The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หนังสือ E-BOOK, 2023-07-24 05:33:55

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

288 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ตางมีขอเสนอครั้งแรกของตนซึ่งมักยื่นเสนอมากเกินไป หรือคอนขางเปนเชิงอุดมคติจึงตองเขาใจ และ ปฏิบัติไดถูกตองโดยสนใจไม มากนัก ๔. มุงใหไดขอยุติแบบชนะ - ชนะ (Win - win solution) นักเจรจาตอรอง ที่ขาดประสบการณสวนใหญมุงผลของการเจรจาที่ตนตองเปนฝาย ชนะเสมอโดยไมสนใจวาอีกฝายจะ ไดรับความเสียหายอยางไร ดังไดกลาวมาแลวถึงกลยุทธในการเจรจาตอรองแบบบูรณาการ (integrative agreement) วาการแลกเปลี่ยนผลประโยชนกันของทั้งสองฝายสามารถนําไปสูขอยุติที่ ดีของการเจรจาได ๕. สรางบรรยากาศการเจรจาที่เปดเผยและไววางใจตอกัน (Create an open and trusting climate) นักเจรจาตอรองที่ชํานาญจะมีทักษะการเปนผูฟงที่ดี ใชการซักถาม เปนระยะ ๆ แตอยูในกรอบของการเจรจา ไมพยายามปกปองตนเอง พยายามหลีกเลี่ยงการใชถอยคํา หรือวลีที่อาจทําใหคูเจรจาเกิดความไมพอใจขึ้น กลาวโดยสรุปก็คือ พยายามสรางบรรยากาศที่ เปดเผยเปนกันเองและมี ความไววางใจตอกันเพื่อนําไปสูการไดขอยุติแบบบูรณาการนั่นเอง ๙.๖ งดการใหกําลังทางทหาร ตามกฎหมายระหวางประเทศ เพื่อบีบบังคับใหอีกฝายหนึ่งยอมตามขอเรียกรองของตน ใน สมัยโบราณสงครามมักจะเปนเครื่องมือของรัฐที่แข็งแรงกวา ใชในการขยายอาณาเขตแพรขยาย ศาสนา หรือแยงชิงคน หรือทรัพยสินจากอีกรัฐหนึ่ง การทําสงครามสมัยโบราณประเทศที่เริ่มกอ สงครามมักไดอางเหตุผลที่พอฟงขึ้นอยางเชนจักรวรรดิโรมัน ไดทําสงครามแผขยายอาณาจักรออกไป อยางกวางขวาง หรืออยางกรณีพมาไดทําสงครามโดยอางเหตุขอชางเผือกจากกรุงศรีอยุธยาไมได แมในยุคปจจุบันก็ยังมีการทําสงครามเพื่อขยายอาณาเขต ทั้งๆที่มีกฎหมายระหวางประเทศ หามทําสงคราม แตก็มีการอางหลักปลดแอกจากระบบอาณานิคม เพื่อสนับสนุนจุดมุงหมายของตน อยางเชนอินโดนีเซียทําสงครามกับ “เนเธอรแลนด เพื่อรวมดินแดนปาปวนิวกินีตะวันตกทั้งที่ปาปว นิวกินีไมเคยรวมอยูกับ อินโดนีเซียกอนที่เนเธอรแลนดจะเขามาปกครองดินแดนเหลานั้น 02_01-340_.indd 288 17/10/2562 8:39:14


289 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๙.๖.๑ กฎหมายสงครามทั่วไป กฎหมายระหวางประเทศไดกลาวถึงสิทธิในการทําสงคราม การประกาศสงครามผล ทางกฎหมายสงคราม ๑๖ รวมทั้งหลักการสูรบตาง ๆ ๑) สิทธิในการทําสงคราม ในยุคเริ่มตนของกฎหมายระหวางประเทศ ตํารากฎหมาย ระหวางประเทศที่มีชื่อเสียง เขียนโดย Grotius เมื่อค.ศ. ๑๖๒๕ ชื่อ De jure betti ac pacis ก็ได เขียนอธิบายถึงสงครามที่ถูกกฎหมายจะตองเปนสงครามที่ยุติธรรมสงครามที่ยุติธรรม คือสงครามที่ ทําเพื่อตอบโตการกระทําที่ไมยุติธรรม โดยที่สงครามทําใหเกิดความสูญเสียชีวิต และทรัพยสินอยางมากมายมหาศาล มนุษยจึงพยายามหาทางระงับ หรือลดการทําสงครามตามหลัก การทําสงครามยุติธรรมของ Grotius ถาไมมีการกระทําที่ไมยุติธรรมก็ไมมีเหตุใหทําสงครามก็เปนวิธีการหลีกเลี่ยงการทําสงครามได แตรัฐที่ ประสงคจะทําสงครามก็ มักจะอางเหตุผลตางๆ เพื่อทําสงครามอยูตลอดเวลา นักวิชาการ หรือศาสดา ก็ไมสามารถจะหาหลักการหรือคําสอนใดๆ มาใชเปนแนวทางชักจูงใหเลิกหรือลดการทํา สงคราม อยางไดผล กฎบัตรสหประชาชาติ จึงไดกําหนดหามทําสงครามไวในของ ๒ วรรค ๔ ดวย ถอยคํา ดังนี้“A members sharefrain in their internal relations from the threat or use of force against the territorial integrity or political independence of any state, or in any other manner inconsistent with the purposes of the United Nations" ตามกฎหมายระหวางประเทศในขณะนี้การใชกําลัง หรือการทําสงครามจึงเปนการ กระทําที่ผิดกฎหมายระหวางประเทศ ยกเวนกรณีที่ใชกําลังตาม มติคณะมนตรีความมั่นคง ตามกฎ บัตรสหประชาชาติขอ ๔๒ เพื่อรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหวางประเทศ และกรณีการใชกําลัง เพื่อปองกันตนเองหากถูกโจมตีดวยอาวุธ สิทธิปองกันตนเองเปนหลักกฎหมายระหวางประเทศที่ สําคัญหลักหนึ่ง และกฎบัตรสหประชาชาติ ขอ ๕๑ ไดยืนยันกฎหมายระหวางประเทศนี้ ๒) การเริ่มตนสงคราม ตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ และยืนยันโดยอนุสัญญา กรุงเฮก ค.ศ. ๑๙๐๗ ใหมีการประกาศสงครามกอนที่จะใช กําลังทําการสูรบ หรืออาจเปนการยื่นคํา ขาด โดยกําหนดเงื่อนไข หากไมทําตามขอเรียกรองภายในกําหนดเวลาก็จะใชกําลัง แตตาม ขอเท็จจริงก็มีการใชกําลังโดยไมมีการประกาศสงคราม อยางเชน ญี่ปุนไดโจมตีฐานทัพเรือ Pearl Harbour ของสหรัฐอเมริกากอนประกาศสงคราม ๑๖ กฎหมายระหวางประเทศที่ใชควบคุมลักษณะและวิธีการทําสงคราม http://www.vcharkarn.com/blog/46800 สืบคนเมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 289 17/10/2562 8:39:15


290 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๒๒๓ ไดบัญญัติใหการ ประกาศสงครามเปนพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย โดยความเห็นชอบของรัฐสภาดวย ซึ่งเปน การยืนยันหลักกฎหมายระหวางประเทศในเรื่อการประกาศสงคราม ๓) ผลทางกฎหมายสงคราม เมื่อมีการประกาศสงครามก็เกิดสภาวะสงครามระหวาง ประเทศคูสงครามความสัมพันธทางการทูต และความสัมพันธทางกงสุลระหวางประเทศคูสงคราม จะ ถูกตัดขาดสนธิสัญญาที่ทําไวระหวางประเทศคูสงครามก็สิ้นสุดลงยกเวนสนธิสัญญาที่ทําไวสําหรับใช ในยามสงคราม ความสัมพันธระหวางประเทศสงครามกับประเทศที่สามที่ไมมีสวนรวมในสงคราม ก็ เกิดสถานการณใหมกลายเปนความสัมพันธระหวางประเทศคูสงครามกับประเทศที่เปนกลางในยาม สงคราม สําหรับการดูแลคนชาติ หรือทรัพยสินที่ยังอยูในประเทศศัตรูนั้น ก็อาจตั้งประเทศที่ เปนกลาง หรือกาชาดสากลทําหนาที่แทนคณะทูตของตนที่ถูกถอนกลับ ๔) หลักการสูรบกฎหมายระวางประเทศไดกําหนดหลักการกวาง ๆ ในการทํา สงคราม ทั้งในดานสถานที่ ผูที่มีสวน และวิธีการรวมทั้งอาวุธที่ตองหาม ๑.๔.๑ บริเวณที่จะทําการสูรบ บริเวณที่จะทําการสูรบ ไดแก ดินแดนของ ประเทศคูสงครามซึ่งประกอบดวยดินแดนทางบก ทะเลอาณาเขต นานน้ําภายใน และนานฟาที่อยู เหนือพื้นที่เหลานี้ของประเทศคูสงคราม นอกจากนี้ยังทํา สงครามทะเลหลวงไดดวย สําหรับดินแดนของประเทศที่เปนกลาง หามประเทศคูสงครามเขาไปทํา การสูรบในดินแดนของประเทศที่เปนกลาง หมายถึง ดินแดนทางบก นานน้ํา ภายในทะเลอาณาเขต และนานฟาที่อยูเหนือพื้นที่เหลานี้ดวย ๑.๔.๒ ผูมีสวนในการสูรบ ผูที่มีสวนในการสูรบไดแกทหารของ เหลาทัพ ของประเทศคูสงคราม และสมาชิกกองอาสาสมัครที่มีหัวหนารับผิดชอบมีเครื่องหมายแสดงอยาง เดนชัดแนนอนมองเห็นไดจากระยะไกลถืออาวุธอยางเปดเผย และปฏิบัติตามกฎหมายสงคราม ๑.๔.๓ วิธีการสูรบ การสูรบ ใหโจมตีเฉพาะเปาหมายทาง ทหาร หามโจมตี ฝายพลเรือน หามทําการโจมตีทั่วไป เพราะอาจจะโจมตีถูกบุคคล พลเรือน หรือเปาหมายที่ไมใช ทหารดวย สําหรับสาธารณูปโภคโภคที่ใชรวมกัน ระหวางพลเรือนกับทหาร อยางเชน สะพาน หรือ โรงไฟฟา หามโจมตี เพราะมิใชเปาหมายทางทหารโดยเฉพาะหามโจมตีหมูบานเปดที่ไมมีหนวยทหาร ตั้งอยู และหามโจมตีโรงพยาบาล รถพยาบาล หรือเรือนพยาบาลดวย ๑.๔.๔ อาวุธที่หามใชในการทําสงครามหามใชอาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ สารพิษหรือแกสพิษ รวมทั้งทุนระเบิดสังหารบุคคล สําหรับอาวุธ ปรมาณูซึ่งมีอํานาจการทําลายลาง 02_01-340_.indd 290 17/10/2562 8:39:16


291 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ สูงและมีอํานาจทําลายทั่วไปบริเวณกวาง ซึ่งขัดกับหลักหามทําการโจมตีทั่วไป ขณะนี้ยังมีการถกเถียง กันอยู เพราะมหาอํานาจซึ่งมีอาวุธปรมาณูไมยอมสละสิทธิการใชอาวุธนี้ ๙.๖.๒ สงครามทางบก นอกจากกฎเกณฑตาง ๆ เกี่ยวกับสงครามทั่วไป ที่กลาวขางตนแลว สงครามทางบก ยังมีกฎเกณฑพิเศษเฉพาะเกี่ยวกับการสูรบที่หลอกลวง และไมสุจริต การใหความคุมครองแกบุคคลที่ ไมมีสวนรวมในการสูรบ การยึดครองดินแดน และสถานะของกลุมตอตาน ๑. การหามใชวิธีการสูรบที่หลอกลวงและไมสุจริตการใชธงขาวเพื่อให คูตอสูเขาใจ วายอมแพแลวทําการโจมตีถือวาเปนวิธีการที่หลอกลวงไมสุจริต กฎหมาย ระหวางประเทศหามใช การใชเครื่องหมายกาชาดในทางที่ผิด เชน ใชติดในสถานที่ที่มิใชสถานพยาบาล หรือติดกับรถที่มิใช รถพยาบาลเพื่อหลอกลวงคูตอสูเปนสิ่งตองหามและจะถูกลงโทษดวยประมวลกฎหมายอาญาทหาร พ.ศ. ๒๔๕๕ มาตรา ๔๔ ก็ไดบัญญัติใหมีความผิดทางอาญาสําหรับผูที่ใชธงชาติหรือเครื่องหมาย กาชาดในทางที่ผิดในเวลาสงครามการใชเครื่องแบบ หรือเครื่องหมายของฝายตรงขามก็เปนสิ่งที่ผิด กฎหมายระหวางประเทศเชนกันการจารกรรมไมถือวาเปนการกระทําที่ไมสุจริต เมื่อจับไดก็ตอง ลงโทษโดยกระบวนการยุติธรรมตามปกติ ๒. การใหความคุมครองแกบุคคลที่ไมมีสวนรวมในการสูรบ ในระหวางการทํา สงคราม แพทย พยาบาล อนุศาสนาจารยจะไดรับความคุมครอง หากถูกจับก็จะตองสงคืนเมื่อโอกาส ทําได หรือจะใหอยูดูแลเชลยศึกพวกเดียวกันก็ได หมอ และพยาบาลของชาติเปนกลางที่อาสา ใหบริการรักษาผูบาดเจ็บทั้ง ๒ ฝายเมื่อถูกจับจะตองสงคืนโดยไมชักชาในระหวางที่ถูกกักตัวอยู จะตองใหการดูแลที่ดีกวาหมอ และพยาบาลของประเทศที่จับกุมทหารที่บาดเจ็บหรือถูกจับเปนเชลย ศึก จะตองใหความเคารพและความคุมครองผูบาดเจ็บจากการสูรบจะไดรับการดูแลเทาเทียมกัน โดย ไมมีการเลือกปฏิบัติตามเพศ ศาสนา เชื้อชาติ สัญชาติ ความเห็นทางการเมือฯลฯ หามฆาผูบาดเจ็บ หามทรมาน หามการทดสองทางชีวภาพ หามจงใจ ปลอย ผูบาดเจ็บไวโดยไมมีการชวยรักษาพยาบาล หรือปลอยใหติดโรคติดตอ เมื่อสิ้นสุดการสูรบจะตองสง เชลยศึกคืนโดยไมชักชา การสงคืนเชลยศึกจะตองไมมี การเลือกปฏิบัติ ๓. ดินแดนที่ถูกยึดครองโดยกองทัพศัตรู ดินแดนที่ถูกยึดครองโดย กองทัพศัตรูคือ ดินแดนที่อยูภายใตอํานาจของกองทัพศัตรู อํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนที่ถูกยึดครองถือวายังไมโอน ไปสูฝายที่ยึดครองจนกวามีการทําสนธิสัญญาสันติภาพกําหนดสถานะของดินแดนนั้นกองทัพที่ยึด 02_01-340_.indd 291 17/10/2562 8:39:20


292 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ครองจะตองดูแลในเรื่องความมั่นคงและความสงบเรียบรอยกองทัพที่ยึดครองจึงมีอํานาจในการ บริหารดินแดนที่ถูกยึดครองตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ ๓.๑) การใชอํานาจทางนิติบัญญัติกองทัพที่ยึดครองจะตองเคารพ กฎหมาย ของดินแดนที่ถูกยึดครองกฎหมายพิเศษที่ผูยึดครองตราออกใหมจะตองทําเปนภาษาทองถิ่น และ ประกาศใหประชาชนทราบทั่วกันกอนที่จะมีผลบังคับใช รวมทั้งหามมีผลบังคับยอนหลัง ๓.๒) การปฏิบัติตอประชาชนในดินแดนที่ถูกยึดครองผูยึดครอง จะตอง เคารพเกียรติสิทธิครอบครัว ชีวิตสวนตัวทรัพยสินสวนตัวรวมทั้งความเชื่อทาง ศาสนาการเกณฑ แรงงานจะเทาที่จําเปน สําหรับกองทัพที่ยึดครอง และไมบังคับใหแรงงานที่ถูกเกณฑตองมีสวนรวมใน การทําสงครามตอตานประเทศของตนหามอพยพ ประชาชนในดินแดนที่ถูกยึดครอง และหามเนรเทศ ประชาชนออกจากดินแดนที่ถูกยึดครอง รวมทั้งหามจับเปนตัวประกันผูยึดครองจะตองดูแลเรื่อง เสบียงอาหารของ ประชาชน และสาธารณสุขดวยเจาหนาที่ทหารที่ยึดครองจะตองอนุญาตให ประชาชน หรือสมาคมบรรเทาทุกขในดินแดนที่ถูกยึดครอง ทําการรักษาพยาบาลผูบาดเจ็บ หรือปวย ไมวาสัญชาติใด ๓.๓) การคุมครองทรัพยสินสวนบุคคลในดินแดนที่ถูกยึดครอง ทรัพยสิน ของเอกชน จะไมถูกยึดโดยกองทัพที่ยึดครองดินแดนการเรียกเกณฑ ทรัพยสินของเอกชน จะตองทํา เทาที่จําเปน สําหรับกองทัพที่ยึดครองสําหรับเครื่องมือสื่อสาร รถ หรือเครื่องมือของเอกชนสําหรับ ขนสงคนหรือสินคาอาจถูกยึด แตจะตองคืนและจายคาทดแทนเมื่อสิ้นสุดสงคราม ๓.๔.) สิทธิในการตอตานกองทัพศัตรูประชาชนในดินแดนที่ยังไมถูก ยึด ครองแตกําลังเผชิญกับกองทัพศัตรูที่กําลังรุกเขามามีสิทธิจับอาวุธขึ้นตอสูอยางกะทันหันโดยยังไมมี เวลาที่จะจัดเปนกองกําลังปกติถาหากถืออาวุธอยางเปดเผย และเคารพกฎหมายสงครามก็ถือไดวา เปนคูศึกสําหรับประชาชน ในดินแดนที่ถูกยึดครอง กลุมตอตานจะไดรับการยอมรับใหมีสถานะเปนคู ศึกโดยมีเงื่อนไขวามีหัวหนาที่รับผิดชอบมีเครื่องหมายที่แนนอนและมองเห็นจากไกล ถืออาวุธอยาง เปดเผย และปฏิบัติตามกฎหมายสงคราม ๙.๗ อํานาจศาลโลก ศาลโลกเปนยุติธรรมระหวางประเทศ (อังกฤษ: International Court of Justice; ICU) หรือภาษาปากวา ศาลโลก (อังกฤษ: World Court) เปนศาลซึ่งตั้งขึ้น โดยกฎบัตรสหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙ และเปนหนึ่งในเสาหลักในระบบสหประชาชาติ ทําหนาที่สืบเนื่องตอจากศาลสถิต ยุติธรรมระหวางประเทศ (International Permanent Court of Justice: IPCJ) ที่กอตั้งเมื่อวันที่ 02_01-340_.indd 292 17/10/2562 8:39:21


293 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๓ และยุติบทบาทไปพรอมกับสันนิบาตชาติ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศอยู ในความควบคุมของสหประชาชาติ และมีบัลลังกที่วังสันติ (Peace Palace) กรุงเฮก ประเทศ เนเธอรแลนด แตจะออกนั่งพิจารณาที่อื่นก็ได๑๗ ๙.๗.๑ เขตอํานาจ( jurisdiction) ของศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ กฎหมายระหวาง ประเทศที่เกี่ยวของ การยอมรับเขตอํานาจของศาลยุติธรรมระหวางประเทศสามารถ กระทําได ๔ วิธี ดังนี้ ๑. การยอมรับเขตอํานาจศาลฯ โดยผลของสนธิสัญญา กลาวคือ การเขาเปนภาคี ของสนธิสัญญาซึ่งมีขอบทใหภาคีนําขอพิพาทไปสูการพิจารณาของศาลโลกได ๒. การยอมรับเขตอํานาจศาลฯลวงหนาโดยผลของการประกาศฝาย เดียว (Optional clause) ตามขอ ๓๖ (๒) ของธรรมนูญ ศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ ซึ่งรัฐภาคีคูพิพาท ฝายหนึ่งฝายใดที่ไดเคยยอมรับเขตอํานาจศาลฯ ลวงหนา สามารถฟองรัฐภาคีคูพิพาทอีกฝายหนึ่ง ที่ ไดเคยประกาศยอมรับเขตอํานาจศาลฯ ลวงหนาไวได ๓. รัฐภาคีคูพิพาททําความตกลงเสนอเรื่องใหศาลยุติธรรมระหวางประเทศพิจารณา เปนกรณี ๔. Forum Prorogatum : รัฐภาคีคูพิพาทฝายใดฝายหนึ่ง นําเรื่องเขาสูการ พิจารณาของศาลฯ ฝายเดียว และรัฐภาคีคูพิพาทอีกรัฐหนึ่ง ยอมรับเขตอํานาจศาลในภายหลัง ๙.๗.๒ การยอมรับเขตอํานาจศาลฯ ของประเทศไทย ประเทศไทยไดยอมรับเขตอํานาจศาลฯ ลวงหนา โดยผลของการประกาศฝายเดียว ตามขอ ๓๖ (๒) ของธรรมนูญศาลยุติธรรมระหวางประเทศ โดยหนังสือลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๔๙๓ (ยอมรับอํานาจศาลเปน เวลา ๑๐ ป) หลังคดีปราสาทพระวิหารแลว ไทยไมไดใหการยอมรับ อํานาจ ของศาลโลกอีก ซึ่งหมายถึงการยอมรับอํานาจในคดีใหม สวนการยื่นคําขอตอศาลโลกของกัมพูชาในครั้งนี้ไมใชเปนการฟองคดีใหม แตเปน การตีความคดีเกาที่ศาลไดตัดสินไปแลวเมื่อป ๒๕๐๕ ซึ่งไทย ไดยอมรับอํานาจศาลแลวในครั้งนั้นจึง ๑๗ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ www.https://th.wikipedia.org/wiki/ สืบคนเมื่อ วันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 293 17/10/2562 8:39:22


294 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เปนการถายทอดมาจากคดีเดิม ทั้งนี้การยอมรับดังกลาวครอบคลุมถึงการที่ศาลจะตีความและออก มาตรการชั่วคราวใด ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีหลักนี้ดวย ๙.๗.๓ ไทยจําเปนตองไปศาลโลกหรือไม กฎหมายระหวาง ประเทศที่เกี่ยวของ ขอ ๕๓ ของธรรมนูญศาลฯ ระบุวา เมื่อภาคีฝายใดฝายหนึ่งไมปรากฏตัวตอศาล ภาคีอีกฝายหนึ่งก็สามารถขอใหศาลฯ ตัดสินเขาขางตนได ขอ ๖๐ ของธรรมนูญศาลฯ ระบุวา คําตัดสินของศาลยุติธรรมระหวางประเทศถือ เปนที่สุด และไมมีการอุทธรณ ในกรณีที่มีขอพิพาท ในความหมาย หรือขอบเขตของคําตัดสินศาลฯ จะตองตีความคําตัดสิน ดังกลาว หากมีภาคีฝายใด ฝายหนึ่งรองขอ และ ขอ ๙๔ ของกฎบัตรสหประชาชาติระบุวา ประเทศสมาชิกสหประชาชาติจะปฏิบัติ ตามคําพิพากษาของศาลฯ เมื่อคํานึงถึงหลักกฎหมายขางตนกัมพูชายื่นคําขอตอศาลฯ ขอตีความคําพิพากษา คดีปราสาทพระวิหาร ป ๒๕๐๕ ดังกลาว ประเทศไทยจะปฏิเสธไมไป โตแยงคําขอของกัมพูชาที่ศาลฯ ก็สามารถทําได แตจะเปนผลใหศาลฯ สามารถพิจารณาฝายเดียว ตามขอ ๕๓ ของธรรมนูญศาลฯ บน พื้นฐานของคําขอ คําใหการ และเอกสารประกอบของฝายกัมพูชา ฝายเดียวได โดยศาลฯ ไมมีโอกาส รับรู รับทราบและพิจารณาขอโตแยง หลักฐานและเหตุผลตาง ๆ ของฝายไทยอันอาจเปนผลใหคํา วินิจฉัยตีความของศาลฯ เปนคุณแกฝายกัมพูชาและสงผลเสียกับประเทศไทย๑๘ อีกประการหนึ่ง ศาลยุติธรรมระหวางประเทศหาใชศาลฎีกาสูงสุด ที่จะวินิจฉัยชี้ขาด กฎหมายภายในเปนการสิ้นสุดคดีความ จึงไมมีอํานาจรับฟงคํา อุทธรณหรือฎีกาของศาลสุดทายของ แตละประเทศไมวาจะเปนศาลฎีกาในคดีแพง หรือคดีอาญาตลอดจนคําพิพากษาของศาลปกครอง สูงสุดของประเทศนั้น ๆ เขตอํานาจของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ หรือศาลโลกไมมีการทับ ซอนกับ อํานาจพิพากษาของศาลภายในของแตละประเทศโดยเด็ดขาด จึงไมมีประเด็นที่จะยื่นฟองใหศาลโลก พิจารณาปญหาขอกฎหมายภายในของประเทศไทยทุกรูปแบบรวมทั้งกฎหมายอาญากฎหมาย รัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นใด ๑๘ การยอมรับเขตอํานาจศาลฯของประเทศไทย https://www.baanjomyut.com/library/preah_vihear_case/boundary negotiations a hd thailand Cambodia ๒๐.html สืบคนวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 294 17/10/2562 8:39:27


295 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ดังนั้น จึงไมมีเหตุผลใดๆ ที่จะคาดหวังวาศาลยุติธรรมระหวางประเทศ หรือศาลโลก จะมีโอกาสทําหนาที่พิจารณาคดีเพื่อทบทวน แกไขหรือกลับคําพิพากษาของศาลภายในของประเทศ หนึ่งประเทศใด ไมวาจะเปนระดับศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ หรือศาลฎีกา รวมทั้งศาลฎีกาแผนก คดีอาญาสําหรับผูดํารงตําแหนงทางการเมือง๑๙ ๙.๔ สรุปทายบท จากแนวคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาศาล รัฐธรรมนูญ เปน องคกรตุลาการที่มีบทบาทและอํานาจหนาที่ในการคุมครองรับรอง สิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความ เปนมนุษย โดยเฉพาะการคุมครองรับรองสิทธิตาม รัฐธรรมนูญ ซึ่งหลักเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหรือ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยนั้น เปนหลักการที่ศาลรัฐธรรมนูญนามาประกอบการพิจารณาคดีขอพิพาทที่มี ประเด็นเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพเสมอ เชนเดียวกันกับการวินิจฉัยขอพิพาทอันเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพใน อารยประเทศ อาทิเชน ตามแนวความคิดหลักที่ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐเยอรมันนามาปรับใชแกคดี ภายใตบริบทของคดีนี้ อาจกลาวไดวา บุคคลในฐานะ ที่เปนมนุษยยอมเปนประธานแหงสิทธิที่เกี่ยว แกการจัดทาบริการสาธารณะ หรือการใชอํานาจของรัฐที่เกี่ยวของทั้งหลาย หรือในประเทศฝรั่งเศสก็ มีมุมมองเกี่ยวกับศักดิ์ศรีความเปนมนุษย โดยไดรับอิทธิพลจากกฎหมายระหวางประเทศ ดังนั้น เมื่อมี การศึกษาในเรื่องนี้แลวก็จะตองมีการหยิบยกบทบัญญัติลายลักษณอักษรในระดับระหวางประเทศ ขึ้นมาพิจารณาประกอบดวยเสมอ ซึ่งก็คือ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ มนุษยชน หรือกฎบัตรสิทธิ พื้นฐานแหงสหภาพยุโรป โดยบทบัญญัติลายลักษณอักษร ทั้งสามฉบับก็มีเนื้อหาสาระซึ่งรับรองไวซึ่ง ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ไวในทํานองเดียวกัน สําหรับในทางปฏิบัตินั้น พบวา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ยังเปนถอยคําที่ศาล ทั้งในระดับระหวางประเทศและศาลภายในของฝรั่งเศสบัญญัติรับรอง ความสําคัญ เปนตน หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ไดรับการยอมรับวามี คุณคาทาง กฎหมาย ในฐานะที่เปนสารัตถะพื้นฐานที่ลวงละเมิดมิไดของสิทธิมนุษยชน และโดยของมันเอง ก็ ไดรับการยอมรับวามีสถานะไมตางไปจากสิทธิที่เรียกรองใหรัฐตองใหความเคารพและคุมครองศักดิ์ศรี ความเปนมนุษย ภายใตหลักนิติรัฐ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยไดเปนเกณฑที่สําคัญประการหนึ่งในการ กําหนดบุคลิกภาพ ของการใชอํานาจของรัฐ ดังที่ปรากฏในมาตรา ๒๖ แหงรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และมาตราเดียวกันในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งกําหนดใหการใชอํานาจรัฐตองคํานึงถึง ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยดวยเสมอ ๑๙ ศาสตราจารย ดร.สมปอง สุจริตกุล คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต วันที่ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 295 17/10/2562 8:39:28


296 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ แมในยามสงครามมีการสูรบระหวางประเทศ ขอปฏิบัติตามกฎปฏิญญา ของ สหประชาชาติที่ตองถือปฏิบัติอยางเครงครัด เพื่อรักษาศักดิ์ความเปนมนุษยของประชาชน เพราะวา การสงครามระหวางประเทศเปนเรื่องอํานาจของรัฐเปนผูประกาศ เขาสูสงคราม สวนประชาชนไมใช นักรบหรือทหาร จึงตองไดรับการคุมครอง การหลีกเหลี่ยงความขัดแยงระหวางประเทศจะตองอาศัย อํานาจศาลโลก ในการไกลเกลี่ยปญหาความขัดแยงระหวางประเทศเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข ของประชาคมโลกตอไป 02_01-340_.indd 296 17/10/2562 8:39:29


297 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation เอกสารอางอิงประจําบท ๑.๑ หนังสือ กัญญณัฏฐา อิทธินิติวุฒิ, องคการระหวางประเทศ, เชียงใหม : คะนึงนิจการพิมพ, ๒๕๔๔. จันตรี สินศุภฤกษ, กฎหมายระหวางประเทศกับการเมืองระหวางประเทศ กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพวิญูชน, ๒๕๔๗. จรัญ โฆษณานันท, สิทธิมนุษยชนไรพรมแดน: ปรัชญา กฎหมาย และความเปนจริง ทางสังคม. กรุงเทพมหานคร:สานักพิมพนิติธรรม, ๒๕๔๕ จุลชีพ ชินวรรโณ, ความสัมพันธ ระหวางประเทศ แนวคิด ทฤษฎี และกรณีศึกษากรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๗. ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร. รัฐศาสตรแนววิพากษ, กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๕๑. นพนิธิ สุริยะ, ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย: มองจากบริบทของไทย, วารสารนิติศาสตร คณะนิติศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๓ บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักพื้นฐานของสิทธิ เสรีภาพและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามรัฐธรรมนูญ (พิมพ ครั้งที่ ๒), กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพวิญชน,๒๕๔๓. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ วรพจน วิศรุตพิชญ, สิทธิและ เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ (พิมพครั้งที่ ๒๗) กรุงเทพฯ : วิญูชน, ๒๕๔๓. อุดม รัฐอมฤต, นพนิธิ สุริยะ และบรรเจิด สิงคเนติ, การอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษย หรือใชสิทธิและเสรีภาพของบุคคลธรรมดาตามาตรา ๒๔ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. กรุงเทพฯ : นานาสิ่งพิมพ,๒๕๕๔. ๑.๒ สื่ออิเล็กทรอนิกส การยอมรับเขตอํานาจศาลฯของประเทศไทย 02_01-340_.indd 297 17/10/2562 8:39:33


298 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ https://www.baanjomyut.com/library/preah_vihear_case/boun dary_negotiations_and_thailand_cambodia_๒๐.html äunuiun ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐. ความสัมพันธระหวางประเทศhttp://megaclever.blogspot.com/ ๒๐๐๘/ ๐๗/blog-post_๖๒๖๙.htmlออนไลน เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐. McCrudden, Christopher. (๒๐๐๘). Human Dignity and Judicial Interpretation of Human Rights, The European Journal of International Law, ๑๙(๔): ๖๕๕ – ๗๒๔, p. ๓๖. www.ejil.org/pdfs/ ๑๙/๔/๑๖๕๘.pdf (สืบคนเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐) การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่น ที่มีตอประเทศชาติ https://sites.google.com/site/cjb๖ ๗ ๑ ๘ /home/hnwy-kar-reiyn-ruthi-๑ /--kar- khearph-siththi-laea-seriphaph-khxng-tnxeng-laeaphu-xun สืบคนเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 298 17/10/2562 8:39:34


ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ บทที่ ๑๐ สถาบันและองคกรระหวางประเทศ ๑๐.๑ ความนํา ระบบสังคมระหวางประเทศประกอบดวยสมาชิกที่เปนรัฐอธิปไตย จํานวนมากซึ่งตางก็ถือวา เปนผูมีอํานาจสูงสุดสามารถตัดสินใจกระทําการหรือ ดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ตามอําเภอใจ โดย ปราศจากการถูกควบคุมทั้งนี้เนื่องจากไมมีสถาบันใดที่มีอํานาจเหนือกวารัฐยิ่งกวานั้นโดยเหตุที่รัฐ อธิปไตยตาง ๆ เหลานั้นถือกําเนินขึ้นในลักษณะที่แตกตางกันทั้งทางกายภาพและสมรรถภาพ ตางก็มี ผลประโยชนและความตองการที่ไมจําเปนตองเหมือนกันตลอดจน ความสามารถที่ จะบรรลุถึง ผลประโยชนยอมไมเทาเทียมกันดวยสภาพการณดังกลาว ทําใหรัฐตองตอสูงดิ้นรนแขงขันกันทุก วิถีทางทั้งทางเศรษฐกิจการเมืองและการทหารเพื่อการดํารงอยูที่ดีตามที่รัฐตองการขัดแยงและขอ พิพาทยอมจะเปนสิ่งที่ติดตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมไดองคการระหวางประเทศเริ่มแรกเกิดจากความ รวมมือของประมุข ของประเทศในยุโรปหลังสงครามนโปเลียนสิ้นสุดลง เกิดการประชุมสภาคองเกรส แหงเวียนนา( ค.ศ. ๑๘๑๕ ) องคการระหวางประเทศ จึงเกิดขึ้นตอมาเมื่อสิ้นสุด สงครามโลกครั้งที่ ๑ ไดกอตั้งองคการสันนิบาตชาติขึ้นจัดเปนองคการระหวางประเทศที่ใหความรวมมือทั้งทางดาน การเมือง สังคมและเศรษฐกิจแตในปจจุบัน องคการระหวางประเทศทํางานเฉพาะดานเปนสวนใหญ องคการระหวางประเทศ ดานสังคมมีบทบาทในการวางมาตรฐานการปฏิบัติของรัฐวางระเบียบ กฎเกณฑ ในการติดตอระหวางประเทศและการใหบริการสวนองคการระหวางประเทศทางเศรษฐกิจ ดูแลใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจเพื่อแกปญหาองคการ ระหวางประเทศทางการเมืองทําหนาที่ รักษาสันติภาพและความมั่นคงระหวางนานาชาติ ดังนั้น สังคมระหวางประเทศที่เปนอยูจึงขาดระเบียบเต็มไปดวยการ ตอสูแขงขันกันเพื่อ อํานาจและผลประโยชนแหงรัฐและรัฐก็นิยมที่จะใชกําลังหรือ อํานาจเปนมือหรือเครื่องตัดสินสงคราม จึงเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นในสังคม ระหวางประเทศอยูเนืองๆ เพราะเปนมาตรการเด็ดขาดที่ สามารถใชแกปญหาระหวางรัฐไดภัยพิบัติจากสงครามครั้งแลวครั้งเลาไดใหบทเรียนแหงความพินาศ หายนะตอทั้งชีวิตและทรัพยสิความทุกขทรมานและขมขึ้นตอประชาชนในชาติ ตางๆทั้งนอยใหญจึง ทําใหเกิดความพยายามที่จะแสวงหามาตรการและกลไกตางๆ มาเพื่อสรางความเปนระเบียบ เรียบรอยสันติภาพและความยุติธรรมระหวางประเทศอันเปนสิ่งจําเปนตอการดํารงอยูรวมกันของ บรรดารัฐตางๆ ในสังคมระหวางประเทศที่จะตองติดตอพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันตลอดเวลา 02_01-340_.indd 299 17/10/2562 8:39:35


300 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ดวยเหตุนี้องคการระหวางประเทศซึ่งเปนทางออกของรัฐที่ใชเพื่อจัดระเบียบความสัมพันธ หรือการปฏิบัติตอกันระหวางรัฐกลาวอีกอยางหนึ่งคือการวาง หลักเกณฑสําหรับใชปฏิบัติตอกัน หรือ ดําเนินการรวมกันเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้น นอกจากนี้องคการระหวางประเทศยังสามารถเปนเวทีกลาง สําหรับใหรัฐตางๆ มารวมตกลงประสานผลประโยชนระหวางรัฐและเปนกลไกสําหรับระงับขอพิพาท ระหวางรัฐรักษาความมั่นคงปลอดภัยและจรรโลงสันติภาพที่ถาวรในโลก ๑๐.๒ ความหมายของสถาบันและองคกรระหวางประเทศ องคการระหวางประเทศ หมายถึง องคการที่ประเทศหรือรัฐตั้งแตสองรัฐ ขึ้นไปรวมกันจัดตั้ง ขึ้น๑ เพื่อเปนกลไกอยางหนึ่งในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศรวมทั้งสนับสนุนความรวมมือ และพัฒนากิจกรรมตางๆเพื่อประโยชนทาง เศรษฐกิจ และสังคมของรัฐสมาชิกและมวลมนุษยชาติ องคการระหวางประเทศ เริ่มแรกเกิดจาก ความรวมมือของประมุขของประเทศในยุโรปหลังสงครามน โป เลียนสิ้นสุดลงเกิดการประชุมคองเกรสแหงเวียนนา (Congress of Vienna ๑๘๑๕) องคการ ระหวางประเทศเกิดขึ้นครั้งแรกตอมาเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ไดกอตั้งองคการสันนิบาตชาติ ขึ้น จัดเปนองคการระหวางประเทศทํางานเฉพาะดานเปนสวนใหญองคการระหวางประเทศทางดาน สังคมมีบทบาทในการวาง มาตรฐานการปฏิบัติของรัฐวางระเบียบกฎเกณฑในการติดตอระหวาง ประเทศและการใหบริการสวนองคการระหวางประเทศทางเศรษฐกิจดูแลใหความชวยเหลือทาง เศรษฐกิจเพื่อแกปญหาองคการระหวางประเทศทางการเมืองทําหนาที่รักษาสันติภาพและความมั่นคง ระหวางนานาชาติ ๑๐.๒.๑ ความสําคัญขององคการระหวางประเทศ การเขาเปนสมาชิกขององคการระหวางประเทศ เปนไปดวยความสมัครใจของรัฐที่ จะอยูรวมกลุมกันโดยมีจุดมุงหมายรวมกัน องคการระหวางประเทศจึงมีความสําคัญดังนี้ ๑. เปนหนวยงานที่มีตัวแทนของรัฐมาประชุมพบปะกันโดย มีวัตถุประสงค เพื่อ แสวงหาสันติภาพและความมั่นคงรวมกัน ๒. ดําเนินการรวมกันเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นเปนเวทีสําหรับรัฐตางๆ มารวมตกลง ประสานผลประโยชนระหวางกัน ๑ องคการระหวางประเทศ https://www.baanjomyut.com/library 4/global Society/02_3.html. สืบคนเมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 300 17/10/2562 8:39:36


301 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓. รัฐไดรูถึงความจําเปนที่จะตองสรางเครื่องมือที่เปนสถาบัน และวิธีการที่เปน ระบบ การจัดตั้งองคการระหวางประเทศจึงเปนทางออกของรัฐในการจัดระเบียบความสัมพันธและ วางหลักเกณฑสําหรับใชในการปฏิบัติตอไป ๑๐.๒.๒ บทบาทขององคการระหวางประเทศทางดานสังคม องคการระหวางประเทศทางสังคมมีหนาที่และบทบาทสําคัญในการแกปญหาทาง สังคมวัฒนธรรมและมนุษยธรรมอันเนื่องมาจากความ เจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เพื่อกอใหเกิดความเจริญกาวหนา และดํารงชีวิตอยางมีความสุขของมวลมนุษยชาติบทบาทที่สําคัญ ดังนี้ ๑. วางมาตรฐานการปฏิบัติของรัฐในเรื่องเกี่ยวกับกิจการภายในของรัฐ เชน สิทธิ มนุษยชนแรงงาน ๒. วางระเบียบกฎเกณฑในการติดตอระหวางประเทศขึ้นเพื่อใหสามารถติดตอกัน สะดวกราบรื่นและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเชนสหภาพไปรษณียสากล ๓. การใหบริการดานตาง ๆ เชน การใหขาวสาร การบรรเทาทุกขการชวยเหลือ ผูประสบภัยพิบัติการใหความชวยเหลือผลภัยและพิทักษ สิ่งแวดลอม ๑๐.๒.๓ บทบาทขององคการระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ มีบทบาทมุงแกปญหาเศรษฐกิจของสังคมโลกสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจและ ใหปฏิบัติตามกติกา โดยมีบทบาทที่สําคัญ ดังนี้ ๑. เปนตัวกลางทางการเงินตลอดจนอํานวยความสะดวกดานการเงิน ๒. ใหความชวยเหลือทางการเงินแกประเทศที่กําลังพัฒนานําไปลงทุนพัฒนา ประเทศมีกองทุนเงินตราตางประเทศใหสมาชิกกูยืมเพื่อแกไขปญหา ๓. วิจัยและวางแผนเพื่อหาวิธีแกไขปญหาเศรษฐกิจของสังคมไทยและใหมการ ปรับเปลี่ยนกระบวนการใหเหมาะ ๔. แนะนําการแกไขปญหาเงินตราวางระเบียบเกี่ยวกับการกําหนดมูลคาของเงินตรา ๕. ใหความชวยเหลือในการถายทอดเทคโนโลยีใหม 02_01-340_.indd 301 17/10/2562 8:39:41


302 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๐.๒.๔ บทบาทขององคการระหวางประเทศทางดานการเมือง เปนบทบาทที่มุงเพื่อรักษาสันติภาพและประสานความสัมพันธ ระหวางประเทศ ให เกิดความมั่นคงโดยมีบทบาทที่สําคัญ ดังนี้ ๑. สงเสริมใหเกิดสันติภาพและรักษาความมั่นคงรวมกัน โดยใหความสําคัญกับกอง กําลังรักษาสันติภาพทําหนาที่รักษาสันติภาพในบริเวณพื้นที่ที่มีขอพิพาท ๒. ยุติกรณีพิพาทดวยสันติวิธี โดยวิธีการทางการทูต การไกลเกลี่ย การเจรจาและ การประนีประนอม ๓. สนับสนุนใหดินแดนอาณานิคมไดรับเอกราชปกครองตนเองดวยหลักการกําหนด โดยตนเอง ๔. สนับสนุนการลดกําลังอาวุธและการควบคุมอาวุธการหามทดลองอาวุธนิวเคลียร เพื่อเสริมสรางความมั่นคงรวมกัน การจัดระเบียบความสัมพันธระหวางรัฐหรือ เปนหลักสําหรับการปฏิบัติตอกันของรัฐ รวมทั้ง แกปญหาหรือขอพิพาทตาง ๆ ระหวางรัฐโดยสันติภาพ วิธีไดแกกลไกทางการทูตกลไกทางกฎหมาย ระหวางประเทศและกลไกทางสถาบันระหวางประเทศหรือองคการระหวางประเทศซึ่งในประการหลัง เปนเรื่องที่อยูใน ความสนใจศึกษา ๑๐.๒.๕ ความหมายและคําจํากัดความ องคการระหวางประเทศคืออะไร เราจะใหความหมายหรือคําขัด ความวาอยางไร๒ องคการระหวางประเทศคือกลไกอยางหนึ่งในการปฏิบัติความสัมพันธระหวางรัฐ เพื่อการดํารงอยู รวมกัน ในระบบสังคมระหวางประเทศ หรือระบบนานารัฐ (Multi-state system) ถึงกระนั้นก็ดี เรา ยังจะพิจารณาความหมาย และคําจํากัดความขององคการระหวางประเทศไดดังนี้ ๑. องคการระหวางประเทศในลักษณะที่ไมเปนสถาบันแตเปนการ รวมกัน ดําเนินการเพื่อผลประโยชนหรือ การดําเนินการตอปญหาที่เกิดขึ้นรวมกัน เปนครั้งคราวความหมาย ขององคการระหวางประเทศในลักษณะนี้อาจปรากฏในรูปของการรวมประชุมปรึกษาหารือระหวาง ประเทศ (International Conference) ในความหมายนี้ ถือไดวาองคการระหวางประเทศเปนวิธีการ ทางการทูตระยะสั้นแบบหนึ่งนั้นคือการเจรจา (Negotiation) เพื่อใหบรรลุการตกลง (Agreement) ๒ สถาบันและองคกรระหวางประเทศ https://www.baanjomyut.com/library@global Society/o๒ ๓.html สืบคนเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 302 17/10/2562 8:39:42


303 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะองคการระหวางประเทศ ในลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเมื่อรัฐตาง ๆ ตองการ จะแกปญหาระหวางประเทศหรือดําเนินนโยบายรวมกันเปนเรื่อง ๆ ไปเมื่อหมดเรื่องนั้น ๆ แลว การ ประชุมปรึกษาหารือก็ยุติลงในหลายโอกาสองคการระหวางประเทศในความหมายนี้จะเกิดขึ้น ภายหลัง การยุติการสูรบหรือสงครามระหวางประเทศซึ่งจะออกมาในรูปที่ประเทศฝายชนะ สงคราม จะจักการประชุมเพื่อเรียกรองเงื่อนไขตางๆ จากประเทศฝายแพสงคราม ๒. องคการระหวางประเทศในลักษณะที่เปนสถาบันที่รัฐตางๆ จงใจจัดตั้งขึ้นดวย ปรารถนาที่จะดําเนินการในเรื่องตางๆรวมกันในลักษณะถาวรเปน ความพยายามของรัฐตางๆ ที่จะ จัดตั้งหนวยงาน สถาบันระหวางประเทศ (International Institution) ซึ่งตางจากองคการระหวาง ประเทศในความหมายแรกที่วา การดําเนินการระหวางรัฐมิไดยุติเพียงเมื่อรัฐตาง ๆ ไดกําหนด แนวทาง ปฏิบัติเพื่อผลประโยชนรวมกัน หรือแกปญหาระหวางกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเสร็จสินลงไป แลวเทานั้น แตรัฐตาง ๆยังคงดําเนินการรวมกันตอไปอีกเปนประจําแมจะยังไมปรากฏปญหาที่เกิดขึ้น ระหวางรัฐก็ตาม องคการระหวางประเทศในความหมายแรกก็เปนปรากฏการณที่พัฒนามาสูองคการ ระหวางประเทศในความหมายที่สองไดในเมื่อความจําเปนที่จะตองรวมประชุมปรึกษาหารือระหวาง ประทศมีมากและบอยครั้งขึ้น ซึ่งถาพิจารณาอยางเครงครัด แลวจะเห็นไดวาองคการระหวางประทศ ในลักษณะของ สถาบันระหวางประเทศ ก็คือการทําใหองคการระหวางประเทศในความหมายของ การประชุมปรึกษาหารือระหวางประเทศ มีลักษณะแหงการถาวรนั้นเอง ฉะนั้นจึงปรากฏวาวิธีปฏิบัติ ของรัฐตาง ๆ ในการดําเนินงานของสถาบันระหวางประเทศจึง เปนวิธีการของการพูดโดยการประชุม ปรึกษาหารือระหวางกันและกัน การศึกษาในวิชาองคการระหวางประเทศจะยึดถือองคการระหวางประเทศใน ลักษณะของการเปนสถาบันระหวางประเทศเปนสําคัญ ๓. องคการระหวางประเทศที่มีความหมายตามลักษณะของ วัตถุประสงคในการ จัดตั้งซึ่งอาจจะมีทั้งในลักษณะที่ไมเปนสถาบันหรือเปนสถาบัน หรือเปนสถาบันก็ไดทั้งนี้เพราะ องคการระหวางประเทศนั้นถูกจัดตั้งขึ้นมาเพื่อให บรรลุวัตถุประสงคหรือจุดหมายบางอยางเชนเพื่อ เปนกฎเกณฑของความสัมพันธ ระหวางประเทศเพื่อระงับปญหาหรือขอพิพาทที่เกิดขึ้นระหวางรัฐ เพื่อลดหรือ ควบคุมความขัดแยงและสงครามเพื่อสงเสริมความรวมมือในกิจกรรมการพัฒนา ทาง เศรษฐกิจและสังคม หรือเพื่อเปนระบบปองกันรวมเพื่อใหปลอดภัยจากการถูกคุกคาม เปนตน 02_01-340_.indd 303 17/10/2562 8:39:43


304 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑๐.๒.๖ ความสําคัญขององคการระหวางประเทศ การเขาเปนสมาชิกขององคการระหวางประเทศเปนไปดวยความสมัครใจของรัฐที่จะ อยูรวมกลุมกันโดยมีจุดมุงหมายรวมกัน องคการระหวางประเทศจึงมีความสําคัญดังนี้ ๑. เปนหนวยงานที่มีตัวแทนของรัฐมาประชุมพบปะกัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ แสวงหาสันติภาพและความมั่นคงรวมกัน ๒. ดําเนินการรวมกันเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นเปนเวทีสําหรับรัฐตาง ๆ มารวมตกลง ประสานผลประโยชนระหวางกัน ๓. รัฐไดรูถึงความจําเปนที่จะตองสรางเครื่องมือที่เปนสถาบัน และวิธีการที่เปน ระบบการจัดตั้งองคการระหวางประเทศ จึงเปนทางออกของรัฐในการจัดระเบียบความสัมพันธและวาง หลักเกณฑสําหรับใชในการ ปฏิบัติตอไป ๑๐.๓. องคกรสหประชาชาติ ประวัติองคสหประชาชาติเกิดขึ้น๓ ระหวางสงครามโลกครั้งที่สองในป พ.ศ. ๒๔๘๖ (ค.ศ. ๑๙๔๓) เริ่มมีแนวคิดกอตั้งสหประชาชาติในระหวางการประชุมของฝายพันธมิตร โดยมีความชัดเจน มากขึ้นเมื่อ แฟรงกลิน ดี. รูสเวลต ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และวินสตัน เชอรชิลล นายกรัฐมนตรี อังกฤษลงนามในกฎบัตรแอตแลนติกทั้งที่สอง เปนผูเริ่มใชคําวาสหประชาชาติ (United Nations) และใชอยางเปนทางการเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๕ (ค.ศ. ๑๙๔๒) หลังจาก ๒๖ ประเทศลง นามในปฏิญญาสหประชาชาติ จากนั้นฝายพันธมิตรจึงเรียกกองกําลังที่รวมมือกันตอตานเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุนวา "United Nations Fighting Forces" วันที่ ๒๗ สิงหาคม - ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๗ (ค.ศ. ๑๙๔๔) ตัวแทนจากฝรั่งเศส สาธารณรัฐ จีน สหราชอาณาจักรสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต ไดเขารวมประชุม เพื่อวางแผนการกอตั้ง สหประชาชาติที่ดัมบาตันโอกส ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. การประชุมครั้งนั้นและตอ ๆ มาทําใหเกิด รากฐานความรวมมือกันระหวางประเทศเพื่อนําไปสูสันติภาพ ความมั่นคงความรวมมือทางเศรษฐกิจ และสังคมโดยแผนเหลานี้ไดผานการถกเถียงอภิปรายจากรัฐบาลและ ประชาชนจากทั่วโลก ๓ องคการสหประชาชาติhttps://www.google.com/search?ei=IMXXWO8OYvXvASb3Yr4DQ&q สืบคนเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 304 17/10/2562 8:39:43


305 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation เมื่อใกลสิ้นสุดสงครามการประชุมสหประชาชาติวาดวยองคการระหวาง ประเทศ (United Nations Conference on International Organization -UNCIO) เริ่มตนขึ้นเมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๘ (ค.ศ. ๑๙๔๕) ที่นครซานฟ รานซิสโก ตัวแทนจาก ๕๐ ประเทศ ไดลงนามในกฎบัตร สหประชาชาติเมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ยกเวนโปแลนด ที่ไมสามารถสงผูแทนเขารวมประชุมได แต ไดรับการ พิจารณาใหเปนสมาชิกดั้งเดิม รวมเปน ๕๑ ประเทศแมสันนิบาตชาติจะถูกลมเลิกไป แต อุดมการณสวนใหญ และโครงสรางบางประการไดถูกกําหนดไวในกฎบัตร โดยไดรับการพัฒนาให เหมาะสมกับโลกใหมที่ซับซอนมากขึ้น หลังจากกฎบัตรผาน การลงนามจากสมาชิกสหประชาชาติ จึง ไดรับการสถาปนาอยางเปนทางการ เมื่อ กฎบัตรมีผลบังคับใชในวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ (ค.ศ. ๑๙๔๕) เดิม สหประชาชาติใชชื่อเต็มในภาษาอังกฤษวา United Nations Organization หรือ UNO แตมักถูกเรียกวา United Nations หรือ UN นับจากทศวรรษ ๑๙๕๐ ปจจุบันสหประชาชาติมีสมาชิก ๑๙๒ ประเทศ ประเทศที่ไมไดเปนสมาชิก เชน สาธารณรัฐ จีน (ไตหวัน) หลังจากโอนที่นั่งใหกับสาธารณรัฐประชาชน จีนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ สมาชิกลาสุดคือ ประเทศมอนเตเนโกร เขาเปนสมาชิกเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น (United Nations - UN) เปนองคการระหวางประเทศที่กอตั้งขึ้นอยางเปนทางการเมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง เปนองคการระหวางประเทศที่กําเนิดขึ้นเปน องคการที่สองในคริสตศตวรรษที่ ๒๐ ตอจากสันนิบาตชาติปจจุบัน สหประชาชาติมีประเทศสมาชิก ทั้งหมด ๑๙๒ ประเทศ จุดประสงคคือการนําทุกชาติทั่วโลกมาทํางานรวมกันเพื่อสันติภาพและการพัฒนาโดยอยูบน หลักพื้นฐานของความยุติธรรม ศักดิ์ศรีของมนุษย และความกินดีอยูดีของทุกคนนอกจากนี้ยังให โอกาสประเทศตาง ๆ สรางดุลแหงการพึ่งพาอาศัยกัน และรักษาผลประโยชนชาติในกรณีที่เกิดปญหา ระหวางประเทศ ไมวาจะเปนปญหาดาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม มนุษยธรรมใหความสําคัญตอ สิทธิ มนุษยชนและเปนศูนยกลางในการรวมมือกันเพื่อเปาหมายตาง ๆ กอนที่สหประชาชาติจะถือกําเนิดขึ้นมีความพยายามรวมกลุมกันของชาติ ตาง ๆ ทันทีหลัง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ยุติลงโดยใชชื่อวาสันนิบาตชาติซึ่งเกิดขึ้นจากสนธิสัญญาแวรซาย ปนเพราะ ประชาชนจํานวนมากในฝรั่งเศส แอฟริกาใตสหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกาเชื่อวา องคกรโลกที่ ประกอบดวยชาติตาง ๆ จะสามารถรักษาสันติภาพและปองกันความนาสะพรึงกลัวของสงครามอยาง ที่เกิด ในยุโรปชวงป พ.ศ. ๒๔๕๗ - ๒๔๖๑ เบื้องตนสันนิบาตชาติมีสมาชิก ๔๒ ประเทศโดยมี ประเทศที่ไมไดอยูในยุโรปถึง ๒๖ ประเทศ จุดหมายหลักของสันนิบาตชาติมี ๒ ประการ คือ พยายาม ธํารงรักษาสันติภาพ แกปญหากรณีพิพาทตาง ๆ โดยอาศัย การเจรจาไกลเกลี่ยและอาจใชวิธีคว่ํา บาตรหรือกําลังทหารถาจําเปนกลาวอีกนัยหนึ่งวาปองกันสมาชิกจากการรุกรานประการที่สอง คือ 02_01-340_.indd 305 17/10/2562 8:39:44


306 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ สงเสริมความรวมมือดานเศรษฐกิจ และสังคมแตการอุบัติขึ้นของสงครามโลกครั้งที่สองแสดงใหเห็นถึง ความ ลมเหลวของสันนิบาตชาติ ซึ่งไมมีกําลังทหารเปนของตนเองตองอาศัยความชวยเหลือจาก ประเทศสมาชิกขณะที่ประเทศสมาชิกเอง ก็ไมเต็มใจที่จะใชมาตรการ ตาง ๆ นอกจากนี้ประเทศ มหาอํานาจหลายชาติก็ไมไดใหความรวมมืออยางจริงจัง สันนิบาตชาติจึงถูกลมเลิกในป พ.ศ. ๒๔๘๙ ๑๐.๓.๑ สํานักงานใหญ อาคารสํานักงานใหญสหประชาชาติ กอสรางขึ้นบนที่ดินใกลแมน้ําอีสตในนคร นิวยอรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๒ - ๒๔๙๓ บริจาคโดย จอหน ดี. รอกกี เฟลเลอร จูเนียร ดวยมูลคา ๘.๕ ลานดอลลารสหรัฐฯและออกแบบโดย ออสการนี ไมเออร สถาปนิกชาวบราซิล สํานักงานใหญ สหประชาชาติเปดทําการเมื่อวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๔ นอกจากนี้ ยังมีสํานักงานตัวแทนที่สําคัญ ตั้งอยูในนครเจนีวา นครเฮก กรุงเวียนนา กรุงโคเปนเฮเกน ฯลฯ สหประชาชาติมีธงที่ทําการไปรษณียและดวงตราไปรษณียากรของตนเอง ภาษา ทางการที่ใชมีอยู ๖ ภาษา คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย จีน และภาษาอาหรับ(เพิ่มมาในป พ.ศ. ๒๕๑๖) สวนคณะมนตรีนั้นใช ๒ ภาษา คือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส ประเทศสมาชิกของ สหประชาชาติจะประชุมกันที่สมัชชาใหญซึ่งอาจเปรียบไดกับรัฐสภาของโลกไมวาประเทศจะมีขนาด ใหญหรือเล็กรารวย หรือยากจนตางมีสิทธิออกเสียงไดเพียงเสียงเดียวแมวาคําตัดสินของสมัชชาใหญ มิไดถือเปนขอผูกมัดแตก็เปนมติที่มีนาหนักเทากับเปนความเห็นของรัฐบาล โลก ๑๐.๓.๒ วัตถุประสงคขององคการสหประชาชาติ องคการสหประชาชาติไดรับการสถาปนาอยางเปนทางการเมือ วันที่ ๒๔ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ เมื่อกฎบัตรสหประชาชาติมีผลบังคับใชกฎบัตรสหประชาชาติไดกําหนดวัตถุประสงคของ องคการสหประชาชาติไว ดังนี้ ๑. เพื่อธํารงไวซึ่งสันติ และ ความมั่นคงระหวางประเทศ ๒. เพื่อพัฒนาความสัมพันธฉันมิตรระหวางประชาชาติทั้งปวง โดยยึดการเคารพตอ หลักการแหงสิทธิอันเทาเทียมกัน ๓. เพื่อใหบรรลุถึงความรวมมือระหวางประเทศ ในอันที่จะแกไขปญหาระหวาง ประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หรือ มนุษยธรรม และการสงเสริมสนับสนุนการเคารพตอ สิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นมูลพื้นฐานสําหรับทุกคนโดยไมเลือกปฏิบัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือ ศาสนา 02_01-340_.indd 306 17/10/2562 8:39:49


307 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๔. เพื่อเปนศูนยกลางสําหรับการประสานงานของประชาชาติ ทั้งหลายใหกลมกลืน กันในอันที่จะบรรลุจุดหมายปลายทางรวมกัน กลาวไดวาองคการสหประชาชาติกอตั้งขึ้นมาดวยเจตนารมณที่จะขจัดภัยพิบัติอันเกิดจาก สงครามประกันสิทธิมนุษยชนตลอดจนสงเสริมความกาวหนาทางเศรษฐกิจและสังคมของมวล มนุษยชาติ ๑๐.๓.๓ หลักการขององคการสหประชาชาติ เพื่อใหองคการสหประชาชาติ สามารถดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว กฎบัตรสหประชาชาติไดวางหลักการที่องคการสหประชาชาติและประเทศสมาชิกจะพึงยึดถือเปน แนวทางในการดําเนินการระหวางประเทศ ดังนี้ ๑. หลักความเสมอภาคในอธิปไตย รัฐยอมมีอํานาจอธิปไตยโดยสมบูรณ ๒. หลักความมั่นคงรวมกัน เพื่อธํารงไวซึ่งสันติภาพ และ ความมั่นคงรวมกัน ดาเนิน มาตรการรวมกัน เพื่อปองกัน และขจัดการคุกคามตอสันติภาพ ๓. หลักเอกภาพระหวางมหาอํานาจ ซึ่งไดแก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย และ จีน ๔. หลังการไมใชกําลัง และการระงับกรณีพิพาทโดยสันติวิธี ๕. หลักความเปนสากลขององคการเปดกวางแกรัฐที่รักสันติ ทั้งปวง ๖.หลักการเคารพเขตอํานาจศาลภายในปญหาใดที่ประเทศสมาชิกอางวาเปนกิจการ ภายในสหประชาชาติจะไมมีสิทธิหรืออํานาจเขาแทรกแซง ๑๐.๔ กองกําลังสหประชาชาติ ปฏิบัติการรักษาสันติภาพเปนกลไกของสหประชาชาติในการแกไข และระงับความขัดแยง ระหวางประเทศ๔ ซึ่งอาจขยายตัวลุกลามและกอใหเกิด ผลกระทบไปสูประเทศหรือภูมิภาคอื่น ๆ และ เพื่อสรางสภาวการณที่เอื้อตอการสรางสันติภาพอยางยั่งยืน โดยเปนความพยายามที่จะใหทุกฝายที่ เกี่ยวของในความขัดแยงเคารพขอตกลงสันติภาพที่เห็นชอบรวมกันและสรางบรรยากาศแหงความ ๔ กองกําลังสหประชาชาติhttp://www.mfa.go.th/thai inter org/th/policy, สืบคนเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 307 17/10/2562 8:39:50


308 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ รวมมือดวยการสงเจาหนาที่สังเกตการณและกองกําลังเขาไปดูแลรักษาความสงบเรียบรอยทั้งนี้ การ จัดตั้งปฏิบัติการรักษาสันติภาพเปนไปตามขอมติของคณะมนตรี ความมั่นคงแหงสหประชาชาติ เนื่องจากสหประชาชาติไมมีกําลังทหารและตํารวจเปนของตนเอง เมื่อเกิดสถานการณความ ขัดแยง ซึ่งคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นควร ใหมีการจัดตั้งกองกําลังรักษาสันติภาพขึ้น เลขาธิการสหประชาชาติจะแจงไปยังรัฐ สมาชิก เพื่อขอรับการสนับสนุนในการจัดสงเจาหนาที่ทหาร ตํารวจ และพลเรือน เขารวมในภารกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยสหประชาชาติจะสนับสนุนคาใชจายตาง ๆ ใหแก ประเทศที่จัดสงกําลังพลเขารวมปฏิบัติการ การรักษาสันติภาพเปนกระบวนการ หนึ่งใน ระเบียบวาระเพื่อสันติภาพ (Agenda for Peace) ของสหประชาชาติ ซึ่งกําหนดแนวความคิดของ การรักษาสันติภาพโดยใชมาตรการ ๓ ประการ ไดแก ๑. การทูตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy) เนนการปองกัน ไมใหเกิดขอ พิพาท หรือควบคุมไมใหขอพิพาทขั้นตนลุกลามไปเปนความขัดแยงที่รุนแรง ๒. การทําใหเกิดสันติภาพ (Peacemaking) การนําคูขัดแยงมาตกลงรวมกันโดยเนน ชองทางการเจรจาหารืออยางสันติ เชน การไกลเกลี่ย ๓. การรักษาสันติภาพ (Peacekeeping) การสงกองกําลังสหประชาชาติเขาไปดูแล สถานการณในพื้นที่โดยทุกฝายเห็นขอบซึ่งเปนวิธีที่สามารถนําไปสูการปองกันสถานการณไมให ลุกลามบานปลาย และชวยทําใหเกิด สันติภาพดังกลาวขางตนไดดวย นอกจากนี้สหประชาชาติยังริเริ่มแนวความคิดเกี่ยวกับการเสริมสราง สันติภาพขึ้นเพื่อ สงเสริมสันติภาพระยะยาว ในพื้นที่ที่เคยมีความขัดแยงและ ปองกันไมใหความขัดแยงปะทุขึ้นมาอีก โดยใหความสําคัญกับกระบวนการฟนฟูโครงสรางสถาบันของรัฐ การปลดอาวุธ การสราง ความปรองดอง และสงเสริมการพัฒนาศักยภาพของสถาบัน และบุคลากรของประเทศ ซึ่งเปน พื้นฐานที่จะนําไปสูการแกไขความขัดแยงที่ ตนเหตุ อาทิ ความยากจน การจัดการและจัดสรร ทรัพยากรที่ไมเปนธรรมปญหา โครงสรางพื้นฐานกองกําลังสหประชาชาติ ปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ในกรอบของ สหประชาชาติ(United Nations Peacekeeping Operations) ๑๐.๔.๑ บทบาทของสหประชาชาติ ๑. สหประชาชาติเปนองคการระหวางประเทศที่ไดรับการยอมรับ จาก ๑๙๒ ประเทศ สมาชิกใหมีบทบาทหนาที่ในการธํารงรักษาสันติภาพและความ มั่นคงระหวางประเทศ ซึ่งมี แนวทางปฏิบัติตามที่ระบุในกฎบัตรสหประชาชาติ ๒ ประการคือ 02_01-340_.indd 308 17/10/2562 8:39:51


309 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑.๑ การแกไขขอพิพาทดวยสันติวิธีและการดําเนินการเพื่อระงับภัยคุกคาม สันติภาพ การละเมิดสันติภาพหรือการใชกําลังรุกราน ๑.๒ การดําเนินการเกี่ยวกับการคุกคามตอสันติภาพการละเมิดสันติภาพ และการกระทําการรุกราน ซึ่งถือเปนมาตรการการใชกําลังเพื่อใหเกิดสันติภาพ (peace enforcement) ๒. คณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติเปนกลไกของสหประชาชาติที่มีอํานาจ ในการวินิจฉัย และดําเนินมาตรการที่เหมาะสมเพื่อระงับยุติความขัดแยงรุนแรงที่เกิดขึ้น แมวา ประเทศสมาชิกสหประชาชาติ จะสามารถหยิบยกปญหาความขัดแยงขึ้นสูการพิจารณาของสมัชชา สหประชาชาติได แตอํานาจของสมัชชาฯจํากัดอยูเพียงการใหคําแนะนํา โดยไมมีอํานาจเหมือนคณะ มนตรีความมั่นคงฯ ๓. ปฏิบัติการรักษาสันติภาพเปนหนึ่งในมาตรการของ สหประชาชาติที่จะธํารง รักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหวางประเทศ แตเนื่องจากเปนมาตรการที่กําหนดขึ้นภายหลังการ กอตั้งสหประชาชาติ จึงไมมีระบุไว ในกฎบัตรฯ ดังนั้น ความหมายและขอบขายอํานาจหนาที่จึง เปลี่ยนแปลงไปตาม วิวัฒนาการของรูปแบบความขัดแยงเปนรายกรณี ๔. ในชวงกอนการสิ้นสุดของสงครามเย็นบทบาทและภาระหนาที่ ของปฏิบัติการ รักษาสันติภาพจํากัดเพียงเฉพาะทางดานทหาร ในการตรวจสอบ ตรวจตรา และรายงานการปฏิบัติ ตามขอตกลงหยุดยิงหรือขอตกลงสันติภาพโดยยึด หลักการสําคัญ ๓ ประการ คือ ๔.๑ การไดรับความยินยอม(consent) ๔.๒ การไมเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง (impartiality) และ ๔.๓ การไมใชกําลัง ยกเวนกรณีปองกันตัว (non-use of force) ๕. ตั้งแตยุคหลังสงครามเย็นรูปแบบของความขัดแยงไดเปลี่ยนไป โดยสาเหตุของ ความขัดแยงมิไดจํากัดเฉพาะระหวางรัฐตอรัฐแตบอยครั้งที่เกิดจากปญหาภายในประเทศอาทิความ ขัดแยง ดานเชื้อชาติ ศาสนา การละเมิดสิทธิ มนุษยชน การฆาลางเผาพันธุ เปนตน ซึ่งความเหลานี้ สงผลกระทบตอเสถียรภาพ และ ความมั่นคงของประเทศเพื่อนบานโดยตรง อาทิ ปญหาผูอพยพ ๖. ผลสําเร็จของสงครามอาว (Gulf War) ในตะวันออกกลาง เมื่อป ๒๕๓๔ ทําให สหรัฐฯ และประเทศตะวันตกผลักดันแนวความคิดเกี่ยวกับ new World order ที่มีการจัดกําลังใน ลักษณะ Collective security System ภายใตสหประชาชาติ เพื่อทําหนาที่สํารงสันติภาพโลก ทั้งนี้ ไดมีความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงบทบาทของปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ใหเนนไปที่บทบาทการใช กําลังเพื่อใหเกิดสันติภาพและสหประชาชาติเอง ก็พยายามผลักดันแนวความคิดดังกลาว โดยในป 02_01-340_.indd 309 17/10/2562 8:39:56


310 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒๕๓๕ นายบรูโทรส บรูโทรส กาลี เลขาธิการฯ ในขณะนั้นไดจัดทํา รายงานเรื่อง “วาระเพื่อ สันติภาพ (Agenda for Peace)” เสนอใหมีการจัดตั้งกอง กําลังของสหประชาชาติ (UN Army) เพื่อ ทําหนาที่ดูแลรักษาสันติภาพและความมั่นคงแตปรากฏวาแนวความคิดดังกลาวถูกคัดคานอยางรุนแรง จากประเทศกําลังพัฒนาทั้งหลาย ๗.ประสบการณความลมเหลวของปฏิบัติการรักษาสันติภาพใน รวันดา โซมาเลีย และบอสเนีย-เฮอรเซโกวีนา ซึ่งเปนปฏิบัติการลักษณะการใช กําลังเพื่อใหเกิดสันติภาพภายใต ขอจํากัดของปฏิบัติการรักษาสันติภาพที่มาจาก สาเหตุสําคัญ คือ ๗.๑ สหประชาชาติตองพึ่งการสนับสนุนทั้งหมดจากประเทศสมาชิก ทําให การจัดกําลังแตละครั้งตองใชเวลารวบรวมกําลังพลและอาจจะไดไมครบตามที่วางแผนไว ๗.๒ องคประกอบดานบุคลากร ยุทโธปกรณ และการบังคับบัญชาไม เอื้ออํานวยใหจัดหนวยรบที่มีประสิทธิภาพได ๓.๓ การปฏิบัติการลักษณะการใชกําลัง เพื่อใหเกิดสันติภาพ มีระดับความ เสี่ยงในการปฏิบัติงานซึ่งการสูญเสียเพียงเล็กนอยที่เกิดกับกองกําลัง อาจกอใหเกิดกระแสสังคม ภายในประเทศกดดันใหรัฐบาลตองถอนการสนับสนุน ซึ่งอาจทําใหปฏิบัติการรักษาสันติภาพนั้นๆ ตองลมเลิกไปในที่สุด ๘. จุดแข็งของปฏิบัติการรักษาสันติภาพคือความเปนสากล (universality) และการ ไดรับความยอมรับทางการเมืองจากทุกฝายของประเทศที่เกี่ยวของ (political acceptance) การไม เขาขางฝายใดฝายหนึ่งและการไมใช กําลังดังนั้น จึงเห็นไดวาบทบาทที่เหมาะสมของปฏิบัติการรักษา สันติภาพคือ การเปนกําลังปองปราม (deterrent force) มากกวากองกําลังสูรบ เนื่องจากฝายตาง ๆ ที่ขัดแยงกันตางตระหนักดีวาการโจมตีทํารายกองกําลังสหประชาชาติจะทําให เกิดกระแสตอตานจาก ประชาคมโลก ๙. ปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติไดมีพัฒนาการจากบทบาทเดิมที่ เนนเฉพาะความพยายามในการยุติการสูรบ และความขัดแยงมาสู ภารกิจ ที่มีหลากหลายมิติทั้งการ รักษาสันติภาพ และการฟนฟูเสริมสรางสันติภาพ ภายหลังความขัดแยง เพื่อใหเกิดสันติภาพอยาง ยั่งยืน เชน การยุติความขัดแยงของคูกรณีการมีสวนรวมในกระบวนการรักษาความมั่นคงและอํานวย ความสะดวกใหเกิดระบบการเมืองและการจัดตั้งรัฐบาล 02_01-340_.indd 310 17/10/2562 8:39:57


311 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๐.๔.๒ บทบาทของไทยในปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ไทยเห็นวาการดําเนินมาตรการปองกันยังคงเปนวิธีที่ดีที่สุดและ สนับสนุนความ พยายามของสหประชาชาติในการสรางวัฒนธรรมการปองกันให เกิดขึ้นในบรรดาประเทศสมาชิก ดีกวาการรอใหปญหาเกิดแลว จึงหาวิธีแกไขและ ยังเห็นวาปฏิบัติการรักษาสันติภาพเปนเพียงหนึ่งใน มาตรการสําคัญในการสํารง รักษาสันติภาพและความมั่นคงของสหประชาชาติ อยางไรก็ตาม การใช ปฏิบัติการรักษาสันติภาพตองคํานึงถึงขอจํากัดดวยวาสามารถใชกับสถานการณใดไดบาง การจัดสง กองกําลังรักษาสันติภาพเขาไปในสถานการณที่ไมเหมาะสมจะทําใหเกิดความสูญเปลาของบประมาณ ดังนั้น เมื่อคํานึงถึงขอจํากัดของลักษณะของปฏิบัติการรักษาสันติภาพและทรัพยากรของ สหประชาชาติไทย จึงเห็นวา ในการพิจารณาจัดตั้งปฏิบัติการรักษาสันติภ สหประชาชาติควรมี entry & exit strategy ที่ชัดเจน ๑๐.๔.๓ ผลประโยชนของไทยจากการเขารวมภารกิจรักษาสันติภาพ ๑. เปนการตอบสนองนโยบายตางประเทศของไทยในการสนับสนุนบทบาทของ สหประชาชาติในการธํารง และรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ ๒. เปนโอกาสในการสงเสริมความสัมพันธที่ดีกับประเทศที่ไทย เขารวมภารกิจและ สรางความนิยมไทยโดยการปฏิบัติหนาที่ของบุคลากรไทยจะชวยสรางความสัมพันธที่ดีในระดับบุคคล กับเจาหนาที่ของรัฐและประชาชนในพื้นที่ อันจะเอื้อประโยชนตอการขยายความสัมพันธและความ รวมมือในมิติอื่นๆ ในระยะยาว หลังจากความขัดแยงยุติลงแลว เชนความรวมมือดานเศรษฐกิจและ โอกาสดานการคาการลงทุน ๓. เปนการชวยธํารงสันติภาพและเสถียรภาพในประเทศและ ภูมิภาคนั้นๆ เพื่อชวย สรางสภาวะที่เอื้อตอการพัฒนา รวมทั้งชวยสรางความเชื่อมั่นและบรรยากาศที่ดีตอความรวมมือดาน สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การคาและการลงทุนในระยะยาว ๔. เปนโอกาสในการเสริมสรางภาพลักษณของไทยวาเปนสังคม แหงเมตตาธรรม มนุษยธรรม และความเอื้ออาทรโดยการชวยเหลือเพื่อนมนุษยที่ตก ทุกขไดยาก ๕. เปนโอกาสในการแสดงศักยภาพของกองทัพไทยรวมทั้งเปนการพัฒนาความรู ความเชี่ยวชาญและเสริมสรางทักษะประสบการณในเวทีระหวางประเทศของกําลังพล เปนเกียรติ ประวัติและเปนการสรางโอกาสใหเจาหนาที่ของ ไทยไดรับการพิจารณาใหดํารงตําแหนงระดับสูงใน ฝายปฏิบัติการสันติภาพของ สหประชาชาติหรือในองคการระหวางประเทศอื่น ๆ 02_01-340_.indd 311 17/10/2562 8:39:58


312 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑๐.๕ องคกรสิทธิมนุษยชน ในยุคโบราณซึ่งเต็มไปดวยความยากลําบากทุกหนแหงไมมีความเสมอภาคกันมนุษยถูก แบงเปนชนชั้นชนชั้นลางจะถูกเอารัดเอาเปรียบและถูกปฏิบัติเฉกเชนเดียวกับสิ่งของสิทธิถูกสงวนไว สําหรับขุนนางซึ่งเปนชนชั้นสูงเทานั้น ตอมามนุษยเริ่มมีความเปนตัวของตัวเองมีเหตุมีผลมากขึ้นจึง เริ่มมีแนวคิดใหม ๆ วาสิทธิซึ่งแตเดิมเฉพาะชนชั้นสูงเทานั้นจึงจะมีไดสมควรที่จะมอบใหกับประชาชน ทุกคนดังนั้นจึงเกิดแนวคิดที่วา “สิทธิ” คือ อํานาจหรือประโยชนที่บุคคลพึงมีพึงได มีกฎหมายรับรอง ไว และสิทธิจะไดมาตั้งแตกําเนิดไมมีใครสามารถพรากเอาไปได สิทธิที่จะกลาวถึงตอไปนี้ คือ “สิทธิ มนุษยชน” มีเนื้อหาเนนหนักไปที่เรื่องของ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ความเสมอภาค รวมไปถึงเสรีภาพ ในดานตาง ๆ เปนตน สิทธิมนุษยชนนั้นประกอบไปดวย ๑. สิทธิในชีวิตและรางกาย เริ่มตั้งแตเมื่อคลอดและอยูรอดเปนทารก ๒. สิทธิที่จะไมถูกกระทําทารุณกรรมคือไมถูกกระทําอยาง โหดรายผิดมนุษย ๓. สิทธิที่จะไมถูกกระทําเยี่ยงทาส คือ ไมถูกปฏิบัติเฉกเชนสิ่งของ ๔. สิทธิที่จะไมถูกลงโทษ หรือถูกกลาวหาดวยกฎหมายยอนหลัง ไมเพียงเทานั้นสิทธิมนุษยชนไดถูกกลาวถึงในปฏิญญาสากลที่โดงดังไปทั่วโลก นั่นคือปฏิญญา สากลวาดวยเรื่องสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีเนื้อหา ดังนี้ ๑. มนุษยทั้งหลายเกิดมามีอิสรเสรีเทาเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและ สิทธิ ทุกคนไดรับการ ประสิทธิ์ประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติตอกัน อยางฉันพี่นอง ๒. บุคคลชอบที่จะมีสิทธิและเสรีภาพตามที่ระบุไวในปฏิญญานี้ โดยไมมีการจําแนก ความแตกตางในเรื่องใด ๆ เชน เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็น ทางการเมือง หรือทาง อื่นใด ชาติหรือสังคมอันเปนที่มาเดิม ทรัพยสิน กําเนิด หรือสถานะอื่นใดนอกจากนี้การจําแนกขอ แตกตาง โดยอาศัยมูล ฐานแหงสถานะทางการเมือง ทางดุลอาณาหรือทางเรื่องระหวางประเทศของ ประเทศ หรือดินแดนซึ่งบุคคลสังกัดจะทํามิได ทั้งนี้ไมวาดินแดนดังกลาวจะเปน เอกราช อยูในความ พิทักษ มิไดปกครองตนเอง หรืออยูภายใตการจํากัดแหง อธิปไตยอื่นใด ๓. บุคคลมีสิทธิในการดําเนินชีวิตในเสรีธรรมและในความมั่นคง แหงรางกาย ๔. บุคคลใดจะถูกบังคับใหเปนทาสหรืออยูในภาระจํายอมใด ๆ มิได การเปนทาส และการคาทาสจะมีไมไดทุกรูปแบบ 02_01-340_.indd 312 17/10/2562 8:40:03


313 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๕. บุคคลใดจะถูกทรมานหรือไดรับการปฏิบัติหรือลงทัณฑซึ่ง ทารุณ โหดไร มนุษยธรรมหรือเหยียดหยามเกียรติมิได ๖. ทุก ๆ คนมีสิทธิที่จะไดรับ การยอมรับวาเปนบุคคลใน กฎหมาย ไมวา ณ ที่ใด ๆ ๗. ทุก ๆ คนตางเสมอกันในกฎหมายและชอบที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย เทาเทียมกัน โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใดๆ ทุกคนชอบที่จะไดรับ การคุมครองอยางเสมอหนา จากการเลือกปฏิบัติใดๆอันเปนการลวง ละเมิดปฏิญญานี้ และตอการยุยงสงเสริมใหเกิดการเลือก ปฏิบัติเชนนั้น ๘. บุคคลมีสิทธิที่จะไดรับการเยียวยาอยางไดผลโดยศาลแหงชาติ ซึ่งมีอํานาจ เนื่องจากการกระทําใดๆ อันละเมิดตอสิทธิขั้นมูลฐาน ซึ่งตนไดรับจากรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมาย ๙. บุคคลใดจะถูกจับ กักขัง หรือเนรเทศโดยพลการมิได ๑๐. บุคคลชอบที่จะเทาเทียมกันอยางบริบูรณในอันที่จะไดรับการพิจารณาอยาง เปนธรรม และเปดเผยโดยศาลที่เปนอิสระและไรอคติในการวินิจฉัย ชี้ขาดสิทธิและหนาที่๕ ๑๐.๕.๑ องคกรนิรโทษกรรมสากล (Al:Amnesty Internationnal) เปนองคกรอาสาสมัครระหวางประเทศที่ทํางานดานมนุษยชน โดยมีวัตถุประสงค หลักคือยุติการละเมิดมนุษยชน และพยายามที่จะหาวิธีที่เหมาะสม ในการชวยเหลือผูที่ตกเปนเหยื่อ ของการละเมิดสิทธิมนุษยชน เชน ปลดปลอยนักโทษ ทางความคิดอยางไมมีเงื่อนไขซึ่งไดแกบุคคลที่ ถูกกักขังเรื่องสีผิว เชื้อชาติ ภาษา หรือศาสนา โดยที่นักโทษไมเคยใชหรือสนับสนุนที่จะใชความ รุนแรงเปนตนปจจุบันมีสมาชิกทั้งหมดประมาณ ๑๐๐ประเทศทั่วโลกและมี สํานักงานในประเทศไทย ตั้งอยูที่เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ๑๐.๕.๒ องคกรแรงงานระหวางประเทศ (ILO : Internatonal Labour Orgenization) องคกรแรงงานระหวางประเทศ เปนองคกรที่สงเสริมการเคารพ สิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมในสังคม และสนับสนุนใหเกิดความเปนธรรมในการใช แรงงานรวมทั้งชวยเหลือ ประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมองคกร แรงงานระหวางประเทศเปนองคกรแรกของ ๕ องคกรระหวางประเทศ และสิทธิมนุษยชน https://www.mnr.org/posts/ ๓๖๗๗๑๒ สืบคนเมื่อ วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 313 17/10/2562 8:40:04


314 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ องคการชํานัญพิเศษองคการแรกของ สหประชาชาติ โดยประเทศไทยก็เปนหนึ่งที่รวมกอตั้ง ปจจุบันมี สมาชิกทั้งหมด จํานวน ๑๗๘ ประเทศจากทั่วโลก ๑๐.๕.๓ มูลนิธิความรวมมือเพื่อตานการคาหญิง (GAATW : Global Alliance Against Traffic in woman) มูลนิธิความรวมมือเพื่อตอตาน การคาหญิงเปนเครือขายของ องคกรพัฒนาเอกชน จากทั่วทุกภูมิภาคของโลกที่ทํางานในประเด็นปญหาผูหญิง เด็ก และผูชายที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน จากการคามนุษย โดยมีเปาหมายหลัก คือ เพื่อตอตานการคุกคามแรงงานหญิงที่ยายถิ่นจากระบบ ตลาดแรงงานไมเปน ทางการ ในปจจุบันรวมทั้งความปลอดภัยจากหารยายถิ่นปกปองสิทธิของ แรงงาน ขามพรมแดน ปจจบันมีองคกรที่เปนสมาชิกประมาณ ๘๐ ประเทศทั่วโลก ๑๐.๕.๔ มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก (ECPAT : End child Prostitution in Asia Tourism) มูลนิธิเพื่อการยุติ การแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก เปนองคกรระหวาง ประเทศ ที่มีหนาที่ในการตอตานการลวงละเมิดทางเพศกับเด็กทุก รูปแบบพรอมทั้งกระตุนใน สาธารณชนไดตระหนักถึงสถานการณความรุนแรง ของธุรกิจการคาประเวณีและการทองเที่ยว อัน เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเด็กถูกเอาเปรียบทางเพศ เชน เพื่อเสนอทางเลือกอื่นใหครอบครัวที่มีความ เสี่ยงในการเขาสู กระบวนการคาประเวณี เปนตน ประเทศไทยไดมีบทบาทดําเนินงานเกี่ยวกับเรื่อง เพศ และการคาประเวณีในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย และไดสนับสนุนงบประมาณในการ ดําเนินงานโครงการรณรงคปองกันเด็กเขาสูกระบวนการการคาประเวณีในภาคเหนือของไทย อัน ประกอบดวยจังหวัดเชียงราย เชียงใหม ลําพูน และพะเยา สํานักงานในไทยตั้งอยูที่จังหวัดเชียงราย ๑๐.๕ สถาบันกองทุนการเงินระหวางประเทศ กองทุนการเงินระหวางประเทศ๖ (IMF) กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๘๗ จากการ ประชุม United Nations Monetary and Financial Conference หรือ ที่รูจักดีในนามของ Bretton Woods Conference โดยมี สํานักงานใหญอยูที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา และและมี ๖ กองทุนการเงินระหวาง ประเทศ https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Pages/IMF.aspx สืบคนเมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 314 17/10/2562 8:40:05


315 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ฐานะเปนทบวงการ ชํานัญพิเศษของสหประชาชาติ ขอตกลงวาดวยกองทุนการเงินระหวางประเทศ กําหนดใหกองทุนการเงินฯ ทําหนาที่สนับสนุนความรวมมือทางการเงินระหวาง ประเทศสนับสนุน การคาระหวางประเทศใหขยายตัวอยางสมดุลเสริมสราง เสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ระหวางประเทศ สนับสนุนการจัดตั้งระบบ การชําระเงินระหวางประเทศและใหความชวยเหลือทาง การเงินแกประเทศสมาชิก ที่ประสบปญหาดุลการชําระเงิน ๑๐.๕.๑ วัตถุประสงคของการจัดตั้งกองทุนการเงินระหวาง ประเทศ ภายใตขอตกลงของการจัดตั้งกองทุนการเงินระหวางประเทศ ป พ.ศ. ๒๔๘๘ ไดมี การระบุวัตถุประสงคของการทุนการเงินระหวางประเทศไว ๖ ประการ ดังตอไปนี้ ๑. เพื่อสงเสริมความรวมมือทางการเงินระหวางประเทศโดยการใหคําปรึกษาและ ความรวมมือ ในการแกไขปญหาทางการเงินระหวางประเทศภายใต การดําเนินงานขององคการ นานาชาติที่ไดจัดตั้งขึ้นอยางถาวร ๒. เพื่ออํานวยความสะดวกและสงเสริมใหการคาระหวางประเทศ ขยายตัวอยางมี เสถียรภาพสรางความเปนธรรม ในระบบการจางงานและแสดงระดับรายไดที่แทจริงในแตละประเทศ ตลอดจนการพัฒนาการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อสนับสนุนใหเกิดเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนระหวางประเทศ โดยการ ควบคุมระดับอัตราแลกเปลี่ยนระหวางประเทศสมาชิกใหอยูในระเบียบ และหลีกเลี่ยงการแขงขันการ ลดคาของเงินเพื่อวัตถุประสงคทางการคา (Beggar Thy Neighbor Policy) ๔. เพื่อกอตั้งและพัฒนาระบบการชําระเงินของรายการบัญชีเดิมสะพัดระหวาง ประเทศสมาชิกดวยกัน และยกเลิกระเบียบขอบังคับควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ สมาชิกอันเปนอุปสรรคตอความเจริญเติบโตทางการคาโลก ๕. เพื่อสรางความมั่นใจแกประเทศสมาชิก และเปดโอกาสใหประเทศสมาชิกมีสิ ทธิ ใชทรัพยากรของกองทุนการเงินระหวางประเทศ ในการปรับปรุงดุลการชําระเงินโดยใหคําแนะนําดาน เทคนิคเพื่อใหการดําเนินการปราศจากการใชมาตรการที่จะเปนอุปสรรคตอการเติบโตทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศและระหวางประเทศ ๖. เพื่อเปนตัวกลางในการติดตามดูแลความไมสมดุลของดุลการชําระเงิน และให ความชวยเหลือแกประเทศสมาชิกใหสามารถแกปญหาทาง เศรษฐกิจ จากสถานการณขาดเสถียรภาพ ของอัตราแลกเปลี่ยนไดรวดเร็วยิ่งขึ้น เพื่อใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคองคการจัดตั้ง IMF อยางมี 02_01-340_.indd 315 17/10/2562 8:40:10


316 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ประสิทธิภาพ IMF ไดจัดทําระบบติดตามการดําเนินงานของกองทุนการเงินระหวางประเทศขึ้น เนื่องจาก IMF มีภาระกิจตองรักษาไวซึ่งระบบเศรษฐกิจและการเงินของโลก ดังนั้น กองทุนการเงินระหวางประเทศจึงไดกําหนดแนวทางในการติดตาม (Surveillance) โดยครอบคลุมประเทศสมาชิกทั้ง ๑๕๔ ประเทศ (ขอมูล ป พ.ศ.๒๕๕๐) ๑๐.๕.๒ ความชวยเหลือทางการเงิน ประเทศสมาชิกที่ประสบปญหาดุลการเงินเพื่อชวยฟนฟูเสถียรภาพ และการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจผานโครงการเงินกู (facilities) ประเภทตาง ๆ ซึ่งประเทศที่ขอความชวยเหลือจะตองดําเนิน นโยบายหรือมาตรการตาง ๆ เพื่อแกไขปญหาดุลการชําระเงินตามที่กําหนดในจดหมายแสดง เจตจํานง (Letter of Intent) เงินทุนของโครงการเงินกูของกองทุนการเงินฯ ไดมาจากการชําระเงิน คา โควตาของประเทศสมาชิกเปนสําคัญดังนั้น ความสามารถในการใหกูของกองทุน การเงินฯ จึง กําหนดโดยโควตารวมของประเทศสมาชิกเปนหลัก อยางไรก็ตามกองทุนการเงินฯ สามารถกูยืมจาก ประเทศที่มีฐานะทางการเงินแข็งแกรงจํานวน หนึ่งภายใตความตกลงใหกูแกกองทุนการเงินฯ (General Arrangements to Borrow - GAB) และความตกลงใหกูแกกองทุนการเงินฯ ๑๐.๕.๔ ความสัมพันธกับประเทศไทย๗ ประเทศไทยเขาเปนสมาชิกลําดับที่ ๔๔ ของกองทุนการเงินฯ เมื่อ วันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๔๙๒ โดยมีธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) เปนตัวแทนของประเทศไทย ในกองทุนการเงินฯ ตาม พ.ร.บ. ใหอํานาจปฏิบัติการเกี่ยวกับกองทุน การเงินและธนาคารระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๔๙๔ รวมทั้งผูวาการและรองผูวาการ ธนาคารแหงประเทศไทย ทําหนาที่เปนผูวาการและผูวาการสํารองใน กองทุน การเงินฯ ตามลําดับ ปจจุบันประเทศไทยมีโควตาเทากับ ๑,๐๘๑.๔ ลาน SDR หรือรอยละ ๐.๕๐ ของจํานวนโควตาทั้งหมด เทียบเทากับ ๑๑,๐๖๙ คะแนนเสียง กองทุนการเงินฯ จะประเมินภาวะเศรษฐกิจประเทศไทยเปน ประจําทุกปภายใตพันธะขอ ๔ ของขอตกลงวาดวยกองทุนการเงินฯ นอกจากนี้ ประเทศไทยไดดําเนินการตามพันธะขอ ๘ ของ ขอตกลงวาดวยกองทุนการเงินฯ โดยยกเลิกการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินที่เกี่ยวของกับธุรกรรม ๗ ความสัมพันธกับประเทศไทย http://www.imf.org/externa/np/sec/memdir/members.htm สืบคนเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 316 17/10/2562 8:40:11


317 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ การคา แลวตั้งแต วันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๓๓ ลาสุดประเทศไทยไดเขารวมรับการประเมินเสถียรภาพ ภาคการเงินภายใตกรอบ (FSAP) เมื่อป ๒๕๕๐ ประเทศไทยเคยไดรับความชวยเหลือทางการเงินจากกองทุน การเงินฯ ภายใตโครงการเงินกู Stand-by ๓/รวม ๕ ครั้งในวงเงินรวมทั้งสิ้น ๔,๔๓๑ ลาน SDR โดยครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๒๑ จํานวนเงิน ๔๕.๒๕ ลาน SDR ครั้งที่สองเมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๒๔ จํานวน ๘๑๔.๕ ลาน SDR (แตเบิก ถอนจริงจํานวน ๓๔๕ ลาน SDR) ครั้งที่สามเมื่อเดือนพฤศจิกายน ๒๕๒๕ จํานวน ๒๗๑.๕ ลาน SDR ครั้งที่สี่เมื่อ เดือนมิถุนายน ๒๕๒๘ จํานวน ๔๐๐ ลาน SDR (แต เบิกถอนจริง จํานวน ๒๖๐ ลาน SDR) และครั้งลาสุดเมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๔๐ จํานวน ๒,๙๐๐ ลาน SDR (แตเบิก ถอนจริงจํานวน ๒,๕๐๐ ลาน SDR) ประเทศ ไทยไดชําระคืนเงินกูจากกองทุนการเงินฯ เสร็จสิ้นแลว เมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖ ซึ่งเปนการชําระคืนกอนกําหนดเดิมถึง ๒ ป ทําใหปจจุบันประเทศไทยไม มีภาระคงคางกับกองทุนการเงินฯ อนึ่งปจจุบัน ประเทศไทยยังไดรวมเปนภาคีความตกลงให กูแก กองทุนการเงินฯ ฉบับใหม (New Arrangements to Borrow - NAB) โดยอาจใหกองทุนการเงินฯ กูยืมเงินไมเกิน ๓๕๐ ลาน SDR ในกรณีที่กองทุนการเงินฯ ขาดสภาพคลอง๘ ๑๐.๖ องคกรอนุรักษโลกและสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ สหภาพระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษธรรมชาติ๙ (International Union for Conservation of Nature) หรือ ไอยูซีเอ็น (IUCN) ชื่อเต็มวา สหภาพระหวางประเทศ เพื่อการ อนุรักษธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature and Natural Resources) เปนองคการระหวางประเทศที่ทํางานดานการอนรักษธรรมชาติและการ ใชทรัพยากรธรรมชาติ อยางยั่งยืน โดยมีสวนรวมในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล วิจัยทําโครงการ ภาคสนาม ใหการสนับสนุนและจัดการศึกษา ภายใตภารกิจ "ชักจูง กระตุน และ สงเคราะหสังคมทั่ว โลกใหอนุรักษธรรมชาติ และสรางความเชื่อมั่นวา การใชทรัพยากรธรรมชาติดวยประการใด ๆ จะ เปนไปอยางเสมอภาคและมีความยั่งยืน ทางนิเวศ" (" influence, encourage and assist ๘ ความสัมพันธระหวางประเทศไทยและกองทุนการเงินฯ https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Pages/IMF.aspx สืบคนเมื่อ วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ ๙ สหภาพระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษธรรมชาติ, https://th.wikipedia.org/wiki/ สืบคนเมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 317 17/10/2562 8:40:12


318 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ Societies throughout the world to conserve nature and to ensure that any use of natural resources is equitable and ecologically sustainable") หลายสิบปที่ผานมา ไอยูซีเอ็นขยายเปาหมายออกไปยังการอนุรักษ ระบบนิเวศ และปจจุบัน ไดรวมประเด็นตาง ๆ ทางดานการพัฒนาอยางยั่งยืนเขาไว ในโครงการของตนดวย แตไอยูซีเอ็นตาง จากองคการระหวางประเทศดานสิ่งแวดลอมองคการอื่น ๆ ตรงที่ไอยูซีเอ็นไมมีเปาหมายโดยตรง ที่จะ ระดมการสนับสนุนจากสาธารณชน ในการอนุรักษธรรมชาติ แตพยายามจะชักจูงกิจกรรมของภาครัฐ และภาคเอกชน โดยการใหขอมูลขาวสารและคําแนะนํา ตลอดจนการสรางแนวรวม ไอยูซีเอ็น มี ชื่อเสียงมากในการประมวลและเผยแพรบัญชีแดงไอยูซีเอ็นเกี่ยวกับสายพันธุที่ถูกคุกคาม (threatened species) ซึ่งมีการประเมินสถาน การอนุรักษสิ่งมีชีวิตสายพันธุตาง ๆ ทั่วโลก ไอยูซีเอ็นมีมีสมาชิกเปนองคการรัฐบาล และองคการนอกรัฐบาลกวา ๑,๔๐๐ แหง คณะกรรมการของไอยูซีเอ็นมีนักวิทยาศาสตรและผูเชี่ยวชาญเขารวม โดยสมัครใจ กวา ๑๖,๐๐๐ คน ไอยูซีเอ็นยังมีพนักงานราว ๑,๐๐๐ คนที่ทํางานเต็มเวลาในประเทศ กวา ๕๐ แหง สวนไอยูซีเอ็นเอง นั้นมีสํานักงานใหญอยู ณ แกลนด สวิตเซอรแลนด ไอยูซีเอ็นมีผูสังเกตการณประจําอยู ณ สหประชาชาติและมีอํานาจใหคําปรึกษาแก สหประชาชาติ ทั้งมีบทบาทในการบังคับใชอนุสัญญาระหวางประเทศ หลายฉบับเกี่ยวกับการอนุรักษ ธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ ไอยูซี เอ็น มีบทบาทในการจัดตั้งกองทุนทั่วโลกเพื่อ ธรรมชาติ (World Wide Fund for Nature) และศูนยเฝาระวังการอนุรักษโลก (World Conservation Monitoring Centre) ไอยูซีเอ็นยังเคยถูกวิจารณที่ใหความสําคัญแกธรรมชาติยิ่งกวา ผูคนดั้งเดิมในทองถิ่น ทั้งความสัมพันธใกลชิดที่ไอยูซีเอ็นมีตอภาคธุรกิจในปจจุบันนั้นก็เปนที่ถกเถียง กันมาก ไอยูซีเอ็นจัดตั้งขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๔๘ ระหวาง ค.ศ.๑๙๔๘ - ๑๕๕๖ ใชชื่อ วาสหภาพระหวาง ประเทศเพื่อพิทักษธรรมชาติ (International Union for the Protection of Nature) และระหวาง ค.ศ.๑๙๙๐ - ๒๐๐๘ ใชชื่อวา สหภาพ อนุรักษโลก (World Conservation Union) ๑๐.๖.๑ องคกรอนุรักษโลกและสิ่งแวดลอมในประเทศไทย ปญหาความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสงผลใหทั้ง ภาครัฐและเอกชนของประเทศตาง ๆ ทั่วโลกใหความสําคัญ ตอการดําเนินการเพื่อแกไขปญหาที่ เกิดขึ้นที่ตัวอยางขององคกรทั้งในและ ตางประเทศตอ ไปนี้เปนองคกรที่ทํางานดาน 02_01-340_.indd 318 17/10/2562 8:40:17


319 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มี บทบาทและมีความสัมพันธเกี่ยวกับประเทศไทยและไดรับ การยอมรับในการดําเนิน กิจกรรมตาง ๆ ในปจจุบัน๑๐ ๑. องคกรในประเทศที่มีบทบาทในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม คําวาองคกรในประเทศในที่นี้หมายถึงองคกรที่ทํางานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทั้งที่ เปนองคกรของรัฐองคกรของประชาชน และองคกรของเอกชนที่มีจุดเริ่มตนภายในประเทศไทย สวน องคกรอื่นแมจะมีสถานที่ตั้งในประเทศไทย แตเปนเพียงสาขาขององคกรที่มีจุดเริ่มตนภายนอก ประเทศ องคกรดังกลาวเหลานี้จะถือวาเปนองคกรการจากตางประเทศ สําหรับประเทศไทยองคกรที่มีบทบาท ในการจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมมีหลายองคกรและหลายรูปแบบ ในที่นี้กลาวถึงองคกร ๒ กลุม คือ องคกรภาครัฐกับ องคกรประชาชนและองคกรเอกชน องคกรภาครัฐ องคกรภาครัฐที่ดําเนินในดานดารทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมโดยตรงใน ปจจุบัน คือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมเปนกระทรวงที่ตั้งขึ้นมาใหมตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยมีการยุบรวมและการจัดระบบงานที่เกี่ยวของกับในดานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมที่กระจายอยูในหนวยงานอื่นใหเขามารวมกันเพื่อจัดระบบพันธกิจใหชัดเจนยิ่งขึ้น อํานาจและหนาที่ ในหมวด ๙ มาตรา ๒๒ ของพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงวน อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมการจัดการใชประโยชนอยางยั่งยืนและราชการ อื่นตามที่มีกฎหมาย กําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หรือ สวนราชการที่สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากภารกิจที่ไดรับมอบหมายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมจึงไดกําหนด นโยบายการดําเนินงาน ประเด็นยุทธศาสตรในการดําเนินงานไวดังนี้ ๑. อนุรักษ ฟนฟูและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภท ทั้งดิน ปาไม และสัตวปาที่ตอบสนองตอการพัฒนาอยางยั่งยืนและสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. อนุรักษ ฟนฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล และ ชายฝงอยาง ยั่งยืน ๑๐ องคกรอนุรักษโลกและสิ่งแวดลอม https://sites.google.com/site/pluemchitsujitra/bth-thi-- kar-cadkar-danthraphyakrthrrmchati-laea-sing-waedtxm/1 - 2 - xngkhkr-thi-mi-bthbath-ni-karcadkarthraphyakrthrrmchati-laea-sing-waedlxm สืบคนเมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 319 17/10/2562 8:40:18


320 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๓. บริหารจัดการเพื่อใชประโยชนที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ อยางเปนธรรมและ ยั่งยืน ๔. การบริหารจัดการนาอยางบูรณาการใหมีการจัดการน้ําใน ระดับทั้งประเทศทั้ง น้ําผิวดินและน้ําใตดินอยางมีประสิทธิภาพ ๕. พัฒนาระบบบริหารจัดการพิบัติภัย พัฒนาระบบเตือนภัยทางธรรมชาติและสา ธารณภัย ๖. พัฒนาเครื่องมือและกลไกในการดูแลรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอมและจัดการ มลพิษ ๗. พัฒนาองคความรูและกลไกในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ ๘. สรางความตระหนัก จิตสํานึก และการมีสวนรวมในการ บริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สําหรับประเทศไทย องคกรกรีนพีช ใหความสําคัญในการเลือก ประเทศไทย เปนที่ตั้ง สํานักงานเพื่อการประสานงานกับ องคกรกรีนพีช ในเนเธอรแลนดและการรณรงคเกี่ยวกับปญหา ทางดานมลพิษที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอม ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยไดจัดตั้งสํานักงานขึ้น ในกรุงเทพมหานครใช ชื่อวา “กรีนพีช”เอเชียตะวันออกเฉียงใต เปดดําเนินการเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ กรีนพืชเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตไดเริ่ม รณรงคดานมลพิษและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม ตางๆ ในประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส และเวียดนามโดยจัดการรณรงคเกี่ยวกับการยับยั้งการเคลื่อนยายกากสารพิษกาก กัมมันตภาพรังสีขามพรมแดน และรณรงคใหประชาชนไดตระหนักถึงภัยจากการใชเทคโนโลยีไม เหมาะสมในการจัดการของเสีย นอกจากนี้ยังมีการรณรงคเกี่ยวกับเรื่องความ เปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ โดยเฉพาะภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้นดวยการ กระตุนใหสาธารณชนไดตระหนัก ในปญหาที่ เกิดขึ้นการรณรงคเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแนวทางของนโยบายดานสังคมของภูมิอากาศ ใน อนาคตโดยผลักดัน ใหมีการเปลี่ยนแปลงการใชเชื้อเพลิงฟอสซิล ไปใชเชื้อเพลิงที่เปนพลังงานสะอาด และยั่งยืนเชนการสนับสนุนนโยบายและโครงการพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย ใน พ.ศ. ๒๕๔๖ กองทุนสัตวปาโลก ไดประกาศใหผืนปา ๒๐๐ แหง ทั่วโลกเปนพื้นที่ปาที่มี ความหลากหลายทางชีวภาพที่ตองมีการปองกันและรักษาไว โดยกองทุนสัตวปาโลกไดเขาไปมีสวน รวมสนับสนุนดูแลพื้นที่ดังกลาวตลอดจน รณรงคใหประชาชนและองคกรตางๆรวมทั้งรัฐบาลของ ประเทศที่เกี่ยวของเขาไปมี สวนรวมในการปฏิบัติอยางจริงจัง 02_01-340_.indd 320 17/10/2562 8:40:19


321 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ปจจุบันโครงการกองทุนสัตวปาโลกดําเนินการอนุรักษและแกปญหาในดานตาง ๆ ๑. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๒. ปาไม ๓. น้ําจืด ๔. ทะเล ๕. พันธุพืชพันธุสัตว ๖. การพัฒนาที่ยั่งยืน สําหรับบทบาทของกองทุนสัตวปาโลกในประเทศไทย เริ่มตนขึ้นครั้ง แรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ ในรูปแบบของการเสนอขาวสาร เพื่อการกระตุนเตือนใน เรื่องการพัฒนาประเทศที่ตองกระทําควบคู ไปพรอมกับการรักษาสภาพแวดลอม และธรรมชาติใหอยูคูกันตอมากองทุนสัตวปาโลกไดเริ่มมี บทบาทในไทยมากยิ่งขึ้น โดยในระหวาง พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๗ กองทุนสัตวปาโลกไดเขามาใหการ สนับสนุน การดําเนินงานของมูลนิธิคุมครองสัตวปาและพรรณพืชแหงประเทศไทยในพระ บรม ราชินูปถัมภหลายโครงการไดแก โครงการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําและชายฝง โครงการพระพุทธศาสนากับ การอนุรักษธรรมชาติ และยังไดสนับสนุนงานวิจัยดาน สัตวปาและพืชปาอีกหลายโครงการ พ.ศ. ๒๕๒๖ กองทุนสัตวปาโลกไดเขามาจัดตั้งสํานักงานเพื่อดําเนินงานขึ้นในประเทศไทย โดยมีสํานักงานใหญอยูที่จังหวัดปทุมธานีตลอดจนไดเริ่มโครงการอันเกื้อกูลประโยชนแกระบบนิเวศ และสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของกับประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานอีกหลายโครงการไดแกโครงการ อนุรักษแมนา โขงโครงการอนุรักษภูมิภาคทางนิเวศทิวเขาถนนธงชัยและทิวเขาตะนาวศรี โครงการ อนุรักษพื้นที่ชุมนาและชายฝงทะเล โครงการพัฒนาชุมชนเพื่อการอนุรักษปาภูหลวง ๑๐.๗ องคกรยุติธรรมศาลโลก ศาลโลกมีชื่อเรียกอยางเปนทางการวา "ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ” (International Court of Justice : ICU) กอตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ มีฐานะเปน องคกรหนึ่งขององคการ สหประชาชาติ (United Nations : UN) สํานักงานของศาลโลกตั้งอยูที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด หลักของศาลโลกมี ๒ ประการ คือ ๑. ตัดสินคดีพิพาทระหวางรัฐบาลของรัฐภาคีที่เปนสมาชิกของ UN และเปน ประเทศที่ยอมรับอํานาจของศาลโลก ซึ่งปจจุบันมีอยูทั้งหมด ๖๒ ประเทศ จากสมาชิก UN รวม 02_01-340_.indd 321 17/10/2562 8:40:25


322 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๘๘ ประเทศ นอกจากนี้ยังรวมถึงสวิตเซอรแลนด ที่มิไดเปน สมาชิกของ UN แตยอมรับอํานาจของ ศาลโลก ๒. วินิจฉัย ตีความ และใหคําปรึกษา ในประเด็นปญหาขอกฎหมายแกองคกร ระหวางประเทศที่ยอมรับอํานาจของศาลโลก ศาลโลกประกอบดวย คณะผูพิพากษาตางสัญชาติกันจํานวน ๑๕ คนที่ไดรับการคัดเลือกจาก สมัชชาใหญแหงสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติมีวาระการดํารงตําแหนง คราวละ ๔ ป คณะผูพิพากษา เหลานี้ถือเปนตัวแทนของ UN มิไดเปนตัวแทนของรัฐบาลประเทศที่ ตนถือสัญชาติ อยู การนําคดีความหรือขอสงสัยตาง ๆ ใหศาลโลกพิจารณาเกิดขึ้นได ๒ กรณี คือ ๑. รัฐคูความทําความตกลงกันใหนํากรณีพิพาทที่เกิดขึ้นระหวางกันขึ้นสูการ พิจารณาตัดสินโดยศาลโลก ๒. รัฐภาคีเปนสมาชิกของสนธิสัญญา อนุสัญญา หรือความตกลงตาง ๆ ซึ่งมี ขอบัญญัติไววาหากรัฐภาคีมีขอสงสัยหรือขอพิพาทระหวางกันตองใหศาล โลกเปนผูวินิจฉัย ตีความ หรือตัดสิน การวินิจฉัย ตีความ และพิจารณาคดีของศาลโลกนั้นใชกฎหมายระหวาง ประเทศ กฎหมาย จารีตประเพณีระหวางประเทศ และหลักกฎหมายที่เปนที่ ยอมรับของชาติที่มีอารยธรรมเปนหลัก สวนระเบียบวิธีพิจารณาคดีของศาลโลกก็ คลายคลึงกับศาลทั่วไปโดยคูพิพาทแตละฝายตางมีผูแทน ของรัฐและทนายความ เมื่อศาลโลกตัดสินคดีความใดแลวตองถือวาเปนอันยุติ ไมมีการอุทธรณ หรือฎีกาแตอยางใด และหากคูความฝายใดฝายหนึ่งไมปฏิบัติตามคําตัดสินของศาลโลก คูความอีกฝายหนึ่งสามารถ รองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติใหพิจารณาดําเนินการตอไปได บางครั้ง UN อาจเรียกรองใหประเทศสมาชิก UN ทําการคว่ําบาตรประเทศที่ไมปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาล โลกซึ่งจะไดผลมากนอยเพียงใดยอมขึ้นกับความรวมมือของประเทศสมาชิกอื่น ๆดวย จนถึงปจจุบันศาลโลกทําการตัดสินคดีพิพาทระหวางรัฐบาลของประเทศ ตาง ๆ มาแลว ๖๙ คดี สวนใหญเปนคดีพิพาทเกี่ยวกับปญหาเขตแดน ปญหา อธิปไตยเหนือดินแดนปญหานานน้ํา ปญหาการแทรกแซงกิจการภายในจาก ประเทศอื่น ปญหาความสัมพันธทางการทูต เปนตน สําหรับ 02_01-340_.indd 322 17/10/2562 8:40:25


323 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ประเทศไทยนั้นเคยนําคดีขึ้นสูศาลโลก ๑ ครั้ง ในป พ.ศ. ๒๕๐๔ คือ คดีเขาพระวิหาร ผลปรากฏวา ไทยแพคดีตอกัมพูชา๑๑ ๑๐.๗.๑ ขอบเขตอํานาจของศาลโลก ขอบเขตอํานาจของคดีที่เกิดขอพิพาท (Contention Case) อันคูความทั้งที่เปนโจทกหรือ เปนจําเลย ที่จะสามารถนําคดีขอพิพาทตางๆขึ้นสูการ พิจารณาของศาลโลกไดจะตองเปนรัฐอธิปไตย เทานั้นเพราะจุดมุงหมายของการกอตั้งศาลโลกก็คือ การตัดสินขอพิพาทกันระหวางรัฐตอรัฐเทานั้นซึ่ง นั่นหมายความวาภาคเอกชนไมวาจะเปนองคกรหรือปจเจกบุคคลยอมไมสามารถที่จะนําคดีขอ พิพาท ใดๆขึ้นสูศาลโลกได๑๒ ๑๐.๗.๒ ผลจากคําพิพากษาของศาลโลก เมื่อรัฐที่มีความขัดแยงกันตั้งแต๑๓ ๒ รัฐขึ้นไปไมวาความขัดแยงนั้น จะเกี่ยวของกับเรื่องการ ละเมิดอํานาจอธิปไตย ความขัดแยง เรื่องดินแดน ปญหา สิ่งแวดลอมระหวางรัฐ ฯลฯ ไดยินยอมที่จะ ใชศาลโลกเปนเครื่องมือเพื่อระงับขอ พิพาทศาลโลกไดรับเรื่องพิจารณาวินิจฉัยจนมีคําพิพากษา เหลานั้น ยอมจะมีผลผูกมัดกับคูกรณีทั้ง ๒ ฝาย (ตามความยินยอมของโจทกจําเลย) โดยเมื่อคํา พิพากษา ของศาลโลกไดออกมาแลวคําพิพากษาดังกลาว ยอมถือเปนที่สุดและจะไมมีกระบวนการ อุทธรณใด ๆ ตออีก ยกเวนเสียแตวาฝายใดฝายหนึ่งจะมีหลักฐานใหม อันมีนัยสําคัญที่จะมีผลตอคํา พิพากษาหรือการวินิจฉัยก็อาจจะมีการรองขอให ทบทวนในกระบวนการพิจารณาคดีนั้น ๆ ใหมอีก ก็ ไดอยางไรก็ตามหากเกิดกรณีที่ ฝายใดฝายหนึ่งไมยอมรับหรือไมปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลโลก ฝายที่สูญเสีย ผลประโยชนก็อาจจะทําเรื่องรองเรียนตอคณะมนตรีความมั่นคงของ สหประชาชาติได เพื่อแสวงหาหนทางใหคําพิพากษาดังกลาวนั้นสามารถจะเกิด ผลไดในทางใดทางหนึ่งซึ่งก็ไมแนวาจะ เปนวิธีการใด และจะเปนไปตามนั้นไดจริง หรือไม ๑๑ องคกรยุติธรรมศาลโลก http://oknation.nationtv.tv _/blog/print.php?id=๓๑๙๐๕ดสืบคนเมื่อ วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ ๑๒ สมปอง สุจริตกุล “เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายระหวางประเทศ” คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต๒๕๕๓. ๑๓ องคกรยุติธรรมศาลโลก https://prezi.com/dphboeoaskfw/presentation/ สืบคนเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 323 17/10/2562 8:40:26


324 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ กฎหมายระหวางประเทศที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศใชในการวินิจฉัย ขอพิพาท กฎหมายระหวางประเทศที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศใชในการวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทที่เสนอตอ ศาลนั้น ปรากฏอยูในขอ ๓๘ แหงธรรมนูญศาลยุติธรรม ระหวางประเทศ ซึ่งไดแก ๑. อนุสัญญาระหวางประเทศไมวาทั่วไปหรือโดยเฉพาะ ซึ่งกําหนด กฎเกณฑอันเปน ที่ยอมรับโดยชัดแจงโดยที่รัฐกลาวอาง ๒. จารีตประเพณีระหวางประเทศในฐานะที่เปนหลักฐานแหงการถือปฏิบัติ โดยทั่วไป ซึ่งไดรับการยอมรับวาเปนกฎหมาย ๓. หลักกฎหมายทั่วไปซึ่งอารยประเทศยอมรับ ๔. ภายใตบังคับแหงบทของขอ ๕๙ คําพิพากษาของศาล และคํา สอนของ ผูทรงคุณวุฒิอยางสูงของประเทศตางๆในฐานะที่เปนเครื่องชวยในการพิจารณากําหนดหลักกฎหมาย นอกจากนี้ศาลยุติธรรมระหวางประเทศยังมีอํานาจ วินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทโดยอาศัยหลักความ ยุติธรรมและความรูสึกผิดชอบอันดี หากคูกรณีตกลงตามนั้น ๑๐.๗.๓ หนาที่หลักของศาลโลก โดยหลักแลวศาลโลกมีหนาที่อยู ๒ ประการคือ ๑. ตัดสินคดีพิพาทกันระหวางรัฐตอรัฐ ซึ่งรัฐเหลานั้นจะตองเปนรัฐภาคีที่เปน สมาชิกขององคการสหประชาชาติ หรือเปนรัฐที่ยินยอมรับอํานาจของศาลโลก ๒. ใหคําปรึกษา ตีความ วินิจฉัย ขอพิพาทหรือปญหาความขัดแยงประเด็นสําคัญที่ เกี่ยวของกับกฎหมายระหวางประเทศใหแกองคการสหประชาชาติหรือประเทศที่ยินยอมรับอํานาจ ของศาลโลก ๑๐.๘ สรุปทายบท หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ซึ่งสิ้นสุดลงใน ค.ศ. ๑๙๔๕ เปนจุดเปลี่ยนที่ สําคัญของการเมือง โลก ประเทศมหาอํานาจที่เคยแสดงบทบาทกอนสงคราม เชน อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และญี่ปุนได ลดบทบาทลง เนื่องจากไดรับความบอบชา และเสียหายจากสงคราม ในขณะที่สหรัฐอเมริกาและ สหภาพโซเวียต ไดกาวเขามา มีบทบาทเปนมหาอํานาจแทนที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งสหรัฐอเมริกาซึ่งเปน ประเทศที่มีความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจมีแสนยานุภาพทางทหารมีอาวุธนิวเคลียรไวใน ครอบครอง กลายเปนมหาอํานาจที่โดดเดนสหรัฐอเมริกา ไดรวมมือกับประเทศ พันธมิตรฝายชนะดระเบียบโลก 02_01-340_.indd 324 17/10/2562 8:40:27


325 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ใหม เพื่อสรางความมั่นคงทางการเมืองและความ มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังหาทางปองกันไมใหเกิด สงครามโลกขึ้นมาอีกดวยการจัดตั้งองคการสหประชาชาติขึ้นดวยหวังวาจะชวยจรรโลงใหเกิด สันติภาพในโลก แตปรากฏวาความหวาดระแวงระหวางมหาอํานาจทั้งสองที่มีความแตกตาง ทางดาน อุดมการณทางการเมือง และระบบเศรษฐกิจนําไปสูความตึงเครียดในความสัมพันธระหวาง สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตจนกลายเปนสงครามเย็น ใน ค.ศ. ๑๙๔๗ เปนเหตุใหสังคมโลกตก อยูในภาวะตึงเครียดในชวงเกือบครึ่งศตวรรษที่ผานมา อันเปนผลมาจากการแขงขันการขยายอิทธิพล และการแทรกแซงของมหาอํานาจตามภูมิภาคตาง ๆ ของโลกเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงใน ความสัมพันธของมหาอํานาจจากความขัดแยงสูความรวมมืออีกทั้งยังมีการพังทลายของระบอบ คอมมิวนิสต ในยุโรปตะวันออกติดตามดวยการทําลายกําแพง เบอรลินการรวมเยอรมนีและการลม สลายของสหภาพโซเวียตในที่สุด กลาวไดวา สงครามเย็นไดสิ้นสุดลงพรอมกับการลมสลายของ สหภาพโซเวียตในตนทศวรรษที่ ๑๙๙๐ เมื่อรัสเซียซึ่งเปนประเทศที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดในอดีต สหภาพโซเวียต ตองเผชิญกับปญหาเศรษฐกิจ ปญหาเชื้อชาติ จนไมสามารถกาวขึ้นมาแขงขันกับ สหรัฐอเมริกาได นับตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ ๒ เศรษฐกิจของโลกถูกแบงออกเปนกลุมประเทศร่ํารวย ซึ่งอยู บนฐานของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและกลุมประเทศยากจน ซึ่งมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจทางดาน เกษตรกรรมเปนหลักสงผลใหการจัดสรร ทรัพยากรเปนไปอยางขาดสมดุล เนื่องจากประเทศยากจน ขาดแคลนเงินทุนที่จะใช ลงทุนในการพัฒนาดานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งการลงทุนทางดาน พื้นฐาน และดานกาพัฒนาเทคโนโลยี แตบทบาทของธนาคารโลกจัดอยูที่การใหความชวยเหลือตอ ภาครัฐโดยตรงในขณะที่แนวคิดเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรีจําเปนที่จะตองอาศัยบทบาทภาคเอกชน จึงไดนําไปสูแนวคิดของการจัดตั้งบรรษัท เงินทุน ระหวางประเทศ (International Finance Corporation : IFC) ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและสนับสนุนการลงทุนของ ภาคเอกชนทางดาน การเงิน การจัดการเพิ่มโอกาสทางการลงทุน โดยเนนการลงทุนที่ชวยเกื้อหนุนตอ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม สังคมโลกยอมรับการเกิดขึ้นของสถาบันองคองคระหวางประเทศ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ประเทศไทยในฐานะเปนสวนหนึ่งของ สังคมโลก ไทยไดเขาเปนสมาชิกของ องคการระหวางประเทศทั้งในระดับโลกและ ระดับภูมิภาคทั้งนี้เพื่อเปนการรักษาผลประโยชนของ ชาติอีกทั้งยังเปนการเสริมสรางบทบาทของไทยใหเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติสังคมโลกในอนาคต จะพบกับสันติสุขไดหากทุกประเทศใหความรวมมือกันไมเอารัดเอาเปรียบเนนการพัฒนาอยางมี ทิศทางสรางความสมดุลและยั่งยืนใหพลโลก 02_01-340_.indd 325 17/10/2562 8:40:33


326 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ เอกสารอางอิงประจําบท ๑.๑ หนังสือ เกษียร เตชะพีระ วิวาทะโลกานุวัตร, กรุงเทพฯ : ผูจัดการ, ๒๕๓๘. จุลชีพ ชินวรรณโณ. สูสหัสวรรษใหมที่ ๓ : Toward The Third Millenium.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ ขวนพิมพ, ๒๕๔๒. ชุมพร ปจจุสานนท, สหประชาชาติสถาบันระหวางประเทศ. พิมพครั้งที่ ๓.กรุงเทพฯ : น้ําทั้งการ พิมพ, ๒๕๓๗. ชัยรัตน ศิริวัฒน, “การเปดเสรีทางการคากับผลสะทอนทางลบที่ไมมีใครคาดถึง”ในสราญรมย ที่ระลึก ครบรอบปที่ ๕๕. หนา ๒๑๗-๒๓๑. กรุงเทพฯ :อมรินทรพริ้นติ้ง แอนดพับลิชชิง, ๒๕๔๑. ชัยอนันต สมุทวณิช, ประชารัฐกับการเปลี่ยนแปลง กรุงเทพฯ : โลกานุวัตรกับอนาคตของประเทศ ไทย. กรุงเทพฯ : น้ําอักษรการพิมพ, ๒๕๔๑. ทองหลอ วงษธรรมา, การศึกษาและวิเคราะหเหตุการณโลกปจจุบัน. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร, ๒๕๔๐. เทียนชัย วงศชัยสุวรรณ. “เศรษฐกิจฟองสบูกับผลกระทบตอเศรษฐกิจและสังคมไทย” ในกลียุคกับ หายนะเศรษฐกิจไทย, กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง , ๒๕๔๐. ธนาสฤษฎี สตะเวทิน และกฤษณา ไวสํารวจ. องคการระหวางประเทศ. พิมพครั้งที่๔.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,๒๕๔๑. ธีระ นุชเปยม. “เอเชียหลังยุคสงครามเย็น” เอเชียปริทัศน, พฤษภาคม-สิงหาคม: การเมืองโลกหลัง สมัยใหม, กรุงเทพฯ : ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการ พิมพ, ๒๕๓๕. นิตย พิบูลสงคราม. “ครึ่งศตวรรษแรกของสหประชาชาติ” ใน ไทยกับสหประชาชาติ : ความรวมมือ ในรอบ ๕๐ ป กรุงเทพฯ : กระทรวงการตางประเทศ, ๒๕๓๘. ประภัสสร เทพชาตรี. นโยบายตางประเทศของไทย จากยุควิกฤตเศรษฐกิจสูสหัสวรรษใหม, กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓. พรรณสิริ พรหมพันธุม. “การประชุมเอเปค ๑๙๙๘” ขาวเอเชียศึกษา๑๔ (ตุลาคม-ธันวาคม ) :๓-๗. ๒๕๓๗. “พัฒนาการของเอเปค” ขาวเอเชียศึกษา, ๑๐(เมษายน-มิถุนายน ) : ๓-๗.๒๕๔๑. 02_01-340_.indd 326 17/10/2562 8:40:33


327 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ พิทยา วองกุล, มหกรรมประชาชนกูชาติ เคลื่อนทัพจับศึกษา IME. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, ๒๕๔๑. พิษณุ สุวรรณชฎ, สามทศวรรษอาเซียน. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๐. มานพ เมฆประยูรทอง, สหประชาชาติกับการเมืองและการพัฒนา, กรุงเทพฯ :๒๕๓๕. ๑.๒ สื่ออิเล็กทรอนิกส ความสัมพันธระหวางประเทศไทยและกองทุนการเงิน https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Pages/l ME. สืบคนเมื่อวัน ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=๓๑๙๐๕๑ สืบคนเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ https://www.baanjomyut.com/library ๔/global society/๐๒_๓.html สืบคนเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ https://www.baanjomyut.com/library__๔/global_society/๐๒_๓.html สืบคนเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ http://www.๙bkk.com/article/education/the united nations.html คนหาวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ https://prezi.com/dphboeoaskfw/presentation/ สืบคนเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 327 17/10/2562 8:40:34


328 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ บรรณานุกรม ๑.๑ หนังสือภาษาไทย กระทรวงการตางประเทศ. ความสัมพันธกับประเทศและภูมิภาคตางๆ.ม.ป.พ., พ.ศ.๒๕๕๗. กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตในสังคม. กรุงเทพฯ: ๒๕๕๓. กระมล ทองธรรมชาติ, ทฤษฎีในวิชาการเมืองระหวางประเทศในรวมบทความสัมพันธระหวางประเทศ. คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, โรงพิมพ สังคมศาสตร, ๒๕๑๕ กฤษฎางค สุทัศน ณ อยุธยา, เอกสารประกอบการบรรยายหัวขอวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ.กอง วิชายุทศาสตร ทหารเรือ, ๒๕๕๓. กัญญณัฏฐา อิทธินิติวุฒิ, องคการระหวางประเทศ, เชียงใหม : คะนึงนิจการพิมพ,๒๕๔๔. กัญญณัฏฐา อิทธินิติวุฒิ, องคการระหวางประเทศ. เชียงใหม : คนึงนิจการพิมพ,๒๕๔๙. เกษียร เตชะพีระ. วิวาทะโลกานุวัตร, กรุงเทพฯ : ผูจัดการ, ๒๕๓๘. โกวิท วงศสุรวัฒน มปป. หลักรัฐศาสตร.ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสถานสํานักธรรมศาสตร และการเมือง ภาควิชารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรคณะสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๔๒. โกวิท วงศสุรวัฒน. (ม.ป.ป.). หลักรัฐศาสตร. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พื้นฐานรัฐศาสตร กับการเมืองในศตวรรษที่ ๒๑. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,๒๕๔๓. ณัชชาภัทร อุนตราจิตร, รัฐศาสตร. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,๒๕๕๔. จรัญ โฆษณานันท, สิทธิมนุษยชนไรพรมแดน: ปรัชญา กฎหมาย และความเปนจริงทางสังคม. กรุงเทพมหานคร:สานักพิมพนิติธรรม, ๒๕๔๕ จรูญ สุภาพ.ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจเปรียบเทียบ พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิชจํากัด, ๒๕๓๘ จันตรี สินศุภฤกษ, กฎหมายระหวางประเทศกับการเมืองระหวางประเทศ กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ วิญู- ชน, ๒๕๔๗. จันตรี สินศุภฤกษ. กฎหมายระหวางประเทศกับการเมืองระหวางประเทศ.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ วิญญซน, ๒๕๔๗. จุลชีพ ชินวรรณโณ. สูสหัสวรรษใหมที่ ๓ : Toward The Third Millenium.กรุงเทพฯ : โรงพิมพขวน 02_01-340_.indd 328 17/10/2562 8:40:35


329 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation พิมพ, ๒๕๔๒. จุลชีพ ชินวรรโณ, ความสัมพันธระหวางประเทศ แนวคิด ทฤษฎี และกรณีศึกษากรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๗. _______ความสัมพันธระหวางประเทศ, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๑. _______ความสัมพันธระหวางประเทศแนวคิดทฤษฎีและกรณีศึกษา.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๗. ชัย เรืองศิลป, ประวัติศาสตรไทยสมัย พ.ศ.๒๓๕๒-๒๔๕๓ ดานเศรษฐกิจ. ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๑ ชัยรัตน ศิริวัฒน, “การเปดเสรีทางการคากับผลสะทอนทางลบที่ไมมีใครคาดถึง” ในสราญรมย ที่ระลึก ครบรอบปที่ ๕๕. หนา ๒๑๗-๒๓๑. กรุงเทพฯ :อมรินทรพริ้นติ้ง แอนดพับลิชชิง, ๒๕๔๑. ชัยอนันต สมุทวณิช, ประชารัฐกับการเปลี่ยนแปลง กรุงเทพฯ : โลกานุวัตรกับอนาคตของประเทศ ไทย. กรุงเทพฯ : น้ําอักษรการพิมพ, ๒๕๔๑. _______ขอมูลพื้นฐานกึ่งศตวรรษแหงการเปลี่ยนแปลงการปกครองไทย.กรุงเทพฯ : สมาคม สังคมศาสตรแหงประเทศไทย, ๒๕๒๔. ชาญชัย คุมปญญา, ลักษณะทั่วไปของความสัมพันธระหวางประเทศ เอกสารประกอบคําบรรยายรหัสวิชา ๒๕๕๑๑ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๕. ชุมพร ปจจุสานนท, สหประชาชาติสถาบันระหวางประเทศ. พิมพครั้งที่ ๓.กรุงเทพฯ : น้ําทั้งการ พิมพ, ๒๕๓๗. ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร. รัฐศาสตรแนววิพากษ, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๕๑. _______รัฐศาสตรแนววิพากษ.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๕๑. _______ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหมขบวนการเคลื่อนไหวประชาสังคมใน ตางประเทศ.กรุงเทพฯ : ศูนยวิจัยและผลิตตํารามหาวิทยาลัยเกริก, ๒๕๔๐. ณัชชาภัทร อุนตราจิต.รัฐศาสตร. พิมพครั้งที่ ๒.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยม,๒๕๕๘. ณัชชาภัทร อุนตราจิตร. อํานาจ ดุลแหงอํานาจ และซาตินิยม. เชียงใหม :คะนึงนิจการพิมพ. ๒๕๔๗. ดนัย ทองใหญ สุวรรณ, เอกสารประกอบการบรรยาย “นโยบายตางประเทศไทย” คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๔. ดําริห บูรณะนนท, ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตรและกฎหมายมหาชน.กรุงเทพมหานคร: วีเจ.พริ้นติ้ง 02_01-340_.indd 329 17/10/2562 8:40:36


330 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ,๒๕๔๔. ทองใบ ธีรานั้นทางกูร (หงสเวียงจันทร) (ม.ป.ป.). พจนานุกรม ศัพทความสัมพันธระหวางประเทศอังกฤษไทย. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก,๒๕๔๔. ธารทอง ทองสวัสดิ์,“แนวคิดทั่วไปวาดวยองคการ ระหวาง ประเทศ” ในสาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายระหวางประเทศ และองคการระหวางประเทศ. พิมพครั้งที่ ๔. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๕ _______“รัฐกับการเมืองระหวางประเทศ” ในสาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสาร การ สอน ชุด วิชา หลักรั ฐศา สต ร แ ละกา ร บริ หา ร .พิ มพ ค รั้ง ที่ ๖ . นน ทบุ รี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,๒๕๔ ทองหลอ วงษธรรมา, การศึกษาและวิเคราะหเหตุการณโลกปจจุบัน. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร, ๒๕๔๐. ทินพันธุ นาคะตะ, รัฐศาสตร: ทฤษฎี แนวความคิด ปญหาสําคัญและแนวทาง ศึกษาวิเคราะหการเมือง. พิมพครั้งที่ ๔.โครงการเอกสารและตํารา :สมาคมรัฐประศาสนศาสตร นิดา, ๒๕๕๑. เทียนชัย วงศชัยสุวรรณ. “เศรษฐกิจฟองสบูกับผลกระทบตอเศรษฐกิจและสังคมไทย” ในกลียุคกับ หายนะเศรษฐกิจไทย, กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง , ๒๕๔๐. ธนาสฤษฎี สตะเวทิน และกฤษณา ไวสํารวจ. องคการระหวางประเทศ. พิมพครั้งที่๔.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง,๒๕๔๑. ธัชชนันท อิศรเดช, ผศ.ดร., ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ, กรุงเทพมหานคร : โรง พิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.๒๕๕๐. ธีรยุทธ บุญมี, ซาตินิยมและหลังชาตินิยม. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสายธาร๒๕๔๗. ธีระ นุชเปยม. “เอเชียหลังยุคสงครามเย็น” เอเชียปริทัศน, พฤษภาคม-สิงหาคม: การเมืองโลกหลัง สมัยใหม, กรุงเทพฯ : ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการ พิมพ, ๒๕๓๕. นพนิธิ สุริยะ, ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย: มองจากบริบทของไทย, วารสารนิติศาสตรคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๓ นพนิธิ สุริยะและสมบูรณเสงี่ยมบุตร. อดีตอธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมายและเอกอัครราชทูตไทย กฎหมายระหวางประเทศ,กฎหมายระหวางประเทศ และองคการระหวางประเทศ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,๒๕๕๑. นิตย พิบูลสงคราม. “ครึ่งศตวรรษแรกของสหประชาชาติ” ใน ไทยกับสหประชาชาติ : ความรวมมือในรอบ ๕๐ ป กรุงเทพฯ : กระทรวงการตางประเทศ, ๒๕๓๘. 02_01-340_.indd 330 17/10/2562 8:40:42


331 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักพื้นฐานของสิทธิ เสรีภาพและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามรัฐธรรมนูญ (พิมพครั้งที่ ๒), กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพวิญชน,๒๕๔๓. บรรพต กําเนิดศิริ. ประวัติศาสตรการทูต ตั้งแตการประชุมที่กรุงเวียนนา ค.ศ.๑๘๑๕ จนถึง จุดเริ่มตนของ สงครามเย็นป ค.ศ. ๑๙๔๗. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๗. บรรพต วีระสัย, อุดมการณทางการเมือง, ในเอกสารประกอบการสอนชุดวิชารัฐศาสตรและการบริหารหนวย ที่ ๑ - ๓. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,กรุงเทพ : หางหุนสวนจํากัด ป. สัมพันธพาณิชย, ๒๕๒๕. ประจักษ พันธชูเพชร, การเมืองการปกครองของไทย:มิติทางประวัติศาสตรและสถาบันทางการเมือง,พิมพ ที่มายด พับลิชชิ่ง กรุงเทพฯ. ๒๕๔๓. ประภัสสร เทพชาตรี. นโยบายตางประเทศของไทย จากยุควิกฤตเศรษฐกิจสูสหัสวรรษใหม, กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓. พรรณสิริ พรหมพันธุม. “การประชุมเอเปค ๑๙๙๘” ขาวเอเชียศึกษา๑๔ (ตุลาคม-ธันวาคม ) :๓-๗. ๒๕๓๗. “พัฒนาการของเอเปค” ขาวเอเชียศึกษา, ๑๐(เมษายน-มิถุนายน ) : ๓-๗.๒๕๔๑. พันธุทิพย กาญจนะจิตรา. เอกสารประกอบการบรรยายหลักกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ๒๕๕๔. พิทยา วองกุล, มหกรรมประชาชนกูชาติ เคลื่อนทัพจับศึกษา IME. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, ๒๕๔๑. พิษณุ สุวรรณชฎ, สามทศวรรษอาเซียน. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๐. พิสิษฐิกุล แกวงาม, มโนทัศนที่สําคัญในวิชาการพัฒนาการเมือง, มหาสารคาม :หลักสูตรสาขาวิชา รัฐศาสตร วิทยาลัยกฎหมายและการปกครองมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, ๒๕๕๓. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, เอกสารการสอนชุดวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ. นนทบุรี : สาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,๒๕๓๔. มัสลัน มาหะมะอิสลามวิถีแหงชีวิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต,๒๕๕๑. มานิตย จุมปา, รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐”(ความรูเบื้องตน), กรุงเทพมหานคร : นิติธรรม, ๒๕๔๓. มานพ เมฆประยูรทอง, สหประชาชาติกับการเมืองและการพัฒนา, กรุงเทพฯ :๒๕๓๕. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ รพจน วิศรุตพิชญ, สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ (พิมพครั้งที่ ๒๗) กรุงเทพฯ : วิญูชน, ๒๕๔๓. 02_01-340_.indd 331 17/10/2562 8:40:42


332 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ เรืองวิทย เกษสุวรรณ. หลักรัฐศาสตร, พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ :บพิธการพิมพจํากัด. ๒๕๕๔ วรทิพย มีมาก ชีวินทร ฉายาชวลิต.หนาที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข, กรุงเทพฯ รําไทยเพรส จํากัด, ๒๕๔๗. วราภรณ จุลปานนท, ความสัมพันธระหวางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต”คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๔. ศิโรตม ภาคสุวรรณ, ความสัมพันธระหวางประเทศ: ทฤษฎีและพฤติกรรม.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย รามคําแหง, ๒๕๒๑. ศิโรตม ภาคสุวรรณ, ความสัมพันธระหวางประเทศเบื้องตน, คณะรัฐศาสตร,มหาวิทยาลัยรามคําแหง, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๒. ศิโรตม ภาคสุวรรณ, ความสัมพันธระหวางประเทศเบื้องตน. กรุงเทพมหานครสํานักพิมพมหาวิทยาลัย รามคําแหง, ๒๕๔๒. ศิโรตม ภาคสุวรรณ. เอกสารประกอบการบรรยาย “นโยบายตางประเทศไทย”คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัย รามคําแหง, ๒๕๔๕. สมเกียรติ วันทะนะ, อุดมการณทางการเมืองรวมสมัย. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพอักษรขาวสวย, ๒๕๕๑. สมบัติ ธํารงคธัญวงศ. ทัศนคติทางการเมืองของเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานคร พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โครงการเอกสารและตํารา คณะรัฐประศาสศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ,๒๕๓๔. สมพงศ ชูมาก. ความสัมพันธระหวางประเทศยุคปจจุบัน (ทศวรรษ ๑๙๐๐ และแนวโนม), กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,๒๕๔๔. สมพงศ ชูมาก.ความสัมพันธระหวางประเทศยุคปจจุบัน (ทศวรรษ ๑๙๙๐ สูทศวรรษแรกแหงศตวรรษที่ ๒๑). กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗. สิทธิพันธ พุทธทุน. ทฤษฎีพัฒนาการเมือง กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง ๒๕๒๖. สุกรี หลังปูเตะ เอกสารประกอบการสอนวิชา ๒๐-๒๐๑ หลักการบริหารและปกครองรัฐ ในคณะศิลปะ ศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา, ๒๕๔๔ . สุรพงษ ชัยนาม.การทูต-การเมือง ไมใชเรื่องสวนตัว. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศยาม.๒๕๕๐. สุรพล ราชภัณฑารักษ, ม.ป.ป. ความสัมพันธระหวางประเทศ, ๒๕๕๗. สุรพล ราชภัณฑารักษา และบวร ประพฤติดี, รัฐศาสตรทั่วไป. พิมพครั้งที่ ๔ กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย รามคําแหง,๒๕๒๓. 02_01-340_.indd 332 17/10/2562 8:40:43


333 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation อภิญญา รัตนมงคลมาศ. นโยบายตางประเทศ แนวทางศึกษา ทฤษฎี และระเบียบวิธีวิจัย.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘. อานนท อาภาภิรม. รัฐศาสตรเบื้องตน. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๕ อานนท อาภาภิรม.รัฐศาสตรเบื้องตน. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร , ๒๕๕๕ อุดม รัฐอมฤต, นพนิธิ สุริยะ และบรรเจิด สิงคเนติ, การอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลธรรมดาตามาตรา ๒๔ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. กรุงเทพฯ : นานาสิ่งพิมพ,๒๕๕๔. ๑.๒ หนังสือภาษาอังกฤษ Aboura, S., & Chevallier, J. (๒๐๑๕). A cross-volatility index for hedging the country risk. Journal of International Financial Markets, Institutions and Money, Allon, L. Herbert, T. H (๒๐๐๙). A stranger in a strange land: Micro political risk and the multinational firm. Business Horizons. ๕๒, . Austin. Essay on the Behavioral study of Politics. Urbana : University of Ittinois Press, ๑๔๗๒ . สืบคนเมื่อ วันที่ ๑๕ ก.ค.๒๕๖๐. Bader, B., & Schuster, T. (๒๐๑๕). Expatriate Social Networks in Terrorism- Endangered Countries: An Empirical Analysis in Afghanistan, India, Pakistan, and Saudi Arabia. Journal of International Management, ๒๑(๑), Bader, B., Berg, N., & Holtbrügge, D. (๒๐๑๕). Expatriate performand in Terrorism- Endangered Countries: The role of family and organizational support. International Business Review. ๒๔(๕) Barkauskas, V., Barkauskiene, K., & Jasinskas, E. (๒๐๑๕). Analysis of Macro Environmental Factors Influencing the Development of Rural Tourism: Lithuanian Case. Procedia - Social and Behavioral Sciences, ๒๑๓, Busse, M. & Hefeker, C.(๒๐๐๗). Political risk, institutions and foreign direct investment. European Journal of Political Economy. ๒๓, ๓๙๗-๔๑๕ 02_01-340_.indd 333 17/10/2562 8:40:49


334 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ Daniels, D. J., Radebaugh, H.L., & Sullivan, P.D. (๒๐๐๙). International Business: Environment and Operations (๑๒" ed.) New Jersey: Peason. Deutsch, Karl W. The Analysis of International Relations. Engle Wood Cliffs. N.J.: Prentice- Hal., ๑๔๖๘. ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๐. Holt,D. H., & Wigginton, D.W. (๒๐๐๒) International Management (๒ed.) Ohio: ThomsonLiu,C. Sun, X., Chen, J., & LI, J. (๒๐๑๖). Statistical properties of country risk ratings under oil price volatilitynEvidence from selected oil-exporting countries. Energy Policy. Huang, Y. S., & Wang, Y. (๒๐๑๓). Asset price, risk transfer and economic activities: Firm- levelevidence fromChina. The North American Journal of Economics and Finance, ๒๖, Jacobs, L., Samli, A.C., & Jedlik, T. (๒๐๐๑). The Nightmare of International Product Piracy: Exploring Defensive Strategies, Industrial Marketing Management, ๓๐(๖), Lee, C.-C., Hsieh, M.-F., & Yang, S.-J. (๒๐๑๖). The effects of foreign ownership on competition in the banking industry: The key role of financial reforms. Japan and the World Economy, McCrudden, Christopher. (๒๐๐๘). Human Dignity and JudicialInterpretation of Human Rights, The European Journal of International Law, ๑๙(๔): ๖๕๕ – ๗๒๔, p. ๓๖. www.ejil.org/pdfs/๑๙/๔/๑๖๕๘.pdf (สืบคนเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐) Rajala, R., Westerlund, M., & Lampikoski, T. (๒๐๑๖). Environmental sustainability in industrial manufacturing: re-examining the greening of Interface's business model. Journal of Cleaner Production. Tate, W. L., Ellram, L. M., & Gölgeci, I. (๒๐๑๓). Diffusion of environmental business practices: A network approach. Journal of Purchasing and Supply Management. Taylor, C. M., Pollard, S. J. T., Rocks, S.A., & Angus, A. J. (๒๐๑๕). Better by design: Business preferences for environmental regulatory reform. Science of The Total Environment. Uddin, M. H. (๒๐๑๖). Effect of government share ownership on corporate risk taking: Case of the United Arab Emirates. Research in International Business and Finance, 02_01-340_.indd 334 17/10/2562 8:40:50


335 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑.๓ บทความทางวิชาการ บุญสง ชัยสิงหกานานนท, “โลกหลังยุคใหม๕ : ความหมายของมนุษยในโลกภาย เทคโนโลยี ขาวสาร,” ไทยไฟแนนเชียล, ๒๕๓๗. _______“ประชาธิปไตย, ขบวนการทางสังคม และชนชั้นะความสําคัญของ ผูกระทําแบบรวม หมู”, วารสารรมพฤกษ ๑๔ (พฤศจิกายน ๒๕๓๘ พฤษภาคม ๒๕๓๔) ______“ประชาธิปไตยในศตวรรษที่ ๒๑: ภาพเหมือนของโลกในวัยเถื่อน, ” เอกสารประกอบการสัมมนา “๒๕๐๐ ปประชาธิปไตยกับขบวนการประชาชน” จัด ณ หองสัมมนาด๓๐๔ มหาวิทยาลัยเกริก, ๒๖-๒๗ ม.ค. ๒๕๓๙ เวลา ๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.( ฉบับปรับปรุงแกไขใหมอยูในระหวาง ดําเนินการ ตีพิมพใน รวมบทความหลายผูเขียนชุด “๒๕๐๐ ป ประชาธิปไตย") ______ “ปรัชญาสกุลหลังสมัยใหม(Postmodernism),” วารสารรมพฤกษ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๓๔- มกราคม ๒๕๔๐); ๕๗-๑๐๒. ๑.๔ สื่ออิเล็กทรอนิกส แถลงการณรวมวาดวยแผนงานความรวมมือในศตวรรษที่ ๒๑ ระหวางราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐ ประชาชนจีน https://www.baanjomyut.com /library /extension-๓ สืบคนเมื่อวันที่ ๑๓ ก.ค. ๒๕๖๐. กฎหมายระหวางประเทศ http://sapatkawintra.blogspot.com/๒ ๐๑๖/๐๒/blog-post ๕.html ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐. กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง http://www.mjsheetramfree.com/lawcoom-kdhmay-rahwangprathes-phaenk-khdimeurng-kar-sxbli-phakh-๒-pi-kar-suksa ๒๕๕๖ ออนไลนเมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ การกําหนดนโยบายตางประเทศ. https://www.baanjomyut.com/library_๔/politics/๑๐_ ๓.html. สืบคน เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐ การกําหนดนโยบายระหวางประเทศhttps://www.baanjomyut.com/library_ ๔/politics/๐๒_๖_ ๒.html.สืบคนเมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๐. ก า ร ค ว บ คุ ม พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง รั ฐ https://sites.google.com/site/thaniyatru/bth-thi๑ /kar- khwbkhum-phvtikrm ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 335 17/10/2562 8:40:50


336 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นที่มีตอประเทศชาติhttps://sites.google.com/site/cjb ๖๗๑๘/home/hnwy-kar-reiyn-ruthi-๑/--kar-khearph-siththi-laea-seriphaph-khxngtnxeng-laeaphu-xun สืบคนเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ การเมืองระหวางประเทศ https://sites.google.com/site/porjantor/karmeuxng-rahwang- prathes สืบคนเมื่อวันที่ ๕ ก.ค. ๒๕๖๐. การยอมรับเขตอํานาจศาลฯของประเทศไทย https://www.baanjomyut.com/library/preah_vihear_case/boun dary_negotiations_and_thailand_cambodia_๒๐.html äunuiun ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐. การรวมกลุมการเมืองระหวางประเทศ http://confictandcoordination๖๑๐.blogspot.com/๒๐๑๒/ ๑๑/blog-post_๓๗๙๐.htmlสืบคนเมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๐. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติhttp://www.nhrc.or.th/Human-RightsKnowledge/International- Human-Rights-Affairs/International-Law-of-human-rights.aspx สืบคนเมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ ความรวมมือระหวางประเทศ https://th.wikipedia.org/wiki, สืบคนเมื่อวันที่ ๑๑ ก.ค. ๒๕๖๐. ความสัมพันธระหวางประเทศ http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๗/blog_post ๖๒๖๙.html สืบคน เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐ ความสัมพันธระหวางประเทศhttp://megaclever.blogspot.com/ ๒๐๐๘/๐๗/blog-post_๖๒๖๙.html ออนไลน เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐. ความสัมพันธระหวางประเทศ www.http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๗/blog_post ๖๒๖๙.html, สืบคนเมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๐. ความสัมพันธระหวางประเทศไทยและกองทุนการเงิน https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/RolesAndHistory/Pages/l ME คนเมื่อวัน ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ ความสําคัญระบบการเมืองระหวางประเทศhttp://www.baanjomyut.com/library/global_community/ ๐๔.html สืบคนเมื่อ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๐. ความสําคัญระบบการเมืองระหวางประเทศ http://www.baanjomyut.com/library/global_community/.html 02_01-340_.indd 336 17/10/2562 8:40:56


337 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation สืบคนเมื่อ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๐. ชํานาญ จันทรเรือง ประชาธิปไตยทุนนิยม และสังคม นิยม ,๒๕๕๘.http://www.nidambe๑๑. net/ekonomiz/๒๐๐๕q๔/ article๒๐๐๕oct๑๒p๑๐.htm ,สืบคนเมื่อ ๑๖ ก.ค.๒๕๖๐. ทฤษฎีที่นาสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศhttps://www.gotoknow.org/posts/๑๗๙๕๕๓ สืบคนเมื่อ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๐ แนวโนมเศรษฐกิจโลกเศรษฐกิจไทยและภาวะการลงทุนในป ๒๕๖๐kasikornasset.com /TH/MarketUpdate/Pages/Econ๒๐๑๗.aspx สืบคนเมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐ ปฏิกิริยาระหวางประเทศ http://gjournal.kku.ac.th/file/๒๐๑๕๐๒ ๒๘_๑๑๕๗๖๗๖๐๐pdf สืบคน เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐. ประวัติความสัมพันธ ไทย-สหรัฐฯ" US Watch, Ministry of Foreign Affairs,Thailand, n.d. Web. ๖Jan. ๒๐๑๕. http://uswatch.mfa.go.th/uswatch/th/ relationship/history/ สืบคนเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐ ผลกระทบของการคาระหวางประเทศ http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๗/blog-post ๘๓๐๗.html,สืบคนเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐. พระบุญฤทธิ์ ชูเลื่อนและคณะ, ความมั่นคงระหวางประเทศwww.https://www.gotoknow.org/posts/ ๕๔๙๑๐๓ สืบคน เมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ ม า ต ร ก า ร แกไข ค ว า ม ขั ด แย ง ร ะ ห ว า ง ป ร ะเทศ https://www.baanjomyut.com/library /politics/oo_b.html,สืบคนเมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๐. เมธา มาสขาว.n.d.สังคมนิยม-ประชาธิปไตยในประเทศไทยhttp://www.midnightuniv.org/midnightc oooaaadio.htmlสืบคนเมื่อ ๑๖ ก.ค.๒๕๖๐, รจน หาเรืองทรง. ทางการเมืองการปกครองที่นําไปสูความเขาใจ และการประสานประโยชนรวมกัน ระหวางประเทศ,๒๕๕๗. www.satit.up.ac.th/BBC ๐๗/AroundTheWorld/ir/๓๕.htm , สืบคน เมื่อวันที่ ๒๔ พ.ค. ๒๕๖๐. ระบบความสัมพันธระหวางประเทศhttp://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๗/blog_post_ ๖๒๖๙. Htm สืบคนเมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 337 17/10/2562 8:40:57


Click to View FlipBook Version