The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หนังสือ E-BOOK, 2023-07-24 05:33:55

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

88 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ แนวความคิดของพวกอนุรักษนิยมมาปรับใชโดยเฉพาะในเรื่อง เศรษฐกิจ เชน ยอมรับความจําเปนที่ จะตองรัฐที่มีความเขมแข็งเพื่อชี้นําธุรกิจ และ การสรางรัฐสวัสดิการ นอกจากนี้ยังสนับสนุนรัฐบาล ชวยกําจัดสิ่งปฏิกูลของระบบทุน นิยม เชน ปญหาสังคม การไรที่อยูอาศัย และการวางงาน เปนตน ลัทธิเสรีนิยมเปน ลัทธิที่มีความสําคัญในตะวันตกเปนอยางมากและเปนสวนหนึ่งของอารยธรรม ตะวันตกแตภายหลังสงครามโลกทั้งสองครั้งไดมีขอสังเกตวาเสรีนิยมเริ่มเสื่อมอิทธิพล ลงเหตุผลก็อาจ เปนเพราะวา ลัทธิเสรีนิยมนี้มีความหมายนอยลงในบรรดาประเทศที่ กําลังพัฒนาที่ยังมีปญหาที่ จะตองแกไขอีกมาก ลัทธินี้มิไดแตกสลายหากเพียงแตลดบทบาทลงมาและไมมีการดําเนินการอยาง เปนปกแผนมั่นคง ลัทธินี้ไมไดถูกนํามาใช เฉพาะทางดานการเมืองเทานั้นแตยังหมายถึงอุดมการณ เกี่ยวกับคานิยมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับอุดมการณในเรื่องสิทธิเสรีภาพไมวาจะเปนการตอตานลัทธิทหาร และ ตอตานรัฐสวัสดิการ อุดมการณเสรีนิยมยังไมไดถูกนํามาใชในความหมายวาใจกวาง (Generous) นักปฏิวัติ (Reformist) หรือนักทดลอง (Experimental) อีกดวย ลัทธินี้ ยังใหความสําคัญกับสิ่ง ตอไปนี้ คือ ๑. เสรีภาพสวนบุคคล ๒. ธรรมชาติของมนุษย ๓. เหตุผลของแตละบุคคลที่ประสงค ๔. ความกาวหนา ๕. ความเทาเทียมกัน ๖. ความเปนสากล ๗. คานิยมตอรัฐบาล และ ๘. เสรีนิยมทางเศรษฐกิจ จุดเดนของอุดมการณเสรีนิยม คือ เนนเรื่องเสรีภาพสวนบุคคล เรื่องสิทธิมนุษยชน และการไดรับโอกาสเทาเทียมกัน โดยเชื่อวา สังคมจะดีไดตองมีสภาพแวดลอมที่ดี เอื้ออํานวยตอการ อยูดีกินดีของประชาชนทุกสาขาอาชีพ มุงการคนควาวิจัย และการเชื่อถือความคิดของปจเจกบุคคล อุดมการณของเสรีนิยม ทุนนิยม และคอมมิวนิสต อุดมการณเสรีนิยมจึงเปนอุดมการณพื้นฐานของระบอบการ ปกครองแบบ ประชาธิปไตย กลาวคือ เปนอุดมการณที่ใหน้ําหนักกับความเปนมนุษย ซึ่งจะตองมีศักดิ์ศรี มีสิทธิ เสรีภาพ เชน เสรีภาพในชีวิต รางกาย ทรัพยสิน ที่สําคัญคือ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในทางการเมือง ฯลฯ มนุษยที่ถือกําเนิดมาในโลกนี้แมจะแตกตางกันในฐานะทางสังคมและ 02_01-340_.indd 88 17/10/2562 8:34:35


89 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑๐๐ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เศรษฐกิจ และแหลงกําเนิดแตมีความเสมอภาคกันโดยเปนประชาชนที่เทาเทียมกันมีความเสมอภาค ตอหนากฎหมาย และเสมอภาคในทางการเมือง บนพื้นฐานของอุดมการณเสรีนิยม ๔.๔.๒ อุดมการณแบบอนุรักษนิยม (Conservatism) แนวความคิดอนุรักษนิยมเกิดขึ้นเมื่อปลายศตวรรษที่๕ ๑๘ โดยเอ็ด มันดเบิรก (Edmund Burke) ซึ่งตีพิมพผลงาน ชื่อ“Classic Conservatism” เขาได คัดคานความคิดเสรีนิยมที่ ถูกนําไปใชปฏิวัติฝรั่งเศสวา เปนการกระทําที่เขาใจผิดอยางใหญหลวง เสรีนิยมเชื่อมั่นตอเหตุผลของ มนุษยมากเกินไป ทั้งที่ยังมีสวนที่เปนอารมณ ไมใชเหตุผลอยูมาก เพื่อรักษาเหตุผลของมนุษยเอาไว สังคมมนุษยจึงคอย ๆ สรางประเพณี สถาบัน และมาตรฐานทางศีลธรรมขึ้นมา เชน การจัดตั้งระบอบ กษัตริยและ ศาสนา เบิรกใหเหตุผลวา สถาบันและประเพณีที่มีอยูไมไดเลวทั้งหมด เพราะผานการ ลองผิดลองถูกมาเปนรอย ๆ ปจนผูคนคุนเคยหมดแลว ทางที่ดีควรรักษาหรือ อนุรักษเอาไวเพราะยัง ใชได ไมตองกังวลวาจะไมสมบูรณ แตไมใชวาไมเปลี่ยนเลย สถาบันควรเปลี่ยน แตเปลี่ยนแบบคอย เปนคอยไป เพื่อใหประชาชนไดปรับตัวเขา กลาววาสภาพที่ไมมีวิธีการเปลี่ยนแปลงอะไรบางอยางเลย นั้น เปนสภาพที่ไมใชวิธีการ ของอนุรักษนิยม๖ เบิรกเปนนักคิดคนสําคัญที่ชวยใหเกิดการคนพบพฤติกรรมที่ไมใช เหตุผลของมนุษย เขามองเห็นสถาบันเหมือนสิ่งมีชีวิตซึ่งเติบโตและรับตัวตลอด และเขาเห็นวา การปฏิวัติจะตองจบลง ดวยความเลวราย จนไดรับการขนานนามวา พวกตอตานอุดมการณ รากฐานอุดมการณอนุรักษนิยมมี พื้นฐานมาจากอุดมการณทาง การเมืองสมัยกรีกโบราณ โดยเฉพาะแนวปรัชญาทางการเมืองของเพล โต อุดมการณทางการเมืองตามแนวคิดอนุรักษนิยมมีจุดเดน คือ ใหความสําคัญเรื่องความมั่นคงของ สถาบันหลักของชาติ เชน สถาบันกษัตริย สถาบันศาสนา และวัฒนธรรมมากที่สุด การเปลี่ยนแปลง ของสังคมตองใชเวลาไมรวดเร็ว ไมผลีผลาม ตองรอบคอบรัดกุม คอยเปนคอยไปอยางมีระเบียบ ยอมรับความไมเทาเทียมกัน เพราะถือวาเปนธรรมชาติของมนุษย และเชื่อถือระบอบการปกครองที่ เหมาะสมกับประชาชนของประเทศตน ไมจําเปนตองเหมือนของใคร๗ ๕ อุดมการณอนุรักษนิยม (Conservatism) https://www.baaniomyut.com/library_2/extension 1fdeology and politics/03.html, สืบคนเมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐. ๖ ลิขิต ธีระเวคิน ลัทธิเสรีนิยมและประชาธิปไตย.๒๕๕๓, http://www.siamrath.co. thDIFon/Articledetail.aspx?nid ออนไลน เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐. ๗ ณัชชาภัทร อุนตราจิต.รัฐศาสตร สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (สพฉ.) ชั้น ๓ อาคารจามจุรี ๓ ถนพญาไท เขตปทุมวันกรุงเทพฯ, ๒๕๔๘ 02_01-340_.indd 89 17/10/2562 8:34:36


90 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ อุดมการณอนุรักษนิยมที่ปรากฏในประเทศตางๆอาจไมตรงกันบางใน สาระสําคัญ บางประการ เชน ลัทธิอนุรักษนิยมในอเมริกายอมใหมีการเปลี่ยนแปลงได ยอมรับการแตกตางกัน ในทางการเมืองตองการใหมีเสรีภาพทางเศรษฐกิจเชื่อใน ความกาวหนาสวน อนุรักษนิยมในยุโรปและ อังกฤษนั้นยึดมั่นในศาสนาดั้งเดิมยอมรับ การแบงชนชั้นแบบเกาโดยสามารถสรุปลักษณะของ อุดมการณอนุรักษนิยม ไดดังนี้ ๑) ระเบียบและความมั่นคง (order and Stability) พวกอนุรักษนิยม เชื่อมั่นวา ระเบียบและความมั่นคงเปนสิ่งสําคัญที่สุดที่จะตองรักษาไว โดยเฉพาะอยางยิ่งคือเรื่อง ศาสนา ชาติ กําเนิด และความรักชาติ ซึ่งจะตองเปนสิ่งที่ควรหวงแหนไว มากกวาสิ่งใด ๆ ทั้งสิ้น ๒) ความชั่วรายของคน (Wickedness of Man) พวกอนุรักษนิยมเชื่อ วา มนุษย เกิดมาพรอมๆ กับธรรมชาติที่โหดราย นากลัว ดังนั้นมนุษยจึงตองการรัฐบาลมาชวยทําใหสังคมมนุษย ไรซึ่งความวุนวายและปาเถื่อน โดยใชกฎหมายและ ศาสนา ซึ่งมีการวางรากฐานมายาวนานและมั่นคง ๓) ประสบการณ (Experience) อุดมการณอนุรักษนิยมมีแนวคิดที่ เชื่อมั่นใน ประสบการณมากกวาเหตุผล เพราะเขามีความเห็นในแงลบตอธรรมชาติ ของมนุษย คือ ไมเชื่อวา มนุษยจะเปนผูใชหลักเหตุผลไดอยางถูกตอง ๔) ตอตานการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน (Graduat Change) พวกเขา ตองการให มันเกิดขึ้นอยางคอย ๆเปน คอยๆไป เพราะถือวาการเปลี่ยนแปลงโดย ฉับพลันเปนการถอนรากถอน โคนระบบสังคมแบบเดิม ๕) เสรีภาพ (Liberty) อนุรักษนิยมไมชอบความเทาเทียมกัน เพราะมันจะเปน อันตรายตอเสรีภาพ โดยเนื้อแทเขาสนับสนุนรัฐบาลที่มีรากฐานอยูที่การเปนผูดี และตอตานพวกทุน นิยมที่แสวงหาอํานาจดวยความร่ํารวย และตอตาน ระบอบประชาธิปไตย เพราะมันอยูตรงกันขามกับ ระเบียบและความมั่นคง ๖) ความหลากหลาย (Diversity) พวกอนุรักษนิยมไมเชื่อในความเปนสากล เขาเชื่อ วาถึงแมวากฎหมายบางฉบับจะใชการไดดีในประเทศหนึ่ง แตมันก็ไมไดหมายความวามันจะใชไดดีใน ทุก ๆ ประเทศ ดังนั้นประเทศแตละประเทศควรจะมีวิถี การพัฒนาเปนของตัวเองขึ้นอยูกับ ประสบการณของแตละประเทศ ๗) รัฐบาล (Government) รัฐบาลในความคิดของพวกอนุรักษนิยม ไมใชสิ่งที่ชั่ว ราย รัฐบาลเปนสิ่งที่จําเปนที่จะรักษาไวซึ่งระเบียบเรียบรอยและความมั่นคงในศตวรรษที่ ๒๐ อุดมการณอนุรักษนิยมมีความเปลี่ยนแปลงในตัวเองอยางมาก ถึงแมวาแนวความคิดในเรื่องหลัก ๆ ยังคงเหมือนเดิม แตเรื่องแนวคิดเรื่องวิถีทาง เศรษฐกิจของพวกเขาเปลี่ยนแปลงไปพวกอนุรักษนิยม 02_01-340_.indd 90 17/10/2562 8:34:37


91 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑๐๒ ใหม(neo-Conservatism) จะ มีแนวคิดคลายพวกเสรีนิยมเกาในเรื่องทางดานเศรษฐกิจ โดยองการ ใหรัฐบาลถูก จํากัดอํานาจในการเขาไปแทรกแซงทางเศรษฐกิจ ปจจุบันทั้งพวกอนุรักษนิยมใหมและพวกเสรีนิยมใหมมีความคาบ เกี่ยวกันในหลาย ดานแมกระทั่งในคน ๆ เดียวกัน ในบางกรณีอาจเปนอนุรักษนิยม ในบางกรณีอาจเปนเสรีนิยม อุดมการณทั้งสองประการจึงไมสามารถถูกเรียกไดวาอยูที่ โดยที่หนึ่ง ๔.๔.๓ อุดมการณแบบทุนนิยม (Capitalism) ทุนนิยมเปนระบบเศรษฐกิจที่ถือวากิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะ อยางยิ่งการ เปนเจาของและการลงทุน ในการผลิตเปนกรรมสิทธิ์ของเอกชนโดยยอม ใหผูประกอบการทาง เศรษฐกิจ มีโอกาสแขงขันกันในทางเศรษฐกิจเพื่อใหไดมาซึ่งผลกําไรหรือผลประโยชน อื่นใดตาม ความสมารถและความปรารถนาของแตละคนเปนระบบเศรษฐกิจที่มีคุณลักษณะสําคัญคือ ยอมรับ กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินและการผลิต ของบุคคลเสรีภาพในการประกอบการทางธุรกิจและเศรษฐกิจ เสรีภาพของผูบริโภค ในการที่จะเลือกบริโภคหรือใชบริการ การแขงขันกันในทางเศรษฐกิจ การ แสวงหาผลกําไร จากการดําเนินงานทางเศรษฐกิจ และการยึดถือราคาในฐานะเปนแกนกลางที่มี อิทธิพลตอการควบคุมแรงงาน ทรัพยากร ผลผลิตและรายได ความคิดเชิงตลาด จิต วิญญาณของ ผูประกอบการ และความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยสินและสัญญาที่ชัดเจนที่สามารถบังคับไดตามกฎหมาย ทฤษฎีหลายทฤษฎีไดชี้ใหเห็นถึงแนวการปฏิบัติทางเศรษฐกิจหลาย ๆ แนวไดถูกใหทําเปนสถาบันใน ยุโรประหวางชวงคริสตศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๙ ที่สําคัญ เชน สิทธิของบุคคลหรือกลุมบุคคลที่จะสามารถ ทําการไดแบบ “นิติบุคคล” (หรือบรรษัท) ในการซื้อและขายสินทรัพย ที่ดิน แรงงาน เงินตรา ใน ตลาดเสรี และสามารถวางใจไดวา รัฐจะสามารถบังคับใหเกิดการเคารพสิทธิทรัพยสินสวนบุคคล แทนที่จะตองพึ่งการคุมครองแบบศักดินา อยางไรก็ตามองคประกอบของ ระบบทุนนิยมมีคุณลักษณะ อยู ๕ ประการดวยกัน คือ ๑. การมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินสวนบุคคลเปนปจจัยที่สําคัญ ๒. การแขงขันทางตลาดอยางเสรี ๓. ใชระบบเศรษฐกิจแบบตลาด ๔. มีอิสระในการบริหาร และ ๕. ประชาชนสามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน ลัทธิทุนนิยม เกิดขึ้นมาเพื่อตอตาน ระบบพาณิชยนิยม (Mercantitism) คือระบบ เศรษฐกิจที่อยูภายใตทฤษฎีความมั่นคงของรัฐที่ขึ้นอยูกับ ทองคํา เงิน และโลหะอื่น ๆ ซึ่งรัฐบาลจะ 02_01-340_.indd 91 17/10/2562 8:34:38


92 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เปนผูควบคุมระบบเศรษฐกิจทั้งหมด เพื่อการหามาโลหะมีคา ทั้งนี้ความมั่งคั่งจะกระจุกอยูที่รัฐบาล และพันธมิตรของรัฐบาล เพียงกลุมเดียวเทานั้น ทุนนิยมแบบพานิชยกรรม เกิดจากการคาระหวาง ประเทศใน ยุโรปหลังยุคสงครามครูเสด มีศูนยกลางการคาอยูที่เมืองบารเซโลนาของสเปน สินคา สวนใหญเปนสินคาประเภทฟุมเฟอย ลักษณะการคาจะอยูในรูปของการแบงความ รับผิดชอบกันเปน กลุม ๆ เชน พวกพอคาขายสง พวกพอคาขายปลีก และผูใหกูยืมเงิน สวนในยุโรปเหนือมีการคา ระหวางประเทศโดยตั้งเปนสมาคม เรียกวา “Hanseatic League” บรรดาสมาชิกของสมาคมนี้ถือวา เปนนายทุนที่แทจริง เพราะสามารถ แสวงหากําไรไดมาก มีอิทธิพลตอชาวนาและกรรมกรของรัฐ และมีอิทธิพลตอกิจกรรม การเมืองระหวางประเทศ ทุนนิยมแบบการเงิน เปนการจัดการคาในรูปของตลาดเงินทุน มีลักษณะ - สําคัญ คือ ๑. มีการใหทุนเพื่อการพานิชยกรรมในลักษณะของเงินกู ๒. มีองคการดําเนินการทางเศรษฐกิจเงินกูหลายกลุม ๓. มีการใหเงินกูโดยตรงแกบุคคลหรือกิจการตาง ๆ ๔. จัดใหมีธนาคารและการแลกเปลี่ยนระหวางธนาคารขึ้น ๕. มีการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศในลักษณะของเงินกู ๖. จัดใหมีธนาคารของรัฐและการกูระหวางประเทศ ทุนนิยมแบบการเงิน ถูกพัฒนาและเปนที่รูจักแพรหลายขึ้นใน ศตวรรษที่ ๑๗ และบางยุค บางสมัยก็ชะงักลง แตก็ไมสลายไป เพราะปจจุบันยังมี สถาบันการเงินที่ทําหนาที่ดานนี้อยู ทุนนิยม แบบอุตสาหกรรมเกิดขึ้นพรอม ๆ กับการลมสลายของระบบศักดินาและการขยายตัวของเมืองตางๆ ซึ่งมีลักษณะที่สําคัญ คือ ๑. ไดมีการเปลี่ยนอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรืออุตสาหกรรม ครัวเรือน เปน อุตสาหกรรมขนาดใหญ ๒. ไดมีพอคาซึ่งขายวัตถุดิบใหกับโรงงานอุตสาหกรรมและ ซื้อผลิตผลอุตสาหกรรม เพื่อขายเอากําไรมากขึ้น ๓. เกิดโรงงานขนาดใหญ และมีการใชแรงงานมากมาย ระบบทุนนิยมแบบ อุตสาหกรรมไดกอตัวขึ้นชัดเจนในยุคหลัง โดยเฉพาะในศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งไดมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ขึ้น ในสมัยนี้ทําใหวิทยาการมีความกาวหนาขึ้น ผลผลิตเพิ่มขึ้นทั้งดานปริมาณและคุณภาพ เปนสิ่งที่ เกื้อกูลระบบทุนนิยมเปนอัน ทุนนิยมแบบประกอบการ เกิดขึ้นในศตวรรษที่ ๑๗ เปนผูที่มีบทบาท 02_01-340_.indd 92 17/10/2562 8:34:39


93 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation และอิทธิพลในการกําหนดกฎเกณฑและนโยบายทางการคา มีการลงโทษแกผูละเมิดกฏเกณฑ เหลานั้น เชน กฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินคา คุณภาพ แลการปลอมแปลง มีกฎหมายหามเก็งกําไร มีบทบัญญัติกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการซื้อขาย การกําหนดราคาคาจาง และชั่วโมงทํางาน เปนตน๘ ๔.๔.๔ อุดมการณแบบสังคมนิยม (Socialism) แนวความคิดของลัทธิสังคมนิยมไดเกิดขึ้นกอนคริสตกาล คือ Plato ไดวาดมโนภาพ ในอุดมคติไววา “สรรพสิ่งทั้งปวงเปนของกลาง เพื่อใหคนทุกชนชั้นได บริโภค” วิวัฒนาการของสังคม นิยมไดเริ่มตั้งแตการขยายตัวของอุตสาหกรรมในระบบ ทุนนิยมในปลายคริสตศตวรรษที่ ๑๘ หรือ ตอนตนคริสตศตวรรษที่ ๑๙ โดยผูใช แรงงานหรือกรรมกรซึ่งไมมีความรูและทรัพยสินอื่นนอกจาก แรงงาน ไดรับความทุกขยากเปนอยางมาก นักสังคมวิทยาจึงไดแสวงหาวิธีการที่จะสรางสังคมใหมที่ ปราศจาก ความอยุติธรรมและความไมเทาเทียมกัน โดยเสนอแนะใหมนุษยชวยเหลือซึ่งกันและ กัน โดยใหพิจารณาถึงผูที่ยากจนเปนกรณีพิเศษ ระบบสังคมนิยมเกิดขึ้นมาเพื่อตอตานระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเพราะถือ วา ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมนั้น นายจางคือผูมีปจจัยการผลิตอันไดแก ที่ดิน ทุน และการ ประกอบการ สวนแรงงานมีฐานะเปนเพียงปจจัยการผลิตอยางหนึ่งแรงงาน จึงตองพึ่งพานายจางและ ดวยจํานวนแรงงานที่มีอยางมากมาย จึงมักถูกกดชื่อยางไรมนุษยธรรม นอกจากนั้น การประกอบ ธุรกิจของเอกชนที่มุงแตกําไรสูงสุด อาจกอใหเกิดผลเสียแกสังคม เชน ปญหาการวางงาน อาชญากรรม ปญหาสิ่งแวดลอม สังคมนิยมพื้นฐานก็คือ๙ ที่ซึ่งรัฐเอาสังคมเปนศูนยกลางและนโยบาย เปาหมาย และ วิถีทาง เพื่อประชาชนไดเทาเทียมประโยชนแหงชีวิต มีประชาธิปไตย ทางเศรษฐกิจและสังคมที่ แทจริง ประชาชนทุกคนมีสิทธิเสรีภาพ โดยรัฐที่เปนตัวแทนพิทักษผลประโยชนของประชาชนที่แทจริง คอยดูแล สวัสดิการ ใหแกประชาชนอยางพอเพียง สรางคุณภาพสังคมและคุณคามนุษย ที่ลัทธิ สังคมนิยม มีลักษณะที่ สําคัญ ดังนี้ ๑. มีการวางแผนเศรษฐกิจจากสวนกลางหรือรัฐบาล โดยลัทธิ สังคมนิยมเชื่อวาหาก รัฐบาลมีการวางแผนทางเศรษฐกิจไวลวงหนาเปนอยางดี ๘ จรูญ สุภาพ. หลักรัฐศาสตร ฉบับพื้นฐาน พิมพครั้งที่ ๒. สํานักพิมพแพรพิทยา กรุงเทพฯ,๒๕๓๘ ๙ สมบูรณ เมธามาสขาว, สังคมนิยม-ประชาธิปไตยในประเทศไทย http://www.midnightuniv.org/ midnight๒๕๕๗๐๐๐๙๙๙๙๙๕๓๐.html ๒๕๕๒, สืบคนเมื่อ วันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 93 17/10/2562 8:34:40


94 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ โดยไมปลอยใหเอกชนดําเนินงานกันเองอยางไรระเบียบจะทําให สามารถหลีกเลี่ยง วิกฤติเศรษฐกิจและปญหาสังคม เชน ปญหาเงินเฟอ เงินฝด การวางงาน โดยการวางแผนเศรษฐกิจ ถือหลักการวาตองเปนประโยชนกับสังคม ที่เปนคนสวนใหญ และ ๒. รัฐบาลเขามาควบคุมกิจการที่เกี่ยวของกับสาธารณูปโภคของ ประชาชน กิจการ ตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสาธารณูปโภค เชน ไฟฟา ประปา และ ถนนหนทาง จะอยูภายใตการดูแล ของรัฐ เนื่องจากเปนกิจการที่ประชาชนมีความ จําเปนตองใช การที่รัฐบาลเขามาดูแลสาธารณูปโภค ดังกลาวยอมเกิดผลดีแกสังคม สวนรวม๑๐ ลัทธิสังคมนิยมเปนระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนจากสวนกลาง เพื่อผลประโยชน ของชุมชนโดยสวนรวมระบบนี้ ถือไดวาเกิดขึ้นมาเพื่อคัดคานระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยม สาระสําคัญของสังคมนิยมมีองคประกอบ ดังนี้ ๑. มีการวางแผนเศรษฐกิจจากสวนกลางหรือรัฐบาล ๒. เอกชนจะไดผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโดยสวนเฉลี่ยตามผลงานของแตละคน ๓. รัฐบาลเขามาควบคุมกิจการที่เกี่ยวของกับสาธารณูปโภคของประชาชน ซึ่งเมื่อกลาวถึงรูแบบของลัทธิสังคมนิยมที่สําคัญของโลก นั้น มี ๓ รูปแบบคือ๑๑ ๑. สังคมนิยมแบบอุดมคติ คือการสรางจินตนาการ หรือวาดภาพ สภาพสังคมที่เลอ เลิศอยางที่เปนความเชื่อเรื่องสังคมสมัยพระศรีอาริยเมตไตรย ๒. สังคมนิยมแบบมารกซ คือตองการใหสวนกลางมีบทบาทมาก ที่สุดหรืออีกนัยยะ หนึ่งก็คือวาตองการใหเกิดการปฏิวัติเพื่อเขาสูสภาพสังคมเต็มรูปแบบโดยเร็วทั้งนี้โดยเนนการตอสู ระหวางชนชั้นเปนหลัก ๓. สังคมนิยมแบบประชาธิปไตยเปนการผสมผสานหลักการเมือง การปกครองแบบ ประชาธิปไตยเขากับระบบเศรษฐกิจที่รัฐหรือรัฐบาลมีอํานาจจํากัด เสรีภาพทางเศรษฐกิจของเอกชน บางประการดวยการเขาดําเนินการเองบางสวนเพื่อประโยชนของสวนรวม ๔.๔.๕ อุดมการณประชาธิปไตย ๑๐ ชํานาญ จันทรเรือง.ประชาธิปไตย ทุนนิยม และสังคมนิยม http://www. nidambe๑๓. net/ekonomiz/๒๐๐๕q article๒๐๐๕oct๓๒p๑๐.htm สืบคนเมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐. ๑๑ ชํานาญ จันทรเรื่อง ประชาธิปไตย ทุนนิยม และสังคมนิยม,http://www. Nidanbe๑๑. netVekonoriz๒๐๐๕q๔/ article๒๐๐๕oct๑๒p๑๐.htm สืบคนเมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 94 17/10/2562 8:34:41


95 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เปนทั้งอุดมคติและระบอบการเมือง เกิดขึ้นประมาณครึ่งหลังของ ศตวรรษที่ ๕ กอนคริสตศักราชโดยนครรัฐกรีก กลาวไดวา เอเธนส เปนนครแหงประชาธิปไตยมากที่สุด พลมือง เอเธนสมีความภูมิใจในระบอบการปกครองที่เปดโอกาสใหพวกเขามีเสรีภาพ เชนเสรีภาพในการนับ ถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์โดยไมมีขอบเขตจํากัด มีสถาบันการปกครองประเทศที่เปนสภานิติบัญญัติและ ขาราชการผูมีหนาที่ใน การบริหารประเทศโดยไดรับการเลือกตั้งจากประชาชน ประชาธิปไตย ตรงกับภาษาอังกฤษวา Democracy ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษากรีก ๒ คา คือ Demos แปลวา ประชาชน และ Kratos แปลวาอํานาจ เมื่อนํามารวมกันแลวหมายความ วา อํานาจประชาชน หรือ ประชาชนเปนเจาของอํานาจ ซึ่งมีหลักการพื้นฐานคือ การยอมรับนับถือ ความสําคัญและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของบุคคล ความเสมอภาค และเสรีภาพในการดําเนินชีวิต สําหรับความหมายของคําวาประชาธิปไตยที่ใชกันอยูในปจจุบันมี หลายความหมาย ดังนี้ ๑. ระบบการปกครองโดยคนจนและคนเสียเปรียบ ๒. รูปแบบการปกครองที่ประชาชนปกครองตนเองโดยตรงและตอเนื่องซึ่งไม ตองการนักการเมืองอาชีพหรือขาราชการ ๓. สังคมที่มีความเทาเทียมกันในโอกาสและคนมีคุณธรรมมากกวา สังคมที่มีลําดับ ชั้นและอภิสิทธิ์ ๔. ระบบการปกครองที่รับประกันสิทธิและผลประโยชนของคน สวนนอยโดยเนน การตรวจสอบอํานาจของเสียงขางมาก และ ๕. ระบบการปกครองที่สนองตอบตอผลประโยชนของประชาชน โดยไมสนใจ การเมืองเรื่องอื่น เปนตน การเริ่มทําความเขาใจประชาธิปไตยอาจเริ่มจากคํากลาวของอับราฮัม ลินคอลน๑๒ ๔.๔.๖ อุดมการณทางการเมืองตามทัศนะของนักวิชาการ ลิขิต ธีรเวคิน๑๓ อธิบาย อุดมการณทางการเมือง หมายถึง ลัทธิทางการเมืองที่ อธิบายความเปนมาของสังคมมนุษย ในอดีตสภาพความเปนอยูในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตวา ๑๒ (Abraham Lincoln)ที่กลาวในป ค.ศ.๑๘๖๔ ทามกลางสงครามกลางเมืองใน สหรัฐอเมริกา วา “การ ปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน” (Government of the people, by the people, and for the people) 02_01-340_.indd 95 17/10/2562 8:34:42


96 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ แนวทางการประพฤติปฏิบัติสําหรับสมาชิกในปจจุบัน และสําหรับการบรรลุความมุงหวังของอนาคต พรอมทั้งใหความหมายแกชีวิต แก ความประพฤติและความสัมพันธที่มนุษยมีตอสิ่งแวดลอม และ ระบบสังคมทั้งมวล Friedrich C.J and Brzezinski Z.K๑๔ กลาววา อุดมการณทาง การเมือง หมายถึง ความคิดที่มีลักษณะที่ชัดเจน (articulate) ประติดประตอกัน (coherent) และเปนระบบ (Systematic) ตลอดจนสัมพันธกับการกระทํา จากความหมายขางตนสรุปไดวาอุดมการณทางการเมือง หมายถึง ระบบความคิด ความเชื่อ หรือความศรัทธาของกลุมสังคมใดสังคมหนึ่งที่มีตอระบบ การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ ซึ่งระบบความเชื่อตาง ๆ นี้จะสะทอนใหเห็นถึง รูปแบบของการเมือง หลักการในการปกครอง วิธีดําเนินการปกครองวาใครจะเปนผูมีอํานาจในการปกครอง ผูปกครองมีบทบาทและอํานาจ กวางขวางเพียงใด ความสัมพันธระหวางผูปกครองและผูใตปกครองจะมีลักษณะอยางไร ผูอยูใต ปกครอง จะมีสิทธิและเสรีภาพมากนอยแคไหน มีความเหมาะสมกับสภาพความเปนอยูใน ปจจุบัน และอนาคตหรือไมอยางไร ๔.๔.๗ หลักการของประชาธิปไตย ประชาธิปไตยมีพัฒนาการมาหลายรอยป สําหรับทั้งเพลโต และอริสโตเติลแลว นักปราชญทั้งสองนี้ไมเห็นดวยกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เพลโตไดแสดงความเห็นถึง ผูนําของรัฐในอุดมคติในหนังสืออุตมรัฐ วาผูนําของรัฐ ควรจะเปนผูนํากลุมนอยที่ทรงภูมิความรูและ เปยมดวยคุณธรรม อุทิศ ตนเองใหกับรัฐ เมื่อรัฐมีผูนําที่มีคุณภาพเชนนี้ รัฐนั้นก็เจริญกาวหนา มีระบบ การบริหารที่ดี ประชาชนจะมีชีวิตที่เปนสุขมีทฤษฎีและการปฏิบัติมากมาย ซึ่งสามารถ สรุปหลักการ สําคัญของอุดมการณประชาธิปไตย ดังนี้๑๕ ๑. หลักการมีสวนรวมของพลเมือง (Citizen Involvement) ความคิดพื้นฐานของ ระบบประชาธิปไตยทุกระบบคือประชาชนควรมีสวนรวมตัดสินใจ ทางการเมืองซึ่งมีทางคือ ๑๓ ลิขิต ธีรเวคิน.อุดมการณทางการเมือง http://ms.src.ku.ac.th/schedule/Files/๒๕๕๔/Jan/ ๓๑๒๘๕๕๕๖.ppt,สืบคนเมื่อวันที่ ๒๐ ก.ศ. ๒๕๑๐. ๑๔ Friedrich CJ and Brzeinsa ZK,อุดมการณทางการเมือง หมายถึง ความคิดที่มี ลักษณะที่ชัดเจน (articulate) ประติดประตอกัน (coherent) และเปนระบบ (systematic) ตลอดจนสัมพันธกับการกระทํา, https://books.google.co.th/books?id=OF XAwAAQBAJ&pg=PT215&lpg สืบคนเมื่อวันที่ ๒๐ ก.ค. ๒๕๖๐ ๑๕ ธเนศวร เจริญเมือง, รัฐศาสตรที่ยังมีลมหายใจ (ปรับปรุงและพิมพครั้งที่สอง), พิราบ สํานักพิมพ, หนา ๒๗-๒๘ ๒๕๕๗ 02_01-340_.indd 96 17/10/2562 8:34:42


97 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ประชาธิปไตยทางตรง โดยใหพบเมืองมีสวนรวมในการปรึกษาหารือ ออกเสียง ถกเถียง รวมราง กฎหมาย และประชาธิปไตยแบบตัวแทน ซึ่ง พลเมืองเลือกคนอื่นไปถกเถียงและออกฎหมายการมี สวนรวมทางการเมืองนี้ ไมจําเปนวาประชาชนทุกคนจะเขาไปทําหนาที่ของตนในรัฐสภาทั้งหมด แต สามารถมี สวนรวมไดในรูปแบบตางๆ ตอไปนี้ ๑.๑ การมีสวนรวมในรูปแบบของกลุมผลประโยชน เชน สมัชชาคนจน ๑.๒ การมีสวนรวมในรูปแบบของพรรคการเมือง เปนการรวมกลุมกันเพื่อ ไปทําหนาที่ทั้งฝายนิติบัญญัตและฝายบริหารในการรักษา ผลประโยชนของสวนรวม ๑.๓ การมีสวนรวมในรูปแบบของการไปใชสิทธิเลือกตั้ง ถือเปน รูปแบบที่ สําคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ๒. หลักความเสมอภาค (Equality) ประชาธิปไตยถือวา คนเราจะตองมีความเสมอ ภาคกันทั้งในทางสังคม ทางเศรษฐกิจ และในทางการเมือง คือ ทุกคนยอมมีสิทธิเทาเทียมกันภายใต กฎหมาย ในการดํารงชีวิต การใชเสรีภาพในการ แสวงหาความสุข และการมีสวนรวมทางการเมือง ซึ่งความเสมอภาคถือเปนอุดมการณพื้นฐานของประชาธิปไตย อันประกอบดวย ๒.๑ ความเสมอภาคในความเปนมนุษย ไดแก ศักดิ์ศรี เกียรติยศ และ ความสําคัญในคุณคาของความเปนมนุษย ๒.๒ ความเสมอภาคทางกฎหมาย ไดแก การที่บุคคลพึงมีสิทธิในการที่จะ ไดรับการคุมครองจากกฎหมายโดยเสมอภาคกัน ความเสมอภาคในโอกาส คือ บุคคลควรจะมีความ เสมอภาคเทาเทียมกันในการดํารงชีวิตสวนตัวของแตละบุคคล และ ๒.๓ ความเสมอภาคทางการเมือง คือ การที่จะมีสิทธิทาง การเมืองโดย เสมอภาคโดยทั่วหนา ทั้งในดานการออกเสียงเลือกตั้ง การสมัครรับเลือกตั้งในตําแหนงตางๆ ที่ กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ ๓. อิสรภาพและเสรีภาพ (Freedom and Liberty) คือ โอกาสที่ บุคคลเลือกปฏิบัติ ไดในสิ่งที่เปนประโยชนแกคนมากที่สุด โดยไมละเมิดประโยชนของผูอื่น เสรีภาพจึงตองมีขอบเขตและ เหตุผล เสรีภาพที่เปนพื้นฐาน ไดแก เสรีภาพที่เกี่ยวกับบุคคล จะตองเปนไปในลักษณะที่มีความ รับผิดชอบ ดังนั้น ประชาชนที่มีและ ใชเสรีภาพจึงตองมีหนาที่ดวย เชน บุคคลมีเสรีภาพในการที่จะ รักษาชีวิตตนเอง และมีหนาที่ในการรักษาชีวิตของผูอื่น การมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และ ตองเคารพชื่อเสียงของผูอื่น เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง อุดมการณประชาธิปไตยโดยสวนใหญแลวจะเนนในหลักการ ๔ ประการนี้ แตยังมี หลักการอื่นๆปลีกยอยอีกมากมาย เชน หลักการใชเหตุผล หลักความยินยอมหลักนิติธรรม หลัก 02_01-340_.indd 97 17/10/2562 8:34:43


98 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ศีลธรรม หลักการยอมรับเสียงสวนใหญและเคารพเสียงสวนนอย เปนตน โดยสามารถสรุปลักษณะ สําคัญของอุดมการณประชาธิปไตย ไดดังนี้ ๑. ประชาชนเปนเจาของอํานาจอธิปไตย คือ การที่ประชาชนเปนผูมี อํานาจสูงสุด ในรัฐ ๒.ประชาชนทุกคนในรัฐมีความเสมอภาคเทาเทียมกันตามกฎหมาย ตลอดจนมีสิทธิ เสรีภาพในขอบเขตของกฎหมายอยางเทาเทียมกัน ๓. การดําเนินการตางๆของรัฐถือเอาเสียงขางมากเปนเครื่องตัดสิน และเสียงสวน นอยในรัฐจะไดรับความคุมครองทางกฎหมายเพื่อปองกันไมให ประชาชนสวนใหญกดขี่ขมเหงอยาง ผิดกฎหมาย ๔. กระบวนการของประชาธิปไตย วิธีการปกครองซึ่งไดรับความยินยอมพรอมใจ ของประชาชนสวนใหญ ซึ่งแสดงออกในรูปของการเลือกตั้ง การอภิปราย การออกเสียงประชามติ การเสนอรางกฎหมายของประชาชนเปนตน ๑๖ ๔.๕ การแสวงหาผลประโยชนระหวางประเทศ การแสวงหาผลประโยชนระหวางประเทศ หมายถึง การรวมมือกันเพื่อรักษา และปกปอง ผลประโยชนของตนและเปนการระงับกรณีความขัดแยงที่มาจากการ แขงขันทางการเมืองและ เศรษฐกิจระหวางประเทศ การประสานประโยชน ความสําคัญทั้งทางดานการเมือง การทหาร การคา และการทูต อยางไรก็ตามแมจะมีการประสานประโยชน แตก็ยังมีการแขงขัน ความขัดแยง และ สงครามอยู ดังนั้น สังคมโลกจึงมีความจําเปนที่จะตองใหการสนับสนุน และปรับปรุงวิธีการประสาน ประโยชนระหวางประเทศใหมากยิ่งขึ้น ทั้งในปจจุบันและอนาคต การรวมกลุมของประเทศตาง ๆ นั้น เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแยงและประสาน ผลประโยชนระหวางประเทศ นอกจากนั้นยังเปนการถวงดุลอํานาจใหประเทศตาง ๆ มีความเสมอ ภาคเทาเทียมกัน ปจจัยของการรวมกลุมของประเทศตาง ๆ ปจจัยในการรวมกลุมมีหลายประการ ดังนี้ ๑. สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร เชน มีพรมแดนติดตอกัน ๒. ระบบเศรษฐกิจที่เหมือนกันหรือคลายคลึงกัน ๑๖ หลักการของประชาธิปไตย http:/khozaf-shahaan.blogspot.com/๒๐๒๐/๑๐/blog-post ๖๔๑๘.html สืบคนเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 98 17/10/2562 8:34:44


99 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑๑๐ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๓. ระบบการเมืองการปกครองที่คลายคลึงกันจะรวมกลุมเพื่อประสานประโยชน รวมกัน ๔. ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมเปนการรวมกลุมเพื่อสราง ความกาวหนาทาง สังคม การศึกษา วัฒนธรรม ในแตละประเทศใหเทาเทียมกัน ๔.๕.๑ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ มี ๔ ระดับ คือ ๑. เขตการคาเสรี (Free Trade Area) หรือเขตปลอดภาษีมีการยกเวนการเก็บภาษี ศุลกากรใหแกประเทศสมาชิกในกลุม แตจะเก็บภาษีศุลกากร เทาใดก็ไดกับประเทศนอกกลุม ไดแก นาฟตา (NAFTA) และ อาฟตา (AFTA) ๒. สหภาพศุลกากร (Custom Union) ยกเวนการเก็บภาษีศุลกากร และขอจํากัด ทางการคาใหแกประเทศสมาชิกในกลุม และแตละประเทศในกลุมตองกําหนดอัตราภาษีศุลกากรกับ ประเทศนอกกลุมในอัตราเดียวกัน ในขณะนี้ยังไมมีการรวมกลุมประเทศในระดับนี้ เชน ประชาคม เศรษฐกิจยุโรป (EEC) ๓. ตลาดรวม (Common Market) การควบคุมสินคาเขาและ สินคาออกจะถูก ยกเลิกใหแกประเทศสมาชิก และสามารถเคลื่อนไหวโยกยายปจจัยการผลิตในประเทศสมาชิกไดอยาง เสรี เชน ประชาคมยุโรป (EC) ๔. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากมีลักษณะเหมือนตลาดรวมแลว ประเทศสมาชิกยังตองมีนโยบายทางเศรษฐกิจ และสังคมอยาง เดียวกัน เชน กําหนดอัตรา แลกเปลี่ยนเงิน นโยบายภาษีอากรอยางเดียวกัน รวมกัน ตั้งองคกรกลางขึ้นมาเปนผูคอยกําหนด นโยบายและวางแผนเศรษฐกิจใหประเทศสมาชิกยึดถือ เชน สหภาพยุโรป (EU) ๔.๕.๒ การรวมกลุมการเมืองระหวางประเทศ ในอดีตการรวมกลุมความรวมมือทางการเมืองระหวางประเทศเปนการรวมกลุมเพื่อ รักษาความปลอดภัยและความมั่นคงรวมกันเนื่องจากหวาดกลัวภัยคอมมิวนิสต ภายหลังสงครามเย็น สิ้นสุดจึงเปลี่ยนไปเปนความรวมมือในการประสานผลประโยชนในเขตภูมิภาค เชน องคการ สนธิสัญญาปองกันรวมกันในเอเชียอาคเนย (SEATO) ซึ่งพัฒนาไปเปนสมาคมประชาชาติเอเชีย 02_01-340_.indd 99 17/10/2562 8:34:45


100 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ตะวันออกเฉียงใตหรือสมาคมอาเซียน (ASEAN) องคการสนธิสัญญาปองกันแอตแลนติกเหนือ (NATO) เปนตน๑๗ ๑. ผลประโยชนแหงชาติ ไมวารัฐตั้งอยูบนระบอบการปกครองรูปแบบใด บรรดา รัฐทั้งหลายตางถือวาผลประโยชนแหงชาติคือปจจัยหลักของการ ดําเนินนโยบายและการมีปฏิสัมพันธ กับตัวแสดงอื่น ๆ และเปนที่ถกเถียงกันจนถึงทุกวันนี้วา แนวคิดนี้ถูกตองหรือไมอยางไร ๒. นิยามผลประโยชนแหงชาติDonald E. Nuechterlein - ผลประโยชนแหงชาติ คือ “สิ่งที่จัดวาเปนความตองการและความมุงหวังของประเทศ ในการดําเนินความสัมพันธกับรัฐ อธิปไตยอื่นๆที่ประกอบกันเปนสภาวะแวดลอมของซาติดังกลาว คือ อะไรก็ตามที่ประเทศนั้นเห็นวาสมควรแกเพิ่มพูน รักษาและปกปองไว ซึ่งอาจเปนความ มั่นคง การอยูดีกินดี คานิยมหรืออุดมการณที่ยึดถือ เกียรติภูมิ เค.เจ.โฮลสติ กลาววา ผลประโยชน แหงชาติ อาจหมายถึง ๑. สิ่งที่นาจะเปนหรือควรจะเปน ๒. สิ่งที่แสวงหาอยูตลอดมา ๓. สิ่งที่ผูกําหนดนโยบายบอกวาเปนผลประโยชนแหงชาติ ๓. ระดับของผลประโยชน เค.เจ.โฮลสติ แบงผลประโยชนแหงชาติเปน ๓ ระดับ๑๘ ๑. ระดับแกน คือ เรื่องการรักษาตัวรอด การปองกันเขตแดนที่เปนจุด ยุทธศาสตร ฯลฯ ๒. ระดับกลาง คือ การตอบสนองความ ขอเรียกรองของ มหาชน ของ เอกชน ผานการดําเนินการระหวางประเทศ การเพิ่มเกียรติภูมิของรัฐ และการขยายตัวในรูปแบบตาง ๆ เชน จักรวรรดินิยม เปนตน ๓. ระดับกวาง คือ การเรียกรองที่มีเปาหมายทางแนวคิด ทัศนคติบางอยาง เชน ตองการใหประเทศอื่นๆพนจาก “ความดอยพัฒนา” ตัวอยาง ประเทศสหรัฐฯ ในปจจุบัน เรียกรองเรื่องการสงเสริมประชาธิปไตย เนื่องจากสหรัฐฯ เชื่อวาหากนานาชาติปกครองดวยระบอบ ๑๗ การรวมกลุมการเมืองระหวางประเทศhttp://conflictandcoordination ๖๑๐.blogspot.com/ ๒๐๑๒/๑๑/blog-post_๓๗๙๐.html สืบคนเมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๐ ๑๘ ชาญชัย คุมปญญาลักษณะทั่วไปของความสัมพันธระหวางประเทศ เอกสาร ประกอบคําบรรยาย รหัสวิชา ๒๕๕๑๑๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ 02_01-340_.indd 100 17/10/2562 8:34:46


101 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑๑๒ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ประชาธิปไตยแลว สหรัฐฯ จะมีความมั่นคง ไมเกิดความขัดแยงกับลัทธิคอมมิวนิสตในสมัยสงคราม เย็น ทําใหเศรษฐกิจประเทศมั่ง นโยบายเกิดจากการตีความผลประโยชนแหงชาติและสรางเปนหลัก คิดหรือ แนวทางเพื่อใหไดมาซึ่งผลประโยชนแหงชาติไมมีรัฐบาลใดออกนโยบายที่ขัดแยงหรือไมตอบสนองตอ ผลประโยชนแหงชาติแตในระดับปฏิบัติ การดําเนินนโยบายตางประเทศหลายอยางไมอยูในสายตา หรือการรับรูของประชาชนทั่วไป แตอยูในกลุมเล็ก ๆ ที่เกี่ยวของการดําเนินนโยบายบางครั้งอาจไม สอดคลองกับผลประโยชนแหงชาติก็เปนได ความสัมพันธระหวางผลประโยชนแหงชาติของแตละ ประเทศ กอเกิดเปนความสัมพันธหลายรูปแบบ ไดแก รวมมือกันระหวางประเทศแขงขันกัน เชน การ แขงขันทางการคา ตางฝายตางตองการขายสินคาใหอีกประเทศ หนึ่ง ขัดแยงกันความขัดแยงระหวาง ประเทศบอยครั้งเกิดจากความขัดกันของผลประโยชนแหงชาตินี่เอง ไมเกี่ยวของกัน คือ ตางฝายตาง ไมไดไมเสียอะไร ตางไมมีสวนเกี่ยวของกับประเด็นนั้น ๆ จึงไมมีการติดตอสัมพันธกันในรูปแบบใด รูปแบบหนึ่ง หรือมีสัมพันธนอย เปนเพียงพิธีการ ๔.๖ สิ่งแวดลอมของปฏิกิริยาระหวางประเทศ หลากหลายทางชีวภาพมีความหมายครอบคลุมถึงความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิตนานาชนิด (Species Diversity) ไมวาจะเปนพวกจุลินทรียพืชสัตวรวมทั้ง มนุษยซึ่งสิ่งมีชีวิตแตละชนิดลวนมี องคประกอบทางพันธุกรรมที่แตกตางกันมากมาย (Genetic Diversity) เพื่อใหสอดคลองเหมาะสม กับสภาพที่อยูอาศัยในแตละทองถิ่น อันเปนระบบนิเวศที่ซับซอนและหลากหลายในบริเวณตาง ๆ ของโลก (Ecological Diversity)ประเทศไทยตั้งอยูในบริเวณเขตภูมิศาสตรแบบรอนชื้น (Tropical Zone) จึงมี ระบบนิเวศหลายประเภทไมวาจะเปนระบบนิเวศบนบก (Terrestrial Ecosystem) หรือ ระบบนิเวศทางน้ํา (Aquatic Ecosystem) สงผลใหเกิดความหลากหลายทาง ชนิดพันธุของสิ่งมีชีวิต ที่อยูอาศัยในระบบนิเวศเหลานี้เนื่องจาก ลักษณะที่แตกตางกัน ๑. หลักการและสาระสําคัญ อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทาง ชีวภาพเปนความตกลง ดานสิ่งแวดลอมระหวางประเทศที่มีเจตนารมณใหรัฐบาลทุก ประเทศเครงครัดตอการรักษาวินัย สิ่งแวดลอมซึ่งหมายถึงแมมีความตองการอยาง มากที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แตก็ตองไม ละเลยการอนุรักษธรรมชาติดวย อนุสัญญามีวัตถุประสงคหลัก ๓ ประการ คือ ๑.๑ เพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ ๑.๒ เพื่อใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน ๑.๓ เพื่อแบงปนผลประโยชนที่ไดจากการใชทรัพยากรพันธุกรรม อยางเทาเทียม และยุติธรรมเนื้อหาของอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพมี ลักษณะเปนกรอบ นโยบายที่ 02_01-340_.indd 101 17/10/2562 8:34:47


102 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑๑๓ กวางซึ่งในการดานดําเนินงานแตละประเทศจะตองจัด ทานโยบายมาตรการและแผนการดําเนินงาน ขึ้นเองดังนั้นอนุสัญญาฯจึงไดเตรียม กลไกการเงินซึ่งคือกองทุนสิ่งแวดลอมโลกไวสนับสนุนการ ดําเนินงานดังกลาวของประเทศกําลังพัฒนาเพื่อใหสัมฤทธิ์ผลดังวัตถุประสงคของอนุสัญญา ๒. เพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาฯ กําหนดใหแตละประเทศภาคีดาน ดําเนินการดังนี้ ๒.๑ ดานดําเนินการใหมากที่สุดเทาที่เปนไปไดและเทาที่เหมาะสม เพื่ออนุรักษ ความหลากหลายทางชีวภาพในถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติอันไดแกการ จัดตั้งระบบพื้นที่คุมครอง หรือพื้นที่ซึ่งตองการมาตรการพิเศษเพื่อสงวนรักษาความ หลากหลายทางชีวภาพและกําหนด มาตรการเฉพาะเรื่องอีกมากกวาสิบมาตรการ ๒.๒ อนุรักษนอกถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติโดยวางมาตรการบํารุง และ ฟนฟูชนิด พันธุที่ใกลจะสูญพันธุและนากลับเขาสูถิ่นที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ อยางยั่งยืน ๒.๓ เพื่อใหมีการใชประโยชนองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพ อยาง ยั่งยืนอนุสัญญาฯ กําหนดใหแตละภาคี ๑. ตองผสานการอนุรักษกับการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืน ใหเขากับนโยบายและแผนของชาติ ๒. ตองสนับสนุนชุมชนทองถิ่นในการจัดทาและปฏิบัติตามมาตรการ แกไข ฟนฟูในพื้นที่เสื่อมโทรม ๓. ตองสงเสริมความรวมมือระหวางหนวยงานรัฐและภาคเอกชนในการ พัฒนาวิธีการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืน ๒.๔ เพื่อแบงปนผลประโยชนที่ไดจากการใชทรัพยากรพันธุกรรม อยางยุติธรรมและ เทาเทียมอนุสัญญาฯไดระบุไวอยางชัดเจนวา “อํานาจในการ พิจารณากําหนดการเขาถึงทรัพยากร พันธุกรรมขึ้นอยูกับรัฐบาลแหงชาติ” และ กําหนดใหภาคีตอง ๑. พยายามสรางเงื่อนไขเพื่ออานวยแกการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมหาก เปนการใชประโยชนอยางเหมาะสมตอสิ่งแวดลอมนอกจากนั้น ๒. วางกลไกในการตอรองผลประโยชนบนเงื่อนไขการตกลงรวมกันระหวาง ผูใหและผูขอใชพันธุกรรม ๓. ใหประเทศซึ่งเปนผูใหทรัพยากรพันธุกรรมไดรับถายทอดเทคโนโลยีซึ่ง ใชทรัพยากรพันธุกรรมนั้นจากประเทศผูรับทั้งนี้บนพื้นฐานแหงความยุติธรรมและความเสมอภาค 02_01-340_.indd 102 17/10/2562 8:34:48


103 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓. ประเทศสมาชิกตองสนับสนุนทางการเงิน๑๙ ในปจจุบันวิกฤตการณทางดาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนปญหาสําคัญที่ประเทศตาง ๆ ไดเผชิญอยูที่เปนผลมาจาก การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรโลกและการเปลี่ยนแปลง ทางดานเทคโนโลยีวิทยาการที่ทําใหเกิด การใชทรัพยากรธรรมชาติจนทําใหเกิดความไมสมดุลของทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเกิดความเสื่อม โทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ปญหาตาง ๆ เหลานี้นําไปสูการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อความยั่งยืน โดยเฉพาะในการทําสนธิสัญญาตาง ๆ หรือการทําความรวมมือและขอตกลงระหวางประเทศเพื่อ นําเอา มาตรการตาง ๆ เหลานี้มาใชในการปองกันและแกไขวิกฤตการณทางดานสิ่งแวดลอม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ตอไปประเทศในทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียไดเขารวม เปนสมาชิกกลุมใน การแกไขวิกฤตการณทางดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ที่สําคัญไดแก ๑. อนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปา และพืชปาที่ใกลจะสูญ พันธุ (Convention on International Train Endangered Species of Wild Fauna an Flora ๑๙๗๓ หรือ CITES) อนุสัญญานี้มีวัตถุประสงคอนุรักษสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุใหความสําคัญ กับการใชประโยชน ของสัตวปาและพันธุพืชอยางเหมาะสมและยั่งยืนควบคุมการคาระหวางประเทศ ซึ่งสัตวปาและพืชปาที่ใกล จะสูญพันธุหรือถูกคุกคามตลอดจนผลิตภัณฑของสัตวปาและพืชปามีการ สรางกลไก ที่มีเครือขายทั่วโลกเพื่อควบคุมการคาระหวางประเทศและสรางระบบการออกใบอนุญาต ในการนําเขาสงออกนําผานหรือสงกลับออกไป เพื่อปองกันการสูญพันธุ ของสัตวปาและพืชปาที่กําลัง จะสูญพันธุ โดยมีมาตรการควบคุมและออกกฎหมาย ภายในแตละประเทศเพื่อรองรับหลักการของ อนุสัญญากําหนดกลุมของชนิดพืชพันธุ และสัตวตามสถานภาพการอยูรอดซึ่งประเทศที่ฝาฝน ขอบังคับของอนุสัญญาฯ อาจไดรับผลกระทบในรูปแบบการกีดกันทางการคาจากสมาชิกของ อนุสัญญาฯทั่วโลก ๒. อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ(Convention on Biological Diversity) (CBD) เปนอนุสัญญาที่มีวัตถุประสงคไดแกการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพการใช ประโยชน จากองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนและการ แบงปนผลประโยชน ที่ไดจากการใช ทรัพยากรพันธุกรรมอยางยุติธรรมและเทาเทียมกัน หมายถึง การใชประโยชนโดยการ เขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมและการถายทอดเทคโนโลยีที่เกี่ยวของอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงสิทธิ เหนือทรัพยากรและ เทคโนโลยีและการใหการสนับสนุนดานการเงินเปนอนุสัญญาที่เสนอกลไกในการ อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศและระหวางประเทศ ๑๙ ปฏิกิริยาระหวางประเทศhttp://giournatksu.ac.th/file/ ๒๐๑๕๐๗๒๘๑๑๕๗๖๗๕๖๐๐.pdf สืบคนเมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 103 17/10/2562 8:34:48


104 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑๑๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๓. อนุสัญญาวาดวยการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําหรืออนุสัญญาแรมซาร (Convention on Wetlands of International Importance especially as Waterfawk Habitat ไดถูกกําหนด ขึ้นจากการประชุมเพื่อรับรองอนุสัญญาที่เมือง แรมซารประเทศอิหรานเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยเริ่มจากการเห็นความสําคัญของนกน้ําจากนานาประเทศจึงพิจารณาถึงความสําคัญของ พื้นที่ชุมน้ําที่ เปนแหลงที่อยูอาศัยของนกน้ํามีวัตถุประสงคเพื่อการอนุรักษและการใชประโยชน พื้นที่ ชุมน้ําอยางชาญฉลาดที่กระจายอยูตามประเทศตางๆ ซึ่งประเทศสมาชิกตองปฏิบัติตามพันธกรณีใน อนุสัญญาฯ ๔. อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ vaslan (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage ๑๙๗๒) เปนอนุสัญญาที่มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรวมมือ ระหวางประเทศตาง ๆ แล ะ ประชาชนในการปกปองมรดกโลกอยางมีประสิทธิภาพได มีการจัดตั้งคณะกรรมการมรดกโลก (The World Heritage Committee) เพื่อดูแล แหลงวัฒนธรรมและธรรมชาติที่มีความสําคัญระดับโลก โดยมีหนาที่คัดเลือก โบราณสถานหรือแหลงโบราณคดีหรือแหลงธรรมชาติที่ทรงคุณคาจะไดเปน มรดกโลก และบริหารจัดการกองทุนมรดกโลก(World Heritage Fund) เพื่อเปนแหลงเงินทุน ในการ สนับสนุนการอนุรักษแหลงวัฒนธรรมและแหลงธรรมชาติที่ไดรับการขึ้น ทะเบียนเปนมรดกโลกแลว ๔.๗ การตอรองระหวางประเทศ การเจรจาตอรองระหวางประเทศ ตองเปนบุคคลที่จะปฏิบัติตามกฎหมาย ขั้นตอนและ กฎระเบียบทางการเมืองมากกวาหนึ่งประเทศกฎหมายและวิธีการเหลานี้ มักจะไมสอดคลองกันหรือ แมกระทั่งโดยตรงของฝายตรงขามในธรรมชาติขอตกลงทางธุรกิจระหวางประเทศควรมีลักษณะเปน ความแตกตางเหลานี้ คําสั่งอนุญาโตตุลาการ ขอกําหนดของกฎหมายและ Havens ภาษีควรจะ กําหนดไวในสัญญาขณะนี้มีอยูที่นี่ คุณลักษณะที่พบมากที่สุดและองคประกอบที่จะตองนํามา พิจารณาในขณะที่ทําการเจรจาระหวางประเทศการปรากฏตัวของสกุลเงินที่แตกตางกันควรจะนําเขา บัญชี เปนคาสัมพัทธของสกุลเงินที่แตกตางกันจะไมคงที่ในราคาที่คุมคาที่เกิดขึ้นจริงอาจ แตกตางกัน และสงผลใหเกิดความสูญเสียที่ไมคาดคิดในหรือกําไรแตละรัฐบาลมี แนวโนมที่จะควบคุมการไหลของ สกุลเงินในประเทศและตางประเทศของตน ดังนั้น ขอตกลงทางธุรกิจควรมองถึงความตั้งใจของ รัฐบาล ที่จะทําใหสกุลเงินของตนที่มีอยู นโยบายบางอยางของรัฐบาลอาจเปนอันตรายเชนกัน รัฐบาลมักจะมีบทบาทสําคัญในการดําเนินธุรกิจในตางประเทศอธิปไตย ของรัฐบาลที่ กวางขวางสามารถสงผลกระทบตอกระบวนการเจรจาตอรอง ภาวะแทรกซอนทางกฎหมายนอกจากนี้ 02_01-340_.indd 104 17/10/2562 8:34:49


105 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ยังอาจตั้งอยูใน(Ventures International) มีความเสี่ยงตอความเสี่ยงทางการเมืองและเศรษฐกิจ ความเสี่ยงเหลานี้จําเปนตองมีการเจรจาตอรองที่จะมีความรูและความเขาใจสังคม ประเทศที่แตกตางกันมีอุดมการณที่แตกตางกันเกี่ยวกับการลงทุนภาคเอกชนมีกําไรและสิทธิ สวนบุคคล การเจรจาตอรองที่มีประสิทธิภาพจะตอง นําเสนอขอเสนอที่ยอมรับอุดมการณไปที่อื่น ๆ ในที่สุดความแตกตางทางวัฒนธรรม เชนภาษาและคานิยมการรับรูและปรัชญาอาจสงผลใหมี ความหมายแตกตางกันมาก ตามวัฒนธรรมและบรรทัดฐาน ผูเจรจาตอรองระหวางประเทศจะตอง ตระหนักถึง เรื่องการเจรจาตอรอง ๔.๗.๑ บทบาทของหนวยงานระหวางประเทศในการเจรจา บทบาทของหนวยงานระหวางประเทศอยูในขั้นตอนการเจรจาตอรองจะ ขาดไมได หนวยงานที่มีบทบาทสําคัญ ในการหาการเจรจาตอรองเปนมิตรและเปน ประโยชนรวมกัน องคกร เชน องคการการคาโลกมีบทบาทสําคัญในการทําใหบรรษัทขามชาติพบวาเปนทางออกที่ดีไปสูขอ พิพาทระหวางประเทศของตน ความตองการของหนวยงานดังกลาวกลายเปนสิ่งสําคัญสวนใหญอยูใน พื้นที่สามเมื่อธุรกิจที่ไม คุนเคยกับปญหาและกฎระเบียบที่อยูในมือ ในหลายกรณีการเจรจาทางธุรกิจเกิดขึ้นในสถานการณและสถานที่ที่ไมคุนเคยใหกับ องคกร การเจรจาเหลานี้นําผูจัดการออกจากเขตความสะดวกสบายของพวกเขาและเขาไปในดินแดน ที่ไมคุนเคย บอยครั้งที่ผูบริหารไมอาจจะคอนขางมีความรูในเรื่องกฎหมายและวัฒนธรรมใน สถานการณเชนนี้หนวยงานระหวางประเทศ ที่สามารถมีบทบาทใหญ ถาผูจัดการองคกรไมแนใจของ ปญหาภายใตการสนทนา หรือไมทราบกฎระเบียบที่สมบูรณแบบของเกมที่หนวยงานอาจจะคอนขาง เปน ประโยชนในการใหบริการมือชวย เมื่อปญหาของเวลาหรือระยะทางที่มีอยูในกระบวนการหากการเจรจาจะเกิดขึ้นใน ดินแดนที่ไมคุนเคยศุลกากรและกฎระเบียบโดยทั่วไปมักจะไมรูจักกับผูมีอํานาจตัดสินใจในการบริหาร จัดการที่สําคัญ ในกรณีนี้เปนหนวยงานระหวาง ประเทศอาจจะมีประโยชนนอกจากนี้ยังใชเมื่อ ผูจัดการขององคกรอยูภายใตการกําหนดบังคับ เมื่อผูจัดการเหลานี้ไมไดมีเวลาและทรัพยากรที่จะพบ กับบุคคลอื่น ในสถานที่หางไกลหรือไมสามารถมีสวนรวมในทุกขั้นตอนในกระบวนการที่พวกเขาจะ คอนขางไมนาจะเปนตัวแทนของตัวเองไดดี ในสถานการณเชนนี้ยังเปนหนวยงาน ระหวางประเทศ อาจเติมเต็มชองวางเมื่อมีความสัมพันธที่ไมดีกับคูเจรจาหากองคกร จะกลัวที่จะมีการเจรจาตอรองกับ บุคคลที่พวกเขาไดปะทะกันกอนหนานี้แลว หนวยงานระหวางประเทศอาจมีบทบาทสําคัญ หนวยงาน ที่อาจสงบทั้งสองฝายและ ใหแนใจวาการเจรจาตอรองทางธุรกิจยังคงเปนเรื่องของธุรกิจ 02_01-340_.indd 105 17/10/2562 8:34:50


106 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ เปนกลยุทธที่ดีในกรณีของบริบททางการทูตที่ถกเถียงกันเชน การเจรจาหยุดยิง ระหวางสงครามกองทัพในโลกธุรกิจถาเคียดแคนระหวางบริษัท และอีก กวาสัญญาธุรกิจคือฝงลึกและ ตอเนื่องทั้งสองฝายอาจไดรับผลประโยชนโดยใชตัว แทนที่มีประสบการณที่จะยายกระบวนการเจรจา ตอรองไปขางหนาหากธุรกิจคิดวา พวกเขาจะไมสามารถที่จะไลตามผลประโยชนทางธุรกิจของพวก เขาไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีโอกาสของพฤติกรรมกาวราวในดานอื่น ๆ หนวยงานระหวางประเทศอาจลดชองวางในการหามิตรและชนะการเจรจาตอรอง ๔.๗.๒ ดานจริยธรรม ในฐานะที่เปนทางการเมืองกฎหมายเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่ แตกตางไปจาก บรรทัดฐานประชาชาตินี้ถึงประชาชาติประเด็นดานจริยธรรมตางๆเพิ่มขึ้นกับพวกเขา การปฏิบัติที่ ปกติอาจจะมีจริยธรรมในประเทศใดประเทศหนึ่ง แตผิดจรรยาบรรณในการควบคุม ผูจัดการขามชาติ จะตองมีความไวตอความแตกตางที่แตกตางกันเหลานี้และสามารถที่จะเลือกการดําเนินการทาง จริยธรรมตาม ในธุรกิจระหวางประเทศที่สําคัญที่สุดประเด็นดานจริยธรรมที่ เกี่ยวของกับการ ปฏิบัติงานสิทธิมนุษยชนสิ่งแวดลอมบรรทัดฐานการทุจริตและภาระ ผูกพันทางจริยธรรมขององคกร ระหวางประเทศ ๔.๗.๓ แนวทางการจางงานและจริยธรรม ประเด็นดานจริยธรรมอาจจะเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานในหลายประเทศเงื่อนไขใน ประเทศเจาภาพอาจจะมากรองลงมาจากผูที่อยูในประเทศบานขามชาติ หลายคนอาจจะชี้ใหเห็นวา การจายเงินและการทํางานของเงื่อนไขจะตองมีที่ คลายกันทั่วประเทศแตไมมีใครใสใจจริงเกี่ยวกับ ควอนตัมของความแตกตางนี้ ๔.๗.๔ สิทธิมนุษยชน องคกรระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีตอประเทศไทย ๑. คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (The United Nations Human Rights Council) ไดกอตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิ มนุษยชนแหงสหประชาชาติ (Un commission for human rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ ประกอบดวยสมาชิก 02_01-340_.indd 106 17/10/2562 8:34:51


107 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ทั้งหมด ๔๗ ประเทศ วัตถุประสงคขององคกร คือ การพัฒนากลไกสิทธิมนุษยชนเปนเอกภาพมากขึ้น สําหรับประเทศไทยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติไดเขามามีบทบาทใน การเผยแพร ความรูในเรื่องสิทธิมนุษยชนใหแพรหลายมากขึ้น เพื่อตรวจสอบ ติดตาม ใหขอแนะนําและเผยแพร รายงานกรณีสิทธิมนุษยชน สํานักงานตั้งอยูที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด ๒. องคกรนิรโทษกรรมสากล (Al: Amnesty international) เปนองคกร อาสาสมัครระหวางประเทศที่ทํางานดานมนุษยชน โดยมีวัตถุประสงค หลัก คือ ยุติการละเมิด มนุษยชนและพยายามที่จะหาวิธีที่เหมาะสมในการชวยเหลือผู ที่ตกเปนเหยื่อของการละเมิดสิทธิ มนุษยชน เชน ปลดปลอยนักโทษทางความคิดอยาง ไมมีเงื่อนไข ซึ่งไดแกบุคคลที่ถูกกักขังเรื่องสีผิว เชื้อชาติ ภาษาหรือศาสนา โดยที่ นักโทษไมเคยใช หรือสนับสนุนที่จะใชความรุนแรง เปนตน ปจจุบัน มีสมาชิกทั้งหมด ประมาณ ๑๐๐ ประเทศทั่วโลก และมีสํานักงานในประเทศไทยตั้งอยูที่เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ๓. องคกรแรงงานระหวางประเทศ (ILO : Internatonal Labour Orgenization) องคกรแรงงานระหวางประเทศเปนองคกรที่สงเสริมการเคารพสิทธิ มนุษยชน ความยุติธรรมในสังคม และสนับสนุนใหเกิดความเปนธรรมในการใชแรงงาน รวมทั้งชวยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม องคกรแรงงาน ระหวางประเทศเปนองคกรแรกขององคการชํานัญพิเศษองคการ แรกของ สหประชาชาติ โดยประเทศไทยก็เปนหนึ่งที่รวมกอตั้งปจจุบันมีสมาชิกทั้งหมดจํานวน ๑๗๘ ประเทศจากทั่วโลก ๔. มูลนิธิความรวมมือเพื่อตานการคาหญิง (GAATW : Global Alliance Against Traffic in woman) มูลนิธิความรวมมือเพื่อตอตานการคาหญิง เปนเครือขายขององคการพัฒนา เอกชนจากทั่วทุกภูมิภาคของโลก ที่ทํางานในประเด็นปญหาผูหญิง เด็กและผูชายที่ถูกละเมิดสิทธิ มนุษยชนจากการคามนุษย โดยมีเปาหมายหลัก คือ เพื่อตอตานการคุกคามแรงงานหญิงที่ยายถิ่นจาก ระบบ ตลาดแรงงานไมเปนทางการในปจจุบัน รวมทั้งความปลอดภัยจากหารยายถิ่น ปกปอง สิทธิ ของแรงงานขามพรมแดน ปจจุบันมีองคกรที่เปนสมาชิกประมาณ ๘๐ ประเทศ ทั่วโลก ๕. มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็ก (ECPAT:End child Prostitution In Asia Tourism) มูลนิธิเพื่อการยุติการแสวงหาประโยชนทางเพศจากเด็กเปนองคกรระหวาง ประเทศ ที่มีหนาที่ในการตอตานการลวงละเมิดทางเพศกับเด็กทุกรูปแบบ พรอมทั้งกระตุนในสาธารณชนได ตระหนักถึงสถานการณความรุนแรง ของธุรกิจการคาประเวณีและการทองเที่ยว อันเปนสาเหตุสําคัญ ที่ทําใหเด็กถูกเอาเปรียบทางเพศ เชน เพื่อเสนอทางเลือกอื่นใหครอบครัวที่มีความเสี่ยงในการเขาสู กระบวนการคาประเวณี เปนตน 02_01-340_.indd 107 17/10/2562 8:34:52


108 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑๑๙ กลาวโดยสรุป ประเทศไทยไดมีบทบาทดําเนินงานเกี่ยวกับเรื่องเพศและ การคา ประเวณี ในพื้นที่ภาคเหนือ ของประเทศไทยและไดสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานโครงการ รณรงคปองกันเด็กเขาสูกระบวนการการคาประเวณีใน ภาคเหนือของไทย อันประกอบดวยจังหวัด เชียงราย เชียงใหม ลําพูน และพะเยา สํานักงานในไทยตั้งอยูที่จังหวัดเชียงราย ๔.๘ สรุปทายบท รัฐเปนสถาบันการเมืองของมนุษย ดังนั้น รัฐจึงจําเปนตองมีมนุษยหรือ ประชากรจํานวนหนึ่ง หากไมมีประชากรแลวรัฐจะเกิดมีขึ้นไมได แตจํานวนประชากร ของแตละรัฐยอมมีจํานวนแตกตางกัน ไปและไมจําเปนตองมีเชื้อชาติภาษาเดียวกันแตตองมีเจตนารวมกันในความปรารถนาที่จะอยูรวมกัน ภายใตการปกครองหรือกฎเกณฑเดียวกันดินแดน (Territory) รัฐตองมีดินแดนรัฐจะดํารงอยูไมไดถา ไมมี ดินแดนเปนของตนเองดินแดนจึงเปนเงื่อนไขอันจะขาดเสียมิไดของรัฐดินแดนของรัฐ จะตองมี อาณาเขตที่แนนอน เพื่อความเปนเอกภาพแหงอํานาจในรัฐและมีความเปนอิสระบุคคลทุกคนที่อยูบน ดินแดนของรัฐใดยอมอยูใตบังคับแหงกฎเกณฑและภายใต ผูปกครองของดินแดนของรัฐนั้นดินแดน ของรัฐหมายรวมถึงเขตแดนทางพื้นดิน พื้นน้ํา และอากาศดังนี้ พื้นดิน หมายถึง พื้นแผนดิน ซึ่งอาจ เปนผืนแผนดินใหญหรือเปน แผนดินบนเกาะแลวแตกรณีเขตพื้นดินของรัฐหนึ่งอาจไมติดตอกัน ทั้งหมดก็ได เชน หมูเกาะฮาวาย ซึ่งเปนมลรัฐหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ไมไดอยูบนทวีปอเมริกา เชนเดียวกับมลรัฐอื่น ๆ เปนตน พื้นน้ํา นอกจากพื้นน้ําที่อยูในพื้นแผนดินภายในของรัฐแลว รัฐที่มี พื้นดินติดตอกับฝงทะเล ยอมขยายเขตแดนของตนออกไปในทะเลได ซึ่ง เรียกเขตแดนดังกลาววา “ทะเลอาณาเขต” (Territorial Sea) ซึ่งมีความกวาง ๑๒ ไมล ทะเล อากาศ อํานาจของรัฐครอบคลุม ไปถึงพื้นอากาศเหนือพื้นดินและพื้นน้ําที่เปนทะเลอาณาเขตดวยเนื่องจากนานฟามีความสําคัญตอการ รักษาความมั่นคงของรัฐ เปนอยางยิ่งการบินผานนานฟาโดยมิไดรับอนุญาตลวงหนาถือวาเปนการ ละเมิด ดินแดน ซึ่งอาจถูกยิงหรือถูกสกัดกั้นได รัฐตางๆ จึงจัดทําขอตกลงเกี่ยวกับการบินผาน นาน ฟาของแตละรัฐ การสถาปนาความสัมพันธกับรัฐอื่นหรือตัดสัมพันธไมตรีการประกาศสงครามหรือ ประกาศสันติภาพกับรัฐอื่นรัฐบาล (Government) รัฐบาลเปน องคกรของรัฐซึ่งทําหนาที่ดําเนินการ ทางการเมืองและการปกครองเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคตามที่รัฐตองการรัฐบาล เปนองคกรซึ่งทํา หนาที่พิทักษความเปนอันหนึ่ง อันเดียวกันของประชาชนในรัฐเปนองคกรที่เสนอนโยบายและดําเนิน นโยบายที่จําเปน เพื่อสนองตอบความตองการและรักษาผลประโยชนของประชาชนในรัฐ สถาปนา ความยุติธรรมและปองกันการรุกรานจากรัฐอื่น รัฐบาลเปนองคกรเพื่อความมุงหมายรวมกันของ ประชาชน และเปนองคกรของสวนรวมไมใชของบุคคลกลุมหนึ่งหรือชน ชั้นหนึ่ง 02_01-340_.indd 108 17/10/2562 8:34:53


109 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation อํานาจทางทหารมีวัตถุประสงคของอํานาจทางการทหาร เพื่อสนับสนุนการ ดําเนินการทางการทูตใหประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย เชน เพื่อรักษาสถานภาพเดิม เพื่อปองกัน ตนเอง เพื่อรักษาดุลอํานาจทางการเมืองและเพื่อตอตานภัยคุกคามจากรัฐ อื่นเพื่อแสดงถึงกําลัง อํานาจเปนการพยายามทั้งมิตรและศัตรูรูถึงพลังทางการทหารที่ ตนอาจนํามาใชในกรณีที่มีเหตุการณ ใดที่ตนไมพึงปรารถนาเกิดขึ้น และเพื่อใหรัฐอื่น คระหนักถึงความสามารถและความตั้งใจจริงของตน ในการเผชิญกับปญหา เพื่อไมให ประเทศที่คิดจะขยายอิทธิพลของตนประสบความสําเร็จในการ รุกราน 02_01-340_.indd 109 17/10/2562 8:34:54


110 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑๒๑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เอกสารอางอิงประจําบท ๑.๑ หนังสือ โกวิท วงศสุรวัฒน มปป. หลักรัฐศาสตร.ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสถานสํานัก ธรรมศาสตร และการเมืองภาควิชารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๔๒. ชาญชัย คุมปญญาลักษณะทั่วไปของความสัมพันธระหวางประเทศ เอกสารประกอบคําบรรยายรหัส วิชา ๒๕๕๑๑๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๕. จรูญ สุภาพ.ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจเปรียบเทียบ พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิชจํากัด , ๒๕๓๘ ณัชชาภัทร อุนตราจิต.รัฐศาสตร. พิมพครั้งที่ ๒.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยม,๒๕๕๘. ดําริห บูรณะนนท ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตรและกฎหมายมหาชน.กรุงเทพฯ สํานักพิมพนิติธรรม, ๒๕๔๔. ทินพันธุ นาคะตะรัฐศาสตร: ทฤษฎี แนวความคิด ปญหาสําคัญและแนวทาง ศึกษาวิเคราะห การเมือง.พิมพครั้งที่ ๔.โครงการเอกสารและตํารา :สมาคมรัฐประศาสนศาสตร นิดา, ๒๕๕๑. บรรพต วีระสัย, อุดมการณทางการเมือง, ในเอกสารประกอบการสอนชุดวิชารัฐศาสตรและการ บริหารหนวย ที่ ๑ - ๓. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,กรุงเทพ : หางหุนสวนจํากัด ป. สัมพันธพาณิชย, ๒๕๒๕. มัสลัน มาหะมะอิสลามวิถีแหงชีวิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร: สถาบันวิจัยระบบ สุขภาพภาคใต,๒๕๕๑. เรืองวิทย เกษสุวรรณ. หลักรัฐศาสตร, พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ :บพิธการพิมพจํากัด. ๒๕๕๔ วรทิพย มีมาก ชีวินทร ฉายาชวลิต.หนาที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข, กรุงเทพฯ รําไทยเพรส จํากัด, ๒๕๔๗. สุกรี หลังปูเตะ เอกสารประกอบการสอนวิชา ๒๐-๒๐๑ หลักการบริหารและ ปกครองรัฐในคณะศิลปะศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลาม 02_01-340_.indd 110 17/10/2562 8:34:55


111 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ยะลา, ๒๕๔๔ . สิทธิพันธ พุทธทุน. ทฤษฎีพัฒนาการเมือง กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง ๒๕๒๖. อานนท อาภาภิรม.รัฐศาสตรเบื้องตน. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร , ๒๕๕๕ ๑.๒ สื่ออิเล็กทรอนิกส การรวมกลุมการเมืองระหวางประเทศ http://confictandcoordination ๖๑๐.blogspot.com/๒๐๑๒/๑๑/blog-post_๓๗๙๐.html สืบคนเมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๐. ก า ร ค ว บ คุ ม พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อง รั ฐ https://sites.google.com/site/thaniyatru/bth-thi๑ /kar- khwbkhum-phvtikrm ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๐ ชํานาญ จันทรเรือง ประชาธิปไตยทุนนิยม และสังคม นิยม,๒๕๕๘.http://www.nidambe๑๑. net/ekonomiz/๒๐๐๕q๔/ article๒๐๐๕oct๑๒p๑๐.htm ,สืบคนเมื่อ ๑๖ ก.ค.๒๕๖๐. เมธา มาสขาว.n.d.สังคมนิยม-ประชาธิปไตยในประเทศไทย http://www.midnightuniv.org/midnightc oooaaadio.html สืบคนเมื่อ ๑๖ ก.ค.๒๕๖๐, ปฏิกิริยาระหวางประเทศ http://gjournal.kku.ac.th/file/๒๐๑๕๐๒ ๒๘_๑๑๕๗๖๗๖๐๐pdf สืบคน เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐. ลิขิตรี ระเวคิน.ลัทธีเสรีนิยม และประชาธีปไตย, ๒๕๕๑http://www.siamrath.co.th/UlFontArtictedetail.aspx?nid= ๘๙๖&acid= ๘๙๖ สืบคนเมื่อ ๕ ก.ค. ๒๕๖๐. หลักการของประชาธิปไตย http://khazaft-shahaan.blogspot.com/ ๒๐๑๐/๑๐/blog-post_ ๖๔๑๘.html สืบคนเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๐ สารานุกรมเสรี.n.d แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B6%๙๙%E0%B๘๒๔๙8%E0 %B 46๘ A สืบคน เมื่อ ๑๕ ก.ค.๒๕๖๐. สารานุกรมเสรี.n.d.http://www.th.wikipedia.org/wiki/พันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตย - ๓๔๕k -สืนคนเมื่อ ๑๕ ก.ค.๒๕๖๐. สุริยะใส กตะศิลา, “การเมืองใหม” ภายใตการตอสูของพันธมิตรฯ,๒๕๕๑.System of Political Science. Englewood Cliffs : Prentice Hall,oba. Ranny, 02_01-340_.indd 111 17/10/2562 8:34:56


112 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ Austin. Essay on the Behavioral study of Politics. Urbana : University of Ittinois Press, ๑๔๗๒. สืบคนเมื่อ วันที่ ๑๕ ก.ค.๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 112 17/10/2562 8:34:57


ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ บทที่ ๕ การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๑ ความนํา การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศทางกฎหมายเปนการแลกเปลี่ยน และปฏิสัมพันธ ขามเขตพรมแดนของรัฐมากขึ้น เพื่อใหกิจกรรมดังกลาวดําเนินไปโดยเรียบรอยและมีระเบียบแบบ แผน ประเทศตาง ๆ จึงไดกําหนดกฎเกณฑ ระเบียบ หรือแนวทางปฏิบัติที่แตละประเทศจึงยึดถือ ปฏิบัติในดานตาง ๆขึ้น กฎเกณฑหรือระเบียบนี้อาจปรากฏในรูปขอตกลงลายลักษณอักษร ซึ่งมีชื่อ เรียกตางๆกัน เปนตนวา สนธิสัญญา อนุสัญญา กติกาสัญญา กฎบัตร ความตกลง ฯลฯ หรืออาจเปน ความเขาใจกันซึ่งแตละฝายยึดถือปฏิบัติ โดยไมปรากฏเปนลายลักษณอักษรก็ได ซึ่งเรียกวา กฎหมาย จารีตประเพณีระหวางประเทศ อยางไรก็ตาม กฎระเบียบที่เปนลายลักษณอักษรหรือจารีตประเพณี ตางเรียกวา กฎหมายระหวางประเทศทั้งสิ้น โดยมีวัตถุประสงคใหรัฐ หรือตัวแสดง อื่นๆ ระหวาง ประเทศไดประพฤติปฏิบัติตนตามกติกาเพื่อความเขาใจอันดีระหวางกัน และเพื่อความเปนระเบียบ เรียบรอยในสังคมโลก ซึ่งครอบคลุมความสัมพันธดานตางๆ ไดแก ดานการเมือง เชน สนธิสัญญาทาง พันธมิตร สนธิสัญญาทางไมตรี กฎบัตร สหประชาชาติ ดานเศรษฐกิจ เชน สนธิสัญญาจัดตั้งกองทุน ระหวางประเทศ ขอตกลงเรื่องการคาและพิกัดภาษี ดานสังคม เชน สิทธิมนุษยชนการแลกเปลี่ยนทาง การศึกษาและวัฒนธรรมดานเทคโนโลยี เชน ความตกลงเรื่องการคนควาในอวกาศเปนตน การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีความสัมพันธ ประเภทนี้ มุงใหมีการแลกเปลี่ยนพัฒนาความรูและความชวยเหลือทางดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เชน มีการรวมมือกันคนควาทดลอง และวิจัยในบริเวณทวีปแอนตารกติกาการรวมมือกัน ระหวางนักวิทยาศาสตรหลายประเทศ เพื่อกําจัดโรคภัยไขเจ็บสําคัญ เชน โรคมะเร็ง การรวมมือกัน สงเสริมพัฒนาการทางวิทยาศาสตร เชน การใหรางวัลระหวางประเทศจัดการประชุมสัมมนาระหวาง ประเทศ เปนตน ๕.๒ การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศของไทย การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศมีขอบเขตที่ครอบคลุมเรื่องตาง ๆ ดังนี้กิจกรรมขาม พรมแดนเพื่อมีอิทธิพลหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตลอดจนการตัดสินใจขององคการหรือรัฐบาง ตางประเทศ เชน การดําเนินการ ทางการทูต การทหาร การแสวงหาพันธมิตร การแทรกแซงบอน ทําลายประเทศอื่น การใชกําลังบีบบังคับการกําหนดและดําเนินนโยบายตางประเทศเปนตน 02_01-340_.indd 113 17/10/2562 8:34:57


114 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ กิจกรรมบางเรื่องอาจไมเปนกิจกรรมการเมืองโดยตรงแตหากมีวัตถุประสงค ดังกลาวขางตน ก็ถือเปนกิจกรรมการเมืองเชนกันเชน การแลกเปลี่ยนทีมนักปงปองระหวางสหรัฐอเมริกาและ สาธารณรัฐประชาชนจีนในป พ.ศ. ๒๕๑๔ มีวัตถุประสงคทางการเมืองเนื่องจากประเทศทั้งสอง ตองการใชกีฬาเปนเครื่องมือผอนคลายความตึงเครียดและรื้อฟนความสัมพันธอันดีระหวางประเทศ หลังจากเปนศัตรูกันมาตลอดกิจกรรมเชนนี้ เรียกวาการเมืองระหวางประเทศกิจกรรมการแลกเปลี่ยน ทรัพยากรดานบริการหรือวัตถุเพื่อตอบสนองความตองการในการอุปโภคของผูแลกเปลี่ยนเชนการซื้อ ขายสินคา การใหทุนกูยืม การธนาคาร เปนตน เนื่องจากแตละประเทศมีทรัพยากรแตกตางและไม เทาเทียมกัน และยังตองการทรัพยากรของประเทศอื่นหรือบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา มี ทรัพยากรน้ํามัน แตยังตองการรักษาน้ํามันสํารองในปจจุบัน จึงซื้อน้ํามันจาก ประเทศเม็กซิโกและ ประเทศอาหรับความตองการทรัพยากรซึ่งกันและกันเชนนี้ทํา ใหเกิดความสัมพันธเพื่อแลกเปลี่ยน ทรัพยากร (วัตถุดิบ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เกษตรกรรม เทคโนโลยี บริการ ฯลฯ) โดยวิธีการตาง ๆ ไมวาโดยการซื้อขาย ใหแลกเปลี่ยน ยืม ก็ตาม โดยมีกฏเกณฑหรือแนวทางปฏิบัติบางประการทั้งที่ เปนทางการและไมเปนทางการ เชน การกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร การปดลอมทาง เศรษฐกิจ การ ตั้งกําแพงภาษี การกําหนดอัตราหุนและดอกเบี้ย เปนตน ความสัมพันธทางเศรษฐกิจเชนนี้ เรียกวา เศรษฐกิจระหวางประเทศการพัฒนา ความสัมพันธทางสังคม มีวัตถุประสงคในการแลกเปลี่ยนทาง การศึกษาการศาสนา วัฒนธรรมการพักผอนหยอนใจการทองเที่ยว ซึ่งเปนความสัมพันธทางสังคม ขาม ขอบเขตพรมแดนของรัฐ เชน การสงทูตวัฒนธรรมหรือคณะนาฏศิลปไปแสดงในประเทศตาง ๆ การเผยแพรศาสนาโดยตัวแทนทางศาสนาของประเทศอื่นการ เผยแพรศิลปะของประเทศหนึ่งใน ประเทศอื่นเปนตน๑ ๕.๑.๑ วัตถุประสงคการพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ ปจจุบันความสัมพันธระหวางประเทศมีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนและชาติตาง ๆ มากกวาที่เคยเปนในอดีต เนื่องจากจํานวนประชากรโลกเพิ่มมากขึ้น ประเทศตาง ๆ ตองพึ่งพากันมากขึ้นในดานตาง ๆ และพัฒนาการของวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่ กาวหนาอยางรวดเร็วมีผลใหโลกดูจะมีขนาดเล็กลงซึ่งผลของความสัมพันธระหวางประเทศที่มีตอดาน ตาง ๆ ดังนี้ ๑ ความสัมพันธระหวางประเทศ http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/ O๗/blog-post_5 ๒๖๙.htmlออนไลน เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 114 17/10/2562 8:34:58


115 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. ผลของความสัมพันธระหวางประเทศตอสังคมโลกรัฐประชาชน และผูนําของ ประเทศความสําคัญของความสัมพันธระหวางประเทศจะมีมากนอย เพียงใดนั้นอาจพิจารณาไดวา ความสัมพันธดังกลาวสงผลถึงบุคคลหรือกลุมบุคคล ใดในโลกในเรื่องนี้คําตอบที่ไดรับคอนขางชัดเจน คือความสัมพันธระหวางประเทศมีผลกระทบตอมนุษยทุกคนบนผืนโลกดังกลาวตอไปนี้ ๑.๑ ดานสังคมโลกปจจุบันโลกสังคมโลกเปนที่รวมของกลุม สังคมที่เรียกวา รัฐ มีระบบและกระบวนการดําเนินความสัมพันธใกลชิดกัน เชน ระบบการเมืองระหวางประเทศ ระบบเศรษฐกิจระหวางประเทศเปนตนการ เปลี่ยนแปลงความสัมพันธทางอํานาจระหวางชาติ มหาอํานาจมีผล กระทบกระเทือนความสัมพันธทางการเมืองของมหาอํานาจอื่น และกลุมประเทศ อื่น ๆดวย ตัวอยางเชน การที่จีนแยกตัวจากสหภาพโซเวียตและเนินนโยบายทางการเมืองที่เปนอิสระ และตอมาไดคบคาทําไมตรีกับสหรัฐอเมริกายอมมีผลทําให โลกซึ่งเคยถูกแบงออกเปนกลุมที่ สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเปนผูนําไดเปลี่ยนแปลงไปในสวนที่เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจก็เชนกัน เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจ ตกต่ําขึ้น โดยเริ่มตนจากกลุมประเทศยุโรปก็มีผลใหเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ทั่วโลก หรือเมื่อคาของเงินสกุลใหญ ๆ เชน เงินดอลลารตก ก็มีผลกระทบกระเทือน เศรษฐกิจของ โลกตามไปดวย ๑.๒ ดานรัฐ นอกเหนือจากผลของความสัมพันธระหวางประเทศ ซึ่ง กระทบตอสังคมโลกและสะทอนถึงรัฐแตละรัฐแลวรัฐยังเปนผูรับผลกระทบจากเหตุการณที่เกิดขึ้น และสัมพันธกับตนโดยตรงอีกดวยตัวอยางเชนการตัดสินใจดําเนินนโยบายตางประเทศของ อภิมหาอํานาจ ยอมมีผลตอการ ตัดสินใจของรัฐที่สังกัดกลุมของอภิมหาอํานาจนั้น ดังกรณีที่ประเทศ พันธมิตรของ สหภาพโซเวียตหลายประเทศตัดสินใจไมเขารวมแขงขันกีฬาโอลิมปกที่ สหรัฐอเมริกาใน ป ค.ศ. ๑๙๘๔ หลังจากที่สหภาพโซเวียตประกาศไมเขารวมแขงขันกีฬาดังกลาวผลตอรัฐนี้ โดยทั่วไป จะเกิดมากในสถานการณซึ่งรัฐอยูรวมในสมาคมกลุมโอลิมปกหรือในสถานการณซึ่งรัฐอยูใกล เหตุการณที่สงผลกระทบ อาณาบริเวณใกลเคียง ดังกรณีที่ประเทศไทยไดรับผลจากการสูรบใน กัมพูชา จน ตองแบกภาระผูลี้ภัยจากอินโดจีนจํานวนมากและไดรับภัยจากการรุกลาดินแดน ของฝาย เวียดนามเปนตน ผลที่เกิดตอรัฐอาจเปนไดทั้งในแงความมั่นคงระบบ โครงสรางและกระบวนการทั้ง ทางการเมืองเศรษฐกิจสังคมภายในประเทศได ๑.๓ ดานประชาชนความสัมพันธระหวางประเทศ ซึ่งกระทบกระเทือนรัฐ ยอมมีผลตอประชาชน ดวยผลดังกลาวนี้ ยอมมีแตกตางกันไป คือ อาจกระทบคนบางกลุมบางเหลา หรือกระทบประชาชนโดยสวนรวมทั้งโดย ทางตรงหรือโดยทางออมก็ไดตัวอยางกรณีสงครามใน กัมพูชานั้น ประชาชนไทยที่ไดรับความกระทบกระเทือนก็คือพวกที่อยูตามบริเวณชายแดนไทย กัมพูชา เชน ในจังหวัดสุรินทร ศรีสะเกษ สวนประชาชนที่อยูหางไกลออกไปไดรับผลนอยลง 02_01-340_.indd 115 17/10/2562 8:35:00


116 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑.๔ ดานผูนําของประเทศ การเปลี่ยนแปลงภายนอกประเทศ หรือ เหตุการณความสัมพันธระหวางประเทศ อาจมีผลตอภาวะผูนําภายในประเทศดวยและอาจมีการ เปลี่ยนแปลงตัวบุคคลที่ปกครองประเทศก็ไดโดยเฉพาะอยางยิ่ง ในกรณีที่มีการแทรกแซงจาก ตางประเทศ ดังตัวอยางกรณีที่นาย โงดินห เดียม ตองถูกโคนลมอํานาจและถูกสังหาร เนื่องจาก สหรัฐอเมริกาเลิกใหความสนับสนุน หรือกรณีที่มีการตั้งรัฐบาลหุนและผูนําหุนโดยประเทศผูรุกราน เชนรัฐบาลหุน ในแมนจูเรียสมัยที่ญี่ปุนเขารุกรานกอนสงครามโลกครั้งที่ ๒ หรือรัฐบาลกัมพูชาของ นายเฮงสัมรินเปนตน ผลที่เกิดตอสังคมโลก ตอ รัฐ ตอ ประชาชน และตอผูนํา ของประเทศเชนนี้อาจ เปนไดทั้งในทางดีหรือทางรายดังจะกลาวตอไป ๒. ลักษณะของผลที่เกิดขึ้นตอบุคคลและกลุมสังคมทั้งภายในและระหวางประเทศ วัตถุประสงคหลักของการที่มนุษยเขามารวมกลุม เปนสังคม ภายในรัฐหรือสังคมระหวางประเทศก็ ตามคือการแสวงหาความมั่นคงในชีวิต รางกาย ทรัพยสินและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและ สังคม วัตถุประสงค ดังกลาว จะบรรลุตามที่ตั้งใจไวหรือไมขึ้นอยูกับองคประกอบหลายประการทั้ง องคประกอบ สวนบุคคลและองคประกอบจากสภาพแวดลอมตาง ๆ องคประกอบ สภาพแวดลอม อาจเปนเรื่องภายในกลุมภายในรัฐหรือเปนสภาพแวดลอมระหวางประเทศ ดวยเหตุนี้ความสัมพันธ ระหวางประเทศ จึงนับวามีความสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของมนุษยและสังคมมนุษยดังปรากฏใน หลายลักษณะดังนี้ ๒.๑ ดานความมั่นคงของชาติความสัมพันธระหวางประเทศ โดยเฉพาะ ทางดานการเมืองและการทหารสงผลถึงความมั่นคงปลอดภัยเอกราช และอํานาจอธิปไตยของชาติ ตลอดจนเสถียรภาพทางการเมืองและบูรณภาพแหง ดินแดนของแตละชาติ ดังจะเห็นไดวาสงคราม ระหวางประเทศ ซึ่งเปนรูปหนึ่งของ ความสัมพันธที่เกิดขามเขตพรมแดนของรัฐการแทรกแซงบอน ทําลาย โดยบุคคล หรือกลุมบุคคลซึ่งไดรับการสนับสนุนจากตางประเทศตลอดจนการใชหรือการขมขู คุกคามวาจะใชกําลัง โดยยังไมถึงขั้นสงครามลวนเปนเหตุการณที่กระทบกระเทือนความมั่นคงของ ชาติทั้งสิ้น ตัวอยางเชน การผนวกดินแดน แลตเวีย ลิทัวเนีย และเอสโธเนียโดยสหภาพโซเวียหลัง สงครามโลกครั้งที่ ๒ หรือ การที่รัฐซิมบับเวถูกแทรกแซงโดยประเทศแอฟริกาใต เปนตน ความมั่นคง ของชาติ ซึ่งเกี่ยวของกับปญหาเรื่องเอกราช บูรณภาพแหงดินแดน และการธํารงไวซึ่งสิทธิ แหงรัฐ อธิปไตย เปนเรื่องที่ผูกําหนดนโยบายของประเทศจัดเปนเปาหมายสําคัญอันดับแรกของนโยบาย ตางประเทศถึงแมความมั่นคงของชาติ ๒.๒ ดานความปลอดภัยและการกินดีอยูดีของประชาชน ความสัมพันธ ระหวางประเทศอาจมีผลทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางออมตอความ ปลอดภัยและชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนในแตละประเทศ กลาวคือ นอกเหนือจากผลตอความมั่นคงของประเทศซึ่งยอม 02_01-340_.indd 116 17/10/2562 8:35:00


117 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ กระทบกระเทือนชีวิตความเปนอยูของประชาชนอยูแลวความสัมพันธระหวางประเทศยังอาจกระทบ ตอความปลอดภัยและการกินดีอยูดีของประชาชน โดยยังไมกระทบความมั่นคงของ ประเทศโดยตรง ก็ได ๒.๓ ดานการพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ อาจมีผลตอความ พยายามของรัฐและประชาชนในการเปลี่ยนแปลงฐานะทางเศรษฐกิจ การเมืองสังคมและเทคนิค วิทยาการของตนดวยการเปลี่ยนแปลงฐานะดังกลาวนี้ คือ การพัฒนานั่นเอง การพัฒนาการเมืองมุง ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการเมืองไปสูระบบการเมืองที่มีเสถียรภาพเปลี่ยนไปโดยสันติและรองรับการ กระทบกระเทือน จากภายนอกไดดวยดี การพัฒนาทางเศรษฐกิจมุงใหมีการเปลี่ยนแปลง กระบวนการผลิตและแลกเปลี่ยนสินคนและบริการที่มีประสิทธิภาพสงผลประโยชนตอบแทนตอ ประชาชนและรัฐไดดีขึ้น๒ ประเทศไทยไดมีการพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ เพื่อสรางความมั่งคงของชาติในทุกดาน เพื่อเปนการเขารวมกลุมของสังคมโลกโดยการสราง ความสัมพันธกับประเทศมหาอํานาจ อยางประเทศอเมริกาความสัมพันธระหวางประเทศเปนการ แลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ ที่เกิดขึ้นขามพรมแดนของประเทศ ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยที่การ แลกเปลี่ยน และปฏิสัมพันธดังกลาวอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่นๆ ที่ไมใชรัฐและการกระทํา ดังกลาวสงผลถึงความรวมมือหรือความขัดแยงระหวางประเทศตางๆ ในโลกดังนั้นอาจสรุปไดวาการ พัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ จะพิจารณากิจกรรมดังกลาวในประเด็นตอไปนี้ ๓ ๑. การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนเชน แลกเปลี่ยนสินคา เทคโนโลยี บุคลากร บริการ ฯลฯ หรือปฏิสัมพันธ คือการประพฤติปฏิบัติตอกันใน ลักษณะตางๆ เชนการโฆษณาโจมตีซึ่งกันและกันการปะทะกันดวยกําลังอาวุธ การรวมมือกันพัฒนา เปนตน ๒. พัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ เกิดขึ้นขามพรมแดนของรัฐในแงนี้เปนการ พิจารณากิจกรรมระหวางประเทศ ในปจจุบันคือในสมัยที่รัฐ ชาติหรือประเทศอธิปไตยเปนตัวแสดง สําคัญในเวทีระหวางประเทศแตทั้งนี้ มิได หมายความวาผูสนใจความสัมพันธระหวางประเทศละเลย ความสัมพันธที่เกิดขึ้น ขามกลุมสังคมซึ่งมิใชรัฐอธิปไตย เพียงแตความสนใจในกิจกรรมปจจุบันมี ๒ ประวัติความสัมพันธ ไทย-สหรัฐฯ." US Watch, Ministry of Foreign Affairs, Thailand, n.d. Web. 5 Jan. bood. http://uswatch.mfa.go.th/uswatch/th/relationship/history ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๖๐ ๓ ชัย เรืองศิลป ประวัติศาสตรไทยสมัย พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๔๕๓ ดานเศรษฐกิจ ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๑. 02_01-340_.indd 117 17/10/2562 8:35:01


118 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ประโยชน ในการแกไขปญหาของโลกมากกวาความสนใจเรื่องราวในอดีตที่ผานมาเปนระยะเวลา ยาวนาน ๓. การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ อาจเปนเรื่องที่กระทําโดยบุคคลกลุม บุคคล รัฐ องคการระหวางประเทศ หรือตัวแสดงอื่นๆ ในเวที ระหวางประเทศก็ได แตผูสนใจ ความสัมพันธระหวางประเทศ จะมุงความสนใจเฉพาะความสัมพันธซึ่งมีผลกระทบตอกิจการของโลก หรือของรัฐตางๆ เปนสําคัญ ตัวอยางเชน คนไทยยิงคนลาวตายดวยสาเหตุสวนตัวหรือรัฐบาล สหรัฐอเมริกาจับกุมคนตางชาติซึ่งลอบคายาเสพติดเปนตน เปนตัวอยางความสัมพันธซึ่งเกิดขึ้น ขาม ขอบเขตพรมแดนรัฐ แตเนื่องจากตัวอยางดังกลาวนี้เปนเหตุการณซึ่งมิไดกอผลกระทบกระเทือนตอรัฐ อื่นๆ หรือมิไดกระทบกระเทือนกิจการของโลกอยางมาก จึงมิใชประเด็นที่สนใจนักในทางตรงกันขาม หากการกระทําที่เกิดขามเขตพรมแดน รัฐมีผลกระทบตอความสัมพันธระหวางรัฐ ๔. การพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ ที่เกิดขึ้นเปนเรื่อง ที่เกี่ยวของกับความ รวมมือและความขัดแยงระหวางประเทศ ประเด็นความขัดแยง และความรวมมือระหวางประเทศนี้ เปนเรื่องที่ผูสนใจความสัมพันธระหวางประเทศ พิจารณาเปนกรณีพิเศษเพราะเปนเรื่องที่ กระทบกระเทือนการอยูรวมกันอยางเปนปกติสุขในสังคมโลก ๕.๑.๒ สัมพันธภาพระหวางประเทศมหาอํานาจ ในชวงเวลานี้ประเทศมหาอํานาจที่สําคัญไดแก สหรัฐอเมริกาและ รัสเซียและจีน ซึ่ง นับเปนคูแขงสําคัญในสงครามเย็นมีการดึงเอาประเทศตาง ๆ เขามาเปนแนวรวมทางอุดมการณของ ตน ประการสําคัญไดมีการแขงขันกันสะสมอาวุธนิวเคลียร ซึ่งอาจนําไปสูการเผชิญหนากันทางทหาร ระหวางกัน ไดทําใหมีการพยายามปรับปรุงความสามารถของตนใหเหนือกวาอีกฝายหนึ่งขณะเดียวกัน ก็ไดมีการจัดตั้ง “ระบบการปองกันตัวเอง" (Self - Defense System) เพื่อปองกัน ไมใหอีกฝาย สามารถทําลายฝายตนได อยางไรก็ตามประเทศมหาอํานาจทั้งสองตางก็ไดพยายามหลีกเลี่ยงในการ ทําสงครามตอกัน โดยตรงมาโดยตลอดและมีการดําเนินนโยบายตางประเทศดวยความระมัดระวังที่ จะไมใหเกิดการ ขัดแยงหรือกระทบกระทั่งตอกัน ทั้งนี้แมจะมีสงครามเกิดขึ้นในภูมิภาคหลายครั้ง แต ก็ไมเคยลุกลามขยายกลายเปนสงครามโลกขึ้นมาอีก เนื่องจากประเทศมหาอํานาจทั้งสองมักจะจํากัด ขอบเขตของอาณาบริเวณที่ทําการตอสูกันไมใหกวางขวางมากเกินไปจนกระทั่งสงผลกระทบตอ ประเทศอื่น ๆ ที่อยูในภูมิภาคเดียวกัน การปรับตัวของไทยในยุคสงครามเย็น หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไดเกิดภาวะสงครามเย็นอัน เปนผลมาจากการแขงขันดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และกําลังอาวุธ ระหวาง สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ในภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก โลกถูกแบงออกเปน ๒ คาย คือ คายเสรี 02_01-340_.indd 118 17/10/2562 8:35:02


119 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation และคายคอมมิวนิสต มหาอํานาจทั้ง ๒ ฝาย พยายามเขามาแทรกแซงการเมืองในภูมิภาคตางๆ จน นําไปสูวิกฤตการณการตอสูอันเนื่องมาจากความขัดแยงเรื่องอุดมการณทาง การเมือง และเนื่องจาก สหรัฐอเมริกาใหความชวยเหลือประเทศไทยจนเปลี่ยนสถานะเปนผูชนะสงครามไทย จึงเลือกใหการ สนับสนุนสหรัฐอเมริกาในสภาวะสงครามเย็นอันเปนผลใหสหรัฐอเมริกาเขามามีอิทธิพลตอไทยทั้ง ดาน การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ๕.๑.๓ การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตรการพัฒนาความสัมพันธ ระหวางประเทศของไทย ประเทศไทยไดพึ่งพิงประเทศมหาอํานาจมายาวนานเชนอเมริกา และมาเปนการพัฒนาที่เนน การพึ่งตนเองโดยการนําแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมา ประยุกตใชในการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน โดยมีหลักการพัฒนาทางความคิดดังนี้ เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่พึ่งตัวเองได ทั้งการพึ่งตนเองทางจิตใจ สังคม ทรัพยากร เทคโนโลยี และเศรษฐกิจ โดยมีฐานการคิดในการพัฒนาเปนลําดับ ดังนี้ ๑. พัฒนาตามขั้นตอนทฤษฎีใหมของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งมี ๓ ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ ๑ การผลิตเพื่อบริโภคในครอบครัว ขั้นที่ ๒ รวมกลุมเพื่อการผลิต การตลาด สวัสดิการ และขั้น ที่ ๓ รวมมือกับองคกรภายนอกในการทําธุรกิจและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยทุกฝายไดรับประโยชน ๒. สรางพลังทางสังคม โดยประสานความรวมมือทั้งภาครัฐ และเอกชน สื่อมวลชน เพื่อ ขับเคลื่อนขบวนการพัฒนาธุรกิจชุมชน ๓. ยึดพื้นที่เปนหลัก และใชองคกรชุมชนเปนศูนยกลาง ๔. ใชกิจกรรมชุมชนเปนเครื่องมือสรางการเรียนรูและการจัดการ ๕. เสริมสรางการรวมกลุม และการสรางเครือขายความรวมมือ ๖. วิจัยและพัฒนาธุรกิจชุมชนครบวงจร ๗. พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่มีศักยภาพสูงแตละเครือขายเปนศูนยกลาง การเรียนรูชุมชน ปจจุบันไดมีการนําแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการพัฒนาชุมชนทองถิ่นทั่ว ประเทศโดยเฉพาะในโครงการตามนโยบายเรงดวนของรัฐบาลชุดปจจุบันเพื่อแกปญหาความยากจน 02_01-340_.indd 119 17/10/2562 8:35:03


120 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ของประชาชนในชนบทและชุมชน เมือง ไดแก โครงการกองทุนหมูบาน โครงการหนึ่งตําบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ เปนตน๔ ๕.๑.๔ การพัฒนาตามแนวทางการพัฒนาแบบยังยืน การพัฒนาแบบยั่งยืนเปนแนวคิดที่ผสมผสานระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจและการ อนุรักษทรัพยากร การพัฒนาแบบยั่งยืนจะมีความสัมพันธกัน ทั้งระบบการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ปจจุบันไดมีการนําแนวคิดการพัฒนาแบบยังยืนไปประยุกตใชในการพัฒนาดานตาง ๆ เชน การเกษตรแบบยั่งยืน การจัดการพลังงานอยางยั่งยืน การทองเที่ยวแบบยั่งยืน เปนตน ๑. เสริมสรางความรวมมือทางดานเศรษฐกิจระหวางกลุมประเทศ ในเอเชียในระดับ ที่กวางขึ้น เชน แนวความคิดการจัดตั้งเวทีหารือสําหรับประเทศ ในทวีปเอเซียที่เรียกชื่อวา Asia Cooperation Dialogue : ACD ซึ่งมีขอบขายครอบคลุมทวีปเอเชียทั้งทวีป อันไดแก สมาชิกกลุม อาเซียน จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ปากีสถาน กาตาร บาเรนห ความรวมมือดังกลาวจะเปนการเสริมสราง สมรรถนะ และจุดแข็ง แกไขจุดออนของแตละประเทศเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ เสถียรภาพ ความมั่นคง เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมกันในเอเชียมากขึ้น ๒. การปฏิรูปภาคธุรกิจเอกชนใหเกิดความเขมแข็งและสุจริต โดยการสรางธรรมาภิ บาลดานเอกชนใหเกิดขึ้น ธรรมาภิบาล คือ การบริหารจัดการที่ดี เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหเกิดกับนัก ลงทุนชาวตางชาติ หลักธรรมาภิบาลที่สําคัญคือ การบริหารมีความรับผิดชอบ มีความโปรงใส เสมอ ภาค และการมีสวนรวม ไดแก การรับรูรวมคิด รวมตัดสินใจ และรวมตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุก ระดับ ๓. การปรับตัวของไทยทางดานการเมืองจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ในยุคโลกาภิวัตน ซึ่งเปนดานการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมใน การปกครองตนเอง การ สงเสริมการคาเสรี การเคารพสิทธิมนุษยชน การพิทักษสิ่งแวดลอมสิ่งเหลานี้ จะ เปนแรงบีบคั้นใหประเทศไทยตองปรับตัวใหสอดคลองกับกระแสโลกาภิวัตน การ ปรับตัวทาง การเมืองที่สําคัญ คือ การประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.๒๕๔๐ รัฐ ธรรมูญฉบับประชาชนและการ ปฏิรูประบบราชการ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้ ๔ ประวัติความสัมพันธ ไทย-สหรัฐฯ." US Watch, Ministry of Foreign Affairs, Thailand, n.d. Web. 5 Jan. bood. http://uswatch.mfa.go.th/uswatch/th/relationship/history ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 120 17/10/2562 8:35:04


121 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation การจัดทํารัฐธรรมนูญฉบับใหมป พ.ศ.๒๕๔๐ ถือเปนการปรับตัว ทางการเมืองครั้งใหญ สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีขอกําหนดใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครองและตรวจสอบ การใชอํานาจรัฐการปรับปรุงโครงสราง ทางการเมืองใหมีเสถียรภาพ ประสิทธิภาพ และคุณภาพ โดย กําหนดใหมีมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจาหนาที่ของ รัฐ เพื่อปองกันการประพฤติมิชอบ โดยการกําหนดใหมีองคกรอิสระทําหนาที่ควบคุม กํากับ และ ตรวจสอบการทํางานของ นักการเมืองและขาราชการประจํา ไดแก คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ ทุจริตแหงชาติ (ปปช.) ผูตรวจการแผนดินของ รัฐสภา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ศาลรัฐธรมนูญ ศาลปกครองและคณะกรรมการตรวจเงิน แผนดิน การกระจาย อํานาจ และสงเสริมใหทองถิ่นมีความเปนอิสระในเรื่องการบริหารจัดการ ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สงเสริมใหทองถิ่นบริหารงานบุคคล เก็บภาษีอากร มี อํานาจ จัดการศึกษา และบริหารดานสาธารณสุข ตลอดจนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมในทองถิ่น ขอกําหนด วาดวยการรักษาสิ่งแวดลอมและสิทธิมนุษยชน ที่จะใชประโยชนจากสิ่งแวดลอม ๕.๑.๕ การปฏิรูประบบราชการวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ในป พ.ศ. ๒๕๔๐ เปนผลมาจากการสะสมปญหาตางๆ ที่มีมานานกวา ๓๐ ป ปญหาที่สําคัญ ประการ หนึ่ง ไดแก ภาครัฐขาดความสามารถในการบริหารจัดการ และ ปรับตัวเองไดอยางทันการ จึงจําเปนที่ จะตองปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ โดยปรับปรุงระบบราชการใหมีขนาดเล็กลงและมีประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนวิธีการ บริหารใหมีลักษณะอยางภาคเอกชน มุงเนนประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหาร โดยใช มาตรการตางๆ เชน การปรับลดกําลังคนของ ภาครัฐการจัดกลุมภารกิจสวนราชการการแปรรูป รัฐวิสาหกิจใหเอกชนดําเนินการ แทนการพัฒนารูปแบบการดําเนินงานเปนเครือขาย และรวมมือกับ ภาคธุรกิจ เอกชน และประชาสังคมมากขึ้น ปรับรูปแบบบริหารจัดการภาครัฐใหมเนนการ ทํางานโดย ยึดผลลัพธเปนหลักมีการวัดผลลัพธและคาใชจายอยางเปนรูปธรรม ปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเปน แบบมุงเนนผลงานและผลลัพธโดยเปลี่ยนกระบวนการงบประมาณจากควบคุมการใชทรัพยากรเปน ระบบงบประมาณที่มุงเนนผลผลิตและผลลัพธของงานเสริมสรางระบบการทํางานอยางเปนระบบโดย การกําหนดเปาหมายของการทํางานเปนรูปธรรมโดยมีแผนกลยุทธที่ชัดเจนมีดัชนี วัดผลสัมฤทธิ์ของ งานและสามารถประเมินผลงานไดเนนความรับผิดชอบของผูบริหารรวมทั้งการปรับเปลี่ยนระบบ การเงินและการพัสดุใหเปนไปตามมาตรฐานสากล โดยมีเปาหมายที่สําคัญเพื่อประชาชนเปนหลัก เปาหมายสําคัญของการปฏิรูปการเมืองคือเพื่อใหไดมาซึ่งผูนําที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพโดยการ 02_01-340_.indd 121 17/10/2562 8:35:05


122 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ยอมรับของประชาชนทั้งนี้เพราะศักยภาพของการแขงขันของไทยในอนาคตขึ้นอยูกับระบบบริหารที่มี ประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความโปรงใส และการมีสวนรวมของประชาชนเปนสําคัญ ๕.๒ การกําหนดนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศ การกําหนดนโยบายตางประเทศเปนเรื่องของการกําหนดทาทีนโยบาย วัตถุประสงคและ หลักการ เพื่อกําหนดแบบแผนการปฏิบัติของประเทศในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศ ทั้งนี้เพื่อปกปองและคุมครองรักษาผลประโยชนแหงชาติเปนสําคัญ ซึ่งโดยทั่วไปทุกประเทศลวน กําหนดหลักการและ วัตถุประสงคในการดําเนินนโยบายตางประเทศของตนไวโดยมีประเด็นสําคัญ ดังนี้ ๑. การธํารงไวซึ่งบูรณภาพของชาติ หลักการและจุดมุงหมายที่ สําคัญซึ่งบรรดาประเทศ ทั้งหลายตางกําหนดไวในนโยบายตางประเทศของตนอยางชัดแจงก็คือ การธํารงรักษาความเปน อันหนึ่งอันเดียวกันของรัฐ กลาวคือ รัฐของตนตองมีอํานาจอธิปไตยทั้งภายในและภายนอกโดย สมบูรณ ๒. ความอยูรอดปลอดภัยของประเทศ ประเทศตางๆ พยายามดําเนินนโยบายตางประเทศ โดยมุงถึงความอยูรอดปลอดภัยของประเทศชาติเปนสําคัญ ซึ่งกลุมประเทศตางๆ ไดมีการรวมกลุมกัน เพื่อรักษาประเทศของตนใหพนจากภัย คุกคาม เชน การจัดตั้งกลุมประเทศอาเซียน (Association of South East Asian Nations : ASEAN)เปนตน ๓. การรักษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจ ในโลกยุคปจจุบันไดมีการติดตอแลกเปลี่ยนผลิตผล และการคาขายระหวางประเทศกันอยางกวางขวาง ซึ่งหนาที่ของรัฐบาลแตละประเทศจะตองกําหนด นโยบายที่มุงรักษาผลประโยชนทาง เศรษฐกิจของประเทศตนไว และมีการรวมกลุมประเทศเพื่อรักษา ผลประโยชนเชิงเศรษฐกิจในหมูประเทศตน เชน เขตการคาเสรีทวีปอเมริกาเหนือ (North America Free Trade Area : NAFTA) และสหภาพเศรษฐกิจและการเงินของ ยุโรป (European Economic and Monetary Union) เปนตน ๔. การขยายอํานาจ ชาติมหาอํานาจมักมีนโยบายตางประเทศ ที่จะพยายามแขงขันกัน ขยายอํานาจของชาติออกไป เพราะเปนที่ยอมรับกันวา เมื่อสามารถขยายอํานาจออกไปยังประเทศอื่น ใหกลายมาเปนประเทศบริวารของตน ไดก็ยอมจะไดพันธมิตรเพิ่มขึ้น อันเปนการนํามาซึ่งความมั่นคง ปลอดภัยและ ผลประโยชนทางเศรษฐกิจ ๕. เกียรติภูมิของชาติ ในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศนั้น ทุกประเทศจะ พยายามรักษาเกียรติภูมิของชาติของตนไว เพราะชาติที่มีเกียรติภูมิสูงยอมมีอิทธิพลในดานการเมือง 02_01-340_.indd 122 17/10/2562 8:35:06


123 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ระหวางประเทศ ประชาชนในชาติของตนจะเกิดความรูสึกภาคภูมิใจในชื่อเสียงและเกียรติภูมิของ ประเทศตน๕ ตามรูปแบบดังนี้ ๕.๒.๑ การดําเนินนโยบายระหวางประเทศของรัฐ รูปแบบของนโยบายนี้ถูกกําหนดหลังจากที่ผูกําหนดนโยบาย พิจารณาทางเลือกตาง ๆ ที่เปนไปไดทั้งหมด เชน เมื่อถูกประเทศหนึ่งยื่นคําขาดขอเดินทัพผานประเทศตนประเทศที่ถูกยื่นคํา ขาดจะพิจารณาวาหนทางปฏิบัติของตน มีไดกี่ทางเชนปฏิเสธการยื่นคําขาดและตอสูทันทีหากมีการ ยกตราทัพเขาประเทศ ยอมตามคําคูนั้นเจรจาถวงเวลาหรือขอใหมหาอํานาจอื่นเขาแทรกแซงเมื่อ กําหนด ทางเลือกแลวก็จะพิจารณาวาทางเลือกแตละทางนั้นมีผลดีผลเสียอยางไร หลังจากนั้น ก็จะ เลือกหนทางที่ใหผลดีที่สุดหรือกอผลเสียนอยที่สุดโดยคํานึงถึง ผลประโยชนของชาติเปนสําคัญ ๑. นโยบายโดยผูนํา รูปแบบนโยบายโดยผูนํานี้จะถูกกําหนดโดย ผูนําเพียงคนเดียว หรือเพียงกลุมนอยเทานั้น ไมวาประเทศจะมีการปกครองแบบใดก็ตามสําหรับประเทศที่มีการ ปกครองแบบเผด็จการ เชน การกําหนดนโยบาย เพื่อความยิ่งใหญแหงอาณาจักรไรซที่ ๓ ซึ่งกําหนด โดยฮิตเลอรและกลุมผูนําทาง ทหารไมกี่คนหรือนโยบาย วงศไพบูลยรวมกันแหงเอเชียซึ่งผูนําทาง ทหารของญี่ปุน กําหนดในชวงกอนและระหวางสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนตน สําหรับประเทศที่มี การ ปกครองแบบประชาธิปไตยนโยบายโดยผูนํานี้จะเกิดขึ้นหลังจากมีการเลือกตัวผูนํา โดยกระบวนการ ประชาธิปไตยเมื่อมีการเลือกสรรไดแลวผูนําเพียงไมกี่คนก็ จะทําหนาที่กําหนดนโยบาย ๒. นโยบายแบบคอยเปนคอยไป รูปแบบของนโยบายนี้เปนการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงนโยบายเดิม เชน นโยบายคบคากับจีนของประเทศไทย ซึ่งเปนนโยบายที่เกิดจากการ ปรับตัวตามสถานการณกลาวคือนโยบายของไทย เริ่มมีลักษณะผอนคลายความตึงเครียดและโอน ออนเขาหาจีนอยางไมเปนทางการ กอนจะเปลี่ยนมาเปนนโยบายคบคากับจีนดังที่เปนอยู เปนตน รูปแบบการกําหนดนโยบายเชนนี้ มีลักษณะอนุรักษนิยม กลาวคือ ถึงแมจะมีการเปลี่ยนแปลงแตก็ยัง รักษาลักษณะบางอยางของนโยบายเดิมเอาไวมิไดเปลี่ยนแปลงโดยทันที ๓. นโยบายแบบการเมือง ในประเทศซึ่งมีกลุมการเมืองหลายกลุม ที่มีอํานาจหรือมี บุคคลหลายกลุมเขามีสวนรวมในการกําหนดนโยบายตางประเทศ และกลุมตางๆเหลานี้มีอุดมการณ และผลประโยชนแตกตางกันออกไป รูปแบบการ กําหนดนโยบายตางประเทศ อาจมีลักษณะการเมือง คือบุคคลแตละกลุมจะเสนอแนวนโยบายที่ตนเห็นสมควรและดําเนินการเจรจาตอรองหรือใชวิธีการ ทางการเมืองรูปแบบตางๆ เพื่อใหนโยบายของตนปรากฏออกมาโดยมีลักษณะประสาน ผลประโยชน ๕ การกําหนดนโยบายตางประเทศ. https://www.baanjomyut.com/library ๔/politics/๑๐ ๓. html.สืบคนเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 123 17/10/2562 8:35:07


124 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ และอุดมการณของบุคคลหลายกลุม ซึ่งอาจไมใชนโยบายที่เหมาะสมที่สุดแตเปนนโยบายที่สอด ประสานผลประโยชนของคนกลุมตาง ๆ ไดดีที่สุด ๔. นโยบายแบบการเมืองโดยระบบราชการ รูปแบบของนโยบาย นี้ระบบราชการ จะทําหนาที่รวบรวมขอมูล ติดตาม วิเคราะหขาวคราว เหตุการณระหวางประเทศจัดทําขอเสนอแนะ รวมทั้งทางเลือกตาง ๆ เพื่อใหรัฐบาลเปนผูกําหนดนโยบายตางประเทศ ซึ่งหนวยราชการอาจเสนอ เหตุผลและขอมูลที่สนับสนุนทางเลือกหนึ่งซึ่งเห็นวา เหมาะสมที่สุดและเสนอเหตุผลสนับสนุน ทางเลือกอื่น ๆ อยางไมหนักแนนรูปแบบตาง ๆ ในการกําหนดนโยบายตางประเทศเหลานี้ ในทาง ปฏิบัติรัฐตางๆมิไดใชแบบใดแบบหนึ่งเสมอไป แตในทางปฏิบัติขึ้นอยูกับสถานการณทางการเมือง ระหวางประเทศ ที่เปนอยูในขณะนั้นประการหนึ่ง และขึ้นอยูกับความเหมาะสมที่ผูกําหนดนโยบาย ตางประเทศของรัฐเห็นสมควรอีกประการหนึ่ง อยางไรก็ตามไมวาแบบแผนหรือรูปแบบการกําหนด นโยบายตางประเทศจะเปนอยางไร ผูกําหนดนโยบายตางประเทศจึงตอง คํานึงและพิจารณาถึง ผลประโยชนแหงชาติของตนอยูเสมอ ๕.๒.๒ นโยบาย ผลประโยชน และเปาหมายของประเทศไทย การดําเนินการทางดานนโยบายตางประเทศเปนเรื่องสําคัญโดยมีผลประโยชน แหงชาติ เปนปจจัยที่เปนพลังผลักดันหรือหลอหลอมนโยบายตางประเทศคือ ผลประโยชนของชาติ ผูนําของประเทศไทยทุกคนรูวาผลประโยชนของประเทศของตนนั้นอยูที่ไหนแตอาจจะมีความคิดเห็น แตกตางกันในวิธีการปกปองผลประโยชนนั้น ๆ รัฐบาลไทยเปนผูกําหนดแนนอนวาอะไรเปน ผลประโยชนแหงชาติและผูที่รับผิดชอบก็พยายามเดินไปทางนั้นการกําหนดนโยบายตางประเทศก็ เพื่อตอบสนองผลประโยชนแหงชาติ ๑. เปาหมายของนโยบายตางประเทศ หลักการพื้นฐานของการกําหนดและการดําเนินนโยบายตางประเทศก็เพื่อการรักษา ไวซึ่งผลประโยชนของชาติ ซึ่งเปนเปาหมายสําคัญ ดังนี้ ๑.๑. การรักษาสันติภาพ สถานการณทางการเมืองระหวางประเทศที่ เปนอยูในปจจุบัน ไดแสดงใหเห็นวาการเมืองระหวางประเทศมีความ เปนไปไดทุกขณะที่จะใชความ รุนแรงอันไดแก การใชกําลังอาวุธและกําลังทหาร เปนเครื่องมือในการระงับความขัดแยงตาง ๆ ที่ เกิดขึ้นในภูมิภาคตาง ๆ เชน การกอการราย ๑๑ กันยายน ๒๕๕๔ สงคราสหรัฐอเมริกากับอิรักความ ขัดแยง ระหวางประเทศ อิสราเอลกับปาเลสไตน เปนตน เมื่อสภาพการณเปนเชนนี้ รัฐตาง ๆ จึง 02_01-340_.indd 124 17/10/2562 8:35:07


125 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation พยายามดําเนินนโยบายตางประเทศโดยกําหนดเปาหมาย เพื่อการรักษาสันติภาพดังจะเห็นไดจากมี การตกลง จํากัดอาวุธและลดอาวุธตามกฎบัตร สหประชาชาติหรือมีความพยายามในการตกลงกันการ ตกลงกันจํากัดการสราง อาวุธนิวเคลียรระหวางสหรัฐอเมริกากับเกาหลีเหนือ ๑.๒. การสรางความมั่น คงความมั่นคงเปนหลักสําคัญในการดําเนิน นโยบายตางประเทศ โดยทั่วไปจะเห็นไดวานโยบายการแผอิทธิพลและ อํานาจของสหรัฐอเมริกาใน ภูมิภาคตางๆ ของโลกนั้นก็เพื่อสรางความมั่นคงใน ดุลยภาพของอํานาจระหวางอภิมหาอํานาจทั้งสอง หรือในอดีตไทยตองดําเนินนโยบายตางประเทศแบบผูกมิตรกับจีนสหรัฐอเมริกาและประเทศใน สมาคมอาเชียนก็เพื่อสรางความมั่นคงปลอดภัยในกรณีที่เกิดความขัดแยงอยางรุนแรงกับเวียดนาม กัมพูชา และลาว ที่มีสหภาพโซเวียตหนุนหลังเปาหมายของ นโยบายตางประเทศ ในแงของการสราง ความมั่นคงนี้ดูเหมือนจะมีความสําคัญมากกวาเปาหมายเพื่อสันติภาพเสียอีก ๑.๓ การรักษาอํานาจ การรักษาสถานภาพแหงอํานาจรัฐตางๆ จะรักษา อํานาจ และฐานะของตนในเวทีการเมืองระหวางประเทศมิให ตกต่ําลงดังจะเห็นไดวาสหรัฐอเมริกาได ขยายอิทธิพลของตนในภูมิภาคตางๆ รวมทั้งแขงขันกันมีอิทธิพลในประเทศกําลังพัฒนาทั้งหลาย นโยบายตางประเทศ ของสหรัฐอเมริกา ในสมัยประธานาธิบดีจอรจ ดับเบิลยู บูช ไดหันมาสราง ระบบแกนพันธมิตร ๓ ฝาย อันประกอบดวย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และยุโรป ตะวันตก เพื่อประสาน ระบบความมั่นคงและรักษาอํานาจของสหรัฐเมริกาในสวนที่เกี่ยวกับประเทศกําลังพัฒนานั้น สหรัฐอเมริกาจะเขามามีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางขอสหรัฐอเมริกา โดยการลงทุน การใหความชวยเหลือในรูปการใหกูยืมและการใหเปลาตลอดจนการใหการสนับสนุนการรวมตัวกัน เชน สมาคมอาเซียนและตลาดรวมยุโรปเปนตน ๑.๔ การรักษาผลประโยชน ทางเศรษฐกิจปจจุบันปญหาความ แตกตาง ของประเทศที่พัฒนาแลวกับประเทศที่ดอยพัฒนา ปรากฏใหเห็นไดอยางชัดเจนเชนปญหาความ ยากจนและความอดอยากในประเทศดอยพัฒนาทั้งหลาย ปญหาดังกลาวกอใหเกิดความตึงเครียดใน เวทีการเมืองระหวางประเทศ โดยชาติอภิมหาอํานาจตางก็แขงขันเพื่อมีอิทธิพลในการใหความ ชวยเหลือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศยากจนเหลานี้แตบทบาทที่แทจริงของอภิหมาอํานาจ นี้ก็ คือการแขงขันกันสรางเขตอิทธิพลของตนในประเทศกําลังพัฒนาทั้งหลาย ทําใหเปนประเทศกําลัง พัฒนาถูกแบงออกเปนคายสังคมนิยมและคายเสรีนิยมซึ่ง ประเทศกําลังพัฒนาเหลานี้ ตางก็เปนตลาด วัตถุดิบตลาดแรงงานและตลาดสินคา รวมทั้งตองพึ่งพิงกับประเทศอภิมหาอํานาจนั่นเอง นอกจากนี้ ประเทศมหาอํานาจ ไดใชแนวทางเศรษฐกิจตางๆ เพื่อการรักษาความอุดมสมบูรณ และการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อผลประโยชนของตนอีกดวย เชน การใชนโยบายทุมสินคา นโยบาย ปดลอม เปนตน 02_01-340_.indd 125 17/10/2562 8:35:09


126 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๒.๓ นโยบายตางประเทศของไทยกับปญหาขามชาติ ประเทศไทยไดหันมาใหความสนใจกับประเด็นที่เปนปญหาขามชาติที่ไมใชเปนเรื่อง ของประเทศใดเพียงประเทศหนึ่งและไมใชเรื่องที่ประเทศเพียงประเทศเดียวจะสามารถแกไขได แต เปนเรื่องที่ทุกประเทศตองรวมมือกันแกไข ประเด็นปญหาเหลานี้มีอาทิการแพรระบาดของยาเสพติด ปญหาผูกอการราย ปญหาโรคเอดสปญหาการตัดไมทําลายปาการอนุรักษสิ่งแวดลอมและปญหา แรงงานขามชาติ ซึ่งปญหาเหลานี้มิไดมีแหลงกําเนิดจากประกาศใดประเทศหนึ่ง สวนใหญเปนการ กระทําของขบวนการขามชาติ ซึ่งการแกไขปญหาเหลานี้ตอง อาศัยความรวมมือระหวางประเทศตาง ๑. เรงสงเสริมและพัฒนาความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน โดยสงเสริมความ รวมมือทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน และสื่อมวลชน เพื่อเสริมสรางความเขาใจอันดีและความใกลชิด ระหวางกันอันจะนําไปสูการขยายความรวมมือทางเศรษฐกิจการคา การลงทุนการสงเสริมการ ทองเที่ยว การขยายการคมนาคม ขนสงและความรวมมือดานอื่นๆภายใตกรอบความรวมมืออนุ ภูมิภาคเพื่อสงเสริมความเปนเพื่อนบานที่ดีตอกัน ๒. สรางความสามัคคีและสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศ อาเซียนเพื่อให บรรลุเปาหมายในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและสงเสริมความรวมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ภายใตกรอบความรวมมือดานตางๆ และเตรียมความพรอมของทุกภาคสวนในการเขาสูประชาคม อาเซียนในป พ.ศ.๒๕๕๘ ทั้งใน ดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความมั่นคง ๓. เสริมสรางบทบาทที่สรางสรรคและสงเสริมผลประโยชนของชาติในองคการ ระหวางประเทศ โดยเฉพาะเวทีสหประชาชาติและองคกรระดับภูมิภาคตางๆ เพื่อรักษาสันติภาพและ ความมั่นคง สงเสริมกระบานการ ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม สิ่งแวดลอม และการ พัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนรวมมือในการแกไขประเด็นปญหาขามชาติทุกดานที่สงผลกระทบตอ ความ มั่นคงของมนุษย ๔. กระชับความรวมมือและความเปนหุนสวนทางยุทธศาสตรกับประเทศกลุม ประเทศและองคการระหวางประเทศ ที่มีบทบาทสําคัญของโลกเพื่อเสริมสรางความเชื่อมั่นใน ประเทศไทยพรอมกับการสรางภูมิคุมกันและขีดความสามารถในการแขงขันใหเศรษฐกิจไทย ๕. สนับสนุนการเขาถึงในระดับประชาชนของนานาประเทศพรอม ทั้งสงเสริม ภาพลักษณที่ดีและความรวมมือทางวิชาการกับประเทศกําลังพัฒนา เพื่อใหประชาชน รัฐบาล และ ประชาคมระหวางประเทศ มีทัศนคติในทางบวกตอประชาชนและประเทศไทย 02_01-340_.indd 126 17/10/2562 8:35:10


127 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๖. สงเสริมการรับรูและความเขาใจของประชาชนเกี่ยวกับปญหา เรื่องพรมแดนและ การเปลี่ยนแปลงในโลกที่มีผลกระทบตอประเทศไทย เพื่อกอใหเกิดฉันทามติในการกําหนดนโยบาย และดําเนินนโยบายตางประเทศ ๗. สนับสนุนการทูตเพื่อประชาชน คุมครองผลประโยชนของคน ไทย ดูแลคนไทย และแรงงานไทยในตางประเทศ โดยเฉพาะคนไทยที่ประกอบอาชีพละมีถิ่นฐานในตางประเทศสงเสริม บทบาทและความแข็งแกรงของชุมชนชาว ไทยในการรักษาเอกลักษณและความเปนไทย ๘. ใชประโยชนจากโครงขายคมนาคมขนสงในภูมิภาคอาเซียนและ อนุภูมิภาคให เปนประโยชนตอการขยายฐานเศรษฐกิจทั้งการผลิตและการลงทุน โดยใหความสําคัญในการพัฒนา จังหวัดและกลุมจังหวัดที่อยูตามแนวระเบียง ๙. ประสานการดําเนินงานของสวนราชการในตางประเทศตาม แนวทางนโยบายทีม ประเทศไทยเพื่อใหการดําเนินงานดานการตางประเทศมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณภาพ ๑๐. สงเสริมความรวมมืออยางใกลชิดกับประเทศมุสลิมและองคกร อิสลามระหวาง ประเทศ เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองวาประเทศไทยกําลังดําเนินการแกไขปญหาจังหวัดชายแดน ภาคใตของไทย ในฐานะปญหาภายในประเทศที่มีความสําคัญดวยหลักการตามแนวพระราชทาน เขาใจเขาถึงพัฒนา ๕.๒.๔ นโยบายตางประเทศของไทยในแตละรัฐบาล นโยบายตางประเทศของไทยนับแตอดีตจนถึงปจจุบันแสดงใหเห็นวา นโยบายของ ประเทศไทย จะมีสวนหนึ่งเปนนโยบายหลักไมมีการเปลี่ยนแปลง นโยบายอีกสวนหนึ่งเปนการ ดําเนินงานตามวัตถุประสงคเฉพาะชาติ ซึ่งการดําเนินงานในประการหลังนี้จําเปนตองเปลี่ยน สภาพการณใหมีความยืดหยุนตามสภาพแวดลอม เมื่อสูไมไดก็ยอมผอนตามไปรูกําลังของตนเองและ ฝายตรงขาม พยายามในการรักษาเกียรติและอธิปไตยของชาติ ตองวิเคราะหนโยบายของชาติ อื่นๆ ใหออกประเทศไทยไมไดนําเอานโยบายของประเทศใดๆ มาใชโดยเฉพาะ แตมีนโยบายของชาติอื่นๆ ใหออกประเทศไทยไมไดนําเอานโยบายของประเทศใดๆ มาใชโดยเฉพาะแตมีนโยบายเปนของตัวเอง มีการดําเนินการในหลายรูปแบบขึ้นกับเวลาสถานการณและความเหมาะสมในขณะนั้นๆ ยึดมั่นและ เคารพใน พันธกรณีระหวางประเทศและพรอมที่จะปฏิบัติตามดวยดีมาโดยตลอดตั้งแตอดีต จนถึง ปจจุบัน 02_01-340_.indd 127 17/10/2562 8:35:10


128 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ กรอบกวาง ๆ ของนโยบายตางประเทศของไทย ในปจจุบันคือ มีนโยบายเปนมิตร กับทุกประเทศมุงการเสริมสรางความสัมพันธและรวมมือกับกลุมประเทศอาเซียนใชนโยบาย Forward Engagement กับประเทศเอเชีย โดยสงเสริมโครงการความรวมมือระหวางประเทศดวยกันมุงเนนการเชื่อมโยงทาง เศรษฐกิจ ความสัมพันธในเรื่องการคาตางตอบแทนการเปดความสัมพันธทางการทูตกับทุกประเทศ การดําเนินนโยบายทางการทูตโดยสันติ วิธีการใชหลักกฎบัตรระหวางประเทศกับสหประชาชาติ ความมั่นคง ภายในประเทศและตามแนวชายแดนและการอยูรอดปลอดภัยจากการกอการราย ๕.๒.๕ นโยบายตางประเทศของไทยในยุครัฐบาลนายกชวน รัฐบาลนายกชวน หลีกภัย เขามาในชวงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจพอดี จึงไมมีทางเลือก ที่ จะตองดําเนินทุกวิถีทางที่จะกอบกูวิกฤตเศรษฐกิจ ในตอนนั้น นั่นก็คือตองปรับความสัมพันธกับ ตะวันตกโดยเฉพาะกับสหรัฐฯใหมชวงนั้น การทูตเราหยุดหมดยกเวนการเขาหาตะวันตกเพื่อใหมา ชวยกอบกูวิกฤตเศรษฐกิจ เรื่องอื่นเปนเรื่องปลีกยอยหมดหลังจากนั้น เมื่อไทยเขาสูยุคฟนฟูเศรษฐกิจ (ชวง ประมาณปลายป ๒๕๔๒ เปนตนมา) ยุคนี้เปนยุคสรุปบทเรียน ในแงที่วา ในยุควิกฤตเศรษฐกิจ เรากลับไปพึ่งพามหาอํานาจอยางมากโดยเฉพาะสหรัฐฯ การไปขอความชวยเหลือหรือการไปพึ่งพา อเมริกามากทําใหเราสูญเสียอํานาจการตอรองสูญเสียศักดิ์ศรีของประเทศและภาพลักษณก็เสียไป อยางมากนี่คือบทเรียนราคาแพงทําใหเมื่อเราฟนตัวทางเศรษฐกิจ เราจึงตองการหนีจากสภาวะที่พึ่ง อเมริกา อยางมากการกลับไปงอเมริกาอยางมาก แตผลที่ออกมากลับไมดี แมเราจะกลับไปคืนดีดวย เรามีความรูสึกลึกๆ วาอเมริกาไมจริงใจตอเรามีคนคิดไปไกลถึงขนาดวา อเมริกาคือตนตอของวิกฤต เศรษฐกิจไทย เพราะอเมริกากลัววาเอเชียจะกลายมาเปน number one ศตวรรษที่ ๒๑ จะ กลายเปนศตวรรษแหงเอเชีย เพราะฉะนั้น ตองหาวิธีทําลายเอเชีย พอดีก็มาเจอจังหวะเหมาะโดยการ ใชจอรจ โซรอส ในชวงที่ผานมา อเมริกาดูเหมือนกับจะเขามาตักตวงผลประโยชนในภูมิภาคมาก เกินไป วิกฤตเศรษฐกิจอเมริกาก็ไมชวย พอ WTO อเมริกาก็ไมสนับสนุน ดร. ศุภชัย และ ชวงวิกฤต เศรษฐกิจอเมริกาก็เขามาเจากี้เจาการสั่งโนนสั่งนี่ วุนไปหมด ทําใหมีความรูสึก วาเราตองถอยหางจาก อเมริกา นโยบายตางประเทศไทย ในยุคฟนฟูเศรษฐกิจเปนยุคที่เราตองการ หนีจากสถานะ ของเราที่เกิดขึ้นในยุควิกฤตเศรษฐกิจเราตองการกลับไปสูยุคทองของไทยคือยุคอนุภูมิภาคนิยมในชวง วิกฤตเศรษฐกิจเราลมลุกคลุกคลาน เมื่อเราฟนขึ้นมาไดเราก็อยากกลับไปวิ่งใหมเหมือนสมัยยุคกอน เกิดวิฤตเศรษฐกิจ แตเราก็ไดแคเดินและกําลังเดินไปอยางชาๆยังเดินโซเชอยูเพราะฉะนั้นเราก็อยาก รื้อฟน วัตถุประสงคของไทยในการเปนศูนยกลางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคแตก็ไมประสบผลสําเร็จ 02_01-340_.indd 128 17/10/2562 8:35:12


129 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๒.๖ นโยบายตางประเทศไทยในยุครัฐบาลนายกทักษิณ นโยบายตางประเทศไทยในยุครัฐบาลทักษิณ มี ดร.สุรเกียรติ เสถียรไทย รัฐมนตรี ตางประเทศคนใหมก็ไดเนนวานโยบายตางประเทศจะตองสะทอนผลประโยชนของประเทศไทยมิใช นโยบายตางประเทศของกระทรวงการตางประเทศเทานั้น โดยตองครอบคลุมมิติตางๆ ใหมากที่สุด หลายเรื่องที่กระทรวงการตางประเทศตองกระทําทั้งที่มิไดกําหนดอยูในนโยบายตางประเทศ แตอาจ อยูในนโยบายดานอื่นๆ แทนอาทิเศรษฐกิจระหวางประเทศการสรางโครงขายคมนาคมเชื่อมโยงกับ ประเทศเพื่อนบานการทองเที่ยวการดําเนินนโยบายตางประเทศจะเนนเรื่องเศรษฐกิจเปนสําคัญ (economic diplomacy) เพื่อใหการทูตมีสวนชวยฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศไทยเกี่ยวกับเรื่องนี้มี ความเห็นวา กระทรวงการตางประเทศกําลังจะเพิ่มบทบาททางดานเศรษฐกิจ ซึ่งก็นาเปนหวงเพราะ ตลอดเวลาเกือบ ๒๐ ปที่ผานมา กระทรวงตางประเทศของไทยจะชู “สโลแกน” เรื่องบทบาท ทางดานเศรษฐกิจ แตก็มักจะประสบปญหาวา บทบาทดานเศรษฐกิจของกระทรวงตางประเทศอยู ตรงไหน ในที่สุดก็มักจะกลายเปนวา กระทรวงตางประเทศก็ไปแยงงานกระทรวงพาณิชย BOI แยง งาน กระทรวงการคลัง ดังนั้นจึงเปนการพูดงายวา กระทรวงจะเพิ่มบทบาททางดาน เศรษฐกิจ แต ในทางปฏิบัติเปนเรื่องที่ยากมาก ดังนี้ ๑. ประเด็นตอมาคือ นโยบาย “forward engagement คือ นโยบายปฏิสัมพันธใน เชิงรุกในแบบกาวไปขางหนา โดยเนนเชื่อมความสัมพันธกับอาเซียนเอเชียใตเอเชียตะวันออก”เราจะ เห็นไดวา นโยบายของรัฐบาลชุดนี้ไมแตกตางกับนโยบายของรัฐบาลประชาธิปตยในชวงหลังๆ คือ พยายามกลับมาใหความสําคัญกับประเทศเพื่อนบานและเนนเรื่องการสรางกลุมประเทศ G ใหมขึ้นมา เพื่อที่จะมาเพิ่มอํานาจการตอรองใหกับไทยในเวทีเศรษฐกิจโลกซึ่งตองจับตาดู ตอไปวาจะทําได หรือไม ๒. ความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบานพรรคไทยรักไทยเนนวา นโยบายตางประเทศ ไทยในยุครัฐบาลชวนเปนการดําเนินนโยบายตามแบบตะวันตกมากเกินไปคือการที่จะเนนเรื่อง ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน เปนสิ่งที่ไมถูกตอง กับประเทศเพื่อนบานควรจะเปนการแกปญหา แบบเอเซีย คือ การจับ เขาคุยกัน จะปรับความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบานใหดี ๓. ประเด็นที่รัฐบาลไมไดประกาศแตก็แฝงอยู คือ นโยบายที่ตามกระแสชาตินิยมที่ กําลังมาแรงมากขึ้นทุกขณะ ซึ่งเราตองมาวิเคราะหวาดีหรือไมดี ถามากเกินไปอาจ สงผลกระทบ ในทางลบได แตถานอยเกินไปเราก็อาจเสียเปรียบตางชาติได 02_01-340_.indd 129 17/10/2562 8:35:13


130 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๒.๗ ขอเสนอยุทธศาสตรชาติดานการตางประเทศ ยุทธศาสตรเกี่ยวกับนโยบายตางประเทศของไทยวาควรจะเปนอยางไรตอไป ดังนี้ ๑. ยุทธศาสตรชาติ : สิ่งสําคัญประการแรก คือ นโยบายตางประเทศไทย ตลอด ระยะเวลา ๓ - ๔ ป หลังมานี้รัฐบาลขาดทิศทางขาดยุทธศาสตรชาติที่ชัดเจน เพราะเราตกอยูใน สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจทําใหตองแกไขปญหาเฉพาะหนาทําใหเราขาดวิสัยทัศนที่ชัดเจนกอนยุควิกฤต เศรษฐกิจนโยบายตางประเทศไทยไดมุงเนนวาจะทําอยางไรใหไทยเปนศูนยกลางในอนุภูมิภาคดังนั้น ในอนาคตเราตองพยายามที่จะกลับมามียุทธศาสตรที่ชัดเจนอีกครั้งไมเชนนั้นเราจะเดินแบบไมมี ทิศทางเชื่อวา นโยบายตางประเทศของรัฐบาลชุดใหมนี้ก็ยังจะเดิน แบบไมมีเปาหมายเชนกัน ๒. วาระแหงชาติ: เราจะเห็นไดวารัฐบาลชุดนี้ใหความสําคัญตอ คํามั่นสัญญาตาง ๆ ที่ใหไวโดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องปญหาหนี้เสีย การแกไขปญหาของชาวชนบทและเกษตรกรเปนหลัก ซึ่งเปนเรื่องเศรษฐกิจภายในรัฐบาลชุดนี้ จึงอาจจะไมใหความสําคัญตอนโยบายตางประเทศมิติ ความสัมพันธไทยกับตางประเทศจะถูกลดความสําคัญลงไป ฉะนั้นจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง รื้อฟน วาระแหงชาติดานการตางประเทศขึ้นมา ๓. นโยบายทางสายกลาง : เปาหมายที่สําคัญ คือ ในแตละยุคสมัย นโยบาย ตางประเทศมักจะไปในทางใดทางหนึ่งมากเกินไป มักจะมีการทําอะไรที่สุดขั้วมากเกินไปสิ่งที่สําคัญ คือ นโยบายตางประเทศจะตองเปนนโยบายสายกลางที่ไมมีความเปนเสรีนิยมประนีประนอมมาก เกินไป อยางนโยบายของพรรคประชาธิปตยและจะตองไมเปนนโยบายที่มีความเปนอนุรักษนิยมมาก เกินไป ๔. ชาตินิยมแตพอควร : นโยบายสายกลางนั้น หมายความวา เราจะตองมีความเปน ชาตินิยมขึ้นมาบางอยางนอยตองมากกวาในสมัยรัฐบาลนาย ชวน หลีกภัย แตความเปนชาตินิยมนั้น ตองมีแตพอควร ไมใชชาตินิยมจัดคลั่งชาติ ตอตานตะวันตก จนเกินเหตุขณะนี้กําลังมีกระแสการปลุก ระดม(เหมือนการปลุก ระดมใหเกลียดกลัวคอมมิวนิสตในสมัยหนึ่งมีการปลุกกระแสชาตินิยมจนเกิน เหตุ ดังนั้นเราจึงจะตองพยายามปองปรามไมใหกระแสชาตินิยมลุกลามมากเกินไป ๕. นโยบายสนตองลม : ในอดีตเราเคยเปรียบนโยบายตางประเทศไทยวา เปน นโยบาย “สนลูลม” เชนในสมัยที่อังกฤษ ฝรั่งเศสเขามา เราก็ลูลมตามอังกฤษ ฝรั่งเศส ทําใหเรารอด พนจากการเปนเมืองขึ้นสมัยญี่ปุนมาแรงเราก็ลูตามญี่ปุน จนเปนพันธมิตรกันในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ในสมัยสงครามเย็นเราก็ตามสหรัฐฯ จนเปนพันธมิตรกับสหรัฐฯ แตในบางครั้ง นโยบาย “สนลูลม” ของเรา อาจจะ “ลู” มากเกินไป ฉะนั้นในอนาคตนโยบายตางประเทศของไทยนาจะมี ลักษณะเปน “สนตองลม” มากกวา “สนลูลม” 02_01-340_.indd 130 17/10/2562 8:35:13


131 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๖. พลเมืองโลกและเพื่อนบานที่ดี : ประเด็นตอมา คือ เราตองเปน พลเมืองที่ดีของ โลก ในขณะเดียวกันเราก็ตองเปนเพื่อนบานที่ดีดวย (ซึ่งพูดงายแต ทํายาก) เปน “dilemma” ของ นโยบายตางประเทศของไทยที่ผานมา รัฐบาลนาย ชวน หลีกภัย ตองการที่จะเปนพลเมืองที่ดีของโลก คือสงเสริมประชาธิปไตยและ สิทธิมนุษยชน แตการกระทําเชนนั้น ทําใหเราเปนเพื่อนบานที่ไมดีของ พมาและ ลาวรัฐบาลนายกทักษิณ ชินวัตร กําลังจะกลับไปเปนเพื่อนบานที่ดีแตก็กําลังจะ เปน พลเมืองโลกที่ไมดี ฉะนั้น ความพอดีหรือจุดสมดุลอยูตรงไหนเปนสิ่งที่รัฐบาล ชุดปจจุบันที่จะตองหา จุดสมดุลดังกลาวใหได ๗. บทบาทคนกลาง : สิ่งสําคัญอยางหนึ่งที่เปนเอกลักษณของไทย คือ เราสามารถ เขากับใครก็ได เราจึงสามารถที่จะมีบทบาทเดนในเวทีโลกได ในฐานะที่เปนตัวกลางประสานรอยราว ความขัดแยงระหวางประเทศตางๆ เราอาจจะเปนตัวกลางประสานความสัมพันธและแกไขปญหาหมู เกาะ Sprattys คือ ความขัดแยงระหวางจีนกับประเทศในอาเซียนหรือ กรณีปญหาเกาหลีเหนือกับ เกาหลีใต เราก็สามารถเลนบทเปนตัวกลางประสานความสัมพันธได เพราะเรามีความสัมพันธที่ดีกับ ทั้งเกาหลีเหนือและเกาหลีใต ๘. ไทยผูนําประชาธิปไตย : เราตองเปน “number one” ดาน ประชาธิปไตยใน เอเชียบางทีเราอาจจะไมรูขอดีของเรา แตประชาธิปไตยของไทย เรามีพัฒนาการไปไกลกวาประเทศ เพื่อนบานในเอเชียดวยกัน เราอาจจะสูสิงคโปรไมไดในเรื่องเศรษฐกิจ เราอาจสูมาเลเซียไมไดในเรื่อง อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส และคอมพิวเตอร แตเราสูสิงคโปรและมาเลเซียไดในเรื่องพัฒนาการทาง การเมือง เรื่องนี้ถือเปนจุดเดนของไทยที่เราตองใชใหเปนประโยชนรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย ได รับรูถึงขอดีตรงนี้พยายามที่จะใชขอดีนี้ใหเปนประโยชนตอประเทศ นั่นคือ การชูธงประชาธิปไตยให ไทยเราเปนประเทศที่สงเสริมประชาธิปไตย ไมใชแตในประเทศเทานั้นเรายังสงเสริมประชาธิปไตยไป ทั่วโลกและยึดมั่นในหลักการสิทธิ มนุษยชน นี่คือจุดแข็งที่สําคัญที่จะทําใหไทยเราเปนผูนําในแง ความคิดอุดมการณ ทางการเมืองและสามารถทําใหเราเขากับตะวันตกไดอยางดีอีกดวย ๙. แกนหลักของกลุมประเทศพุทธ : จุดเดนอีกจุดที่เราอาจมองขามไป คือ ไทย สามารถที่จะสรางบทบาท ในการที่จะทําใหไทยเปนศูนยกลางของ ศาสนาพุทธและเปนแกนของกลุม ประเทศที่นับถือศาสนาพุทธในเวทีความสัมพันธ ระหวางประเทศนั้น เราจําเปนตองมีพวกมีกลุมไทย มักจะไมมีแนวรวมธรรมชาติในเวทีระหวางประเทศ ฉะนั้นแนวรวมหนึ่งที่เราตองพัฒนาตอไปคือแนว รวมของกลุมประเทศที่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีไทยเปนแกนหลัก ๑๐. ไทย-สหรัฐฯ ความรวมมือบนความขัดแยง : มีทั้งผลประโยชน รวมกันและ ความขัดแยงไทย-สหรัฐฯ มีผลประโยชนรวมกันทั้งทางดานความมั่นคง และดานเศรษฐกิจ เรายัง ตองการเงินทุนและตลาดจากสหรัฐฯ แตขณะเดียวกัน ความขัดแยงกับสหรัฐฯ ก็มีไมนอยไมวาจะเปน 02_01-340_.indd 131 17/10/2562 8:35:15


132 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เรื่องที่สหรัฐฯกดดันไทยอยางหนักในเรื่องการเปดตลาดการคาการคาภาคบริการเรื่องทรัพยสินทาง ปญญา รวมทั้งความพยายามของสหรัฐฯ ในการดํารงความเปนเจาครอบงําเศรษฐกิจโลกตอไป สหรัฐฯจะดําเนินกลยุทธตาง ๆ ครอบงํา WTO และ IMF ตอไปพยายามไมให เอเชียตะวันออกรวมตัว กันแลวมาทาทายอิทธิพลของสหรัฐฯ สิ่งเหลานี้ ทําใหไทย และสหรัฐฯอยูคนละฝายเพราะจุดยืนของ ไทยใน WTO ก็ตางจากจุดยืนของสหรัฐฯใน WTO สหรัฐฯพยายามสรางมาตรการการกีดกันการคา แบบใหม นั้นคือ การเชื่อมโยงเรื่องมาตรฐานแรงงานกับการคาการเชื่อมโยงในเรื่องสิ่งแวดลอมกับ การคา ซึ่งสิ่งเหลานี้จะมากระทบตอเราเราตองถูกเลนงานแนถาถูกเชื่อมโยงกับ ประเด็นเหลานี้ ๑๑. ไทย-ญี่ปุนเมืองขึ้นทางเศรษฐกิจ : เปนความสัมพันธที่เราพึ่งญี่ปุนอยาง มากมายมหาศาลญี่ปุนเปนประเทศคูคาอับดับหนึ่งของเราเรานําเขาจาก ญี่ปุนประมาณ ๓๐%ของ การนําเขาจากทั่วโลกญี่ปุนเปนประเทศที่เขามาลงทุนในไทยเปนอันดับหนึ่งเปนประเทศที่ใหเงินกูแก ไทยมากที่สุดฉะนั้น เศรษฐกิจของไทย จึงไปพึ่งญี่ปุนมากเกินไป อาจกลาวไดวาไทยเปนเมืองขึ้นทาง เศรษฐกิจของญี่ปุน โดยเราไมรูตัวเราตองพึ่งเงินทุนจากญี่ปุนมากมายมหาศาล ฉะนั้นนโยบาย ตางประเทศของไทย ในอนาคตคงหนีญี่ปุนไมพน เราพึ่งพิงญี่ปุนจนถอนตัวไมขึ้น แลวอยางไรก็ตาม ตองมีวิถีทางที่ลดการพึ่งพิงญี่ปุนลงไปเราไมมีความเปนชาตินิยม ทําใหนโยบายตางประเทศของไทย ในการสงเสริมการลงทุนไมมียุทธศาสตร ในการ ลดการพึ่งพิงจากตางชาติ เปรียบเทียบกับญี่ปุนซึ่ง พัฒนาประเทศโดยไมตองพึ่งพิง การลงทุนจากตางชาติเลย ๑๒. ไทย-จีนเลือดยอมเขมกวาน้ํา : ไทยตัดจีนไมขาดโดยทาง วัฒนธรรมและ ประวัติศาสตรจีนเปนมหาอํานาจที่ใกลไทยมากที่สุด จีนคือ มหาอํานาจตัวจริงในประวัติศาสตรของ เอเชีย ตั้งแตสมัยสุโขทัยถึงกรุงรัตนโกสินทรเราตองสงเครื่องราชบรรณาการไปจีน เปนประจําจีน กําลังเรียกรองสถานะความเปนมหาอํานาจ ในเอเชียกลับคืนมา ดังนั้นไทยตองเขากับจีนใหได อยาง ไมมีทางเลือก ๑๓. ไทย-อินเดียไฟใบใหมของไทย : กําลังมีความสําคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ อินเดียกําลัง จะเปนมหาอํานาจประเทศหนึ่งที่เปนดาวรุง เปน “sleeping giant” มานานซึ่งตอนนี้ตื่นตัวแลว ฉะนั้น อินเดียกําลังจะเปนไพใบใหมของไทย ในความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๔. บทบาทของไทยในอาเซียน : ตองเปนบทบาทที่ไทยเปนผูนํา เราตองดําเนิน นโยบายที่เปนตัวกลางประสานรอยราวหรือเปนตัวกลาง ที่ประสานระหวางประเทศรวยกับประเทศ จนในอาเซียน รวมถึงการฟนฟูความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน ที่เสื่อมโทรมไปในยุควิกฤต เศรษฐกิจ 02_01-340_.indd 132 17/10/2562 8:35:16


133 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๕.๔ การพัฒนาการเมืองการปกครอง หลังการลมสลายของยุคลาอาณานิคมในราวปลายศตวรรษที่ ๑๙ เกิดการปลดปลอยอาณา นิคม (decolonized) จนเกิดรัฐชาติที่มีเอกราชที่สมบูรณขึ้นในโลกจํานวนมากในเอเซีย แอฟริกาและ อเมริกาใตทวาประเทศเจาอาณานิคมเดิม ยังตองการคงอํานาจทางการเมืองไวอยูเนื่องจากในเวลานั้น สถานะการเมืองโลก อยูในชวงการตอสูทางอุดมการณระหวางโลกเสรีกับโลกสังคมนิยม จึงมีการ นําเสนอความเชื่อพื้นฐานของแนวคิดการพัฒนาการเมืองจะเชื่อวาหากรัฐ-ชาติที่ เกิดขึ้นใหมนั้น จะมี ความมั่นคงในทางการเมืองจะตองพัฒนาประเทศ ไปในแนวทางของประเทศที่พัฒนาแลว (developed country) ซึ่งโดยนัยก็คือประเทศใน “โลกตะวันตก” ที่เคยเปนประเทศเจาอาณานิคม อาทิ อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา เปนตน ดังนั้นวัตถุประสงคหลักของแนวคิดการพัฒนาการเมือง นั้นสามารถเขาใจไดในสองดานคือ๖ ๑. เพื่อเปนจัดระดับความสัมพันธในระดับของการเมืองระหวางประเทศ ๒. เพื่อเปนเครื่องเมืองในทางการเมืองเพื่อปองกันรัฐ-ชาติที่เกิดขึ้นใหม ไมใหใช แนวทางในการปกครองในแบบคอมมิวนิสต รัฐชาติที่เกิดขึ้นใหมนั้นมักถูกมองวามีความวุนวายในทางการเมืองมากเกินไป ใน เวลาดังกลาว รัฐ-ชาติที่เคยเปนประเทศลูกอาณานิคมประสบปญหาทางการเมืองตางๆ อันนําไปสู ฆาตกรรมทางการเมืองการรัฐประหารและความ ลมเหลว ในการนําเขาระบอบประชาธิปไตยนัก รัฐศาสตรอเมริกันที่ความปรากฏการณความลมเหลวของการสรางระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย ในรัฐ ชาติที่เกิดขึ้นใหมนั้น เกิดจากการขาดการพัฒนาการเมืองการแกปญหาดังกลาว นักรัฐศาสตร มุงเนนไปที่การวิเคราะหการเมืองของประเทศที่เคยเปนเมืองขึ้นของ มหาอํานาจ โดยมองวาความ วุนวายในทางการเมืองที่กลาวมานี้ สงผลโดยตรงตอสมรรถภาพในการกาวหนาในทางการเมืองและยัง มีผลกระทบเปนลูกโซ ตอสมรรถนะในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอีกดวยหรือก็คือแนวคิด พัฒนา การเมืองจะมองวาการเมืองคือตัวกําหนดสมรรถนะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจะตางกับรัฐชาติที่มีระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต ที่จะใชเศรษฐกิจเปน ตัวกําหนดการเมืองและสังคม แนวคิดการพัฒนาการเมืองจะใหความสําคัญกับรัฐ ในสถานะที่เปนสถาบันหลักในการสรรสราง จิตสํานึกในทางการเมืองและกรอบในการสรางวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย เพื่อเปน รากฐานใหกับการสรางความเปนสถาบันใหเกิดขึ้นในรัฐชาติ๗ ๖ พิสิษฐกุล แกวงาม, มโนทัศนที่สําคัญในวิชาการพัฒนาการเมือง, มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชา รัฐศาสตร วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม, ๒๕๕๓ ๗ การพัฒนาการเมือง, https://th.wikipedia.org/wiki สืบคน เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 133 17/10/2562 8:35:16


134 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๔.๑ การศึกษาการพัฒนาการเมืองของนักรัฐศาสตร แนวคิดการพัฒนาการเมืองนั้นเปนวิธีการศึกษาการเมืองที่เกิดขึ้นรวมสมัยกับ การศึกษารัฐศาสตรในแนวพฤติกรรมศาสตร (behavioralism) ซึ่งในชวงเวลาดังกลาวเปนชวงเวลาที่ วิชารัฐศาสตร พยายามสรางงานวิจัยที่เกี่ยวกับ ประเด็นปญหาในสังคมจริง ๆ ไดมองปญหาอยางมี จุดมุงหมายที่สามารถนําไปแกปญหาไดจริง และทําใหรัฐศาสตรกลายเปนศาสตรบริสุทธิ์ (pure Science) มากกวาที่เปนอยูในอีกภาษาหนึ่งก็คือเวลาดังกลาวเปนชวงเวลาที่นักรัฐศาสตร พยายาม สรางแนวทางในการศึกษาการเมืองที่ไมตองหยิบยืมวิธีวิทยาแบบวิทยาศาสตรในวงวิชาการรัฐศาสตร แนวคิดพัฒนาการการเมืองมีการเรียนการสอนในระดับกระบวนทฤษฎีหรือในภาษาที่เปนที่รูจัก มากกวาคือเปนวิธีวิเคราะหการ พัฒนาทางการเมือง ((political development approaches) ดังกลาวซึ่งเปน อิทธิพลทางทฤษฎีของนักรัฐศาสตรชาวอเมริกันแกเบรียลอัลมอนด (Gabriel Abraham Almond) ที่หยิบยืมวิธีวิเคราะหมาจากวิธีวิเคราะหโครงสรางและ หนาที่ (structuralfunctional approaches) ที่มองวาการเมืองโดยรวมนั้น สามารถจะพัฒนาไดหากสมาชิกในสังคมมี “สํานึกพลเมือง (civic Culture)” หรือ “วัฒนธรรมพลเมือง (civic culture” ในการเขารวมทาง การเมืองอยางแข็งขัน (the participant political culture) แตหากสมาชิกในสังคมการเมืองวางเฉย ทางการเมือง (the parochial political culture) หรือรับรูแตไมเขารวมทางการเมือง (the subject political culture) การเมืองนั้นก็จะดอยพัฒนา๘ การพัฒนาการเมืองคือทฤษฎีการเมืองหรือกระบวนทฤษฎีที่มองวาความสามารถที่ ระบบการเมืองทําใหคนในสังคมสนับสนุนในกิจกรรมทางการเมือง และเพื่อตอบสนองความตองการ ของสังคมโดยการระดมทรัพยากรมนุษยและ ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อตอบสนองตอความตองการของ สังคมและเพื่อแกปญหาตางๆของสังคมโดยเปาหมายของพัฒนาการทางการเมืองคือการสรางสถาบัน เพื่อ จัดระเบียบการมีสวนรวมทางการเมืองเปนสําคัญ ๘ ลิขิต ธีเวคิน. ทฤษฎีพัฒนาการเมือง. ศูนยวิจัย คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ : ๒๕๒๗. 02_01-340_.indd 134 17/10/2562 8:35:17


135 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๕.๔.๒ การพัฒนาทางการเมือง ลิขิตรี ระเวคิณ๙ ไดกลาววาคําวาการพัฒนาการเมือง (political development) เปนศัพททางรัฐศาสตรที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากที่เจาอาณานิคมไดถอนกําลัง ออกไปจากประเทศที่ตนเคยเปนเจาอาณานิคมมากอน ทันทีที่มีการถอนออกจากอดีตอาณานิคม หลายประเทศกลับตกอยูในสภาพสงครามกลางเมือง มีการสูรบกันระหวางฝายตางๆ จนแยกออกเปน หลายประเทศตัวอยาง ที่ชัดที่สุดคืออินเดียซึ่งแยกออกเปนอินเดียและปากีสถานตอมาก็แยกเปน ประเทศบังคลาเทศ อีกประเทศหนึ่งสิ่งซึ่งทําใหเจาอาณานิคมหลายประเทศ ไมเขาใจก็คือกอนการ ถอนตัวออกไปนั้น ไดมีการรางรัฐธรรมนูญและ ขอตกลงตาง ๆ ไวเปนอยางดีแตทันทีที่ถอนกําลัง ออกไปกลับกลายเปนการตอสู ระหวางเผาพันธุระหวางกลุม ซึ่งมีศาสนาตางกันและระหวางกลุมซึ่งมี ความขัดแยงทางการเมืองและอุดมการณเมื่อมีการพยายามหาคําตอบจากปรากฏการณ ดังกลาวโดย นักรัฐศาสตรก็ไดคําตอบสั้น ๆ วาปรากฏการณที่เกิดขึ้นนั้นสะทอนใหเห็นถึงการขาดการพัฒนา การเมือง ในวงวิชาการอเมริกันนั้นนิยามของการพัฒนาการเมืองเกิดในชวงที่ พายเปน ประธานคณะกรรมการการเมืองเปรียบเทียบในการวิจัยทางสังคมศาสตร ที่ใหการสนับสนุนการศึกษา การพัฒนาการเมืองมาตั้งแตแรกเริ่มในชวงตนทศวรรษ ที่ ๑๙๖๐ พาย ไดพยายามศึกษาวิเคราะห ประเด็นตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการเมือง และพบวามีประเด็นที่สําคัญ ๆ มากมายและ คอนขางสลับซับซอนกวาที่เขาคาดไว พาย จึงไดสรุปการพยายามนิยามการพัฒนาการเมืองที่มีอยูใน วงวิชาการอเมริกันไว ๗ ประการ คือ ๑. การพัฒนาการเมืองเปนพื้นฐานทางการเมืองของการพัฒนา เศรษฐกิจในแงนี้ การเมืองที่พัฒนาแลวจะเปรียบเสมือนปจจัยที่สําคัญที่จะเอื้ออํานวยตอความเจริญทางเศรษฐกิจ ๒. การพัฒนาการเมือง เปนการเมืองของสังคมอุตสาหกรรมนั่นคือ มีการมองกันวา การเมืองในประเทศอุตสาหกรรมไมวาจะเปนระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยหรือเผด็จการจะมี แบบแผนของพฤติกรรมของสมาชิกของสังคม ๓. การพัฒนาการเมือง เปนความเปนทันสมัยทางการเมือง เนื่องจากแนวความคิดที่ พยายามโยงการพัฒนาการเมืองกับการเมืองของสังคม อุตสาหกรรมใหสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ไดกวางขวางยิ่งขึ้น ๙ ลิขิต ธีรเวคิน การเมืองการปกครองของไทย, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๘ 02_01-340_.indd 135 17/10/2562 8:35:18


136 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๔. การพัฒนาการเมืองเปนเรื่องการดําเนินงานของรัฐชาติความคิดนี้เกิดจาก ความเห็นที่วาแนวปฏิบัติทางการเมืองที่เกิดขึ้นอันถือไดวามีลักษณะที่พัฒนาแลวนั้นจะคลองจองกับ มาตรฐานของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในรัฐชาติยุคใหม กลาวคือรัฐชาติเหลานี้สามารถที่จะปรับตัวและ ดํารงไวซึ่งความสงบเรียบรอยของสังคมไดในระดับหนึ่งแถมยังสรางลัทธิชาตินิยมอันถือไดวาเปน เงื่อนไขที่จําเปนตอการพัฒนาการเมือง ซึ่งจะนําไปสูความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในชาติอีกนัยหนึ่ง การพัฒนาการเมืองในแงนี้ก็คือการสรางชาติ ๕. การพัฒนาการเมือง หมายถึงเรื่องราวของการพัฒนาระบบ บริหารและกฎหมาย แนวความคิดตอเนื่องมาจากความเห็นดีวาการพัฒนาการเมือง เปนเรื่องการสรางชาติโดยแบงรูปแบบ ของการสรางชาติออกเปน ๒ รูปแบบคือ การสรางสถาบันและการพัฒนาพลเมืองซึ่งทั้ง ๒ รูปแบบนี้ จะคลองจองกันในลักษณะหนึ่งแนวความคิดนี้มุงที่การพัฒนาสถาบันบริหารและพัฒนาเครื่องมือของ สถาบันนี้ไปพรอมๆ กันดวยนั่นคือการพัฒนากฎหมายเพื่อสรางความสงบเรียบรอย และประสิทธิภาพ ในการแกปญหาที่เกิดขึ้นใน ๖. การพัฒนาการเมืองเปนเรื่องของการระดมพลและ การมีสวนรวมทางการเมือง แนวความคิดนี้อางวาการฝกฝนและการใหความสําคัญกับ สมาชิกของสังคมในฐานะเปนราษฎรตลอด จนการสงเสริมใหพวกเขาเขามีสวน รวมทางการเมืองนั้นเปนสิ่งที่สําคัญยิ่งตอรัฐชาติใหมและถือไดวา เปนปจจัยที่สําคัญยิ่งตอการพัฒนาการเมืองและประเด็นที่สําคัญประการหนึ่งในการศึกษาการพัฒนา การเมืองในแงนี้คือ เรามักจะผูกพันลักษณะการเขามามีสวนรวมทางการเมืองกับสิทธิในการออกเสียง เลือกตั้งแบบประชาธิปไตยมากเกินไป จนมองขามการมีสวนรวมทางการเมืองในลักษณะอื่น ๆ ดวย หัวใจสําคัญของแนวคิดนี้คืออํานาจทางการเมืองเปนของประชาชนดังนั้น ๗. การพัฒนาการเมืองเปนเรื่องของการพัฒนาประชาธิปไตย แนวความคิดนี้ คอนขางจะแคบ คือ มองวาการพัฒนาการเมืองมีอยูรูปแบบเดียว คือ การสรางประชาธิปไตย นิยามของคําวาพัฒนาการเมืองทั้งหมด ไมไดพูดวานิยามใดผิดหรือ ถูกมากกวา นิยามอื่น ๆ แตเปนเพียงเขาตองการเนนถึงตัวแปรที่เกี่ยวของกับการ พัฒนาการเมืองที่สําคัญ ๆ ตาม แนวทรรศนะของนักวิชาการในสํานักตาง ๆ เทานั้น ดวยเหตุนี้ แตละทรรศนะจึงยอมที่จะตองมีอคติ อยูบางเปนธรรมดา เชน มองเพียงแตวาการเมืองที่พัฒนาแลวเปนการเมืองแบบประชาธิปไตย เปน ตน 02_01-340_.indd 136 17/10/2562 8:35:19


137 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๔.๓ ความสําคัญของการพัฒนาทางการเมือง สมบัติ ธํารงธัญวงศ๑๐ ไดสรุปองคประกอบอันเปนสาระสําคัญของการพัฒนาทาง การเมือง จากแนวคิดขางตนออกเปน ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความเทาเทียมกัน (Equality) ซึ่งมีความหมายครอบคลุมทั้งความเทาเทียมกัน ทางกฎหมายความเทาเทียมกันในสิทธิทางการเมืองและความเทาเทียมกันที่ประชาชนจะไดรับจาก การใหบริการของรัฐ ทั้งทางบริการดานการศึกษา สาธารณสุข ตลอดจนสิ่งอํานวยประโยชนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีประสิทธิภาพ ๒. ความสามารถของระบบการเมือง (Capacity) หมายถึง ความสามารถที่ระบบ การเมืองจะตอบสนองความตองการของประชาชนทั้งในทางสังคมเศรษฐกิจและการเมือง โดยที่ระบบ การเมืองจะตองเปดรับการควบคุม กํากับ และตรวจสอบจากประชาชน เพื่อใหมั่นใจไดวาการ ตัดสินใจใดใดทางการเมือง จะเสริมสรางใหประชาชนมีความกินดีอยูดีโดยเสมอภาคกัน ๓. การแบงโครงสรางทางการเมืองใหมีความแตกตางและมีความชํานาญเฉพาะใน ประการนี้ สอดคลองกับทัศนะของอัลมอนดและเพาเวลล (Almond and Powell๑๙๖๒, ๒๙๙- ๓๐๐) ที่เห็นวา องคประกอบสําคัญดาน หนึ่งของการพัฒนาการเมืองก็คือ การแบงโครงสรางทาง การเมืองใหมีความ แตกตางและมีความชํานาญเฉพาะ (Differentiation and Specialization) เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดตรงเฉพาะทาง สวนการจัดแบง โครงสราง ทางการเมืองออกเปนฝายตาง ๆ เชน ฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหารและ ฝายตุลาการ เปนตนนั้น เปนไป เพื่อใหแตละฝายสามารถจัดหาบุคลากรมีความ ความชํานาญเฉพาะในการปฏิบัติงานตอบสนองความ ตองการของประชาชนได อยางมีประสิทธิภาพ ๔. การเสริมสรางวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุมีผล (Secutarization of Political Culture) โดยทั่วไปนั้นสังคมแบบดั้งเดิมที่ปกครองแบบอํานาจนิยมมักจะปลูกฝงให ประชาชนยึดมั่นใจจารีตประเพณีอยางขาดเหตุผล ยึดถือเรื่องโชคลางรวมไปถึงการปลูกฝงให ประชาชนเห็นวาผูปกครองเปนผูที่มีบุญญาบารมีการพัฒนาทางการเมืองจึงเปนไปในทางมุงสงเสริมให ประชาชนใหเหตุผลในการดํารงชีวิต โดยเฉพาะความเปนเหตุเปนผลที่ประชาชนจะตองควบคุม กํากับ และตรวจสอบการเมืองอยางใกลชิด อัลมอนดและเพาเวลล (Almond and Powe( ๑๙๖๖, ๒๕๕๙- ๓๐๐) กลาวไววา ลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบ เปนเหตุเปนผลนี้ มักจะพบไดทั่วไปใน สังคมอุตสาหกรรม ๑๐ สมบัติ ธํารงธัญวงศ.ทัศนคติทางการเมืองของเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานคร.พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ:โครงการเอกสารและตํารา คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร,๒๕๓๙. 02_01-340_.indd 137 17/10/2562 8:35:20


Click to View FlipBook Version