ่ ความนิยม ความกลัว ความบนั เทงิ ใจ ระเบยี บแบบแผน และอนื่ ๆ
๒. เป็นเสมือนกรอบล้อมชีวิตให้อยู่ในขอบเขตท่ีมนุษย์ในสังคมนั้นๆนิยมว่าดีหรือถูกต้อง แม้กฎหมาย

บ้านเมืองก็ยังไมส่ ามารถบังคับจิตใจของมนษุ ย์ได้เท่า เพราะมนษุ ย์ได้ฟัง ได้ซึมซับสั่งสมการอบรมน้ัน ๆ ไว้ในวิถีชีวิต
ตง้ั แต่เดก็

๓. ทาใหม้ นุษย์รู้จักสภาพชีวติ ท้องถิ่นโดยพจิ ารณาตามหลักท่ีว่าคติชาวบ้านเป็นพ้ืนฐานชีวิตของคนชาติ
หนึง่ ๆ หรอื ชนกลุ่มน้นั ๆ

๔. เปน็ มรดกของชาติในฐานะเป็นวัฒนธรรมประจาชาติเป็นเรอ่ื งราวเก่ียวกับชีวิตมนุษย์แต่ละชาติแต่ละ
ภาษา มกี ารจดจาและถอื ปฏบิ ตั ิกนั ตอ่ ๆ มา

๕. เปน็ ทงั้ ศิลปแ์ ละศาสตร์ เปน็ ตน้ เค้าแห่งศาสตรต์ ่าง ๆ และช่วยให้การศึกษาในสาขาวิชาอ่ืนกว้างขวาง
ย่ิงขนึ้

๖. ทาให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน ช่วยให้คนแลเห็นสภาพของตนว่าคล้ายคลึงกับคนอ่ืน ๆ
ความคิดเช่นน้ีก่อให้เกดิ ความเปน็ กล่มุ ไมเ่ กิดการแบง่ แยก

๗. เปน็ เครอื่ งบันเทงิ ใจยามวา่ งของมนุษย์

ท่มี า https://www.baanjomyut.com/library_2/folk_tales/

ซน่ิ สองต่อน

นิทานพ้ืนบ้านภาคอีสาน ซ่ินสองต่อน นานมาแล้ว เม่ือปี 2514 มีคู่รักคู่หน่ึงทั้งสองรักกันมาก
ฝ่ายหญิงชื่อจาปา ฝ่ายชายชื่อบุญหลาย แต่พ่อแม่กีดกัน เพราะพ่อแม่เป็นศัตรูกันมานานหลายสิบปี เมื่อเป็น
เช่นนนั้ ทงั้ สองจงึ ตอ้ งแอบคบกนั แบบลับ ๆ ตลอดมา ส่วนจาปีพ่ีสาวของจาปาน้ันก็ได้แอบรักบุญหลายอยู่เช่นกัน
จนวันหนึ่งจาปีเห็นจาปาคุยอยู่กับบุญหลาย จาปีจึงไม่พอใจจึงนาความไปบอกพ่อแม่ พ่อแม่แค้นใจมาก จึงจับ
จาปาบวชชี

ครั้นเวลาผ่านไปหลายเดือน จาปาท่ีบวชชีอยู่ก็แอบหนีจากการเป็นชี จาปาได้หนีไปอีกหมู่บ้านหน่ึงกับ
บุญหลาย เม่ือจาปีทราบว่า จาปาหนีไปกับบุญหลาย จาปีก็ไปบอกพ่อแม่ของบุญหลาย เมื่อทราบดังน้ันฝ่ายแม่
ของบุญหลายก็ตรอมใจตาย ส่วนพ่อบุญหลายไม่เชื่อเลยจับจาปีขังไว้ที่บ้านของตน แล้วไปบอกพ่อแม่ของจาปา
วา่ ใหห้ าบญุ หลายใหเ้ จอ แลว้ จึงจะเอาจาปคี นื ให้

พ่อแม่ของจาปาจึงแสร้งมาพูดจาดี ๆ มาพร้อมกับข้าวห่อหนึ่งใส่ยาพิษมาให้พ่อของบุญหลายกิน
พอ่ บญุ หลายกก็ นิ แลว้ ตายไป พอ่ แม่จาปกี ็พาจาปีกลับบ้าน แตย่ งั ไมท่ ันถึงบ้าน โจรกม็ าปล้นกลางทางแล้วฆ่าทั้ง ๓
ท้ิงเสยี สว่ นจาปากบั บุญหลาย ครองรักกันไม่นานก็ตัง้ ครรภแ์ ลว้ แทง้ ลกู จาปาเลยเป็นบา้ สติไม่เต็ม วันหนึ่งเห็นมีด
ในครัว จงึ ถือมาฟนั หัวบญุ หลายตาย

นิทานเรือ่ งน้สี อนใหร้ ้วู ่า
๑. ก่อนจะทาอะไรกต็ ้องคิดหนา้ คิดหลังให้ดีเสยี ก่อน
๒. ความอาฆาตแค้นพยาบาท อิจฉาริษยา ก่อกรรมทาลายผู้อ่ืน ผู้ที่เป็นเช่นนี้อยู่เขาไม่ได้มีความสุขเลย เขาย่อม
ไดร้ ับแตค่ วามทุกข์และมีเวรภัยมากมายรออยู่เบื้องหนา้

ท่มี า https://sites.google.com/site/khorngannithansxnthrrm/home/reuxng-sing-sxng-tx-n

หัวล้านนอกครู

ทดิ ทอง และ ทิดถม เปน็ เพื่อนรักกัน ทัง้ สองได้บวชเรยี น ร่าเรยี นตารับตารามาดว้ ยกนั ถึงแมว้ า่ ฐานะของทั้งสอง
ต่างกัน แต่ทง้ั สองกไ็ ม่ไดร้ งั เกียจเดียดฉันท์กนั เลย เมอ่ื ทัง้ สกึ ออกมา กช็ ่วยเหลอื พอ่ แม่ทางานดว้ ยความขยนั ขันแข็ง
อยู่มาวันหนง่ึ มีพ่อคา้ เร่มาขายนา้ มันใส่ผมในหม่บู ้าน ทิดทองกับทิดถมซ่ึงไม่รู้เรอื่ งอะไร จึงไดซ้ ้อื นา้ มันใสผ่ มมาใชค้ น
ละขวด ต่อมาไม่นานผมของทง้ั สองกร็ ว่ งเร่ือยๆทกุ วนั นานวนั เข้าทัง้ สองก็กลายเปน็ คนหวั ล้าน

ทง้ั สองร้สู กึ เปน็ กังวลกินกไ็ มไ่ ดน้ อนก็ไมห่ ลบั และรสู้ ึกอบั อายจนไมอ่ ยากจะออกไปไหนเลย เมือ่ ชาวบ้านรูเ้ รอ่ื ง
ขา่ วกท็ าทมี าแกลง้ โดยแนะนากับทง้ั สองวา่ ถ้าเอาไอ้โน้น ไอ้น่มี าทา ผมกจ็ ะงอกมาดงั เดิม เช่น บอกใหเ้ อา หนวดเต่า
เขากระต่าย นา้ ลายยงุ หรือแมก้ ระท่งั ขไี้ ก่ มาทา ทัง้ สองก็หลงเช่อื กลายเป็นที่ ขาขนั ของชาวบ้านท้ังหมบู่ ้าน ทั้ง
สองอับอายเป็นอนั มาก จงึ ตดั สนิ ใจไปขอความชว่ ยเหลอื จากโยคีที่อยู่กลางป่า ดว้ ยความสงสารโยคจี งึ ใหก้ ารชว่ ยเหลือ
โดยให้ทงั้ สองไปดานา้ ในสระนา้ ขา้ งอาศรม 3 ครัง้ ผมกจ็ ะงอกออกมาทัว่ ทั้งหวั เหมือนดังเดิม

ทง้ั สองไม่รอช้า รีบทาตามคาแนะนาของทา่ นโยคี เมอื่ ลงดาครง้ั แรกแลว้ โผล่หัวข้ึนมาปรากฏวา่ ผมงอกขึน้ มานิด
หน่อย ครั้งที่ 2 ผมงอกมาพอประมาณและครัง้ ท่ี 3 ผมของทงั้ สองงอกเต็มหัวเปน็ ปกติ แต่เนื่องจากท้ังสองมแี ผลเปน็
กลางหวั ต้งั แตเ่ ด็ก ๆ ผมจึงขน้ึ ตรงแผลเปน็ ไมไ่ ด้ แทนทจ่ี ะไปปรกึ ษากบั โยคี ทดิ ทองและ ทดิ ถมได้ปรึกษากนั เองว่าหาก
ดาครงั้ ที่ 4 ผมจะต้องงอกตรงทเี่ ป็นแผลเป็นแนน่ อน ทั้งสองจึงตดั สินใจดาน้า ลงไปอกี ครงั้ แตท่ วา่ เหตุการณ์ไม่คาด
ฝนั ก็เกดิ ข้นึ เม่อื ทงั้ สองโผล่หัวขนึ้ มากลับกลายเปน็ คนหัวล้านเชน่ เดมิ คราวนแี้ มแ้ ต่โยคเี องก็ช่วยอะไรไม่ไดแ้ ล้ว ท้งั
สองเสยี ใจรอ้ งไห้โวยวาย แล้วเดนิ ก้มหน้ากลบั หมบู่ ้านดว้ ยความผดิ หวงั เปน็ ท่ีมาของสานวนไทยท่วี า่ “หวั ลา้ นนอก
คร”ู

นทิ านเร่ืองนส้ี อนใหร้ วู้ า่
1. อย่าเพมิ่ เติมหรอื นอกคาสง่ั ผลลพั ธจ์ ะตกแก่ตวั เอง และอยา่ เช่ือคนง่ายจะเสียใจภายหลัง เช่นการซอื้ น้ามนั มาใส่
ผมบ้าง เอาขไี้ ก่มาทาบ้างเปน็ คนท่เี ชอ่ื แบบไมม่ เี หตุผล
2. สานวนสภุ าษติ “หัวล้านนอกครู” หมายถงึ ผูท้ ่ปี ฏิบัตผิ ิดแผกไปจากคาสั่งสอนของครูบาอาจารย์หรอื แบบแผน
ที่นยิ มกนั มา หรือไม่ปฏิบัตติ ามคาแนะนาของครอู าจารยจ์ นทาใหเ้ กดิ ความเดือดรอ้ น

ทีม่ า https://sites.google.com/site/khorngannithansxnthrrm/home/reuxng-haw-lan-nxkkhru

เศรษฐเี จ้าเลห่ ์กบั ลกู สาวชาวนา

นานมาแล้ว มเี ศรษฐีคนหนงึ่ ชอบใจลกู สาวชาวนายากไร้ผหู้ นึง่ เขาเชญิ ชาวนากบั ลกู สาวไปทสี่ วนในคฤหาสน์
ของเขา เป็นสวนกรวดกวา้ งใหญท่ มี่ ีแตก่ รวดสีดากับสขี าว เศรษฐบี อกชาวนาวา่ “ทา่ นเป็นหนีส้ ินขา้ จานวนหนงึ่
แตห่ ากท่านยกลกู สาวใหข้ ้า ขา้ จะยกเลกิ หน้ีสินทงั้ หมดให้” ชาวนาไมต่ กลง

เศรษฐีบอกว่า “ถ้าเชน่ น้นั เรามาพนันกนั ดีไหม ขา้ จะหยิบกรวดสองก้อนขึน้ มาจากสวนกรวดใส่ในถงุ ผา้ น้ี
กอ้ นหน่งึ สดี า ก้อนหนง่ึ สีขาว ใหล้ กู สาวของทา่ นหยิบกอ้ นกรวดจากถงุ น้ี หากนางหยบิ ได้ก้อนสีขาว ขา้ จะยกหนีส้ นิ ให้
ทา่ น และนางไมต่ อ้ งแต่งงานกับข้า แตห่ ากนางหยบิ ได้กอ้ นสดี า นางต้องแต่งงานกับข้า และแน่นอน ข้าจะยกหนี้ให้
ทา่ นดว้ ย” ชาวนาตกลง

เศรษฐีหยิบกรวดสองก้อนใส่ในถงุ ผา้ หญิงสาวเหลอื บไปเห็นว่ากรวดทง้ั สองก้อนนั้นเปน็ สีดา เธอจะทาอยา่ งไร
หากเธอไม่เปดิ โปงความจรงิ กต็ ้องแต่งงานกับเศรษฐีขีโ้ กง หากเธอเปิดโปงความจรงิ เศรษฐยี อ่ มเสยี หนา้ และยกเลิก
เกมน้ี แตบ่ ิดาของเธอก็ยังคงเป็นหนเี้ ศรษฐีต่อไปอีกนาน ลูกสาวชาวนาเอ้อื มมือลงไปในถุงผ้า หยบิ กรวดขน้ึ มาหน่งึ
กอ้ น พลนั เธอปล่อยกรวดในมือรว่ งลงสูพ่ นื้ กลืนหายไปในสีดาและขาวของสวนกรวด

เธอมองหนา้ เศรษฐี เอย่ วา่ “ขออภยั ทข่ี ้าพลง้ั เผลอปลอ่ ยหินร่วงหล่น แต่ไม่เป็นไร ในเม่ือท่านใส่กรวดสขี าวกบั สี
ดาอยา่ งละหน่ึงก้อนลงไปในถุงน้ี ดังน้นั เมื่อเราเปิดถุงออกดูสีกรวดก้อนทีเ่ หลือกย็ ่อมรูท้ นั ทวี า่ กรวดท่ขี า้ หยิบไปเมือ่ ครู่
เป็นสอี ะไร”

ปรากฏวา่ ท่ีก้นถุงเป็นกรวดสดี า “ดงั นัน้ กรวดกอ้ นทีข่ ้าทาตกยอ่ มเป็นสขี าว” หญิงสาวกล่าว ชาวนาจงึ พ้นจาก
สภาพลูกหนี้ และลกู สาวก็ไมต่ อ้ งแต่งงานกบั เศรษฐีขโ้ี กงคนนน้ั

นิทานเรอ่ื งนส้ี อนใหร้ ู้ว่า
“จงตัง้ สตแิ ละใชป้ ัญญาแกไ้ ขปญั หา”
“หากเราพยายามมากพอทจ่ี ะแกไ้ ขปัญหาเราจะพบวา่ ทุกปญั หาย่อมมวี ิถีทางแก้ไขเสมอ”

ทม่ี า https://sites.google.com/site/khorngannithansxnthrrm/home/sersthi-cea-leh-kab-luksaw-chawna

พญาไก่ป่า

กาลครงั้ หน่งึ นานมาแล้ว พระโพธ์สิ ตั วเ์ กิดเปน็ พญาไกป่ ่า มไี ก่เปน็ บริวารหลายร้อยตัว อาศัยอยู่ในป่าแห่งหน่ึง
มีนางแมวตัวหน่ึงอาศัยอยู่ในท่ีไม่ไกลจากที่อยู่ของไก่ป่านั้น มันเท่ียวใช้อุบายล่อลวงจับไก่ป่ากินเป็นอาหารเกือบหมด
พญาไก่ป่าทราบว่าบริวารถูกนางแมวจับกินไปเกือบหมดกไ็ มไ่ ปใกล้ท่อี ยู่ของมัน

หลายวันต่อมา เมอ่ื ไมเ่ ห็นไก่ตัวใดไปใกลท้ อ่ี ยู่ของตน นางแมวจึงต้องด้ันด้นมาหาไก่เสียเอง มันเดินย่องเข้าไป
ใต้โคนไม้ท่ีพญาไก่ป่าจับอยู่ พร้อมกับพูดข้ึนว่า “พ่อไก่น้อยสีแดง ผู้มีขนสวยงาม เจ้าลงมาจากกิ่งไม้เถิด เราจะยอม
เป็นภรรยาทา่ น” พญาไก่ป่ารู้ทันเล่ห์เหล่ียมของมันจึงตอบไปว่า “นางแมวเอ๋ย เจ้าเป็นสัตว์ 4 เท้าที่สวยงาม ส่วนเรา
เปน็ สัตว์ 2 เท้า แมวกบั ไกอ่ ยรู่ ่วมกันไม่ได้ดอก เชิญทา่ นไปหาผู้อื่นเปน็ สามเี ถิด”

นางแมวไม่ลดละความพยายามยังพูดออดอ้อนว่า “พ่อไก่น้อย ฉันจะเป็นภรรยาผู้สวยงาม ร้องเสียงไพเราะ
เพ่ือเจ้า เจ้าจะรู้ว่าฉันเป็นภรรยาสาวพรหมจรรย์ท่ีสวยงาม ร้องเสียงไพเราะเพื่อเจ้า เจ้าจะรู้ว่าฉันเป็นภรรยาสาว
พรหมจรรย์ทส่ี วยงามและมีความสุขทสี่ ดุ ” พญาไกป่ ่าจึงพูดขู่นางแมวไปว่า “นางแมวเอ๋ย เจ้ากินซากศพ ดื่มเลือด กิน
ไกบ่ รวิ ารของเราแล้ว จงไปเสียเถอะ”นางแมวเมื่อรูว้ า่ พญาไก่ไม่หลงกล ก็รีบวิ่งหนีกลับไปอย่างผู้ผิดหวังและไม่กลับไป
หากินท่ีนน่ั อกี เลย

พระพุทธองค์เมือ่ ตรัสอดตี นิทานจบ ไดต้ รัสพระคาถาว่า “ผู้ใดรู้ไม่เท่าทันเหตุท่ีเกิดข้ึนโดยฉับพลัน ผู้น้ันจะตก
อยู่ในอานาจของศัตรูและจะเดือดร้อนภายหลัง ส่วนผู้ใดรู้เท่าทันเหตุท่ีเกิดข้ึนโดยฉับพลัน ผู้นั้นจะพ้นจาการ
เบยี ดเบยี นของศัตรู เหมือนไกพ่ ้นจากนางแมวฉะนนั้ ”

นทิ านเร่ืองน้สี อนใหร้ ูว้ า่
“ผมู้ ีปญั ญารู้เท่าทนั เหตุการณย์ ่อมสามารถรรู้ ักษาตัวรอดได้”

ท่ีมา https://sites.google.com/site/khorngannithansxnthrrm/home/reuxng-phya-kipa

ยายหมาขาว

มีสองผัวเมียอาศัยอยู่ในหมู่บ้านจันทคาม ซึ่งฝ่ายเป็นเมียนั้นได้ท้องแก่จวนคลอดแล้ว แต่ในตอนน้ันเกิดโรค
ระบาด ผู้คนล้มตายเป็นอันมาก สองผัวเมียจึงชวนกันอพยพหนีจากหมู่บ้านมาอยู่กลางป่า แล้วต่อมาเมียก็คลอดลูก
ออกมาเปน็ ลกู แฝดเป็นผูห้ ญิงสองคน แล้วนางก็สิ้นใจตายไป ส่วนสามีอยู่มาไม่นานก็ตรอมใจตายตามไป ปล่อยให้เด็ก
ทารกเกดิ ใหมท่ ้งั สองร้องไห้อยู่ในปา่ เช่นนั้น

ตอ่ มามหี มาขาวตวั หนึ่งเปน็ ตัวเมยี ออกมาหากิน มาเห็นเด็กท้ังสองก็เกิดสงสารจึงเอาไปเลี้ยงเป็นลูกกลายเป็น
“แมห่ มาขาว” ใหก้ นิ นมของตัวเองและหาอาหารให้กินเลี้ยงจนเติบโตมาเป็นสาว ทุกวันนางหมาขาวตัวนี้จะพาลูกสาว
ท้ังสองออกไปหากินในป่าด้วย ในวันหนึ่งเกิดพายุพัดให้นางหมาขาวต้องพลัดพรากจากลูกไป ลูกสาวทั้งสองก็โดนลม
พดั ไปถงึ เขตบ้านนายพราน

เม่ือนายพรานเห็นหญงิ สาวทงั้ สองงดงามมาก อยากได้รางวัลจึงนาหญิงสาวทั้งสองขึ้นถวายแด่พระราชาซึ่งยัง
โสดอยู่ พระราชามีพระอนุชาซง่ึ ยงั โสดเหมือนกนั ฝ่ายพระราชาก็ไดผ้ ู้พเี่ ปน็ มเหสี ฝา่ ยอนุชากร็ ับผู้น้องเป็นชายา

ขณะนั้นแม่นางหมาขาวซึ่งพลัดพรากจากลูกมาเป็นเวลานาน ก็ได้แต่ร่าไห้คิดถึงลูกและออกติดตาม หาลูก
จนได้ยินข่าวว่านายพรานเป็นผู้อุปการะเลี้ยงดูลูกสาวต่อจากตน จึงมาหานายพรานเพ่ือถามหาลูกสาวและได้เล่าว่า
เหตกุ ารณ์เปน็ มาอย่างไร เมื่อนายพรานทราบก็เกิดความสงสาร บอกบอกความจริงและพานางหมาขาวไปหาลูกสาวท่ี
ในวัง

เมื่อพามาถึงพระราชวงั นายพรานกท็ ลู พระราชาตามความจริง แต่พระมเหสีนั้นอับอายขายหน้า เกรงว่าคน
จะรวู้ ่าตนเป็นลูกของหมาขาว จึงทูลเท็จต่อพระสวามีไปว่า “ไม่เป็นความจริง” พร้อมท้ังขับไล่นายพรานและหมาขาว
ออกไป แต่นางหมาขาวไม่ยอมไปพร้อมท้ังอธิบายว่าตนคือแม่ของมเหสี ส่วนมเหสีหรือลูกสาวคนโตของนางหมาขาว
นางกป็ ฏเิ สธไมย่ อมรับพร้อมทั้งด่า เตะถีบ ใช้ไม้ทุบตีแม่นางหมาขาวจนนาง หมาขาวนอนล้มลง แล้วก็เอาน้าร้อน ๆ
ทตี่ ้มเดือดสาดใส่แมน่ างหมาขาวทีน่ อนเจ็บอยู่ นางหมาขาวไดร้ บั ความเจ็บปวดแสนสาหัส

ยายหมาขาว

นายพรานเหน็ ท่าไม่ดีจงึ รบี นาหมาขาวไปทว่ี ังของลูกสาวคนเลก็ เม่ือลูกสาวคนเล็กเห็นหมาขาวก็จาได้ทันทีว่า
เปน็ แมห่ มาขาวของตน จงึ รบี มากอดและอมุ้ แมห่ มาขาวทันทีและรีบพาไปรักษา แต่นางทนพิษบาดแผลไม่ไหวจึงส้ินใจ
ตาย ก่อนตายนางบอกวา่ หา้ มเผาหรอื ฝัง ใหเ้ ก็บกระดกู แม่ไว้บูชาในวงั

ลูกสาวคนเล็กก็ทาตามเก็บกระดูกแม่ใส่ไหเอาไว้บนห้ิงบูชาเป็นประจาในวันพระวันสาคัญมิได้ขาด แล้วก็
ทาบญุ สุนทานอทุ ศิ สว่ นบุญให้แม่เปน็ ประจา

อยู่ต่อมาเกิดอัศจรรย์กระดูกของแม่กลายเป็นทองคา ข่าวนี้เลื่องลือไปถึงผู้เป็นพี่สาว พี่สาวก็มาขอส่วนแบ่ง
ทองคา แตน่ ้องไม่ยินยอมใหจ้ ึงเกดิ โต้เถียงกันจนรู้ไปถึงหูพระราชา พระราชาจึงได้เรียกท้ังสองเข้ามาถามความจริง ใน
ทีส่ ดุ ความจริงกป็ รากฏ พระราชาโกรธที่พระมเหสีของพระองค์ทูลเท็จและเป็นคนอกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ จึงตัดสินให้
ประหารชีวิตเสยี !! ส่วนนอ้ งสาวไดอ้ ยู่ในพระราชวงั ดงั เดิมและมีชวี ติ ทรี่ ม่ เย็นเป็นสขุ ตลอดไป

นิทานเรื่องนส้ี อนใหร้ ู้ว่า
1. ผู้ใดมีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ มีความเมตตากรุณาจะส่งเสริมให้บุคคลนั้นพบเจอแต่ความสุขความ
เจริญรงุ่ เรืองทง้ั ในปจั จุบันและอนาคต
2. สว่ นใครท่เี ป็นคนอกตญั ญูตอ่ ผูม้ ีพระคุณ มีใจโหดเห้ียมอามหิต หรือไม่มีใจเมตตาสงสารก็จะได้รับกรรมในภายภาค
หนา้ เชน่ กนั

ทมี่ า https://sites.google.com/site/khorngannithansxnthrrm/home/reuxng-yay-hma-khaw

แบบประเมินผลงานนักเรยี นแผนผงั ความคิดนทิ านพ้ืนบ้าน

คาชี้แจง ใหค้ รูผสู้ อนกรอกคะแนนลงในชอ่ งตามเกณฑ์การประเมิน
รายการประเมิน

กล่มุ ท่ี เลขท่ี ช่ือ-สกุล นาเสนอเนื้อหาไ ้ด
ูถก ้ตอง(๓)
ความคิด รวม สรุป
(๑๒) (ผ/มผ)
สร้างสรรค์ (๓)
ความรับ ิผดชอบ
ความประ ีณต (๓)

บันทึกเพ่มิ เตมิ
........................................................................................................................................ ......................................
............................................................................................. .................................................................................

ลงชื่อ.....................................................ผูป้ ระเมนิ
(..............................................................)

ตาแหนง่ ................................................................
วันท.ี่ .........เดือน...........................พ.ศ. .............

๒๘๖

เกณฑ์การประเมินผลงานนกั เรยี นแผนผังความคิดนิทานพืน้ บา้ น

รายการประเมนิ ดมี าก (๓) คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
ดี (๒) ควรปรบั ปรงุ (๑)

๑. นาเสนอเนอ้ื หาถูกต้อง เนอ้ื หาสาระถกู ต้อง เนื้อหาสาระถูกต้อง เน้อื หาสาระไม่ครบถ้วน

ครบถว้ น จัดหมวดหมู่ ครบถ้วน แตจ่ ัด จดั หมวดหมู่ไมต่ รง

ไดต้ รงประเด็น ใชค้ า หมวดหม่ไู ม่ตรง ประเด็น ใช้คาฟุ่มเฟอื ย

กระชบั ได้ใจความ ประเดน็ ใช้คากระชบั ไมไ่ ด้ใจความ

เขา้ ใจง่าย ได้ใจความ เขา้ ใจง่าย

๒. ความคดิ สรา้ งสรรค์ ออกแบบแปลกใหม่ ออกแบบแปลกใหม่ ออกแบบไดไ้ ม่

สร้างสรรค์ สอดคลอ้ ง สรา้ งสรรค์ สอดคล้อง สรา้ งสรรค์ ไม่สอดคลอ้ ง

กบั เนอ้ื หา ใชส้ ีสนั กับเนอ้ื หา แต่ยังใช้ กบั เน้อื หา และคัดลอก

หลากหลาย สสี นั ไม่หลากหลาย ผลงานผอู้ น่ื

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ความ ส่งงานตรงเวลา สะอาด สง่ งานตรงเวลา ส่งงานไม่ตรงเวลา

ประณีต อา่ นงา่ ย เรียบร้อย สะอาด อ่านง่าย ช้ินงานไมม่ ีความ

ประณตี แสดงถงึ ความ เรยี บรอ้ ย แตข่ าด ประณตี ไม่สือ่ ใหเ้ ห็น

ตงั้ ใจในการทางาน ความประณีตบางส่วน ความต้ังใจในการทางาน

เกณฑก์ ารประเมินในการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ มีดังนี้
คะแนน ๗ - ๙ ดีมาก
คะแนน ๔ - ๖ ดี
คะแนน ๑ - ๓ ควรปรับปรุง

หมายเหตุ ผ้ผู ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จะต้องได้คะแนนระดบั ดีข้นึ ไป

๒๘๗

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการรว่ มกิจกรรมกลุ่ม สรปุ
คาชแ้ี จง : ใหค้ รผู สู้ อนกรอกคะแนนลงในชอ่ งลงคะแนนตามเกณฑ์ประเมิน

แบบรายงานสังเกต

ก ุ่ลมที่
การแบ่งห ้นาที่ภายในก ุ่ลม

การรู้ ัจกแสดงความ
คิดเห็น

การทางานตาม ้ัขนตอน
ปฏิบั ิตงานเสร็จทันเวลา

่ผาน
ไ ่ม ่ผาน
ชื่อ-สกลุ รวม
12

321321321321

บนั ทกึ เพ่มิ เติม
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................... ............................................................................................ ............

ลงช่อื ................................................ผูป้ ระเมนิ
(........................................................)

วนั ท่ี..........เดือน...........................พ.ศ. ..........

เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนตดั สนิ ระดับคณุ ภาพ
ดีมาก = 3 คะแนน คณุ ภาพ
ดี = 2 10 – 12 ดมี าก
ปรับปรงุ = 1 7 - 9 ดี
1 – 6 ควรปรับปรุง

๒๘๘

เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมการรว่ มกจิ กรรมกล่มุ

รายการประเมิน 3 (ดมี าก) คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
2 (ดี) 1 (ควรปรับปรุง)

การแบง่ หนา้ ท่ีภายใน มีการแบ่งหนา้ ทภ่ี ายใน มกี ารแบ่งหน้าทภี่ ายใน ไม่มีการแบง่ หน้าที่

กลมุ่ กลมุ่ อยา่ งชัดเจน มีความ กล่มุ อย่างชัดเจน แต่ไม่ ภายในกลุ่ม

รบั ผิดชอบงานตาม รบั ผิดชอบงานตาม

บทบาทหน้าท่ี บทบาทหน้าที่ของตน

การรจู้ กั แสดงความ ร้จู กั แสดงความคดิ เห็น ร้จู กั แสดงความคดิ เหน็ ไม่มีการแสดงความ

คิดเห็น ในกลุ่มดมี าก ในกลุ่ม คิดเหน็ ในกลุ่มเลย

การทางานตามขนั้ ตอน การทางานตามข้นั ตอน การทางานตามขั้นตอน ไมท่ างานตามขั้นตอน

ดมี าก

ปฏิบัตงิ านเสร็จ ปฏบิ ัติงานเสร็จทนั เวลา ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ ทันเวลา ไม่เสร็จทนั เวลา

ทันเวลา ตามกาหนดเรยี บร้อยดี ตามกาหนด ตามท่ีกาหนด

มาก

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมนิ พฤติกรรมระหวา่ งรว่ มกิจกรรมกลุ่ม กาหนดไว้ดงั นี้
3 หมายถงึ ดีมาก
2 หมายถงึ ดี
1 หมายถงึ ปรับปรงุ

คะแนน 10 - 12 หมายถงึ ดีมาก
คะแนน 7 - 9 หมายถงึ ดี
คะแนน 1 - 6 หมายถึง ควรปรบั ปรงุ

๒๘๙

แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผเู้ รยี น

ชื่อ-สกุล..........................................................................................ชนั้ .......................เลขท่ี........................

คาช้แี จง ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รียน แลว้ ทาเคร่ืองหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพ

สมรรถนะดา้ น รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ สรุปการ
ประเมนิ
ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
(๓) (๒) (๑) (๐)

ความสามารถใน มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร  ดมี าก
การสือ่ สาร มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ  ดี
 พอใช้
ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม  ปรับปรงุ
ใช้วิธีการสอื่ สารท่เี หมาะสม มปี ระสทิ ธิภาพ
 ดีมาก
เจรจาตอ่ รอง เพอื่ ขจัดและลดปญั หาความขดั แย้ง  ดี
ต่าง ๆ ได้  พอใช้
เลอื กรับและไม่รบั ข้อมูลขา่ วสารดว้ ยเหตผุ ล  ปรบั ปรุง
ถูกต้อง
ความสามารถใน มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์
การคดิ มที กั ษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์

สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ

มคี วามสามารถในการสร้างองค์ความรู้

สามารถตดั สินใจไดเ้ หมาะสมตามวัย

ข้อเสนอแนะ.........................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สรปุ ผลการประเมินทั้ง ๒ ดา้ น
 ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ

ลงช่ือ.....................................................ผู้ประเมิน
(...................................................................)

วันท.ี่ ...........เดือน............................พ.ศ. ..............

๒๙๐

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ช่ือ-สกุล..........................................................................................ช้นั .......................เลขท่.ี .......................

คาช้ีแจง ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของผ้เู รียน แลว้ ทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดับคะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อันพึงประสงค์ ๓๒๑๐

ซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ๑. ปฏิบัติตามระเบยี บการสอน และไม่ลอกการบา้ น

๒. ประพฤติ ปฏิบัติตรงต่อความเปน็ จริงต่อตวั เอง

๓. ประพฤติ ปฏบิ ัตติ รงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น

มวี ินยั ๑. เข้าเรยี นตรงเวลา

๒. แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ

๓. ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของห้อง

ใฝ่เรียนรู้ ๑. แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ

๒. มกี ารจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ

๓. สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล

มุง่ มนั่ ในการ ๑. มีความตัง้ ใจและพยายามทางานที่ได้รับมอบหมาย

ทางาน ๒. มีความอดทนและไม่ยอ่ ท้อต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเรจ็

รักความเปน็ ไทย ๑. มจี ติ สานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย

๒. เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ติ ามวฒั นธรรมไทย

รวม

ผลการประเมิน  ผา่ น  ไม่ผ่าน

ลงชอื่ .....................................................ผู้ประเมนิ
(...................................................................)

วนั ท.่ี ...........เดอื น............................พ.ศ. ..............

เกณฑ์การให้คะแนน

- พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ตั ชิ ัดเจนสม่าเสมอ ให้ ๓ คะแนน

- พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน

- พฤติกรรมทป่ี ฏิบัติบางครงั้ ให้ ๑ คะแนน

- พฤติกรรมท่ีไม่ไดป้ ฏิบตั ิ ให้ ๐ คะแนน

หมายเหตุ ผ่านเกณฑ์ประเมินจะต้องได้คะแนน ๒๗ คะแนนขึน้ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๐

๒๙๑


Click to View FlipBook Version