The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หนังสือ E-BOOK, 2023-07-24 05:33:55

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ความรูเบื้องตน ทางความสัมพันธระหวางประเทศ Introduction to International Relation Relation 01_(01)-12)_.indd 1 17/10/2562 12:57:56


(2) พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ศาสตราจารย ดร.บุญทัน ดอกไธสง รองศาสตราจารย ดร.สุรพล สุยะพรหม รองศาสตราจารย ดร.สัญญา เคณาภูมิ รองศาสตราจารย ดร.ภักดี โพธิ์สิงห รองศาสตราจารย ดร.เสาวลักษณ โกศลกิตติอัมพร รองศาสตราจารย ดร.ยุภาพร ยุภาศ ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิรายุ ทรัพยสิน ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุรพงษ แสงเรณู ผูชวยศาสตราจารย ดร.วันชัย สุขตาม ผูชวยศาสตราจารย ธรรมรัตน สินธุเดช พิมพครั้งที่ ๑ จํานวน ๕๐๐ เลม ราคา ๓๕๐ บาท พิมพที่ โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๗๙ หมู ๑ ต.ลําไทร อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐ พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ISBN : 978-616-478-236-5 แบบปก-รูปเลม : ดร.ประสิทธิ์ พุทธศาสนศรัทธา | www.drprasit.net ผูรับผิดชอบการจัดพิมพ : พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตน ทางความสัมพันธระหวางประเทศ 01_(01)-12)_.indd 2 17/10/2562 12:58:31


คํานํา หนังสือความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ..(Introduction to International Relation Relation) ซึ่งเนื้อหาในเอกสารคําสอนนี้ไดถูกเรียบเรียงไวเปนหมวดหมูเหมาะ สําหรับนิสิต นักศึกษาและผูที่สนใจที่ตองการหาความรูเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศโดย ผูเรียบเรียงไดแบงเนื้อหาออกเปน 9 บทดังนี้ บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับความสัมพันธระหวาง ประเทศ บทที่ 2 ทฤษฎีความสัมพันธระหวางประเทศ บทที่ 3 ปจจัยกําหนดความสัมพันธระหวาง ประเทศ บทที่ 4 เครื่องมือที่ใชในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศ บทที่ 5 ตัวแสดงใน ความสัมพันธระหวางประเทศบทที่ 6 องคกรระหวางประเทศ บทที่ 7 กฎหมายระหวางประเทศ บทที่ 8 โยบายความสัมพันธระหวางประเทศของไทย และบทที่ 9 ความสัมพันธระหวางประเทศ ตามแนวพุทธศาสตร หนังสือเลมนี้ไดมีการคนควาองคความรูจากครูบาอาจารยทั้งในระบบการ ศึกษา นักวิชาการ กัลยาณมิตรทางวิชาการทั้งในและตางประเทศ ผูเรียบเรียงขอกราบขอบพระคุณคณาจารย..ผูทรงคุณวุฒิที่เปนเจาของบทความ ตํารา..หนังสือ..อกสารทางวิชาการตางๆ..ที่ผูเขียนไดอางอิงในเอกสารคําสอนและขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยที่สนับสนุนไดใหมีโอกาสพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ อยางตอเนื่อง..อีกทั้งกําลังใจและการสนับสนุนจากทุกภาคสวนทําใหเอกสารคําสอนฉบับนี้เสร็จ สมบูรณ และหากทานใดมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมที่จะนํามาปรับปรุงเอกสารคําสอนเลมนี้ใหดียิ่งขึ้น ตอไป ผูเรียบเรียงยินดีนอมรับและขอขอบคุณในความอนุเคราะหนั้นมา ณ พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๖๒ 01_(01)-12)_.indd 3 17/10/2562 12:58:32


สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา (๓) สารบัญ (๔) บทที่ ๑ ความรูพื้นฐานของความสัมพันธระหวางประเทศ ๑.๑ ความนํา ๑ ๑.๒ ความหมายของความสัมพันธระหวางประเทศ ๓ ๑.๓ ระบบรัฐกับความสัมพันธระหวางประเทศ ๔ ๑.๓.๑ เขตแดนรัฐ ๕ ๑.๓.๒ เขตอํานาจรัฐ ๖ ๑.๓.๓ หนาที่ของรัฐกับความสะมพันธระหวางประเทศ ๖ ๑.๔ ระบบความสัมพันธระหวางประเทศ ๘ ๑.๔.๑ ลักษณะของความสสัมพันธระหวางประเทศ ๘ ๑.๔.๒ ขอบเขตของความสัมพันธระหวางประเทศ ๘ ๑.๔.๓ ผลของความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๐ ๑.๕ วิวัฒนาการของการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๔ ๑.๖ ประโยชนขอการศึกษาความสัมพันธระหวางระหวางประเทศ ๑๘ ๑.๗ สรุปทายบท ๒๐ เอกสารอางอิงประจําบท ๒๒ บทที่ ๒ สภาพแวดลอมระหวางประเทศ ๒.๑ ความนํา ๒๕ ๒.๒ สภาพแวดลอมทางการเมือง ๒๕ ๒.๒.๑ ความเสี่ยงของประเทศ ๒๕ ๒.๒.๒ ความเสี่ยงทางการเมือง ๒๖ ๒.๓ การพิจารณาสภาพทั่วไปทางการเมืองของประเทศที่จะลงทุน ๒๗ ๒.๔ ประเภทของความเสียงทางการเมือง ๒๘ ๒.๕ แบบจําลองความเสี่ยงสภาพแวดลอมธุรกิจ ๒๙ ๒.๖ การบริหารความเสี่ยงทางการเมือง ๓๑ ๒.๗ เศรษฐกิจ ๓๒ ๒.๘ สังคมและวัฒนธรรม ๓๓ ๒.๙ เทคโนโลยี ๓๔ 01_(01)-12)_.indd 4 17/10/2562 12:58:33


(5) ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒.๑๐ สภาพแวดลอม ๓๕ ๒.๑๑ กฎหมาย ๓๖ ๒.๑๒ สภาพแวดลอมของการลงทุนในตางประเทศ ๓๗ ๒.๑๓ สภาพแวดลอมในประเทศเจาของกิจการ ๓๗ ๒.๑๔ สภาพแวดลอมในประเทศที่รับการลงทุน ๓๙ ๒.๑๕ องคการระหวางประเทศและเขตเศรษฐกิจที่สําคัญ ๔๑ ๒.๑๖ ทิศทางในอนาคตของสภาพแวดลอมระหวางประเทศ ๔๕ เอกสารอางอิงประจําบท ๔๘ บทที่ ๓ โครงสรางระบบการเมืองระหวางประเทศ ๓.๑ ความนํา ๕๐ ๓.๒ โครงสรางการเมืองระหวางประเทศ ๕๑ ๓.๓ ทฤษฎีความสัมพันธระหวางประเทศ ๕๓ ๓.๓.๑ ทฤษฎีระบบของแคปแสน (Carplan) ๕๔ ๓.๓.๒ ทฤษฎีความเกี่ยวพันของรอสนาว ( Rosnau) ๕๔ ๓.๓.๓ ทฤษฎีปจจัยนําเขาและปจจัยผลิตผลของโมเด็ลสกี ๕๔ ๓.๓.๔ ทฤษฎีที่นาสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศ ๕๕ ๓.๓.๕ ทฤษฎีระบอบ (Regime theory) ๕๖ ๓.๓.๖ ลัทธิทุนนิยม (Capitalism) ๕๖ ๓.๓.๗ แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศวา ๕๗ ดวยการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ๓.๔ อํานาจรัฐระหวางประเทศ ๕๙ ๓.๔.๑ ความขัดแยงในการใชอํานาจระหวางรัฐ ๓.๕ ความรวมมือระหวางประเทศ ๖๐ ๓.๕.๑ ลักษณะของความความรวมมือระหวางประเทศ ๖๐ ๓.๕.๒ ขอบเขตของความความรวมมือระหวางประเทศ ๖๑ ๓.๕.๓ องคกรความรวมมือระหวางประเทศ ๖๒ ๓.๖ การถวงดุลอํานาจระหวางรัฐ ๖๖ ๓.๖.๑ การประนีประนอมขอขัดแยงระหวางรัฐ ๖๗ ๓.๖.๒ การระงับขอพิพาทระหวางรัฐโดยสันติวิธี ๖๘ ๓.๖.๓ การประนีประนอมวิธีการที่รัฐคูพิพาทมอบอํานาจหนาที่ ๖๙ ๓.๖.๔ การใชวิธีอนุญาโตตุลาการ ๗๐ ๓.๖.๕ ศาลอนุญาโตตุลาการ ๗๐ 01_(01)-12)_.indd 5 17/10/2562 12:58:34


(6) พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๓.๖.๖ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ๗๑ ๓.๗ สรุปทายบท ๗๒ เอกสารอางอิงประจําบท ๗๓ บทที่ ๔ พฤติกรรมของรัฐและอํานาจทางทหาร ๔.๑ ความนํา ๗๕ ๔.๒ ความหมายพฤติกรรมของรัฐ ๗๕ ๔.๒.๑ การควบคุมพฤติกรรมของรัฐ ๗๗ ๔.๒.๒ พฤติกรรมของรัฐระหวางประเทศ ๗๘ ๔.๓ อํานาจทางทหาร ๗๙ ๔.๓.๑ เครื่องมือทางการทหาร ๘๕ ๔.๓.๒ วัตถุประสงคของอํานาจทางการทหาร ๘๖ ๔.๔ อุดมการณทางการเมืองระหวางประเทศ ๘๖ ๔.๔.๑ อุดมการณแบบเสรีนิยม ๘๘ ๔.๔.๒ อุดมการณแบบอนุรักษนิยม ๙๑ ๔.๔.๓ อุดมการณแบบทุนนิยม ๙๑ ๔.๔.๔ อุดมการณแบบสังคมนิยม ๙๓ ๔.๔.๕ อุดมการณประชาธิปไตย ๙๔ ๔.๔.๖ อุดมการณทางการเมืองตามทัศนะของนักวิชาการ ๙๕ ๔.๔.๗ หลักการของประชาธิปไตย ๙๖ ๔.๕ การแสวงหาผลประโยชนระหวางประเทศ ๙๘ ๔.๕.๑ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ๙๙ ๔.๕.๒ การรวมกลุมการเมืองระหวางประเทศ ๙๙ ๔.๖ สิ่งแวดลอมของปฏิกิริยาระหวางประเทศ ๑๐๑ ๔.๗ การตอรองระหวางประเทศ ๑๐๔ ๔.๗.๑ บทบาทของหนวยงานระหวางประเทศในการเจรจา ๑๐๕ ๔.๗.๒ ดานจริยธรรม ๑๐๖ ๔.๗.๓ แนวทางการจางงานและจริยธรรม ๑๐๖ ๔.๗.๔ สิทธิมนุษยชน ๑๐๖ ๔.๘ สรุปทายบท ๑๐๘ เอกสารอางอิงประจําบท ๑๑๐ 01_(01)-12)_.indd 6 17/10/2562 12:58:34


(7) ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation บทที่ ๕ การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๑ ความนํา ๑๑๓ ๕.๒ การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ๑๑๓ ๕.๒.๑ วัตถุประสงคการพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๑๔ ๕.๒.๒ สัมพันธภาพระหวางประเทศมหาอํานาจ ๑๑๘ ๕.๒.๓ การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตรการพัฒนาความสัมพันธ ระหวางประเทศของไทย ๑๑๙ ๕.๒.๔ การพัฒนาตามแนวทางการพัฒนาแบบยังยืน ๑๒๐ ๕.๒.๕ การปฏิรูประบบราชการวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ในป พ.ศ. ๒๕๔๐ ๑๒๑ ๕.๓ การกําหนดนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๒๒ ๕.๓.๑ การดําเนินนโยบายระหวางประเทศของรัฐ ๑๒๓ ๕.๓.๒ นโยบาย ผลประโยชน และเปาหมายของประเทศไทย ๑๒๔ ๕.๓.๓ นโยบายตางประเทศของไทยกับปญหาขามชาติ ๑๒๖ ๕.๓.๔ นโยบายตางประเทศของไทยในแตละรัฐบาล ๑๒๗ ๕๓.๕ นโยบายตางประเทศของไทยในยุครัฐบาลนายกชวน ๑๒๘ ๕.๓.๖ นโยบายตางประเทศไทยในยุครัฐบาลนายกทักษิณ ๑๒๙ ๕.๓.๗ ขอเสนอยุทธศาสตรชาติดานการตางประเทศ ๑๓๐ ๕.๔ การพัฒนาการเมืองการปกครอง ๑๓๓ ๕.๔.๑ การศึกษาการพัฒนาการเมืองของนักรัฐศาสตร ๑๓๔ ๕.๔.๒ การพัฒนาทางการเมือง ๑๓๕ ๕.๔.๓ ความสําคัญของการพัฒนาทางการเมือง ๑๓๗ ๕.๕ การพัฒนาทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ๑๓๘ ๕.๕.๑ องคการสหประชาชาติเพื่อการพัฒนาสังคม ๑๓๘ ๕.๕.๒ การพัฒนามนุษย ๑๓๘ ๖.๕.๓ การคุมครองและสวัสดิการสังคม ๑๔๐ ๕.๕.๔ สงเสริมความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม ๑๔๐ ๕.๕.๕ การสรางอัตลักษณอาเซียน ๑๔๑ ๕.๕.๖ การลดชองวางทางการพัฒนา ๑๔๑ ๕.๕.๗ องคการระหวางประเทศดานเศรษฐกิจ ๑๔๑ ๕.๖ การกลุมเศรษฐกิจระหวางประเทศ ๑๔๕ ๕.๖.๑ สําเหตุของการคาระหวางประเทศ ๑๔๕ ๕.๖.๒ ประโยชนของการคาระหวางประเทศ ๑๔๕ ๕.๖.๓ ลักษณะของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ๑๔๕ ๕.๖.๔ องคกรความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ๑๔๖ ๕.๖.๕ กลุมประเทศผูสงน้ํามันเปนสินคาออก ๑๔๗ 01_(01)-12)_.indd 7 17/10/2562 12:58:35


(8) พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๕.๖.๖ ความสัมพันธระหวางไทยกับกลุมประเทศผูสงน้ํามัน เปนสินคาออก ๑๔๘ ๕.๖.๗ ความสัมพันธระหวางไทยกับขอตกลงการคาเสรี อเมริกาเหนือ ๑๔๙ ๕.๖.๘ ความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย - แปซิฟก ๑๔๙ ๕.๗ สรุปทายบท ๑๕๒ อางอิงประจําบท ๑๕๔ บทที่ ๖ กฎหมาย กฎบัตร และตราสารระหวางประเทศ ๖.๑ ความนํา ๑๕๖ ๖.๒ กฎหมายระหวางประเทศ ๑๕๖ ๖.๒.๑ กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ๑๕๗ ๖.๒.๒ บอเกิดหรือที่มาจากภายในประเทศ ๑๕๙ ๖.๒.๓ วิเคราะหศัพทที่ใชในกฎหมาระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ๑๖๐ ๖.๒.๔ ลักษณะการใหกฎหมายแกขอเท็จจริง ๑๖๒ ๖.๓ กฎหมายของสหประชาชาติ ๑๖๓ ๖.๓.๑ โครงสรางของ UN ๑๖๔ ๖.๓.๒ แนวปฏิบัติ มาตรฐาน และกฎหมายระหวางประเทศดานสิทธิ มนุษยชน ๑๖๖ ๖.๓.๓ กลไกสิทธิมนุษยชนในระบบสหประชาชาติ ๑๖๗ ๖.๔ กฎบัตรระหวางประเทศ ๑๖๘ ๖.๔.๑ วัตถุประสงคของกฎบัตรอาเซียน ๑๖๙ ๖.๔.๒ โครงสรางของกฎบัตรอาเซีย ๑๗๐ ๖.๔.๓ สาระสําคัญของกฎบัตรอาเซียน ๑๗๒ ๖.๔.๔ ประเทศไทยกับกฎบัตรอาเซียน ๑๗๓ ๖.๔.๕ ตราสารระหวางประเทศ ๑๗๓ ๖.๕ สนธิสัญญาระหวางประเทศ ๑๗๗ ๖.๕.๑ อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ๑๗๘ ๖.๖ การตั้งขอสงวนระหวางประเทศ ๑๘๐ ๖.๖.๑ หลักเกณฑในการตั้งขอสงวน ๑๘๑ ๖.๖.๒ ขอหามของการตั้งขอสงวน ๑๘๑ ๖.๖.๓ จารีตประเพณีระหวางประเทศแบงออกเปน ๑๘๒ ๖.๖.๔ สําหรับแนวคิดในการพิจารณาเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลใหม ๑๘๒ ๖.๗ สรุปทายบท ๑๘๔ เอกสารอางอิงประจําบท ๑๘๖ 01_(01)-12)_.indd 8 17/10/2562 12:58:36


(9) ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation บทที่ ๗ เครื่องมือดําเนินการความสัมพันธระหวางประเทศ ๗.๑ ความนํา ๑๘๘ ๗.๒ ความสําคัญของเครื่องมือการเมืองระหวางประเทศ ๑๘๙ ๗.๒.๑ การใชเครื่องมือลดความขัดแยงระหวางประเทศ ๑๙๐ ๗.๒.๒ มาตรการแกไขความขัดแยงระหวางประเทศ ๑๙๑ ๗.๓ เครื่องมือดานการทูต ๑๙๒ ๗.๓.๑ ความหมายของทูต ๑๙๓ ๗.๓.๒ หนาที่และบทบาทของทูตระหวางประเทศ ๑๙๔ ๗.๔ เครื่องมือดานการทหาร ๑๙๕ ๗.๔.๑ กองกําลังทหารนาโต ๑๙๖ ๗.๕ เครื่องมือดานกฎหมายระหวางประเทศ ๑๙๗ ๗.๕.๑ ที่มาของกฎหมายระหวางประเทศที่ไมเปนลายลักษณอักษร ๑๙๗ ๗.๕.๒ ที่มาของกฎหมายระหวางประเทศ ที่เปนลายลักษณอักษร ๑๙๗ ๗.๕.๓ ประเภทของกฎหมายระหวางประเทศ ๑๙๘ ๗.๕.๔ วิวัฒนาการของกฎหมายระหวางประเทศ ๑๙๘ ๗.๕.๕ ความแตกตางระหวางกฎหมายภายในกับกฎหมายระหวางประเทศ ๑๙๙ ๗.๖ เครื่องมือดานการลงทุนและเศรษฐกิจ ๒๐๐ ๗.๖.๑ ความหมายของการคาระหวางประเทศ ๒๐๔ ๗.๖.๒ สาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดการคาระหวางประเทศ ๒๑๐ ๗.๖.๓ ทฤษฎีการคาระหวางประเทศ (International Trade Theory) ๒๑๑ ๗.๖.๔ ทฤษฎีการคาระหวางประเทศสมัยคลาสสิค (Classic Theory) ๒๑๒ ๗.๖.๕ ทฤษฎีการคาระหวางประเทศสมัยใหม (Modern Theory) ๒๑๒ ๗.๖.๖ ผลกระทบของการคาระหวางประเทศ ๒๑๔ ๗.๗ เครื่องมือดานความมั่นคงระหวางประเทศ ๒๑๕ ๗.๗.๑ ปจจัยในการกําหนดนโยบายตางประเทศ ๒๑๖ ๗.๗.๒ ปจจัยในการกําหนดนโยบายตางประเทศ ๗.๗.๓ เปาหมายของนโยบายตางประเทศ ๒๑๗ ๗.๗.๔ ขอตกลงสนธิสัญญาระหวางประเทศ ๒๑๙ ๗.๔ สรุปทายบท ๒๒๐ เอกสารอางอิงประจําบท ๒๒๓ 01_(01)-12)_.indd 9 17/10/2562 12:58:37


(10) พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ บทที่ ๘ ความสัมพันธระหวางประเทศ ดานการเมืองสังคมและเศรษฐกิจ ๘.๑ ความนํา ๒๒๕ ๘.๒ ความสําคัญความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ๒๒๕ ๘.๒.๑ การปรับตัวของไทยหลังสนธิสัญญาเบาวริง ๒๒๖ ๘.๒.๒ ไทยในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ๒๒๗ ๘.๒.๓ ไทยในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ๒๒๗ ๘.๒.๔ การปรับตัวของไทยในยุคสงครามเย็น ๒๒๘ ๘.๒.๕ การปรับตัวของไทยในยุคโลกาภิวัตน ๒๓๐ ๘.๓ นโยบายความสัมพันธระหวางประเทศ ๒๓๔ ๓.๓.๑ นโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๓๔ ๘.๓.๒ เปาหมายการดําเนินนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ๒๓๗ ๘.๓.๓ แนวทางดําเนินนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ๒๓๗ ๘.๓.๔ อุปสรรคและการแกไข ๒๓๘ ๘.๓.๕ ลักษณะความสัมพันธระหวางประเทศ ๒๓๙ ๘.๓.๖ นโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศไทยยุคปจจุบัน ๒๔๔ ๘.๓.๗ ความสามารถทางการทูตของผูนําประเทศ ๒๔๗ ๘.๔ ความสัมพันธระหวางประเทศดานการเมือง ๒๕๐ ๘.๔.๑ ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย-จีน ๒๕๐ ๘.๔.๒ ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย - ญี่ปุน ๒๕๑ ๘.๔.๓ ความสัมพันระหวางประเทศไทยและสหรัฐฯ ๒๕๒ ๘.๕ ความสัมพันธระหวางประเทศดานเศรษฐกิจ ๒๕๓ ๘.๖ ความสัมพันธระหวางประเทศดานเศรษฐกิจ ๒๕๓ ๘.๖.๑ ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย - จีน ๒๕๓ . ๘.๖.๒ ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย – สหรัฐไทยและสหรัฐฯ ๒๕๕ ๘.๖.๓ การแลกเปลี่ยนการเยี่ยมเยือนของบุคคลสําคัญ ๒๕๗ ๘.๖.๔ ความสัมพันธระหวางไทย-เกาหลีใต ๒๕๗ ๘.๗ ความสัมพันธระหวางประเทศดานสังคม ๒๕๘ ๘.๘ สรุปทายบท ๒๖๑ เอกสารอางอิงประจําบท ๒๖๓ บทที่ ๙ ระเบียบปฏิบัติดานความสัมพันธระหวางประเทศ ๙.๑ ความนํา ๒๖๓ ๙.๒ ความสําคัญระเบียบปฏิบัติดานความสัมพันธระหวาง ประเทศ ๒๖๔ 01_(01)-12)_.indd 10 17/10/2562 12:58:37


(11) ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๙.๒.๑ รูปแบบของความสัมพันธระหวางประเทศ ๒๖๖ ๙.๒.๒ ลักษณะของความสัมพันธระหวางประเทศ ๒๖๗ ๙.๒.๓ ขอบเขตของความสัมพันธระหวางประเทศ ๒๖๙ ๙.๓ เคารพสิทธิเสรีภาพและความเปนรัฐ ๒๗๐ ๙.๓.๑ การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นที่มีตอครอบครัว ๒๗๒ ๗.๓.๒ การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นที่มีตอชุมชน และสังคม ๒๗๒ ๙.๓.๓ การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นที่มีตอประเทศชาติ ๒๗๔ ๙.๓.๕ แนวทางการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่น ๒๗๔ ๙.๓.๖ ผลที่ไดรับจากการปฏิบัติตนเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่น ๒๗๔ ๙.๔ เคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ๒๗๕ ๙.๕ การเจรจาขอขัดแยง ๒๘๑ ๙.๕.๑ นิยามของความขัดแยง ๒๘๑ ๙.๕.๒ แนวความคิดที่เกี่ยวกับความขัดแยง ๒๘๒ ๙.๕.๓ กระบวนการเจรจาตอรอง (The negotiation process) ๒๘๖ ๙.๕.๔ ขอเสนอแนะการเจรจาตอรอง ๒๘๗ ๙.๖ งดการใหกําลังทางทหาร ๒๘๘ ๙.๖.๑ กฎหมายสงครามทั่วไป ๒๘๙ ๙.๖.๒ สงครามทางบก ๒๙๒ ๙.๗ อํานาจศาลโลก ๒๙๒ ๙.๗.๑ เขตอํานาจของศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ กฎหมายระหวางประเทศ ๒๙๓ ๙.๗.๒ การยอมรับเขตอํานาจศาลฯ ของประเทศไทย ๒๙๓ ๙.๗.๓ ไทยจําเปนตองไปศาลโลกหรือไม กฎหมายระหวางประเทศ ๒๙๔ ๙.๔ สรุปทายบท ๒๙๕ เอกสารอางอิงประจําบท ๒๙๗ บทที่ ๑๐ สถาบันและองคกรระหวางประเทศ ๑๐.๑ ความนํา ๒๙๙ ๑๐.๒ ความหมายของสถาบันและองคกรระหวางประเทศ ๓๐๐ ๑๐.๒.๑ ความสําคัญขององคการระหวางประเทศ ๓๐๐ ๑๐.๒.๒ บทบาทขององคการระหวางประเทศทางดานสังคม ๓๐๑ ๑๐.๒.๓ บทบาทขององคการระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ ๓๐๒ ๑๐.๒.๔ บทบาทขององคการระหวางประเทศทางดานการเมือง ๓๐๒ ๑๐.๒.๕ ความหมายและคําจํากัดความ ๓๐๒ 01_(01)-12)_.indd 11 17/10/2562 12:58:38


(12) พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑๐.๒.๖ ความสําคัญขององคการระหวางประเทศ ๓๐๔ ๑๐.๓. องคกรสหประชาชาติ ๓๐๔ ๑๐.๓.๑ สํานักงานใหญ ๓๐๖ ๑๐.๓.๒ วัตถุประสงคขององคการสหประชาชาติ ๓๐๖ ๑๐.๓.๓ หลักการขององคการสหประชาชาติ ๓๐๗ ๑๐.๔ กองกําลังสหประชาชาติ ๓๐๗ ๑๐.๔.๑ บทบาทของสหประชาชาติ ๓๐๘ ๑๐.๔.๒ บทบาทของไทยในปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ๓๑๑ ๑๐.๔.๓ ผลประโยชนของไทยจากการเขารวมภารกิจรักษาสันติภาพ ๓๑๑ ๑๐.๕ องคกรสิทธิมนุษยชน ๓๑๒ ๑๐.๕.๑ องคกรนิรโทษกรรมสากล ๓๑๒ ๑๐.๕.๒ องคกรแรงงานระหวางประเทศ ๓๑๓ ๑๐.๕.๓ มูลนิธิความรวมมือเพื่อตานการคาหญิง ๓๑๔ ๑๐.๕.๔ มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก ๓๑๔ ๑๐.๕ สถาบันกองทุนการเงินระหวางประเทศ ๓๑๔ ๑๐.๕.๑ วัตถุประสงคของการจัดตั้งกองทุนการเงินระหวาง ประเทศ ๓๑๕ ๑๐.๕.๒ ความชวยเหลือทางการเงิน ๓๑๖ ๑๐.๕.๔ ความสัมพันธกับประเทศไทย ๓๑๖ ๑๐.๖ องคกรอนุรักษโลกและสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ ๓๑๗ ๑๐.๖.๑ องคกรอนุรักษโลกและสิ่งแวดลอมในประเทศไทย ๓๑๘ ๑๐.๗ องคกรยุติธรรมศาลโลก ๓๒๑ ๑๐.๗.๑ ขอบเขตอํานาจของศาลโลก ๓๒๓ ๑๐.๗.๒ ผลจากคําพิพากษาของศาลโลก ๓๒๓ ๑๐.๗.๓ หนาที่หลักของศาลโลก ๓๒๔ ๑๐.๘ สรุปทายบท ๓๒๔ เอกสารอางอิงประจําบท ๓๒๖ บรรณานุกรม ๓๒๘ 01_(01)-12)_.indd 12 17/10/2562 12:58:39


บทที่ ๑ ความรูพื้นฐานของความสัมพันธระหวางประเทศ ๑.๑ ความนํา วิชาความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เปนสาขาหนึ่งของ วิชารัฐศาสตร ใน ปจจุบันมีนักวิชาการไดใหความสําคัญของการศึกษาแขนงวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ ทั้งนี้ เพราะเปนที่ยอมรับกันวารัฐจะสามารถดํารงความเปนรัฐอยางมีเกียรติในการดําเนินความสัมพันธ ระหวางประเทศไดนั้น จําเปนตองใชศิลปะในการชักจูงใจใหรัฐอื่นๆ ปฏิบัติการหรืองดเวนปฏิบัติการ อยางใดอยางหนึ่ง ตามที่ตองการทั้งนี้ เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงปญหาการขัดแยงและขอพิพาทอันจะนําไปสู สงครามในที่สุด การศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางประเทศอยูในวงจํากัด กลาวคือ เปนที่สนใจ เฉพาะผูที่อยูในวงการผูสันทัดกรณี เชน นักการทูตหรือนักการเมืองชั้นนําเทานั้น แตในปจจุบันนี้เปน ที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาความสัมพันธระหวางประเทศมีบทบาทสําคัญในการสรางสรรค ความเขาใจ อันดีระหวางประเทศและการธํารงไวซึ่งสันติภาพของโลก ฉะนั้นการศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวาง ประเทศจึงเปนวิชาที่นาจะมีการศึกษาอยางกวางขวางทั้งในแนวกวางและลึกทั้งนี้ เพื่อจะไดนําความรู ความเขาใจมาใชในการอธิบายเหตุการณในปจจุบันรวมทั้งสามารถคาดคะเนความ เปนไปได ที่จะพึง เกิดขึ้นในอนาคตโดยเฉพาะผูที่มีหนาที่วางนโยบายตางประเทศของรัฐ จะตองศึกษาสถานการณของ ความสัมพันธระหวางประเทศเพื่อที่จะอธิบาย เหตุการณ ระหวางประเทศพฤติกรรมทางการเมือง ระหวางประเทศรวมทั้งทฤษฎีระบบความสัมพันธระหวางประเทศ จึงเปนกิจกรรมขามพรมแดนเพื่อมี อิทธิพล หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตลอดจนการตัดสินใจขององคการหรือรัฐบางตางประเทศ เชน การดําเนินการทางการทูต การทหาร การแสวงหาพันธมิตร การแทรกแซงบอนทําลายประเทศอื่น การใชกําลังบีบบังคับ การกําหนดและดําเนินนโยบายตางประเทศ กิจกรรมบางเรื่องอาจไมเปน กิจกรรมการเมืองโดยตรง แตหากมีวัตถุประสงคดังกลาว ขางตน ก็ถือเปนกิจกรรมการเมือง มี วัตถุประสงคทางการเมือง เนื่องจาก สหรัฐอเมริกากับประเทศจีนทั้งสองตองการใชกีฬาเปนเครื่องมือ ผอนคลาย ความตึงเครียดและรื้อฟนความสัมพันธอันดีระหวางประเทศ การเมืองระหวางประเทศ จึงเปนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนทรัพยากรดานบริการหรือวัตถุเพื่อ ตอบสนองความตองการ ในการอุปโภคของผูแลกเปลี่ยน เชน การซื้อขายสินคา การใหทุนกูยืม การ ธนาคาร เปนตน เนื่องจากแตละประเทศมีทรัพยากรแตกตางและไมเทาเทียมกันและยังตองการ ทรัพยากรของประเทศอื่นหรือ บางประเทศเชน สหรัฐอเมริกามีทรัพยากรน้ํามัน แตยังตองการรักษา น้ํามันสํารอง ในปจจุบันจึงซื้อน้ํามันจากประเทศเม็กซิโกและประเทศอาหรับความตองการ ทรัพยากร 02_01-340_.indd 1 17/10/2562 8:32:52


2 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ซึ่งกันและกัน เชนนี้ทําใหเกิดความสัมพันธเพื่อแลกเปลี่ยนทรัพยากร วัตถุดิบ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เกษตรกรรม เทคโนโลยี บริการ โดยวิธีการตาง ๆ ไมวาโดยการซื้อขาย ให แลกเปลี่ยน ยืม ก็ตามโดย มีกฎเกณฑหรือแนวทางปฏิบัติบางประการ ความสัมพันธระหวางประเทศมีทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ เชน การกําหนดพิกัด อัตราศุลกากร การปดลอมทางเศรษฐกิจ การตั้งกําแพงภาษีการกําหนดอัตราหุนและดอกเบี้ยเปนตน ความสัมพันธทางเศรษฐกิจเชนนี้เรียกวา เศรษฐกิจระหวางประเทศ มีวัตถุประสงคในการแลกเปลี่ยน ทางการศึกษา การศาสนา วัฒนธรรม การพักผอนหยอนใจ การทองเที่ยวความสัมพันธระหวาง ประเทศ เปนเรื่อง ทางสังคมขามขอบเขตพรมแดนของรัฐเชน การสงทูต วัฒนธรรมหรือคณะ นาฏศิลป ไปแสดงในประเทศตาง ๆ การเผยแพรศาสนาโดยตัวแทนทางศาสนาของประเทศอื่น การ เผยแพรศิลปะของประเทศหนึ่งในประเทศอื่น เมื่อมีการแลกเปลี่ยนและ ปฏิสัมพันธขามเขตพรมแดน ของรัฐมากขึ้น เพื่อใหกิจกรรมดังกลาวดําเนินไปโดย เรียบรอยและมีระเบียบแบบแผน ประเทศตาง ๆ จึงไดกําหนดกฎเกณฑ ระเบียบ หรือ แนวทางปฏิบัติที่แตละประเทศจึงยึดถือปฏิบัติในดานตาง ๆ ขึ้น กฎเกณฑ หรือระเบียบนี้อาจปรากฏในรูปขอตกลงลายลักษณอักษร ซึ่งมีชื่อเรียกตาง ๆ กัน เปนตนวา สนธิสัญญา อนุสัญญา กติกาสัญญา กฏบัตร ความตกลง ฯลฯ หรืออาจเปน ความเขาใจกันซึ่งแตละ ฝายยึดถือปฏิบัติโดยไมปรากฏเปนลายลักษณอักษรก็ไดซึ่ง เรียกวากฎหมายจารีตประเพณีระหวาง ประเทศอยางไรก็ตาม กฎระเบียบที่เปนลาย ลักษณอักษรหรือจารีตประเพณีตางเรียกวา กฎหมาย ระหวางประเทศทั้งสิ้นโดยมี วัตถุประสงคใหรัฐหรือตัวแสดงอื่นๆ ระหวางประเทศไดประพฤติปฏิบัติ ตนตามกติกา เพื่อความเขาใจอันดีระหวางกัน และเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยในสังคมโลก ซึ่ง ครอบคลุมความสัมพันธดานตาง ๆ ไดแก ดานการเมือง เชน สนธิสัญญาทาง พันธมิตร สนธิสัญญา ทางไมตรี กฎบัตร สหประชาชาติ ดานเศรษฐกิจ เชน สนธิสัญญาจัดตั้งกองทุนระหวางประเทศ ขอตกลงเรื่องการคาและพิกัดภาษี ดานสังคม เชน สิทธิมนุษยชน การแลกเปลี่ยนทางการศึกษาและ วัฒนธรรม ดานเทคโนโลยี เชน ความตกลงเรื่องการคนควาในอวกาศ ความสัมพันธทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีความสัมพันธประเภทนี้มุงใหมีการแลกเปลี่ยน พัฒนาความรูและความชวยเหลือทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน มีการรวมมือกันคนควา ทดลองและวิจัยในบริเวณทวีปแอนตารกติกา การรวมมือ กันระหวางนักวิทยาศาสตรหลายประเทศ เพื่อกําจัดโรคภัยไขเจ็บสําคัก เชน โรคมะเร็งการรวมมือกันสงเสริมพัฒนาการทางวิทยาศาสตร เชน การใหรางวัลระหวางประเทศจัดการประชุมสัมมนาระหวางประเทศรวมถึงความรวมมือทางสังคม การเมืองและเศรษฐกิจของประเทศระหวางกัน เปนตน 02_01-340_.indd 2 17/10/2562 8:33:24


3 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑.๒ ความหมายของความสัมพันธระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศ หมายถึง๑ การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ ที่เกิดขึ้นขามเขต พรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไมใชรัฐ ซึ่งสงผลถึงความรวมมือหรือความ ขัดแยงระหวางประเทศตางๆในโลกความสัมพันธระหวางประเทศจึงเปนความสัมพันธระหวางบุคคล กลุมบุคคลหรือสังคม ซึ่งเกิดขึ้นขามขอบเขตของกลุมสังคมการเมืองหนึ่งๆ ในกรณีความสัมพันธ ระหวางคนไทยดวยกันหรือกลุมคนไทยดวยกัน ในประเทศไทยไมใชความสัมพันธระหวางประเทศ แต ความสัมพันธระหวางคนไทยกับคนลาวถือวาเปนความสัมพันธระหวางประเทศ ที่เกิดขึ้นเปนเรื่องที่ เกี่ยวของกับความรวมมือและความขัดแยงระหวางประเทศ ซึ่งเปน เรื่องที่กระทบกระเทือนการอยู รวมกันอยางเปนสุขในสังคมโลก ความสัมพันธระหวางประเทศ หมายถึง๒ เปนความสัมพันธระหวาง รัฐตอรัฐหรือความสัมพันธระหวางรัฐ ประชาชาติ ในยุคปจจุบันนี้ไมมีรัฐใดชาติใด ที่จะดํารงอยูอยาง โดดเดี่ยวตามลําพัง โดยที่ไมตองเกี่ยวของติดตอกับรัฐอื่น ๆ หรือสังคมอื่น ๆ โดยไดอีกตอไป อีกทั้งได มี การยอมรับกันวาความสัมพันธระหวางการเมืองภายในรัฐ และการเมืองภายนอกรัฐ นั้นเกี่ยวพัน และเปนผลซึ่งกันและกัน ความสัมพันธระหวางหนวยการเมืองคือรัฐในปจจุบัน จะเห็นไดวา ความหมายทั้ง ๓ ขางตน ไดใหความหมายของวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ ตามนัยของสาขาวิชานั้นใกลเคียงกันพอสมควรและการศึกษาเกี่ยวกับวิชาความสัมพันธ ระหวางประเทศ มักศึกษาอยูในชั้นเรียนของวิชารัฐศาสตรหรือคณะรัฐศาสตรเปนสวนใหญ อาจสรุปไดวา วิชาความสัมพันธระหวางประเทศเปนสวนหนึ่งของวิชารัฐศาสตรซึ่งมัก เกี่ยวของกับนโยบายตางประเทศและตัวแสดง ทั้งที่เปนรัฐชาติและ ไมใชรัฐชาติ นักวิชาการรัฐศาสตร ดานความสัมพันธระหวางประเทศไดใหความหมาย ไวตางๆกัน ดังนี้๓ คารส ดับเบิ้ลยู ดอยซ (Kart W. Deutsch) กลาววา เปนพฤติกรรมและการกระทําตางๆ ของรัฐชาติหนึ่งที่มีตอรัฐชาติหนึ่งโดยปราศจากการควบคุมอยางเพียงพอ คอนเวย ดับเบิ้ลยู เฮนเดอรสัน (Conway W. Henderson) ไดใหความหมายวา การศึกษา วาใครไดอะไร เมื่อใดและอยางไร ทั้งที่เกี่ยวของกับตัวแสดงที่เปนรัฐชาติ และที่ไมใชรัฐชาติทั้งหลาย ๑ ความสัมพันธระหวางประเทศ ttp://megaclever.blogspot.com-๒๐๐๘/๐๗/blog-spot_๖๒๖๙. html สืบคนเมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๐ ๒ รุจน หาเรืองทอง.ทางการเมืองปกครองที่นําไปสูความเขาใข และการประสานประโยชนรวมกัน ระหวางประเทศ,๒๕๕๗.www.satit.up.ac.th/BBC๐๗/AroundTheWorld/ir/๓๕.htm,สืบคนวันที่ ๒๔ พ.ค. ๒๕๖๐. ๓ ลักษณะของความสัพมพันธระหวางประเทศ www.http://thananwat-polsci.blogspot.com/ ๒๐๑๑/๐๘/๑.html,สืบคนวันที่ ๑ ก.ค.๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 3 17/10/2562 8:33:25


4 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ โจชัว เอส โกลดสไตน (Joshua S. Goldstein) ระบุวา ความสัมพันธระหวางประเทศจะ สนใจศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางรัฐบาลของรัฐซาติตาง ๆ ที่เปนชาติสมาชิกขององคการ สหประชาชาติ แตการศึกษาความสัมพันธเหลานี้เปนเพียงอยางเดียวไมอาจทําความเขาใจไดอยาง ลึกซึ้งเพียงพอหากแตเราตองศึกษาถึงตัว แสดงอื่น ๆ เชน องคการสหประชาชาติ บรรษัทขามชาติ และปจเจกบุคคลดวย อีกทั้งตองศึกษาโครงสรางทางสังคม เชน เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ภายในรัฐชาติ นอกจากนี้ยังตองศึกษาดานภูมิศาสตร และประวัติศาสตรที่ครอบงําในสังคมนั้น ๆ ดวย จากความหมายทั้ง ๓ ขางตน เราสามารถพอที่จะสรุปความหมายของความสัมพันธระหวาง ประเทศไดวา ความสัมพันธระหวางประเทศ คือ กิจกรรมที่ ตัวแสดงระหวางประเทศตาง ๆ ไดแสดง พฤติกรรมหรือการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ตอตัวแสดงอื่น ๆ โดยตัวแสดงทั้งหลายอาจเปนรัฐชาติ หรือไมใชรัฐชาติก็เปนได ซึ่งตองศึกษาปจจัยแวดลอมของตัวแสดงตาง ๆ ที่อาจมีผลตอการกําหนด ทาทีและการ แสดงออกทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑.๓ ระบบรัฐกับความสัมพันธระหวางประเทศ รัฐ หมายถึง๔ อํานาจอธิปไตยยอมมีความแตกตางกันไปในแตละระบอบ การปกครองของ ประเทศนั้น ๆ เชน ประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อํานาจอธิปไตยจะเปนของ ประชาชน กลาวคือ ประชาชน คือผูมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยผานตัวแทนคือ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สวนการปกครองในระบบคณาธิปไตย อํานาจจะเปนของคณะบุคคลที่ ปกครองในระบบ คณาธิปไตย ขณะเดียวกันการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย อํานาจ อธิปไตยเปนของพระมหากษัตริย กลาวคือ กษัตริยเปนผูมีอํานาจสูงสุด ในการปกครองประเทศ และ เปนผูเดียวที่ใชอํานาจดังกลาว ดังนั้น อํานาจอธิปไตย จึงเปนองคประกอบสําคัญที่สุดของความเปน รัฐ เพราะการจะเปนรัฐไดนั้น นอกจาก ประกอบดวย อาณาเขตหรือดินแดน ประชากรที่อยูรวมกัน อยางถาวร และรัฐบาลแลว ยอมตองมีอํานาจอธิปไตยดวย ทั้งนี้ประเทศนั้นตองเปนประเทศที่ สามารถ มีอํานาจสูงสุด ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกวา “รัฐ” ได รัฐเปนบุคคลดั้งเดิมหรือเปนบุคคลหลักในกฎหมายระหวางประเทศรัฐเกิดขึ้น โดย องคประกอบทางขอเท็จจริงมีสิทธิและหนาที่ที่สมบูรณตามกฎหมาย ระหวางประเทศและมีความ เทา เทียมกันตามกฎหมายระหวางประเทศ องคการ ระหวางประเทศเปนบุคคลลําดับรองในกฎหมาย ๔ มานิตย จุมปา,”รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐”(ความรูเบื้องตน), (กรุงเทพมหานคร:นิติธรรม,๒๕๔๗),หนา ๑๖. 02_01-340_.indd 4 17/10/2562 8:33:26


5 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ระหวางประเทศเกิดขึ้น โดยความตกลง ระหวางรัฐ มีความสามารถตามกฎหมายระหวางประเทศที่ จํากัด ภายในขอบเขตของความตกลง กอตั้งองคการระหวางประเทศนั้น ๆ ๑.๓.๑ เขตแดนของรัฐ ๑. เขตแดนเปนเครื่องกําหนดขอบเขตของดินแดนที่อยูภายใตอํานาจอธิปไตยของรัฐ กําหนดขอบเขตแหงการมีสิทธิและหนาที่ระหวางประเทศของรัฐในความสัมพันธ ระหวางประเทศ และแบงแยกอํานาจของรัฐออกจากกันโดยเด็ดขาด เวนแตกรณีที่รัฐตางๆไดแสดงเจตจํานงในการให ความรวมมือระหวางกันในกรอบของความรวมมือที่ไดตกลงระหวางกันไว เขตแดนจึงเปนทั้งเครื่องชี้ แสดงและจํากัด ขอบเขตการใชอํานาจอธิปไตยของรัฐใน ประชาคมระหวางประเทศ ๒. องคประกอบของดินแดนของรัฐ คือพื้นดิน ใตตอน นานน้ําภายใน ทะเล อาณา เขต และนานฟาเหนือดินแดน นานน้ําภายในและทะเลอาณาเขต ๓. แมน้ํา ลําคลอง ทะเลสาบ อาว และชองแคบ ก็เปนองคประกอบของเขตแดน ของรัฐซึ่งอาจมีลักษณะเปนเขตแดนภายในของรัฐ หรือเปนเจตแดนระหวาง ประเทศได ๔. รัฐ ที่มีลักษณะเปนหมูเกาะ ไดแก รัฐที่มีดินแดนประกอบไปดวยเกาะ หลายเกาะ การกําหนดขอบเขตของเขตแดนของรัฐนั้นจึงแตกตางจากการกําหนด ขอบเขตของเขตแดนของ รัฐ ทั่วไป รวมทั้งการกําหนดนานน้ํา และทะเลอาณาเขตของ เกาะดวย รัฐชายฝงที่มีลักษณะพิเศษทาง ภูมิศาสตรก็จะไดรับการกําหนดเขตแดนที่แตกตางจากหลักเกณฑทั่วไปดวยเชนกัน ๕. การกําหนดเสนเขตแดนของรัฐมีทั้งทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ โดย มักจะ อาศัยอุปสรรคทางภูมิศาสตรเปนแนวเขตแดน ไดแกสันเขา สันปนน้ํา แมน้ํา ลําน้ํา ทะเลสาบ ซึ่ง แบงแยกดินแดนของรัฐตามธรรมชาติ สวนการกําหนดเสนเขตแดน ทางอากาศมักจะเปนนานฟา เหนือขอบเขตอันเปนเสนเขต แดนทางพื้นดิน และทะเล อาณาเขต กลาวคือนานฟาเหนือพื้นดิน นานน้ําภายใน และทะเลอาณาเขต ๖. ขั้นตอนและวิธีการกําหนดเสนเขตแดนกระทําโดยคณะกรรมการปองกัน เขต แดน คณะกรรมการกําหนดจุดพิกัด และคณะกรรมการปกหลักเขต ซึ่งมักจะเปน คณะกรรมการผสม ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญทางเทคนิคของภาคี คูสัญญาและอํานาจ หนาที่ของคณะกรรมการทั้งสามจะ เปนไปตามที่รัฐภาคีกําหนด โดยทําใหการกําหนด เสนเขตแดนเปนไปตามที่ภาคีคูสัญญาไดตกลงกัน ไว 02_01-340_.indd 5 17/10/2562 8:33:27


6 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ เขตอํานาจรัฐ หมายถึง๕ อํานาจตามกฎหมายของรัฐเหนือบุคคล ทรัพยสิน หรือ เหตุการณตาง ๆ ๑. เขตอํานาจรัฐ อาจจําแนกตามเนื้อหาของอํานาจไดเปน ๒ ประเภท คือ ๑.๑ เขตอํานาจในการสรางหรือบัญญัติกฎหมาย ๑.๒ เขตอํานาจในการบังคับการตามกฎหมาย ๒. การใชเขตอํานาจยอมเปนไปตามกฎหมายภายในของรัฐแตทั้งนี้ตองอยู ภายใน ขอบเขตของกฎหมายระหวางประเทศดวย กลาวคือ รัฐสามารถใชเขตอํานาจ ของตนเหนือบุคคล ทรัพยสินหรือเหตุการณตางๆ ตามกฎหมายภายใน โดยมีการเชื่อมโยงบางประการ ซึ่งกฎหมาย ระหวางประเทศรับรอง ๓. เขตอํานาจของรัฐมีมูลฐานมาจากหลักการสําคัญ ๕ ประการ ไดแก ๓.๑ หลักดินแดน Territorial Principle ๓.๒ หลักสัญชาติ National Principle ๓.๓ หลักผูถูกกระทํา Passive Personality Principle ๓.๔ หลักปองกัน Protective Principle ๓.๕ หลักสากล Universality Principle ซึ่งแตละหลักการดังกลาวมีสาระสําคัญที่สนับสนุนการใช เขต อํานาจรัฐดวยเหตุผลที่แตกตางกัน ๑.๓.๓ หนาที่ของรัฐกับความสัมพันธระหวางประเทศ รัฐบาลนอกจากจะมีภาระหนาที่ที่จะตองปฏิบัติในประเทศแลว รัฐบาลยังตองมี ภาระที่จะดําเนินการระหวางประเทศ อีกเพราะในปจจุบันนี้ ความจําเปนในการสรางความสัมพันธ และปฏิบัติตอกันระหวางประเทศนั้นยิ่งเพิ่มมากขึ้นกวาในอดีต ฉะนั้นรัฐบาลจะตองกําหนดนโยบายที่ จะปฏิบัติตอรัฐอื่นไวทุกประเทศ ดังที่ผูรูไดกลาวไววาแลวการกําหนดนโยบายระหวางประเทศของ รัฐบาลทุกประเทศ และนโยบายนั้นไดคํานึงถึงเรื่องที่สําคัญเหลานี้ตามลําดับ คือ๖ ๕ หนาที่ของรัฐกับความสัมพันธระหวางประเทศ http://www.thailawonline.com/th/others/international-law.html สืบคนขอมูลเมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๐. ๖ การกําหนดนโยบายระหวางประเทศ https://www.baanjomyut.comlibraly_๔/politics/๐๒_๖_ ๒.html,สืบคนเมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๐. ๑.๓.๒ เขตอํานาจรัฐ 02_01-340_.indd 6 17/10/2562 8:33:27


7 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑. การรักษาเอกราช เอกราชของชาตินั้นทุกรัฐถือวาเปนสิ่งที่สําคัญเปน อันดับแรก ฉะนั้นแตละประเทศจะหวงแหนที่สุด เพราะถาประเทศเสียเอกราชก็ประหนึ่งวาสูญเสียทุกสิ่งทุกอยาง ดวยเหตุนี้รัฐบาลทุกยุคทุกสมัยของทุกประเทศถามีความจําเปนจะยอมเสียผลประโยชนและเกียรติภูมิ นานาประการ เพื่อรักษาเอกราชไวในสมัยกอนนั้นการรักษาเอกราชของชาติเปนเรื่องของกําลังทหาร ที่เขมแข็ง มีอาวุธที่ ทันสมัยและมีผูนําที่เปนนักรบ แตในปจจุบันนี้โลกไดแบงแยกเปนฝกเปนฝาย ตาง ฝาย ตางก็แกงแยงกันที่จะมีอิทธิพลในโลก การดําเนินนโยบายตางประเทศที่ชาญฉลาด จึงมี ความสําคัญกวากําลังรบและประสิทธิภาพของอาวุธเสียอีก ดังนั้น ปจจุบันนี้อาวุธที่ สําคัญในการยุทธ สมัยใหมก็คือ “ลัทธิทางการเมือง” และการดําเนินการทางการเมือง ฉะนั้น การรักษาเอกราชของประเทศตาง ๆ ในปจจุบันจึงตองปรับทิศทางให สอดคลองกับสภาพการณของสงครามรูปใหมนี้จึงจะไดผล ๒. การรักษาผลประโยชนของชาติ การดําเนินนโยบายระหวางประเทศ ของแตละ ประเทศไมวาจะเปนการดําเนินนโยบายการเมือง นโยบายดานเศรษฐกิจ และนโยบายดานสังคม วัฒนธรรมลวนแตเปนการมุงที่จะแสวงหาหรือการรักษาไวซึ่ง ผลประโยชนของชาติตนเปนที่ตั้งทั้งนั้น ผลประโยชนที่วานี้มิไดหมายเฉพาะ ผลประโยชนที่มองเห็นเปนรูปธรรม เชน ดินแดนหรือตลาด การคา รายไดจากการทองเที่ยวเทานั้น แตผลประโยชนรวมถึงสิ่งที่รัฐบาลคิดหรือเชื่อวาเปน ผลประโยชนของชาติ ที่จําเปนตองปองกันรักษาทุกชนิด ซึ่งในบางครั้งรัฐบาลอาจจะยอมเสีย เกียรติภูมิและชื่อเสียงของประเทศเพื่อรักษาผลประโยชนของชาติตนเองไว ๓. การรักษาเกียรติภูมิของชาติ เกียรติภูมิของชาติจะเกิดการยอมรับนับถือของ ชาติอื่นในสังคมโลก เชนเดียวกับเกียรติและศักดิ์ศรีของคนจะมีหรือไมนั้นก็ขึ้นอยูกับการยอมรับนับ ถือหรือการใหเกียรติจากคนอื่น ๆ ในสังคมนั้น ประเทศใดจะมีเกียรติภูมิ (Prestige) สูงหรือต่ํา ยอมขึ้นอยูกับการดําเนินนโยบายทางการเมือง ระหวางประเทศเปนสําคัญ นอกจากนั้นการดําเนิน ตามกฎเกณฑ กติกา สัญญา พันธกรณี หรือกฎหมายระหวางประเทศก็จะเปนทางหนึ่งที่จะชวยสราง เกียรติภูมิของ ประเทศไดมากอยางไร ก็ตามการดําเนินนโยบายตางประเทศของแตละประเทศ ในยุค ปจจุบันนี้มักจะถูกชักจูงไปในแนวเดียวกันกับกลุมประเทศที่ตนสังกัดอยูนโยบายจึงขาดความเปน อิสระอยางแทจริง เกียรติภูมิของประเทศตาง ๆ จึงผูกพันอยูกับทัศนะ หรือการยอมรับของสมาชิกใน กลุมประเทศเดียวกันกับตนเปนสําคัญ แมวาประเทศที่ อยูกลุมตรงขามจะ ไมยอมรับหรือประณามก็ ไมถือวาสําคัญ ฉะนั้นการกําหนดนโยบายในการรักษาเกียรติภูมิของประเทศมักจะพิจารณา ยึดถือเอา ประเทศในกลุมของตนเปนหลักที่จะปฏิบัติเพื่อรักษาไวซึ่งเกียรติภูมิและ ศักดิ์ศรีของชาติเอาไว 02_01-340_.indd 7 17/10/2562 8:33:28


8 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑.๔ ระบบความสัมพันธระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศ หมายถึง๗ การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธที่เกิดขึ้นขามเขต พรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไมใชรัฐ ซึ่งสงผลถึงความรวมมือหรือความ ขัดแยงระหวางประเทศตางๆในโลกความสัมพันธระหวางประเทศเปนความสัมพันธระหวางบุคคล กลุมบุคคล หรือสังคม ซึ่งเกิดขึ้นขามขอบเขตของกลุมสังคมการเมืองหนึ่ง ๆ ในกรณีความสัมพันธ ระหวางคนไทยดวยกัน หรือกลุมคนไทยดวยกันในประเทศไทยไมใชความสัมพันธระหวางประเทศ แต ความสัมพันธระหวางคนไทยกับคนลาวถือวาเปนความสัมพันธระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวาง ประเทศที่เกิดขึ้นเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับความรวมมือ และความขัดแยงระหวางประเทศซึ่งเปนเรื่องที่ กระทบกระเทือนการอยูรวมกันอยาง เปนสุขในสังคมโลก ๑.๔.๑ ลักษณะของความสัมพันธระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศหรือการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธที่เกิดขึ้นขามเขต พรมแดนของรัฐดังที่กลาวขางตนนั้นอาจมีลักษณะแตกตางกัน ดังนี้ ๑. ความสัมพันธอยางเปนทางการหรือไมเปนทางการความสัมพันธ ระหวาง ประเทศอาจกระทําอยางเปนทางการโดยรัฐ หรือโดยตัวแทนที่ชอบธรรมของรัฐ เชน การประชุมสุด ยอด การดําเนินการทางการทูต การแถลงการณประทวง การยื่นประทวงตอองคการสหประชาชาติ หรืออาจเปนการกระทําไมเปนทางการ เชน การกอการราย การกระทําจารกรรม การโจมตีประเทศ หนึ่งโดยสื่อมวลชนของอีก ประเทศหนึ่ง ซึ่งไมไดกระทําการในนามของรัฐเปนตน ๒. ความสัมพันธในลักษณะรวมมือหรือขัดแยงความสัมพันธระหวางประเทศที่ เกิดขึ้น หากไมรวมมือก็ขัดแยงความสัมพันธในลักษณะขัดแยง เชน สงคราม การแทรกแซงบอน ทําลาย การขยายจักรวรรดินิยม การผนวกดินแดน ของอีกประเทศหนึ่ง สวนความรวมมือ ไดแก การ กระชับความสัมพันธทางการทูต การรวมเปนพันธมิตร การใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจ การ แลกเปลี่ยนเทคโนโลยี และวัฒนธรรมเปนตน อยางไรก็ตาม ความสัมพันธตาง ๆ นี้อาจมีลักษณะ ผสมผสาน กันได เชน บางครั้งรุนแรง บางครั้งนุมนวล บางครั้งเปนทางการ บางครั้งถึงทางการ หรือ บางครั้งรวมมือในเรื่องหนึ่งแตขัดแยงในอีกเรื่องหนึ่ง เปนตน ๑.๔.๒ ขอบเขตของความสัมพันธระหวางประเทศ ๗ ระบบความสัมพันธระหวางประเทศ http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๗/blog-spot_ ๖๒๖๙,htmlสืบคนเมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 8 17/10/2562 8:33:29


9 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความสัมพันธระหวางประเทศมีขอบเขตที่ครอบคลุมเรื่องตาง ๆ ดังนี้ ๑. ความสัมพันธทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมขามพรมแดน เพื่อมีอิทธิพลหรือ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตลอดจนการตัดสินใจขององคการหรือรัฐบางตางประเทศ เชน การดําเนินการ ทางการทูต การทหาร การแสวงหาพันธมิตร การแทรกแซงบอนทําลายประเทศอื่น การใชกําลังบีบ บังคับ การกําหนด และดําเนิน นโยบายตางประเทศ เปนตน กิจกรรมบางเรื่องอาจไมเปนกิจกรรม การเมืองโดยตรง แตหากมีวัตถุประสงคดังกลาวขางตน ก็ถือเปนกิจกรรมการเมืองเชนกัน เชน การ แลกเปลี่ยนทีมนักปงปองระหวางสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาชนจีนในป พ.ศ. ๒๕๑๔ มี วัตถุประสงคทางการเมืองเนื่องจากประเทศทั้งสองตองการใชกีฬาเปนเครื่องมือผอนคลายความตึง เครียด และรื้อฟนความสัมพันธอันดีระหวางประเทศ หลังจากเปนศัตรูกันมาตลอดกิจกรรมเชนนี้ เรียกวาการเมืองระหวางประเทศ ๒. ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ หมายถึง กิจกรรมการแลกเปลี่ยนทรัพยากรดาน บริการ หรือวัตถุเพื่อตอบสนองความตองการในการอุปโภคของผูแลกเปลี่ยน เชน การซื้อขายสินคา การใหทุนกูยืม การธนาคาร เปนตน เนื่องจากแตละประเทศมีทรัพยากรแตกตางและไมเทาเทียมกัน และยังตองการทรัพยากรของประเทศอื่นหรือบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกามีทรัพยากรน้ํามัน แตยัง ตองการรักษาน้ํามันสํารอง ในปจจุบันจึงซื้อน้ํามันจากประเทศเม็กซิโก และประเทศอาหรับความ ตองการทรัพยากรซึ่งกันและกันเชนนี้ ทําใหเกิดความสัมพันธเพื่อแลกเปลี่ยนทรัพยากร (วัตถุดิบ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เกษตรกรรม เทคโนโลยี บริการ ฯลฯ) โดยวิธีการตาง ๆ ไมวาโดยการซื้อขาย ใหแลกเปลี่ยน ยืม ก็ตาม โดยมีกฏเกณฑ หรือแนวทางปฏิบัติบางประการทั้งที่เปนทางการและไมเปน ทางการ เชน การกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร การปดลอมทางเศรษฐกิจ การตั้งกําแพงภาษี การ กําหนดอัตราหุน และดอกเบี้ย เปนตน ความสัมพันธทางเศรษฐกิจเชนนี้เรียกวาเศรษฐกิจระหวาง ประเทศ ๓. ความสัมพันธทางสังคม หมายถึง กิจกรรมที่มีวัตถุประสงคในการแลกเปลี่ยนทาง การศึกษา การศาสนา วัฒนธรรม การพักผอนหยอนใจ การทองเที่ยว ซึ่งเปนความสัมพันธทางสังคม ขามขอบเขตพรมแดนของรัฐ เชน การสงทูตวัฒนธรรม หรือคณะนาฏศิลปไปแสดงในประเทศตาง ๆ การเผยแพรศาสนาโดยตัวแทนทางศาสนาของประเทศอื่นการเผยแพรศิลปะของประเทศหนึ่งใน ประเทศอื่นเปนตน ๔. ความสัมพันธทางกฎหมาย หมายถึง เมื่อมีการแลกเปลี่ยน และปฏิสัมพันธขาม เขตพรมแดนของรัฐมากขึ้นเพื่อใหกิจกรรมดังกลาวดําเนินไปโดย เรียบรอยและมีระเบียบแบบแผน ประเทศตาง ๆ จึงไดกําหนดกฏเกณฑ ระเบียบ หรือ แนวทางปฏิบัติที่แตละประเทศจึงยึดถือปฏิบัติใน ดานตาง ๆ ขึ้น กฎเกณฑ หรือระเบียบนี้อาจปรากฏในรูปขอตกลงลายลักษณอักษร ซึ่งมีชื่อเรียกตาง 02_01-340_.indd 9 17/10/2562 8:33:30


10 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๆ กัน เปนตน วา สนธิสัญญา อนุสัญญา กติกาสัญญา กฎบัตร ความตกลง ฯลฯ หรืออาจเปนความ เขาใจกันซึ่งแตละฝายยึดถือปฏิบัติโดยไมปรากฏเปนลายลักษณอักษรก็ได ซึ่งเรียกวา กฎหมายจารีต ประเพณีระหวางประเทศ อยางไรก็ตาม กฎระเบียบที่เปนลายลักษณ อักษร หรือจารีตประเพณีตาง เรียกวา กฎหมายระหวางประเทศทั้งสิ้น โดยมี วัตถุประสงคใหรัฐ หรือตัวแสดงอื่น ๆ ระหวาง ประเทศไดประพฤติปฏิบัติตนตาม กติกาเพื่อความเขาใจอันดีระหวางกัน และเพื่อความเปนระเบียบ เรียบรอยในสังคม โลก ซึ่งครอบคลุมความสัมพันธดานตาง ๆ ไดแก ดานการเมือง เชน สนธิสัญญา ทาง พันธมิตร สนธิสัญญาทางไมตรี กฎบัตร สหประชาชาติ ดานเศรษฐกิจ เชน สนธิสัญญา จัดตั้ง กองทุนระหวางประเทศ ขอตกลงเรื่องการคาและพิกัดภาษี ดานสังคม เชน สิทธิมนุษยชน การ แลกเปลี่ยนทางการศึกษาและวัฒนธรรมดานเทคโนโลยี เชน ความ ตกลงเรื่องการคนควาในอวกาศ เปนตน ๕. ความสัมพันธทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หมายถึง ความสัมพันธประเภทนี้ มุงใหมีการแลกเปลี่ยนพัฒนาความรูและความชวยเหลือ ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน มี การรวมมือกันคนควาทดลองและวิจัย ในบริเวณทวีปแอนตารกติกา การรวมมือกันระหวาง นักวิทยาศาสตรหลายประเทศ เพื่อกําจัดโรคภัยไขเจ็บสําคัญ เชน โรคมะเร็ง การรวมมือกันสงเสริม พัฒนาการทางวิทยาศาสตร เชน การใหรางวัลระหวางประเทศจัดการประชุมสัมมนา ระหวาง ประเทศ เปนตน ๑.๔.๓ ผลของความสัมพันธระหวางประเทศ ปจจุบันความสัมพันธระหวางประเทศมีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยู ของ ประชาชนและชาติตาง ๆ มากกวาที่เคยเปนในอดีต เนื่องจากจํานวนประชากร โลกเพิ่มมากขึ้น ประเทศตาง ๆ ตองพึ่งพากันมากขึ้นในดานตาง ๆ และพัฒนาการของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ กาวหนาอยางรวดเร็ว มีผลใหโลกดูจะมีขนาดเล็กลง ซึ่งผลของความสัมพันธระหวางประเทศที่มีตอ ดานตาง ๆ ดังนี้ ๑. ผลของความสัมพันธระหวางประเทศตอสังคมโลก รัฐ ประชาชนและ ผูนําของ ประเทศความสําคัญของความสัมพันธระหวางประเทศ จะมีมากนอยเพียงใด นั้นอาจพิจารณาไดวา ความสัมพันธดังกลาวสงผลถึงบุคคลหรือกลุมบุคคลใดในโลก ในเรื่องนี้คําตอบที่ไดรับคอนขางชัดเจน คือความสัมพันธระหวางประเทศมีผลกระทบตอมนุษยทุกคนบนผืนโลกดังกลาวตอไปนี้ ๑.๑ ดานสังคมโลกในปจจุบันโลก สังคมโลกเปนที่รวมของกลุมสังคม ที่ เรียกวา รัฐ มีระบบและกระบวนการดําเนินความสัมพันธใกลชิดกัน เชน ระบบการเมืองระหวาง ประเทศ ระบบเศรษฐกิจระหวางประเทศ เปนตน การเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธทางอํานาจระหวาง 02_01-340_.indd 10 17/10/2562 8:33:31


11 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ชาติมหาอํานาจมีผลกระทบกระเทือนความสัมพันธทางการเมืองของมหาอํานาจอื่น และกลุมประเทศ อื่น ๆ ดวย ตัวอยางเชน การที่จีนแยกตัวจากสหภาพโซเวียต และเนินนโยบายทางการเมืองที่เปน อิสระและตอมาได คบคาทําไมตรีกับสหรัฐอเมริกายอมมีผลทําใหโลกซึ่งเคยถูกแบงออกเปน ๒ กลุม มีสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเปนผูนําไดเปลี่ยนแปลงไปในสวนที่เกี่ยวกับระบบ เศรษฐกิจก็ เชนกัน เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตาขึ้น โดยเริ่มตนจากกลุมประเทศยุโรป ก็มีผลใหเกิดภาวะ เศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก หรือเมื่อคาของเงินสกุลใหญ ๆ เชน เงินดอลลารตก ก็มีผลกระทบกระเทือน เศรษฐกิจของโลกตามไปดวย ๑.๒ ดานรัฐ นอกเหนือจากผลของความสัมพันธระหวางประเทศ ซึ่ง กระทบตอสังคมโลกและสะทอนถึงรัฐแตละรัฐแลว รัฐยังเปนผูรับผลกระทบจาก เหตุการณที่เกิดขึ้น และสัมพันธกับตนโดยตรงอีกดวย ตัวอยางเชน การตัดสินใจดําเนินนโยบายตางประเทศของ อภิมหาอํานาจยอมมีผลตอการตัดสินใจของรัฐที่สังกัดกลุมของอภิมหาอํานาจนั้นดังกรณีที่ประเทศ พันธมิตรของสหภาพโซเวียตหลายประเทศ ตัดสินใจไมเขารวมแขงขันกีฬาโอลิมปกที่สหรัฐอเมริกาใน ป ค.ศ. ๑๙๘๔ หลังจากที่สหภาพโซเวียตประกาศไมเขารวมแขงขันกีฬาดังกลาว โดยทั่วไปจะเกิดใน สถานการณกลุมโอลิมปกหรือในสถานการณซึ่งรัฐอยูใกลเหตุการณที่สงผลกระทบ อาณาบริเวณ ใกลเคียง ดังกรณีที่ประเทศไทยไดรับผลจากการสูรบในกัมพูชาจนตอง แบกภาระผูลี้ภัยจากอินโดจีน จํานวนมาก และไดรับภัยจากการรุกลาดินแดนของฝาย เวียดนาม เปนตน ผลที่เกิดตอรัฐอาจเปนได ทั้งในแงความมั่นคง ระบบโครงสรางและ กระบวนการทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมภายในรัฐดัง จะกลาวในหัวขอตอไป ๑.๓ ดานประชาชนความสัมพันธระหวางประเทศ ซึ่งกระทบกระเทือนรัฐ ยอมมีผลตอประชาชน ดวยผลดังกลาวนี้ยอมมีแตกตางกันไป คือ อาจกระทบคนบางกลุมบางเหลา หรือกระทบประชาชนโดยสวนรวมทั้งโดยทางตรง หรือโดยทางออมก็ได ตัวอยางกรณีสงครามใน กัมพูชานั้น ประชาชนไทยที่ไดรับความ กระทบกระเทือนก็คือ พวกที่อยูตามบริเวณชายแดนไทย กัมพูชา เชน ในจังหวัด สุรินทร ศรีสะเกษ สวนประชาชนที่อยูหางไกลออกไปไดรับผลนอยลง ๑.๔ ดานผูนําของประเทศการเปลี่ยนแปลงภายนอกประเทศหรือ เหตุการณความสัมพันธระหวางประเทศ อาจมีผลตอภาวะผูนําภายในประเทศดวย และอาจมีการ เปลี่ยนแปลงตัวบุคคลที่ปกครองประเทศก็ได โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในกรณีที่มีการแทรกแซงจาก ตางประเทศ ดังตัวอยางกรณีที่นายโงดินห เดียม ตองถูกโคนลมอํานาจและถูกสังหาร เนื่องจาก สหรัฐอเมริกา เลิกใหความสนับสนุน หรือกรณีที่มีการตั้งรัฐบาลหุน และผูนําหุนโดยประเทศผูรุกราน 02_01-340_.indd 11 17/10/2562 8:33:31


12 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ (เชน รัฐบาลหุนในแมนจูเรีย สมัยที่ญี่ปุนเขารุกราน กอนสงครามโลกครั้งที่สองหรือรัฐบาลกัมพูชา ของนายเฮงสัมริน เปนตน) ผลที่เกิดตอสังคมโลก ตอรัฐ ตอประชาชน และตอผูนําของประเทศ เชนนี้อาจเปนไดทั้ง ในทางดีหรือทางรายดังจะกลาวตอไป ๒. ลักษณะของผลที่เกิดขึ้นตอบุคคลและกลุมสังคมทั้งภายในและ ระหวางประเทศ วัตถุประสงคหลักของการที่มนุษยเขามารวมกลุมเปนสังคมภายในรัฐ หรือสังคมระหวางประเทศก็ตาม คือ การแสวงหาความมั่นคงในชีวิต รางกาย ทรัพยสิน และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและ สังคม วัตถุประสงคดังกลาวจะบรรลุตามที่ตั้งใจไวหรือไมขึ้นอยูกับองคประกอบหลายประการทั้ง องคประกอบสวนบุคคลและองคประกอบจากสภาพแวดลอมตาง ๆ องคประกอบสภาพแวดลอม อาจ เปนเรื่อง ภายในกลุม ภายในรัฐ หรือเปนสภาพแวดลอมระหวางประเทศดวยเหตุนี้ความสัมพันธ ระหวางประเทศ จึงนับวามีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของมนุษย และสังคมมนุษย ดังปรากฏใน หลายลักษณะดังนี้ ๒.๑ ดานความมั่นคงของชาติ ความสัมพันธระหวางประเทศ โดยเฉพาะ ทางดานการเมืองและการทหาร สงผลถึงความมั่นคงปลอดภัยเอกราช และอํานาจอธิปไตยของชาติ ตลอดจนเสถียรภาพทางการเมืองและบูรณภาพแหงดินแดน ของแตละชาติ ดังจะเห็นไดวาสงคราม ระหวางประเทศ ซึ่งเปนรูปหนึ่งของ ความสัมพันธที่เกิดขามเขตพรมแดนของรัฐการแทรกแซงบอน ทําลายโดยบุคคลหรือ กลุมบุคคลซึ่งไดรับการสนับสนุนจากตางประเทศ ตลอดจนการใชหรือการขมขู คุกคาม วาจะใชกําลังโดยยังไมถึงขั้นสงคราม ลวนเปนเหตุการณที่กระทบกระเทือนความ มั่นคงของ ชาติทั้งสิ้น ตัวอยางเชน การผนวกดินแดน แลตเวีย ลิทัวเนีย และเอสโธเนีย โดยสหภาพโซเวียตหลัง สงครามโลกครั้งที่สองหรือการที่รัฐซิมบับเวถูกแทรกแซงโดย ประเทศแอฟริกาใต เปนตน ความมั่นคงของชาติซึ่งเกี่ยวของกับปญหาเรื่องเอกราช บูรณภาพแหงดินแดน และการธํารง ไวซึ่งสิทธิแหงรัฐอธิปไตยเปนเรื่องที่ผูกําหนดนโยบายของประเทศจัดเปนเปาหมายสําคัญอันดับแรก ของนโยบายตางประเทศ ถึงแมความมั่นคงของชาตินี้จะไดรับการประกันไดบางสวนโดยการพัฒนา กําลังความสามารถและฐานอํานาจ ภายในประเทศก็ตามแตโดยทั่วไปแลวความมั่นคงของชาติไดรับ ผลกระทบกระเทือน อยางมากจากความสัมพันธระหวางประเทศเพื่อประกันความมั่นคงของชาติ เชน โดยใชวิธีการทางการทูต การทหาร ดังกรณีการทําสัญญาปองกันรวมกันทั้งสองฝาย การรวมกลุม พันธมิตรทางทหารการดําเนินการทหารเปนตน ๒.๒ ดานความปลอดภัยและการกินดีอยูดีของประชาชนความสัมพันธ ระหวางประเทศอาจมีผลทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางออมตอความปลอดภัยและชีวิต ความเปนอยูของ ประชาชนในแตละประเทศกลาวคือนอกเหนือจากผล ตอความมั่นคงของประเทศซึ่งยอม 02_01-340_.indd 12 17/10/2562 8:33:32


13 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation กระทบกระเทือนชีวิตความเปนอยูของประชาชน อยูแลว ความสัมพันธระหวางประเทศยังอาจ กระทบตอความปลอดภัย และการกินดีอยูดีของประชาชนโดยยังไมกระทบความมั่นคงของประเทศ โดยตรงก็ได ตัวอยาง เชน กรณีที่สายการบินเกาหลีใตถูกเครื่องบินสหภาพโซเวียต ยิงตก หรือกรณี ที่ ผูกอการรายกระทําการรุนแรงในประเทศอื่นจนมีผลใหประชาชนไดรับอันตราย เปนตน ๒.๓ ดานการพัฒนา ความสัมพันธระหวางประเทศอาจมีผลตอความ พยายาม ของรัฐและประชาชนในการเปลี่ยนแปลงฐานะทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ เทคนิค วิทยาการของตนดวย การเปลี่ยนแปลงฐานะดังกลาวนี้ คือ การพัฒนานั่นเอง การพัฒนาการเมืองมุง ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการเมืองไปสูระบบการเมืองที่มีเสถียรภาพ เปลี่ยนไปโดยสันติ และรองรับการ กระทบกระเทือนจากภายนอกไดดวยดี การพัฒนาทางเศรษฐกิจมุงใหมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ ผลิตและแลกเปลี่ยนสินคนและบริการที่มีประสิทธิภาพ สงผลประโยชนตอบแทนตอประชาชน และ รัฐไดดีขึ้น การพัฒนาทางสังคมมุงใหมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางและ ความสัมพันธทางสังคมใน ประเทศเปนไปอยางราบรื่น ปราศจากการขัดแยงรุนแรง และการพัฒนาทางเทคนิควิทยาการมุงใหมี การยกระดับความรูทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีในประเทศใหเจริญกาวหนายิ่งขึ้น ความพยายาม ใหเกิดการพัฒนานี้สวน หนึ่งไดรับผลจากความสัมพันธระหวางประเทศดวย จะเห็นไดวา การพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ ในปจจุบันนี้ โดยเฉพาะในประเทศที่กําลัง พัฒนาทั้งหลายลวนไดรับอิทธิพลจากสภาพแวดลอมทางการเมือง และเศรษฐกิจภายนอกประเทศ รวมทั้งนโยบายตางประเทศของประเทศ ที่มีฐานะดี ทางเศรษฐกิจและการทหาร ตัวอยางเชน หนวยงานขององคการสหประชาชาติ และประเทศที่มีฐานะดีมีสวนในการชวยเหลือบูรณะพัฒนา ประเทศที่ยากจนและกําลัง พัฒนาทั้งหลาย เชนโดยการใหความชวยเหลือทางการเงิน การลงทุน การ ให คําปรึกษาหารือทางวิชาการหรือการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรสําคัญในประเทศ เหลานี้ กลาวโดยสรุป ความสัมพันธระหวางประเทศมีผลตอความสงบเรียบรอย การกินดีอยูดีและ การพัฒนาของประชาชน รัฐ และสังคมโลกทั้งโดยตรงและโดยออมจึงนับวามีความสําคัญ ๑.๕ วิวัฒนาการของการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ๘ ๘ วิวัฒนาการของการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศhttp://thananwat-polsci.blogspot.com/ ๒๐๑๑/๐๘/๑.html,สืบคนเมื่อ วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 13 17/10/2562 8:33:33


14 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ การศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศในฐานะเปนวิชาการเริ่มตน ในชวงกอนมหา สงครามโลกครั้งที่ ๑ (๑๙๑๔ - ๑๙๑๔) และมีวิวัฒนาการ โดยแบงออกเปน ๔ ชวง โดยการพิจารณา ประเด็นหลัก ๆ ไดแก ๑. การศึกษาเชิงประวัติศาสตรการทูต ๒. การพิจารณาเชิงเหตุการณปจจุบัน ๓. กฎหมายระหวางประเทศ ๔. การเมืองระหวางประเทศ ชวงเวลาที่ ๑ ประวัติศาสตรการทูตในชวงนี้ มีการศึกษาเกี่ยวกับเหตุการณ ตาง ๆ ของ ทางการทูต มีขอเขียนในเรื่องนี้มากในประเทศอังกฤษโดยเกี่ยวพันกับเหตุการณที่เกิดขึ้นเมื่อหลาย ศตวรรษมาแลวตัวอยางไดแกการศึกษานโยบาย ตางประเทศของอังกฤษ โดยรัฐบุรุษและนักการทูต สําคัญ ๆ เชน พาลเมอรสสั้น (Palmerston) และแคนนิ่ง (Canning) ใหความสําคัญกับความถูกตอง ทาง ประวัติศาสตรตามวิธีการคนควาทางประวัติศาสตร ไมมีการตั้งขอสั งเกตแบบทั่ว ๆ ไป (generalization) ในชวงนี้เปนความพยายามที่จะพูดถึงเหตุการณทางการเมือง ระหวางประเทศโดย ปราศจากทฤษฎีดังนั้น จึงกลาวไดวาเปนชวงเวลาที่บรรยายหรือ พรรณนาเหตุการณในอดีตชวงแรกที่ ครอบคลุมระยะเวลากอนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และชวงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ดวยจัดเปนชวงเวลา ที่นักประวัติศาสตรมีบทบาทในวิทยาการที่วาดวยความสัมพันธระหวางประเทศ ชวงเวลาที่ ๒ เนนเหตุการณเปนชวงระหวางสงครามโลกครั้งที่ ๑ และ สงครามโลกครั้งที่ สอง ดังนั้นใหความสําคัญกับหนังสือพิมพหรือวารสารขาว ไมไดคํานึงถึงการลําดับเหตุการณจากอดีต และทําใหผูศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ ระหวางประเทศ ผูที่สนับสนุนกฎเกณฑหรือระเบียบการ เกี่ยวกับการตางประเทศตามความคิดเห็นของตนตัวอยาง คือ การอภิปราย โดยไมศึกษาวิเคราะหให ลึกซึ้ง ในเรื่องตาง ๆ เชน เรื่องการคาเสรี การปฏิรูประบบการเงินนานาชาติหรือการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงองคการระหวางประเทศไมมีความพยายามเปรียบเทียบ ประเด็นปญหาผูที่เขียนเรื่อง ความสัมพันธระหวางประเทศในชวงนี้ ไดแก อดีตประธานาธิบดีวูดโร วิลสัน แหงสหรัฐอเมริกัน ซึ่ง ตอตานการพิจารณาเหตุการณ ทางการทูต ในอดีต เชน คองเกรสแหงเวียนนา (Congress of Vienna) ซึ่งฝาย อังกฤษเสนอในการประชุมใหญเพื่อสันติภาพ ณ กรุงปารีส อาจสรุปแนวเหตุการณ ปจจุบันนี้ คือ ประการที่ ๑ เปนเรื่องของการพิจารณาวันตอวันในการแกไขปญหาของโลก ประการที่ ๒ ขาดวิธีการศึกษาและวินิจฉัยเหตุการณตาง ๆ อยางลึกซึ้ง ๑.๕ วิวัฒนาการของการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ๘ 02_01-340_.indd 14 17/10/2562 8:33:34


15 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ดังนั้น จึงมีการพูดถึงความสัมพันธระหวางประเทศในเรื่องพื้น ๆ เชน กีฬา โอลิมปกสที่ เอเธนส ๒๐๐๔ หรือการเคลื่อนไหวทางการทูตของสหรัฐอเมริกาเพื่อหาพันธมิตรหรือองคการ สหประชาชาติ ในการชวยดูแลอิรักหลังการมอบคืนอํานาจ ใหแกอิรักในวัน ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๗ ชวงเวลาที่ ๓ เนนหนักทางกฎหมาย เกี่ยวของโดยตรงกับชวงที่ ๒ ไดใหความสนใจเปน พิเศษในการเมืองระหวางประเทศและองคการระหวางประเทศ จุดหมายคือเพื่อคนหาเปาหมายและ วัตถุประสงคของสังคมนานาชาติวามีแนวโนมไปในทางใดและพยายามหาทางปรับปรุงแกไขสถาบัน ตางๆเทาที่มีอยูหรือกอใหเกิดมีเพื่อจะบรรลุเปาหมายนักวิชาการทางความสัมพันธระหวางประเทศมี สภาพคลายกับ เปนนักปฏิรูปสังคมการเมืองเชนการสถาปนาสันนิบาตชาติ (League of Nations) ลักษณะเดน ๆ ของชวงนี้ ไดแก ๑. เปนชวงที่มีการเล็งผลเลิศวาโลกจะกาวไปสูความผาสุกภายใตกฏเกณฑ นานาชาติและ องคการระหวางประเทศ ๒. นักวิชาการมีความชํานาญในทางกฎหมายระหวางประเทศและองคการระหวางประเทศ ๓. มีแนวโนมที่จะออกความเห็นในเชิงชื่นชมหรือตําหนิการกระทํา หรือเหตุการณนานาชาติ โดยไมคํานึงถึงสภาพการณของประเทศตาง ๆ ชวงเวลาที่มีแนว การเมืองระหวางประเทศ เกิดขึ้น ในชวงหลังมหาสงครามโลกครั้งที่สองศึกษาประเด็นและเหตุการณตางๆ ในโลกที่เกิดขึ้นเปนปกติวิสัย แตไมมีการแสดงทัศนคติในทางบวกหรือทางลบตอสิ่งนั้น ๆ ลดความสนใจลงในเรื่องของโครงสราง และการจัด องคการในรูปแบบของสังคมนานาชาติ แตสนใจเรื่องพลังและลักษณะตาง ๆ อันมีบทบาท ตอพฤติกรรมของรัฐประชาชาติและศึกษาแนวโนมนโยบายตางประเทศของ ประเทศตาง ๆ รวมทั้ง รูปแบบและวิธีการเมื่อศึกษาองคการนานาชาติ เชน สหประชาชาติศึกษาโดยพิจารณาวาเปนผลจากแรงผลักดันและการเรียกรอง ตาง ๆ ของ หลายชาติที่เปนสมาชิก เมื่อศึกษาเกี่ยวกับชาติที่เปนสมาชิกยอมตองให ความสําคัญกับประเทศใหญ ๆ เชน สหรัฐอเมริกาและรัสเซียทั้งนี้โดยศึกษานโยบาย ของประเทศนั้นๆในชวงนี้มีความเกี่ยวของกับ ความสัมพันธระหวาประเทศกับวิชารัฐศาสตรโดยตรง ทั้งนี้เพราะรัฐศาสตรถือวาการเมืองเปนเรื่อง การแขงขันกันระหวาง กลุมและบุคคลเมื่อกลายเปนการเมืองระหวางประเทศกลุมและบุคคลก็ขยาย ขอบเขต กลายเปนหนวยระดับที่ใหญกวาคือระดับรัฐประชาชาติอนึ่งมีการศึกษาการเชื่อมกัน (linkage) ภายในประเทศกับการเมืองระหวางประเทศดังที่ศาสตราจารยโรสเนา (Rosenau) เรียกวา “การเมืองเรื่องเชื่อกัน” (linkagepolitics) ๔. การวิเคราะหเชิงสหวิทยาการการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ แตกตางไปจาก แนวเกาหรือแนวเดิมนักประวัติศาสตรนักรัฐศาสตรนักมนุษยศาสตร และนักนิติศาสตรเปนผูที่ผูกขาด การศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ ในปจจุบัน วิทยาศาสตรดานสังคมวิทยาและจิตวิทยารวมทั้ง 02_01-340_.indd 15 17/10/2562 8:33:34


16 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ เศรษฐศาสตรและมานุษยวิทยาสังคม วิทยาจิตวิทยาและจิตวิทยาสังคมกับความสัมพันธระหวา ประเทศนักสังคมวิทยาและ นักจิตวิทยา และนักจิตวิทยาสังคมชวยใหเขาใจลักษณะและที่มาของเจต คติหรือ ทัศนคติ (attitude) และทัศนะ(opinion) ของมหาชน ซึ่งมีผลกระทบนักสังคมวิทยา และ นักจิตวิทยาสังคม มีสวนชวยอยางมากในการทําใหเกิดความเขาใจพฤติกรรมของบุคคลที่เกี่ยวของ ดานการเมืองระหวางประเทศเศรษฐศาสตรกับความสัมพันธระหวางประเทศเกี่ยวกับเรื่องการคา ระหวางประเทศและการพัฒนาการทางดานเศรษฐกิจ มานุษยวิทยากับความสัมพันธระหวางประเทศ การศึกษาเรื่องขนบธรรมเนียมประเพณี ของตางประเทศ เปนประโยชนตอการเจรจาตอรองหรือการ ตกลงกันในวงการเมือง ระหวางประเทศ คือ ๕. ระดับแหงการวิเคราะหทางการเมืองระหวางประเทศศึกษาใน ๓ ระดับ ๑. ระบบการเมืองหรือระบบความสัมพันธของนานาชาติ ๒. ระดับรัฐหรือประเทศตาง ๆ ๓. ระดับบุคคล ระดับที่ ๑ : วิเคราะหระบบความสัมพันธนานาชาติอาจพิจารณาในรูปแบบ หรือระบบตางๆ กัน รวมทั้งการมีดุลยภาพหรือไมมีดุลยภาพระหวางกลุมประเทศ ระดับที่ ๒ : วิเคราะหระดับรัฐหากพิจารณาการเมืองระหวางประเทศ จากทัศนะของแตละ รัฐประชาชาติยอมคํานึงถึงภาวะแวดลอมทั้งภายในและภายนอกประเทศคือ พิจารณาเหตุการณ ภายในประเทศ วามีอิทธิพลตอการตางประเทศ ใน เรื่องสงครามหรือสันติภาพ รวมทั้งวิธีการติดตอ ทางการทูตแนวการวิเคราะหนี้มี ปญหาเหมือนกัน เพราะผูนําบางคนซึ่งมีบทบาทในการวางนโยบาย และปฏิบัติตามนโยบายอาจเปนผูซึ่งไมตอบสนองตอแรงผลักดักภายในประเทศหรือแมกระทั่งจาก ตางประเทศ ตัวอยางกรณี ผูนําพมาไมยอมฟงเสียงใหปลอยนางอองซานซูจี ระดับที่ ๓ : วิเคราะหระดับบุคคลคือพิจารณาพฤติกรรมซึ่งรวมถึงทัศนคติ ความรูสึกและ ความเชื่อตาง ๆ ของรัฐบุรุษมักใชมากโดยนักประวัติศาสตรทางการทูต มีการพิจารณาประเด็นตาง ๆ ในเรื่องอุดมการณ แรงจูงใจหรือมูลเหตุจูงใจ อุดมคติ ทัศนคติและคานิยมที่มีตอโลกภายนอก ๖. วิชาหลักในแขนงความสัมพันธระหวางประเทศการศึกษาวิชาความสัมพันธ ระหวาง ประเทศครอบ ๑. ประวัติศาสตรการทูต ๒. การเมืองระหวางประเทศ ๓. ประวัติความสัมพันธระหวางประเทศ 02_01-340_.indd 16 17/10/2562 8:33:35


17 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๔. เศรษฐกิจระหวางประเทศ ๕. องคการระหวางประเทศ ๖. กฎหมายระหวางประเทศ การศึกษาการเมืองในกลุมประเทศ โดยแบงตามลักษณะภูมิศาสตร คือ ภูมิภาคศึกษาจะ กลาวเฉพาะบางหัวขอประวัติความสัมพันธทางการทูต เพื่อทราบวิวัฒนาการของความสัมพันธ ทางการทูต ในอดีตจนถึงปจจุบันเนนความตอเนื่องทาง ประวัติศาสตรการเปลี่ยนแปลงทาง ความสัมพันธระหวางรัฐ ในทางการเมือง ทางเศรษฐกิจเพื่อใชเปนหลักวิเคราะหพฤติกรรมที่เกิดขึ้นใน อดีตเปรียบเทียบกับปจจุบันอันอาจเปนแนวทางในการคาดการณไดในอนาคต แหลงที่มาของการ สราง รูปแบบของการทูตหรือการติดตอระหวางประเทศคือ ทวีปยุโรปหรือทวีปเกา (OldContinent) โดยเกิดขึ้นอยางจริงจังประมาณ ๘๐ - ๔๐ ป คือ ประมาณ ๑ ศตวรรษมาแลว นอกจากนี้ยังศึกษา ประวัติของการดําเนินการในเรื่อง ๑. สนธิสัญญาสันติภาพ ๒. ปญหายุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ๓. ระบบความมังคงรวมกัน (Collective Security) ๔. การขยายอํานาจของฮิตเลอร สงครามโลกครั้งที่สอง (๑๙๔๑ - ๑๕๕๕) กําเนิดองคการสหประชาชาติ (U.B. Duroselle.Histories Diplomatique de ๑๙๑๙ a nosjours, ๔ eme edition, DalloZ, ๑๙๖๖.) การทูต หมายถึง ศิลปะความสามารถในการเจรจาที่ จะนําไปสูการตกลงระหวางตัวแทนรัฐบาลและรัฐบาล ของรัฐเอกราช การเจรจานั้นผูเจรจาตองรักษา ผลประโยชนฝายตนใหมากที่สุด และใหสูญเสียนอยที่สุดการดําเนินการทางการทูตกระทําทั้งในระยะ ของสงครามและยาม ปกติการทูตอาจใชในโอกาสตาง ๆ กัน โดยมี ๓ ความหมาย ไดแก ๑. นโยบายตางประเทศเชนการทูตของสหรัฐอเมริกาในตะวันออกกลางลมเหลวหมายความ วานโยบายตางประเทศของสหรัฐในตะวันออกกลางลมเหลว นั่นเอง ๒. การเจรจาความเกี่ยวกับรัฐประชาชาติอื่น และ ๓. กระทรวงการตางประเทศ การศึกษาการเมืองระหวางประเทศ หมายถึง กิจกรรมที่มีตอกัน หรือปฏิสัมพันธระหวางรัฐ ในดานการเมือง โดยเฉพาะเปนการเนนในเรื่องการเมือง ระหวางรัฐ โดยใหความสําคัญแหงองคกรที่มี บทบาท คือ รัฐในความสัมพันธ คือ การเมืองที่ปรากฏ (realpolitik) การเมืองระหวางประเทศเนน การศึกษาในเรื่อง ทางโครงสรางอํานาจและจุดประสงคแหงรัฐในฐานะที่รัฐเปนผูแสดง หรือผูที่มี 02_01-340_.indd 17 17/10/2562 8:33:36


18 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ บทบาท (actor) ที่แสดงออกมาโดยลําพัง หรือแสดงออกมาในลักษณะของการรวมกลุมของรัฐ ตาง ๆ นอกจากนี้ ยังศึกษาสถาบัน กระบวนการและปญหาในความสัมพันธระหวาง รัฐประชาชาติซึ่งรวมทั้ง ปญหาสงครามและสันติภาพการขัดแยงและการรวมมือ ระหวางรัฐเอกราชนับตั้งแตความสัมพันธ ระหวางนครรัฐกรีกศตวรรษที่ ๕ กอน คริสตกาลในระยะของการฟนฟูศิลปวิทยาในอิตาลีในระบบรัฐ ชาติ(nation-states) ในยุโรปตะวันตกรวมทั้งความสัมพันธของจีนและอินเดียโบราณจนถึงปจจุบัน อนึ่งการใหความสนใจกับการเมืองระหวางประเทศที่จะกอใหเกิดผลดีและ ผลเสียตอ ความสัมพันธระหวางประเทศ ไดแก วิกฤติการณระหวางรัฐ ความขัดแยง ระหวางรัฐ ความตึงเครียด สงคราม ขอตกลง และสนธิสัญญาระหวางรัฐเปนตน ๑.๖ ประโยชนของการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ อริสโตเติลนักปราชญชาวตะวันตกไดอธิบายวามนุษยเปนสัตวสังคม และธรรมชาติของมนุษย ชอบอยูรวมกันเปนเหลามีการติดตอภายใตระเบียบการปกครองเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่มนุษยสราง ขึ้น เพื่อที่จะใหเปนแบบแผนอันพึงปฏิบัติในการดําเนินชีวิตรวมกันในสังคม ในอดีตเมื่อ ๕๐๐ ปที่แลว ดินแดนที่จักวาเปนแหลงที่มีอารยธรรมรุงเรือง ของโลกคือลุม แมนาไนล ไทริส ยูเฟติส สินธุ และลุมน้ําาเหลืองเปนแหลงที่มนุษย ไดดําเนินการในกิจกรรมตางๆเชน ความรวมมือในดานการชลประทานเพื่อใหไดมาซึ่ง ผลผลิตทางการเกษตรกรรมและสิ่งอื่นๆ ที่จําเปน ในการดํารงชีวิตในระยะเริ่มแรก รวมตัวกันเปนกลุมเล็กๆแลวขยายออกไปเปนกลุมใหญตอมาเมื่อมี การพัฒนาทางวัฒนธรรม และความคิดทางการเมืองภายในกลุมจากนั้นก็มีการติดตอระหวางกลุม และนําไปสูการมีความสัมพันธตอเนื่องไป สมัยโรมันระยะแรกไดเนนกฎหมายระหวางประเทศเปนหลัก และคํานึงถึงศิลปะการติดตอเจ ราจะใชวิธีการติดตอสัมพันธ ดังนี้ ๑. เปนมิตรกับเผาชนใกลเคียงดวยการใหความชวยเหลือหรือยกยอง ๒. ใหคนนอกศาสนาหันมานับถือศาสนาคริสต ตอมาในระยะหลังไดหาขอเท็จจริงและขาวสารภายในประเทศอื่นระยะนี้ ยังไมมีการสงทูตไป ประจําถาวรเมื่อคริสตศตวรรษที่ ๑๕ อิตาลีสงทูตไปประจําที่ตาง ๆ สวนกฎเกณฑตาง ๆ เกี่ยวกับ ตัวแทนของตนที่ไปประจําในอีกประเทศหนึ่ง ตอมามีความสัมพันธกันอยางจริงจังหลังคริสตศตวรรษ ๑๘๑๕ ซึ่งเปนปที่เริ่มมีการตกลงกันระหวางนานาประเทศ ในชวงระหวาง ค.ศ. ๑๘๑๕-๑๘๑๘ ประเทศตางๆ ไดมี การประชุมกันที่นครเวียนนามีการวางกฎเกณฑเกี่ยวกับอันดับอาวุโสของตนแทน ประเทศ 02_01-340_.indd 18 17/10/2562 8:33:36


19 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation อนึ่งการใหความสนใจกับการเมืองระหวางประเทศที่จะกอใหเกิดผลดี และผลเสียตอ ความสัมพันธระหวางประเทศ ไดแก วิกฤติการณระหวางรัฐ ความขัดแยง ระหวางรัฐ ความตึงเครียด สงคราม ขอตกลง และสนธิสัญญาระหวางรัฐเปนตน สมัยฟวดัล ศริสตศตวรรษที่ ๑๐ เปนสมัยการใชนโยบายการใชกําลังเลือด และเหล็ก และได ดําเนินเรื่อยมาจนถึงศตวรรษที่ ๑๕ กษัตริยมีฐานะเปนสัญลักษณของเอกภาพ เพราะมีองคการคริสต ศาสนาสนับสนุนและอํานาจของกษัตริยมีอยู ในทางทฤษฎีเปนสวนใหญ ความสัมพันธระหวางรัฐใน ยุคนี้ อยูในยุคมืดสมัยฟนฟูศิลปวิทยามีการตื่นตัว การคิดคนวิชาการตาง ๆ มีศาสตรใหม ๆ เกิดขึ้น มากมาย ทางดานศาสนามีการเปลี่ยนแปลง เดิมพระสันตะปาปาเคยมีอํานาจมาก และมักจะเขา ไป ยุงเกี่ยวกับการเมืองไดกอนใหเกิดความไมพอใจในหมูกษัตริยมีการจัดตั้งศาสนา นิกายใหม ๆ ไม ยอมรับอํานาจของพระสันตะปาปาทําใหเกิดการปฏิรูปศาสนา พลังทางศาสนายังแฝงอยูในการเมือง ในรูปศาสนาประจําชาติมีการทําสงครามทางศาสนาระหวางเจาผูครองนครตางๆจนกระทั่งป ค.ศ. ๑๑๑๘ ไดเกิดสงครามระหวาง พวกที่นับถือศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนท ขึ้น สงคราม ไดยุติลง ค.ศ. ๑๖๔๔ มีการทําสัญญาสงบศึกที่มีชื่อวา สนธิสัญญา(Westphalia) ชวงเวลาการทําสงครามนานถึง ๓๐ ป ผลจากสงครามไดชวยปูพื้นของการมีระบบรัฐสมัย ใหมในยุโรป โดยลดฐานะจักรวรรคโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ( Holy Roman Empire ) ลงใหเทาๆ กับ ดินแดนที่มีกษัตริยปกครองสมัยนั้น เชน ฝรั่งเศส สเปน สวีเดน และอังกฤษ นอกจากนั้นยังมีขอตกลงในสนธิสัญญาเวสฟาเวีย เกี่ยวกับหลักการที่วา รัฐอธิปไตยที่เปนเอก ราชทั้งหลายเทาเทียมกันแสดงใหเห็นวาอํานาจของสัตปาปาลดลง มีฐานะเพียงเจาผูครองนครรัฐ ซึ่งมี ความผูกพันกับศาสนาและสนธิสัญญา ดังกลาว ยังชี้ใหเห็นถึงความจําเปนในการวางกฎเกณฑที่จะ คุมครองประชาชน ในยามสงครามมีการกลาวถึงการปฏิบัติตอผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บ นักโทษหามปลน หามทําลายศิลปวัตถุและการกระทําอื่นที่ไรมนุษยธรรม ระบบรัฐในป ค.ศ. ๑๖๔๘ ในขั้นแรกจํากัดอยู ในยุโรปตอมาในปลายศตวรรษที่๑๙ไดแสวงหาอาณานิคมจนได อาณานิคมมาครอบครองในภูมิภาค ตางๆดินแดนที่ถูกครอบครองไดรับวัฒนธรรมและ ระบบตาง ๆ ไปใชในรัฐของตนจึงทําใหเกิดความ ผูกพันหรือความสัมพันธกันขึ้น ระหวางประเทศ ผูครอบครองกับประเทศผูถูกครอบครอง การเปลี่ยนแปลงทางดานความสัมพันธเริ่มเห็นชัดเจนขึ้นตั้งแตชวงขอ สงครามและหลัง สงครามโลกครั้งที่ ๑ เมื่อมีการทําสงครามยอมมีฝายแพ ฝายชนะ และมีประเทศที่เขาขางทั้งฝายแพ และฝายชนะ ทั้งผูแพและชนะตองเหน็ดเหนื่อย บอบช้ําจากสงครามซึ่งสงผลกระทบในทุก ๆ ดาน ทํา ใหตางก็หาวิธีที่จะปองกันมิใหเกิดสงครามขึ้นในอนาคตจึงมีการจัดตั้งองคกรระหวางประเทศขึ้นคือ สันนิบาตชาติ ซึ่งเปนการแสดงออกซึ่งวัตถุประสงครวมกันในอันที่จะรักษาสันติภาพของโลกไวโดย ทํา สัญญา (Kellog Briand Pact) ไดกําหนดหลักการวาประเทศสมาชิกจะไมใช สงครามเปนเครื่องมือใน 02_01-340_.indd 19 17/10/2562 8:33:37


20 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ การดําเนินนโยบายตางประเทศ เพื่อแกปญหาระหวางกันระบบความสัมพันธระหวางประเทศ ปจจุบันกําลังอยูในชวงกําลังปฏิวัติ ระบบระหวางประเทศ ทศวรรษที่ ๑๙๙๐ เปนที่นาสังเกตไดวา สหภาพโซเวียต ตั้งแตเปนอภิมหาอํานาจตั้งแตป ค.ศ.๑๙๔๕ และไดลมสลายลงในปค.ศ. ๑๙๙๑ ทํา ใหความสัมพันธระหวางประเทศของโซเวียตกับกลุมบริวารและประเทศอื่น ๆ เปลี่ยนแปลงไปดวย การลมสลายเกิดจากปญหาสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และเชื้อชาติ การสรางความสัมพันธระหวาง ประเทศตั้งแตป ค.ศ. ๑๙๔๗ เปนปที่ สหรัฐอเมริกาประกาศสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต ไดมีการ แบงกลุมออกเปน ๒ คายคือ คายสหรัฐอเมริกาที่มีการปกครองแบบประชาธิปไตยและสหภาพโซเวียต ที่มีการปกครองแบบสังคมคอมมิวนิสต ซึ่งทําใหการสรางความสัมพันธระหวางประเทศผูกกับคายหนึ่ง คายใด ความชวยเหลือก็จะใหความชวยเหลือเฉพาะประเทศ ที่อยูในคายของตนเอง เชน การที่ สหรัฐอเมริกาประกาศใหความชวยเหลือตามแผนทรูแมนโดยเจาะจงเฉพาะกรีก และตุรกี เปนการ สกัดกั้น การแผขยายอิทธิพลของสหภาพโซเวียต และตอมาสหรัฐอเมริกาไดประกาศแผนมารแชล เพื่อให ความชวยเหลือประเทศที่ประสบปญหาทางเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่สองและประเทศที่ ถูกคอมมิวนิสตคุกคาม การที่ประเทศสหภาพโซเวียตลมสลาย ทําใหเกิดประเทศใหมขึ้นหลาย ประเทศ การดําเนินนโยบายประเทศเปนอิสระไมไดถูกบีบบังคับรัฐตาง ๆพยายามกําหนดแนว ทางการสรางความสัมพันธที่เปนตัวของตัวเอง ประเทศมหาอํานาจพยายามสรางความเชื่อถือให บรรดาประเทศเล็ก เห็นวาตนเอง เปนที่พึ่งพาอาศัยได ประเทศที่เปนมหาอํานาจทางเศรษฐกิจทําให หลายประเทศหันมาสรางความสัมพันธดวยไดแก ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และในตะวันออกกลาง เชน ประเทศซาอุดิอารเบีย อิหราน คูเวต และอีกหลายประเทศที่มีทรัพยากรน้ํามันมาก ๑.๗ สรุปทายบท ความสัมพันธระหวางประเทศ เปนความรวมมือกันระหวางรัฐกับรัฐ ทั้งที่เปนการรวมมือแบบ เปนทางการ หรือไมเปนทางการ เพื่อใหมีผลตอความสงบเรียบรอย ระหวางรัฐกับรัฐ การกินดีอยูดี และการพัฒนาของประชาชนในรัฐและสังคมโลกทั้งโดยตรงและโดยออม จึงนับวามีความสําคัญมี คุณคาควรแกการสนใจติดตามทําความเขาใจ ทั้งโดยนักวิชาการผูกําหนดนโยบายระหวางประเทศ และประชาชน โดยทั่วไป ความสัมพันธระหวางประเทศ ในปจจุบันมีความซับซอนเชื่อมโยงระหวางกัน ในหลากหลาย มิติ ทั้งรูปแบบความรวมมือและความขัดแยง จึงจําเปนอยางยิ่งสําหรับบุคคลที่เกี่ยวของกับกิจกรรม ความสัมพันธระหวางประเทศ ตองมีความรูรอบดานและ บุคคลที่ไมเกี่ยวของกับกิจกรรม ความสัมพันธระหวางประเทศตองเขาใจกับระบบของ สังคมชุมชนระหวางประเทศอยางเปนเหตุเปน ผล 02_01-340_.indd 20 17/10/2562 8:33:38


21 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ปจจุบันการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศไดมุงเนนในเรื่องการวิจัย พฤติกรรมระหวาง ประเทศโดยอาศัยสถิติตัวเลขและการทดสอบผล คือทําให มีการสรางทฤษฎีความสัมพันธระหวาง ประเทศมากขึ้น ซึ่งความสัมพันธระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับศาสตรหลายสาขา นอกจากนี้ไดศึกษา ตัวแสดงของรัฐในระดับตาง ๆ ก็ถือเปนปจจัยหนึ่งที่สามารถกําหนดรูปแบบความสัมพันธระหวาง ประเทศได ทั้งนี้ รูปแบบความสัมพันธยังเชื่อมโยงกับแนวคิดตาง ๆ ของความสัมพันธ ระหวางประเทศ ดวย เชน แนวคิดการอยูรวมกันอยางสันติสุขตามแนวคิดของอุดมคติ หรือการตอรองผลประโยชน ของรัฐชาติการเปลี่ยนแปลงทางดานความสัมพันธ เริ่มเห็นชัดเจนขึ้น ตั้งแตชวงของสงครามและหลัง สงครามโลกครั้งที่ ๑ เมื่อมีการทําสงครามยอมมีฝายแพ ฝายชนะและมีประเทศที่เขาขางทั้งฝายแพ และฝายชนะทั้งผูแพ และชนะตองเหน็ดเหนื่อยบอบช้ําจากสงคราม ซึ่งสงผลกระทบในทุก ๆ ดาน ทํา ใหตางก็หาวิธีที่จะปองกันมิใหเกิดสงครามขึ้นในอนาคต จึงมีการจัดตั้งองคกรระหวาง ประเทศขึ้น คือ สันนิบาตชาติ ซึ่งเปนการแสดงออกซึ่งวัตถุประสงครวมกันในอันที่จะรักษาสันติภาพของโลกไวโดยทํา สัญญาขอตกลงรวมกันประเทศสหภาพโซเวียตลมสลาย ทําใหเกิดประเทศใหมขึ้นหลายประเทศ การ ดําเนินนโยบายประเทศเปนอิสระไมไดถูกบีบบังคับรัฐตางๆพยายามกําหนดแนวทางการสราง ความสัมพันธที่เปนตัวของตัวเองประเทศมหาอํานาจพยายามสรางความ เชื่อถือใหบรรดาประเทศเล็ก เห็นวาตนเองเปนที่พึ่งพาอาศัยได ประเทศสหภาพโซเวียตลมสลาย ทําใหเกิดประเทศใหมขึ้นหลายประเทศการดําเนินนโยบาย ประเทศเปนอิสระไมไดถูกบีบบังคับรัฐตางๆพยายามกําหนดแนวทางการสรางความสัมพันธที่เปนตัว ของตัวเองประเทศมหาอํานาจพยายามสรางความ เชื่อถือใหบรรดาประเทศเล็กเห็นวาตนเองเปนที่ พึ่งพาอาศัยได 02_01-340_.indd 21 17/10/2562 8:33:39


22 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ เอกสารอางอิงประจําบท ๑.๑ หนังสือ กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิต ในสังคม. กรุงเทพฯ: ๒๕๕๓. กระมล ทองธรรมชาติ, ทฤษฎีในวิชาการเมืองระหวางประเทศในรวมบทความสัมพันธระหวาง ประเทศ.คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, โรงพิมพ สังคมศาสตร, ๒๕๑๕ กระทรวงการตางประเทศ. ความสัมพันธกับประเทศและภูมิภาคตางๆ.ม.ป.พ., พ.ศ.๒๕๕๗. กัญญณัฏฐา อิทธินิติวุฒิ, องคการระหวางประเทศ. เชียงใหม : คนึงนิจการพิมพ,๒๕๔๙. จันตรี สินศุภฤกษ. กฎหมายระหวางประเทศกับการเมืองระหวางประเทศ.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญญซน, ๒๕๔๗. จุลชีพ ซินวรรโณ.ความสัมพันธระหวางประเทศแนวคิดทฤษฎีและกรณีศึกษา.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๗. ไชยรัตน เจริญสินโ อฬาร .รัฐศาสตรแนววิพากษ.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๕๑. ณัชชาภัทร อุนตราจิตร. อํานาจ ดุลแหงอํานาจ และซาตินิยม. เชียงใหม :คะนึงนิจการพิมพ. ๒๕๔๗. ธีรยุทธ บุญมี, ซาตินิยมและหลังชาตินิยม. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสายธาร๒๕๔๗. บรรพต กําเนิดศิริ. ประวัติศาสตรการทูต ตั้งแตการประชุมที่กรุงเวียนนา ค.ศ. ๑๘๑๕ จนถึง จุดเริ่มตนของสงครามเย็นป ค.ศ. ๑๙๔๗. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๗. มานิตย จุมปา, รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐”(ความรูเบื้องตน), กรุงเทพมหานคร : นิติธรรม, ๒๕๔๓. ศิโรตม ภาคสุวรรณ, ความสัมพันธระหวางประเทศเบื้องตน. กรุงเทพมหานครสํานักพิมพ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, ๒๕๔๒. 02_01-340_.indd 22 17/10/2562 8:33:40


23 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation สมเกียรติ วันทะนะ, อุดมการณทางการเมืองรวมสมัย. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพอักษรขาวสวย, ๒๕๕๑. สมพงศ ชูมาก.ความสัมพันธระหวางประเทศยุคปจจุบัน (ทศวรรษ ๑๙๙๐ สูทศวรรษแรกแหง ศตวรรษที่ ๒๑). กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗. สุรพงษ ชัยนาม.การทูต-การเมือง ไมใชเรื่องสวนตัว. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศยาม.๒๕๕๐. อภิญญา รัตนมงคลมาศ. นโยบายตางประเทศ แนวทางศึกษา ทฤษฎี และระเบียบวิธีวิจัย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘. ๑.๒ สื่ออิเล็กทรอนิกส การกําหนดนโยบายระหวางประเทศ https://www.baanjomyut.com/library_ ๔/politics/๐๒_๖_๒.html. สืบคนเมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๐. ความสัมพันธระหวางประเทศ www.http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๗/blog_post ๖๒๖๙.html, สืบคนเมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๐. หนาที่ของรัฐกับความสัมพันธระหวางประเทศ http://www.thailawonline.com/th/others/international-law.html สืบคนขอมูลเมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๐ รจน หาเรืองทรง. ทางการเมืองการปกครองที่นําไปสูความเขาใจ และการประสาน ประโยชนรวมกันระหวางประเทศ,๒๕๕๗. www.satit.up.ac.th/BBC ๐๗/ AroundTheWorld/ir/ ๓๕.htm , สืบคนเมื่อวันที่ ๒๔ พ.ค. ๒๕๖๐. ระบบความสัมพันธระหวางประเทศ http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๗/blog_post_ ๖๒๖๙.htm สืบคนเมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๐. ลักษณะของความสัมพันธระหวางประเทศ www.http://thananwat-polsci.blogspot.com/๒๐๑๑/๐๘/๑.html, 02_01-340_.indd 23 17/10/2562 8:33:40


24 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ สืบคนเมื่อวันที่ ๒ ก.ค. ๒๕๖๐. วิวัฒนาการของการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ http://thananwat-polsci.blogspot.com/๒๐๑๑/๐๔/๑.html , สืบคนเมื่อ วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 24 17/10/2562 8:33:41


บทที่ ๒ สภาพแวดลอมระหวางประเทศ ๒.๑ ความนํา การบริหารงานของผูบริหารในบริษัทระหวางประเทศนั้น สิ่งสําคัญไดแกผูบริหารเหลานี้ตอง ทําหนาที่บนสภาพแวดลอมที่หลากหลาย นอกจากตองคํานึงถึงปจจัยในทองถิ่นที่ตนรับผิดชอบ ขณะเดียวกันก็ตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมในประเทศเจาของกิจการและปจจัยแวดลอมระหวาง ประเทศที่สงผลตอการดําเนินงานของกิจการดวย โดยปจจัยที่ตองพิจารณาในการจัดการระหวาง ประเทศประกอบดวย ๑) ปจจัยทางการเมือง (Political) ๒) ปจจัยทางเศรษฐกิจ (Economic Environment) ๓) ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture Environment) ๔) ปจจัย ทางเทคโนโลยี (Technology Environment) ๕) ปจจัยทางสภาพแวดลอม (Environment) และ ๖) ปจจัยทางกฎหมาย (Legal) ๒.๒ สภาพแวดลอมทางการเมือง (Political Environment) บริษัทที่ดําเนินงานในระดับนานาชาติจํานวนมากมีขนาดใหญ เชน โตโยตา พีแอนดจี หรือ สามเอ็มเปนตน ผลการดําเนินงานของกิจการเหลานั้นสงผลกระทบทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ ของประเทศตางๆ ทําใหผูบริหารตองพิจารณาปจจัยทางการเมืองและกฎหมายของประเทศตางๆที่ไป ลงทุนดวย เนื่องจากสภาพการเมืองและกฎหมายของประเทศตางๆมีความแตกตางกัน ซึ่งอาจสงผล ใหทั้งทางสนับสนุนหรือเปนอุปสรรคตอการดําเนินงานใหประสบหรือไมประสบความสําเร็จได ไดมี การพยายามศึกษาความเสี่ยงทางการเมืองที่มีผลตอการบริหารกิจการขามชาติมาเปนเวลาตอเนื่อง ยาวนาน โดยมีการพิจารณาจากหลายมิติ เชน การพิจารณาจากระดับมหภาค (macro political risk) ซึ่งหมายถึงความเสี่ยงทางการเมืองภายในประเทศใดที่มีผลกระทบตอทุกทุกธุรกิจ และระดับ จุลภาค (micro political risk) หมายถึงความเสี่ยงที่มีผลกระทบเฉพาะบางธุรกิจเทานั้น และ พิจารณาจากมิติที่เปนปจจัยภายนอก (external factors) เปนปจจัยที่เกิดจากภายนอกประเทศที่ไป ลงทุนแตมีผลกระทบเขามาในประเทศนั้นเชนความขัดแยงกับประเทศเพื่อนบาน หรือความขัดแยงใน ภูมิภาคที่อาจมีผลกระทบเขามา (spill over) และปจจัยภายใน (internal factors) เชนความขัดแยง ภายในประเทศ อาจเกิดจากกลุมการเมืองหรือกลุมศาสนา และการพิจารณาอีกมิติหนึ่งจากมุมของ ผลกระทบเชิงบวก (positive outcome) เชนการจัดตั้งเขตการคาเสรีและกอใหเกิดผลดีตอการลงทุน หรือผลกระทบเชิงลบ (negative outcome) เชนปญหาทางการเงินของประเทศที่ไมคาดคิดมากอน 02_01-340_.indd 25 17/10/2562 8:33:42


26 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ แตธุรกิจไดลงทุนไปแลว กอใหเกิดผลเชิงลบตอการดําเนินงานในประเทศที่ไปลงทุน ๑ ในภาพรวม สามารถพิจารณาความเสี่ยงไดดังนี้๒ ๒.๒.๑ ความเสี่ยงของประเทศ (Country Risks) ประกอบดวยความไมแนนอนจากความ ตอเนื่องของรัฐบาล สถานการณทางการเมืองในภูมิภาคนั้นซึ่งอาจสงผลกระทบตอประเทศ ที่เขาไป ลงทุน ผลบังคับใชของกฎหมายและขอบังคับตางๆที่ไมมีประสิทธิภาพ ระบบ เงินตราที่ไมมี เสถียรภาพ และความสัมพันธระหวางประเทศเจาของทุน (Home Country) และประเทศผูรับการ ลงทุน (Host Country) รวมทั้งปญหาดานพลังงาน เชนราคาน้ํามันมี ผลกระทบตอแตละประเทศไม เทากันซึ่งเปนผลใหเกิดความเสี่ยงที่แตกตางกันดวย๓ นอกจากนี้ความผันผวน (volatility)ในตลาด การเงินและตลาดทุนที่เกิดขึ้นในแตละประเทศ ก็สงผลตอการพิจารณาดานความเสี่ยงของประเทศได เชนเดียวกัน๔ ๒.๒.๒ ความเสี่ยงทางการเมือง (Political Risks) มุงเนนที่การเมืองซึ่งเปนองคประกอบ สําคัญในการกําหนดทิศทางของประเทศ หมายถึงความเสี่ยงจากนโยบายของรัฐบาล หรือ เหตุการณ ทางการเมืองที่มีผลกระทบทางลบตอการดําเนินงาน หรือความตอเนื่องในการ ลงทุน แบงออกเปน ๔ ชนิด ไดแก๕ ๑) ความเสี่ยงทางการเมืองตามระบบ (Systematic) หมายถึง ความเสี่ยงที่ เกิดจากการเปลี่ยนนโยบายของรัฐบาล เชนเมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาลและมีการ เปลี่ยนนโยบาย ทําให กิจการตางๆที่เคยดําเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลเดิมไดรับผลกระทบ ไมวาจะเปนกิจการทองถิ่น หรือกิจการขามชาติ ซึ่งมีทั้งในทางที่ดี และทางที่ไมดี ประเทศที่มีการเปลี่ยนรัฐบาลบอยๆ และ รัฐบาลใหมเปลี่ยนแปลง นโยบายหรือระเบียบวิธีการที่มีผลตอการดําเนินงานของกิจการตางๆ ยอม เปนประเทศที่มีความเสี่ยงในการลงทุน ๑ Allon, L. Herbert, T. H (๒๐๐๙). A stranger in a strange land: Micro political risk and the multinational firm. Business Horizons. ๕๒, . ๑๒๗-๑๓๗. ๒ Holt,D. H., & Wigginton, D.W. (๒๐๐๒) International Management (๒ ed.) Ohio: Thomson ๓ Liu,C. Sun, X., Chen, J., & LI, J. (๒๐๑๖). Statistical properties of country risk ratings under oil price volatilitynEvidence from selected oil-exporting countries. Energy Policy, ๙๒, ๒๓๔-๒๔๕. ๔ Aboura, S., & Chevallier, J. (๒๐๑๕). A cross-volatility index for hedging the country risk. Journal of International Financial Markets, Institutions and Money, ๓๘,๒๕-๔๑. ๕ Daniels, D. J., Radebaugh, H.L., & Sullivan, P.D. (๒๐๐๙). International Business: Environment and Operations (๑๒" ed.) New Jersey: Peason. 02_01-340_.indd 26 17/10/2562 8:33:43


27 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒) ความเสี่ยงทางการเมืองตามระเบียบวิธี (Procedural) เนื่องจากการจัดการ ระหวางประเทศนั้น เกี่ยวของกับการเคลื่อนยายทั้งคน สินคา และเงินทุน ขามไปมาระหวางประเทศ ตางๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งตองเกี่ยวของกับระบบราชการตั้งแต ทาเรือจนถึงปลายทาง ประเทศที่มีการ ทุจริตในวงราชการหรือระบบการตัดสินที่มี ความลําเอียงเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง จะกอใหเกิดความ เสี่ยงตอธุรกิจในการดําเนินงานประจําวัน ๓) ความเสี่ยงทางการเมืองจากการจัดสรรผลประโยชน (Distributive) รัฐบาลและเจาหนาที่ของรัฐที่มีอํานาจของหลายประเทศในกลุมที่รับการลงทุน จากตางชาติ พบวา กิจการขามชาติที่มาลงทุนในประเทศของตน มีขนาดใหญและ สามารถสรางกําไรและความมั่งคั่งได มาก ทําใหเกิดการเรียกรองสวนแบงที่ไดจาก ผลกําไร เชนนักการเมืองที่สามารถดําเนินนโยบายหรือ ดําเนินการใดๆที่กอใหเกิด ผลกําไรตอธุรกิจใด ก็จะเรียกรองสวนแบงในผลการดําเนินงานจากธุรกิจ เหลานั้นทั้งที่เปนการปฏิบัติงานตามหนาที่ปกติ ๔) ความเสี่ยงทางการเมืองจากเหตุการณรายแรง (Catastrophic) เปนความ เสี่ยงที่เกิดจากเหตุการณที่ไมคาดคิด ไมวาจะเปนการจลาจล สงครามหรือเหตุไม ปกติอื่นใดที่ เกี่ยวของกับการเมือง เชนการไมปฏิบัติตามกฎหมายของกลุมการเมือง ซึ่งแตละประเทศจะมีลักษณะ นี้ไมเหมือนกัน ๒.๓ การพิจารณาสภาพทั่วไปทางการเมืองของประเทศที่จะลงทุน หลักเกณฑที่ใชตัดสินใจลงทุนในตางประเทศในสวนที่เกี่ยวของกับปจจัยทางการเมืองนั้น ใน ปจจุบันมุงเนนที่ระบอบประชาธิปไตยและพัฒนาการทางการเมืองของประเทศกําลังพัฒนาสู ความ เปนประชาธิปไตยหรือสูลักษณะที่คลายกับประเทศผูลงทุน ประกอบดวย ๒.๓ สภาพแวดลอมทางการเมือง ๑) มีระบอบการเมืองที่เปนประชาธิปไตย เพราะผูบริหารประเทศที่เปนประชาธิปไตยตอง อยูภายใตกฎหมาย ทําใหสามารถประเมินสถานการณได ลวงหนา เนื่องจากรัฐบาลตองทําตาม นโยบายที่แถลงไวและมีระบบการตรวจสอบ รัฐบาล แตเมื่อกิจการขยายการดําเนินงานไปในประเทศ ใหมๆ อาจพบความเสี่ยง ในรูปแบบที่อาจแตกตางกันไป เนื่องจากความเสี่ยงในแตละประเทศ แตกตางกันไปตามกาลเวลา เพราะความเสี่ยงมีการเปลี่ยนแปลงไดอยางตอเนื่อง 02_01-340_.indd 27 17/10/2562 8:33:44


28 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒) มีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพ เพราะรัฐบาลเปนผูกําหนดนโยบายของประเทศนโยบาย เหลานั้นอาจมีผลทําใหมีการลงทุนโดยกิจการขามชาติ หากรัฐบาลมีการเปลี่ยนแปลงบอยจะสงผลตอ นโยบายและกระทบตอการดําเนินงานในที่สุด ๓) รัฐบาลมีนโยบายที่เกื้อหนุนตอการลงทุนจากตางชาติ ปจจุบันไดแกการเปนสมาชิก องคการการคาโลก (World Trade Organization หรือ WTO) และปฏิบัติ ตามพันธกรณี ซึ่งสงผลให ประเทศนั้นตองเขาสูการคาเสรี ทําใหกิจการตางประเทศกลามาลงทุน นี่คือสาเหตุที่รัฐบาลไทยตอง ดําเนินนโยบายการคาเสรี ๔) แนวโนมทางการเมืองเปนในทางที่ดี ไมมีแนวโนมการรัฐประหารหรือจลาจล หรือ แมกระทั่งแนวโนมของรัฐบาลที่มีเสถียรภาพและมีนโยบายที่ชัดเจน ในกรณีของประเทศไทยจะเห็นวา ปจจัยเกือบทุกดานเปนไปดวยดีเปนสวนใหญ ไมวาจะ เปนระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย รัฐบาลมีนโยบายเกื้อหนุนการลงทุนจากตางชาติอยาง ตอเนื่อง ไมวาการปรับกฎหมายตางๆ ให ทันสมัย การสงเสริมการลงทุน แตปญหาหลักไดแกรัฐบาล อยูไมครบเทอม ขณะเดียวกันไมวารัฐบาล จะอยูไมครบเทอมหรือแมกระทั่งเกิดการรัฐประหารมาเปน ระยะตลอดเวลาที่เปลี่ยนมาใชระบอบ ประชาธิปไตยใน พ.ศ. ๒๔๗๕ แตคณะผูปกครองประเทศก็ใช นโยบายเกื้อหนุนการลงทุนจาก ตางประเทศเหมือนเดิม เพียงแตเปนการแยงอํานาจกันเทานั้น ๒.๔ ประเภทของความเสียงทางการเมือง (Type of Political Risk) แมสถานการณในประเทศตางๆมีความเสี่ยงทางการเมือง โดยเฉพาะกลุมประเทศกําลัง พัฒนา แตก็มีบริษัทขามชาติเขาไปดําเนินงานในประเทศเหลานั้น เพราะการดําเนินงานในประเทศ เหลานั้นใหผลดีหลายประการ แมตองเสี่ยงกับปญหาทางการเมืองก็ตาม ความเสี่ยงทางการเมืองที่ กอใหเกิดการเสียหาย เนื่องจากอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางการเมืองภายในประเทศ เชน การรัฐประหาร การเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐ เชน นโยบายดานภาษี การโอนเงินเขาออกนอก ประเทศ กรรมสิทธิ์ในสินทรัพยของกิจการในตางประเทศเปนตน ปจจุบันมีความเสี่ยงที่เกิดจากการ กอการราย (terrorism) และความรุนแรง (violence) ที่เกิดขึ้นในลักษณะไมสามารถคาดเดาได ความ เสียงทางการเมืองแบงเปน • ความเสี่ยงในดานการเปนเจาของกิจการ (Ownership risks) หมายถึง ความปลอดภัย ดานการเปนเจาของกิจการเชนสัดสวนของการถือหุน บางประเทศไมใหนักลงทุน ตางประเทศถือหุน เกินกวาสัดสวนที่กําหนดไว เชนไมเกิน ๔๙ % ทําใหมีผลตอการ บริหารงาน เนื่องจากอํานาจการ บริหารมีไมเพียงพอที่จะควบคุมการบริหารนโยบาย ปจจุบันประเทศไทยใหตางชาติลงทุนเกินกึ่งหนึ่ง 02_01-340_.indd 28 17/10/2562 8:33:44


29 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ไดในบางอุตสาหกรรม ทําใหกิจการ ตางชาติลงทุนในไทยเพิ่ม จากการที่เคยเปนพันธมิตร เชน อุตสาหกรรมยานยนต ที่ปจจุบัน บริษัทจากตางชาติเขามาดําเนินการแทนที่บริษัทไทย เชน เบ็นซ บีเอ็มดับเบิลยู และอื่นๆ นอกจากนี้ในบางประเทศที่รัฐบาลมีสวนในการเปนเจาของกิจการอาจมี ความขัดแยง ระหวางรัฐกับภาคเอกชนที่เปนเจาของดวย๖ แตมีการศึกษาที่พบวาการที่สัดสวนของ เจาของเปนกิจการจากตางประเทศ ทําใหเกิดการแขงขันสูงขึ้นโดยเฉพาะในอุตสาหกรรม การเงิน๗ • ความเสี่ยงจากการดําเนินงาน (Operating risks) เปนความเสี่ยงที่เกิดจากการกําหนด หรือเปลี่ยนแปลงนโยบายที่มีผลตอการดําเนินงาน เชนถารัฐบาลเปลี่ยนนโยบายใน การประกอบ รถยนตจากการจัดหาชิ้นสวนไดเสรีมาเปนตองใชชิ้นสวนภายในประเทศเปน อัตราสวนตามที่รัฐ กําหนด (Local Content Requirement หรือ LCR) มีผลตอการ ดําเนินงานของกิจการที่เขามา ลงทุนในอุตสาหกรรมรถยนต เพราะตองปรับรูปแบบการสั่งชิ้นสวน จากที่เคยสั่งตางประเทศมาใช ชิ้นสวนในประเทศ มีผลตอตนทุนและคุณภาพ • ความเสี่ยงจากการโอนสินทรัพย (Transfer risks) เกิดขึ้นจากแตละประเทศ มีความ แตกตางในการอนุญาตใหโอนเงินทุน เครื่องจักร วัตถุดิบหรือบุคลากรเขาหรือออก จากประเทศ ประเทศที่มีขอจํากัดมากก็มีความเสี่ยงมาก ในประเทศเดียวกันก็ยังมีความ แตกตางกันระหวางการ โอนเขากับการโอนออก บางประเทศเชนลาวใหมีการโอนเครื่องจักร เขามาในประเทศได แตมีเงื่อนไข มากในการนําออก หรือเวียดนามมีการควบคุมการโอน เงินตราตางประเทศเขาและออก ทําใหการไป ลงทุนในประเทศเหลานี้ตองคิดถึงตนทุนเพิ่มขึ้น อยางไรก็ดีการลงทุนในดานทรัพยสินของกิจการใน ตางประเทศเมื่อพิจารณาจาก ระดับมหภาคยังสามารถกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับราคาได๘ ๒.๕ แบบจําลองความเสี่ยงสภาพแวดลอมธุรกิจ Business Environment Risk Intelligence Model (BERI) ๖ Uddin, M. H. (๒๐๑๖). Effect of government share ownership on corporate risk taking: Case of the United Arab Emirates. Research in International Business and Finance, ๓๖, ๓๒๒-๓๓๙. ๗ Lee, C.-C., Hsieh, M.-F., & Yang, S.-J. (๒๐๑๖). The effects of foreign ownership on competition in the banking industry: The key role of financial reforms. Japan and the World Economy, ๓๗-๓๘, ๒๗-๔๖. ๘ Huang, Y. S., & Wang, Y. (๒๐๑๓). Asset price, risk transfer and economic activities: Firmlevel evidence fromChina. The North American Journal of Economics and Finance, ๒๖, ๖๖๓-๖๗๖. 02_01-340_.indd 29 17/10/2562 8:33:45


30 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ แบบจําลองดังกลาวเรียกวา ดัชนีความเสี่ยงทางการเมือง (Political risk index หรือ PRI)๙ การวัดประกอบดวย ๑๐ ตัวชีวัดจากสามกลุม แตละตัวชีวัดมีคะแนนเต็ม ๗ คะแนน และใหคะแนน พิเศษไดสําหรับขอ ๑- ๘ โดยรวมกันแลวตองไมเกิน ๑๐๐ ประกอบดวย • สาเหตุความเสี่ยงที่เกิดจากภายในประเทศ (internal cause of political risk) ๐ ความแตกแยกทางการเมืองของพรรคการเมืองหรือกลุมอํานาจตางๆ ๐ ความแตกแยกดาน ภาษา เชื้อชาติ หรือศาสนา o การผูกขาดอํานาจทางการเมือง o การตอตานตางประเทศ ความชาตินิยม การทุจริตของรัฐบาล และ เจาหนาที่ของรัฐ ๐ เงื่อนไขทางสังคม เชน ความหนาแนนของประชากร และการกระจาย รายได o การสนับสนุนรัฐบาลที่มีนโยบายสังคมนิยม • ปจจัยภายนอกของความเสี่ยงทางการเมือง (external cause of political risk) ๐ มีกลุมอํานาจที่เปนปฏิปกษตอรัฐบาล ๐ ผลกระทบทางลบที่เกิดจากการเมืองในภูมิภาค • เครื่องชี้บอกความเสี่ยงทางการเมือง (symptom of political risk) ๐ ความขัดแยงตางๆ เชน การสไตรค ความรุนแรงตามถนน (street violent) ๐ ความไมแนนอนตางๆที่อยูเหนือกฎหมาย เชนการลักลอบฆา กลุม กองโจรตางๆปญหาการกอการรายมีผลตอธุรกิจบางชนิดโดยตรง เชน ธุรกิจโรงแรม ทองเที่ยว และ รานอาหาร การพิจารณาคะแนนของ PRI มีลักษณะยิ่งคะแนนสูงความเสี่ยงยิ่ง (high value with - low risk) ผูบริหารสามารถใชเปรียบเทียบเวลาที่จะไปลงทุนในประเทศตางๆ เพื่อหาทางเลือกที่ความ เสี่ยงทางการเมืองนอยที่สุด ตัวอยางของการพิจารณาประเทศไทย จากการศึกษาโดยใชขอมูล ตอเนื่องกันนานกวา ๒๐ ป พบวาในระยะแรกปจจัยสําคัญที่มีผลตอการตัดสินใจลงทุนของกิจการขาม ๙ ibid. p. ๑๐๓ 02_01-340_.indd 30 17/10/2562 8:33:46


31 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ชาติในตางประเทศ (Foreign Direct Investment หรือ FDI) ไดแก เสถียรภาพของรัฐบาล ปญหา ทาง ศาสนา และความเปนประชาธิปไตย ตอมาพบปจจัยที่มีผลเกี่ยวของเพิ่มเติมไดแก ความขัดแยง ภายในและภายนอกประเทศ กฎหมายและการบังคับใช ปญหาทางจริยธรรม คุณภาพของระบบ ราชการ การทุจริต และความเปนประชาธิปไตย๑๐ ๒.๖ การบริหารความเสี่ยงทางการเมือง เนื่องจากการลงทุนในตางประเทศจะใชเงินทุนจํานวนมาก และหวังผลในการคืนทุนและการ รับผลกําไรยาวนาน ทําใหตองมีการบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเมืองที่อาจมีผลตอการ ดําเนินงาน การบริหารความเสี่ยงทางการเมืองประกอบดวยสองแนวทางสําคัญดังนี้ • การบริหารแบบระมัดระวัง (defensive strategies for risk management) หมายถึงการใชนโยบายพึ่งพิงประเทศที่รับการลงทุนนอยที่สุด เชนบริษัทใชวิธีเชาโรงงาน เชา เครื่องจักรมากกวาที่ลงทุนในสินทรัพยถาวร เชนซื้อที่ดินสรางโรงงานและติดตั้ง เครื่องจักร เพราะ หากเกิดปญหาก็สามารถยุติการดําเนินงานโดยไมตองเสียเงินทุนสวนใหญ และมีการแสวงหาวัตถุดิบ จากแหลงตางๆในหลายๆประเทศ เพื่อกระจายความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบ และใหการ บริหารระดับสูงอยูที่สํานักงานใหญมากกวากระจาย อํานาจมาใหสาขาในประเทศที่มีความเสี่ยง การ คงอํานาจไวที่สํานักงานใหญตามแนวทาง ของการจัดการระหวางประเทศไดแกสํานักงานใหญสงคน มาเปนผูบริหาร (expatriate) ซึ่ง จะตัดสินใจตามนโยบายสํานักงานใหญ ในสวนของความสัมพันธกับ ภาครัฐนั้นจะรักษา ระดับไวไมใหมากเกินไปเพราะจะสงผลใหคอยๆผูกพันจนกลายเปนไมระมัดระวัง การ บริหารความเสี่ยงแบบนี้จึงเปนการจัดการในลักษณะของการสงออก หรือการใหใบอนุญาต ผลิต และจําหนายสินคาแกนักธุรกิจทองถิ่นโดยมีคาธรรมเนียมเปนการแลกเปลี่ยน • การบริหารความเสี่ยงแบบประสานกัน (integrative strategies for risk management) หมายถึงกลยุทธปรับกิจกรรมในประเทศสาขาใหสาขาเปนผูรับผิดชอบ ไม วาจะ เปนการใชผูบริหารของประเทศสาขา ใชทุนของทองถิ่นหรือรวมทุนกับนักลงทุนใน ประเทศสาขา รวมทั้งการสรางสัมพันธกับรัฐบาลในประเทศสาขาใหไดมากที่สุด การบริหาร ความเสี่ยงแบบนี้รวมถึง การพึ่งพิงวัตถุดิบและแรงงานในประเทศสาขา การมีนักธุรกิจ ทองถิ่นเปนหุนสวนก็สามารถใชความ ชํานาญของนักธุรกิจทองถิ่นลดความเสี่ยงไดสวนหนึ่ง ๑๐ Busse, M. & Hefeker, C. (๒๐๐๗). Political risk, institutions and foreign direct investment. European Journal of Political Economy. ๒๓, ๓๙๗-๔๑๕ 02_01-340_.indd 31 17/10/2562 8:33:47


32 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒.๗ เศรษฐกิจ (Economic) สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจเปนปจจัยสําคัญและมีผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ ไม วาขนาดเล็กหรือบริษัทขามชาติขนาดใหญ เนื่องจากการดําเนินงานของบริษัทขามชาติขนาดใหญ นั้น จะมีลักษณะสําคัญไดแก การลงทุนโดยใชเงินทุนสูง ตองการระยะเวลาคืนทุนที่ยาวนานและ ตองการ ปริมาณผูบริโภคมารองรับจํานวนมาก ดังนั้นเมื่อลงทุนไปแลวเหตุการณที่เกิดขึ้นในอนาคต หลายป จะตองสงเสริมใหกิจการมีผลประกอบการที่ดีตอเนื่อง ในประเทศกําลังพัฒนานั้น สภาพแวดลอม มหภาคซึ่งมีเศรษฐกิจเปนปจจัยหนึ่ง จะสงผลไปยังการพัฒนาในเขตชนบทดวย๑๑ สงผลตอเนื่องไปยัง กําลังซื้อและความตองการสินคา ผูบริหารบริษัทขามชาติจึงตองพิจารณาปจจัย ทางเศรษฐกิจ ดังตอไปนี้ • ระบอบเศรษฐกิจที่เอื้ออํานวย ไดแกระบอบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมซึ่งในปจจุบันประเทศ สวนใหญไดใชระบอบเศรษฐกิจแบบนี้ แมกระทั่งประเทศในเครือสหภาพโซเวียต เดิมซึ่งเคยใชระบอบ เศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสตก็ปรับมาใชระบอบทุนนิยมเพื่อกระตุนความเจริญทางเศรษฐกิจไดอยาง เหมาะสมตามเงื่อนไขที่เกิดขึ้น • ความมั่นคงของรัฐบาลในดานการดําเนินนโยบายทางดานเศรษฐกิจ รวมทั้งนโยบายที่มี ตอธุรกิจในแขนงตางๆ เพราะจะสงผลโดยตรงถึงกิจการที่ไปลงทุน หากนโยบาย ทางเศรษฐกิจ เปลี่ยนแปลงบอยๆ และธุรกิจไดลงทุนดวยเงินทุนจํานวนมากไปแลว นโยบาย ที่เปลี่ยนของรัฐบาลได สงผลเชิงลบยอมเปนความเสี่ยง จะถือวาความเสี่ยงสูงหรือต่ํายอมขึ้นกับจํานวนเงินที่จะตองสูญเสีย จากการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ • กําลังซื้อของประชาชนในประเทศตางๆ แสดงใหเห็นจากขอมูลของ รายไดตอหัวของ ประชากรแสดงใหเห็นคุณภาพ (quality) ของกําลังซื้อและปริมาณความตองการซื้อ จะ เห็นไดจาก จํานวนประชากรแสดงใหเห็นปริมาณซื้อ (quantity) ทําใหสหรัฐอเมริกาซึ่งมีทั้ง รายไดตอหัวสูงและ จํานวนประชากรมาก กลายเปนประเทศที่มีบทบาทตอเศรษฐกิจโลก ในขณะที่หลายประเทศเชน นิวซีแลนดที่ประชากรมีรายไดตอหัวสูงแตจํานวนประชากรนอยทําใหมีบทบาททางเศรษฐกิจตอโลก และตองคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นดวย • แนวโนมสภาวะเงินเฟอดัชนีราคาและดอกเบี้ย แนวโนมดังกลาวแมในแตละประเทศจะมี แตกตางกันออกไป แตในปจจุบันการที่ประเทศตางๆเปดเสรีทางการคามากขึ้น ทําใหผลจากสภาพ ๑๑ Barkauskas, V., Barkauskiene, K., & Jasinskas, E. (๒๐๑๕). Analysis of Macro Environmental Factors Influencing the Development of Rural Tourism: Lithuanian Case. Procedia - Social and Behavioral Sciences, ๒๑๓, ๑๖๗-๑๗๒. 02_01-340_.indd 32 17/10/2562 8:33:48


33 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เงินเฟอและดอกเบี้ยที่เปลี่ยนแปลงไปในประเทศหนึ่งจะสงผลกระทบไป ยังประเทศอื่นๆได นอกจากนี้แลวตัวเลขจากขอมูลดังกลาวจะทําใหผูบริหารสามารถพิจารณาสถานการณทางเศรษฐกิจ ในประเทศนั้นๆได • อยูในชัยภูมิที่เหมาะสม เชนเปนศูนยกลางประเทศตางๆในภูมิภาคและมีทางออกทะเล ประเทศไทยจัดเปนหนึ่งในประเทศที่มีชัยภูมิที่ตั้งดีที่สุดแหงหนึ่งของโลก กลาวคืออยู ศูนยกลาง ระหวางประเทศจีนและประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตอื่นๆ มีทางออกทะเล และติดกับ มหาสมุทรแปซิฟค ซึ่งเปนที่ตั้งของเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือที่มีบทบาททาง เศรษฐกิจโลกมาก และ ยังมีประเทศในกลุมอเมริกากลางและอเมริกาใตที่จะเปนเขต เศรษฐกิจที่ยิ่งใหญแหงหนึ่งในโลก นอกจากนี้จากจํานวนประชากรโลกทั้งหมดประมาณ ๗,๒๕๖ ลานคน ครึ่งหนึ่งของประชากรโลกอยู รอบประเทศไทย ไดแก จีน ประมาณ ๑,๓๖๗ ลานคน อินเดีย บังคลาเทศ มากกวา ๑,๔๒๐ ลานคน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและ ญี่ปุน ประมาณมากกวา ๗๕๘ ลานคน๑๒ ทําใหประเทศไทย เปนศูนยกลางของสิ่งตางๆ อยาง เห็นไดชัด โดยเฉพาะถาเหตุการณเปนไปดวยดี ตัวอยางเชน นักทองเที่ยวชาวจีนมาประเทศ ไทย ๑% ก็ ๑๓ ลานคนแลว ถามาแบบไมซากันเลยก็ตองใชเวลาถึง ๑๐๐ ปกวาทุกคนใน ประเทศจีนจะมาประเทศไทยครบหมด และถามาใชเงินคนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ก็ จะเปน ๑๓๐,๐๐๐ ลานบาทตอป สมมุติวคนจีนที่มาประเทศไทยแลวไมเดินทางกลับประมาณ ๓ ลาน คนตอป เพียง ๑๐ ป ประเทศไทยจะมีคนจีนถึง ๓๐ ลานคน รัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของ ควรพิจารณาใหดีและถาสินคาจากจีน ๑๐% มาขนถายลงเรือที่ประเทศไทย ก็จะทําให อุตสาหกรรม การขนสงมีผลตอประเทศไทยอยางสูงมาก ๒.๘ สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) เปนปจจัยที่เกี่ยวของกับพื้นฐานการดําเนินชีวิตของประชาชนในประเทศตางๆ มีผลตอ ทัศนคติและความนึกคิดในดานตางๆ รวมทั้งแนวคิดในดานการบริหารธุรกิจดวย แตละประเทศมี วัฒนธรรมประเพณีที่แตกตางกัน ยอมสงผลตอการจัดการของผูบริหารในประเทศตางๆที่จะตองปรับ เขาหาวัฒนธรรมทองถิ่นดวยในหลายๆดานดังนี้ • ผลิตภัณฑตางๆ ที่จําหนายแกผูบริโภค เชนวัฒนธรรมกลุมประเทศที่คอนขางเปดเผย สัดสวนรางกาย ทําใหผูหญิงจากประเทศเหลานั้นนิยมใสชุดวายนาแบบบิกินี่ ในขณะที่ผูหญิงชาว เอเชียที่ไมนิยมเปดเผยรางกายใหสาธารณชนเห็น ชุดวายนาจึง ตองเปนแบบชิ้นเดียว ผูบริหารจึงตอง พิจารณาการนําเสนอสินคาใหเหมาะสมกับทองถิ่นดวย ๑๒ https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/xx.html 02_01-340_.indd 33 17/10/2562 8:33:49


34 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ • การประชาสัมพันธ ตองระวังเนื้อหาและรูปแบบในการนําเสนอใหเหมาะสมกับวัฒนธรรม ของแตละประเทศ เชนการโฆษณาทางโทรทัศนในหลายประเทศที่นิยมแสดง ใหเห็นชายหญิงจูบหรือ จับเนื้อตองตัวกัน แตในหลายประเทศอาจเปนสิ่งตองหาม ใน สวนของประเทศไทยซึ่งเปดรับสิ่งตางๆ งาย ทําใหเกิดการนําสื่อโฆษณาตางประเทศมา ใช ซึ่งบางครั้งก็ขัดกับคานิยมดั้งเดิมในสังคมไทย แตก็ เปลี่ยนสังคมไทยไปไดงาย เชนกัน นอกจากบางครั้งที่มีการแสดงความเห็นคัดคานเปนครั้งคราว • ทัศนคติของพนักงาน ไดรับอิทธิพลจากศาสนาและวัฒนธรรมพื้นฐานทั่วไป ซึ่งจะสงผลตอ การทํางานและอยูรวมกันในสังคม หากผูบริหารและพนักงานมาจากเชื้อชาติที่แตกตางกันก็อาจมี ทัศนคติในเรื่องตางๆ แตกตางกันได ทําใหอาจเกิดความขัดแยงขึ้น ผลจากการที่มีการเปดเสรีมากขึ้น ไมใชเฉพาะสินคาเทานั้นที่จะขยายไปในประเทศตางๆ แต ยังรวมถึงวัฒนธรรมประเพณีของแตละประเทศที่จะเปลี่ยนไปตามกระแสวัฒนธรรมของประเทศที่ เจริญ ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีที่เหนือกวา ผูบริหารที่พิจารณาวัฒนธรรมของประเทศตางๆจึง ตองพิจารณาความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องดวย ๒.๙ เทคโนโลยี ( Technology ) ผลจากการพัฒนาการทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในโลก สงผลใหพัฒนาการที่ตอเนื่องเกิดขึ้น และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นและทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว เชนพัฒนาการดาน คอมพิวเตอรและการสื่อสาร สงผลใหพัฒนาการทุกแขนงในโลกเปนไปอยางรวดเร็ว ประเทศหรือ กิจการหรือแมแตบุคคลที่สามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีจะยิ่งไดเปรียบ ผูที่ไมสามารถใช เทคโนโลยีได และความแตกตางจะยิ่งเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในชวงตั้งแตป ๒๐๐๐ - ปจจุบัน ที่การ เปลี่ยนแปลงของประสิทธิภาพคอมพิวเตอรเปลี่ยนไปอยางรวดเร็วมาก และการเปลี่ยนแปลงเหลานั้น เกิดขึ้นพรอมกับตนทุนที่ตาลง สงผลไปยังการคาระหวางประเทศในลักษณะพาณิชยอิเลคโทรนิคส (ECommerce) พัฒนาไปสูการตลาดโดยผานโทรศัพทมือถือหรือสมารทโฟน (mobile marketing) กิจการใดที่สามารถใชระบบดังกลาวจะพัฒนาทั้งดานยอดขายและตนทุนเปนอยางมาก และการ สื่อสารขามประเทศดวยระบบอินเตอรเน็ทยังชวยใหตนทุนการสื่อสารถูกลงเปนอยางมาก ผูบริหาร ธุรกิจขามชาติยุคปจจุบันตองใหความสําคัญกับสิ่งเหลานี้ ยิ่งไปกวานั้นพัฒนาการของธุรกิจการ สื่อสารเปนของเอกชนมากกวาเปนของรัฐบาล แมกระทั่งประเทศในเอเชีย เชน สิงคโปรเทเลคอมมิวนิ เคชั่น ปากีสถานเทเลคอม โคเรียเทเลคอม โกลบเทเลคอมในฟลิปปนส และ ทรูในประเทศไทย ทําให สามารถขยายทั้งทุนและพัฒนาการทางเทคโนโลยีจากกิจการขามชาติไดสะดวกขึ้น 02_01-340_.indd 34 17/10/2562 8:33:49


35 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ การดําเนินงานในประเทศตางๆของบริษัทขามชาติ จะตองอาศัยเทคโนโลยีในระดับตางๆ ซึ่ง แตละประเทศอาจมีตอบสนองไมเหมือนกัน ความแตกตางกันนั้นปรากฏทั้งในดานชนิดของสินคา เทคโนโลยี ตนทุนในการจัดหา สงผลในการบริหารจัดการ ประเทศที่สามารถจัดหาเทคโนโลยีตางๆได งายและราคาถูกจะทําใหตนทุนการผลิตสินคาลดลงมาก และมีความเปนไปไดในการลงทุนดวย การ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีมีอยางตอเนื่องและรวดเร็วแตกตางกันไปในแตละประเทศ ผูบริหาร จะตองพิจารณาดวย หลายๆครั้งที่กิจการตองนําเขาเทคโนโลยีดวยตนเอง เนื่องจากไมสามารถหาได ในประเทศนั้นๆ และกิจการขามชาติจะเปนผูนําในธุรกิจแขนงใด ตองมีนวัตกรรมใหมๆ ซึ่งตองการ การวิจัยสนับสนุน ประเทศที่สามารถเอื้ออํานวยตอการวิจัยจึงเหมาะสมตอการตั้งสํานักวิจัยขึ้น ๒.๑๐ สภาพแวดลอม (Environment(Environment) เนื่องจากปจจุบันมีปจจัยที่แสดงใหเห็นปญหาสภาพแวดลอมของโลกที่กําลังเปลี่ยนแปลง ไป ในทางที่เปนมลภาวะรวมทั้งภาวะโลกรอน ซึ่งเชื่อวาเกิดจากมนุษยเปนผูสราง จากผลกระทบของ การ ใชพลังงาน การปลอยของเสียของอุตสาหกรรม และการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใช ดํารงชีวิต ทั้งดานการเกษตรและดานอุตสาหกรรม สิ่งเหลานี้สงผลตอแนวคิดดานการอนุรักษ สิ่งแวดลอมและ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งสงผลโดยตรงตอการดําเนินงานของกิจการขามชาติใน ตางประเทศ กฎหมาย ของประเทศตางๆ จึงมีการมุงเนนถึงการดําเนินงานที่ไมสงผลเสียตอ สภาพแวดลอม และขยาย ขอบเขตไปถึงการดําเนินงานนอกประเทศดวย ปจจุบันการดําเนินงาน เพื่อใหธุ รกิจปกปอง สิ่งแวดลอมจึงมีลักษณะเปนเครือขาย (network) โดยเฉพาะการดําเนินงานของผู จัดสงวัตถุดิบ (supplier) ใหกิจการที่จะตองมีการดําเนินธุรกิจที่มีลักษณะปกปองสภาพแวดลอม (Environmental Business Practice, EBP)๑๓ เพื่อใหเกิดการประสานงานในดานปกปอง สภาพแวดลอมจากหลาย ประเทศ นอกจากนี้การมีหลายกลุมอุตสาหกรรมที่อาจจะมีความแตกตาง กันในบริบทของแตละ อุตสาหกรรม ทําใหเกิดแนวคิดที่จะใหมีการปรับกฎขอบังคับใหลงใน รายละเอียดของแนวปฏิบัติ ๑๓ Tate, W. L., Ellram, L. M., & Gölgeci, I. (๒๐๑๓). Diffusion of environmental business practices: A network approach. Journal of Purchasing and Supply Management, ๑๙(๔), ๒๖๔-๒๗๕. 02_01-340_.indd 35 17/10/2562 8:33:50


36 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ เฉพาะสําหรับแตละอุตสาหกรรมดวย๑๔ ปจจุบันการปกปอง สภาพแวดลอมจึงเปนปจจัยสําคัญใน ขั้นตอนของการกําหนดแผนกลยุทธทางธุรกิจ๑๕ ๒.๑๑ กฎหมาย (Environment) สภาพแวดลอมทางกฎหมายมีผลตอกิจกรรมทุกชนิดที่เกิดขึ้นในแตละประเทศ กฎหมาย ของ แตละประเทศอาจแตกตางกันออกไป ทําใหการบริหารงานของกิจการขามชาติอาจตองคํานึงถึง ความ แตกตางเหลานี้ดวย และมีผลใหหลายประเทศตองปรับกฎหมายใหเอื้ออํานวยตอการลงทุนของ ตางประเทศ ในการบริหารงานของกิจการขามชาติจะคํานึงถึงปจจัยตอไปนี้ • มีกฎหมายที่มีความทันสมัยและมีความเปนสากล เนื่องจากแตละประเทศมี กฎหมายที่มีเนื้อหาแตกตางกัน สงผลใหการดําเนินงานในแตละประเทศไมเหมือนกัน และสงผลถึง ความไดเปรียบเสียเปรียบดวย ในปจจุบันประเทศอุตสาหกรรมจึงพยายามผลักดัน ใหมีการปรับ กฎหมายและระเบียบขอบังคับตางๆ ของประเทศที่รับการลงทุนใหเอื้อตอการ ลงทุน และทางหนึ่ง ไดแกการทําผานขอตกลงขององคการการคาโลก โดยทั่วไปแลว กฎหมายที่สําคัญประกอบดวย องคประกอบสามประการ ๐ กฎหมายรัฐธรรมนูญ (Constitutional Law) ซึ่งมีผลตอกฎหมายอื่นๆในลําดับถัดมา หาก มีความเปนสากล กฎหมายอื่นๆ ก็จะตองปรับตามดวย ปจจุบันหลาย ประเทศจึงปรับกฎหมาย รัฐธรรมนูญใหเหมือนกับประเทศอุตสาหกรรม เชน สิทธิ และความเทาเทียมตางๆ เปนตน ๐ กฎหมายอาญา (Criminal Law) มีผลตอความมั่งคงและปลอดภัยของการดําเนินชีวิตของ ประชาชนในประเทศนั้นๆ และเปนสิ่งสรางความมั่นใจในความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสินที่ กิจการจะไปลงทุนดวย ๐ กฎหมายแพงและพาณิชย (Commercial Law) มีผลโดยตรงในการดําเนินธุรกิจใน ดินแดนนั้นๆ เปนกฎหมายที่เกี่ยวของโดยตรงตั้งแตเริ่มตนจัดตั้งกิจการ ๑๔ Taylor, C. M., Pollard, S. J. T., Rocks, S.A., & Angus, A. J. (๒๐๑๕). Better by design: Business preferences for environmental regulatory reform. Science of The Total Environment, ๕๑๒-๕๑๓, ๒๘๗-๒๙๕. ๑๕ Rajala, R., Westerlund, M., & Lampikoski, T. (๒๐๑๖). Environmental sustainability in industrial manufacturing: re-examining the greening of Interface's business model. Journal of Cleaner Production,๑๑๕, ๕๒-๖๑ 02_01-340_.indd 36 17/10/2562 8:33:51


37 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ • มีกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคาระหวางประเทศโดยตรงที่ทันสมัยและมีผล บังคับใช อยางจริงจัง ไดแก ๐ กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุมครองทรัพยสินทางปญญา (Intellectual PropertyLaw) เพื่อที่ การลงทุนจะไดรับการคุมครองทั้งสิ่งประดิษฐใหมๆ ที่กิจการคิดคนได และเครื่องหมายการคาของ กิจการ การคุมครองทรัพยสินทางปญญาเปนปญหา ใหญสําหรับกิจการผูคิดคนนวัตกรรมขึ้นมา เนื่องจากตองลงทุนจํานวนมหาศาล แตเมื่อคิดไดแลว กิจการอื่นทําการลอกเลียนแบบและสามารถ จําหนายไดในราคา ตากวามาก เพราะไมมีตนทุนคาวิจัย มีการวิจัยที่พบวาการเขาจัดการอยาง เด็ดขาด (proactive) เปนวิธีการที่เหมาะสมที่สุด ในขณะที่การดําเนินการอยางอื่น เชนการเจรจามี ตนทุนสูงและไมกอใหเกิดผลดี๑๖ ทําใหรัฐบาลของประเทศผูคิดคนนวัตกรรมตองเขาดําเนินการอยาง เด็ดขาด กับประเทศผูมีกิจการที่ลอกเลียนแบบ O กฎหมายปองกันการผูกขาด (Anti-Trust Law) ประเทศใดมีการผูกขาดอยูการคาเสรี ยอมไมสามารถเกิดได รวมทั้งคูแขงก็ไมสามารถใชศักยภาพทาง การตลาดเขาแขงขันได การผูกขาดที่ สําคัญทางหนึ่งไดแก การผูกขาดโดยรัฐบาล ของประเทศแตละประเทศ ทําใหตองมีการแปรรูป รัฐวิสาหกิจ (Privatization) ๒.๑๒ สภาพแวดลอมของการลงทุนในตางประเทศ แบงการพิจารณาออกเปน ๓ แนวทางดังนี้ ๑. สภาพแวดลอมในประเทศเจาของกิจการ(Domestic Environment) ๒. สภาพแวดลอมในประเทศที่ไปลงทุน (Foreign Environment) ๓. สภาพแวดลอมระหวางประเทศ (International Environment) ๒.๑๓ สภาพแวดลอมในประเทศเจาของกิจการ (Domestic Environment) สภาพแวดลอมในประเทศเจาของกิจการ (Home country) หรือสภาพแวดลอมในทองถิ่น (Domestic Environment) เปนปจจัยพื้นฐานในการพิจารณาวางแผนการดําเนินงานของธุรกิจ ระหวางประเทศ เนื่องจากเปนฐานที่ตั้งของสํานักงานใหญที่กําหนดนโยบายและควบคุมกิจการสาขา ในตางประเทศ ปจจัยสําคัญหลายประการที่มีผลกระทบตอกิจการไดแก เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ กฎหมาย การเมืองและปจจัยอื่นๆที่เกี่ยวของ ๑๖ Jacobs, L., Samli, A.C., & Jedlik, T. (๒๐๐๑). The Nightmare of International Product Piracy: Exploring Defensive Strategies, Industrial Marketing Management, ๓๐(๖), ๔๙๙-๕๐๙. 02_01-340_.indd 37 17/10/2562 8:33:52


Click to View FlipBook Version