The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หนังสือ E-BOOK, 2023-07-24 05:33:55

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

38 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. บรรยากาศทางการเมือง ธุรกิจระหวางประเทศมักมีศักยภาพสูงในการบริหารสามารถ สรางยอดขายไดในปริมาณมากทั้งจากตลาดภายในประเทศและตลาด ตางประเทศ มีบทบาทตอการ พัฒนาเศรษฐกิจภายในของประเทศดวยซึ่งมีผลตอเสถียร ภาพทางการเมืองภายในดวย เนื่องจาก ความมั่นคงของเสถียรภาพของรัฐบาลภายใต ระบอบทุนนิยมมักขึ้นอยูกับความเจริญทางเศรษฐกิจ เปนสําคัญ ผลกระทบโดยตรงที่ สําคัญอีกประการหนึ่งไดแก การกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจและ การคาระหวาง ประเทศของรัฐบาลแตละคณะแตกตางกันโดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวของกับภาษีอากร และการสงออกหรือนําเขาสินคา ถึงแมการกระทําดังกลาวจะมีขอจํากัดจากกลไกทางการคาโลก แตก็ ยังคงมีบทบาทสําคัญซึ่งผูบริหารบริษัทขามชาติจะตองคํานึงถึง ๒. บรรยากาศการแขงขันภายในประเทศ ผูบริหารธุรกิจระหวางประเทศจําเปนตองให ความสําคัญกับวัตถุประสงคของคูแขงขันภายในประเทศดวย เพราะ กิจการอื่นๆภายในประเทศอาจ ใชนโยบายหรือยุทธศาสตรการแขงขันในตลาดโลก คลายคลึงกัน หากคูแขงขันดังกลาวสามารถพัฒนา สินคาหรือบริการใหมีคุณสมบัติที่ เหนือกวาของกิจการก็จะกอใหเกิดความไดเปรียบ เพราะใน ประเทศที่พัฒนาแลวคู แขงขันจากประเทศเดียวกันจะมีปจจัยพื้นฐานที่สําคัญเชนการสงเสริมจาก รัฐบาลและ ปจจัยสนับสนุนอื่นคลายๆกัน ดังนั้นความไดเปรียบในบางเรื่องจะกอใหเกิดความ แตกตางในดานการแขงขัน แตในประเทศที่กําลังพัฒนาอาจมีปญหาในเรื่องของ มาตรการสงเสริมที่ เริ่มมีขึ้นและถูกนําไปใชในลักษณะของการเลือกปฏิบัติ หากกิจการ เพิกเฉยอาจกอใหเกิดการเสีย โอกาสตอคูแขงขันที่คอยติดตามมาตรการณตางๆ เหลานั้น และสามารถไดประโยชนจากมาตรการ เหลานั้น การแขงขันที่สูง ภายในประเทศยังเปนแรงกดดันใหหลายกิจการตองไปแสวงหาการลงทุนใน ประเทศอื่น ที่ยังมีชองวางทางการตลาดและปจจัยอื่นๆ ที่จะชวยใหไดเปรียบดวย ๓. สถานการณทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางเศรษฐกิจของทองถิ่นนับเปนปจจัยที่มีผลตอการ เปลี่ยนแปลงในทางการคาระหวางประเทศ เพราะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ภายในอาจสงผลถึง นโยบายรัฐบาลในสวนที่เกี่ยวของกับธุรกิจ หรืออาจสงผลกระทบ ตอธุรกิจโดยตรง แตก็มิได หมายความวาการตกตาของเศรษฐกิจภายในจะมีความแปร ผันโดยตรงตอการตกตาของการดําเนิน ธุรกิจระหวางประเทศ เนื่องจากการถดถอยทาง เศรษฐกิจภายในอาจเปนแรงผลักดันใหผูบริหารตอง ดําเนินยุทธวิธีในการนํากิจการออกสูตางประเทศในอัตราที่สูงขึ้น ๔. ปจจัยทางดานสังคมและสภาพแวดลอมอื่น ๆ เปนปจจัยที่จะเอื้ออํานวยให เกิดการ พัฒนาทั้งองคการและบุคคลในอันที่จะมีความสามารถในการแขงขันกับนานา ประเทศได หากกลไก ทางสังคมไมดี จะเปนอุปสรรคทั้งบุคคลและองคการตอการ แขงขันทางธุรกิจ เชนในประเทศพัฒนา แลว รัฐบาลจัดโรงเรียนใหประชาชนอยางเพียง พอมีมาตรฐานและสะดวกตอการเขาศึกษา ผูบริหาร ที่ไดรับมอบหมายใหไปทํางานใน ตางประเทศจึงไมตองพะวงวาเมื่อตนกลับมาแลวจะหาโรงเรียนที่มี 02_01-340_.indd 38 17/10/2562 8:33:53


39 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ คุณภาพใหลูกเรียน ไมได ในขณะที่ในประเทศไทย เมื่อผูบริหารไดรับการคัดเลือกใหไปปฏิบัติงานใน ตางประเทศ บุคคลเหลานั้นอาจตองพะวงวาถาใหลูกลาออกจากโรงเรียนไป ตางประเทศ เมื่อกลับมา จะหาโรงเรียนใหลูกเรียนไดหรือไมเปนตน ปจจัยทางสังคมใน ลักษณะดังกลาวอีกหลายชนิดนอกจาก จะไมสงเสริมแลวยังเปนตัวบันทอน ความสามารถของประเทศในการแขงขันและพัฒนาทางธุรกิจเปน อยางมาก ๒.๑๔ สภาพแวดลอมในประเทศที่รับการลงทุน (Foreign Environment) สภาพแวดลอมในประเทศที่ไปลงทุน (Host Country) หมายถึงประเทศที่บริษัทขามชาติจาก ตางประเทศมาลงทุน การพิจารณาสภาพแวดลอมในตางประเทศประกอบไปดวย วัฒนธรรม เศรษฐกิจ กฎหมาย สถานการณทางการเมือง อุปสรรคทางการคา คูแขงขันจากทองถิ่นและปจจัยที่ เกี่ยวของกับอัตราแลกเปลี่ยน ๑. สภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม (Culture) เนื่องจากวัฒนธรรมเปนพื้นฐานของความคิด และ แนวปฏิบัติของผูอยูในสังคมแตละแหง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงมีบทบาท สําคัญตอผูบริหารในธุรกิจ ระหวางประเทศเปนอยางยิ่ง เนื่องจากผูบริหารเหลานี้ตอง แสดงบทบาททางการจัดการบนพื้นฐาน ของความแตกตางทางวัฒนธรรมของบุคลากร จากตางเชื้อชาติและภาษา ประเทศที่มีบทบาทสําคัญ ในดานการคาระหวางประเทศ เชนสหรัฐอเมริกาเอง ก็ใหความสําคัญตอปจจัยทางวัฒนธรรมเปน อยางมาก ๒. สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ (Economic) มีพื้นฐานจากการผลิตสินคาหรือบริการ การจัดจําหนายสูผูบริโภค ปริมาณความตองการสินคาของประชาชนใน ประเทศเหลานั้น กลไกของ แตละประเทศในการสนับสนุนหรือเปนอุปสรรคตอระบบ การคา แตในทางปฏิบัติผูบริหารที่ผานการ บริหารในประเทศตางๆจะเห็นความแตกตาง ทางเศรษฐกิจของแตละประเทศไดดี เนื่องจากแตละ ประเทศอยูในขั้นตอนของ พัฒนาการทางเศรษฐกิจที่แตกตางกัน ซึ่งมักจะสงผลตออุปสงคและ อุปทานในสินคา และบริการชนิดตางๆ และมีผลกระทบโดยตรงตอการบริหารการตลาดของกิจการ สําหรับการพิจารณาทําการลงทุนในตางประเทศของบริษัทขามชาตินั้น เมื่อพิจารณา จากภาพรวม ของแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของประชากร รวมทั้งผลผลิตมวลรวม ประชาชาติและปจจัยอื่นๆที่ เกี่ยวของก็จะทําใหมองเห็นความเปนไปไดในระดับหนึ่ง เพราะผลผลิตประชาชาติมวลรวมประชาชาติ (Gross National Product, หรือ GNP) เกี่ยวของกับสินคาและบริการที่เกิดขึ้นในประเทศใดประเทศ หนึ่ง แตการบันทึกรายการ ผลผลิตมวลรวมประชาชาติของบางประเทศโดยเฉพาะประเทศกําลัง พัฒนานั้น หนวยงานของรัฐที่ทําหนาที่บันทึกอาจมิไดบันทึกรายการที่เกิดขึ้นจากเศรษฐกิจขนาด เล็ก หรือเศรษฐกิจทองถิ่น หรือที่เรียกวา (Sub-Culture Economies หรือ SCEs) ไดแก ประชากรที่ผลิต เพื่อการบริโภคของตนเอง หรือทําการคาในลักษณะการแลกเปลี่ยนสินคาตอสินคา (Barter) ซึ่งใน 02_01-340_.indd 39 17/10/2562 8:33:54


40 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ หลายประเทศมีลักษณะดังกลาวเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ผลิตภัณฑมวลรวมตอหัวจะแสดงถึงการ เพิ่มของความตองการบริโภคสินคา และบริการ เปนการชี้ใหเห็นโอกาสทางการตลาดของบริษัทขาม ชาติทั้งหลาย ๓. สภาพแวดลอมทางการเมืองและกฎหมาย การดําเนินธุรกิจโดยเฉพาะอยางยิ่ง ธุรกิจที่มี ขนาดใหญ ผลกระทบระหวางกิจการกับสังคมจะมีสูง เนื่องจากการดําเนินงาน ของธุรกิจมีผลตอ ระบบเศรษฐกิจในสังคมนั้นๆ สูง ในขณะเดียวกันธุรกิจก็ตองการ ปริมาณประชาชนจํานวนมากมา บริโภคสินคาและบริการ การเมืองจึงมีบทบาทสําคัญ ตอเศรษฐกิจและการดําเนินธุรกิจของบริษัทขาม ชาติ หลายประเทศโดยเฉพาะประเทศ ที่เพิ่งเปดรับการลงทุนจากตางประเทศ ความรูสึกถึงความเปน ธุรกิจของชาติอื่นไมใช ของชาติตนเองจะมีสูง ทั้งในหมูประชาชนและผูบริหารประเทศ ซึ่งมีความ ออนไหวตอ ทัศนคติของบุคคลเหลานั้น สงผลไปยังพฤติกรรมตางๆ ถาเกิดในหมูผูมีบทบาทในการ บริหารประเทศยอมจะสงผลไปยังกลไกที่รัฐใชเปนเครื่องบริหารราชการแผนดินเชน กฎหมายและ ระเบียบปฏิบัติตางๆ เปนตน นอกจากนี้บางประเทศเปนประเทศที่มีความ เสียงตอการกอการราย การสนับสนุนดานตางๆจากสํานักงานใหญและแมกระทั้งจาก ครอบครัว จะมีผลตอประสิทธิภาพใน การทํางานของผูบริหารที่สํานักงานใหญสงไป เปนอยางมาก ๑๗ และการมีเครือขายระหวางผูบริหาร ดวยกันชวยใหเกิดผลดีทาง จิตวิทยาในการทํางานในประเทศที่มีปญหาการกอการราย ๑๘ ในแงของ กฎหมายของ ประเทศตางๆนั้น ความแตกตางปรากฏใหเห็นไดอยางชัดเจนทั้งในดานเนื้อหาและ รายละเอียดตลอดจนผลบังคับใช ผลบังคับใชอาจลดประสิทธิภาพลงเนื่องจาก มาตรฐานจริยธรรม ของผูรับผิดชอบตอการบังคับใชในแตละประเทศตางกัน กฎหมาย หลายชนิดมีบทบาทโดยตรงตอการ จัดการเชน กฎหมายแรงงาน กฎหมายภาษีอากร และกฎหมายการคา ๔. คูแขงขันในประเทศที่ไปลงทุน เปนปกติของธุรกิจระหวางประเทศทั่วไปที่ตอง เผชิญคู แขงขันดั้งเดิมซึ่งอาจเปนของประเทศที่ไปลงทุนหรือเปนของตางประเทศ เชนเดียวกัน โดยทั่วไปคู แขงขันที่ไมใชกิจการขามชาติมักมีเทคโนโลยีในดานตางๆ กวากิจการขามชาติ แตก็มีขอไดเปรียบใน แงที่มีความชํานาญและเขาใจระบบ วัฒนธรรมทองถิ่นไดดี แตก็มักมีปญหาในเรื่องของระบบงานและ การขาดแคลนเงินทุนสโตรอยางเทสโกโลตัสเขามาในประเทศไทยสามารถครองตลาดไดการคากับ ๑๗ Bader, B., Berg, N., & Holtbrügge, D. (๒๐๑๕). Expatriate performand in Terrorism- Endangered Countries: The role of family and organizational support. International Business Review. ๒๔(๕) ๘๔๙-๘๖๐ ๑๘ Bader, B., & Schuster, T. (๒๐๑๕). Expatriate Social Networks in Terrorism- Endangered Countries: An Empirical Analysis in Afghanistan, India, Pakistan,and Saudi Arabia. Journal of International Management, ๒๑(๑), ๖๓-๗๗. 02_01-340_.indd 40 17/10/2562 8:33:54


41 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ประเทศที่สหรัฐอเมริกาสงสัยวาจะใหที่พักพิงตอผูกอการราย และพฤติกรรมการกอการราย ไดขยาย วงออกไปเรื่อยๆ นอกจากนี้ยังมีปญหาความขัดแยงในเรื่องสิทธิในดินแดนโดยเฉพาะหมูเกาะ ในทะเล เชนจีนกับประเทศในเอเชีย โดยประเทศที่มีความขัดแยงอาจเริ่มมีเทคโนโลยีที่จะทราบถึง แหลง ทรัพยากรรอบหมูเกาะหรือใตทะเล จึงอางสิทธิครอบครอง ในปจจุบันการเปรียบเทียบกําลังรบ ระหวางสหรัฐกับจีนมีสูงขึ้นมาก แทนที่การเปรียบเทียบกําลังรบระหวางสหรัฐกับรัสเซียเชนในอดีต และเปนเงื่อนไขที่แตกตางกันออกไปของประเทศที่อยูขางสหรัฐ เนื่องจากเทคโนโลยีทางทหาร สามารถเรียนรูและพัฒนาได แตจีนมีกําลังรบมากกวาอยูหลายเทา ๒.๑๕ องคการระหวางประเทศและเขตเศรษฐกิจที่สําคัญ |(International Organizations and Important Economic Areas) ปจจุบันองคการระหวางประเทศมีมากมายที่จัดตั้งขึ้นโดยวัตถุประสงคตางๆ และไดรับการ ยอมรับจากประเทศสมาชิกในการปฏิบัติตามแนวทางที่ไดรวมกันกําหนดขึ้น องคการระหวางประเทศ ที่ถูกจัดตั้งขึ้นนั้น มีทั้งเพื่อความมั่นคงแหงรัฐในสวนที่เกี่ยวของกับการหลีกเลี่ยงสงคราม บางองคการ ก็ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนกลไกในดานความรวมมือทางเศรษฐกิจ บางองคการก็มีวัตถุประสงคเพื่อมนุษย ธรรมและความเทาเทียมของสิทธิมนุษยชน และวัตถุประสงคขององคการระหวางประเทศก็มักจะ คลอยตามสถานการณในโลกดวย เชนในยุคที่โลกมีทีทาวาจะเกิดสงคราม องคการหลายองคการก็ ถูก จัดตั้งขึ้นเพื่อแกปญหาหรือเปนพันธมิตรกันเพื่อความรวมมือทางทหาร แตเมื่อโลกวางเวนจาก สงครามและยังไมมีทีทาวาจะเกิดสงคราม องคการหลายองคการเกิดขึ้นเพื่อความรวมมือทางการคา รวมทั้งองคการที่เคยเกิดขึ้นเพื่อความรวมมือทางทหารก็อาจเพิ่มบทบาทเปนการรวมมือทางการคา แทนเปนตน สําหรับองคการระหวางประเทศที่สําคัญและมีบทบาทตอธุรกิจระหวางประเทศทั้ง ทางตรงหรือทางออมตัวอยางเชน ๑. องคการสหประชาชาติ (The United Nations) องคการสหประะชาชาติ หรือUNเปน องคกร กลางระหวางประเทศที่ไดรับการยอมรับจากประเทศตางๆทั่วโลกจัดตั้ง ขึ้นดวยความรวมมือ ของนานาประเทศภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง องคการ สหประชาชาติมีบทบาทตอโลกครอบคลุม ดานตางๆ ไมวาจะเปนทางทหาร ทางการคา ทางเกษตร ทางการศึกษาสาธารณสุขและอื่นๆ สําหรับ ในสวนที่เกี่ยวของกับธุรกิจนั้นมี ทั้งบทบาทโดยตรงในฐานะผูบริโภคหรือทางออมอื่นๆ ตัวอยางของ บทบาทโดยตรงเชน ในแตละปองคการสหประชาชาติจายเงินมากกวา ๗๕๐ ลานดอลลารในการซื้อ สินคา หรือบริการทั่วโลก สวนในทางออมองคการสหประชาชาติเองก็มีหนวยงานยอย (Specialized Agencies) ที่มีบทบาทตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศเชน UN Conference on Trade and Development เปนตนและยังมีสิ่งพิมพที่เกี่ยวของกับบริษัทขามชาติโดยตรงเชน วารสาร Transnational Corporation เปนตน 02_01-340_.indd 41 17/10/2562 8:33:55


42 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. ธนาคารโลก (The World Bank) ธนาคารโลกหรือชื่อเต็มวา The International Bank for Reconstruction and Development (IBRD) ธนาคารโลกมีโครงสรางหลักที สําคัญ ไดแกตัว ธนาคารโลกเอง บริษัทการเงินระหวางประเทศ (The International Finance Corporation หรือ IFC) และองคการพัฒนาระหวางประเทศ (The International Development Association หรือ IDA) ในแงของธนาคารโลกเองที่ธุรกิจ ใหความสําคัญไดแก การที่ธนาคารโลกให นานาประเทศกูเงินเพื่อพัฒนาเปนจํานวน มหาศาลในแตละป ไมวาจะเปน เงินกูที่มีเงื่อนไขเขมงวด (Hard Loan) ที่ธนาคารโลก เปนผูจัดการหรือเงินกูที่มีเงื่อนไขผอนปรน (Soft Loan) ที่มีองคการ พัฒนาระหวาง ประเทศเปนผูจัดการ ลวนมีบทบาทที่ทําใหเกิดคาใชจายในประเทศตางๆ ที่กูเงินไป และ มีผลกระทบตอยอดจําหนายสินคาและบริการของธุรกิจระหวางประเทศทั้งหลาย นอกจากนั้น ธนาคารโลกยังมีบางหนวยงานเชน (The World Bank's Center forArbitration) ซึ่งชวยแกไข ปญหาในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ ๓. องคการการคาโลก (World Trade Organization หรือ WTO) เปนหนวยงานที่มี บทบาทตอการคาระหวางประเทศสูงมาก พัฒนาจากการเจรจาวาดวยขอตกลง ระหวางประเทศวา ดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement on Tariffs and Trade หรือ GATT) ใน ระยะแรก เปนขอตกลงรวมกันของนานาประเทศโดยมี สหรัฐอเมริกาเปนแกนนําในอันที่จะขจัด อุปสรรคทางการคาระหวางประเทศที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอุปสรรคทางภาษีอากร โดย GATT มีบทบาท สําคัญตอการดําเนินธุรกิจ ระหวางประเทศโดยเปนองคกรกลางที่วางกฎขอบังคับในสวนที่เกี่ยวของ กับการคา ระหวางประเทศ ประการสําคัญยังมีบทบาทในการไกลเกลี่ยขอพิพาทที่เกิดจากการคา ระหวางประเทศตางๆ ตอมาเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ค.ศ. ๑๙๙๕ ไดปรับเปนองคการการคา โลก (Robin et al., ๑๙๙๘) มาจากชื่อเต็มวา World Trade Organization หรือที่นิยม เรียก วา WTO โดยรับผิดชอบขอตกลงทางการคาที่สําคัญสามประการ ไดแกขอตกลงในสวนที่เกี่ยวกับขอตกลงของ GATT ที่มีมาแตเดิม ซึ่งเกี่ยวของกับการจําหนายสินคา ตางๆ (Trade in Goods) ขอตกลงใหมทาง การคาที่เกี่ยวของกับการใหบริการ (New General Agreement on Trade in Services หรือ GATS) และขอตกลงในสวนที่ เกี่ยวของกับสินทรัพยทางปญญา (New Agreement Covering Intellectual Property Rights) ภารกิจสําคัญที่ wro หรือ GATT รับผิดชอบประกอบดวย ภารกิจ แรกไดแก กฎหรือระเบียบที่รัดกุมในการที่จะใชเปนแนวทางปฏิบัติของประเทศตางๆในการทา การคาระหวางกัน และทําใหบรรดาผูสงออกหรือนําเขาสินคาไดรับรูวากฎระเบียบของ บางประเทศ อาจเปนสิ่งที่ไมสามารถยอมรับไดในกฎหมายระหวางประเทศ (not Acceptable under International Laws) ภารกิจประการตอมาไดแกการเกี่ยวของกับ การสรางความเสมอภาคทาง การคาโลก (The Liberalization of world trade) ตาม จุดมุงหมายเดิมของ GATT ที่จะขจัด อุปสรรคทางการคา (Trade barrier) ที่เกิดขึ้น เปาหมายสําคัญไดแกการขจัดการกีดกันทางการคา 02_01-340_.indd 42 17/10/2562 8:33:56


43 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation (Discrimination) โดยมีเปาหมาย ใหบรรดาประเทศตางๆปรับกฎหมายหรือระเบียบตางๆทางการคา ของตนเชนภาษีศุลกากรใหมีความเสมอภาคในการที่จะดําเนินการคาขายระหวางประเทศตางๆ ๔. ประชาคมยุโรป (The European Union) ในระยะแรกของการรวมกลุมใชชื่อ The European Community หรือ The European Economic Community ในชวง กอนป ค.ศ. ๒๐๐๔ ประกอบดวยประเทศ เบลเยียม เดนมารก เยอรมัน กรีซ สเปน ฝรั่งเศส ไอรแลนด อิตาลี ลัก ซเซมเบอรกเนเธอแลนด ออสเตรีย โปรตุเกส ฟนแลนด และสหราชอาณาจักร และในป ค.ศ. ๒๐๐๔ ไดมีประเทศในกลุมยุโรปตะวันออกมาเขา รวมดวยอีกไดแก สาธารณรัฐเช็ค เอสโทเนีย ไซปรัส แล็ต เวีย ลิทัวเนีย ฮังการี มอลตา โปแลนด สโลวาเนีย สโลวาเกีย และประเทศที่กําลังอยูในกระบวนการ พิจารณารับเขา เปนสมาชิกไดแก บัลแกเรีย โครเอเทีย โรมาเนีย และตุรกี เปาหมายคือการขจัด อุปสรรคทางการคา ตลอดจนสงเสริมการเคลื่อนยายทุน แรงงานและทรัพยากร เพื่อให เกิดความเปน อันหนึ่งอันเดียวในหมูประเทศสมาชิก เพื่อใหกลไกทางเศรษฐกิจเปนไป ไดอยางเสรี ทําใหเปนกลุมที่มี ความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจและการคา เนื่องจากกลุม ดังกลาวมีประชากรมากและมีการบริโภค สินคาและบริการเปนอันดับสองรองจาก สหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ EU ยังนําเงินตราสกุลหลักของ กลุม (The European Currency Unit หรือ ECU) ออกใช และเปนเงินตราที่มีรากฐานทางเศรษฐกิจ ของประเทศในกลุมซึ่งมีอัตราสวนสําคัญในปริมาณการคาระหวางประเทศใกลเคียงกับ สหรัฐอเมริกา ทําใหบางประเทศลดความสําคัญกับเงินตราสกุลดอลลารสหรัฐ โดยหัน มาใชเงินตราสกุลยูโรแทน สิ่ง เหลานี้ยอมมีผลทั้งทางตรงและทางออมตอบริษัทที่ เกี่ยวของกับการคาระหวางประเทศทั้งสิ้น ตอมา กรีซซึ่งเปนหนึ่งในประเทศสมาชิกเกิด วิกฤติการทางการเงินขึ้น เนื่องจากประสบปญหาหนี้สินและ การขาดวินัยทางการเงิน การคลัง ทําใหประเทศในกลุมตองเขาชวย แตก็ทําใหมีแนวคิดที่จะใหกรีซ ออกจากการ เปนประเทศสมาชิก ใน ค.ศ. ๒๐๑๖ อังกฤษไดลงประชามติที่จะออกจากการเปน สมาชิก สหภาพยุโรป เนื่องจากปญหาการยายเขามาตั้งถิ่นฐานของประชาชนประเทศอื่นสงผลกระทบ ตอทั้งคาเงินปอนดและเงินยูโร แตก็เปนเพียงชวงหนึ่ง ๕. เขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North America Free Trade Area, NAFTA) ประกอบดวยประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดาและเม็กซิโก มีจุดประสงคขจัดอุปสรรค ทางภาษี ศุลกากร (Tariffs) ที่มีระหวางประเทศทั้งสาม แตสิ่งที่ทําใหกลุมมีบทบาท สําคัญตอโลก เนื่องจาก สหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวก็เปนประเทศที่มีการสงออก และนําเขารายใหญที่สุดของโลก ประการสําคัญคือประชาชนอเมริกันมีศักยภาพในการ ซื้อสูงมาก กวาประเทศใดๆในโลก ทั้งยังมี พลเมืองมากกวา ๓๐๐ ลานคน ทําใหเปน แหลงใหญในการจําหนายสินคาทั้งจากบริษัทของอเมริกัน เองและจากทั่วทุกมุมโลก การรวมกลุมทางการคาระหวางสหรัฐอเมริกากับเม็กซิโกจึงเปนที่สนใจจาก ประเทศคู คาอื่นๆทั่วโลก สําหรับผลกระทบตอประเทศไทยนั้น เม็กซิโกเปนประเทศในกลุม NAFTA 02_01-340_.indd 43 17/10/2562 8:33:57


44 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ซึ่งมีลักษณะคลายประเทศไทย และอาศัยความไดเปรียบจากคาแรงงานใน การดึงดูดการลงทุน การ รวมกลุมดังกลาวทําใหเม็กซิโกมีความไดเปรียบและชวงชิง ตลาดการคากับสหรัฐอเมริกาซึ่งเปนตลาด ที่สําคัญของประเทศไทยไปไดและปริมาณ การบริโภคและผลิตของสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวก็ มากกวาหลายๆประเทศใน โลกรวมกัน จากขอมูลดังกลาวทําใหเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือมีบทบาท ตอธุรกิจ การคาระหวางประเทศ นอกจากนี้แลวปจจัยสําคัญอีกชนิดหนึ่งไดแกบริษัทขามชาติที่ มี บทบาทตอการคาโลกจํานวนมากเปนบริษัทของอเมริกา ดังนั้นในการศึกษาในเรื่องที่ เกี่ยวกับการคาระหวางประเทศจึงตองเกี่ยวพันกับเขตเศรษฐกิจดังกลาว ๖. สมาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian, ASEAN) จัดตั้งขึ้นในป ๑๙๖๗ ประกอบดวย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและประเทศไทย ในระยะแรก สมาคมอาเซียนมีกิจกรรมที่เกี่ยวกับความรวมมือทางทหาร เนื่องจากการ คุกคามของกลุมประเทศ คอมมิวนิสต ในปจจุบันการคุกคามดังกลาวไดหมดสิ้นลง ทํา ใหกลุมประเทศในสมาคมอาเซียนถูกจับ ตามองจากประเทศอุตสาหกรรมและบริษัท ขามชาติ เนื่องจากเปนเขตที่มีศักยภาพที่เปนไดทั้งผูผลิต และผูบริโภค เพราะประเทศ ในกลุมมีประชากรรวมกันถึงประมาณ ๓๓๐ ลานคน และมีพัฒนาการ ทางเศรษฐกิจสูง ทั้งยังสามารถเปนศูนยกลางการคมนาคม การขนสงและแมกระทั้งศูนยกลางทาง การเงินไดอีกดวย การใหความสําคัญกับการเสริมสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจ รวมกันทําใหเกิด เปน เขตการคาเสรีอาเซียน (Asian Free Trade Area, AFTA) เปนโครงการที่เริ่มในสมัยนาย อานันท ปนยารชุนเปนนายกรัฐมนตรี เริ่มอยาง เปนทางการในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ ๔ วันที่ ๑๘ มกราคมพ.ศ. ๒๕๓๕ มี วัตถุประสงคที่จะสงเสริมใหเกิดการคาเสรีในกลุมประเทศอาเซียน โดยมิใหภาษีเปน อุปสรรคตอการคาระหวางกัน สงผลใหเกิดการขยายการลงทุนในภูมิภาคทั้งจากการ ลงทุนภายในกลุมและการลงทุนจากนอกภูมิภาค มีเปาหมายลดภาษีศุลกากรให ครอบคลมสินคาทุก ประเภทยกเวนสินคาเกษตร โดยที่ประเทศในกลุมอาเซียนมี บทบาทสําคัญทางเศรษฐกิจและมี ศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองทางเศรษฐกิจ เขตการคา เสรีดังกลาวจึงมีความสําคัญ แมประเทศในกลุม ดังกลาวประสบปญหาทางเศรษฐกิจ และการเมืองในบางครั้ง ตอมาที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ ๘ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดเห็นพองกันในการที่จะผลักดันไปสูการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ใน การประชุมที่ประเทศ อินโดนีเซีย ไดออกแถลงการณ Bali Concord | เพื่อเรงรัดใหการ รวมกลุมเปดเสรีสินคา ๑๑ สาขา ไดแก ทองเที่ยว ยานยนต การบิน สิ่งทอ ผลิตภัณฑ ยาง ผลิตภัณฑไม อิเลคทรอนิคส สินคาเกษตร ประมงเทคโนโลยีสารสนเทศ และ สุขภาพ โดยมีเปาหมายใหเปนตลาดและฐานการผลิตรวมกัน (single market and production base) ทําใหสามารถเคลื่อนยายกระบวนการผลิตไดเสรี โดยที่ ประชุมได แบงความรับผิดชอบผูประสานงานหลัก (country Coordinators) ไทย สาขาการ 02_01-340_.indd 44 17/10/2562 8:33:58


45 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ทองเที่ยว และสาขาการบิน พมาสาขาผลิตภัณฑเกษตร และประมง มาเลเซียสาขา ผลิตภัณฑยาง และสาขาสิ่งทอ อินโดนีเซีย สาขายานยนตและสาขาผลิตภัณฑไม สิงคโปรสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ ฟลิปปนสสาขาอิเลคทรอนิคส๑๙ซึ่งกลุมนี้มีผลใหประเทศไทยตองพัฒนาบุคลากร ดานบริหารเพื่อรองรับการบริหารในยุคของการเปลี่ยนแปลงนี้ ๗. กลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟค (Asia-Pacific Economic Cooperation APEC) เปนกลุมทางเศรษฐกิจในทวีปเอเชียและกลุม ประเทศบางประเทศ ที่มีชายฝงติดมหาสมุทรแปซิฟค เกิดขึ้นในค.ศ. ๑๙๘๙ ปจจุบันเปน กลุมทางเศรษฐกิจที่มีบทบาท สําคัญมากที่สุดกลุมหนึ่งของโลก เนื่องจากมีสมาชิกที่มี บทบาทสําคัญทางเศรษฐกิจโลกรวมอยูดวย ไดแก สหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ความสําคัญประการหนึ่งไดแก จากจํานวนสมาชิก ทั้งหมด ๒๑ ประเทศ ทําใหมีประชากรถึง ๒,๖๐๐ ลานคน นับเปนหนึ่งในสามของประชากรโลก และ มีผลผลิต มวลรวมของทุกประเทศรวมกันเทากับ ๑๙,๒๕๔ พันลานดอลลารสหรัฐ คิดเปนรอยละ ๕๐ ของผลผลิตมวลของโลก๒๐ ปจจุบันสมาชิกทั้งหมดประกอบดวย ออสเตรเลีย บรูไน แคนาดา ชิลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีนและฮองกง อินโดนีเซีย ญี่ปุน เกาหลีใต มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด ปาปวนิวกินี เปรู ฟลิปนส สาธารณรัฐ รัสเซีย สิงคโปร ไตหวัน ไทย สหรัฐอเมริกาและ เวียตนาม นอกจากกลุมหรือสมาคมดังกลาวแลวยังมีการรวมกลุมทางการคาระหวางประเทศอื่นที่มี บทบาทในภูมิภาคตางๆของโลก ซึ่งจะมีบทบาทในเรื่องกิจกรรมทางการคาและทําใหเกิดเขต เศรษฐกิจเฉพาะ (Economics Block) หรือเขตการคาเสรี (Free Trade Area) ขึ้น ธุรกิจขามชาติที่มี ขนาดใหญจึงตองติดตามทิศทางการเคลื่อนไหวของหนวยงานเหลานี้ เพราะมีผลโดยตรงตอการ ดําเนินธุรกิจของบริษัทขามชาติ เนื่องจากธุรกิจขามชาติมักมีขนาดใหญตองการผูบริโภคจํานวน มหาศาลมารองรับสินคาหรือบริการที่ผลิตขึ้น บริษัทขามชาติจึงตองแสวงหาตลาดจากทุกมุมโลกซึ่ง ทําใหตองไปเกี่ยวของกับเขตเศรษฐกิจและองคการระหวางประเทศตางๆดังไดกลาวมาแลว ๒.๑๖ ทิศทางในอนาคตของสภาพแวดลอมระหวางประเทศ การเปลี่ยนแปลงของสถานการณทางการเมืองในโลกโดยรวม ผนวกกับการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นในทุกภูมิภาคของโลก แมในบางภูมิภาคจะประสบปญหาทางการเงิน ๑๙ http://www.mfa.go.th & http://www.moc.go.th ๒๐ http://www.apecsec.org.sg/apec/about_apec.html 02_01-340_.indd 45 17/10/2562 8:33:59


46 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ จากประเทศในกลุมเชนกรณีกลุมสหภาพยุโรปก็ตาม แตโดยรวมแลวการรวมกลุมก็ยังดําเนินตอไป เรื่อยๆ ในขณะที่พัฒนาการของประเทศในกลุมตลาดเกิดใหมเปนไปอยางรวดเร็ว จากประเทศ เกษตรกรรมกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมและขยายธุรกิจบริการ กอใหเกิดการพัฒนาการทาง เศรษฐกิจอยางรวดเร็ว รวมกับพัฒนาการของเทคโนโลยีตางๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสาร ทําให โลกปจจุบันตอเนื่องไปในอนาคตมีลักษณะที่จะเปลี่ยนแปลงไปดังนี้ ๑. การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคม เปนสาเหตุของ การเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานของทุกประเทศในโลก สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทุกดาน เปนไปอยาง รวดเร็ว และทําใหวงจรชีวิตของผลิตภัณฑเปลี่ยนแปลงไปเร็วดวย รวมทั้ง เทคโนโลยีทันสมัยแตอาจมี ชวงชีวิตที่สั้นมาก ผูบริหารยุคปจจุบันจึงตองมีศักยภาพในการ ปรับเปลี่ยนตามเทคโนโลยีอยาง ตอเนื่อง เพราะเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหมๆจะเปนแรงกดดันใหทุกกิจการตองปรับเปลี่ยนอยางหลีกเลี่ยง ไมได ๒. การขยายเขตความรวมมือทางเศรษฐกิจ เขตความรวมมือทางเศรษฐกิจในทุกระดับลวน มีผลตอการขยายตลาดการคาและการลงทุนทั้งสิ้น ดังนั้นไมวาการรวมกลุมจะ กอใหเกิดผลกระทบ ทางลบอยางไร แตก็เปนผลระยะสั้นเทานั้น ซึ่งในที่สุดประเทศตางๆ ก็ จะหาทางที่จะรวมกลุมทาง เศรษฐกิจตอกัน เพราะเปนการเพิ่มตลาด เพิ่มโอกาสทางการขยายการลงทุน และลดตนทุนในการใช ทรัพยากรตางๆ ๓. การเปลี่ยนทิศของมหาอํานาจทางเศรษฐกิจ ในชวงทรรศวรรษที่ผานมาสหรัฐอเมริกา ไดรับการยอมรับวาเปนมหาอํานาจทางเศรษฐกิจและกําลังรบที่มีศักยภาพสูง ที่สุดในโลก ในขณะที่ รัสเซียมีกองทัพที่แข็งแกรง แตในปจจุบันจีนไดพัฒนาอยางตอเนื่อง และอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหมี เศรษฐกิจที่แข็งแกรงและมีอํานาจตอรองสูงมาก การที่มี ประชากรจํานวนมากที่สุดในโลกผนวกกับ ประสิทธิภาพในการพัฒนาภายใตอํานาจของ พรรคคอมมิวนิสต ทําใหจีนจะมีเศรษฐกิจที่ใหญกวา สหรัฐในอนาคตอันใกล และยังมี กองทัพที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเปน มหาอํานาจในโลกทั้งทาง เศรษฐกิจและกําลังทหาร และลดบทบาทของสหรัฐลงหรืออาจเปน กลายเปนปญหาการแขงขันทางการเมือง เศรษฐกิจและการทหารกับสหรัฐและกลุมประเทศที่อยูขาง สหรัฐ ๔. การปรับตัวของประเทศตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศในตลาดเกิดใหม ทุกประเทศในโลกตางไดรับผลพลอยไดจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีและการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ จากบางประเทศที่มีบทบาทสําคัญ ทําใหทุกประเทศที่เขาเกี่ยวของเชื่อมโยงกับ เศรษฐกิจและการคา โลก จะตองมีการเปลี่ยนแปลงทั้งวัฒนธรรม ชีวิตความเปนอยู เศรษฐกิจ ใหเปนไปในแนวทางเดียวกับ 02_01-340_.indd 46 17/10/2562 8:33:59


47 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ที่ปรากฏในโลก ทําใหประเทศกําลังพัฒนามีการปลี่ยนแปลงไปสูการขยายตลาด มีพัฒนาการดาน ตางๆ สอดคลองกับประเทศที่พัฒนาแลว เพียงแตจะใชเวลาแตกตางกันไปในแตละประเทศเทานั้น สรุปแลวการเปนผูบริหารกิจการที่ดําเนินงานระหวางประเทศหรือกิจการขามชาตินั้น จําเปนตองเขาใจธรรมชาติของความแตกตางระหวางประเทศตางๆ ซึ่งมีพื้นฐานทั้งทางดาน กายภาพ เชนสภาพแวดลอมที่ปรากฏใหเห็น และสภาพแวดลอมทางสังคมที่เกี่ยวของกับ วัฒนธรรมประเพณี และการปฏิสัมพันธทางสังคมตอกันระหวางบุคคล 02_01-340_.indd 47 17/10/2562 8:34:00


48 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๒๔ เอกสารอางอิงประจําบท Allon, L. Herbert, T. H (๒๐๐๙). A stranger in a strange land: Micro political risk and the multinational firm. Business Horizons. ๕๒, . ๑๒๗-๑๓๗. Holt,D. H., & Wigginton, D.W. (๒๐๐๒) International Management (๒ ed.) Ohio: Thomson Liu,C. Sun, X., Chen, J., & LI, J. (๒๐๑๖). Statistical properties of country risk ratings under oil price volatilitynEvidence from selected oil-exporting countries. Energy Policy, ๙๒, ๒๓๔-๒๔๕. Aboura, S., & Chevallier, J. (๒๐๑๕). A cross-volatility index for hedging the country risk. Journal of International Financial Markets, Institutions and Money, ๓๘,๒๕- ๔๑. Daniels, D. J., Radebaugh, H.L., & Sullivan, P.D. (๒๐๐๙). International Business: Environment and Operations (๑๒" ed.) New Jersey: Peason. Uddin, M. H. (๒๐๑๖). Effect of government share ownership on corporate risk taking: Case of the United Arab Emirates. Research in International Business and Finance, ๓๖, ๓๒๒-๓๓๙. Lee, C.-C., Hsieh, M.-F., & Yang, S.-J. (๒๐๑๖). The effects of foreign ownership on competition in the banking industry: The key role of financial reforms. Japan and the World Economy, ๓๗-๓๘, ๒๗-๔๖. Huang, Y. S., & Wang, Y. (๒๐๑๓). Asset price, risk transfer and economic activities: Firm-level evidence fromChina. The North American Journal of Economics and Finance, ๒๖, ๖๖๓-๖๗๖. Busse, M. & Hefeker, C. (๒๐๐๗). Political risk, institutions and foreign direct investment. European Journal of Political Economy. ๒๓, ๓๙๗-๔๑๕ Barkauskas, V., Barkauskiene, K., & Jasinskas, E. (๒๐๑๕). Analysis of Macro Environmental Factors Influencing the Development of Rural Tourism: Lithuanian Case. Procedia - Social and Behavioral Sciences, ๒๑๓, ๑๖๗-๑๗๒. 02_01-340_.indd 48 17/10/2562 8:34:01


49 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/xx.html Tate, W. L., Ellram, L. M., & Gölgeci, I. (๒๐๑๓). Diffusion of environmental business practices: A network approach. Journal of Purchasing and Supply Management, ๑๙(๔), ๒๖๔-๒๗๕. Taylor, C. M., Pollard, S. J. T., Rocks, S.A., & Angus, A. J. (๒๐๑๕). Better by design: Business preferences for environmental regulatory reform. Science of The Total Environment, ๕๑๒-๕๑๓, ๒๘๗-๒๙๕. Rajala, R., Westerlund, M., & Lampikoski, T. (๒๐๑๖). Environmental sustainability in industrial manufacturing: re-examining the greening of Interface's business model. Journal of Cleaner Production,๑๑๕, ๕๒-๖๑ Jacobs, L., Samli, A.C., & Jedlik, T. (๒๐๐๑). The Nightmare of International Product Piracy: Exploring Defensive Strategies, Industrial Marketing Management, ๓๐(๖), ๔๙๙-๕๐๙. Bader, B., Berg, N., & Holtbrügge, D. (๒๐๑๕). Expatriate performand in Terrorism- Endangered Countries: The role of family and organizational support. International Business Review. ๒๔(๕) ๘๔๙-๘๖๐ Bader, B., & Schuster, T. (๒๐๑๕). Expatriate Social Networks in Terrorism- Endangered Countries: An Empirical Analysis in Afghanistan, India, Pakistan,and Saudi Arabia. Journal of International Management, ๒๑(๑), ๖๓-๗๗. http://www.mfa.go.th & http://www.moc.go.th http://www.apecsec.org.sg/apec/about_apec.html 02_01-340_.indd 49 17/10/2562 8:34:02


๒๕ ๕ บทที่ ๓ โครงสรางระบบการเมืองระหวางประเทศ ๓.๑ ความนํา การศึกษาโครงสรางการเมืองระหวางประเทศ (International Politics) มี สภาพเหมือนและ แตกตางกับการเมืองภายในประเทศที่มีสภาพเหมือนกัน คือ การเมืองระหวางประเทศมีลักษณะเปน การตอสูระหวางประเทศตาง ๆ ซึ่งมีจุดประสงคจะจูงใจหรือบังคับใหอีกฝายหนึ่งยอมตามที่ตองการ สวนที่แตกตางกับการเมืองในประเทศคือการเมืองระหวางประเทศ เปนการตอสูแขงขันที่ไมมี กฎเกณฑตายตัววามีวิธีการอะไรที่นํามาปฏิบัติไมได และยังไมมีผูตัดสินขาดองคการกลางที่จะ ลงโทษ ประเทศที่ละเมิดกฎเกณฑบางอยางที่ยอมรับกันดังนั้นประเทศตาง ๆ จึงมักจะใชวิธีการทุกอยางที่จะ ใหประโยชนแกตน โดยไมคํานึงถึงศีลธรรมแตละประเทศ จึงพยายามแขงขันกันเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจ ของชาติตน โครงสรางทางการเมืองระหวางประเทศ เปนสวนประกอบที่รัฐบาลของประเทศหนึ่งหรือ หลายประเทศ เชน โครงสรางทางการเมืองสังคมวัฒนธรรมและ เศรษฐกิจของประเทศใชในการโนม นาวชักจูงหรือใชอํานาจบีบบังคับใหรัฐบาลของอีกประเทศหนึ่ง หรือหลายประเทศปฏิบัติการ หรือ งดเวนปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใด ตามที่ตนตองการบุคคลที่มีหนาที่และรับผิดชอบในการใชศิลปะ ดังกลาว อาจเปนประมุขของประเทศ หัวหนารัฐบาล ตัวแทนทางการทูตหรือหนวยสืบราชการลับก็ได โครงสรางของการเมืองระหวางประเทศ เกี่ยวกับอํานาจของรัฐขึ้นอยูกับบทบาทระหวางประเทศของ ประเทศมหาอํานาจเปนหลักและพฤติกรรมระหวางประเทศของประเทศมหาอํานาจ ขึ้นอยูกับ ผลประโยชนแหงชาติ ของประเทศมหาอํานาจและ ลักษณะของขั้วอํานาจ เมื่อผลประโยชนของ ประเทศมหาอํานาจเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมระหวางประเทศ ของประเทศมหาอํานาจ ก็จะ เปลี่ยนแปลงไป และสงผลใหระบบดุลอํานาจระหวางประเทศเปลี่ยนแปลงไป จนเกิดความขัดแยง ระหวางประเทศ เชน การเมืองระบบประชาธิปไตย มุงเนนใหสิทธิเสรีภาพความเทาเทียมกัน ประชาชน ตามกฎหมายของรัฐ การเมืองแบบเผด็จการ จะมุงเนนการรวมศูนยอํานาจไวกับผูนํารัฐใน การบริหารประเทศ ตลอดถึงความรวมมือระหวางประเทศทางดานการเมือง ดานการเศรษฐกิจและ ดานสังคมวัฒนธรรมโดยการลงปญหาความขัดแยงระหวาง ประเทศแบบถวงดุลอํานาจ การตั้ง เงื่อนไข การค่ําบาตรทางเศรษฐกิจ งดการชวยเหลือดานเงินตราในการพัฒนาประเทศ การ ประนีประนอมเมื่อเกิดความขัดแยงระหวางประเทศคูกรณีตองปฏิบัติตนตามเงื่อนไขของศาลโลกที่ พิจารณาพิพากษา เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขระหวางประเทศดวยกัน 02_01-340_.indd 50 17/10/2562 8:34:03


51 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒๖ ๕ ๓.๒ โครงสรางการเมืองระหวางประเทศ โครงสรางการเมืองของโลกขณะนี้ มีการเปลี่ยนไปเปนอยางมาก เมื่อเทียบกับยุคสงครามเย็น หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ทันทีที่สงครามโลก ครั้งที่สองสิ้นสุดลงประเทศตาง ๆ ก็แบงคายแบงสังกัด ออกเปนฝายทันทีเนื่องจากในยุคนั้น ความขัดแยงและความแตกตางทางความคิดในเรื่องระบบ เศรษฐกิจ และการเมืองแตกตางกันอยางชัดเจน ระหวางคายสังคมนิยมคอมมิวนิสตกับคาย เศรษฐกิจ แบบเสรีรูปแบบความเชื่อในระบบเศรษฐกิจทําใหรูปแบบการเมืองการปกครองแตกตางกันออกไป สําหรับคายสังคมนิยมคอมมิวนิสต ที่มี สหภาพโซเวียตรัสเซีย เปนผูนําขณะเดียวกันก็มีประเทศใน แถบยุโรปตะวันออกเปนพันธมิตร โครงสรางการเมืองประเทศเสรีนิยม มีสหรัฐอเมริกาเปนผูนํามี พันธมิตร ที่สําคัญคือประเทศตาง ๆ ในทวีปยุโรปตะวันตกรวมทั้งแคนาดาออสเตรเลีย นิวซีแลนดและ มีประเทศตาง ๆ ทวีปอเมริกาใต ยกเวนคิวบา ซึ่งเปนประเทศ คอมมิวนิสตสังกัดคายสหภาพโซเวีย ตรัสเซีย ในขณะเดียวกันสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนจีน ซึ่งปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสตจีน กลับไมยอมอยูใน คายสหภาพโซเวียต แยกตัวออกมาเปนอิสระแตขณะเดียวกันก็เปนไมเบื่อไมเมากับ สหรัฐอเมริกา ๑. ความสัมพันธในเชิงความรวมมือการอยูรวมกันในสังคมโลก รัฐตาง ๆ ไดพยายาม แสวงหาวิธีการมาตรการและหลักปฏิบัติในการขจัดขอขัดแยง ไดแกกฎหมายระหวางประเทศและ สถาปนาองคการสากลเพื่อประสานความรวมมือ และแกไขขอพิพาทเชน องคการสหประชาชาติและ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ เปนตน ๒. ความสัมพันธในเชิงความขัดแยงความแตกตางของรัฐในดานขนาดของรัฐจํานวน ประชากรแสนยานุภาพทางทหารลวนเปนสาเหตุขั้นพื้นฐาน ที่จะกอใหเกิดขอพิพาทระหวางรัฐ หาก ไมสามารถประนีประนอมไดก็มักใชมาตรการ รุนแรง ไดแก การรวมตัวเปนพันธมิตรทางทหาร การ ขมขู การตัดความสัมพันธทางการทูต และการทําสงคราม ๓. ความสัมพันธแบบเปนทางการ หมายถึง พฤติกรรมของรัฐ ที่แสดงใหเห็นอยาง เปดเผยถึงเจตจํานงของตนตอสาธารณะ เชน การเปด - ปด สัมพันธทางการทูตการทําสนธิสัญญา และการประกาศสงคราม ซึ่งพฤติกรรมเหลานี้ รัฐแสดงออกอยางไมปดบัง ๔. ความสัมพันธแบบไมเปนทางการ หมายถึง พฤติกรรมของรัฐที่ไมแสดงออกอยาง เปดเผยตอสาธารณะมีเจตนาที่จะปดบังอําพรางรัฐตาง ๆ ดวยจุดมุงหมายที่จะแสวงหาความไดเปรียบ รักษาเกียรติภูมิและหลีกเลี่ยงกฎหมาย ระหวางประเทศ เชน การกอการรายระหวางประเทศ การสืบ 02_01-340_.indd 51 17/10/2562 8:34:04


52 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๒๗ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ราชการลับ การใหการสนับสนุนอยูเบื้องหลังกรณีสงครามตัวแทน (Proxy War) พฤติกรรมเหลานี้รัฐ จะ ดําเนินการอยางลับและไมเปนทางการ๑ ๓.๒.๑ ความสําคัญของการพัฒนาทางการเมือง องคประกอบอันเปน สาระสําคัญของ การพัฒนาทางการเมือง จากแนวคิดขางตนออกเปน ๕ ประการ๒ ดังนี้ ๑. ความเทาเทียมกัน (Equality) ซึ่งมีความหมายครอบคลุมทั้ง ความเทาเทียมกัน ทางกฎหมาย ความเทาเทียมกันในสิทธิทางการเมือง และความเทาเทียมกันที่ประชาชนจะไดรับจาก การใหบริการของรัฐ ทั้งทางบริการดานการศึกษา สาธารณสุข ตลอดจนสิ่งอํานวยประโยชนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีประสิทธิภาพ ๒. ความสามารถของระบบการเมือง (Capacity) หมายถึง ความสามารถที่ระบบ การเมืองจะตอบสนองความตองการของประชาชน ทั้งในทาง สังคม เศรษฐกิจและการเมือง โดยที่ ระบบการเมืองจะตองเปดรับการควบคุมกํากับ และตรวจสอบจากประชาชน เพื่อใหมั่นใจไดวาการ ตัดสินใจใดใดทางการเมือง จะเสริมสรางใหประชาชนมีความกินดีอยูดีโดยเสมอภาคกัน ๓. การแบงโครงสรางทางการเมืองใหมีความแตกตางและมีความ ชํานาญเฉพาะ ใน ประการนี้ สอดคลองกับทัศนะของ อัลมอนด และ เพาเวลส (Almond and Powek ๒๙๖๖, ๒๙๙ - ๓๐๐) ที่เห็นวาองคประกอบสําคัญดานหนึ่ง ของการพัฒนาการเมืองก็คือการแบงโครงสรางทาง การเมืองใหมีความแตกตางและมีความชํานาญเฉพาะ (Diferentiation and Spedalization) เพื่อให สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดตรงเฉพาะทาง สวนการจัดแบงโครงสราง ทาง การเมืองออกเปนฝายตาง ๆ เชน ฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหารและฝายตุลาการ เปนตน นั้นเปนไป เพื่อใหแตละฝายสามารถจัดหาบุคลากรมีความความชํานาญเฉพาะ ในการปฏิบัติงานตอบสนองความ ตองการของประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ ๔. การเสริมสรางวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุมีผล (Seculaization of Political Culture) โดยทั่วไปนั้น สังคมแบบดั้งเดิมที่ปกครอง แบบอํานาจนิยมมักจะปลูกฝงให ประชาชนยึดมั่นใจจารีตประเพณีอยางขาดเหตุผล ยึดถือเรื่องโชคลาง รวมไปถึงการปลูกฝงให ประชาชนเห็นวา ผูปกครองเปนผูที่มี บุญญาบารมี การพัฒนาทางการเมืองจึงเปนไปในทางมุงสงเสริม ๑ ความสําคัญระบบการเมืองระหวางประเทศ http://www.baanjomyut.com/library/global community/o๔.html สืบคนเมื่อ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๐ ๒ พิสิษฐกุล แกวงาม, มโนทัศนที่สําคัญในวิชาการพัฒนาการเมือง, (มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชา รัฐศาสตร วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม , ๒๕๕๓.) 02_01-340_.indd 52 17/10/2562 8:34:04


53 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒๘ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ใหประชาชนให เหตุผลในการดํารงชีวิตโดยเฉพาะความเปนเหตุเปนผลที่ประชาชนจะตองควบคุม กํากับและตรวจสอบการเมืองอยางใกลชิด อัลมอนด และเพาเวลล (Almond and Powell ๑๙๖๖, ๒๙๙ - ๓๐๐) กลาวไววา ลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเปนเหตุเปนผลนี้มักจะพบไดทั่วไป ในสังคมอุตสาหกรรม ๕. ความเปนอิสระของระบบยอย (Subsystem Autonomy) คือ ผลผลิตของการ กระจายอํานาจทางการเมือง เพื่อใหระบบยอยมีอํานาจในการพิจารณาปญหา สาเหตุความเดือดรอน และความตองการของประชาชน รวมไปถึงการกําหนดแนวทางในการที่จะแกไขปญหา หรือเสริมสราง ความสามารถในการตอบสนองความตองการของประชาชนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงสรางทางการเมืองเกิดจากการพัฒนาทางการเมืองที่เกิดขึ้น เปนอันถือไดวามีลักษณะที่ พัฒนาแลวนั้นจะคลองจองกับมาตรฐานของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นใน รัฐชาติยุคใหม กลาวคือ การพัฒนา ชาติเหลานี้สามารถที่จะปรับตัวและตํารงไวซึ่ง ความสงบเรียบรอยของสังคมไดในระดับหนึ่ง แถมยัง สรางลัทธิชาตินิยมอันถือไดวาเปนเงื่อนไขที่จําเปนตอการพัฒนาการเมือง ซึ่งจะนําไปสูความเปน อันหนึ่งอันเดียวกันในชาติ อีกนัยหนึ่ง การพัฒนาการเมืองในแงนี้ก็คือการสรางชาติ (Nationbuilding) นั่นเอง แนวคิดนี้หมายถึง การทําใหรัฐบาลมีอํานาจครอบคลุมทั้งประเทศประชาชนมี ประชาชนมีความสามัคคีเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยใชนโยบายชาตินิยมเห็น เครื่องมือสําคัญเพื่อให เกิดความเปนชาติอยางแทจริง ๓.๓ ทฤษฎีความสัมพันธระหวางประเทศ แนวคิดเกี่ยวกับการกําหนดนโยบายตางประเทศมีหลายแนวแตแนวคิดมีหลักการ เปนของ ตนเองสําหรับบุคคลที่สําคัญ มี มอรตัน เอ แคปแลน (Morton A Kaplan) เจมสเอ็น รอซนาว (Jarnes N Rosnau) จอรจ โมเด็ลสกี (George Modelski) สําหรับแนวความคิดของทั้งสามทานมี ผลสืบเนื่องมาจาการศึกษาเรื่อง ทฤษฎีระบบคือ หลักการวิเคราะหลวนเปนหลักการที่พัฒนามาจาก วิธีการศึกษาแบ ระนเพื่อประยุกตและนํามาอธิบาย ถึงกระบวนการกําหนดนโยบายตางประเทศ โดยทั่วไป สําหรับสาขารัฐศาสตรนั้น เดวิด อีสตัน (David Eastron) ไดนําทฤษฎีระบบการศึกษา เกี่ยวกับการเมืองจนสามารถพัฒนาเปนตัวแทนของระบบการเมืองขึ้นมาโดยเริ่มตนดวยตัวปจจัยน การกระทําที่เปนกระบวนการแปรรูป (Conversion Process) ผลที่ออกมาจากกระบวนการนี้เรียกวา (Outputs)ปจจัยผลิตผลอันไดแก นโยบายหรือการตัดสินใจของรัฐบายนโยบายนี้ถูกนําไปปฏิบัติจะ กอใหเกิดปฏิกิริยายอนกลับ (fectback) ไปสูปจจัยนําเขาอีกครั้งหนึ่ง 02_01-340_.indd 53 17/10/2562 8:34:05


54 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๒๙ ๕ อิสตัน เชื่อวาทฤษฎีระบบนี้สามารถนําไปใชไดกันการศึกษาการเมือง ภายในและการเมือง ระหวางประเทศ สวนแคปแลน รอซนาว และไมเด็นสกี ก็ไดนําทฤษฎีระบบมาใชศึกษากระบวนการ กําหนดนโยบายตางประเทศ ๓.๓.๑ ทฤษฎีระบบของแคปแสน (Carplan) มีความเห็นวาปจจัยหรือสภาพแวดลอมระหวางประเทศโดยเฉพาะประเทศ มหาอํานาจและองคกรระหวางประเทศตางๆ สวนแตมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายตางประเทศ ทฤษฎีระบบของแคปแลน มีหลักวา ระบบโลก ( global systerm) และระบบ ภูมิภาค (regional system) จะมีอิทธิพลตอระบบภายใน (internal system) ปจจัยแวดลอม ระหวางประเทศ มีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายที่ประเทศ ใหเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ ๓.๓.๒ ทฤษฎีความเกี่ยวพันของรอสนาว ( Rosnau) ชี้ใหเห็นวา ปจจัยที่เขาไปมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบาย ตางประเทศของแตละ ประเทศสวนใหญเปนความตองการหรือความจําเปนของสภาพ การเมืองในประเทศนั้นที่รัฐบาลเผชิญ อยูและจําเปนตองแกไขใหลุลวงไป ปจจัยภายในคือ ผูนํา กลุมผลประโยชนพรรคการเมือง มติมหาชน สื่อมวลชน สถานบัน การเมืองและเศรษฐกิจ ซึ่งมีอิทธิพลตอรัฐบาลโดยการเขาไปมีสวนรวมทางการ เมือง และอาจจะสามารถผลักดันใหรัฐบาลดําเนินนโยบายตาง ๆ ได นอกจากนี้ยังมีประเทศ มหาอํานาจ องคกรระหวางประเทศ และสถานการณตาง ๆ จะมีผลกระทบตอการ เปลี่ยนแปลง นโยบายตางประเทศทั้งทางตรงและทางออม ๓.๓.๓ ทฤษฎีปจจัยนําเขาและปจจัยผลิตผลของโมเด็ลสกี นโยบายตางประเทศเปนระบบกิจกรรมที่กระทําโดยชุมชนหนึ่ง ชุมชนใดเพื่อ ตองการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประเทศอื่น ๆ หรือเพื่อเปลี่ยนกิจกรรมภายในประเทศของตนให เหมาะสมกับสภาพแวดลอมระหวางประเทศเห็นวา มีกิจกรรม ๒ ชนิด ที่เกี่ยวของกับผูกําหนด นโยบายตางประเทศไดแสดงออกไปสูโลกภายนอก เพื่อปกปองผลประโยชนของรัฐใหมากที่สุดเทาที่ จะกระทําได เปาหมายหลักของการวิเคราะหนโยบายตางประเทศ จึงอยูที่การศึกษาถึงความพยายาม ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของรัฐอื่นใหสําเร็จ เพื่อประโยชนตอการดําเนินนโยบายตางประเทศ ใน เวทีการเมืองทั้งภายในและภายนอกถาหากปฏิบัติไมไดผูกําหนดนโยบายจะหันมาปรับกิจกรรม ภายในประเทศของตนใหเขากับสภาพแวดลอมระหวางประเทศ โดยปกติแลวทุกรัฐในโลกตางก็ พยายามปรับพฤติกรรมการแสดงออก ภายในประเทศของตน ใหเหมาะสมกับประชาคมนานาชาติ 02_01-340_.indd 54 17/10/2562 8:34:06


55 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓๐ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ทฤษฎีนําเขาและปจจัยผลิตผลของ โมเดล สกี จะเห็นวาเปนผลจากการเชื่อมโยงคุณสมบัติ ในองคประกอบของหนวยการแสดงซึ่งเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ๑. ผูกําหนดนโยบายตางประเทศ ๒. พลังอํานาจและพลังแสดงอํานาจของนโยบาย ๓. จุดมุงหมายแหงรัฐ ๔. หลักการของนโยบายตางประเทศ ๕ สภาพแวดลอมของนโยบายตางประเทศ ๓.๓.๔ ทฤษฎีที่นาสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. ลัทธิสัจนิยม (Realism) บางครั้งเรียกวาอํานาจการเมือง (Power Politic) สํานักความคิดลัทธิสัจนิยมมีอิทธิพลตอการศึกษาวิเคราะหการเมือง โลก และตอมาแนวความคิดของ ผูจัดทํานโยบายตางประเทศทฤษฎีนี้เห็นวา ตัวแสดงที่สําคัญคงเปนรัฐ และโดยธรรมชาติของมนุษย นั้นโดยความเปนจริงแลวเห็นแกตัวรัฐ จะคํานึงถึงแตเรื่องการเผยแผขยายอํานาจของตน มีเพียง ระบบดุลแหงอํานาจ (Balance of Power) เทานั้นที่จะปองกันสงคราม ๒. ลัทธิสัจนิยมใหม (Neo-Realism) มุงความสนใจไปสูลักษณะโครงสรางของ ระบบรัฐมากกวาที่จะเปนหนวยประกอบแนวความคิดเกี่ยวกับโครงสราง คือ การทําใหเปนระเบียบ หรือการจัดระเบียบสวนตาง ๆ ของระบบ จากงานเขียนของ K.N.Waltz เรื่องทฤษฎีการเมืองระหวาง ประเทศ พิมพในป ค.ศ.๑๙๗๙ Waltz ระบุวา โดยการวาดภาพระบบการเมืองระหวางประเทศ ทั้งหมด ในระดับ โครงสรางแนวความคิดเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ ซึ่งกําหนดขอบเขตที่นักศึกษา ทางดานการเมืองระหวางประเทศจะตองศึกษาและทําใหเขาสามารถมองเห็นวา โครงสรางของระบบ และความผันแปรในระบบมีผลตอหนวยที่มีปฏิสัมพันธระหวางกันอยางไร และผลลัพธที่โครงสรางของ ระบบและความผันแปรในระบบโครงสรางออกมาอยางไร โครงสรางระหวางประเทศเกิดจาก ปฏิสัมพันธระหวางรัฐและขณะเดียวกันก็วางขอจํากัดมิใหรัฐกระทําบางอยาง ขณะเดียวกันก็ผลักดัน ใหรัฐ กระทําการบางอยาง เพื่อประโยชนของชาติ ๓. พหุนิยม (Pluralism) มี ๒ ความหมาย คือ ความหมายที่ ๑ เปนแนวคิดที่ ตอตานเกี่ยวกับอํานาจรวมศูนยอยูที่รัฐ และความหมายที่ ๒ คือ การแบงปนอํานาจระหวางพรรคตาง ๆ ฉะนั้น ทฤษฎีพหุนิยม จึงเปนทฤษฎีที่นํามาใชกับการเมืองระหวางประเทศและการเมืองภายใน 02_01-340_.indd 55 17/10/2562 8:34:07


56 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๓๑ ๕ ๔. สหพันธรัฐนิยม (Federalism) คําวา Federalism มี ๒ ความหมาย ความหมายที่ ๑ หมายถึง ระบบการปกครองที่มีการแบงอํานาจระหวางรัฐบาลกลางกับรัฐที่เปน สมาชิกขอสหพันธรัฐ เชน การปกครองของสหรัฐอเมริกา ความหมายที่ ๒ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับ หนทางที่จะนําไปสูความสําเร็จในการรวมตัว เปนอันหนึ่งอันเดียวกันระหวางรัฐอธิปไตยตาง ๆ ในการเมืองโลกปจจุบันสนามทดสอบแนวคิดสหพันธรัฐนิยมในฐานะวิถีทางไปสูความเปน อันหนึ่งอันเดียวกัน คือ ยุโรปตะวันตก หลังจากป ค.ศ. ๑๙๔๕ ยุโรปตะวันตกมีความเห็นวา ประสบการณทางประวัติศาสตรที่ผานมา สอนใหเห็นถึงความจําเปนจะตองวางแผนใหมุงสูความอยู เหนือขอบเขตของชาติ ในอนาคต โดยเฉพาะอยางยิ่งในการกอตั้งประชาคมยุโรป ๓.๓.๕ ทฤษฎีระบอบ (Regime theory) Regime theory คือ กรอบของกฎเกณฑ ความคาดหวังและสิทธิประโยชน ระหวางตัวแสดงตาง ๆ ในการเมืองโลก กรอบโครงสรางนี้ขึ้นอยูกับการยอมรับความจําเปนรวมกันที่ จะสถาปนาความรวมมือกันอันมีพื้นฐานอยูบนหลักการตางตอบแทนนักวิเคราะหระบอบจะสํารวจ ตรวจสอบระบอบใน ๓ ประเด็น ๑. ระบอบสรางขึ้นมาอยางไร ๒. ตัวแสดงที่เปนสถานบันทําอยางไร จึงจะสามารถรักษาระบอบไวได ๓. ในระยะยาวระบอบจะถูกเปลี่ยนแปลงหรือถูกละทิ้งไปอยางไร การวิเคราะห ระบอบเชื่อวาความรวมมือและการประสานนโยบายนั้นเปนสิ่งที่สามารถกระทําได ๓.๓.๖ ลัทธิทุนนิยม (Capitalism) ลัทธิทุนนิยม มาจากแนวความคิดของ อาดัม สมิธ (Adam Smith) ชาวสก็อต ย้ําวา ความมั่งคั่งของชาติมิใชเกิดจากการสะสมทองคําไวในพระคลัง แต เกิดจากความสามารถในการผลิต ของชาติ เขาไดเนนถึงหลักการเสรีภาพในการผลิต โดยไดเรียกรองใหรัฐบาลไมเขามาในการดําเนิน นโยบายเศรษฐกิจ และไมควรเขาไปเกี่ยวของ แตใหสนับสนุนการแขงขันระหวางเอกซน การแขงขัน ถือวาเปนจักรกลของ ระบบทุนนิยม นักคิดที่สําคัญคนตอมาคือ เฮอรเบิรต สเปนเซอร (Herbert Spencer) ซึ่งไดนําเอาทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติมาประยุกตเปนแนวคิดวาดวยการพัฒนา สังคม สเปนเซอร กลาววา ผูที่เขมแข็งที่สุดเทานั้นที่จะอยูรอด 02_01-340_.indd 56 17/10/2562 8:34:08


57 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓๒ ๕ ๓.๓.๗ แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศวาดวยการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แนวความคิดเกี่ยวกับการพึ่งพาอาศัยกัน (Interdependence) เปนที่ยอมรับกัน อยางกวางขวางในทศวรรษ ๑๙๗๐ มีนักเขียนหลายทานยอมรับวา การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ลักษณะของความสัมพันธที่มีอายุยาวนานที่สุดของระบบ คือ ระบบพันธมิตร กิจกรรมการหา พันธมิตร การสรางระบบสัมพันธมิตร เปนเครื่องหมายแหงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ในศตวรรษที่ ๒๐ใหความสําคัญในการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ในประเด็นการทหารและความมั่นคง ระบอบความ มั่นคง รวมกันไดกระตุนใหมีการแสวงหาพันธมิตรยิ่งขึ้น ปจจุบันแนวคิดนี้ไดเนนความสําคัญ คือ ประเด็นทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวของกับความมั่นคงและสวัสดิการ การพึ่งพาอาศัยซึ่ง กันและกันจะ เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเมื่อสังคมเปนสังคมอุตสาหกรรมและมีความทันสมัย วิถีทางตลาดก็เปนสิ่งจําเปน ระบบการคาถือวาเปนรูปแบบตัวอยางของกระบวนการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ หลักเกณฑสําคัญที่ใชในการศึกษาความสําคัญของความสัมพันธ ระหวางประเทศรัฐเปนผู กําหนดนโยบายซึ่งสงผลตอการดําเนินชีวิตของประชากร การที่จะทําใหประชากรมีชีวิตที่ดียอมขึ้นอยู กับความสามารถของรัฐบาลที่จะดําเนินการแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ในกรณีที่เกิดปญหาความ วุนวายขึ้นในสังคม รัฐบาลบางรัฐบาลอาจจะใชวิธีการแกไขปญหาที่รุนแรง อาจสงผลกระทบ ทั้ง ทางดาน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ควรใชวิธีการประนีประนอม ในการแกไขปญหา ปจจุบันความสัมพันธระหวางประเทศไดรับความสนใจในหลายประเทศ สหรัฐอเมริกามี การศึกษาอยางกวางขวาง แตเปนเรื่องยากที่จะทําความ เขาใจหรืออธิบายโดยใหคําตอบในปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะเกี่ยวกับกิจการ ระหวางประเทศการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ เสมือนกับการศึกษาสังคม โลก ที่มีการเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและเพิ่มความสับสน มากขึ้นใน ปจจุบันมีบางสํานักใชแนวทางศึกษาโดยยึดหลักความคิดของนักภูมิศาสตร ประวัติ ศาสตร มนุษยศาสตร สังคมศาสตร ประเพณี อํานาจทางทหารและจิตวิทยาศึกษาความสัมพันธระหวาง ประเทศ ในลักษณะของพฤติกรรมของรัฐ กลไกการปกครองของรัฐ เปาหมายของรัฐ รวมทั้งศึกษา นโยบายของตางประเทศ และหนวยงานที่รับผิดชอบในการดําเนินนโยบายของรัฐ การศึกษาวิชาความสัมพันธระหวางประเทศนั้น อาจจะใชหลักการ และวิธีอื่น ๆ อีกหมาย ประการ ในระยะหลังไดมีผูพยายามใชทฤษฎีที่เปนระบบ ที่มีลักษณะเปนวิทยาศาสตร นอกจากนั้น ไดกําหนดขอบเขตและรากฐานการวัด และการตีความกิจกรรมระหวางประเทศ เพื่อวาจะสามารถ คาดคะเนพฤติกรรมของ ประเทศตาง ๆ ไดอยางชัดเจนและถูกตอง ความขัดแยงของโลกปจจุบันมีผล 02_01-340_.indd 57 17/10/2562 8:34:09


58 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๓๓ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ โดยตรงตอมนุษยชาติทั้งปวง ซึ่งทําใหวิชาการเมืองระหวางประเทศหรือความสัมพันธระหวาง ประเทศเปนที่สนใจในหมูชนชาติตาง ๆ๓ ๓.๔ อํานาจรัฐระหวางประเทศ การใชอํานาจระหวางรัฐ (Power) ทางการเมืองระหวางประเทศมีสภาพ เหมือนและแตกตาง กับการเมืองภายในประเทศ ที่มีสภาพเหมือนกันคือ การเมือง ระหวางประเทศมีลักษณะเปนการตอสู ระหวางประเทศตาง ๆ ซึ่งมีจุดประสงคจะจูงใจหรือบังคับใหอีกฝายหนึ่งยอมตามที่ตองการ สวนที่ แตกตางกับการเมือง ในประเทศ คือการเมืองระหวางประเทศเปนการตอสูแขงขันที่ไมมีกฎเกณฑ ตายตัว วามีวิธีการอะไรที่นํามาปฏิบัติไมได และยังไมมีผูตัดสินชี้ขาด องคการกลางที่จะลงโทษ ประเทศที่ละเมิดกฏเกณฑบางอยางที่ยอมรับกัน ดังนั้น ประเทศตาง ๆ จึงมักจะใชวิธีการทุกอยางที่จะใหประโยชนแกตน โดยไมคํานึงถึง ศีลธรรม แตละประเทศจึงพยายามแขงขันกัน เพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจ ของชาติตน เชน กรณีอเมริกาใช อํานาจกับอิหรานเพื่อบีบบังคับใหอิหรานยุติโครงการ นิวเคลียร “อํานาจ” (Power) คือ ความสามารถหรือขีดความสามารถหรือปริมาณ ความสามารถของผูแสดงบทบาทระหวางประเทศซึ่ง ผูแสดงบทบาทระหวางประเทศ (International Actors) มีทั้งที่เปนรัฐและที่ไมใชรัฐ ไดแก องคการ ระหวางประเทศ เปนตน ในการทําใหผูแสดงบทบาทอื่นกระทําในสิ่งที่ตนตองการใหกระทํา หรือละ เวน กระทําในสิ่งที่ตนเองไมตองการใหกระทํา โดยใชวิธีการ ๒ วิธี คือ ๑. ใชวิธีการรุนแรง เชน ใชการบังคับ ขมขู การคุกคามทางทหาร การแขงขัน สงคราม ๒. ใชวิธีการไมรุนแรง เชน โนมนาว จูงใจ ใหรางวัล การใหสิ่งตอบ แทนการ แลกเปลี่ยนผลประโยชน การใหความชวยเหลือตางประเทศ เปนตน กรณีที่อเมริกาจะเกิดอํานาจขึ้นมาไดนั้น อเมริกาจะใชความสามารถของ ตนเอง เชน กรณี สงครามอิรักนั้น อเมริกาใชวิธีการแบบรุนแรงที่จะทําใหอิรักปฏิบัติ ตามความตองการของอเมริกา นั่น คือ ตองการเปลี่ยนระบอบการปกครองจากระบอบ การปกครองเผด็จการของซัดดัมฮุสเซน ไปสูการ ปกครองแบบประชาธิปไตยใชอํานาจ ทางทหารบังคับยุติโครงการนิวเคลียร อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ นอกจากนี้อเมริกายัง ตองการใหอิรักยุติการสงเสริมการชวยเหลือการสนับสนุนการกอการราย ๓ ทฤษฎีที่นาสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศ https://www.gotoknow.org/posts/ ๑๗๙๕๕๓. สืบคนเมื่อ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 58 17/10/2562 8:34:09


59 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓๔ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ โดยเฉพาะ อยางยิ่งขบวนการกอวินาศกรรม เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๔ (ตึกเวิรดเทรด เซ็น เตอร) ในประเทศสหรัฐอเมริกา เปนตน หลังจากเหตุการณ ๙๑๑ อเมริกามองวาอิรักสนับสนุนขบวนการอัลเคดาร ของบิน ลาเดน จึงตองการกําจัดผูนําหรือรัฐที่สงเสริมการกอการราย โดยขออาง ทั้งหลายเหลานี้อเมริกาบีบบังคับ อิรัก ให ชัดดัม ยุติโครงการตาง ๆ และใหลี้ภัยออก นอกประเทศ แตปรากฏวา ซัดดัม ไมยอม ในที่สุด อเมริกาก็ใชสงครามจัดการกับอิรัก ในป ค.ศ. ๒๐๐๓ ทําใหอิรักเปลี่ยนแปลงการปกครองและยุติการ สงเสริมการ กอการราย เมื่ออเมริกาใชสงครามเปนเครื่องมือสําเร็จอํานาจของอเมริกาก็เกิดขึ้น แต ถาไมสําเร็จ ก็ไม เกิดอํานาจ หรือกรณีอเมริกาใชการคุกคามทางทหารตอเกาหลีเหนือ ตองการใหเกาหลีเหนือยุติ โครงการนิวเคลียร อเมริกาบอกวาถาหากเกาหลีเหนือ ไม ยุติโครงการดังกลาวจะเกิดสงครามแบบ อิรัก แตเกาหลีเหนือไมสนใจ กลับเรงผลิต นิวเคลียรขึ้นมา ปรากฏวาเกาหลีเหนือก็ประกาศวาตนเอง มีอาวุธนิวเคลียร ในที่สุด อเมริกาก็ถอย เมื่ออเมริกาใชอํานาจไมสําเร็จ อเมริกาก็หันมาใชวิธีการแบบ ไมรุนแรง นั่นคือ โนมนาว จูงใจ ใหรางวัล โดยบอกวาถาเกาหลีเหนือเปลี่ยนมาเปนการใช พลังงานนา แลวอเมริกาจะชวยเหลือในการพัฒนาพลังงานนา เศรษฐกิจ ฯลฯ ในที่สุดเกาหลีเหนือก็หันมาสูการ เจรจา ๖ ฝาย เปนตน ถาอเมริกาทําไดสําเร็จโดยเกาหลี เหนือยอมยุติโครงการนิวเคลียรแสดงวา อเมริกามีอํานาจ๔ ๓.๔.๑ ความขัดแยงในการใชอํานาจระหวางรัฐ การใชอํานาจของรัฐกับรัฐอื่นเชนในกรณีอเมริกา - เกาหลีเหนือ อเมริกาพยายามใช อํานาจเพื่อใหเกาหลีเหนือยุติโครงการนิวเคลียรในขณะที่เกาหลี เหนือก็ใชอํานาจที่จะทําใหอเมริกา ยุติการขมขูคุกคามที่จะใชสงครามเปนเครื่องมือ เพราะฉะนั้น ก็เกิดความขัดแยงดานอํานาจเกิดขึ้น เกิดการเมืองระหวางประเทศเกิดขึ้น นอกจากนี้ อาจมีความขัดแยงในเรื่องการใชอํานาจในทาง เศรษฐกิจก็ได“อํานาจ” ในที่นี้ ไมไดเจาะจงวาตองเปนอํานาจทางการเมืองเทานั้น เพราะอํานาจ มี ๓ อยาง คือ ๑. อํานาจทางการเมือง ๒. อํานาจทางเศรษฐกิจ และ ๔ การเมืองระหวางประเทศ https://sites.google.com/site/porjantorn/karmeuxng-rahwangprathesสืบคนเมื่อวันที่ ๕ ก.ค. ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 59 17/10/2562 8:34:10


60 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๓๕ ๕ ๓. อํานาจดานการทหาร ไมวาจะเปนการใชอํานาจทางดานใดก็ตาม ถามีการใชอํานาจระหวางรัฐ เกิดขึ้นก็ถือวา การเมืองระหวางประเทศเกิดขึ้นแลว เมื่อมีความขัดแยงในเรื่องอํานาจ ระหวางรัฐเกิดขึ้นก็ถือวา การเมืองระหวางประเทศเกิดขึ้นแลวเชนกัน ๓.๕ ความรวมมือระหวางประเทศ ความรวมมือระหวางประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธที่เกิดขึ้นขามเขต พรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไมใชรัฐ ซึ่งสงผลถึงความรวมมือหรือความ ขัดแยงระหวางประเทศตาง ๆ ในโลกความสัมพันธ ระหวางประเทศเปนความสัมพันธระหวางบุคคล กลุมบุคคลหรือสังคม ซึ่งเกิดขึ้นขามขอบเขตของกลุมสังคมการเมืองหนึ่ง ๆ ในกรณีความสัมพันธ ระหวางคนไทยดวยกัน หรือกลุมคนไทยดวยกันในประเทศไทย ไมใชความสัมพันธระหวางประเทศ แตความสัมพันธระหวางคนไทยกับคนลาวถือวาเปนความสัมพันธระหวางประเทศที่ เกิดขึ้นเปนเรื่องที่ เกี่ยวของกับความรวมมือและความขัดแยงระหวางประเทศซึ่งเปน เรื่องที่กระทบกระเทือนการอยู รวมกัน ๓.๕.๑ ลักษณะของความความรวมมือระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศหรือการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธที่ เกิดขึ้นขามเขต พรมแดนของรัฐดังที่กลาวขางตนนั้นอาจมีลักษณะแตกตางกันดังนี้ ๑. ความสัมพันธอยางเปนทางการหรือไมเปนทางการความสัมพันธ ระหวาง ประเทศอาจกระทําอยางเปนทางการโดยรัฐ หรือโดยตัวแทนที่ชอบธรรมของรัฐ เชนการประชุมสุด ยอด การดําเนินการทางการทูต การแถลงการณประทวง การยื่นประทวงตอองคการสหประชาชาติ หรืออาจเปนการกระทําไมเปนทางการ เชน การกอการราย การกระทําจารกรรม การโจมตีประเทศ หนึ่งโดยสื่อมวลชนของอีก ประเทศหนึ่งซึ่งไมไดกระทําการในนามของรัฐ ๒. ความสัมพันธในลักษณะรวมมือหรือขัดแยงความสัมพันธ ระหวางประเทศที่ เกิดขึ้น หากไมรวมมือก็ขัดแยงความสัมพันธในลักษณะขัดแยง เชน สงคราม การแทรกแซงบอน ทําลาย การขยายจักรวรรดินิยม การผนวกดินแดนของอีกประเทศหนึ่ง สวนความรวมมือ ไดแก การ กระชับความสัมพันธทางการทูต การรวม เปนพันธมิตร การใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจ การ แลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและ วัฒนธรรม เปนตน อยางไรก็ตาม ความสัมพันธตาง ๆ นี้อาจมีลักษณะ ผสมผสานกันได เชน บางครั้งรุนแรง บางครั้งนุมนวล บางครั้งเปนทางการ บางครั้งกึ่งทางการ หรือ บางครั้งรวมมือในเรื่องหนึ่งแตขัดแยงในอีกเรื่องหนึ่ง 02_01-340_.indd 60 17/10/2562 8:34:11


61 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓๖ ๕ ๓.๕.๒ ขอบเขตของความความรวมมือระหวางประเทศ ความความมือระหวางประเทศมีขอบเขตที่ครอบคลุมเรื่องตาง ๆ ดังนี้ ๑. ความความมือทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมขามพรมแดนเพื่อมี อิทธิพลหรือ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตลอดจนการตัดสินใจขององคการหรือรัฐ บางตางประเทศ เชน การ ดําเนินการทางการทูต การทหาร การแสวงหาพันธมิตร การแทรกแซงบอนทําลายประเทศอื่น การใช กําลังบีบบังคับ การกําหนดและดําเนินนโยบายตางประเทศ เปนตน กิจกรรมบางเรื่องอาจไมเปน กิจกรรมการเมืองโดยตรง แตหากมีวัตถุประสงคดังกลาวขางตน ก็ถือเปนกิจกรรมการเมืองเชนกัน เชน การแลกเปลี่ยนทีมนักปงปองระหวางสหรัฐอเมริกา และสาธารณรัฐประชาชนจีนในป พ.ศ. ๒๕๑๔ มีวัตถุประสงคทางการเมืองเนื่องจากประเทศทั้งสองตองการใชกีฬาเปนเครื่องมือผอนคลาย ความตึงเครียด และรื้อฟนความสัมพันธ อันดีระหวางประเทศ หลังจากเปนศัตรูกันมาตลอด กิจกรรม เชนนี้เรียกวาการเมือง ระหวางประเทศ ๒. ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ หมายถึง กิจกรรมการแลกเปลี่ยน ทรัพยากรดาน บริการหรือวัตถุเพื่อตอบสนองความตองการในการอุปโภคของผูแลกเปลี่ยน เชน การซื้อขายสินคา การใหทุนกูยืม การธนาคาร เปนตน เนื่องจากแตละประเทศมีทรัพยากรแตกตางและไมเทาเทียมกัน และยังตองการทรัพยากรของ ประเทศอื่นหรือบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกามีทรัพยากรน้ํามัน แต ยังตองการรักษา น้ํามันสํารองในปจจุบันจึงซื้อน้ํามันจากประเทศเม็กซิโก และประเทศอาหรับ ความ ตองการทรัพยากรซึ่งกันและกันเชนนี้ทําใหเกิดความสัมพันธเพื่อแลกเปลี่ยนทรัพยากร โดยวิธีการตาง ๆ ไมวาโดยการซื้อขาย ใหแลกเปลี่ยน ยืม ก็ตาม โดยมีกฎเกณฑหรือแนวทางปฏิบัติบางประการทั้งที่ เปนทางการและไมเปนทางการ เชน การกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร การปดลอมทางเศรษฐกิจ การตั้ง กําแพงภาษี การกําหนดอัตราหุนและดอกเบี้ย เปนตน ความสัมพันธทางเศรษฐกิจเชนนี้เรียกวา เศรษฐกิจระหวางประเทศ ๓. ความรวมมือทางสังคม หมายถึง กิจกรรมที่มีวัตถุประสงคในการ แลกเปลี่ยนทาง การศึกษา การศาสนา วัฒนธรรม การพักผอนหยอนใจ การทองเที่ยว ซึ่งเปนความสัมพันธทางสังคม ขามขอบเขตพรมแดนของรัฐ เชน การสงทูตวัฒนธรรมหรือคณะนาฏศิลปไปแสดงในประเทศตาง ๆ การเผยแพรศาสนาโดยตัวแทนทาง ศาสนาของประเทศอื่นการเผยแพรศิลปะของประเทศหนึ่งใน ประเทศอื่นเปนตน ๔. ความรวมมือทางกฎหมายเมื่อมีการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธขามเขตพรมแดน ของรัฐมากขึ้น เพื่อใหกิจกรรมดังกลาวดําเนินไปโดยเรียบรอย และมีระเบียบแบบแผน ประเทศตาง ๆ ไดแก ดานการเมือง เชน สนธิสัญญาทาง พันธมิตร สนธิสัญญาทางไมตรี กฎบัตร สหประชาชาติ ดาน เศรษฐกิจ เชน สนธิสัญญา จัดตั้งกองทุนระหวางประเทศ ขอตกลงเรื่องการคาและพิกัดภาษีดาน 02_01-340_.indd 61 17/10/2562 8:34:12


62 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๓๗ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ สังคม เชน สิทธิ มนุษยชน การแลกเปลี่ยนทางการศึกษาและวัฒนธรรมดานเทคโนโลยีเชนความตก ลง เรื่องการคนควาในอวกาศเปนตน ๕. ความรวมมือทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความสัมพันธ ประเภทนี้มุงใหมีการ แลกเปลี่ยนพัฒนาความรู และความชวยเหลือทางดาน วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เชน มีการ รวมมือกันคนควาทดลองและวิจัยในบริเวณ ทวีปแอนตารกติกาการรวมมือกันระหวาง นักวิทยาศาสตรหลายประเทศ เพื่อกําจัดโรคภัยไขเจ็บสําคัญ เชน โรคมะเร็ง การรวมมือกันสงเสริม พัฒนาการทางวิทยาศาสตร เชน การใหรางวัลระหวางประเทศ จัดการประชุมสัมมนาระหวาง ประเทศ๕ ๓.๕.๔ องคกรความรวมมือระหวางประเทศ การจัดตั้งองคการระหวางประเทศอาจจําแนกออกเปนสองระดับ หลัก คือ องคการระหวาง ประเทศระดับโลก และระดับภูมิภาค ซึ่งทั้งสองระดับลวน เปนองคการเพื่อประสานประโยชนรวมกัน ระหวางประเทศปจจุบัน๖ ดังนี้ ๑. องคการสหประชาชาติ (TheUnited Nations : UN) สถาปนาอยางเปนทางการ เมื่อ วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ หลังสงครามโลกครั้ง ที่สองยุติลง มีสํานักงานใหญอยูที่กรุงนิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกามีประเทศเอก ราชทุกภูมิภาคเปนสมาชิกไมต่ํากวา ๑๙๐ ประเทศในปจจุบัน โดยมี วัตถุประสงค ดังนี้ ๑.๑ เพื่อธํารงรักษาไวซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ ๑.๒ เพื่อพัฒนาความสัมพันธฉันทมิตรระหวางประชาชาติ โดยยึดการเคารพตอ หลักการแหงสิทธิอันเทาเทียมกัน ๑.๓ เพื่อใหบรรลุถึงความรวมมือระหวางประเทศ ในอันที่จะแกไขปญหาระหวาง ประเทศทางดาน เศรษฐกิจ สังคม และมนุษยธรรมและการสงเสริม สนับสนุนการเคารพตอสิทธิ มนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐาน สําหรับทุกคนโดยไม เลือกปฏิบัติในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือ ภาษา ๑.๔ เพื่อเปนศูนยกลางประสานงานของประชาชาติทั้งหลายใหกลมกลืนกัน ในอันที่ จะบรรลุจุดหมายปลายทางรวมกัน เชน การรักษา สันติภาพ สงเสริมประชาธิปไตย สงเสริมดาน ๕ พิสิษฐกุล แกวงาม, มโนทัศนที่สําคัญในวิชาการพัฒนาการเมือง, ๒๕๕๓. ๖ "องคกรความรวมมือระหวางประเทศ http://www.trueplookpanya.com/learning/detaiV2128, สืบคนเมื่อวันที่ ๖ ก.ค. ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 62 17/10/2562 8:34:12


63 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓๘ ๕ มนุษยชน พัฒนาความสัมพันธทาง การคาระดับโลก ใหความคุมครองดานทรัพยสินทางปญญา เปน ตน ๒. สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association Of Southeast Asian Nation : ASEAN) หรืออาเซียน กอตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยมีสมาชิก เริ่มแรก ๕ ประเทศ คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส และ สิงคโปร ในปจจุบันไดสมาชิกเพิ่ม ไดแก บรูในเวียดนาม ลาว และกัมพูชา โดยมีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อเรงรัดความเจริญเติบโตทาง เศษฐกิจความกาวหนาทาง สังคม วัฒนธรรมของภูมิภาคสงเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาค ตามหลัก ของสหประชาชาติ สงเสริมรวมมือและชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องผลประโยชน ทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมวิชาการ การบริหารอยางจริงจัง ๓. เขตการคาเสรีอาเซียน(Asean free trade area : AFTA) เขตการคาเสรี อาเซียน หรืออาฟตา เปนการรวมมือทางเศษฐกิจที่ทําใหการคาขายใน กลุมอาเซียนขยายตัว เปน ความคิดริเริ่มที่มาจากอดีตนายกรัฐมนตรีไทย คือ นายอานันท ปนยาชุน ที่เสนอตอที่ประชุมอาเซียน ณ ประเทศสิงคโปร โดยมี วัตถุประสงค เพื่อใหการคาภายในอาเซียนเปนไปโดยเร็ว อัตรภาษีต่ําที่สุด และเพื่อดึงดูดการลงทุนจากตางชาติสูภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนเพื่อใหสอดคลองกับ สถานการณ การคาโลกที่เปนระบบเสรียิ่งขึ้น ซึ่งเปนประโยชน ตอเศรษฐกิจของไทย อยางจริงจัง ระบบการคาเสรี เปนลักษณะทวิภาคี ระหวางประเทศไทยกับประเทศ ในเอเชียใตเอเชียตะวันออกเฉียงใต ออสเตรเลีย และนิวซีแลนดเปนตน ๔. ความรวมมือทางเศษฐกิจเอเชียแปซิฟก หรือเอเปก (Asiapacilc economic Cooperation:APEC) กอตั้งใน พ.ศ. ๒๕๓๒ ตามขอเสนอของ นายปอบออรก อดีตนายกรัฐมนตรี ประเทศออสเตรเลีย โดยกลุมเอเปกเปนกลุม เศรษฐกิจที่มีประชากรรวมกันมากที่สุดกวา ๒,๐๐๐ ลานคน ครอบคลุม สามทวีป คือ เอเชีย อเมริกา และออสเตรเลีย มีสํานักงานตั้งอยูที่ประเทศสิงคโปร มี วัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียและของ โลก โดยตองการ พัฒนาสงเสริมระบบการคาพหุภาคีที่อยูบนรากฐานของการเปด การคาเสรี การลงทุน และหาทางลด อุปสรรคทางการคา โดยยึดหลักผลประโยชน รวมกันซึ่งไทยเคยเปนเจาภาพการจัดประชุมในป พ.ศ. ๒๕๒๔ เมื่อมองยอนหลังใน อดีต ประเทศไทยมีบทบาทที่สําคัญในการนําไปสูการกอตั้งสมาคม ความรวมมือในภูมิภาคนี้ เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศผูไกลเกลี่ยขอพิพาท ระหวางประเทศที่เกิดขึ้น กอนหนาการกอตั้ง สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียง ใต หรืออาเซียน เมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๐ จนกระทั่งทําให ประเทศคูกรณีสามารถที่จะยุติ ขอพิพาทดังกลาว และหันหนามารวมมือกัน ผลพวงของการสราง ความเขาใจอันดี โดยมีไทยเปนประเทศกลางที่มีบทบาทสําคัญ โดยเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ 02_01-340_.indd 63 17/10/2562 8:34:14


64 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๓๙ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ๕ ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และ ไทย ไดรวม ลงนามในปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ประกาศจัดตั้งสมาคมอาเซียน โดย มีการลงนามที่หองเทววงศ กระทรวงการตางประเทศ วังสราญรมย ๑. ความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคง ในดานการเมือง และความมั่นคง อาเซียนไดมุงเนนความรวมมือ เพื่อธํารงรักษาสันติภาพและความ มั่นคงของภูมิภาคตลอดมา โดยไดมี การจัดทําและผลักดันใหทุกประเทศในภูมิภาคใหความสําคัญและยึดมั่นในสนธิสัญญาไมตรีและความ รวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งถือวาเปนเอกสารที่กําหนดแนวทางการปฏิบัติในการ ดําเนินความสัมพันธระหวางกันในภูมิภาค ที่มุงเนนการสรางสันติภาพและความมั่นคง ความ เจริญรุงเรือง ดานเศรษฐกิจ และความรวมมือระหวางกัน นอกจากนี้อาเซียนไดรวมลงนามใน เอกสาร ดานการเมืองอื่น ๆ อาทิ ปฏิญญาวาดวยภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพและความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality หรือ ZOPEAN) เมื่อป ค.ศ. ๑๙๗๑ สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร ในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียง ๒. ความรวมมือดานเศรษฐกิจ จากการที่สถานการณทางเศรษฐกิจ โลกได เปลี่ยนไปภายหลังการเจรจาเปดเสรีการคารอบอุรุกวัย และการแบงตลาดโลก ออกเปนกลุมภูมิภาค ไทยไดเห็นความจําเปนที่จะตองสรางกลุมเศรษฐกิจในภูมิภาค เพื่อเสริมสรางอํานาจตอรองของ ประเทศในภูมิภาคและศักยภาพในการผลิต ในป ๒๕๓๕ (ค.ศ. ๑๙๙๒) ประเทศไทย โดยอดีต นายกรัฐมนตรี ฯพณฯ นายอานันท ปนยารชุน ไดเสนอใหอาเซียนรวมมือกันอยางจริงจังในการเปด เสรี การคาระหวางกัน โดยผลักดันใหมีการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area - AFTA) เพื่อชวยสงเสริมการคาภายในอาเซียนใหมี ปริมาณมากขึ้น ในเวลาตอมา อาเซียนไดขยายความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ เพิ่มเติมจาก AFTA เพื่อใหการรวมตัวทางเศรษฐกิจมีความสมบูรณแบบและมีทิศทาง ที่ชัดเจน โดยไดขยายความ รวมมือ ไปสูการคาบริการและการเชื่อมโยงทางดานอุตสาหกรรม เชน การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area - AIA) ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ มีจุดประสงคเพื่อใหอาเซียนมีความไดเปรียบและดึงดูดการลงทุนจากภายนอกและ ภายใน ภูมิภาค โดยการเปดการตลาด (market access) และใหการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ (national treatment) โดยมีการเรงรัดใหดําเนินการเรื่องนี้จากป พ.ศ.๒๕๕๓ (ค.ศ. ๒๐๑๐) มีความรวมมือดาน การเชื่อมเสนทางดานคมนาคมและการขนสงสินคา ผานแดน รวมทั้งโครงการความรวมมืออาเซียน ดานการพัฒนาลุมน้ําาโขง เพื่อเปนการสงเสริมและเพิ่มพูนความรวมมือทางดานเศรษฐกิจของ อาเซียนใหมีความ แข็งแกรงและ ครอบคลุมสาขาตาง ๆ ใหมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ไทยมีบทบาทสําคัญ ใน เรื่องการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจภายในอาเซียนใหมากขึ้น โดยไดเสนอใหมีการจัดทําความตกลงวา 02_01-340_.indd 64 17/10/2562 8:34:14


65 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๔๐ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ดวยการอํานวยความสะดวกการขนสงสินคาผานแดนและขามแดน ซึ่งจะเอื้ออํานวยใหการขนสง สินคาภายในอาเซียนมีความคลองตัว และชวยสงเสริมการดําเนินการในเรื่องเขตการคาเสรีอาเซียน ซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๖ เมื่อ ธันวาคม ๒๕๔๑ ไดมีการลงนามในกรอบความตกลงวาดวย การอํานวยความสะดวก การขนสงสินคาผานแดนแลว ๓. ความรวมมือดานสังคม ความรวมมือทางดานสังคมหรือความ รวมมือเฉพาะ ดาน (Functional Cooperation) ของอาเซียน เปนความรวมมือดานอื่น ๆ ที่มิใชดานการเมือง และ เศรษฐกิจ ซึ่งมี ๕ ดาน ไดแก ดานการพัฒนาสังคม ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดานสิ่งแวดลอม ดานยาเสพติด และดานวัฒนธรรม และสนเทศ โดยมีคณะกรรมการตาง ๆ ทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบ เพื่อใหการดําเนิน กิจกรรม/โครงการตาง ๆ ของอาเซียนที่เกี่ยวของสําเร็จลุลวงไปดวยดี การสงเสริม พัฒนาการความรวมมือในดานดังกลาวนับเปนวัตถุประสงคเบื้องตนประการหนึ่งของอาเซียนเพื่อ สงเสริมใหประชาชนในอาเซียนมีความเปนอยูและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทัดเทียมกับประชาชนในประเทศ ที่พัฒนาแลว ความรวมมือทางดานสังคมในกรอบอาเซียนไดพัฒนามาเปนลําดับตามสภาพแวดลอม ความตองการของประเทศสมาชิก และกระแสของโลกาภิวัตน ซึ่งเปนผลใหอาเซียนมีการ จัดตั้งกลไก ความรวมมือใน ภูมิภาค เพื่อสนองตอการเปลี่ยนแปลงและความจําเปนที่จะตองมีการรวมมือกันใน ระดับภูมิภาค ไดแก การพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน โครงขายรองรับทางสังคม อาชญากรรมขามชาติ และสวัสดิการสังคมและการพัฒนาสังคม ทั้งนี้ เพื่อมุงผลักดันใหอาเซียนบรรลุ เปาหมายในการเปนสังคมที่เอื้ออาทรตอกันตามวิสัยทัศน อาเซียน ค.ศ. ๒๐๒๐ ไทยเล็งเห็นความสําคัญของการรวมมือดานสังคมเพื่อสันติสุขในภูมิภาคจึงผลักดันให อาเซียนกระชับความรวมมือในการแกไขปญหาขามชาติ อาทิ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ปญหายา เสพติดและการฟอกเงิน โรคเอดส การลักลอบเขาเมือง รวมทั้งความรวมมือดานสิ่งแวดลอม เชน การ แกไขปญหาหมอก ควัน เปนตน นอกจากนั้น ไทยยังไดเสนอใหมีการจัดตั้งมูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) เพื่อสงเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและนักวิชาการ ตลอดจนการเขามามี สวนรวม ของประชาชนในกิจกรรมตาง ๆ ของอาเซียน ซึ่งจะชวยเสริมสรางจิตสํานึกในความเปนอาเซียน และ การใหความสําคัญตอเรื่องการจัดทําโครงขายรองรับทางสังคม (Social Safety Nets) เพื่อบรรเทา ผลกระทบทางดานสังคมจาก วิกฤตการณทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะในปญหาความยากจน การวางงาน ปญหาเด็กนอกโรงเรียนและผูยากไร นอกจากนี้ ไทยยังมีนโยบายในอันที่จะพยายามกระตุนใหอาเซียน เปนสังคมเปด และมีความเอื้ออาทร มีจิตสํานึกในความเปนชุมชนหนึ่งเดียว ไทยได เสริมสรางความไพบูลยมั่งคั่ง รวมกัน โดยการพัฒนามนุษยโดยรวม (Total Human Development) เพื่อสนับสนุนการพัฒนา 02_01-340_.indd 65 17/10/2562 8:34:15


66 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๔๑ ๕ สังคมในระยะยาว การสรางผูนํารุนใหมใน ภูมิภาค โดยใชการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (HRD) เปน กลไกในการลดชองวางระหวาง ประเทศสมาชิกอาเซียนและสงเสริมการรวมตัวของอาเซียน โดยเมื่อเดือนกรกฎาคม ในป พ.ศ. ๒๕๔๔ นั่นเอง ไทยไดผลักดันใหอาเชียนมีมติ รับรอง ใหป พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๔๖ เปนปแหงการปลุกจิตสํานึกในการ ตอตานยาเสพติดในอาเซียน และสนับสนุนใหที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๗ เมื่อ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๔ รับรอง ปฏิญญาที่ประชุม สุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๗วา ดวยโรคเอดส เนื่องจากปญหาทั้งสองไดกอใหเกิดความ สิ้นเปลืองทรัพยากรแกประเทศไทย ในการแกไขเปนจํานวนมาก และจําเปนที่จะตองไดรับความ รวมมือ ระดับภูมิภาคในการควบคุมปญหาดังกลาวใหมีผลสัมฤทธิ์อยางมีประสิทธิผล ความ รวมมือ ทางสังคมไดเอื้อประโยชนตอการพัฒนาในประเทศไทยเปนจํานวนมาก และ สงเสริมใหมีบรรยากาศ แหงความรวมมือกันเพื่อการพัฒนา ซึ่งสะทอนไปสูการมี เสถียรภาพ สันติสุข และความกาวหนาใน ภูมิภาค ๓.๖ การถวงดุลอํานาจระหวางรัฐ การถวงดุลอํานาจระหวางรัฐ หมายถึง รัฐจะเลือกใชการถวงดุลอํานาจ เนื่องจากไมมี หลักประกันวารัฐที่เขมแข็งกวาจะไมรุกรานตน เพราะเปาหมายหลักของรัฐคือการรักษาไวซึ่งความอยู รอดปลอดภัยนั่นเอง แมจะใหความเห็นวารูปแบบการถวงดุลอํานาจเปนรูปแบบที่ทรงประสิทธิภาพ มากที่สุดในการรักษาไว ซึ่งความอยูรอดของรัฐแตก็ยอมรับวาแนวคิดเรื่องการถวงดุลอํานาจยังมี จุดออนสําคัญคือการคาดเดาสถานการณไดอยางจํากัดยิ่งไปกวานั้น แมจะพยายามพัฒนาและศึกษา ความสัมพันธระหวางประเทศในเชิงโครงสรางแตเองก็ยอมรับวาปจจัยภายในเปนสิ่ง สําคัญที่ไมควร ละเลยในการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศ กลาวโดยสรุปแลวในสรางภาพความสัมพันธระหวางประเทศผานมุมมองของ นักสัจนิยมใหม โดยงสะทอนความสัมพันธของ ๓ แนวคิดหลักอันไดแก ๑. โครงสรางและการถวงดุลอํานาจซึ่งมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน กลาวคือภายใต แนวคิดเรื่องอนาธิปไตยอันปราศจากซึ่งรัฐบาลโลกหรือองคกรอันมีอํานาจเหนือรัฐอธิปไตย ๒. ความมั่นคงปลอดภัยและความอยูรอดปลอดภัย รัฐจําตองพึ่งพาตนเองและไม สามารถที่จะไวใจหรือพึ่งพารัฐอื่นได ทั้งนี้แมโดยหลักแลวรัฐในสภาวะ อนาธิปไตยจะมีความเทาเทียม กันในแงของความเปนรัฐอธิปไตย อยางไรก็ตามแต ความแตกตางประการสําคัญคือศักยภาพหรือขีด ความสามารถของแตละรัฐอัน ปราศจากซึ่งความเทาเทียมกัน ความแตกตางกันในเชิงศักยภาพของแต 02_01-340_.indd 66 17/10/2562 8:34:16


67 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒ ๕ ละรัฐมีผล สําคัญยิ่งตอการกอตัวทางความคิดเรื่องโครงสรางของ Waltz ซึ่ง Waltz ชี้วาในระบบ ระหวางประเทศรัฐทั้งหลายจะถูก ๓. กําหนดบทบาทและพฤติกรรมผานศักยภาพและโครงสรางของระบบระหวาง ประเทศซึ่งในทายที่สุดแลว เพื่อรักษาไวซึ่งความมั่นคงปลอดภัย การถวงดุลอํานาจถือเปนยุทธวิธีอัน ทรงประสิทธิภาพมากที่สุด ๓.๖.๑ การประนีประนอมขอขัดแยงระหวางรัฐ การประนีประนอมเปนการแกไขความขัดแยงดวยแนวทางสันติวิธี และการไกลเกลี่ย ของประเทศคนกลาง ความขัดแยระหวางประเทศเปนทั้งดานบวก และดานลบ แตก็ควรจัดการความ ขัดแยงใหเปนไปในทิศทางที่สรางสรรค ความขัดแยงที่เกิดขึ้นเราสามารถจัดการไดทั้งการใชความ รุนแรง และในทิศทางที่ไมใชความรุนแรง (Non-Violent) วิธีการแกไขความขัดแยงดวยแนวทางสันติ วิธีในความขัดแยงระหวางประเทศ มีหลายวิธีการ ดังที่ปรากฏในมาตรา ๓๓ ของกฎบัตสหประชาชาติ (Charter) ไมวาจะเปนการเจรจา (Negotiation) การไตสวน (Inquiry) การไกลเกลี่ยคนกลาง (Mediation) การแยกเจรจา (Conciliation) การอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) รวมถึงการใช ตัวแทนประจําภูมิภาค (Resort to Regional Agencies) หรือวิธีการสันติวิธีอื่นๆ การแกไขความ ขัดแยงระหวางรัฐ โดยทั่วไปสามารถกระทําไดในรูปแบบตาง ๆ โดยผลที่ทําใหคูกรณีหรือฝายตาง ๆ รูสึกวาชนะทั้งคู คือการไกลเกลี่ยคนกลางและการเจรจา ซึ่งประกอบไปดวย ๑. หลีกหนีปญหา (Avoidance )เปนการไมหยิบปญหามาพูดกัน บางครั้งไปนินทา ลับหลัง ๒. การใชคนกลางในการไกลเกลี่ย มีความแตกตางกันระหวางสังคม ตะวันตกกับ ตะวันออก ๓. การเจรจาไกลเกลี่ยกันเอง ซึ่งคูกรณีใชวิธีการพูดคุยกันเอง โดยตรง ๔. อนุญาโตตุลาการ เปนกระบวนการใชคนกลางมาทําหนาที่ตัดสิน ๕. การฟองรองกัน (Litigation) โดยมีผูพิพากษามาตัดสินในขอพิพาท ๖. การใชกระบวนการทางนิติบัญญัติเพื่อแกปญหาขอขัดแยง (Legislation) ผาน การออกกฎหมายจากสภาผูแทนราษฎร ๗. การใชการชุมนุมประทวงอยางสันติ (Civil Disobedience) เปนการเรียกรองให ไดสิ่งที่ตองการอยางสงบ 02_01-340_.indd 67 17/10/2562 8:34:17


68 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๔๓ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๘. การใชความรุนแรง (Violence) โดยเชื่อวาความรุนแรงสามารถ ยุติปญหาได แต ปญหาก็ไมไดรับการจัดการอยางแทจริง ปญหายังคงดํารงอยู การไกลเกลี่ยคนกลาง เปนหนึ่งในแนวทางการแกไขความขัดแยงดวยแนวทางสันติ วิธี สามารถใชไดทั้งในระดับปจเจก ระดับรัฐ ระหวางประเทศ เมื่อการไกลเกลี่ยคนกลางประสบ ความสําเร็จ จะทําใหคูกรณีลดความขัดแยงลงเปนเครื่องมือในการยุติความเปนปฏิปกษ นํามาสู ขอตกลง หรือการยุติความขัดแยง๗ ๓.๖.๒ การระงับขอพิพาทระหวางรัฐโดยสันติวิธี ๑. ลักษณะของขอพิพาทมี ๒ ลักษณะคือ ๑.๑ ขอพิพาทระหวางรัฐทางการเมือง อาจมีการระงับกันได โดยวิธีการ ทางการทูตและโดยการที่องคการระหวางประเทศสอดแทรกเขาไปดําเนินมาตรการตางๆ ๑.๒ ขอพิพาทระหวางประเทศทางกฎหมาย อาจมีการระงับกันไดโดย วิธีการทางศาลอยางไรก็ตามในบางกรณีอาจมีการระงับขอพิพาททางกฎหมายโดยวิธีทางการทูตก็ได มาตรา ๓๓ เปนบทบัญญัติซึ่งเพิ่มเติมมาตรา ๒ (๓) ของกฎ บัตรสหประชาชาติ ได บัญญัติวาถาการพิพาทจะทําใหสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศถูกคุกคาม คูพิพาทตอง พยายามระงับขอพิพาทโดยวิธีการเจราจากัน หรือโดยการสอบสวนขอเท็จจริงที่กอใหเกิดการพิพาท หรือโดยการรอมชอมกัน หรือ โดยอนุญาโตตุลาการ หรือโดยศาลยุติธรรมระหวางประเทศหรือโดย องคการหรือ ขอตกลงสวนภูมิภาคหรือโดยวิธีอื่น ๆ ๓.๖.๓ วิธีการระงับขอพิพาทโดยสันติวิธี แบงออกเปนรูปแบบ ได ๗ วิธีคือ ๑. การเจรจา หมายถึง กรณีที่รัฐคูพิพาทไดดําเนินการปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนขอ เรียกรองและเหตุผลที่สนับสนุนขอเรียกรองของตน ไมวาดวยวาจาหรือเปนลายลักษณอักษร เพื่อที่จะ ไดรับการปรับขอเรียกรองของทั้งสองฝายใหเกิดสมดุลกัน อันนําไปสูความตกลงยุติขอพิพาทใน ทายที่สุด ๒. การไกลเกลี่ยหรือการจัดเจรจา หมายถึง ในกรณีที่มีการเจรจาลมเหลวหรืออาจ ไมมีการเจรจากันมา รัฐฝายที่สามไดยื่นมือเขามาชวยเหลือได ๒ รูปแบบ คือ ๗ วันชัย วัฒนศัพท, ความขัดแยง: หลักการและเครื่องมือแกปญหา...พิมพครั้งที่ ๓ ขอนแกน: ศิริภัณฑ ออฟเซ็ท, ๒๕๕๐. 02_01-340_.indd 68 17/10/2562 8:34:18


69 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๔๔ ๕ ๒.๑ เขามาไกลเกลี่ย ( Mediation) ไดแก การที่รัฐฝายที่สามยื่นมือเขา มาแทรกแซงในกรณีพิพาท โดยนอกจากจะจัดใหรัฐคูกรณีพิพาทพบปะเจรจากันแลว รัฐฝายที่สามยัง มีขอเสนอที่เปนแนวทางยุติขอพิพาทใหคูกรณีไดพิจารณาดวย ๒.๒ เขามาจัดเจรจา ( Good offices) ไดแก กรณีที่รัฐที่สามเขามา แทรกแซงเมื่อรัฐเกิดขอพิพาทตอกันโดยรัฐที่สามนั้นเปนผูจัดใหรัฐคูพิพาทไดเจรจากัน เพื่อจะไดตกลง รอมชอมกันเองได ดังนั้นการเจรจาการไกลเกลี่ย อาจไดรับการชวยเหลือจากองคการระหวางประเทศ เพราะคูพิพาทมีความไววางใจองคการ ระหวางประเทศในฐานะจะใหความยุติธรรม แตการไกลเกลี่ย โดยการชวยเหลือของประเทศที่สามอาจจะไมไดรับความไววางใจจากคูพิพาทฝายใดฝายหนึ่งในเรื่อง ความยุติธรรม วาประเทศที่สามจะวางตัวเปนกลางตอการไกลเกลี่ยนี้มากพอหรือไมในเรื่องความ ยุติธรรม วาประเทศที่สามจะวางตัวเปนกลางตอการไกลเกลี่ยนี้มากพอ หรือไม ๒.๓ การไตสวน หมายถึง การสอบสวนซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อจะคนหา ความจริงอันถือไดวาเปนพื้นฐานของการทราบสาเหตุของที่มาของขอพิพาท โดยพยายามรวบรวม ขอเท็จจริง สภาวการณทั้งหลายที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาเปนแนวทางตอการยุติขอพิพาทระหวางรัฐ ตอไป อนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. ๑๙๐๗ กําหนดวิธีการไตสวนโดยมีสาระสําคัญ คือ ๑. วิธีการไตสวนมีวัตถุประสงคเพียงเพื่อยุติปญหา ขอเท็จจริง ๒. ความสมัครใจยินยอมของรัฐคูพิพาทใหนําการไตสวนมาใชถือวาเปนสิ่ง สําคัญและจะตองใชตอเมื่อสถานการณอํานวยเทานั้น ๓. คณะกรรมการไตสวนไดรับการแตงตั้งโดยสนธิสัญญาพิเศษระหวางรัฐ คูพิพาท ๔. รายงานขอคณะกรรมการไตสวนไมกอใหเกิดพันธกรณี ตอรัฐคูพิพาทที่ จะตองดําเนินการอยางหนึ่งอยางใดตอไป ๓.๖.๓ การประนีประนอมวิธีการที่รัฐคูพิพาทมอบอํานาจหนาที่ คณะกรรมการประนีประนอมใหทําการสอบสวนขอพิพาทที่เกิดขึ้นอันเปน พัฒนาการตอเนื่อง จากการไตสวนแตไมเพียงประมวลขอเท็จจริงแลวทํารายงานเทานั้น ยังมอบ อํานาจใหคณะกรรมการคณะนั้นเสนอลูทางในการยุติขอพิพาทดวย โดยที่รัฐคูพิพาทไมจําตองผูกพัน ตามขอเสนอแตอยางใดดวยเหตุนี้ การระงับขอพิพาทระหวางประเทศโดยการประนีประนอม จึงเปน วิธีการที่นุมนวลและ ยืดหยุน รัฐคูพิพาทมีอิสรเสรีภายใตอํานาจอธิปไตยที่จะตัดสินใจดําเนินการ หรือไม ดําเนินการอยางใดที่เปนการยุติขอพิพาท โดยสวนใหญเปนขอพิพาทในเรื่อง ผลประโยชนสวน 02_01-340_.indd 69 17/10/2562 8:34:18


70 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๔๕ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ไดเสียของรัฐ ดังนั้นหากมีการตอรองกันลงตัวตามที่คณะกรรมการประนีประนอมเสนอลูทางก็เปนวิธี หนึ่งที่แกไขขอพิพาทได ๓.๖.๔ การใชวิธีอนุญาโตตุลาการ กระบวนการการระงับกรณีพิพาทระหวางประเทศโดยตามปกติจะเปนกรณีพิพาทใน แงกฎหมายและตั้งอยูบนพื้นฐานของการเคารพกฎหมายหรือ สนธิสัญญาตามที่คนกลางตัดสินชี้ขาด ลักษณะโดยทั่วไปของการใชวิธี อนุญาโตตุลาการจะประกอบไปดวยลักษณะสําคัญ ๆ ดังนี้ ๑. การยอมรับวิธีการอนุญาโตตุลาการเปนไปดวยความสมัครใจของรัฐคูกรณีซึ่งอาจ ตกลงกันขณะที่เกิดขอพิพาท หรือกําหนดไวในสนธิสัญญาเปนการ ลวงหนาก็ได ๒. อนุญาโตตุลาการอาจเปนบุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งเลือกโดยความเห็นชอบ รวมกันของรัฐคูกรณี ๓. หลักเกณฑการตัดสินของอนุญาโตตุลาการจะยึดถือหลักการแหงกฎหมาย ระหวางประเทศ หรือหลักความยุติธรรม เนื่องจากตามปกติจะเปนขอพิพาท ทางกฎหมาย ๔. คําตัดสินของอนุญาโตตุลาการถือเปนที่สุดและผูกพันรัฐคูกรณีที่ จะตองปฏิบัติ ตามแตจะไมผูกพันรัฐที่สามทั้งนี้เวนเสียแตวาคําตัดสินนั้นเกิดจากความผิดพลาดในดานกฎหมาย หรือ กระบวนการพิจารณา เปนตน ๓.๖.๕ ศาลอนุญาโตตุลาการ การมอบความไววางใจในการตัดสินชี้ขาดขอพิพาทกับองคการระหวางประเทศ แต ไมมีลักษณะเปนศาลอยางแทจริง เพราะเนนเฉพาะกิจรวดเร็วทันสถานการณโดยมีสถาบันตั้งขึ้นอยาง ถาวรตามอนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. ๑๘๙๙ และ ๑๙๐๗ กําหนดวารัฐภาคีแตละรัฐจะสงรายชื่อผูมี ความสามารถ ๔ คน ซึ่งอาจมิใช บุคคลในสัญชาติของรัฐตนก็ได ปจจุบันมีสมาชิกประมาณ ๑๒๐- ๑๕๐ คน รัฐคูกรณีอาจตกลงกันที่จะเลือกบุคคลจากบัญชีรายชื่อดังกลาวเพื่อใหเปอนุญาโตตุลาการ เพื่อพิจารณาตัดสินขอพิพาทระหวางกันไดคําตัดสินของอนุญาโตตุลาการเปนคําชี้ขาดที่ถึงที่สุด กลาวคือ ไมอาจที่จะเพิกถอน เปลี่ยนแปลง แกไข หรือเพิ่มเติมได อยางไรก็ตาม มีขอยกเวนอยู ๓ ประการคือ ๑. รัฐคูพิพาทกลาวอางวาคําตัดสินชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการเปนโมฆะ เนื่องจากมี ขอบกพรองเชนอนุญาโตตุลาการกระทําการเกินอํานาจหรือ สําคัญผิดในขอกฎหมายหรือขอเท็จจริง เปนตน 02_01-340_.indd 70 17/10/2562 8:34:19


71 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๔๖ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. การยกเลิกเพิกถอนเปลี่ยนแปลงแกไขเพิ่มเติมคําตัดสินขี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการอาจสืบเนื่องมาจากการคนพบขอเท็จจริงในคดีขึ้นใหม ซึ่งเท็จจริงดังกลาวนี้มี ความสําคัญถึงขนาดที่อาจทําใหมีการตัดสินชี้ขาดเปนอยางอื่น ไดหากวาอนุญาโตตุลาการผูตัดสินชี้ ขาดไดทราบถึงขอเท็จจริงดังกลาวกอนที่จะทําการตัดสินชี้ขาด ๓. รัฐคูพิพาทอาจขอใหมีการตีความคําตัดสินชี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการในกรณีที่ รัฐคูพิพาทเกิดขัดแยงกันถึงความหมายที่แทจริงของคําตัดสินชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ๓.๖.๗ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ การระงับขอพิพาททางศาลตามความหมายที่แทจริงเนื่องจากเปน ลักษณะของการ เสนอขอพิพาทใหศาลที่จัดตั้งขึ้นมาอยางถาวร กอนหนาที่จะมีกรณี พิพาทระหวางประเทศ โดยมีผู พิพากษาประจําอยู มีระเบียบกฎเกณฑและวิธี พิจารณาความของตนเองซึ่งแตกตางจากการระงับขอ พิพาทโดยทางอนุญาโตตุลาการ แตเปนการระงับขอพิพาททางกฎหมาย และอยูบนพื้นฐานของการ เคารพกฎหมาย เชนเดียวกันและ ศาลโลกมีอํานาจหนาที่พิจารณาพิพากษาขอพิพาทเกี่ยวกับอํานาจ ศาลดังนี้ ๑. การตีความตามสนธิสัญญา ๒. ปญหากฎหมายระหวางประเทศ ๓. ขอเท็จจริงเกี่ยวกับการละเมิดขอผูกพันระหวางประเทศ ๔. กรณีความเสียหายอันเกิดจากการละเมิดพันธะระหวาง ประเทศ นอกจากนี้ ศาลโลกยังมีอํานาจใหคําแนะนําเกี่ยวกับปญหากฎหมายในกรณีถูกรองขอจาก สมัชชาใหญหรือคณะมนตรีความมั่นคง พิพากษาของศาลโลกมีลักษณะเปนพันธกรณีที่คูกรณีจะตอง ปฏิบัติตาม และคําพิพากษาถือเปนที่สุดและผูกพันเฉพาะคูความในคดีเทานั้น ถารัฐใดไมปฏิบัติตาม คําพิพากษา รัฐอีกฝายหนึ่งอาจรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคง ซึ่งถาคณะมนตรีความมั่นคงเห็น วาจําเปนก็อาจทําคําแนะนํา หรือวินิจฉัยมาตรการที่จะดําเนินการเพื่อใหเกิดผลตามคําพิพากษาได๘ ๘ นพนิธิ สุริยะ กฎหมายระหวางประเทศ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, สมบูรณ เสงี่ยมบุตร อดีตอธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมายและเอกอัครราชทูตไทย กฎหมาย ระหวางประเทศ , กฎหมายระหวาง ประเทศและองคการระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๑ https://www.gotoknow.org/posts/ สืบคนเมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 71 17/10/2562 8:34:20


72 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๔๗ ๕ ๓.๗ สรุปทายบท โครงสรางของการเมืองระหวางประเทศขึ้นอยูกับบทบาทระหวางประเทศ ของประเทศ มหาอํานาจเปนหลักและพฤติกรรมระหวางประเทศของประเทศมหาอํานาจขึ้นอยูกับผลประโยชน แหงชาติของประเทศมหาอํานาจและลักษณะของขั้วอํานาจเมื่อผลประโยชนของประเทศมหาอํานาจ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมระหวางประเทศของประเทศมหาอํานาจก็จะเปลี่ยนแปลงไปและสงผลให ระบบดุลอํานาจระหวางประเทศเปลี่ยนแปลงไปดวยหลักการกําหนดนโยบายตางประเทศตามทฤษฎี ระบบเปนหลักที่มีความละเอียดออนในปจจัยหรือตัวแปรตางๆจุดมุงหมายที่สําคัญคือ เพียงเพื่อใช สําหรับการศึกษากระบวนการกําหนดนโยบายตางประเทศที่สมบูรณเมื่อ นําไปปรับใชจําเปนตอง กําหนดขอบขายการศึกษาใหรัดกุม เพื่อเจาะลึกในบาง ประเด็นปญหา สวนการศึกษาในระดับกวาง นั้นจําเปนตองอาศัยผลการคาคาววิจัยจึง จะสามารถศึกษากระบวนการกําหนดนโยบายของนักทฤษฎี ทั้งสามทาน พฤติกรรมความสัมพันธทางการเมืองระหวางประเทศทุกยุคทุกสมัยยอมมีพื้นฐานจากสํานัก แหงความคิดซึ่งเปนผูสรางทฤษฎีลัทธิและหลักเกี่ยวกับความสัมพันธของการเมืองระหวางประเทศ ตามแนวความคิดยังมีอิทธิพลจนถึง ปจจุบันนี้ เราจะไมสามารถมองขามการเมืองระหวางประเทศที่จะความขัดแยง ระหวางกันความ รวมมือทางการเมืองจะมีความสําเร็จตองอาศัยคนกลางในการไกล เกลี่ยขัดแยงและการ ประนีประนอมซึ่งแมวาจะมีการใหคุณคาที่แตกตางกันออกไปแต อยางนอยก็จะมีลักษณะรวมกันถึง ความสําเร็จดังกลาวซึ่งประกอบไปดวยเกณฑการรักษาดุลภาพของรัฐและผลประโยชนของชาติเปน สําคัญเกณฑการลดความขัดแยง เปนมุมมองและความรูสึกของแตละประเทศ ประกอบดวย ความรูสึกวาพึงพอใจของคูกรณี ความรูสึกหรือตระหนักวากระบวนการเปนธรรมกลาวคือ คูกรณีตอง เห็นวา กระบวนการมีความเปนธรรม คุณภาพของประสิทธิผลเปนการเปลี่ยนแปลงจากความ รุนแรง มาสูพฤติกรรมการไมใชความรุนแรง เชน การลงนามในบันทึกขอตกลง การยอมรับการหยุดยิง เปน ตน ประสิทธิภาพเนนที่ตนทุนของการจัดการความขัดแยง ทรัพยากรที่ใช และ เวลา ขอตกลงที่ ไดถาหากใชเวลาที่รวดเร็วเกินไป หรือเนิ่นนานเกินไปก็ถือวาเปนปญหาแตกตางจากมุมมองและ ความรูสึกของผูนําประเทศ เนนที่ตัวชี้วัดที่ชัดเจน เห็นไดในเชิงประจักษ เชน เกิดความรุนแรงนอยลง การเสียชีวิตนอยลงพฤติกรรมหยุดการใชความรุนแรงคูกรณีมาสานเสวนากัน หรือขอตกลงกันในเวที โลก เปนตน 02_01-340_.indd 72 17/10/2562 8:34:21


73 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๔๘ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เอกสารอางอิงประจําบท ๑.๑ หนังสือ ชัยอนันต สมุทวณิช.ขอมูลพื้นฐานกึ่งศตวรรษแหงการเปลี่ยนแปลงการปกครองไทย.กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, ๒๕๒๔. ไชยรัตน เจริญสินโอฬารม.ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหมขบวนการเคลื่อนไหวประชา สังคมในตางประเทศ.กรุงเทพฯ : ศูนยวิจัยและผลิตตํารามหาวิทยาลัยเกริก, ๒๕๔๐. นพนิธิ สุริยะและสมบูรณเสงี่ยมบุตร. อดีตอธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมายและเอกอัครราชทูต ไทยกฎหมายระหวางประเทศ,กฎหมายระหวางประเทศ และองคการระหวางประเทศ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,๒๕๕๑. สมบัติ ธํารงคธัญวงศ. ทัศนคติทางการเมืองของเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานครพิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โครงการเอกสารและตํารา คณะรัฐประศาสศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร,๒๕๓๔. ๑.๒ บทความทางวิชาการ บุญสง ชัยสิงหกานานนท, “โลกหลังยุคใหม๕ : ความหมายของมนุษยในโลกภาย เทคโนโลยี ขาวสาร,” ไทยไฟแนนเชียล, ๒๕๓๗. _______“ประชาธิปไตย, ขบวนการทางสังคม และชนชั้นะความสําคัญของ ผูกระทําแบบ รวม หมู”, วารสารรมพฤกษ ๑๔ (พฤศจิกายน ๒๕๓๘ พฤษภาคม ๒๕๓๔): ด๑๓-๑๗. ______“ประชาธิปไตยในศตวรรษที่ ๒๑: ภาพเหมือนของโลกในวัยเถื่อน, ” เอกสาร ประกอบการสัมมนา “๒๕๐๐ปประชาธิปไตยกับขบวนการประชาชน” จัด ณ หองสัมมนาด๓๐๔ มหาวิทยาลัยเกริก, ๒๖-๒๗ ม.ค. ๒๕๓๙ เวลา ๙.๐๐-๑๖.00น.(ฉบับ ปรับปรุงแกไขใหมอยูในระหวาง ดําเนินการตีพิมพใน รวมบทความหลายผูเขียนชุด “๒๕๐๐ ป ประชาธิปไตย") ______ “ปรัชญาสกุลหลังสมัยใหม(Postmodernism),” วารสารรมพฤกษ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๓๔- มกราคม ๒๕๔๐); ๕๗-๑๐๒. ๑.๓ สื่ออิเล็กทรอนิกส 02_01-340_.indd 73 17/10/2562 8:34:22


74 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๔๙ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ การเมืองระหวางประเทศ https://sites.google.com/site/porjantor/karmeuxng-rahwangprathes สืบคนเมื่อวันที่ ๕ ก.ค. ๒๕๖๐. ความสําคัญระบบการเมืองระหวางประเทศ http://www.baanjomyut.com/library/global_community/๐๔.html สืบคนเมื่อ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๐. ความสําคัญระบบการเมืองระหวางประเทศ http://www.baanjomyut.com/library/global_community/.html สืบคนเมื่อ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๐. ความรวมมือระหวางประเทศ https://th.wikipedia.org/wiki, สืบคนเมื่อวันที่ ๑๑ ก.ค. ๒๕๖๐. สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต https://www.gotoknow.org/posts/สืบคนเมื่อ วันที่ ๕ กรกฎาคม๒๕๖๐. ทฤษฎีที่นาสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศ https://www.gotoknow.org/posts/๑๗๙๕๕๓ สืบคนเมื่อ ๑๔เมษายน ๒๕๖๐ องคกรความรวมมือระหวางประเทศ http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/๒๑๒๘, สืบคนเมื่อวันที่ ๖ ก.ค. ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 74 17/10/2562 8:34:23


ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ บทที่ ๔ พฤติกรรมของรัฐและอํานาจทางทหาร ๔.๑ ความนํา รัฐเปนนิติบุคคลรัฐจึงไมสามารถกระทําการใด ๆ ดวยตนเองได การแสดงพฤติกรรมของรัฐ การกระทําทั้งหลายของรัฐ จึงตองกระทําการโดยผานบุคคลธรรมดาทั้งหลายที่ดํารงตําแหนงที่สําคัญ ทางการเมืองเชนประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี ซึ่งเปนบุคคลของรัฐทั้งสิ้น เพียงแตกฎหมายใหถือวา การกระทําของบุคคลธรรมดาเหลานั้น หากไดกระทําภายในขอบเขตและเงื่อนไขของรัฐหรือวิธีที่ กฎหมายกําหนดแลว ใหถือวาการกระทํานั้นเปนการกระทําของรัฐ ซึ่งหมายความวา หากการกระทํา นั้นกอใหเกิดสิทธิใดๆสิทธิดังกลาวนั้นยอมตกไดแกรัฐและใน ขณะเดียวกันหากการกระทํานั้น กอใหเกิดหนาที่บางประการหนาที่ ดังกลาวนั้นก็ตก เปนหนาที่ของรัฐมิใชหนาที่เปนการสวนตัวของ บุคคลผูกระทําการแทนรัฐการกระทําของรัฐตองเปนการกระทําของบุคคลธรรมดาซึ่งไดรับแตงตั้งให ดํารงตําแหนงเปน องคกรของรัฐ ตองเปนการกระทําของบุคคลธรรมดาซึ่งดํารงตําแหนงหนาที่ เปน องคกรของรัฐอันไดทําลงในฐานะที่เปนองคกรของรัฐกลาวคือ เปนการกระทําที่เกี่ยวเนื่องกับตําแหนง หนาที่ที่ตนดํารงอยูและการกระทําที่เกี่ยวเนื่องกับหนาที่นั้น จะตองกระทําลงเพื่อรักษาไวซึ่งประโยชน สวนรวมโดยที่การกระทําของรัฐหรือการใชอํานาจของรัฐเปนการใชอํานาจมหาชนโดยผานบุคคล ธรรมดาดวยเหตุนี้เอง การใชอํานาจของรัฐดังกลาว จึงอาจมิไดกระทําการอยูภายในขอบเขต เงื่อนไข หรือวิธีการ ตามที่กฎหมายกําหนดไว หรือการใชอํานาจรัฐโดยผานบุคคลธรรมดานั้น อาจจะกระทํา โดยมีเจตนาที่จะทุจริตตอหนาที่ หรือมีมูลเหตุจูงใจในการกระทําที่ไมเปนไป ตามวัตถุประสงคของ กฎหมาย หรือพยายามบิดเบือนการใชอํานาจรัฐเพื่อตนเองหรือ กลุมของตนเองการใชอํานาจรัฐใน ลักษณะดังกลาว ลวนแตเปนการกระทําที่มีความบกพรองทั้งสิ้น ดวยเหตุนี้ จึงจําเปนตองมีการ ควบคุมและตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ ในแงหนึ่งเพื่อควบคุมใหการใชอํานาจรัฐดําเนินไปเพื่อบรรลุ ภารกิจของรัฐทั้งหลายใน อีกแงหนึ่งก็เพื่อปองกันการใชอํานาจอยางบิดเบือน การใชอํานาจตาม อําเภอใจทั้งนี้ ก็ เพื่อเปนการคุมครองสิทธิของประชาชนที่เกี่ยวของกับการใชอํานาจรัฐ ๔.๒ ความหมายพฤติกรรมของรัฐ พฤติกรรมของรัฐ หมายถึง เปนการแสดงออกทางการเมือง ซึ่งจะมีผลกอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางการเมือง ดังนั้นพฤติกรรมทางการเมืองจึง เกี่ยวของกับกิจกรรมทางการเมือง เชน 02_01-340_.indd 75 17/10/2562 8:34:24


76 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๘๗ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ การเลือกตั้ง ไดแก การไปใชสิทธิเลือกตั้ง การมีสวนรวมในการรณรงคหาเสียง การเขารับสมัครรับ เลือกตั้ง เปนตน การเขารวม ประชาพิจารณ การเขารวมตอสูทางการเมือง ณรงค สินสวัสดิ์๑ กลาววา พฤติกรรมทางการเมืองของบุคคล เชน การเขาไปมีสวนรวม ในทางการเมืองในระดับตาง ๆ การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การชวยพรรคการเมืองหาเสียง การลง สมัครรับเลือกตั้ง การเดินขบวนหรือแสดงออก ซึ่งการคัดคานรัฐบาล การเลือกพรรคการเมืองที่เห็น วาดีที่สุด การเลือกอุดมการณทาง การเมืองที่เห็นวาดีที่สุด รวมไปถึงพฤติกรรมของผูนําการเมือง เปน ตน พฤติกรรมทาง การเมืองที่มีลักษณะเดนคือ การมีสวนรวมทางการเมือง พฤติกรรมของรัฐ หมายถึง การแสดงออกในการดําเนินการกิจการของรัฐหนึ่งใหเปนไปตามนโยบายหรือ เจตนารมณ ของตนการแสดงออกหรือพฤติกรรมของประเทศนั้นมักจะมุงเรื่อง ผลประโยชนเปนหลัก รัฐนั้น ๆ จะ ดําเนินการทุกวิถีทางเพื่อใหบรรลุเปาหมายของตน พฤติกรรมนั้น ๆ จะเปนพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับ รัฐอื่น เรียกวา พฤติกรรมระหวาง ประเทศ พฤติกรรม หมายถึง การแสดงออกดวยการกระทําของมนุษย ในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย กิจกรรมทางการเมืองนั้นจะใหประชาชนแตละคนมีสวนในการกําหนดนโยบายในการ ปกครองบานเมือง ในทางเศรษฐกิจก็มุงให ประชาชนมีเสรีภาพในการประกอบการทางเศรษฐกิจหรือ ใหบุคคลไดรับหลักประกัน ในการดําเนินการทางเศรษฐกิจเพื่อใหไดประดยชนในทางเศรษฐกิจ ใน ดานสังคมตอง ใหประชาชนไดรับความเสมอภาค ความยุติธรรมทางสังคม ไมใหเกิดการกีดกัน ระหวางกลุมบุคคลหรือระหวางชนชั้น ปองกันมิใหเกิดระบอบอภิสิทธิ์ชนชั้นในชาติ ทางดานวัฒนธรรม มุงสรางคานิยมและแบบแผนประเพณีที่ยึดถือ การยอมรับนับถือ คุณคา และศักดิ์ศรีของมนุษยเพื่อเกิดความเขาใจ และเห็น ประโยชนแกสวนรวม ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่ ชอบธรรม ตลอดจนการดํารงชีวิตให อยูในลักษณะดวยการยอมรับความสําคัญของกันและกัน พฤติกรรมของประเทศมหาอํานาจที่เขาไปมีบทบาทในประเทศที่ เปนอาณานิคมของตน จะ ดําเนินการดวยการเอาเปรียบดวยการเขาครอบงําใน ลักษณะที่เรียกวา Direct Colonial Domination หมายถึง การเขาไปครอบครองการ ปกครองในอาณานิคมทั้งหมด และเปดโอกาสใหมี การอพยพเขามาอยูในดินแดน อาณานิคมโดยไมจํากัด ชาวพื้นเมืองถูกขจัดออกไปไมใหมีสวนรวม ทางการเมืองคําวา “รัฐ” ซึ่งมีความหมายถึงองคการทางการเมืองที่มีความมั่นคงของมนุษยชาติ จํานวน หนึ่งและชีวิตทางการเมืองของชุมชนนั้นปฏิบัติหนาที่อันมีลักษณะดังนี้ ๑. เปนกลุมคนที่มีประโยชนและจุดหมายรวมกัน (group of people with common purpose) ๑ ณรงค สินสวัสดิ์, พฤติกรรมมุษย, กรุงเทพฯ : วัชรินทรการพิมพ, ๒๕๓๙ 02_01-340_.indd 76 17/10/2562 8:34:25


77 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. มีดินแดนเปนสัดสวน (territory) ๓. มีอิสระจากการควบคุมของตางประเทศ (independence) ๔. มีอํานาจสูงสุดหรือมีอธิปไตยรวมอยู (a common supreme authority) โดยรวมตามแนวความคิดของ เดชชาติ วงศโกมลเชษฐ๒ รัฐคือ สมาคมของมนุษยจํานวนหนึ่ง ครอบครองที่ดินแดนแหงหนึ่งที่มีขอบเขตแนนอน รวมกันอยูภายใตรัฐบาลหนึ่ง ถาเปนกิจการภายใน เปนองคการแสดงออกซึ่งอธิปไตย แตถาเปนกิจการภายนอกเปนอิสระจากการบังคับบัญชาของ รัฐบาลอื่น ๔.๒.๑ การควบคุมพฤติกรรมของรัฐ๓ ความพยายามที่จะควบคุมพฤติกรรมของรัฐใหอยูในขอบเขตที่ ไมเปนภัยตอความ สงบเรียบรอยของประชาคมโลกมีดังนี้ ๑. กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมายระหวางประเทศ ชวยใหการติดตอสัมพันธ ระหวางรัฐดําเนินไปดวยดี กฎหมายระหวางประเทศ สวนใหญเปนที่ยอมรับของนานาชาติ เชน กฎ บัตรสหประชาชาติ กฎหมายการคมนาคมทางทะเล อวกาศและอากาศ ๒. ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ องคการยุติธรรมระหวาง ประเทศถือวาเปนกลไก ในการควบคุมพฤติกรรมของรัฐเมื่อเกิดกรณีพิพาทระหวางกัน รัฐคูพิพาทอาจนําคดีขึ้นสูการพิจารณา ชี้ขาดของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด ซึ่งการดําเนินการของศาล โลก ไดแก การหาขอตกลงเพื่อยติขอพิพาทระหวางประเทศ ศาลโลกไดพิจารณาตัดสินและให คําแนะนําตางๆ เพื่อยุติความขัดแยงระหวางประเทศในเรื่องปญหาเขตแดน การไมแทรกแซงกิจการ ภายใน ความสัมพันธทางการทูต การใหที่พักพิงผูลี้ภัย การชวยเหลือตัวประกัน สิทธิการผานแดนและ สิทธิทางเศรษฐกิจ ๓. องคการสหประชาชาติ องคการสหประชาชาติไดถือกําเนิด หลังสงครามโลกครั้ง ที่ ๒ โดยสืบตอจากองคการสันนิบาตชาติซึ่งสลายตัวไป เพราะ ไมอาจดําเนินงานตามวัตถุประสงคได หนวยงานหลักขององคการสหประชาชาติที่ทําหนาที่รักษาสันติภาพ คือ คณะมนตรีความมั่นคง และ สมัชชาใหญ คณะมนตรีความมั่นคงเปนองคการที่มีชาติมหาอํานาจของโลก ๕ ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน อังกฤษและฝรั่งเศส เปนสมาชิกถาวรมีอํานาจพิเศษในการยับยั้ง (Veto) ๒ เดชชาติ วงศโกมลเชษฐ, หลักรัฐศาสตร, กรุงเทพฯ: ๒๕๐๘. ๓ การควบคุมพฤติกรรมของรัฐ https://sites.google.com/site/thaniyaru/bth-thi ๑/karkhwbkhum-phytikrm ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 77 17/10/2562 8:34:25


78 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ การ ดําเนินการรักษาสันติภาพซึ่งสมาชิกทั่วไปมีสิทธิพิเศษที่ชาติมหาอํานาจไดรับจาก แนวคิดวาการ รักษาสันติภาพขึ้นอยูกับชาติมหาอํานาจเปนสําคัญชาติมหาอํานาจตองแบกรับภาระนี้มากกวาสมาชิก ทั่วไป ความเปนเอกภาพของชาติมหาอํานาจเปนกุญแจของการแกไขปญหา ตางๆในโลกสวน สมัชชาใหญเปนองคกรอันเปนที่รวมของบรรดามวลสมาชิกซึ่งจะอาศัยสมัชชาเปนเวทีของการ แสดงออก ซึ่งความคิดและปญหาของตนรวมทั้งรวมกัน บัญญัติกฎเกณฑที่จําเปนตอรัฐ ๔. ดุลแหงอํานาจ รัฐ รัฐตาง ๆ พยายามแสวงหาสันติภาพ และความมั่นคงดวย มาตรการทางการเมืองและการทหารดุลแหงอํานาจจะรักษา สันติภาพไดมีประสิทธิภาพมากกวา องคการระหวางประเทศ ในปจจุบันการสราง ดุลอํานาจไดพัฒนาไปสูการสรางดุลแหงนิวเคลียร ประเทศอภิมหาอํานาจไดสะสม อาวุธนิวเคลียรใหมีอํานาจทําลายในระดับทัดเทียมกัน โดยเชื่อวาเมื่อ มีเหตุการณ จะตองอยูในฐานะไดเปรียบโดยการเพิ่มปริมาณอาวุธนิวเคลียรมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นม หันตภัยจากการสรางดุลแหงนิวเคลียรทําใหแนวคิดเดิมคือดุลแหงอํานาจกลายเปนสภาพดุลแหงความ นาสะพรึงกลับ เพราะเปนการปองกันสันติภาพโดยใชมนุษยชาติ ทั้งหมดในโลกเปนเครื่องค้ําประกัน ๕. มตินานาชาติ เปนปจจัยเชิงนามธรรมที่มีบทบาทในการยับยั้ง การกระทําของ ชาติมหาอํานาจตอชาติเล็ก ๆ เปนแรงกดดันของกระแสเรียกรองเชิง มโนธรรมตอปญหาใดปญหา หนึ่ง มตินานาชาติจึงมีบทบาทสูงมาก เพราะเปนมติรวมของประชาคมโลกในการตัดสินชี้ขาดถึงความ ถูกตองที่พึงจะเปนและเปนสามัญสํานึก รวมที่จะรองรับความชอบธรรมของการกระทําใดๆ ในเวที การเมืองของโลก ๔.๒.๒ พฤติกรรมของรัฐระหวางประเทศ ๑. พฤติกรรมระหวางประเทศในลักษณะความรวมมือ ๑.๑ ความรวมมือในดานสังคม องคการระหวางประเทศทั้งในระดับโลก และภูมิภาคพยายามที่จะขจัดปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับสังคม โดยอาศัย ความรวมมือระหวางประเทศ องคกรเหลานี้จะทําหนาที่โดยปฏิบัติในดานอนามัย การศึกษาและการวิจัย การขนสงและการ คมนาคม สวัสดิการทางสังคม การให คําปรึกษาในดานกฎหมายและการบังคับตามกฎหมาย ๑.๒ ความรวมมือในดานเศรษฐกิจ องคกรระหวางประเทศพยายาม สงเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ นอกจากนั้นยังทําหนาที่เกี่ยวกับการคา กําหนดขอบังคับเกี่ยวกับ ตลาดสินคา รักษาสถานะทางการเงินระหวางประเทศ ตลอดจนสงเสริมใหมีการรวมตัวในดาน 02_01-340_.indd 78 17/10/2562 8:34:26


79 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation เศรษฐกิจ เพื่อใหเกิดประโยชนรวมกัน เชน การรวมตัวของกลุมประเทศอาเซียน และกลุมสหภาพ ยุโรป ๑.๓ ความรวมมือทางดานการเมือง ประเทศทั้งหลาย จะตองไมยุงเกี่ยว ในเรื่องการจัดการบริหารปกครองของรัฐอื่น หรือไมเขาไปแทรกแซง ในรัฐอื่นเมื่อเกิดปญหาเพราะ เปนเรื่องภายในรัฐแตการใหความรวมมือในทางการเมือง ที่สําคัญคือ การคุมครองสิทธิมนุษยชนใน ระดับปฏิญญาสากล ไดประกาศวาในการคุมครองจะเกิดขึ้นหรือไมขึ้นอยูกับความสมัครใจที่จะปฏิบัติ ตาม ๑.๔ ความรวมมือทางทหาร การใหความรวมมือเมื่อมีการขอรองในการ จัดสงกําลังทหารเพื่อชวยปกปองอํานาจอธิปไตย เมื่อถูกคุกคามสหรัฐฯ เม็กซิโก และแคนาดา รวม หารือดานการคาและความมั่นคงระหวางกัน ตร. Condoleezza Rice รมว.กต. สหรัฐฯ นาง Patricia Espinosa รมว.กต. เม็กซิโก และนาย Maxime Bernier รมว.กต. แคนดา หารือรวมกันใน ประเด็นการคาเสรี ทั้งในกรอบการเจรจาการคารอบโดฮา และเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) ซึ่งทั้ง ๓ ฝาย เห็นพองวาการทําความตกลงทางการคาเสรี วาเปนปจจัยหลักตอความมั่นคงในภูมิภาค ทั้งนี้ นาย Bernier ไดเปดเผยเพิ่มเติมวา ในขณะนี้ แคนาดาอยูระหวาง การเจรจาขอตกลงการคาเสรี กับรัฐบาลโคลอมเบีย และคาดวาจะสามารถบรรลุความตกลงรวมกันในเร็ว ๆ นี้ขณะที่ความพยายาม ผลักดันขอตกลงการคากับโคลอมเบีย ของประธานาบดีบุชยังคงถูกคัดคานจากรัฐสภาสหรัฐฯ นอกจากนี้ ที่ประชุมไดหารือ รวมกันในประเด็นความมั่นคง โดยเฉพาะการใหความชวยเหลือเพื่อ บรรเทาความ เสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งทั้ง ๓ ฝาย ไดเสนอแผนความชวยเหลือรวมกัน ในกรณีภัยธรรมชาติในภูมิภาคลาตินอเมริกา และแคริบเบียน ทั้งนี้ จุดประสงคในการ หารือสวนหนึ่ง เพื่อเปนการเตรียมความพรอมกอนการประชุมรวม ๓ ประเทศที่จะมี ขึ้น ณ เมืองนิวออรีนส ระหวาง วันที่ ๒๑ - ๒๒ เมษายน เพื่อติดตามความกาวหนา และรวมกันกําหนดทิศทางการดําเนินงานตาม ยุทธศาสตร ความเปนหุนสวนดาน เศรษฐกิจและความมั่นคง ซึ่งเริ่มดําเนินการมาตั้งแตป ๒๕๔๘ โดย มีวัตถุประสงคเพื่อ สงเสริมความรวมมือในการตอตานการกอการรายและภัยคุกคามในรูปแบบอื่น ๆ และ เพื่อสงเสริมการคาระหวางกัน ๒. พฤติกรรมระหวางประเทศในลักษณะความขัดแยง ปญหาความขัดแยงในซีเรีย เริ่มขึ้นเมื่อเดือน มี.ค.ป๒๐๑๑ หลังจากที่ ประธานาธิบดีบาชาร อัล อัสซาด มีคําสั่งปราบม็อบอาหรับสปริงในซีเรีย ซึ่ง ออกมาชุมนุมกันอยาง สงบเรียกรองใหประธานาธิบดีลงจากตําแหนง เมื่อถูกปราบปรามอยางหนัก กลุมผูชุมนุมก็เริ่มจับ อาวุธตอบโตกลับ จนกลายมาเปนความวุนวายทางการเมืองในประเทศ โดยการตอสูดังกลาวทาง 02_01-340_.indd 79 17/10/2562 8:34:27


80 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ รัฐบาลซีเรียใหการสนับสนุน นักโทษจิอัดมาตอกร กับ “กองทัพปลดปลอยซีเรีย” (Free Syrian Army) ซึ่งก็คือ กลุมผูประทวงการสูรบจึงรุนแรงขึ้น๔ ในป ๒๐๑๒ การสูรบในซีเรียเริ่มแปรสภาพเปนสงครามตัวแทนมากขึ้น หลังจากมีกลุมตาง ๆ ออกมาสูรบเพื่อแยงชิงอํานาจทั้ง กลุมจาบัด - อัล - นุสรา ที่ กอตั้งโดยกลุมอัล กออิดะหในซีเรีย, กลุมชาวเคิรด รวมถึงกลุมกองทัพปลดปลอยซีเรีย และรัฐบาลซีเรียที่สูรบกันอยูแลว โดยอิหราน ไดใหการสนับสนุนทั้งเงิน เสบียงและอาวุธแกรัฐบาลซีเรีย ขณะที่ซาอุดีอาระเบีย และ กลุมชาติอาหรับผูร่ํารวยแหงอาว เปอรเซียไดใหการสนับสนุนกลุมกบฏเพื่อเปนการตอบโต คาน อํานาจซึ่งกันและกัน ในป ๒๐๑๓ สหรัฐ ไดมีบทบาทเขามาเกี่ยวของกับการสูรบในซีเรียครั้งนี้ โดยสหรัฐมีการเซ็นคําสั่งใหซีไอเอทําการฝกซอมรบรับมือกลุมกบฏซีเรีย แตโครงการ ดังกลาวก็ลมไป กอนที่สหรัธ จะประกาศหนมกลองเอและพรอมจะตอบโตซีเรีย ภายหลัง รัฐบาลนายอัสซาดใชอาวุธ เคมีโจมตีกลุมกบฏในเมืองกัวตาร เขตชุมชนชาน กรุงดามัสกัส มีผูลมตายนับพัน กอนที่รัสเซีย จะ ออกมาแถลงวา รัฐบาลซีเรียยอมจํานนแลวเพื่อลดความตึงเครียด เนื่องจากรัสเซียไดใหการสนับสนุน รัฐบาลซีเรียอยู สงครามซีเรีย ไดยกระดับเปลี่ยนแปลงไปอีกขั้น เมื่อกลุม ISIS ไดปรากฏตัว ขึ้น โดยกลุมดังกลาวแยกตัวจากกลุมอัลกออิดะหในอิรัก ภายหลัง ความเห็นไมลงรอยกันในเรื่องของ ซีเรีย โดย ISIS ไมไดตอสูกับประธานาธิบดีอัสซาด แตตอสูกับกลุมกบฏซีเรียและกองกําลังชาวเคิรด เพื่อกอตั้งดินแดนของตัวเองที่ เรียกวาคาลิเฟต (Caliphate) ขึ้นมาในซีเรียและใน ปนั้น กลุม ISIS ก็ ขามพรมแดน จากพื้นที่ยึดครองในอิรักสูซีเรีย ยึดเมืองโมซูล และรุกรานกลุมชาวเคิรดในอิรัก ซึ่งเปน พันธมิตรของสหรัฐฯ ทําใหสหรัฐฯ ไมพอใจประกาศตอสูกับกลุม ISIS แทนการตอตานรัฐบาลซีเรีย ซึ่ง สาเหตุที่ทําใหสหรัฐฯ ตองประกาศพรอมสูรบกับ ISIS นั้น เปน เพราะกลุมดังกลาวมีการจับ ๒ นักขาวชาวอเมริกันเปนตัวประกัน กอนจะสังหารอยาง โหดเหี้ยมในเวลาตอมาซึ่งการสังหารดังกลาวมี การเผยแพรคลิปไปทั่วโลก สรางความสะเทือนใจเปนอยางมาก แตกระนั้นการประกาศตัวทําสงคราม กับกลุม ISIS ของสหรัฐกลับมีคําถามเกิดขอคับของใจ เมื่อการโจมตีของสหรัฐฯ โดยผานตุรกีเปนการ โจมตี ฝายรัฐบาลในซีเรียดวย ในป ๒๐๑๕ รัสเซียก็เขาแทรกแซง สงกองกําลังเขาโจมตีทางอากาศ แมจะ เปนที่เขาใจในคราวแรกวาเปนการโจมตีกลุม ISIS แตจากผลงานที่ปรากฏหลังปฏิบัติการ กลับพบวา ๔ จุดกําเนิดของความขัดแยงในซีเรีย https://news.mthai.com/webmastertalk/469683.html, สืบคนเมื่อ วันที่ ๑๖ ก.ค.๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 80 17/10/2562 8:34:28


81 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ฝายที่รัสเซียโจมตีนั้นคือกลุมกบฏซีเรียที่ตอตานนายอัสซาด อันเปนกลุมที่ไดรับการหนุนหลังจาก สหรัฐฯ สวนการเขามามีบทบาททางการเมืองในประเทศตะวันออกกลางของ ฝรั่งเศส จนทําใหกลุม ISIS พุงเปาโจมตีปารีสมากกวาประเทศอื่น ๆ ในยุโรปนั้น เปนเพราะระยะหลัง ฝรั่งเศสเขาไปเกี่ยวของกับการเมืองในตะวันออกกลางสูงมากหลังเกิด จาหรับสปริง ฝรั่งเศสเปนแกน นําในการถลมลิเบียเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง และยังเปนพันธมิตรหลักกับสหรัฐในปฏิบัติการถลม ไอเอส จึงอาจเปนแรงจูงใจที่นําไปสูเหตุการณโจมตีกลางกรุงปารีสได ความขัดแยงในซีเรีย จึงไมไดจํากัดวงแคการสูรบภายในประเทศ เทานั้น แตเปนความขัดแยงที่มีกลุมตาง ๆ และนานาประเทศเขามาเกี่ยวของ และ จากความขัดแยงนี้เองทํา ใหเรื่องกลับบานปลาย จนหลายคนหวาดวิตกในสวัสดิภาพ ชีวิต พลอยคิดไปไกลวานี่อาจเปนสงคราม ระหวางเชื้อชาติ จนนําไปสูสงครามโลกครั้งใหมได พฤติกรรมระหวางประเทศคือการแทรกแซงซึ่งกฎหมายระหวาง ประเทศที่ มีปญหาคือการแทรกแซงกิจการภายในของอีกรัฐหนึ่ง ฉะนั้นการที่รัฐ ฯ หนึ่งจะเขาไปตั้งฐานทัพอีกรัฐ หนึ่งนั้นจะตองมีการทําสนธิสัญญาไวชัดเจนวาระหวางที่ กองกําลังปฏิบัติหนาที่อยูนั้นถากระทํา ความผิดจะตองไมขึ้นศาลของประเทศนั้น การแทรกแซงกิจการภายในระหวางรัฐนั้น มักปรากฎอยูบอย ๆ ในอดีตที่ ผานมาการแทรกแซงที่กลายมาเปนคดีระหวางประเทศจนมีการฟองรองถึงศาล โลก เชน คดีชองแคบ คอรฟู (Corfu channl case) กลายเปนขอพิพาทระหวาง Albania and England ประเด็นที่เปน ปญหาคือ เรือพิฆาตของอังกฤษสองลํา ลาดตระเวนอยูในนานน้ําของ อัลบาเนีย และถูกทุนระเบิด ของอัลบาเนีย ไดรับความ เสียหาย ทางอังกฤษตองการให อัลบาเนีย เก็บกวาดทุนระเบิด แตทางอัล บาเนียไมยอมทําตามคําขอของอังกฤษ ทางอังกฤษจึงดําเนินการเอง อัลบาเนียจึงฟองศาลโลก วา อังกฤษแทรกแซง ซึ่งอังกฤษอางวากระทําการเพื่อปกปองตนเอง ศาลโลกตัดสินวา อังกฤษละเมิด อํานาจอธิปไตยของอัลบาเนีย ฝาฝนกฎหมายระหวางประเทศ ฉะนั้น การแสดงออกของรัฐที่มี พฤติกรรมแทรกแซงนั้นควรเปนการแทรกแซงเพื่อใหความ คุมครองเทานั้น พฤติกรรมของรัฐเกิดจากพฤติกรรมของผูนําที่จะนําประเทศไปสู นโยบายหรือเปาหมายที่ตั้ง ไว จึงอาจนําไปสูทางใดทางหนึ่ง ดังนี้ ๑. แสดงพฤติกรรมเพื่อการสันติ ขจัดความขัดแยงดวยสันติวิธี มีการเจรจาตอรอง เพื่อมิใหฝายหนึ่งฝายใดเสียเปรียบมากเกินไป 02_01-340_.indd 81 17/10/2562 8:34:29


82 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๒. พฤติกรรมลักษณะขอความชวยเหลือซึ่งกันและกัน หรือขอความรวมมือระหวาง กัน เพื่อการพัฒนาดานสังคม การเมือง การทหาร และดานวัฒนธรรม เพื่อชีวิตที่ดีของประชาชน และ ความมั่นคงของประเทศตนเอง ๓. พฤติกรรมแสดงออกใหคนอื่นกลัว วาประเทศของตนมีอํานาจ เหนือประเทศอื่น เมื่อไมไดบรรลุผลตามที่คางเอาไว ก็จะใชกําลังทหารเขารุกราน แนวคิดพฤติกรรมของรัฐ พิจารณาระบบรัฐภายใตบริบทของสังคม โลกวาตองปฏิสัมพันธกับ หนวยงานระหวางประเทศที่หลากหลาย ถูกขับเคลื่อนไป ภายใตแบบธรรมเนียมและกฎเกณฑ ระหวางประเทศ รัฐในฐานผูแสดงพฤติกรรมจึงมี อิสระที่จะเลือกกระทําหรือไมกระทํากิจกรรมหนึ่ง ๆ กับอีกรัฐหนึ่งหากแตขึ้นอยูกับ ความสัมพันธเชิงโครงสรางโลกที่เกี่ยวของกับผลผลิต การแลกเปลี่ยน และการตอรอง ผานรูปแบบของวัฒนธรรมและการสื่อสารในระดับโลก ครอบคลุมพหุมิติทั้งในทาง การเมือง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม ความสัมพันธของรัฐที่เกิดขึ้น ถือเปนสวนหนึ่ง ของความสัมพันธของมนุษยซึ่งใหความสําคัญกับความเปนอิสระ ความมั่นคง ระเบียบและความ ยุติธรรม ในขณะเดียวกันก็ใหการยอมรับถึงอํานาจ อธิปไตยของแตละรัฐ ผลประโยชนของรัฐ และ สิทธิมนุษยชนระหวางประเทศดวย ๔.๓ อํานาจทางทหาร เครื่องมือทางการทหารเปนเครื่องมือที่สําคัญในการดําเนินความสัมพันธ ระหวางประเทศ มักจะถูกนํามาใชหลังเครื่องมือทางการทูตเครื่องมือทางจิตวิทยาไม ไดผล จึงใชเครื่องมือทาง การทหารซึ่งตองใชดวยความระมัดระวัง เพราะเครื่องมือ ทางการทหารไมไดกอใหเกิดผลดีเสมอไป หากใชไมรอบครอบ ก็จะนํามาซึ่งความเสียหายอยางมหาศาล เปาหมายของการใชเครื่องมือทาง การทหารของรัฐตางๆ มี ๒ ประการ คือ ๑. เปาหมายภายในถูกนะมาใชเพื่อรักษาเสถียรภาพและความมั่นคง ภายใน กรณีที่ สถาบันทางการเมืองขาดความมั่นคงรัฐอาจใชอํานาจหรือกําลังทางการทหารเพื่อรักษาเสถียรภาพ และความมั่นคงและบางประเทศอาจใชกําลังทางการทหารเพื่อปองกันการยึดอํานาจจากชนกลุมนอย ที่พยายามลมลางรัฐบาล ๒. เปาหมายภายนอก เครื่องมือทางการทหารที่นํามาใชเพื่อ เปาหมายภายนอก มี วัตถุประสงคเพื่อสรางอิทธิพลเหนือรัฐอื่น โดยนโยบาย ตางประเทศที่มีขึ้นเพื่อสกัดกั้น ยับยั้ง หรือ ตอบโตภัยคุกคามทางการทหารจากรัฐอื่น รวมทั้งการแสวงตําแหนงในองคการสหประชาชาติเพื่อ ดําเนินหรือจัดการกับความ ขัดแยงตาง ๆ 02_01-340_.indd 82 17/10/2562 8:34:30


83 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๔.๓.๑ เครื่องมือทางการทหารมี ๔ ประเภท คือ ๑. อํานาจทางการทหาร อํานาจทางการทหารหรือกําลังหาร การทหารงัดเปน เครื่องมือที่สําคัญในการตาเปนความสัมพันธระหวางประเทศ เนื่องงมาประเทศที่มีกําลังทางการทหาร เขมแข็งทั้งในดานคุณยาพของอาวุธและ จํานวนกําลังพลยอมเปนฝายไดเปรียบในสงครามตลอดจน การพัฒนาไปสูความเปนมหาอํานาจของโลก วัตถุประสงคของการใชอํานาจทางการทหารมีดังนี้ ๑,๑ เพื่อสนับสนุนการดําเนินการทางการทูตใหประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย เชน เพื่อรักษาสถานภาพเต็ม เพื่อปองกันตนเอง เพื่อรักษาดุลอํานาจทางการเมือง และเพื่อตอตานภัย คุกคามจากรัฐอื่น ๑.๒ เพื่อแสดงถึงกําลังอํานาจ เปนการพยายามทั้งมิตรและศัตรู รูถึงพลังทาง การทหารที่ตนอาจนํามาใชในกรณีที่มีเหตุการณใดที่ตนไมพึงปรารถนา เกิดขึ้นและเพื่อใหรัฐอื่น ตระหนักถึงความสามารถและความตั้งใจจริงของตนในการ เผชิญกับปญหา ๑.๓ เพื่อไมใหประเทศที่คิดจะขยายอิทธิพลของตนประสบความสําเร็จในการรุกราน ๒. สงคราม สงครามคือสภาวะความขัดแยงระหวางที่กลุมที่เปนศัตรูกันและใชกําลัง อาวุธเปนเครื่องมือในการยุติความขัดแยงสาเหตุของสงคราม แบงออกเปน ๑๐ ปจจัยดังนี้ ๒.๑ ปจจัยทางดานจิตวิทยา ใชในการวิเคราะหสาเหตุของการ เกิดสงคราม โดย วิเคราะหทั้งในปจเจกชนและระดับกลุม โดยเฉพาะแรงจูงใจ ทัศนคติ และบุคลิกภาพของบุคคล โดยเฉพาะผูนํารัฐ ที่มีความขัดแยงจนสามารถนําไปสูขอพิพาทและเกิดสงครามในที่สุด ๒.๒ ปจจัยทางดานอุดมการณ ความแตกตางทางอุดมการณ เปนปจจัยที่นําไปสูการ เกิดสงคราม การปฏิวัติที่เกิดจากการตอสูทางอุดมการณของคนสองกลุม ที่กลุมหนึ่งเนนเรื่องเสรีภาพ ความเสมอภาคและภารดรภาพ กับอีกกลุม ที่ยึดความสําคัญของสถาบันและระบบศักดินา ๒.๓ ปจจัยความแตกตางทางเชื้อชาติ ศาสนา สามารถกอใหเกิด การใชความรุนแรง การกระทําที่กาวราวตอกลุมที่มีเชื้อชาติ ศาสนาที่แตกตางจากกลุมของตนได หรืออาจเปนปจจัยที่มา จากการแยงชิงผลประโยชนทางเศรษฐกิจ ระหวางกลุมที่มีความแตกตางทางเชื้อชาติ ศาสนาจนทําให เกิดสงครามได ๒.๔ ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ การที่ประเทศตางมีอํานาจของชาติที่แตกตางและไม เทาเทียมกันของทรัพยากรธรรมชาติ อาจนําไปสูปญหาการแยงชิงทรัพยากรธรรมชาติ และแยง ผลประโยชนทางเศรษฐกิจจึงเปนสาเหตุสําคัญที่ นําไปสูการทําสงครามระหวางรัฐได 02_01-340_.indd 83 17/10/2562 8:34:31


84 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๒.๕ ปจจัยทางดานระบบระหวางประเทศ คือ สภาพสังคม ระหวางประเทศใน ชวงเวลาหนึ่ง ที่ประกอบดวยประเทศกลุมประเทศโดยแตละหนวย มีความสัมพันธกันในลักษณะที่ถา มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับฝายหนึ่งยอมสงผลกระทบตอหนวยอื่นๆ หรือสงผลกระทบตอระบบทั้ง ระบบ จนเกิดสงครามได ๒.๖ ปจจัยดานการแขงขันอาวุธการแขงขันอาวุธอาจทําใหเกิด การสะสมอาวุธที่ อาจนําไปสูความตึงเครียดระหวางประเทศไดและความตึงเครียดที่เกิดขึ้นอาจนําไปสูการทําสงคราม ระหวางรัฐไดในที่สุด ๒.๗ ปจจัยทางดานอุตสาหกรรมรมการผลิตอาวุธ จากการที่ หลายประเทศไดเพิ่ม ขีดความสามารถในการผลิตอาวุธและความสามารถในการครอบครองอาวุธที่สําคัญมากขึ้น ทําใหมี แนวโนมวาในอนาคตอุตสาหกรรมรมการผลิตอาวุธ ขยายตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจสงผลกระทบตอ สถานการณทางเศรษฐกิจทางสังคมและ ทางการเมืองแลว ยังมีผลตอการทหารอยางมาก เพราะอาจ เกิดการเผชิญหนาเกิดการเสียดุลยภาพทางการทหาร อาจนําไปสูความตึงเครียดเกิดความขัดแยงและ ทํา สงครามระหวางกันได ๒.๘ ปจจัยเกี่ยวกับความหวาดระแวง บางประเทศอาจตัดสินใจทําสงคราม วาตนจะ ถูกโจมตีในเวลาอันใกล ดังนั้นจงทําสงครามเพื่อโจมตีกอน ๒.๙ ปจจัยการเมืองภายใน รัฐบาลอาจขาดความนิยมศรัทธาในตัวผูนํา หรือรัฐบาล ไมมีเสถียรภาพรัฐบาลอาจตัดสินใจเขาสูสงคราม เพื่อเรียกคะแนนนิยมกลับมา หรือเพื่อเบี่ยงแบน ประเด็นตาง ๆ ๒.๑๐ ปจจัยการประเมินสถานการณผิดพลาด จากการตีความ หรือการแปร สัญญาณจากฝายตรงขามผิดรวมทั้งการประเมินสมรรถนะของตน ผิดพลาดที่ทําใหเกิดสงคราม ประเภทของสงคราม ๆ แบงออกเปน ๒ ประเภทหลัก คือ สงครามในรูปแบบ และสงครามนอก รูปแบบ ๓. อาวุธนิวเคลียร อาวุธนิวเคลียรเปนเครื่องมือทางการทหารที่ สําคัญอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีความแตกตางจากอาวุธในรูปแบบ (Conventional Weapon) ในดานประสิทธิภาพและ ความสามารถในการทําลายลางที่สูง เมื่อเปรียบเทียบกับระเบิดปรมาณูที่โจมตีเมืองนางาซากิ และ เมืองฮิโรชิมา ของประเทศญี่ปุนใน สงครามโลกครั้งที่ ๒ ไมสามารถเทียบชั้นไดเทากับอาวุธที่ถูก พัฒนาโดนสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น แมวาอาวุธนิวเคลียรยังไมไดถูก นํามาใชในการทําสงครามเพื่อทําลายศัตรู แตทั้งสองตางครอบครองอาวุธในฐานะที่เปนเครื่องมือที่ ชวยเสริมอํานาจของชาติ ดังนั้นรัฐที่มีอาวุธนิวเคลียร จึงมีความสามารถและอิทธิพล ใหรัฐอื่นปฏิบัติ ตามที่ตนปรารถนา 02_01-340_.indd 84 17/10/2562 8:34:32


85 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๔. นโยบายปองปราม (Deterrence) นโยบายปองปราม หมายถึงนโยบายของผูมี อํานาจของรัฐหนึ่ง พยายามดําเนินการใหรัฐที่เปนปฏิปกษกับตน ซึ่งมีศักยภาพที่จะใชความรุนแรง ละเวนจากการกระทําที่รุนแรงโดยการขมขูวาจะโตตอบดวยมาตรการทางการทหาร การทําสงคราม การใชอาวุธรายแรง หรือ ยุทธศาสตรบางประการหากไมปฏิบัติตามนโยบายปองปรามจะเปนนโยบาย ที่มี ประสิทธิภาพหรือไมขึ้นอยูกับองคประกอบดังตอไปนี้ ๑. ผูที่ทําการตัดสินใจหรีมีอํานาจในการกําหนดนโยบาย โดยผูที่ทําการตัดสินใจ จะตองดําเนินการอยางมีเหตุผล มีหลักเกณฑ โดยตองมีการประเมิน สถานการณอยางถูกตอง เที่ยงตรง ถาหากผูกําหนดนโยบายละเลยประเด็นดังกลาว นโยบายนี้อาจไมบรรลุเปาหมายได ๒. ความนาเชื่อถือของนโยบาย หมายถึง ๒.๑ ชาติที่ประกาศนโยบายออกมามีความสามารถทาง การทหารที่ เขมแข็งพอที่จะทําใหชาติอื่นๆปฏิบัติตามได ๒.๒ สามารถสื่อสารใหชาติตาง ๆ โดยเฉพาะฝายตรงขาม หรือคูปฏิปกษ รับรูในอํานาจหรือกําลังทางทหารที่ตนมี หากไมทําตามความตองการ เกิดผลรายและจะลงโทษได ๒.๓ ตองมีความนาเชื่อถือและจริงจังกับนโยบายที่ประกาศ ออกมาและ สามารถสื่อสารใหชาติตางๆทราบดวย ๕. เปาหมายของนโยบายปองปรามมี ๒ ขั้น ดังนี้ ขั้นแรก นโยบายปองปราม มีขึ้นเพื่อปองกันการดําเนินการรุนแรง หรือปองกันการ กอสงคราม ขั้นที่สอง ในกรณีที่สงครามเกิดขึ้นแลว ขั้นนี้เปนการปองปรามการ ใชอาวุธหรือ ยุทธวิธีที่กอใหเกิดความเสียหายอยางรุนแรงจําเปนตองดําเนินการอยางระมัดระวังมิใหเกิดการ ผิดพลาด เพราะอาจทําใหเกิดสงครามนิวเคลียรไดการควบคุม อาวุธ (Arms Control) เนนในเรื่อง ขอตกลงระหวางประเทศและมาตรการ ที่กําหนดใหใชอาวุธเทาที่ไดมีการอนุญาต ขณะเดียวกันก็คอย ระวังไมใหมีการละเมิด หรือการกระทําที่ไดมีการสั่งหามไว และการลดอาวุธนิวเคลียร (Disarmament) มุงเนนในเรื่องของการจํากัดบุคลากรและอาวุธที่ใชในยามสงคราม อํานาจทางทหารเปนการจัดกองกําลังทหารในการมีสวนรวมในการทัพใหปฏิบัติการ ทางทหาร ยุทธการและยุทธนาการตาง ๆ โดยจะตองมีสวน เกี่ยวของกับทฤษฎี ประวัติศาสตร การ ทดลองและการปฏิบัติ และมีความคิดริเริ่ม และสรางสรรคอีกดวยหลักนิยมทางทหารเปนแนวทาง สําหรับการดําเนินการ โดยเปน การวางโครงรางใหกับกําลังทหารทั้งหมด ซึ่งเปนประโยชนในการจัด มาตรฐานของ ปฏิบัติการ สรางรูปแบบทั่วไปในการบรรลุเปาหมายทางการทหาร เพื่อใหเกิดความ 02_01-340_.indd 85 17/10/2562 8:34:32


86 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ งายและความคลองแคลว และยังเปนการวางพื้นฐานของการกําหนดรูปแบบการ ดําเนินการของ ปฏิบัติการทางทหาร สําหรับนักวางแผนทางการทหาร ๔.๓.๒ วัตถุประสงคของอํานาจทางการทหาร ๑. เพื่อสนับสนุนการดําเนินการทางการทูตใหประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย เชน เพื่อรักาสถานภาพเดิมเพื่อปองกันตนเอง เพื่อรักษาดุลอํานาจทาง การเมืองและเพื่อตอตานภัย คุกคามจากรัฐอื่น ๒. เพื่อแสดงถึงกําลังอํานาจเปนการพยายามทั้งมิตรและศัตรูรูถึงพลังทางการทหาร ที่ตนอาจนํามาใชในกรณีที่มีเหตุการณใดที่ตนไมพึงปรารถนา เกิดขึ้นและเพื่อใหรัฐอื่นคระหนักถึง ความสามารถและความตั้งใจจริงของตนในการ เผชิญกับปญหา ๓. เพื่อไมใหประเทศที่คิดจะขยายอิทธิพลของตนประสบความสําเร็จในการรุกราน ๔.๔ อุดมการณทางการเมืองระหวางประเทศ การศึกษาอุดมการณทางการเมืองจากนักคิดที่หลากหลายตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบันพบวา แนวคิดของพวกเขาเหลานั้นไดถูกบูรณาการเปนอุดมการณทางการเมืองเชิงลัทธิหรือระบอบการเมือง ที่สืบทอดจนถึงปจจุบัน ซึ่งแบงไดสองลักษณะ คือ ลัทธิการเมืองที่เนนในเรื่องการใชอํานาจรัฐ ไดแก เสรีนิยม (Liberalism) อนุรักษ นิยม (Conservatism) และฟาสซิสต (Fascism) กับลัทธิการเมืองที่ เนนเรื่องเศรษฐกิจ ไดแก ทุนนิยม (Capitalism) สังคมนิยม (Socialism) และคอมมิวนิสต (Communism) ความอุดมการณทางการเมือง คือ แนวความคิด ความเชื่อที่เกี่ยวกับ ผูปกครอง การกําหนดผู ที่จะทําหนาที่ปกครอง เพื่อที่จะใชในการชักจูงความคิดเห็น หรือเพื่อที่จะตอตานหรือยับยั้งความคิด อื่น เพื่อการปองกันสิ่งสําคัญที่พึงรักษาไวหรือ การปฏิรูปหรือการจํากัดสถาบันสังคมที่สําคัญ ถือเปน ความเชื่อสวนหนึ่งซึ่งเปน สวนยอยของระบบความเชื่อที่ใหญกวา อาจจะไดมาจากกลุมสังคมใดสังคม หนึ่ง อุดมการณทางการเมืองจะสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบ วิธีการปกครอง หลักการปกครองและการดําเนินชีวิตของบุคคล ถือเปนสิ่งจําเปนในการ พัฒนาการทาง การเมือง เพราะอุดมการณเปนเสมือนจุดหมายปลายทาง เปนรากฐาน ในการดําเนินการ และเปน แรงดลใจใหเกิดการปฏิบัติ จากความหมายของลัทธิ การเมือง และอุดมการณทางการเมืองที่ยกมา ขางตน จะเห็นไดวาทั้งสองอยางนี้มีความสัมพันธกันอยูมากเชนในลัทธิการเมืองเปนเรื่องพื้นฐาน 02_01-340_.indd 86 17/10/2562 8:34:33


87 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation สําคัญที่เกี่ยวของกับระบบการเมืองการปกครองอยางใดอยางหนึ่ง และอุดมการณทางการเมืองเปน เรื่อง ความเชื่อความเขาใจ ดังนั้นหลักการที่ปรากฏอยูในลัทธิการเมือง อาจเปนเหตุใหเกิด ความเชื่อ อันมีลักษณะเปนอุดมการณทางการเมืองไดอุดมการณทางการเมืองมี อิทธิพลตอกระบวนการทาง การเมือง ตลอดจนการใชอํานาจรัฐและการใหความชอบธรรมแกบทบาทของรัฐบาล อีกทั้งยังสะทอน ถึงสภาพของสังคมและวัฒนธรรมทาง การเมืองของแตละชุมชนดวย ดังนั้น ลัทธิการเมือง จึงเกี่ยวกับแนวความคิดเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครอง โดยมุง อธิบายสาระสําคัญของระบบการเมือง ไดแก อํานาจทางการเมือง และอํานาจของรัฐ ขอบเขต ที่มา ที่ตั้งของอํานาจ และความเกี่ยวพันระหวางองคการ หรือหนวยงานที่ใชอํานาจรัฐกับบุคคลซึ่งเปน องคประกอบแหงรัฐนั้น ตลอดจน ผลประโยชนและคุณคาที่จะบังเกิดขึ้นแกบุคคลที่รวมตัวกันเปน สังคม ซึ่งลัทธิการเมืองเกิดจากแนวความคิด ปรัชญาการเมือง และทฤษฎีการเมือง ในที่นี้จะ กลาวถึง อุดมการณทางการเมืองที่มีบทบาทที่สําคัญในปจจุบัน คือ เสรีนิยม (Liberalism) อนุรักษนิยม (Conservatism) ทุนนิยม (Capitalism) และสังคมนิยม ( Sociatism) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ๔.๔.๑ อุดมการณแบบเสรีนิยม เสรีนิยม (Liberalism) มีจุดเริ่มตนสําคัญในศตวรรษที่ ๑๗ โดยจอหน ล็อค (John Locke) นักปรัชญาชาวอังกฤษทั้งนี้สืบเนื่องมาจากทฤษฎีสัญญาประชาคมซึ่งแนวคิคของล็อคและนัก ทฤษฎีอื่น ๆ รวมกันเรียกวา เสรีนิยมแบบตน ตํารับ หรือเสรีนิยมแบบคลาสสิคซึ่งยังคงเปนที่ใชกันอยู ในปจจุบันประกอบดวยหลัก ๘ ประการ ดังนี้คือ ๑. เสรีภาพสวนบุคคล ๒. มนุษยโดยธรรมชาติเปนคนดี ๓. การแกปญหาโดยใชหลักเหตุผล ๔. การเปลี่ยนแปลงเปนไปในทิศทางแหงความกาวหนา ๕. ความเสมอภาคแหงโอกาส ๖. มนุษยเหมือนกันทุกอยางโดยปริยายของตนเอง ๗. การมีรัฐบาลเปนสิ่งจําเปนแมจะไมใชสิ่งที่นาพิสมัย ๘. เศรษฐกิจแบบเสรี ความคิดแบบเสรีนิยมเปนอุดมการณที่เกิดขึ้นมาในศตวรรษที่ ๑๗ ซึ่งใน ปจจุบัน สภาพสังคมและเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปมากมาย พวกเสรีนิยมในปจจุบันจึงรับเอา 02_01-340_.indd 87 17/10/2562 8:34:34


Click to View FlipBook Version