The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บัญชีซื้อขายสินค้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinathip199, 2022-04-01 23:49:21

บัญชีซื้อขายสินค้า

บัญชีซื้อขายสินค้า

ขอ้ ผดิ พลาดและการแกไ้ ขข้อผดิ พลาด

ข้อผดิ พลาด การแก้ไข

ก. รบั คืนสนิ คา้ จากลกู ค้า จานวน 1,270 บาท เดบติ เงนิ สด 450
จา่ ยเงินสดให้ทนั ที บันทึกจานวนเงนิ เป็น
1,720 บาท เครดติ ทุน-เจ้าของกิจการ 450

ข. ซื้อสินค้าเปนเ็ งนิ สด 2,500 บาทแตบ่ นั ทกึ เดบติ ทุน-เจ้าของกิจการ 5,000
รายการเปน็ ขายสินค้าเป็นเงินสด เครดติ เงนิ สด 5,000

ค. ธนาคารคดิ ดอกเบยี้ ให้จ านวน 275 บาท เดบิต เงินฝากธนาคาร 275
โดยเพม่ิ ยอดในบญั ชีเงนิ ฝากธนาคาร กจิ การ
ยังไม่ได้บันทกึ รายการ เครดิต ทุน-เจ้าของกิจการ 275

ง. ซอื้ วัสดุสานักงานเป็นเงินสด 1,160 บาท เดบติ วสั ดุสานกั งาน 1,160
กจิ การยงั ไม่ไดบ้ นั ทกึ รายการ เครดิต เงินสด 1,160

งบทดลองหลังรายการปรับปรงุ

ตัวอย่างท่ี 13 ตอ่ ไปน้ี เป็นงบทดลองของรา้ นริมคลองพาณิชย์ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X1

งบทดลองหลังรายการปรบั ปรุง

รายการเพิ่มเตมิ
1. วัสดุสานักงานคงเหลือ 125 บาท
2. ประมาณคา่ เผือ่ หนีส้ งสัยจะสญู ในอัตรารอ้ ยละ 10 ของลูกหนก้ี ารค้า
3. ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า เป็นค่าเช่าสานักงานสาหรับระยะเวลา 1 ปี เร่ิมตั้งแต่

เดือนพฤศจิกายน 25X1
4. คา่ โฆษณาค้างจา่ ย 1,800 บาท
5. เจ้าของกิจการถอนเงินจากธนาคารไปใช้ส่วนตัว 2,000 บาท บันทึกรายการเป็น

ถอนเงินสดไปใช้สว่ นตวั
6. ในบัญชีค่าขนส่งเข้า มีรายการจ่ายค่าขนส่งเข้า 1,490 บาท เป็นเงินสด

แต่บนั ทกึ จานวนเงนิ เป็น 1,940 บาท
7. คิดคา่ เส่ือมราคาที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ โดยคาดว่ามอี ายกุ ารใชป้ ระโยชน์ 5 ปี

ให้ทา 1. บนั ทกึ รายการปรับปรงุ ในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป

2. งบทดลองหลงั รายการปรับปรุง

งบทดลองหลงั รายการปรับปรงุ

1. บนั ทกึ รายการปรับปรงุ ในสมุดรายวันทว่ั ไป 2. งบทดลองหลงั รายการปรบั ปรงุ

การกลบั รายการโอนกลับรายการ

รายการโอนกลับรายการ (Reversing entries) คือการนารายการที่มีการบันทึก
รายการปรับปรุง มาบันทึกเพ่ือโอนปิดบัญชีกลับไปยังบัญชีที่เกี่ยวข้อง ที่บันทึกไว้คู่กัน
เพอ่ื ใหก้ ารบันทึกรายการในงวดบัญชีถัดไป สะดวก รวดเร็ว และลดการผิดพลาด การบันทึก
รายการดังกล่าวจะทาในวันตน้ งวดบัญชี

รายการทจี่ ะตอ้ งนามาบนั ทกึ รายการโอนกลบั รายการ ไดแ้ ก่
1. รายการคงค้าง (Accruals) :

1.1 รายได้คา้ งรบั (Accrued Income)
1.2 ค่าใช้จา่ ยค้างจา่ ย (Accrued Expenses)
2. รายการรบั -จ่ายลว่ งหน้า (Prepayments) :
2.1 รายได้รบั ลว่ งหน้า (Unearned Revenue/ Deterred Income)
2.2 คา่ ใชจ้ ่ายจ่ายลว่ งหน้า (Prepaid Expenses)

การกลับรายการโอนกลับรายการ

หลักการบันทึกรายการ คือ จะบันทึกรายการโอนปิดบัญชีไปบัญชีที่เก่ียวข้อง
หรอื กลา่ วง่าย ๆ วา่ บันทึกรายการคู่กบั รายการท่ีเก่ียวข้องหรือบันทึกรายการสลับกับรายการ
ปรบั ปรุงนน่ั เอง เช่น

การกลับรายการโอนกลบั รายการ

ตัวอย่างที่ 14 ต่อไปน้ี เป็นรายการปรับปรุงของร้านน้าพริกสมุนไพรยายโอ่ง ณ วันท่ี 31
ธนั วาคม 25X1 ซง่ึ เป็นวันปิดบญั ชี

1. เมื่อวันท่ี 1 ตุลาคม 25X1 ให้คนงานกู้เงินจานวน 10,000 บาท อัตราดอกเบ้ีย
รอ้ ยละ 12 ตอ่ ปยี งั ไมเ่ คยได้รบั ดอกเบี้ยจากคนงาน

2. ยังไม่ได้จ่ายค่ารักษาความปลอดภัยให้สานักงานผู้ดูแลหมู่บ้านซึ่งเป็นท่ีตั้ง
ของร้านตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน ในอัตราเดอื นละ 350 บาท

3. เม่ือวันท่ี 31 สิงหาคม 25X1 รับค่าเช่าพื้นท่ีด้านข้างร้านจานวน 6,000 บาท
เป็นค่าเช่า สาหรับระยะเวลา 6 เดือน ต้ังแต่เดือนกันยายน 25X1 บันทึกไว้ในบัญชี
คา่ เช่ารบั ลว่ งหนา้

4. เมื่อวันท่ี 1 ธันวาคม 25X1 จ่ายค่าโฆษณาทางสถานีวิทยุ เป็นเงิน 3,600 บาท
เป็นค่าโฆษณา สาหรับระยะเวลา 3 เดือน ต้ังแต่เดือนธันวาคม 25X1 - กุมภาพันธ์ 25X2
บนั ทกึ ไวใ้ นบญั ชีค่าโฆษณา

ใหท้ า 1. บนั ทกึ รายการปรบั ปรุงในสมุดรายวนั ท่วั ไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1

2. บนั ทึกรายการกลบั รายการในสมดุ รายวนั ท่ัวไป ณ วนั ที่ 1 มกราคม 25X2

การกลับรายการโอนกลับรายการ

1. บันทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวนั ทว่ั ไป 2. บันทึกรายการกลบั รายการในสมดุ รายวนั ทั่วไป

หน่วยที่ 8

กระดาษทาการชนดิ 8 ชอ่ ง

หนว่ ยท่ี 8 กระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

แนวคดิ

กระดาษทาการ เป็นกระดาษร่างท่ีกิจการมักจะจัดทาขึ้นเพ่ือความสะดวกในการจัดทางบการเงิน โดยเฉพาะกระดาษทาการที่มีช่อง
รายการปรับปรุง เช่น กระดาษทาการชนิด 8 ช่อง จะช่วยทาให้การปรับปรุงรายการ ณ วันส้ินงวดบัญชี ง่ายและสะดวก และส่งผลให้ยอด
คงเหลือที่จะนาไปจัดทางบการเงินถกู ตอ้ งตรงกับความเป็นจรงิ

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของกระดาษทาการ 4. การจดั ทากระดาษทาการชนิด 8 ชอ่ ง
2. ชนิดและรูปแบบของกระดาษทาการ 5. ศัพทบ์ ญั ชี
3. ประโยชนข์ องกระดาษทาการ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั 5. บอกศัพทบ์ ญั ชีได้
6. มีกจิ นสิ ยั มีระเบียบ ละเอยี ด รอบคอบ
1. บอกความหมายของกระดาษทาการได้
2. บอกชนดิ และรูปแบบของกระดาษทาการได้ ซื่อสัตย์ มีวินัย ตรงต่อเวลา วชิ าชีพบญั ชี
3. บอกประโยชนข์ องกระดาษทาการได้ และมีเจตคตทิ ี่ดีตอ่
4. จัดทากระดาษทาการชนดิ 8 ช่อง ของกจิ การที่ใชว้ ธิ บี นั ทึก

สนิ คา้ คงเหลอื แบบสน้ิ งวดและกิจการทีใ่ ช้วิธี บันทึกสินค้า
คงเหลือแบบตอ่ เนอื่ งได้

ความหมายของกระดาษทาการ

กระดาษทาการ (Work Sheet / Working Papers)
กระดาษร่างที่กิจการจัดทาข้ึน เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยให้การจัดทา
งบการเงิน เช่น งบกาไรขาดทุน งบแสดงฐานะการเงิน เป็นไปอย่างสะดวก
รวดเร็ว และถูกต้องกระดาษทาการมิได้เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงิน
หรือข้อบังคับทางบัญชีท่ีต้องจัดทา ดังนั้นกิจการจะจัดทาหรือไม่ก็ได้
หากเป็นกิจการขนาดเล็กท่ีมีรายการค้าไม่มาก หลังจากจัดทา งบทดลองแล้ว
กิจการสามารถจัดทางบการเงินได้ทันที นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกรายการ
ปิดบัญชไี ด้ สะดวกและรวดเร็ว

ชนิดและรปู แบบของกระดาษทาการ

กระดาษทาการมหี ลายชนิด เช่น
1. กระดาษทาการชนดิ 6 ช่อง (Six –Column Working paper/Worksheet)
เป็นกระดาษทาการทย่ี ังไม่คานึงถงึ รายการปรบั ปรงุ ประกอบด้วยงบทดลอง งบกาไร
ขาดทุนและงบแสดงฐานะ การเงิน กระดาษทาการชนดิ น้ี เป็นแบบทงี่ า่ ยท่สี ุด เหมาะ
สาหรบั กิจการท่ไี ม่มรี ายการปรบั ปรงุ หรือมีน้อย เช่น กิจการใหบ้ รกิ าร

ชนิดและรปู แบบของกระดาษทาการ

2 . ก ร ะ ด า ษ ท า ก า ร ช นิ ด 8 ช่ อ ง ( Eight–Column Working paper/
Worksheet) กระดาษทาการชนิดนี้เหมือนกับกระดาษทาการชนิด 6 ช่อง แต่เพิ่มคอลัมน์
รายการปรับปรุงเข้าไป รวมเป็น 8 ช่อง เหมาะสาหรับกิจการท่ีมีรายการปรับปรุง เช่น
กิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า (ซื้อมาขายไป) หรือกิจการผลิตท่ีไม่มีรายการ
ปรับปรงุ

ชนิดและรปู แบบของกระดาษทาการ

3 . ก ร ะ ด า ษ ท า ก า ร ช นิ ด 1 0 ช่ อ ง ( Ten–Column Working paper/
Worksheet) กระดาษทาการชนิดน้ีเหมือนกับกระดาษทาการชนิด 8 ช่อง แต่เพิ่มคอลัมน์
งบต้นทุนผลิตเข้าไป รวมเป็น 10 ช่อง เหมาะสาหรับกิจการผลิตสินค้า หรือกิจการบริการ
และกจิ การซอื้ ขายสนิ คา้ ทตี่ อ้ งการจดั ทางบทดลอง หลังรายการปรบั ปรงุ

นอกจากนี้ จานวนคอลัมน์ในกระดาษทาการจะมากหรือน้อย นอกจาก
จะข้ึนอยู่กับลักษณะของธุรกิจ ประโยชน์และวัตถุประสงค์ท่ีต้องการใช้กระดาษทาการแล้ว
ยังขึ้นอยู่กับรูปแบบของธุรกิจด้วย เช่น กิจการเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน และบริษัท
จากัด เปน็ ต้น

ประโยชน์ของกระดาษทาการ

1. เพื่อใหท้ ราบผลการดาเนินงานและฐานะทางการเงินของกจิ การ
สาหรบั รอบระยะเวลาบญั ชีหน่ึง

2. เพอ่ื ให้การบันทกึ รายการปรับปรงุ จดั ทางบการเงนิ การบนั ทึก
รายการปิดบัญชเี ปน็ ไปอยา่ งสะดวกและรวดเรว็

3. ช่วยใหก้ ารคน้ หาขอ้ ผดิ พลาด (ถ้ามี) ทาไดร้ วดเร็ว

การจดั ทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

กระดาษทาการชนิด 8 ช่อง ในที่นี้เป็นกระดาษทาการของกิจการซ้ือขายสินค้าท่ีมีรายการ
ปรบั ปรงุ ซ่งึ แยกเปน็

1. กระดาษทาการชนดิ 8 ชอ่ งสาหรบั กิจการทใ่ี ชร้ ะบบบัญชสี ินค้าคงเหลอื แบบสิน้ งวด
2. กระดาษทาการชนดิ 8 ช่องสาหรบั กิจการที่ใช้ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเน่ือง

การจัดทากระดาษทาการชนิด 8 ชอ่ งสาหรับกิจการที่ใชร้ ะบบบัญชสี ินคา้ คงเหลอื แบบส้ินงวด
การทากระดาษทาการชนิด 8 ช่องสาหรับกิจการที่ใช้ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด

มขี น้ั ตอนดังนี้
1. เขียนหัวกระดาษทาการประกอบด้วย ช่ือกิจการ คาว่ากระดาษทาการ และวันท่ีท่ีจัดทา

กระดาษทาการ ควรระบรุ ะยะเวลาในการจดั ทาด้วย เช่น 3 เดอื น 6 เดือน 1 ปี (หมายเลข )
2. จดั ทางบทดลองในคอลัมนง์ บทดลอง (หมายเลข )

การจดั ทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

การจัดทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

3. นารายการปรับปรุงจากสมุดรายวันทั่วไป ไปบันทึกในคอลัมน์รายการปรับปรุง (หมายเลข )
โดยยึดหลักดงั น้ี

- ถ้ า ร า ย ก า ร ป รั บ ป รุ ง ใ น ส มุ ด ร า ย วั น ท่ั ว ไ ป บั น ทึ ก ด้ า น เ ด บิ ต ก็ ใ ห้ น า ม า บั น ทึ ก
ในคอลัมน์รายการปรับปรุงด้านเดบิต (กรณีไม่ปรากฏบัญชีดังกล่าวในงบทดลองให้เติมช่ือบัญชีต่อท้ายงบ
ทดลอง)

- ถ้ า ร า ย ก า ร ป รั บ ป รุ ง ใ น ส มุ ด ร า ย วั น ทั่ ว ไ ป บั น ทึ ก ด้ า น เ ค ร ดิ ต ก็ ใ ห้ น า ม า บั น ทึ ก
ในคอลัมน์รายการปรับปรุงด้านเครดิต (กรณีไม่ปรากฏบัญชีดังกล่าวในงบทดลองให้เติมชื่อบัญชีต่อท้ายงบ
ทดลอง)

4. รวมยอดค อลัมน์รายกา รป รับ ป รุง ทั้ง ด้านเ ดบิ ตแล ะเ ค รดิต ซึ่ ง จะต้อง เ ท่ากั น
ถา้ ไม่เทา่ กันใหส้ อบทานอีกครัง้ หนง่ึ (หมายเลข )

5. คานวณหายอดคงเหลือแตล่ ะบญั ชี

การจัดทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

6. จาแนกรายการจากงบทดลอง (หลังปรับปรุงรายการ) เฉพาะบัญชีท่ีแสดงฐานะการเงิน คือ
หมวด 1 หมวด 2 และหมวด 3 ไปแสดงในคอลัมน์งบแสดงฐานะการเงิน (หมายเลข ) และบัญชีที่แสดงผล
การดาเนนิ งานคือ หมวด 4 และ หมวด 5 ไปแสดงในคอลัมน์งบกาไรขาดทุน (หมายเลข ) โดย

6.1 นายอดคงเหลือจากบัญชีหมวด 1 (ยกเว้นสินค้าคงเหลือต้นงวด เพราะสินค้าคงเหลือ
ต้นงวดจะเป็นสินค้าที่ถูกขายไปก่อน ดังน้ันจึงเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนขาย) หมวด 2 และ หมวด 3 ไปแสดง
ในคอลัมน์งบแสดงฐานะการเงินโดยแสดงให้ตรงกับด้านในงบทดลอง เช่น เงินสด ให้แสดงด้านเดบิต
เจา้ หน้ีการค้า ให้แสดงดา้ นเครดติ เป็นตน้

6.2 นายอดคงเหลือจากบัญชี หมวด 4 และหมวด 5 ไปแสดงในงบกาไรขาดทุน โดยแสดง
ให้ตรงกบั ดา้ นในงบทดลอง เชน่ ขายสนิ คา้ ใหแ้ สดงดา้ นเครดิต ซ้อื สินคา้ ให้แสดงด้านเดบติ เป็นต้น

การจดั ทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

6.3 ถ้าเป็นกิจการท่ีใช้วิธีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบส้ินงวด ให้นารายการสินค้าคงเหลือปลายงวด
ที่กิจการตรวจนับและคานวณต้นทุนได้ไปแสดง โดยเขียนคาว่า สินค้าคงเหลือ ในช่องชื่อบัญชี และนาจานวน
เงินไปแสดงในคอลัมน์งบกาไรขาดทุน ด้านเครดิต เพราะสินค้าคงเหลือปลายงวด เป็นสินค้าท่ีเหลืออยู่
ณ วันสิ้นงวดบัญชี ยังมิไดข้ ายออกไป จงึ มผี ลทาให้ต้นทนุ ขายลดลง และแสดงในคอลัมน์งบแสดงฐานะการเงิน
ด้านเดบิต เพราะสินค้าคงเหลือปลายงวดเป็นสินค้าที่เหลืออยู่ ณ วันส้ินงวดบัญชี จึงแสดงเป็นสินทรัพย์
(หมายเลข )

6.4 ถ้าเป็นกิจการที่ใช้วิธีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง บัญชีสินค้าคงเหลือ คือบัญชีที่แสดง
ยอดสินคา้ คงเหลือ ณ วันสน้ิ งวดบญั ชี ซ่ึงถือเปน็ สินทรัพย์ ดงั นน้ั บญั ชนี ใี้ ห้นาไปแสดงในคอลัมน์งบแสดงฐานะ
การเงนิ เหมอื นสินทรัพย์รายการอ่ืน ๆ

การจัดทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

7. รวมยอดคอลัมน์งบกาไรขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงินท้ังด้านเดบิตและเครดิต
(หมายเลข ) โดยปกติจะเกิดผลต่างในจานวนที่เท่ากัน ถ้ามีจานวนเท่ากันแสดงว่ากิจการไม่มีกาไร
หรือขาดทุน ซงึ่ จะมี 2 ลักษณะ ดงั น้ี

การจัดทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

8. นาผลต่างท่ีได้จากข้อ 7 ไปแสดงในคอลัมน์งบกาไรขาดทุนและคอลัมน์งบแสดงฐานการเงิน
ทางดา้ นท่ีทาให้ยอดทง้ั สองดา้ นไดด้ ลุ (เทา่ กัน) โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี

กรณีกาไรสุทธิ แสดงผลกาไรสุทธิ ด้านเดบิต คอลัมน์งบกาไรขาดทุน เครดิต คอลัมน์งบแสดง
ฐานะการเงิน และเขยี นคาว่า กาไรสทุ ธิ ในช่องชือ่ บญั ชี (หมายเลข )

กรณีขาดทนุ สุทธิ แสดงผลขาดทุนสทุ ธิ ด้านเครดติ คอลัมนง์ บกาไรขาดทนุ เดบิต คอลัมน์งบแสดง
ฐานะการเงนิ และเขียนคาว่า ขาดทุนสทุ ธิ ในชอ่ งชอื่ บัญชี (หมายเลข )

9. รวมยอดอีกคร้งั หนงึ่ แตล่ ะคอลัมนจ์ ะมียอดเท่ากนั (หมายเลข )

การจัดทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

ตัวอยา่ งที่ 1 ตอ่ ไปนี้เป็นงบทดลองและรายการปรับปรุงในสมุดรายวันทั่วไปของพระรามหกคอมมาร์ท ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25X1
ซ่งึ เป็นวนั ปดิ บญั ชสี าหรับงวด 1 ปี กิจการใชว้ ิธบี นั ทกึ บัญชีสินคา้ คงเหลือแบบสิ้นงวด

ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 กิจการ
ตรวจนับสินค้าคงเหลือและคานวณต้นทุนได้
33,820 บาท

การจัดทากระดาษทาการชนดิ 8 ช่อง

ให้ทา กระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

การจัดทากระดาษทาการชนดิ 8 ช่อง

การจัดทากระดาษทาการชนดิ 8 ชอ่ งสาหรบั กิจการทีใ่ ชร้ ะบบบัญชีสินคา้ คงเหลอื แบบตอ่ เนือ่ ง
การจัดทากระดาษทาการชนิด 8 ช่องสาหรับกิจการท่ีใช้ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง

มีข้ันตอนเหมือนกับการจัดทากระดาษทาการชนิด 8 ช่องสาหรับกิจการท่ีใช้ระบบบัญชีสินค้าคงเหลือ
แบบสิ้นงวด ต่างกันตรงที่สินค้าคงเหลือท่ีปรากฏในงบทดลองจะเป็นสินค้าคงเหลือปลายงวด ดังน้ัน ให้นาไป
แสดงในงบแสดงฐานะการเงนิ

ตัวอย่างท่ี 2 ต่อไปนี้เป็นงบทดลองและรายการปรับปรุงในสมุดรายวันทั่วไปของพระรามสี่ไอที ณ วันที่ 31
ธันวาคม 25X1 ซ่ึงเป็นวันปิดบัญชีสาหรับงวด 1 ปี กิจการใช้วิธีบันทึก บัญชีสินค้าคงเหลือ
แบบตอ่ เนอื่ ง

การจดั ทากระดาษทาการชนดิ 8 ช่อง

ใหท้ า กระดาษทาการชนดิ 8 ชอ่ ง

การจดั ทากระดาษทาการชนิด 8 ช่อง

หน่วยท่ี 9
งบการเงิน

หน่วยท่ี 9 งบการเงิน

แนวคดิ

งบการเงินเป็นสิ่งสาคัญท่ีผู้ลงทุนหรือเจ้าของกิจการต้องการมากที่สุด เพราะงบการเงินจะแสดงให้ทราบถึงผล
การดาเนินงานของกิจการในรอบระยะเวลาบัญชี และแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง ดังน้ัน การจัดทา
งบการเงินจึงเป็นส่ิงสาคัญ ผู้มีหน้าท่ีจัดทานอกจากจะต้องทาตามหลักการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไปแล้ว ยังต้องคานึงถึง
มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน นอกจากนี้ยังต้องแสดงรายการย่อในงบการเงิน ตามประกาศ
ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เร่ือง กาหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน ซ่ึงจะสอดคล้องกับมาตรฐาน การบัญชี
และมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ทเี่ กย่ี วข้อง

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของงบการเงิน 4. องคป์ ระกอบของงบการเงิน
2. ประโยชน์ของงบการเงนิ 5. รปู แบบงบการเงนิ
3. มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงาน 6. ศัพท์บญั ชี
ทางการเงินที่เกยี่ วกบั งบการเงนิ

หนว่ ยที่ 9 งบการเงิน

ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั

1. บอกความหมายของงบการเงินได้
2. บอกประโยชนข์ องงบการเงินได้
3. บอกมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินทเี่ ก่ยี วกับงบการเงินได้
4. บอกองค์ประกอบของงบการเงินได
5. บอกรปู แบบงบการเงินได้
6. จัดทางบการเงนิ สาหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว ประเภทธุรกิจซือ้ ขายสินค้าได้
7. บอกศัพท์บญั ชไี ด้
8. มกี จิ นสิ ัย มีระเบียบ ละเอยี ด รอบคอบ ซื่อสตั ย์ มีวินยั ตรงต่อเวลา และมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ วชิ าชพี บญั ชี

ความหมายของงบการเงิน

งบการเงนิ (Financial Statement) เป็นงบทน่ี าเสนอผลการดาเนินงานและฐานะ
การเงินของกจิ การอย่างมีแบบแผน โดยมีวตั ถุประสงค์ดังน้ี

1. เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลการดาเนินงาน ฐานะการเงินและกระแสเงินสด
ของกิจการ

2. เพื่อใหป้ ระโยชนต์ ่อการตดั สนิ ใจเชิงเศรษฐกิจของผใู้ ช้งบการเงิน
3. แสดงถึงผลการบริหารจดัการงานของฝ่ายบริหาร ซ่ึงได้รับมอบหมายให้ดูแล
ทรพั ยากรของกิจการ

ประโยชน์ของงบการเงิน

ประโยชน์ของงบการเงนิ จะแยกพิจารณาเปน็ 2 ดา้ น คอื ภายในกจิ การและภายนอก
กิจการดงั น้ี

1. ภายในกจิ การ
1.1 ใหข้ อ้ มูลเกีย่ วกบั ผลการดาเนนิ งาน และฐานะทางการเงนิ ของกิจการ
1.2 แสดงความสามารถในการบรหิ ารจัดการของฝ่ายบริหารหรือเจ้าของกิจการ

ในการบริหารทรัพยากรของกิจการ
1.3 ให้ข้อมูลเพ่ือใช้ในการตัดสนิ ใจเชิงเศรษฐกิจ
1.4 ชว่ ยในการตัดสนิ ใจในการดาเนนิ กิจการตอ่ หรือไม่

2. ภายนอกกจิ การ
2.1 ช่วยในการตัดสินใจร่วมลงทุนของบคุ คลอนื่ ที่สนใจ
2.2 ชว่ ยในการพจิ ารณาใหส้ ินเชือ่ ของสถาบนั การเงนิ เชน่ ธนาคาร
2.3 ชว่ ยในการคานวณภาษีเงนิ ไดท้ ก่ี รมสรรพากรจะเรยี กเกบ็ จากกจิ การ

มาตรฐานการบญั ชแี ละมาตรฐานการรายงาน
ทางการเงนิ ทีเ่ ก่ียวกบั งบการเงนิ

มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีเก่ียวกับการจัดทางบการเงินของสภาวิชาชีพ
บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีหลายมาตรฐาน ซึ่งกิจการจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของการจัดต้ังธุรกิจ
เช่น กิจการเจ้าของคนเดียว กิจการห้างหุ้นส่วน กิจการบริษัทจากัด และเป็นกิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะหรือไม่มี
ส่วนได้เสียสาธารณะ เป็นต้น มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เก่ียวกับงบการเงิน
มหี ลายมาตรฐาน เชน่

1. มาตรฐานการบญั ชี
1.1 ฉบบั ท่ี 1 (ปรบั ปรงุ 2561) เรอ่ื ง การนาเสนองบการเงิน
1.2 ฉบบั ที่ 7 (ปรับปรงุ 2561) เรื่อง งบกระแสเงนิ สด
1.3 ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2561) เร่ือง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี

และข้อผิดพลาด
1.4 ฉบับที่ 10 (ปรับปรงุ 2561) เรื่อง เหตุการณภ์ ายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน
1.5 ฉบบั ที่ 24 (ปรับปรุง 2561) เร่อื ง การเปดิ เผยข้อมลู เกี่ยวกับบุคคลหรือกจิ การที่ เก่ยี วข้องกัน
1.6 ฉบบั ท่ี 33 (ปรับปรงุ 2561) เรอื่ ง กาไรต่อหุ้น
1.7 ฉบับที่ 34 (ปรบั ปรงุ 2561) เรื่อง การรายงานทางการเงินระหว่างกาล

2. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรบั กจิ การทไี่ ม่มีส่วนได้เสยี สาธารณะ
2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ท่ี 8 (ปรบั ปรงุ 2561) เรอื่ ง ส่วนงานดาเนนิ งาน

องคป์ ระกอบของงบการเงิน

องค์ประกอบของงบการเงินประกอบด้วยหลายส่วน ในที่น้ีจะกล่าวถึงเฉพาะส่วนท่ีเกี่ยวกับงบ
การเงินสาหรบั กิจการเจา้ ของคนเดยี ว ประเภทธุรกจิ ซ้ือขายสนิ ค้า

งบกาไรขาดทุน (Profit and loss statement)
งบกาไรขาดทุนเป็นงบท่ีแสดงผลการดาเนินงานของกิจการ องค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องโดยตรง
กบั การวดั ผลการดาเนนิ งาน ได้แก่ รายได้และคา่ ใช้จา่ ย คานยิ ามขององคป์ ระกอบดงั กล่าวกาหนดไว้ดงั น้ี
รายได้ (Income/Revenue) หมายถึง การเพ่ิมขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลา
บัญชีในรูปกระแสเข้าหรือการเพ่ิมค่าของสินทรัพย์ หรือการลดลงของหนี้สิน อันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของ
เพม่ิ ขึน้ ทัง้ นี้ ไมร่ วมถงึ เงินทุนท่ีได้รบั จากผ้มู สี ว่ นรว่ มในส่วนของเจา้ ของ
ค่าใช้จ่าย (Expenses) หมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี
ในรูปกระแสออกหรือการลดค่าของสินทรัพย์ หรือการเพ่ิมขึ้นของหนี้สิน อันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง
ทัง้ น้ี ไม่รวมถึงการแบ่งปันใหก้ ับผู้มสี ว่ นรว่ มในสว่ นของเจ้าของ

องคป์ ระกอบของงบการเงนิ

งบแสดงฐานะการเงนิ (Statement of Financial Position)
งบแสดงฐานะการเงินเป็นงบท่ีแสดงฐานะการเงินของกิจการ องค์ประกอบที่เก่ียวข้องโดยตรงกับ
การวัดฐานะการเงิน คือ สินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจ้าของ คานิยามขององค์ประกอบต่าง ๆ
กาหนดไว้ดังนี้
สินทรัพย์ (Assets) หมายถงึ ทรัพยากรทีอ่ ยู่ในความควบคมุ ของกิจการ ทรัพยากรดังกล่าวเป็นผล
ของเหตุการณใ์ นอดตี ซง่ึ กจิ การคาดว่าจะไดร้ ับประโยชน์เชิงเศรษฐกจิ จากทรพั ยากรนน้ั ในอนาคต
หนี้สิน (Liabilities) หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ซ่ึงเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต
โดยการชาระภาระผกู พันน้ันคาดวา่ จะสง่ ผลใหก้ ิจการสูญเสยี ทรัพยากรท่มี ีประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ
ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity) หมายถึง ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการ
หลงั จากหกั หน้ีสินทัง้ สน้ิ ออกแล้ว

องค์ประกอบของงบการเงิน

การแสดงรายการสินทรพั ย์และหนีส้ นิ จะต้องแสดงเป็นรายการหมุนเวยี นและไม่หมุนเวียน ดังนี้
1. สินทรัพย์ต้องจัดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง
ดงั ต่อไปนี้

1.1 สินทรพั ย์นน้ั เป็นเงนิ สดหรือรายการเทยี บเท่าเงินสดท่ไี ม่มีข้อจากดั ในการใช้
1.2 กจิ การคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์น้ัน หรือต้ังใจจะขายหรือใช้ภายในรอบ ระยะเวลา
การดาเนินงานตามปกตขิ องกิจการ
1.3 กิจการมีสินทรพั ยน์ น้ั ไวโ้ ดยมีวัตถุประสงคเ์ บือ้ งตน้ คอื มไี ว้เพ่อื คา้
1.4 กิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์นั้นภายในระยะเวลา 12 เดือน นับจากรอบ
ระยะเวลารายงาน
สนิ ทรัพย์ทไ่ี มเ่ ปน็ไปตามเงื่อนไขข้างต้นถอื เป็นสินทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียน (Non-Current Assets)
2. หนส้ี นิ ต้องจดั เปน็ หน้ีสินหมุนเวียน (Current Liabilities) เม่อื เป็นไปตามเงอ่ื นไขขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 กิจการคาดวา่ จะชาระคนื หนสี้ ินภายในรอบระยะเวลาดาเนินงานปกติ
2.2 หนี้สนิ นั้นถงึ กาหนดชาระภายใน 12 เดือน นบั จากรอบระยะเวลารายงาน
2.3 กิจการไม่มีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขในการเลื่อนการชาระหน้ีออกไปอีกเป็นเวลาไม่น้อยกว่า
12 เดือน นบั จากรอบระยะเวลารายงาน
หน้ีสินทไ่ี มเ่ ป็นไปตามเงื่อนไขข้างตน้ ใหจ้ ัดเป็นหน้สี นิ ไมห่ มนุ เวยี น (Non-Current Liabilities)

องคป์ ระกอบของงบการเงิน

หมายเหตแุ ละรายละเอยี ดประกอบงบการเงนิ
งบการเงนิ หมายรวมถึง หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายละเอียดประกอบและข้อมูลอ่ืน
ตัวอย่างเช่น งบการเงินอาจแสดงข้อมูลเพ่ิมเติมอื่นท่ีเก่ียวข้องกับรายการในงบแสดงฐานะการเงิน
และงบกาไรขาดทุนซงึ่ จาเป็นต่อผู้ใชง้ บการเงนิ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน ประกอบด้วยข้อมูลท่ีแสดงเพิ่มเติมจากข้อมูลที่แสดง
ในงบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบเฉพาะกาไรขาดทุน (ถ้ามีการนาเสนอ)
งบแสดงการเปลีย่ นแปลง ส่วนของเจา้ ของ และงบกระแสเงนิ สด

รปู แบบงบการเงิน

รูปแบบงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2561) เรื่อง การนาเสนอ
งบการเงิน

รูปแบบงบกาไรขาดทุน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 1 (ปรับปรุง 2561) เร่ือง การนาเสนองบ
การเงนิ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ หรือ 2 วิธี คอื วธิ ลี กั ษณะค่าใช้จา่ ยและวิธหี นา้ ทค่ี า่ ใช้จา่ ย

วิธีลักษณะค่าใช้จ่าย กิจการต้องรวมค่าใช้จ่ายตามลักษณะของค่าใช้จ่ายในกาไรหรือขาดทุน เช่น
ค่าเสื่อมราคา ค่าซื้อวัตถุดิบ ค่าขนส่ง ผลประโยชน์ของพนักงาน และค่าโฆษณา โดยไม่มีการปันส่วนระหว่าง
หน่วยงานภายในกจิ การ วิธนี งี้ ่ายตอ่ การปฏิบัติ รูปแบบเป็นดังน้ี

รูปแบบงบการเงิน

วิธีหน้าท่ีค่าใช้จ่ายหรือวิธีต้นทุนขาย วิธีน้ีจะจัดประเภทค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ของค่าใช้จ่าย
เป็นส่วนหน่ึงของต้นทุนขาย ตัวอย่างเช่น ต้นทุนของกิจกรรมการกระจายสินค้าหรือกิจกรรมการบริหาร
ตามวิธีน้ีกิจการต้องเปิดเผยต้นทุนขายแยกจากค่าใช้จ่ายอ่ืนเป็นอย่างน้อย การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามวิธีนี้
ให้ข้อมูลที่มีความเก่ียวข้องแก่ผู้ใช้งบการเงินมากกว่าการจัดประเภทค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ตัวอย่าง
การจัดประเภทค่าใช้จ่ายตามหน้าท่เี ป็นดงั น้ี

รูปแบบงบการเงิน

รูปแบบงบแสดงฐานะการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชฉี บับท่ี 1 (ปรบั ปรงุ 2561) เร่ือง การนาเสนอ
งบการเงิน

งบแสดงฐานะการเงนิ ต้องมรี ายการทแี่ สดงจานวนเงินทกุ ขอ้ ต่อไปนี้
1. เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด
2. ลูกหน้ีการค้าและลกู หนี้อน่ื
3. สินคา้ คงเหลือ
4. สินทรัพย์ชีวภาพ (ภายในขอบเขตของมาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 41 (ปรับปรุง 2561)
เรื่อง เกษตรกรรม (เม่อื มกี ารประกาศใช)้
5. เงินลงทนุ ซง่ึ บนั ทึกโดยใชว้ ิธีส่วนได้เสีย
6. สินทรพั ย์ทางการเงนิ (ไมร่ วมจานวนเงินทแี่ สดงในข้อ 1, 2 และ 5)
7. สนิ ทรัพย์ไมม่ ีตัวตน
8. อสงั หาริมทรัพยเ์ พ่ือการลงทุน
9. ท่ดี ิน อาคารและอุปกรณ์
10. ยอดรวมของสินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพือ่ ขายและสินทรัพย์ที่รวมอยู่ในกลุ่ม
สินทรัพย์ท่ีจะจาหน่ายซ่ึงจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพ่ือขายตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2561) เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดาเนินงานท่ียกเลิก
(เม่ือมีการประกาศใช)้

รปู แบบงบการเงิน

11. เจ้าหนกี้ ารค้าและเจา้ หน้อี ื่น
12. ประมาณการหน้ีสนิ
13. หนส้ี นิ ทางการเงิน (ไม่รวมจานวนเงินที่แสดงในข้อ 11 และ 12)
14. หนี้สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้สาหรับงวดปัจจุบันตามท่ีกาหนดในมาตรฐานการบัญชี
ฉบับที่ 12 (ปรบั ปรงุ 2561) เร่ือง ภาษเี งนิ ได้ (เมือ่ มกี ารประกาศใช้)
15. หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามที่กาหนด
ใน มาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 12 (ปรบั ปรงุ 2561) เรื่อง ภาษเี งนิ ได้ (เมือ่ มกี ารประกาศใช)้
16. หน้ีสินที่รวมในกลุ่มสินทรัพย์ท่ีจะจาหน่ายท่ีจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ท่ีถือไว้เพื่อขาย
ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับท่ี 5 (ปรับปรุง 2561) เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนท่ีถือไว้เพอ่ื ขาย
และการดาเนินงานที่ยกเลิก (เม่อื มีการประกาศใช)้
17. ส่วนไดเ้ สยี ทีไ่ ม่มอี านาจควบคมุ ทแี่ สดงในส่วนของเจา้ ของและ
18. ทุนท่ีออกจาหนา่ ย และสารองตา่ ง ๆ ที่จดั สรรใหแ้ กผ่ เู้ ป็นเจ้าของของบรษิ ัทใหญ่

รปู แบบงบการเงนิ

รูปแบบงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย
สาธารณะ

รูปแบบงบกาไรขาดทุน ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับ1กิจการท่ีไม่มีส่วนได้เสีย
สาธารณะ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ หรือ 2 วิธี เหมือนกับมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 1 (ปรับปรุง 2561)
เรอ่ื ง การนาเสนองบการเงนิ คอื วธิ ีจาแนกคา่ ใช้จ่ายตามลกั ษณะและวิธีจาแนกค่าใชจ้ า่ ยตามหนา้ ท่ี

ในการรายงานค่าใช้จ่าย กิจการจะเลือกจัดประเภทค่าใช้จ่ายตามหน้าท่ี หรือตามลักษณะ
ขนึ้ อย่กู ับดุลยพินจิ ของผูบ้ ริหาร เพอื่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลท่ีเชอ่ื ถอื ได้และเกี่ยวข้องกบั การตัดสนิ ใจ

วิธจี าแนกค่าใชจ้ า่ ยตามลักษณะ
1. กิจการต้องรวบรวมและนาเสนอค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุนตามลักษณะของรายการ
โดยไมป่ นั สว่ นตามหน้าทตี่ า่ ง ๆ ภายในกิจการ
2. ตัวอย่างของค่าใช้จ่ายที่จาแนกตามลักษณะ ได้แก่ ค่าเส่ือมราคา ซ้ือวัตถุดิบ ค่าขนส่ง
คา่ ตอบแทนพนกั งาน และคา่ โฆษณา เปน็ ต้น

รปู แบบงบการเงนิ

รปู แบบงบการเงนิ

ตวั อย่างของงบกาไรขาดทนุ จาแนกคา่ ใช้จา่ ยตามลกั ษณะของค่าใช้จา่ ยสาหรับกจิ การคา้ ปลีกและค้าสง่

รูปแบบงบการเงนิ

วิธีจาแนกคา่ ใช้จ่ายตามหน้าที่
1. กิจการตอ้ งรวบรวมและนาเสนอคา่ ใช้จา่ ยในงบกาไรขาดทนุ ตามหน้าที่
2. ตัวอย่างของค่าใช้จ่ายที่จาแนกตามหน้าท่ี ได้แก่ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย
คา่ จัดส่ง สนิ คา้ และค่าใชจ้ ่ายเพื่อการบริหาร เปน็ ต้น
3. กิจการท่ีเลือกวิธีการจาแนกค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ อาจเลือกนาเสนองบกาไรขาดทุน
แบบขั้นเดยี ว หรอื แบบหลายขนั้

รูปแบบงบการเงนิ

งบกาไรขาดทุนแบบข้ันเดยี ว (Single Step)
กิจการต้องแสดงรายได้ประเภทต่าง ๆ และค่าใช้จ่ายประเภทต่าง ๆ แยกออกจากกัน

และแสดงผลต่างของรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ยเปน็ กาไร ดงั ตวั อย่างต่อไปนี้

รูปแบบงบการเงนิ

งบกาไรขาดทุนแบบหลายข้ัน (Multiple Step) กิจการต้องนาเสนอกาไรในระดับต่าง ๆ ได้แก่
กาไรขัน้ ต้น กาไรจากการดาเนินงาน กาไรก่อนหักต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ และกาไรสุทธิ ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้

รูปแบบงบการเงิน

รูปแบบงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับ1กิจการท่ีไม่มีส่วนได้เสีย
สาธารณะ

กิจการต้องแสดงรายการต่อไปนี้ในงบแสดงฐานะการเงินเป็นอย่างน้อย (ถ้ามี) โดยแยกแสดง
รายการแต่ละบรรทัดพรอ้ มจานวนเงนิ

1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
2. เงินลงทนุ ช่ัวคราว
3. ลูกหน้ีการคา้ และลูกหนีอ้ ่นื
4. เงนิ ให้กู้ยืมระยะสัน้
5. สินค้าคงเหลือ
6. สนิ ทรัพย์หมุนเวียนอ่ืน
7. เงินลงทนุ ระยะยาว
8. เงนิ ใหก้ ู้ยมื ระยะยาว
9. อสงั หารมิ ทรพั ยเ์ พื่อการลงทนุ
10. ท่ีดนิ อาคารและอุปกรณ์
11. สินทรพั ย์ไมม่ ตี ัวตน

รปู แบบงบการเงนิ

12. สินทรัพย์ไมห่ มุนเวยี นอน่ื
13. เงนิ เบิกเกนิ บัญชีธนาคารและเงนิ กู้ยมื ระยะส้นั จากสถาบนั การเงิน
14. เจ้าหนกี้ ารคา้ และเจ้าหนีอ้ นื่
15. เงินกยู้ ืมระยะยาวทถี่ งึ กาหนดชาระภายในหน่ึงปี
16. เงินกู้ยืมระยะสนั้
17. ประมาณการหนส้ี นิ ระยะสัน้
18. หนส้ี ินหมนุ เวยี นอื่น
19. เงนิ กู้ยมื ระยะยาว
20. ประมาณการหนี้สนิ ระยะยาว
21. หน้สี นิ ไม่หมุนเวยี นอืน่
22. ทนุ ท่ีออกและสารองต่าง ๆ รวมทง้ั กาไร (ขาดทุน) สะสม
กิจการที่ไม่มีหุ้นทุน เช่น ห้างหุ้นส่วนจากัด หรือนิติบุคคลต่างประเทศ ต้องเปิดเผยข้อมูล
ซึง่ เทียบเทา่ กับขอ้ มลู ที่กาหนดในย่อหนา้ ท่ี 22 ของส่วนของเจ้าของแต่ละประเภท

รูปแบบงบการเงนิ

นอกเหนือจากนี้ กรมพฒั นาธุรกิจการค้า ยังได้ออกประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เร่อื ง กาหนด
รายการย่อท่ีต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๒๘ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยกาหนดรูปแบบ
ของงบการเงนิ ไว้ดงั นี้

(๑) หา้ งหุ้นสว่ นจดทะเบียน ตอ้ งมรี ายการย่อตามทก่ี าหนดใน แบบ ๑
(๒) บรษิ ัทจากดั ต้องมรี ายการยอ่ ตามทก่ี าหนดใน แบบ ๒
(๓) บริษัทมหาชนจากดั ต้องมีรายการย่อตามทก่ี าหนดใน แบบ ๓
(๔) นิตบิ ุคคลท่ตี ั้งขึน้ ตามกฎหมายตา่ งประเทศ ตอ้ งมีรายการย่อตามทีก่ าหนดใน แบบ ๔
(๕) กจิ การร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ตอ้ งมรี ายการยอ่ ตามท่ีกาหนดใน แบบ ๕
(ดูรายละเอียดเพม่ิ เตมิ ท่ี https://www.dbd.go.th/download/PDF_law/acc_shortlist_2554.pdf)
หมายเหตุ สาหรบั บรษิ ัท มหาชน จากดั ให้ดูประกาศกรมพัฒนาธรุ กิจการค้า เรื่อง กาหนดรายการย่อท่ีต้องมี
ในงบการเงนิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 (ดรู ายละเอยี ดเพิ่มเติมท่ี
http://www.dbd.go.th/download/PDF_law/dbd_law_account_2_591011_2.pdf)


Click to View FlipBook Version