The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หนังสือ E-BOOK, 2023-07-24 05:33:55

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

138 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕. ความเปนอิสระของระบบยอย (Subsystem Autonomy) คือ ผลผลิตของการ กระจายอํานาจทางการเมือง เพื่อใหระบบยอยมีอํานาจในการ พิจารณาปญหาสาเหตุความเดือดรอน และความตองการของประชาชนรวมไปถึง การกําหนดแนวทางในการที่จะแกไขปญหาหรือเสริมสราง ความสามารถในการ ตอบสนองความตองการของประชาชนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ๕.๕ การพัฒนาทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ปจจุบันสภาพแวดลอมทางสังคมระหวางประเทศที่ปรับเปลี่ยนไปอยางรวดเร็วไดนํามาซึ่งทั้ง โอกาสและความทาทายที่อาเซียนตองเผชิญไมวาจะเปน โอกาสในการเสริมสรางความรวมมือ ดาน สังคม และความมั่นคงของอาเซียน ให แข็งแกรงยิ่งขึ้นหรือการเผชิญกับภัยคุกคามที่มาในรูปแบบใหม อาทิ การกอ อาชญากรรมและการกอการรายขามชาติผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนจึงได เห็นชอบให จัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน” ภายในป ๒๕๕๘ เพื่อสรางความเปน ปกแผนของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความ มั่นคงของอาเซียนเปนหนึ่งใน ๓ เสาความรวมมือสําคัญ ของประชาคมอาเซียนการ เปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งจะชวยเสริมสราง สันติภาพ และความมีเสถียรภาพทางการเมืองของภูมิภาคอันถือเปนพื้นฐานสําคัญของการ พัฒนา ดานตางๆ มีวัตถุประสงคหลักเพื่อสรางคานิยมและแนวปฏิบัติรวมกันของอาเซียนในดานตาง ๆ เสริมสรางขีดความสามารถของอาเซียน ในการเผชิญกับภัย คุกคามความมั่นคงทั้งในรูปแบบเดิมและ รูปแบบใหมบนพื้นฐานของหลักการวาดวยความมั่นคงของมนุษยและใหประชาคมอาเซียนมี ปฏิสัมพันธที่แนนแฟนและ สรางสรรคกับประชาคมโลก โดยใหอาเซียนมีบทบาทนําในภูมิภาค ๕.๔.๑ องคการสหประชาชาติเพื่อการพัฒนาสังคม ๑. เพื่อรํารงไวซึ่งสันติ และความมั่นคงระหวางประเทศ ๒. เพื่อพัฒนาความสัมพันธฉันมิตรระหวางประชาชาติทั้งปวง โดย ยึดการเคารพตอ หลักการแหงสิทธิอันเทาเทียมกัน ๓. เพื่อใหบรรลุถึงความรวมมือระหวางประเทศ ในอันที่จะแกไข ปญหาระหวาง ประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หรือมนุษยธรรมและการ สงเสริมสนับสนุนการเคารพตอ สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานสาหรับทุกคน โดยไมเลือกปฏิบัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ๔. เพื่อเปนศูนยกลางสาหรับการประสานงานของประชาชาติ ทั้งหลาย 02_01-340_.indd 138 17/10/2562 8:35:21


139 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community)ใน การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๙ ป พ.ศ.๒๕๕๙ ที่บาหลี ผูนําอาเซียนไดแสดงเจตนารมณในBali Concord II เห็นชอบใหจัดตั้งประชาคม อาเซียน ภายในป พ.ศ. ๒๕๖๓ ประกอบดวยประชาคมใน สามเสาหลัก ในสวนของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีเปาหมายใหอาเซียนเปนประชาคม ที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง สังคมที่เอื้ออาทรและแบงปน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเปนอยูที่ดี และมีการพัฒนาในทุกดานเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน สงเสริมการให ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน รวมทั้งสงเสริมอัตลักษณ ของอาเซียน โดยมีแผนปฏิบัติการดานสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Plan of Action) ระบุอยูใน แผนปฏิบัติการเวียงจันทน (Vientiane Action programme-VAP) และตอมา ในการประชุมสุด ยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๒ ผูนําอาเซียนไดลงนามใน Cebu Declaration on the Acceleration of the Establishment of an ASEAN Community by bond เรงรัดการเปนประชาคมฯ เร็วขึ้นอีก ๕ ป คือ จากป พ.ศ.๒๕๖๓ เปนป พ.ศ. ๒๕๕๘ แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint) ประกอบดวยความรวมมือใน ๖ ดาน ไดแก ๑. การพัฒนามนุษย (Human Development) ๒. การคุมครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) ๓. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) ๔. ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม (Environmental Sustainability) ๕. การสรางอัตลักษณอาเซียน (Building an ASEAN Identity) ๖. การลดชองวางทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) องคประกอบยอยของแตละดานมีดังนี้ ๕.๕.๒ การพัฒนามนุษย ๑. ใหความสําคัญกับการศึกษา ๒. การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ๓. สงเสริมการจางงานที่เหมาะสม ๔. สงเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ ๕. การอํานวยความสะดวกในการเขาถึงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเชิงประยุกต 02_01-340_.indd 139 17/10/2562 8:35:22


140 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๖. เสริมสรางทักษะในการประกอบการอาชีพ เยาวชน ผูสูงอายุ และผูพิการ ๗. พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ ๖.๕.๓ การคุมครองและสวัสดิการสังคม ๑. การขจัดความยากจน ๒. เครือขายความปลอดภัยทางสังคมและความคุมกันจาก ผลกระทบดานลบจาก การรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน ๓. สงเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยดานอาหาร ๔. การเขาถึงการดูแลสุขภาพและสงเสริมการดํารงชีวิตที่มีสุขภาพ ๕. การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดตอ ๖. รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ๗. การสรางรัฐที่พรอมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัย ยิ่งขึ้น ๕.๕.๔ สงเสริมความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม ๑. การจัดการปญหาสิ่งแวดลอมของโลก ๒. การจัดการและการปองกันปญหามลพิษทางสิ่งแวดลอมขามแดน ๓. สงเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาดานสิ่งแวดลอม และ การมีสวนรวมของ ประชาชน ๔. สงเสริมเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม (อีเอสที) ๕. สงเสริมคุณภาพมาตรฐานการดํารงชีวิตในเขตเมืองตางๆ ของ อาเซียน และเขต เมือง ๖. การทําการประสานกันเรื่องนโยบายดานสิ่งแวดลอมและฐานขอมูล ๗. สงเสริมการใชทรัพยากรชายฝง และทรัพยากรทางทะเลอยางยั่งยืน ๘. สงเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และ ความ หลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน ๙. สงเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ําจืด 02_01-340_.indd 140 17/10/2562 8:35:23


141 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑๐. การตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการตอ ผลกระทบ ๑๑. สงเสริมการบริหารจัดการปาไมอยางยั่งยืน ๕.๕.๕ การสรางอัตลักษณอาเซียน ๑. สงเสริมการตระหนักรับรูเกี่ยวกับอาเซียน และความรูสึกของ การเปนประชาคม ๒. การสงเสริมและการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ๓. สงเสริมการสรางสรรคดานวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม ๔. การมีสวนเกี่ยวของกับชุมชน ๕.๕.๖ การลดชองวางทางการพัฒนา ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนตอบสนองตอความตองการของภูมิภาคใน การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยดําเนินกิจกรรม ที่เนนการใหความสําคัญกับประชาชน และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เพื่อมุงไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน จะชวยสนับสนุน การสรางพื้นฐานที่แข็งแกรงสําหรับความเขาใจอันดีการเปนเพื่อนบานที่ดีและการ แบงปนความรับผิดชอบประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ถูกกําหนดลักษณะ โดยวัฒนธรรมที่ ยืดหยุน ยึดมั่นในหลักการ มีความรวมมือ มีความรับผิดชอบ รวมกันเพื่อสงเสริมการพัฒนามนุษยและ สังคมเคารพในเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ความเทาเทียมทางเพศ การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน และการสงเสริมความ ยุติธรรมทางสังคมประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ใหความสําคัญกับมิติ ทางสังคมในเรื่องการลดชองวางการพัฒนา โดยขจัดความแตกตางทางการพัฒนาระหวางประเทศ สมาชิกอาเซียน ตามที่กลาวมาแลวขางตน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนครอบคลุม คุณลักษณะ ดังนี้ ก. การพัฒนามนุษย ข. การคุมครองและสวัสดิการสังคม ค. ความยุติธรรมและสิทธิ ง. ความยั่งยืนดาน สิ่งแวดลอม จ. การสรางอัตลักษณอาเซียน ฉ. การลดชองวางการพัฒนา ๕.๕.๗ องคการระหวางประเทศดานเศรษฐกิจ เศรษฐกิจในทศวรรษที่ผานมาไดกาวเขาสูยุคโลกาภิวัตนเกิดความ เจริญอยาง รวดเร็วทางดานเทคโนโลยีและการสื่อสารสงผลใหการแขงขันในดาน การคาระหวางประเทศมีความ รุนแรงมากขึ้นองคการระหวางประเทศทางดาน เศรษฐกิจจึงมีบทบาทและอิทธิพล ในการกําหนด 02_01-340_.indd 141 17/10/2562 8:35:25


142 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ นโยบายดานเศรษฐกิจของสังคม โลกใหดูแลประเทศสมาชิกปฏิบัติตามกติกาของสังคมโลกผลักดันให ใชนโยบาย เศรษฐกิจเสรีนิยม สงเสริมเอกชนใหมีบทบาททางเศรษฐกิจ องคการระหวาง ประเทศทาง เศรษฐกิจที่สําคัญ มีดังนี้ ๑. องคการการคาโลก (World Trade Organization : WTO) เปนองคการที่ถือกําเนิดใน วันที่ ๑ มกราคม ค.ศ. ๑๙๙๕ อันเปนผลมาจากการ เจรจาการคาพหุภาคี รอบอุรุกวัย ภายใตการ ประชุมของความตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคาหรือแกตต (General Agreement on Tariffs and Trade : GATT) องคการการคาโลก มีสมาชิกผูกอตั้ง ๘๑ ประเทศ ปจจุบันมีสมาชิก เพิ่มขึ้นถึง ๑๔๔ ประเทศ โดยไตหวันเปนสมาชิกใหมลาสุดเขาเปนสมาชิก เมื่อวันที่ ๑ มกราคม ค.ศ. ๒๐๐๒ องคการการคาโลกมีสํานักงานใหญอยูที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีของไทยเคยดํารงตําแหนงผูอํานวยการตั้งแต ๑ กันยายน ป ค.ศ. ๒๐๐๒ ถึง ค.ศ. ๒๐๐๕ นับวาเปนผูอํานวยการ WTO คนแรกของเอเชียและของ ประเทศกําลัง พัฒนาที่กาวไปมีบทบาทในสถาบันเศรษฐกิจระดับโลก ๒. วัตถุประสงคขององคการการคาโลก องคการการคาโลกทํา หนาที่ดูแลการคาโลกให เปนไปในทางเสรีและมีความเปนธรรม มีบทบาทหนาที่ดังนี้ ๑. เปนเวทีเพื่อเจรจาลดอุปสรรคทางการคาระหวางประเทศ สมาชิกในรูปของ มาตรการภาษีศุลกากร และ มาตรการที่ไมใชภาษีศุลกากร ๒. เปนเวทีใหสมาชิกหันหนาเขาหารือ เพื่อแกไขขอขัดแยงทาง การคาและหากตก ลงกันไมไดก็จะจัดตั้งคณะลูกขุน (Panel) ทําหนาที่ตรวจสอบขอเท็จจริงและใหขอเสนอแนะ ๓. เปนผูเฝาดูแลสถานการณการคาระหวางประเทศ และจัดใหมีการทบทวน นโยบายการคาของสมาชิกอยางสม่ําเสมอ ๔. ใหความชวยเหลือแกประเทศกําลังพัฒนาในดานขอมูลขอ แนะนําเพื่อใหสมาชิก ปฏิบัติตามพันธกรณี ไดอยางเพียงพอ ตลอดจนทําการศึกษาประเด็นการคาที่สําคัญ ๕. ประสานงานกับกองทุนการเงินระหวางประเทศ และ ธนาคาร โลกเพื่อให นโยบายเศรษฐกิจโลกสอดคลองกันยิ่งขึ้น ๓. หลักการสําคัญขององคการการคาโลก หลักการในการดําเนินงานขององคการการคา โลกทําหนาที่ดูแลการคาสินคาครอบคลุมถึงการคาการบริการสิทธิในทรัพยสินทางปญญาและ มาตรการการลงทุนที่เกี่ยวกับการคา โดยพยายามลดอุปสรรคและมาตรการในการกีดกันทางการคา หลักการปฏิบัติที่สําคัญมี ดังนี้ 02_01-340_.indd 142 17/10/2562 8:35:25


143 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑. การไมเลือกปฏิบัติ (Non-Discrimination) ในการใช มาตรการทางการคา ระหวางประเทศ โดยการปฏิบัติตอสินคาจากทุกประเทศเทา เทียมกัน (Most favoured Nation Treatment : MFN) การเรียกเก็บคา ธรรม เนียมและภาษีศุลกากรหรือมาตรการอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับ สินคาที่นําเขาตองเรียกเก็บเทาเทียมกันทุกประเทศ และตองปฏิบัติตอสินคานาเขาเทาเทียมกับสินคา ภายในประเทศ ๒. ตองมีความโปรงใส เกี่ยวกับขอกําหนดและมาตรการทาง การคาที่นํามาบังคับใช กับสินคา ประเทศสมาชิกจะตองพิมพกฎระเบียบเกี่ยวกับ มาตรการทางการคา เผยแพรให สาธารณชนทราบและตองแจงเมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ ๓. ใชภาษีศุลกากรเทานั้น (Tariff-only Protection) ในการคุมครองผูผลิตภายใน หามใชมาตรการจากัดการนาเขาทุกชนิด ยกเวนกรณีที่สอดคลองกับบทบัญญัติขององคการการคา โลก ๔. ใหมีการรวมกลุมทางการคาเพื่อลดภาษีระหวางกัน ทั้งนี้ตองมีเงื่อนไขในการ รวมกลุมตองไมมีวัตถุประสงคเพื่อกีดกันการนําเขาจากประเทศนอกกลุมตองไมกระทบกระเทือน ผลประโยชนเดิมของประเทศ นอกกลุม ๕. สงเสริมการแขงขันการคาที่เปนธรรม แตประเทศสมาชิกสามารถเก็บภาษีและ ตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุนสินคาเขาได หากมีการไตสวนตามกฎระเบียบขององคการการคา โลกแลวพบวาประเทศผูสงออกกระทําการทุมตลาดและใหการอุดหนุนจริง ไดกอใหเกิดความเสียหาย ซึ่งสินคาอุตสาหกรรมภายในประเทศ ๖. มีกระบวนการยุติขอพิพาททางการคา เมื่อเกิดกรณีมีขอขัดแยงทางการคาให เจรจาหารือเพื่อยุติขอพิพาท หากทําไมสําเร็จใหนําขอพิพาท เขาสูกระบวนการขององคการการคา โลก เปนการสรางความเขมแข็งใหแกกระบวนการยุติขอพิพาททางการคาระหวางประเทศ ๔. การรวมกลุมสินคาและบริการ ๑๑ สาขานํารอง การรวมกลุมสินคาและบริการ ๑๑ สาขานํารอง ถือวาเปนการเปดเสรีดานการคาและบริการ เพื่อสงเสริมการแบงงานกันผลิตสินคาและ บริการภายในอาเซียนดวยกัน โดยจะ เนนใชวัตถุดิบภายในอาเซียนเปนหลักตามความถนัด เนื่องจาก แตละประเทศมี วัตถุดิบที่ไมเหมือนกัน ถาจะใหผลิตทุกอยาง จะเปนการเพิ่มตนทุนสินคาแบบเสีย เปลา สําหรับสาขานํารองมีดังนี้ สาขาผลิตภัณฑเกษตร ประมง ผลิตภัณฑ ยาง สิ่งทอ ยานยนต ผลิตภัณฑไม อิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ทองเที่ยว และการบิน อยางไรก็ตาม 02_01-340_.indd 143 17/10/2562 8:35:26


144 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ภายหลังไดเพิ่มสาขาที่ ๑๒ ไดแก สาขา โลจิสติกส เพื่อทําใหการขนสงวัตถุดิบตาง ๆ ทําไดสะดวก มากขึ้น เมื่อแบงทั้ง ๑๒ สาขา ตามประเทศที่รับผิดชอบ สามารถแบงได ดังนี้ ๑. พมา สาขาผลิตภัณฑเกษตร และสาขาประมง ๒. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑยาง และสาขาสิ่งทอ ๓. อินโดนีเซีย สาขายานยนต และสาขาผลิตภัณฑไม ๔. ฟลิปปนส สาขาอิเล็กทรอนิกส ๕. สิงคโปร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ ๖. ไทย สาขาการทองเที่ยวและสาขาการบิน ๗. เวียดนาม สาขาโลจิสติกส ๕. ประโยชนที่ประเทศไทยจะไดรับ ๑. ขยายการสงออกและโอกาสทางการคา จากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช ภาษีจะเปดโอกาสใหสินคาเคลื่อนยายเสรี ๒. คาดวาการสงออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวไดไมต่ํา กวา ๑๘ - ๒๐% ตอป ๓. เปดโอกาสการคาบริการในสาขาที่ไทยมีความเขมแข็งเชน ทองเที่ยว โรงแรมและ รานอาหารสุขภาพ ทําใหไทยมีรายไดจากการคาบริการไปตางประเทศเพิ่มขึ้น ๔. สรางเสริมโอกาสการลงทุนเมื่อมีการเคลื่อนยายเงินทุนได เสรียิ่งขึ้นอุปสรรคการ ลงทุนระหวางอาเซียน จะลดลง อาเซียนจะเปนเขตการลงทุนที่นาสนใจทัดเทียมจีนและอินเดีย ๕. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผูประกอบการไทยเมื่อมีการใชทรัพยากรการผลิต รวมกันเปนพันธมิตรทางธุรกิจรวมกับอาเซียนอื่นทําใหเกิด ความไดเปรียบเชิงแขงขัน (Comparative Advantage) และลดตนทุนการผลิต ๖. เพิ่มอํานาจการตอรองของไทยในเวทีการคาโลกสรางความเชื่อมั่นใหประชาคม โลก 02_01-340_.indd 144 17/10/2562 8:35:27


145 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๗. ยกระดับความเปนอยูของประชาชนในประเทศ ผลการศึกษาแสดงวา AEC จะ ทําใหรายไดที่แทจริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นรอยละ ๕.๓ หรือคิดเปนมูลคา ๖๙ พันลานเหรียญสหรัฐฯ๑๑ ๕.๖ การกลุมเศรษฐกิจระหวางประเทศ ความหมายของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ระหวางประเทศ หมายถึงการรวมตัวกันของประเทศตางๆ เพื่อเสริมสรางและรักษาผลประโยชนทาง เศรษฐกิจรวมกัน อยางเปนทางการ เปนการพยายามหาชองทางขยายการคาระหวางกัน มีการยกเลิก อุปสรรคทางการคาระหวางกัน ซึ่งมีการแบงประเภทดังนี้ ๕.๖.๑ สําเหตุของการคาระหวางประเทศ ๑. ประเทศตาง ๆ มีความแตกตางกันในดานทรัพยากรธรรมชาติ ๒. ประเทศตาง ๆ มีความสามารถในการผลิตไมเหมือนกัน ๓. ประเทศตาง ๆ มีความแตกตางกันในดานลักษณะทางกายภาพ เชน สภาพดิน สภาพอากาศ และภูมิประเทศตางกัน ๕.๖.๒ ประโยชนของการคาระหวางประเทศ ๑. เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคภายในประเทศ ๒. ทําใหเกิดการแบงงานกันทํา ๓. เกิดการแขงขันกันดานคุณภาพของสินคาและบริการ ๔. เกิดความชํานาญเฉพาะอยางในการผลิตสินคาที่ถนัดอยางตอเนื่อง ๕.๖.๓ ลักษณะของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ การใหความรวมมือทางเศรษฐกิจมีหลายลักษณะ พอสรุปได ดังนี้ ๑๑ สุชาติ สระแกว,การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ, ๒๕๕๘ 02_01-340_.indd 145 17/10/2562 8:35:28


146 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ๑. เขตการคาเสรี (Free Trade Area) คือการยกเลิกภาษีศุลกากร และขอจํากัด ทางการคาระหวางสมาชิก เชน เขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) เขตการคาเสรียุโรป (EFTA) เขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) | ๒. สหภาพศุลกากร (Customs Union) คือการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่พัฒนามา จากเขตการคาเสรี มีการการกําหนดอัตราภาษีศุลกากรในอัตราเดียวกันระหวางสมาชิก ซึ่งมีผลตอ ประเทศที่มิใชสมาชิก เชน สหภาพยุโรป (European Union : EU) ๓. ตลาดรวม (Common Union) คือ การเคลื่อนยายสินคา บริการ เงินทุน เทคโนโลยี และแรงงานระหวางสมาชิกไดอยางเสรี เชน แรงงาน ของประเทศที่เปนสมาชิกตลาดรวม สามารถเขาไปทํางานในประเทศสมาชิกอื่นๆได ๔. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) คือ การรวมกลุมทาง เศรษฐกิจที่พัฒนา มาจากตลาดรวม สามารถเคลื่อนยายปจจัยการผลิตระหวางสมาชิกไดอยางเสรี มีการกําหนดนโยบาย เศรษฐกิจสวนรวมระหวางประเทศ สมาชิก และมีการใชเงินตราสกุลเดียวกัน ๕. สหภาพเหนือชาติ (Political Union) เปนการรวมกลุมกันทั้ง เศรษฐกิจและ การเมือง โดยประเทศสมาชิกประสานนโยบายเศรษฐกิจและการเมืองเขาดวยกัน ยังมีการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่คอนขางไมเปนแบบแผนทางการอีก ๒ ประเภท คือ ๑. การรวมมือทางเศรษฐกิจ (Economic Cooperation) เชน ความรวมมือทาง เศรษฐกิจเอเชีย - แปซิฟก (APEC) ๒. เขตเศรษฐกิจอนุภาค (Sub-regional Economic Zones) เชน โครงการพัฒนา ความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) มี ๖ ประเทศไดแก ไทย พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม และมณฑลยูนานทางตอนใตของจีน ๕.๖.๔ องคกรความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การที่แตละประเทศมีศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติและมนุษย ที่ไมเทากัน เปน สาเหตุสําคัญเบื้องตนที่ทําใหสภาพเศรษฐกิจของแตละประเทศ แตกตางกันแมประเทศนั้น ๆ จะอยูใน ภูมิภาคเดียวกันหรือมีสภาพแวดลอมอื่น ๆ ใกลเคียงกันหลายอยางก็ตามปจจุบันนี้ประเทศตาง ๆ จึง หันมาใหความรวมมือเพื่อ ชวยเหลือกันมากขึ้นโดยการรวมกลุมกันเพื่อผลประโยชนทางเศรษฐกิจและ จัดตั้งเปนสมาชิกสนธิสัญญาหรือองคการระหวางประเทศขึ้นมาองคการระหวางประเทศเพื่อ ผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจและมีความสัมพันธกับประเทศไทย ไดแก 02_01-340_.indd 146 17/10/2562 8:35:29


147 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. สหภาพยุโรป ๒. องคการการคาโลก ๓. กลุมประเทศผูสงน้ํามันเปนสินคาออก ๔. สมาคมการคาเสรีแหงยุโรป ๕. สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต ๖. เขตการคาเสรีอาเซียน ๗. ความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก ๘. ขอตกลงการคาเสรีอเมริกาเหนือ ๕.๖.๕ กลุมประเทศผูสงน้ํามันเปนสินคาออก กลุมประเทศผูสงน้ํามันเปนสินคาออก Organization of Petroleum Exporting Countries (OPEC) กลุมประเทศผูสงน้ํามันเปน สินคาออก เปนองคการนานาชาติที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ ความรวมมือ ทางดานนโยบาย น้ํามัน และชวยเหลือดานเทคนิคเศรษฐกิจแกประเทศสมาชิก ๑. ประวัติการกอตั้ง โอเปคจัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๐๓ โดย อิหราน คูเวต ซาอุดิอาระเบีย และเวเนซุเอลา ตอมามีสมาชิกเพิ่มอีก ๘ ประเทศ ไดแก กาตาร อินโดนีเซีย ลิเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส แอลจีเรีย ในจีเรีย เอกวาดอร และกาบอง รวมเปนสมาชิก ๑๓ ประเทศ ตอมาเอกวาดอร ลาออกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ และกาบองลาออก พ.ศ.๒๕๓๘ ปจจุบัน จึงเหลือสมาชิก เพียง ๑๑ ประเทศ เดิมโอเปค มีสํานักงานใหญอยูที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอรแลนด ตอมาในพ.ศ. ๒๕๐๘ ไดยายไปอยูที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ๒. วัตถุประสงคในการกอตั้ง ในระยะเริ่มตนในการกอตั้งกลุมโอเปคขึ้นมาการขุด เจาะน้ํามันในประเทศสมาชิกตางเปนการลงทุนและดําเนินการ โดยบริษัทตางชาติประเทศเจาของบอน้ํามันไดรับคาภาคหลวงตอบแทนซึ่งเปนผลประโยชน สวนนอยการรวมมือของกลุมโอเปคในชวงนี้จึงมี จุดมุงหมายสําคัญ ๓ ประการ ดังนี้เพื่อเจรจากับ บริษัทผูใดรับสัมปทาน การตั้งกองทุนน้ํามันดิบใหเทากันทุกประเทศเพื่อนําราคาน้ํามันดิบที่เปนผลมา จากการเจรจาใชเปนหลักฐานในการคํานวณเปนรายไดของประเทศเพื่อเปนอํานาจตอรอง ในการยึด ครองหรือโอนกิจการน้ํามันเปนของรัฐตอไป กลุมโอเปคไดดําเนินงานไปตามจุดประสงคจนไดผลเปน ที่นาพอใจ และตอมาเมื่อมีสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก ๘ ประเทศ ทําใหมีอํานาจตอรองมากขึ้นและขยาย 02_01-340_.indd 147 17/10/2562 8:35:30


148 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ วัตถุประสงคเพื่อรักษา ผลประโยชนของประเทศสมาชิกมากขึ้นคือเพื่อปกปองราคาน้ํามันตกต่ําและ เจรจา ขายน้ํามันดิบในเงื่อนไขที่ดีเพื่อเก็บภาษีเงินไดจากบริษัทผูผลิตน้ํามันในอัตราที่สูงขึ้น เพื่อให ไดมาซึ่งอํานาจในการประกาศขึ้นราคาน้ํามัน ๓. ผลการปฏิบัติงาน ในปจจุบันโอเปคเปนองคกรระหวางประเทศ ที่มีอิทธิพลสูง มากทั้งระบบเศรษฐกิจ และการเมืองระหวางประเทศ เพราะมนุษย จําเปนตองใชพลังงานที่มาจาก น้ํามันแตเหตุที่ประเทศสมาชิกของกลุมโอเปคมี สภาพเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมวัฒนธรรม แตกตางกัน ทั้งยังมีปริมาณน้ํามันสํารองไมเทากันอีกดวย การกําหนดราคาและโควตาการผลิตน้ํามัน ของกลุมโอเปค ในระยะหลังมานี้มักไมมีเอกภาพ กลาวคือ ประเทศคูเวต กาตาร ซาอุดิอาระเบีย และ สหรัฐอาหรับเอมิเรตสตางเปนประเทศที่มีน้ํามันสํารองอยูมาก และมีความ มั่นคง ของเศรษฐกิจ สามารถปฏิบัติตามมติของโอเปคได แตประเทศอิหราน แมมีปริมาณน้ํามันสํารองอยูมากแตหลัง สงครามกับอิรักแลวตองลักลอบผลิตน้ํามันออกจําหนายเกินโควตา ที่โอเปคใหไว เพื่อนําเงินมาฟนฟู บูรณะประเทศอิรักมี แหลงน้ํามันสํารองมากประเทศหนึ่งแตไดรับความเสียหายจากสงครามกับ อิหรานและพายแพสงครามในการปดลอมคูเวตซึ่งสหประชาชาติไดออกมาตรการตางๆ มากําหนดทํา ใหผลิตและจําหนายน้ํามันไดอยางจํากัดมากสวนประเทศไนจีเรียมี ปริมาณน้ํามันสํารองนอยเพราะ เปนประเทศยากจน และมีจํานวนประชากรมาก จึงตองผลิตน้ํามันเกินโควตาและจําหนายในราคาที่ต่ํากวาที่โอเปคกําหนด กิจกรรม สําคัญที่โอเปคดําเนินการมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๑๖ เปนตนมา คือ การปรับราคาน้ํามันดิบ ซึ่งไดกระทํา หลายครั้งจนราคาน้ํามันดิบในตลาดโลก เพิ่มขึ้นมากทําใหประเทศผูสงน้ํามันดิบเปนสินคาออกและ ร่ํารวยขึ้น และไดนําเงินตราเหลานี้ไปใชเสริมสรางความมั่นคงและพัฒนาประเทศในดานตาง นอกจากนี้สมาชิกของกลุมโอเปค ยังไดจัดตั้งกองทุนเพื่อชวยเหลือประเทศที่กําลัง พัฒนาโดยเฉพาะประเทศอาหรับ ที่มิไดเปนสมาชิกของโอเปค และประเทศอื่นที่ประชากรบางสวน นับถือศาสนาอิสลาม ๕.๖.๖ ความสัมพันธระหวางไทยกับกลุมประเทศผูสงน้ํามัน เปนสินคาออก สําหรับความสัมพันธระหวางไทยกับกลุมประเทศโอเปค ไดแก การติดตอคาขายน้ํามันและ ดานแรงงานที่ไทยมักสงไปประเทศเหลานี้ สวนการติดตอกันในดานอื่นนับวามีนอยแมกลุมประเทศ โอเปคจะเปนกลุมที่ใชน้ํามันเปนเครื่องตอรองกับประเทศตาง ๆ ทั่วโลกทั้งดานเศรษฐกิจและการเมือง และประเทศไทยก็เคยไดรับผลกระทบอันเนื่องมาจากการขึ้นราคาน้ํามันของกลุมโอเปค แต ความสัมพันธระหวางไทยกับกลุมโอเปคยังมีอยู สรุปไดดังนี้ 02_01-340_.indd 148 17/10/2562 8:35:33


149 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑. ทางดานการคา ไทยยังมีการคาขายกับกลุมโอเปค โดยนําเขา น้ํามันจาก ประเทศอิหราน โดยเฉพาะประเทศโอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และ ซาอุดิอาระเบีย และ สินคาออก ที่สําคัญของไทยที่สงไปยังกลุมประเทศเหลานี้ไดแก ขาวโพด ขาว เสื้อผา เครื่องแตงกาย และเครื่องหนัง ๒. ทางดานแรงงาน เปนเรื่องที่สําคัญและนาสนใจอีกเรื่องหนึ่ง เพราะไทยไดจัดสง แรงงาน เขาไปทํางานในประเทศกลุมโอเปค เปนจํานวนมากจึง จําเปนที่รัฐบาลไทยตองติดตามและ ใหความคุมครองชวยเหลือ ประเทศกลุมโอเปค ที่คนไทยไปทํางานกันมากไดแก ลิเบีย สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส และคูเวต สวนในประเทศอิรักหลังสงครามอาวเปอรเซียแลวจํานวนคนงานไทยลดลงและไม มีแรงงานไทยอีก เมื่อเกิดสงครามและอดีตประธานาธิบดีซัดดัมถูกโคนอํานาจ ๓. ดานการเมือง มักเปนความสําคัญทางดานการทูตและการเยี่ยมเยือนเพื่อกระชับ สัมพันธไมตรีของผูนําประเทศ ๔. ดานอื่น ๆ กลุมโอเปคไดใหความชวยเหลือในเรื่องเงินกู สวนไทยใหความสะดวก แกประเทศเหลานี้ โดยการใหนักวิชาการมาดูงานในไทย โดยเฉพาะการเกษตร ๕.๖.๗ ความสัมพันธระหวางไทยกับขอตกลงการคาเสรี อเมริกาเหนือ ไทยไมไดเปนสมาชิกของนาฟตาแตการดําเนินงานของนาฟตามีผลกระทบโดยตรง ตอการคาของไทยกลาวคือการออกกฎเกณฑตาง ๆ ของประเทศในกลุมอาฟตาทําใหมีผลกระทบตอ สินคาไทยเชน ประเทศแคนาดาและเม็กซิโกไดออกกฎเกณฑเกี่ยวกับแหลงกําเนิดของสินคารถยนต และผาผืนที่ทอมาจากโรงงานและไมไดตัดเย็บจะสงเขาไป ยังแคนาดาและเม็กซิโกเปนการจํากัดและ กีดกันสินคาที่สั่งเขามาจากประเทศไทยประการหนึ่ง และทําใหไทยขายสินคาไดนอยลง ประเทศ เม็กซิโก ขึ้นอัตราภาษีสิ่งทอ เครื่องหนัง และรองเทา สั่งหาม นําเขามาจากประเทศนอกกลุมนาฟตา ทําใหสินคาไทยมีราคาสูงขึ้นไปดวย จึงสงออกไดนอยลง ๕.๖.๘ ความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย - แปซิฟก เอเชีย - แปซิฟก ไดแก ประเทศตาง ๆ ที่เปนหมูเกาะในมหาสมุท แปซิฟก และ ประเทศที่ตั้งอยูทางชายฝงของมหาสมุทรแปซิฟกทั้งในทวีปเอเชีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต และ ออสเตรเลียเปนภูมิภาคที่มีประเทศร่ํารวยและมี ความมั่นคงทางเศรษฐกิจหลายประเทศเชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด บรูไน สิงคโปร และเปนภูมิภาคที่มีอัตราการขยายตัว ทางเศรษฐกิจสูง ปจจุบันภูมิภาคนี้เริ่มมีฐานะทางการเมืองมั่นคงขึ้น การรวมกันทางดานเศรษฐกิจ 02_01-340_.indd 149 17/10/2562 8:35:33


150 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคนี้จึงเปนการรวมมือกันเปนกลุมเศรษฐกิจที่ใหญที่สุด ในโลกและมี ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งของโลกเอเปคจึงเปนกลุมประเทศที่มีความสําคัญ และเปนที่สนใจของคน ทั่วโลก ความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟก หรือเรียก ยอๆวา เอเปค กําเนิดมาจากการประชุมรัฐมนตรีตางประเทศ และรัฐมนตรี เศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก ๑๒ ประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุน เกาหลีใต นิวซีแลนด สหรัฐอเมริกา บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส และไทย ณ กรุงแคนเบอรรา ประเทศออสเตรเลีย เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๒ และในการประชุมเมื่อเดือน พ.ศ. ๒๕๓๔ ไดรับประเทศ จีน ฮองกงและ ไตหวัน ไดเขาเปนสมาชิก ตอมา ไดรับประเทศเม็กซิโก ปาปว นิวกินี ชิลี เปรู สหพันธรัฐรัสเซีย และ เวียดนาม เขาเปนสมาชิกดวย ปจจุบันเอเปค มีสมาชิกรวม ๒๑ ประเทศ๑๒ ๑. วัตถุประสงคในการกอตั้ง ๑. เพื่อสงเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและพัฒนา อเซีย-แปซิฟก ๒. เพื่อสงเสริมและรักษาผลประโยชนในเอเซีย - แปซิฟก ๓. เพื่อสงเสริมระบบการคาพหุภาคีแบบเสรีภายใตขอตกลง ขององคการ คาโลก ๔. เพื่อลดการกีดกันทางการคาและรวมมือกันถายทอด เทคโนโลยีและการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย ๒. หลักการของความรวมมือ ๑. เปนเวทีสําหรับการปรึกษาหารือที่เกี่ยวของกับประเด็น เศรษฐกิจของ ประเทศสมาชิก ๒. ยึดหลักฉันทามติในการดําเนินการใดๆ โดยยอมรับความ เสมอภาคของประเทศ สมาชิก ๓. ยึดหลักผลประโยชนรวมกันโดยคํานึงถึงความแตกตางของ ระดับการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ ระบบสังคม และการเมืองการปกครองของประเทศ สมาชิก ๑๒ สุชาติ สระแกว.การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ https://sites.google.com/a/g.dlit.ac.th/socialroom/home/khawprakas/karrwmktumthangsersthkicra hwangprathes ออนไลน เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 150 17/10/2562 8:35:34


151 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๓. ผลการปฏิบัติงาน นับตั้งแตไดกอตั้งโอเปค มาภาวะการคา เศรษฐกิจ และการลงทุนใน ภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟก ไดขยายตัวอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะประเทศ ญี่ปุน ไตหวัน เกาหลีใต ฮองกง และสิงคโปร ไดระดมการลงทุนในประเทศ สมาชิกอาเซียนเพิ่มขึ้น สวนไตหวันและฮองกงก็เพิ่ม ปริมาณการลงทุนในเวียดนาม ลาว กัมพูชา และประเทศที่เปนหมูเกาะในทะเลจีนใตมากขึ้นดวย ๔. ความสัมพันธระหวางไทยกับโอเปค ประเทศไทยมีความสัมพันธกับโอเปคโดยตรง ในฐานะที่เปน ภาคีสมาชิก ประเทศหนึ่ง ซึ่งไทยมีมูลคาการคาสูงและสวนใหญไทยเปนฝายเสียดุลการคา นอกจากนี้ หลาย ประเทศที่เปนสมาชิกของโอเปคยังเปนผูลงทุนรายใหญในประเทศไทยประเทศสมาชิกของเอเปคจึงมี ความสําคัญยิ่งตอภาวะเศรษฐกิจของไทยซึ่งมีทั้งผลดีและผลเสีย ดังนี้ ก. ผลดี ๑. ไทยมีโอกาสแสดงความคิดเห็นเพื่อปกปองผลประโยชน ทางดานเศรษฐกิจ และ การคาระหวางประเทศมากขึ้น ๒. ไทยมีโอกาสไดรับความชวยเหลือในการถายทอด เทคโนโลยีการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย การรับขอมูลขาวสาร และการวิจัยทาง เศรษฐกิจจากประเทศสมาชิกที่พัฒนาแลว ๓. ไทยมีเวทีรองเรียนหรือเสนอแนะขอคิดเห็นหากไดรับ ความกดดันทางดาน การคาจากประเทศสมาชิก ข. ผลเสีย ไทยเปนประเทศกําลังพัฒนาประเทศหนึ่งในกลุมโอเปค แต อาจมีภาวะเศรษฐกิจ และการเมืองแตกตางไปจากประเทศกําลังพัฒนาอื่นๆ หากประเทศสมาชิกโอเปคที่พัฒนาแลวใช มาตรการทางการคาหรือการเปดตลาดสินคา บางชนิดกับประเทศที่กําลังพัฒนาอื่นๆ ซึ่งไทยอาจไม พรอมที่จะยอมรับหรือปฏิบัติตามมาตรการที่กดดันนั้น ทําใหเกิดผลเสียตอสินคา ระบบภาษี หรือ ภาวะเศรษฐกิจของไทยได 02_01-340_.indd 151 17/10/2562 8:35:37


152 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕.๗ สรุปทายบท การพัฒนาการเมืองของสังคมโลกและสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาไปอยาง รวดเร็วและกวางขวางและหลายดาน ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยแตละดานไดสงผล กระทบถึงกัน เชื่อมโยงกันตลอดเวลาสําหรับดานการเมืองนั้นถือวาเปนการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญ ตอสังคมมนุษยเพราะมีผลกระทบตอความสัมพันธทางสังคมระหวางมนุษยที่อยูรวมกันและนัย ดังกลาว สงผลไปถึงการจัดความสัมพันธทางสังคมและเศรษฐกิจระหวางคนในสังคมดวย ดังนั้นการ พัฒนาการเมืองจึงเปนพื้นฐานที่สําคัญตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม และการพัฒนาประเทศการ พัฒนาทางการเมืองหมายถึงการกระทําขององคกรทางการเมืองซึ่งการกระทํานั้นสงผลใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงจากความคิดเกาๆไปสู ความคิดใหมๆ และความคิดใหมที่เกิดขึ้นนี้ตองดีกวาเกา องคประกอบที่สําคัญตอการพัฒนาการเมืองจิตใตสํานึกของประชาชนรัฐธรรมนูญองคประกอบทั้ง ๒ นี้ มีความสําคัญตอการพัฒนาทางการเมืองที่สุดทั้งนี้เพราะประชาชนภายในรัฐจะเปน ตัวที่ทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนําไปสูการปรับเปลี่ยนกฎ กติกา ทางการเมืองหรือรัฐธรรมนูญได ดังนั้นในการพัฒนาทางการเมืองจึงจําเปนตองให ความสําคัญตอประชาชนที่จะทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองขึ้นมาความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือความเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรม การเมือง (political culture) การจะสรางจิตสํานึกใหเกิดความเห็นตอประโยชนสวนรวมจะทําให การหลอหลอมทางสังคม (socialization)ใหเกิดความเขมแข็งขึ้นในสังคมมีเสถียรภาพ ในทาง การเมือง การพัฒนาทางการเมืองของไทยที่ควรจะดําเนินเปนเบื้องแรกคือการ สรางวัฒนธรรมทาง การเมืองแบบประชาธิปไตยใหกับประชาชน เชน การเขาไปมี สวนรวมในกระบวนการทางการเมือง การดูแลตรวจสอบสถาบันทางการเมือง ตรวจสอบการบริหารราชการ และแสดงความเปนเจาอํานาจ อธิปไตยอยางแทจริง การจะพัฒนาทางการเมืองจึงตองเริ่มตนดวยการสรางจิตใตสํานึกในระบอบ ประชาธิปไตยโดยการใหการศึกษาและการพัฒนาความคิดนั้นทั้งทางตรงและ ทางออมแกประชาชน แลวจึงนําไปสูการพัฒนาในมิติอื่นๆ เพื่อการพัฒนาการเมือง ตอไปพื้นฐานสําคัญที่จะทําใหการ พัฒนาการเมืองไทยบรรลุเปาหมายคือการที่ ประชาชนในชาติมีความรู ความเขาใจ ตระหนักและมี จิตสํานึกเปนประชาธิปไตย ยึดถือหลักประชาธิปไตยเปนหลักในการดําเนินชีวิต หรือมีวิถีชีวิตตาม วิถี ประชาธิปไตย การรวมกลุมระหวางประเทศเปนการตกลงรวมมือกันของประเทศ ภายในกลุมที่จะอํานวย ความสะดวกทางการคา การลดมาตรการกีดกันทางการคา ในรูปของภาษีและที่มิใชภาษี รวมทั้งลด กฎระเบียบ ขอบังคับตางๆ เปนอุปสรรค ทางการคา ทําใหประเทศที่ไดรวมกลุมทางการคาได ประโยชนมากมาย ทั้งการใชประสิทธิภาพอยางเต็มที่ในดานปจจัยการผลิต ดานการจางงาน และดาน 02_01-340_.indd 152 17/10/2562 8:35:38


153 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ อื่นๆ ทํา ใหเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยประโยชนจากการรวมกลุม การ รวมกลุมทางเศรษฐกิจจะทําใหเกิด การใชทรัพยากรการผลิตอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด ไมมีสิ่งกีด ขวางใด ๆ ที่เปนอุปสรรคทางการคาระหวาง ประเทศสมาชิก ทําใหแตละประเทศไดประโยชนทาง เศรษฐกิจจากการรวมกลุม ทางเศรษฐกิจโดยเรียกวา การเพิ่มการคา สวนการโยกยายทรัพยากรไปใช ผลิตให เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เรียกวา การเบี่ยงเบนการคา ซึ่งการสรางการคาและการ เบี่ยงเบน การคานี้ จะทําใหผูบริโภคในกลุมประเทศสมาชิกมีการใชทรัพยากรอยาง มีประสิทธิภาพสูงสุด สงผล ใหตนทุนการผลิตลดลง ราคาจําหนายลดลง ผูบริโภค สามารถซื้อผลิตภัณฑคุณภาพดีไดในราคาถูก ทําใหตลาดที่มีภายในและ ตางประเทศมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ประโยชนจากการเคลื่อนยายปจจัย การผลิตอยางเสรี ประโยชนจากการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตอยางเสรี จะเห็นชัดเจนจาก การ รวมกลุมทางเศรษฐกิจในรูปแบบตลาดรวม ที่มีขอตกลงใหทั้งสินคาและปจจัย การผลิต ไมวาจะเปน ทุน แรงงาน วัตถุดิบ เทคโนโลยี สามารถเคลื่อนยายไดอยางเสรี ซึ่งการเคลื่อนยายอยางอิสระ ปราศจากการควบคุมจะทําใหการผลิต เปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด อันจะนํามาซึ่งฐานะ ความเปนอยูของ ประชากรในตลาดรวมดีขึ้น 02_01-340_.indd 153 17/10/2562 8:35:39


154 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ อางอิงประจําบท ๑.๑ หนังสือ กฤษฎางค สุทัศน ณ อยุธยา, เอกสารประกอบการบรรยายหัวขอวิชาความสัมพันธระหวาง ประเทศ.กองวิชายุทศาสตร ทหารเรือ, ๒๕๕๓. จุลชีพ ชินวรรโณ, ผศ.ดร., ความสัมพันธระหวางประเทศ, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, ๒๕๓๑. ชัย เรืองศิลป, ประวัติศาสตรไทยสมัย พ.ศ.๒๓๕๒-๒๔๕๓ ดานเศรษฐกิจ. ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๑ พิสิษฐิกุล แกวงาม, มโนทัศนที่สําคัญในวิชาการพัฒนาการเมือง, มหาสารคาม :หลักสูตรสาขาวิชา รัฐศาสตร วิทยาลัยกฎหมายและการปกครองมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, ๒๕๕๓. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, เอกสารการสอนชุดวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ. นนทบุรี : สาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,๒๕๓๔. ธัชชนันท อิศรเดช, ผศ.ดร., ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศกรุงเทพมหานคร : โรง พิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.๒๕๕๐. ศิโรตม ภาคสุวรรณ, ความสัมพันธระหวางประเทศเบื้องตน, คณะรัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยรามคําแหง, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๒. ความสัมพันธระหวางประเทศเบื้องตน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๕ สมพงศ ชูมาก. ความสัมพันธระหวางประเทศยุคปจจุบัน (ทศวรรษ ๑๙๐๐ และแนวโนม), กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,๒๕๔๔. สุรพล ราชภัณฑารักษ, ม.ป.ป. ความสัมพันธระหวางประเทศ, ๒๕๕๗. ๑.๒ สื่ออิเล็กทรอนิกส การกําหนดนโยบายตางประเทศ. https://www.baanjomyut.com/library_ ๔/politics/๑๐_ ๓.html.สืบคน เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐ แนวโนมเศรษฐกิจโลกเศรษฐกิจไทยและภาวะการลงทุนในป ๒๕๖๐ kasikornasset.com /TH/MarketUpdate/Pages/Econ๒๐๑๗.aspx สืบคนเมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 154 17/10/2562 8:35:39


155 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศ http://megaclever.blogspot.com/๒๐๐๘/ ๐๗/blog_post ๖๒๖๙.html สืบคน เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐ ประวัติความสัมพันธ ไทย-สหรัฐฯ" US Watch, Ministry of Foreign Affairs, Thailand, n.d. Web. ๖Jan. ๒๐๑๕. http://uswatch.mfa.go.th/uswatch/th/ relationship/history/ สืบคนเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 155 17/10/2562 8:35:42


ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ บทที่ ๖ กฎหมาย กฎบัตร และตราสารระหวางประเทศ ๖.๑ ความนํา กฎหมายระหวางประเทศเปนเรื่องการใหความชวยเหลือทางดานมนุษยธรรมตอผูที่ไดรับ ผลกระทบจากภัยพิบัติธรรมชาติ วามีแนวโนมเปนเชนใดโดยทั่วไปแลวกลุมของสังคมจะสามารถดํารง อยูไดเมื่อมีการรวมมือ และประสานงานกันของสมาชิกในสังคมสังคม ที่ปราศจากอํานาจการบริหาร อํานาจนิติบัญญัติ และอํานาจตุลาการยอมไมอาจกาความ สงบเรียบรอยภายในสังคมไดหากแตใน สังคมระหวางประเทศหลับมิไดเปนเชนนั้น เนื่องมาจากสังคมระหวางประเทศปราศจากอํานาจนิติ บัญญัติ อํานาจตุลาการ และอํานาจการ บริหารสะทอนใหเห็นถึงสังคมระหวางประเทศที่เปนจริงซึ่ง กฎหมายระหวางประเทศยังขาดการบังคับใชในแนวดิ่ง (Vertical Enforcement) ที่มีลักษณะการ บังคับอยางเปนแบบแผน และเปนลําดับถึงกระนั้นกฎหมายระหวางประเทศก็ยังมีพัฒนาการอยู ตลอดเวลา ผูเขียนจึง จองการแสดงใหเห็นวาแมในสถานการณที่เกิดภัยพิบัติธรรมชาติขึ้น แตมิได ชองวางในทาง กฎหมาย เกี่ยวกับการใหความชวยเหลือทางดานมนุษยธรรมตอผูที่ไดรับผลกระทบ จากภัย พิบัติธรรมชาติ อีกทั้งบอเกิดของกฎหมายระหวางประเทศยังแสดงใหเห็นถึงพันธกรณีของรัฐ ในลําดับหนึ่งวาตองมีการปฏิบัติอยางใด จึงเปนการตอบสนองตอภัยพิบัติธรรมชาติอยาง เหมาะสม ตามแนวโนมของสังคมระหวางประเทศบอเกิดของกฎหมายระหวางประเทศ (Sources Of International Law) ที่มักมีการกลาวอางตามมาตรา ๓๘ แหงธรรมนูญศาลยุติธรรมระหวางประเทศ สงผลใหในอดีตมาตรานี้ไดรับการยอมรับโดยทั่วไปวาเปนการแสดงที่มาของกฎหมายระหวางประเทศ อยางครบถวน เพราะศาลยุติธรรมระหวางประเทศ จะพิจารณากฎหมายตามลําดับที่ปรากฏในมาตรา ๓๘ แหงธรรมนูญศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศ ซึ่งอนุมาตรา (a) ถึง (c) ถือไดวาเปนที่มาของ กฎหมายระหวางประเทศ โดยตรง เนื่องจากคําพิพากษามีผลผูกพันก็แตเฉพาะคูความในคดีเทานั้น จึงทําใหอนุมาตรา (d) ถือเปนเครื่องชวยพิจารณากําหนดหลักกฎหมายมาตรานี้ไมไดเปนการ เรียงลําดับศักดิ์ของกฎหมายระหวางประเทศแตอยางใด เปนแตเพียงการเรียงลําดับการเกิดของ กฎหมาย ระหวางประเทศเทานั้น นอกจากนี้เดิมมติขององคการระหวางประเทศ ไมไดมีผลผูกพัน ตามกฎหมายระหวางประเทศ จึงไมไดปรากฎหมายระหวางประเทศตามมาตราดังกลาว ขางตนแต ปจจุบันมติขององคการระหวางประเทศไดรับการยอมรับวาเปนการกระทําฝายเดียว ที่เกิดจาก องคการระหวางประเทศในฐานะบุคคลในกฎหมายระหวางประเทศ (Persons of International Law) ที่ตองสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศ และเปนไปตามขอบังคับของสนธิสัญญากอตั้ง องคการนั้นจึงเปนการแสดงความยินยอม (Consent) ของรัฐสมาชิก อีกทั้ง ศาลยุติธรรมระหวาง 02_01-340_.indd 156 17/10/2562 8:35:43


157 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ประเทศไดเคยแสดงความเห็นวา ความเชื่อวาเปนกฎหมาย (opinion juris) อาจเกิดไดจาก สภาวการณในการนํามติ มาประยุกตใช และผลของการใหความยินยอมในมติ ซึ่งอาจถูกเขาใจไดวา เปนการยอมรับความสมบูรณของกฎหรือตั้งกฎที่ประกาศ โดยตัวของมติเองมีผลใหมติขององคการ ระหวาง ประเทศไดรับการยอมรับวาเปนสวนหนึ่งของกฎหมายระหวางประเทศ ในปจจุบันแนวคิด ดังกลาวไดเปลี่ยนแปลงไปกฎหมายระหวางประเทศ กําจัดแตเพียงในที่ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ จะนํามาประยุกตใชจึงแคบเกินไป เนื่องมาจากบอเกิดของกฎหมาย ระหวางประเทศไมไดจํากัดแต เพียงตามมาตรา ๓๘ แหงธรรมนูญศาลยุติธรรมระหวางประเทศอีกตอไป ๖.๒ กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมายระหวางประเทศ (อังกฤษ: international law) หมายถึง กฎ กฎเกณฑ และ ขอตกลงที่เกิดขึ้นจากความตกลง หรือการแสดงเจตนาเขาผูกพันของรัฐ ตั้งแตสองรัฐขึ้นไป และมักใช เปนหลักในการพิจารณาขอพิพาทระหวางประเทศ ๖.๒.๑ กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ความหมายของกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล๑ ๑. กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมืองหมายถึงกฎเกณฑที่วาง ความสัมพันธระหวางบุคคลในกฎหมายระหวางประเทศอันไดแกรัฐ และองคกรระหวาง ประเทศใน ความสัมพันธกัน ๒. กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีอาญา หมายถึง กฏเกณฑในการ รวมมือกันระหวางรัฐในการปราบปรามหรือขจัดการกระทําความผิดอาญาซึ่งเกี่ยวกับ ปญหาผูราย ขามแดน ความรวมมือกันทางศาลในคดีอาญาการแลกเปลี่ยนตัวผูตองหา เปนตน ๓. กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลหมายถึงกฎเกณฑที่ใชใน ความสัมพันธระหวางเอกชนตอเอกชนที่มีนิติสัมพันธกับกฎหมายหลายระบบใน ความสัมพันธทาง แพง และพาณิชยรวมตลอดถึงกฎเกณฑที่กําหนดสิทธิและหนาที่ของคน ตางดาวในดินแดนของรัฐอีก รัฐหนึ่ง ๑ พันธุทิพย กาญจนะจิตรา เอกสารประกอบการบรรยายหลักกฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีบุคคล ๒๕๕๔ 02_01-340_.indd 157 17/10/2562 8:35:44


158 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ คําวาระหวางประเทศที่ขยายคําวากฎหมายมีความแตกตางกัน “คดีเมือง” หมายถึง ความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐ หรือกับองคกรระหวางประเทศ “คดีบุคคล” หมายถึง นิติสัมพันธของ เอกชนที่เกี่ยวกับกฎหมายหลายระบบ คําวา “กฎหมายระหวางประเทศ” หมายถึง กฎหมายระหวาง ประเทศแผนกคดีเมืองเสมอ “แผนกคดีบุคคล” แมจะกลาวถึงนิติสัมพันธระหวางเอกชนแตก็มีเรื่อง มหาชนมาเกี่ยวของ เชน สัญชาติ ภูมิลําเนา มาบังคับใชความสัมพันธดวยความจําเปนของกฎหมาย ระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลในระบบกฎหมายปจจุบัน ๑. หลักเรื่องการมีอธิปไตยของแตละรัฐ ซึ่งพื้นฐานแลว นิยามของคําวา รัฐ คือ รัฐ แตละรัฐตองมีลักษณะ ดังนี้คือ มีอธิปไตยเปนของตนเอง ซึ่งแตละรัฐยอมมีความเทาเทียมและเสมอ ภาคกันระหวางรัฐมีดุลอํานาจเหนือดินแดน และเหนือประชากรของตนมีสิทธิขาดในการเสนอ กฎหมายและบังคับใชกฎหมายเหนือดินแดนและประชากรของตนตามวิถีชีวิตขนบธรรมเนียม ประเพณี และสภาพอันเหมาะสมของตน ๒. ความสัมพันธกันระหวางรัฐ ปจจุบันไมมีรัฐใดที่อยูโดดเดี่ยวรัฐเดียวในโลก เมื่อมี ความสัมพันธกันกับรัฐอื่นไมวาจะเปนระหวางรัฐกับรัฐ หรือกับองคกรระหวางประเทศหรือกับเอกชน ก็ตาม ยอมเกิดความสัมพันธระหวางกันขึ้นในความสัมพันธนั้น ยอมตองนํากฎหมายมาใชความจําเปน นี้คือ เมื่อรัฐแตละรัฐมีลักษณะเฉพาะตัว นิติสัมพันธ ดังกลาวจะบังคับกันอยางไร ดังนั้น ในแตละรัฐตองจําตองมีกฎเกณฑเพื่อแกปญหาดังกลาวนี้ เพื่อใหศาล สามารถนําเอากฎหมายของประเทศอื่นมาใชบังคับแกคดีที่มีองคประกอบตางชาติที่กําลัง ฟองอยูใน ศาลของตน เรียกกฎเกณฑนี้วา “กฎเกณฑวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย” (Conflict of law) เปน หัวใจสําคัญของกฎหมายระหวางประเทศ ขอบขายของกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลจาก คําจํากัดความของกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล จะเห็นวากฎหมายมุงประสงคตอการวาง นิติสัมพันธของเอกชนที่มีองคประกอบตางชาติมาแทรกซอนทางทฤษฎีมีเรื่องสําคัญอยู ๔ เรื่อง ๑. การแบงสรรเอกชนระหวางประเทศ หมายถึง การจําแนกเอกชนออก ตามรัฐโดยอาศัยเครื่องมือจําแนกคือ สัญชาติ ภูมิลําเนา ถิ่นที่อยูเปนตน สัญชาติ หมายถึง สิ่งที่ผูกพัน ทางการเมืองและทางจิตใจที่ผูกมัดบุคคลไวกับรัฐใดรัฐหนึ่ง เปนเครื่องหมายแสดงความเปนสมาชิก ของรัฐนั่นเอง ภูมิลําเนา หมายถึง ความผูกพันของ บุคคลกับสถานที่ที่ตนอยูอาศัยเปนประจํา ซึ่งเปน เครื่องมือในการแบงสรรเอกชน ดวยเชนกัน แตแตกตางจากสัญชาติตรงที่ความผูกพันกับรัฐในดาน ผลประโยชนไมมี ความสัมพันธทางดานจิตใจ ถิ่นที่อยู หมายถึง สถานที่ที่ปรากฏตัวบุคคลใหเห็น ณ ที่ใดที่ หนึ่ง ในประเทศใดประเทศหนึ่ง อาจเกี่ยวกับกฎหมายภายในได เชน สัญชาติชิงนิติบุคคล ให ถือตามถิ่นที่อยูของสํานักงานใหญ 02_01-340_.indd 158 17/10/2562 8:35:44


159 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒. สิทธิและสถานะของคนตางดาว หมายถึง บุคคลที่ไมไดมีสัญชาติของ รัฐ ที่ตนมีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู ปกติไมมีสิทธิเทาเทียมกับผูมีสัญชาติ ในแตละรัฐจะกําหนด สิทธิและ สถานะของบุคคลตางดาวไว ซึ่งแตกตางกันไปตามแตรัฐ ในไทยมีกฎหมาย เกี่ยวของกับการจํากัดสิทธิ คนตางดาวไวหลายฉบับเชน พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือน ซึ่งผูไมมีสัญชาติไทยเปนขาราชการ ไมได พรฎ. กําหนดอาชีพ ซึ่งไดสงวนอาชีพที่ทําไดเฉพาะคนไทย ๓๙ รายการ บางรัฐก็ไมยอมใหคน ตางดาวมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ในไทยก็ไม ยอมใหมีเชนกัน (ยกเวนอดีต มีสนธิสัญญากับอิตาลีและ ฝรั่งเศสใหมีการถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินของกันและกันได) เปนตน ๓. การขัดกันแหงกฎหมายเปนหัวใจหลักของการศึกษากฎหมายระหวาง ประเทศ ซึ่งเปนเรื่องของการหากฎเกณฑที่ชวยหากฎหมายมาบังคับใชกับคดีที่มีนิติสัมพันธ กับ กฎหมายหลายระบบ ๔. การพิจารณาคดีแผนกเอกชนระหวางประเทศ การขัดกันแหงอํานาจ ศาลกฎหมายไทยมีบทบัญญัติเพื่อกําหนดอํานาจศาลในคดีเกี่ยวกับองคประกอบตางชาติไว นอยมาก การยอมรับคําพิพากษาศาลตางประเทศ ในไทยไมมีกฎหมายบัญญัติไวตองใช ดุลพินิจของศาลบอเกิด กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ๖.๒.๒ บอเกิดหรือที่มาจากภายในประเทศ ไดแก กฎหมายลายลักษณอักษรดังนี้ ๑. เกี่ยวกับการแบงสรรเอกชนระหวางประเทศ เชน พรบ. สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ ปพพ. เรื่องภูมิลําเนา และถิ่นที่อยู พรบ. วาดวยการขัดกันของกฎหมาย เปนตน ๑.๒ สิทธิและฐานะ คนตางดาว มีกฎหมายเกี่ยวของหลายฉบับทั้งทางตรงและออม เชน พรบ.การทํางานของคนตางดาว พรบ.เรือไทย พ.ศ. ๒๔๘๑, พรบ.ทะเบียนคนตางดาว ประมวลที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ เปนตน ๑.๓ เกี่ยวกับการขัดกันของกฎหมาย มี พรบ.ที่ เกี่ยวของ คือ พรบ. วาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย ปวพ. ม.๔, ๒, ๓๔, พรบ.ลมละลาย คําพิพากษา เปนคําชี้แจงสิ่งที่ตองตีความของกฎหมาย กอใหเกิด บรรทัดฐาน แตคําพิพากษามีนอยมาก ๒. บอเกิดหรือที่มาระหวางประเทศ ไดแก ขอตกลงกันระหวางรัฐ อาจทําเปน สนธิสัญญา เชน อนุสัญญากรุงเฮกวาดวยสัญชาติ ค.ศ. ๑๘๙๖ อนุสัญญาวาดวยวิธีพิจารณาความแพง ค.ศ. ๑๙๐๕ อนุสัญญา วาดวยการสมรส ค.ศ. ๑๙๐๒ จารีตประเพณีระหวางประเทศ ซึ่งหมายถึง กฎหมายจารีตประเพณีระหวางประเทศแผนกคดีเมือง ที่เกี่ยวกับเอกชนเชนการคุมครองคนตางดาว ตามมาตรฐานสากลปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ มนุษยชน ของสหประชาชาติ ค.ศ. ๑๙๔๒ กฎหมาย ประเพณีระหวางประเทศ เชน หลักเรื่องสังหาริมทรัพยเคลื่อนที่ติดตามบุคคล หลักที่วากฎหมาย ทองถิ่นบังคับนิติกรรมกฎหมายที่อยูในรูปจารีตประเพณีการคาระหวางประเทศ คําพิพากษาระหวาง 02_01-340_.indd 159 17/10/2562 8:35:47


160 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ประเทศ ของศาลประเทศตาง ๆ ซึ่งมีไมมากนักมีคดีดัง ๓ คดี คือ คดีโนตเตอโบม เกี่ยวกับสัญชาติ ของบุคคลระหวาชาติลเคนสไตนกับกัวเตมาลา ค.ศ. ๑๙๕๕ คดีบารเซโลนา ค.ศ. ๑๙๗๐ เรื่อง สัญชาตินิตบุคคลระหวางเบลเยี่ยมกับสเปน คดีเกี่ยวกับอนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. ๑๙๐๒ เกี่ยวกับเรื่อง ผูพิทักษผูเยาว ระหวางสวีเดนกับเนเธอรแลนด ค.ศ. ๑๙๕๘ ๖.๒.๓ วิเคราะหศัพทที่ใชในกฎหมาระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล๒ กฎหมาย หมายถึง กฎหมายในรัฐใดรัฐหนึ่งอาจอยูในรูปกฎหมายลาย ลักษณอักษร หรือไมก็ได กฎหมายภายใน หมายถึง กฎหมายที่นํามาปรับใชกับขอเท็จจริงได โดยตรง (ภายในรัฐใด รัฐหนึ่ง)เชน ปพพ., ปอ.,ประมวลที่ดินเปนตน “กฎหมายวาดวยการ ขัดกันแหงกฎหมาย”เปน กฎหมายภายในแตมิใชกฎหมายที่จะนํามาใชไดโดยตรงกับ ขอเท็จจริงในคดี แตเปนกฎหมายที่ กําหนดวิธีการใหศาลมีกฎหมายที่จะนํามาใชปรับเขากับ คดีโดยถูกตองเมื่อคดีนั้นมีองคประกอบ ตางชาติ (คูกรณีมีความแตกตางดานสัญชาติ ภูมิลําเนา หรือ ถิ่นกําเนิด) กฎหมายตางประเทศหมายถึงกฎหมายที่ใชในประเทศอื่นแตถาพูดถึง คําวา กฎหมายตางประเทศเฉย ๆ หมายถึงกฎหมายภายใน และกฎหมายวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย “กฎหมายทองถิ่น” หมายถึง กฎหมายที่ใชบังคับอยูในทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่ง ในประเทศใด ประเทศ หนึ่ง เพราะในประเทศหนึ่งอาจมีกฎหมายทองถิ่นหลายฉบับ เพราะอาจจะมีหลายเชื้อชาติ หลายเผา หรือหลายศาสนาในประเทศนั้น ๆ นักกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลจึงคนหาวิธีการทาง กฎหมายเพื่อหาขอ แกไขปญหาดังกลาวขางตน เพื่อบัญญัติใหศาลสามารถนําเอากฎหมายตางประเทศมาใชบังคับแกคดีที่ มีองคประกอบตางชาติ และกําลังฟองรองอยูในศาลของตน กฎเกณฑ ในกฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีบุคคลดังวานั้นไดแก กฎหมายวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย ซึ่งเปนหัวใจ หรือเรื่องสําคัญ ที่สุดในกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดี บุคคล ขอบขายของกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดี บุคคล กฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีบุคคล มีขอบขาย ครอบคลุม ถึงเรื่องสําคัญอยู ๔ เรื่อง ดวยกัน ๒ วิเคราะหศัพทที่ใชในกฎหมาระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล https://www.google.com/search?biw=๑๓๖๖&bih=๒๕๔&ei=VgbXW uzKoeUvQTHvZbwD w&g. สืบคน เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 160 17/10/2562 8:35:48


161 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. การแบงสรรเอกชนระหวางประเทศ หมายความถึง การจําแนกเอกชนวาควรจะ สังกัดอยูในรัฐใดและจะใชเครื่องมืออะไร ในการจําแนกเอกชนดังกลาว ดังนั้น สัญชาติก็ดีภูมิลําเนาก็ดี ถิ่นที่อยูก็ดี จึงเปนองคประกอบที่เปนจุดเกี่ยวพันกับระบบกฎหมายภายใน ๒. สิทธิและฐานะของคนตางดาวเปนเรื่องที่เกี่ยวกับการคุมครองคนตางดาวฐานะ ของคนตางดาวในฐานะของกฎหมายภายในของแตละรัฐสิทธิของคนตางดาว กําหนดโดยกฎหมาย ภายในและกฎหมายสนธิสัญญา ๓. การขัดกันแหงกฎหมายเปนหัวใจของการศึกษากฎหมายระหวางประเทศแผนก คดีบุคคล การขัดกันแหงกฎหมายเปนเรื่องกฎเกณฑที่ชวยหากฎหมายที่จะนํามาใชบังคับกับคดี เมื่อ คดีนั้นมีจุดนอตอสัมพันธกับกฎหมายหลายระบบ ๔. การพิจารณาแผนกเอกชนระหวางประเทศเปนเรื่อง ๆ หนึ่งในกฎหมายระหวาง ประเทศแผนกคดีบุคคลซึ่งมีประเด็นสําคัญอยูสองประเด็น คือประเด็นที่เกี่ยวกับการขัดกันแหง อํานาจศาลกับการยอมรับคําพิพากษาของศาลตางประเทศบอเกิดของกฎหมายระหวางประเทศแผนก คดีบุคคลกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล อาจมีบอเกิดหรือที่มาได ๒ ทางคือ ๑) บอเกิดหรือที่มาภายในประเทศไดแกกฎหมายลายลักษณ อักษรและคํา พิพากษา ๒) บอเกิดหรือที่มาระหวางประเทศไดแก ขอตกลงระหวางประเทศ จารีต ประเพณี คําพิพากษาของศาลระหวางประเทศกฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีบุคคล มีศัพท เฉพาะที่ตองรูความหมายของศัพทเหลานี้ ๒.๑) กฎหมาย หมายถึง กฎหมายในรัฐหนึ่ง ๆ ซึ่งอยูในรูปของ กฎหมายลายลักษณอักษร และกฎหมายที่มิไดเปนลายลักษณอักษร ๒.๒) กฎหมายภายในหมายถึงกฎหมายที่สามารถนํามาปรับใชได กับขอเท็จจริงในคดีโดยตรง เชน ปพพ. ๒.๓) กฎหมายวาดวยการขัดกันแหงกฎหมายก็เปนกฎหมาย ภายในเชนเดียวกันแตมิใชเปนกฎหมายที่จะนํามาปรับโดยตรงกับคดีเพื่อศาลจะไดวินิจฉัยชี้ขาด แต เปนกฎหมายที่กําหนดวิธีการใหศาลหากกฎหมายที่จะนํามาใชปรับกับคดีไดโดยถูกตองเมื่อคดีนั้นมี องคประกอบตางชาติ ๒.๔) กฎหมายตางประเทศ หมายถึง กฎหมายที่ใชอยูในประเทศ หนึ่งประเทศใดที่มิใชประเทศไทย 02_01-340_.indd 161 17/10/2562 8:35:48


162 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒.๕) กฎหมายสัญชาติ หมายถึง กฎหมายภายในของบุคคลที่มี สัญชาตินั้น ๆ ๒.๖) กฎหมายวาดวยสัญชาติ หมายถึง กฎหมายภายในของ ประเทศหนึ่งประเทศใด ที่บัญญัติเรื่องการได การเสีย การแปลงสัญชาติ ๒.๗) กฎหมายภูมิลําเนา หมายถึง กฎหมายภายในที่ใชบังคับอยู ในประเทศซึ่งบุคคลที่เกี่ยวของกับกรณีนั้นมีภูมิลําเนาอยู ๒.๘) กฎหมายวาดวยภูมิลําเนา หมายถึง กฎหมายของประเทศใด ประเทศหนึ่งซึ่งบัญญัติวาบุคคลที่ปรากฏอยูในประเทศนั้นไดมาเปลี่ยนแปลง และสูญเสียภูมิลําเนา ของตนดวยวิธีอยางไร ๒.๙) กฎหมายแหงทองที่ที่ทําการสมรส หมายถึง ทองถิ่น หรือ ประเทศที่การสมรสไดมีขึ้น ๒.๑๐) กฎหมายที่คูกรณีมีเจตนาเลือกใชตาม ความสําคัญแหง เจตนาหมายถึง กฎหมายที่คูกรณีแหงสัญญาเลือกกฎหมายใดกฎหมายหนึ่งนํามาใชเปนหลักในการ พิจารณา ๒.๑๑) กฎหมายของประเทศที่ทรัพยสินตั้งอยู หมายถึง กฎหมาย ที่ใชอยูในทองถิ่นที่ทรัพยนั้นตั้งอยู ๒.๑๒) กฎหมายของประเทศที่ทําการพิจารณาคดี หมายถึง กฎหมายภายในของรัฐที่ทําการพิจารณาคดี ๒.๑๓) กฎหมายทองถิ่นบังคับแบบแหงนิติกรรม หมายถึง รูปแบบ ของนิติกรรมมักอยูภายใตเงื่อนไขของกฎหมายแหงประเทศที่นิติกรรมนั้นไดทําขึ้น ๖.๒.๔ ลักษณะการใหกฎหมายแกขอเท็จจริง การใหลักษณะกฎหมายแกขอเท็จจริง ในกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล หมายความวา ถานิติสัมพันธใดมีความเกี่ยวพันกับระบบกฎหมาย หลายระบบหรือที่เรียกวานิติ สัมพันธนั้น มีองคประกอบตางชาติศาลจําตองใหลักษณะขอกฎหมายแกขอเท็จจริงวาขอเท็จจริงนั้น ๆ จะสังกัดอยูในปญหากฎหมายประเภทใด สําหรับวิธีการแกไขการขัดกันแหงกฎหมาย ในสวนที่ เกี่ยวกับการใหลักษณะกฎหมายแกขอเท็จจริงนั้น มีวิธีการอยู ๓ ประการคือ 02_01-340_.indd 162 17/10/2562 8:35:49


163 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๑. การใหลักษณะแกขอเท็จจริง โดยการใชกฎหมายของประเทศที่ศาลซึ่งพิจารณา พิพากษาคดีตั้งอยู ๒. การใหลักษณะกฎหมายแกขอเท็จจริงโดยการใชกฎหมายของประเทศที่จะใช บังคัลแกคดีนั่นเอง ๓. การใหลักษณะกฎหมายแกขอเท็จจริงโดยการใชแนวความคิดแหงหลักสากลของ กฎหมาย การยอนสงในกฎหมายระหวางประเทศ คือ การที่บทบัญญัติของกฎหมายวาดวยการขัดกัน แหงประเทศหนึ่ง กําหนดใหใชกฎหมายของอีกประเทศหนึ่งแตกฎหมายของประเทศหลังนี้ ยอน สงกลับมาใหใชกฎหมายของประเทศแรกหรือยอนสงไปให ใชกฎหมายของประเทศที่สามบังคับแก กรณี ๖.๓ กฎหมายของสหประชาชาติ คําประกาศรวมกันระหวางรูสเวลและเชอรชิลที่นําไปสูการกอตั้ง UN ในเวลาตอมา ภายใต สนธิสัญญาแอตแลนดติก มีการพูดถึงเรื่องของรากฐานการกอตั้งของ องคการที่เปนสากลแทนที่ องคการสันนิบาตชาติ หลักการพื้นฐานของกฎบัติสหประชาชาติ : การรางของกฎบัติสหประชาชาติ มีหลักการ พื้นฐานที่สําคัญอยู ๓ เรื่อง คือ ความเทาเทียมกันในอํานาจอธิปไตยของทุกประเทศ รัฐที่มีความรักใน สันติภาพสามารถเขามาเปนรัฐสมาชิกไดและประเด็นดานการตัดสินใจในเรื่องของความมั่นคงเปน สิทธิ์ขาดของคณะมนตรีความมั่นคงเทานั้น อีกทั้ง สหรัฐอเมริกาเปนประเทศแรกที่ใหสัตยาบันตอกฎ บัตร หลักการสําคัญของกฏบัตร ความเทาเทียมกันของรัฐสมาชิกยึดถือหลักการเรื่องของความเทา เทียมกันในทางกฎหมายของรัฐ ขนาดของประเทศ หรืออะไรตางๆ จะไมมีผลตอความเทาเทียมกันใน สถานะทางกฎหมายภายในองคการความเทาเทียมกัน ภายใตกฎหมายนําไปสูรูปแบบของหลักการ ที่วาดวยเรื่องของ ๑ รัฐ ๑ เสียงในที่ประชุม สมัชชาใหญ โครงสรางการดําเนินงานขององคการก็บง บอกถึงความไมเทาเทียมกัน ในอํานาจในเรื่องของคณะมนตรีความมั่นคงอยางเรื่องของการใชสิทธิใน การระงับยับยั้งของประเทศสมาชิกถาวร ในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติผานการ Veto ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงความไมเทาเทียมกันของประเทศสมาชิก ในคณะมนตรีความมั่นคงกฏบัตร ถูกออกแบบมาใหทุกประเทศรวมมือกัน ระงับยับยังเรื่องของการขัดกันหรือคุกคามตอรัฐอื่น ภายใต กรอบคิดเรื่องของความเปนอิสระในดินแดนทุกรัฐสมาชิกจะตองไมทําการ ใด ๆ ที่จะขัดตอเปาหมาย 02_01-340_.indd 163 17/10/2562 8:35:52


164 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ขององคการ คือ เรื่องของการรักษาสันติภาพและความมั่นคง ระงับขอพิพาทดวยสันติวิธีการตั้ง อนุญาโตตุลาการ การกอตั้งศาลระหวางประเทศเปนการระงับขอพิพาทโดยสันติวิธีการไมแทรกแซง กิจการภายในของรัฐอื่น ๆ การทําตามสนธิสัญญารัฐสมาชิกตองมีศรัทธา ในการปฏิบัติตามกฎบัตร ขององคการสหประชาชาติ ๖.๓.๑ โครงสรางของ UN มี 5 สวนสําคัญ คือ ๑. General Assembly เปนหนวยงานที่ดูแลเรื่องของการ บริหารจัดการการ ดําเนินงานขององคการดูแลเรื่องของคัดเลือกสมาชิกใหม สมาชิกไมถาวร การเลือกคณะมนตรีตาง ๆ ลวนเปนหนาที่ของสมัชชาใหญแทบทั้งสิ้น ใชหลักการหนึ่ง ประเทศ ๑ เสียง ผลผลิตที่ไดจากสมัชชา ใหญ เรียกวา ขอมติ Resolution ถือเปนหลักการ ที่วางรากฐานใหกับกฎหมายระหวางประเทศ เปน ผลผลิตจากการใหความเห็นรวมกันของ ประเทศสมาชิกทั้งหมดและจะเปนพื้นฐานของกฎหมาย ระหวางประเทศตาง ๆ เชน แนวคิดเรื่องของทะเลและอาวกาศเปนสมบัติรวมกันของมนุษยชาติ ตอมามีการพัฒนาเปนกฎหมายระหวางประเทศที่มีการใชเปนการทั่วไป มีการทํางานรวมกันใน ๕ ดาน คือ การ ลดอาวุธและความมั่นคงระหวางประเทศ เศรษฐกิจการเงินสังคมมนุษยธรรมและ วัฒนธรรม การเมืองเอกราชของประเทศอาณานิคม การบริหารการคลัง และกฎหมาย สมัชชาใหญ ประกอบไปดวยประธาน ๑ คนและมีการเลือกรองประธานอีก ๑๗ คน โดยสวนใหญและประธานของ สมัชชาใหญมักจะมาจากประเทศขนาดเล็กหรือประเทศขนาดกลางเสียบอย เนื่องจากความตองการ ใหประเทศเหลานี้ มีอํานาจตอรองในระดับสากลไดบางการ ตัดสินใจในสมัชชาใหญ มักมีการตัดสินใจ ในลักษณะของการตัดสินใจรวมกันในรูปของกลุม ประเทศภูมิภาค เพื่อกําหนดทิศทางขององคการไป ในแนวทางของผลประโยชนในระดับ ภูมิภาค หรือการลงคะแนนที่แบงออกเปนกลุมประเทศ Norths and Soult ประเทศที่ พัฒนาและและประเทศที่กําลังพัฒนา ๒. คณะมนตรีความมั่นคงมีหนาที่เรื่องของการรักษาสันติภาพ และความมั่นคง ระหวางประเทศ อยูในรูปของตัวแทนในการตัดสินใจของสมาชิกทั้งหมดในองคการ การออกแบบให คณะมนตรีความมั่นคงมีสมาชิกนอย ๑๕ ประเทศ มาจากแนวคิดเรื่องของการมีประเทศสมาชิกนอย สามารถดําเนินงานไดงายและสะดวกรวดเร็วกวาสมาชิกแบบไมถาวรสามารถเปนได ๒ ป การประชุม ของคณะมนตรีความมั่นคงไมมีการกําหนดที่แนนอนแตจะอยูในรูปของกรณีพิพาทนั้น ๆ เปนสําคัญ เมื่อมีกรณีพิพาทก็จะมีการเรียกประชุม เพื่อหาขอยุติของปญหาดังกลาวภารกิจใหมของคณะมนตรี ความมั่นคง คือ เรื่องของการรักษาสันติภาพ Peace Keeping Mission เปนการรวมตัวกันของทั้ง ทหาร และพลเรือน ไมวาจะเปนเรื่องของการสาธารณะสุข การสอนหนังสือ พันธะกิจในการรักษา สันติภาพจะอยูในรูปของการตัดสินใจของประเทศสมาชิกวาจะเขาไปมีสวนรวมในการ รักษาสันติภาพ หรือไม 02_01-340_.indd 164 17/10/2562 8:35:53


165 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๓. คณะมนตรีดานเศรษฐกิจและสังคม เปนเวทีกลางที่เขา มาทําหนาที่เรื่องของ เศรษฐกิจและสังคมเปนการเฉพาะงบประมาณกวา ๗๐ ขององคการจะอยูที่คณะมนตรีดังกลาว ประกอบไปดวยสมาชิกทั้งสิ้น ๕๔ ประเทศที่รับการคัดเลือก จากสมัชชาใหญ แตละประเทศจะอยูใน วาระละ ๓ ป โดยการกระจายใหไดทุกภูมิภาคในโลก รวมถึงมักจะมีประเทศ ๕ อยูรวมดวย เนื่องจาก เปนประเทศที่จายเงินมากที่สุด ในการใหเงินอุดหนุนกับองคการ การลงมติของคณะมนตรี มติของ คณะมนตรีเศรษฐกิจ มักออกมาในรูปของคําแนะนํา หรือขอตัดสินใจในการตัดสินใจเสียสวนใหญ ทํา ใหไมมีผล บังคับในทางกฎหมาย ถาจะใหเปนขอบังคับที่มีผลทางกฎหมายตองนําขอบังคับดังกลาว ผานสมัชชาใหญ เพื่อใหมีผลบังคับใชที่เปนกฎหมายได ๔. สํานักเลขาธิการ ทําหนาที่ในการทํางานเพื่อองคการ ระหวางประเทศ ทํางานอยู บนพื้นฐานของผลประโยชนขององคการ ไมใชผลประโยชนของประเทศตน ๕. International Court of Justice : ICJ เปนหนวยงานที่ตั้งขึ้นเพื่อระงับขอ พิพาทเปนการเฉพาะทําหนาที่ในการใหคําแนะนําทางดานกฎหมาย ตุลาการทั้ง ๑๕ คน มาจากการ คัดเลือกของสมัชชาใหญแบะคณะมนตรีความมั่นคง มีวาระ การทํางาน ๙ ป แตทุก ๆ ๕ ป จะมีการ เลือกสมาชิกใหม ๓ คน แนวโนมของคดีที่เขาสู ICJ มีแนวโนมที่เพิ่มมากขึ้นทุกป ผลการพิจารณาของ ICJ มักจะกลายมาเปนรากฐานของ กฎหมายระหวางประเทศ เสียสวนมากความทาทายของสังคม ปจจุบันเนื่องจาก IC J ไมไดทําหนาที่ในการพิจารณาขอพิพาทระหวางหนวยงานที่ไมใชรัฐ อยางรัฐกับ กลุมกอการราย หรือ รัฐกับบรรษัทขามชาติ แตแนวโนมของโลกยุคปจจุบัน ไมไดจํากัดอยูในเรื่องของ รัฐตอ รัฐทําใหความทาทายตกอยูที่หนวยงานที่จะเขามาทําหนาที่ในการระงับขอพิพาทดังกลาว ๖. คณะมนตรีภาวะทัสตรี เกิดขึ้นมาจากการที่ประเทศ ที่เพิ่งไดรับเอกราชยังคงไม สามารถปกครอบตัวเองไดอยางสมบูรณ จึงเกิดการกอตั้งคณะมนตรีดังกลาวขึ้น เพื่อสงเสริมให ประเทศที่ไดรับเอกราชสามารถดําเนินงาน ดวยตัวเอง ได ชวง ๑๙๕๐ - ๑๙๖๐ เปนชวงที่คณะมนตรี ดังกลาวทํางานหนักมาก ภายหลังป ๖๐ เปนตนมาบทบาทของคณะมนตรีภาวะทรัสตีลดลงอยางมาก มีความพยายามในการนําเสนอภาระกิจใหมใหกับคณะมนตรีดังกลาว อีกโครงสรางหนึ่งที่ทําหนาที่เปนโครงสรางสําคัญในองคการสหประชาชาติ คือ เรื่อง ของการประชุมตาง ๆ ที่อยูภายใตการทํางานขององคการสหประชาชาติ เปนการสรางความตระหนัก และสรางโครงสรางการทํางาน เพื่อตอบสนองตอผลการประชุมตาง ๆ อีกทั้งการประชุมยังทําหนาที่ เปนเวทีสําคัญ ที่ทําใหตัวแสดงที่ไมใชรัฐสามารถมีปฏิสัมพันธกับตัวแสดงที่เปนรัฐได ปญหาสําคัญขององคการสหประชาชาติ เนื่องการองคการสหประชาชาติ มีลักษณะ ของการเปลี่ยนแปลง มีพลวัตรจากการแสโลกอยูตลอดเวลา ดังนั้นองคการ สหประชาชาติ จึงมีความ 02_01-340_.indd 165 17/10/2562 8:35:54


166 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ จําเปนที่จะตองมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับตัวและสรางความสําเร็จของการดําเนินงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ ๑. การเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ๒. ความตองการที่แตกตางกันของประเทศที่พัฒนาการทํางานขององคการอยางมี ประสิทธิภาพ แลวกับประเทศกําลังพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรอยางเปนธรรม ๓. ความตองการของตัวแสดงที่ไมใชรัฐที่เพิ่มมากขึ้นในเรื่องของการเขาไปมีสวนรวม ในกิจการตางๆ ขององคการระหวางประเทศ ๔. การแกไขกฎบัติอาจทําไดยากแตในขณะเดียวกันกฎบัตรก็มีความยึดหยุน พอสมควรในการเปลี่ยนแปลง อยางการแกไขเรื่องของสิทธิมนุษยชนภายในกฎบัตร โดย โคฟ อนันต ๕.องคการสหประชาชาติสามารถสรางสรรคปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความ ตองการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการแสโลกใหม ๆ ได การปฏิรูปโครงสรางของคณะมนตรีความมั่นคง เนื่องจากการมีสมาชิกถาวร ๕ ประเทศรวม อยูดวย สงผลใหมีขอถกเถียงในเรื่องของตัวแทนที่อยากใหมีการเพิ่มตัวแทนที่มีความหลากหลายมาก ยิ่งขึ้น เนื่องจาก ๕ มหาอํานาจเปนประเทศที่มาจากภูมิภาคยุโรปเสียเปนสวนใหญ สวนผลใหมีความ พยายามที่จะสรางความหลากหลาย ในคณะมนตรีความมั่นคงใหมากยิ่งขึ้น รวมถึงความโปรงใสและ ประสิทธิภาพ ในการดําเนินงานดวยความไมยุติธรรมในการใชสิทธิในการ Veto ของ ๕ ประเทศ มหาอํานาจ ตัวแสดงที่ไมใชรัฐในองคการสหประชาชาติ มีการเปดโอกาสใหตัวแสดงที่ ไมใชรัฐเหลานี้ เขา มามีบทบาทมากยิ่งขึ้นทั้งเรื่องของการ ใหคําปรึกษาและเรื่องของการ ใหงบประมาณในการ ดําเนินงานขององคการ อยาง มูลนิธิบิล มิลินดา เกต๓ ๖.๓.๒ แนวปฏิบัติ มาตรฐาน และกฎหมายระหวางประเทศดานสิทธิ มนุษยชน หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไดมีการจัดตั้งองคการสหประชาชาติ ซึ่งให ความสําคัญตอการเคารพสิทธิมนุษยชนและ เพื่อเปนการประกันความมั่นคงและสันติภาพ ของโลก และมวลมนุษยชาติ กฎบัตรสหประชาชาติ จึงมีขอบท หรือ มาตรา ที่เกี่ยวของกับ สิทธิมนุษยชน อยางชัดเจนอยูหลายขอ รวมทั้งการจัดตั้งกลไกตาง ๆ เพื่อดําเนินการที่ เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน ๓ องคการระหวางประเทศคณะรัฐศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร https://issuu.com/polscithammasat/docs/annual report ๕๗ สืบคนเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 166 17/10/2562 8:35:56


167 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation โดยกลไกเหลานี้ ไดมีการพัฒนามาโดยตลอดและไดรับรอง กฎหมายระหวางประเทศ เกี่ยวกับดาน สิทธิมนุษยชนในรูปแบบตาง ๆ อาทิ กติการะหวาง ประเทศ อนุสัญญา รวมทั้ง แนวปฏิบัติตาง ๆ ที่ เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน ซึ่งรัฐสมาชิกมีพันธกรณีตามกฎหมายและหรือทางจริยธรรมที่จะตอง ปฏิบัติตาม ดังนั้น องคการสหประชาชาติ จึงถือเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญของการพัฒนากฎหมายสิทธิ มนุษยชนระหวางประเทศ ตามทางปฏิบัติและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ ผูพิทักษสิทธิมนุษยชนสมัชชาใหญสหประชาชาติ ไดรับรองขอมติที่ ๕๓/ ๑๔๔ เมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๑ ใหความเห็นชอบกับสาระของปฏิญญาวาดวยสิทธิ และความรับผิดชอบของ ปจเจกบุคคลกลุมบุคคลและองคกรของสังคม ในการสงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ ขั้นพื้นฐานซึ่งเปนที่ยอมรับอยางสากลหรือที่รูจักในนาม "ปฏิญญาวาดวยผูพิทักษสิทธิมนุษยชน" สาระสําคัญของปฏิญญาฯ เปนการใหคํา จํากัดความของผูพิทักษสิทธิมนุษยชน (human rights defenders) วาหมายถึง บุคคล กลุมบุคคล และองคกรอื่น ๆ ของสังคมใดก็ตามที่ปฏิบัติหนาที่ในการ สงเสริม และคุมครอง สิทธิมนุษยชน ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม พลเมือง และการเมือง รวมถึงสิทธิในการดําเนินการตาง ๆ เชน การชุมนุมโดยสันติการเขารวมในองคกรหรือสมาคมรวมทั้ง การติดตอกับองคการตางประเทศ เพื่อดําเนินงานดานสิทธิมนุษยชนกับฝายตางๆ ความรับผิดชอบ ของรัฐในการดําเนินมาตรการตามที่กําหนดไวในปฏิญญาฯ การเยียวยาเมื่อถูก ละเมิดเปนตน ๖.๓.๓ กลไกสิทธิมนุษยชนในระบบสหประชาชาติ องคการสหประชาชาติเปนตนกําเนิดสําคัญในการกําหนดมาตรฐานสากลและได จัดตั้งกลไกในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศหลายรูปแบบ ซึ่งมีผลผูกพันตอ ประเทศสมาชิกรวมทั้งประเทศไทย หลักการ หรือแนวคิดสิทธิมนุษยชนมีบทบาทตอองคการ สหประชาชาติ นับตั้งแตการกอตั้งองคการ โดยปรากฏอยูในมาตราตาง ๆ ของกฎบัตรสหประชาชาติ หลังจากนั้น ไดมีการรางปฏิญญา สากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และตราสารหลักดานสิทธิมนุษยชนตาง ๆ ของสหประชาชาติ กลไกดานสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติที่จัดตั้งขึ้นทั้งโดย กฎบัตร สหประชาชาติ ตราสารตาง ๆ และกลไกอื่น ๆ ของสหประชาติ มีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อกําหนด มาตรฐานสากล ตลอดจนการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ดานสิทธิมนุษยชน ที่กําหนด ไว ซึ่งแตละกลไกตางมีจุดแข็งและจุดออนที่แตกตางกันไป ในขณะเดียวกันสถาบัน สิทธิมนุษยชน แหงชาติ และองคการเอกชนไดมีบทบาทที่ทวีความสําคัญในการดําเนินงานของสหประชาชาติดาน สิทธิมนุษยชน นอกเหนือจากกลไกที่จัดตั้งขึ้นในระบบ สหประชาชาติ ๑. การใชกําลังและอาวุธปน การใชกําลังและอาวุธปนของ พนักงานเจาหนาที่ตาม กฎหมาย เปนเรื่องที่ไดรับการกลาวถึงอยางมาก ทั้งในประเทศ และระหวางประเทศ วาทําอยางไร จึง 02_01-340_.indd 167 17/10/2562 8:35:57


168 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ จะใหเกิดการตัดสินใจที่เหมาะสมเมื่อตองใหกําลัง และอาวุธปนของเจาหนาที่ โดยตองคํานึงถึงความ ปลอดภัยของเจาหนาที่และไมเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน เชน การใชกําลังและอาวุธปนประเภท ตาง ๆ จะตองเปนไปตามความเหมาะสม ไมใชความรุนแรงเกินกวาเหตุดวยเหตุดังกลาว การประชุม ขององคการสหประชาชาติวาดวยการปองกันอาชญากรรมและการปฏิบัติตอผูกระทําผิด ครั้งที่ ๘ ณ กรุงฮาวานา ประเทศคิวบา เมื่อ ค.ศ. ๑๙๙๐ จึงไดรับรองหลักการพื้นฐานวาดวย การใชกําลังและอาวุธปนของเจาหนาที่ที่บังคับใชกฎหมาย ซึ่งไดกําหนดมาตรฐานที่พึงปฏิบัติ ดังกลาว รวมถึงการปองกันอยางเปนระบบ เชน การฝกอบรมเจาหนาที่ ระเบียบในการเก็บและเบิก อาวุธปน การรายงานเมื่อมีการใชอาวุธปน เปนตน และสหประชาชาติไดถือเปนมาตรฐาน ดานสิทธิ มนุษยชนที่สําคัญอีกเรื่องหนึ่ง การเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคลในคอมพิวเตอร สมัชชาใหญสหประชาชาติไดรับรอง "แนวทาง เพื่อควบคุมแฟมขอมูลสวนบุคคลในระบบคอมพิวเตอร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยกลาวถึงการเคารพสิทธิ ของบุคคลซึ่งเปนเจาของขอมูลสวนตัว เมื่อมีการรวบรวมจัดเก็บฐานขอมูลโดยองคกรหนึ่งใด ซึ่งการ ดําเนินการดังกลาวตองคํานึงถึงหลักการสําคัญ ๕ ขอ ไดแก ๑. หลักการวาดวยการเปนไปตามกฎหมายและความเปนธรรม ๒. หลักการแหงความถูกตองแมนยํา ๓. หลักการวาดวยความจําเพาะของจุดประสงค ๔. หลักการวาดวยการเขาถึงขอมูลของบุคคลที่มีสวนไดเสีย ๕. หลักการวาดวยการไมเลือกปฏิบัติ สิทธิในการพัฒนาสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติไดรับรอง “ปฏิญญาวาดวย สิทธิในการ พัฒนา" เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๙ โดยมีสาระสําคัญคือ การพัฒนามีความสัมพันธกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ที่จะตองใหประชาชนทุกคนมีสวนรวมใหการสนับสนุน และไดรับประโยชนจากการพัฒนาอยางเปน ธรรม เพื่อมุงใหการพัฒนาสงผลตอความอยูดีกินดีอยางยั่งยืน เกิดการพัฒนาศักยภาพและทางเลือก ใหกับบุคคลทุกคน ซึ่งรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ ในหมวดแนวนโยบายพื้นฐาน แหงรัฐ ก็ไดกําหนดเรื่องการ มีสวนรวมของประชาชนที่เกี่ยวของกับการพัฒนา เพื่อใหเกิดการพัฒนา ที่เคารพตอสิทธิ ของประชาชนและมีความเปนธรรมไวในหลายมาตรา 02_01-340_.indd 168 17/10/2562 8:35:58


169 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๖.๔ กฎบัตรระหวางประเทศ ใน อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนาม จะจับมือกันป พ.ศ. ๒๕๕๘ นี้ ๑๐ ประเทศในอาเซียน อันประกอบดวย บรูไน พมา กัมพูชา กาวเขาสูการเปนประชาคม อาเซียน (ASEAN Economic Cornrnunity: AEC) เพื่อรวมมือกันทางเศรษฐกิจแนนอนวา ความ รวมมือที่จะเกิดขึ้นตองอยูภายใตกรอบขอปฏิบัติที่สมาชิกเห็นชอบรวมกัน ซึ่งเรียกวา "กฎบัตรสมาคม แหงประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต" หรือ “กฎบัตรอาเซียน” นั่นเอง กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบไดกับ "ธรรมนูญของอาเซียน" ซึ่งเปนราง สนธิสัญญาที่ประเทศสมาชิกอาเซียนทํารวมกัน เพื่อเปนการวางกรอบกฎหมาย แนวปฏิบัติ ขอบเขต ความรับผิดชอบตาง ๆ รวมทั้งโครงสรางองคกรใหกับอาเซียน ให เปนไปภายใตกฎหมายเดียวกัน ซึ่ง สามารถปรับปรุง แกไข และสรางกลไกใหมขึ้นมาได เพื่อใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงในโลก ปจจุบัน ทั้งนี้ ในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ ๑๓ เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๐ ที่ ประเทศสิงคโปร ผูนําอาเซียนไดรวมกันลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียน เนื่องในโอกาสครบรอบ ๕๐ ป ของการกอตั้งอาเซียน กอนจะรวมทําสัตยาบันเมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากมีสมาชิก ครบ ๑๐ ประเทศ ซึ่งทําใหกฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนตน มา ๖.๔.๑ วัตถุประสงคของกฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียน ที่จะทําใหอาเซียนมีสถานะ เปนนิติบุคคล เปนการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรางองคกรใหกับอาเซียน โดยนอกจากจะ ประมวลสิ่งที่ถือเปนคานิยม หลักการ และแนวปฏิบัติในอดีตของ อาเซียนมาประกอบกันเปนขอ ปฏิบัติอยางเปนทางการของประเทศสมาชิกแลว ยังมีการปรับปรุงแกไขและสรางกลไกใหมขึ้น พรอม กําหนดขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบของ องคกรที่สําคัญในอาเซียนตลอดจนความสัมพันธในการ ดําเนินงานขององคกรเหลานี้ ใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปจจุบัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของอาเซียน ใหสามารถดําเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค และเปาหมายโดยเฉพาะอยางยิ่งการ ขับเคลื่อนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน ใหไดภายในป พ.ศ. ๒๕๕๘ ตามที่ผูนําอาเซียน ไดตกลง กันไว ดังนี้ 02_01-340_.indd 169 17/10/2562 8:35:58


170 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. กําหนดใหเพิ่มการประชุมสุดยอดอาเซียนจากเดิมปละ ๑ ครั้ง เปนป ละ ๒ ครั้ง เพื่อใหผูนํามีโอกาสหารือกันมากขึ้น พรอมทั้งแสดงใหเห็นถึงเจตจํานงทางการเมืองที่จะผลักดัน อาเซียนไปสูการรวมตัวกันเปนประชาคมในอนาคต ๒. มีการตั้งคณะมนตรีประจําประชาคมอาเซียนตามเสาหลักทั้ง ๓ ดาน คือ การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ๓.กําหนดใหประเทศสมาชิกแตงตั้งเอกอัคราชทูตประจําอาเซียนไปประจําที่กรุง จาการตา ซึ่งไมเพียงแตจะแสดงใหเห็นถึงความตั้งใจแนวแนของอาเซียนที่จะทํางานรวมกันอยาง ใกลชิดเพื่อมุงไปสูการรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนในอนาคต และยังชวยลดคาใชจายในการ เดินทางไปรวมประชุมและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ประสานงานระหวางประเทศสมาชิก ๔. หากประเทศสมาชิกไมสามารถตกลงกันไดโดยหลักฉันทามติใหใชการตัดสินใจ รูปแบบอื่น ๆ ไดตามที่ผูนํากําหนด ๕. เพิ่มความยืดหยุนในการตีความหลักการไมแทรกแซงกิจการภายใน โดยมี ขอกําหนดวาหากเกิดปญหาที่กระทบตอผลประโยชนสวนรวมของอาเซียน หรือเกิด สถานการณ ฉุกเฉิน ประเทศสมาชิกตองหารือกันเพื่อแกปญหา และกําหนดใหประธาน อาเซียนเสนอวิธีการแกไข ปญหาดังกลาว ๖.๔.๒ โครงสรางของกฎบัตรอาเซียน โครงสรางของกฎบัตรอาเซียน ประกอบดวยบทบัญญัติ ๑๓ หมวด ๕๕ ขอ ครอบคลุมในทุก ๆ เรื่อง ไมวาจะเปนเปาหมาย หลักการ สมาชิกภาพ โครงสราง องคกรของอาเซียน องคกรที่มีความสัมพันธกับอาเซียน เอกสิทธิ์ และความคุมกัน กระบวนการตัดสินใจ การระงับขอ พิพาท งบประมาณและการเงิน การบริหารจัดการเอกลักษณและสัญลักษณของอาเซียน และ ความสัมพันธกับภายนอกโดยแตละหมวด ประกอบดวย หมวด ๑ ความมุงประสงค และหลักการของอาเซียน กลาวถึง วัตถุประสงค และ หลักการของอาเซียนในดานตาง ๆ ทั้งความรวมมือทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคง สิ่งแวดลอม ฯลฯ หมวด ๒ สภาพบุคคลตามกฎหมาย และสภาพบุคคลตามกฎหมาย ของอาเซียน เปนการระบุวาอาเซียนคือองคการระหวางประเทศในระดับรัฐบาลและไดรับสภาพบุคคลตาม กฎหมายโดยกฎบัตรนี้ 02_01-340_.indd 170 17/10/2562 8:36:01


171 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation หมวด ๓ สมาชิกภาพ กลาวถึง ประเทศใดบางที่เปนสมาชิกอาเซียน แตละประเทศ มีสิทธิและพันธกรณีอยางไรบางรวมทั้งระบุถึงกฏเกณฑการรับสมาชิกใหม ซึ่งตองเปนประเทศที่ตั้งอยู ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตรัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับโดยฉันทามติในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน หมวด ๔ องคกรกลาวถึงโครงสรางองคกร และหนาที่ของคณะกรรมการการ ทํางานตาง ๆ ประกอบดวยที่ประชุมสุดยอดอาเซียนซึ่งให จัดประชุมปละสองครั้งโดยใหรัฐสมาชิกที่ เปนประธานอาเซียนเปนเจาภาพนอกจากนี้ยัง กลาวถึงคณะทํางานตาง ๆ ประกอบดวยคณะมนตรี ประสานงานอาเซียนคณะมนตรี ประชาคมอาเซียนองคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา คณะกรรมการผูแทนถาวรประจําอาเซียนเลขาธิการและสํานักเลขาธิการอาเซียนองคกรสิทธิมนุษยชน อาเซียนมูลนิธิ อาเซียน หมวด ๕ องคกรที่มีความสัมพันธกับอาเซียน ระบุวาองคภาวะที่มีความสัมพันธกับ อาเซียน หมวด ๖ ความคุมกันและเอกสิทธิ์ กลาวถึง เอกสิทธิ์ตาง ๆ ของอาเซียน ที่จะไดรับ ความคุนกันในดินแดนของรัฐสมาชิกรวมทั้งเรื่องเอกสิทธิ์ทางการทูตของอาเซียนเลขาธิการอาเซียน พนักงานของสํานักเลขาธิการอาเซียนซึ่งจะไดรับความคุมกันและเอกสิทธิ์ที่จําเปนในการปฏิบัติหนาที่ ภายใตขอบังคับ หมวด ๗ การตัดสินใจ กลาวถึงเกณฑการตัดสินที่อยูบนหลักการปรึกษาหารือ และ ฉันทามติ รวมทั้งขั้นตอนการดําเนินงานตาง ๆ เชน หากมีเรื่องละเมิดกฎบัตรรายแรง หรือไมปฏิบัติ ตามก็ตองเสนอเรื่องดังกลาวไปยังที่ประชุมสุดยอดอาเซียน เพื่อตัดสินใจ หมวด ๘ การระงับขอพิพาท กลาวถึงวิธีระงับขอพิพาท ซึ่งระบุวา รัฐ สมาชิกตอง พยายามระงับขอพิพาทอยางสันติใหทันทวงที ผานการสนทนา ปรึกษาหารือ หรือเจรจา รวมทั้งอาจ ใชคนกลางที่นาเชื่อถือการประนีประนอมและการไกลเกลี่ยก็ได ซึ่งอาจมีการจัดตั้งกลไกเพื่อระงับขอ พิพาทที่อาจเกิดขึ้นแตหากมีขอพิพาทที่ระงับไมไดก็ใหเสนอขอพิพาทดังกลาวไปใหที่ประชุมสุดยอด อาเซียนเปนผูตัดสินในชองทางสุดทาย หมวด ๙ งบประมาณและการเงิน ระบุถึงการจัดทํางบประมาณของสํานัก เลขาธิการอาเซียน ซึ่งตองไดรับการตรวจสอบภายในและภายนอก โดยงบประมาณจะมาจากรัฐ สมาชิกอาเซียนจายคาบํารุงประจําป หมวด ๑๐ การบริหารและขั้นตอนการดําเนินงาน กลาวถึงวาระของประธาน อาเซียน ซึ่งจะหมุนเวียนตําแหนงกันทุกปตามลําดับตัวอักษรชื่อภาษาอังกฤษของ ประเทศพรอมกับ 02_01-340_.indd 171 17/10/2562 8:36:02


172 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ระบุบทบาทของประธานอาเซียนที่จะเสริมสรางและสงเสริมความสัมพันธ ละนอกอาเซียน ระบุถึงพิธี การและแนวปฏิบัติทางการทูต ๖.๔.๓ สาระสําคัญของกฎบัตรอาเซียน จากโครงสรางบทบัญญัติ ๑๓ หมวดขางตนหากนํามาสรุปสาระสําคัญเปนหมวดหมู ตาง ๆ เพื่อใหเห็นภาพรวมชัดขึ้น วากฎบัตรอาเซียน มีวัตถุประสงค และสาระสําคัญอยางไรบางก็จะ สรุปไดดังนี้ ๑. ดานเศรษฐกิจ มีสาระสําคัญคือเพื่อสรางตลาด และฐานการผลิตเดียวที่มี เสถียรภาพ มั่งคั่ง และมีความสามารถในการแขงขันสูงมีการรวมตัวทาง เศรษฐกิจที่มีการเคลื่อนยาย เสรีของสินคาการบริการการลงทุนและแรงงานการเคลื่อนยายทุนเสรียิ่งขึ้น ๒. ดานการเมืองความมั่นคง เนนการคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้น พื้นฐาน เสริมสรางประชาธิปไตย เพิ่มพูนธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม ตอบสนองตอสิ่งทาทาย ความมั่นคง เชน การกอการราย ธํารงรักษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต ใหเปนเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร และไมมีอาวุธที่มีอานุภาพทําลายลางสูงทุกชนิด ๓. ดานความมั่นคงของมนุษย เพื่อบรรเทาความยากจน และลดชองวางการพัฒนา ภายในอาเซียน โดยผานความชวยเหลือซึ่งกัน และกันและความรวมมือ พรอมกับสงเสริมพัฒนา ทรัพยากรมนุษยผานความรวมมือดานการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิตในดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเพื่อเสริมสรางพลังประชาชน และเสริมสราง ความเขมแข็งแหงประชาคมอาเซียน ๔. ดานสังคม มุงสงเสริมอาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลางสรางสังคมที่ปลอดภัย มั่นคงจากยาเสพติด เพิ่มพูนความกินดีอยูดีของประชาชนอาเซียน ผานโอกาสที่ทัดเทียมกันในการ เขาถึงการพัฒนามนุษยสวัสดิการสังคม และความยุติธรรม ๕. ดานวัฒนธรรม สงเสริมอัตลักษณของอาเซียน โดยเคารพความ หลากหลายทาง วัฒนธรรม และมรดกของภูมิภาครวมทั้งรวมกันอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม ๖. ดานสิ่งแวดลอม สนับสนุนการพัฒนาอยางยั่งยืนที่คุมครอง สภาพแวดลอม ความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 02_01-340_.indd 172 17/10/2562 8:36:02


173 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๖.๔.๔ ประเทศไทยกับกฎบัตรอาเซียน ประเทศไทยมีบทบาทหนาที่นําการจัดทํากฎบัตรอาเซียน โดยได ผลักดันประเด็น ตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอประชาชนอาเซียน ระหวางการยกรางจนปรากฏอยูในกฎบัตรอาเซียน เชน ๑. การจัดตั้งองคกรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน ๒. การใหอํานาจเลขาธิการอาเซียนติดตาม และรายงานการปฏิบัติตามความตกลง ของรัฐสมาชิก ๓. การจัดตั้งกลไกสําหรับการระงับขอพิพาทตาง ๆ ระหวางประเทศสมาชิก ๔. การระบุใหผูนําเปนผูตัดสินวาจะดําเนินการอยางไรตอรัฐผูละเมิดพันธกรณีตาม กฎบัตรอยางรายแรง ๕. การเปดชองใหใชวิธีการอื่นในการตัดสินใจหากไมมีฉันทามติ ๖. การใหความสําคัญกับการสงเสริมการปรึกษาหารือระหวางประเทศสมาชิก เพื่อ แกไขปญหาที่กระทบผลประโยชนรวม ซึ่งทําใหมีการตีความหลักการหามแทรกแซงกิจการภายในที่ อาเซียนยึดมั่นอยูใหมีความยืดหยุนมากขึ้น ๗. การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซียน เพื่อใหอาเซียนสามารถตอบสนองตอ สถานการณฉุกเฉินไดอยางทันทวงที ๘. การเปดชองทางใหอาเซียน สามารถมีปฏิสัมพันธกับองคกร ภาคประชาสังคม มากขึ้น ๙. การปรับปรุงโครงสรางองคกรใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เชน ใหมีการประชุม สุดยอดอาเซียนปละ ๒ ครั้งจัดตั้งคณะมนตรี เพื่อประสานความรวมมือในแตละเสาหลัก และการมีคณะผูแทนถาวรประจําอาเซียนที่กรุง จาการตาเพื่อลดเวลา และคาใชจายในการประชุมของอาเซียน ๖.๔.๕ ตราสารระหวางประเทศ ตราสารระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่ถือเปนสนธิสัญญาหลักดานสิทธิ มนุษยชนระหวางประเทศ ภายใตสหประชาชาติ มีทั้งสิ้น ๔ ฉบับ ดังนี้๔ ๔ ตราสารระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่ถือเปนสนธิสัญญาหลักดานสิทธิมนุษยชน ระหวาง ประเทศภายใตสหประชาชาติhttp://humanrights.mfa.go.th/th/humanrights/obligation/internationalhuman-right สืบคนเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 173 17/10/2562 8:36:06


174 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๑. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ เมือง (International Covenant on Civil and Political Rights-ICCPR) มีสาระสาคัญดังนี้ ๑) กลาวถึงสิทธิในการกําหนดเจตจํานงตนเอง ๒) กลาวถึงพันธกรณีของรัฐภาคี ที่รับรองจะเคารพและประกันสิทธิของ บุคคล รวมถึงการหามเลือกปฏิบัติ ไมวาจะดวยเหตุผลทางเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความ คิดเห็นทางการเมือง สัญชาติ สถานะทางเศรษฐกิจ สังคม ถิ่นกําเนิด หรือสภาพอื่นใด ๓) กลาวถึงสาระของสิทธิในสวนที่เปนสิทธิพลเมือง และสิทธิ ทางการเมือง อาทิ เสรีภาพในการมีชีวิต เสรีภาพจากการถูกทรมาน การหามมิใหบุคคลถูก จับกุมตามอําเภอใจ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก ๔) กลาวถึงการจัดตั้งคณะกรรมการการสิทธิมนุษยชนพันธกรณีของรัฐใน การจัดทํารายงานของรัฐภาคี และการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ ๕) กลาวถึงหามการตีความไปในทางขัดกับกฎหมายระหวาง ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งการมีใหตีความในการที่จะลิดรอนสิทธิที่จะใชประโยชนจากทรัพยากร ธรรมชาติ ๒. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจสังคม และ วัฒนธรรม (International Covenant on Economic,Social and Cultural Rights หรือ ICESCR) มี สาระสําคัญ ดังนี้ ๑. กลาวถึง สิทธิในการกําหนดเจตจํานงตนเอง ๒. กลาวถึง พันธกรณีของรัฐภาคีที่จะดําเนินมาตรการตาง ๆ อยาง เหมาะสม โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ ๓. กลาวถึงสาระของสิทธิ ไดแก สิทธิในการทํางาน สิทธิในชีวิตความ เปนอยูที่ดี สิทธิในดานการศึกษา สิทธิดานสุขภาพ สิทธิในวัฒนธรรม ๔. กลาวถึง พันธกรณีของรัฐในการจัดทํารายงานประเทศ และบทบาท ของคณะมนตรีเศรษฐกิจ และสังคมในการตรวจสอบการปฏิบัติตามพันธกรณีรวมกับกลไก อื่นๆ ของ สหประชาชาติ ๕. กลาวถึง การเขาเปนภาคี และการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของ กติกา 02_01-340_.indd 174 17/10/2562 8:36:06


175 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๓. อนุสัญญาวาดวยการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ๕ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Women หรือ CEDAW) มี สาระสําคัญ ดังนี้ ๑. กลาวถึง คําจํากัดความของคําวาการเลือกปฏิบัติตอสตรี พันธกรณีของ รัฐภาคี มาตรการที่รัฐภาคีตองดําเนินการ เพื่อสนับสนุนความกาวหนาของ สตรี ฯลฯ ๒. กลาวถึง ความเทาเทียมกันระหวางบุรุษและสตรีในดาน การเมืองและ การดํารงชีวิต เชน สิทธิในการเลือกตั้ง ๓. กลาวถึง สิทธิของสตรีที่จะตองไดรับการดูแลทางเศรษฐกิจ การปองกัน ความรุนแรงตอสตรีในสถานที่ทํางาน และการเขาถึงบริการสุขภาพ ฯลฯ ๔. กลาวถึง ความเทาเทียมกันของบุรุษ และสตรีในดานกฎหมาย ๕. กลาวถึง การจัดตั้งคณะกรรมการการขจัดการเลือกปฏิบัติตอ สตรีในทุก รูปแบบ พันธกรณีของรัฐในการจัดทํารายงานของรัฐภาคี และการปฏิบัติหนาที่ ของคณะกรรมการ ๖. กลาวถึง การมิใหมีขอบทของอนุสัญญาที่จะขัดตอกฎหมาย ภายในที่ ดําเนินการมากกวาที่กําหนดไวในอนุสัญญา และกฎหมายระหวางประเทศที่มีอยู การนําพันธกรณีไป ปฏิบัติในระดับประเทศ ฯลฯ ๔. อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child หรือ CRC) มีสาระสําคัญ ดังนี้ ๑. กลาวถึง หลักการและเนื้อหาเกี่ยวกับสิทธิตาง ๆ ที่เด็กพึงไดรับ ประกอบดวยสิทธิและเสรีภาพของเด็กโดยทั่วไป การคุมครองรางกาย ชีวิต เสรีภาพ และสวัสดิภาพ ของเด็ก การใหสวัสดิการสังคมแกเด็กการคุมครองสิทธิทางแหงการคุมครอง เด็กที่มีปญหาความ ประพฤติ หรือกระทําความผิดทางอาญาการคุมครองเด็กผูดอยโอกาส ๒. กลาวถึง หลักเกณฑ และแบบพิธีซึ่งประเทศที่ใหสัตยาบันแกอนุสัญญา ตองปฏิบัติตาม ๓. กลาวถึง กลไกของอนุสัญญาซึ่งกําหนดวิธีการติดตามดูแลการปฏิบัติ ตามอนุสัญญา และกําหนดเงื่อนไขตาง ๆ ในการใชบังคับ ๕ www.https://www.trang.psu.ac.th/asean/?p=๒๖ สืบคนเมื่อวันที่ ๒๖ ส.ค. ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 175 17/10/2562 8:36:07


176 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination หรือ CERD)มี สาระสําคัญ ดังนี้ ๑. กลาวถึง คําจํากัดความของคําวาการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ วา หมายถึง การจําแนก กีดกัน การจํากัดหรือการเอื้ออํานวยพิเศษ เพราะเชื้อชาติ สีผิว เชื้อสายชาติ กําเนิด หรือเผาพันธุ และการดําเนินมาตรการเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ ๒. กลาวถึง การจัดตั้งคณะกรรมการการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ พันธกรณีของรัฐ ในการจัดทํารายงานและการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ ๓. กลาวถึงกระบวนการเขาเปนภาคี และการแกไขบทบัญญัติเพิ่มเติมของ อนุสัญญา ๖. อนุสัญญาวาดวยการตอตานการทรมาน และการกระทําอื่น ๆ ที่โหดราย ไร มนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักดิ์ศรี (Convention Against Torture and other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment หรือCAT) มี สาระสําคัญ ดังนี้ ๑. กลาวถึง คํานิยามของการทรมานบทบัญญัติวาดวยการกําหนดใหการ ทรมานเปนความผิดที่ลงโทษไดตามกฎหมายอาญาเขตอํานาจที่เปนสากล เกี่ยวกับความผิดการ ทรมานและหลักการสงผูรายขามแดน ๒. กลาวถึง การนําบทบัญญัติไปใชโดยการจัดตั้งคณะกรรมการตอตานการ ทรมานซึ่ง เปนองคกรกํากับดูแล ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญอิสระจํานวน ๑๐ คน ที่แตงตั้งโดยภาคี สมาชิกและปฏิบัติหนาที่ในฐานะปจเจกบุคคลตามความสามารถ คํารองเรียนระหวางรัฐ คํารองเรียน ของปจเจกบุคคล อํานาจคณะกรรมการตอตานการทรมาน ๓. กลาวถึง กระบวนการเขาเปนภาคี ผลใชบังคับการแกไขอนุสัญญา โดยเฉพาะขอสงวน การแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของอนุสัญญาและการระงับขอพิพาท ๗. อนุสัญญาวาดวยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities หรือ CRPD) มีสาระสําคัญ ดังนี้ ๑. กลาวถึง วัตถุประสงค คํานิยาม และหลักการทั่วไป อาทิ การเคารพ ศักดิ์ในศรีที่มีมาแตกําเนิด เสรีภาพในการตัดสินใจดวยตนเอง ความเปนอิสระของ บุคคล การไมเลือก ปฏิบัติ การมีสวนรวมไดอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพในสังคม การ เคารพความแตกตาง ความเทา เทียมของโอกาส และความสามารถในการเขาถึง ฯลฯ 02_01-340_.indd 176 17/10/2562 8:36:08


177 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ๒. กลาวถึงพันธกรณีทั่วไป ความเทาเทียมกันและการไมเลือก ปฏิบัติ สตรี พิการ เด็กพิการ และการสรางความตระหนักเกี่ยวกับคนพิการในสังคม ๓. กลาวถึงสิทธิของคนพิการ อาทิ การจางงาน สุขภาพ การศึกษา เสรีภาพในการแสดงออก เสรีภาพในการยายถิ่นฐาน เสรีภาพจากการถูกทรมาน สิทธิใน การสราง ครอบครัว ฯลฯ ๔. กลาวถึงการเก็บรวบรวมสถิติขอมูล ความรวมมือระหวาง ประเทศ การ ตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานตามอนุสัญญา อํานาจหนาที่ของ คณะกรรมการประจําอนุสัญญา ฯลฯ นอกจากนี้ไทยยังไดเขาเปนภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาฉบับตาง ๆ ไดแก พิธีสารเลือก รับของอนุสัญญา CEDAW วาดวยการรับขอรองเรียน และอนุสัญญา CRC ๓ ฉบับคือ พิธีสารเลือกรับ เรื่องการขายเด็ก การคาประเวณีและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก๖ ๖.๕ สนธิสัญญาระหวางประเทศ สนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนมีลักษณะเปนสนธิสัญญาพหุภาคี กลาวคือ เปนสนธิสัญญาที่มี รัฐมากกวาสองรัฐขึ้นไปเขาเปนภาคีสนธิสัญญา ซึ่งกระบวนการในการทําสนธิสัญญามีหลายขั้นตอน นับตั้งแตการเจรจาการใหความยินยอมของรัฐเพื่อผูกพันตามสนธิสัญญาโดยการลงนามการให สัตยาบันการภาคยานุวัติและบางรัฐ อาจตั้งขอสงวนหรือตีความสนธิสัญญาและเมื่อปฏิบัติตาม ขั้นตอนในการทําสัญญาครบถวนแลวภาคีก็มีพันธกรณีที่ตองปฏิบัติตามสนธิสัญญาตอไปการเขาเปน ภาคีของสนธิสัญญากอใหเกิดพันธกรณีที่ตองปฏิบัติใหสอดคลองกับสนธิสัญญา มิฉะนั้น อาจตองรับ ผิดในทางระหวาง ประเทศ ดังนั้น เมื่อประเทศไทยเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนประเทศ ไทย ก็ตองปฏิบัติตามพันธกรณีของสนธิสัญญาดังกลาวพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิ มนุษยชนของไทย ในปจจุบันประเทศไทยเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนซึ่ง สหประชาชาติถือเปน สนธิสัญญาหลัก จํานวน ๗ ฉบับ ไดแก ๑. อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) ๖ http://humanrights.mfa.go.th/th/humanrights/obligation/international-humansrightsmechanism/ สืบคนเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 177 17/10/2562 8:36:11


178 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Women - CEDAW) ๓. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) ๔. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights - ICESCR) ๕. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination - CERD) ๖. อนุสัญญาวาดวยการตอตานการทรมานและการปฏิบัติหรือ การลงโทษอื่นที่ โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment - CAT) ๗. อนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities - CRPD) ๖.๕.๑ อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๒๐๐ กําหนดให คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือ ละเลยการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศ เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ที่ประเทศไทยเปนภาคีและเสนอมาตรการแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือ หนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาว เพื่อใหดําเนินการแกไขหากไมมีการดําเนินการ แกไข คณะกรรมการตองรายงานตอรัฐสภา เพื่อใหรัฐสภาดําเนินการตอไปนอกจากคณะกรรมการจะ มีอํานาจในการตรวจสอบและ รายงานการกระทําดังกลาวแลว ยังมีอํานาจหนาที่ในการเสนอแนะ นโยบายและขอเสนอใน การปรับปรุงกฎหมายกฎหรือขอบังคับตอรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีเพื่อ สงเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชนดวย ๑. อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) มีสาระสําคัญ ดังนี้ อนุสัญญาวาดวยเด็กประกอบดวยบทบัญญัติ ๕๔ ขอ ไดแก เรื่องที่เกี่ยวของกับสิทธิของเด็ก โดยตรง ซึ่งเนนหลักพื้นฐาน ๔ ประการ และแนวทางในการตีความอนุสัญญาทั้งฉบับ ไดแกการหาม เลือกปฏิบัติตอเด็กและการใหความสําคัญแกเด็กทุกคนเทาเทียมกันโดยไมคํานึงถึงความแตกตางของ 02_01-340_.indd 178 17/10/2562 8:36:12


179 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ เด็ก ในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง ชาติพันธุ หรือสังคม ทรัพยสิน ความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะอื่น ๆ ของเด็ก หรือบิดามารดา หรือผูปกครองทาง กฎหมาย ทั้งนี้เพื่อใหเด็กมี โอกาสที่เทาเทียมกัน ๒. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women - CEDAW) มีสาระสําคัญ ดังนี้ วัตถุประสงคหลักของอนุสัญญาฉบับนี้ คือ การขจัดการเลือกปฏิบัติ ตอสตรีทุกรูปแบบ รวมทั้งการประกันวาสตรี และบุรุษมีสิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติ และดูแล จากรัฐอยางเสมอภาคกัน ไดแก กลาวถึงคําจํากัดความของคําวา "การเลือกปฏิบัติตอสตรี" (discrimination against Women) พันธกรณีของรัฐภาคีมาตรการที่รัฐภาคีตองดําเนินการเพื่อสนับสนุนความกาวหนาของสตรี มาตรการ เรงดวนชั่วคราวเพื่อสรางความเทาเทียมกันระหวางบุรุษและสตรีอยางแทจริงซึ่งจะไมถือวาเปนการ เลือกปฏิบัติ ดวยเหตุแหงความแตกตางทางเพการปรับรูปแบบทางสังคมและวัฒนธรรม เพื่อใหเอื้อตอ การขจัด การเลือกปฏิบัติตอสตรีและการปราบปรามการลักลอบคาและแสวงหาประโยชนทางเพศ จากสตรี ๓. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง มีสาระสําคัญ ดังนี้ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง ประกอบดวย วรรคอารัมภบท และบทบัญญัติ ๕๓ ขอ ดังนี้ วรรคอารัมภบทกลาวถึง พันธกรณีของรัฐดานสิทธิ มนุษยชนตามกฎบัตรสหประชาชาติรวมทั้งหนาที่ของบุคคลที่จะ สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน และไดรับสิทธิทั้งดานพลเมืองการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมอยางเทาเทียมกัน ๔. กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มี สาระสําคัญ ดังนี้ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ประกอบดวย กลาวถึงสาระของสิทธิไดแกสิทธิในการทํางานและมีเงื่อนไขการทํางานที่เหมาะสม เปนธรรมสิทธิ์ ที่ จะกอตั้งสหภาพแรงงานและสิทธิที่จะหยุดงานสิทธิที่จะไดรับสวัสดิการและการประกัน ดานสังคมการ คุมครองและชวยเหลือครอบครัวสิทธิที่จะมีมาตรฐานชีวิตที่ดีพอเพียงสิทธิที่จะมีสุขภาวะดานกายและ ใจที่ดีที่สุด ที่เปนไปไดสิทธิในการศึกษาสิทธิในวัฒนธรรมและประโยชนจากความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร 02_01-340_.indd 179 17/10/2562 8:36:13


180 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕. อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบมี สาระสําคัญ ดังนี้ อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ในทุกรูปแบบ กลาวถึงคํา จํากัดความ “การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ” วาหมายถึง การจําแนก การกีดกัน การจํากัด หรือการ เอื้ออํานวยพิเศษ เพราะเชื้อชาติ สีผิว เชื้อสาย หรือชาติกําเนิด หรือ เผาพันธุ โดยไมรวมถึงการปฏิบัติ ที่แตกตางระหวางบุคคลที่เปนพลเมืองและไมใชพลเมือง นโยบายของรัฐภาคีและการดําเนินมาตรการ เพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ เชน การหามการโฆษณาชวนเชื่อ การประกันสิทธิ อันเทาเทียมกันของบุคคล ภายใตกฎหมาย ทั้งในดานสิทธิพลเมืองสิทธิทางการเมือง สิทธิทาง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรมการเยียวยาเมื่อถูกละเมิดการใหความสําคัญดานมาตรการใน การศึกษา วัฒนธรรม และขอมูลเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ๖. อนุสัญญาตอตานการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่ โหดรายไร มนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักดิ์ศรี มีสาระสําคัญ ดังนี้ ในเนื้อหาของอนุสัญญาฉบับนี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงคในการระงับและยับยั้ง การ ทรมานโดยในเนื้อหาของอนุสัญญาดังกลาวไดกําหนดความหมายของ การทรมาน วาหมายถึงการ กระทําใดก็ตาม โดยเจตนาที่ทําใหเกิดความเจ็บปวดหรือความทุกขทรมาน อยางสาหัสไมวาทาง กายภาพหรือทางจิตใจตอบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ดวยความมุงประสงค เพื่อใหขอสนเทศหรือคําสารภาพ จากบุคคลนั้น หรือบุคคลที่สามการลงโทษบุคคลนั้น สําหรับการกระทําซึ่งบุคคลนั้นหรือบุคคลที่สาม กระทําหรือถูกสงสัยวาไดกระทํารวมทั้งการบังคับขูเข็ญโดยมุงเนนไปที่การกระทําหรือโดยความ ยินยอมของเจาหนาที่รัฐหรือบุคคลอื่น ซึ่งปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงทางการ ๗. อนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนพิการ มีสาระสําคัญ ดังนี้ อนุสัญญาฉบับนี้เนนไปที่การขจัดอุปสรรคจากภายนอกซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของ ความยากลําบาก ในการดําเนินชีวิตของผูพิการตลอดจนการแกไขความเสียเปรียบทางสังคมของคน พิการ ซึ่งกอใหเกิดการเลือกปฏิบัติและขัดขวางการสงเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเปน อยางยิ่ง๗ ๖.๖ การตั้งขอสงวนระหวางประเทศ ๗ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติhttp://www.norc.or.th/HumanRightsKnowledge/International-Human-Rights-Affairs/International-Law-of-human-rights.aspx สืบคน เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 180 17/10/2562 8:36:15


181 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation การขอสงวนของสนธิสัญญา (Reservation) หมายถึง ขอความซึ่งรัฐคูสัญญาไดประกาศ ออกมาวาตนไมผูกพันในขอความหนึ่งขอความใด ในสนธิสัญญาหรือตนเขาใจความหมายของ ขอกําหนดอยางไร หรือตนรับจะปฏิบัติแตเพียงบางสวน อนุสัญญากรุงเวียนนาฯค.ศ. ๑๙๖๙ ไดใหคํานิยามไววา การตั้งขอสงวน ไดแก คําแถลงฝาย เดียว ของรัฐภาคีรัฐหนึ่งรัฐใดของสนธิสัญญาที่ไดทําขึ้นขณะที่ลงนาม ใหสัตยาบัน ยอมรับ อนุมัติ หรือทําภาคยานุวัติ สนธิสัญญา โดยคําแถลงนี้แสดงวาตองการ ระงับหรือเปลี่ยนแปลงผลทาง กฎหมายของบทบัญญัติบางอยางของ สนธิสัญญาในสวนที่ใชกับรัฐนั้น เห็นไดวาการตั้งขอสงวนคือ วิธีการที่รัฐภาคีแหงสนธิสัญญาตองการ หลีกเลี่ยงพันธกรณีตาม สนธิสัญญาในเรื่องหนึ่งเรื่องใดหรือในหลายเรื่องเปนวิธีการจํากัด ความผูกพันตามสนธิสัญญาของรัฐ เชนแจงวาตนจะไมรับพันธะที่จะปฏิบัติทั้งหมดหรือรับที่ จะปฏิบัติบางสวนหรือวาตนเขาใจ ความหมายของขอกําหนดนั้น วาอยางไร การตั้งขอสงวนในสนธิสัญญานั้น จะกระทําไดเฉพาะในสนธิสัญญาประเภทพหุภาคีเทานั้น สําหรับสนธิสัญญาประเภททวิภาคีนั้นไมสามารถกระทําได เพราะการตั้งขอ สงวนในสนธิสัญญา ประเภททวิภาคีนั้นเทากับเปนการปฏิเสธการใหสัตยาบัน และยื่นขอเสนอใหมซึ่งจะมีผลตอเมื่อ คูสัญญายอมรับ ถาอีกฝายไมยอมรับขอเสนอสนธิสัญญายอมตกไป ดังนั้นสนธิสัญญาประเภททวิภาคี จึงไมอาจมีขอสงวนได ๖.๖.๑ หลักเกณฑในการตั้งขอสงวน การตั้งขอสงวนหรือการรับขอสงวนหรือการคัดคานการตั้งขอสงวน ตองทําเปน หนังสือและแจง ไปใหรัฐคูสัญญาทราบ และการตั้งขอสงวนนั้น รัฐที่ตั้งขอสงวน อาจจะขอถอนคืนขอ สงวนของตนได เวนแตสนธิสัญญา ดังกลาวไดระบุหามการถอนคืนขอสงวนไว ๖.๖.๒ ขอหามของการตั้งขอสงวน สําหรับการตั้งขอสงวนของสนธิสัญญานั้นรัฐคูสัญญาไมสามารถดําเนินการไดเสมอ ไป เพราะอนุสัญญากรุงเวียนนาฯ ศ.ศ. ๑๙๖๙ มาตรา ๑๙ ระบุวา รัฐ คูสัญญายอมตั้งขอสงวนได เวนแต ๑. สนธิสัญญามีขอกําหนดหามการตั้งขอสงวนไวชัดแจง 02_01-340_.indd 181 17/10/2562 8:36:16


182 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๒. สนธิสัญญากําหนดกรณีที่อาจตั้งขอสงวนได นอกเหนือจากกรณีที่กําหนดแลว รัฐ ไมอาจตั้งขอสงวนได ๓. ขอสงวนนั้นขัดตอวัตถุประสงคหรือความมุงหมายของสนธิสัญญา ๔. สนธิสัญญาประเภททวิภาคี (สองฝาย) ไมสามารถตั้งขอสงวนได จารีตประเพณีที่จะเปนที่ยอมรับในกฎหมายระหวางประเทศจะตองประกอบดวยปจจัยที่ สําคัญ ๒ ประการ คือ ๑. การปฏิบัติ (ปจจัยภายนอก) หมายถึง รัฐทั่วไปยอมรับปฏิบัติอยางเดียวกันไม เปลี่ยนแปลง เปนระยะเวลานานพอสมควร สําหรับระยะเวลานานเทาใดไม มีกําหนดแนนอน แตก็คง ตองเปนระยะเวลายาวนานพอควรและไมมีประเทศใดคัดคานแตการปฏิบัติไมจําเปนจะตองเปนการ ปฏิบัติของรัฐทุกรัฐในโลก เพียงแตเปนการปฏิบัติของรัฐกลุมหนึ่งก็เพียงพอ ๒. การยอมรับหมายถึงการจะเปลี่ยนการปฏิบัติ ใหเปนจารีตประเพณีระหวาง ประเทศนั้น จะตองไดรับการยอมรับการกระทําดังกลาว จากสมาชิกสังคม ระหวางประเทศ คือ รัฐ หรือองคการระหวางประเทศไดตกลงยอมรับลักษณะบังคับของการปฏิบัติ เชนนั้นวา เปนสิ่งจําเปนที่ ตองปฏิบัติ แตจารีตประเพณีระหวางประเทศไมจําตองยอมรับโดยทุกประเทศ ๖.๖.๓ จารีตประเพณีระหวางประเทศแบงออกเปน ๑. จารีตประเพณีทั่วไปซึ่งรัฐสวนใหญยอมรับและถือปฏิบัติสามารถใชบังคับแกทุก รัฐในโลก ๒. จารีตประเพณีทองถิ่นเปนกฎเกณฑที่ยอมรับและถือปฏิบัติในภูมิภาคเทานั้น ซึ่ง ใชบังคับแกรัฐที่อยูในภูมิภาคนั้นเทานั้น ๖.๖.๔ สําหรับแนวคิดในการพิจารณาเกี่ยวกับการรับรอง รัฐบาลใหมนี้มีทฤษฎีที่ เกี่ยวของ ดังนี้ คือ ๑. ทฤษฎี Tobar เปนหลักการรับรองรัฐบาล โดยพิจารณาถึง ความชอบธรรมของ รัฐบาลที่ขึ้นมามีอํานาจปกครองประเทศ วาเปนไปตามขั้นตอนของ รัฐธรรมนูญหรือไมทั้งนี้เปน ความคิดที่พยายามจะปองกันการปฏิวัติรัฐประหาร ที่เกิดขึ้นบอยในลาตินอเมริกา Tobar รัฐมนตรี ตางประเทศเอกวาดอร เห็นวารัฐไมควรรับรองรัฐบาลที่ไดอํานาจมาโดยการปฏิวัติรัฐประหาร 02_01-340_.indd 182 17/10/2562 8:36:17


183 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation เวนเสียแตวารัฐบาลใหมจะทําใหถูกตอง ตามขั้นตอนของรัฐธรรมนูญโดยไดรับความยินยอมจากสภา ที่มาจากการเลือกตั้งเสียกอน ๒. ทฤษฎี Tobar ใชเฉพาะในทวีปอเมริกาเทานั้น ประเทศในยุโรป ไมยอมรับนับถือ ปฏิบัติ โดยหลักการแลวทฤษฎีดังกลาวขัดแยงกับขอเท็จจริง เพราะการรับรองรัฐบาลใหมก็เหมือนกับการรับรองรัฐ ซึ่งเปนเพียง การยืนยันหรือ ประกาศสภาพของรัฐบาลที่มีอยูแลวเทานั้น และการปฏิเสธการรับรอง รัฐบาลโดยอางวาเปนรัฐบาลที่ ไมชอบธรรมนั้นเปนการแทรกแซงกิจการภายในของรัฐอื่น ดังนั้นทฤษฎี Tobar จึงไมไดรับการยึดถือ ปฏิบัติ ตั้งแตปลายป ค.ศ. ๑๙๓๒ เปนตนมา ๓. ทฤษฎี Estrada เปนหลักการรับรองรัฐบาล โดยพิจารณาถึง ประสิทธิภาพของ รัฐบาลนั้นวามีอํานาจ อันแทจริงในการรักษาความสงบเรียบรอย ภายในประเทศและสามารถปฏิบัติ ตามพันธกรณีระหวางประเทศ ไดหรือไม ถารัฐบาลมี ความสามารถเชนวานี้ก็เพียงพอที่จะเปนรัฐบาล โดยสมบูรณได โดยมิตองไปพิจารณาถึงความถูกตองตามกฎหมายภายในของรัฐบาล เพราะเปน กิจการภายในของรัฐนั้น รัฐอื่นไมมี หนาที่ไปพิจารณารัฐทุกรัฐยอมมีอํานาจอธิปไตยของตนเอง ซึ่ง สังคมระหวางประเทศในปจจุบันนี้ยึดถือตามทฤษฎี Estrada นี้ เชน การรับรอง รัฐบาลทหารของ ประเทศพมา เปนตน ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ มีอํานาจพิจารณาพิพากษาขอพิพาทระหวางประเทศหรือรัฐ เทานั้น และตองการเกิดจากความสมัครใจของรัฐคูกรณีดวย มีเขตอํานาจในเรื่องดังตอไปนี้คือ ๑. การตีความสนธิสัญญา ๒. ปญหากฎหมายระหวางประเทศ ๓. ขอเท็จจริงเกี่ยวกับการละเมิดขอผูกพันระหวางประเทศ ๔. กรณีเกิดการเสียหายเพราะละเมิดพันธะระหวางประเทศ นอกจากนี้คูพิพาทอาจจะขอใหศาลพิจารณาเรื่องอื่นๆ ตามที่ไดกําหนดไวใน สนธิสัญญา และยังมีหนาที่ใหความเห็นในปญหาขอกฎหมายแกคณะมนตรี และสมัชชาของสันนิบาต ชาติดวย ในกรณีที่ถูกรองขอการนําคดีขึ้นสูศาลโดยปกติเปนความประสงคของคูกรณีเองนอกจากจะมี สนธิสัญญาที่คูกรณี ทําไวบังคับใหตองนําคดีขึ้นสูศาลนี้ คําตัดสินของศาลผูกพันคูกรณีใหตองปฏิบัติ และถือเปนที่สุดไมมีอุทธรณ ฎีกาคําพิพากษาของศาลมีลักษณะเปนพันธกรณีที่คูกรณีจะตองปฏิบัติ ตาม และคําพิพากษาถือเปนสิ้นสุดและผูกพัน เฉพาะคูความในคดีเทานั้น ถารัฐใดไมปฏิบัติตามคํา พิพากษา รัฐอีก ฝายหนึ่งอาจรองเรียนไปยังคณะมนตรีความมั่นคง ซึ่งถาคณะมนตรีความมั่นคงเห็น วา จําเปนก็อาจทําคําแนะนํา หรือวินิจฉัยมาตรการที่จะดําเนินการเพื่อใหเกิดผลตามคําพิพากษา 02_01-340_.indd 183 17/10/2562 8:36:17


184 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ กระบวนการระงับกรณีพิพาทระหวางประเทศที่เรียกวาวิธีการ “ศาล ยุติธรรม ระหวางประเทศ” (ศาลโลก) จะแตกตางจากวิธีการที่เรียกวา “ศาลอนุญาโตตุลาการระหวาง ประเทศ” ในประเด็นที่สําคัญ คือ ๑. การนําคดีขึ้นสูศาลยุติธรรมระหวางประเทศ โดยปกติจะเปน ความประสงคของ คูกรณีเอง เวนแตจะมีสนธิสัญญาที่คูกรณีทําไวบังคับใหตองนําคดีขึ้นสูศาลนี้ แตการนําคดีขึ้นสูศาล อนุญาโตตุลาการระหวางประเทศจะตองเปนไปดวยความสมัครใจของคูกรณีเทานั้น ๒. ผูพิพากษาที่จะตัดสินคดีในศาลยุติธรรมระหวางประเทศ คือผู พิพากษาที่ประจํา อยูในศาล แตผูพิพากษาที่จะตัดสินคดีในศาลอนุญาโตตุลาการระหวางประเทศ คือผูพิพากษาที่ คูพิพาทเลือกมาจากบัญชีรายชื่อ (เปนผูพิพากษาที่ไดรับความ ยินยอมจากคูกรณี) ๓. การพิจารณาคดีโดยศาลยุติธรรมระหวางประเทศ จะมีระเบียบ กฏเกณฑและวิธี พิจารณา เปนของตนเอง รวมทั้งมีการประชุมรวมกันของผูพิพากษาในศาล แตการพิจารณาคดีโดย ศาลอนุญาโตตุลาการระหวางประเทศจะไมมีระเบียบกฎเกณฑและวิธีพิจารณาเปนของตนเองรวมทั้ง ไมมีการประชุมกันระหวางผูพิพากษาเหมือนศาลยุติธรรม ระหวางประเทศ๘ ๖.๗ สรุปทายบท ความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐในปจจุบันนี้ มีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะแตละรัฐ จะอยูอยาง โดดเดี่ยวไมได เนื่องจากวาสภาพการณตาง ๆ ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมวัฒนธรรม ทําให รัฐตาง ๆ หันหนาเขาหากันเพื่อความสัมพันธพึ่งพิงชวยเหลือซึ่งกัน และกัน แตการติดตอสัมพันธ ระหวางกันและกันนั้น จะตองมีกฎเกณฑขอบังคับหรือกติกา สนธิสัญญาเพื่อกําหนดในการที่จะปฏิบัติ ตอกัน ไมเชนนั้นการติดตอสัมพันธกันนั้นก็จะไม เปนระบบระเบียบ ซึ่งจะทําใหฝายหนึ่งฝายใด สูญเสียผลประโยชนที่จะพึงมีพึงได กฏเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับหรือบทบัญญัติที่กําหนดขึ้นมานั้น เพื่อใชในการควบคุมความประพฤติอันจะมีตอกันระหวางรัฐหนึ่งกับอีกรัฐหนึ่ง นี้เราเรียกวา กฎหมาย ระหวางประเทศ ซึ่งในอดีตนั้นการติดตอสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐนั้นไมถึงกับมีตัวบทกฎหมายเปนลาย ลักษณอักษร เชน ในสมัยกลางการติดตอสัมพันธระหวางรัฐใชกฎเกณฑอันมาจากขนบธรรมเนียม ประเพณี แตในปจจุบันจะกระทําอยางนั้นยอมไมไดอีกแลว เพราะแตละรัฐไดพัฒนาทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรมมากขึ้นกฎหมายระหวางประเทศไดแบงออกไปตามลักษณะของการใช ๘ กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง http://www.mjsheetramfree.com/law๔oomkdhmayrahwang-prathes-phaenk-khdi-meuxng-kar-sxbli-phakh-๒-pi-kar-suksa-๒๕๕๖ สืบคนเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ๒๕๖๐ 02_01-340_.indd 184 17/10/2562 8:36:21


185 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation บังคับควบคุมนั้นสามารถแบงออกไดเปนกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมืองกฎหมายระหวาง ประเทศแผนกบุคคลกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีอาญากฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง เปนบทบัญญัติที่บัญญัติขึ้นมาใชควบคุม บังคับกําหนดความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐอันเกี่ยวกับสิทธิ หนาที่การเมืองการปกครอง ระหวางประเทศ ที่จะพึงปฏิบัติตอกันในฐานะที่รัฐตาง ๆ เปนนิติบุคคล ในกฎหมายระหวาง ประเทศและเรื่องที่รัฐตอรัฐมีความสัมพันธที่จะพึงปฏิบัติตอกันนั้น เชน เรื่องของ อาณาเขต ดินแดน การแบงปนเขตแดนใหถูกตองตามหลักสากล เคารพสิทธิของกันและกันในเรื่อง ของดินแดน เรื่องทางการทูต การแตงตั้งเอกอัครราชทูตหรือทูตระหวางประเทศ เรื่องสิทธิ ในทางการ ทูต เปนตน ในโลกปจจุบันประชาชนมีการเดินทางติดตอสื่อสารกันอยางรวดเร็ว ความสัมพันธในเชิง สวนตัวหรือในเชิงธุรกิจการคาเพิ่มมากขึ้น คนตางชาติตางภาษา แตงงานกันก็ยอมเกิดปญหาขึ้นวาจะ ใชกฎหมายของประเทศใดบังคับกันเรื่องความสัมพันธ ระหวางสามีภรรยาทรัพยสินระหวางสามี ภรรยา หรือเมื่อจะหยากันจะใชเหตุหยาของ ประเทศใดก็ยอมมีเงื่อนไขตางกันไปผลของการหยาและ การแบงแยกทรัพยสินหลังจากการ หยาก็ยอมเปนเรื่องจําเปนตองมีกฎหมายที่กําหนดเรื่องตาง ๆ เหลานี้ใหแนนอน หรือเรื่อง ของการคาธุรกิจที่เอกชนรัฐหนึ่งทํากับเอกชนอีกรัฐหนึ่งหรือเอกชนรัฐ หนึ่งทํากับรัฐบาลอีก รัฐหนึ่งยอมจะมีปญหาในการนํากฎหมายบังคับเพื่อมิใหเกิดการเสียเปรียบหรือ ไดเปรียบกัน จึงจําเปนตองมีกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลมาบังคับความสัมพันธดังกลาว 02_01-340_.indd 185 17/10/2562 8:36:22


186 พระราชสิทธิเวที (วิรัติ วิโรจโน),ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ เอกสารอางอิงประจําบท ๑.๑ หนังสือ ดนัย ทองใหญ สุวรรณ, เอกสารประกอบการบรรยาย “นโยบายตางประเทศไทย” คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๔. ประจักษ พันธชูเพชร, การเมืองการปกครองของไทย:มิติทางประวัติศาสตรและ สถาบันทางการเมือง,พิมพที่ มายด พับลิชชิ่ง กรุงเทพฯ. ๒๕๔๓. พันธุทิพย กาญจนะจิตรา. เอกสารประกอบการบรรยายหลักกฎหมายระหวาง ประเทศแผนกคดีบุคคล ๒๕๕๔. ศิโรตม ภาคสุวรรณ. เอกสารประกอบการบรรยาย “นโยบายตางประเทศไทย”คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๕. วราภรณ จุลปานนท, ความสัมพันธระหวางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต” คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๔. ๑.๒ สื่ออิเล็กทรอนิกส กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง http://www.mjsheetramfree.com/lawcoom-kdhmay-rahwangprathes-phaenk- khdi-meurng-kar-sxbli-phakh-๒-pi-kar-suksa ๒๕๕๖ ออนไลนเมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติhttp://www.nhrc.or.th/Human-Rights Knowledge/International-Human-Rights-Affairs/International-Law-of-human- rights.aspx สืบคนเมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ วิทวัส มากชลบท. http://witthawatoo.blogspot.com/๒๐๐๘/๐๑/blog-post.html สืบคนเมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ ลาวัณย ถนัดศิลปะกุล.กฎหมายระหวางประเทศhttps://samsampanstoน 02_01-340_.indd 186 17/10/2562 8:36:22


187 ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹·Ò§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È Introduction to International Relation Relation ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ ๕๐.owardspace.com/law/๔๑๔๕๑-๓.doc ออนไลนเมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ http://humanrights.mfa.go.th/th/humanrights/obligation/international human-right สืบคนเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ อ ง ค ก า ร ร ะ ห ว า ง ป ร ะ เ ท ศ ค ณ ะ รั ฐ ศ า ส ต ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร https://issuu.com/polscithammasat/docs/annual_report_๕๗ สืบคนเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ http://humanrights.mfa.go.th/th/humanrights/obligation/international human-rights-mechanism/ สืบคนเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๐. 02_01-340_.indd 187 17/10/2562 8:36:26


Click to View FlipBook Version