The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wanitcha Praew, 2021-04-08 22:40:24

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

PowerPoint ประกอบการสอน (ตอ่ )
๑๙๒

PowerPoint ประกอบการสอน (ตอ่ )
๑๙๓

PowerPoint ประกอบการสอน (ตอ่ )
๑๙๔

PowerPoint ประกอบการสอน (ตอ่ )
๑๙๕

PowerPoint ประกอบการสอน (ตอ่ )
๑๙๖

PowerPoint ประกอบการสอน (ตอ่ )
๑๙๗

ใบความรู
เร่ือง ลักษณะของภาษาไทยถิ่นโคราชบานหมอ

ภาษาไทยถ่นิ โคราชและภาษาไทยถนิ่ โคราชบา นหมอ เปนภาษาท่มี ลี กั ษณะคลายคลงึ กนั เน่อื งจากมจี ุดกําเนดิ
ของภาษามาจากแหลงเดยี วกัน คอื จงั หวดั นครราชสมี า หรือ โคราช ซงึ่ ชมุ ชนบา นหมอ กอต้งั มานานกวา ๑๒๐ ป
โดยไดอ พยพมาจากต้งั ถิ่นฐานทจี่ ังหวัดมหาสารคาม ทําใหภ าษาไทยถ่นิ โคราชยังเปน ภาษาท่ีใชสอื่ สารกนั ในชุมชน
จนถงึ ในปจจบุ ัน ซ่งึ ลักษณะของภาษาไทยถน่ิ โคราชบานหมอ มีดังน้ี

๑. เปน ภาษาทม่ี ลี ักษณะผสมผสานกันระหวางภาษาไทยกลาง ภาษาอสี าน และภาษาเขมร ทาํ ใหเกดิ คําศัพท
เฉพาะในภาษาไทยถิ่นโคราช ซ่งึ แตละพน้ื ทีก่ แ็ ตกตา งกนั ออกไปอีกดวย เชน

"เดนิ ดี ๆ ระวงั ตก ตะลุกตะลุก" หมายถงึ หลุมเลก็ ๆ (คําศพั ทม าจากภาษาเขมร)
"เอาของไปเมีย่ น" หรือ " เกบ มก่ั เกบเมีย่ น" หมายถึง เก็บ (คําศัพทม าจากภาษาอสี าน)
๒. สําเนยี งภาษาไทยถ่ินโคราชมีสาํ เนียงเฉพาะตัว จะคลา ยกบั ภาษาไทยมาตรฐาน แตกตางกันท่ีเสยี งวรรณยกุ ต
โดยจะปรับเสยี งวรรณยกุ ตจากภาษากลางใหเ ปน สําเนียงภาษาไทยถ่นิ โคราช ดงั นี้
อักษรตํา่ คําเปนและคาํ ตาย ในภาษาไทยมาตรฐาน ออกเสียง ตรี แตในภาษาไทยถน่ิ โคราช ออกเสียง โท
เชน ฟา ออกเสยี งเปน ฟา , มา ออกเสียงเปน มา เปน ตน
อกั ษรกลาง คาํ ตาย ในภาษาไทยมาตรฐาน ออกเสยี ง เอก แตในภาษาไทยถ่นิ โคราช ออกเสยี ง ตรี เชน ติด
ออกเสียงเปน ตดิ๊ , แกะ ออกเสียงเปน แกะ สวนคาํ เปน ในภาษาไทยมาตรฐาน ออกเสยี ง สามญั แตใ นภาษาไทยถิน่
โคราช ออกเสียง จตั วา เชน กิน ออกเสียงเปน กนิ๋ , จน ออกเสยี งเปน จน เปน ตน
อักษรสูง คาํ เปนและคาํ ตาย ในภาษาไทยมาตรฐาน ออกเสยี ง โท แตในภาษาไทยถ่ินโคราช ออกเสยี ง เอก
เชน ขาว ออกเสยี งเปน เขา, เสือ้ ออกเสียงเปน เส่ือ เปน ตน
๓. การออกเสียงควบพยัญชนะตนในการควบกล้ําของภาษาไทยถิน่ โคราชในบางทองถิ่นจะเปน เอกลกั ษณททเ่ี ดน
ชัดมาก อยา งควบ ร ล ชดั เจนมาก เชน คาํ วา กรง ออกเสยี งเปน กรง, ปลา ออกเสียงเปน ปลา แตท่ีนาสงั เกต คือ ไม
สามารถควบ ว ไดชดั เจนนกั เชน คําวา กวาง ออกเสยี งเปน กวง เปน ตน

จากทกี่ ลาวไปขางตน สามารถสรปุ ไดวา ภาษาไทยถ่นิ โคราชบา นหมอมีลักษณะคลายคลึงกบั ภาษาไทยถิน่ โคราชที่
เปนตน กับเนิด จะแตกตา งกันเพยี งคําศพั ทบางคาํ ทใี่ ชเฉพาะถิน่ โดยภาษาไทยถนิ่ บา นมาจะมีคาํ ศัพทและสาํ เนียงของ
ภาษาอสี านปะปนอยมู าก ดว ยทาํ เลทต่ี ้ังของหมบู า น แตอ ยา งไรก็ตามความเปน ภาษาไทยถนิ่ โคราชก็ยังเหน็ ไดเ ดน ชัด
ในปจจุบันท่ยี ังมีการใชอ ยู สะทอ นใหเหน็ ถึงวัฒนธรรมทางภาษา ภมู ปิ ญ ญาที่คนในชุมชนยงั คงสบื สานอนรุ กั ษไว

ทม่ี าของขอมูล : กนิษฐา พทุ ธเสถยี ร และ ทพิ ยว ารีสงนอก. พยัญชนะตน ในภาษาไทยถิ่นโคราช. วารสารวิชาการ
ศิลปวฒั นธรรมอสี าน ฉบบั ที่ ๑ (มกราคม - มถิ ุนายน ๒๕๖๓). ๙๗ - ๑๑๐.

กิจกรรม
"จับคูใหฉันที"

คําช้ีแจง แบง นักเรยี นออกเปน ๒ กลมุ ใหญ ๆ ตามความสมัครใจนาํ บัตรคําศพั ทภ าษาไทยถิ่นโคราชและภาษาไทย
มาตรฐานท่มี คี วามหมายเหมอื นกันแตออกเสียงตา งกนั หรือใชคาํ ตา งกนั เฉพาะในแตล ะทองถนิ่ ชดุ ละ ๕ คาํ สลบั กันไว
ซ่ึงแตละกลมุ จะไดค นละชดุ กนั จากนน้ั ใหน กั เรียนแตละกลุมชวยกนั จับคคู าํ ศัพทท ี่มคี วามหมายเหมือนกนั แลว นาํ คาํ ศพั ทไ ป
ตดิ บรเิ วณกระดานท่คี รเู ตรียมไว โดยครูจับเวลาในการทํากิจกรรม

ชุดท่ี ๑ ชุดท่ี ๒

ปรอย ๆ ละลึม หลุม ตะลกุ

โลงอก วะวาบ ไมสนใจ เสมอหร่ึม
รบี โกรกกราก
บังเอิญ ขซี่ บรอ ง วุนวาย จน

ขวกั ไขว ระเวก้ิ

อาเจยี น จาํ โอ ถกู ตอ ง กงแหนว

หมายเหตุ สีฟา แทน ภาษาไทยมาตรฐาน สีชมพู แทน ภาษาไทยถ่ินโคราช

ชวยกนั จบั คู
ใหถกู ตองคะ

กิจกรรม
"สมุดคาํ ศพั ทภ าษาไทยถน่ิ โคราชบา นหมอ"

คาํ ชีแ้ จง ใหนกั เรียนสืบคน และคดั เลือกคาํ ศพั ทจ ากภาษาไทยถิ่นโคราชบา นหมอ ทต่ี นเองสนใจ มาอยา งนอ ย ๑๐ คํา พรอมบอก
ความหมาย และสามารถออกแบบสมดุ คาํ ศัพทภาษาไทยถน่ิ โคราชบานหมอไดต ามความสนใจ

ชื่อ................................สกุล............................ชนั้ ................เลขท.่ี ..................

กจิ กรรม ตวั อยาง
"สมดุ คําศัพทภาษาไทยถิน่ โคราชบานหมอ"

คาํ ช้แี จง ใหน กั เรยี นสบื คนและคดั เลอื กคําศัพทจากภาษาไทยถน่ิ โคราชบานหมอท่ตี นเองสนใจ มาอยางนอ ย ๑๐ คํา พรอ มบอก
ความหมาย และแตง ประโยคตัวอยาง โดยสามารถออกแบบสมดุ คําศพั ทภ าษาไทยถิ่นโคราชบา นหมอไดตามความสนใจ

สมดุ คําศั พท์

ภาษาไทยถินโคราชบา้ นหมอ้

ของ
ด.ญ.ศศิ ประภา แช่มชืน

ชัน ป.๖/๑ เลขที ๓๓

คาํ ศัพท ๔. ละลึม หมายถึง ปรอย ๆ

๑. วะ วาบ หมายถงึ โลงอก สบายใจ ตวั อยา ง วนั นี้ฝนตกละลมึ ๆ

ตัวอยา ง ฉันทาํ การบา นเสร็จแลววะ วาบใจมาก

๒. โกรกกราก หมายถึง รวดเรว็ หรือ รีบ ๕. ตะลกุ หมายถงึ หลุม

ตัวอยา ง จะไปไหนก็ใหโ กรกราก ๆ อยาชกั ชา ตวั อยา ง เดินระวัง ๆ เดี๋ยวตกตะลุกนะ

๓. ก๋ิน หมายถึง รบั ประทาน ๖. จาํ โอ หมายถึง อาเจยี น

ตัวอยาง อยาลมื กนิ๋ ขาวนะ ตวั อยา ง นอ งเมาเรือเวยี นหัวอยากจําโอมาก

ชื่อ................................สกลุ ............................ชนั้ ................เลขท่ี...................

แบบประเมนิ ช้ินงาน “สมุดคาศพั ทภ์ าษาไทยถ่ินโคราชบ้านหม้อ”
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรยี นเทศบาลบา้ นส่องนางใย จงั หวดั มหาสารคาม

ภาคเรยี นที่............... ปกี ารศกึ ษา...............
..............................................................................................................................................................................

คาชแ้ี จง : ทำเครื่องหมำย ลงในชอ่ งคะแนนตำมระดับกำรปฏิบตั ิท่นี กั เรยี นแสดงออก

รายการประเมิน สรุปผล

ความ ความเปน็ ความคิด รวม
ถกู ตอ้ ง ระเบยี บ สรา้ งสรรค์ (๙)
ของเนอ้ื หา เรยี บรอ้ ย
เลขที่
่ผาน
ไ ่มผ่าน
ชื่อ - สกลุ

๓๒๑๓๒๑๓๒๑



















๑๐

บนั ทกึ เพ่ิมเติม
.................................................................................................................................................................. ............
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ............................................................

ลงชือ่ .........................................................ผปู้ ระเมิน
(.....................................................................)
ตำแหนง่ ...........................................................
วนั ที่..........เดือน............................พ.ศ….................

๒๐๒

เกณฑก์ ารประเมนิ ช้นิ งาน “สมดุ คาศัพท์ภาษาไทยถนิ่ โคราชบ้านหมอ้ ”

รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ

ความถูกต้องของเนอ้ื หาสาระ ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง)
๑. คำศัพท์ถกู ต้องทุกคำ
๒. อธิบำยควำมหมำย นกั เรยี นปฏิบตั ิ นักเรยี นปฏบิ ัติ นกั เรียนปฏิบัติ
ควำมหมำยได้ถูกต้อง ตำมเกณฑ์
๓. ประโยคถูกตอ้ งตำมหลัก ไดท้ ั้ง ๓ ข้อ ตำมเกณฑ์ได้ ๒ ขอ้ ตำมเกณฑ์ได้ ๑ ข้อ
ภำษำ
ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย นักเรยี นปฏบิ ตั ิ นักเรยี นปฏบิ ัติ นักเรยี นปฏิบตั ิ
๑. เขยี นตัวอักษรอำ่ นง่ำย ตำมเกณฑ์
๒. สะอำดเรียบรอ้ ย ได้ทง้ั ๓ ข้อ ตำมเกณฑ์ได้ ๒ ขอ้ ตำมเกณฑ์ได้ ๑ ขอ้
๓. ทำได้ครบถว้ นตำมคำช้แี จง
ความคิดสร้างสรรค์ นกั เรยี นปฏิบตั ิ นกั เรยี นปฏบิ ตั ิ นกั เรียนปฏบิ ตั ิ
๑. นำเสนอรูปแบบแปลกใหม่ ตำมเกณฑ์
๒. สีสันสวยงำม ได้ทั้ง ๓ ข้อ ตำมเกณฑ์ได้ ๒ ขอ้ ตำมเกณฑ์ได้ ๑ ขอ้
๓. มรี ำยละเอียดน่ำสนใจ

คะแนนตดั สินระดับคุณภาพ คณุ ภาพ
คะแนน ดี
๗–๙
พอใช้
๔–๖ ปรบั ปรงุ
๑–๓

หมายเหตุ นักเรยี นผำ่ นเกณฑ์ร้อย ๘๐ ที่ ๗ คะแนนข้นึ ไป

๒๐๓

แบบประเมินพฤติกรรมการมีสว่ นร่วมในชัน้ เรียน
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรยี นเทศบาลบ้านสอ่ งนางใย จังหวัดมหาสารคาม

ภาคเรียนท.่ี .............. ปีการศกึ ษา...............
..............................................................................................................................................................................

คาชีแ้ จง : ครสู งั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่ำงเรยี นแล้วทำเครื่องหมำย ลงในชอ่ งคะแนนตำมระดับ

พฤติกรรมทนี่ ักเรียนแสดงออก

รายการประเมิน สรปุ ผล

การแสดง ความ รวม
ความคดิ เห็น รับผิดชอบ (๙)
เลขที่
่ผาน
ไ ่มผ่าน
ชอ่ื - สกลุ ความสนใจ

๓๒๑๓๒๑๓๒๑



















๑๐

บนั ทกึ เพม่ิ เติม
................................................................... ............................................................................................... ............
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................... ............................................................................................................ ............

ลงช่อื .........................................................ผ้ปู ระเมิน
(.....................................................................)
ตำแหนง่ ...........................................................
วันท่ี..........เดอื น............................พ.ศ…...............

๒๐๔

เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมการมีส่วนร่วมในชน้ั เรียน

รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ

ความสนใจ ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรบั ปรุง)
๑. ต้ังใจเรยี น ไม่หยอกลอ้ กนั
๒. ไม่หลับ ไม่พูดคุยในชั้นเรยี น นักเรยี นปฏบิ ตั ิ นักเรียนปฏบิ ตั ิ นักเรยี นปฏบิ ัติ
๓. มคี วำมกระตือรือรน้ ในกำร ตำมเกณฑ์
เรียน และรว่ มกิจกรรมกำรสอน ไดท้ ั้ง ๓ ข้อ ตำมเกณฑ์ได้ ๒ ข้อ ตำมเกณฑ์ได้ ๑ ขอ้
การแสดงความคิดเห็น
๑. มคี วำมกล้ำแสดงออก นกั เรยี นปฏิบัติ นกั เรยี นปฏบิ ัติ นักเรียนปฏิบัติ
๒. ยอมรับฟงั ควำมเหน็ ของผู้อืน่ ตำมเกณฑ์
๓. ใช้ภำษำสภุ ำพในกำรแสดง ไดท้ ง้ั ๓ ข้อ ตำมเกณฑ์ได้ ๒ ข้อ ตำมเกณฑ์ได้ ๑ ขอ้
ควำมคดิ เห็น
ความรบั ผดิ ชอบ นกั เรยี นปฏบิ ตั ิ นกั เรยี นปฏิบตั ิ นักเรียนปฏบิ ัติ
๑. ต้งั ใจทำงำน ตำมเกณฑ์
๒. ทำงำนเสร็จได้ตรงเวลำ ได้ทัง้ ๓ ข้อ ตำมเกณฑ์ได้ ๒ ขอ้ ตำมเกณฑ์ได้ ๑ ข้อ
๓. ทำงำนได้ถูกต้องตำมคำช้ีแจง

คะแนนตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพ คุณภาพ
คะแนน ดี
๗–๙
พอใช้
๔–๖ ปรบั ปรุง
๑–๓

หมายเหตุ นักเรยี นผ่ำนเกณฑ์ร้อย ๘๐ ท่ี ๗ คะแนนขึน้ ไป

๒๐๕

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ โรงเรยี นเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย จังหวัดมหาสารคาม

ภาคเรียนที่............... ปีการศกึ ษา...............

..............................................................................................................................................................................

ชอื่ – สกลุ : .................................................................................................ชน้ั ................เลขที่...............

คาช้แี จง : ครสู ังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวำ่ งเรียนแล้วทำเครอื่ งหมำย ลงในช่องคะแนนตำมระดบั

พฤติกรรมท่ีนักเรยี นแสดงออก

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
๓๒๑

๑. ใฝเ่ รียนรู้ ๑.๑ แสวงหำควำมรจู้ ำกแหล่งต่ำง ๆ

๑.๒ มกี ำรจดบันทกึ อยำ่ งเปน็ ระบบ

๑.๓ สรปุ ควำมรู้ได้อยำ่ งมีเหตุผล

๒. มงุ่ ม่นั ในกำรทำงำน ๒.๑ ตงั้ ใจ พยำยำมทำงำนท่ีได้รับมอบหมำย

๒.๒ มีควำมอดทน ไมท่ ้อแท้ เพอ่ื ให้งำนสำเรจ็

๒.๓ ทำงำนเสร็จตำมกำหนด

๓. รกั ควำมเป็นไทย ๓.๑ ภูมิใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี

๓.๒ เห็นคณุ คำ่ และใช้ภำษำไทยไดถ้ ูกต้อง

๓.๓ อนุรกั ษแ์ ละสบื ทอดภมู ปิ ัญญำไทย

ลงช่ือ.........................................................ผูป้ ระเมนิ

(.....................................................................)

วันท่ี..........เดือน............................พ.ศ….........

เกณฑก์ ารให้คะแนน

- พฤติกรรมทปี่ ฏิบตั ิชดั เจนสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน (ดี)

- พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ตั ิเปน็ บำงครั้ง ให้ ๒ คะแนน (พอใช)้

- พฤติกรรมทไ่ี มไ่ ด้ปฏิบัติ ให้ ๑ คะแนน (ปรบั ปรุง)

สรุปการประเมนิ ผล การแปลผล
 ผ่ำน ร้อยละ ๘๐ – ๑๐๐ ระดับคุณภำพ ดี
ระดบั  ดี ร้อยละ ๕๐ – ๗๙ ระดบั คุณภำพ พอใช้
 ไมผ่ ำ่ น รอ้ ยละ ๐ – ๔๙ ระดับคุณภำพ ปรบั ปรงุ
ระดบั  พอใช้  ปรบั ปรุง

๒๐๖

แบบประเมนิ สมรรถนะของผู้เรียน
ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ โรงเรยี นเทศบาลบา้ นส่องนางใย จงั หวัดมหาสารคาม

ภาคเรยี นท่.ี .............. ปกี ารศกึ ษา...............
.................................................................................................................................................... ..........................

ชือ่ – สกลุ : .................................................................................................ชั้น................เลขท่ี...............

คาช้ีแจง : ครูสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวำ่ งเรยี นแล้วทำเครอ่ื งหมำย ลงในช่องคะแนนตำมระดับ

พฤติกรรมทีน่ ักเรยี นแสดงออก

สมรรถนะของผู้เรยี น รายการประเมิน ระดบั คะแนน
๓๒๑

๑. ควำมสำมำรถ ๑.๑ มคี วำมสำมำรถในกำรรบั – ส่งสำร

ในกำรสื่อสำร ๑.๒ มคี วำมสำมำรถในกำรถำ่ ยทอดควำมรู้ ควำมคิด

๑.๓ ใช้วธิ กี ำรสอื่ สำรที่เหมำะสม มีประสิทธิภำพ

๒. ควำมสำมำรถ ๒.๑ มีควำมสำมำรถในกำรคิดวเิ ครำะห์

ในกำรคดิ ๒.๒ มีควำมคิดสรำ้ งสรรค์ ควำมคดิ นอกกรอบ

๒.๓ มคี วำมสำมำรถในกำรสร้ำงองคค์ วำมรู้

๓. ควำมสำมำรถ ๓.๑ สำมำรถแกป้ ัญหำและอุปสรรคทีเ่ ผชญิ ได้

ในกำรแก้ปญั หำ ๓.๒ แสวงหำควำมร้ใู หมเ่ พื่อกำรแกไ้ ข ปรบั ประยุกตใ์ ช้

๓.๓ สำมำรถตัดสินใจได้อย่ำงเหมำะสม

ลงชอื่ .........................................................ผ้ปู ระเมนิ

(.....................................................................)

วนั ที่..........เดอื น............................พ.ศ...........

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน (ดี)

- พฤติกรรมท่ปี ฏิบัติเปน็ บำงครัง้ ให้ ๒ คะแนน (พอใช้)

- พฤตกิ รรมทีไ่ มไ่ ด้ปฏบิ ตั ิ ให้ ๑ คะแนน (ปรบั ปรุง)

สรปุ การประเมินผล การแปลผล
 ผำ่ น รอ้ ยละ ๘๐ – ๑๐๐ ระดับคุณภำพ ดี
ระดบั  ดี ร้อยละ ๕๐ – ๗๙ ระดบั คณุ ภำพ พอใช้
 ไม่ผำ่ น ร้อยละ ๐ – ๔๙ ระดับคณุ ภำพ ปรับปรุง
ระดบั  พอใช้  ปรบั ปรุง

๒๐๗

แบบทดสอบหลังเรียน เรอื่ ง ลกั ษณะของภาษาไทยถิน่ โคราชบ้านหมอ้

คาชี้แจง ให้นกั เรยี นทำเคร่ืองหมำย  หนำ้ คำตอบที่ถกู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว

๑. ขอ้ ใดคือกล่ำวถูกตอ้ งเก่ียวกับภำษำไทยถ่นิ
ก. เปน็ ภำษำรำชกำร
ข. เป็นภำษำท่คี นสว่ นใหญใ่ ชส้ ่ือสำรกนั
ค. เป็นภำษำทีใ่ ชส้ ื่อสำรกันเฉพำะท้องถ่ิน
ง. ถกู ทุกขอ้

๒. ภำษำไทยถิ่นโครำชบ้ำนหม้อมตี ้นกำเนิดมำจำกจงั หวัดใด
ก. จังหวดั มหำสำรคำม
ข. จงั หวดั นครรำชสมี ำ
ค. จังหวดั นครศรธี รรมรำช
ง. จังหวดั นครพนม

๓. ลักษณะของภำษำไทยถ่นิ โครำชเกดิ จำกกำรผสมผสำนระหว่ำงภำษำใด
ก. ภำษำไทยกลำง + ภำษำอีสำน + ภำษำผไู้ ท
ข. ภำษำไทยกลำง + ภำษำอสี ำน + ภำษำไทญ้อ
ค. ภำษำไทยกลำง + ภำษำลำว + ภำษำเขมร
ง. ภำษำไทยกลำง + ภำษำอสี ำน + ภำษำเขมร

๔. ขอ้ ใดกล่ำวถูกต้องเก่ียวกบั ปรับเสยี งวรรณยกุ ตจ์ ำกภำษำไทยกลำงใหเ้ ปน็ สำเนยี งภำษำไทยถ่ินโครำช
ก. อักษรต่ำ คำเปน็ จำกเสียงตรี ออกเสียงเป็น เสียงโท
ข. อักษรกลำง คำเป็น จำกเสยี งตรี ออกเสียงเป็น เสียงโท
ค. อักษรสูง คำเปน็ จำกเสยี งตรี ออกเสียงเป็น เสียงโท
ง. อักษรสงู คำตำย จำกเสียงตรี ออกเสยี งเป็น เสยี งโท

๕. คำวำ่ “กิน” ออกเสยี งสำเนยี งภำษำโครำชบำ้ นหม้อได้ว่ำอยำ่ งไร
ก. ก่ิน
ข. กิน้
ค. ก๋ิน
ง. ก๊ิน

๒๐๘

๖. คำว่ำ “ม้ำ” ออกออกเสียงสำเนยี งภำษำโครำชบ้ำนหม้อได้วำ่ อยำ่ งไร
ก. มำ
ข. ม่ำ
ค. มำ๊
ง. มำ๋

๗. ขอ้ ใดกล่ำวถึงกำรออกเสยี งคำควบกล้ำของภำษำไทยถ่ินโครำชบำ้ นหมอ้ ได้ถูกตอ้ งทส่ี ุด
ก. ออกเสยี งควบกลำ้ เฉพำะ ร
ข. ไมน่ ยิ มออกเสียงคำควบกล้ำ
ค. ออกเสยี งคำควบกล้ำชัดเจนทกุ ตัว ร ล ว
ง. ออกเสียงควบกล้ำ ร ล ชัดเจน ส่วน ว ไมค่ อ่ ยออกเสียง

๘. คำวำ่ “โกรกกรำก” ในภำษำไทยถ่นิ โครำชตรงกบั ภำษำไทยมำตรฐำนในข้อใด
ก. ตะโกน
ข. เรง่ รีบ
ค. เกยี จครำ้ น
ง. ชกั ชำ้

๙. บุคคลในขอ้ ใดปฏบิ ตั ไิ ดส้ อดคล้องกบั คำว่ำ “เสมอหรม่ึ ”
ก. ส้มไมส่ นใจเรียนขณะที่ครูสอน
ข. มะนำวชอบเรยี นวิชำภำษำไทย
ค. แตงไทยเดินสะดดุ ก้อนหนิ
ง. น้อยหน่ำตืน่ เต้นท่ีจะได้ไปเทีย่ วโครำช

๑๐. “สัปดำหน์ ้ีกำรบ้ำนเยอะมำก พอทำเสรจ็ แล้ว ฉัน...............เลย” จำกข้อควำมขำ้ งต้น ควรเติมคำใดลงใน
ช่องวำ่ งเพื่อให้ใจควำมสมบูรณ์

ก. เสมอหรึ่ม
ข. ตะลกุ
ค. บำ้ นเอง
ง. ว่ะวำบ

โชคดีนะคะ

๒๐๙

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น เร่อื ง ลกั ษณะของภาษาไทยถนิ่ โคราชบา้ นหมอ้
ข้อ คาตอบ
๑ ค. เปน็ ภำษำท่ใี ช้ส่อื สำรกันเฉพำะทอ้ งถนิ่
๒ ข. จงั หวัดนครรำชสีมำ
๓ ง. ภำษำไทยกลำง + ภำษำอีสำน + ภำษำเขมร
๔ ก. อักษรต่ำ คำเปน็ จำกเสยี งตรี ออกเสียงเป็น เสยี งโท
๕ ค. กน๋ิ
๖ ข. ม่ำ
๗ ง. ออกเสียงควบกล้ำ ร ล ชัดเจน สว่ น ว ไม่คอ่ ยออกเสียง
๘ ข. เร่งรบี
๙ ก. สม้ ไม่สนใจเรียนขณะท่ีครูสอน
๑๐ ง. วะ่ วำบ

๒๑๐

แบบสรปุ คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน เร่อื ง ลกั ษณะของภาษาไทยถน่ิ โคราชบา้ นหม้อ
ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรยี นเทศบาลบา้ นสอ่ งนางใย จงั หวัดมหาสารคาม
ภาคเรียนที่............... ปกี ารศกึ ษา...............

..............................................................................................................................................................................

เลขที่ ช่อื – สกลุ คะแนนทไี่ ด้ สรุปผล
ผ่าน ไมผ่ า่ น









๑๐

บันทึกเพมิ่ เติม
..................................................................... ............................................................................................. ............
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................ .......................................................................................................... ............
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.........................................................ผปู้ ระเมนิ
(.....................................................................)
ตำแหนง่ ...........................................................
วนั ท่.ี .........เดือน............................พ.ศ.................

๒๑๑

แผนภาพความคิด หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๔ เร่อื ง สานต่องานจกั สาน

การเขยี นยอ่ ความ การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ
การเขยี น
การฟัง การดู
และการพูด

สานตอ่ งานจกั สาน

หลักการใช้
ภาษาไทย
ความหมายของคาในภาษาถ่ินอีสาน

๒๑๒

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๗

โดยบรู ณาการการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน (Brain based Learning : BBL)

กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ สานต่องานจักสาน ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๓

เรอื่ ง ยอ่ ความตามประสงค์ เวลา ๑ ชว่ั โมง

สาระสำคัญ

การเขยี นย่อความ คือ การเขยี นย่อความเปน็ การเขียนจากการอ่านเก็บใจความสาคญั เรื่อง แล้วนามา

เรียบเรียงใหม่เป็นถ้อยคาสานวนของผู้เขียนเอง โดยเขียนในรูปแบบของย่อความ หลังจากที่อ่านเนื้อหาที่ย่อ

ความแลว้ ยังสามารถทจี่ ะเขา้ ใจเน้อื หาไดท้ ้งั หมด

มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวัด

มาตรฐานการเรียนรู้
ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ตวั ชี้วัด
ป. ๖/๕ เขยี นยอ่ ความจากเรื่องทอี่ า่ น

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เมื่อนกั เรยี นเรียน เรอื่ ง การเขยี นย่อความจบแล้ว นักเรยี นสามารถ
๑. บอกความหมาย จุดมุ่งหมาย และหลักการเขยี นย่อความได้ถูกต้อง (K)
๒. เขียนย่อความจากประวตั ิความเปน็ มาของเครอื่ งจักสานไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
๓. นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ (A)

สมรรถนะผเู้ รยี น
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

๑. มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑและระเบียบข้อบังคับ
ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม

๒. ใฝเรียนรู หมายถงึ คุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถงึ ความตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรยี นแสวงหาความรู้
จากแหลง่ เรียนรู้ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น

๓. มงุ่ มั่นในการทางาน หมายถงึ คุณลักษณะที่แสดงออกถงึ ความตง้ั ใจ และรับผดิ ชอบในการทาหน้าท่ี
การงานดว้ ยความเพยี รพยายาม อดทน เพอื่ ให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

๒๑๓

สาระการเรยี นรู้/เนอ้ื หา
๑. หลักการเขียนย่อความ
๒. การเขยี นยอ่ ความจากประวัตคิ วามเป็นมาของเครื่องจกั สาน

ผลงาน/การปฏิบตั ิ
๑. แผนผงั ความคดิ เรอื่ ง หลกั การเขียนย่อความ
๒. ใบงาน เรือ่ ง การเขียนย่อความจากประวตั ิความเปน็ มาของเคร่ืองจกั สาน
๓. แบบทดสอบหลงั เรียน

กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชร้ ูปแบบสมองเป็นฐาน (Brain based Learning : BBL)
ขั้นที่ ๑ นำเข้าสู่บทเรยี น (๕ นาท)ี
๑. ครกู ลา่ วทกั ทายนกั เรียนจากนั้นพดู คยุ เพอ่ื สรา้ งบรรยากาศท่ีเป็นกันเอง เชน่
- วันนอ้ี ากาศเปน็ อย่างไรบ้าง
- ดแู ลสุขภาพด้วยนะคะ
๒. ครูแจ้งกติกาในการเรียนให้นักเรียนไดท้ ราบ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นคนมีระเบียบวินัย และรู้จัก

ใฝ่เรยี นรู้ ดังนี้
- ห้ามคุยกันเสียงดัง
- ส่งงานให้ตรงเวลา
- มสี ว่ นรว่ มในการเรยี น เชน่ ยกมือตอบคำถาม มีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ

๓. ครผู ูส้ อนสนทนากบั นักเรยี นเก่ียวกับการเขยี นยอ่ ความ โดยอาจใช้คำถาม ดังตอ่ ไปน้ี
- มีใครรู้จกั การเขียนย่อความไหมคะ
- การเขยี นยอ่ ความมีลกั ษณะเป็นอย่างไร เป็นต้น

ขน้ั ที่ ๒ นำเสนอความรู้ (๒๐ นาที)
๑. ครูเร่มิ บรรยายเก่ยี วกับการเขยี นยอ่ ความ พร้อมสือ่ Power Point
- ความหมายของการเขยี นย่อความ
- จดุ มุ่งหมายของการเขียนย่อความ
- หลักการเขียนยอ่ ความ
๒. ครูยกตัวอยา่ งการเขยี นย่อความจากหนังสอื พิมพ์ เรื่อง “เลีย้ งโคขุนแบบครบวงจร

ประสบความสาเร็จไปหมด”
ขัน้ ท่ี ๓ ลงมอื เรยี นรู้ (๑๕ นาที)
๑. ครูแจกใบงาน เรื่อง การเขียนย่อความจากประวัติความเป็นมาของเครื่องจักสานให้นักเรียน

พร้อมทัง้ อธิบายคำสั่งใหช้ ดั เจน

๒๑๔

๒. ครเู ดนิ สงั เกตและกระตนุ้ การทำงานของนกั เรียน หากนักเรียนมปี ัญหาครคู อยชแ้ี นะเพิ่มเตมิ
๓. เมื่อทำเสร็จแล้ว ครูตั้งคำถามเกีย่ วกบั ประวัตคิ วามเปน็ มาของเครื่องจกั สานที่นักเรยี นเขียนยอ่
ความไป ดงั น้ี

- นกั โบราณคดไี ดค้ น้ พบหลักฐานวา่ มนุษย์รู้จกั วิธีการจักสานมาแลว้ ก่ีปี
- หลกั ฐานทน่ี ักโบราณคดีคน้ พบนัน้ ค้นพบที่จังหวดั ใด เป็นต้น
ข้นั ท่ี ๔ สรุปความรู้ (๑๐ นาที)
๑. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มละ ๓-๕ คนหรือตามความเหมาะสม จากนั้นแจกกระดาษชาร์ท
เพื่อให้นักเรียนเขียนแผนภาพความคิดสรุปความรู้ เรื่อง การเขียนย่อความ ที่ได้เรียนไป พร้อมทั้งตกแต่งให้
สวยงาม
๒. ครูนำผลงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มไปติดบริเวณรอบ ๆ ห้อง เพื่อให้นักเรียนได้ไปชมผลงาน
ของเพ่ือน ๆ ในเวลาวา่ งจากการเรียน
ข้นั ท่ี ๕ ประยุกต์ใชค้ วามรู้ (๑๐ นาท)ี
๑. ครแู จกแบบทดสอบหลังเรียน แบบถูก-ผิด จานวน ๕ ขอ้ ๑๐ คะแนน
๒. เม่ือหมดเวลาทาแบบทดสอบ ครเู ก็บแบบทดสอบแล้วกล่าวกบั นกั เรยี นกอ่ นจะหมดเวลา
- ช้ีแจงวา่ คาบหนา้ จะมกี ิจกรรมอะไรบา้ ง
- ผู้ที่ไดค้ ะแนนสูงสดุ ในการทาแบบทดสอบ คาบหน้าครจู ะมรี างวลั มามอบให้
- กลา่ วชน่ื ชม หากนกั เรยี นใหค้ วามร่วมมือในการเรยี นเป็นอย่างดี
สื่อ/นวัตกรรม/แหล่งการเรยี นรู้
สอ่ื และนวัตกรรม
๑. Power Point เรือ่ ง การเขยี นยอ่ ความ
๒. ใบงาน เรือ่ ง การเขยี นย่อความจากประวัติความเปน็ มาของเคร่ืองจกั สาน

แหล่งการเรยี นรู้
๑. ครู
๒. อนิ เทอร์เน็ต

๒๑๕

การวัดและการประเมนิ ผล วิธกี ารวดั และ เครอื่ งมือวัด เกณฑก์ าร
สิ่งท่ตี ้องการวัด ประเมนิ ผล ประเมิน
แบบทดสอบแบบถูก-ผิด ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ
นกั เรยี นสามารถบอก การทาแบบทดสอบหลงั จำนวน ๕ ข้อ ๑๐ คะแนน ๘๐ ขน้ึ ไป

ความหมาย จุดมุง่ หมาย เรยี น แบบประเมินการเขยี นย่อ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
ความแบบประมาณคา่ ๔ ๘๐ ขนึ้ ไป
และหลกั การเขียนย่อความ รายการ ๔ ระดับคุณภาพ
ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ
ไดถ้ ูกต้อง แบบสังเกตพฤติกรรม ๘๐ ขน้ึ ไป
นกั เรยี น ชนิด Scoring
นักเรียนสามารถเขยี นยอ่ การทาใบงาน เรื่อง การ Rubrics รายการประเมนิ ๕ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ
รายการ ๘๐ ขน้ึ ไป
ความจากประวัตคิ วาม เขยี นย่อความจาก ๓ ระดับคณุ ภาพ
แบบประเมินคณุ ลักษณะอัน
เปน็ มาของเคร่ืองจกั สานได้ ประวตั คิ วามเปน็ มาของ พงึ ประสงค์ ๓ คุณลกั ษณะ
๓ ระดบั คุณภาพ
ถกู ต้อง เครือ่ งจักสาน

การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรม การสงั เกตพฤติกรรมใน

การเรยี นรู้ ชน้ั เรยี น

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ การสังเกตพฤติกรรมใน
ชน้ั เรยี น

๒๑๖

บันทกึ เพม่ิ เติมสำหรับผู้บรหิ าร/ผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................ ..................
................................................................................................................ ..............................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ.........................................................ผู้ประเมิน
(.....................................................................)
ตำแหน่ง...........................................................
วันที.่ .........เดอื น............................พ.ศ. ..........

บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้
ผลการจัดการเรยี นรู.้ ...............................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................... .......................

สภาพปญั หา............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................... ...........

แนวทางการแก้ไขปัญหา.......................................................................................................... ...............
................................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. .................................................

ผลการแก้ไขปัญหา..................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ...........................................................ผู้บนั ทึก
(.....................................................................)
ตำแหนง่ ...........................................................
วนั ท่.ี .........เดือน............................พ.ศ. ..........

๒๑๗

สอ่ื Power Point เรอื่ ง การเขียนยอ่ ความ
๒๑๘

ส่ือ Power Point เร่อื ง การเขยี นยอ่ ความ (ตอ่ )
๒๑๙

ส่ือ Power Point เร่อื ง การเขยี นยอ่ ความ (ตอ่ )
๒๒๐

ส่ือ Power Point เร่อื ง การเขยี นยอ่ ความ (ตอ่ )
๒๒๑

ส่ือ Power Point เร่อื ง การเขยี นยอ่ ความ (ตอ่ )
๒๒๒







แบบประเมนิ การเขียนยอ่ ความ รวม
ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นท่ี……… ปีการศึกษา………
คะแนนรวมหาร ้ดวยรายการ
โรงเรียนเทศบาลบ้านสอ่ งนางใย ประเมิน

คาช้ีแจง : ให้ผูส้ อนกรอกคะแนนลงในช่องวา่ งตามคะแนนความเป็นจริงของนกั เรียน สรุปผล
รายการประเมิน

ท่ี ชอื่ -สกุล รายการ รายการ รายการ รายการ
ที่ ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ ท่ี ๔










๑๐

บันทกึ เพม่ิ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ...........................................ผู้ประเมิน
(...........................................)

วันที่........เดอื น.....................พ.ศ............

๒๒๖

เกณฑ์การประเมินการเขยี นย่อความ

รายการประเมิน ๔ ระดบั คะแนน ๑
๓๒

๑. การเขยี นเรอื่ ง เขียนเรอื่ งราวมี เขยี นเรอื่ งราวมี เขยี นเรอ่ื งราวมี เขียนเรือ่ งราวมี

สาระ มคี วาม สาระ มีความ สาระ มีความ สาระ แตไ่ มม่ ี

สอดคลอ้ ง มี สอดคล้อง มี สอดคล้อง มี ความสอดคล้อง

ความสัมพันธ์ มี ความสัมพันธ์ มี ความสัมพนั ธ์ หรอื

ความตอ่ เนื่อง ไม่ ความตอ่ เน่ือง ความสมั พันธ์

วกวน

๒. การใช้ภาษา ใช้คาถกู ต้อง ใช้คาถกู ต้อง ใช้คาไม่ถูกต้อง ใช้คาไม่ถูกต้อง

เหมาะสมกับบริบท เหมาะสมกบั บรบิ ท หรอื ไม่เหมาะสม หรอื ไมเ่ หมาะสม

และมีการเรยี บ แต่ภาษาไม่มคี วาม กับบรบิ ท ๑-๕ คา กับบริบท ๕ คา

เรียงและใช้ภาษา สละสลวย ขึ้นไป

อยา่ งสละสลวย

๓. การเขยี นสะกด เขียนสะกดคา เขียนสะกดคาผดิ เขยี นสะกดคาผดิ เขียนสะกดคาผิด

คา ถูกต้องทกุคา ๑-๓ คา ๔-๗ คา ๗ คาขึ้นไป

๔. ความสะอาด เขยี นอ่านง่าย มี เขียนอ่านง่าย มี เขียนอา่ นง่าย มี เขยี นอ่านง่าย มี

เรยี บร้อย ความสะอาด ไม่มี ความสะอาด แตม่ ี ความสะอาด แต่มี ความสะอาด แต่

รอยขูดขีด ลบ รอยขดู ขีด ลบ ๑-๓ รอยขูดขีด ลบ ๔- มีรอยขดู ขีด ลบ

แห่ง ๗ แห่ง ๗ แหง่ ข้นึ ไป

หมายเหตุ : นาคะแนนรวบรวมทกุ รายการหารดว้ ยจานวนรายการประเมนิ แลว้ เทียบเกณฑ์ ดังนี้

คะแนน ๓.๕ - ๔ หมายถึง ดีเย่ียม
คะแนน ๒.๕ - ๓.๕ หมายถงึ ดี
คะแนน ๑.๕๑ - ๒.๕ หมายถงึ พอใช้
คะแนน ๐ - ๑.๕ หมายถงึ ควรปรับปรุง

๒๒๗

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน

ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นที่……… ปกี ารศึกษา………

โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย

คาชีแ้ จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ⁄ ลงในชอ่ งท่ตี รง

กับคะแนน

พฤติกรรม สรุป

ที่ ชื่อ - สกลุ ความ ้ัตงใจในการเ ีรยน
(๓)

ความสนใจและการ
ัซกถาม (๓)

การตอบคาถาม (๓)
การทางานทันตามเวลา ่ีท

กาหนด (๓)
การมีส่วน ่รวมในกิจกรรม

(๓)

รวม (๑๕)
ผ่าน/ไ ่ม ่ผาน










๑๐

บนั ทกึ เพ่ิมเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ...........................................ผู้ประเมิน
(…………………………………………)

วนั ท.่ี .......เดือน.....................พ.ศ............

๒๒๘

เกณฑก์ ารสงั เกตพฤตกิ รรมในชั้นเรยี น

รายการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ
๓๒๑

๑. ความตั้งใจในการเรยี น

๑.๑ มีสมาธจิ ดจ่อ ตั้งใจเรยี นตาม ต้งั ใจเรยี นตาม ต้ังใจเรยี นตาม

๑.๒ ไมค่ ยุ และเลน่ กัน เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ เกณฑ์ ๑ ข้อ

๑.๓ เตรยี มหนังสือและอุปกรณ์

๒. ความสนใจและการซักถาม

๒.๑ ถามในหัวข้อทีไ่ มเ่ ข้าใจ สนใจและซกั ถาม สนใจและซกั ถาม สนใจและซักถาม

๒.๑ บนั ทกึ คาถามและคาตอบ ตามเกณฑ์ ๓ ข้อ ตามเกณฑ์ ๒ ขอ้ ตามเกณฑ์ ๑ ข้อ

๒.๓ กล้าแสดงออก

๓. การตอบคาถาม

๓.๑ ร่วมตอบคาถามผู้สอน ตอบคาถามตาม ตอบคาถามตาม ตอบคาถามตาม

๓.๒ ตอบตรงตามประเด็น เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ เกณฑ์ ๑ ข้อ

๓.๓ ตอบอยา่ งมัน่ ใจเสยี งดัง ฟงั ชดั

๔. การทางานทนั ตามกาหนดเวลา

๔.๑ ทางานเสร็จทันเวลา ทางานตามเกณฑ์ ทางานตามเกณฑ์ ทางานตามเกณฑ์

๔.๒ ทางานถูกต้องและชัดเจน ๓ ขอ้ ๒ ขอ้ ๑ ข้อ

๔.๓ ทางานเป็นระเบียบ เรยี บรอ้ ย

๕. การมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม มีส่วนร่วมใน มสี ่วนรว่ มใน มีส่วนร่วมใน
๕.๑ ให้ความร่วมมอื กิจกรรมตามเกณฑ์ กจิ กรรมตามเกณฑ์ กจิ กรรมตามเกณฑ์
๕.๒ มคี วามเสียสละ
๕.๓ มคี วามกระตือรือร้น ๓ ขอ้ ๒ ข้อ ๑ ขอ้

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมนิ พฤติกรรมการเรยี นรขู้ องนักเรยี น กาหนดไวด้ ังนี้

๓ หมายถงึ ดีมาก

๒ หมายถึง ดี

๑ หมายถึง ปรับปรุง

โดย คะแนน ๑๓ - ๑๕ คะแนน หมายถึง ดีมาก

คะแนน ๑๐ - ๑๒ คะแนน หมายถึง ดี

ตา่ กวา่ ๙ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

๒๒๙

แบบประเมนิ คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นที่……… ปีการศึกษา………

โรงเรียนเทศบาลบา้ นส่องนางใย

คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ตรง

กบั คะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อันพึงประสงค์ ๓๒๑

๑. มวี ินยั ๑.๑ ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของ

ครอบครัว โรงเรียน และสงั คม ไมล่ ะเมิดสทิ ธิของผอู้ ืน่

๑.๒ แตง่ กายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ

๑.๓ ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บของหอ้ ง

๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๒.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งเรยี นร้ตู า่ ง ๆ
๒.๒ มีการจดบันทกึ ความรูอ้ ย่างเป็นระบบ
๒.๓ สรปุ ความรไู้ ดอ้ ยา่ งมเี หตุผล

๓. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๓.๑ มคี วามตัง้ ใจ และพยายามในการทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย

๓.๒ มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสาเร็จ

ลงช่อื ...........................................ผู้ประเมนิ สรุปผลการประเมนิ ผา่ น
(...........................................) ระดับ ดเี ย่ยี ม ดี ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ

วันท.่ี .......เดอื น.....................พ.ศ............ ไมผ่ ่านระดบั ปรับปรงุ

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ร้อยละ ๕๐ – ๖๖ ระดับคณุ ภาพ ดีเย่ยี ม (๑)
ร้อยละ ๔๐ – ๔๙ ระดบั คุณภาพ ดี (๒)
- พฤตกิ รรมท่ีปฏบิ ตั ิชดั เจนและสม่าเสมอ ให้ ๓ คะแนน ร้อยละ ๒๐ – ๓๙ ระดับคุณภาพ พอใช้ (๓)

- พฤติกรรมท่ปี ฏิบัติชดั เจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน

- พฤตทิ ่ีปฏบิ ัตบิ างครงั้ ให้ ๑ คะแนน

๒๓๐

สรุปแบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สรุป
ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนท่ี……… ปกี ารศึกษา………

โรงเรยี นเทศบาลบา้ นส่องนางใย

รายงานสงั เกต

ที่ ช่ือ-สกุล มีวินัย รวม
ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
ผ่าน
ไม่ผ่าน

๑๒๓๑๒๓ ๑๒๓









๑๐

บนั ทกึ เพมิ่ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมนิ
(...........................................)

วันท่ี........เดอื น.....................พ.ศ............

๒๓๑

เกณฑก์ ารประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

รายการประเมนิ ๓๒๑
มวี ินยั
- นักเรยี นปฏิบตั ิตนตาม นกั เรียนปฏบิ ตั ติ นตาม นักเรยี นปฏิบตั ิตนตาม
ใฝ่เรยี นรู้
มงุ่ มัน่ ในการทางาน ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์

ระเบยี บ ข้อบังคบั ของ ระเบยี บ ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อบงั คับ ของ

โรงเรียน และไมล่ ะเมดิ ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั ิ โรงเรียน ตรงต่อเวลาใน

สทิ ธขิ องผอู้ น่ื กิจกรรมและรับผดิ ชอบ การปฏิบตั ิกจิ กรรม

- นักเรียนตรงตอ่ เวลา ในการทางาน

ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม

และรบั ผิดชอบในการ

ทางาน

นักเรียนเขาเรียนตรง นกั เรยี นเข้าเรียนตรง นักเรยี นเข้าเรียนตรง

เวลา ต้ังใจเรียน เอาใจ เวลา ต้ังใจเรียน เอาใจ เวลา ตั้งใจเรยี น เอาใจ

ใส่ในการเรยี น และมี ใส่ในการเรยี นและมสี ่วน ใส่ในการเรียน และมี

ส่วนร่วมในการเรียนรู้ รว่ ม ในการเรยี นรู้ และ ส่วนรว่ ม ในการเรยี นรู้

และเขา้ รว่ มกจิ กรรมการ เขา้ ร่วมกิจกรรมการ และเขา้

เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทั้งภายใน เรียนรู้ตา่ ง ๆ บ่อยครั้ง ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้

และภายนอกโรงเรยี น ตา่ ง ๆ เปน็ บางครงั้

เป็นประจา

นกั เรยี นต้ังใจและ นกั เรียนตงั้ ใจและ นักเรยี นตง้ั ใจและ

รบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ิ รบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิ รบั ผิดชอบในการปฏิบัติ

หนา้ ทท่ี ่ีไดร้ ับมอบหมาย หนา้ ทที่ ี่ได้รับมอบหมาย หนา้ ที่ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

ให้สาเรจ็ มกี ารปรับปรุง ให้สาเร็จ มีการปรับปรุง ให้สาเรจ็

และพฒั นาการทางานให้ และพฒั นาการทางานให้

ดขี ้ึนภายในเวลาที่ ดีขน้ึ

กาหนด

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ กาหนดไว้ดังนี้
๓ หมายถึง ดมี าก
๒ หมายถงึ ดี
๑ หมายถงึ ปรบั ปรุง

๒๓๒

แบบทดสอบหลังเรยี น
เรอ่ื ง การเขยี นย่อความ

คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนทาเครื่องหมาย ✓ หนา้ ข้อความทเ่ี ปน็ จรงิ และทาเครอื่ งหมาย × หนา้ ขอ้ ความที่

เป็นเทจ็ จานวน ๕ ขอ้ ๑๐ คะแนน

๑. …………… การคงสรรพนามเดิมไวม้ ใิ ช่หลกั เกณฑข์ องการเขียนย่อความ
๒. …………… การยอ่ ความคือการนาใจความสาคญั มาเขียนดว้ ยโวหารของผู้เขียนเหมอื นเดมิ
๓. …………… ถา้ เขียนคาขน้ึ ตน้ วา่ “กราบเทา้ คณุ ลุงท่ีเคารพอย่างสูง” ควรจะเขียนคาลงท้ายวา่
ดว้ ยความเคารพ
๔. …………… ย่อหน้าแรกเปน็ ย่อหนา้ ท่ีบอกถงึ ที่มาของเร่อื งท่เี ราเขียนย่อความ
๕. …………… ย่อหน้าท่ีสองเป็นการเขียนสรุปใจความสาคญั

ช่อื -สกุล………………………………………………………… ช้ัน……….. เลขท่ี………..

๒๓๓

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
เรือ่ ง การเขยี นย่อความ

คาช้แี จง : ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย ✓ หนา้ ข้อความทเี่ ปน็ จริง และทาเครือ่ งหมาย × หนา้ ข้อความท่เี ป็น

เท็จ ขอ้ สอบ จานวน ๕ ข้อ ๑๐ คะแนน
๑. ✓ การคงสรรพนามเดมิ ไวม้ ิใชห่ ลกั เกณฑ์ของการเขยี นย่อความ

๒. × การย่อความคือการนาใจความสาคญั มาเขียนดว้ ยโวหารของผู้เขยี นเหมอื นเดิม
๓. × ถ้าเขยี นคาขึ้นต้นว่า “กราบเท้า คณุ ลงุ ท่เี คารพอย่างสงู ” ควรจะเขยี นคาลงทา้ ยวา่

ดว้ ยความเคารพ
๔. ✓ ย่อหนา้ แรกเป็นย่อหน้าท่บี อกถึงที่มาของเรอ่ื งทเ่ี ราเขยี นย่อความ
๕. ✓ ยอ่ หนา้ ท่ีสองเป็นการเขยี นสรุปใจความสาคัญ

๒๓๔

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๘

โดยบรู ณาการการจดั กจิ กรรมการเรียนร้แู บบประสบการณ์ (Experiential Learning)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๔ สานต่องานจักสาน ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๓

เร่ือง เช่อื มโยงภาษาถนิ่ เวลา ๑ ชวั่ โมง

สาระสำคัญ

ภาษาถน่ิ เปน็ ภาษายอ่ ยท่ีใช้พูดจากันในท้องถิ่นต่าง ๆ ซง่ึ เกิดจากการใชภ้ าษาเพื่อการส่ือความหมาย

ความเข้าใจกันระหว่างผู้คนที่อาศัยอยู่ตามท้องถิ่นนั้น ๆ ซึ่งอาจจะแตกต่างไปจากมาตรฐาน หรือภาษาที่คน

ส่วนใหญ่ของแต่ละประเทศใช้กัน และอาจจะแตกตา่ งจากภาษาในทอ้ งถนิ่ อนื่ ทงั้ ทางดา้ นเสียง คำและการใช้คำ

ภาษาถิ่นเป็นภาษาที่มีลักษณะเฉพาะ ทั้งถ้อยคำและสำเนียง ภาษาถิ่นจะแสดงถึงเอกลักษณ์ ลักษณะความ

เป็นอยู่ และวิถีชีวิตของผู้คนในท้องถิ่นของแต่ละภาคของประเทศไทย บางทีเรียกว่าภาษาท้องถิ่น และหาก

พื้นทข่ี องผ้ใู ชภ้ าษานนั้ กวา้ งกจ็ ะมภี าษาถ่ินหลากหลาย และมภี าถิน่ ย่อย ๆ ลงไปอกี

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ช้ีวัด
ป. ๖/๒ ใช้คาไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เม่ือนกั เรยี นเรียน เรือ่ ง คำในภาษาถนิ่ อสี านจบแลว้ นกั เรียนสามารถ
๑. บอกความหมายของคาในภาษาถ่นิ อสี านและนามาแตง่ ประโยคได้ถกู ต้อง (K)
๒. เขยี นความหมายของคาในภาษาถิ่นอสี านและนามาแตง่ ประโยคได้ถกู ต้อง (P)
๓. นักเรียนมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรียนรู้ (A)

สมรรถนะผู้เรยี น
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๑. มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์และระเบียบข้อบังคับ

ของครอบครวั โรงเรียน และสงั คม
๒. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหา

ความรู้จากแหล่งเรยี นรูทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น

๒๓๕

๓. มุง่ ม่ันในการทางาน หมายถงึ คณุ ลกั ษณะที่แสดงออกถงึ ความตง้ั ใจ และรบั ผิดชอบในการทาหน้าที่
การงานดว้ ยความเพยี รพยายาม อดทน เพอื่ ใหงานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย

สาระการเรยี นร้/ู เน้อื หา
๑. ความหมายของคาในภาษาถ่ินอีสานเกี่ยวกับเครือ่ งจักสาน
๒. การเปรยี บเทยี บคาภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ เก่ียวกบั เครื่องจักสาน

ผลงาน/การปฏบิ ตั ิ
๑. ใบงาน เร่อื ง การบอกความหมายของคาในภาษาถนิ่ อีสาน
๒. แบบทดสอบหลงั เรยี น

กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชร้ ูปแบบประสบการณ์ (Experiential Learning)
ขั้นท่ี ๑ ข้นั ประสบการณ์ (๑๐ นาที)
๑. ครูกลา่ วทักทายนักเรยี นและพดู คยุ เพอื่ สรา้ งบรรยากาศทีเ่ ป็นกันเอง เช่น
- วนั น้ีเป็นอย่างไรบา้ ง เรียนเยอะไหม
- คาบทีแ่ ล้วเรียนเร่อื งอะไรไป
- วันน้ีนกั เรยี นมาเรียนครบทกุ คนไหม
๒. ครูมอบรางวัลให้นกั เรยี นจากการทำแบบทดสอบในคาบทแ่ี ลว้
๓. ครูต้งั กตกิ าก่อนที่ร่วมกบั นกั เรยี นกอ่ นทจ่ี ะเริ่มเรยี นดงั น้ี
- ในขณะทคี่ รูสอนนกั เรยี นทกุ คนต้องตง้ั ใจฟัง ไมค่ ุยกนั เสียงดงั
- หากนักเรียนมีคำถามให้ยกมือขึ้นและรอให้ครูอนุญาตให้ถามก่อน จึงจะสามารถถามคำถาม

ได้
- ในระหว่างเรียนถ้านักเรียนอยากเข้าห้องน้ำ หรือออกไปทำธุระข้างนอก ควรยกมือแล้วขอ

อนญุ าตครูผู้สอนกอ่ น
- หากครพู าทำกจิ กรรมใด นกั เรียนจะตอ้ งมีส่วนรว่ มทุกครงั้

๔. ก่อนที่จะเข้าสู่บทเรียน ครูแจกบัตรคำใหแ้ ก่นักเรียน ในบัตรคำนัน้ มีคำศัพท์ซ่ึงเป็นงานจักสาน
ในภาคอีสานใหแ้ ก่นกั เรยี นทุกคน จากนัน้ ครสู ุม่ เลอื กให้นกั เรียนเป็นตัวแทนในการใบ้ แสดงทา่ ทาง คำท่ีตนเอง
ได้ให้เพื่อนทาย โดยจะทำท่าทางอย่างไรก็ได้แต่ห้ามพูด เช่น คำศัพท์คำว่า “บักจ๋ก” ให้นักเรียนทำท่าทาง
เกี่ยวกับจอบแล้วให้เพื่อน ๆ ในชั้นทาย ให้นักเรียนออกมาทายคำศัพท์ ๒-๓ คน ตามความเหมาะสม และ
นักเรยี นคนใดท่ที ายถูกต้องจะได้สตกิ เกอร์สะสมคะแนน

๕. คุณสมบัติของสติกเกอร์ คือ ๑ ดวงจะมีค่า ๑ คะแนนเพื่อที่จะสะสมไปเรื่อย ๆ เพื่อรับรางวัล
ท้ายชัว่ โมงเรียนที่ครูและนกั เรยี นเจอกัน

๒๓๖

ขน้ั ท่ี ๒ ข้ันนำเสนอและแลกเปลยี่ นประสบการณ์ (๓๐ นาที)
๑. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง เครื่องจักสานพื้นบ้านอีสาน และเริ่มสอนเกี่ยวกับความหมายของคำท่ี

เกี่ยวข้องกับงานจักสาน ตั้งคําถามถึงประโยชน์ และความสำคัญงานจักสานชนิดต่าง ๆ ให้นักเรียนได้แสดง
ความคิดเห็นรว่ มกนั เชน่

- บกั จก๋ ใช้สำหรับนึง่ ข้าว
- หวิงใช้สำหรับดกั ปลา
๒. ให้นักเรียนลุกขึ้นยกตัวอย่างงานจักสานที่ตนเองรู้จักแต่ละชนิด ให้ครบทุกคน คนละ ๑ ชนิด
ตาม ภมู ิรู้ โดยการนำเสนอจะตอ้ งบอกวา่
- เคยเหน็ ท่ไี หน
- ลกั ษณะเปน็ อยา่ งไร
- เคยใชส้ ิง่ นัน้ หรือไม่
๓. ครยู กตวั อย่างเพ่ิมเติม แล้วใหน้ กั เรยี นวเิ คราะห์ร่วมกันว่าตวั อย่างที่ครตู ั้งให้ถูกต้องหรือไม่ เพ่ือ
เป็นการทดสอบความเขา้ ใจ และทบทวนความรู้ในการเรยี น
๔. ครแู จกใบงาน เร่ือง เขยี นเรอ่ื งเคร่ืองจกั สานใหน้ กั เรยี น พรอ้ มทัง้ อธบิ ายคำชี้แจงใหช้ ดั เจน
๕. ระหวา่ งนกั เรยี นทำใบงาน ครูเดินสงั เกตการทำงานของนกั เรียนและคอยให้คำชแี้ นะ
ข้ันท่ี ๓ ขนั้ อภิปรายผล (๑๐ นาที)
๑. เมือ่ นกั เรียนทำใบงานเสร็จแลว้ ครตู ัง้ คำถามว่า “ในภาคอีสานมเี ครือ่ งจักสานชนิดใดท่ีนักเรียน
คิดวา่ โดดเดน่ ทส่ี ดุ พร้อมเหตผุ ล”
๒. ครใู ห้เวลานักเรียนคดิ ๒ นาที จากน้ันให้ตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชัน้ เรยี น หากไม่มี
นกั เรียนคนใดออกมา ครูจงึ ทำการสุม่
๓. นักเรียนทอี่ อกมานำเสนอเอง และนักเรยี นทถ่ี ูกครูสมุ่ จะไดร้ ับสตกิ เกอร์คนละ ๑ ดวง
ขน้ั ที่ ๔ ขน้ั สรปุ (๑๐ นาท)ี
๑. ครแู จกแบบทดสอบหลังเรียน แบบจับคู่ จานวน ๕ ข้อ ๑๐ คะแนน
๒. เมอ่ื หมดเวลาทาแบบทดสอบ ครเู ก็บแบบทดสอบแลว้ กล่าวกับนักเรยี นก่อนจะหมดเวลา
- ชแ้ี จงว่าคาบหน้าจะมีกิจกรรมอะไรบ้าง
- กล่าวชน่ื ชม หากนักเรียนใหค้ วามร่วมมอื ในการเรยี นเปน็ อยา่ งดี
สื่อ/นวัตกรรม/แหล่งการเรยี นรู้
สือ่ และนวตั กรรม
๑. ใบความรู้ เร่ือง เครื่องจักสานพน้ื บา้ นอสี าน
๒. ใบงาน เร่อื ง เขยี นเร่ืองเคร่อื งจักสาน
แหล่งการเรยี นรู้
๑. ครู
๒. อนิ เทอร์เน็ต

๒๓๗

การวดั และการประเมินผล วธิ กี ารวัดและ เคร่อื งมอื วดั เกณฑก์ าร
ประเมินผล ประเมนิ
สิ่งทตี่ ้องการวัด แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบแบบจับคู่ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ
จำนวน ๕ ข้อ ๑๐ คะแนน ๘๐ ข้ึนไป
นักเรียนสามารถบอก ใบงาน เร่ือง เขยี นเรื่อง
ความหมายของคาในภาษา เคร่ืองจักสาน แบบประเมนิ การตรวจใบ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ
ถิ่นอสี านและนามาแต่ง งานชนิด Scoring Rubrics ๘๐ ขึ้นไป
ประโยคได้ถกู ต้อง การสงั เกตพฤติกรรมใน รายการประเมนิ ๔ รายการ
นักเรยี นสามารถเขยี น ชั้นเรยี น ๓ ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ
ความหมายของคาในภาษา แบบสังเกตพฤติกรรม ๘๐ ขน้ึ ไป
ถน่ิ อีสานและนามาแตง่ การสังเกตพฤติกรรมใน นกั เรียน ชนิด Scoring
ประโยคได้ถกู ต้อง ชน้ั เรียน Rubrics รายการประเมนิ ๕ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ
นักเรียนมีสว่ นร่วมใน รายการ ๘๐ ขึ้นไป
กิจกรรมการเรียนรู้ ๓ ระดบั คุณภาพ
แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ พึงประสงค์ ๓ คณุ ลกั ษณะ
๓ ระดับคุณภาพ

๒๓๘

บนั ทึกเพ่มิ เติมสำหรับผู้บริหาร/ผูท้ ่ีได้รับมอบหมาย
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .........................................................ผู้ประเมนิ
(.....................................................................)
ตำแหน่ง...........................................................
วนั ท่ี..........เดอื น............................พ.ศ. ..........

บนั ทึกผลหลงั การจัดการเรียนรู้
ผลการจดั การเรียนรู้................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

สภาพปญั หา.................................................................................................................... ........................
.......................................................................................... ....................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

แนวทางการแก้ไขปัญหา.......................................................................................................... ...............
............................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .................................................

ผลการแก้ไขปัญหา.............................................................................................................. ....................
.............................................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ...........................................................ผู้บันทึก
(.....................................................................)
ตำแหน่ง...........................................................
วันท่ี..........เดอื น............................พ.ศ. ..........

๒๓๙

ชอื่ -สกุล…………………………………………………………. ชนั้ ……… เลขท่ี………….

ใบงาน เร่อื ง เขยี นเร่ืองเคร่อื งจกั สาน

คาชแ้ี จง : ให้นกั เรียนเลือกเคร่อื งจกั สานของภาคอีสานทน่ี ักเรยี นสนใจมา ๑ ชนิด แล้วเขียนบอกลกั ษณะและ
วิธีการใช้งานพร้อมวาดภาพประกอบ

ชอ่ื …………………………………………
ลกั ษณะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
วธิ กี ารใชง้ าน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒๔๐


Click to View FlipBook Version