The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บัญชีซื้อขายสินค้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinathip199, 2022-04-01 23:49:21

บัญชีซื้อขายสินค้า

บัญชีซื้อขายสินค้า

สาหรับวิธีที่มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 ( ปรับปรุง 2561) เร่ือง สินค้าคงเหลือ
ของสภาวชิ าชีพบญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์ กาหนดให้ถือปฏิบัตมิ ีดงั นี้

23 ต้นทุนสินค้าคงเหลือของแต่ละรายการซ่ึงโดยปกติไม่อาจสับเปล่ียนกันได้ หรือเป็นสินค้า
หรือบริการที่ผลิตขึ้นและแยกต่างหากไว้สาหรับโครงการหน่ึงโครงการใดโดยเฉพาะ ต้องคานวณ
โดยใช้วธิ ีราคาเจาะจงสาหรบั ต้นทุนของแตล่ ะรายการ

24 ตน้ ทุนตามวธิ รี าคาเจาะจงเป็นวิธีการบันทึกต้นทุนที่เจาะจงได้ในสินค้าคงเหลือแต่ละรายการวิธี
น้ีจึงเหมาะท่ีจะใช้สาหรับสินค้าท่ีแยกไว้สาหรับโครงการหนึ่งโครงการใดโดยเฉพาะ โดยไม่คานึงว่า
สินค้าคงเหลือดังกล่าวจะซ้ือมาหรือผู้ลิตข้ึนเอง อย่างไรก็ดี การบันทึกต้นทุนตามวิธีราคาเจาะจง
จะไม่เหมาะสมหากสินค้าคงเหลือมีรายการจานวนมากและโดยปกติมีลักษณะสับเปลี่ยนกันได้
ในสถานการณ์เช่นนี้วิธีท่ีเลือกตีราคาสินค้าคงเหลือรายการท่ีเหลืออาจเป็นช่องทางการกาหนด
ผลกระทบของกาไรหรือขาดทุนได้ลว่ งหน้า

25 ต้นทุนสินค้าคงเหลือนอกจากที่กล่าวในย่อหน้า 23 ต้องคานวณมูลค่าโดยวิธีเข้าก่อนออกก่อน
หรือวิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก กิจการต้องใช้วิธีการคานวณต้นทุนด้วยวิธีเดียวกันสาหรับสินค้า
คงเหลือทุกชนิดที่มีลักษณะและการใช้คล้ายคลึงกัน สาหรับสินค้าคงเหลือท่ีมีลักษณะ
และการใช้ต่างกันอาจใชว้ ิธคี านวณตน้ ทุนที่ต่างกันไปได้หากเหมาะสม

27 วิธีเข้าก่อนออกก่อนมีข้อสมมตว่า สินค้าคงเหลือรายการท่ีซ้ือมาหรือผู้ลิตข้ึนก่อนจะขายออก
ไปก่อนจึงเป็นผลใหร้ ายการสินค้าคงเหลือท่ีเหลืออยู่ ณ วันส้ินงวดเป็นสินค้าท่ีซ้ือมาหรือผู้ผลิตข้ึน
ในคร้ังหลังสุดสาหรับวิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก ต้นทุนสินค้าคงเหลือแต่ละรายการจะกาหนด
จากการถัวเฉล่ียต้นทุนของสินค้าที่คล้ายคลึงกัน ณ วันต้นงวดกับต้นทุนของสินค้าที่คล้ายคลึงกัน
ที่ซ้ือมา หรือผู้ลิตขึ้นในระหว่างงวด ซ่ึงวิธีการคานวณต้นทุนถัวเฉล่ียอาจคานวณเป็นงวด ๆ ไป
หรอื คานวณทกุ ครงั้ ทไ่ี ด้รบั สนิ ค้า ทงั้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั สถานการณ์ของกิจการ

1. การคานวณต้นทนุ สินค้าคงเหลือ :
วิธกี ารบนั ทึกบัญชสี ินค้าคงเหลอื แบบส้นิ งวด

1.1 วิธีราคาเจาะจง (Specific Identification Method) วิธีน้ีเป็นวิธีการบันทึกต้นทุน
ที่เจาะจงได้ในสินค้าคงเหลือแต่ละรายการวิธีนี้จึงเหมาะท่ีจะใช้สาหรับสินค้าที่แยกไว้สาหรับ
โครงการหนึ่งโครงการใดโดยเฉพาะ โดยไม่คานึงว่าสินค้าคงเหลือดังกล่าวจะซ้ือมาหรือผู้ลิตข้ึนเอง
วิธีนี้เป็นวิธีท้ังง่ายและสะดวก เหมาะกับกิจการที่มีสินค้าคงเหลือไม่มาก สามารถแยกได้ว่า
สนิ คา้ คงเหลือเป็นสนิ คา้ ทซี่ อ้ื มาเมอื่ ใด

ตวั อย่างท่ี 2 กจิ การแหง่ หนึ่งจาหนา่ ยรถยนตม์ ือสอง ณ วนั ส้นิ งวดบญั ชมี รี ถยนตค์ งเหลอื อยู่
จานวน 5 คัน จากการตรวจสอบพบว่ารถยนตท์ ง้ั 5 คันมปี ระวตั ิการได้มาดังนี้

คนั ท่ี 1 ซื้อเขา้ มาตัง้ แตเ่ ดอื น มีนาคม ราคาทนุ 50,000 บาท
คนั ที่ 2 ซื้อเขา้ มาต้งั แตเ่ ดือน พฤษภาคม ราคาทนุ 65,000 บาท
คนั ท่ี 3 ซอ้ื เข้ามาต้ังแตเ่ ดอื น ตุลาคม ราคาทนุ 100,000 บาท
คนั ท่ี 4 ซอ้ื เข้ามาตัง้ แต่เดือน พฤศจิกายน ราคาทุน 80,000 บาท
คันท่ี 5 ซื้อเข้ามาต้ังแตเ่ ดอื น ธันวาคม ราคาทุน 120,000 บาท

ใหท้ า คานวณตน้ ทุนสินค้าคงเหลือปลายงวดวิธีราคาเจาะจง

ตน้ ทนุ สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวด = 50,000 บาท
= 65,000 บาท
= 100,000 บาท
= 80,000 บาท
= 120,000 บาท
= 415,000 บาท

1.2 วิธีเข้ากอ่ นออกก่อน (First in,First out Method หรอื FIFO) วธิ นี ีม้ ขี ้อสมมติฐานว่า
สินค้าคงเหลือรายการท่ีซ้ือมาหรือผู้ลิตขึ้นก่อนจะขายออกไปก่อนจึงเป็นผลให้สินค้าคงเหลือ
รายการท่ีเหลืออยู่ ณ วนั ส้นิ งวดเปน็ สนิ ค้าทซ่ี ้อื มาหรือผู้ลิตขนึ้ ในคร้งั หลงั สดุ

ตัวอยา่ งที่ 3 กิจการแห่งหน่งึ มีรายการซ้อื สินคา้ ดังนี้

สินคา้ คงเหลือยกมา จานวน 150 หน่วย หนว่ ยละ 11.50 บาท

ซอ้ื ครัง้ ที่ 1 จานวน 100 หน่วย หนว่ ยละ 9.25 บาท

ซือ้ ครง้ั ที่ 2 จานวน 200 หน่วย หน่วยละ 10.00 บาท

ซื้อครงั้ ที่ 3 จานวน 150 หนว่ ย หน่วยละ 8.00 บาท

สนิ ค้าคงเหลือปลายงวดคงเหลือจานวน 400 หนว่ ย

ใหท้ า คานวณต้นทนุ สนิ ค้า คงเหลือ วิธเี ขา้ กอ่ นออกก่อน

จากการซ้ือคร้งั ที่ 3 จานวน 150 หน่วยหน่วยละ 8.00 บาท = 1,200.00 บาท

จากการซอื้ ครง้ั ที่ 2 จานวน 200 หน่วยหน่วยละ 10.00 บาท = 2,000.00 บาท

จากการซื้อคร้งั ท่ี 1 จานวน 50 หนว่ ยหนว่ ยละ 9.25 บาท = 462.50 บาท

ตน้ ทนุ สนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด 3,662.50 บาท

1.3 วิธีต้นทุนถัวเฉล่ียถ่วงน้าหนัก (Weighted Average Method) วิธีนี้คือวิธีต้นทุนถัวเฉล่ีย
(Average Cost Method) หากนามาใช้กับวิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดจะเรียกว่า
วิธตี ้นทนุ ถวั เฉลีย่ ถ่วงนา้ หนัก (Weighted Average Method)

ต้นทุนสินค้าคงเหลือแต่ละรายการจะกาหนดจากการถัวเฉลี่ยต้นทุนของสินค้าท่ีเหมือนกัน
ณ วันต้นงวดกับต้นทุนของสินค้าที่เหมือนกันท่ีซื้อมาหรือผู้ลิตขึ้นในระหว่างงวดซ่ึงวิธีการคานวณ
ต้นทุนถัวเฉลี่ยอาจคานวณเป็นระยะ ๆ ไปหรือคานวณทุกคร้ังท่ีได้รับสินค้าท้ังน้ีขึ้นอยู่
กับสถานการณข์ องกจิ การ

ตวั อย่างที่ 4 จากตัวอยา่ งท่ี 3 ใหค้ านวณต้นทนุ สนิ ค้าคงเหลือวธิ ีถวั เฉลีย่ ถ่วงน้าหนัก

สินคา้ คงเหลอื ยกมา จานวน 150 หนว่ ย หนว่ ยละ 11.50 บาท = 1,725 บาท

ซอ้ื ครง้ั ท่ี 1 จานวน 100 หนว่ ย หนว่ ยละ 9.25 บาท = 925 บาท

ซ้ือคร้งั ท่ี 2 จานวน 200 หนว่ ย หนว่ ยละ 10.00 บาท = 2,000 บาท

ซื้อคร้งั ท่ี 3 จานวน 150 หน่วย หน่วยละ 8.00 บาท = 1,200 บาท

รวม 600 หนว่ ย = 5,850 บาท

ต้นทนุ สนิ ค้าคงเหลือตอ่ หนว่ ย = 5,850 = 9.75 บาท

600

สินค้าคงเหลอื ปลายงวดคงเหลือ = 400 X 9.75 = 3,900 บาท

การคานวณตน้ ทุนสินคา้ คงเหลือ :
วธิ กี ารบันทกึ บัญชสี นิ คา้ คงเหลือแบบต่อเนอ่ื ง (Perpetual Inventory Method)

2.1 วิธีราคาเจาะจง (Specific Identification Method) กิจการที่ใช้วิธีการบันทึกบัญชีสินค้า
คงเหลือแบบต่อเนื่องจะเน้นในเร่ืองของการเคล่ือนไหวของสินค้า ดังน้ันกิจการจะทาบัตรสินค้า
(Stock Card) ขึ้นเพ่ือควบคุมสินค้ายอดคงเหลือในบัตรสินค้าจะต้องเท่ากับยอดคงเหลือในบัญชี
สินคา้ คงเหลือ

ตวั อย่างท่ี 5 ตอ่ ไปนเี้ ป็นรายการซ้อื ขายสนิ ค้าของรา้ นเทีย่ งตรงนาฬกิ า
ระหวา่ งเดือน มกราคม 25X1

25X1
ม.ค. 5 ซ้อื สนิ คา้ คร้งั ท่ี 1 เปน็ เงนิ สดจานวน 10 หน่วย หน่วยละ 300 บาท

10 ซ้ือสินคา้ ครั้งท่ี 2 เป็นเงินสดจานวน 5 หน่วย หน่วยละ 280 บาท
12 ขายสนิ คา้ คร้ังท่ี 1 เป็นเงนิ สดจานวน 6 หนว่ ย หน่วยที่ 1-3 ราคาทุนหนว่ ยละ 300 บาท

หน่วยท่ี 4-6 ราคาทนุ หนว่ ยละ 280 บาท
20 ซอ้ื สนิ ค้าครง้ั ที่ 3 เปน็ เงนิ สดจานวน 10 หนว่ ย หนว่ ยละ 320 บาท
30 ขายสนิ คา้ ครง้ั ท่ี 2 เป็นเงินสดจานวน 5 หน่วย หนว่ ยท่ี 1-2 ราคาทนุ หน่วยละ 300 บาท

หนว่ ยท่ี 3-4 ราคาทุนหนว่ ยละ 280 บาท หน่วยที่ 5 ราคาทุนหนว่ ยละ 320 บาท

ใหท้ า คานวณตน้ ทนุ สนิ คา้ คงเหลอื วธิ รี าคาเจาะจง โดยจดั ทาบตั รสนิ คา้ (สมมตสินคา้ เป็นชนดิ เดียวกนั )





2.2 วิธีเข้าก่อนออกก่อน (First in, First outMethod หรือ FIFO) กิจการที่ใช้วิธีการบันทึกบัญชี
สินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่องจะเน้นในเร่ืองของการเคล่ือนไหวของสินค้า ดังนั้นกิจการจะทาบัตร
สินค้า (Stock Card) ขึ้นเพื่อควบคุมสินค้ายอดคงเหลือในบัตรสินค้าจะต้องเท่ากับยอดคงเหลือใน
บญั ชสี ินคา้ คงเหลือ

ตวั อยา่ งท่ี 6 ต่อไปน้ีเปน็ รายการซือ้ ขายสนิ ค้าของรา้ นเทีย่ งตรงนาฬิกา
ระหว่างเดือน มกราคม 25X1

25X1
ม.ค. 5 ซ้อื สนิ ค้าคร้ังท่ี 1 เป็นเงนิ สดจานวน 10 หนว่ ย หนว่ ยละ 300 บาท

10 ซอ้ื สนิ ค้าครั้งที่ 2 เปน็ เงินสดจานวน 5 หน่วย หน่วยละ 280 บาท
12 ขายสินค้าครัง้ ท่ี 1 เปน็ เงินสดจานวน 6 หน่วย
20 ซื้อสนิ ค้าครัง้ ท่ี 3 เป็นเงินสดจานวน 10 หน่วย หน่วยละ 320 บาท
30 ขายสินค้าคร้งั ท่ี 2 เปน็ เงินสดจานวน 5 หนว่ ย

ให้ทา คานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือวธิ เี ข้าก่อนออกก่อน โดยจัดทาบตั รสินค้า
(สมมตสินค้าเปน็ ชนดิ เดยี วกัน)





2.3 วิธีถัวเฉล่ียเคลื่อนที่(Moving Average Method) วิธีน้ีคือวิธีต้นทุนถัวเฉลี่ย (Average Cost
Method) หากนามาใช้กับวิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเน่ืองจะเรียกว่า วิธีถัวเฉล่ีย
เคลื่อนท่ี(Moving Average Method) วธิ ีนีจ้ ะต้องคานวณต้นทุนของสินค้าต่อหน่วยทุกคร้ังท่ีมีการ
ซ้ือสินค้า การคานวณต้นทุนขายจะใช้ราคาต้นทุนต่อหน่วยท่ีคานวณไว้ครั้งล่าสุดก่อนการจาหน่าย
สินคา้

ตวั อย่างท่ี 7 ต่อไปน้ีเป็นรายการซื้อขายสินคา้ ของรา้ นเท่ียงตรงนาฬิกา ระหว่างเดอื นมกราคม 25X1
25X1
ม.ค. 5 ซื้อสินคา้ คร้ังที่ 1 เป็นเงินสดจานวน 10 หน่วย หนว่ ยละ 300 บาท

10 ซอ้ื สินคา้ ครั้งที่ 2 เป็นเงนิ สดจานวน 5 หนว่ ย หน่วยละ 280 บาท
12 ขายสนิ ค้าคร้งั ท่ี 1 เป็นเงินสดจานวน 6 หนว่ ย
20 ซื้อสนิ คา้ ครงั้ ที่ 3 เป็นเงนิ สดจานวน 10 หน่วย หน่วยละ 320 บาท
30 ขายสนิ คา้ ครั้งท่ี 2 เป็นเงินสดจานวน 5 หนว่ ย
ให้ทา คานวณต้นทนุ สินค้าคงเหลือวธิ ีถวั เฉลีย่ เคล่ือนทีโ่ ดยจดั ทาบตั รสนิ คา้ (สมมตสนิ ค้าเป็นชนิดเดียวกัน)

ตน้ ทุนสนิ ค้าคงเหลือวธิ ีถวั เฉลี่ยเคล่อื นที่= 4,303.18 ( เทา่ กบั ยอดคงเหลือในบญั ชสี นิ คา้ คงเหลอื )



2. การคานวณมูลคา่ สุทธิทจ่ี ะไดร้ ับ

28 ต้นทุนของสินค้าคงเหลืออาจจะไม่ได้รับคืนถ้าสินค้าคงเหลือเหล่านนเกิดความเสียหาย
หรือเกิดความล้าสมัยบางส่วน หรือท้ังหมดีหรือราคาขายลดลง ต้นทุนของสินค้าคงเหลืออาจจะ
ไม่ได้รับคืนหากประมาณการต้นทุนในการทาต่อให้เสร็จหรือประมาณการต้นทุนท่ีเกิดขึ้นเพื่อทาให้
สินค้าขายได้เพ่ิมข้ึนการตีราคาสินค้าคงเหลือลดลงจากราคาทุนให้เท่ากับมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับ
สอดคลอ้ งกบั แนวความคดิ ทีว่ ่าสนิ ทรัพย์ไม่ควรแสดงมูลค่าตามบัญชีที่สูงกว่ามูลค่าท่ีคาดว่าจะได้รับ
จากการขาย หรือประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับจากการใช้

จากมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 ข้อ 28 ข้างต้น มักจะเกิดกับสินค้าท่ีเก่ียวกับเทคโนโลยี
ซึ่งมีการพัฒนาตลอดเวลาเน่ืองจากมีการแข่งขันกันสูง เช่น โทรศัพท์เคล่ือนท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์
เครอื่ งพิมพ์ กล้องถ่ายรูป รถยนต์ เปน็ ตน้

ตวั อย่างที่ 8 กิจการแห่งหน่ึงจาหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนท่ี ณ วันส้ินงวดบัญชี
มีโทรศัพท์เคล่ือนที่คงเหลือในราคาทุนจานวน 30,000 บาท โทรศัพท์เคลื่อนที่ดังกล่าว
เป็นโทรศัพท์ รุ่นเก่า หากจะขาย จะต้องลดราคาลง 10% เสียค่าโฆษณา 1,000 บาท
และคา่ ขนสง่ ถงึ มอื ลูกค้าอกี 200 บาท

คานวณมูลคา่ สทุ ธทิ ่จี ะได้รับ 30,000 บาท
ราคาทนุ 3,000
หกั ลดราคา 10 % (30,000 X 10%) 1,000

ค่าโฆษณา 200 4,200 บาท
ค่าขนสง่ 25,800 บาท
มูลคา่ สุทธทิ ีจ่ ะได้รับ

การบันทึกรายการซื้อขายสนิ ค้า หนว่ ยท่ี 5
ในสมุดรายวันเฉพาะ

แนวคิด
กิจการซื้อขายสินค้า ท่ีมีรายการซื้อขายสินค้าจานวนมาก ควรใช้สมุดรายวันเฉพาะเป็น
สมุดบันทึกรายการข้ันต้น นอกเหนือจากสมุดรายวันทั่วไป เพราะจะทาให้การบันทึกรายการค้า
งา่ ยและสะดวก อกี ทง้ั ประหยัดเวลาในการผ่านรายการไปบัญชแี ยกประเภท

สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของสมดุ รายวันเฉพาะ
2. ประโยชน์ของสมุดรายวันเฉพาะ
3. ประเภทของสมดุ รายวันเฉพาะ
4. วิธบี ันทึกรายการในสมุดรายวันเฉพาะ
5. ศัพทบ์ ัญชี

ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั

1. บอกความหมายของสมดุ รายวันเฉพาะได้
2. บอกประโยชนข์ องสมุดรายวนั เฉพาะได้
3. บอกประเภทของสมดุ รายวันเฉพาะได้
4. บันทึกรายการในสมุดรายวนั เฉพาะได้
5. บอกศพั ทบ์ ญั ชีได้
6. มกี ิจนสิ ัย มีระเบยี บ ละเอยี ด รอบคอบ ซื่อสัตย์ มีวินยั ตรงตอ่ เวลา

และมีเจตคติที่ดตี ่อวชิ าชพี บญั ชี

ความหมายของสมุดรายวนั เฉพาะ
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journals) คือสมุดบันทึกรายการขั้นต้น

(Book of original entry) ที่ถูกออกแบบมาเพ่ือความสะดวกในการบันทึก
รายการค้าและการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทสมุดรายวันเฉพาะเหมาะ
สาหรับกิจการท่ีมีรายการซ้าๆ เกิดข้ึนบ่อยๆ เช่น กิจการซ้ือมาขายไป
จะมีรายการซื้อขายสินค้าเกิดขึ้นในแต่ละวันหลายรายการ ท้ังที่เป็นเงินสดและ
เป็นเงนิ เช่ือ

ประโยชน์ของสมดุ รายวันเฉพาะ

ประโยชนข์ องสมดุ รายวันเฉพาะ มีดงั น้ี
1. สะดวกและประหยดั เวลาในการบันทึกรายการค้าและการผ่านรายการไปบญั ชแี ยกประเภท
2. รวมรายการคา้ ท่เี หมือนกนั ไวด้ ้วยกัน ทาใหส้ ะดวกในการคน้ หา
3. สามารถแบง่ งานกันทา ทาให้ปอ้ งกันการทุจริตได้
4. โอกาสทีจ่ ะเกิดความผดิ พลาดในการบนั ทึกบัญชีมีนอ้ ย

ประเภทของสมุดรายวันเฉพาะ

ประเภทของสมดุ รายวนั เฉพาะ (Types of Special Journals) แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญๆ่ คือ
1. สมุดรายวันรายได้ (Revenue Journals) ได้แก่

1.1 สมดุ รายวนั ขายสนิ ค้า (Sales Journal) ใชบ้ นั ทกึ รายการขายสนิ ค้าเปน็ เงนิ เช่อื

สมุดรายวันขายสินคา้ (1) หนา้ 1

พ.ศ. 25x1 เลขที่ เครดติ เดบิต

ใบกากับ ช่ือลูกหนกี้ ารค้า เงือ่ นไข หน้าบัญชี ขายสินคา้ ภาษขี าย ลกู หนี้การคา้
เดอื น วนั ท่ี สนิ คา้
(10)
(3) (4) (5) (6) (7) (8) (9)

รูปที่ 1 สมดุ รายวนั ขายสินคา้

หมายเลข (1) ช่อื สมุด
หมายเลข (2) หนา้ สมุด (เรยี งตามลาดับ)
หมายเลข (3) วัน เดือน ปี ท่เี กิดรายการค้า (เรียงตามลาดบั )
หมายเลข (4) เลขทีใ่ บกากับสนิ ค้า/ใบกากับภาษี
หมายเลข (5) ช่อื ลกู หนี้การค้า
หมายเลข (6) เงือ่ นไขในการขายสนิ คา้
หมายเลข (7) หนา้ บญั ชี (ทาเคร่อื งหมาย Check Mark √ ในชอ่ งน้ีเมือ่ ผา่ นรายการไปบญั ชีแยกประเภทลกู หนร้ี ายตวั )
หมายเลข (8) เครดิต ขายสนิ คา้ (ราคาสินคา้ กอ่ นภาษีมลู คา่ เพม่ิ )
หมายเลข (9) เครดิต ภาษีขาย (มาจากจานวนเงนิ ในช่องที่ 8 X 7%)
หมายเลข (10) เดบิต ลูกหน้กี ารคา้ (ราคาสินคา้ รวมภาษมี ลู ค่าเพ่ิมมาจากจานวนเงนิ ในชอ่ ง 8+ ชอ่ ง 9)

1.2 สมุดรายวันรับคืนสินค้าและจานวนที่ลดให้ (Sales return & allowances Journal) ใช้บันทึก
รายการรบั คืนสนิ คา้ ทข่ี ายเปน็ เงินเชอ่ื

สมดุ รายวันรับคืนสินคา้ และจานวนทล่ี ดให้ (1) หน้า 1

พ.ศ. 25x1 เลขท่ี ชอื่ ลกู หน้กี ารค้า หนา้ เครดิต เดบิต
เดือน วันท่ี Cr.Memo บัญชี รับคนื สินคา้ ภาษีขาย ลกู หนี้การค้า

(3) (4) (5) (6) (8) (9) (10)

รูปท่ี 2 สมดุ รายวนั รบั คนื สนิ ค้าและจานวนท่ลี ดให้

หมายเลข (1) ชื่อสมดุ
หมายเลข (2) หน้าสมุด (เรียงตามลาดบั )
หมายเลข (3) วนั เดือน ปี ทเี่ กดิ รายการคา้ (เรียงตามลาดับ)
หมายเลข (4) เลขท่ี Cr.Memo
หมายเลข (5) ชอื่ ลูกหนีก้ ารคา้
หมายเลข (6) หนา้ บญั ชี (ทาเครอื่ งหมาย Check Mark √ ในชอ่ งนเ้ี มอ่ื ผา่ นรายการไปบัญชีแยกประเภทลกู หน้รี ายตวั )
หมายเลข (7) เดบิต รับคนื สินค้า (ราคาสนิ ค้ากอ่ นภาษมี ูลค่าเพ่มิ )
หมายเลข (8) เดบิต ภาษีขาย (มาจากจานวนเงินในชอ่ งที่ 7 X 7%)
หมายเลข (9) เดบติ ลกู หนีก้ ารคา้ (ราคาสินค้ารวมภาษีมูลค่าเพม่ิ มาจากจานวนเงนิ ในช่อง 7+ ชอ่ ง 8)

1.3 สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) ใช้บันทึกรายการรับเงินทุกรายการทั้งท่ีเป็นเงินสด
และเงนิ ฝากธนาคาร เช่น รับคา่ ขายสนิ ค้า รบั ชาระหน้จี ากลูกหน้ี

รูปท่ี 3 สมุดรายวันรับเงิน

หมายเลข (1) ช่อื สมุด
หมายเลข (2) หนา้ สมดุ (เรียงตามลาดบั )
หมายเลข (3) วนั เดือน ปี ทเี่ กิดรายการค้า (เรียงตามลาดบั )
หมายเลข (4) เลขที่ใบสาคัญ (ใบกากับภาษ/ี ใบเสร็จรบั เงิน/ใบสาคัญรบั เงนิ )
หมายเลข (5) ชื่อบัญชี (ทางด้านเครดติ )
หมายเลข (6) ค าอธิบายรายการ
หมายเลข (7) เดบิต เงินสด
หมายเลข (8) เดบติ เงินฝากธนาคาร

หมายเลข (9) เดบติ ส่วนลดจ่าย
หมายเลข (10) Check Mark (ทาเคร่ืองหมาย √ ในชอ่ งน้เี มอ่ื ผา่ นรายการไปบัญชแี ยกประเภทลกู หนี้การคา้ รายตัว)
หมายเลข (11) เครดิต ลกู หนก้ี ารคา้ (จานวนเงนิ ทีร่ บั ชาระจากลูกหนี้)
หมายเลข (12) เครดิต ขายสนิ คา้ (ราคาสินค้ากอ่ นภาษีมลู คา่ เพมิ่ )
หมายเลข (13) เครดิต ภาษีขาย (มาจากจานวนเงนิ ในชอ่ งท่ี 12 X 7%)
หมายเลข (14) เลขทีบ่ ัญชี (เลขทบี่ ญั ชอี ื่นๆ ท่บี นั ทึกคูก่ บั เงินสด/เงนิ ฝากธนาคารหรอื เลขทบี่ ญั ชขี องบญั ชีในชอ่ งช่ือบญั ชี)
หมายเลข (15) เครดิต บัญชอี น่ื ๆ (บันทกึ จานวนเงินของบัญชอี ่นื ๆ )

2.สมดุ รายวันค่าใชจ้ า่ ย (Expense Journals) ได้แก่
2.1 สมุดรายวนั ซ้อื สนิ ค้า (Purchases Journal) ใช้บนั ทึกรายการซ้อื สนิ คา้ เปน็ เงนิ เชื่อ

สมุดรายวนั ซ้อื สินค้า (1) หนา้ 1

พ.ศ. 25x1 เลขที่ ชอื่ เจ้าหนก้ี ารค้า เงอื่ นไข หนา้ บญั ชี เครดติ เดบิต
เดอื น วนั ที่ ใบกากบั (5) (6) (7) ซื้อสินคา้ ภาษซี อ้ื เจ้าหนีก้ ารคา้
(3) สินคา้ (8) (9)
(10)
(4)

รปู ท่ี 4 สมดุ รายวนั ซ้อื สนิ ค้า

หมายเลข (1) ช่อื สมดุ
หมายเลข (2) หน้าสมุด (เรียงตามลาดบั )
หมายเลข (3) วนั เดอื น ปี ทเ่ี กดิ รายการคา้ (เรียงตามลาดับ)
หมายเลข (4) เลขท่ีใบกากับสินคา้ /ใบกากบั ภาษี
หมายเลข (5) ชื่อเจา้ หนก้ี ารค้า
หมายเลข (6) เง่อื นไขในการซื้อสนิ คา้
หมายเลข (7) หน้าบัญชี (ทาเครือ่ งหมาย Check Mark √ ในช่องนี้เมอื่ ผา่ นรายการไปบัญชีแยกประเภทเจา้ หน้ีการคา้ รายตวั )
หมายเลข (8) เดบติ ซอื้ สินค้า (ราคาสินคา้ กอ่ นภาษมี ลู ค่าเพมิ่ )
หมายเลข (9) เดบิต ภาษีซ้อื (มาจากจานวนเงนิ ในช่องที่ 8 X 7%)
หมายเลข (10) เครดิต เจ้าหนก้ี ารคา้ (ราคาสินค้ารวมภาษมี ลู ค่าเพ่มิ มาจากจานวนเงินในช่อง 8+ ช่อง 9)

2.2 สมุดรายวันส่งคืนสินค้าและจานวนท่ีได้ลด (Purchases return & allowances Journal) ใช้บันทึก
รายการส่งคนื สินค้าท่ีซื้อเปน็ เงนิ เช่ือ

สมดุ รายวนั สง่ คืนสินคา้ และจานวนท่ีลดให้ (1) หน้า 2

พ.ศ. 25x1 เลขท่ี ชอ่ื เจ้าหนี้การคา้ หน้า เครดิต เดบติ
เดอื น วันที่ Dr.Memo บญั ชี ส่งคนื สนิ ค้า ภาษซี ้ือ เจา้ หนี้การค้า

(3) (4) (5) (6) (8) (9) (10)

รูปท่ี 2 สมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ และจานวนที่ไดล้ ด

หมายเลข (1) ชอ่ื สมดุ
หมายเลข (2) หนา้ สมุด (เรียงตามลาดับ)
หมายเลข (3) วัน เดอื น ปี ทีเ่ กดิ รายการค้า (เรียงตามลาดบั )
หมายเลข (4) เลขที่ Dr.Memo
หมายเลข (5) ชอื่ เจา้ หนกี้ ารค้า
หมายเลข (6) หนา้ บัญชี (ทาเครอ่ื งหมาย Check Mark √ ในชอ่ งน้เี มอ่ื ผา่ นรายการไปบัญชแี ยกประเภทเจา้ หน้ี

การคา้ รายตัว)
หมายเลข (7) เครดิต สง่ คืนสินค้า (ราคาสนิ คา้ ก่อนภาษีมูลค่าเพิ่ม)
หมายเลข (8) เครดิต ภาษีซอื้ (มาจากจานวนเงินในชอ่ งที่ 7 X 7%)
หมายเลข (9) เดบิต เจ้าหน้กี ารคา้ (ราคาสินค้ารวมภาษีมลู ค่าเพมิ่ มาจากจานวนเงินในชอ่ ง 7+ ช่อง 8 )

2.3 สมุดรายวนั จา่ ยเงนิ (Cash Payment Journal) ใชบ้ ันทกึ รายการจ่ายเงินทุกรายการทงั้ ทเ่ี ป็นเงนิ สดและเงนิ
ฝากธนาคาร เช่น จ่ายเงินซ้อื สนิ คา้ จา่ ยชาระหนีใ้ ห้เจ้าหน้ี จา่ ยค่าใชจ้ า่ ยต่างๆ

รูปท่ี 3 สมุดรายวนั จ่ายเงนิ

หมายเลข (1) ชื่อสมดุ
หมายเลข (2) หนา้ สมดุ (เรียงตามลาดบั )
หมายเลข (3) วัน เดอื น ปี ทเ่ี กดิ รายการค้า (เรียงตามลาดบั )
หมายเลข (4) เลขท่ีใบสาคัญ (ใบกากบั ภาษ/ี ใบเสร็จรบั เงิน/ใบสาคัญจ่าย)
หมายเลข (5) ชื่อบญั ชี (ทางด้านเดบติ )

หมายเลข (6) คาอธบิ ายรายการ
หมายเลข (7) เครดติ เงินสด
หมายเลข (8) เครดิต เงินฝากธนาคาร
หมายเลข (9) เครดิต สว่ นลดรบั
หมายเลข (10) Check Mark (ทาเครอื่ งหมาย √ ในชอ่ งนเี้ ม่ือผ่านรายการไปบญั ชแี ยกประเภทเจ้าหนี้รายตัว)
หมายเลข (11) เดบติ เจ้าหนก้ี ารคา้ (จานวนเงินทีจ่ ่ายชาระใหเ้ จา้ หนี้)
หมายเลข (12) เดบิต ซ้ือสนิ คา้ (ราคาสนิ ค้าก่อนภาษีมลู ค่าเพมิ่ )
หมายเลข (13) เดบิต ภาษซี ือ้ (มาจากจานวนเงินในชอ่ งท่ี 12 X 7%)
หมายเลข (14) เลขทบ่ี ัญชี (เลขทบ่ี ญั ชีอน่ื ๆ ท่ีบันทึกคูก่ ับเงนิ สด/เงินฝากธนาคารหรือเลขที่บญั ชีของบญั ชี

ในชอ่ งชื่อบัญชี)
หมายเลข (15) เดบติ บัญชอี ่ืนๆ (บนั ทกึ จานวนเงนิ ของบัญชีอื่นๆ)

วิธีบนั ทึกรายการคา้ ในสมดุ รายวันเฉพาะ

การบันทึกรายการคา้ ในสมุดรายวนั เฉพาะมีขั้นตอนดงั นี้
1. จาแนกรายการค้าที่เกิดข้ึนเป็นกลุ่มๆ หรือเป็นประเภทๆ ให้สอดคล้องกับสมุดรายวันเฉพาะท่ี
กจิ การเลือกใช้
2. บันทึกรายการค้าตามประเภทท่ีจาแนกไว้ในสมุดรายวันเฉพาะ รายการใดไม่สามารถบันทึก
ในสมุดรายวันเฉพาะได้ ให้บันทึกในสมุดรายวันท่ัวไป เช่น กิจการใช้สมุดรายวันเฉพาะ 2 เล่ม
คอื สมุดรายวันซื้อสินค้าและสมุดรายวันขายสินค้าและสมุดรายวันท่ัวไป ดังน้ันกิจการต้องเลือกรายการ
เฉพาะซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ บันทึกในสมุดรายวันซื้อสินค้า เลือกรายการเฉพาะ ขายสินค้าเป็นเงินเช่ือ
บนั ทึกในสมดุ รายวันขายสินคา้ ส่วนรายการคา้ อ่นื ๆ ใหบ้ นั ทึกในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป
3. ผ่านรายการจากสมุดรายวันเฉพาะ ไปบญั ชแี ยกประเภทลูกหน้กี ารค้ารายตัวและเจ้าหนี้การค้า
รายตัวและบญั ชีแยกประเภททัว่ ไปอื่นๆ ทันที และทาเคร่ืองหมาย Check Mark (√) ในชอ่ งทีก่ าหนด
4. ผา่ นรายการจากสมดุ รายวนั ทว่ั ไป ไปบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป
5. เมือ่ ถงึ วันสนิ้ เดือน ใหค้ านวณหายอดรวมในสมดุ รายวนั เฉพาะ
6. ผ่านรายการจากสมดุ รายวนั เฉพาะไปบัญชแี ยกประเภทท่ัวไป โดยใช้ยอดรวม

ตัวอย่างที่ 1 ต่อไปนี้เป็นรายการซ้ือสินค้าเป็นเงินเชื่อและรายการส่งคืนสินค้า ของร้านพรรคพวกค้าขาย
ระหว่างเดอื นตลุ าคม 25X1

25X1
ต.ค. 1 ซ้ือสนิ คา้ เป็นเงนิ เชอ่ื จากรา้ นดอิ มิ พอสซเิ บิลราคา 20,000 บาท ภาษมี ูลคา่ เพม่ิ 7%

ใบกากับภาษีเลขที่ 7070 เงื่อนไข 2/10,N/30
10 ซ้ือสินค้าเป็นเงินเชื่อจากร้านแกรนด์เอ็กซ์ราคา 36,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

ใบกากบั ภาษีเลขท่ี 1010 ไดส้ ่วนลดการค้า 10% เง่ือนไข N/45
15 ส่งคืนสินค้าให้ร้านดิอิมพอสซิเบิล ราคา 6,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% Dr.memo

เลขท่ี 10/01
20 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจากร้านบอด้ีสแลม ราคา 18,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

ใบกากับภาษีเลขท่ี 8080 ได้สว่ นลดการค้า 5% เงอ่ื นไข N/30
25 ส่งคืนสินค้าให้ร้านบอดี้ สแลม ราคา 4,000 บาท (ราคาก่อนหักส่วนลดการค้า )

ภาษีมลู ค่าเพ่มิ 7 % Dr.memo เลขที่ 10/02
30 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจากร้านดิอิมพอสซิเบิล ราคา 15,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %

ใบกากับภาษเี ลขที่ 7090 เง่อื นไข 2/10,N/45

ให้ทา บันทกึ รายการค้าในสมดุ รายวันซ้อื สินค้าและสมดุ รายวันสง่ คืนสินคา้ และจานวนที่ไดล้ ด

บันทกึ รายการคา้ ในสมดุ รายวันซ้อื สนิ ค้า

สมุดรายวันซอ้ื สนิ คา้ หน้า 1

พ.ศ. 25x1 เลขท่ี หน้า เครดิต เดบิต
ใบกากบั บญั ชี
เดือน วนั ที่ สินคา้ ช่อื เจ้าหน้กี ารค้า เงื่อนไข ซอื้ สินคา้ ภาษีซอื้ เจา้ หน้กี ารค้า

ต.ค. 1 7070 รา้ นดอิ มิ พอสซเิ บลิ 2/10,N/30 20,000 - 1,400 - 21,400 -
10 32,400 - 2,268 - 34,668 -
20 1010 ร้านแกรนดเ์ อ็กซ์ N/45 17,100 - 1,197 - 18,297 -
30 15,000 - 1,050 - 16,050 -
8080 รา้ นบอดสี้ แลม N/30 84,500 - 5,915 - 90,415 -
(501) (105) (201)
7090 รา้ นดิอิมพอสซิเบิล 2/10,N/30

บันทกึ รายการค้าในสมุดรายวนั สง่ คืนสนิ ค้าและจานวนท่ไี ด้ลด

สมุดรายวนั ส่งคนื สินคา้ และจานวนที่ไดล้ ด หนา้ 1

พ.ศ. 25x1 เลขที่ ชือ่ เจ้าหน้ีการคา้ หน้า เครดิต เดบติ
เดือน วันท่ี Dr.Memo บัญชี สง่ คนื สนิ ค้า ภาษีซ้ือ เจ้าหน้ีการค้า

ต.ค. 15 10/01 ร้านดิอิมพอสซิเบิล 6,000 - 420 - 6,420 -
4,066 -
25 10/02 รา้ นบอดีส้ แลม 3,800 - 266 - 10,486 -
(201)
9,800 - 686 -

(502) (105)

ตัวอย่างท่ี 2 ต่อไปน้ี เป็นรายการขายสินค้าเป็นเงินเช่ือและรายการรับคืนสินค้า ของร้านสวนหลวงพาณิชย์
ระหวา่ งเดอื นกันยายน 25X1

25X1
ก.ย. 2 ขายสินค้าเป็นเงินเช่อื ใหน้ ายวันชัย ราคา 12,000 บาท ภาษีมลู คา่ เพม่ิ 7% ใบกากับภาษเี ลขที่ 09/0001

เงอื่ นไข 2/10,N/45
9 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อให้นางสาวไอยรา ราคา 24,000 บาท ภาษีมูลค่าเพ่ิม 7%ใบกากับภาษีเลขท่ี 09/0002

ใหส้ ่วนลดการค้า 5% เงอ่ื นไข N/30
16 ขายสนิ ค้าเปน็ เงนิ เช่อื ใหน้ ายวันชัย ราคา 8,000 บาท ภาษีมลู คา่ เพ่ิม 7 % ใบกากับภาษเี ลขที่ 09/0003

เงื่อนไข 2/10,N/3022 รับคืนสนิ คา้ จากนางสาวไอยราราคา 2,000 บาท (ราคากอ่ นหักส่วนลดการค้า)
22 รับคืนสินค้าจากนางสาวไอยราราคา 2,000 บาท (ราคาก่อนหักส่วนลดการค้า)ภาษีมูลค่าเพ่ิม 7%

Cr.memo เลขที่ 9/001
26 รบั คนื สนิ คา้ จากนายวนั ชัย ราคา 3,000 บาท ภาษมี ูลคา่ เพม่ิ 7% Cr.memo เลขที่9/002
30 ขายสนิ ค้าเปน็ เงนิ เชอื่ ใหน้ ายพาณชิ ย์ ราคา 43,000 บาท ภาษมี ลู ค่าเพ่ิม 7% ใบกากับภาษเี ลขที่ 09/0004

เง่ือนไข 2/10,N/60

ให้ทา บันทึกรายการคา้ ในสมุดรายวนั ขายสนิ ค้าและสมุดรายวนั รับคนื สนิ ค้าและจานวนทลี่ ดให้

ให้ทา บนั ทึกรายการคา้ ในสมดุ รายวันขายสนิ คา้

สมดุ รายวนั ขายสนิ คา้ หน้า 1

พ.ศ. 25x1 เลขที่ เงอื่ นไข หน้าบัญชี เครดติ เดบติ
ใบกากบั ชื่อลกู หนี้การคา้ ขายสินคา้ ภาษีขาย
ลูกหนกี้ ารค้า
เดือน วนั ท่ี สนิ คา้
12,840 -
ก.ย. 2 09/0001 นายวนั ชัย 2/10,N/45 12,000 - 840 - 24,396 -
8,560 -
9 09/0002 นางสาวไอยรา N/30 22,800 - 1,596 - 46,010 -
91,806 -
16 09/0003 นายวนั ชัย 2/10,N/30 8,000 - 560 - (103)

30 09/0004 นายพาณชิ ย์ 2/10,N/30 43,000 - 3,010 -

85,800 - 6,006 -

(401) (203)

ให้ทา บนั ทึกรายการคา้ ในสมุดรายวนั รบั คืนสินค้าและจานวนทล่ี ดให้

สมุดรายวันรบั คืนสินค้าและจานวนทลี่ ดให้ หนา้ 1

พ.ศ. 25x1 เลขที่ ช่อื ลูกหน้ี หนา้ เครดติ เดบิต
การค้า บญั ชี ลูกหนกี้ ารคา้
เดือน วนั ที่ Cr.Mem รบั คนื ภาษีขาย
o สนิ คา้

ก.ย. 22 9/001 นางสาวไอยรา 1,900 - 133 - 2,033 -

26 9/002 นายวนั ชยั 3,000 - 210 - 3,210 -

4,900 - 343 - 5,243 -

(402) (203) (103)

ตัวอย่าง ท่ี 3 ต่อไ ป นี้ เ ป็ นรายการรับ -จ่ายเงิ น ของ ร้านตลาดน้าบริการสินค้ า
ระหวา่ งเดือนมีนาคม 25X1

25X1
มี.ค. 1 ซ้ือสินค้าเป็นเงินสด ราคา 3,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ใบกากับภาษี

เลขที่ 010101
3 ขายสินค้าเป็นเงินสด ราคา 7,500 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ใบกากับภาษี

เลขท่ี 03/0001 นาเงินไปฝากธนาคาร 7,000 บาท
9 ซื้ออุปกรณ์สานักงานราคา 19,900 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %ใบกากับภาษี

เลขที่ 4444 โดยจ่ายเปน็ เชค็
10 รับชาระหนีจ้ ากลูกหนี้-นายเป้ท้ังหมด (เม่ือวันที่ 1 มีนาคม 25X1 ขายสินค้าให้นายเป้

เปน็ เงนิ เชอื่ ราคา 6,000 บาท ภาษมี ูลคา่ เพม่ิ 7% เง่อื นไข 2/10,n/30)
นาเงินฝากธนาคารทัง้ หมด
12 จ่ายเงินสดให้ลกู คา้ เนื่องจากรับคนื สินคา้ ราคาสนิ ค้า 1,000 บาท ภาษมี ูลคา่ เพิ่ม 7%
15 จา่ ยเชค็ ชาระหน้ใี หเ้ จ้าหนี้-นางสาวปานทั้งหมด (เม่ือวันท่ี 5 มีนาคม 25X1 กิจการซื้อ
สินค้าจากนางสาวปาน เป็นเงนิ เชอื่ ราคา 14,000 บาท ภาษีมูลค่าเพมิ่ 7% เงอ่ื นไข3/10,n/45)

18 ถอนเงนิ จากธนาคารมาใช้ในรา้ น 5,000 บาท
21 รับเงินสดจากร้านค้าเน่ืองจากสง่ คนื สนิ คา้ ราคาสินคา้ 1,500 บาท ภาษมี ลู คา่ เพ่มิ 7%
25 นาเงนิ สดไปฝากธนาคาร 40,000 บาท
27 จ่ายค่าเช่ารา้ น 10,000 บาท
30 จา่ ยเงนิ เดอื นพนักงาน 25,000 บาท เป็นเช็ค

ใหท้ า บันทึกรายการค้าในสมุดรายวนั รับเงินและสมุดรายวันจา่ ยเงนิ
(ใบสาคญั รบั เริ่มเลขที่ รง.03/001 ใบสาคญั จ่ายเรมิ่ เลขที่จง.03/001)

บนั ทกึ รายการคา้ ในสมดุ รายวันรบั เงนิ

บนั ทกึ รายการคา้ ในสมดุ รายวันรบั เงนิ

หนว่ ยที่ 6

การผา่ นรายการไปบัญชแี ยกประเภท
และการจัดทางบทดลอง

หน่วยที่ 6 การผา่ นรายการไปบญั ชีแยกประเภทและการจดั ทางบทดลอง

แนวคดิ

บัญชีแยกประเภทเป็นบัญชีที่แยกรายการค้าออกเป็นหมวดหมู่ ถือเป็นสมุดบันทึกรายการข้ันปลาย ประกอบด้วยกลุ่มบัญชี
5 หมวด หลังจากหายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทแล้ว ควรพิสูจน์ความถูกต้องของการบันทึกรายการตามหลักบัญชีท่ีรับรองโดยท่ัวไป
ก่อนท่ีจะนายอดคงเหลอื เหล่านัน้ ไปจัดทางบการเงินหรอื รายงานอนื่ ๆ ตอ่ ไป

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของบัญชีแยกประเภท 5. การทารายละเอยี ดลูกหนก้ี ารคา้
2. ประเภทของบญั ชแี ยกประเภท และรายละเอียดเจ้าหน้ีการคา้
3. รปู แบบของบัญชีแยกประเภท
4. การผ่านรายการจากสมดุ รายวันเฉพาะไปบญั ชแี ยกประเภท 6. งบทดลอง
7. ศพั ท์บญั ชี

ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั

1. บอกความหมายของบัญชแี ยกประเภท 5. จดั ทางบทดลองสาหรับธรุ กิจซอื้ ขายสนิ คา้ ได้

2. บอกประเภทและรปู แบบของบญั ชแี ยกประเภทได้ 6. บอกศพั ท์บัญชีได้
3. ผา่ นรายการจากสมุดรายวนั เฉพาะไปบัญชแี ยกประเภททั่วไปได้ 7. มีกิจนสิ ัย มรี ะเบียบ ละเอยี ด รอบคอบ ซอ่ื สัตย์
4. ทารายละเอยี ดลูกหนีก้ ารค้าและรายละเอยี ดเจา้ หน้กี ารค้าได้
มวี นิ ยั ตรงต่อเวลา และมเี จตคตทิ ี่ดีต่อวชิ าชพี บัญชี

ความหมายของบัญชแี ยกประเภท

บัญชีแยกประเภท (Ledger) ถือเป็นสมุดบันทึกรายการข้ันปลายใช้
สาหรับบันทึกรายการต่อจากสมุดบันทึกรายการขั้นต้น ที่เรียกว่าการผ่านรายการ
ไปบัญชีแยกประเภท (Posting) โดยจาแนกรายการค้าไว้เป็นหมวดหมู่
มีความสาคัญในการจัดทางบและรายงานต่าง ๆ เช่น งบทดลองได้รวดเร็ว
และประหยัดเวลาเพราะบัญชีแยกประเภทแต่ละบัญชีได้จัดทาและเรียงลาดับ
ตามหมวดบญั ชีไวเ้ รยี บร้อยแลว้

ประเภทของบัญชแี ยกประเภท

บญั ชีแยกประเภทแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื
1. บัญชีแยกประเภททั่วไป General (Ledger) เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทหลักซึ่งแบ่งบัญชี
ออกเป็น 5 หมวด คือ หมวดสินทรัพย์ หมวดหน้ีสิน หมวดส่วนของเจ้าของ หมวดรายได้
และหมวดค่าใชจ้ ่าย
2. บัญชีแยกประเภทย่อย Subsidiary (Ledger) คือกลุ่มของบัญชีหลาย ๆ บัญชีท่ีเหมือนกัน
และมียอดคงเหลือรวมกันเท่ากับยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทท่ัวไปท่ีเกี่ยวข้องกัน บัญชี
แยกประเภทท่ัวไป ท่ีมีบัญชีแยกประเภทย่อยเรียกว่าบัญชีคุมยอด (Control Account)
หรือบัญชีหลัก (Master Account) เช่น บัญชีคุมยอดลูกหนี้ประกอบด้วยบัญชีแยกประเภทย่อย
หลาย ๆ บัญชีเท่ากับจานวนลูกหนี้ บัญชีคุมยอดลูกหนี้จะแสดงยอดลูกหน้ีรวม ส่วนบัญชี
แยกประเภทยอ่ ยจะแสดง รายละเอียดของลกู หนแี้ ต่ละรายดังตัวอย่าง

ประเภทของบัญชแี ยกประเภท


Click to View FlipBook Version