The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หนังสือ E-BOOK, 2023-07-24 05:33:55

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

บทที่ ๗ เครื่องมือดําเนินการความสัมพันธระหวางประเทศ ๗.๑ ความนํา การดําเนินนโยบายระหวางประเทศมีความสําคัญเปนอยางมาก เชน เครื่องมือทางการทูต เชน การเจรจา ประนีประนอม ประชุม ไกลเกลี่ย ยอมความ ประทวง ยื่น Notice ตัดความสัมพันธ ระหวางประเทศ เปนตน คนที่มีบทบาทในการ ใชเครื่องมือทางการทูตคือเอกอัครราชทูต เจาหนาที่ ทูตรวมทั้งเจาหนาที่อื่น ๆ อาทิ ทูตทหาร ทูตพาณิชย มีกระทรวงตางประเทศเปนผูรับผิดชอบหลัก เครื่องมือทางการทูตเปนเครื่องมืออันแรกและใชอยูประจําสม่ําเสมอเครื่องมือทางการเมือง ไดแก อํานาจของแตละประเทศที่มีอยูไมเทากัน มักใชควบคูกันกับเครื่องมือทางทหารหรือ แสนยานุภาพ อํานาจกับแสนยานุภาพไมใชสิ่งเดียวกันแตเกี่ยวของกัน เชน สหรัฐฯ จะไปรบอิรักตองใชเครื่องมือทาง การเมืองนั่นคืออํานาจทางการเมืองของสหรัฐฯ ใน การเจรจาขอผานนานฟาประเทศตางๆ ประเทศ เล็กๆ อาจจะยอมใหผานแตโดยดีสวนประเทศใหญก็ตองขอตอรองเล็กๆ นอยๆ เพื่อใหไดผลประโยชน แหงชาติของตน เครื่องมือทางทหาร มีความสําคัญมากถาเครื่องมือกอนหนานี้ใชไมสําเร็จและไมมี ทางเลือกอื่นก็จําเปนตองใชเครื่องมือทางทหารหรือแสนยานุภาพกรณีคนกัมพูชาเผา สถานทูตไทย และกิจการคาของคนไทยในกรุงพนมเปญถารัฐบาลไทยไมมีเครื่องบิน หรือหนวยปฏิบัติการพิเศษจะ ไปชวยคนไทยไดทันเวลาไดอยางไร แสนยานุภาพหรือ กําลังทหารยังเปนสิ่งจําเปนตอทุกประเทศใน ระดับระหวางประเทศ เครื่องมือทางเศรษฐกิจ เชน การคา ความชวยเหลือ การลงทุน การรวมกลุม มาตรการทาง การคาตางๆ ฯลฯ เครื่องมือนี้ถือเปนเครื่องมือที่ฉมังยิ่งนักใชไดทั้งในยามขัดแยงและยามที่รวมมือกัน อยางพมาไมเปนประชาธิปไตยสหรัฐฯ EU จึงไมสนทนาปราศรัยไมรวมกิจกรรมระหวางประเทศดวย เครื่องมือทางจิตวิทยา หมายถึง การพูด การสรางภาพ การสื่อสารใหประเทศอื่นหรือตัวแสดงอื่น ไมโกรธ ไมเกลียดเรา เปนการทําทุกอยางใหผลประโยชนแหงชาติคงอยูได เครื่องมือทางจิตวิทยาที่ เห็นกัน บอยๆ คือการโฆษณาชวนเชื่อ เชน สหรัฐฯ ใหความชวยเหลือแกยุโรปหลังสงคราม โลกครั้งที่ สองภายใตแผนการมารแชลเพื่อหาสมัครพรรคพวกแขงกับขั้วอํานาจ คอมมิวนิสตที่มีสหภาพโซเวียต เปนผูนํา เครื่องมือตางๆ เหลานี้จะสัมฤทธิผลหรือไม ขึ้นอยูกับขีดความสามารถของรัฐ (Capability) ทุกประเทศจําเปนตองสราง Capability ของตนเองแตขีดความสามารถ บางอยางก็สรางไมได เชน ทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ ภูเขา ปาไม ทะเล น้ํามัน ฯลฯ ซึ่งนับวันจะหมดลงไปทุกทีๆสภาพแวดลอม โลกแยลงมากเปนผลมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรมขณะนี้ประเทศ อุตสาหกรรมชั้นนําทั้งหลายไดลง 02_01-340_.indd 188 17/10/2562 8:36:26


189 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ นามกันในพิธีสารเกียวโต เพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกแตสหรัฐอเมริกาไมเอาดวยเพราะจะทําให กําไรของบรรษัทขามชาติของ ประเทศสหรัฐอเมริกาเกิดความเสียหาย ขีดความสามารถของการใชเครื่องมือระหวางประเทศของรัฐมีทั้งที่เปน รูปธรรมและ นามธรรม ประกอบดวย สภาพภูมิศาสตร ไดแก ขนาด รูปราง สถานที่ตั้ง ภูมิอากาศ ประเทศใหญ หรือเล็กเกินไปก็ไมดีสถานที่ตั้งของประเทศถาอยูในบริเวณ ศูนยกลางจะมีความเจริญมากกวาการไป อยูไกลผูไกลคน ปจจุบันการพัฒนาประเทศ นิยมสรางความเปนศูนยกลางในดานตาง ๆ เชนการสราง ขีดความสามารถใหกับ ประเทศ ๗.๒ ความสําคัญของเครื่องมือการเมืองระหวางประเทศ๑ ความสําคัญของเครื่องมือในการดําเนินนโยบายตางประเทศที่ใชกันอยูใน ปจจุบัน ประกอบดวยการทูตการทูต (Diplomacy) หมายถึง ศิลปะในการดําเนินการ และในการเปนตัวแทน ผลประโยชนแหงรัฐบาลของตนในตางประเทศดวยความเฉลียว ฉลาด การเจรจาระหวางประมุขหรือ ผูนําของรัฐ นับตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ ๑ เปนตนมาการคมนาคมระหวางประเทศเจริญกาวหนาขึ้น มากทําใหการเดินทางไปมาหาสู ระหวางประเทศตางๆ ทั่วทุกมุมโลกกระทําไดโดยสะดวกรวดเร็วและ ปลอดภัยมากขึ้น จึงทําใหเกิดประเพณีทางการทูตขึ้นใหมคือการเดินทางไปเจรจาระหวางประมุขหรือ ผูนําของรัฐตาง ๆ ประธานาธิบดีวูดโรว วิลสัน เปนบุคคลแรกที่ไดปฏิบัติ คือ การ เดินทางเขารวม ประชุมเจรจาที่แวรซารย ประเทศฝรั่งเศสภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ ตอมาวิธีการนี้ไดกระทํากัน อยางกวางขวาง ในปจจุบันการทหารหลายประเทศไดใช กําลังทหารเปนเครื่องมือสนับสนุนการ ดําเนินนโยบายตางประเทศของตน เพราะวาใน เรื่องการเมืองระหวางประเทศนั้น แตละชาติตางมุง รักษาหรือแขงขันกันเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจความมุงหมายของการแขงขันคือความตองการที่จะใหชาติ อื่นยอมปฏิบัติ ตามความปรารถนาของตนหรือสามารถที่จะกําหนดเงื่อนไขในการตกลงกับชาติอื่น การเศรษฐกิจ ในปจจุบันการเศรษฐกิจไดเขามามีบทบาทในการดําเนินความสัมพันธ ระหวางประเทศอยาง มากเพราะประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจดียอมสามารถมีอิทธิพลเหนือประเทศอื่น ไดประเทศที่มั่ง คั่งมักใชพลังอํานาจทางเศรษฐกิจเปนเครื่องมือในการดําเนินนโยบายตางประเทศโดยวิธีการใหความ ชวยเหลือทางเศรษฐกิจแกประเทศที่มีความออนแอทางเศรษฐกิจทั้งในรูปแบบการใหเปลาการใหกูยืม ระยะยาวและคิดดอกเบี้ยต่ําทั้งนี้เพื่อใหประเทศเหลานั้นเปนพรรคพวกตน หรือสนับสนุน ตนในการ ดําเนินนโยบายตางประเทศการจารกรรมในการดําเนินกิจการระหวางประเทศยอมมีขอบขายการจาร ๑ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, ๒๕๕๔๒. 02_01-340_.indd 189 17/10/2562 8:36:27


190 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ กรรมหรือหนวยสืบราชการลับซึ่งสงไปปฏิบัติงานทั้งในประเทศที่เปนมิตรและประเทศที่เปนศัตรู การ จารกรรมคือการแสวงหาความลับ และการหาขาวกรองเพื่อใหไดขอเท็จจริงจากขาวสารของประเทศ ตางๆทั้งนี้เพื่อประโยชน ในดานการทหารหรือการเศรษฐกิจ หนวยจารกรรมที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจัก ไดแก CIA (Central Intelligence Agency) ของสหรัฐอเมริกา และ KGB (Komitet Gosudarstvenoi Bezopasnosti) ของสหภาพโซเวียตในอดีต๒ ๗.๒.๑ การใชเครื่องมือลดความขัดแยงระหวางประเทศ ปรากฏการณทางการเมืองระหวางประเทศ ที่เกิดขึ้นมาในทุกยุคทุกสมัย ก็คือความขัดแยงซึ่ง หมายถึง สภาวการณที่ตั้งแต ๒ ประเทศขึ้นไปมีปญหาบาง ประการที่ตองกระทําการตกลงหรือระงับ ขอปญหานั้นเสียกอน มิเชนนั้นสภาวะ ดังกลาวจะมีผลทําใหความสัมพันธทางการเมืองระหวาง ประเทศไมอาจดําเนินไปได อยางปกติ สําหรับสาเหตุของความขัดแยงระหวางประเทศสามารถสรุปได ๕ ประการ ดังนี้ ๑. การขัดแยงระหวางผลประโยชนของชาติ ผลประโยชนของชาติ ไดแกสิ่งที่ผูนําหรือ ประชาชนของประเทศหนึ่ง ถือวามีความสําคัญยิ่งตอการชํารงไวซึ่ง เอกราช วิถีชีวิต ความมั่งคั่ง และ เกียรติภูมิของประเทศโดยทั่วไปเมื่อประเทศหนึ่ง พิจารณาเห็นวาอีกประเทศหนึ่งแสวงหา ผลประโยชนใหแกประเทศมากจนเปน อันตรายตอประเทศตน การขัดแยงระหวางประเทศทั้งสอง ยอมเกิดตามมา ๒. ทัศนคติที่มีตอกัน ทัศนคติที่มีตอกันระหวางประเทศนั้นเปนผลมาจากเหตุการณในอดีต และปจจุบันและทัศนคติของประชาชนของแตละประเทศเปนสําคัญ เชน ทัศนคติที่ไมไววางใจกันมา แตกอนจะเปนตัวกําหนดนโยบายตางประเทศ ดังเชน เวียดนามมีทัศนคติสืบเนื่องมาจากอดีตวาจีน เคยมารุกรานหลายครั้ง ทําใหประชาชนเวียดนามมีทัศนคติที่ระแวงจีนอยูตลอดเวลา นอกจากนั้นยังมี ทัศนคติ ทางดานวัฒนธรรม เชน ประเทศยุโรปมักจะมีทัศนคติวาวัฒนธรรมของตนสูงกวาของคน เอเชียและแอฟริกา ดังนั้นเมื่อคนยุโรปเขาไปติดตอคาขายหรือตั้งถิ่นฐานในเอเชีย และแอฟริกา ก็ มักจะมีทัศนคติดูถูกเหยียดหยามคนผิวสีวาไมมีอารยธรรมเทาเทียมตน จากตัวอยางดังกลาวยอมเห็น ไดวาทัศนคติที่มีตอกันอาจนําไปสูความขัดแยงระหวางประเทศได ๓. การขัดแยงทางอุดมการณ อุดมการณเปนระบบความคิดที่จะ กําหนดแนวทางชีวิตของคน ในสังคม ภาวะเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของชาติ ในยุคสงครามเย็นนั้น ประเทศมหาอํานาจซึ่งถือวา ๒ เครื่องมือในการดําเนินนโยบายตางประเทศ https://www.baanjomyut.com/library_๔/politics/ ๑๐ ๔.html สืบคนเมื่อวันที่ ๒๕ ก.ค. ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 190 17/10/2562 8:36:31


191 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ตนมีผลประโยชนเกี่ยวของกับประเทศตางๆ ในโลก ไดใชอุดมการณเปนเครื่องมือในการดําเนิน นโยบายตางประเทศ อุดมการณที่ใชคือ เสรีนิยม (Liberalism) ของสหรัฐอเมริกา และคอมมิวนิสต (Communism) ของโซเวียต ๔. การแขงขันแสวงหาอํานาจ จากประวัติศาสตรชาติที่มีกําลัง มากกวาไดแสวงหาอํานาจ ดวยการลาอาณานิคมหรือการสรางจักรวรรดินิยม แตในปจจุบันจักรวรรดินิยมเปนสิ่งที่ลาสมัยและถือ วาเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน ดังนั้น ชาติมหาอํานาจจึงเปลี่ยนมาใชวิธีการใหการสนับสนุนรัฐบาล ของประเทศตางๆ โดยมีวัตถุประสงคที่จะใหประเทศเหลานั้นเปนพันธมิตรกับประเทศตนการ สนับสนุน ทําไดหลายรูปแบบ เชน การชวยเหลือทางเศรษฐกิจ การใหกําลังอาวุธ การสงคณะที่ ปรึกษาทางทหาร รวมถึงการสงกองกําลังทหารเขาไปสนับสนุนรัฐบาลที่เปนพันธมิตร การแขงขัน แสวงหาอํานาจดังกลาวมานี้ ทําใหเกิดการขัดแยงระหวางชาติมหาอํานาจ ซึ่งสงผลกระทบตอ ความสัมพันธอยางกวางขวางในบรรดาประเทศพันธมิตรของชาติมหาอํานาจ และทําใหเกิดความ ระแวง มีการแบงพรรคแบงพวก ซึ่งนําไปสูความ ขัดแยงในที่สุด ๕. การขัดแยงเรื่องดินแดน การขัดแยงในเรื่องดินแดนไดเกิดขึ้นในหลายภูมิภาคของโลก ตลอดเวลา และไดนําไปสูการทําสงครามหลายครั้ง โดยเฉพาะอยางยิ่งในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่ง เกิดเปนความขัดแยงระหวางอิสราเอลกับชาติอาหรับซึ่งประกอบดวย อียิปต ซาอุดิอารเบีย ซีเรีย อิรัก จอรแดน และเลบานอน เปน ตน ๗.๒.๒ มาตรการแกไขความขัดแยงระหวางประเทศ๓ ในกรณีที่เกิดความขัดแยงระหวางประเทศขึ้น ประเทศที่มีสวนเกี่ยวของกับความขัดแยงนั้น ยอมไมสามารถจะรักษาความสัมพันธอันดีระหวางประเทศกันไวได หากความขัดแยงมีขีดความรุนแรง สูง อาจจะตองถึงกับมีการตัดความสัมพันธทางการทูตก็ได อยางไรก็ดี โดยทั่วไปแลวประเทศคูกรณีที่ เกิดความขัดแยงนั้น ไมพึงปรารถนาที่จะปลอยใหความขัดแยงมีอยูตลอดไป เพราะตราบเทาที่ยังมี ความขัดแยงอยู ประเทศคูกรณีไมอาจมีความสัมพันธปกติตอกันได ดังนั้น จึงมี ความจําเปนตอง แสวงหามาตรการที่เหมาะสม เพื่อแกไขความขัดแยงระหวางประเทศที่เกิดขึ้น สําหรับมาตรการที่ถือเปนขนบธรรมเนียมใน การแกไขความขัดแยงนั้น มีดังนี้ ๓ มาตรการแกไขความขัดแยงระหวางประเทศ https://www.baanjomyut.com/library ๔/politics/ ๑๐ ๖.html. สืบคนเมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 191 17/10/2562 8:36:31


192 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. การเจรจาโดยตรงระหวางประเทศที่มีปญหาตอกันวิธีการนี้ จะใชไดกับประเทศที่มีปญหา ตอกันโดยตราซึ่งสวนใหญมักจะเปนประเทศที่มี พรมแดน ติดตอกัน ทําใหเกิดการกระทบกระทั่งที่ นําไปสูความขัดแยงกัน เชน กรณี ปญหาชายแดนพมาของไทยซึ่งทําใหรัฐบาลและผูนําทางทหารของ ไทยและพมาตอง เปดเจรจาตอกันเพื่อแกไขปญหา เปนตน ๒. การประนีประนอม เปนมาตรการที่คูกรณีที่มีความขัดแยงและตกลงกันไมไดยินยอมให ประเทศเปนกลางหรือประเทศที่สามเขาไปมีสวนรวมในการประนีประนอม เชน ในสงครามอินโดจีน ประเทศญี่ปุนไดเสนอตัวเขามาเปนผูเจรจาประนีประนอมยุติความขัดแยงเรื่องขอพิพาทดินแดน ระหวางไทยกับฝรั่งเศส และในป พ.ศ. ๒๕๐๗ ประเทศไทยไดมีสวนในการประนีประนอมความ ขัดแยงระหวาง มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส ในสวนที่เกี่ยวกับความขัดแยงในกรรมสิทธิ์การ เปนเจาของเกาะบอรเนียวตอนเหนือ เปนตน ๓. อนุญาโตตุลาการ การใชอนุญาโตตุลาการมักจะเปนปญหาความขัดแยงเกี่ยวกับกฎหมาย แพงและพาณิชยระหวางประเทศ กลาวคือคูกรณีจะเปนผูตกลงใจคัดเลือกคณะบุคคล เพื่อปฏิบัติ หนาที่เปนอนุญาโตตุลาการที่จะมาเปนผู พิจารณาและตัดสินขอพิพาท ๔. ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (International Court of Justice) ศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศเปนองคกรหนึ่งของสหประชาชาติ มีอํานาจ หนาที่ในการพิจารณาคดีขอพิพาททางกฎหมาย ซึ่งเกิดขึ้นระหวางประเทศที่ยอมรับ อํานาจของศาลนี้ไวเปนการลวงหนา หรือพิจารณาคดีอื่นใดที่กฎ บัตรสหประชาชาติ หรือสนธิสัญญาตาง ๆ ไดกําหนดไววาศาลนี้มีอํานาจพิจารณาชี้ขาดได หรือคดีที่ คูพิพาทรองขอใหมีการพิจารณาชี้ขาด ๗.๓ เครื่องมือดานการทูต การทูตเปนเครื่องมือการดําเนินนโยบายตางประเทศผานตัวแทน โดยชอบธรรมของรัฐ ดวย วิธีการตาง ๆ ที่เปนไปอยางสันติ เชน การเจรจาการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การล็อบบี้ การเยี่ยม เยียน ฯลฯ ดังนั้น การทูต จึงไมมีความหมายที่ตายตัว จากวิวัฒนาการทางการทูต ตั้งแตศตวรรษ ที่ ๑๙ เปนตนมา ที่ทําใหขอบเขตของการทูตขยายตัวมากขึ้น บทบาททางการทูตไมไดอยูที่ชนชั้นนํา เสมอไป และความสัมพันธก็ไมไดยึดอยูกับเรื่องการเมืองเพียงอยางเดียว การทูต มีความหมายที่ เปลี่ยนไปแบบไมเฉพาะเจาะจง ทําใหปจจุบันจะเห็นการนําการทูตมาใช รวมในหลากหลายบริบท และเปนที่ยอมรับโดยสากล เชน การทูตสาธารณะ การทูตภาคประชาสังคม และผูนําศาสนา การทูต วัฒนธรรม เปนตน ถานําแนวคิดของการทูตมาพิจารณาในบริบทของการลามสามารถกลาวไดวา “ลามการทูต” เปนการไมจําเปนตองจํากัดอยูที่การลามเพื่อเปาหมายทางการเมือง ยังรวมไปถึง 02_01-340_.indd 192 17/10/2562 8:36:32


193 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เปาหมายทาง เศรษฐกิจ สังคม และลามการทูตยังไมจํากัดอยูที่การลามเพื่อบุคคลระดับรัฐ และการ ปฏิบัติหนาที่ก็ตองวางอยูบนฐานของผลประโยชนของประเทศเปนสําคัญ แนวคิดวาดวยภาษาการทูต ภาษาการทูต คือ ภาษาทางการที่ใชในทางการทูตตามที่ Earnest Satow Mason ไดอางถึงวา ในยุโรปเริ่มมีการใชภาษาละตินในทางการทูตตั้งแตยุคกลาง (the Middle Ages) ในศตวรรษที่ ๕ จนถึงยุคฟนฟู (Renaissance) นักการทูต เริ่มเปนผูนําภาษามา ใชในการสื่อสารระหวางนักการทูตที่พูดดวยคนละภาษา จนกระทั้งศตวรรษที่ ๑๘ กษัตริยของอังกฤษ สื่อสาร กับกษัตริยของฝรั่งเศสดวยภาษาฝรั่งเศส ภาษาฝรั่งเศสกลายเปนภาษาที่นิยมมากขึ้น ภายหลังภาษาฝรั่งเศสและอังกฤษถูกนํามาใชคูกันเพราะอังกฤษพยายามผลักดันใหนํา ภาษาอังกฤษ มาใชในทางการทูต ความสามารถเลือกใชภาษาไดอยางหลากหลายและเทาเทียมกัน การกําหนด ภาษาที่ใชในองคการระหวางประเทศอิทธิพลทําใหภาษา กลายเปนคุณสมบัติหนึ่งที่ผูแทนประเทศ ควรมีเพราะผูแทนประเทศสามารถสื่อสาร โดยภาษาใดภาษาหนึ่งในภาษาที่ใชแพรหลายและสื่อสาร กับคนหมูมากไดคุณสมบัติทางภาษาจึงไดรับการสนับสนุนใหกลายเปนคุณสมบัติพื้นฐานของนักการ ทูตซึ่งเปนผูแทนประเทศจากขอมูลของ Satow ปรากฏวารัฐบาลในหลายประเทศเห็นวาภาษามี ความสําคัญตอบุคลากรของรัฐ เชน ในสหรัฐอเมริกาหรือรัสเซียซึ่งสนับสนุนนักการ ทูตที่มีความ เชี่ยวชาญในภาษาตางประเทศ และอังกฤษสนับสนุนการพิจารณาเพิ่มคาจางพิเศษใหกับนักการทูตที่ มีความเชี่ยวชาญในภาษาตางประเทศความสัมพันธระหวางประเทศที่ขยายขอบเขตออกไปทําให กรอบความคิดของภาษาในทางการทูตจึง เปลี่ยนแปลงตามโดยเฉพาะนักการทูต ซึ่งจะไมใชเพียง บุคคลเดียวที่สื่อสารภาษาตางประเทศ ไดเทานั้น แตมีบุคคลอื่นอยางประมุขผูนํารัฐบาลรัฐมนตรีหรือ เจาหนาที่ระดับสูงที่ตองเขามาเกี่ยวของ ดังนั้นการสื่อสารจึงไมไดเนนที่การสื่อสารของนักการทูตแต ละบุคคล ๗.๓.๑ ความหมายของทูต เจาหนาที่การทูต หรือ นักการทูต (diplomat) หมายถึง เปนบุคคลที่รัฐแตงตั้งใหดําเนิน กิจการทางการทูตกับรัฐอื่นหรือองคการระหวางประเทศ หนาที่ หลักของนักการทูต คือ การเปน ผูแทนเจรจาและปกปองผลกระโยชน ตลอดจนปกปองประเทศนั้น ๆ เชนเดียวกับการสนับสนุนขอมูล และความสัมพันธฉันมิตร นักการทูตสวนใหญสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาดานความสัมพันธ ระหวางประเทศ รัฐศาสตร เศรษฐศาสตร หรือกฎหมายการใชทูต หรือนักการทูต ถือเปนรูปแบบที่ เกาแกที่สุดของสถาบันนโยบายตางประเทศของรัฐ โดยเกิดขึ้นกอนหนาที่จะมีการจัดตั้งกระทรวงการ ตางประเทศรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ และ หนวยงานรัฐบาลในรูปแบบของกระทรวง ในสมัยปจจุบันเปนเวลาหลายศตวรรษ ในกรณีของประเทศไทย มีการใชทูตสื่อสารไปมาระหวาง กษัตริยตอกษัตริยมาแลวอยางนอยตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยหลายรอยปกอนหนาที่กระทรวงการ 02_01-340_.indd 193 17/10/2562 8:36:33


194 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ตางประเทศจะได มีการสถาปนาขึ้นตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว ที่จะทรงจัดตั้งระบบบริหารราชการแผนดินแบบกระทรวง ในป พ.ศ. ๒๔๑๘ ตามอนุสัญญา กรุงเวียนนาดานความสัมพันธทางการทูตป ๑๙๖๑ ไดแบงชั้นของหัวหนาคณะผูแทนออกเปนตระดับ ๓ คือ ๑. ระดับเอกอัครราชทูต (Ambassador) หรือเอกอัครสมณทูต (Nuncio) เอกอัครราชทูต เปนตัวแทนของรัฐโดยตรง หรือขององคประมุขแหงรัฐนั้น จึงทําใหเอกอัครราชทูตมีสิทธิพิเศษ เหนือกวาหัวหนาคณะผูแทนทางการทูตลําดับอื่น เอกอัครราชทูตมีสิทธิที่จะขอเขาพบองคประมุขแหง รัฐไดทุกขณะเพื่อเจรจาขอราชการ สวนเอกอัครสมณทูต (Nuncio) นั้นจะเปนตัวแทนของพระ สันตปาปาในหนาที่ราชการเกี่ยวกับดานศาสนามากกวากิจการบานเมือง ๒. ระดับที่สอง คือ รัฐทูต (Envoy) อัครราชทูต (Ministers) และอัครสมณทูต (Internuncio) เปนตัวแทนของรัฐเชนกันอยางไรก็ตามรัฐทูตมักเปนหัวหนาคณะทูตพิเศษเพื่อไป ปฏิบัติการเปนการชั่วคราวโดยมิไดไปประจําอยูในประเทศผูรับ แตเปนตัวแทนของประมุขในงานพิธี เมื่อเสร็จพิธีก็เดินทางกลับขณะที่อัครสมณทูตเปนหัวหนาคณะผูแทนทางการทูตจากรัฐวาติกัน ๓. อุปทูต (Charged' Affaires) มี ๒ ประเภท คือ ๓.๑ อุปทูตที่เปนหัวหนาคณะทูต : เปนหัวหนาคณะผูแทนทางการ ทูตระดับ ๓ โดย เหตุผลของการแตงตั้งอุปทูตระดับนี้ก็เนื่องจากความสัมพันธระหวาง รัฐทั้งสองยังไมมั่นคงพอ ๓.๒ อุปทูตผูรักษาการแทน : ไมไดเปนหัวหนาคณะผูแทนทางการ ทูตตามตําแหนงเปน แตผูรักษาการแทนชั่วคราว โดยปฏิบัติราชการแทนหัวหนาคณะผูแทนซึ่งลาพักรอนหรือถูกเรียกตัว กลับประเทศตัวเองในความสัมพันธระหวางประเทศนั้นทั้ง ๒ ฝายอาจจะตกลงกันใหมีหัวหนาคณะ ผูแทนเพียงระดับอุปทูต โดยอุปทูตเปนเพียงผูรักษาการในตําแหนง หรือรักษาการแทนหัวหนาสถาน เอกอัครราชทูตหรือหัวหนาคณะผูแทนทางการทูต ๗.๓.๒ หนาที่และบทบาทของทูตระหวางประเทศ บทบาทหนาที่นักการทูต คือ การรักษาและสงเสริมผลประโยชนของไทย ในเวทีตางประเทศ ดูแลวเปนงานที่มีขอบขายกวางมาก ในอดีตบทบาทของนักการทูต สวนใหญเกี่ยวของกับการเมือง และมีบทบาทหลักถึงขั้นเปนตัวตัดสินความอยูรอดของเอกราชและอธิปไตยของประเทศชาติ แตในยุค โลกาภิวัตนนี้บทบาทของนักการทูตตองปรับเปลี่ยนไป เพื่อใหกาวทันความซับซอนที่เพิ่มขึ้น และการ ที่นานาประเทศตองพึ่งพาซึ่งกันและกันมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการที่ผลประโยชนทางเศรษฐกิจ มี บทบาทสําคัญขึ้นในนโยบายตางประเทศ โดยเชื่อมโยงกับปจจัยทางการเมือง และสังคมมากขึ้น 02_01-340_.indd 194 17/10/2562 8:36:36


195 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation นักการทูตจะทําหนาที่รวบรวมและรายงานขอมูลซึ่งอาจสงผลกระทบตอ ผลประโยชนของ ชาติซึ่งบอยครั้งมักเปนการแนะนําเกี่ยวกับมาตรการรับมือใหแก รัฐบาลของประเทศ จากนั้นเมื่อมี นโยบายรับมือออกมาจากรัฐบาลแลวนักการทูตจะมีหนาที่ในการถายทอ ดวยวิธีการที่ชักจูงใหแก รัฐบาลประเทศที่ประจําอยูนั้นเพื่อพยายามโนมนาวใหรัฐบาลเหลานั้นดําเนินการใหเหมาะสมกับ ผลประโยชนของประเทศแมดวยวิธีการดังกลาวนักการทูตจึงเปนจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดของวงจรใน กระบวนการนโยบายตางประเทศ ๗.๔ เครื่องมือดานการทหาร นโยบายการทหาร เรียกวา นโยบายการปองกัน คือ นโยบายสาธารณะที่ เกี่ยวกับความ มั่นคงระหวางประเทศ และการทหาร ประกอบดวยมาตรการและการ ริเริ่มตาง ๆ ที่รัฐบาลทําหรือไม เกี่ยวของกับ การตัดสินใจและเหมายเชิงยุทธศาสตร เชนเวลาและวิธีการกอกองกําลังประจําชาติ นโยบายดานการทหารถูกนํามาใชเพื่อ รักษาความเปนอิสระในการพัฒนาประเทศและลดความ ยากลําบากที่เกิดขึ้นจาก นักแสดงภายนอกที่เปนมิตรและกาวราวรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม เปนผูตัดสินใจหลักในการกําหนดนโยบายทางทหารของประเทศ นโยบายการทหารระบุภัยคุกคามจากความเปนปรปกษและการรุกราน ตาม การวิเคราะห ขาวกรอง และกําหนดขอบเขตทางทหารของความมั่นคงของชาติ พันธมิตรการปองกัน ความพรอม รบพรอมกับการจัดตั้งกองกําลังทหารของกองทัพแหงชาติและการใชเทคโนโลยีทางทหาร นโยบายการทหารของประเทศกําหนดยุทธศาสตรการปองกันประเทศ "เมื่อ" ในการกอกอง กําลังประจําชาติ นโยบายการทหารของประเทศยังกําหนดทาทางเชิงกลยุทธ "วิธีการ” ตอภัยคุกคาม ใดๆ ที่เปนไปไดในดินแดนแหงชาติสังคม สิ่งแวดลอมและเศรษฐกิจและกําหนดตัวเลือกที่สามารถ จัดการกับภัยคุกคามดังกลาวได รัฐบาลทหารมีทางเลือกมากขึ้นในการจัดเตรียมนโยบายทางการ ทหารใหดียิ่งขึ้น ทาทางเชิงกลยุทธในทางกลับกันกําหนดแนวความคิด ทางทหาร ของกองกําลังติด อาวุธ หลักคําสอนนี้ อาจรวมถึงการเผชิญหนากับภัยคุกคามตอผลประโยชนของชาติที่ อยูนอกอาณา เขตของประเทศเชน เสนทางการเดินเรือยุทธศาสตรการปองกันและ หลักคําสอนของทหารไดรับการ พัฒนาขึ้น แมวานโยบายยุทธศาสตรและ กระบวนการพัฒนาขีดความสามารถ นโยบายการทหารถูก สรางขึ้นโดยผานกระบวนการทางทหาร ในการตัดสินใจขององคกรที่สําคัญรวมถึงการกําหนดลําดับ ความสําคัญและทางเลือกตางๆ เชนการปองกันตัวบุคคลและโครงการดานเทคโนโลยี หรือการ จัดลําดับความสําคัญ ดานงบประมาณและการเลือกสิ่งเหลานั้นบนพื้นฐานของผลกระทบที่พวกเขามี ตอการพัฒนาประเทศโดยรวม นโยบายดานการปองกัน สามารถเขาใจไดวาเปนกลไกทางการเมือง 02_01-340_.indd 195 17/10/2562 8:36:37


196 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ การจัดการการเงินการบริหาร และปฏิบัติการที่จัดไวใหบรรลุวัตถุประสงคและวัตถุประสงคทางทหาร ที่ชัดเจน นโยบายการทหารที่อยูบรรลุเปาหมายทางทหารและวัตถุประสงคของตน โดยการแถลงอยาง ชัดเจนเกี่ยวกับความสามารถ ที่ตองการในความพรอมรบพรอมกับ องคกร ทางทหารความสัมพันธ ทางการเมืองและทางทหาร ( พลเรือนควบคุม ยุทโธปกรณ ) บทบาทของกองกําลังติดอาวุธคําสั่ง และการควบคุม ( เทคโนโลยี การเคลื่อนยาย วัสดุ และ โลจิสติกส ) บล็อกลาสมัยความเปนมืออาชีพ และ การฝกอบรม การสรรหาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในกองทัพยืนกองกําลังสํารองทหาร และ conscriptions นโยบายการทหารแตกตางไปจาก ฎเกณฑของการสูรบ กําหนดวาเมื่อใดที่ไหนและจะใช กําลังทหารไดอยางไร โดยการกอตัวและหนวยตางๆ ๗.๔.๑ กองกําลังทหารนาโต องคการนาโต มีชื่อเต็มวา "องคการสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ" (North Atlantic Treaty Organzation : NATO) เปนองคกรความรวมมือทาง การเมืองและการทหารของประเทศคายเสรี ประชาธิปไตย กอตั้งเมื่อวันที่ ๔ เมษายน ค.ศ. ๑๙๕๙ เกิดจากแนวคิดของ เซอรวินสตัน เชอรชิล นายกรัฐมนตรี อังกฤษสมัยนั้น ๑. วัตถุประสงคขององคการ NATO ตั้งขึ้นเพื่อรักษาความมั่นคง รวมกันในหมู ประเทศสมาชิก เนื่องจากการตื่นกลัวภัยคุกคามของคอมมิวนิสตสหภาพ โซเวียต ภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนตนมา โดยยึดถือหลักการที่วา "การโจมตี ประเทศสมาชิกประเทศหนึ่ง ประเทศใด จะถือวาเปนการโจมตีประเทศสมาชิก ทั้งหมด" ๒. ฐานะขององคการ NATO ในปจจุบัน จุดมุงหมายของ NATO เมื่อแรกกอตั้ง คือ การรวมกลุมพันธมิตรทางการทหารเพื่อถวงดุลอํานาจกับสหภาพ โซเวียต ในยุคของสงครามเย็น (The Cold War) นับตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนตนมา แตในปจจุบัน ยุคของสงครามเย็นได สิ้นสุดลงแลว เพราะการลมสลาย ของสหภาพโซเวียต และลัทธิคอมมิวนิสตในยุโรปตะวันออก จึงทํา ใหบทบาทและ ความสําคัญขององคการ NATO ทางดานการทหารในปจจุบันลดนอยลง ๓. สํานักงานใหญขององคการ NATO สํานักงานใหญหรือที่ตั้งฐาน ทัพองคการ NATO อยูที่กรุงบรัสเซลล ประเทศเบลเยียม ๔. ประเทศสมาชิก องคการ NATO ในปจจุบันประเทศ สมาชิกองคการ NATO มี จํานวน ๑๙ ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา แคนาดา เบลเยียม นอรเวย 02_01-340_.indd 196 17/10/2562 8:36:38


197 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation เนเธอรแลนด ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนี กรีซ ตุรกี เดนมารก ลักเซมเบอรก ไอซแลนด โปรตุเกส อังกฤษ สเปน ฮังการี เช็กและโปแลนด ๗.๕ เครื่องมือดานกฎหมายระหวางประเทศ นโยบายตางประเทศของไทยนับแตอดีตจนถึงปจจุบัน แสดงใหเห็นวา นโยบายของประเทศ ไทยจะมีสวนหนึ่งเปนนโยบายหลักไมมีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย อีกสวนหนึ่งเปนการดําเนินงานตาม วัตถุประสงคเฉพาะชาติ ซึ่งการดําเนินงานใน ประการหลังนี้จําเปนตองเปลี่ยนสภาพการณใหมีความ ยืดหยุนตามสภาพแวดลอม เมื่อสูไมไดก็ยอมผอนตามไป รูกําลังของตนเองและฝายตรงขามพยายาม ในการรักษา เกียรติ และอธิปไตยของชาติตองวิเคราะหนโยบายของชาติอื่นๆใหออกประเทศไทย ไมไดนําเอานโยบายของประเทศใดๆมาใชโดยเฉพาะ แตมีนโยบายเปนของตัวเอง มีการดําเนินการใน หลายรูปแบบขึ้นกับเวลา สถานการณ และความเหมาะสมในขณะนั้น ๆ ยึดมั่นและเคารพใน พันธกรณีระหวางประเทศและพรอมที่จะปฏิบัติตาม ดวยดีมาโดยตลอดตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ๗.๕.๑ ที่มาของกฎหมายระหวางประเทศที่ไมเปนลายลักษณอักษร ๑. จารีตประเพณี ซึ่งกฎหายจารีตประเพณีจะมีขึ้นไดก็ตอเมื่อมีการปฏิบัติและ ความเชื่อมั่นวามีพันธกรณีตามกฎหมายกฎหมายจารีตประเพณี มีความสําคัญมากในกฎหมาย ระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ๒. หลักกฎหมายทั่วไป คือ กฏเกณฑตาง ๆ ที่มาจากกฎหมายภายในประเทศ ถือ วาเปนบอเกิดของกฎหมายระหวางประเทศ สําหรับศาลยุติธรรมระหวางประเทศหากไมมีอนุสัญญา หรือหลักจารีตประเพณีมาปรับใชบังคับในกรณีพิพาทได ก็จะพิจารณาพิพากษาโดยนําหลักกฎหมาย ทั่วไปมาใช ๗.๕.๒ ที่มาของกฎหมายระหวางประเทศ ที่เปนลายลักษณอักษร ๑. สนธิสัญญา หมายถึง ความตกลงระหวางประเทศที่ทําขึ้นระหวางรัฐเปนลาย ลักษณอักษร และอยูภายใตขอบเขตของกฎหมายระหวางประเทศ ๒. ขอตกลงระหวางประเทศ หมายถึง ขอตกลงระหวางประเทศ กอใหเกิดผลทาง กฎหมายเปนผลบังคับใหประเทศที่แสดงเจตนาตามขอตกลงระหวาง ประเทศตองปฏิบัติตาม ๓. คําพิพากษาของศาล หมายถึง คําพิพากษาของศาลยุติธรรม ระหวางประเทศ (ศาลโลก) 02_01-340_.indd 197 17/10/2562 8:36:39


198 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๗.๕.๓ ประเภทของกฎหมายระหวางประเทศ ๑. กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมืองเปนเครื่องกําหนด หลักเกณฑ ความสัมพันธระหวางประเทศ ซึ่งประเทศยอมมีสิทธิและหนาที่เหมือนบุคคลธรรมดาคนหนึ่ง สิทธิ และหนาที่ในฐานะนิติบุคคลของแตละประเทศตองมีความสัมพันธและขอพิพาทโตแยงซึ่งกันและกัน การกอใหเกิดและธํารงไวซึ่งความเปนระเบียบเรียบรอย ที่สอดคลองกับผลประโยชนสวนรวมของ สังคมแหงรัฐเปนบทบาทที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ทําใหสงเสริมมิตรภาพความรวมมือปรองดอง และ มิตรไมตรีระหวางรัฐ โดยกฎหมายระหวางประเทศไมพึ่งพาการใชกําลังใหรัฐอยูภายใตบังคับ ของกฎหมาย ระหวางประเทศ กลาวคือ ไมมีสภาพบังคับ นั่นเอง ( จึงมีผูกลาววา กฎหมายระหวางประเทศมี ลักษณะที่ไมสมบูรณ) จึงทําใหสังคมระหวางรัฐมีลักษณะสังคมอนาธิปไตย ซึ่งไมมีอํานาจสูงสุดในการ บังคับบัญชา ทําใหรัฐตางๆ มีการใชกําลัง ตอสูกันอยูบอย ๆ ๒. กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลเปนกฎหมายที่บัญญัติ เกี่ยวกับ ความสัมพันธระหวางบุคคลซึ่งอยูในประเทศตาง ๆ กัน เปนความเกี่ยวพันธ ในเรื่องสิทธิและหนาที่ ของพลเมืองของประเทศซึ่งกระทําการเกี่ยวของกับคนตางชาติ หรือระหวางคนตางชาติดวยกันเอง ในขณะอยูในประเทศอื่น ๗.๕.๔ วิวัฒนาการของกฎหมายระหวางประเทศ กฎหมายระหวางประเทศสมัยโบราณไมมีการใชกฎหมายรวมกันและ ไมมีการ ยอมรับความเสมอภาคของกลุมชนการแกปญหาความขัดแยงระหวางกลุมชน มักจะใชกําลังทํา สงคราม ตอมาลดความทารุณโหดรายลงดวยการวางหลักเกณฑแหงสงครามและเมื่อสังคมชาติมี ความสัมพันธกันกวางขวางมากขึ้น จนถึงมีผูแทนของแตละชาติเขาไปในชาติอื่นจึงเกิดมีการ วิวัฒนาการดานกฎหมายขึ้น กฎหมายระหวางประเทศสมัยใหม ชาวยุโรปสนใจกฎหมายโรมันมากขึ้นไดมีการวาง หลักกฎหมายเกี่ยวกับทะเลขึ้นหลายฉบับแลวรวบรวมเอาจารีตประเพณีและการปฏิบัติระหวางกันขึ้น หลายประเทศนําหลักเกณฑแหงความสัมพันธทางการทูตที่โกรซิอุส เขียนไว ไปบังคับใช ซึ่งถือวาเปน กฎหมายระหวางประเทศอันหนึ่ง กฎหมายระหวางประเทศสมัยปจจุบัน ในตนยุคนี้มีการสูรบทั้งภายใน และนอก ประเทศ ทําใหประเทศตางๆ แสวงหาความเปนอยูแบบสันติสุขจึงไดจัดทําสนธิสัญญากันขึ้น อังกฤษเปนประเทศแรกที่ไดเปลี่ยนรูปแบบของรัฐ จากรัฐราชาธิปไตย ไปสูรัฐสมัยใหมที่ตั้งอยูบน อาณาเขตที่กําหนดไวชัดแจง 02_01-340_.indd 198 17/10/2562 8:36:42


199 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ก. สนธิสัญญาเวสทฟาเลีย ไดรับการขนานนามวา กฎบัตรวาดวย ธรรมนูญแหง ยุโรป ข. สนธิสัญญาอูเทรคท ไดกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับแนวอาณา เขตระหวาง ประเทศในยุโรป ค. องคการสหประชาชาติเปนปจจัยสําคัญของชีวิตระหวาง ประเทศและเปนกลไก สําคัญในการสรางสันติภาพอยางแทจริง ๗.๕.๕ ความแตกตางระหวางกฎหมายภายในกับกฎหมายระหวางประเทศ มูลฐานแหงกฎหมายไมวาจะเปนกฎหมายภายในหรือระหวางประเทศยอมมีมูลฐาน มาจากความยินยอมและการแสดงเจตนา ๑. การบังคับใชกฎหมาย ๑.๑ กฎหมายระหวางประเทศกระทําไดระหวางรัฐหลายรัฐที่ได แสดง เจตนาไวแตเบื้องตน ๑.๒ กฎหมายภายในใชบังคับไดแตเพียงในรัฐใดรัฐหนึ่งเทานั้น ๒. การชี้ขาดปญหาขัดแยง ๒.๑ การชี้ขาดปญหาขัดแยงเกี่ยวกับกฎหมายภายในเปนหนาที่ ของศาล ยุติธรรมภายในประเทศ ๒.๒ กรณีมีขอพิพาทระหวางประเทศสถาบันที่มีหนาที่ในการชี้ขาดปญหา ไดแก ศาล ยุติธรรมระหวางประเทศ ซึ่งมีที่ตั้งอยูที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด ๓. หลักเกณฑของการบัญญัติกฎหมาย ๓.๑ กฎหมายระหวางประเทศบัญญัติโดยความยินยอมของแตละประเทศ ๓.๒ กฎหมายภายในประเทศ บัญญัติขึ้นโดยดุลยพินิจของรัฐ ๔. ลักษณะทั่วไปของกฎหมายระหวางประเทศ ๔.๑ กฎหมายตองเปนคําสั่งหรือขอบังคับ ๔.๒ กฎหมายตองเปนคําสั่งหรือขอบังคับที่มาจากรัฏฐาธิปตย รัฏฐาธิปตย คือ ผูซึ่งประชาชนสวนมายอมรับนับถือวาเปนผูมีอํานาจสูงสุดในแผนดิน หรือบานเมืองนั้นและผูมี อํานาจไมตองรับฟงอํานาจของผูใดอีก 02_01-340_.indd 199 17/10/2562 8:36:43


200 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๔.๓ กฎหมายตองเปนคําสั่งหรือ ขอบังคับที่ใชบังคับทั่วไป ๔.๔ กฎหมายตองมีสภาพบังคับ ๕. โครงสรางของสังคมระหวางประเทศ และบอเกิดของกฎหมายระหวาง ประเทศ๔ หากจะกลาวถึงโครงสรางของสังคมระหวางประเทศ เปนรูปธรรมที่ พอจะมองเห็น ไดอยางชัดเจนและเขาใจโดยงายแลว อาจเปรียบเทียบไดโดยมองถึง สังคมภายในประเทศที่ ประกอบดวยประชาชนในประเทศที่อยูภายใตกฎหมายภายในของประเทศนั้นๆ กลาวคือ ประชาชนก็ คือตัวตนในกฎหมาย (Subject in Law) ภายในทํานองเดียวกันกับสังคมระหวางประเทศประเทศ หนึ่ง ๆ ในโลกก็คือ ตัวตนในกฎหมายระหวางประเทศที่อยูรวมกันภายใตกฎหมายระหวางประเทศ และทํานองเดียวกันกับกฎหมายภายในที่กําหนด ระเบียบ ขอบังคับ รวมทั้งบทลงโทษ กันบุคคลที่ฝา ฝน สังคมระหวางประเทศก็เชนเดียวกันที่มีกฎหมายระหวางประเทศเปนตัวกํากับดูแลใหประเทศใน สังคมโลกอยูรวมกันอยางมีความสุขและบทลงโทษของกฎหมายระหวางประเทศคงมีเชนเดียวกันกับ กฎหมายภายใน แตเนื่องจากประเทศไมสามารถลงโทษไดเชนเดียวกับบุคคลธรรมดาจึงมีการลงโทษ (sanction) ที่แตกตางกันออกไป เชน การลงโทษทางศีลธรรม (moral sanction) การลงโทษทาง การเมือง (political sanction) และการลงโทษทางกฎหมาย (epal sanction) ทั้งนี้กฎหมายระหวาง ประเทศมีที่มาจากจารีต ประเพณีระหวางประเทศ สนธิสัญญา หรือความตกลงระหวางประเทศ ตลอด จนคาพิพากษาของศาลยุติธรรม ระหวางประเทศ ที่ไดรับการยอมรับนับถือผูกพันคูกรณีและใน สวนที่เปนการวางแนว ทางการปฏิบัติอันเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ๖. ความสัมพันธระหวางกฎหมายภายในและกฎหมายระหวางประเทศ ดังไดกลาวมาแลววากฎหมายในประเทศนั้นยอมมีผลบังคับภายในประเทศนั้น ๆ ซึ่ง ยอมแตกตางกันออกไปตามสภาพของสังคม ประชาชนและ ระบอบการปกครองในประเทศนั้นๆ ดังนั้นความแตกตางของกฎหมายภายในของแต ละประเทศอาจจะมีความคลายคลึงกันหรือแตกตาง กันโดยสิ้นเชิง จึงเปนเรื่องปกติที่ พบเห็นไดโดยทั่วไป เพราะประเทศแตละประเทศยอมมีอํานาจ อธิปไตย (sovereignty) เปนอิสระปลอดจากการแทรกแซงจากประเทศอื่น กลาวอีกนัยหนึ่งก็ คือตาง ฝายตางตองยอมรับนับถืออํานาจอธิปไตย ซึ่งกันและกันและในสวนที่คลายคลึงกันนั้นเองของแตละ ประเทศจึงเปนสวนหนึ่งของกฎหมายระหวางประเทศที่บรรดานานาอารยประเทศ (civilized ๔ กฎหมายระหวางประเทศ http://sapatkawintra.blogspot.com/๒๐๑๖/ ๐๒/blog-post ๕.html ออนไลน เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 200 17/10/2562 8:36:44


201 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation nations) ยอมรับรวมกันใหมีผลผูกพัน และสําหรับในสวนที่แตกตางหรือขัดกันของกฎหมายภายใน กับกฎหมายระหวางประเทศ จะถือวากฎหมายใดมีลําดับศักดิ์สูงกวากันนั้นยอมขึ้นอยูกับระบบ กฎหมายภายในของแตละประเทศที่กําหนดไวใหกฎหมายใดมีผลบังคับใชหรือกําหนดขั้นตอน กระบวนการ ปรับใชกฎหมายระหวางประเทศใหมีผลใชบังคับในประเทศของตน ซึ่งโดยทั่วไปแลว หากมีการขัดกันระหวางกฎหมายในกับกฎหมายระหวางประเทศแลว จึงถือวา กฎหมายระหวาง ประเทศมีลําดับศักดิ์สูงกวา ๗. บุคคลในกฎหมายระหวางประเทศ ดังไดทราบมาแลว ในสวนที่หนึ่งถึงเรื่องตัวตนในกฎหมาย หรือบุคคลในกฎหมาย ทั้งกฎหมายภายในและกฎหมายระหวางประเทศหรือรัฐก็คือบุคคลใน กฎหมายระหวางประเทศ ไมวา รัฐใด ประเทศใดจะมีขนาดหรือจํานวนประชากรมาก นอยเทาใด ในสายตาของสังคมระหวางประเทศ ยอมมีความเทาเทียมกัน และนอกจากรัฐแลวตัวตน (Entity) อื่นที่ถือวาเปนบุคคลในกฎหมายระหวาง ประเทศ เชนเดียวกันกับรัฐอีก ไดแก องคการระหวางประเทศ ซึ่งถือเปนนิติบุคคลในกฎหมาย ระหวางประเทศ ที่เกิดจากการรวมตัวกันของรัฐตางๆ เพื่อดําเนินกิจกรรมตามที่กําหนดไวใน รัฐธรรมนูญกอตั้งองคการระหวางประเทศนั้นๆ ซึ่งอาจแบงองคการระหวางประเทศที่มีอยูมากมายได เปน ๒ ประเภท คือ องคการระหวางประเทศที่กอกําเนิดขึ้นโดยความรวมมือของรัฐหรือที่เรียกวา Go (Governmental Organization) และองคการระหวางประเทศ ประเภทนี้เอง ที่ถือวาเปนบุคคลใน กฎหมายระหวางประเทศ เชนเดียวกับรัฐ และอีกประเภทหนึ่งคือ องคการระหวางประเทศที่กอตั้งขึ้น โดยเอกชน หรือเรียกวา NGO (Non Governmental Organization) ซึ่งองคการระหวางประเทศ ประเภทนี้โดยทั่วไปไมถือวาเปนบุคคลในกฎหมายระหวางประเทศ แมวาจะมีการกอตั้งโดยธรรมนูญ กอตั้ง และมีการดําเนินการตางๆ เชนเดียวกันกับประเภทแรกก็ตาม ๘. เขตอํานาจรัฐ เขตอํานาจรัฐหรือ “Jurisdiction” หรือ “ดุลอาณา” เปนเรื่องที่รัฐที่มีอํานาจ อธิปไตยสามารถใชอํานาจดังกลาวไดกวางขวางมากนอยเพียงใด โดยหลักทั่วไปแลวการใชดุลอาณา ของรัฐ จะมีไดใน ๒ ประเภท คือ เขตอํานาจรัฐ เหนือดินแดน คืออํานาจของรัฐที่มีตอบุคคลทั้งหลาย ไมวาจะมีสัญชาติไทยใดที่เขามาหรือกระทําผิดในอาณาจักรหรือที่เปนดินแดนของรัฐใด รัฐนั้นก็มี อํานาจในการที่จะพิจารณาอรรถคดีตาง ๆ ที่เกี่ยวของ สวนวาอาณาเขตหรือเขตแดนของรัฐจะ กวางขวางเทาใดนั้น ไดกําหนดไวในกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการกําหนดเสนเขตแดน เปนเรื่อง ๆ ไป 02_01-340_.indd 201 17/10/2562 8:36:47


202 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ทั้งนี้นอกจากบุคคลธรรมดาแลวยังรวมถึงนิติบุคคลดวย ตลอดจน เรือ และอากาศยาน ที่จดทะเบียน สัญชาติของประเทศนั้น ๆ ดวย ๙. เขตแดนและเขตอํานาจของรัฐ การไดมาซึ่งดินแดนโดยการเขาครอบครอบ การขยายอาณานิคมของตนเอง โดยถือ วาเปนดินแดน ที่ปราศจากระบบการปกครองแบบสากล เปนดินแดนที่ไมมีเจาของ (res nulius) และ รับรองดวยวาดินแดนที่ถูกครอบครองอยางสมบูรณ (debellatio) และการครอบครองดินแดน ใกลเคียงกับดินแดนหลักที่ใช อํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนแกรัฐนั้น ๙.๑ ดินแดนที่ไมมีเจาของ ๑. ดินแดนที่ปราศจากประชาชนอยูอาศัย ๒. ดินแดนซึ่งยังคงมีระดับการพัฒนาของสังคมการเมืองภายในอยูใน ระดับต่ํา ๙.๒ หลักการครอบครอง ๑. องคประกอบดินแดนประชากรการแสดงออกซึ่งอํานาจอธิปไตย ๒. รัฐอางการครอบครองดินแดนตองแสดงออกซึ่งอํานาจอธิปไตยอยาง แทจริงเหนือดินแดนนั้นๆ ๓. ตองแจงเจตนาใหรัฐอื่นๆทราบการครอบครองดังกลาว ๙.๓ การครอบครองดินแดนของรัฐ ๑. โดยการทําความตกลงระหวางประเทศ ในกรณีหลังสงคราม โดยอาศัย เสนแบงเขตแดนตามธรรมชาติ สันเขา ยอดเขา สันปนน้ํา รอง น้ําลึก Thaiweg อาจมีคณะกรรมการ ปกปนเสนเขตแดนทําหนาที่ระบุรายละเอียด ๒. โดยคําตัดสินของศาลระหวางประเทศ ๓. โดยขอมติขององคการระหวางประเทศ 02_01-340_.indd 202 17/10/2562 8:36:48


203 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ วิธีเหลานี้ไมกอใหเกิดการโอนอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนจากรัฐหนึ่ง ไปยังอีกรัฐ หนึ่งโดยอัตโนมัติ เนื่องจากตองอาศัยการมีอํานาจอธิปไตยเหนือรัฐนั้น ๆ อยางแทจริง ๒. วิธีการและขั้นตอนของการกําหนดเสนเขตแดน เสนเขตแดนคือแนวเสนตอเนื่องที่ถูกําหนดขึ้นเพื่อชี้แสดงดินแดน ซึ่งอยูภายใต อํานาจอธิปไตยของรัฐแตละรัฐ อยางไรก็ตาม รัฐก็ยังไมไดกําหนดเขต แดนใหแลวเสร็จสมบูรณ ๖ ลอดแนวพรมแดนของตนก็มิไดขาดความเปนรัฐ เพราะรัฐมีอํานาจที่แทจริงขึ้นจากอํานาจอธิปไตยที่ แทจริงของรัฐเหนือดินแดนนั้น ๆ ๒.๑ วิธีการกําหนดเสนเขตแดน ๑. การกําหนดเสนเขตแดนโดยอาศัยทฤษฎี จําแนกเปนไปตาม ลักษณะทาง ภูมิศาสตร คือ เสนแบงเขตแดนทางบก ตามลําน้ํา และเสนเขตแดนทาง ทะเล การกําหนดเสนเขต แดนจึงเปนการแสดงออกซึ่งการมีอํานาจอธิปไตยเหนือ ดินแดนของรัฐนั้น ๆ การกําหนดเสนเขตแดน โดยอาศัยจุดพิกัดทางภูมิศาสตร เชน เสนขนาดที่ ๖ องศาเหนือ เปนเสนแบงเขตระหวางเวียตนาม เหนือ และเวียดนามใต ปจจุบันไมเปนที่นิยมเพราะไมคอยชัดเจน ๒. การกําหนดเสนเขตแดนตามหลักภูมิประเทศอยางแทจริง คณะกรรมการปกปน เสนเขตแดน Delimmitation Commission ๒.๒ หลักการกําหนดเสนเขตแดนทางบก ๑. สันเขา Crete ยอดสูงสุดของเขาเพื่อใชลากเสนเขตแดนตอเนื่องกัน นิยมใชใน กรณีที่มีเทือกเขาหรือแนวเขาตอเนื่องกันในพื้นที่ภาคีคูสัญญา ๒. สันปนน้ํา Watershed หมายถึง แนวสันเขาที่แบงน้ําให ไหลลงลาดเขาไปยังลุม น้ําทั้งสองฟากของแนวเขานั้น เปนวิธีที่ไดรับความนิยมสูงสุด ๒.๓ หลักการกําหนดเสนเขตแดนทางน้ํา หลักการแบงเสนเขตแดนทางน้ําขึ้นอยูกับความตกลงระหวางประเทศเปนกรณีไป โดยยึดหลักแหงความเสมอภาค วิธีแบงเสนเขตแดนทางน้ํามี ๔ วิธีหลัก คือ ๑. ใหตลิ่งของรัฐใดรัฐหนึ่งเปนเสนเขตแดนไมนิยมเพราะรัฐนั้น ไมมีอํานาจอธิปไตย เหนือลําน้ําเลย 02_01-340_.indd 203 17/10/2562 8:36:49


204 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๒. ใหตลิ่งของแตละรัฐเปนเสนเขตแดนลําน้ําทั้งสายจะอยูภายอํานาจอธิปไตยรวม ของทั้งสองรัฐ Coimperium /Condominium ไมสะดวกในการรักษาความปลอดภัยชายแดนไมนิยม ๓. ใหเสนมัธยะ หรือเสนกึ่งกลางของลําน้ําเปนเสนเขตแดน เสนมัธยะ คือแนวเสน ตอเนื่องที่มีระยะหางจากสองฝงเทาๆ กัน โดยใชระดับน้ําปานกลางของลําน้ําเปนมาตรฐานในการ คํานวณหาเสนมัธยะ ๔. ใหใชรองน้ําลึกที่ใชในการเดินเรือเปนเสนแบงเขตแดน นิยม มากที่สุด ๒.๓ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเสนทางเดินของน้ําตอเสน เขตแดนทางน้ํา การ เปลี่ยนแปลงจากธรรมชาติ เสนทางเดินของลําน้ําเปลี่ยนรัฐทั้งสองฝายยอมใหเสนเขตแดน เปลี่ยนตามโดยธรรมชาติ ๑. ใหใชเสนเขตแดนเดิม ๒. ใหคณะกรรมการรวมพิจารณา ๓. ใหมีการตกลงกันใหมทุกกําหนดเวลาที่ตกลงกัน ๒.๔ การเปลี่ยนแปลงจากการกระทําของรัฐ รัฐชายฝงอาจทําการบูรณะชายฝงเมื่อมีตลิ่งพัง การสรางรอหรือการทํากิจกรรมใดๆ ที่ มีผล ตอการเปลี่ยนแปลงเสนทางเดินน้ํา จะตองไดรับการอนุมัติของอีกรัฐหนึ่ง ๒.๕ ปญหาเรื่องอธิปไตยเหนือเกาะในลําน้ํา การใหอธิปไตยเหนือเกาะแกรัฐ ซึ่งมีดินแดนหลักอยูใกลกับเกาะนั้นมากที่สุด หรืออาจทํา ความตกลงใหมีอํานาจอธิปไตยรวมกันก็ได ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงจากตลิ่งพังเสนทางการเดินเรือ คอย ๆ เปลี่ยนแปลงไป Gradual erosion ใหถือหลักอธิปไตยเหนือเกาะเปลี่ยนแปลงไปตามดวย สําหรับการเปลี่ยนแปลงกระทันหันหรือฉับพลัน Avulsion ใหคงเสนเขตแดนเดิมไว ๒.๖ ปญหาการพัฒนาความรวมมือระหวางกัน ๑. การตรา พรบ. การขัดกันของกฎหมาย ใหอํานาจแกรัฐผูรับที่จะตีความ ก.ม. ของคนชาติของรัฐผูสงประกอบคดี เชน การสมรส ทายาท พินัยกรรม 02_01-340_.indd 204 17/10/2562 8:36:53


205 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. ขอตกลงระหวางประเทศบางประเภท เชน ความตกลงทวิภาคี การสงผูรายขาม แดน Extradition เพื่อบังคับการใหเปนไปตามคาพิพากษาในคดีอาญา แลกเปลี่ยนนักโทษ ความ รวมมือทางศาล ๒.๗ การใชอํานาจของรัฐเพื่อกําหนดสิทธิและหนาที่ของคนใน สังคมระหวางประเทศ การใชอํานาจตามขอ ๑ กลาวคือ กิจการภายในของรัฐมีลักษณะ ของการปกครอง ตามลําดับชั้นเจาหนาที่ผูปฏิบัติตองไดรับอํานาจภายในขอบเขตที่ หนวยงานเหนือกวากําหนดไว แต ในทางระหวางประเทศ ผูดําเนินการตามขั้นตอน ทั้งหลายคือรัฐแตเพียงผูเดียว รัฐจึงเปนผูสราง อํานาจอธิปไตยของตนโดยการใชอํานาจนั้นโดยมีขอจํากัดวาการใชอํานาจดังกลาวจะมีผลสมบูรณก็ ตอเมื่อไดรับการยอมรับจากรัฐอื่นและไมขัดตอกฎหมายระหวางประเทศ ๒.๘ การใชอํานาจของรัฐในประชาคมระหวางประเทศอาจทําไดโดย ๑. การใชอํานาจอธิปไตยรวมกัน รัฐอาจทําความตกลงระหวางประเทศเพื่อจากัด หรือเพื่อขยายเขตอํานาจอธิปไตยของคูสัญญาออกไปนอกดินแดนของตน โดยมีจุดประสงคเพื่อให ความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งปกติรัฐใดรัฐหนึ่งอาจไมมีขอบเขตอํานาจเด็ดขาด ตัวอยางเชน ความ ตกลงหลายฝายวาดวยการปองกันปราบปราม การกอการรายสากล ซึ่งขยายเขตอํานาจของรัฐ ผูให สัญชาติแกอากาศยานพาณิชยไปตั้งแตเวลาที่ประตูทุกบานของอากาศยานเปด จนถึงเวลาที่อากาศ ยานแตะพื้นและประตูบานใดบานหนึ่งของอากาศยานเปดออก ๒. การใชอํานาจอธิปไตยแตเพียงฝายเดียว เปนวิธีการที่สําคัญอยางหนึ่งที่ทดแทน ชองวางในกฎหมายระหวางประเทศการใชอํานาจอธิปไตยและการกระทําฝายเดียวอาจกลายสภาพ เปนขนบธรรมเนียมประเพณีระหวางประเทศขึ้นมาได ๒.๙ การแบงแยกเขตอํานาจของรัฐ ๑. เขตอํานาจของรัฐเหนือดินแดนของตน (Territoria Uurisdiction) ๒. เขตอํานาจของรัฐเหนือบุคคล (Persona Jurisdiction) ๓. เขตอํานาจสากล (Universal Jurisdiction) เชน การใหสิทธิทุก รัฐปราบปราม โจรสลัดในทะเลหลวง ๒.๑๐ เขตอํานาจรัฐเหนือดินแดนของตน 02_01-340_.indd 205 17/10/2562 8:36:53


206 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑. หลักเกณฑวาดวยเขตอํานาจรัฐเหนือดินแดนของตน ๑.๑ รัฐมีอํานาจเหนือ ๑.๑.๑ บุคคล ๑.๑.๒ สิ่งของ ๑.๑.๓ ความผิดที่เกิดจากการกระทําของบุคคล ๑.๑.๔ หรือการใชสิ่งของดังกลาวภายในดินแดนของตน เกิดจากสิทธิแหงความเสมอภาคและเทาเทียมกันของรัฐในทางกฎหมายการใชอํานาจรัฐ เหนือดินแดนซึ่งอยูภายใตอธิปไตยของตนพบไดในการใชอํานาจศาลของรัฐนั้นในคดีอาญาที่เกิดขึ้นใน ดินแดนของตน คนชาติอื่นไปทําผิดในรัฐ เจาบานรัฐนั้นมีสิทธิลงโทษแมโทษจะหนักกวาชาติอื่น ๒.๑๑ กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ ประเภทของกฎหมายวาดวยสิทธิมนุษยชนนั้นสามารถแบงออกได เปน ๒ ประเภท คือ ๑. กฎหมายระหวางประเทศ ๒. กฎหมายภายในของรัฐ ในที่นี้จะขอกลาวถึงกฎหมายระหวางประเทศวาดวยสิทธิมนุษยชนซึ่งไดแก ๑. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ ๒. อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ๓. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางแพงและทางการเมือง ๔. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและ วัฒนธรรม ความคุมครองและสิทธิประโยชนที่มอบใหพลเมืองทุกคนตามกฎหมาย สิทธิพลเมือง นั้นเปนสิทธิที่แยกออกจาก "สิทธิมนุษยชน" และ "สิทธิธรรมชาติ" กลาวคือสิทธิพลเมืองเปนสิทธิที่ มอบใหโดยชาติและมีอยูภายในเขตแดนนั้น ในขณะที่สิทธิธรรมชาติหรือสิทธิมนุษยชนนั้นเปนสิทธิที่ นักวิชาการจํานวนมากอางวาปจเจกบุคคลมีอยูแตกําเนิดโดยธรรมชาติ 02_01-340_.indd 206 17/10/2562 8:36:54


207 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒.๑๒ กฎหมายการสงผูรายขามแดน ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑) แนวคิดเกี่ยวกับการสงผูรายขามแดน ปจจุบันลักษณะของ การกอ อาชญากรรม มีความสลับซับซอนขึ้นเรื่อยๆ สงผลใหการกระทําาความผิด ตางๆสามารถที่จะกระทํา ขามพรมแดนระหวางประเทศสองประเทศหรือมากกวานั้น ปญหาคือหากผูกระทําความผิดใน ประเทศหนึ่งแลวหลบหนีไปอยูอาศัยหรือไปหลบ ซอนยังอีกประเทศหนึ่ง ประเทศผูเสียหายยอมไมมี ทางที่จะดําเนินคดีความผิดอาญากับบุคคลดังกลาวได เพราะการที่ประเทศผูเสียหายจะเขาไปจับกุม ผูกระทําความผิด ในประเทศอื่นเพื่อมาดําเนินคดีก็เปนการลวงละเมิดอํานาจอธิปไตยของประเทศ อื่นๆนั้น ขณะเดียวกันหลักทั่วไปที่ถือเปนเงื่อนไขสําคัญในการดําเนินคดีอาญา คือ การนํา ตัวบุคคล ผูกระทําความผิดมาปรากฏตัวตอศาล เพราะการฟองคดีอาญานั้นศาลไมอาจพิพากษาลงโทษ คดีอาญาแกบุคคลผูไมมาปรากฏตัวตอศาลหรือพิพากษาไปเพียงฝายเดียวอยางเชนในคดีแพงได เพราะฉะนั้นวิธีการที่ดีที่สุดในการเยียวยาปญหาที่เกิดขึ้น คือความรวมมือของประเทศทั้งสองประเทศ ดังกลาว โดยประเทศผูเสียหายนั้น จะตองทําการรองขอไปยังประเทศที่ผูกระทําความผิดนั้นไปอาศัย หรือหลบซอนอยู ใหดําเนินการสงตัวบุคคลดังกลาวมาเพื่อดําเนินคดีอาญา และลงโทษตามกฎหมาย ของประเทศผูเสียหาย ซึ่งความรวมมือระหวางประเทศทางอาญานี้เรียกวา “การสงผูราย ขามแดน” ๒) วัตถุประสงคของการสงผูรายขามแดน การสงผูรายขามแดน เปนความรวมมือ ทางกฎหมายระหวางประเทศเพื่อประโยชนในการปองกันและ ปราบปรามอาชญากรรม โดยจัดสงผูที่ กระทําความผิดหรือถูกกลาวหาวากระทํา ความผิดและหลบหนีไปยังประเทศอื่นคืนไปยังประเทศที่ ความผิดเกิดขึ้น ซึ่งเปน กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีอาญา ตามปกติการกระทําความผิดนั้น จะตอง กระทําขึ้นในเขตอํานาจศาลของประเทศที่รองขอและบุคคลผูกระทําผิดไดหลบหนีมา อยูใน เขตอํานาจศาลของประเทศที่รับคํารองขอและการสงผูรายขามแดนจะตองเปน การรองขอโดยผาน พิธีการทางการทูต ๓) ผูที่อาจถูกสงเปนผูรายขามแดนได ๑. ผูกระทําความผิดเปนบุคคลในสัญชาติของประเทศผูรองขอกรณีนี้ถือ เปนหลักสากลที่ทั่วโลกยอมรับใหมีการสงผูรายขามแดนกันไดเสมอ เชน คน ไทยทําความผิดอาญาใน ประเทศไทยแลวหลบหนี้ไปอยูในสหรัฐอเมริกาประเทศไทย ขอใหสหรัฐอเมริกาสงตัวคนไทย ผูนี้ขาม แดนมาเพื่อพิจารณาคดีหรือเพื่อรับโทษตามคําพิพากษาของศาลไทยในประเทศไทยได การที่ประเทศ ผูรองขอตองการบุคคลสัญชาติของตนเอง ประเทศผูรับคําขอก็จะอนุญาตใหสงผูรายขามแดนตามคํา ขอเสมอ 02_01-340_.indd 207 17/10/2562 8:36:58


208 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. ผูกระทําผิดเปนบุคคลในสัญชาติของประเทศผูรับคําขอเปนกรณีที่ บุคคลในสัญชาติของประเทศหนึ่งกระทําความผิดแลวหลบหนี้กลับไปยังประเทศของตน ตามหลัก ทั่วไปประเทศเจาของสัญชาติผูกระทําความผิดจะไมยอมสงตัวผูกระทําความผิดนั้นกลับไปใหประเทศ อื่นพิจารณาพิพากษาคดี โดยยึดถือหลักที่วา “ไมยอมสงคนสัญชาติตนขามแดนใหประเทศอื่น” ก็ สามารถกระทําได เชน คนไทยไปกระทําความผิดทางอาญา ณ ประเทศฟลิปปนสแลวหลบหนีกลับมา ยังประเทศไทย ประเทศไทยจะไมสงคนไทยผูนี้ขามแดนเพื่อไปใหศาลฟลิปปนสพิจารณาพิพากษาคดี ก็กระทําได ๓. ผูกระทําความผิดเปนบุคคลในสัญชาติของประเทศที่สาม ในกรณีนี้ตาม ธรรมเนียมปฏิบัติระหวางประเทศ ประเทศผูรับคํารองขอจะตองแจงใหประเทศที่สามที่เปนเจาของ สัญชาติผูกระทําผิดทราบเสียกอนที่จะดําเนินการขั้นตอไป เพื่อรักษาสัมพันไมตรีอันดีงามระหวาง ประเทศ ซึ่งในทางปฏิบัติประเทศเจาของสัญชาติผูกระทําความผิดก็จะสอบถามขอเท็จจริงแหงคดี แต ไมอาจหามมิใหประเทศผูรับคําขอสงตัวขามแดนได ๔) ความผิดที่สงผูรายขามแดนได ความผิดที่จะถึงขนาดที่จะนํามาซึ่งการสงตัว ขามแดนนั้น ตองเปนความผิดทางอาญาที่มีโทษทางตามกฎหมายใหลงโทษประหารชีวิตจําคุก หรือทํา ใหปราศจากเสรีภาพเปนระยะเวลาเกินกวา ๑ ป ตามกฎหมายทั้งในประเทศผูรองขอใหสงตัวผูราย ขามแดนและประเทศผูรับคํารองขอ และความผิดนั้นจะตองไมขาดอายุความตามกฎหมายของ ประเทศที่รองขอ ประการสําคัญคือความผิดนั้นตองไมใชความผิดทางการเมืองหรือความผิดที่เกี่ยวกับ ศาสนา ๕) หลักกฎหมายและแนวทางปฏิบัติ ในปจจุบันประเทศไทยมี สัญญา อนุสัญญา และสนธิสัญญาเพื่อการสงผูรายขามแดนกับตางประเทศทั้งหมด ๑๔ ประเทศ คือ ๑. สหราช อาณาจักร ๒. สหรัฐอเมริกา ๓. แคนาดา ๔. ออสเตรเลีย ๕. เบลเยี่ยม 5. จีน ๗. อินโดนีเซีย ๘. ฟลิปปนส ๔. ลาว ๑๐. กัมพูชา ๑๑. มาเลเซีย ๑๒. เกาหลีใต ๑๓. บังกลาเทศ ๑๔ ฟจิ หลักกฎหมาย ภายในของ ประเทศไทยเรื่องการสงผูรายขามแดนปรากฏอยูใน พ.ร.บ. สงผูรายขามแดน พ.ศ. ๒๔๗๒ ตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้กําหนดใหศาลที่มีอํานาจพิจารณาคดีคือ ศาลอาญา หลักการในการสง ผูรายขามแดนตามพระราชบัญญัติสงผูรายขามแดน ดังกลาวขางตน กําหนดไววา แมจะไมมี สนธิสัญญาสงผูรายขามแดนระหวางกันก็ตาม ถารัฐบาลไทย เห็นสมควรก็อาจสงตัวผูตองหาหรือ จําเลยที่ตองคําพิพากษาใหลงโทษขามแดนใหแก ประเทศผูรองขอได แตความผิดที่จะใหมีการสงตัว ขามแดนนั้นจะตองเปนความผิดซึ่ง กฎหมายไทยกําหนดใหลงโทษจําคุกไมนอยกวาหนึ่งป โดยจะตอง 02_01-340_.indd 208 17/10/2562 8:36:59


209 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ มีคํารองขอจากรัฐบาลตางประเทศมายังรัฐบาลไทย และจะตองมีหลักฐานประกอบคํารองคือ ในกรณี ที่ใหสงตัวบุคคลที่ตองคําพิพากษาวาไดกระทําผิดตองมีสําเนาคําพิพากษาของศาลที่ได พิจารณาคดี นั้น ในกรณีขอใหสงบุคคลซึ่งตองหาวากระทําผิด จะตองมีหมายหรือ สําเนาหมายสั่งจับของเจา พนักงานผูมีหนาที่ในประเทศที่รองขอ ๗.๖ เครื่องมือดานการลงทุนและเศรษฐกิจ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ในระบบเศรษฐกิจแบบเปดกิจกรรมทาง เศรษฐกิจของประเทศในเรื่องการคา เศรษฐกิจและการดําเนินนโยบาย ทางเศรษฐกิจจะมีผลตอ รายไดประชาชาติโดยตรง หนวยงานสําคัญทางเศรษฐกิจของ ไทย ไดแก ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย ตางมีสวนกําหนดใหระบบ เศรษฐกิจไทยมีการพัฒนาโดยการพึ่งพาตางประเทศกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ระหวางประเทศ ไดแก การคาระหวางประเทศ การชําระเงินระหวางประเทศการลงทุน ระหวาง ประเทศและความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ๗.๖.๑ ความหมายของการคาระหวางประเทศ การคาระหวางประเทศ หมายถึง การซื้อขายสินคาและบริการระหวาง ประเทศ ตางๆ ประเทศที่ทําการซื้อขายสินคาระหวางกัน เรียกวา "ประเทศคูคา" สินคาที่แตละประเทศซื้อ เรียกวา "สินคาเขา" (imports) และสินคาที่แตละประเทศ ขายไปเรียกวา “สินคาออก" (exports) ประเทศที่ซื้อสินคาจากตางประเทศ เรียกวา "ประเทศผูนําเขา" สวนประเทศที่ขายสินคาใหตาง ประเทศ เรียกวา "ประเทศผูสงสินคาออก" โดยทั่วไปแลว แตละประเทศจะมีฐานะเปนทั้งประเทศ ผูนําสินคาเขา และ ประเทศผูสินคาออกในเวลาเดียวกัน เพราะประเทศตางๆ มีการผลิตสินคา แตกตางกันเชนประเทศไทยสงการคาระหวางประเทศดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจที่ทําใหประเทศตาง ๆ ในโลกทําการคาขายกันที่สําคัญมีอยูดวยกัน ๒ ประการคือ ๑. ความแตกตางทางดานทรัพยากรที่ใชผลิตในแตละประเทศ เนื่องมาจากความ แตกตางในเรื่องสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ เชน ประเทศไทย มีพื้นดินที่อุดมสมบูรณเหมาะสม แกการเพาะปลูกมากกวาญี่ปุน คูเวตมีน้ํามันมากกวาไทย จีนมีประชากรมากกวาประเทศอื่นๆ ดังนั้น ประเทศใดที่มีทรัพยากรชนิดใดมาก ก็จะผลิตสินคาที่ใชทรัพยากรชนิดนั้น ๆ เปนปจจัยการผลิต สินคาออกเพื่อแลกเปลี่ยนกับสินคาอื่น 02_01-340_.indd 209 17/10/2562 8:36:59


210 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๒. ความแตกตางในเรื่องความชํานาญในการผลิตเนื่องจากผูผลิตของแตละประเทศ จะมีความชํานาญและเทคโนโลยีในการผลิตสินคาและบริการแตกตางกัน บางประเทศผูผลิต มีความรู ความชํานาญเปนพิเศษในการผลิตสินคาบางชนิด เชน ประเทศญี่ปุนมีความรูความชํานาญในการผลิต เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส ประเทศเนเธอรแลนดมีความรูความชํานาญในการผลิตเครื่องจักรกล การเกษตร ประเทศสวิตเซอรแลนดมีความรูความชํานาญในการผลิตนาฬิกา ความแตกตางของปจจัย ดังกลาวนี้ผลักดันใหแตละประเทศเล็งเห็นประโยชนจากการเลือกผลิตสินคาบางอยาง ที่มีตนทุนต่ํา มี ความรูความชํานาญ และเลือกสั่งซื้อสินคาแตะละประเภทที่ผูบริโภคใน ประเทศของตนตองการแตไม สามารถผลิตได หรือผลิตไดในตนทุนที่สูงเกินไป และปจจัยเหลานี้กอใหเกิดการคาระหวางประเทศ เกิดขึ้น ๗.๖.๒ สาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดการคาระหวางประเทศ การคาระหวางประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากประเทศตาง ๆ ผลิตสินคาได ดวยตนทุนไม เทากัน ประเทศที่สามารถผลิตสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งดวยตนทุนที่ต่ํา เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ประเทศนั้นจะเปนผูผลิตและสงสินคาไปขายที่อื่น ๆ เหตุที่ประเทศตาง ๆ ผลิตสินคาดวยตนทุนที่ ตางกันเพราะวา มีความแตกตางในปริมาณและทรัพยากร กลาวคือ บางประเทศมีแรธาตุมาก บาง ประเทศเปนแหลง น้ํามัน บางประเทศมีปาไมมาก เปนตน ประกอบกับความแตกตางของสภาพภูมิ ประเทศและภูมิอากาศ สงผลใหสินคาบางชนิดสามารถผลิตไดในบางพื้นที่เทานั้น เชน ยางพารา สวนมากผลิตในประเทศมาเลเซีย และหมูเกาะอินเดียตะวันออก กาแฟ สวนมากมาจากบราซิล เปน ตน ประเทศที่มีทรัพยากรการผลิตชนิดใดมาก จะไดเปรียบในการผลิตสินคาซึ่งตองใชทรัพยากรชนิด นั้นเปนปจจัยการผลิต เพราะราคาของปจจัยการผลิตชนิดนั้นจะต่ํา เนื่องจากมีมากเมื่อเทียบกับความ ตองการซึ่งมีผลใหตนทุนการผลิตตลอดจนราคาขายต่ําไปดวย ประเทศจึงควรผลิตสินคาดังกลาว เพื่อ สงออกและนําเขาสินคาที่ขาดแคลน หรือสินคาที่มีราคาสูงโดยเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ เชน ประเทศไทยมีที่ดินมากและสภาพภูมิอากาศเหมาะสมสําหรับเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร เมื่อ เปรียบเทียบกับญี่ปุน ดังนั้นไทยควรจะผลิตขาว หรือสินคาทางการเกษตรอยางอื่นเปนสินคาสงออก เพราะตนทุนต่ํากวา ในขณะที่ ญี่ปุนก็ควรผลิตสินคาประเภททุน เชน เครื่องจักรเครื่องมือ รถยนต เนื่องจากมีที่ดินนอย แตมีปจจัยทุนมาก สงผลใหตนทุนในการผลิตสินคาในญี่ปุนต่ํากวาไทยจึงปรากฏ วา ญี่ปุนตองซื้อขาวจากไทยและไทยตองซื้อเครื่องจักรเครื่องมือจากญี่ปุน ความแตกตางดังกลาวขางตน คือ ความแตกตางในปริมาณและชนิด ของทรัพยากร สภาพภูมิอากาศและความชํานาญในการผลิตประกอบกับความไมสามารถผลิตสินคาไดทุกชนิดที่ ตองการไดเองภายในประเทศ จึงมีความตองการ แลกเปลี่ยนสินคาบางอยางที่ผลิตไดกับสินคาที่ 02_01-340_.indd 210 17/10/2562 8:37:03


211 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ตองการแตไมสามารถผลิตได ภายในประเทศ หรือผลิตไดคุณภาพก็ไมดีพอการคาระหวางประเทศจึง เกิดขึ้นมาโดยมีหลักการสําคัญคือ ประเทศจะผลิตสินคาที่ตนเองขาดแคลนหรือผลิตไดแตตองใช ตนทุนสูงจากตางประเทศการซื้อขายแลกเปลี่ยนกันตามหลักการแบงงานกันทํายอมทําใหการใช ทรัพยากรของโลกที่มีอยูอยางจํากัดมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งเราสามารถพิจารณาจากการคาขายของ บุคคลภายในประเทศนั่นคือพอบานจะไมยอมตัดเสื้อเพื่อสวมใสเองถาหากเขาสามารถซื้อเสื้อผาจาก ทองตลาดในราคาที่ต่ํากวาตนทุนที่เขาผลิตเองในทํานองเดียวกันชางตัดเสื้อยอมไมพยายามทํารองเทา ใชเอง แตจะซื้อรองเทาใชจากชางทํารองเทา ชาวนายอมไมตัดเสื้อหรือตัดรองเทาโดยเขาจะจางชาง ตัดเสื้อหรือจางชางตัดรองเทาเมื่อเขาเห็นวา ราคาที่เขาจายไปต่ํากวาตนทุนที่เขาตองจาย เปนตน ทุกคนควรจะผลิตสินคาที่ตัวเองมีความถนัดและชํานาญและนําไปขาย หรือ แลกเปลี่ยนกับสินคาที่ตนเองตองการ จะทําใหทุกคนไดรับประโยชนจากสินคา และบริการ เพื่อ ตอบสนองความตองการที่เพิ่มขึ้นหรือราคาที่ต่ําลง ดังนั้นประเทศก็ เชนเดียวกับบุคคล โดยที่จะไดรับ ประโยชนมากขึ้น ถาหากประเทศสามารถซื้อสินคาจากประเทศอื่นๆในราคาต่ํากวาตนทุนที่ผลิตได ภายในประเทศ ๗.๖.๓ ทฤษฎีการคาระหวางประเทศ (International Trade Theory) ทฤษฎีการคาระหวางประเทศพยายามอธิบายถึงชนิดของสินคาที่ซื้อขาย และ ประโยชนจากการคาระหวางประเทศ ๑. ทฤษฎีการไดเปรียบโดยสมบูรณ อดัม สมิธ นักเศรษฐศาสตร คลาสสิกในปลาย ศตวรรษที่ ๑๘ ไดเสนอทฤษฎีการไดเปรียบโดยสมบูรณ โดยยึดหลักการแบงงานกันทําตามความถนัด มาใช เขาเห็นวาการคาระหวางประเทศจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด แกประเทศคูคาเมื่อแตละ ประเทศยึดหลักในเรื่องการ แบงงานกันทํา หมายความวา ประเทศใดที่ถนัดในการผลิตสินคาอยางใด ก็ควรผลิตสินคาอยางนั้นนํามาแลกเปลี่ยนกันจะสงผลใหเพิ่มความมั่งคั่งในรูปของผลผลิตหรือรายไดที่ แทจริงเพิ่มขึ้น ๒. ทฤษฎีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบ ทฤษฎีความไดเปรียบโดย เปรียบเทียบ ของเดวิด ริคารโด (David Ricardo) นักเศรษฐศาสตรสมัยคลาสสิกได พัฒนาทฤษฎีตอจากทฤษฎี ความไดเปรียบโดยสมบูรณของอดัม สมิธ โดยเขาไมเห็นดวยกับ สมิธ ในประเด็นตอไปนี้คือ 02_01-340_.indd 211 17/10/2562 8:37:04


212 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๗.๖.๔ ทฤษฎีการคาระหวางประเทศสมัยคลาสสิค (Classic Theory) ทฤษฎีการคาระหวางประเทศในสมัยของคลาสสิคนี้จะถือวา แรงงาน เปนปจจัยการ ผลิตที่สําคัญในการกําหนดมูลคาของสินคา ทฤษฎีที่นาสนใจคือ ทฤษฎี การไดเปรียบโดยเด็ดขาดและ ทฤษฎีการไดเปรียบโดยเปรียบเทียบ ซึ่งทั้งสองทฤษฎี จะทําการเปรียบเทียบตนทุนการผลิตของแตละ ประเทศ และเลือกผลิตในสินคาที่ประเทศของตนมีความไดเปรียบในการผลิตมากกวา หรือประเทศจะเลือกผลิตสินคาที่ตนถนัดโดยเปรียบเทียบระหวางกัน การ แลกเปลี่ยนจะมีขอบเขตอยูระหวางปริมาณสินคาที่ผลิตไดโดยเปรียบเทียบของประเทศทั้งสองทฤษฎี การคาระหวางประเทศสมัยนีโอคลาสสิค (NeoClassicTheory) ทฤษฎีการคาระหวางประเทศใน สมัยนีโอคลาสสิค ไดนําทฤษฎีในสมัยคลาสสิคมาปรับปรุงแกไข ทฤษฎีที่นาสนใจคือ ทฤษฎีการคา แบบตนทุนคาเสียโอกาส (Opportunity Cost) โดยตนทุนคาเสียโอกาสจะถูกนํามาเปนหลักในการ พิจารณาเนื่องจากตนทุนคาเสียโอกาส ในการผลิตสินคาใน แตละประเทศสามารถวัดไดจากมูลคา สูงสุดของสินคาอยางอื่นที่ประเทศนั้นไมไดผลิต ดังนั้น ประเทศจะไดรับประโยชนที่สามารถระบาย สินคาที่ผลิตไดมากและซื้อสินคาที่ตนผลิตไดไมพอกับการบริโภคเขาประเทศและทฤษฎีการคาที่ พิจารณาปริมาณทรัพยากรธรรมชาติ โดยใชแนวคิดเสนความเปนไปไดในการผลิต ซึ่งในประเทศตางๆ จะแตกตางกันไปตามปริมาณทรัพยากรการผลิตที่มีอยูในประเทศ ๗.๖.๕ ทฤษฎีการคาระหวางประเทศสมัยใหม (Modern Theory) นักเศรษฐศาสตรไดศึกษาและแกไขปรับปรุงทฤษฎีการคาระหวางประเทศสมัยคลาสสิคโดย เพิ่มขอสมมุติฐานในการพิจารณาคือ มีปจจัยการผลิตหลาย ชนิด การทดแทนกันของปจจัยไมสมบูรณ การโยกยายปจจัยการผลิตจะเกิดตนทุนเพิ่ม และมีตนทุนคาเสียโอกาส (Opportunity Cost) เกิดขึ้น การโยกยายปจจัยการผลิต แยกได ๓ ลักษณะ คือ ตนทุนคงที่ ตนทุนเพิ่มขึ้นและตนทุนลดลง ประโยชนของการคาระหวางประเทศการดําเนินนโยบายการคาระหวางประเทศโดยเสรี นอกจากจะ กอใหเกิดผลผลิตหรือรายไดที่แทจริงเพิ่มขึ้นแลว ยังสามารถกอใหเกิดประโยชนตอประเทศคูคาที่ สําคัญอยางนอย ๖ ประการดวยกันไดแก ๑. ผลตอแบบแผนการบริโภคและราคาของสินคา เนื่องจากการคาขายระหวางประเทศ ทํา ใหจํานวนสินคาที่อุปโภคและบริโภคมีเพิ่มมากขึ้นความเปนอยูของผูบริโภคจะดีขึ้น ทั้งนี้ประเทศตาง ๆ จะพากับผลิตสินคาที่ตนไดเปรียบมากขึ้น และหันไปซื้อสินคาที่ตนเสียเปรียบทางการผลิตจาก ประเทศอื่นมากขึ้นทําใหอุปทานของสินคาเพิ่มมากขึ้นสงผลในระดับราคาสินคานั้นมีแนวโนมต่ําลง 02_01-340_.indd 212 17/10/2562 8:37:05


213 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒. ผลตอคุณภาพและมาตรฐานสินคาการคาระหวางประเทศ นอกจากจะทําใหปริมาณการ ผลิตสินคาและบริการ เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคเพิ่มขึ้นยังทําใหผูบริโภคไดบริโภค สินคาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงขึ้น เพราะมีการแขงขันในดานการผลิตมากยิ่งขึ้น ทําใหผูผลิตและผู สงออกเขมงวดในคุณภาพและมาตรฐานของสินคาเนื่องจากตองเผชิญกับคูแขงขัน ทําใหตอง พัฒนาการผลิตโดยการใชเทคนิคและวิทยาการใหกาวหนาและทันสมัย เรามักจะไดยินเสมอวา สินคา ประเภทอุตสาหกรรมที่ผลิตในบางประเภท มีชื่อเสียงและเปนที่รูจัก คุนเคยของผูบริโภคในตลาด ตางประเทศดวยเหตุผลตาง ๆ เชน ราคาต่ํา คุณภาพสูง และรูปรางลักษณะสวยงามทําใหเปนที่ ตองการของผูบริโภคเปนอันมาก เชน วิทยุ โทรทัศนและวิดีโอ ของญี่ปุน เปนตน และนับวันสินคา เหลานี้เปนที่ตองการของประเทศ ๓. ผลตอความชํานาญเฉพาะ อยางการคาระหวางประเทศทําใหประเทศตาง ๆ หันมาผลิต สินคาที่ตนเองมีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบที่สูงกวาเพื่อสงเปนสินคาออกมากขึ้นแตเนื่องจาก ปจจัยการผลิตมีจํานวนจํากัด ฉะนั้นจึงตองดึงปจจัยการผลิตจากการผลิตสินคาชนิดอื่น ซึ่งบัดนี้ผลิต นอยลง เพราะมีความเสียเปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative disadvantage) เชน ไทยถึงปจจัย การผลิตจากการผลิตผา มาผลิตขาว สวนญี่ปุนก็จะถึงปจจัยการผลิตจากขาวมาผลิตผา แทน เพราะฉะนั้นปจจัยการผลิตจะมีความชํานาญเฉพาะอยางมากขึ้นเกิดการประหยัดตอขนาด (economy of Scale) เปนผลใหตนทุนตอหนวยลดต่ําลง ๔. ผลตอการเรียนรูในดานเทคโนโลยีการบริหารและการจัดการ การคาระหวางประเทศ ทํา ใหสามารถเรียนรูทางดานเทคนิคการผลิต โดยการนําเอาเทคนิคการผลิตหรือวิธีการผลิตที่เหมาะสม และทันสมัยมาใชในการผลิตสินคาภายในประเทศเชนเทคนิคหรือวิธีการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตทางดาน เกษตรกรรมและ อุตสาหกรรม ซึ่งถือวาเปนลักษณะของการเลียนแบบระหวางประเทศซึ่งวิธีการนี้ ประเทศญี่ปุนในอดีต ไดนําไปใชและไดผลมาแลวโดยไดเลียนแบบเทคนิคและวิธีการผลิตของอังกฤษ และประเทศชั้นนําในยุโรปโดยการนําสงไหมดิบออกไปขายแลกกับการนําเขาสินคาประเภททุนและ เครื่องจักรสงผลใหญี่ปุนกลายเปนประเทศ อุตสาหกรรมที่พัฒนาแลวไดในที่สุด ๕. ผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นักเศรษฐศาสตรโดยทั่วไปเชื่อ วาการคาระหวาง ประเทศเปนตัวจักรที่สําคัญที่กอใหเกิดความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศไทยโดยเฉพาะ ประเทศกําลังพัฒนา โดยผานกระบวนการสงออกเพราะวาประเทศกําลังพัฒนาโดยทั่วไป ประชากร สวนใหญของประเทศมีฐานะ ยากจน ตลาดภายในประเทศแคบ จึงเปนอุปสรรคตอการคา ๖. ผลตอรายไดและการจางงาน การสงออกเพิ่มขึ้นยอมมีผลใหรายได และการจางงาน ภายในประเทศเพิ่มขึ้นหรือเปนการเพิ่มอุปสงคภายในประเทศนั่นเอง การเพิ่มขึ้นของการสงออก 02_01-340_.indd 213 17/10/2562 8:37:08


214 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๗.๖.๖ ผลกระทบของการคาระหวางประเทศ๕ การคาระหวางประเทศจะกอใหเกิดประโยชนแกประเทศคูคาดังที่กลาวมาแลวขางตน การคา ระหวางประเทศก็มีผลกระทบที่ไมพึงปรารถนาแกประเทศคูคาไดเหมือนกัน ผลกระทบที่สําคัญพอจะ จําแนกไดอยางนอย ๔ ประการดวยกันคือ ๑. ผลตอเสถียรภาพของราคาการคาระหวางประเทศที่มุงเนนใหประเทศผลิตสินคาที่ตน ไดเปรียบโดยเปรียบเทียบไมกี่ชนิดหรือชนิดเดียวนั้นจะเปนผลใหรายไดของประเทศขึ้นอยูกับการ จําหนายสินคาออกเพียงไมกี่ชนิด การผลิตและรายไดของประเทศจึงเปลี่ยนแปลงไดงาย ตัวอยางเชน ในอดีตที่ผานมารายไดจากการสงออกของไทยมาจากขาว ยามใดที่ไทยสามารถสงขาวออกไดมาก เนื่องจากความตองการขาวในตลาดโลกมีสูงจะมีผลใหรายไดของประเทศเพิ่มขึ้นทําใหเศรษฐกิจ รุงเรืองและประชาชนมีการใชจายมากจะทําใหเกิดภาวะเงินเฟอได ๒. ผลตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การดําเนินนโยบายการคาระหวาง ประเทศที่สนับสนุนใหประเทศผลิตสินคาที่ตนเองมีความ ไดเปรียบโดยเปรียบเทียบนั้นมีผลใหหลายๆ ประเทศอาจตองซื้อสินคาเขาประเทศ เปนมูลคามากกวามูลคาสินคาออกทําใหเกิดการขาดดุลใน ดุลการคาอาจจะทําใหดุลการชําระเงินระหวางประเทศขาดดุลดวย ซึ่งจะทําใหประเทศตองสูญเสีย ทองคํา หรือทุนสํารองเงินตราตางประเทศ ๓. ผลตอความเปนธรรมในการกระจายรายไดระหวางประเทศการที่อัตราการคาระหวาง ประเทศของประเทศกําลังพัฒนา มีแนวโนมลดลงนั้นทําใหการกระจายรายไดในระดับนานาชาติซึ่งไม เทาเทียมกันอยูแลวยิ่งมีความไมเปนธรรมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะเปนการโอนทรัพยากรจากประเทศกําลัง พัฒนาไปสูประเทศพัฒนา โดยกระบวนการขาดดุลการคาและดุลการชําระเงินนั่นเอง ในขณะเดียวกัน การหลอหลอม รสนิยมระหวางประเทศใหอยูในแบบแผนเดียวกันก็เปนกลไกสําคัญอีกประเภทหนึ่งที่ ทําใหการกระจายรายไดระหวางประเทศเลวลงเพราะวาบริษัทการคาขนาดใหญในประเทศที่ตามมาก็ คือ การบริโภคสินคาจําพวกอุปโภคและบริโภคในสินคาอุตสาหกรรมนําเขามามีมากขึ้น ทําใหตองเสีย เงินตราตางประเทศมากขึ้นในขณะที่รายไดจากการขายสินคาออกเพิ่มขึ้นนอยกวา ๔. ผลตอประสิทธิภาพของนโยบายทางเศรษฐกิจยิ่งภาคการคาระหวางประเทศขนาดใหญ ขึ้นเพียงใดทําใหการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจภายในประเทศจะมีประสิทธิภาพนอยลงเทานั้น เชน เมื่อเกิดปญหาเงินเฟอขึ้นภายในประเทศที่ผานกลไกของทั้งราคาสินคาออกและราคาสินคาเขา นโยบายเพื่อแกปญหาเงินเฟอจะมีความยุงยากมากขึ้นตามไปดวยเพราะในกรณีเชนนี้รัฐบาลไม ๕ ผลกระทบของการคาระหวางประเทศhttp://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘ ๑๗/blog-post ๘๓๐๗.html, สืบคนเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 214 17/10/2562 8:37:09


215 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑๔๙ เพียงแตจะตองเขาใจกลไกการทํางานของระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ วามีความสัมพันธกัน อยางไร หากทวายังตองมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจ และนโยบายทางเศรษฐกิจของ ประเทศคูคาดวยวามีผลกระทบอยางไรตอระบ เศรษฐกิจภายในประเทศทําใหกลไกแกไขปญหา ดังกลาวซับซอนขึ้น ๗.๗ เครื่องมือดานความมั่นคงระหวางประเทศ ในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศนั้น อํานาจของชาติมีบทบาท และความสําคัญ อยางยิ่ง ทั้งนี้เพราะประเทศที่มีอํานาจมากกวายอมสามารถทําให ประเทศที่มีอํานาจดอยกวากระทํา การตางๆ ในสิ่งซึ่งประเทศดอยอํานาจไมปรารถนา จะกระทําการ ในขณะเดียวกันอํานาจของชาติ ก็ เปนหลักประกันในเรื่องความมั่นคง และความปลอดภัยของประชากรและชาติของตน ฉะนั้นขาว ความเคลื่อนไหวของประเทศมหาอํานาจและคําแถลงการณของบุคคลสําคัญของชาติมหาอํานาจ ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลของชาติมหาอํานาจ จึงไดรับความสนใจจากบรรดาประเทศตางๆ ทั่วโลก และเปนสิ่งที่ผูนําประเทศจะตองนํามาใครครวญพิจารณาศึกษาอยูตลอดเวลา ในทางทฤษฎีความสัมพันธระหวางประเทศนั้น ไดใหคําจํากัดความของ ความหมายของคําวา อํานาจของชาติ ไวดังนี้ อํานาจของชาติไดแกความสามารถของ ชาติหนึ่ง ที่สามารถกระทําใหชาติอื่น ปฏิบัติตามในสิ่งที่ตนปรารถนา ในสมัยกอนนั้น การขยายอํานาจกระทําโดยวิธีการยึดครองอาณานิคม หรือใชวิธีการขยายอํานาจทาง การเมือง หรืออํานาจทางเศรษฐกิจที่เรียกกันวาจักรวรรดินิยม แต สําหรับปจจุบันการ ขยายอํานาจแบบอาณานิคมเปนสิ่งลาสมัย เพราะประชากรของประเทศตางๆ ได เรียนรูและมีความสามารถที่จะปองกันตัวเองได ประกอบกับอุดมการณชาตินิยมได แพรขยายไปทั่ว โลก นอกจากนั้นการยึดครองแบบอาณานิคมอยางสมัยกอนตองเสีย คาใชจายสูง ไมเปนการคุมคา[๓] ฉะนั้นในการศึกษาเรื่องอํานาจของชาติและความ มั่นคงระหวางประเทศ จึงควรพิจารณาในเรื่อง ปจจัยแหงความมั่นคงระหวางประเทศ ซึ่งมีปจจัยที่นาศึกษาอยู ๕ ประการ ๑. ปจจัยในการกําหนดนโยบายตางประเทศ ๒. ขอตกลงสนธิสัญญาระหวางประเทศ ๓. การทูต ๔. ทางจิตวิทยาการโฆษณาชวนเชื่อ ๕. ทางการทหารและเศรษฐกิจ 02_01-340_.indd 215 17/10/2562 8:37:10


216 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๗.๗.๑ ปจจัยในการกําหนดนโยบายตางประเทศ ๑. ความสําคัญของนโยบายตางประเทศ การที่นโยบายตางประเทศมี สวนเกี่ยวของ กับความสัมพันธระหวางรัฐดวยกัน และระหวางตัวแสดงตาง ๆ นั้นอาจกอใหเกิดสันติภาพและการ ขัดแยงได ในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศของรัฐนั้น โดยหลักการรัฐจะคํานึงถึง “ผลประโยชนแหงชาติ” (national - interest) ของรัฐตนเปนหลักการพื้นฐานที่สําคัญ และในทาง ปฏิบัติ รัฐมักจะดําเนินนโยบายตางประเทศใหฝายตนไดเปรียบหรือไดประโยชนมากกวาอีกฝายหนึ่ง อยูเสมอเมื่อเปนเชนนี้แลวการดําเนินนโยบายตางประเทศของรัฐจึงมีความสําคัญอยางนอย ๒ ประการคือ ๑.๑ การรักษาเอกราชและความมั่นคงของรัฐ ๑.๒ การแสวงหาและคุมครองผลประโยชนทางเศรษฐกิจของรัฐ ในดานการรักษาเอกราชและความมั่นคงของรัฐนั้น การดําเนินนโยบายตางประเทศของแต ละรัฐ จะมุงตอตานการขยายตัวของรัฐอื่น ๆ และการเผยแพรลัทธิอุดมการณที่รัฐเห็นวาเปนภัยตอ เอกราชและความมั่นคงของตนรัฐจะทุมเททรัพยากรตางๆ ในการดําเนินนโยบายตางประเทศภายใต สมมุติฐานที่วา หากรัฐเกิดความรูสึกวาตนเองอยูในฐานะไมมั่นคงปลอดภัย ก็จะมุงขยายอํานาจของ รัฐ ตัวอยางก็คือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตในปจจุบันตางก็มีฐานะเปนอภิมหาอํานาจในทาง การเมืองระหวางประเทศ ซึ่งในทางปฏิบัติแลว ไมมีรัฐใดหรือ ผูใดที่จะทําลายความมั่นคงของประเทศ อภิมหาอํานาจทั้งสองนี้ได แตทั้งสองประเทศนี้ตางแขงขันกันพัฒนาอาวุธใหม ๆ ที่ทันสมัยโดยการ ระดมทรัพยากรตาง ๆ อยางมหาศาลเพื่อประกันความมั่นคงของตน ซึ่งเทากับเปนการชี้ใหเห็นวา ยิ่ง รัฐพยายามขยายอํานาจของตนมากขึ้นเพียงใด ผูนํา ชนชั้นผูนํา และประชาชนก็จะตองมีสวน เกี่ยวของกับความมั่นคงของประเทศ และกิจการระหวางประเทศในดานตางๆ เพิ่มมากยิ่งขึ้นเทานั้น ในขณะเดียวกันมหาอํานาจในระดับรองๆ เชน สาธารณรัฐ ประชาชนจีน อังกฤษ และฝรั่งเศส เปน ตน แมวาจะไมตองการเปนผูนําโลกดังเชน สหรัฐอเมริกาหรือสหภาพโซเวียตก็ยังคงดําเนินนโยบาย ตางประเทศผูกมิตรกับรัฐ ตางๆ ดวยวัตถุประสงค เพื่อความมั่นคงของประเทศเชนกัน ปรากฏการณ ในเวทีการเมืองระหวางประเทศในปจจุบันไดแสดงใหเห็นถึงการที่รัฐโดยเฉพาะ อภิมหาอํานาจและ มหาอํานาจดําเนินนโยบายตางประเทศเพื่อการสรางความมั่นคง ของตนอยูไมนอยทีเดียว เชน กลุม นาโต กลุมกติกาสัญญาวอรซอ หรือการที่สหรัฐอเมริกาตองสงทหารของตนเปนจํานวนนับลานคน ออกปฏิบัติการนอก ประเทศเพื่อการขยายเขตอิทธิพลเพื่อความมั่นคงของตนในภาคพื้นทวีปตางๆ เปนตน 02_01-340_.indd 216 17/10/2562 8:37:11


217 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๗.๗.๒ ปจจัยในการกําหนดนโยบายตางประเทศ ในการกําหนดนโยบายตางประเทศของรัฐตาง ๆ นั้น ในทางปฏิบัติผู กําหนดหรือตัดสิน นโยบายตางประเทศจะตองพิจารณาและคํานึงถึงปจจัยหรือ องคประกอบตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของ สัมพันธกับเปาหมายกระบวนการกําหนดนโยบาย และการนํานโยบายไปปฏิบัติปจจัยหรือ องคประกอบที่สําคัญ ๆ มีหลายประการ โดยที่นักวิชาการแตละคนตางก็มีทรรศนะแตกตางไปในที่นี้ ขอยกทรรศของ เจมส โรสเนา (James N. Rosenau) ที่สรุปปจจัยตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของในการ กําหนดนโยบายตางประเทศไวดังนี้ คือ๖ ๑. ปจจัยที่เกี่ยวกับลักษณะของผูกําหนดนโยบาย ๒. ปจจัยที่เกี่ยวกับบทบาทของผูมีสวนเกี่ยวของในการกําหนดนโยบาย ๓. ปจจัยที่เกี่ยวกับระบบราชการ ๔. ปจจัยที่เกี่ยวกับรัฐ ๕. ปจจัยที่เกี่ยวกับระบบการเมืองระหวางประเทศ ๑. ปจจัยที่เกี่ยวกับลักษณะของผูกําหนดนโยบาย ปจจัยขอนี้ เกี่ยวกับการรับรู ภาพพจนและบุคลิกลักษณะสวนตัวของผูกําหนดนโยบาย เชน ผูนํา ที่มีลักษณะอารมณรอนวูวาม ยอมมีการตัดสินใจแตกตางจากผูนําที่มีความสุขุม รอบคอบเยือกเย็น เปนตน ๒. ปจจัยที่เกี่ยวกับบทบาทของผูมีสวนเกี่ยวของในการกําหนด นโยบาย โดยทั่วไปไมวาผูใดก็ตามที่จะเขามามีสวนในการกําหนดนโยบาย ตางประเทศนั้น ตางก็มีบทบาทที่ตน จะตองยึดถือแสดงอยูแลวทั้งในแงที่ถูกกําหนดไวอยางเปนทางการและไมเปนทางการ อยางเปน ทางการ เชน อาจตองดําเนินบทบาทของตนในฐานะที่เปนประมุขของรัฐอยางที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว เปนตน สวนบทบาทที่ไมเปนทางการ เชน เปนความคาดหวังของคนอื่น ๆ เปนตน ๓. ปจจัยที่เกี่ยวกับระบบราชการ ปจจัยขอนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับ โครงสรางและ กระบวนการของรัฐบาลและผลของโครงสรางและกระบวนการที่มีตอการกําหนดนโยบายตางประเทศ ๔. ปจจัยอันเกี่ยวกับชาติ ปจจัยขอนี้ สวนใหญเกี่ยวพันกับปจจัยที่กําหนดอํานาจ ของรัฐ เชน ปจจัยทางภูมิศาสตรและทรัพยากรธรรมชาติ ไมวาจะเปนที่ตั้งทางดานภูมิศาสตร ขนาด ดินฟาอากาศทรัพยากรธรรมชาติที่แตละชาติมีอยู ลวนแลวแตมีผลตอการกําหนดนโยบาย ๖ พระบุญฤทธิ์ ชูเลื่อนและคณะ, ความมั่นคงระหวางประเทศ www.https://www.gotoknow.org/posts/๕๔๔๑๐๓ สืบคน เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 217 17/10/2562 8:37:14


218 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ตางประเทศของตน เชน รัฐที่มีอาณาเขตติดกับมหาสมุทรสองดาน อยางเชน สหรัฐอเมริกายอม ไดเปรียบกวาโปแลนดที่มีที่ตั้งอยูระหวางประเทศมหาอํานาจในยุโรปในการกําหนดนโยบาย ตางประเทศ ๕. ปจจัยอันเกิดจากระบบ คําวา ระบบนี้หมายถึง ระบบระหวางประเทศ เชน ระบบดุลแหงอํานาจ ระบบขั้วอํานาจ หรือระบบหลายขั้วอํานาจ เปนตน ระบบเหลานี้ยอมมีอิทธิพล ตอการกําหนดนโยบายของรัฐ เชน กรณีไทยในระหวางสงครามเย็น ไทยดําเนินนโยบายที่ผูกพันกับ สหรัฐอเมริกามากครั้นระบบระหวางประเทศเปลี่ยนแปลงไปเปนระบบหลายขั้วอํานาจสภาพสงคราม เย็นกลายไปเปนการผอนคลายความตึงเครียด ไทยก็หันไปใชนโยบายผูกมิตรกับจีนเพื่อรักษา ผลประโยชนของตน เปนตน ๗.๗.๓ เปาหมายของนโยบายตางประเทศ ไดกลาวมาแลววาการกําหนดและดําเนินนโยบายตางประเทศนั้น โดยหลักการ พื้นฐานก็เพื่อรักษาไวซึ่งผลประโยชนของชาติซึ่งเปนเปาหมายที่สําคัญของรัฐ อยางไรก็ตามในทาง ปฏิบัตินโยบายตางประเทศของรัฐตาง ๆ นั้นมีเปาหมายดังนี้ ๑. เปาหมายเพื่อการรักษาสันติภาพ (Peace) ๒. เปาหมายเพื่อการสรางความมั่นคง (Security) ๓. เปาหมายเพื่อการรักษาอํานาจ (Power) ๔. เปาหมายเพื่อการรักษาความอุดมสมบูรณและการพัฒนาเศรษฐกิจ (Prosperity and economic development) ๑. เปาหมายเพื่อการรักษาสันติภาพ ในปจจุบันสถานการณทางการเมืองระหวาง ประเทศที่เปนอยูไดแสดงใหเห็นวา การเมืองระหวางประเทศมีความเปนไปไดทุกขณะที่จะใชความ รุนแรง (Violence) อันไดแก การใชกําลังอาวุธและกําลังทหารเปนเครื่องมือในการระงับความขัดแยง ตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากวิกฤตการณ ที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตาง ๆ เชน สงครามอิรัก-อิหราน ความขัดแยง บริเวณชายแดน ระหวางสาธารณรัฐประชาชนจีนกับเวียดนามรวมทั้งปญหาชายแดนระหวาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวกับประเทศไทย เปนตน ๒. เปาหมายเพื่อการสรางความมั่นคงนโยบายตางประเทศของรัฐ โดยทั่วไป จะ คํานึงถึงความมั่นคงเปนหลักสําคัญจะเห็นไดวานโยบายการแผอิทธิพล และอํานาจของสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกนั้นก็เพื่อ สรางความมั่นคงในดุลยภาพของอํานาจ ระหวางอภิมหาอํานาจทั้งสองหรือไทย ตองดําเนินนโยบายตางประเทศแบบผูกมิตรกับจีน 02_01-340_.indd 218 17/10/2562 8:37:15


219 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation สหรัฐอเมริกา และประเทศในสมาคมอาเซียน ก็เพื่อสรางความมั่นคงปลอดภัยในกรณีที่เกิดความ ขัดแยงอยางรุนแรงกับ เวียดนามกัมพูชา (เฮงสัมริน) และลาวที่มีสหภาพโซเวียตหนุนหลังเปาหมาย ของ นโยบายตางประเทศในแงของการสรางความมั่นคงนี้ในทางปฏิบัติดูเหมือนจะมีความสําคัญ มากกวาเปาหมายเพื่อสันติภาพเสียอีก ๓. เปาหมายในการรักษาอํานาจการรักษาสถานภาพแหงอํานาจเปนเปาหมายสําคัญ ประการหนึ่งของนโยบายตางประเทศ ในทางปฏิบัติ รัฐตาง ๆ จะรักษาอํานาจและฐานะของตนใน เวทีการเมืองระหวางประเทศมิใหตกต่ําลง ดังจะเห็นไดวา สหรัฐอเมริกาและสหภาพโวเวียตตางก็ พยายามรักษาอิทธิพลของตนในภูมิภาคตาง ๆ รวมทั้งแขงขันกันมีอิทธิพลในประเทศกําลังพัฒนา ทั้งหลายนโยบาย ตางประเทศของสหรัฐอเมริกาในสมัยประธานาธิบดีเรแกนไดหันมาสรางระบบแกน พันธมิตร ๓ ฝาย อันประกอบดวย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และยุโรปตะวันตก เพื่อประสานระบบความ มั่นคงและรักษาอํานาจของสหรัฐอเมริกาในสวนที่เกี่ยวกับ ประเทศกําลังพัฒนานั้น สหรัฐอเมริกาจะ เขามามีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจตาม แนวทางของสหรัฐอเมริกาโดยการลงทุน การใหความ ชวยเหลือในรูปการใหกูยืมและการใหเปลาตลอดจนการใหการสนับสนุนการรวมตัวกัน เชน สมาคม อาเซียน และ ตลาดรวมยุโรป เปนตน ๔. เปาหมายเพื่อการรักษาความอุดมสมบูรณและการพัฒนาเศรษฐกิจ ในภาวะ ปจจุบัน ปญหาความแตกตางระหวางประเทศที่พัฒนาแลวกับประเทศที่ดอยพัฒนาปรากฏใหเห็นได อยางชัดเจน ในรูปของปญหาความยากจนและความอดยาก ในประเทศดอยพัฒนาทั้งหลาย ลักษณะ เชนนี้ไดกอความตึงเครียดในเวทีการเมืองระหวางประเทศ โดยชาติมหาอํานาจตางก็แขงขันเพื่อมี อิทธิพลในการใหความชวยเหลือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศยากจนและเพื่อการรักษาความอุดม สมบูรณและการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อผลทางเศรษฐกิจของตนอีกดวย เชน การใชนโยบายทุมสินคา นโยบายปดลอม เปนตน ๗.๗.๔ ขอตกลงสนธิสัญญาระหวางประเทศ คํานิยามของคําวาขอตกลงระหวางประเทศกับสนธิสัญญาทั้งสองคํานี้กฎหมายตาง ๆ ดังจะ กลาวตอไปนี้ คํานิยามขอตกลงระหวางประเทศบอเกิดของกฎหมายระหวางประเทศที่เกิดจากขอตกลง ก็ คือบอเกิดที่เกิดจาก ขอตกลงระหวางประเทศ ซึ่งหมายถึง การกระทําทางกฎหมายหลายฝายที่ตกลง ทํากันขึ้นระหวางบุคคลในกฎหมายระหวางประเทศและอยูภายใตกฎหมายระหวางประเทศ คือ ประการแรก ขอตกลงระหวางเปนการกระทําทางกฎหมายหลายฝาย อันหมายถึง การ กระทําที่ทําขึ้นหลายฝาย เพื่อกอใหเกิดผลในทางกฎหมายระหวางประเทศ กลาวคือ เปนการกระทํา 02_01-340_.indd 219 17/10/2562 8:37:16


220 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ตั้งแตสองฝายขึ้นไปเพื่อกอใหเกิดความผูกพันตามขอตกลงระหวางรัฐ หรือองคการระหวางประเทศ หรือระหวางรัฐและองคระหวางประเทศ ประการที่สอง ขอตกลงระหวางประเทศเปนขอตกลงที่ปราศจากแบบ กลาวคือ ขอตกลง ระหวางประเทศ อาจเปนไดทั้งขอตกลงที่เปนลายลักษณอักษรหรือ ขอตกลงดวยวาจาก็ไดหรืออาจ เปนไดทั้งขอตกลง ที่ตองผานแบบพิธีหรือขอตกลง แบบยออาจเปนไดทั้งขอตกลงที่เปนเอกสารฉบับ เดียวหรือเอกสารหลายฉบับหรืออาจมีมูลฐานมาจากความยินยอมโดยปริยายจากฝายใดฝายหนึ่งหรือ ทั้งสองฝายก็ได โดยเหตุนี้เราจึงมักเรียกชื่อขอตกลงลายลักษณอักษรในรูปแบบตางๆ ดังกลาวขางตนไดหลาย ชื่อ เชน สนธิสัญญา (Ireaties) อนุสัญญา ( Convention ) กติกา (Pact) กฎบัตร (Charte ) ธรรมนูญ (Statut) ปฏิญญา (Declartion ) ประการที่สาม ขอตกลงระหวางประเทศเปนขอตกลงระหวางบุคคลในกฎหมายระหวาง ประเทศ ซึ่งโดยปกติยอมไดแกขอตกลงที่ทําขึ้นระหวางรัฐกับรัฐแต โดยที่สังคมระหวางประเทศมีการ พัฒนาการเจริญกาวหนาและมีความสัมพันธกันมากขึ้น ไมเพียงแตความสัมพันธระหวางรัฐกับรัฐ เทานั้น แตยังไดขยายไปถึงความสัมพันธระหวางรัฐกับองคการระหวางประเทศ รัฐกับบุคคลธรรมดา หรือปจเจกชนอีกดวย รวมทั้งความสัมพันธระหวางองคการระหวางประเทศกับรัฐและกับปจเจกชน หรือ ระหวางองคการระหวางประเทศดวยกันเองจนในบางครั้งก็กอปญหาทางกฎหมายขึ้น ไดวา ขอตกลงที่ทําขึ้นนั้นเปนสนธิสัญญาหรือไมเปนขอตกลงระหวางประเทศหรือไม และจะอยูภายใต บังคับของกฎหมายใด กลาวคืออยูภายใตบังคับกฎหมายภายในของ รัฐหรืออยูภายใตบังคับกฎหมาย ระหวางประเทศ ในเรื่องนี้แตเดิมคําพิพากษา เชน ศาลประจํายุติธรรมระหวางประเทศ ไดตัดสินวาง หลักไวในคดีเงินกูเซอรเบียน ค.ศ. ๑๙๒๙ วาสัญญาทุกสัญญาที่มิใชสัญญาระหวางรัฐยอมตกอยู ภายใตกฎหมายภายในของรัฐ ๗.๔ สรุปทายบท เครื่องมือความสัมพันธระหวางประเทศเปนกิจกรรมของมนุษยที่เกี่ยวพัน ระหวางบุคคลตาง ๆ ในชาติตาง ๆ มากกวาหนึ่งชาติ การติดตอสัมพันธกันนี้ เปรียบเทียบไดกับรัฐตาง ๆ กําลังแสดง บทบาทบนเวทีที่พฤติกรรมและการกระทําของรัฐสามารถแสดงออกไดโดยไรการควบคุม การศึกษา ความสัมพันธระหวางประเทศ เปนเรื่องที่กวางขวางจนแทบหาขอยุติไมได ขอบเขตของการศึกษา ความสัมพันธระหวางประเทศ จึงไดกําหนดวิชาหลัก คือ ประวัติศาสตรทางการทูต การเมือง ระหวาง ประเทศ กฎหมายระหวางประเทศ องคการระหวางประเทศ เศรษฐกิจ ระหวางประเทศ มี ความสําคัญตอการสรางสันติภาพ การรวมมือติดตอระหวางประเทศตาง ๆ ทั้งนี้ นําไปสูความอยูรอด ของรัฐแตละรัฐ เครื่องมือในการวิเคราะห ความสัมพันธระหวางประเทศ ไดแก ประวัติศาสตรการทูต 02_01-340_.indd 220 17/10/2562 8:37:20


221 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ แนวการวิเคราะห ภูมิศาสตรและยุทธศาสตร วิธีการทางเศรษฐศาสตรสังคม แนวความคิดอุดมคติ นิยม แนวความคิดสัจนิยม และหลักการทางสถิติคณิตศาสตร เครื่องมือเหลานี้เปนความ เชื่อในแตละ ยุคสมัย ดังนั้น การวิเคราะหความสัมพันธระหวางประเทศมีขอพึงระวัง คือ การศึกษาความสัมพันธ ระหวางประเทศมีสิ่งที่อะไรก็เกิดขึ้นได เครื่องมือศึกษามี หลากหลาย และจะใชเครื่องมือใดใหไดผล วิเคราะหที่แมนยําขึ้นอยูกับลักษณะของปญหาที่ศึกษา ตัวแสดงในความสัมพันธระหวางประเทศที่ สําคัญ คือ รัฐชาติกับผลประโยชนของชาติ ผลประโยชนของชาติทุกชาติไดแก ความมั่นคงทางทหาร อํานาจ เศรษฐกิจ อุดมการณและศีลธรรมและหลักกฎหมาย ปจจัยกําหนด ผลประโยชนของชาติ ไดแก ความอยูรอดปลอดภัยของประเทศการกําหนด ผลประโยชนของชาติแตละชาติไมจําเปนตอง เหมือนกับชาติอื่น แตเปนการเล็งเห็นความสําคัญที่เรื่องใดเรื่องหนึ่งเปนกรณีพิเศษ เชน ถากําหนด ผลประโยชนของ ประเทศ คือ การสรางความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ จะทําไดสําเร็จหรือไมขึ้นอยูกับ ความสามารถของชาตินั้น ๆ ความสามารถของชาติจึงไดแก สถานที่ตั้งของประเทศ ทางภูมิศาสตรกับ ทางดานยุทธศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ และกําลังคน ในการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศดุลแหงอํานาจเปนคําที่สําคัญ ที่สุดคําหนึ่ง สามารถพิจารณาไดวา อํานาจคืออิทธิพลและการควบคุมที่ชาติหนึ่ง แสดงออกมาตออีกชาติหนึ่ง ดุล แหงอํานาจเปนความสัมพันธที่เทาเทียมกัน ซึ่งไดมาโดยการเปนพันธมิตรและเขาฝายที่มีผลประโยชน รวมกันเพื่อใหรัฐมีความเขมแข็งมากขึ้นอีกดวย ในอดีตโลกแบงเปนสองขั้วอํานาจ คือ ขั้ว สหรัฐอเมริกากับขั้วสหภาพโซเวียตเมื่อสหภาพโซเวียตลมสลายขั้วอํานาจก็เปลี่ยนเปนหลายขั้ว นอกจากเรื่องดุลแหงอํานาจแลว ปจจุบันยังมีองคการระหวางประเทศที่มีบทบาทในการสราง ความสัมพันธระหวางประเทศทั้งในระดับเอกชนและระดับรัฐบาลองคการระหวาง ประเทศคือ องคการที่รัฐจํานวนตั้งแต ๒ รัฐขึ้นไปมารวมกันดําเนินงาน เพื่อวัตถุประสงคในการปองกันตนเองและ อํานวยประโยชนแกนานาประเทศ องคการระหวางประเทศที่สําคัญ คือ องคการสหประชาชาติ กอตั้ง หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีวัตถุประสงคเพื่อธํารงรักษาสันติภาพของโลก เพื่อใหการดําเนินนโยบาย ตางประเทศ สามารถดําเนินไปไดอยางเปนผลดี จําตองมีเครื่องมือในการดําเนินนโยบาย ตางประเทศ ทั้งนี้เพื่อการกําหนดนโยบายตางประเทศของรัฐประสบผลสําเร็จตามความมุงหมาย สําหรับเครื่องมือ ที่ใชอยูในปจจุบัน ประกอบดวย การทูต การเจรจา ระหวางประมุขของรัฐบาล การทหาร การ เศรษฐกิจความมั่นคงระหวางรัฐการทูต เปนศิลปะในการดําเนินกิจการและการเปนตัวแทน ผลประโยชนแหงรัฐบาลของตนในตางประเทศดวย รัฐเอกราชยอมมีสิทธิที่จะแตงตั้งคณะทูตของตน ไปประจํายังรัฐอื่น มีหนาที่คุมครองผลประโยชนของรัฐและคนในชาติของตนที่อาศัยอยูในรัฐที่ตนเปน ตัวแทน ทําหนาที่เปนตัวแทนของรัฐบาลในการเจรจาตกลง ศึกษาสภาวะและพัฒนาการของรัฐตาม ขนบธรรมเนียม ภายในกรอบของกฎหมายระหวางประเทศ แลวรายงานไปยังรัฐบาลของตนการ กระทําการสงเสริมสัมพันธไมตรีระหวางชาติ รวมทั้งการรวมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจวัฒนธรรมและ 02_01-340_.indd 221 17/10/2562 8:37:21


222 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ วิทยาการตางๆ เนื่องจาก คณะทูตเปนตัวแทนของรัฐ จึงไดรับเอกสิทธิ์และความคุมครองทางการทูต ในขณะที่ ยังคงดํารงตําแหนงอยูเอกสิทธิ์และความคุมกันทางการทูตเหลานี้ไดการไดรับความ คุมครองและความคุมกันในเรื่องสถานทูต สถานที่อยูอาศัย ตัวบุคคลและทรัพยสินใน คณะทูต ใน กรณีที่มีการละเมิด คณะทูตจะตองมีการขอโทษและหากมีการประทุษราย เกิดขึ้นแกคณะทูตรัฐ เจาของประเทศจะตองดําเนินการสอบสวนฟองรองลงโทษโดย รีบดวนทันที ผูแทนทางการทูตจะได ความคุมครองโดยไมตองถูกฟองรองทางคดีอาญา แตโดยหลักปฏิบัติแลว คณะทูตตองเคารพ กฎหมายของรัฐที่ตนไปปฏิบัติหนาที่และในกรณีที่มีการละเมิดในเรื่องที่กอใหเกิดความเสียหายอยาง รุนแรงอาจถูกเรียกตัวกลับ หรือเมื่อมีการละเมิดบอย ๆ ก็อาจถูกเรียกตัวกลับได คณะทูตไดรับการ ยกเวนโดยไมตองถูกฟองรองในทางแพงเกี่ยวกับทรัพยสิน หนี้สิน และการละเมิดหรือผิดสัญญาใด ๆ อยางไรก็ดี ไดมีนักกฎหมายบางคนเห็นวาความคุมกันนี้ไมนาจะรวมถึงกิจการ สวนตัวในปจจุบันนี้การ เจรจาระหวางประมุขของรัฐบาลตาง ๆ ไดกระทํากันอยางกวางขวาง เชน นายกรัฐมนตรีของประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีนไดเดินทางไปเยี่ยมเยียนและเจรจากับนายกรัฐมนตรีของหลายประเทศใน ทวีปยุโรป นายกรัฐมนตรี ของประเทศไทยก็เดินทางไปเจรจากับนายกรัฐมนตรีของประเทศสิงคโปร มาเลเซีย พมา และสาธารณรัฐประชาชนจีน เหลานี้เปนตน ทุกประเทศจะตองมีกองทหารของตนเพื่อ ปกปองและคุมครองผลประโยชนแหงชาติ นอกจากนั้นหลายประเทศยังไดใช กําลังทหารเปน เครื่องมือสนับสนุนการดําเนินนโยบายตางประเทศของตน เพราะวาใน เรื่องการเมืองระหวางประเทศ นั้น แตละชาติตางมุงรักษาหรือ แขงขันกันเพื่อใหไดมา ซึ่งอํานาจในเรื่องการเมืองระหวางประเทศนั้น แตละชาติตางมุงรักษาหรือแขงขันกัน เพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจ ความมุงหมายของการแขงขันก็คือ ความ ตองการที่จะใหชาติอื่นยอมปฏิบัติตามความปรารถนาของตนหรือสามารถที่จะกําหนดเงื่อนไขในการ ตกลงกับชาติอื่น ฉะนั้น จึงไดมีการเพิ่มพูนหรือสรางกําลังทางทหารเพื่อนําไปใชเปน เครื่องมือในการ ดําเนินการระหวางประเทศ ทั้งนี้เพื่อผลประโยชนแหงชาติของตน 02_01-340_.indd 222 17/10/2562 8:37:21


223 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation เอกสารอางอิงประจําบท ๑.๑ หนังสือ โกวิท วงศสุรวัฒน. (ม.ป.ป.). หลักรัฐศาสตร. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พื้นฐานรัฐศาสตรกับการเมืองในศตวรรษที่ ๒๑. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,๒๕๔๓. ณัชชาภัทร อุนตราจิตร, รัฐศาสตร. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย,๒๕๕๔. ดําริห บูรณะนนท, ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตรและกฎหมายมหาชน.กรุงเทพมหานคร: วีเจ.พริ้น ติ้ง,๒๕๔๔. ทองใบ ธีรานั้นทางกูร (หงสเวียงจันทร) (ม.ป.ป.). พจนานุกรม ศัพทความสัมพันธระหวางประเทศ อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก,๒๕๔๔. ธารทอง ทองสวัสดิ์, “แนวคิดทั่วไปวาดวยองคการระหวางประเทศ” ในสาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายระหวางประเทศ และ องคการระหวางประเทศ. พิมพครั้งที่ ๔. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๕ _______“รัฐกับการเมืองระหวางประเทศ” ในสาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรร มาธิราช.เอกสารการสอนชุดวิชาหลักรัฐศาสตร และการบริหาร.พิมพครั้งที่๖.นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,๒๕๔๒ ศิโรตม ภาคสุวรรณ, ความสัมพันธระหวางประเทศ: ทฤษฎีและพฤติกรรม.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๒๑. สุรพล ราชภัณฑารักษา และบวร ประพฤติดี, รัฐศาสตรทั่วไป. พิมพครั้งที่ ๔กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง,๒๕๒๓. อานนท อาภาภิรม. รัฐศาสตรเบื้องตน. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๕ ๑.๒ สื่ออิเล็กทรอนิกส กฎหมายระหวางประเทศ http://sapatkawintra.blogspot.com/๒ ๐๑๖/ ๐๒/blog-post ๕.html ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 223 17/10/2562 8:37:25


224 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ม า ต ร ก า ร แกไข ค ว า ม ขั ด แย ง ร ะ ห ว า ง ป ร ะเทศ https://www.baanjomyut.com/library /politics/oo_b.html,สืบคนเมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๐. พ ร ะ บุ ญ ฤ ท ธิ์ ชู เ ลื่ อ น แ ล ะ ค ณ ะ , ค ว า ม มั่ น ค ง ร ะ ห ว า ง ป ร ะ เ ท ศ www.https://www.gotoknow.org/posts/๕๔๙๑๐๓ สืบคน เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ๒๕๖๐ ผลกระทบของการคาระหวางประเทศ http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/ ๐๗/blog-post ๘๓๐๗.html,สืบคนเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐. Deutsch, Karl W. The Analysis of International Relations. Engle Wood Cliffs. N.J.: Prentice-Hal., ๑๔๖๘. ออนไลนเมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๐. Kennan, George F. “Training For Statesmanship” The Princeton Alumini Weekly. March, ๑ ๙ ๕ ๓ . อ อ น ไ ล น เ มื่ อ วั น ที่ ๑ ๔ เ ม ษ า ย น ๒ ๕ ๖ ๐ www.https://www.gotoknow.org/posts/๕๔๙ ๑๐๓ สืบคนเมื่อวันที่ ๒๖เมษายน ๒๕๖๐ www"http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๗/blog-post_๘๓๐๗.html สืบคนเมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๐. www"https://www.baanjomyut.com/library ๔/politics/๑๐ _๖.html ,สืบคนเมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ www.http://gjournal.ksu.ac.th/file/๒๐๑๕๐๗๒๘ _๑๑๕๗๖๗๕๖๐๐.pdf, เมือวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 224 17/10/2562 8:37:25


บทที่ ๘ ความสัมพันธระหวางประเทศ ดานการเมืองสังคมและเศรษฐกิจ ๘.๑ ความนํา รัฐประชาชาติในยุคปจจุบันนี้ไมมีรัฐใด ซาติใดที่จะดํารงอยูอยางโดด เดี๋ยวตามลําพัง โดยที่ไม ตองเกี่ยวของติดตอกับรัฐอื่น ๆ หรือสังคมอื่น ๆ โดยไดอีกตอไป อีกทั้งไดมีการยอมรับกันวา ความสัมพันธระหวางการเมืองภายในรัฐและการเมืองภายนอก รัฐนั้นเกี่ยวพันและเปนผลซึ่งกันและ กัน ความสัมพันธระหวางหนวยการเมืองคือ รัฐ ในปจจุบันได มุงไปถึงทั้งทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ และทางสังคมระหวางรัฐซึ่งมี ประมาณ ๑๖๐ รัฐ ทั้งในองคการและนอกองคการสหประชาชาติ ความสัมพันธระหวางประเทศนี้ มิไดหมายความถึงความสัมพันธระหวางประเทศ เทานั้น แต มีความหมายที่กวางกวานั้นถึงแมวาหนวย ที่มีบทบาทสําคัญสวนใหญใน ความสัมพันธระหวาง ประเทศคือรัฐหรือรัฐบาล ผูดําเนินกิจการของรัฐก็ตาม ประเทศนี้ รวมถึงหนวยอื่น ๆ ที่มิใชรัฐ เชน องคการระหวางประเทศกลุมบุคคลใด ๆ หรือบุคคลใด บุคคลหนึ่งซึ่งมีบทบาทความสัมพันธระหวาง ประเทศไดความสัมพันธมิไดหมายความถึง เฉพาะความสัมพันธทางการเมืองเพียงอยางเดียวแต รวมถึงความสัมพันธทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและอื่น ๆ ซึ่งมีความสําคัญในการดําเนินการเพื่อให บรรลุจุดมุงหมายของ ความสัมพันธนี้มีทั้งความขัดแยงและความรวมมือสาระของความสัมพันธ ระหวางประเทศ ๘.๒ ความสําคัญความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ความสัมพันธระหวางประเทศในยุคโลกาภิวัฒนหรือยุคไรพรมแดนอันเปนผลมา จาก ความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ โลกาภวัฒนสงผลกระทบตอสังคมไทยทั้งดาน สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองตัวอยางที่เห็นไดชัดคือ วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ตั้งแต ค.ศ. ๑๙๔๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐) ซึ่งมีผลมาถึงปจจุบัน ประเทศไทยฐานะหนวยหนึ่งของสังคมโลก จําเปนตองปรับตัวเพื่อความ อยูรอดซึ่งไดดําเนินมาตลอดชวงเวลาอันยาวนานนับตั้งแตชาติ ตะวันตกไดแผอิทธิพลเขามาซึ่งมี รูปแบบและวิธีการปรับตัวที่สะทอนใหเห็นถึงกุศโลบาย อันแยบยลของผูนําไทยที่มีวิสัยทัศนกวางไกล เขาใจสภาพความเปนจริงระหวางประเทศ สามารถดําเนินนโยบายที่ชาญฉลาดโดยยอมเสียสละ บางอยางเพื่อรักษาเอกราชและ อิสระภาพของประเทศไว 02_01-340_.indd 225 17/10/2562 8:37:26


226 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๕๐ ๕ การปรับตัวของไทยกอนสงครามโลกครั้งที่๒ปจจัยสําคัญที่ทําใหไทยตองมีการปรับตัว ที่ สําคัญที่สุด คือ ภัยคุกคามจากลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก ทําใหเราตองเปดประเทศ ติดตอกับ ตะวันตก และเริ่มปรับตัวเขาสูยุคใหม นับตั้งแตการทําสนธิสัญญาเบาวริง กับ ประเทศอังกฤษ ในป ค.ศ. ๑๘๕๕ (พ.ศ. ๒๓๙๔) เปนตนมา จากนั้นสังคมไทยก็มีการ ปรับตัวมาโดยตลอดจนถึงปจจุบัน ๘.๒.๑ การปรับตัวของไทยหลังสนธิสัญญาเบาวริง สนธิสัญญาเบาวริงเปนสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีที่ไทยทํากับประเทศ อังกฤษ เมื่อป ค.ศ. ๑๘๕๕ เปนสนธิสัญญาที่บังคับใหไทยตองเปดการคาเสรีกับประเทศ อังกฤษ ภายหลังไดมีประเทศ ตะวันตกชาติอื่น ๆ เขามาขอทําสนธิสัญญากับไทย เชนเดียวกับสนธิสัญญาเบาวริง สัญญาเหลานี้เปน สัญญาที่บังคับใหไทยตองเปดการคาเสรี กับประเทศตะวันตกไทยไมมีทางเลี่ยงจึงจําเปนตองทําใน ภาวะจํายอมภายหลังการทําสนธิสัญญาเบาวริงระบบเศรษฐกิจไทยไดเชื่อมโยงกับระบบ เศรษฐกิจ โลก ระบบการผลิตของไทยเปลี่ยนจากการผลิตเพื่อยังชีพเปนการผลิตเพื่อการคา การคาขยายตัวมี ชาวตางชาติเขามาคาขายเพิ่มมากขึ้นผลกระทบจากสนธิสัญญาเบาวริ่ง ทําใหไทยตองมีการปรับตัวทั้ง ดานสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ดังนี้ ๑. การปรับปรุงดานขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม เปนการ เปลี่ยนแปลงดานสังคม โดยการปรับปรุงประเพณีที่ลาสมัยและสงเสริมการเรียน ภาษาอังกฤษ การเปดโอกาสใหพวก มิชชันนารีเขามาตั้งโรงเรียนสอนศาสนา ตั้งโรงพิมพออกหนังสือ Bangkok Recorder และเผยแพร วิทยาการดานตาง ๆ การสงเสริมการศึกษา การตั้งโรงเรียนขาราชการพลเรือน เพื่อฝกคนเขารับ ราชการ การสงคนไทยไปศึกษาตางประเทศที่สําคัญที่สุด คือ การเลิกทาส และเลิกระบบไพร ๒. การปฏิรูประบบเงินตราและการธนาคาร เปนการเปลี่ยนแปลง ทางดานเศรษฐกิจ การ ปฏิรูปเงินตรา การออกธนบัตร การตั้งหนวยงานกลางสําหรับเก็บ ภาษี การตั้งกระทรวงการคลัง การ เปลี่ยนแปลงมาตรฐานเงินตราจากมาตรฐานเงินเปน มาตรฐานทองคําการจัดทํางบประมาณแผนดิน การปรับปรุงดานการเกษตร และการ ชลประทาน การตัดถนน ขุดคลอง การไปรษณียโทรเลข โทรศัพท การรถไฟ เพื่ออํานวย ความสะดวกในการเดินทางระหวางเมืองหลวงกับหัวเมือง ๓. การปฏิรูประบบบริหารราชการแผนดิน เปนการเปลี่ยนแปลงทางดานการเมืองจากเดิม เปลี่ยนมาเปนแบบกระทรวง ทบวง กรม ยกเลิกการปกครองแบบกินเมือง เปลี่ยนเปนการจาย เงินเดือนขาราชการ รวมอํานาจการบริหารเขาสูสวนกลาง เพื่อใหเกิด ความเปนเอกภาพภายในชาติ เพื่อตอสูกับอิทธิพลของลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก โดยเฉพาะฝรั่งเศสและอังกฤษ การปรับปรุง กองทัพ การปรับปรุงดานกฎหมายและการศาล ใหทันสมัย การจางชาวตางประเทศมาเปนที่ปรึกษา 02_01-340_.indd 226 17/10/2562 8:37:26


227 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๕๑ ๕ ราชการแผนดิน โดยเฉพาะดาน กฎหมายระหวางประเทศและที่สําคัญที่สุดคือการเสียดินแดนในป ค.ศ. ๑๘๙๓ (พ.ศ. ๒๕๓๖ หรือ ร.ศ. ๑๑๒) เพื่อแลกตัวเอกราชของชาติการปรับตัวของไทยดังกลาว ทําใหประเทศเจริญกาวหนาทัดเทียม อารยประเทศ ประเทศตะวันตกจึงไมสามารถเอามาเปนขออาง ในการแผอํานาจเขามาโดย อางวาเพื่อจะมาพัฒนาใหทันสมัย การปรับตัวดังกลาวนับเปนความชาญ ฉลาดของผูนําไทย ในอดีตที่มองการณไกล และรูเทาทันโลก ๘.๒.๒ ไทยในสงครามโลกครั้งที่ ๑ สงครามโลกครั้งที่ ๑ เริ่มขึ้นในยุโรปเมื่อเดือนสิงหาม ค.ศ. ๑๙๑๔ ระหวาง ฝายมหาอํานาจ กลางอันมีเยอรมนี ออสเตรีย ฮังการี กับฝายสัมพันธมิตร อันมีอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเชีย ใน ระยะแรกไทยประกาศตัวเปนกลาง ตอมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลาเจาอยูหัวทรงวิเคราะห สถานการณในขณะนั้น แลวเห็นวาเราควรเขารวมสงครามโดย เขากับฝายสัมพันธมิตร ซึ่งกําลัง ไดเปรียบในสงคราม เพื่อไทยจะไดมีโอกาสแกไขสัญญาที่ เสียเปรียบ ผลจากการที่ไทยเขารวม สงครามโลกครั้งที่ ๑ ทําใหนานาประเทศรูจักประเทศไทยและไทยไดมีโอกาสเรียกรองขอแกไข สนธิสัญญาที่ไมเปนธรรมที่ทําไวตั้งแตสมัยรัชกาล ที่ ๔. และขอเสียเปรียบหลายประการไดรับการ แกไขหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ มาสําเร็จ บริบูรณในสมัยรัชกาลที่ ๔ ๘.๒.๓ ไทยในสงครามโลกครั้งที่ ๒ สงครามโลกครั้งที่ ๒ เริ่มขึ้นในยุโรป เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ค.ศ. ๑๙๓๙ ใน ระยะแรกที่ ฝรั่งเศสเพลี่ยงพลาตอเยอรมนี ไทยไดทําการเรียกรองดินแดนคืนจากฝรั่งเศส แตฝรั่งเศสปฏิเสธไทย กับฝรั่งเศสจึงเกิดกรณีพิพาทกัน ตอมาญี่ปุนเขามาไกลเกลี่ยในป ค.ศ. ๑๕๕๑ ไทยไดดินแดนฝงขวา แมนาโขง และเขมรสวนในคือเสียมราฐ พระตะบอง ศรีโสภณ ที่เสียใหฝรั่งเศสกลับคืนมา World War II in Europe ในเดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๒ ญี่ปุนไดเปดฉากโจมตีเพิรลฮารเบอร ฐาน ทัพเรือของ สหรัฐอเมริกา ในหมูเกาะฮาวายและญี่ปุน ไดสงกําลังเขาโจมตีไทย ในวันที่ ๘ ธันวาคม ค.ศ. ๒๕๔๒ ไทยไมสามารถตานทานญี่ปุนได จึงตองยอมใหญี่ปุนตั้งฐานทัพใน ประเทศไทยและไทยไดประกาศ สงครามกับสหรัฐอเมริกา ในวันที่ ๒๕ มกราคม ค.ศ. ๑๕๕๔๒ การประกาศสงครามของไทยครั้งนี้มี คนไทยที่ไมเห็นดวยไดรวมตัวตั้งเปนขบวนการ เสรีไทย เพื่อรวมมือ กับสัมพันธมิตรและตอตานญี่ปุน หัวหนาขบวนการเสรีไทยที่สําคัญ คือ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช อัครราชทูตไทยประจําสหรัฐอเมริกา และ ม.จ.ศุภสวัสดิ์ วงศสนิท สวัสดิวัฒน หัวหนาเสรีไทยในประเทศอังกฤษ และนายปรีดี พนมยงค เปน 02_01-340_.indd 227 17/10/2562 8:37:30


228 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๕๒ ๕ หัวหนาเสรีไทย ในประเทศไทย รัฐบาลสหรัฐอเมริกาไดใหการรับรองการกระทําของเสรีไทย และให ความ ชวยเหลือดานเศรษฐกิจและฝกอาชีพ สงครามโลกครั้งที่ ๒ ยุติลงดวยความพายแพของญี่ปุน นายควง อภัยวงศ เขารับตําแหนง นายกรัฐมนตรี ตอมาเมื่อญี่ปุนยอมจํานนตอฝายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ค.ศ. ๒๕๔๕ ไทย ไดออกประกาศวา การประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกา เมื่อ วันที่ ๒๕ มกราคม ค.ศ. ๑๙๔๒ นั้น เปนโมฆะ เพราะจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีไดประกาศสงครามโดยพลการ รัฐบาล สหรัฐอเมริกาประกาศรับรองคํา ประกาศของไทย แตอังกฤษไมยอมรับรอง ไทยไดเจรจาตอรองกับ อังกฤษและตองยอมคืน ดินแดนในมลายู และแควนฉานที่ไดมาระหวางสงคราม และไทยตองจัดสง ขาวสารจํานวน หนึ่งลานหาแสนตันแกอังกฤษ โดยไมคิดมูลคา และตองยอมคืนดินแดนฝงขวาแมนา โขง และดินแดนเขมร อันไดแก เสียมราฐ (Siem Reap หรือ นครวัด นครธม) พระตะบอง (Battambong) และศรีโสภณ (Banteay Mean Chey) ที่ไดมาในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ คืนแก ฝรั่งเศส ความรวมมือกับประเทศมหาอํานาจครั้งนั้นทําใหไทยไดเขาเปนสมาชิก องคการ สหประชาชาติ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๖ เปนสมาชิกลําดับที่ ๕๕ การ ปรับตัวชวงนี้ของ ไทยนับวามีความสําคัญมาก เพราะเปนชวงที่อยูในภาวะคับขัน ตองใช ปญญาและความสามารถของ ผูนําในการเจรจาตอรอง และยอมแลกเปลี่ยนผลประโยชน ตาง ๆ ตามขอเรียกรองของชาติ มหาอํานาจสามารถพาชาติฝาฟนวิกฤตมาได ๘.๒.๔ การปรับตัวของไทยในยุคสงครามเย็น หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไดเกิดภาวะสงครามเย็นอันเปนผลมาจากการ แขงขันดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และกําลังอาวุธ ระหวางสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต ในภูมิภาคตาง ๆ ทั่วโลก โลกถูกแบงออกเปน ๒ คาย คือ โลกเสรี และ โลกคอมมิวนิสต มหาอํานาจทั้ง ๒ ฝาย พยายามเขามาแทรกแซงการเมืองในภูมิภาคตาง ๆ จนนําไปสูวิกฤตการณการตอสูอันเนื่องมาจาก ความขัดแยง เรื่องอุดมการณทางการเมือง และเนื่องจากสหรัฐอเมริกาใหความชวยเหลือประเทศไทย จนเปลี่ยนสถานะเปนผูชนะ สงคราม ไทยจึงเลือกใหการสนับสนุนสหรัฐอเมริกาในสภาวะสงครามเย็น จนเปลี่ยนสถานะ เปนผูชนะสงคราม ไทยจึงเลือกใหการสนับสนุนสหรัฐอเมริกาในสภาวะสงครามเย็น อันเปน ผลใหสหรัฐอเมริกา เขามามีอิทธิพลตอไทยทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ๑. การเขาเปนสมาชิกขององคการระหวางประเทศ ภายหลังจากที่ฝาย คอมมิวนิสตนําโดยโฮ จิมินห (Nguen That Thanh) ไดรับชัยชนะในสงครามกอบกูเอกราช ของเวียดนาม ทําใหสงคราม เย็นแผเขามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เมื่อสหรัฐอเมริกา ขยายบทบาททางทหารเขามาดวยการ 02_01-340_.indd 228 17/10/2562 8:37:31


229 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๕๓ ๕ จัดตั้งองคการสนธิสัญญา ปองกันรวมกันแหงเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต (South East Asia Treaty Organization : SEATO) โดยมีสมาชิก ๔ ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ไทย ฟลิปปนส และ ปากีสถาน ตอมาในชวงที่สหรัฐอเมริกาเริ่มถอนตัวออกจากสงคราม เวียดนาม ในขณะที่จีน ยังใหการสนับสนุนคอมมิวนิสตในประเทศตาง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไทยเกรงวา จะเกิดชองวางอํานาจ จึงรวมมือกับประเทศเพื่อนบานกอตั้งสมาคมประชาชาติเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตหรือสมาคมอาเซียนขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๖๗ เมื่อแรกตั้งเรียกวา สมาคมอาสา (ASA) ปจจุบันไทยไดเขาเปนสมาชิกขององคการระหวางประเทศ ทั้งในระดับภูมิภาคและ ระดับโลกนับวา เปนการเสริมสรางบทบาทในเวทีการเมืองของโลกและปกปองผลประโยชน ของไทยในระดับ นานาชาติอีกดวย ๒. นโยบายอยูรวมกันอยางสันติกับประเทศอินโดจีนเมื่อคอมมิวนิสต ประสบชัยชนะใน เวียดนาม ลาว และกัมพูชา ตั้งแตป ค.ศ. ๑๔๗๕ ไทยตองปรับปรุงเปลี่ยน นโยบายอยูรวมกันอยาง สันติกับประเทศเพื่อนบานอินโดจีน ภายหลังที่เวียดนามรุกราน กัมพูชาโดยสนับสนุนให เฮง สัมริน ขึ้นปกครองกัมพูชาและขับไลเขมรแดงหลบหนีมาอยูปา ตามแนวชายแดนไทยกัมพูชา โดยไทยและ อาเซียนไดสรางแนวรวมกับประเทศมหาอํานาจ เชน สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุน และยุโรปตะวันตก เพื่อสกัดกั้นการขยาย อํานาจของเวียดนามที่ไดรับการสนับสนุนจากสหภาพโซ เวียต และประเทศคอมมิวนิสต ในยุโรปตะวันออกและมุงมั่นในสันติภาพของภูมิภาคนี้ ๓. นโยบายผูกมิตรกับประเทศตะวันตก ในยุคสงครามเย็นไทยไดผูกมิตร กับประเทศ ตะวันตกโดยมีสหรัฐอเมริกา เปนผูนํานโยบายตางประเทศของไทยในระยะนี้คือ การตอตาน คอมมิวนิสตโดยเฉพาะอยางยิ่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ตอมาเมื่อเกิดความ ขัดแยงระหวางจีนกับ รัสเซียและจีน หันมาปรับความสัมพันธกับสหรัฐอเมริกาไทย จําเปนตองปรับนโยบาย โดยลดความ ใกลชิดกับสหรัฐอเมริกาและเรียกรองใหสหรัฐอเมริกา ถอนฐานทัพจากไทยแลวหันไปสถาปนา ความสัมพันธกับลาว กัมพูชา และเวียดนาม ภายหลังเหตุการณ ๑๔ ตุลาคม ค.ศ. ๑๔๗๓ (พ.ศ. ๒๕๑๖) การเมืองไทยไดปรับเปลี่ยนเปนประชาธิปไตยมากขึ้น ประชาชนและพรรคการเมืองไดเขามา มีบทบาทในการบริหาร ประเทศและไดมีการปรับเปลี่ยน นโยบายตางประเทศของไทยใหสอดคลอง กับสถานการณ ระหวางประเทศ ผูที่มีบทบาทสําคัญคือ นายกรัฐมนตรี ม.ร.วคึกฤทธิ์ ปราโมช ได สถาปนา ความสัมพันธทางการทูตกับจีน เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๗๕ โดยหวังจะไดรับ ผลประโยชนทั้งดานการเมืองเศรษฐกิจ และสังคมและขณะเดียวกัน ความสัมพันธระหวาง ไทยกับ สหรัฐอเมริกา ก็เริ่มหางเหินกันมากขึ้น 02_01-340_.indd 229 17/10/2562 8:37:32


230 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๕๔ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๔. นโยบายการทูตเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ หรือการทูตรอบทิศทาง ในป ค.ศ. ๒๕๔๕ ไทย ไดเปรียบดุลการคาจากสหรัฐอเมริกา จึงถูกสหรัฐอเมริกา ใชมาตรการกีดกันการคาประเทศไทยได ปรับตัวโดยนําการทูตเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจชักชวนใหนักธุรกิจมา ลงทุนในประเทศและ ประชาสัมพันธเชิญชวนให ชาวตางประเทศมาทองเที่ยวมากขึ้นเปน ผลใหการลงทุนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการลงทุนของญี่ปุนชื่อเสียงของประเทศไทย จึงไดรับการยอมรับจากนานาชาติ ยิ่งขึ้น ๕. นโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคาหรือนโยบายอนุภูมิภาคนิยม (Subregionalisrn) ภายหลังการลมสลายของสหภาพโซเวียตสงครามเย็นยุติลง ไทยหัน มารวมมือกับ ประเทศอินโดจีน โดยประกาศนโยบาย “เปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคา”เพราะเห็นโอกาสที่จะ พัฒนาใหประเทศไทยเปนศูนยกลางของเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ ในรูป ของความรวมมืออนุภูมิภาค หรือความรวมมือสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ทางภาคเหนือ มี ไทย พมา จีน และลาว ตอมาขยายเปน หา เหลี่ยมเศรษฐกิจมี ไทย พมา บังคลาเทศ อินเดีย ศรี ลังกา และหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ มี จีน พมา ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม สวนทางใตคือ ความรวมมือสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ มี ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ในขณะเดียวกันไทย พยายามจะใชโอกาสในการเปดประตูสูอินโดจีน โดยมีเปาหมายหลัก คือ อินโดจีน พมา และ อาเซียนในป ค.ศ. ๑๙๔๒ ไทยไดผลักดันใหมีการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ในชวง ค.ศ. ๒๐๐๒ ไดเริ่มโครงการ “สามเหลี่ยมมรกต” (The Emeral Triangk) เพื่อความรวมมือ ทาง เศรษฐกิจระหวางไทย ลาว กัมพูชา ๘.๒.๕ การปรับตัวของไทยในยุคโลกาภิวัตน ภายหลังสงครามเย็นยุติลง สหรัฐอเมริกากลายเปนผูนําเพียงผูเดียว ทั้งยังได ประกาศ ระเบียบโลกใหม (New World Order) ๔ ประการ คือ ระบอบประชาธิปไตย การคาเสรี การเคารพ สิทธิมนุษยชน และการปกปองสิ่งแวดลอม ความสัมพันธระหวาง ประเทศของโลกเปลี่ยนจากระบบ สองศูนยอํานาจไปสูหลายศูนยอํานาจ เกิดการแขงขัน ดานเศรษฐกิจ การกีดกันการคา การรวมกลุม กันดานเศรษฐกิจตามภูมิภาคตาง ๆ เพื่อ สรางอํานาจตอรอง และถวงดุลกันดานเศรษฐกิจ เชน การ รวมตัว เปนตลาดเดียวของ ประชาคมยุโรป การจัดตั้งเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) และเขต การคาเสรีอาเซียน (AFTA) เปนตน สถานการณเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในภูมิภาคและในโลกและ การ แขงขันที่ไรพรมแดน เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหไทยตองมีการปรับตัวเพื่อกอบกูวิกฤต เศรษฐกิจ และเพิ่มศักยภาพดานการแขงขัน การปรับตัวที่สําคัญมีดังนี้ ๑. การปรับตัวของไทยดานสังคม กระแสโลกาภิวัฒน และระเบียบโลก ใหมที่เนนเรื่องการคา เสรี สงผลใหระบบเศรษฐกิจโลกมีความเชื่อมโยงกัน การแพรขยาย อิทธิพลทางการคาของบริษัทขาม 02_01-340_.indd 230 17/10/2562 8:37:33


231 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๕๕ ๕ ชาติไดเขามาทําลายธุรกิจขนาดยอมภายในประเทศ สภาวการณดังกลาวทําใหไทยตองปรับตัวเพื่อ ศักยภาพแหง การแขงขัน การปรับตัวที่ สําคัญมีดังนี้ ๑.๑ ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตรการพัฒนาแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๘ แสดงใหเห็นจุดเปลี่ยนของยุทธศาสตร การพัฒนาที่หันมาให ความสนใจเรื่องการพัฒนา แบบยั่งยืน และมียุทธศาสตรที่สําคัญ คือ เนนการพัฒนาคนโดย ถือวาคนคือทรัพยากรที่สําคัญของ ชาติที่เรียกวา “ทรัพยากรมนุษย” การรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดลอม การสงเสริมระบบ ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมการกระจายอํานาจจาก สวนกลางสูทองถิ่น โครงการสรางความเขมแข็ง ใหแกองคกรทองถิ่น การสรางประชารัฐ โดยมุงประสานรัฐกับประชาชนใหเปนหนึ่งเดียวกัน การสราง สังคมที่รวมกันแกปญหาทุก อยางแบบบูรณาการในรูปเบญจภาคี ประกอบดวยชุมชน รัฐ นักวิชาการ องคกรเอกชน และองคกรธุรกิจ : ๑.๒ ปรับยุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่น โดยใหความสําคัญกับคน ในทองถิ่นและมี ความเชื่อวาการพัฒนาจะตองเกิดจากความตองการของชาวบาน เพื่อ ประโยชนของชาวบานเอง ดัง คําพูดที่วา “คําตอบอยูที่หมูบาน” ยุทธศาสตรการพัฒนานี้มี หลักการสําคัญ ๕ ประการ คือ ๑.๒.๑ หลักการพึ่งตนเอง ซึ่งมีหลักการสําคัญ คือ “พออยู พอกิน” ๑.๒.๒ ปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตจากเพื่อการพาณิชย เปนการ ผลิตเพื่อยังชีพ โดยมี เปาหมายเพื่อกินเพื่อใช เมื่อมีสวนเกิดจึงนําออกขาย และตองกระจาย การผลิตในครัวเรือนเพื่อลด ความเสี่ยงและเพิ่มความมั่นคงแหงชีวิต ๑.๒.๓ พัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรมชุมชน ๑.๒.๔ ใหความสําคัญกับภูมิปญญาชาวบาน ๑.๒.๕ รวมกลุมเพื่อจัดตั้งองคกรชุมชน หรือองคกรชาวบาน เพื่อสรางความ เขมแข็งและอํานาจตอรองของภาคประชาชน ๑.๓ ปรับตัวตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๔ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๔ ค.ศ. ๒๐๐๒ - ๒๐๐๖ ที่นําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปน ปรัชญานําทางที่มีจุดเนน คือการดําเนินการในทางสายกลาง ใหกาวทันโลก ความพอเพียงที่เนนการ ผลิต และการบริโภคบนความพอประมาณและความ มีเหตุผลความสมดุลและการพัฒนาอยางยั่งยืน เปนการผลิตอยางเปนองครวม มีความ สมดุลยระหวางการแขงขันจากกระแสโลกาภิวัฒน และ กระแสทองถิ่นนิยมมีความ หลากหลายในโครงสรางการผลิตมีการใชทุนที่มีอยูในสังคมใหมี ประสิทธิภาพสูงสุด ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไมทําลายวัฒนธรรมและภูมปญญา ที่ดี มีภูมิคุมกันที่ดี รูเทาทันผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ มีความยืดหยุนในการ 02_01-340_.indd 231 17/10/2562 8:37:33


232 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๕๖ ๕ ปรับตัว และเสริมสรางจิตใจใหเปนคนดี มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย สุจริต มีสติปญญา ความเพียร ความอดทน และรอบคอบ ๑.๔ การกําหนดสิทธิดานการไดรับการศึกษาของประชาชน “รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๔๓ ไดกําหนดสาระเกี่ยวกับ การศึกษาวา บุคคลยอมมีสิทธิ เสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวา ๑๒ ป ที่รัฐบาลจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมี คุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย ๑.๕ การออก “พระราชบัญญัติการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒" ซึ่ง มีจุดมุงหมายเพื่อ ปฏิรูปการศึกษาโดยมีจุดมุงหมายเพื่อผลิตคนใหสอดคลองกับทิศทางการ พัฒนาประเทศผลิตคนใหมี ความรูและมีทักษะเฉพาะดานที่สําคัญคือทักษะดานเทคโนโลยี สารสนเทศ ภาษาอังกฤษ ปฏิรูป วิธีการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญฝกใหคิดเปน ทําเปน และแกปญหาเปน โดยมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี คนเกง และมี ความสุข สามารถปรับตัวเขากับสังคม สิ่งแวดลอม รูเทา ทันโลกและอยูไดอยางมีความสุข ๒. การปรับตัวของไทยดานเศรษฐกิจกระแสโลกาภิวัฒนอันเปนผลมา จากความกาวหนาของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระเบียบทางดานเศรษฐกิจที่เนนเรื่องการคา เสรี ทําใหระบบเศรษฐกิจเชื่อมโยง กัน การเคลื่อนยายการผลิต และการลงทุนขามชาติ ทํา ใหธุรกิจขนาดใหญและมีความพรอมในการ แขงขันสูงเขามาแขงขันกับธุรกิจภายในประเทศ สงผลใหธุรกิจภายในประเทศที่มีทุนนอยไมสามารถ แขงขันได ๒.๑ การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตรการพัฒนา จากการพึ่งพิง ตางประเทศมาเปนการ พัฒนาที่เนนการพึ่งตนเอง โดยการนําแนวพระราชดําริเศรษฐกิจ พอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวฯ มาประยุกตใชในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยมีหลักการพัฒนาทางความคิดดังนี้ เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่พึ่งตัวเองได ทั้งการพึ่งตนเองทาง จิตใจ สังคม ทรัพยากร เทคโนโลยี และเศรษฐกิจ โดยมีฐานะการคิดในการพัฒนาเปน ลําดับ ดังนี้ ๑. พัฒนาตามขั้นตอนทฤษฎีใหมของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งมี ๓ ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ ๑ การผลิตเพื่อบริโภคในครอบครัว ขั้นที่ ๒ รวมกลุมเพื่อการผลิต การตลาด สวัสดิการ และขั้นที่ ๓ รวมมือกับองคกรภายนอกในการทําธุรกิจและพัฒนา คุณภาพชีวิต โดยทุกฝายไดรับ ประโยชน ๒. สรางพลังทางสังคม โดยประสานความรวมมือทั้งภาครัฐ และเอกชน สื่อมวลชน เพื่อขับเคลื่อนขบวนการพัฒนาธุรกิจชุมชน ๓. ยึดพื้นที่เปนหลัก และใชองคกรชุมชนเปนศูนยกลาง 02_01-340_.indd 232 17/10/2562 8:37:37


233 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๕๗ ๕ ๔. ใชกิจกรรมชุมชนเปนเครื่องมือสรางเครือขายความรวมมือ ๕. เสริมสรางการรวมกลุม และการสรางเครือขายความรวมมือ .วิจัยและพัฒนาธุรกิจ ชุมชนครบวงจร (ผลิต แปรรูป ขาย และบริโภค ๓. พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนที่มีศักยภาพสูงแตละเครือขายเปนศูนยกลางการเรียนรูชุมชน ปจจุบันไดมีการนําแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการพัฒนา ชุมชนทองถิ่นทั่วประเทศ โดยเฉพาะในโครงการตามนโยบายเรงดวนของรัฐบาลชุดปจจุบัน เพื่อแกปญหาความยากจนของ ประชาชนในชนบทและชุมชนเมืองไดแกโครงการกองทุน หมูบาน โครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ OneTambonOneProduct=OTOP ๓.๑ การพัฒนาตามแนวทางการพัฒนาแบบยั่งยืน การพัฒนา แบบยั่งยืนเปน แนวคิดที่ผสมผสานระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจและการอนุรักษทรัพยากร การพัฒนาแบบยั่งยืนจะมี ความสัมพันธกันทั้งระบบการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมปจจุบัน ไดมีการนําแนวคิดการพัฒนาแบบ ยั่งยืนไปประยุกตใชในการพัฒนาดานตาง ๆ เชน การเกษตรแบบยั่งยืน การจัดการพลังงานอยาง ยั่งยืนการทองเที่ยวแบบยั่งยืน เปนตน ๓.๒ เสริมสรางความรวมมือทางดานเศรษฐกิจระหวางกลุมประเทศในเอเชีย ใน ระดับที่กวางขึ้น เชน แนวความคิดการจัดตั้งเวทีหารือสําหรับประเทศ ในทวีปเอเชียที่เรียกชื่อวา Asia Cooperation Dialogue : ACD ซึ่งมีขอบขายครอบคลุม ทวีปเอเชียทั้งทวีป อันไดแก สมาชิกกลุม อาเซียน จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ปากีสถาน กาตาร บาเรนห ความรวมมือดังกลาวจะเปนการเสริมสราง สมรรถนะและแกไขจุดออนของแตละ ประเทศเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และเสถียรภาพความ มั่นคง เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมกันในเอเชียมากขึ้น ๓.๓ การปฏิรูปภาคธุรกิจเอกชนใหเกิดความเขมแข็งและความ สุจริต โดยการสราง ธรรมาภิบาลดานเอกชนใหเกิดขึ้นธรรมาภิบาล (Good Governance) คือ การบริหารจัดการที่ดีจะ สรางความเชื่อมั่นใหเกิดกับนักลงทุนชาวตางชาติ หลักธรรมาภิบาลที่สําคัญคือ การบริหารมีความ รับผิดชอบ มีความโปรงใส เสมอภาค และการมีสวนรวม ไดแก การรับรู รวมคิด รวมตัดสินใจ และ รวมตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ ๔. การปรับตัวของไทยดานการเมือง จากกระแสการเปลี่ยนแปลงของ สังคมโลกในยุค โลกาภิวัฒนสวนดานการปกครองแบบประชาธิปไตยที่เปดโอกาสให ประชาชนมีสวนรวมในการ ปกครองตนเอง การสงเสริมการคาเสรี การเคารพสิทธิของมนุษยชน การพิทักษสิ่งแวดลอม สิ่งเหลานี้ จะเปนแรงบีบคั้นใหประเทศไทยตองปรับตัวให สอดคลองกับกระแสโลกาภิวัฒนการปรับตัวทาง 02_01-340_.indd 233 17/10/2562 8:37:38


234 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๕๘ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ การเมืองที่สําคัญคือ การประกาศใช“รัฐธรรมนูญป พ.ศ. ๒๕๔๐” และการปฏิรูประบบราชการ ซึ่ง พอสรุปไดดังนี้ การจัดทํารัฐธรรมนูญฉบับใหม ป ค.ศ. ๑๙๕๗ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ถือเปน การปรับตัวทาง การเมืองครั้งใหญ สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีขอกําหนดให ประชาชนมีสวนรวมในการ ปกครอง และตรวจสอบการใชอํานาจรัฐการปรับปรุงโครงสราง ทางการเมืองใหมีเสถียรภาพ ประสิทธิภาพ และคุณภาพ โดยกําหนดใหมีมาตรฐานทาง คณะธรรมและจริยธรรมของผูดํารง ตําแหนงทางการเมืองทางการเมือง และเจาหนาที่ของ รัฐ เพื่อปองกันการประพฤติมิชอบ โดยการ กําหนดใหมีองคกรอิสระทําหนาที่ควบคุม กํากับ และตรวจสอบ การทํางานของนักการเมืองและ ขาราชการประจํา ไดแกคณะกรรมการการ เลือกตั้ง (กกต.) คณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ (ปปช.) ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ศาล รัฐธรรมนูญ ศาล ปกครองและคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน การกระจายอํานาจและสงเสริมให ทองถิ่นมี ความเปนอิสระในเรื่องการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม สงเสริมให ทองถิ่นบริหารงานบุคคลเก็บภาษีอากร มีอํานาจจัดการศึกษา และบริหาร ดาน สาธารณสุข ตลอดจน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในทองถิ่น ขอกําหนดวาดวยการรักษา สิ่งแวดลอม และสิทธิมนุษยชนที่จะ ใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมนับเปนความกาวหนาอยางยิ่งของสังคมไทย เปาหมายสําคัญของการปฏิรูปการเมืองคือ เพื่อใหไดมาซึ่งผูนําที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ โดยการยอมรับของประชาชน ทั้งนี้ เพราะศักยภาพ ของการแขงขันของไทย ในอนาคตขึ้นอยูกับ ระบบบริหาร ที่มีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความโปรงใสและการมีสวนรวมของประชาชน เปนสําคัญ ๘.๓ นโยบายความสัมพันธระหวางประเทศ การกําหนดนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศนั้นทุกประเทศ จะมีเปาหมายคลายกัน คือ การรักษาและเพิ่มพูนผลประโยชนของชาติ ซึ่งไดแก เอกราช ความมั่นคง ความเจริญรุงเรือง และ เกียรติภูมิของชาติ สําหรับการกําหนดนโยบายและ ความสัมพันธระหวางประเทศของไทยนั้น อยู ภายใตองคประกอบตาง ๆ โดยแบงการ กําหนดนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศของไทย เปน ๒ ชวง ดังนี้ ๓.๓.๑ นโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศยุคหลังเปลี่ยนแปลง การ ปกครอง 02_01-340_.indd 234 17/10/2562 8:37:39


235 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๕๙ ๕ การดําเนินนโยบายตางประเทศของไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เปน ระบอบประชาธิปไตยตั้งแตป พ.ศ. ๒๔๗๕ เปนตนมา เปนผลจากการกดดันของปจจัย ภายนอกและ ปจจัยภายในประเทศ ซึ่งมีอิทธิพลตอประเทศไทย ในขณะที่ปจจัยภายใน เชน สถาบันสภา ปญญาชน และสื่อมวลชนมีความสําคัญมากขึ้นทําใหรัฐบาลตองดําเนินนโยบายบางอยางเพื่อสนองความตองการ ของกลุมชนภายในประเทศ จากเหตุผลดังกลาว ทําใหความสัมพันธระหวางประเทศของไทยใน ระบอบประชาธิปไตยมีลักษณะตอเนื่องจาก สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชยและมีการปรับตัวใหเขากับ สถานการณที่เปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว การกําหนดนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศยุคหลังเปลี่ยนแปลง การ ปกครองของไทย ประกอบดวยปจจัยตาง ๆ ดังนี้ ๑. ปจจัยภายนอกประเทศ ปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบตอการดําเนินนโยบาย และ ความสัมพันธระหวางประเทศของไทยในระบอบประชาธิปไตยมาก ที่สุด มีดังนี้ ๑) องคการสันนิบาตชาติ กอนที่ประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลง ระบอบการ ปกครองเปนประชาธิปไตยองคการสันนิบาตชาติไมสามารถทําหนาที่ในการ รักษาเอกราชทาง การเมืองและบูรณภาพแหงดินแดนของประเทศสมาชิกคือจีนซึ่งถูกญี่ปุน รุกรานและยึดครอง แมนจูเรียป พ.ศ. ๒๔๗๔ ไดความลมเหลวขององคการสันนิบาตชาติใน วิกฤตการณ แมนจูเรียนี้มี สาเหตุมาจากชาติมหาอํานาจ คือ อังกฤษและฝรั่งเศสไม สนับสนุนใหองคการสันนิบาตชาติลงโทษ และหยุดยั้งการขยายอิทธิพลของญี่ปุนใน แมนจูเรีย เนื่องจากตองการใหญี่ปุนขยายดินแดนไปทาง เหนือของเอเชียเพื่อวาญี่ปุนจะได ไมสนใจลงไปทางใตของเอเชียตะวันออกซึ่งเปนเขตอิทธิพลของตน นอกจากเพียงแค ประณามการกระทําของญี่ปุนเทานั้นจากกรณีดังกลาวรัฐบาลไทยตัดสินใจสั่งให ผูแทนไทย ประจําสันนิบาตชาติงดออกเสียงในญัตติประณาม การกระทําของญี่ปุนในแมนจูเรีย ซึ่ง เปนประเทศเดียวที่งดออกเสียง ทําใหประเทศสมาชิกอื่นตําหนิไทยวาไมรวมมือกับสันนิบาตชาติ แต ทําใหญี่ปุนรูสึกขอบคุณประเทศไทยเปนอยางมากและหันมาสงเสริม ความสัมพันธกับประเทศไทย มากขึ้น ทั้งทางดานเศรษฐกิจ การคา และวัฒนธรรมในระยะ ตอมา ๒) การขยายอิทธิพลของญี่ปุน เนื่องจากชาติมหาอํานาจไมแสดง ความสนใจที่ จะยับยั้งการขยายอิทธิพลของญี่ปุนในจีนญี่ปุนจึงมีความมั่นใจวาตนจะ สามารถขจัดอิทธิพลของชาติ ตะวันตกใหหมดไปจากเอเชียได จึงประกาศวาจะจัดระเบียบ ใหมในเอเชีย เพื่อใหเปนประโยชนแก ชาวเอเชียอยางแทจริง โดยยึดครองเมืองใหญ ๆ ดาน ตะวันออกของจีนไดทั้งหมด เชน เซี่ยงไฮ และ นานกิง เปนตน ทําใหจอมพลเจียง ไค เช็ค ประธานาธิบดีของสาธารณรัฐจีน ตองยายนครหลวงไปที่ นครจุงกิ่งทางดานตะวันตกของจีน เพื่อตอตานญี่ปุน แตไมสําเร็จ หลังจากนั้นญี่ปุนไดเตรียมพรอมที่ จะเคลื่อนลงสูเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตอันเปนเขตอิทธิพลของชาติตะวันตก ซึ่งญี่ปุนไดฉวยโอกาสเมื่อ 02_01-340_.indd 235 17/10/2562 8:37:40


236 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๖๐ ๕ ขยาย อิทธิพลเขาสูอินโดจีน อังกฤษ และฝรั่งเศสการขยายอิทธิพลของญี่ปุนในเอเชียทําใหไทยวิตกวา อาจจะมี อันตรายมาถึงไดจึงไดขยายความสัมพันธทางการคาและทางวัฒนธรรมกับญี่ปุนเพิ่มขึ้นอีก ดวย นอกเหนือจากการพยายามรักษาความสัมพันธอันดีกับญี่ปุนทําใหประเทศยุโรปและ สหรัฐอเมริกาสงสัยวาไทยสนับสนุนญี่ปุน ดวยเหตุนี้นอกจากไทยจะปฏิเสธแลวยังเตือนให ประเทศ ตะวันตกรูถึงแผนการของญี่ปุนที่จะขยายอิทธิพลลงสูเอเชียตะวันออกเฉียงใตอีก ดวยขณะเดียวกัน ไทยไดขอซื้ออาวุธสมัยใหมจากประเทศในยุโรปและสหรัฐอเมริกามาเพื่อ เพิ่มศักยภาพในการปองกัน ประเทศใหแกกองทัพไทยและหลังจากเกิดสงครามโลกขึ้นใน ยุโรปแลว ไทยไดประกาศวางตนเปน กลางและขอใหชาติมหาอํานาจชวยคาประกันความ เปนกลางของไทยดวย โดยรัฐบาลไทยไดลงนาม ในสัญญาไมรุกรานกับอังกฤษและฝรั่งเศส และลงนามในสัญญามิตรภาพกับญี่ปุน ๒. ปจจัยในประเทศ ปจจัยภายในที่มีสวนกําหนดนโยบายและ ความสัมพันธระหวาง ประเทศของไทยในระบอบประชาธิปไตยมี ๒ ประการ ดังนี้ ๑) ความเปนชาตินิยมปจจัยภายในที่มีสวนผลักดันใหรัฐบาลไทยดําเนินการ นโยบายตางประเทศตอปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกและตอประเทศมหาอํานาจ คือ ลัทธิชาตินิยมซึ่ง ถือเปนอุดมการณ ในการสรางชาติใหเขมแข็งและในการ ดําเนินนโยบายตางประเทศของไทยซึ่ง ปลูกฝงใหแกคนไทยรุนใหมมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 แลว โดยพระองคทรงปลุกเราคนไทยใหมีความ สํานึกทางชาตินิยมและตระหนักถึงภัยที่กําลังคุกคามความเปนไทยไวในพระราชนิพนธตาง ๆ ทั้งในรูป บทความและบทละคร อาทิความเปนชาติไทยแทจริง ยิวแหงบูรพาทิศ และเมืองไทยจงตื่นเถิด เปน ตน นอกจากนั้น ผูนําไทยที่ไดรับการศึกษาแบบตะวันตก ไดนําลัทธิหรือความคิดความเชื่อเกี่ยวกับ การเมือง และสังคม ซึ่งไดแก ลักทธิชาตินิยม ซึ่งกําลังแพรหลายอยูในเยอรมณี อิตาลี และญี่ปุนมา เผยแพรใหแกคนไทยและผลักดันใหรัฐบาลไทยใชลัทธิชาตินิยมเปนเครื่องมือในการสราง ซาติให เขมแข็ง และในการดําเนินนโยบายตางประเทศ ๒) ผูนําทางการเมืองผูนําไทยที่มีแนวคิดในทางการเมืองและ สังคมภายใตลัทธิ ชาตินิยมในขณะนั้นไดแก พันเอกพระสารสาสนพลขันธ ซึ่งเปนผูมีความ เชื่อมั่นในตัวเองสูง และมี ความสํานึกในชาตินิยมสูงมาก เมื่อจอมพลป. พิบูลสงคราม ขึ้น เปนนายกรัฐมนตรีในป พ.ศ. ๒๔๘๑ ไดเริ่มงานสรางชาติไทยรวมกับคณะ โดยเฉพาะหลวง วิจิตรวาทการ โดยกําหนดใหวันที่ ๒๔ มิถุนายน ซึ่งเปนวันที่ระลึกการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปประชาธิปไตย ใหเปนวันชาติ ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๔๒ และพ.ศ. ๒๔๘๓ รัฐบาลไดประกาศใชรัฐนิยมถึง ๘ ฉบับ ซึ่ง ไดแก การใชชื่อ ประเทศประเทศไทยแทนประเทศสยาม การกําหนดหนาที่ของคนไทยในการปองกัน ประเทศ การเรียกชาวไทยทุกภาควาชาวไทย การยืนเคารพธงชาติและเพลงสรรเสริญ พระบารมี การ 02_01-340_.indd 236 17/10/2562 8:37:44


237 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๖๑ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ใชสินคาไทย การเปลี่ยนทํานองและเนื้อรองเพลงชาติไทยใหม และการ ชักชวนใหชาวไทยรวมกัน สรางชาติ ๘.๓.๒ เปาหมายการดําเนินนโยบายและความสัมพันธระหวาง ประเทศของไทย เปาหมายหลักในการดําเนินนโยบายตางประเทศของไทย คือ การรักษา เอกราชของชาติ การรักษาบูรณภาพแหงดินแดน การรักษาความมั่นคงของชาติ การรักษา สันติภาพในโลก และการ รักษาความสัมพันธอันดีกับนานาชาติ สําหรับการรักษาเอกราช ของชาตินั้น รัฐบาลไทยไดทําใหเอก ราชของชาติไทยมีความสมบูรณ ทั้งทางดานการเมือง และการศาล กลาวคือ การประกาศใชประมวล กฎหมายที่เริ่มจัดทําขึ้นแลวตั้งแตกอนสมัย ประชาธิปไตย ทั้งนี้เพื่อขจัดเงื่อนไขที่บังคับไวใน สนธิสัญญาที่ทําไวกับประเทศยุโรป ที่กําหนดไววา ศาลไทยจะมีอํานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ ชาวยุโรปตกเปนจําเลย ก็ตอเมื่อประเทศไทยประกาศใชประมวลกฎหมายแพงและอาญา ตลอดจน ประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและความอาญาเรียบรอยแลวเปนเวลา ๕ ป ซึ่งปรากฏวา รัฐบาลสมัยประชาธิปไตย ประกาศใชประมวลกฎหมายดังกลาวไดครบทุกฉบับในป พ.ศ. ๒๔๗๘ จึง ทําใหใชเปนขออางในการเจรจากับประเทศยุโรป เพื่อทําสนธิสัญญาใหมกับประเทศยุโรปและญี่ปุน ยกเลิกขอจํากัดในเอกราชทางศาลของไทยไดสําเร็จในป พ.ศ. ๒๕๕๐ สวนการรักษาบูรณภาพแหงดินแดนและความมั่นคงของชาตินั้น ไดมีการริเริ่มให ยุวชนทหาร การขยายและบํารุงกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ใหมีความ เขมแข็ง ทั้งในดานคุณภาพ และปริมาณ รวมทั้งซื้ออาวุธยุทโธปกรณจากตางประเทศ เชน รถถัง ปนตอสูอากาศยาน เรือรบ เรือ ดํานาและเครื่องบินเพื่อใหสามารถทําหนาที่ในการ ปองกันราชอาณาจักร การปรับปรุงกองทัพ ดังกลาวทําใหตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ฝรั่งเศสวิตกมากวารัฐบาลไทยอาจใชกําลังรุนแรงกับ ฝรั่งเศส จึงขอเจรจาทําสัญญาไม รุกรานกับประเทศ ๘.๓.๓ แนวทางดําเนินนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศของ ไทย แนวทางที่รัฐบาลไทยอาจเลือกใชในการดําเนินนโยบายตางประเทศมีอยู ๒ แนวทาง คือ แนวทางสันติ หมายถึง การใชการเมือง การทูต การเศรษฐกิจ และการคารวมทั้งจิตวิทยาเปน เครื่องมือในการเจรจาตอรองกับตางประเทศ เพื่อใหตางประเทศเห็น พองหรือยอมตามที่ไทยตองการ และแนวทางรุนแรง หมายถึง การใชการทหารเปน เครื่องมือในการดําเนินนโยบายตางประเทศเพื่อ บังคับใหตางประเทศสนองผลประโยชน ของไทยในอดีตที่ผานมาประเทศไทยนิยมใชแนวทางสันติเปน หลัก ดังจะเห็นไดในรัช สมัยของพอขุนรามคําแหงมหาราช ยกเวนในยามที่ไทยมีกําลังทหารเขมแข็ง 02_01-340_.indd 237 17/10/2562 8:37:44


Click to View FlipBook Version