The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หนังสือ E-BOOK, 2023-07-24 05:33:55

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

238 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๖๒ ๕ เทานั้น จึงจะ ใชแนวทางรุนแรงเพื่อขยายอาณาเขตของไทยออกไปใหกวางขวาง สวนสมัยอยุธยานั้น นิยมใชแนวทางรุนแรงเปนหลัก เชน ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ยกเวนแตในยาม ที่ไทย ออนแอ จึงจะใชแนวทางสันติ และสมัยรัตนโกสินทรพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก มหาราช ก็ทรงใชกําลังทหารขยายอาณาเขตของไทยไปยังดินแดนของประเทศ เพื่อนบาน ทั้งนี้เพื่อ รักษาความมั่นคงของพระราชอาณาจักรไทยนั่นเองสําหรับการติดตอกับประเทศมหาอํานาจนั้น ไทย ไดใชการเมือง การทูตเปน เครื่องมือในการติดตอสรางสัมพันธไมตรี เชน ยอมทําสัญญาเสียเปรียบกับ ประเทศ มหาอํานาจ และบางครั้งก็ตองยอมเสียดินแดนใหกับประเทศมหาอํานาจ เพื่อรักษาความ เปนเอกราชของชาติดวย เมื่อประเทศไทยกาวสูระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลไดใชแนวทางสันติ เปนแนวทางหลัก การ ที่ไทยตัดสินใจใชกําลังทหารยึดดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ก็เนื่องจาก ความรูสึกชาตินิยมของคนไทยซึ่ง เปนปจจัยภายใน ในขณะที่ฝรั่งเศสออนแอลงอยางมาก อันเปนปจจัยภายนอกชวยสนับสนุนใหไทยใช แนวทางรุนแรง ๘.๓.๔ อุปสรรคและการแกไข การแกไขสนธิสัญญาบนพื้นฐานแหงความเสมอภาคกับตางประเทศและการ เรียกรอง ดินแดนที่ถูกยึดเปนอาณานิคม เปนปญหาอันเปนเปาหมายของไทยในการแกไข การดําเนินนโยบาย ตางประเทศ ไทยประสบอุปสรรคทั้งในดานการใชแนวทางสันติและ แนวทางรุนแรง ซึ่งรัฐบาลได พยายามหาทางแกไขอุปสรรคดังกลาวดวยวิธีการ ดังนี้ ๑. วิธีทางการฑูต อุปสรรคสําคัญของการแกไขสนธิสัญญาบน พื้นฐานแหงความเสมอภาค คือความไมเต็มใจของประเทศมหาอํานาจในยุโรปที่จะแกไข สนธิสัญญาที่ใหประโยชนแกพวกเขา ซึ่ง ไทยไดแกปญหาความไมเต็มใจของประเทศในยุโรป และญี่ปุนไดสําเร็จ ดวยวิธีทางการทูต ๒ ประการ ดังนี้ ๑.๑ การเจรจากับสหรัฐอเมริกา เนื่องจากผลประโยชนทางการ คาและชาวอเมริกันมี นอยกวาคนยุโรปที่อยูในประเทศไทย จึงขอใหสหรัฐอเมริกายอม ยกเลิกสนธิสัญญาเกา และทํา สนธิสัญญาใหมบนพื้นฐานแหงความเสมอภาคกับประเทศ ไทย เมื่อวันที่ ๓๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๐ ซึ่งมีผลทําใหไทยเจรจา เพื่อขอทําสนธิสัญญา ใหมบนพื้นฐานแหงความเสมอภาคกับอังกฤษ อิตาลี ฝรั่งเศส และญี่ปุน ไดในเวลาตอมา ๑.๒ สรางความสัมพันธกับญี่ปุน เนื่องจากการขยายอิทธิพลของ ญี่ปุนในเอเชีย ทําให ไทยตองสรางความสัมพันธกับญี่ปุนในดานการคาและวัฒนธรรมมาก ขึ้น เพื่อใชความใกลชิดกับญี่ปุน 02_01-340_.indd 238 17/10/2562 8:37:45


239 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๖๓ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เปนเครื่องมือตอรองกับประเทศมหาอํานาจในยุโรป ซึ่งไม ตองการใหประเทศไทยมีความสัมพันธ ใกลชิดกับญี่ปุนมากเกินไป ๒. การใชแนวทางรุนแรง การดําเนินนโยบายตางประเทศ เพื่อการ ขยายดินแดนของไทย ตามกระแสชาตินิยมของคนไทยตองประสบอุปสรรคอยางมาก เนื่องจากประเทศไทยไมมีอาวุธ ทันสมัย จากตางประเทศมาสรางความเขมแข็งใหแก กองทัพไทย ขณะเดียวกันตางประเทศก็ไมเต็มใจ ขายอาวุธทันสมัยใหเพราะเกรงวาไทย อาจใชอาวุธเหลานั้นรวมมือกับประเทศอื่นคุกคามผลประโยชน ของตน เชน สหรัฐอเมริกา ไมยอมสงเครื่องบินทิ้งระเบิดใหแกไทย เพราะเกรงวาจะใชอาวุธเหลานั้น ทําสงครามกับอิน โดจีนของฝรั่งเศสทั้ง ๆ ที่ไดตกลงขายใหแลว เปนตน สงผลใหกองทัพไทยดอย สมรรถภาพ รัฐบาลไทยจึงแกปญหาดวยการบํารุงขวัญและกําลังใจใหทหารไทยสึกเหิม พรอมที่จะทํา การรบเพื่อแกแคนฝรั่งเศสที่เคยทําความเจ็บใจใหแกประเทศไทยในอดีต ซึ่งทําใหกองทัพไทยประสบ ชัยชนะ โดยฝรั่งเศสยอมเจรจาคืน ดินแดนบางสวนใหกับไทย นอกจากนี้เมื่อญี่ปุนมีแผนการจะบุก ไทยเพื่อเปนทางผานไป โจมตีพมาและมลายู ซึ่งเปนอาณานิคมของอังกฤษรัฐบาลไทยไดใชวิธีออก กฎหมายกําหนด หนาที่ของคนไทย ในการรบและใชการโฆษณาจูงใจเพื่อระดมประชาชนไทยใหมี สวนชวย ตอตานการรุกรานของชาติมหาอํานาจ ๘.๓.๕ ลักษณะความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. ดานเศรษฐกิจ หลังจากการแกไขสนธิสัญญาไมเสมอภาคเปนผลสําเร็จ ในสมัยของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัวความสัมพันธ ระหวางประเทศไทยกับนานาชาติไดเขาสูความเสมอภาคโดย สมบูรณยังผลใหความสัมพันธทาง การคาระหวางไทยกับนานาชาติใหประโยชนแกไทยเพิ่ม มากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานภาษี ศุลกากร ซึ่งคูคาที่สําคัญของไทยไดแก ประเทศใน ยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน สําหรับสินคาสําคัญ ของยุโรปที่ไทยสั่งซื้อ ไดแก ดายดิบ ดายเย็บผา ผา และสิ่งตาง ๆ ที่ทําดวยฝาย รวมทั้งเหล็ก เหล็กกลา และวัสดุตาง ๆ ที่ทํา ดวยเหล็ก และเหล็กกลา เครื่องจักร สวนของเครื่องจักร นมขน และ สุรา เปนตน ๒. ดานการเมือง แมวาประเทศไทยจะมีความเสมอภาคกับนานาชาติที่เปน สมาชิกของ องคการสันนิบาตชาติก็ตาม แตในทางปฏิบัติประเทศไทยยังไมไดมีฐานะเทา เทียมกับประเทศตาง ๆ ในยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน ในเรื่องเกี่ยวกับการใชอํานาจ ทางศาล และการใชอํานาจเก็บภาษี ศุลกากรเนื่องจากสนธิสัญญาที่ประเทศเหลานั้นทํากับ ประเทศไทยไวบางประการในสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวและ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวเชน กงสุล ตางประเทศยังมีอํานาจในการถอนคดี จากศาลไทยไดยกเวนศาลฎีกาจนกวาประเทศไทยจะ ประกาศใชประมวลกฎหมายแพง กฎหมายอาญากฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและกฎหมายวิธี 02_01-340_.indd 239 17/10/2562 8:37:46


240 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๖๔ ๕ พิจารณาความอาญา ครบถวนแลว ๕ ป สวนดานการคาซึ่งสนธิสัญญากําหนดวาภายใน ๑๐ ป นับแต วันที่ สนธิสัญญา ไทยจะไมเก็บภาษีศุลกากรแกสินคาบางอยางในอัตราสูงกวารอยละ ๕ เชน ดายดิบ ดายเย็บผา และสิ่งตาง ๆ ที่ทําดวยฝาย รวมทั้งเหล็กเหล็กกลา รวมทั้งวัสดุตาง ๆ ที่ทําดวยเหล็กและ เหล็กกลา เครื่องจักร สวนของเครื่องจักร นมขน และสุรา เปนตน ๓. ดานสังคมและวัฒนธรรม ประเทศไทยดําเนินนโยบายตางประเทศแบบ ผูกมิตรกับทุก ประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับประเทศมหาอํานาจแมวาในยุคเริ่มตน ประชาธิปไตยนั้น ไทยจะมี ความสัมพันธดานเศรษฐกิจและการเมืองกับญี่ปุนมากขึ้น แตก็ ยังรักษาความสัมพันธอันดีกับประเทศ มหาอํานาจยุโรปและสหรัฐอเมริกาไว ดวยเหตุนี้ ความสัมพันธดานสังคมและวัฒนธรรมระหวางไทย กับประเทศมหาอํานาจจึงมีลักษณะดังนี้ ๓.๑ การจางที่ปรึกษาราชการ ประเทศไทยจางชาวยุโรปและ อเมริกาใหรับราชการ เปนที่ปรึกษางานดานตาง ๆ เชน ชาวอังกฤษเปนที่ปรึกษาการคลัง และสอนกฎหมายในโรงเรียน กฎหมาย ชาวฝรั่งเศสเปนที่ปรึกษากฎหมายและสอนภาษา ฝรั่งเศส สําหรับชาวอเมริกันนั้นไทยได จางใหเปนที่ปรึกษาราชการแผนดินมาตั้งแตรัชกาลที่ ๕ โดยทรงเห็นวา สหรัฐอเมริกาไมมี ผลประโยชนขัดแยงกับไทย จึงนาจะใหคําปรึกษาที่เปน ประโยชนตอประเทศไทยไดดีที่สุด ๓.๒ การสงนักเรียนไทยไปศึกษาตอตางประเทศ รัฐบาลไทยไดสง นักเรียนที่เรียนดี รวมทั้งประชาชนทั่วไปไดสงบุตรหลานไปศึกษาวิชาการสมัยใหมในยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน ทั้งนี้เพื่อกลับมารับราชการในประเทศไทย ซึ่งไดรับเงินเดือนสูงศึกษาในประเทศ ๓.๓ การไดรับการสนับสนุนจากญี่ปุน รัฐบาลญี่ปุนไดสงเสริม ความสัมพันธดานสังคม และวัฒนธรรมกับประเทศใหมากขึ้น เชน ใหทุนการศึกษาแก นักเรียนไทยไปศึกษาตอที่ญี่ปุน เปนตน อยางไรก็ตาม ประชาชนไทยสวนใหญยังคงมี คานิยมในศิลปวัฒนธรรมของยุโรป และสหรัฐอเมริกา มากกวาญี่ปุน โดยเฉพาะดาน เทคโนโลยีซึ่งสูงกวาญี่ปุน นอกจากนี้ผูสนับสนุนใหชาวญี่ปุนเขามา ประกอบธุรกิจและ ที่องเที่ยวในประเทศไทยมากเปนพิเศษ ๓.๓.๑ ผลกระทบของนโยบายและความสัมพันธระหวาง ประเทศ นโยบายและ ความสัมพันธระหวางประเทศยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง สงผลกระทบตอประเทศไทยดาน ตาง ๆ ดังนี้ ๑. ดานการเมือง เมื่อญี่ปุนประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกา และอังกฤษ แลว ตอมารัฐบาลไทยไดทําสัญญารวมรบกับญี่ปุนและไดประกาศสงครามกับ สหรัฐอเมริกาและ อังกฤษ สงผลใหไทยเปนประเทศคูสงครามกับทั้งสองประเทศอยางเต็มที่ อังกฤษรวมทั้งออสเตรเลีย ซึ่งเปนประเทศในเครือจักรภพไดประกาศสงครามกับประเทศ ไทยขณะเดียวกันสหรัฐอเมริกากลับไม ยอมประกาศสงครามกับไทยดวยเหตุผลที่วาการประกาศสงครามไมไดเกิดจากความตองการของคน 02_01-340_.indd 240 17/10/2562 8:37:50


241 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๖๕ ๕ ไทยอยางแทจริง และถือวาไทยถูกญี่ปุน ยึดครองตองใหความชวยเหลือ อยางไรก็ตามผลกระทบดาน การเมืองตอประเทศไทย หลังจากรวมมือกับญี่ปุนในการทําสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกามี หลายประการ ดังนี้ ๑.๑ เกิดอํานาจเผด็จการทหาร มีการรวมอํานาจทางทหารไว ที่ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีซึ่งดํารงตําแหนงทั้งผูบัญชาการทหารสูงสุดและผู บัญชาการทหารบก ดวย ในฐานะนายกรัฐมนตรียังสามารถสั่งการตํารวจและพลเรือนได ทั้งหมด ซึ่งถือวานายกรัฐมนตรี เปนผูใชอํานาจเผด็จการในประเทศไดอยางเด็ดขาด ๑.๒ เกิดความรูสึกซาตินิยม เนื่องจากเกิดภาวะสงคราม ทําให เกิดปญหา ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งการขาดแคลนเครื่องอุปโภคบริโภคและภาวะ เงินเฟอ รัฐบาลไดเรง แกไขดวยการใชมาตรการตาง ๆ เชน การควบคุมราคาสินคาเครื่องอุปโภคบริโภคไมใหสูงขึ้น นอกจากนี้ยังไดจัดตั้งกระทรวงอุตสาหกรรมขึ้น เพื่อสนับสนุนให มีการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมทั้งของ รัฐบาลและเอกชน รวมทั้งสนับสนุนอุตสาหกรรมในครอบครัวผลิตสิ่งของเครื่องใชที่จําเปน นอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งธนาคารชาติขึ้น เพื่อเปนธนาคารกลางควบคุมดูแลดานการเงินที่ใชภายในประเทศ ตลอดจนการสงเสริมใหคนไทย นิยมใชสินคาที่ผลิตในประเทศไทยอยางจริงจัง ดวยการปลุกเรา ความรูสึกชาตินิยมให ประชาชนไทยชวยกันสรางชาติใหเขมแข็งทัดเทียมอารยประเทศ โดยใชคําขวัญ วา ไทยทํา ไทยใช ไทยเจริญ เปนตน ๑.๓ เกิดขบวนการเสรีไทย การประกาศสงครามของไทย ในครั้งนี้ไดรับ การคัดคานจากผูนําของประเทศหลายคน เชน นายปรีดี พนมยงค และ นายดิเรก ชัยนาม ซึ่งได รวมกันกอตั้งขบวนการตอตานญี่ปุนขึ้นในประเทศไทย ชื่อวา ขบวนการเสรีไทย ขณะเดียวกัน ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช อัครราชทูตไทยประจํากรุงวอชิงตัน ก็ไดประกาศกอตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้นเชนกันโดย ขอการสนับสนุนจากอังกฤษ และสหรัฐอเมริกา เพื่อตอตานญี่ปุนและปลดปลอยประเทศไทยตอไป เมื่อขบวนการเสรี ไทยทั้งในและนอกประเทศติดตอประสานงานกันไดทําใหมีความพรอมที่จะตอสูกับ ทหาร ญี่ปุนได แตขบวนการเสรีไทยก็ไมไดปฏิบัติการตามความประสงคได จนกระทั่งญี่ปุนยอม แพ สงครามอยางไรก็ตามขบวนการเสรีไทยในประเทศไทยไดใหความรวมมือกับอังกฤษและ สหรัฐอเมริกาในดานขาวกรอง เพื่อชวยใหเครื่องบินของทั้งสองชาติเขามาทิ้งระเบิดที่มั่น ของทหาร ญี่ปุนในไทยไดอยางถูกตองแมนยํา ทั้งนี้ขบวนการเสรีไทยทั้งในและนอกประเทศ ไดมีสวนชวยใหไทย พนจากการเปนประเทศผูแพสงคราม โดยนายปรีดี พนมยงค ในฐานะหัวหนาขบวนการเสรีไทยแหง ประเทศไทย ไดชวยให ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช หัวหนา ขบวนการเสรีไทยในสหรัฐอเมริกา ซึ่งไดรับการ ยอมรับจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเดินทาง กลับไทยเพื่อรับตําแหนงนายกรัฐมนตรี และใชอิทธิพลของ 02_01-340_.indd 241 17/10/2562 8:37:50


242 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๖๖ ๕ สหรัฐอเมริกาชวยกดดันให อังกฤษยอมผอนปรนความตองการตาง ๆ ที่รัฐบาลอังกฤษขอใหไทย กระทําเพื่อเปนการไม โทษ ๑.๔ เกิดเปนศัตรูกับชาติมหาอํานาจเมื่อรัฐบาลไทยประกาศ สงคราม กับสหรัฐอเมริกาและอังกฤษความสัมพันธฉันทมิตร ที่ผานมาไดกลายเปนศัตรู โดยเฉพาะอังกฤษมี อิทธิพลทางเศรษฐกิจในประเทศไทยอยูมาก เมื่อมีขาววาญี่ปุน สนับสนุนไทยเพื่อขุดคลองบริเวณคอ ขอดกระ เพื่อเชื่อมมหาสมุทรอินเดียกับอาวไทยหาก ดําเนินการสําเร็จ ก็จะมีรายทางยุทธศาสตรตอ อังกฤษอยางมาก เนื่องจากจะทําใหญี่ปุนมี อิทธิพลทางเศรษฐกิจในไทยเพิ่มขึ้นและญี่ปุนสามารถคุม เสนทางเดินเรือระหวางมหาสมุทร อินเดียกับอาวไทย และลดความสําคัญของสิงคโปร รวมทั้งชอง แคบมะละกาลงอยางมาก ดวยเหตุนี้ สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง ประเทศไทยจําตองทําความตก ลงกับอังกฤษใน ระยะหลังสงคราม โดยตองยอมปฏิบัติตามความตองการบางประการของอังกฤษ คือ จะไมมีการขุดคลองในดินแดนของประเทศไทยเพื่อเชื่อมอาวไทยกับมหาสมุทรอินเดีย เวนแตอังกฤษ จะใหความยินยอม ๒. ดานเศรษฐกิจ กอนสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทย ไดรับประโยชนจาก การดําเนินความสัมพันธกับตางประเทศทางดานเศรษฐกิจ ในลักษณะที่ ไดเปรียบดุลการคากับ ตางประเทศ นอกจากนั้น ประเทศไทยยังเก็บภาษีศุลกากรไดเปน จํานวนมาก แตหลังจากที่ญี่ปุน ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา และดึงเอา ประเทศไทยเขาไปรวมในสงครามดวย ทํา ใหการคาระหวางประเทศไทยกับอังกฤษและ สหรัฐอเมริกาหยุดชะงักลง เพราะประเทศไทยสามารถ ทําการคากับญี่ปุนไดเพียงประเทศ เดียวเทานั้น ยังผลใหประเทศไทยไดรับภาษีศุลกากรลดลงมาก และการที่การคาระหวาง ประเทศไดรับผลกระทบ อยางรุนแรง ไดสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของไทย อยางรายแรง ๒.๑ คาครองชีพสูงขึ้นเนื่องจากเกิดความขาดแคลนสินคา เครื่องอุปโภค บริโภคที่เคยสั่งซื้อจากยุโรปและสหรัฐอเมริกา แมวารัฐบาลไทยจะไดสงเสริม ใหมีโรงงานเพื่อผลิต สินคาเครื่องอุปโภคบริโภคที่จําเปนตาง ๆ ดังกลาวแลว แตตองประสบปญหาดานวัตถุดิบสําหรับใชใน การผลิตที่เคยนําเขาจากตางประเทศ ดังนั้นโรงงาน อุตสาหกรรมตาง ๆ จึงไมสามารถที่จะผลิตผล สิ่งของออกมาสนองความตองการของประชาชนไดอยางเพียงพอ ทําใหราคาผลิตผลตาง ๆ จาก โรงงานเหลานี้ยังคงสูงอยู และทําใหคาครองชีพของประชาชนสูงขึ้นเรื่อย ๆ ๒.๒ เกิดภาวะเงินเฟออยางรุนแรงเนื่องจากไดมีการพิมพ ธนบัตรเพิ่มขึ้น เพื่อใหรัฐบาลญี่ปุนยืมสําหรับเปนคาใชจายของกองทัพญี่ปุนที่ตั้งในประเทศ ไทย นอกจากนี้เกิดจาก การที่ไทยตองยอมลดคาเงินบาทใหเทากับคาของเงินเยนของญี่ปุน ทําใหคาของเงินไทยลดลง ภาวะ 02_01-340_.indd 242 17/10/2562 8:37:51


243 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๖๗ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เงินเฟอดังกลาวนี้ ทําใหเกิดความเดือดรอนแกประชาชน โดยทั่วไป รวมทั้งสงผลกระทบตอสังคม อยางรุนแรง ทําใหผูที่ยากไรกลายเปนโจรผูรายกัน มาก ซึ่งรัฐบาลตองใชกําลังปราบปรามอยางเฉียบ ขาด ๒.๓ ดานสังคมและวัฒนธรรม รัฐบาลในสมัย จอมพลป. พิบูลสงคราม ไดปฏิวัติ สังคมและวัฒนธรรมไทย เพื่อใหมีความทันสมัยเหมือนประเทศ ตะวันตกและญี่ปุน ดดยการประกาศ รัฐนิยม และจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแหงชาติขึ้น รวมทั้ง ประกาศวีรกรรม ๑๔ ประการ เพื่อใชเปน แนวทางในการดําเนินชีวิตดวย ซึ่งไดเกิดผล กระทบตอสังคมและวัฒนธรรมไทยอยางมาก ดังนี้ ๒.๔ การสรางสํานึกชาตินิยม รัฐบาลไดประกาศใชรัฐนิยม จํานวน ๑๒ ฉบับ อาทิการเปลี่ยนชื่อประเทศสยามเปนประเทศไทย การกําหนดหนาที่ให คนไทยยืนเคารพธงชาติ เพลง ชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี การใชของที่ผลิตขึ้นใน ประเทศไทย การแตงกายของชาวไทย และกิจวัตรประจําวันของคนไทยนั้น เปนตน ๓. การปฏิวัติวัฒนธรรม รัฐบาลไดจัดตั้งสภาวัฒนธรรมขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๘๕ เพื่อ ดําเนินการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนไทยใหเปนไปตามรัฐ นิยม ซึ่งมี ๕ ดาน ดังนี้ ๓.๑ ดานจิตใจ รัฐบาลไดสงเสริมใหคนไทยประกอบอาชีพ ตั้งแตคาขายเล็ก ๆ นอย ๆ เชน ขายกวยเตี๋ยวจนกระทั่งถึงอุตสาหกรรมปาไมและเหมือง แร เปนตน รวมทั้งใหประชาชน ปรับปรุงที่อยูอาศัยใหงดงาม และรักษาความสะอาดของที่ อยูอาศัย นอกจากนี้ใหประชาชนไทยเลิก ความนิยมในการใชฤกษยามในการประกอบการ งานตาง ๆ และเลิกนิยมในไสยศาสตรอีกดวย ๓.๒ ดานระเบียบประเพณี รัฐบาลไดยกเลิกประเพณี บางอยาง เชน เปลี่ยน วันขึ้นปใหมจากวันที่ ๑๓ เมษายน มาเปนวันที่ ๙ มกราคม ตามหลัก สากลนิยม และยกเลิก บรรดาศักดิ์ตาง ๆ ที่บุคคลไดรับพระราชทานมาจากพระมหากษัตริย เพื่อทําใหทุกคนเสมอกันใน กฎหมายตามรัฐธรรมนูญ สําหรับประเพณีในการแตงกาย ผูชาย ตองสวมหมวก รองเทาหุมสนและถุง เทา เสื้อนอกและกางเกงขายาว ผูหญิงมีหมวกหรือดํานา อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนประเพณีการแตง กายนี้ กอใหเกิดการ สิ้นเปลืองและไมสอดคลองกับสภาพดินฟาอากาศของประเทศไทยซึ่งเปนเมือง รอน ซึ่งเปน การสรางความเดือดรอนแกประชาชนทั่วไป จึงถูกยกเลิกไปในเวลาตอมา ๓.๓ ดานศิลปกรรม ไดจัดตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๘๖ เพื่อ คนควาและสงเสริมวัฒนธรรมและดานศิลปกรรมของไทย และมีการ ปรับปรุงการละเลนพื้นเมืองทาง ภาคอีสาน เชน รําโทน ใหมีความสุภาพและเรียกชื่อใหมวา รําวง ซึ่งรัฐบาลไดเผยแพรใหขาราชการ ฝกรําวงกันทั่วประเทศ 02_01-340_.indd 243 17/10/2562 8:37:52


244 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๖๘ ๕ ๓.๔ ดานวรรณกรรม ไดปรับปรุงภาษาไทยใหมเพื่อใหงายตอ การเรียน โดย ลดตัวอักษรที่ไมจําเปนลงจาก ๔๔ ตัวเหลือ ๓๒ ตัว เชน ตัดอักษร ฆ ษ และ ฆ ออกไป เปนตน นอกจากนั้น ยังไดกําหนดหลักการการตั้งชื่อใหมีความแตกตางกัน ระหวางชื่อของผูชายและผูหญิงอีก ดวย เชน ชื่อของชายตองมีลักษณะแข็งแรงกลาหาญ สวนชื่อของหญิงตองมีความหมายออนโยนและ ไพเราะ เปนตน ๓.๕ ดานการปฏิบัติตอสตรี รัฐบาลไดยกยองสตรีใหมีฐานะเทา เทียมชาย เกือบทุกประการ เชน มีการตั้งกองทหารหญิง โรงเรียนนายรอยหญิง และ โรงเรียนนายสิบหญิง เปน ตน สวนในเรื่องการปฏิบัติของสามี-ภรรยานั้น สภาวัฒนธรรมแห ชาติก็ไดเสนอและใหสามียึดพระ ธรรมคําสอนของพระพุทธเจาเปนแนวทางในการปฏิบัติตอ ภรรยา เชน สามีจึงยกยองผูเปนภรรยา ไม ดูหมิ่น ไมประพฤตินอกใจ และมอบความเปน ใหญให เปนตน ๘.๓.๖ นโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศไทยยุคปจจุบัน การกําหนดนโยบายและความสัมพันธระหวางประเทศของไทยในยุค ปจจุบันอาศัย องคประกอบที่สําคัญ ๓ ประการ ดังนี้ ๑. องคประกอบภายในประเทศ องคประกอบภายในที่สําคัญที่รัฐบาลมักจะนํามา ประกอบการพิจารณาในการกําหนดนโยบายตางประเทศมี ๔ ประการ ดังนี้ ๑.๑ การเมืองภายในประเทศ หมายถึง สถานการณทาง การเมืองที่เปนผลจากการ เคลื่อนไหวและพฤติกรรมของผูนําทางการเมืองกลุมผลประโยชน และพรรคการเมืองที่แสดงออกผาน ทางสถาบันทางการเมืองและสื่อมวลชนในประเทศซึ่งมี ทั้งการขัดแยงและความรวมมือกันใน เหตุการณตาง ๆ กระบวนการทางการเมืองภายในอันเปนผลมาจากโครงสรางทางการเมืองและ บทบาทของกลุมผลประโยชน พรรคการเมือง และสื่อมวลชนรวมทั้งเสถียรภาพของตัวผูนําเปนปจจัย ในดานการเมืองที่มีผลกระทบตอ การกําหนดนโยบายตางประเทศของไทย ๑.๒ เศรษฐกิจภายในประเทศ หมายถึง ลักษณะและระดับของ การพัฒนาทาง เศรษฐกิจตลอดจนกระบวนการทางเศรษฐกิจในประเทศซึ่งเปนผลจากการ เคลื่อนไหวและพฤติกรรม ของกลุมผลประโยชนตาง ๆ อาทิ กลุมเกษตรกรกลุมแรงงานและ กลุมธุรกิจ เปนตน ซึ่งอาจขัดแยง กันหรืออาจรวมมือกันเพื่อกดดันรัฐบาลดําเนินการพิทักษ ผลประโยชนของกลุมตนอาจกลาวไดวาการ เคลื่อนไหวของกลุมผลประโยชนเหลานี้จะมี ผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอการกําหนด นโยบายตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ดานเศรษฐกิจ 02_01-340_.indd 244 17/10/2562 8:37:56


245 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๖๙ ๕ ๑.๓ อุดมการณของชาติ หมายถึง ระบบความคิด ความเชื่อ เกี่ยวกับสังคมในชาติถือ วาเปนสิ่งที่ดีงามที่จะตองรักษาไวหรือดําเนินการเพื่อใหบรรลุถึง หรือไดมาในที่สุดอุดมการณของชาติ จึงเปนสิ่งจูงใจใหคนในชาติรวมกันเรียกรองใหมีการ แกไขสภาวะทางสังคมที่ขัดกับสิ่งที่คนในชาติสวน ใหญถือวาดีงามที่พวกเขาตองการรักษาไว หรือไดมาซึ่งยอมจะมีผลผลักดันใหรัฐบาลกําหนดนโยบาย ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อรักษาหรือใหไดมาในสิ่งที่คนสวนใหญในชาติตองการ สําหรับอุดมการณของชาติไทย ซึ่งคนไทยยึดมั่นรวมกันมาชานานแลว และ ตองการรักษาไวตลอดไปคือ ความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย นับตั้งแต เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อป พ.ศ. ๒๔๗๕ เปนตนมา บุคคลชั้นนําของไทย จํานวนหนึ่งไดประกาศ ความศรัทธาในลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมหรือลัทธิประชาธิปไตย รวมทั้ง พยายามที่จะปลูกฝงใหประชาชน เลื่อมใสในลัทธิดังกลาวดวย อาจกลาวไดวา ความ จงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย และอุดมการณประชาธิปไตย มี สวนชี้แนวทางใหคนไทยมีพฤติกรรมทางสังคม บางอยางรวมกันและมีความรักใครสามัคคี รวมทั้งผลักดันใหรัฐบาลไทยกําหนดนโยบายภายในและ ภายนอกประเทศใหสอดคลองและ สงเสริมเปาหมายของอุดมการณนี้ เชน คนไทยทุกคนจะไดรับการ สั่งสอนอบรมตั้งแตเล็ก จนโตใหมีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย ๒. สภาพภูมิศาสตรของประเทศ สภาพภูมิศาสตรของประเทศเปน ปจจัยสําคัญในการ กําหนดนโยบายตางประเทศ ไดแก พื้นที่ ทรัพยากร และประชากรของ ประเทศ และโดยเหตุผลที่ทุก ประเทศในโลกมีเปาหมายสําคัญในนโยบายตางประเทศ เหมือนกันอยูอยางหนึ่งคือ การรักษาความ มั่นคงปลอดภัยของชาติและบูรณภาพแหง .ดินแดน ดังนั้นในการกําหนดนโยบายตางประเทศ รัฐบาล ทุกประเทศจึงตองนําเอาสภาพ ภูมิศาสตรของประเทศมาเปนขอพิจารณาที่สําคัญเสมอกอนที่จะตก ลงใจเลือกนโยบาย ตางประเทศอยางใดอยางหนึ่งมาปฏิบัติ นอกจากนั้น อาจกลาวไดวาสภาพ ภูมิศาสตรที่ แตกตางกันของแตละประเทศมีสวนทําใหประเทศตาง ๆ กําหนดนโยบายตางประเทศ แตกตางกัน เชน ประเทศที่เปนเกาะลอมรอบดวยทะเลหรือมหาสมุทร เชน ญี่ปุน ยอมจะกําหนด นโยบายตางประเทศแตกตางไปจากประเทศที่ลอมรอบไปดวยพื้นดิน เชน ประเทศ เนปาล เปนตน สําหรับประเทศไทยนั้นสภาพทางภูมิศาสตรเปนปจจัยสําคัญในการ กําหนดนโยบายตางประเทศ ตลอดมา เนื่องจากพื้นที่ของประเทศไทยมีรูปรางเหมือนขวาน ซึ่งพื้นที่ตอนบนมีเขตแดนติดกับ ประเทศเพื่อนบาน ๓ ประเทศ คือ พมา ลาว และกัมพูชา สวนพื้นที่ตอนลางเปนแผนดินที่ยื่นออกไป ในมหาสมุทร จึงลอมรอบไปดวยทะเลทั้งดาน ตะวันตกและตะวันออก อีกทั้งมีเขตแดนดินติดกับ ประเทศเพื่อนบานอีก ๒ ประเทศ คือ พมา และมาเลเซีย ซึ่งมีลักษณะทางภูมิศาสตรที่เปนโทษ มากกวาที่เปนคุณตอประเทศไทย นอกจากนี้ ประชากรของไทยในปจจุบันซึ่งมีประมาณ ๖๓.๑ ลาน คน สวนใหญพูด ภาษาไทยและนับถือศาสนาพุทธ และอีกสวนหนึ่งซึ่งเปนชนกลุมนอย ไดแก ผูที่นับ 02_01-340_.indd 245 17/10/2562 8:37:57


246 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๗๐ ๕ ถือ ศาสนาอิสลาม เชน ชาวไทยใน ๔ จังหวัดภาคใต และผูที่นับถือภูติผีปศาจ เชน ชาวเขาเผา ตาง ๆ ซึ่งประชากรเหลานี้ไมไดใชภาษาไทยในชีวิตประจําวันดานทรัพยากรของไทยนั้น มี ทรัพยากร ประเภทอาหารและประเภทแรธาตุอยูมากเกินความตองการภายในประเทศ เชน ขาว มันสําปะหลัง ขาวโพด และดีบุก รวมทั้งสินคาเทคโนโลยีตาง ๆ ซึ่งสามารถสงเปน สินคาขาออกนําเงินตราเขา ประเทศเปนจํานวนหลายหมื่นลานบาทตอป สวนแรธาตุ ประเภทเชื้อเพลิง เชน นามันและถานหิน นั้นมีอยูนอยไมเพียงพอกับความตองการ ภายในประเทศจําเปนตองนําเขาคิดเปนจํานวนหลายหมื่น ลานบาทตอปเชนกัน องคประกอบภายนอกประเทศ หมายถึง ระบบระหวางประเทศ ซึ่ง ประกอบดวย ระบบ ระหวางประเทศระดับโลก หรือระบบโลก ที่เกิดจากพฤติกรรมของ มหาอํานาจเปนสวนใหญ และ ระบบภูมิภาคที่เกิดจากพฤติกรรมของมหาอํานาจและของ ประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคที่ดํารงอยูใน ชวงเวลาหนึ่ง เปนปจจัยที่มีสวนกดดันใหรัฐบาลของ ทุกประเทศตัดสินใจดําเนินนโยบายอยางใดอยาง หนึ่ง เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบจากระบบ ระหวางประเทศที่เปนอยูในขณะนั้น และเพื่อใหไดประโยชน สูงสุดสําหรับประเทศชาติ ปจจัยภายนอกที่สําคัญที่มีสวนกดดันใหรัฐบาลไทย ซึ่งเปนประเทศ ระดับกลางมักจะนํามาประกอบการพิจารณาเพื่อกําหนดนโยบายตางประเทศเพื่อรักษาผลประโยชน ของชาติมี ๓ ประการ ดังนี้ ๑. การแขงขันเพื่อขยายอํานาจของมหาอํานาจการแขงขันเพื่อขยาย อํานาจของมหาอํานาจ ทั้งอดีตและปจจุบัน มีผลกระทบตอประเทศไทยเสมอเนื่องจาก ประเทศไทยตั้งอยูในบริเวณที่เปนจุด ยุทธศาสตรของโลก จึงทําใหมหาอํานาจสนใจที่จะแผ เขามาครอบงําและแสวงผลประโยชน เชน การ แขงขันเพื่อขยายอํานาจของอังกฤษและ ฝรั่งเศสชวงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๔ และตนพุทธศตวรรษที่ ๒๕ มีผลกดดันใหรัฐบาลไทย เรงปรับปรุงประเทศใหทันสมัยทั้งในดานการทหารและการบริหาร ประเทศ รวมทั้งการผูก มิตรกับประเทศตะวันตกทุกประเทศดังจะเห็นไดวาพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ไดเสด็จประพาสประเทศในยุโรปถึง ๒ ครั้ง รวมทั้งสงพระราชโอรสและสามัญ ชนที่เรียนดีไปศึกษาวิชาทหารและวิทยาการสมัยใหมในยุโรป การปรับตัวของประเทศไทย ในขณะนั้นทําใหไดรับประสบการณทางการทูตอยางมากและชวยวางพื้นฐานที่ดีในการ ดําเนินนโยบายตางประเทศใหแกรัฐบาลไทยในระยะตอมา พื้นฐานดัง กลาวคือ การรักษาดุลทางการ ทูตกับประเทศมหาอํานาจ ซึ่งเปนนโยบายที่ใหประโยชนแก ประเทศไทยมากกวานโยบายผูกมิตรกับ ประเทศมหาอํานาจใดมหาอํานาจหนึ่งเพียง ประเทศเดียว การที่ประเทศไทยตองปรับนโยบายให สอดคลองกับสถานการณระหวาง ประเทศนั้น สงผลใหสามารถดํารงความเปนเอกราชไวไดจนกระทั่ง ปจจุบันนี้ 02_01-340_.indd 246 17/10/2562 8:37:57


247 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๗๑ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. การขัดแยงทางอุดมการณของมหาอํานาจการขัดแยงทาง อุดมการณระหวางมหาอํานาจ โดยเฉพาะอยางยิ่งสหรัฐอเมริกาซึ่งเปนผูนําฝาย ประชาธิปไตยกับสหภาพโซเวียตผูนําฝาย คอมมิวนิสตซึ่งเกิดขึ้นตั้งแตสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง หรือที่เรียกวาสงครามเย็นนั้นเปน ปรากฏการณทางการเมืองระหวางประเทศ หรือปจจัยภายนอกที่สงผลกระทบตอประเทศขนาดกลาง และขนาดเล็กทั่วโลก โดยทําให ประเทศเหลานี้ตองตัดสินใจวาจะรับเอาอุดมการณของมหาอํานาจใด มหาอํานาจหนึ่งมา เปนแนวทางในการกําหนดนโยบายตางประเทศของตนหรือไม สําหรับรัฐบาลไทย เลือก ดําเนินนโยบายสนับสนุนสหรัฐอเมริกาทั้งในดานการเมืองและการทหารในการตอตาน คอมมิวนิสต เนื่องจากไมตองการลัทธิคอมมิวนิสต ซึ่งลัทธิดังกลาวมุงทําลายสถาบันสําคัญ คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยและเปลี่ยนสังคมไทยใหเปนแบบคอมมิวนิสต ๓. ดานการรักษาเอกราชของชาติ ประเทศไทยรักษาความเปนชาติ เอกราชไวไดเกือบ ตลอดเวลากวา ๗๐๐ ป โดยเสียเอกราชใหแกพมาเพียง ๒ ครั้ง รวมเวลา ๑๕ ปเทานั้น ยอมแสดงวา นโยบายตางประเทศของไทยประสพความสําเร็จในการรักษาผลประโยชนของชาติและอาจกลาวไดวา เปนผลจากปจจัยภายในและปจจัยภายนอก ประกอบกัน ดังนี้ ๘.๓.๗ ความสามารถทางการทูตของผูนําประเทศ ผูนําของประเทศไทยมีความสามารถในทางการทูตเปนเครื่องมือในการ ดําเนินนโยบาย ตางประเทศสอดคลองกับสถานการณระหวางประเทศที่อาจเปนภัยคุกคาม เอกราชของชาติไดเกือบ ตลอดเวลา นับตั้งแตสมัยอยุธยาในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ มหาราช ซึ่งพระองคทรงสง ราชทูตเดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศฝรั่งเศสซึ่งเชื่อ กันวาทรงใหความสําคัญกับ ผลประโยชนของฝรั่งเศสมากเปนพิเศษ เนื่องจากทรงตองการ ใหฝรั่งเศสสนใจประเทศไทยเพื่อถวงดุล อํานาจกับฮอลันดาซึ่งขัดแยงในผลประโยชนทาง การคากับไทยอันเปนภัยคุกคามตอเอกราชของ ประเทศไทยในขณะนั้น ๑. การอยูรวมกันอยางสันติ การที่คนไทยสวนใหญพูดภาษาไทยและ นับถือศาสนาพุทธ อยู รวมกันอยางสันติกับคนไทยสวนนอยที่พูดภาษาอื่นและนับถือศาสนา อื่น รวมทั้งพระมหากษัตริยของ ไทยแมจะทรงเปนพระพุทธมามกะ แตก็ทรงใหความ อุปถัมภแกศาสนาอื่นที่ประชาชนนับถือทุก ศาสนาทําใหประเทศไทยไมมีปญหาความ ขัดแยงทางศาสนาที่ตางประเทศอาจยกมาเปนขออางใน การโจมตีได ๒. ที่ตั้งภูมิศาสตร การที่ประเทศไทยไมมีพรมแดนติดกับประเทศ มหาอํานาจนั้นทําใหไมถูก กดดันหรือมีความขัดแยงกับประเทศมหาอํานาจโดยตรง ตางกับ ประเทศเพื่อนบาน เชน พมา และ เวียดนาม ที่มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ตองเผชิญกับการกดดันหรือถูกคุกคามจากจีน 02_01-340_.indd 247 17/10/2562 8:38:01


248 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๗๒ ๕ ตลอดเวลา ซึ่งยากที่จะหลีกเลี่ยงความขัดแยง ได ซึ่งปรากฏวาทั้ง ๒ ประเทศ ตางถูกจีนรุกรานและ ยึดครองเปนเวลานาน โดยเฉพาะ เวียดนามตองตกเปนประเทศราชของจีนนานเกือบหนึ่งพันป นอกจากนี้ ดินแดนสวนที่ติด กับทะเลและมหาสมุทรของประเทศไทยไมไดอยูในเสนทางคมนาคมทาง เรือของประเทศ มหาอํานาจ เชน โปรตุเกส สเปน ฮอลันดา และอังกฤษ ซึ่งมหาอํานาจเหลานั้น ตองการใช ดินแดนเปนที่จอดเรือหรือเก็บสินคายังผลใหประเทศดังที่กลาวมาตกเปนอาณานิคมของ มหาอํานาจดังกลาวนับตั้งแตศตวรรษที่ ๑๖ เปนตนมาเปนเวลานานหลายรอยป ๓. ดานความมั่นคงของชาติ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง มีการนําเอาหลักความ มั่นคงรวมกันมาบรรจุไวเปนหลักการขององคการสหประชาชาติมีผล ผูกพันประเทศไทยซึ่งเปน สมาชิกองคการสหประชาชาติ ตองรวมมือกับประเทศอื่นในการรักษาความมั่นคงของสมาชิกทุก ประเทศ ใหพนจากการคุกคามของประเทศอื่น แตหลังจาก สหภาพโซเวียตยับยั้ง ไมใหองคการ สหประชาชาติปฏิบัติหนาที่ตามอุดมคติของ สหประชาชาติ เชน คัดคานการกระทําของสหประชาชาติ ในเกาหลี เปนตน ทําใหไทยตอง หาวิธีการรักษาความมั่นคงของตนเองโดยสนับสนุนนโยบายตอตาน คอมมิวนิสตของ สหรัฐอเมริกา ภายใตองคการรวมปองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใตแมวานโยบาย ดังกลาวจะ ทําใหไทยรูสึกมีความมั่นคงปลอดภัยจากการรุกรานของคอมมิวนิสตแตกลับทําใหความ มั่นคงภายในถูกคุกคามจากการบอนทําลายภายในเปนอยางมาก เพราะสหภาพโซเวียต และ สาธารณรัฐประชาชนจีนตางใหการสนับสนุนพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย โดยสรุปอาจกลาวไดวานโยบายตางประเทศที่ผูกพันความมั่นคงของประเทศ ไวกับ สหรัฐอเมริกาและตอตานคอมมิวนิสตนั้น ใหประโยชนดสนความมั่นคงแกประเทศ ไทยนอยกวา นโยบายตางประเทศที่มุงผูกมิตรและทุกประเทศไมวาประเทศเหลานั้น จะมี ระบอบการเมืองการ ปกครองที่แตกตางกัน ซึ่งเปนแนวนโยบายตางประเทศที่ประเทศไทย เคยปฏิบัติอยางไดผลดีมากอน ๔. ดานเศรษฐกิจ การติดตอกับตางประเทศในสมัยอยุธยานั้น ประเทศไทยใหความสําคัญกับ การคาตางประเทศเปนพิเศษขณะที่ประเทศตะวันตกตอง ขยายการคากับเอเชียตะวันออกและ เผยแพรคริสตศาสนามายังดินแดนแหงนี้ ดังจะเห็นได วาโปรตุเกส สเปน ฮอลันดา และฝรั่งเศส ได เขามาตั้งสถานีการคา รวมทั้งบาทหลวงและมิ ชชันนารีไดเผยแพรศาสนาในประเทศไทยโดยเสรี ซึ่ง ประเทศตะวันตกเหลานี้ไดยึดดินแดน ของเอเชียเปนอาณานิคมในเวลาตอมาประเทศไทยจึงหาวีการ เอาใจประเทศเหลานี้ดวย การใหประโยชน ทางการคาอยางเสมอหนากัน เพื่อใหประเทศเหลานี้ชวย ปองกันประเทศ ไทยไมใหถูกรังแกจากประเทศตะวันตกดวยกัน หลังจากที่ประเทศไทยเขารวมสงครามโลกครั้งที่ ๑ และเปนฝายชนทําให ไดเขารวมในการ ประชุมและลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพที่พระราชวังแวรซายส ประเทศฝรั่งเศส ในป พ.ศ. ๒๔๖๒ สงผลใหประเทศไทยยกเลิกสิทธิสภาพอาณาเขตทางศาลและ สิทธิทางการคาที่ประเทศผูแพ คือ 02_01-340_.indd 248 17/10/2562 8:38:02


249 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๗๓ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ไดรับตามสนธิสัญญาที่ทําไวกับประเทศไทยเมื่อคริสตศตวรรษที่ ๑๙ ซึ่งตองใชเวลาเกือบ ๒๐ ป จึงเรียกรองให ประเทศตะวันตกอื่น ๆ ยอมสละสิทธิพิเศษดังกลาวที่ไดรับ จากสนธิสัญญาที่ทํากับประเทศ ไทยในคริสตศตวรรษที่ ๑๙ ไดทั้งหมด เมื่อป พ.ศ. ๒๔๗๐ นับตั้งแต นั้นเปนตนมาประเทศ ไทยจึงไดใชนโยบายตางประเทศเปนเครื่องมือในการแสวงหาผลประโยชนทาง เศรษฐกิจได อยางเทาเทียมกับนานาอารยประเทศ เชน การทําการคากับทุกประเทศอยางเทาเทียม กันและการใหสิทธิพิเศษทางการคากับประเทศที่ใหประโยชนทางเศรษฐกิจ การเงิน หรือ การคากับ ประเทศไทยเปนการตอบแทนโดยไมตองใหสิทธิพิเศษนั้นแกประเทศอื่น รวมทั้ง กําหนดภาษีศุลกากร ใหสูงขึ้นเพื่อกีดกันสินคาจากตางประเทศและคุมครองแกอุตสาหกรรม ภายในประเทศไดอยางเต็มที่ ๕. ดานเกียรติภูมิ ประเทศไทยเปนเอกราชมาชานานถือวาเอกราช และความมั่นคงของชาติ เปนผลประโยชนสําคัญที่สุดที่จะตองรักษารัฐบาลไทยจึงยอมที่จะ สละผลประโยชนทางเศรษฐกิจและ เกียรติภูมิ เพื่อรักษาเอกราชและความมั่นคงของชาติไว เสมอ นับตั้งแตสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร ซึ่งยอมเสียสละผลประโยชนทางการคาและ อธิปไตยทางศาลเพื่อปองกันไมใหประเทศตะวันตก คุกคามเอกราชของไทยจนกระทั่งหลัง สงครามโลกครั้งที่ ๒ รัฐบาลไทยยินยอมใหสหรัฐเขามาตั้งฐาน ทัพในประเทศไทย เพื่อชวย ปกปองความมั่นคงของไทยแมวานโยบายดังกลาวจะถูกตําหนิจากเพื่อน บานวาประเทศไทย เปนสมุนของสหรัฐอเมริกาในชวงสงครามเย็น หากแตสถานการณบังคับใหรัฐบาลตองตัดสินใจกระทํา เพื่อรักษาเกียรติ ศักดิ์หรือเกียรติภูมิ ของชาติ แมการกระทํานั้นจะมีผลกระทบตอผลประโยชนดานความ มั่นคงหรือเศรษฐกิจก็ตาม เชน ฝายคอมมิวนิสตสามารถยึดครองอินโดจีนไดในป พ.ศ. ๒๕๑๘ สงผลใหสหรัฐอเมริกาตองถอนทหาร กลับประเทศนอกจากรัฐลาบไทยจะปฏิเสธ การยายทหารอเมริกันมาไวที่ประเทศไทยแลวยังขอให สหรัฐอเมริกาถอนทหารออกจาก ประเทศไทยดวยหลังจากนั้นรัฐบาลไทยไดดําเนินนโยบาย ตางประเทศอยางอิสระดวยการ สงเสริมความสัมพันธกับทุกประเทศ โดยไมคํานึงถึงความแตกตาง ของระบบเศรษฐกิจและ การเมือง ยังผลใหเกียรติภูมิของประเทศสูงขึ้นจนไดรับเลือกใหเปนสมาชิกไม ประจําของ คณะมนตรีแหงสหประชาชาติเมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๗ - สําหรับนโยบายดานการตางประเทศในปจจุบันรัฐบาลไดเนนการทูตเชิงรุก ดานเศรษฐกิจ พรอมกับการทูตดานอื่นๆเพื่อฟนฟูและสรางความสัมพันธและความรวมมือ ระหวางประเทศในทุก ดานใหการคุมครองสิทธิและผลประโยชนของประเทศ รวมทั้งของ ภาคเอกชนไทย แรงงานไทยและ คนไทยในตางประเทศตลอดจนความรวมมือระหวาง ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานและประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย ทั้งระดับทวิภาคีและพหุ ภาคี เพื่อนํามาซึ่งความเขาใจอันดีระหวางกันในการแกไข ปญหาและการแสวงหา ผลประโยชนรวมกันอยางสรางสรรค จริงใจและโดยสันติวิธี 02_01-340_.indd 249 17/10/2562 8:38:03


250 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๗๔ ๕ ๘.๔ ความสัมพันธระหวางประเทศดานการเมือง ๘.๔.๑ ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย-จีน ในทศวรรษแรกหลังจากที่สถาปนา ความสัมพันธทางการทูตระหวางกัน ไทยและจีนประสบความสําเร็จในการเสริมสรางความ เขาใจและ ความไวเนื้อเชื่อใจตอกันอันนําไปสูการเปนหุนสวนในการแกไขปญหาความไม มั่นคงในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงไดในยุคนั้น ซึ่งไดชวยสนับสนุนการพัฒนาภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต จากสนาม รบกลายเปนตลาดการคา นอกจากนี้ พื้นฐานความ เขาใจและความใกลชิดดังกลาว ยังมีสวนสําคัญใน การสงเสริมและกระชับความสัมพันธและ ความรวมมือระหวางจีนกับประเทศอาเซียนอีกดวย การที่ พระบรมวงศานุวงศทุกพระองค ตางก็ทรงใหความสําคัญและทรงใสพระทัยตอความสัมพันธฉันมิตรที่ มีตอจีนสงผลสําคัญตอ การกระชับความสัมพันธระหวางสองประเทศใหยิ่งใกลชิด แนนแฟน โดยเฉพาะการ แลกเปลี่ยนการเยือนระดับสูงระหวางสองประเทศ ทั้งนี้ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จฯ เยือนจีนอยางเปนทางการในฐานะผูแทนพระองคฯ ซึ่งถือ เปนการเสด็จ ฯ เยือนตางประเทศอยางเปนทางการในรอบหลายสิบป ระหวางวันที่ ๒๖ - เm) ตุลาคม ๒๕๕๕๕๓ เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ ๒๕ ป ของความสัมพันธทางการทูต ไทย - จีน สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ เยือนจีนแลวหลาย ครั้ง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เยือนจีนครบทั้ง ๓ด มณฑลและมหานคร ทรงไดรับการทูลเกลาฯ ถวาย รางวัลในฐานะทูตสันถวไมตรีจาก หนวยงานของจีนหลายรางวัลและเปนเจาฟาพระองคแรกของโลกที่ ทรงศึกษาภาษาจีนใน มหาวิทยาลัยปกกิ่งเปนระยะเวลา 9 เดือน ในปนี้ พระองคทานยังไดเสด็จฯ มา ทอดพระเนตรพิธีเปดการแขงขันกีฬาโอลิมปก ปกกิ่ง ๒๐๐๘ ในฐานะผูแทนพระองคดวย สมเด็จพระ เจาลูกเธอเจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี เสด็จเยือนจีนบอยครั้ง เปน เจาฟาพระองคแรก ที่ทรงแสดงดนตรี“สายสัมพันธสองแผนดิน” ในจีน นอกจากนี้ พระราชวงศพระองคอื่นๆ ก็ไดเสด็จฯ เยือนจีนอยูเสมอ ในขณะเดียวกัน ผูนําของจีนนับแตอดีตจนถึงปจุบันไดเยือนประเทศไทยอยาง สมาเสมอและตอเนื่องนับตั้งแตสถาปนา ความสัมพันธระหวางกันเปนตนมา ๘.๔.๒ ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย - ญี่ปุน ๑. ประเทศญี่ปุนและประเทศไทย ธํารงสัมพันธภาพอันอบอุนมานานยาว กวา ๖๐๐ ป มิตรภาพระหวางประเทศทั้งสอง แนนแฟนมากยิ่งขึ้นในระยะหลัง ในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเทศญี่ปุนและประเทศไทยไดจัดงานฉลองครบรอบ ๑๒๐ ปแหง การสถาปนาความสัมพันธ ทางการทูต 02_01-340_.indd 250 17/10/2562 8:38:04


251 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๗๕ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. ประเทศญี่ปุนและประเทศไทยดํารงความสัมพันธฉันมิตรมาเปนเวลา ยาวนานโดยมี ความสัมพันธอันใกลชิดระหวางพระราชวงศของทั้งสองประเทศเปนพื้นฐาน นอกจากนั้นความสัมพันธ ทางเศรษฐกิจระหวางสองประเทศก็เติบโตแนนแฟนยิ่งขึ้นอยาง รวดเร็วจากการขยายตัวกิจการของ บริษัทญี่ปุนในประเทศไทยนับแตทศวรรษ ๖๐ และ โดยเฉพาะอยางยิ่งจากกระแสการลงทุนโดยตรง จากประเทศญี่ปุนที่เขามามากสืบเนื่องจาก พื้นฐานอัตราแลกเงินเยนที่แข็งขึ้นในตอนปลายทศวรรษ ๓. กอนเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจประเทศญี่ปุนมียอดมูลคาการคา การ ลงทุน และความ ชวยเหลือกับประเทศไทยสูงเปนอันดับแรก แมวามีวิกฤตทางเศรษฐกิจ เกิดขึ้น แตปริมาณการคาก็ ยังคงอยูในอันดับที่สองนอกจากนี้จํานวนบริษัทซึ่งเปนสมาชิก ของหอการคาญี่ปุนประจํากรุงเทพฯ ก็ มีมากกวา ๑,000 แหง และการลงทุนจากประเทศ ญี่ปุนยังคงสูงถึงรอยละ ๔๐ ของการลงทุนจาก ตางประเทศทั้งหมดในประเทศไทย ตลอดจน ประมาณครึ่งหนึ่งของยอดเงินกูที่บริษัทตาง ๆ ใน ประเทศไทยกูนั้นเปนเงินกูจาก ธนาคารของญี่ปุนทั้งหมด ซึ่งสรุปไดวาความสัมพันธดานเศรษฐกิจก็มี การพึ่งพาซึ่งกันและ กันเปนอยางมาก ๔. ประเทศญี่ปุนและประเทศไทยกําลังสรางสรรคความเปนหุนสวนใน ดานการทูตทั้งใน ระดับภูมิภาคและระดับโลก ตัวอยางเชน ในระดับภูมิภาค ประเทศญี่ปุน ใหความชวยเหลือแก โครงการลุมแมนาโขง สวนในระดับโลกยังใหการสนับสนุน ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ อดีตรอง นายกรัฐมนตรีเปนผูอํานวยการคนใหมในการเลือกตั้งผูอํานวยการ องคการคาโลกหรือ WTO ๘.๔.๓ ความสัมพันระหวางประเทศไทยและสหรัฐฯ ไดสถาปนาความสัมพันธอยางเปน ทางการเมื่อป พ.ศ. ๒๓๗๖ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัว โดยไดมีการลงนามใน สนธิสัญญาไมตรีและการพาณิชย (Treaty of Amity and Commerce) ระหวางกันเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๗๖ (ค.ศ. ๑๘๓๓) ประธานาธิบดี แอนดรูว แจ็คสัน (Andrew Jackson) ไดสงนาย เอ็ดมันด รอเบิรตส (Edmund Roberts)ทูตสหรัฐฯ มายังกรุงเทพฯ โดยมีภารกิจสําคัญคือ การเจรจา จัดทําสนธิสัญญาไมตรีและการ พาณิชยกับไทย สวนในดานการแลกเปลี่ยนผูแทนทางการทูตนั้น สหรัฐฯ ไดแตงตั้ง สาธุคุณ สตีเฟน แมตตูน (Reverend Stephen Mattoon) เปนกงสุลประจําสยาม คนแรกในเดือน พฤษภาคม ๒๕๓๙๙ และไดแตงตั้งนายจอหน เอ. อัลเดอรแมน Oohn A. Haiderman) เปน ผูแทนสหรัฐฯ ประจําสยามคนแรก ในตําแหนงกงสุลใหญ เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๒๔ สยามไดแตงตั้งพระองคเจาปฤษฎางค ชุมสาย เปนราชทูตไทยประจําสหรัฐฯ พระองค แรกในป พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยพระองคทรงพํานักอยูที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ไทยไดเปดสถานทูต ในสหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. ๒๔๔๔ ที่อารลิงตัน รัฐเวอรจิเนีย และได ยายสํานักงานมายังกรุงวอชิงตัน 02_01-340_.indd 251 17/10/2562 8:38:08


252 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๗๖ ๕ ในป พ.ศ. ๒๔๕๖ ไทยและสหรัฐฯ ไดยกสถานะ ความสัมพันธเปนระดับเอกอัครราชทูตในป ๒๔๙๐ ปจจุบัน ไทยมีสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน และมีสถานกงสุลใหญ ๓ แหง คือ สถานกงสุล ใหญ ณ นครชิคาโก สถานกงสุลใหญ ณ นครนิวยอรก และสถานกงสุลใหญ ณ นครลอสแอนเจลิส ใน สวนของสหรัฐฯ มีสถานเอกอัครราชทูต ที่กรุงเทพฯ และสถาน กงสุลใหญ ที่จังหวัดเชียงใหม เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทยคนปจจุบัน คือ นางคริสตี แอนน เคนนี (Kristie Anne Kenney) (เขารับหนาที่เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔๗ และความเห็นในเรื่องที่เกี่ยวกับ ประเทศไทย ๘.๕ ความสัมพันธระหวางประเทศดานเศรษฐกิจ ๑. ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย - จีน หลังจากทศวรรษแรกของการ สถาปนา ความสัมพันธที่ทั้งสองประเทศไดประสบผลในการเสริมสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ระหวางกันแลวนั้น ความรวมมือดานเศรษฐกิจการคาไดกลายเปนองคประกอบที่นับวันยิ่งมี ความสําคัญตอความสัมพันธ ระหวางประเทศทั้งสอง โดยเฉพาะหลังจากที่จีนไดเริ่มดําเนิน นโยบายเปดประเทศและปฏิรูป เศรษฐกิจ ภายใตการนําของนายเติ้งเสี่ยวผิงเมื่อป ค.ศ. ๑๔๗๘ ความรวมมือดานเศรษฐกิจระหวาง สองประเทศไดพัฒนาและขยายตัวไปอยาง รวดเร็วในดานการคา มูลคาการคาระหวางไทย - จีน เพิ่มขึ้นจากปแรกที่สถาปนา ความสัมพันธทางการทูตที่ ๒๕ ลานเหรียญสหรัฐ เปน ๓๑,๐๖๒ ลาน เหรียญสหรัฐทูตสหรัฐฯ มายังกรุงเทพฯ โดยมีภารกิจสําคัญคือ การเจรจาจัดทําสนธิสัญญาไมตรีและ การ พาณิชยกับไทย สวนในดานการแลกเปลี่ยนผูแทนทางการทูตนั้น สหรัฐฯ ไดแตงตั้ง สาธุคุณ สตี เฟน แมตตูน (Reverend Stephen Mattoon) เปนกงสุลประจําสยามคนแรกในเดือน พฤษภาคม ๒๕๓๙๙ และไดแตงตั้งนายจอหน เอ. อัลเดอรแมน Oohn A. Haiderman) เปน ผูแทนสหรัฐฯ ประจําสยามคนแรก ในตําแหนงกงสุลใหญ เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๒๔ สยามไดแตงตั้ง พระองคเจาปฤษฎางค ชุมสาย เปนราชทูตไทยประจําสหรัฐฯ พระองคแรกในป พ.ศ. ๒๕๓๐ โดย พระองคทรงพํานักอยูที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ไทยไดเปดสถานทูตในสหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. ๒๔๔๔ ที่อารลิงตัน รัฐเวอรจิเนีย และได ยายสํานักงานมายังกรุงวอชิงตัน ในป พ.ศ. ๒๔๕๖ ไทยและ สหรัฐฯ ไดยกสถานะ ความสัมพันธเปนระดับเอกอัครราชทูตในป ๒๔๙๐ ปจจุบัน ไทยมีสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน และมีสถานกงสุลใหญ ๓ แหง คือ สถานกงสุล ใหญ ณ นครชิคาโก สถานกงสุลใหญ ณ นครนิวยอรก และสถานกงสุลใหญ ณ นครลอสแอนเจลิส ใน สวนของสหรัฐฯ มีสถานเอกอัครราชทูต ที่กรุงเทพฯ และสถาน กงสุลใหญ ที่จังหวัดเชียงใหม เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทยคนปจจุบัน คือ นางคริสตี แอนน เคนนี (Kristie 02_01-340_.indd 252 17/10/2562 8:38:08


253 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๗๗ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ Anne Kenney) (เขารับหนาที่เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔๗ และความเห็นในเรื่องที่เกี่ยวกับ ประเทศไทย๑ ๘.๖ ความสัมพันธระหวางประเทศดานเศรษฐกิจ ๘.๖.๑ ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย - จีน หลังจากทศวรรษแรกของการ สถาปนา ความสัมพันธที่ทั้งสองประเทศไดประสบผลในการเสริมสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ระหวางกันแลวนั้น ความรวมมือดานเศรษฐกิจการคาไดกลายเปนองคประกอบที่นับวันยิ่งมี ความสําคัญตอความสัมพันธ ระหวางประเทศทั้งสอง โดยเฉพาะหลังจากที่จีนไดเริ่มดําเนิน นโยบายเปดประเทศและปฏิรูป เศรษฐกิจ ภายใตการนําของนายเติ้งเสี่ยวผิงเมื่อป ค.ศ. ๑๔๗๘ ความรวมมือดานเศรษฐกิจระหวาง สองประเทศไดพัฒนาและขยายตัวไปอยาง รวดเร็วในดานการคา มูลคาการคาระหวางไทย - จีน เพิ่มขึ้นจากปแรกที่สถาปนา ความสัมพันธทางการทูตที่ ๒๕ ลานเหรียญสหรัฐ เปน ๓๑,๐๖๒ ลาน เหรียญสหรัฐในป ค.ศ.๒๐๐๗ ในดานการลงทุน ไทยนับเปนประเทศแรกๆ ที่เขาไปลงทุนในจีนตั้งแต เมื่อ ป ค.ศ. ๒๔๙๗๔ และกอนเกิดวิกฤตการณเศรษฐกิจในเอเชียเมื่อป ค.ศ.๒๕๕๗ ไทยเปน ประเทศ ที่อยูใน ๑๐ อันดับแรก ที่มีการลงทุนในจีน ปจจุบันตัวเลขของทางการจีนก็ยังระบุ วา ไทยยังคงมีการ ลงทุนในจีนนับพันโครงการ โดยมีมูลคาการลงทุนรวมนับพันลานเหรียญ สหรัฐ ขณะที่จีนมีการลงทุน ในไทยมากขึ้นเรื่อยๆ เชนกัน ในดานการทองเที่ยวไทยและจีน ตางเปนจุดหมายการทองเที่ยวยอด นิยมของประชาชนทั้งสองประเทศ ปจจุบันมี นักทองเที่ยวจีนเดินทางมาไทยประมาณ 4 แสนคนตอป ขณะที่ชาวไทยเดินทางไป ทองเที่ยวในจีนประมาณ ๗-๘ แสนคนตอป ๑. ความสัมพันธระหวางประเทศญี่ปุนและประเทศไทยภายหลัง วิกฤตเศรษฐกิจ ความสัมพันธระหวางญี่ปุนและไทย ไดตระหนักใหมวาทั้งสองประเทศ มีการพึ่งพาซึ่งกันและกันใน ดานเศรษฐกิจ ตามประสบการณวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ. ๒๕๔๐ บริษัทญี่ปุนไมลดและ ถอยตัวอยางขนานใหญทามกลางภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ตรงกันขาม บริษัทจากยุโรปหรือสหรัฐฯ ถอย การลงทุนระยะสั้นอยางรวดเร็วบริษัทญี่ปุนได รักษาการใหกูเงินและอัดฉีดเงินทุนใหบริษัทเครือขาย หรือสาขาตาง ๆ ในประเทศไทย ทั้งนี้ มีสวนชวยทําใหสภาวะเศรษฐกิจฟนตัวอยางตอเนื่อง โดยคํานึงถึงความสัมพันธฉันมิตร อันยั่งยืนและการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ระหวางสอง ประเทศ เมื่อประเทศไทยประสบวิกฤตเศรษฐกิจ ประเทศญี่ปุนจึงใหการ สนับสนุนแกประเทศไทย ๑ สภาพภูมิศาสตรของประเทศ http://uswatch.mfa.go.thuswatch/th/relationship/politics/ สืบคน เมื่อ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 253 17/10/2562 8:38:09


254 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๗๘ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ อยางกวางขวาง อาทิเชน ความชวยเหลือดานการเงินจํานวน ๔ พันลานดอลลารผาน IMF การใหกู เงินเยนรวมถึงโครงการมิยะซะวะ การใหเงินสินเชื่อของ ธนาคารสงออกและนําเขาแหงญี่ปุน (ปจจุบัน คือ JBIC จากการรวมกันระหวางธนาคาร สงออกและนําเขาแหงญี่ปุนกับ OECF) การใหการ รับประกันการคา ความชวยเหลือแบบให เปลา และความรวมมือดานวิชาการ เปนตน ความ ชวยเหลือเหลานี้มีมูลคาสูงมากกวา ๑๔,๐๐๐ ลานดอลลาร ประเทศญี่ปุนเปนประเทศอันดับแรกใน หมูประเทศตาง ๆ ที่ให ความชวยเหลือแกประเทศไทย ๑. ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย - ไตหวัน สินคาไทยสงออกไป ใตหวันเครื่อง คอมพิวเตอรอุปกรณและสวนประกอบ แผงวงจรไฟฟา อุปกรณกึ่งตัวนํา ทรานซิสเตอรและไดโอด ผลิตภัณฑมันสําปะหลัง เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ เหล็ก เหล็กกลา และผลิตภัณฑกระดาษ หมอแปลง ไฟฟาและสวนประกอบ ยางพารา เปนตน สินคานําเขาจากไตหวันเครื่องจักรไฟฟาและ สวนประกอบ เครื่องจักรใชใน อุตสาหกรรม เคมีภัณฑ แผงวงจรไฟฟา ผาพื้น เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและ สวนประกอบ ปลาทูนาสดแชเย็นแชแข็ง ผลิตภัณฑโลหะ เหล็กและเหล็กกลา ผลิตภัณฑ พลาสติก เปนตน ๒. ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย-เกาหลีใต ความสัมพันธดานเศรษฐกิจ ระหวางไทยกับเกาหลีใตดําเนินไปอยางราบรื่น โดยมีการจัดทําความตกลงดานเศรษซกิจ ดวยกัน หลายฉบับ ไดแก ๑) ความตกลงทางการคาซึ่งลงนามเมื่อป ๒๕๐๔๒) ความตกลง วาดวยการยกเวน การเก็บภาษีซอน ลงนามเมื่อป ๒๕๓๒ เปนตน นอกจากนี้ ไทยและ เกาหลีใตมีกลไกความรวมมือทาง เศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแก คณะกรรมาธิการรวมทางการคา (Joint Trade Commissionหรือ JTC) เพื่อเปนกลไกทางการคาที่เปดโอกาสใหทั้งสองฝาย รวมมือกันในการแสวงหาลูทางขยายการคา รวมทั้งแกไขปญหาและอุปสรรคทางการคาที่มี อยูระหวางกัน และในสวนของภาคเอกชน ทั้งสอง ประเทศไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการ รวมมือทางเศรษฐกิจไทย-เกาหลี (Korea-Thai Economic Cooperation Committee) ระหวางสภาหอการคาแหงประเทศไทยกับสภาหอการคาและ อุตสาหกรรมเกาหลีใต ๒.๑ การคา กอนป ๒๕๓๒ การคาระหวางไทยและเกาหลีใตมีมูลคาไม มาก นัก แตไดขยายตัวขึ้นอยางตอเนื่องในระยะ ๑๐ กวาปที่ผานมา อยางไรก็ดี ไทยเปน ฝายเสียเปรียบ ดุลการคามาโดยตลอดตั้งแตป ๒๕๓๔ เปนตนมา ในป ๒๕๕๕ เกาหลีใตเปน ประเทศคูคาสําคัญ อันดับ ๑๐ ของไทย มีมูลคาการคารวม ๑๓,๗๔๔.๕๓ ลานดอลลาร สหรัฐ ไทยสงออกไปเกาหลีใต ๔,๗๗๘.๔ ลานดอลลารสหรัฐ และนําเขาจากเกาหลีใต ๘,๙๗๔.๗๓ ลานดอลลารสหรัฐ ไทยเสีย ดุลการคาเกาหลีใต ๔,๒๐๐.๘๓ ลานดอลลารสหรัฐ สินคาสงออกที่สําคัญ ไดแก ยางพารา แผงวงจร ไฟฟา นาตาลทราย เคมีภัณฑ นามัน ปโตรเลียม สินคานําเขาที่สําคัญ ไดแก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ 02_01-340_.indd 254 17/10/2562 8:38:10


255 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๗๙ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เคมีภัณฑ เครื่องจักรกล และสวนประกอบ เครื่องจักรไฟฟาและสวนประกอบ แผงวงจร อิเล็กทรอนิกส ๒.๒ การลงทุน ในป ๒๕๕๕ เกาหลีใตขอรับการสงเสริมการลงทุนจาก BOI มี มูลคา 5,000 ลานบาท จํานวน ๕๕ โครงการ นับเปนอันดับที่ ๑๔ ของการลงทุน โดยตรงจาก ตางชาติในประเทศไทย โดยสาขาที่มีการลงทุนมากที่สุด ไดแก สาขาโลหะและ เครื่องจักร อิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟา เคมีภัณฑและกระดาษ ๒.๓ แรงงานไทย แรงงานไทยเริ่มเดินทางเขาไปทํางานในเกาหลีใต มากขึ้น นับตั้งแตป ๒๕๓๑ ประมาณการวา ปจจุบันมีแรงงานไทยในเกาหลีใต ๔๐,000 คน โดยในจํานวนนี้ เปนแรงงานที่เขาไปทํางานอยางผิดกฎหมาย ๑๒,000 คน ตั้งแตปลายป๒๕๕๖ รัฐบาลเกาหลีใตได ปรับเปลี่ยนนโยบายการนําเขาแรงงานตางชาติจากที่ใชระบบผู ฝกงานอยางเดียวเปนการใชควบคูกับ ระบบใบอนุญาตทํางานดวย (ระบบ Employment Permit System: EPS) ซึ่งระบบใบอนุญาต ทํางานนั้นไดผานความเห็นชอบจากรัฐสภา เกาหลีใตเมื่อวันที่ ๓๑ ก.ค. ๒๕๔๖ และมีผลบังคับใชใน วันที่ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๓ โดย กระทรวงแรงงานเกาหลีใตไดคัดเลือกประเทศที่จะสามารถสงคนงานไป ทํางานในเกาหลีใต ภายใตระบบใหมนี้จํานวน ๘ ประเทศ ไดแก ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน ฟลิปปนส ศรี ลังกา คาซัคสถาน และมองโกเลีย โดยไทยและเกาหลีใตไดจัดทําบันทึกความเขาใจวา ดวย การจัดสงแรงงานไปเกาหลีใต ภายใตระบบ EPS ครั้งแรกเมื่อป ๒๕๔๗ และตออายุบันทึก ความ เขาใจดังกลาวอีก ๒ ครั้งคือเมื่อป ๒๕๔๔ และป ๒๕๕๒ การจัดทําบันทึกความเขาใจ ดังกลาวทําให แรงงานไทยไดรับโควตาใหทํางานในภาคอุตสาหกรรม กอสราง และภาค เกษตร และทําใหแรงงาน ไทยมีโอกาสไปทํางานในเกาหลีใตมากขึ้นและเสียคาใชจาย นอยลง . ๘.๖.๒ ความสัมพันระหวางประเทศ ไทย – สหรัฐไทยและสหรัฐฯ มีสนธิสัญญา ไมตรีและ การพาณิชยตั้งแตป ๒๓๗๖ นับถึงปจจุบันมีทั้งสิ้น ๕ ฉบับ ฉบับปจจุบันไดลงนาม เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ มีขอบเขตความรวมมือครอบคลุมกวางขวางทางดาน มิตรภาพ การพาณิชย และการเดินเรือ โดยมีการกําหนดใหคนชาติและนิติบุคคลของแตละ ประเทศไดรับการประติบัติเยี่ยง คนชาติ (National Treatment) โดยครอบคลุมธุรกิจ บริการทั้งหมด ยกเวนธุรกิจ ๕ ประเภท ไดแก การสื่อสาร การขนสง การดูแลทรัพยสินเพื่อ ประโยชนของผูอื่นการธนาคารที่เกี่ยวของกับการรับฝาก เงิน การคาภายในที่เกี่ยวกับ ผลิตผลทางการเกษตรพื้นเมืองและการแสวงหาผลประโยชนจากที่ดิน และ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ไทยและสหรัฐฯ ไดลงนามกรอบความตกลงดานการคาและการ ลงทุน (Trade and Investment Framework Agreement : TIEA) เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ใน ระหวางการประชุมเอเปคที่ประเทศเม็กซิโก และไดมี การจัดตั้ง Joint Council (UC) เพื่อติดตามการ 02_01-340_.indd 255 17/10/2562 8:38:14


256 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๘๐ ๕ ดําเนินงานของความตกลง IFA โดยผูแทนการคาสหรัฐฯ (US Trade Representative - USTR) เปน หัวหนาคณะฝายสหรัฐฯ และรัฐมนตรีวาการ กระทรวงพาณิชยเปนหัวหนาคณะฝายไทย ที่ผานมามี การประชุม TIFA JC รวม ๓ ครั้ง ไดแก ๑) การประชุมระดับเจาหนาที่อาวุโส เมื่อ ๒๔ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่กรุงเทพฯ โดยมีนางอภิรดี ตันตราภรณ อธิบดีกรมเจรจาการคาระหวางประเทศเปน หัวหนาคณะฝาย ไทย และนาย Ralph lves ผูชวยผูแทนการคาสหรัฐฯ เปนหัวหนาคณะผูแทน สหรัฐฯ ๒) ระดับรัฐมนตรี เมื่อ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ณ จังหวัดขอนแกน โดยฝายไทยมี นาย อดิศัย โพลาราเม็ก รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยเปนหัวหนาคณะ และนาย Robert 6. Notick ผูแทนการคาสหรัฐฯ เปนหัวหนาคณะฝายสหรัฐฯ ๓) การประชุมระดับ เจาหนาที่อาวุโส เมื่อวันที่ ๑๕ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่กรุงวอชิงตัน โดยมี นางฟามล เจริญเผา สิบดีกรมเจรจาการคา ระหวางประเทศเปนหัวหนาคณะฝายไทย และ IN Hathawa Muslist ผูชวยผูแทนการคาสหรัฐฯ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและ แปซิฟ) เปนหัวหนาคณะผูแทนสหรัฐ ขอการที่ไทยไดรับความชวยเหลือจากฝายพันธมิตรในการปองกันประเทศ จากการที่ญี่ปุน เดินทางทัพเขามาในดินแดนไทยในชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ทําใหไทย จาเปนตองประกาศสงคราม กับสหราชอาณาจักรและสหรัฐฯ ในป พ.ศ. ๒๕๕๕ อยางไรก็ดี รัฐบาลสหรัฐฯ ในขณะนั้น ไมได ประกาศสงครามกับไทย เนื่องจากมีการจัดตั้งเสรีไทยใน สหรัฐฯ และรัฐบาลสหรัฐฯ ใหการสนับสนุน รวมทั้งการจัดตั้งขบวนการตอตานญี่ปุนในไทย ซึ่งมีผลอยางมากตอสถานการณภายหลังสงครามของ ไทยที่สหรัฐฯ สนับสนุนทาทีที่ผานมา ของไทย โดยถือวาไทยไมไดเปนคูสงครามแตเปนดินแดนที่ถูก ยึดครอง (Occupied teltay) ในระหวางสงคราม ภายหลังสงครามสหรัฐฯ ไดฟนฟูความสัมพันธ ทางการทูต กับไทยในทันที รวมทั้งชวยเหลือไทยในการเจรจาใหสหราชอาณาจักรลดขอเรียกรองและ การตั้ง เงื่อนไขตางๆ จํานวน ๒๐ ขอ ที่กําหนดขึ้นภายหลังสงครามกับไทย โดยสหรัฐฯ มี บทบาท สําคัญในการเจรจากับสหราชอาณาจักรใหกับไทยรวมทั้งสนับสนุนและให คําปรึกษาการกันไทยใน การเจรจากับฝรั่งเศสและรัสเซีย เพื่อเขาเปนสมาชิกสหประชาชาติ ในป พ.ศ. ๒๕๕๑๙ เปนตน ๓.๒ ความสัมพันธระหวางประเทศดานวัฒนธรรม ในปจจุบันไทยกันจีนมีความสัมพันธและความรวมมือที่เจริญรุดหนาในทุกดาน และนับวันจะ ยิ่งพัฒนาตอไปอยางตอเนื่องและลึกซึ่งกอใหเกิดประโยชนอยางเปนรูปธรรม ในดานการพัฒนา เศรษฐกิจและการยกระดับชีวิตความเปนอยูของประชาชนของทั้งสอง ประเทศตลอดจนเปน ประโยชนตอสันติภาพและความเจริญรุงเรืองในภูมิภาค ดังนั้น ในชวง ศตวรรษที่ ๒๑ ทํามกลาง กระแสโลกาภิวัตนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนา อยางรวดเร็วประกอบกับการแสดง บทบาทที่สรางสรรคของจีนไทยและประเทศอื่นๆใน ภูมิภาคหวังวาจะความรวมมือกับจีนมากยิ่งทั้งใน ดานเศรษฐกิจการคาและการลงทุน โดย จีนจะเปนพลังสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาค เอเชียและโลกโดยรวม 02_01-340_.indd 256 17/10/2562 8:38:15


257 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๘๑ ๕ ๘.๖.๓ การแลกเปลี่ยนการเยี่ยมเยือนของบุคคลสําคัญ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๓ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จ พระราชดําเนินไปทรงรวมพระราชพิธีศพสมเด็จพระราชชนนีใน สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตแหง ญี่ปุน และทรงเปนพระราชอาคันตุกะพระองคเดียวจาก ตางประเทศที่ทรงไดเขารวมงานพิธี ในเดือน สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔ เจาชายอากิชิโนและเจา หญิงคิโกะ เสด็จมาประเทศไทยเพื่อทรงรับการถวาย ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จาก มหาวิทยาลัยของประเทศไทยในเดือนกันยายนปเดียวกัน สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินเยือนประเทศญี่ปุนเพื่อทรงรับการ ถวายปริญญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยกักคุชูอิน และในเดือนตุลาคม สมเด็จพระเจา ลูก เธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี เสด็จเยือนประเทศญี่ปุนดวย ๒. พ.ต.ท.ทักษิณ ชิน วัตร นายกรัฐมนตรีเดินทางไปเยือนประเทศญี่ปุน อยางเปนทางการเปนครั้งแรกเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๔ ในโอกาสนี้ ไดเขาเฝา สมเด็จพระจักรพรรดิ จากนั้นไดเขาหารือกับนายกรัฐมนตรี จุนอิชิ โร โคะอิซุมิ และเขา รวมงานเลี้ยงอาหารคาอยางเปนทางการที่นายกรัฐมนตรี จุนอิชิโร โคะอิซุมิ เปน เจาภาพ นอกจากนี้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรียังไดกลาวสุนทรพรจนในงานสัมมนาวา ดวยการสงเสริมการลงทุนในประเทศไทย และยังไดเดินทางเยือนจังหวัดโออิตะเพื่อเยี่ยม ชมโครงการ หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในประเทศญี่ปุนดวย ๘.๖.๔ ความสัมพันธระหวางไทย - เกาหลีใต ไทยและเกาหลีใตไดแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันอยางใกลชิดความรวมมือทาง วัฒนธรรม สวนมากจะเกี่ยวของกับการแสดงทางวัฒนธรรมการประชุมสัมมนาทางวิชาการ การแลกเปลี่ยน บุคลากรทางวัฒนธรรมและการเยือนของผูบริหารระดับสูงของสํานักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรม แหงชาติกระทรวงวัฒนธรรมกําหนดกรอบการใหความรวมมือทาง วัฒนธรรมดานตางๆ ระหวางไทยสาธารณรัฐเกาหลี ประกอบดวย ๑. การแลกเปลี่ยนการเยือนเพื่อศึกษาดูงานของผูบริหารงานวัฒนธรรม ทั้งระดับสูงและ ระดับกลาง ๒. การสรางและสงเสริมความสัมพันธระดับประชาชนกับประชาชน ๓. การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมดานทัศนศิลป ศิลปะการแสดง ดานภูมิ ปญญาชาวบาน การจัด นิทรรศการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ๔. ความรวมมือดานวัฒนธรรม อาทิ วรรณคดี หองสมุด หอจดหมายเหตุ โบราณคดี จิตรกรรม หัตถกรรม และความรวมมือดานพิพิธภัณฑ โบราณสถาน 02_01-340_.indd 257 17/10/2562 8:38:16


258 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๘๒ ๕ ๕. ความรวมมือเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยดานความรวมมือในการ จัดโครงการ นิทรรศการดานศิลป ภาพยนตร แฟชั่น หรือดนตรี ความรวมมือในการจัด อบรม สัมมนาปฏิบัติการ เชิงวิชาการดานการบริหารจัดการทางดานวัฒนธรรมการจัดการ พิพิธภัณฑศิลปะสมัยใหมงาน ออกแบบเชิงพาณิชยสําหรับเครื่องแตงกาย อบรมดาน นาฏศิลป ดนตรีรวมสมัย และ กิจกรรมอื่น ๆ อันมีลักษณะทางวัฒนธรรมในระหวางการ เยือนไทยของประธานาธิบดีเกาหลีใต ระหวางวันที่ ๙-๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ผูนําทั้งสองฝายไดเห็นพองสงเสริมความรวมมือในการจัดตั้งศูนยวัฒนธรรม ระหวางกัน ๘.๗ ความสัมพันธระหวางประเทศดานสังคม นับตั้งแตราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน๒ ไดสถาปนา ความสัมพันธทางการ ทูตระหวางกันอยางเปนทางการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ. ๒๕๓๕ เปนตนมา ทั้งสองฝายไดรวมมือ กันอยางราบรื่นทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ การคา การทหาร การศึกษา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดานอื่น ๆ บนพื้นฐานของ มิตรภาพ ความเสมอภาค การเอื้อประโยชนและการเกื้อกูลซึ่งกันและ กัน ผูนําระดับสูงสุด ผูนํา รัฐบาล และประชาชนของทั้งสองประเทศไดแสดงบทบาทอยางสําคัญตอ การสืบสานและ การพัฒนาความสัมพันธนี้โดยไมหยุดยั้ง จนกลายเปนแบบอยางของการอยูรวมกัน อยาง กลมเกลียว และสมานฉันทระหวางประเทศที่มีระบอบสังคมที่แตกตางกัน ความรวมมืออันดี ระหวางสองฝาย ไมเพียงแตจะเกื้อกูลตอผลประโยชนโดยพื้นฐานของประเทศทั้งสอง เทานั้น แตยัง เปนประโยชนตอสันติภาพและการพัฒนาของเอเชียและของโลกดวย ในขณะที่ศตวรรษที่ ๒๑ ทั้งสองฝายมีความเห็นพองกันวา ควรจะขยาย ความสัมพันธและ ความรวมมือโดยรอบดาน ในฐานะประเทศเพื่อนบานที่ไวใจซึ่งกันและกัน ใหกาวหนาตอไป บน พื้นฐานของผลประโยชนรวมกันและความสัมพันธฉันมิตรที่พัฒนามาก วา ๒๐ ป เพื่อใหความสัมพันธ ระหวางไทย-จีน พัฒนาไปสูระดับใหม ในการนี้ ทั้งสองฝายจึง ออกแถลงการณเพื่อใหเปนกรอบและ แนวทางสําหรับการดําเนินการปฏิบัติต"11.ของทั้ง ฝาย ดังนี้ ๑. ทั้งสองฝายยีตถือหลักการตามกฎบัตรสหประชาชาติ หลักการ ประการแหงการอยู รวมกัน อยางสันติ สนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต และหลัก กฎหมายระหวางประเทศอันเปนที่ยอมรับในสากล เปน บรรทัดฐานในการดําเนินความสัมพันธ ระหวางทั้งสองประเทศ ๒ แถลงการณรวมวาดวยแผนงานความรวมมือในศตวรรษที่ ๒๑ ระหวางราชอาณาจักรไทย กับ สาธารณรัฐประชาชนจีน https://www.baanjomyut.com/library 3/extension-3 สืบคนเมื่อ วันที่ ๑๓ ก.ค. ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 258 17/10/2562 8:38:20


259 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๘๓ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. ทั้งสองฝายจะรักษาไวซึ่งการติดตอ และการไปมาหาสูที่ใกลชิด ระหวางผูนําของ ประเทศทั้งสอง สงเสริมการติดตอแลกเปลี่ยนอยางสมาเสมอระหวาง ขาราชการทุกระดับ โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ขาราชการระดับสูงของฝายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ เพื่อผลักดันใหความสัมพันธ ระหวางไทย-จีนพัฒนาไปโดยรอบดานอยางมั่นคงและ ยังยืน ๓. ทั้งสองฝายตกลงที่จะรักษาไวซึ่งกลไกการปรึกษาหารือประจําป ระหวางขาราชการ ระดับสูง ของกระทรวงการตางประเทศของประเทศทั้งสอง เพื่อ แลกเปลี่ยนขอคิดเห็นระหวางกัน ใน ประเด็นทางการเมือง ทั้งในกรอบทวิภาคีและพหุภาคี โดยจะผลัดเปลี่ยนกันเปนเจาภาพ โดย จะ ติดตามการดําเนินการตามแผนงานนี้ในระดับ นโยบาย และหนวยงานทางการทูตของทั้งสอง ประเทศ จะใชโอกาสตาง ๆ อยางเต็มที่ใน การติดตอและหารือกันอยางสมาเสมอ ๔. ทั้งสองฝายตกลงกันที่จะกระชับความรวมมือดานความมั่นคง โดย อาศัยมาตรการ เพื่อการสราง ความไวเนื้อเชื่อใจกันตาง ๆ เชน สงเสริมความรวมมือระหวาง หนวยงานศึกษาวิจัยดาน ยุทธศาสตร และความมั่งคง สงเสริมใหฝายทหารและเจาหนาที่ กระทรวงการตางประเทศ มีการ ปรึกษา หารือกันมากขึ้นในกิจการดานความมั่นคง การ แลกเปลี่ยนประสบการณระหวางทหารของ ทั้งสองฝายในการชวยเหลือและกูภัยเพื่อน มนุษย และการลดโอกาสของภัยพิบัติ รวมทั้งการ แลกเปลี่ยน ทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีทางการทหาร ตลอดจนการแลกเปลี่ยนขอมูลดานตาง ๆ ๕. ทั้งสองฝายจะขยายความรวมมือฉันมิตรบนพื้นฐานที่เทาเทียมกันและ การเอื้อ ประโยชนซึ่งกันและกันในดานการคา การลงทุน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การ พาณิชยนาวี วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่ประเทศไทยไดความสัมพันธทางสังคมกับประเทศจีน ทั้งสองฝายจะให ความสําคัญและสนับสนุนมากยิ่งขึ้นตอความรวมมือสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ (ไทย จีน ลาว และ พมา) รวมทั้งความรวมมือในอนุภูมิภาคภายใตกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจ ในลุมแมน้ําโขง (ไทย จีน ลาว พมา เวียดนาม และกัมพูชา) ซึ่งเปนผลประโยชนรวมกันของ ทั้งสอง ประเทศตลอดจนประเทศ อื่น ๆ ที่เกี่ยวของในภูมิภาคในระยะยาว ทั้งสองฝายให ความสําคัญ อยางมากตอการเปดเสนทางทาง น้ํา ทางบก และทางอากาศ ซึ่งเชื่อมตอระหวางจีนกับไทย โดยจะอํานวยความสะดวกซึ่งกันและกัน และแกประเทศที่เกี่ยวของในการใชเสนทางดังกลาว เพื่อสงเสริมความรวมมือดานการคา การลงทุน การขนสงการ บริการ การพลังงาน การสื่อสารและการทองเที่ยว การสงเสริมความรวมมือดานการ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม การศึกษา การสาธารณสุข การกีฬา การอนุรักษสิ่งแวดลอม และจะ กระชับความรวมมือตลอดจนการ ประสานงานภายใต กรอบความรวมมือขององคกรการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) กองทุนสงเคราะหเด็กแหงสหประชาชาติ (UNICEF) และ องคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (APEC) ตลอดจนองคกร 02_01-340_.indd 259 17/10/2562 8:38:21


260 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๘๔ ๕ ความ รวมมืออื่น ๆ ทั้งในระดับ ภูมิภาคและโลก ในดานสาธารณสุขนั้น ทั้งสองฝายจะสงเสริม ความ รวมมือดานการวิจัย ทางการแพทย การผลิตเวชภัณฑ การคุมครองผูบริโภคความรวมมือดานการ ทองเที่ยวอยางแข็งขัน และขจัดปญหาอันเกิดจาก การทองเที่ยว นอกจากนั้น ทั้งสองฝายจะรวมกัน สงเสริมใหนักทองเที่ยวจากประเทศที่สาม เดินทางมาทองเที่ยวในประเทศทั้งสองดวยความพรอมจะ รวมมือกันเพื่อเสริมสรางการติดตอดานตุลาการอยาง ใกลชิด โดยการ แลกเปลี่ยนขอมูลและขาวสาร ซึ่งกันและกันจะกระชับความรวมมือในดาน การบังคับใชกฎหมายใหมากยิ่งขึ้น เพื่อปราบปราม กระบวนการอาชญากรรมขามชาติ การคายาเสพติด การลักลอบ ขนสินคาหนีภาษี การกอ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ และการ ลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ตลอดจนการกออาชญากรรม ประเภทอื่นๆ กลาวโดยสรุปทั้งสองฝายจะใหการเคารพตอระบบกฎหมายของอีกฝาย หนึ่ง และจะให หลักประกันวา เมื่อมีเรื่องเกี่ยวพันถึงการฟองรอง โดยคนชาติของอีกฝาย หนึ่ง ควรใหหลักประกันวา ปญหาดังกลาวจะไดรับการแกไขอยางเปนธรรมตามครรลอง ของกระบวนการยุติธรรมที่เหมาะสม ทั้ง สองฝายจะกระชับความรวมมือและการ ปรึกษาหารือระหวางกันในเรื่องของภูมิภาคและประเด็น ระหวางประเทศที่เปนที่สนใจ รวมกันในเวทีพหุภาคีเชน ASEAN, ARF, APEC, ASEM รวมทั้ง UN และ WTO เปนตน เพื่อสงเสริมสันติภาพและการพัฒนาของภูมิภาคและโลกโขง (ไทย จีน ลาว พมา เวียดนาม และกัมพูชา) ซึ่งเปนผลประโยชนรวมกันของ ทั้งสอง ประเทศตลอดจนประเทศอื่น ๆ ที่ เกี่ยวของในภูมิภาคในระยะยาว ทั้งสองฝายให ความสําคัญ อยางมากตอการเปดเสนทางทางนา ทาง บก และทางอากาศ ซึ่งเชื่อมตอ ระหวางจีนกับไทย โดยจะอํานวยความสะดวกซึ่งกันและกัน และแก ประเทศที่เกี่ยวของใน การใชเสนทางดังกลาว เพื่อสงเสริมความรวมมือดานการคา การลงทุน การ ขนสงการ บริการ การพลังงาน การสื่อสารและการทองเที่ยวการสงเสริมความรวมมือดานการ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม การศึกษา การสาธารณสุข การกีฬา การอนุรักษสิ่งแวดลอม และจะ กระชับความรวมมือตลอดจนการ ประสานงานภายใต กรอบความรวมมือขององคกรการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) กองทุนสงเคราะหเด็กแหงสหประชาชาติ (UNICEF) และ องคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (APEC) ตลอดจนองคกร ความ รวมมืออื่น ๆ ทั้งในระดับ ภูมิภาคและโลก ในดานสาธารณสุขนั้น ทั้งสองฝายจะสงเสริม ความ รวมมือดานการวิจัย ทางการแพทย การผลิตเวชภัณฑ การคุมครองผูบริโภคความรวมมือดานการ ทองเที่ยวอยางแข็งขัน และขจัดปญหาอันเกิดจาก การทองเที่ยว นอกจากนั้น ทั้งสองฝายจะรวมกัน สงเสริมใหนักทองเที่ยวจากประเทศที่สาม เดินทางมาทองเที่ยวในประเทศทั้งสองดวย ความพรอมจะรวมมือกันเพื่อเสริมสรางการติดตอดานตุลาการอยาง ใกลชิด โดยการ แลกเปลี่ยน ขอมูลและขาวสารซึ่งกันและกันจะกระชับความรวมมือในดาน การบังคับใชกฎหมายใหมากยิ่งขึ้น เพื่อปราบปรามกระบวนการอาชญากรรมขามชาติ การคายาเสพติด การลักลอบ ขนสินคาหนีภาษี 02_01-340_.indd 260 17/10/2562 8:38:21


261 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๘๕ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ การกออาชญากรรมทางเศรษฐกิจ และการ ลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ตลอดจนการกอ อาชญากรรมประเภทอื่นๆ กลาวโดยสรุปทั้งสองฝายจะใหการเคารพตอระบบกฎหมายของอีกฝาย หนึ่ง และจะให หลักประกันวา เมื่อมีเรื่องเกี่ยวพันถึงการฟองรอง โดยคนชาติของอีกฝาย หนึ่ง ควรใหหลักประกันวา ปญหาดังกลาวจะไดรับการแกไขอยางเปนธรรมตามครรลอง ของกระบวนการยุติธรรมที่เหมาะสม ทั้ง สองฝายจะกระชับความรวมมือและการ ปรึกษาหารือระหวางกันในเรื่องของภูมิภาคและประเด็น ระหวางประเทศที่เปนที่สนใจ รวมกันในเวทีพหุภาคีเชน ASEAN, ARF, APEC, ASEM รวมทั้ง UN และ WTO เปนตน เพื่อสงเสริมสันติภาพและการพัฒนาของภูมิภาคและโลก ๘.๘ สรุปทายบท ดวยความผูกพันยาวนานและวัฒนธรรมที่ใกลชิดทําใหความสัมพันธดานสังคม และ วัฒนธรรมระหวางไทย-จีนพัฒนาไปอยางใกลชิดและแนบแนนมาโดยตลอด ประชาชน ของทั้งสอง ประเทศมีการไปมาหาสูเพื่อเผยแพรและแลกเปลี่ยนดานวัฒนธรรมอยาง ตอเนื่องตั้งแตการ แลกเปลี่ยนการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบานประจําชาติ ซึ่งประสบ ผลสําเร็จอยางดีและไดรับการ ตอนรับอยางดียิ่งจากประชาชนของแตละฝาย ไปจนถึงความ รวมมือทางดานศาสนาจากการที่ไทย เปนเมืองพุทธและจีนไดชื่อวาเปนประเทศที่มีคนนับ ถือศาสนาพุทธมากที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง คือ ประมาณ ๑๐๐ ลานคน นอกจากนี้ ความสัมพันธในดานนี้ยังไดรับการสงเสริมโดยพระบรมวงศานุวงศ ทุกพระองคของไทย โดยเฉพาะสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งทรงสนพระทัย ในภาษา วัฒนธรรรม และประวัติศาสตรของจีน ทรงเปนแบบอยางที่ดีแกประชาชน รวมทั้ง เยาวชน ของไทยในการศึกษาเรียนรูภาษาและวัฒนธรรมจีน ซึ่งเปนประโยชนตอการ สงเสริมความเขาใจอันดี ระหวางประชาชนของทั้งสองประเทศ รวมทั้งสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัคร ราชกุมารี ซึ่งทรงริเริ่มการแสดงดนตรี “สายสัมพันธสอง แผนดิน” ซึ่งมีสวนสําคัญตอการสงเสริม ความรวมมือดานวัฒนธรรมระหวางกัน ทั้งนี้ ความสัมพันธดานสังคมและวัฒนธรรมนับวันจะยิ่งมี ความสําคัญมากขึ้น เนื่องจากเกี่ยวพัน อยางลึกซึ้งตอการสงเสริมความสัมพันธในระดับประชาชน ซึ่ง ถือเปนพื้นฐานสําคัญในการ พัฒนาความสัมพันธระหวางไทย – จีนในดานอื่นๆ ความเชื่อมโยงกัน ระหวางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมืองการ ปกครอง ซึ่งในโลกยุคใหม (Modern World) เปนเครื่องมือพัฒนาสูการเปนสังคมสมัยใหม และใหความสําคัญแกการผลิตภายใตระบบทุนนิยม ทํา ใหความสัมพันธระหวางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองตองดําเนินไปอยาง รอบคอบ รอบรู และสามารถรวบรวมพัฒนาการมาชวยกําหนดแนวทางที่ถูกตองและเหมาะสมในการ 02_01-340_.indd 261 17/10/2562 8:38:22


262 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๘๖ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ พัฒนา ประเทศโดยเฉพาะการกาวสูประชาคมอาเซียนก็ยิ่งทําใหตองรูและเขาใจความสัมพันธของ สิ่ง ที่กลาวมาขางตนเปนอยางดี ดังนั้น ความสัมพันธระหวางประเทศเปนความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐหรือ ความสัมพันธ ระหวางรัฐประชาชาติ ในยุคปจจุบันนี้ไมมีรัฐใด ซาติใดที่จะดํารงอยู อยางโดด เดียวตามลําพัง โดยที่ ไมตองเกี่ยวของติดตอกับรัฐอื่น ๆ หรือสังคมอื่น ๆ โดยได อีกตอไป อีกทั้งไดมีการยอมรับกันวา ความสัมพันธระหวางการเมืองภายในรัฐ และการเมือง 02_01-340_.indd 262 17/10/2562 8:38:27


263 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๘๗ ๕ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เอกสารอางอิงประจําบท ๑.๑ สื่ออิเล็กทรอนิกส สภาพภูมิศาสตรของประเทศ http://uswatch.mfa.go.th uswatch/th/relationship/politics/ สืบคน เมื่อ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๐. แถลงการณรวมวา ดวยแผนงานความรวมมือในศตวรรษที่ ๒๑ ระหวางราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน https://www.baanjomyut.com /library /extension-๓ สืบคนเมื่อวันที่ ๑๓ ก.ค. ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 263 17/10/2562 8:38:27


ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๙๖ บทที่ ๙ ระเบียบปฏิบัติดานความสัมพันธระหวางประเทศ ๙.๑ ความนํา นักปราชญชาวตะวันตกผูหนึ่งเคยกลาวไววา “มนุษยเปนสัตวสังคม” ซึ่งมี ความหมายแสดง ถึงวา โดยธรรมชาติแลวมนุษยมีแนวโนมที่จะอยูรวมกันเปนหมูเหลา มีการคบหาซึ่งกันและกัน และ ดํารงชีวิตอยูในสังคมของมนุษยไดจัดระเบียบการปกครองเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และแบบแผน แนวทางที่มนุษยจะยึดถือปฏิบัติตอกันซึ่ง ระเบียบ หรือกติกาในการปฏิบัติในสังคมและการสัมพันธ ตอกัน เปนสิ่งที่จําเปนตองมีในแตละสังคมมนุษยมนุษยไมเพียงแตจะมีความสัมพันธซึ่งกันและกันใน วงกรอบของสังคมที่ตนอาศัยอยูเทานั้นแตมนุษยยังมีความสัมพันธกับสมาชิกของสังคมอื่นอีกดวย ซึ่ง ความสัมพันธระหวางสังคม ยกตัวอยาง เชน สงครามระหวางกลุมคนตาง ๆ โดยที่ความสัมพันธที่ เกิดขึ้นนอกขอบเขตของสังคมดังกลาวนี้เกิดขึ้นเปนเวลาชานานแลว แมแตในชวงกอนประวัติศาสตร ความสัมพันธที่กาวล้ําขอบเขตของสังคมนี้นับวันยิ่งมีมากขึ้น เมื่อประชากรโลกเพิ่มขึ้นในขณะที่การ คมนาคมสื่อสารระหวางกลุมคน เปนไปไดสะดวกยิ่งขึ้น ลักษณะของความสัมพันธเชนนี้ มีความ ซับซอนขึ้นทุกขณะ และมีการเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบตางๆ กัน ตัวอยางเชน ความสัมพันธระหวาง กลุมเผาตางๆ ในยุคโบราณเปนความสัมพันธเชิงแลกเปลี่ยนสินคา หรือการสูรบแยง ชิงทรัพยสมบัติ ของอีกฝายหนึ่งไดเปลี่ยนแปลงมาสูความสัมพันธทางการทูต การเศรษฐกิจ การเมือง การสังคม และ การทหารที่ยุงยากซับซอน ในสภาพสังคมระหวางประเทศซึ่งรัฐเปนตัวแสดงสําคัญของโลกรวมทั้งตัว แสดงอื่น ๆ อีก ความสัมพันธระหวางประเทศเปนความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐหรือความสัมพันธ ระหวางรัฐ ประชาชาติในยุคปจจุบันนี้ไมมีรัฐใดชาติใดที่จะดํารงอยูอยางโดดเดี่ยวตามลําพัง โดยที่ไม ตองเกี่ยวของติดตอกับรัฐอื่นๆ หรือสังคมอื่นๆ โดยไดอีกตอไป อีกทั้งไดมีการยอมรับกันวา ความสัมพันธระหวางการเมืองภายในรัฐ และการเมืองภายนอกรัฐ นั้นเกี่ยวพันและเปนผลซึ่งกันและ กัน ความสัมพันธระหวางหนวยการเมือง คือ รัฐในปจจุบันไดมุงไปถึงทั้งทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ และทางสังคมระหวางรัฐซึ่งมี ประมาณ ๑๖๐ รัฐ ทั้งในองคการและนอกองคการสหประชาชาติ ความสัมพันธระหวางประเทศนี้ มิไดหมายความถึงความสัมพันธระหวางประเทศเทานั้น แตมี ความหมายที่กวางกวานั้นถึงแมวา หนวยที่มีบทบาทสําคัญสวนใหญในความสัมพันธระหวางประเทศ คือรัฐ หรือรัฐบาล ผูดําเนินกิจการของรัฐ ก็ตามประเทศนี้รวมถึง หนวยอื่น ๆ ที่มิใชรัฐ เชน องคการ ระหวางประเทศ กลุมบุคคลใดๆ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งมีบทบาทความสัมพันธระหวางประเทศได ความสัมพันธมิไดหมายความถึงเฉพาะความสัมพันธทางการเมืองเพียงอยางเดียวแต รวมถึง 02_01-340_.indd 264 17/10/2562 8:38:28


265 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและอื่น ๆ ซึ่งมีความสําคัญในการ ดําเนินการเพื่อใหบรรลุ จุดมุงหมายของหนวยนั้น ๆ ความสัมพันธนี้ มีทั้งความขัดแยง และความรวมมือ ๙.๒ ความสําคัญระเบียบปฏิบัติดานความสัมพันธระหวาง ประเทศ ไดมีผูใหนิยามและความหมายของความสัมพันธระหวางประเทศ (International Relation) ไวมากมายตางๆ กัน พอที่จะยกตัวอยางไดดังนี้ สแตนลีย ฮอฟมานน (Stanley Haffmann) ใหคํานิยามวา๑ “วิชา ความสัมพันธระหวาง ประเทศมุงศึกษา ปจจัย และกิจกรรมตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอ นโยบายตางประเทศและอํานาจของ หนวยพื้นฐานตางๆ ในโลก” แมตธิเสน (Matthiesen) กลาววา๒ “ความสัมพันธระหวางประเทศนั้น เหมือนคําวา กิจกรรมระหวางประเทศและกลุมของความสัมพันธทุกชนิดที่ขามเขตแดนรัฐไมวาจะเปนทางกฎหมาย การเมือง ที่มีลักษณะเปนสวนบุคคล หรือเปนทางการหรืออยางอื่นใดก็ตาม ตลอดจนพฤติกรรมของ มนุษยทุกอยางที่มีตนกําเนิดอยู ในพรมแดนขางหนึ่งของรัฐ โดยมีผลกระทบตอพฤติกรรมของมนุษยที่ อยูอีกดานหนึ่งของพรมแดน ศาสตราจารย คารล ดับเบิลยู ดอยทซ๓ (Kart W.Deutsch) กลาววา ความสัมพันธ ระหวางประเทศเปนคําที่บงถึงพฤติกรรมทั้งหลายของมนุษยที่เกิดขึ้นในขางหนึ่งของเสนเขตแดนของ ประเทศ และมีผลสะทอนตอพฤติกรรมของมนุษยในอีกขางหนึ่งของเสนเขตแดนนั้น จากความหมายของความสัมพันธระหวางประเทศดังกลาวขางตน จะเห็น ไดวาโดยรวมแลว ความสัมพันธระหวางประเทศ เปนการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธที่เกิดขึ้นขามพรมแดนของประเทศ ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยที่การแลกเปลี่ยน และปฏิสัมพันธดังกลาวอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดง ๑ ความสัมพันธระหวางประเทศ (International Relation) www.htp://polsci.tu.ac.th/wiki/index.php?title, สืบคนเมื่อวันที่ ๒๖ ก.ค. ๒๕๖๐. ๒ ความหมายและตัวแสดงในความสัมพันธระหวางประเทศ www.http://polscitu.ac.th/wiki/index.php?title สืบคนเมื่อวันที่ ๒๖ ก.ค. ๒๕๖๐. ๓ ศาสตราจารย คารล ดับเบิลยู ดอยทซ (Karl W. Deutsch)จากหนังสือ Webster's third New International Dictionary กลาววา International Relations a branch of political science concerned with relations between political units of national rank and dealing primarily with foreign policies, the organization and function of governmental agencies concerned with foreign policy, and factors as geography and economics underlying foreign policy. สืบคนเมื่อวันที่ ๒๖ ก.ค. ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 265 17/10/2562 8:38:29


266 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ อื่น ๆ ที่ไมใชรัฐและการกระทํา ดังกลาวสงผลถึงความรวมมือ หรือความขัดแยงระหวางประเทศตาง ๆ ในโลกดังนั้น อาจสรุปไดวา ความสัมพันธระหวางประเทศจะพิจารณากิจกรรมดังกลาวในประเด็น ตอไปนี้ ๑. ความสัมพันธระหวางประเทศหมายถึงการแลกเปลี่ยน เชน แลกเปลี่ยนสินคา เทคโนโลยี บุคลากร บริการ ฯลฯ หรือปฏิสัมพันธ คือการประพฤติ ปฏิบัติตอกันในลักษณะตาง ๆ เชน การ โฆษณาโจมตีซึ่งกันและกัน การปะทะกันดวยกําลังอาวุธ การรวมมือกันพัฒนา เปนตน ๒. ความสัมพันธระหวางประเทศเกิดขึ้นขามพรมแดนของรัฐในแงนี้เปน การพิจารณา กิจกรรมระหวางประเทศในปจจุบันคือในสมัยที่รัฐชาติหรือประเทศอธิปไตย ๓. ความสัมพันธระหวางประเทศอาจเปนเรื่องที่กระทําโดยบุคคล กลุม บุคคล รัฐ องคการ ระหวางประเทศ หรือตัวแสดงอื่น ๆ ในเวทีระหวางประเทศก็ได แตผูสนใจความสัมพันธระหวาง ประเทศจะมุงความสนใจเฉพาะความสัมพันธซึ่งมีผลกระทบตอกิจการของโลกหรือของรัฐตาง ๆ เปน ตน ๔. ความสัมพันธระหวางประเทศที่เกิดขึ้นเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับความรวมมือและความ ขัดแยงระหวางประเทศประเด็นความขัดแยง และความรวมมือระหวางประเทศนี้เปนเรื่องที่ผูสนใจ ความสัมพันธระหวางประเทศพิจารณาเปนกรณีพิเศษเพราะเปนเรื่องที่กระทบกระเทือนการอยู รวมกันอยางเปนปกติสุขในสังคมโลก ความสัมพันธระหวางประเทศหมายถึงการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ ที่เกิดขึ้นขามเขต พรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่นๆ ที่ไมใชรัฐ ซึ่งสงผลถึงความรวมมือหรือความ ขัดแยงระหวางประเทศตาง ๆ ในโลก ความสัมพันธระหวางประเทศเปนความสัมพันธระหวางบุคคล กลุมบุคคล หรือสังคม ซึ่งเกิดขึ้นขามขอบเขตของกลุมสังคมการเมืองหนึ่งถึงแมความสัมพันธระหวาง ประเทศ จะเกิดขึ้นมากมายและครอบคลุมเหตุการณตาง ๆ อยางกวางขวางแตในทางปฏิบัติ นักวิชาการความสัมพันธระหวางประเทศมักจะเลือกสนใจเฉพาะเหตุการณที่ เกิดขึ้นขามขอบเขต พรมแดนรัฐซึ่งมีความสําคัญ คือ ที่กระทบตอความรวมมือ และความขัดแยงเปนหลัก ๙.๒.๑ รูปแบบของความสัมพันธระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศหรือการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธที่เกิดขึ้นขามเขต พรมแดนของรัฐดังที่กลาวขางตนนั้น อาจมีรูปแบบตาง ๆกัน ที่สําคัญไดแก ๑. ความสัมพันธอยางเปนทางการ หรือไมเปนทางการความสัมพันธ ระหวาง ประเทศอาจกระทําอยางเปนทางการโดยรัฐ หรือโดยตัวแทนที่ชอบธรรมของรัฐ เชน การประชุมสุด 02_01-340_.indd 266 17/10/2562 8:38:33


267 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ยอด การดําเนินการทางการทูต การแถลงการณประทวง การยื่นประทวงตอองคการสหประชาชาติ หรืออาจเปนการกระทําอยางไมเปน ทางการก็ได เชน การกอการรายของกลุมคนที่ไมชอบดวย กฎหมาย การกระทําจาร กรรม การโจมตีประเทศหนึ่งโดยสื่อมวลชนของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งมิได กระทําการในนามของรัฐ เปนตน ๒. ความสัมพันธในลักษณะรวมมือหรือขัดแยง กลาวคือ ความสัมพันธ ระหวาง ประเทศที่เกิดขึ้น มักจะสะทอนลักษณะที่หากไมเปนความรวมมือก็เปนความขัดแยง ความสัมพันธใน ลักษณะความขัดแยงก็เชน สงคราม การแทรกแซงบอนทําลาย การขยายจักรวรรดินิยม การผนวก ดินแดนของอีกประเทศหนึ่ง สวนความรวมมือ ไดแก การกระชับความสัมพันธทางการทูต การรวม เปนพันธมิตร การใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจ การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและวัฒนธรรม เปนตน ๓. ความสัมพันธในลักษณะเขมขนรุนแรงหรือหางเหิน หมายความวา ในการดําเนิน ความสัมพันธระหวางประเทศ ทั้งที่เปนการรวมมือ หรือการขัดแยงนั้น อาจกระทําในลักษณะรุนแรง เชน การใชกําลังอาวุธ การตัดความสัมพันธทางการทูต การลอบสังหารผูนํารัฐบาลของอีกประเทศ หนึ่ง การทําสัญญารวมรบ การรวมดินแดน เปนประเทศเดียวกัน หรืออาจมีลักษณะหางเหินไมรุนแรง ก็ได เชน สงนักการทูตจํานวนไมมากไปประจําอีกประเทศหนึ่งพอเปนพิธี หรือโฆษณาโจมตีกันเพียง ชั่วครั้ง ชั่วคราว เปนตน ความสัมพันธตาง ๆ นี้ อาจมีลักษณะผสมผสานกันก็ได เชน บางครั้ง รุนแรง บางครั้งนุมนวล บางครั้งเปนทางการ บางครั้งกึ่งทางการ หรือบางครั้งรวมมือ ในเรื่องหนึ่ง แตขัดแยงในอีกเรื่องหนึ่ง เปนตน ๙.๒.๒ ลักษณะของความสัมพันธระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศเปนผลมาจากความไมเทาเทียมกัน หรือความแตกตาง กันในดานตาง ๆ ของตัวแสดงระหวางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ตัวแสดงสําคัญที่สุด คือ รัฐ อธิปไตย ซึ่งในแงหลักการรัฐอธิปไตยเหลานี้มีอํานาจอธิปไตยสูงสุดเทาเทียมกัน และมีความเสมอภาค กัน โดยที่อํานาจอธิปไตยความเทาเทียมและความเสมอภาคกันไดรับการยอมรับโดยกฎบัตร สหประชาชาติ และเปนสิทธิที่ละเมิดไมไดทุกประเทศไมยอมรับวามีอํานาจอื่นใดที่สูงสุดกวาอํานาจ อธิปไตยของรัฐ อีกทุกประเทศมีอํานาจเต็มที่มีสิทธิและเสรีภาพในการกําหนดนโยบายตางประเทศ ของตนเองทุกประเทศจึงมีกองทัพของตนเอง และสามารถตัดสินใจที่จะใชสงคราม เปนเครื่องมือ ปองกันผลประโยชนและความมั่นคงปลอดภัยของตนไดเมื่อจําเปน ทั้งนี้ ตามความเปนจริงแลวความ ไมเทาเทียมกันในดานตางๆ ของรัฐอธิปไตยจะมีความ ขัดแยงกับหลักเกณฑที่ถือวาทุกรัฐมีความเสมอ ภาคและเทาเทียมกัน และกอใหเกิด ความขัดแยงในความสัมพันธระหวางประเทศปจจุบัน 02_01-340_.indd 267 17/10/2562 8:38:34


268 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความไมเทาเทียมกันนี้ปรากฏในทุกดานกลาวคือ ความไมเทาเทียมกัน ในดานขนาดของพื้นที่ ประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพของประชากร สภาพแวดลอม ระดับการพัฒนา วิธีการและ เครื่องมือในการดําเนินความสัมพันธระหวางกัน ตลอดจนความแตกตางในดานความรูสึกนึกคิด ความ เชื่อ คานิยม อุดมการณตาง ๆ ความไมเทาเทียมกันกอใหเกิดการแสวงหาสิ่งที่ขาดแคลนจากตัว แสดง อื่น ๆ กอใหเกิดการเลียนแบบและคาดหวังระดับตางๆ กัน ซึ่งลักษณะเชนนี้ กอใหเกิดความพยายาม สัมพันธกันในรูปตางๆ ทั้งในดานการรวมมือ หรือการขัดแยง และตามความเปนจริงแลว ความไมเทา เทียมกันนี้กอใหเกิดความสัมพันธระหวางประเทศ ซึ่งมีลักษณะบางประการดังจะกลาวตอไปนี้ ๑. การพึ่งพาอาศัยระหวางกันความไมเทาเทียมกันในลักษณะ ที่กลุมสังคมความ จําเปนที่ตองมีการพึ่งพาระหวางกันนี้ทําใหตัวแสดงในโลกมีการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน และเพื่อให การแลกเปลี่ยนเปนไปดวยดี ๒. ความเกี่ยวพัน ความสัมพันธระหวางประเทศเปนความสัมพันธ ที่เกี่ยวพัน ซับซอนอยางนอย ใน ๒ ประเด็น คือ ประการแรก ความเกี่ยวพันระหวางสังคมภายในและสังคม ภายนอกประเทศ และ ประการที่สอง ความเกี่ยวพันระหวางลักษณะทางการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคม ๓. อํานาจและผลประโยชน ทุกชาติในโลกกระทําการใด ๆก็โดยมุงถึงผลประโยชน ของซาติเปนสําคัญทั้งนี้สืบเนื่องมาจากความเปนอิสระของรัฐอธิปไตยตาง ๆ ซึ่งทําใหรัฐตาง ๆ ไม อาจจะรวมมือกันอยางจริงจัง โดยการมอบอํานาจในการรักษาความมั่นคงและการบริหารงานใหแก องคการที่สูงกวารัฐได ดังเชน ที่รัฐบาลของแตละประเทศมีอํานาจภายในประเทศของตนเอง ๔. วัฒนธรรมโลก เนื่องจากสภาพการตองอาศัยพึ่งพากันประกอบ กับ ความกาวหนาทางวิทยาการดานสื่อสาร และการคมนาคม ปรากฏการณที่เกิดขึ้น และเนนเดนชัดใน ความสัมพันธระหวางประเทศปจจุบันก็คือ การลอกเลียน แลกเปลี่ยนและยอมรับวัฒนธรรมตางชาติ มากขึ้นทุกที่ ๕. กลไกควบคุมพฤติกรรมรัฐถึงแมเวทีความสัมพันธระหวาง ประเทศดูจะเปนเวที อนาธิปไตย แตเนื่องจากความจําเปนตองพึ่งพากันรัฐ และตัวแสดงอื่น ๆ จึงไดกําหนดกติกาบาง ประการขึ้น และมีกลไกควบคุมการประพฤติปฏิบัติตนไวหลายอยาง ดังนี้ ๕.๑ การควบคุมตนเอง แตละรัฐอธิปไตยมิไดดําเนินนโยบาย หรือประพฤติ ปฏิบัติตนตามใจชอบเพราะการกระทําดังกลาวไมชวยใหรัฐตอบสนองผลประโยชนของตนไดเต็มที่ ในทางปฏิบัติรัฐจะมีความยับยั้งชั่งใจ และใชเหตุผลในการดําเนินการของตน ตัวอยางเชน รัฐที่มี อํานาจมากจะไมรุกราน หรือทําลายรัฐที่มีอํานาจนอยโดยสิ้นเชิง หรือรัฐจะไมแสดงความกาวราวจน เกินขอบเขตกลไกทาง การเมืองภายในรัฐ หรือประชาชนในรัฐจะชวยควบคุมพฤติกรรมของรัฐ 02_01-340_.indd 268 17/10/2562 8:38:35


269 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๒ การควบคุมโดยตัวแสดงอื่น พฤติกรรมของรัฐอาจถูกจํากัด หรือ ควบคุมโดยรัฐอื่น ๆ เชน สหรัฐอเมริกายื่นคําขาดใหสภาพโซเวียตถอนจรวดจาก คิวบา หรือหลาย ชาติรวมหัวกันเลนงานชาติที่ประพฤตินอกลูนอกทาง โดยองคการ ระหวางประเทศ เชน องคการ สหประชาชาติสงทหารเขาไปปฏิบัติการในแอฟริกา ในเกาหลี ในเลบานอน ๕.๓ การควบคุมโดยธรรมเนียมตางตอบแทนซึ่งกันและกัน กลไกควบคุมนี้ เปนลักษณะปกติธรรมดา ในเวทีความสัมพันธระหวางประเทศ กลาวคือ รัฐจะกระทําการใดลงไปตอง คํานึงวารัฐที่เกี่ยวของจะกระทําการอยางไรเชน ถา รัฐ ก. ทําสงครามกับรัฐ ข. หากรัฐ ก. กระทําการ รุนแรงกับเชลยศึกที่เปนคนของ รัฐ ข. รัฐ ข.ก็อาจกระทําการตอเชลยศึกที่เปนคนของรัฐ ก. ใน ทํานองเดียวกัน หลักการปฏิบัติตางตอบแทนเชนนี้ นํามาสูธรรมเนียมปฏิบัติซึ่งรัฐยึดถือปฏิบัติ และ ทําใหรัฐไมประพฤติตนเกินเลยขอบเขตที่ควรเปน ๕.๔ การควบคุมโดยกฎเกณฑและระเบียบที่รัฐกําหนดขึ้น ลักษณะการ ควบคุมขอนี้คลายกับการควบคุมในขอ ๖.๓ แตตางกันที่เปนการควบคุม โดยกฎเกณฑ เชน กฎหมาย ระหวางประเทศ หรือสนธิสัญญาความตกลงระหวาง ประเทศรูปตาง ๆ ความสัมพันธระหวางประเทศในปจจุบันนี้มีพื้นฐานมาจาก ความไมเทาเทียมกัน ระหวางรัฐ และจากการยึดมั่นในหลักการของอํานาจอธิปไตยของรัฐตาง ๆ ในโลก จึงทําใหเกิดการ แขงขันกันเพื่อแสวงหาหรือปกปองผลประโยชนของแตละชาติ และมีการพึ่งพาอาศัยกันและกันและ รวมมือกัน การพึ่งพาอาศัยกัน เชนนี้นํามาสูหลักการและแนวทางปฏิบัติตางๆ ซึ่งรัฐกําหนดขึ้น หรือ กระทําขึ้น เพื่อความอยูรอด และการพัฒนาของตนเองเปนที่ตั้ง หลักการ วิธีปฏิบัติการ และ พฤติกรรมตาง ๆ ของรัฐไมวาในดานความรวมมือ หรือความขัดแยงเหลานี้ เปนวงรอบซึ่งกระทบตอ พฤติกรรมของตัวแสดงอื่น ๆ นอกเหนือจากรัฐดวย ๙.๒.๓ ขอบเขตของความสัมพันธระหวางประเทศ ขอบเขตของความสัมพันธระหวางประเทศ ในที่นี้หมายถึงวา ความสัมพันธระหวาง ประเทศนั้นครอบคลุมประเด็นเรื่องราวใดบางเชนเปนเรื่องของ เศรษฐกิจ การเมือง หรือสังคมได กลาวมาแลววาความสัมพันธระหวางประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยน และปฏิสัมพันธที่เกิดขึ้นขาม เขตพรมแดนรัฐ หรือประเทศ ความสัมพันธที่เกิดขึ้นเชนนี้ อาจเปนความสัมพันธเรื่องใดเรื่องหนึ่งดัง จะกลาวตอไปนี้ ๑. ความสัมพันธทางการเมืองความสัมพันธที่เกิดขึ้นขามพรมแดนของรัฐอาจเปน ความสัมพันธในเชิงการเมืองคือความสัมพันธในแงอํานาจ และผลประโยชนเปนหลักเชนการ 02_01-340_.indd 269 17/10/2562 8:38:39


270 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ดําเนินการทางการทูต ทางทหาร การแสวงหา พันธมิตร การแทรกแซงบอนทําลายประเทศอื่น การ ใชกําลังบีบบังคับ การกําหนด และดําเนินนโยบายตางประเทศ เปนตน ๒. ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจเปนเรื่อง ของการ แลกเปลี่ยนทรัพยากรดานบริการ หรือวัตถุเพื่อตอบสนองความตองการในการอุปโภคของผู แลกเปลี่ยน เชน การซื้อขายสินคา การใหทุนกูยืม การธนาคาร เปนตน ๓. ความสัมพันธทางสังคม ความสัมพันธระหวางประเทศอาจเปน เรื่องที่มี วัตถุประสงคในการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา การศาสนา วัฒนธรรม การพักผอนหยอนใจ การ ทองเที่ยว ซึ่งเปนความสัมพันธทางสังคมขามขอบเขต พรมแดนของรัฐ ดังตัวอยางเชน การสงทูต วัฒนธรรมหรือคณะนาฏศิลปไปแสดงในประเทศตาง ๆ การเผยแพรศาสนาโดยตัวแทนทางศาสนา ของประเทศอื่น การเผยแพรศิลปะของประเทศหนึ่งในประเทศอื่น เปนตน ๔. ความสัมพันธทางกฎหมาย เมื่อมีการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ ขามเขต พรมแดนของรัฐมากขึ้น เพื่อใหกิจกรรมดังกลาวดําเนินไปโดยเรียบรอยและมี ระเบียบแบบแผน ประเทศตาง ๆ จึงไดกําหนดกฎเกณฑ ระเบียบ หรือแนวทางปฏิบัติ ที่แตละประเทศจึงยึดถือปฏิบัติใน ดานตางๆ ขึ้น กฎเกณฑหรือระเบียบนี้อาจปรากฏ ในรูปขอตกลงลายลักษณอักษร ความสัมพันธระหวางประเทศมีขอบขายกวางขวาง คือ ครอบคลุม สาระทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม กฎหมาย และวิทยาศาสตร หรือเทคโนโลยี สิ่งที่พึงตระหนัก คือ ถึงแมอาจจะแยก กลาวถึงความสัมพันธดานตาง ๆ ก็ตามแตในทางปฏิบัติแลว ความสัมพันธแตละเรื่องอาจเกี่ยวของกัน อยางมาก ก็ได เชน ความสัมพันธในดานการติดตอคาขายอาจเปนความสัมพันธทางเศรษฐกิจแต ขณะเดียวกัน อาจเปนเรื่องการเมืองก็ไดหากมีการใชการคา เพื่อวัตถุประสงค ทางการเมืองดังที่ ปรากฏอยูเปนครั้งคราววาตัวแทนทางการคาของประเทศหนึ่ง ทําหนาที่เปนนักสืบราชการลับหรือ สนับสนุนการบอนทําลายของกลุมตอตานรัฐบาล ในอีกประเทศหนึ่งเปนตน ความสัมพันธดานตาง ๆ จึงอาจสัมพันธกันในทางใดทางหนึ่งก็ได ๙.๓ เคารพสิทธิเสรีภาพและความเปนรัฐ กฎหมายสากลโดยเฉพาะแถลงการณสิทธิมนุษยชนสากลป๔ ๑๙๔๘ และอนุสัญญาระหวาง ประเทศเกี่ยวกับสิทธิดานพลเรือนและการเมืองป ๑๙๖๖ นั้นตางระบุวา การใหความเคารพและค้ํา ประกันสิทธิดังกลาวเปนทั้งเงื่อนไข และพลังขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาสังคมโดยไมจําแนกระบอบการเมือง ๔ สิทธิเสรีภาพในการพูดและการแสดงความคิด www.http://voworld.vn/th-TH, ๒๕๕๖. สืบคน เมื่องวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 270 17/10/2562 8:38:40


271 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ และระดับการพัฒนาสําหรับเวียดนามซึ่งเปนประเทศที่เขารวมอนุสัญญาระหวางประเทศเกี่ยวกับ สิทธิมนุษยชนอยางเขมแข็งในเชิงรุกก็ไดประยุกตใชมาตรฐานระหวางประเทศในการ พัฒนาระบบ กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของตนและในมาตรา ๖๙ ของรัฐธรรมนูญป ๑๙๙๒ ของเวียดนามได ระบุวา “พลเมืองมีสิทธิเสรีภาพในแสดงความคิดเห็นและดานสื่อมวลชน” กฎหมายสากลไดระบุวา ตองค้ําประกันสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของพลเมืองแตในขณะเดียวกันก็มีการกําหนดวา สิทธิของบุคคลอาจจะถูกจํากัด โดยในแถลงการณสิทธิมนุษยชนสากลป ๑๙๔๘ ไดเขียนวา ในการ ปฏิบัติสิทธิเสรีภาพของแตละบุคคลจะตองถูกจํากัดภายใตกฎหมาย เพื่อค้ําประกันการยอมรับ และ ใหความเคารพสิทธิเสรีภาพของผูอื่น และสอดคลองกับความเรียกรองที่ชอบธรรมดานคุณธรรม ความ มีระเบียบวินัยในที่สาธารณะ และสวัสดิภาพในสังคมแหงประชาธิปไตย สวนในอนุสัญญาระหวาง ประเทศเกี่ยวกับสิทธิ ดานพลเรือน และการเมืองป ๑๙๖๖ ก็มีขอกําหนดวา การปฏิบัติสิทธิเสรีภาพ ในการ แสดงความคิดเห็นตองควบคูกับการปฏิบัติหนาที่ และความรับผิดชอบพิเศษ ดังนั้น อาจจะถูก จํากัดในบางสวนเพื่อเปนการใหความเคารพสิทธิและชื่อเสียงของผูอื่น เพื่อปกปองความมั่นคงของ ชาติ และความเปนระเบียบเรียบรอยทางสังคม ทั้งนี้เปนอันวาการที่รัฐเวียดนามไดกําหนดสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นใน รัฐธรรมนูญป ๑๙๙๒ ก็เปนเรื่องปกติหรือในประมวลกฎหมายอาญา ป ๑๙๙๙ ไดระบุชัดถึง ขอกําหนดเฉพาะเกี่ยวกับเสรีภาพการแสดงความคิดเห็นใน มาตราที่ ๘๘ และ ๒๕๘ ก็ถือเปนสิ่งที่ สอดคลองกับธรรมเนียมปฏิบัติสากล ดังนั้น กอนที่แสดงทาที่เขาขางบุคคลที่ถูกหนวยงานความมั่นคง เวียดนามจับกุมตามประมวล กฎหมายอาญาเวียดนาม บล็อคเกอรและองคการระหวางประเทศตาง ๆ โดยเฉพาะ องคกรติดตามสิทธิมนุษยชนองคกรผูสื่อขาวไรพรมแดน ตองเขาใจกันวาเขาเหลานั้น ได ละเมิดกฎหมายเวียดนามและตองถูกลงโทษอยางเขมงวดเพราะพวกเขาไดใชสิทธิ เสรีภาพ ประชาธิปไตยเปนเครื่องมือเพื่อคุกคามผลประโยชนของรัฐ สิทธิและผลประโยชนที่ชอบธรรมของ องคการพลเมืองตาง ๆ มิใชเพราะเหตุผลการตําหนิติติง รัฐบาลหรือพวกเขาไดเปนนักรบตอสูเพื่อ ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนดังที่องคกร ระหวางประเทศตาง ๆ ไดเปารอง สิ่งที่นาตําหนิในเรื่องนี้ก็คือองคกรระหวางประเทศดังเชนองคกรติดตามสิทธิมนุษยชน องคกรผูสื่อขาวไรพรมแดนเองไดใชคดีตามมาตรา ๘๔ และ ๒๕๔ ของประมวลกฎหมายอาญา เวียดนามมาปดเบือนปนแตงปญหาสิทธิมนุษยชนและ สิทธิเสรีภาพการแสดงความคิดเห็นของ เวียดนามแทนที่จะทําในสิ่งที่ควรทําคือ เสนอความจริงของปญหาอยางถูกตอง และมีภาวะวิสัย มิใช เขาขายสนับสนุนบุคคลที่ ละเมิดกฎหมาย ใชสิทธิเสรีภาพ และประชาธิปไตยมาเปนโลบังหนาเพื่อ ทําลาย ภาพลักษณของประเทศเวียดนามที่พัฒนา ซึ่งตองยืนยันอีกครั้งวา สิทธิพลเรือน และการเมือง รวมทั้งสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และการใชอินเตอรเนตของพลเมืองเวียดนามทุกคนตาง ไดรับการค้ําประกันในกฎหมายและในทางปฏิบัติ และสิทธินั้นไมอาจแยกออกจากหนาที่พลเมืองได 02_01-340_.indd 271 17/10/2562 8:38:41


272 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ โดยพลเมืองเวียดนามแตละคน รวมทั้งพลเมืองของไมวาชาติใดในโลกตางตองปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย และไมมีองคกรหรือบุคคลใด ๆ สามารถดําเนินการอยูนอกระบบกฎหมายสังคมได และนี่คือสิ่งที่ทุกประเทศรวมทั้งเวียดนามตองปฏิบัติเพื่อค้ําประกันความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย โดยเฉพาะกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน การปกครองระบอบประชาธิปไตย เปนการปกครองที่มีรัฐธรรมนูญเปน แมบทกําหนดกรอบ ใหทุกภาคสวนของสังคมยึดถือและปฏิบัติรวมกัน โดยกรอบที่ สําคัญในการดํารงตนอยางเหมาะสม ของประชาชน คือ การยึดมั่นในสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด หากประชาชนทุก คนรูถึงสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว และตางปฏิบัติไดอยางถูกตองครบถวน ประชาชนในชาติยอมอยูรวมกันอยางมีความสุข และชาติบานเมืองก็จะพัฒนา และเจริญกาวหนาได อยางรวดเร็วสิทธิของตนเอง และผูอื่นตามที่บัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย การ ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองภายใตกรอบรัฐธรรมนูญโดยไมกระทบสิทธิบุคคลอื่น ยอมไดชื่อวาบุคคล นั้นเปนผูมีสวนนําพาบานเมืองใหพัฒนาในที่นี้จะกลาวถึงการปฏิบัติตนในการรักษาและเคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเอง และผูอื่น ตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติตามที่ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยกําหนดไว ดังนี้ ๙.๓.๑ การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นที่มีตอครอบครัว ครอบครัวประกอบดวยพอแมลูกทุกครอบครัวมีสิทธิที่จะไดรับความ คุมครองตาม รัฐธรรมนูญในหลายประเด็นดวยกัน โดยเฉพาะเรื่องการใชความรุนแรง และการปฏิบัติอันไมเปน ธรรม หมายความวา พอ แม และลูกจะตองไมใชความรุนแรง หรือปฏิบัติตอกันอยางไมเปนธรรม กรณีระหวางสามีภรรยาจะตองเคารพ และรับฟงความคิดเห็นของกัน และกันไมตัดสินปญหาโดยใช กําลัง กรณีระหวางบุตร กับบิดามารดา บุตรตองเชื่อฟงคําสั่งสอนของบิดามารดา บิดามารดาจะตอง อบรมสั่ง สอนบุตรโดยใชเหตุผล ไมใชการแกไขพฤติกรรมลูกดวยการเฆี่ยนตี เลี้ยงลูกดวยรัก ความ เขาใจ และใชสิทธิเสรีภาพในการแสวงหาความสุขสวนตัวแตตองอยูในขอบเขต และไมทําใหเกิดความ เดือดรอนหรือสรางปญหาใด ๆ ใหแกบิดามารดา ๗.๓.๒ การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นที่มีตอชุมชน และสังคม สมาชิกทุกคนในสังคมมีสิทธิเทาเทียมกันในการดํารงชีวิตในสังคม โดยสิทธิดังกลาว จะตองไมละเมิดสิทธิของสมาชิกคนอื่นในสังคม ในที่นี้ขอยกตัวอยาง สิทธิของตนเองที่มีตอชุมชนบาง ประการ ดังนี้ 02_01-340_.indd 272 17/10/2562 8:38:45


273 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. เสรีภาพในเคหสถานชาวไทยทุกคนยอมมีเสรีภาพในเคหสถานที่จะ สามารถ อาศัยและครอบครองเคหสถานของตนโดยปกติสุข ไมวาจะเกิดจาการเชา หรือเปนเจาของกรรมสิทธิ์ ซึ่งบุคคลอื่นจะตองใหความเคารพในสิทธินี้ แมแต เจาหนาที่ของรัฐหากจะตองเขาไปดําเนินการตาม กฎหมายใด ๆ เชน การตรวจคน เคหสถานของประชาชนก็จะทําการมิได เวนแตจะมีหมายคนที่ออก โดยศาลเทานั้น ๒. เสรีภาพในหารเดินทางและการติดตอสื่อสารชาวไทยทุกคนมี เสรีภาพที่จะ เดินทางไปในที่ตาง ๆ บนผืนแผนดินไทยไดทุกพื้นที่ของประเทศไทย และสามารถเลือกถิ่นที่อยูอาศัย ณ ที่ใดก็ไดในประเทศไทยรวมทั้งชาวไทยทุกคน สามารถที่จะติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่นไมวาจะเปน ทางจดหมาย โทรศัพท หรืออินเทอรเน็ต ๓. เสรีภาพในการนับถือศาสนา สมาชิกทุกคนในสังคมมีสิทธิ เสรีภาพ ที่จะนับถือ ศาสนาแตกตางกันได ซึ่งบุคคลอื่นในสังคมรวมทั้งรัฐจะตองใหความเคารพ สิทธิเสรีภาพในเรื่องนี้ดวย ๔. เสรีภาพในทางวิชาการ เยาวชนไทยทุกคนจะตองไดรับการศึกษาขึ้นพื้นฐานไม นอยกวา ๑๒ ป โดยไมเสียคาใชจาย นอกจากนี้คนไทยทุกคนยังมีสิทธิในการที่จะศึกษาคนควา หรือ ทําวิจัยตามที่ตองการโดยไมขัดตอกฎหมาย ๕. เสรีภาพในการชุมนุมอยางสงบโดยปราศจากอาวุธ หมายถึง ประชาชนทุกคนมี สิทธิเสรีภาพในการชุมนุมแตตองเปนไปโดยสงบ ปราศจากอาวุธ และตองไมรบกวนสิทธิของผูอื่น การ ปราศจากอาวุธนั้นหมายรวมถึงหามทุกคนที่มารวมชุมนุมพกพาอาวุธเขามามาในที่ชุมนุมเด็กขาด บุคคลใดพกพาอาวุธเขามาในที่ชุมนุม บุคคลนั้นจะไมไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญในกรณีที่ได กลาวมาขางตน ๖. สิทธิเสรีภาพในการอนุรักษและฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญา ทองถิ่น ทุกคน ยอมมีสวนรวมในการอนุรักษ และรวมสืบสานศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่น และของ ประเทศชาติเพื่อใหดํารงอยูตอไปกับอนุชนรุนหลัง ๗. สิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ โดยเสรีภาพในหารประกอบอาชีพจะตองไม เอารัดเอาเปรียบผูอื่น เชน ผูประกอบการจะตองเคารพ และซื่อสัตยตอผูบริโภคและไมเอาเปรียบ ผูบริโภค เปนตน 02_01-340_.indd 273 17/10/2562 8:38:46


274 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. สิทธิในการมีสวนรวมในที่นี้ หมายถึง สิทธิการมีสวนรวมใน กระบวนการ พิจารณาของเจาหนาที่รัฐเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการดานการปกครอง อันมีผลกระทบตอสิทธิ และ เสรีภาพของคนในสังคมโดยตรง ๒. สิทธิที่จะฟองรองหนอยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวน ทองถิ่น เชน เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวน จังหวัด หรือองคกรของรัฐที่เปน นิติบุคคล ประชาชนมีสิทธิที่จะฟองรองหนวยงานตาง ๆ เหลานี้ใหรับผิดชอบ หากการกระทําใด ๆ หรือการละเวนการกระทําใด ๆ ของขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยงานนั้น สงผลกระทบ ตอการดําเนินชีวิตของประชาชนตอศาลปกครอง ๓. สิทธิที่จะตอตานโดยสันติวิธี การกระทําใดจะที่เปนไปเพื่อใหไดมา ซึ่งอํานาจใน การปกครองประเทศ โดยวิธีการซึ่งมิไดเปนไปตามวิถีทางที่บัญญัติไดในรัฐธรรมนูญ เชน การตอตาน การทําปฏิวัติรัฐประหาร เปนสิ่งที่ประชาชนมีสิทธิที่จะออกมาตอตาน แตตองเปนไปโดยสันติวิธี ๙.๓.๕ แนวทางการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่น การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองและผูอื่นในสังคมเปนสิ่งที่ชวยจัดระเบียบใหกับ สังคมสงบสุข โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ ๑. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไมละเมิดสิทธิเสรีภาพของผูอื่น สามารถแสดงออก ไดหลายประการ เชน การแสดงความคิดเห็น การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น เปนตน ๒. รูจักใชสิทธิของตนเองและแนะนําใหผูอื่นรูจักใชสิทธิของตนเอง ๓. เรียนรูและทําความเขาใจเกี่ยวกับหลักสิทธิเสรีภาพตามที่บัญญัติไว ในรัฐ ธรรมนูญ เชน สิทธิเสรีภาพของความเปนมนุษย สิทธิเสรีภาพในเคหสถานเปนตน ๔. ปฏิบัติตามหนาที่ของชาวไทยตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ เชน การออกไปใช สิทธิ์เลือกตั้ง การเสียภาษีใหรัฐเพื่อนําเงินมาพัฒนาประเทศ เปนตน ๙.๓.๖ ผลที่ไดรับจากการปฏิบัติตนเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่น ๑. ผลที่เกิดกับประเทศชาติ หากประชาชนมีความสมัครสมานรักใคร สามัคคี ไมมี ความแตกแยก ไมแบงเปนพวกเปนเหลา บานเมืองก็จะสงบสุขเกิดสวัสดิภาพ บรรยากาศโดยรวมก็จะ สดใส ปราศจากการระแวงตอกัน การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ สามารถดําเนินไปอยางราบรื่น นักลงทุน นักทองเที่ยวก็จะเดินทางมาเยือนประเทศของเราดวยความมั่นใจ ๙.๓.๓ การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นที่มีตอประเทศชาติ 02_01-340_.indd 274 17/10/2562 8:38:47


275 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒. ผลที่เกิดขึ้นกับชุมชนหรือสังคม เมื่อประชาชนในสังคมรูจักสิทธิ ของตนเอง และ ของคนอื่นก็จะทําพาใหชุมชนหรือสังคมเกิดการพัฒนาเมื่อสังคมมั่นคงเขมแข็งก็จะมีสวนทําให ประเทศชาติเขมแข็ง เพราะชุมชนหรือสังคมเปนสวนหนึ่งของประเทศชาติบานเมืองโดยรวม ๓. ผลที่เกิดขึ้นกับครอบครัว ครอบครัวเปนสถาบันแรกของสังคม เมื่อครอบครัว เขมแข็ง และอบรมสั่งสอนใหสมาชิกในครอบครัวทุกคนรูบทบาท สิทธิ เสรีภาพของตนเองและปฏิบัติ ตามที่กฎหมาย และรัฐธรรมนูญไดใหความคุมครองไดอยางเครงครัด โดยไมละเมิดสิทธิเสรีภาพของ สมาชิกอื่นในสังคม ก็จะนําพาใหสังคม และประเทศชาติเขมแข็งตามไปดวย๕ ๙.๔ เคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิมนุษยชน (Human Rights) เปนแนวคิดที่มีรากฐานมาจากความเชื่อ ปรัชญา คําสอน ทางศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรมของสังคมและวัฒนธรรมตาง ๆ ในโลกที่เชื่อวามนุษยที่เกิดมาทุก คนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู เชน ทุกศาสนามีบัญญัติหามการทําลายชีวิตมนุษย นอกจากนั้นมีปรัชญา ความเชื่อในวัฒนธรรมตะวันตกที่วา มนุษยมีสิทธิโดยธรรมชาติในฐานะที่เกิดเปนมนุษย โดยมนุษยมี ความชอบธรรม ในดานจริยธรรมที่จะรักษาชีวิตของตนเอง มีอิสระทางความคิด และเชื่อวาไมวาแต ละ คนจะมี ความแตกตางกันในดานใดทุกคนมีศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย โดยเทาเทียมกันหลังจาก สงครามโลกครั้งที่ ๒ ไดสิ้นสุดลง แนวคิดดานสิทธิมนุษยชนดังกลาว ไดรับการยอมรับและให ความสําคัญจากทั่วโลกมากขึ้น เนื่องจากประชาคมโลกไดตระหนักถึงความโหดรายทารุณของสงคราม และการฆาลางเผาพันธุ การกระทําย่ํายีตอสตรี เด็ก และคนชรา ที่มนุษยไดกระทําตอมนุษยดวยกัน ซึ่งผลจากสงครามครั้งนี้ นําไปสูการพัฒนากฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ (International HumanRights Laws) ซึ่งเปนหลักการ ขอตกลง ระบบ และกลไกดานสิทธิมนุษยชน ที่เปนมาตรฐาน และไดรับการยอมรับในระดับสากล เพื่อปกปองคุมครองสิทธิ มนุษยชนของทุกคนในโลกนี้ ดังนั้นใน ปจจุบัน ความเชื่อและแนวคิดที่วามนุษยทุกคน มีสิทธิและศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษยโดยเทาเทียม กัน จึงไดรับการคุมครองโดยหลักการและกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศรวมถึงกฎหมายใน ระดับประเทศ เชนรัฐธรรมนูญของประเทศตางๆ ซึ่งบัญญัติหลักการสิทธิมนุษยชนไวดวย ๕ การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นที่มีตอประเทศชาติ https://www.google.com/search?ei=OPnWW๗nl/d๘_yrAHzvpmYDA&q=สืบคนเมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 275 17/10/2562 8:38:52


276 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ แมวาในทางแนวคิดและในทางปฏิบัติไมไดมีการแบงสิทธิมนุษยชนเปนประเภทตาง ๆ แต เมื่อพิจารณาประวัติศาสตรการพัฒนาและการตอสู เพื่อสิทธิ มนุษยชนที่ผานมาทั้งในตางประเทศ และในประเทศไทยวาดวยสิทธิมนุษยชน จัดแบงออกเปน ๓ ประเภทคือ ๑. สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งหมายถึงสิทธิในชีวิตเนื้อตัวรางกายใน ศักดิ์ในความเทาเทียมกันโดยเฉพาะทางกฎหมายสิทธิที่จะไดรับความ ยุติธรรมในกระบวนการ ยุติธรรม สิทธิที่จะไมถูกทรมานไมถูกบังคับใหสูญหาย ไมถูกบังคับใหเปนทาส สามารถเดินทางยายถิ่น มนุษยแตละคนตองอยูรวมกับผูอื่นในสังคม ซึ่งยอมตองการมีสวนรวมในสังคมการเมือง ดังนั้น สิทธิใน การเลือกตั้ง การมีสวนรวม ในทางการเมือง สิทธิในการแสดงออกซึ่งความคิดเห็น การพูด สิทธิในการ สื่อสาร และขอมูลขาวสาร สิทธิในการรวมกลุม และรวมตัวกัน ๒. สิทธิในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สิทธิพื้นฐานสําคัญ ไมอาจถูก ละเมิดไดคือสิทธิที่จะมีชีวิตความเปนอยูที่ดีและอยางมีศักดิ์ศรี ซึ่งนั่น หมายถึงวาแตละคนตองมีงาน ทําและไดรับคาจางที่เทาเทียมกันในงานประเภทเดียวกัน มีสภาพการทํางานที่ปลอดภัยสามารถ รวมตัวกันตอรองเพื่อสวัสดิภาพ และสวัสดิการของตนเอง และครอบครัวได มีปจจัยสี่ที่พรอมเพียงไม วาจะเปนอาหาร ที่อยูอาศัย การเขาถึงบริการทางการแพทย และสุขอนามัยการถือครองทรัพยสินการ ไดรับการศึกษาเทาที่ตองการ และเทาที่ความสามารถในการเรียนรูจะอํานวยให รวมถึงสิทธิที่จะไดรับ ประโยชนจากผลพวงของการพัฒนาทั้งทางเศรษฐกิจการเมือง วัฒนธรรม และความกาวหนาทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓. สิทธิทั้งสามประเภทนั้น มักถูกมองวาไมสามารถพัฒนาไปดวยกัน ได ในแงที่วา หากตองการไปถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ และสังคมก็ตองกําจัดสิทธิทาง การเมืองสิทธิพลเมืองบางอยาง เชน ความคิดที่วาการที่ประชาชนมีเสรีภาพในการแสดงออก ซึ่งความคิดเห็นการรวมตัวกันอาจไมเอื้อ ตอการดํารงไวซึ่งเสถียรภาพ ทางการเมืองอาจสงผลใหสังคมวุนวายไรระเบียบเปนอันตรายตอความ มั่นคงของชาติ อันจะสงผลถึงการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม เพราะไมอื่นตอบรรยากาศการลงทุน แตใน ความเปนจริงสิทธิแตละประเภทลวนเชื่อมโยง สามารถแสดงความคิดเห็นได อยางอิสระ ความขัดแยง ระหวางรัฐกับประชาชนจะมีนอยลงหากประชาชนมีสวนรวม ในกระบวนการตัดสินใจที่สงผลกระทบ ตอการดําเนินชีวิตของชุมชน และสังคมโอกาส ที่จะอยูรวมกันอยางสันติก็มีมากขึ้น ซึ่งหมายถึงวา สังคมไมวุนวาย การเมืองมีเสถียรภาพภายใตเงื่อนไขที่ไมมีการแยงชิงอํานาจกันเอง อยางไรก็ตาม ในทางทฤษฎีทางการเมืองเชื่อวา เหตุผลการดํารงอยู ของรัฐก็เพื่อปกปอง คุมครองประชาชน และใหหลักประกันวาประชาชนจะมีชีวิตอยูอยางสงบสุขปราศจากภัยใด ๆ ในทาง กฎหมายโดยเฉพาะกฎหมายระหวางประเทศ วาดวยสิทธิมนุษยชน รัฐมีหนาที่อยางนอย ๕ ประการ คือ 02_01-340_.indd 276 17/10/2562 8:38:52


277 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑) การเคารพสิทธิของประชาชนและไมแทรกแซงในชีวิตของประชาชน ไมเขาไป จัดการชีวิตของประชาชน ๒) คุมครองประชาชนไมใหถูกละเมิดโดยบุคคลที่สามและโดยเจาหนาที่ของรัฐเอง ๓) ใหบริการทางสังคมและโครงสรางพื้นฐานอื่น ๆ ที่จําเปนตอการดํารงชีวิตที่ดีของ ประชาชน ๔) สรางสถาบัน กฎหมาย นโยบาย และกลไกตาง ๆ ที่จําเปนตอการเขาถึงสิทธิของ ประชาชน และเพื่อดูแลสิทธิของประชาชน ๕) สงเสริมสิทธิของประชาชนดวยการสรางองคความรูความ ตระหนักใหกับ เจาหนาที่และคนในสังคม๖ ๔. ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ในรัฐเสรีประชาธิปไตยสมัยใหม แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิ มนุษยชน ไดนํามาบังคับใหเกิดผลทางกฎหมายระหวางประเทศครั้งแรก ของโลกจากพิจารณาคดีที่ เมืองนูเร็มเบิรก (Nuremberg Trials) ตอมามีการกอตั้ง องคการสหประชาชาติขึ้นในป ค.ศ. ๑๙๔๕ สิทธิมนุษยชน ไดกลายมาเปน แนวความคิดสําคัญในการจัดระเบียบโลกใหม ภายใตหลักการพึ่งพา อาศัยระหวางกัน เพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคงของประชาคมระหวางประเทศ (international peace and security) กลาวคือ สันติภาพและความสงบสุขจะบังเกิดขึ้น ก็ตอเมื่อประเทศตาง ๆ ให ความเคารพตอสิทธิมนุษยชน และเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา คุณคาอันเปนสากลและเปนที่มาของ หลักการสิทธิมนุษยชน คือ“ศักดิ์ศรีความเปน มนุษย” (human dignity)”๗ หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จึงเกิดปรากฏการณที่รัฐเสรีประชาธิปไตยตางๆ ทั่วโลก ไดนํา แนวความคิดเกี่ยวกับศักดิ์ศรีความเปนมนุษยมาบัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญของตนควบคูไปกับสิทธิและ เสรีภาพขั้นพื้นฐานรวมถึงประเทศไทย ซึ่งมีการบัญญัติรับรองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยในรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อยางไรก็ตาม ภายใตหลักนิติรัฐ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยจะไดรับการเคารพ และคุมครอง ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย อยางแทจริง ๖ ขอมูลสวนหนึ่งจากรายงานประเมินสถานการณ สิทธิมนุษยชน ป ๒๕๕๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติ โดย ดร.วีระ จุฑาคุปค ขอมูลจาก http://www.mcutak.com/default.asp?conten=contentdetail&id. สืบคนเมื่อ ๑ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ ๗ อารัมภบทของกฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of United Nations) บัญญัติวา “เพื่อเปนการยืนยันอีก ครั้ง ในศรัทธาที่มีตอสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ตอศักดิ์ศรี และคุณคาของ มนุษย ตอสิทธิที่เทาเทียมกันของผูชาย และผูหญิง และตอสิทธิที่ความเทาเทียมกันของประเทศ สมาชิกใหญนอยทั้งหลาย” 02_01-340_.indd 277 17/10/2562 8:38:53


278 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๕. ความหมายของศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย ตามพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถานไดใหความหมายของคาวา “ศักดิ์ศรี” (dignity) วา หมายถึง เกียรติศักดิ์ สวน คํา วา “เกียรติ” ๘ หมายถึง ชื่อเสียง การยกยองนับถือ ความมีหนามีตา” ๙ และคําวา “ศักดิ์” หมายถึง อํานาจ ความสามารถ กําลัง ฐานะ๑๐ ความหมายเหลานี้สอดคลองกับความหมายของคําวา “ dignity” ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษาโรมัน คําวา “dignitas” ในสมัยโรมัน คําวา “ศักดิ์ศรี” (dignitas) ความหมาย เกี่ยวของกับ สถานะของ บุคคล “ศักดิ์ศรี” จึงหมายถึง ระดับชั้นทางการเมืองหรือทางสังคม (political or social rank) ที่มา จากการมีตําแหนงเปนเจาหนาที่ของรัฐ รวมถึงอาจมาจากการยอมรับของประชาชนในความสําเร็จ สวนบุคคลหรือ ความมีศีลธรรม ที่สูงสงของบุคคลนั้น การยอมรับสถานะของ “ศักดิ์ศรี” ของบุคคล เชนนี้ จึงกอใหเกิดหนาที่ตอบุคคลอื่นที่จะตองใหความเคารพและใหเกียรติบุคคลผูมีศักดิ์ศรีดังกลาว หากผูใดละเมิดตอหนาที่ อาจถูกลงโทษในทางใดทางหนึ่ง ไมวาจะทางอาญาหรือทาง แพงก็ได๑๑ ใน แงนี้ จะเห็นไดวา ศักดิ์ศรี มีลักษณะพื้นฐาน ที่ไมตางจาก สิทธิ ในความหมายปจจุบันซึ่งเปน ความชอบธรรมที่จะเรียกรองใหบุคคลอื่นมีหนาที่อยางใด อยางหนึ่งตอตนผูทรงสิทธิหรือศักดิ์ศรีนั้น ๖. ความเปนมาโดยสังเขปเกี่ยวกับสถานะทางกฎหมายของศักดิ์ศรี ความเปน มนุษย ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights ๑๙๔๔) ได นํามาซึ่งการยอมรับของประชาคมระหวางประเทศอยางกวางขวาง ในความสําคัญของศักดิ์ศรีความ เปนมนุษย ในปจจุบันนี้ หากมีการ กลาวถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษยในฐานะที่เปนคุณคาของสิทธิ มนุษยชนยอมตองยอน กลาวถึงปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนดังนั้น ประวัติศาสตรของการราง ปฏิญญา สากล วาดวยสิทธิมนุษยชน จึงใหบทเรียนที่สําคัญเกี่ยวกับสถานะทางกฎหมายของ ศักดิ์ศรี ความเปนมนุษย ซึ่งตอมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ไดปรากฏอยางแพรหลาย ในรัฐธรรมนูญของ ประเทศตาง ๆ ในการยกรางปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ในชั้นแรกนั้นไดมี ความพยายามที่ จะกําหนดสิทธิมนุษยชนเปนรายการ (checked lists) แตการกระทําเชนนี้เปนการยากที่จะไดรับ ๘ ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, น, ๑๐๙๔. ๙ เพิ่งอาง, น. ๑๔๗. ๑๐ เพิ่งอาง, น. ๑๐๙๔. ๑๑ Barroso, Luis Roberto. (60 ml). Here, There, and Everywhere: Human Dignity in Contemporary Law and in the Transnational Discourse. Boston College International Law and Comparative Law Review, ๓ ๕ (๒): ๓ ๓ ๑ - ๔ ๓ , p. 9 ต. http://lawdigitalcommons.bc.edu/ickr/vol ๓๕/iss๒/๒ สืบคนเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 278 17/10/2562 8:38:54


279 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความเห็นพองตรงกันของตัวแทนจากประเทศตางๆ ซึ่งมี มุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับรากฐาน (foundations) อันเปนตั้งของ สิทธิมนุษยชน ตัวอยางเชน ตัวแทนของบางประเทศ เห็นวา สิทธิ มนุษยชนควรมีฐานมาจากหลักคําสอน จากความไมเห็นพองกันในหลักการอันเปนรากฐานของสิทธิมนุษยชน ในชวงเวลา นั้น ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย จึงถูกนําเขามาเปนสวนหนึ่งของการอภิปราย และถกเถียงกันในที่ประชุม ของตัวแทนประเทศตาง ๆ แนวความคิดวาดวยศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยเปนแนวความคิดที่ทําให ตัวแทนของประเทศตาง ๆ ที่มีความเชื่อ หรือตางวัฒนธรรมกันสามารถเห็นพองรวมกันไดในระดับ หนึ่งวา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย มีความเปนสากลมากที่สุด ในบรรดาแนวความคิดทั้งหลายที่เกี่ยวของ แมเนื้อหา สารัตถะ และขอบเขตที่แนนอนชัดเจนของศักดิ์ศรีความเปนมนุษยจะยังคง เปนที่ถกเถียง กันตราบจนปจจุบันนี้ก็ตาม๑๒ ๗. การใหคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยในประเทศไทยหลักการที่สําคัญ เกี่ยวกับศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษยตามรัฐธรรมนูญ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยปรากฏในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ครั้งแรกใน รัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเปนฉบับที่ใชบังคับในปจจุบัน ไดบัญญัติรับรองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยไวใน หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๔ ซึ่งบัญญัติ วา “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ ภาคของบุคคลยอมไดรับ ความคุมครอง” เมื่อพิจารณาวา สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคของ บุคคล เปนหลักการสูงสุดที่กําหนดโครงสรางพื้นฐานของระบอบความสัมพันธระหวางรัฐ กับบุคคลใน รัฐเสรีประชาธิปไตยแลว การที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองการใหคุมครอง ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ไว ในมาตราแรก ๆ ของรัฐธรรมนูญ และในมาตราเดียวกันกับหลักการสูงสุดวาดวยเรื่องสิทธิ และ เสรีภาพดังกลาว ยอมแสดงใหเห็นวา ศักดิ์ศรี ความเปนมนุษย มีฐานะเปนหลักการสูงสุดของ รัฐธรรมนูญที่กําหนดความสัมพันธ ระหวางรัฐกับบุคคลไปดวย นอกจากนี้ สถานะของศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามมาตรา ๒๖ เปน สถานะที่ผูกพัน องคกรของรัฐทุกองคกรที่จะตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพ การคํานึงถึง ดังกลาวอาจแสดงออกไดใน ๒ ลักษณะ คือ ๑๒ McCrudden, Christopher. (oooh ). Human Dignity and Judicial Interpretation of Human Rights, The European Journal of International Law, od(): ๖๕๕ - ๗๒๔, p. ๓๖. www.ejit.org/pdfs, สืบคนเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 279 17/10/2562 8:38:59


280 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ลักษณะแรก องคกรของรัฐจะตองละเวนการกระทําใด ๆ ที่จะเปนการละเมิดตอ ศักดิ์ศรี ความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพ ลักษณะที่สอง รัฐมีภาระหนาที่ที่จะตองสงเสริมใหศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและ เสรีภาพของปจเจกบุคคล เอื้อตอการบรรลุเปาหมายในการดํารงอยูของบุคคลอยางมีศักดิ์ศรีสวน สถานะของศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามมาตรา ๒๘ อาจแสดงออกมาใน ๒ ลักษณะเชนกัน คือ ลักษณะที่หนึ่ง ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย มีสถานะเชนเดียวกับสิทธิและเสรีภาพ ซึ่งเทากับวา บุคคลที่ ถูกละเมิดศักดิ์ศรีความ เปนมนุษยสามารถจะใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูในคดีได ลักษณะที่สาม เมื่อศักดิ์ศรีความเปนมนุษยมีสถานะเชนเดียวกับสิทธิ และเสรีภาพ ศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยยอมอยูภายใตเงื่อนไขเชนเดียวกับสิทธิ และเสรีภาพ กลาวคือ การใชศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยจะใชไดเทาที่ไมเปนการละเมิด สิทธิ และเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอ รัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน นอกจากนี้ ในระบบกฎหมายไทย มาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติ คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ไดบัญญัติไววา “สิทธิ มนุษยชน หมายความวา ศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค ของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตาม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมี พันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม” เมื่อพิจารณาเหตุผลในการออกพระราชบัญญัติฉบับนี้ซึ่งเปนการอนุวัติ การตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ในอันที่จะคุมครองสิทธิ เสรีภาพ ตลอดจนความเสมอภาค ของ ประชาชน จึงพอจะอนุมานไดวา “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย” ไดรับการยอมรับให มีสถานะทาง กฎหมายโดยปริยาย และยอมไดรับการคุมครองภายใตระบบกฎหมายไทย ผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาลและองคกรอื่นของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การการใชบังคับกฎหมาย และ การตีความกฎหมายทั้งปวงไมตางจากสิทธิ และเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่รัฐธรรมนูญรับรองไวโดยชัด แจง๑๓ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย จึงเปนรากแกว หรือพื้นฐานของแนวความคิดสิทธิมนุษยชนที่สามารถ กอใหเกิด การบังคับการตามกฎหมายบานเมืองของรัฐได๑๔ ๑๓ อุดม รัฐอมฤต, นพนิธิ สุริยะ และบรรเจิด สิงคเนติ. (๒๕๔๔), การอางศักดิ์ศรีความ เปนมนุษย หรือ ใชสิทธิและเสรีภาพของบุคคลธรรมดาตามาตรา ๒๘ ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. กรุงเทพฯนานาสิ่งพิมพ, น. ๘๕-๘๖. ๑๔ นพนิธิ สุริยะ. (๒๕๔๓), ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย: มองจากบริบทของไทย, วารสารนิติ ศาสตร คณะนิติ ศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๓, น. ๕๐๕. 02_01-340_.indd 280 17/10/2562 8:38:59


281 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๙.๕ การเจรจาขอขัดแยง ความขัดแยงเปนสาเหตุหนึ่งของความเครียดในองคการ ความขัดแยงเกิดจากฝายตาง ๆ ที่ไม อาจหาขอยุติรวมกัน ไดกลาวคือเมื่อไรก็ตามที่คนตั้งแตสองคน หรือสองกลุมมีความแตกตางกันใน ประเด็นที่สําคัญผลที่สุด ก็คือเกิดขัดแยงกันขึ้น ดังนั้น ความขัดแยงสามารถเกิดขึ้นระหวางบุคคล หรือระหวางกลุมก็ได ซึ่งสวนใหญมาจากการยื้อแยงทรัพยากรที่มีอยูจํากัด หรือจากการใชพฤติกรรม เชิงการเมืองตอกัน โดยบุคคล หรือกลุมเชื่อวาขณะที่ตนพยายามที่จะใหบรรลุเปาหมายของตน แตถูก ขัดขวางจากบุคคล หรือกลุมอื่นจึงเกิดความรูสึกขัดแยง และแสดงการเปนปฏิปกษตอบโตโดยตรง หรือโดยวิธีอื่นก็ได ความขัดแยงในองคการเปนสิ่งที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได และแมคนสวนมาก มองวาความขัดแยง กอใหเกิดผลเสีย และควรขจัดใหหมดไปก็ตามแตโดยความจริง ความขัดแยงก็เปนสิ่งที่ดี และมี ประโยชนเชนกันองคการใดที่ปราศจากความขัดแยง โดยสิ้นเชิงจะมีบรรยากาศของความเฉื่อยชาขาด ชีวิตชีวา และกําลังเดินไปสูความตกต่ํา องคการใดที่มีความขัดแยงอยูในระดับปานกลางที่พอเหมาะ นอกจากไมกอใหเกิดความแตกแยกแลว ความขัดแยงดังกลาวยังเปนเสมือนเครื่องมือไปกระตุน ให เกิดความคิดริเริ่มสรางสรรคใหม ๆ สงเสริมการแขงขันเชิงสรางสรรค กอเกิดพฤติกรรมที่มีพลัง สามารถนําไปสูการเปลี่ยนแปลงที่ดีได ดังนั้นประเด็นสําคัญของปญหาจึงมิใชอยูที่ตัวความขัดแยงเอง แตอยูที่วิธีการบริหารความขัดแยงมากกวา ในแงผลกระทบตอองคการ กลาวคือ จะจัดการใหความ ขัดแยงนั้นสงผลดีตอองคการ (Functional Conflict) หรือใหความขัดแยงกลายเปนอุปสรรคขัดขวาง การทํางานขององคการ (Dysfunctional Conflict) ๙.๕.๑ นิยามของความขัดแยง ความขัดแยงเปนกระบวนการที่ฝายหนึ่งรับรูวาอีกฝายหนึ่งกระทําการ หรือคิดที่จะ กระทําการใหเกิดผลกระทบทางลบตอผลประโยชนของฝายตน จากนิยามดังกลาวสรุปไดวาความ ขัดแยง ประกอบดวย ๑. มีผลประโยชนตรงกันขามระหวางบุคคลหรือกลุม ๒. ยอมรับการอยูตรงขามกัน ๓. แตละฝายตางเชื่อวาอีกฝายหนึ่งจะขัดขวางตอผลประโยชนของฝายตน และ ๔. มีการกระทําเพื่อใหเกิดการขัดขวางดังกลาวขึ้นจริง 02_01-340_.indd 281 17/10/2562 8:39:00


282 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๙.๕.๒ แนวความคิดที่เกี่ยวกับความขัดแยง เปนที่ยอมรับวาเกิดความขัดแยงอยูทั่วไปในองคการ และความขัดแยง เปนสิ่งสําคัญ ที่ไมอาจละเลยได มีรายงานวา ผูบริหารตองใชเวลาโดยเฉลี่ยถึง ๒๐ เปอรเซ็นต ในการเกี่ยวของกับ ความขัดแยง หรือผลจากความขัดแยง มีหลายมุมมองที่เปนความเชื่อเกี่ยวกับความขัดแยง เชน ทัศนะแบบดั้งเดิมที่เชื่อวาความขัดแยงเปน สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง เพราะสงผลเสียหายตอการทํางานของ กลุม มุมมองที่สองซึ่งเปน แนวคิดดานมนุษยสัมพันธที่เชื่อวา ความขัดแยงถือเปนเรื่องปกติตาม ธรรมชาติที่ไม อาจหลีกเลี่ยงไดไมวาในกลุมใด ๆ ก็ตาม และไมใชเปนสิ่งที่เลวรายแตอยางใด แต ในทางตรงกันขามกลับสรางพลังการทํางานของกลุมยิ่งขึ้น สวนมุมมองที่สามซึ่งเปนแนวคิดลาสุดที่ คอนขางมองกวางออกไปวาความขัดแยงไมเพียง แตชวยสรางพลังการทํางานใหกับกลุมแตยังเปน สิ่งจําเปนสูงสุด (Absolute necessary) ตอกลุมในการทํางานใหบรรลุเปาหมายมุมมองนี้จึงเรียกวา แนวคิดเชิงนักปฏิสัมพันธ (Interactionist approach) โดยจะกลาวรายละเอียดในแตละแนวคิด ดังตอไปนี้ ๑. แนวคิดแบบดั้งเดิม (The traditional view) เปนมุมมองยุค เริ่มแรกที่เชื่อวา บรรดาความขัดแยงทั้งหลายลวนเปนสิ่งที่เลวราย ความขัดแยงถูกมองในแงลบ และมักจะให ความหมายเหมือนหรือใกลเคียงกับคําวา ความรุนแรง (Violence) หรือคําวา การทําลาย (Destruction) หรือคําวา ความไรเหตุผล (Irrationality) ซึ่งแฝงความหมายที่ไมดีจากนิยามเชนนี้ ความขัดแยงจึงเปนเรื่องที่ เสียหายมีอันตรายและควรหลีกเลี่ยง เปนแนวคิดเกิดขึ้นชวงระหวาง ค.ศ. ๑๙๓๐ - ๑๕๔๐ ทัศนะความขัดแยงตามแนวคิดดั้งเดิมจึงสอดคลองกับเจตคติ ที่มีในอดีตเกี่ยวกับ พฤติกรรมกลุมโดยมองความขัดแยง วามีสาเหตุมาจากการสื่อ ความหมายที่ไมดีหรือเกิดจากการที่ สมาชิกไมไววางใจ และไมยอมเปดเผยซึ่งกันและกันรวมถึงความลมเหลวของผูบริหารที่ขาดการ สนองตอบตอความตองการ และแรงจูงใจของผูใตบังคับบัญชาของตนไดอยางเหมาะสม ๒. แนวคิดเชิงมนุษยสัมพันธ (The human relations) มุมมองเชิงมนุษย สัมพันธเชื่อวาความขัดแยงเปนเรื่องปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติไดในทุกกลุม หรือทุกองคการ และ เนื่องจากความขัดแยงเปนสิ่งที่มิอาจหลีกเลี่ยงได แนวคิดเชิงมนุษยสัมพันธจึงใหการสนับสนุนและ ยอมรับเรื่องความขัดแยงใหเหตุผลสนับสนุน การตองมีความขัดแยงอยูการไมสามารถขจัดความ ขัดแยงใหหมดไป และนับครั้งไมถวนที่ความขัดแยงกลับสงเสริมการทํางานของกลุมแนวคิดเชิงมนุษย สัมพันธมีความนิยมมากชวงระหวางทศวรรษ ๑๙๔๐ - กลางทศวรรษ ๑๙๗๐ ๓. แนวคิดแบบนักปฏิสัมพันธ (The interactionist view) ในขณะที่มุมมองเชิง มนุษยสัมพันธใหการยอมรับเรื่องความขัดแยงนั้นแนวคิดแบบนักปฏิสัมพันธกลับกระตุนสงเสริมให 02_01-340_.indd 282 17/10/2562 8:39:01


283 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation เกิดความขัดแยงขึ้น ดวยเหตุผลวาเมื่อไรก็ตาม ที่กลุม หรือองคการ เปนอันหนึ่งอันเดียวกันอยูกัน อยางสงบสุข คิด หรือทําสิ่งใดมักไป ในทางเดียวกันแลว เมื่อนั้นคือภาวะการเริ่มตกต่ํา เสื่อมถอยของ องคการที่เกิดจาก การอยูคงที่นาน ๆ ขาดการปรับตัวจึงไมอาจตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงและ นวัตกรรมใหม ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลาไดอีกตอไปดังนั้นแนวคิดของนักปฏิสัมพันธ ที่สําคัญก็คือทําการ กระตุนและเสนอแนะผูนํากลุมใหทําการคงความขัดแยงไวในองคการ ในระดับที่เพียงพอที่กลุมยัง สามารถทํางานรวมกันได เกิดการ วิพากษวิจารณตนเอง และเกิดความคิดสรางสรรคใหม ๆ ขึ้น ๔. สาเหตุของความขัดแยงในองคการ ความขัดแยงในองคการ เกิดขึ้นจากสาเหตุ ที่สําคัญอยู ๒ ดาน ไดแก ความขัดแยงที่เกิดจากองคกร ซึ่งเกี่ยวกับ โครงสราง หรือหนาที่ในองคการ และความขัดแยงที่มีสาเหตุมาจากความสัมพันธระหวางบุคคล ดังจะกลาวในรายละเอียดดังตอไปนี้ ๔.๑ ความขัดแยงที่มีสาเหตุมาจากองคการ ซึ่งประกอบดวยปญหา ขัดแยง หลายประการที่สําคัญที่สุด ก็คือความขัดแยงในการแยงชิงทรัพยากรที่มีจํากัด โดยแตละฝายแตละ แผนกตางตองการได งบประมาณ บุคลากร เครื่องมือ และพื้นที่ ทํางานเพิ่มแกฝายตนใหมากที่สุด แต เนื่องจากทรัพยากรเหลานี้มีนอยกวาจํานวนที่รองขออยูมาก จึงจําเปนตองกําหนดเกณฑการจัดสรรที่ เปนธรรม และสอดคลองตอ ความจําเปนตามเปาหมายขององคการ ๔.๒ ความขัดแยงที่มีสาเหตุมาจากความสัมพันธสวนบุคคล ความขัดแยง จํานวนไมนอยที่เกิดจากองคประกอบที่เกี่ยวกับความสัมพันธระหวาง บุคคล ไดแก ประการแรก ซึ่งเปนความขัดแยงที่มีความรุนแรงอันเกิดจาก อารมณขุน เคือง (Grudges) กลาวคือ คนที่ตองเสียหนาขณะที่อยูทามกลาง สาธารณชนจะรูสึกวาตนเสียหาย อยางใหญหลวงก็จะเก็บเรื่องดังกลาวกลับมาครุนคิด อาจเปนแรมเดือน แรมป เพื่อหาโอกาส และ หนทางรอแกแคนใหไดจึงสงผลเสียหาย ตอองคการ และการทํางานกลุมอยางมาก ประการที่สอง ความขัดแยงเกิดจากการเขาใจวามีคนจองจับผิดตน (Faulty attributions) จึงพยายามหาเหตุที่อยูเบื้องหลังพฤติกรรมของผูนั้น วาเพราะเหตุใด จึง พยายามขัดขวางผลประโยชนของตน การมีมุมมองในลักษณะ เชนนี้อยูบอย ๆ คอย ๆ เพิ่มความ หวาดระแวง ความเกลียดชังและพยายามหาทางควบคุมหรือกําจัดบุคคลนั้นใหพนจากเสนทางของตน ความขัดแยงที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้มักจบลงดวยความรุนแรงกวาความขัดแยงประการแรก ประการที่สาม ความขัดแยงที่เกิดจากการสื่อความหมายที่ผิด (Fauty Communication) และไมถูกกับกาลเทศะและบุคคล เชน ใชคําพูด หรือแสดงทาทางยั่วยุใหผูอื่น โกรธ หรือเกิดความรําคาญจะโดยตั้งใจ หรือไมก็ตามในบางกรณีความขัดแยงอาจเกิดจากการใชคําพูด ไมเหมาะสมวิจารณคนอื่นจนทําใหเกิดความโกรธเคือง และใชวิธีตอบโตกลับมาดวยการไมใหความ รวมมือในการทํางาน อยางไรก็ตามคําวิจารณเปนสิ่งที่มีประโยชนดังนั้นการฝกทักษะการวิจารณที่ 02_01-340_.indd 283 17/10/2562 8:39:06


284 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ กอใหเกิดการสรางสรรค (Constructive criticism) จึงจําเปนสําหรับทุกคน เพราะจะชวยลด การ วิจารณเชิงทําลาย (Destructive criticism) ที่นํามาซึ่งความขัดแยงใหลดลง ประการที่สี่ ความขัดแยงระหวางบุคคลที่เกิดจากขาดความ ไววางใจตอกัน โดยเฉพาะเมื่อเกิดความสงสัยวาคนใดคนหนึ่งของกลุมเอาใจออกหางความสัมพันธที่มีตอผูนั้นจะเสื่อม ทรามลงจนกลายเปนความขัดแยงได บริษัทสวนใหญจึงพยายามสรางบรรยากาศของความไวเนื้อเชื่อ ใจระหวางบุคลากร ทุกระดับและตอ องคการอีกดวย ๕. กระบวนการของความขัดแยง (Conflict process) กระบวนการของความขัดแยงดําเนินการอยางมีพลวัตที่ตอเนื่อง แบง ออกเปน ๕ ระยะ ไดแก ๑. กอตัวของการตอตาน หรือความไมลงรอยที่รุนแรงพอ ๒. ฝายที่เกี่ยวของรับรูถึงความขัดแยง ๓. ตั้งใจทําอยางใดอยางหนึ่ง ๔. พฤติกรรมที่แสดงออกมาและ ๕. ผลกระทบที่เกิดขึ้น ๖. การเจรจาตอรอง (Negotiation) การเจรจาตอรองเปนกลไกสําคัญที่เกี่ยวของกับทุกคนในองคการ ที่พบ เห็นอยูบอย ๆ ไดแก สหภาพแรงงานเจรจาตอรองคาจาง หรือสวัสดิการกับฝาย บริหาร ผูบริหาร เจรจาผลประโยชนกับพนักงาน หรือกับหัวหนาของตน พนักงานขาย เจรจาเสนอเงื่อนไขการขาย สินคาตอลูกคา ฝายจัดซื้อเจรจาตอรองกับผูจัดหาวัตถุดิบ การผลิตเปนตน เนื่องจากในปจจุบัน องคการสวนใหญจัดโครงสรางบริหารแบบทีมงานมากขึ้น โดยสมาชิกของทีมงานตองทํางานรวมกับ คนที่ไมมีอํานาจบังคับบัญชาโดยตรง และไมไดมีหัวหนาเปนคนเดียวกันอีกดวย ดังนั้นการมีทักษะใน การเจรจา ตอรองจึงเพิ่มสําคัญยิ่งขึ้น ความหมายของการเจรจาตอรอง หรือ Negotiation จึงหมายถึง กระบวนการที่คนสองคน หรือมากกวาสองคนเจรจาแลกเปลี่ยนผลประโยชนระหวาง กันซึ่งอาจเปน วัตถุสิ่งของ หรือบริการก็ได โดยทุกฝายที่เกี่ยวของพยายามหาขอยุติ ที่ยอมรับรวมกัน มีคําศัพท ๒ คําที่พบวา ใชแทนกันอยูเสมอ คือ คําวา Negotiation (การเจรจาตอรอง) กับคําวา Bargaining (การ ตอรอง) 02_01-340_.indd 284 17/10/2562 8:39:06


285 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ตอรอง) ๗. กลยุทธในการเจรจาตอรอง (Bargaining strategies) ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เนื่องจากการเจรจาตอรองเปนกลไกที่สําคัญในการแกไขขอขัดแยง และให ไดขอยุติซึ่งเปนที่ยอมรับของทุกฝายที่เกี่ยวของ นักวิชาการหลายกลุมไดใช เวลาหลายสิบปศึกษา คนควาเรื่อง การเจรจาตอรอง โดยเสนอกลยุทธสําคัญดังจะกลาวตอไปนี้ ๑. กลยุทธเฉพาะ (Specific tactics) ผูเจรจาตอรองมักใชกลยุทธ ของตน เพื่อลดระดับความตองการของคูเจรจาฝายตรงขามลง (Reduce opponents'aspirations) ดวยการ ขอมูลเหตุผลใหเห็นวาคูเจรจามีโอกาสนอยมากที่จะสามารถบรรลุเปาหมายของตน เพราะฉะนั้นจึง ขอใหพิจารณารับขอเสนอจากฝายเราซึ่งพยายามเอื้อประโยชนใหมากที่สุดแลว หรือชี้ใหเห็นวาหาก ฝายตรงกันขามไมยอมรับขอเสนอแลวฝายเราก็จําเปนตองดึงพันธมิตรรายอื่นที่มีศักยภาพสูงพอเขา มาแทน เปนตน ๒. กลยุทธกรอบความคิดในการตอรอง (Cognitive frames in bargaining) เปนกลยุทธที่ผูเจรจาตอรองใชวิธีพิจารณาบริบท และผลที่ตองการจาก การตอรองอยาง ละเอียดถี่ถวนแลวนํามาจัดเปนกลุมของกรอบความคิด (Cognitive frames) โดยพิงคเลย (Pinkley, ๑๙๙๐) ไดจัดกรอบความคิดดังกลาวออกเปน ๓ มิติ ไดแก (๑) มิติมุงสัมพันธกับมุงงาน (Relationship/Task) (๒) มิติมุงใชอารมณกับใช สติ (Emotiona/Intellectual) และ (๓) มิ ติ มุง ความรวมมือมุงชนะ (Cooperate/Win) ๓. กลยุทธการเนนขอยุติแบบชนะ - ชนะแทนแบบชนะ – แพ (Win - win versus win - (ose orientation) บางที่สิ่งที่สําคัญมากที่สุดของการ เจรจาที่ประสบความสําเร็จก็คือ การไดขอยุติเปนที่พอใจทั้งสองฝาย วอลตัน และแมคเคอรซี (Walton and Mckersie) เคยเสนอไว กวา ๓๐ ปที่แลววา ผูที่รวม การเจรจามีขอยุติที่เปนทางเลือกสําคัญอยูสองทาง อยางแรกคือ มองวา การเจรจา ตอรองใด ๆ จะตองมีฝายหนึ่งเปนผูชนะในขณะที่อีกฝายตองเปนผูแพ (Win - Lose situations) สวนอยางหลังก็คือ ผูเขารวมการเจรจาสามารถทําใหทั้งสองฝายเปนผูชนะ (Win - win situations) กลาวคือ มองวาผลประโยชนของทั้งสองฝายมีความสําคัญเทาเทียมกัน โดยพยายามให ไดผลประโยชนที่สูงสุดเทาที่ทําได ๔. ผูไกลเกลี่ย (Mediator) ไดแก บุคคลที่สามที่มีความเปนกลาง ทําหนาที่ ชวยเหลืออํานวยความสะดวกใหการเจรจาไดขอยุติ โดยการใชเหตุผลโนมนาวใจและเสนอทางเลือก ตาง ๆ เปนตน ผูไกลเกลี่ยใชมากในการบริหารความขัดแยง ทางดานแรงงานและขอพิพาทในศาล แขวงหรือศาลครอบครัวโดยรวมการใชคนกลาง ไกลเกลี่ยประสบผลสําเร็จในระดับนาพอใจ โดย สามารถยุติปญหาขัดแยงไดถึง ๖๐% และคูเจรจามีความพอใจประมาณ ๗๐% แตความสําเร็จของ การเจรจามักขึ้นอยูกับปจจัยสําคัญคือ สถานการณวาคูเจรจาทั้งสองมีแรงจูงใจที่จะทําการเจรจา ตอรองเพื่อแกปญหาขัดแยงนั้นเพียงใด และความขัดแยงตองไมสูงแตอยูในระดับปานกลาง และ ที่ 02_01-340_.indd 285 17/10/2562 8:39:07


286 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ สําคัญก็คือผูไกลเกลี่ยตองเปนที่ยอมรับจากสองฝายวาเปนกลาง และไมใชการกดดันหรือบีบบังคับแต อยางใด ๕. อนุญาโตตุลาการ (Arbitrator) เปนบุคคลที่สามที่มีอํานาจในการกํากับ ใหเกิดขอยุติ ผูเปนอนุญาโตตุลาการอาจมาจากการรองขอของทั้งสองฝาย หรืออาจมาโดยการบังคับ หรือระบุไวในกฎหมายหรือขอสัญญา อนุญาโตตุลาการมี อํานาจมากนอยแลวแตจะกําหนด และตก ลงโดยคูเจรจาทั้งสองฝายการทําหนาที่ตัดสินขอขัดแยงของอนุญาโตตุลาการ ยอมไดขอยุติออกมา แนนอนกวาการเปนผูไกลเกลี่ย แตถาผลการตัดสินปรากฏวาฝายหนึ่งเปนผูแพอยางสิ้นเชิงฝายนั้นจะ ไมพอใจ และไมเต็มใจรับคําวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ สงผลใหความขัดแยงเกิดขึ้นไดใหม ในเวลา ตอมาบทบาทของที่ปรึกษาตางจากบทบาทอื่นที่กลาวแลวโดยที่ปรึกษาจะไมเนนที่ประเด็นความ ขัดแยง แตจะมุงปรับปรุงความสัมพันธของคูกรณีทั้งสองฝายใหดีขึ้นจนสามารถรวมกันแกปญหาได เอง ๙.๕.๓ กระบวนการเจรจาตอรอง (The negotiation process) ร็อบบินส๑๕ ไดเสนอรูปแบบกระบวนการเจรจาตอรอง ซึ่ง ประกอบดวย ๕ ขั้น ไดแก ๑. ขั้นเตรียมการและวางแผน (Preparation and planning) กอนเริ่มลง มือเจรจาทานตองทําการบานลวงหนามากอน โดยตองตอบคําถามตอไปนี้ ไดอยางคลองแคลวชัดเจน เชน ขอขัดแยงที่เจรจามีลักษณะอยางไร มีความเปนมาอยางไร จึงตองเกิดมีการเจรจาขึ้น มีใครที่ เกี่ยวของบาง และการรับรูของแตละคนที่มีตอขอขัดแยงนี้เปนอยางไร ฝายทานตองการไดอะไรจาก การเจรจาครั้งนี้ อะไรคือ เปาหมายของทาน เชน ถาทานเปนฝายจัดซื้อของบริษัทเปาหมายของทานก็ คือตอง สามารถจัดซื้อไดในราคาต่ําไดของที่มีคุณภาพเทาเทียมกัน ๒. ขั้นกําหนดกฎกติกาพื้นฐาน (Definition of ground rules) หลังจากที่ ไดวางแผน และกําหนดกลยุทธเสร็จเรียบรอยแลวทานก็เริ่มหารือกับฝายตรงขามถึงกติกาพื้นฐาน และขั้นตอนที่เกี่ยวกับการเจรจาวาจะดําเนินอยางไร ใครจะเปนผูเจรจาตอรองจะเจรจาที่ไหน ขอจํากัดเรื่องเวลามีหรือไมถามีจะทําอยางไร จะจํากัดประเด็นที่เจรจา หรือไมเพียงใดจะมี วิธีดําเนินการอยางไร หากการเจรจาพบทางตันในขั้นตอนนี้ ทั้งสองฝายอาจแลกเปลี่ยนขอเสนอ หรือ ความตองการของฝายตนในเรื่องที่จะเจรจาตอไป ๑๕ กระบวนการเจรจาตอรอง www.https://www.google.com/search?ei=tf, สืบคน เมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 286 17/10/2562 8:39:08


287 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓. ขั้นทําความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน (Clarification and justification) หลังจากที่ทั้งสองฝายไดแลกเปลี่ยนขอเสนอเบื้องตนที่เปนจุดยืน แลวขั้นตอไปแตละ ฝายจะอธิบาย ขยายความทําความชัดเจนเสริมแตง และหาเหตุผล เพื่อสนับสนุนจุดยืนเดิมของตน ขั้นตอนนี้ไมจําเปนตองเปนการเผชิญหนากัน เปนขั้นตอนที่ทานสามารถมอบเอกสารที่สนับสนุน ขอเสนอของทานใหฝายตรงขามพิจารณา ๔. ขั้นตอรองและแกปญหา (Bargaining and problem Solving) ความสําคัญของกระบวนการเจรจาตอรอง ก็คือมีทั้งการให และการรับ (give and take) เพื่อใหได ขอยุติเกิดขึ้น ทั้งสองฝายจําเปนตองโอนออนผอนปรน ซึ่งกันและกันทักษะการเจรจาตอรองจึงสําคัญ มากกรุณาอานขอเสนอแนะการเพิ่ม ทักษะการเจรจาตอรองในตอนตอไป ๕. ขั้นจบการเจรจาและนําสูการปฏิบัติ (Closure and implementation) ขั้นสุดทายของกระบวนการเจรจาตอรอง ก็คือการไดขอตกลง อยางเปนทางการ ซึ่งจะตองดําเนินการในรายละเอียด และจัดทําขั้นตอนสูการปฏิบัติตอไป ๙.๕.๔ ขอเสนอแนะการเจรจาตอรอง หลังจากที่ใชเวลาประเมินเปาหมาย และผลประโยชนทั้งของฝายตน และ ฝายคูเจรจาที่ตองการได รวมทั้งกําหนดกลยุทธที่จะใชเสร็จเรียบรอยแลว ทานก็อยูในภาวะพรอมที่จะ ลงมือเจรจาไดทันที ตอไปนี้เปนขอแนะนําเพื่อพัฒนาทักษะของการเจรจาตอรองของทาน ดังนี้ ๑. เริ่มตนดวยการเปดฉากเชิงบวก (Begin with a positive Overture) จากการศึกษาเกี่ยวกับการเจรจาตอรองพบวาการเริ่มตนหยิบยื่นไมตรีดวย การแสดงความผอนปรน กอนมักไดผลตางตอบแทนกลับมาเชนกัน ดังนั้นการเปดฉาก แงดี ยอมใหสวนหนึ่ง ก็จะไดรับอีกสวน หนึ่งตอบแทนกลับมาเชนกัน ๒. ระบุที่ตัวปญหาแตมิใชตัวคน หรือบุคลิกภาพ (Address problems, not personalities) โดยมุงที่ประเด็นตอรองเปนหลักหลีกเลี่ยงการพูดเกี่ยวกับบุคลิกภาพของคูกรณี โดยเฉพาะเมื่อการเจรจาเขาขั้นตึงเครียดตองไมพาดพิง หรือโจมตีบุคคลเปนสวนตัวเพราะจุดยืนหรือ ความคิดของผูนั้นตางหากที่ทานไมเห็น ดวยแตไมใชตัวผูนั้น ดังนั้นสิ่งที่พึงระวังก็คือตองแยกคนออก จากปญหา และตองไมเอยถึงความแตกตางระหวางบุคคล ๓. ใหความสนใจตอขอเสนอครั้งแรกเพียงเล็กนอย (Pay Little attention to initial offers) โดยมองขอเสนอครั้งแรกเปนเพียงจุดเริ่มตนของการเจรจา และแนนอนวาทุกฝาย 02_01-340_.indd 287 17/10/2562 8:39:09


Click to View FlipBook Version