The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wanitcha Praew, 2021-04-08 22:40:24

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

มรดกภูมิปัญญาค่าล้ำ วัฒนธรรมชุมชนส่องนางใย

แบบทดสอบหลังเรียน
คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นพิจารณาข้อความต่อไปนี้ แลว้ เติม ก หนา้ ข้อความท่ีถูกต้อง และเตมิ ข หนา้ ขอ้ ความท่ผี ิด
_____ ๑. นทิ านพน้ื บา้ นเป็นมรดกของชาติ
_____ ๒. นทิ านพื้นบา้ นเป็นเรื่องเล่าที่มีการดาเนนิ เร่ืองอย่างง่าย ๆ โครงเรอื่ งซับซ้อน
_____ ๓. นทิ านพื้นบา้ นไม่ได้ช่วยใหม้ นุษยเ์ ข้าใจสภาพของมนุษย์โดยทั่วไปได้
_____ ๔. นิทานพน้ื บา้ นทาใหม้ นุษยร์ ู้จักสภาพท้องถิ่นของตน
_____ ๕. นทิ านพน้ื บา้ นเป็นทง้ั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ เป็นตน้ เค้าแห่งศาสตรต์ ่าง ๆ

ช่อื ...................................................................................................ช้นั .................. ............เลขท.่ี .........................

๒๙๒

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
คาชี้แจง ให้นักเรียนพจิ ารณาข้อความตอ่ ไปน้ี แล้วเติม ก หนา้ ข้อความทถ่ี ูกต้อง และเตมิ ข หน้าขอ้ ความทผ่ี ดิ
___ก__ ๑. นทิ านพน้ื บ้านเปน็ มรดกของชาติ
___ข__ ๒. นิทานพื้นบ้านเป็นเร่อื งเลา่ ทีม่ ีการดาเนินเรื่องอย่างงา่ ย ๆ โครงเรอื่ งซบั ซ้อน
___ข__ ๓. นิทานพื้นบ้านไม่ได้ช่วยให้มนุษย์เขา้ ใจสภาพของมนษุ ยโ์ ดยทว่ั ไปได้
___ก__ ๔. นิทานพนื้ บ้านทาใหม้ นุษย์รจู้ ักสภาพทอ้ งถ่ินของตน
___ก__ ๕. นิทานพื้นบา้ นเป็นทงั้ ศาสตรแ์ ละศิลป์ เป็นตน้ เค้าแห่งศาสตร์ตา่ ง ๆ

ชือ่ ...................................................................................................ช้ัน..............................เลขที.่ .........................

๒๙๓

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑

โดยบรู ณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธสี อนแบบการแสดงบทบาทสมมติ

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๕ เล่าขานวรรณกรรมท้องถน่ิ ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๓

เรอื่ ง การเล่านิทานพ้ืนบ้าน เวลา ๑ ชว่ั โมง

สาระสาคญั

นิทานพ้ืนบ้าน เป็นนิทานประเภทหนึ่ง เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาซ่ึงอาจไม่มีบันทึกเป็นหลักฐาน

เน่ืองจากสมัยโบราณไม่มีความบันเทิงในรูปแบบอื่น ใช้การเล่าเร่ืองสู่กันฟังซึ่งมักเป็นเรื่องราวจากจินตนาการ

แสดงความเชื่อของชาวบ้าน นิทานพื้นบ้านมักได้รับการบันทึกหรือตีพิมพ์ภายหลังและมักหาต้นกาเนิดไม่ได้

และมีการแต่งแตม้ เรอื่ งราวเพม่ิ เติมตามจินตนาการของผ้เู ล่า

มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวดั
มาตรฐานการเรยี นรู้
ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า

และนามาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง
ตวั ชว้ี ัด
ป.๖/๒ เลา่ นทิ านพ้นื บา้ นท้องถิน่ ตนเองและนิทานพ้นื บ้านของทอ้ งถิน่ อ่ืน

จุดประสงค์การเรยี นรู้
เมือ่ นกั เรยี นเรียนเรื่อง การเล่านิทานพน้ื บา้ นแล้ว นกั เรยี นสามารถ
๑. บอกหลักการเล่านิทานพื้นบา้ นไดถ้ ูกต้อง (K)
๒. เล่านทิ านพ้นื บ้านในท้องถิ่นของตนได้ (P)
๓. มีส่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ (A)

สมรรถนะผเู้ รยี น
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นมีความตรงต่อเวลา รู้จกั กาลเทศะ
๑. มวี นิ ัย นกั เรยี นต้งั ใจเพยี รพยายามในการเรยี น และเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้
๒. ใฝเ่ รยี นรู้

๒๙๔

๓. มุ่งม่นั ในการทางาน นักเรยี นตัง้ ใจเรยี นและรบั ผิดชอบงานทต่ี นเองได้รับมอบหมาย

สาระการเรยี นรู้/เนอื้ หา
การเล่านทิ านพื้นบ้าน

ผลงาน/การปฏิบตั ิ
๑. สมุดเล่มเลก็ นิทานพน้ื บ้าน
๒. การเลา่ นิทานพ้นื บา้ น

กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น (๑๐ นาท)ี
๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียนด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้มแจ่มใส เพ่ือเป็นการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้

ท่ีดี จากน้ันครูตรวจสอบรายช่ือนักเรียนท่ีมาเข้าเรียน หากมีนักเรียนท่ีไม่มาเรียน ครูควรสอบถามถึงสาเหตุ
ท่ไี ม่เขา้ เรยี น แลว้ บันทึกลงในใบรายชอื่ นกั เรยี น

๒. ครผู ู้สอนแจ้งขอ้ ตกลงในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เพอื่ เปน็ การควบคุมชัน้ เรียน ดังนี้
- หา้ มเล่นโทรศัพทใ์ นขณะท่ีครดู าเนนิ การสอน ยกเว้นครูอนุญาตให้ใช้ในการสบื ค้นข้อมูล
- หา้ มสง่ เสยี งดงั รบกวนผอู้ ่นื ขณะเรียน
- ให้ความสนใจขณะท่ีครูกาลังสอน โดยรว่ มแสดงความคิดเห็นและตอบคาถาม
- หากนกั เรยี นมีข้อสงสัยให้ยกมือขนึ้ รอครูอนุญาตให้ถามจงึ ลดมือลง แล้วเรม่ิ ถามขอ้ สงสยั

๓. ครูสอบถามนักเรียนว่า “หนังสือเล่มเล็กท่ีคุณครูมอบหมายให้นักเรียนไปทาในชั่วโมงท่ีแล้ว
เสร็จเรียบร้อยแล้วใช่ไหม” จากนั้นคุณครเู ปิดวิดีโอรางวัลชนะเลิศการแข่งขันเล่านิทานให้นักเรียนดู เข้าถึงได้
จาก https://youtu.be/B5bT93id2yU จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันสนทนาวา่ การเล่านิทานให้น่าสนใจควรทา
อย่างไรบา้ ง

ขน้ั ดาเนินการสอน (๔๐ นาที)
๑. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้วางแผนการเล่านิทานในกลุ่มของตน โดยให้เวลาในการเตรียมตัว

ประมาณ ๕ นาที ซึ่งนักเรียนสามารถวางแผนและจัดเตรียมอุปกรณ์ได้ตามท่ีแต่ละกลุ่มได้ร่วมกันคิดโดยไม่
จากดั รูปแบบ

๒. ครูให้แต่ละกลุ่มจับสลากลาดับการออกมาเล่านิทานพ้ืนบ้าน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มออกมา
นาเสนอการเล่านิทาน โดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ จะให้เวลาในการเล่านิทานกลุ่มละ ๕ นาที ซ่ึงเพ่ือน ๆ
ในแตล่ ะกลุ่มทีน่ ัง่ ฟังจะไดร้ ่วมเปน็ ผ้ปู ระเมนิ การเลา่ นิทานด้วย

๓. ครูให้นักเรียนนาเสนอผลงานการทาหนังสือเล่มเล็กนิทานพ้ืนบ้านของกลุ่มตนเอง และให้
เพอ่ื น ๆ ไดร้ ่วมประเมนิ ผลงาน

๒๙๕

ขนั้ สรุปและประเมนิ ผล (๑๐ นาที)
๑. ครกู ล่าวชืน่ ชมนักเรียนทุกกลมุ่ ทีอ่ อกมานาเสนอผลงานและการเล่านิทาน จากนั้นให้นกั เรยี นได้

ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการเล่านิทานพื้นบ้าน พร้อมทั้งอภิปราย
จดุ เดน่ และข้อทีค่ วรปรบั ปรงุ ในลักษณะภาพรวมการเล่านิทานของห้องน้ี

๒. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นชนดิ ปรนยั แบบถกู ผดิ ๕ ข้อ (๕ คะแนน)
๓. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนซักถามข้อสงสัยพร้อมทง้ั นัดหมายการเรียนในชว่ั โมงถัดไป

ส่อื /นวัตกรรม/แหล่งการเรยี นรู้
สอ่ื และนวัตกรรม
วดิ โี อตัวอย่างการเลา่ นิทาน https://youtu.be/B5bT93id2yU
แหลง่ การเรียนรู้
๑. ครู
๒. อนิ เทอร์เนต็

การวัดและการประเมนิ ผล

การวัด วิธีการวัด เครือ่ งมือที่ใช้ เกณฑ์
การประเมิน
และประเมนิ ผล และประเมินผล แบบทดสอบหลงั เรยี น ผ่านเกณฑ์
เร่ือง การเล่านิทานพ้นื บ้าน รอ้ ยละ ๗๐ ขึ้นไป
บอกหลักการเล่านทิ าน การทดสอบหลังเรียน จานวน ๕ ขอ้
แบบประเมินผลการเลา่ ผ่านเกณฑ์
พ้ืนบา้ นได้ถูกต้อง เร่ือง การเลา่ นิทาน นทิ านในท้องถนิ่ ของตน รอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป
ชนิด Scoring Rubrics
พน้ื บา้ น การประเมินผลงานหนงั สอื ผ่านเกณฑ์
เล่มเลก็ นทิ านพ้นื บา้ น ชนดิ ร้อยละ ๗๐ ขนึ้ ไป
เลา่ นทิ านพ้นื บ้านใน การประเมนิ ผลการเลา่ Scoring Rubrics
แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรยี น ผา่ นเกณฑ์
ทอ้ งถ่นิ ของตนได้ นิทานในท้องถ่ินของตน รอ้ ยละ ๗๐ ข้ึนไป
แบบประเมนิ สมรรถนะท่ี ผา่ นเกณฑ์
สร้างสรรคห์ นังสอื เลม่ การประเมินผลงาน สาคญั ของผู้เรียน ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป
เลก็ นิทานพื้นบ้าน หนงั สอื เลม่ เล็กนทิ าน แบบประเมนิ คุณลักษณะที่ ผ่านเกณฑ์
พืน้ บา้ น พึงประสงค์ รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป
การมสี ว่ นร่วมใน การสังเกตพฤติกรรมใน
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชัน้ เรยี นของนักเรยี น
สมรรถนะท่ีสาคัญของ
ผเู้ รยี น การประเมินสมรรถนะที่
คณุ ลกั ษณะที่พึง สาคญั ของผู้เรยี น
ประสงค์ การประเมินคุณลักษณะ
ทพี่ งึ ประสงค์

๒๙๖

บันทกึ เพ่ิมเติมสาหรบั ผู้บรหิ าร/ผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .........................................................ผูป้ ระเมนิ
(.....................................................................)
ตาแหน่ง...........................................................
วันท่ี..........เดือน............................พ.ศ. ..........

บนั ทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้............................................................................ ....................................................

............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................................... .....................

สภาพปญั หา............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................................... .........

แนวทางการแก้ไขปัญหา.......................................................................................................... ...............
................................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. .................................................

ผลการแกไ้ ขปัญหา..................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ ...........................................................ผบู้ ันทึก
(.....................................................................)
ตาแหน่ง...........................................................
วันท่ี..........เดือน............................พ.ศ. ..........

๒๙๗

ความสม ูบร ์ณของเร่ือง (๒) แบบประเมนิ การเล่านทิ านพน้ื บ้าน
การใช้ภาษา (๒) รายการประเมิน
การใช้น้าเ ีสยง (๒)
กลุ่มท่ี ชอื่ -สกุล
การแสดงท่าทาง (๒)
ความค ่ลองแค ่ลว (๒)บนั ทึกเพ่มิ เตมิ .......................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................... ...................
รวม (๑๐)................................................................................................................ ..............................................................
สรุป (ผ/มผ)
ลงช่ือ.....................................................ผู้ประเมนิ
(...................................................................)

ผปู้ ระเมิน  ตนเอง  เพื่อน  ผสู้ อน
วนั ที่............เดือน............................พ.ศ. ..............
๒๙๘

เกณฑ์การประเมนิ การเล่านิทานพื้นบ้าน

รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ
ดี (๒) พอใช้ (๑) ควรปรบั ปรงุ (๐)

๑. ความสมบรู ณข์ องเรอื่ ง

- เลา่ เรือ่ งตามลาดบั ไมว่ กวน ปฏบิ ัติครบ ๒ ขอ้ ปฏิบตั ิ ๑ ขอ้ ไม่ปฏบิ ัติทงั้ ๒ ข้อ

- เนื้อเร่อื งครบถว้ นได้ใจความ

๒. การใชภ้ าษา

- เว้นวรรคตอนถูกต้อง ปฏิบัติครบ ๒ ข้อ ปฏิบัติ ๑ ข้อ ไม่ปฏบิ ตั ิทั้ง ๒ ข้อ

- คาควบกล้าชดั เจน

๓. การใชน้ า้ เสียง ปฏบิ ตั ิครบ ๒ ขอ้ ปฏิบัติ ๑ ข้อ ไม่ปฏบิ ัตทิ ั้ง ๒ ข้อ
- เสยี งดังฟงั ชัดไดย้ ินท่ัวถึง

- สอดคลอ้ งกบั เหตุการณแ์ ละตัวละคร

๔. การแสดงทา่ ทาง

- สหี น้าสอดคล้องกับเหตุการณ์ ปฏิบตั คิ รบ ๒ ข้อ ปฏิบัติ ๑ ข้อ ไม่ปฏิบตั ิทั้ง ๒ ข้อ

- ทา่ ทางสอดคล้องกบั เหตุการณ์

๕. ความคลอ่ งแคลว่

- เล่านิทานจนจบเรอื่ ง ปฏิบตั ิครบ ๒ ข้อ ปฏบิ ัติ ๑ ขอ้ ไมป่ ฏิบตั ิทงั้ ๒ ข้อ

- เลา่ เร่ืองตอ่ เนอ่ื งไม่ติดขัด

คะแนนตัดสนิ ระดับคณุ ภาพ

คะแนน คณุ ภาพ
๗ - ๑๐ ดมี าก
๔-๖
๑-๓ ดี
ควรปรับปรงุ

หมายเหตุ ผ้ผู า่ นเกณฑก์ ารประเมินต้องได้คะแนน ๖ คะแนนขน้ึ ไป คิดเป็นร้อยละ ๗๐

๒๙๙

แบบประเมนิ ผลงานนกั เรยี นหนงั สอื เล่มเล็กนทิ านพน้ื บ้าน
คาช้ีแจง ใหค้ รผู ้สู อนกรอกคะแนนลงในชอ่ งตามเกณฑ์การประเมนิ

รายการประเมนิ

กลมุ่ ที่ เลขที่ ชอื่ -สกุล นาเสนอเนื้อหาไ ้ด
ูถก ้ตอง(๓)
ความคิด รวม สรุป
(๑๒) (ผ/มผ)
สร้างสรรค์ (๓)
ความรับ ิผดชอบ
ความประ ีณต (๓)

บนั ทกึ เพิม่ เตมิ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................... ..........................................

ลงช่อื .....................................................ผู้ประเมนิ
(..............................................................)

ตาแหนง่ ................................................................
วันท่.ี .........เดือน...........................พ.ศ. .............

๓๐๐

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานนกั เรยี นหนงั สือเล่มเลก็ นทิ านพ้ืนบ้าน

รายการประเมิน ดีมาก (๓) คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ
ดี (๒) ควรปรบั ปรงุ (๑)

๑. นาเสนอเนอ้ื หาถูกต้อง เนื้อหาสาระถกู ต้อง เนอ้ื หาสาระถูกต้อง เนอ้ื หาสาระไม่ครบถ้วน

ครบถว้ น ใชค้ ากระชับ ครบถว้ น ใช้คากระชับ ใช้คาฟุ่มเฟือยไม่ได้

ได้ใจความ เขา้ ใจง่าย ไดใ้ จความ เขา้ ใจงา่ ย ใจความ

๒. ความคิดสร้างสรรค์ ออกแบบแปลกใหม่ ออกแบบแปลกใหม่ ออกแบบไดไ้ ม่

สรา้ งสรรค์ สอดคล้อง สรา้ งสรรค์ สอดคลอ้ ง สรา้ งสรรค์ ไมส่ อดคล้อง

กบั เนอ้ื หา ใช้สสี ัน กบั เน้ือหา แตย่ ังใช้ กบั เนือ้ หา และคัดลอก

หลากหลาย สสี ันไม่หลากหลาย ผลงานผ้อู ่นื

๓. ความรับผิดชอบ ความ ส่งงานตรงเวลา สะอาด สง่ งานตรงเวลา ส่งงานไม่ตรงเวลา

ประณตี อา่ นง่าย เรยี บร้อย สะอาด อา่ นง่าย ชน้ิ งานไม่มีความ

ประณีต แสดงถึงความ เรยี บร้อย แต่ขาด ประณตี ไม่ส่อื ใหเ้ หน็

ตงั้ ใจในการทางาน ความประณตี บางส่วน ความตง้ั ใจในการทางาน

เกณฑก์ ารประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ มีดังน้ี
คะแนน ๗ - ๙ ดีมาก
คะแนน ๔ - ๖ ดี
คะแนน ๑ - ๓ ควรปรบั ปรุง

หมายเหตุ ผ้ผู า่ นเกณฑ์การประเมนิ จะตอ้ งได้คะแนนระดบั ดีข้นึ ไป

๓๐๑

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการร่วมกิจกรรมกลุม่ สรุป
คาชแ้ี จง : ให้ครผู สู้ อนกรอกคะแนนลงในช่องลงคะแนนตามเกณฑป์ ระเมิน

แบบรายงานสังเกต

ก ุ่ลมที่
การแบ่งห ้นาที่ภายในก ุ่ลม

การรู้ ัจกแสดงความ
คิดเห็น

การทางานตาม ้ัขนตอน
ปฏิบั ิตงานเสร็จทันเวลา

่ผาน
ไ ่ม ่ผาน
ชอื่ -สกลุ รวม
12

321321321321

บันทกึ เพิ่มเติม
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ................................................ผู้ประเมนิ
(........................................................)

วันท่.ี .........เดอื น...........................พ.ศ. ..........

เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนนตดั สินระดับคุณภาพ
ดีมาก = 3 คะแนน คณุ ภาพ
ดี = 2 10 – 12 ดีมาก
ปรบั ปรุง = 1 7 - 9 ดี
1 – 6 ควรปรบั ปรงุ

๓๐๒

เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมการรว่ มกจิ กรรมกล่มุ

รายการประเมิน 3 (ดมี าก) คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
2 (ดี) 1 (ควรปรับปรุง)

การแบง่ หนา้ ท่ีภายใน มีการแบ่งหนา้ ทภ่ี ายใน มกี ารแบ่งหน้าทภี่ ายใน ไม่มีการแบง่ หน้าที่

กลมุ่ กลมุ่ อยา่ งชัดเจน มีความ กล่มุ อย่างชัดเจน แต่ไม่ ภายในกลุ่ม

รบั ผิดชอบงานตาม รบั ผิดชอบงานตาม

บทบาทหนา้ ท่ี บทบาทหน้าที่ของตน

การรจู้ กั แสดงความ ร้จู กั แสดงความคดิ เห็น ร้จู กั แสดงความคิดเหน็ ไม่มีการแสดงความ

คิดเห็น ในกลุ่มดมี าก ในกลุ่ม คิดเหน็ ในกลุ่มเลย

การทางานตามขนั้ ตอน การทางานตามข้นั ตอน การทางานตามขั้นตอน ไมท่ างานตามขั้นตอน

ดมี าก

ปฏิบัตงิ านเสร็จ ปฏบิ ัติงานเสร็จทนั เวลา ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ ทันเวลา ไม่เสร็จทนั เวลา

ทันเวลา ตามกาหนดเรยี บร้อยดี ตามกาหนด ตามท่ีกาหนด

มาก

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมนิ พฤติกรรมระหวา่ งรว่ มกิจกรรมกลุ่ม กาหนดไว้ดงั นี้
3 หมายถงึ ดีมาก
2 หมายถงึ ดี
1 หมายถงึ ปรับปรงุ

คะแนน 10 - 12 หมายถงึ ดีมาก
คะแนน 7 - 9 หมายถงึ ดี
คะแนน 1 - 6 หมายถึง ควรปรบั ปรงุ

๓๐๓

แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผ้เู รยี น

ชอื่ -สกุล..........................................................................................ช้นั .......................เลขที่........................

คาชแ้ี จง ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รียน แล้วทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งทต่ี รงกับระดับคุณภาพ

สมรรถนะด้าน รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ สรปุ การ
ประเมนิ
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
(๓) (๒) (๑) (๐)

ความสามารถใน มคี วามสามารถในการรับ-ส่งสาร  ดมี าก
การส่อื สาร มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ  ดี
 พอใช้
ความเข้าใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม  ปรบั ปรงุ
ใช้วิธกี ารส่ือสารทีเ่ หมาะสม มปี ระสทิ ธภิ าพ
 ดมี าก
เจรจาต่อรอง เพอ่ื ขจัดและลดปญั หาความขดั แย้ง  ดี
ต่าง ๆ ได้  พอใช้
เลือกรบั และไมร่ บั ข้อมลู ข่าวสารดว้ ยเหตผุ ล  ปรบั ปรุง
ถูกตอ้ ง
ความสามารถใน มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์
การคดิ มที ักษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์

สามารถคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ

มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้

สามารถตดั สนิ ใจได้เหมาะสมตามวัย

ความสามารถใน สามารถแกป้ ัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ทเ่ี ผชิญได้  ดีมาก
การแก้ปัญหา ใช้เหตผุ ลในการแกป้ ญั หา  ดี

เขา้ ใจความสมั พันธ์และการเปลยี่ นแปลงในสงั คม  พอใช้

แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรมู้ าใชใ้ นหาร  ปรบั ปรงุ
ป้องกันและแก้ไขปญั หา

ตัดสนิ ใจแก้ปญั หาเกย่ี วกับตนเองไดอ้ ย่าง
เหมาะสม

ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................. ...........................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สรปุ ผลการประเมนิ ท้ัง ๓ ดา้ น ลงช่อื .....................................................ผู้ประเมนิ
 ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ (...................................................................)

วันท่ี............เดอื น............................พ.ศ. ..............

๓๐๔

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

ชอ่ื -สกุล..........................................................................................ชั้น.......................เลขที่........................

คาชี้แจง ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของผเู้ รยี น แล้วทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งท่ีตรงกับระดบั คะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อันพงึ ประสงค์ ๓๒๑๐

มีวินัย ๑. เขา้ เรยี นตรงเวลา

๒. แต่งกายเรยี บรอ้ ยเหมาะสมกบั กาลเทศะ

๓. ปฏบิ ัติตามกฎระเบียบของหอ้ ง

ใฝเ่ รียนรู้ ๑. แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ

๒. มกี ารจดบันทกึ ความรอู้ ยา่ งเป็นระบบ

๓. สรปุ ความร้ไู ดอ้ ย่างมเี หตผุ ล

มุง่ ม่นั ในการ ๑. มีความตงั้ ใจและพยายามทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย

ทางาน ๒. มีความอดทนและไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ อุปสรรคเพื่อใหง้ านสาเรจ็

รวม

ผลการประเมนิ  ผา่ น  ไม่ผา่ น

ลงช่ือ.....................................................ผปู้ ระเมนิ
(...................................................................)

วันท.่ี ...........เดอื น............................พ.ศ. ..............

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน
- พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบัตชิ ดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน
- พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ตั ิบางครัง้ ให้ ๐ คะแนน
- พฤตกิ รรมทไ่ี มไ่ ดป้ ฏบิ ัติ

๓๐๕

แบบทดสอบหลังเรยี น
คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นพิจารณาข้อความตอ่ ไปนี้ แลว้ เตมิ ก หน้าขอ้ ความท่ีถูกต้อง และเติม ข หน้าขอ้ ความทีผ่ ิด
_____ ๑. การเลา่ นิทานควรใช้เสียงท่ีเป็นธรรมชาติตวั เองตลอดทัง้ เรื่อง
_____ ๒. ควรทาความเข้าใจเนอ้ื หาของเร่ืองทจ่ี ะเล่าใหด้ ี
_____ ๓. สอื่ ต่าง ๆ จะช่วยใหก้ ารเลา่ นิทานน่าสนใจมากข้ึน
_____ ๔. การเล่านทิ านไมจ่ าเป็นต้องจบั เวลา
_____ ๕. ควรจัดบรรยากาศใหเ้ หมาะสมกับเร่ืองทจ่ี ะเล่า

ชือ่ ...................................................................................................ชน้ั .................. ............เลขท่ี..........................

๓๐๖

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
คาชี้แจง ให้นกั เรียนพิจารณาข้อความตอ่ ไปน้ี แล้วเตมิ ก หนา้ ขอ้ ความทถี่ ูกต้อง และเติม ข หน้าข้อความทผ่ี ิด
__ข___ ๑. การเลา่ นทิ านควรใช้เสียงทเ่ี ปน็ ธรรมชาติตวั เองตลอดทั้งเร่ือง
__ก___ ๒. ควรทาความเขา้ ใจเนื้อหาของเรื่องทจี่ ะเลา่ ให้ดี
__ก___ ๓. สอ่ื ต่าง ๆ จะช่วยให้การเล่านิทานนา่ สนใจมากข้ึน
__ข___ ๔. การเล่านทิ านไม่จาเปน็ ต้องจับเวลา
__ก___ ๕. ควรจัดบรรยากาศให้เหมาะสมกับเร่ืองทจ่ี ะเล่า

ชื่อ...................................................................................................ชน้ั ..............................เลขที่..........................

๓๐๗

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑๒ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
โดยบรู ณาการการจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบนิรนยั ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๑ ชว่ั โมง
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๕ เลา่ ขานวรรณกรรมท้องถ่ิน
เรอ่ื ง อา่ นนิทานกดุ นางใยฝกึ จบั ใจความ

สาระสาคญั
การอ่านจับใจความสาคัญจากนิทาน เป็นการอ่านจับใจความเร่ืองที่เป็นบันเทิงคดี เพื่อค้นหา

สาระสาคัญของนิทาน เน้ือเรือ่ งให้ความเพลิดเพลินในการอ่าน และท่สี าคญั นทิ านจะให้ข้อคิดแกผ่ อู้ ่าน
นิทานพ้ืนบ้านเร่ืองกุดนางใย เป็นนิทานพื้นบ้านของจังหวัดมหาสารคาม มีข้อคิดเพื่อเป็นอุทาหรณ์

สอนใจวา่ อย่าตัดสินใครเพียงสง่ิ ที่เราเหน็ ควรสอบถามหาสาเหตุและข้อเทจ็ จรงิ ใหด้ ีเสียก่อน

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน

การดาเนินชีวิตและมนี ิสัยรักการอา่ น
ตัวช้วี ดั
ป.๖/๓ อ่านเรื่องสนั้ ๆ อย่างหลากหลาย โดยจับเวลาแลว้ ถามเกี่ยวกบั เรื่องท่ีอา่ น

จุดประสงค์การเรียนรู้
เมอื่ นักเรียนเรยี นเร่อื ง เล่านทิ านกดุ นางใยฝึกจบั ใจความแล้ว นกั เรยี นสามารถ
๑. บอกหลกั การอ่านจับใจความสาคญั ไดถ้ ูกตอ้ ง (K)
๒. จบั ใจความจากนทิ านพนื้ บ้านเรอื่ งกุดนางใยได้ (P)
๓. มีมารยาทในการอ่าน (A)

สมรรถนะผเู้ รยี น
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรียนยดึ มั่นในความถูกต้อง ประพฤตติ รงตามความเป็นจริงตอ่
๑. ซ่ือสัตย์ สุจริต ตนเองและผูอ้ ่ืน ทง้ั ทางกาย วาจา ใจ

๓๐๘

๒. มวี นิ ยั นักเรยี นมีความตรงต่อเวลา รู้จกั กาลเทศะ
๓. ใฝเ่ รียนรู้ นกั เรยี นตง้ั ใจเพียรพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้
๔. มงุ่ ม่นั ในการทางาน นักเรยี นต้ังใจเรยี นและรับผิดชอบงานทตี่ นเองได้รบั มอบหมาย
๕. รักความเปน็ ไทย นักเรียนเหน็ คณุ ค่าของภาษาไทยและสามารถใช้ภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้อง

สาระการเรยี นร/ู้ เน้อื หา
๑. หลักการอา่ นจบั ใจความสาคญั
๒. นทิ านพน้ื บา้ น เร่ือง กุดนางใย
๓. มมี ารยาทในการอา่ น

ผลงาน/การปฏบิ ัติ
จับใจความสาคญั จากนทิ านพื้นบ้าน เรื่อง กุดนางใย

กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยบรู ณาการการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบนริ นยั
ข้นั ท่ี 1 ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น (๑๐ นาท)ี
๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียนด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้มแจ่มใส เพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้

ท่ีดี จากน้ันครูตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่มาเข้าเรียน หากมีนักเรียนท่ีไม่มาเรียน ครูควรสอบถามถึงสาเหตุ
ที่ไม่เขา้ เรียน แลว้ บันทึกลงในใบรายช่ือนักเรยี น

๒. ครผู ้สู อนแจง้ ขอ้ ตกลงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่อื เปน็ การควบคุมชน้ั เรียน ดงั นี้
- ห้ามเลน่ โทรศัพทใ์ นขณะที่ครูดาเนนิ การสอน ยกเวน้ ครูอนุญาตให้ใช้ในการสบื คน้ ข้อมูล
- ห้ามส่งเสียงดงั รบกวนผู้อนื่ ขณะเรียน
- ใหค้ วามสนใจขณะท่ีครกู าลังสอน โดยร่วมแสดงความคิดเห็นและตอบคาถาม
- หากนกั เรียนมขี ้อสงสยั ให้ยกมือขน้ึ รอครูอนุญาตให้ถามจึงลดมอื ลง แล้วเร่ิมถามข้อสงสยั

๓. ครูให้นักเรียนเล่นเกมจับผิดภาพ ถ้านักเรียนคนไหนเห็นก่อนให้ยกมือขึ้น แล้วบอกจุด
ที่แตกต่างกัน จากน้ันครูสอบถามนักเรียนว่ารู้หรือไม่ว่าภาพน้ีเก่ียวกับเร่ืองอะไร มีใครเคยฟังหรือมีความรู้
เก่ียวกับนิทานพื้นบ้านเร่ืองนี้หรือไม่ เพื่อเป็นการเช่ือมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียนในวันนี้ (ภาพที่นามาให้
นักเรียนเล่นเกมจะเก่ียวข้องกบั นิทานพืน้ บา้ นเรื่อง กุดนางใย)

ข้ันท่ี 2 ขั้นสอน (๓๕ นาท)ี
๑. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญจากนิทานให้กับนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้

ศึกษาความรู้เพิ่มเติมระหว่างที่ครูกาลังสอนควบคู่กันไป จากนั้นครูอธิบายหลักการอ่านจับใจความสาคัญให้
นกั เรยี นฟงั

๓๐๙

๒. ครูแจกใบความรู้นทิ านพน้ื บา้ น เร่อื ง กดุ นางใย ให้นักเรียนอ่านแลว้ ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั วิเคราะห์
องคค์ วามรู้จากเร่ืองที่ได้อ่าน

๓. ครูให้นักเรียนทาใบงาน เร่ือง อ่านนิทานกุดนางใยฝึกจับใจความ เพ่ือทบทวนความรู้เกี่ยวกับ
เร่ืองท่ีอ่านว่านักเรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ได้หรือไม่ และเพ่ือวัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เรอ่ื งทเ่ี รยี นมา

ขนั้ ท่ี ๓ ข้ันสรุปความรู้ (๑๕ นาที)
๑. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการอ่านจับใจความสาคัญจากทานพื้นบ้าน

พรอ้ มทงั้ เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนไดซ้ กั ถามในประเด็นทน่ี ักเรยี นสงสัย
๒. ครูแจกแบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง การอ่านจับใจความสาคัญจากนิทานพื้นบ้าน พร้อมทั้ง

อธิบายคาชีแ้ จงในการทาแบบทดสอบ ซึง่ เป็นข้อสอบชนดิ ปรนยั แบบถกู -ผดิ จานวน ๑๐ ขอ้ (๑๐ คะแนน)
๓. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกัน กลุ่มละ ๔-๕ คน เพื่อศึกษานิทานพื้นบ้านในท้องถ่ิน

แล้วทาเปน็ ชิน้ งานหนงั สอื เลม่ เลก็ นทิ านพน้ื บา้ น เพ่ือใช้ประกอบการเล่านทิ านในช่วั โมงถัดไป
สอ่ื /นวตั กรรม/แหล่งการเรยี นรู้

สอ่ื และนวัตกรรม
๑. ใบความรู้ เรอ่ื ง การอ่านจับใจความสาคญั จากนทิ าน
๒. ใบความรนู้ ทิ านพ้นื บ้าน เรอื่ ง กุดนางใย

แหล่งการเรยี นรู้
๑. ครู
๒. หอ้ งสมุด

๓๑๐

การวดั และการประเมนิ ผล

การวดั วธิ ีการวดั เครื่องมอื ที่ใช้ เกณฑ์
และประเมินผล และประเมินผล การประเมิน
ผ่านเกณฑ์
บอกหลักการอ่าน การทดสอบหลังเรยี น แบบทดสอบ เรื่อง การอ่าน ร้อยละ ๗๐ ขนึ้ ไป

จับใจความสาคัญได้ เร่ือง การอา่ นจับ จับใจความสาคญั จากนทิ าน ผา่ นเกณฑ์
ร้อยละ ๗๐ ขน้ึ ไป
ถกู ต้อง ใจความสาคญั จากนทิ าน พื้นบา้ นชนิดปรนยั แบบ
ผ่านเกณฑ์
พ้นื บา้ น ถกู ผดิ จานวน ๕ ข้อ ร้อยละ ๗๐ ขน้ึ ไป
ผา่ นเกณฑ์
จับใจความจากนิทาน การประเมนิ ชิน้ งาน เร่ือง แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป
ผา่ นเกณฑ์
พนื้ บา้ นเร่ืองกุดนางใย อ่านนิทานกุดนางใยฝึก อา่ นนทิ านกุดนางใยฝึกจับ รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป

ได้ จบั ใจความ ใจความ ชนดิ Scoring

Rubrics

การมมี ารยาทใน การสังเกตพฤติกรรมใน แบบสงั เกตมารยาทในการ

การอา่ น ชน้ั เรียนของนักเรียน อา่ น

สมรรถนะท่ีสาคัญของ การประเมนิ สมรรถนะท่ี แบบประเมนิ สมรรถนะที่

ผู้เรียน สาคญั ของผเู้ รยี น สาคัญของผู้เรยี น

คณุ ลกั ษณะที่พึง การประเมนิ คุณลักษณะ แบบประเมินคณุ ลักษณะที่

ประสงค์ ที่พงึ ประสงค์ พึงประสงค์

๓๑๑

บนั ทกึ เพมิ่ เติมสาหรบั ผู้บรหิ าร/ผ้ทู ไี่ ดร้ บั มอบหมาย
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .........................................................ผู้ประเมิน
(.....................................................................)
ตาแหน่ง...........................................................
วันท.่ี .........เดือน............................พ.ศ. ..........

บนั ทึกผลหลังการจดั การเรยี นรู้
ผลการจัดการเรียนรู.้ ...............................................................................................................................

......................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

สภาพปัญหา.................................................................................................................... ........................
..................................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. .................................................

แนวทางการแกไ้ ขปญั หา.........................................................................................................................
.......................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. .................................................

ผลการแกไ้ ขปัญหา..................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ...........................................................ผบู้ นั ทกึ
(.....................................................................)
ตาแหน่ง...........................................................
วันที.่ .........เดอื น............................พ.ศ. ..........

๓๑๒

การอา่ นจบั ใจความสาคัญจากนิทานพื้นบา้ น

/

การอ่านจับใจความสาคญั ของนทิ าน เปน็ การอา่ นจบั ใจความเรื่องที่เป็นบันเทงิ คดีโดยเนื้อ
เร่อื งให้ความเพลดิ เพลนิ ในการอา่ น และทส่ี าคญั นทิ านจะใหข้ ้อคิดแก่ผู้อ่าน ในการอา่ นจับใจความ
สาคัญจากนทิ าน ควรพิจารณาดังนี้

ชอ่ื เรอื่ ง การอา่ นนทิ านควรพิจารณาชือ่ เร่ืองเป็นอันดบั แรก เนอื่ งจากชอ่ื เรอ่ื งจะเป็นส่วนนา
ใหอ้ า่ นนทิ านไดเ้ ข้าใจ เพราะชื่อเรื่องจะบอกใหผ้ ู้อ่านเข้าใจเรือ่ งไดท้ ันที อกี ท้งั ชอื่ เร่อื งของนทิ านจะ
ยกตัวละครขน้ึ มาตงั้ ชื่อเรอื่ ง ทาใหท้ ราบว่านิทานเรอื่ งดงั กล่าวเปน็ เร่อื งเกยี่ วกับอะไร ดังน้ัน ผู้อา่ น
จึงควรพจิ ารณาและใหค้ วามสาคญั กับชื่อเรือ่ งเปน็ อันดบั แรก

เนื้อเรือ่ ง หลงั จากท่พี ิจารณาช่อื เร่ืองแล้ว เนือ้ เรื่องก็เป็นสง่ิ ทสี่ าคัญทีผ่ ู้อา่ นตอ้ งพจิ ารณาอย่าง
ละเอียด เพราะเนือ้ เร่ืองจะทาใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจลาดบั เหตุการณ์ของเรอื่ งไดอ้ ย่างชดั เจนมากขึน้

ข้อคดิ ที่ไดจ้ ากเรอ่ื ง การอา่ นนิทานทุกเรอื่ ง ข้อคิดเป็นส่วนสาคัญที่ผู้อ่านจะต้องพิจารณา
เพราะจะทาให้มองเหน็ แก่นของเรื่องไดท้ นั ที หลงั จากนั้นสรปุ สาระสาคญั โดยตอบคาถามให้ได้วา่
ใคร ทาอะไร ท่ไี หน เมือ่ ไหร่ อย่างไร และทาไม ซ่ึงนอกจากจะแสดงว่าผู้อา่ นจับใจความสาคญั ของ
เรอื่ งไดแ้ ล้ว ยงั เปน็ จุดชีน้ าใหเ้ ห็นแกน่ เร่ืองหรือใจความสาคญั ไดง้ า่ ยด้วย เนื่องจากนทิ านเปน็
วรรณกรรมประเภทบันเทงิ คดี หากตอบคาถามข้างตน้ เพยี งอยา่ งเดียว กจ็ ะทาให้ขาดรสชาตแิ ละ
คุณคา่ ของนิทานอยา่ งเพยี งพอ ดงั น้ันควรจับใจความย่อยหรอื ใจความประกอบเพื่อเก็บรายละเอียด
ของเร่อื งไปพรอ้ มกนั

นิทานพน้ื บา้ น เร่อื ง กุดนางใย

คร้ังโบราณท่บี ริเวณแหล่งน้านม้ี คี รอบครวั หน่ึงตั้งบ้านเรือนอาศยั อยู่ มแี ม่และลกู ชาย
ภายหลังไดล้ ูกสะใภม้ าอยรู่ ่วมกัน อยู่มาวนั หน่งึ ลูกชายไปค้าขายทางไกล แมแ่ ละลูกสะใภอ้ ยู่บา้ น
เพยี ง ๒ คน คืนหนึ่งแม่ผัวสงั เกตเหน็ วา่ ที่ห้องนอนของลกู สะใภจ้ ุดตะเกยี งตลอดคืน ซึ่งเปน็ การผดิ
ธรรมเนยี มโบราณ กล่าวคือเมื่อเขา้ นอนต้อง ดับตะเกียง

ในคนื วนั หนึ่ง แม่ผวั สงสัยจึงไปแอบดูวา่ ลูกสะใภ้ทาอะไรอยู่ในหอ้ ง และเห็นวา่ ลกู สะใภก้ าลงั
สาวใยไหม ออกจากปากตวั เองมามว้ นเข้าฝัก จึงเกดิ ความหวาดกลัวนึกว่าสะใภ้เป็นภูตผีปีศาจ
จึงนาความไปเลา่ ใหเ้ พ่อื นบา้ นฟัง

คนื ตอ่ มาแม่ผวั และเพอ่ื นบ้านจงึ มาแอบดูเพอ่ื จับผดิ ลกู สะใภ้ ในท่สี ุดได้จโู่ จมเขา้ ไปในห้อง
ขณะที่ลกู สะใภ้กาลังสาวไหมออกจากปาก จงึ ซักถามว่าเป็นใคร มาจากไหน เป็นภตู ผปี ีศาจหรือ
เปลา่ ทาใหล้ ูกสะใภ้อบั อายเป็นอย่างมาก จึงหนีออกจากบา้ นและโดดลงในลาน้านน้ั หายไป

เมื่อลกู ชายกลับมาและรู้ความจริงว่าภรรยาโดดน้าตาย ณ ที่แห่งนน้ั จึงไดแ้ ตเ่ ศร้าโศกเสียใจ
เมือ่ ถึงคืนเดอื นหงายจะไปนั่งรมิ ลาน้าแหง่ นี้ และจอ้ งมองลงไปในสายน้านาน ๆ เข้ากม็ องเห็นภรรยา
ในสายน้านั้น และสาวใยไหมออกจากปาก ตอ่ มาทแี่ หง่ นจ้ี งึ ได้ช่อื ว่ากุดนางใย (ใยหมายถงึ ใยไหม)

นทิ านเรอื่ งนี้สอนใหร้ ูว้ ่า
1. เปน็ อุทาหรณ์สอนใจวา่ การจะลงโทษใครอย่าผลผี ลาม ควรถามสาเหตุและเหตุผลข้อเทจ็ จริง
ก่อน
2. นามของสถานทสี่ ่วนใหญ่…จะมีนิทาน ตานานประกอบ และเป็นทม่ี าของชือ่ สถานทน่ี ้นั ๆ

ท่ีมา https://nitanstory.com/

ใบงาน เรอื่ ง อ่านกุดนางใยฝึกจับใจความ

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นอ่านนทิ านพื้นบ้านเรอ่ื งกดุ นางใย แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

๑. นทิ านเร่อื งนี้กล่าวถึงใคร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๒. เพราะเหตุใดลูกสะใภ้จงึ รู้สกึ อับอายแล้วไปกระโดดลงนา้
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๓. เหตุการณใ์ ดเปน็ ตน้ เหตขุ องเร่อื งราวทัง้ หมดนี้
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๔. นักเรยี นจะนาข้อคิดท่ีไดจ้ ากเรื่องนีไ้ ปปรบั ใช้อย่างไรบา้ ง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๕. ใจความสาคญั ของเรอ่ื งนค้ี ืออะไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

เฉลยใบงาน เรอื่ ง อา่ นกดุ นางใยฝกึ จบั ใจความ

คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นอ่านนิทานพ้ืนบา้ นเรอ่ื งกดุ นางใย แล้วตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

๑. นิทานเร่อื งนีก้ ลา่ วถงึ ใคร
.............ล...ูก..ส..ะ...ใ.ภ...้ท..ีช่...ัก..ใ..ย..อ..อ...ก..จ...า..ก..ป...า..ก..ไ..ด..้ ................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๒. เพราะเหตใุ ดลกู สะใภ้จงึ รสู้ กึ อบั อายแล้วไปกระโดดลงนา้
......แ..ม..่ส...า..ม..ีจ...โู่ .จ..ม...เ.ข...า้ ..ไ.ป...ใ.น...ห...อ้ ..ง...ข...ณ...ะ..ท...่ีล..ูก...ส..ะ..ใ..ภ..้ก...า..ล..ัง..ส..า..ว..ไ..ห...ม..อ...อ..ก..จ...า..ก..ป...า..ก....จ..ึง..ซ..กั...ถ..า..ม...ว..่า..เ.ป..็น...ใ..ค..ร............
......ม..า..จ..า..ก...ไ.ห...น....แ..ล...ะ..ก..ล...า่ ..ว..ห...า.ว...า่ ..เ.ธ..อ..เ..ป..น็...ภ..ตู...ผ..ีป...ศี..า..จ...................................................................................

๓. เหตุการณใ์ ดเป็นตน้ เหตุของเรอ่ื งราวท้ังหมดนี้
......ล..ูก..ส...ะ..ใ..ภ..้ไ..ม..่ป...ิด..ไ..ฟ...ใ.น...ห...้อ..ง..น..อ...น....ข..ณ...ะ...ท..ีก่...า..ล..ัง..ส..า..ว..ไ..ห...ม..อ...อ..ก..จ...า..ก..ป...า..ก....ท..า..ใ..ห...้แ..ม..่ส...า..ม..เี .ก...ิด..ค...ว..า..ม..ส...ง..ส..ยั .........
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๔. นักเรียนจะนาข้อคดิ ท่ีได้จากเรอื่ งนี้ไปปรบั ใชอ้ ยา่ งไรบ้าง
......ไ.ม...ร่ ..บี ..ต...ัด..ส...นิ ..ด...ว้ ..ย..ค...ว..า..ม..ใ..จ..ร..้อ..น....จ...ะ..ถ..า..ม...ถ..งึ..ส..า..เ..ห..ต...ุข..อ..ง..เ..ร..่ือ..ง..น..้ัน...ใ..ห..ด้...ีเ.ส..ยี...ก..่อ...น...........................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

๕. ใจความสาคัญของเรอื่ งน้คี ืออะไร
......ล..กู..ส...ะ..ใ..ภ..ไ้..ม..ด่...ับ..ต...ะ..เ.ก...ีย..ง..ข..ณ....ะ..ท...ี่ก..า..ล..ัง..ส...า.ว...ใ.ย..อ...อ..ก...จ..า..ก..ป...า..ก....ท...า..ใ.ห...้แ..ม...ส่ ..า..ม...เี .ก..ดิ...ค..ว..า..ม...ส..ง..ส..ัย....จ..ึง..ไ..ป..ช...ว..น.......
......ช..า..ว..บ...้า..น..ม...า..ด..ู..แ..ล..้ว...ต..่อ..ว..า่..น...า..ง..เ.ป...น็ ..ภ...ูต..ผ...ีป...ศี ..า..จ....น..า..ง..เ.ก...ดิ ..ค...ว..า..ม..อ...บั ..อ...า..ย..ม...า..ก....จ..ึง..ไ.ป...ก..ร..ะ..โ..ด..ด...ล..ง..น...้า..............
......เ.ส..ยี...ช..ีว..ติ....ผ..ู้เ..ป..น็...ส..า..ม...ีก..็เ.ส...ีย..ใ..จ..ม..า..ก...ท..กุ...ค..ืน...ว..นั...เ.พ...็ญ...ก..็จ...ะ..ไ.ป...น...ง่ั ..ท..่ีร..ิม...น..า้.........................................................
...............................................................................................................................................................

แบบประเมินผลงาน
เรอ่ื ง อา่ นนทิ านกดุ นางใยฝกึ จับใจความ

ชื่อ...............................................................................ช้นั .....................เลขที่............กลมุ่ ที่........................

ขอ้ ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน รวม (๙) สรปุ
๓๒๑ (ผ/มผ)
๑ การใชภ้ าษา
๒ ความถกู ต้องของการตอบคาถาม
๓ ความสะอาดเรยี บรอ้ ย

บนั ทึกเพ่มิ เตมิ .......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

ลงชื่อ.....................................................ผ้ปู ระเมิน
(...................................................................)

ผปู้ ระเมิน  ตนเอง  เพ่อื น  ผู้สอน
วนั ท่ี............เดือน............................พ.ศ. ..............

๓๑๗

เกณฑ์การประเมนิ ผลงาน

เร่ือง อ่านนทิ านกดุ นางใยฝึกจบั ใจความ

รายการประเมนิ คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ

๓ (ดมี าก) ๒ (ดี) ๑ (ควรปรับปรุง)

๑. การใช้ภาษา

- ใชภ้ าษาถกู ต้องตามหลักภาษา ภาษาตามเกณฑ์ ภาษาตามเกณฑ์ ภาษาตามเกณฑ์

- เรียบเรียงถ้อยคาได้สละสลวย ๓ ขอ้ ๒ ข้อ ๑ ข้อ

- ส่ือความหมายได้ชดั เจน

๒. ความถูกต้อง

- ตอบไดต้ รงประเด็น ถูกต้องตามเกณฑ์ ถูกต้องตามเกณฑ์ ถูกต้องตามเกณฑ์

- ถกู ตอ้ งตามขอ้ เท็จจริง ๓ ขอ้ ๒ ข้อ ๑ ข้อ

- สื่อความหมายได้ชัดเจน

๓. ความสะอาดเรียบร้อย สะอาดเรยี บร้อย สะอาดเรียบร้อย สะอาดเรยี บร้อย
- เขียนตวั อกั ษรสวยอ่านง่าย ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์
- ไม่มรี อยขดี เขยี นอน่ื ๆ ๓ ข้อ ๒ ขอ้ ๑ ข้อ
- ไม่มีรอ่ งรอยการลบคาผิด

คะแนนตดั สินระดับคุณภาพ

คะแนน คณุ ภาพ
๗-๙ ดมี าก
๔-๖
๑-๓ ดี
ควรปรบั ปรุง

หมายเหตุ ผผู้ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ต้องไดค้ ะแนน ๖ คะแนนขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๗๐

๓๑๘

แบบประเมนิ มารยาทในการอ่าน

ช่ือ.......................................................................................ชั้น...................เลขท.ี่ ........................

คาช้ีแจง ใหท้ าเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งที่นกั เรยี นแสดงพฤติกรรมตามรายการประเมิน

ความคดิ เห็น

รายการประเมนิ มากที่สดุ (๕) มาก (๔) ปานกลาง (๓) น้อย (๒) นอ้ ยท่สี ุด (๑)

๑. ไม่อ่านเสยี งดังรบกวนผู้อืน่
๒. จดประเด็นสาคัญขณะที่อ่าน
๓. ไม่พบั ฉกี หรือขดี เขยี นเลน่ ใน
หนังสอื
๔. ไมแ่ ย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่าน
ขณะทผ่ี อู้ ื่นกาลังอ่านอยู่
๕. นง่ั อา่ นในท่าท่ีเหมาะสม

บันทึกเพิม่ เตมิ .......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .....................................................ผู้ประเมนิ
(...................................................................)

ผปู้ ระเมนิ  ตนเอง  เพอ่ื น  ผ้สู อน
วันท.ี่ ...........เดอื น............................พ.ศ. ..............

๓๑๙

แบบประเมนิ สมรรถนะที่สาคัญของผเู้ รียน

ชอื่ -สกุล..........................................................................................ช้นั .......................เลขท่.ี .......................

คาชแ้ี จง ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน แลว้ ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องทต่ี รงกับระดบั คุณภาพ

สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ สรุปการ
ประเมนิ
ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง
(๓) (๒) (๑) (๐)

ความสามารถใน มคี วามสามารถในการรับ-สง่ สาร  ดีมาก
การส่อื สาร มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ  ดี
 พอใช้
ความเขา้ ใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอยา่ งเหมาะสม  ปรับปรงุ
ใช้วธิ กี ารสือ่ สารทเ่ี หมาะสม มปี ระสทิ ธภิ าพ
 ดีมาก
เจรจาต่อรอง เพ่ือขจัดและลดปัญหาความขดั แยง้  ดี
ต่าง ๆ ได้  พอใช้
เลอื กรบั และไมร่ ับข้อมูลขา่ วสารดว้ ยเหตผุ ล  ปรับปรุง
ถูกต้อง
ความสามารถใน มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์
การคดิ มที กั ษะในการคิดนอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์

สามารถคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ

มีความสามารถในการสรา้ งองคค์ วามรู้

สามารถตดั สนิ ใจไดเ้ หมาะสมตามวยั

ความสามารถใน สามารถแก้ปญั หาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ทีเ่ ผชิญได้  ดีมาก
การแก้ปัญหา ใช้เหตผุ ลในการแกป้ ญั หา  ดี

เขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละการเปลย่ี นแปลงในสังคม  พอใช้

แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใชใ้ นหาร  ปรบั ปรุง
ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา

ตัดสินใจแก้ปญั หาเกย่ี วกบั ตนเองไดอ้ ย่าง
เหมาะสม

ข้อเสนอแนะ.........................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สรปุ ผลการประเมนิ ทั้ง ๓ ดา้ น ลงชอ่ื .....................................................ผู้ประเมิน
 ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ (...................................................................)

วันท่.ี ...........เดอื น............................พ.ศ. ..............

๓๒๐

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ช่ือ-สกุล..........................................................................................ช้นั .......................เลขท่.ี .......................

คาช้ีแจง ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของผ้เู รียน แลว้ ทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดับคะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อันพึงประสงค์ ๓๒๑๐

ซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ๑. ปฏิบัติตามระเบยี บการสอน และไม่ลอกการบา้ น

๒. ประพฤติ ปฏิบัติตรงต่อความเปน็ จริงต่อตวั เอง

๓. ประพฤติ ปฏบิ ัตติ รงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น

มวี ินยั ๑. เข้าเรยี นตรงเวลา

๒. แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ

๓. ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของห้อง

ใฝ่เรียนรู้ ๑. แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ

๒. มกี ารจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ

๓. สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล

มุง่ มนั่ ในการ ๑. มีความตัง้ ใจและพยายามทางานที่ได้รับมอบหมาย

ทางาน ๒. มีความอดทนและไม่ยอ่ ท้อต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเรจ็

รักความเปน็ ไทย ๑. มจี ติ สานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย

๒. เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ติ ามวฒั นธรรมไทย

รวม

ผลการประเมิน  ผา่ น  ไม่ผ่าน

ลงชอื่ .....................................................ผู้ประเมิน
(...................................................................)

วนั ท.่ี ...........เดอื น............................พ.ศ. ..............

เกณฑ์การให้คะแนน

- พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ตั ชิ ัดเจนสม่าเสมอ ให้ ๓ คะแนน

- พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน

- พฤติกรรมทป่ี ฏิบัติบางครงั้ ให้ ๑ คะแนน

- พฤติกรรมท่ีไม่ไดป้ ฏิบตั ิ ให้ ๐ คะแนน

หมายเหตุ ผ่านเกณฑ์ประเมินจะต้องได้คะแนน ๒๗ คะแนนขึน้ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๐

๓๒๑

แบบทดสอบหลังเรียน
คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นพิจารณาข้อความตอ่ ไปนี้ แล้วทาเคร่ืองหมาย  หนา้ ขอ้ ความทถ่ี ูก

และทาเครือ่ งหมาย  หน้าข้อความท่ีผิด
_____ ๑. การจับใจความจากนทิ านไมค่ วรดูทช่ี ่ือเร่ือง
_____ ๒. ข้อคดิ จากนิทานจะชว่ ยใหผ้ อู้ ่านมองเหน็ แก่นเรื่องได้ง่ายขึน้
_____ ๓. การจับใจความสาคัญจากนทิ านเป็นการจบั ใจความจากสารคดี
_____ ๔. การจับใจความสาคญั จากนทิ านควรอ่านแคใ่ จความหลักเท่านน้ั
_____ ๕. นทิ านพื้นบ้านให้ข้อคดิ ท่ีสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้

ช่อื .........................................................................................................ชั้น............ .........เลขที่......................

๓๒๒

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
คาช้แี จง ให้นักเรยี นพจิ ารณาข้อความต่อไปน้ี แล้วทาเคร่ืองหมาย  หน้าข้อความทถ่ี ูก

และทาเครอ่ื งหมาย  หนา้ ข้อความทีผ่ ดิ
_____ ๑. การจับใจความจากนิทานไมค่ วรดูทชี่ ่ือเรอ่ื ง
_____ ๒. ขอ้ คดิ จากนทิ านจะช่วยใหผ้ อู้ ่านมองเหน็ แกน่ เรื่องได้งา่ ยขึ้น
_____ ๓. การจับใจความสาคัญจากนทิ านเป็นการจบั ใจความจากสารคดี
_____ ๔. การจบั ใจความสาคญั จากนิทานควรอ่านแคใ่ จความหลักเทา่ น้นั
_____ ๕. นทิ านพ้ืนบ้านให้ข้อคดิ ท่ีสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้

ชื่อ.........................................................................................................ช้นั ............... ......เลขที.่ .....................

๓๒๓

บรรณานกุ รม
กนษิ ฐา พุทธเสถียร และ ทิพยว์ ารี สงนอก. พยัญชนะตน้ ในภาษาไทยถนิ่ โคราช. วารสารวชิ าการ

ศลิ ปวฒั นธรรมอีสาน ฉบบั ท่ี ๑ (มกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๓). ๙๗ - ๑๑๐.
กระทรวงวัฒนธรรม. (ม.ป.ป.). งานประเพณีบญุ เบกิ ฟ้า มหาสารคาม. [ออนไลน์].

ไดจ้ าก : <https://www.mculture.go.th/mahasarakham/ewt_news.php?nid=
308&filename=index> [สบื คน้ เมอ่ื ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๔].
ทรปู ลกู ปญั ญา. (2563). การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง. [ออนไลน์].
ได้จาก : < https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34289?fbclid=IwAR
23E7lcKw6mXC0ClRxyR-j9i2y11GCOSrJmnWXCg907SYJRtSYH_UDuprc>
[สบื ค้นเมอ่ื ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๔].
ยศพร บรรเทงิ สุข. การวจิ ยั แนวทางการอนรุ กั ษ์ภูมิปัญญาเครอ่ื งป้นั ดินเภาแบบดง้ั เดิม โดยการมสี ่วนรว่ ม
ของชุมชนทอ้ งถิน่ ทช่ี ุมชนบ้านหม้อ ตาบลเขวา อาเภอเมือง จงั หวงั มหาสารคาม (วิทยานิพนธ์
ปรญิ ญาศิลปศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การทรัพยากรวัฒนธรรม บณั ฑิตวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยศลิ ปกร, ๒๕๕๖). หนา้ ๓๘ – ๔๕.
ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชีวิต ภาษาพาที
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สกสค.
ลาดพรา้ ว, ๒๕๕๓.

๓๒๔

ภาคผนวก
๓๒๕

ภาคผนวก ก
หนังสอื ขอความอนุเคราะห์ใหน้ สิ ิตไปสมั ภาษณ์

และประเมินหลักสูตร

๓๒๖











ภาคผนวก ข
แบบประเมินความสอดคล้องระหวา่ งข้อสอบกบั ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ (IOC)

๓๓๒

แบบประเมินความสอดคล้องระหวา่ งข้อสอบกบั ตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้
วชิ าภาษาไทยเพิ่มเติม ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖

คำชแ้ี จง ใหท้ ่ำนพจิ ำรณำว่ำข้อสอบที่สร้ำงข้นึ สอดคลอ้ งกับตวั ช้ีวัด/ผลกำรเรยี นรู้ทีก่ ำหนดหรอื ไม่

โดยกำเครือ่ งหมำย  ลงในชอ่ งน้ำหนักทีต่ รงกับควำมเห็นของทำ่ น ดงั น้ี

+๑ คอื แนใ่ จ ว่ำข้อสอบนั้นสอดคล้องกับตวั ช้วี ัด/ผลกำรเรยี นรู้ทกี่ ำหนด

๐ คือ ไม่แน่ใจ วำ่ ขอ้ สอบนัน้ สอดคลอ้ งกบั ตวั ชีว้ ดั /ผลกำรเรียนรู้ที่กำหนดหรอื ไม่

-๑ คอื แนใ่ จ ว่ำข้อสอบนั้นไมส่ อดคลอ้ งกบั ตัวชีว้ ัด/ผลกำรเรยี นรู้ทก่ี ำหนด

ผลกำรเรียนรู้ ข้อสอบ น้ำหนัก ข้อเสนอแนะ
+๑ ๐ -๑

อธิบำยกำรนำ ๑. กำรเขียนแผนภำพควำมคิด

ควำมรู้และ และกำรอ่ำนมีควำมสมั พนั ธ์กันอยำ่ งไร

ควำมคดิ จำกเรอ่ื ง (ควำมเขำ้ ใจ)

ท่ีอำ่ นไปใช้ได้ ก. การเขยี นแผนภาพความคิดเกิด

ถูกต้อง จากการหาข้อคิดจากเร่ืองท่ีอ่าน

ข. กำรเขยี นแผนภำพควำมคดิ เป็น

กำรตัดคำจำกเรือ่ งที่อ่ำน

ค. กำรอ่ำนทำใหเ้ ขียนแผนภำพ

ควำมคิดได้สวยงำมมำกขึ้น

ง. กำรเขยี นแผนภำพควำมคิดช่วย

ฝึกทักษะกำรอ่ำนเรว็

บอกหลักกำร ๒. บุคคลในข้อใดเขียนแผนภำพ
เขียนแผนภำพ ควำมคิดไดถ้ ูกวิธี (กำรวเิ ครำะห์)
ควำมคิดได้
ถูกต้อง ก. ป้นั ไม่ขีดเส้นโยงแต่ละหวั ขอ้
ที่สัมพันธ์กนั

ข. ปกุ๊ เขยี นแยกสว่ นประกอบเหมือน
ทเ่ี พ่ือนทำ

ค. ปอยเขียนด้วยคาสาคัญที่มี
ความหมายชัดเจน

ง. เปยี ใชส้ เี ดียวกันตกแต่งแผนภำพ
ควำมคดิ ท้ังหมด

๓๓๓

ผลกำรเรยี นรู้ ข้อสอบ นำ้ หนัก ขอ้ เสนอแนะ
บอกหลักกำร +๑ ๐ -๑
เขียนแผนภำพ ๓. “กำรเขยี นแผนภำพควำมคิดควร
ควำมคิดได้ ปลอ่ ยใหส้ มองมีอิสระในกำรคิดมำกท่ีสดุ
ถูกต้อง เทำ่ ทจี่ ะเป็นไปได้” (กำรสังเครำะห์)
ข้อควำมน้ีหมำยควำมว่ำอย่ำงไร
อธบิ ำย
ฉันทลักษณ์ของ ก. การเขียนแผนภาพความคดิ ต้อง
บทรอ้ ยกรอง ใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์
ประเภทกลอน
สุภำพไดอ้ ย่ำง ข. เป็นกำรใช้อำรมณแ์ ละควำมรสู้ ึก
ถูกต้อง มำกกว่ำใช้ควำมคดิ

ค. กำรเขียนแผนภำพควำมคดิ ต้อง
เหมือนกับคนอื่น

ง. ควำมเครยี ดจะทำใหเ้ ขียน
แผนภำพควำมคิดไม่ได้
๔. ขอ้ ใดกลำ่ วถงึ ลักษณะกลอนสภุ ำพได้
ถกู ต้อง (ควำมร้คู วำมจำ)

ก. มหี ลำยประเภทแตช่ ื่อเรยี กมเี พียง
ช่ือเดยี ว

ข. กลอนมีคำในแตล่ ะวรรคมจี ำนวน
ตง้ั แต่ ๕ – ๘ คำ

ค. เปน็ ร้อยกรองท่ีแต่งไมย่ ำกแต่คน
ไทยไม่ค่อยนยิ ม

ง. เปน็ ร้อยกรองประเภทบังคบั
คณะ สมั ผสั และเสยี งวรรณยุกต์
๕. ขอ้ ใดมีสมั ผสั ในท่ีเปน็ สมั ผัสสระและ
สัมผสั พยญั ชนะเด่นชัดที่สดุ
(กำรวิเครำะห์)

ก. ไพเรำะคำนำใจให้เป็นสุข
ข. ปรำศจำกทุกข์ได้เพยี งเสียงเสนำะ
ค. อนั ร้อยกรองพ้องเสยี งเพยี ง
จำเพำะ
ง. ไทยสบื เสาะสานเสกเอกลักษณ์

๓๓๔

ผลกำรเรียนรู้ ขอ้ สอบ น้ำหนัก ขอ้ เสนอแนะ
+๑ ๐ -๑

บอกหลักกำรอ่ำน ๖. ขอ้ ใดไม่ใช่แนวทำงกำรอ่ำน

บทรอ้ ยกรอง บทรอ้ ยกรอง (ควำมรู้-ควำมจำ)

ประเภทกลอน ก. รู้จักทำนองของบทร้อยกรองที่

สภุ ำพไดถ้ ูกต้อง อ่ำน

ข. เขำ้ ใจฉันทลักษณข์ องบทรอ้ ย

กรองทอ่ี ่ำน

ค. ตอ้ งผสมคาหรือพยางค์บทร้อย

กรองที่อ่าน

ง. มีกำรใสอ่ ำรมณ์ควำมรู้สกึ ในบท

ร้อยกรองท่ีอ่ำน

๗. ข้อใดแบ่งจังหวะวรรคกำรอำ่ นคำได้

ถูกต้อง (ควำมเข้ำใจ)

ก. เมือ่ ทำ / กำรส่งิ ใด / ดว้ ยใจรกั

ข. ถงึ งานหนัก / ก็เบาลง / แล้ว

คร่งึ หนงึ่

ค. ดว้ ยใจ / รกั เปน็ แรง / ที่เร้ำรงึ

ง. ให้มุ่งม่ัน / ฝันถึงซ่งึ / ปลำยทำง

มคี วำมรคู้ วำม ๘. ใครปฏบิ ัติในกำรพดู รำยงำนได้

เขำ้ ใจเกยี่ วกับกำร เหมำะสมที่สดุ (กำรประเมนิ ค่ำ)

พดู รำยงำน ก. ปุ๊กไม่มีกำรสรปุ สำระควำมรู้ เมือ่

รำยงำนจบ เพรำะกลัวจะเสยี เวลำ

ข. ปูไมเ่ ปิดโอกำสใหผ้ ้ฟู ังได้ซกั ถำม

ในชว่ งทำ้ ยของกำรรำยงำน

ค. ปลำใชส้ ือ่ ประกอบทห่ี ลำกหลำย

แตไ่ ม่สอดคล้องกับสิ่งทรี่ ำยงำน

ง. ปราบใช้ภาษาพูดไดถ้ กู ต้อง

ชดั เจน มจี งั หวะวรรคตอน

๓๓๕

ผลกำรเรียนรู้ ข้อสอบ น้ำหนัก ขอ้ เสนอแนะ
+๑ ๐ -๑

มคี วำมรคู้ วำม ๙. ขอ้ ใดกล่ำวไมถ่ ูกตอ้ งเกยี่ วกบั กำรพดู

เข้ำใจเกี่ยวกับกำร ลำดบั เหตุกำรณ์ (ควำมเข้ำใจ)

พูดลำดับ ก. เป็นการพูดให้ผู้อืน่ เชือ่ ถอื หรอื มี

เหตุกำรณ์ ความเหน็ คลอ้ ยตาม

ข. พูดแนะนำตนเองก่อนพูดแนะนำ

ลำดับเหตกุ ำรณ์

ค. ใชภ้ ำษำท่เี ข้ำใจง่ำย กระชบั

ตรงไปตรงมำ

ง. กำหนดโครงเร่อื งท่ีจะพูดเรยี บ

เรียงควำมคดิ และข้อมลู ใหต้ ่อเนือ่ ง

บอกหลกั กำรพูด ๑๐. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของกำรพูด

รำยงำนไดถ้ ูกต้อง รำยงำน (ควำมรคู้ วำมจำ)

ก. ผพู้ ูด

ข. สถานท่ี

ค. ผู้ฟงั

ง. สำร

อธบิ ำยหลักกำร ๑๑. ขอ้ ใดเปน็ ขน้ั ตอนแรกในกำรเขียน

เขยี นรำยงำนได้ รำยงำน (ควำมร้คู วำมจำ)

ถกู ต้อง ก. วำงแผนเขยี นรำยงำน

ข. รวบรวมข้อมลู

ค. กาหนดหวั ข้อเร่ือง

ง. เขียนรำยงำน

มคี วำมรู้ควำม ๑๒. กำรเขยี นรำยงำนมกี ่ีขนั้ ตอน

เขำ้ ใจในกำรเขยี น (ควำมร้คู วำมจำ)

รำยงำน ก. ๓ ขัน้ ตอน

ข. ๔ ขนั้ ตอน

ค. ๕ ขัน้ ตอน

ง. ๖ ขน้ั ตอน

๓๓๖

ผลกำรเรียนรู้ ขอ้ สอบ น้ำหนัก ขอ้ เสนอแนะ
+๑ ๐ -๑

มคี วำมรคู้ วำม ๑๓. กำรกำหนดระยะเวลำปฏิบตั ิ

เขำ้ ใจในกำรเขียน สถำนทที่ ีจ่ ะไปค้นควำ้ แบง่ หน้ำทใ่ี นกำร

รำยงำน รับผดิ ชอบ เป็นกำรปฏิบัติในข้นั ตอนใด

ของกำรเขยี นรำยงำน (กำรวเิ ครำะห)์

ก. วางแผนเขยี นรายงาน

ข. รวบรวมข้อมูล

ค. กำหนดหัวข้อเร่ือง

ง. เขยี นรำยงำน

เขียนสอ่ื สำรโดย ๑๔. ขอ้ ใดไม่ใช่รำยละเอียดท่ีเขยี นบน

ใชค้ ำได้ถกู ต้อง หน้ำปกเล่มรำยงำน (ควำมเข้ำใจ)

ชัดเจน และ ก. ชื่อเร่ือง

เหมำะสม ข. ช่อื ผู้แตง่ หนังสอื

ค. ช่อื ผูเ้ ขยี นรำยงำน

ง. ชือ่ ครูผสู้ อน

อธบิ ำยหลกั กำร ๑๕. บุคคลในข้อใดพดู สรุปควำมร้เู พื่อ

พูดสรปุ ควำมรู้ แสดงถึงควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจได้ดีทส่ี ุด

เพื่อแสดงควำมรู้ (กำรวิเครำะห)์

ควำมเข้ำใจ ก. กอ้ งแสดงควำมคิดเหน็ ของตนเอง

ลงไปในเร่ืองที่พดู

ข. กลำ้ ไมเ่ ปดิ โอกำสให้ผู้ฟังได้ถำม

คำถำม

ค. กรใชภ้ ำษำระดบั กนั เองใน

กำรพูด

ง. กายซักซ้อมก่อนการพูดกอ่ นพดู

สรปุ ความรู้

๓๓๗

ผลกำรเรียนรู้ ขอ้ สอบ น้ำหนัก ขอ้ เสนอแนะ
อธบิ ำยหลักกำร +๑ ๐ -๑
พดู สรุปควำมรู้
เพอื่ แสดงควำมรู้ ๑๖. ข้อใดไมใ่ ช่ลักษณะกำรพูดสรุป
ควำมเข้ำใจ
ควำมรูเ้ พ่ือแสดงถึงควำมรู้ควำมเขำ้ ใจ
มมี ำรยำท
ในกำรฟัง กำรดู (กำรวิเครำะห)์
และกำรพดู
ก. มีจุดประสงค์ในกำรพดู ชดั เจน

ข. ใชภ้ าษาในการพดู ไดต้ ามใจชอบ

ค. นำเสนอเฉพำะประเดน็ ทีส่ ำคัญ

ง. เรยี บเรยี งเนือ้ หำตำมลำดับ

เหตุกำรณ์

๑๗. หลกั กำรฟังและกำรดูที่ดีต้องมี

ลกั ษณะอย่ำงไร (ควำมเข้ำใจ)

ก. ตง้ั ใจฟัง จดจอ่ อยู่กบั เร่ืองทฟ่ี ัง

หรือดู

ข. ฟังและดเู ฉพำะส่วนท่ีสำคญั

เท่ำน้นั

ค. คดิ ฟงุ้ ซ่ำนในเร่ืองอน่ื ๆ ไปพร้อม

กบั เร่ืองนนั้ ๆ

ง. มีแค่สตปิ ัญญำก็สำมำรถไดร้ ับ

ประโยชนไ์ ด้

๑๘. พฤติกรรมของบุคคลใดแสดงให้เห็น
วำ่ เปน็ ผมู้ ีมำรยำทในกำรฟังและกำรดูสื่อ
(กำรวเิ ครำะห)์

ก. ซกั ถำมข้อสงสยั ทันทีขณะที่ฟงั
และดูสือ่

ข. รจู้ ักยับยัง้ ความรู้สึกและอารมณ์
ขณะฟงั และดูสื่อ

ค. ควบคุมกริ ิยำไดใ้ นบำงชว่ งบำง
ตอนขณะฟงั และดูสอ่ื

ง. พูดคุยและแสดงควำมคิดเหน็ กับ
เพื่อนด้วยเสียงท่เี บำขณะฟงั และดสู อ่ื

๓๓๘

ผลกำรเรียนรู้ ขอ้ สอบ นำ้ หนกั ขอ้ เสนอแนะ
+๑ ๐ -๑
อธบิ ำยลกั ษณะ
ของคำใน ๑๙. ลักษณะของคำในภำษำไทยถ่นิ
ภำษำไทยถนิ่
โครำชบ้ำนหมอ้ โครำชเกิดจำกกำรผสมผสำนระหวำ่ ง

ภำษำใด (ควำมรู้ควำมจำ)

ก. ภำษำไทยกลำง + ภำษำอสี ำน +

ภำษำผู้ไท

ข. ภำษำไทยกลำง + ภำษำอสี ำน +

ภำษำไทญ้อ

ค. ภำษำไทยกลำง + ภำษำลำว +

ภำษำเขมร

ง. ภาษาไทยกลาง + ภาษาอสี าน +

ภาษาเขมร

๒๐. คำวำ่ “กิน” ออกเสียงสำเนยี ง

ภำษำโครำชบ้ำนหมอ้ ไดว้ ำ่ อย่ำงไร

(ควำมเข้ำใจ)

ก. กนิ่

ข. กน้ิ

ค. ก๋ิน

ง. กิ๊น

๒๑. บุคคลในขอ้ ใดปฏบิ ัติได้สอดคล้อง

กับคำวำ่ “เสมอหรม่ึ ” (กำรวิเครำะห)์

ก. ส้มไม่สนใจเรียนขณะทค่ี รสู อน

ข. มะนำวชอบเรียนวชิ ำภำษำไทย

ค. แตงไทยเดนิ สะดุดกอ้ นหนิ

ง. น้อยหนำ่ ตื่นเตน้ ทจ่ี ะได้ไปเท่ียว

โครำช

๓๓๙

ผลกำรเรียนรู้ ข้อสอบ น้ำหนกั ข้อเสนอแนะ
+๑ ๐ -๑
อธิบำยหลกั กำร ๒๒. ขอ้ ใดกล่ำวถูกตอ้ งเก่ยี วกับหลักกำร
เขียนยอ่ ควำมได้ เขียนยอ่ ควำม (ควำมรู้-ควำมจำ)
ถูกต้อง
ก. หำกคำใดทย่ี ำวเกนิ ไป ควรใช้
อักษรย่อแทน

ข. ใชค้ ำทีเ่ ฉพำะเจำจงเพ่ือให้ทรำบ
ว่ำคอื บคุ คลใด เชน่ นำยดำ นำงแดง

ค. ยอ่ เน้อื หำใหเ้ ป็นภำษำพูดเพ่ือให้
เข้ำใจงำ่ ย

ง. ใช้ภาษาที่สัน้ กระชบั และเขา้ ใจ
ง่าย
๒๓. กำรเขียนยอ่ ควำมคือกำรเขียน
ลักษณะใด (ควำมเขำ้ ใจ)

ก. กำรเขยี นสรปุ ใจควำมสำคัญของ
เรอื่ งที่ไดอ้ ่ำน

ข. กำรเขยี นสรปุ ใจควำมสำคัญของ
เรอื่ งที่ได้ฟัง

ค. กำรเขียนสรปุ ใจควำมสำคัญของ
เรื่องท่ีไดด้ ู

ง. ถูกทกุ ข้อ
๒๔ ข้อใดไมใ่ ช่หลกั เกณฑ์กำรยอ่ ควำม
(ควำมรู้-ควำมจำ)

ก. คงคำรำชำศพั ท์ไว้
ข. คงคาสรรพนามเดิมไว้
ค. ใช้สำนวนภำษำของผยู้ ่อเอง
ง. ถ้ำเปน็ ร้อยกรองต้องถอดคำ
ประพันธก์ ่อน

๓๔๐

ผลกำรเรียนรู้ น้ำหนัก ข้อเสนอแนะ
ข้อสอบ

+๑ ๐ -๑

มีควำมรคู้ วำม ๒๕. ยอ่ หนำ้ ใดเป็นยอ่ หน้ำทบี่ อกถึงทม่ี ำ

เขำ้ ใจเก่ยี วกับกำร ของเร่ืองทเ่ี รำเขียนย่อควำม

เขียนยอ่ ควำม (ควำมเข้ำใจ)
ก. ย่อหน้าแรก

ข. ยอ่ หน้ำท่ีสอง

ค. ย่อหน้ำทส่ี ำม

ง. ย่อหนำ้ ใดกไ็ ด้

๒๖. ขอ้ ใดไม่ใช่จุดประสงค์ของกำรเขียน

ย่อควำม (กำรวเิ ครำะห์)

ก. เพ่ือนยิ ำมควำมหมำย

ข. เพ่อื สรุปยอ่ ควำม

ค. เพอื่ เลำ่ เร่อื งย่อ

ง. เพื่อสร้างเร่อื งใหม่

แยกแยะแนวทำง ๒๗. หำกตอ้ งกำรย่อควำมจำกบทรอ้ ย

ท่ีควรปฏิบตั ใิ น กรอง ควรปฏบิ ัติอย่ำงไร (ควำมเข้ำใจ)

กำรเขียนย่อควำม ก. อ่ำนและจับประเด็น ใจควำม

ไดถ้ ูกตอ้ ง สำคัญ แลว้ จดบนั ทึกไว้

ข. แบง่ วรรคตอนในกำรอ่ำนบทร้อย

กรองให้ถกู ต้อง

ค. ควรยอ่ จำกภำษำรอ้ ยกรองเปน็

ภำษำรอ้ ยแก้ว

ง. ถกู ทุกข้อ

๒๘. ขอ้ ควรทำในกำรเรยี บเรียงยอ่ ควำม

คอื ข้อใด (กำรวเิ ครำะห์)

ก. เรยี งลำดบั เรอื่ งตำมแบบเรื่องเดิม

เสมอ

ข. เรยี งใหก้ ลบั กนั กบั เร่อื งเดมิ

ค. เรียงลำดบั ตำมควำมพอใจขอผยู้ ่อ

ง. เรียงให้สัมพันธ์ต่อเนอ่ื งกัน

๓๔๑


Click to View FlipBook Version