The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อรอุมา พงษ์ธนู, 2022-11-12 04:54:26

หลักเศรษฐศาสตร์30200-1001

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบฐานสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั วชิ า 30200-1001 วชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง (ปวส.) พุทธศกั ราช 2563
ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวิชาการบัญชี

จดั ทำโดย
นางอรอุมา พงษ์ธนู

ครจู า้ งสอนประจำรายเดือน

แผนกวิชาการบญั ชี วิทยาลัยการอาชีพขนุ หาญ

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา หลักเศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) รหัสวิชา
30200-1001 ท–ป–น (3-0-3) นี้มุ่งเน้นสมรรถนะและบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ได้จดั ทำขน้ึ เพ่ือใช้เป็นค่มู ือประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นเป็นสำคัญ ตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงพุทธศักราช 2563 สำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ
การจัดทำได้มีการพฒั นาเพอื่ ให้เหมาะสมกบั ผู้เรียน โดยแบง่ เนอื้ หาออกเปน็ 14 หนว่ ย
การเรียนรู้ ประกอบด้วย

1) ความรูท้ วั่ ไปเก่ยี วกับเศรษฐศาสตร์
2) อปุ สงค์ อปุ ทาน และภาวะดุลยภาพของตลาด
3) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
4) พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภค
5) การผลติ
6) ตน้ ทนุ รายรบั และกำไร
7) ตลาดในระบบเศรษฐกจิ
8) รายไดป้ ระชาชาติ
9) การกำหนดรายได้ประชาชาติ
10) การเงนิ การธนาคารและนโยบายการเงิน
11) นโยบายการคลัง
12) เงินเฟอ้ เงนิ ฝดื การว่างงาน และการแก้ไขปญั หาเศรษฐกจิ มหภาค
13) การค้าระหวา่ งประเทศ
14) การพฒั นาเศรษฐกจิ และวฏั จกั รเศรษฐกิจ
พร้อมทั้ง แบบฝึกหัด ใบงาน แบบทดสอบพร้อมเฉลย และสื่อการเรียนการสอนต่าง ๆ เพื่อให้
ผู้เรียนได้ฝึกทักษะในสถานการณ์ต่าง ๆ มีทักษะการคิดและแก้ปัญหา และบูรณาการกับการทำงานตาม
สาขาอาชีพตา่ ง ๆ ตอ่ ไป
ผู้จัดทำหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้คงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน และ
ผู้สนใจทั่วไป หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ผู้จัดทำยนิ ดีนอ้ มรับไว้เพอ่ื ปรบั ปรุงในโอกาสตอ่ ไป

ลงชอ่ื
(นางอรอุมา พงษธ์ นู)
ครผู สู้ อน

สารบญั

 คำนำ
 รายการตรวจสอบและอนญุ าตใหใ้ ช้
 หลักสตู รรายวชิ า
 หน่วยการเรยี น
 ความสอดคล้องของหนว่ ยกับสมรรถนะรายวิชา
 ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวิชา
 การวัดผลและประเมินผล
 โครงการจัดการเรยี นรู้
 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่บรู ณาการคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 10
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 13
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 14
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 15
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 16
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 17
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 18

หลักสตู รรายวิชา
ช่ือวิชา หลักเศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) รหัสวิชา 30200-1001 (3-0-3)
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู พุทธศักราช 2563 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ สาขาวิชาการบัญชี หมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชพี กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพแกนกลาง
จุดประสงค์รายวชิ า เพอ่ื ให้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์อุปสงค์ อุปทาน พฤติกรรมผู้บริโภค การผลิต ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
รายได้ประชาชาติการเงินการธนาคาร นโยบายการเงนิ การคลัง การค้าระหว่างประเทศ และวัฏจกั รเศรษฐกจิ
2. สามารถนำแนวทางคิดทางเศรษฐศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
3. สามารถนำแนวทางคิดทางเศรษฐศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทานพฤติกรรมผู้บริโภค การผลิต ตลาดในระบบ

เศรษฐกิจรายได้ประชาชาติ การเงินการธนาคาร นโยบายการเงินนโยบายการคลัง การค้าระหว่างประเทศ และ
วฏั จกั รเศรษฐกิจ

2. ประยุกตห์ ลักเศรษฐศาสตรไ์ ปใชใ้ นชวี ิตประจำวันและงานอาชพี
3. ปฏิบัติงานด้วยความมีคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปทางหลักเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทานภาวะดุลยภาพของตลาด พฤติกรรม

ผู้บริโภค การผลิต ตลาดในระบบเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติ การเงินการธนาคาร นโยบายการเงิน นโยบาย
การคลงั การค้าระหวา่ งประเทศ วัฏจกั รเศรษฐกจิ การพฒั นาเศรษฐกจิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

หนว่ ยการเรียนรู้

ชอ่ื วิชา หลกั เศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) ท.ป.น. 3-0-3
ระดับ ปวส.
รหสั วชิ า 30200-1001 จำนวน 3 ชั่วโมง/ สปั ดาห์ ทม่ี า
C D EF
หนว่ ย ช่อื หน่วย จำนวน
ที่ ชว่ั โมง A B ✓ ✓✓ ✓
✓ ✓✓ ✓
1 ความรู้ทั่วไปเกีย่ วกับเศรษฐศาสตร์ 3 ✓✓ ✓ ✓✓ ✓
✓ ✓✓ ✓
2 อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดลุ ยภาพของตลาด 6 ✓✓ ✓ ✓✓ ✓
✓ ✓✓ ✓
3 ความยดื หย่นุ ของอปุ สงคแ์ ละอุปทาน 3 ✓✓ ✓ ✓✓ ✓
✓ ✓✓ ✓
4 พฤติกรรมผูบ้ ริโภค 3 ✓✓ ✓ ✓✓ ✓
✓ ✓✓ ✓
5 การผลิต 3 ✓✓ ✓ ✓✓ ✓
✓ ✓✓ ✓
6 ตน้ ทนุ รายรบั และกำไร 6 ✓✓
✓ ✓✓ ✓
7 ตลาดในระบบเศรษฐกิจ 3 ✓✓ ✓ ✓✓ ✓

8 รายไดป้ ระชาชาติ 3 ✓✓

9 การกำหนดรายไดป้ ระชาชาติ 3 ✓✓

10 การเงนิ การธนาคารและนโยบายการเงนิ 6 ✓✓

11 นโยบายการคลัง 3 ✓✓

12 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน และการแก้ไขปัญหา 3 ✓ ✓

เศรษฐกจิ มหภาค

13 การค้าระหว่างประเทศ 3 ✓✓
14 การพฒั นาเศรษฐกิจและวฏั จักรเศรษฐกิจ 6 ✓✓
3
การวัดผล/ ประเมนิ ผล (กลางภาค/ปลายภาค)

รวม 54

หมายเหตุ A = หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง พทุ ธศกั ราช 2563

B = กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้

C = แบบฝกึ หัดทา้ ยหนว่ ย

D = ใบงานของแผนการสอน

E = เอกสารประกอบการสอน

F = หนังสอื เรยี น วิชาหลกั การการตลาด สำนกั พมิ พ์เอมพันธ์

ความสอดคล้องของหน่วยกับสมรรถนะรายวิชา

ช่อื วิชา หลักเศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) ท.ป.น. 3-0-3

รหัสวชิ า 30200-1001 (3-0-3) จำนวน 3 ช่ัวโมง/ สปั ดาห์ ระดบั ปวส.

ความสอดคล้อง

หน่วย ชือ่ หน่วย ชวั่ โมง แสดงความรู้เกี่ยวกับ
หลักเศรษฐศาสตร์
แสดงความรู้เก่ียวกับ ุอป
สงค์และ ุอปทานโดย
สอดคล้อง ักบพฤติกรรม
แขสองดผู้งคบวริโาภมรู้คเก่ียวกับการ
แ ้กไขปัญหาเศรษฐกิจ
และการ ัพฒนาเศรษฐกิจ
ประยุก ์ตหลัก
เศรษฐศาสตร์ไปใช้ใน
ชีวิตประจำ ัวน

1 ความร้ทู ่วั ไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ 3

2 อปุ สงค์ อุปทาน และภาวะดลุ ยภาพของ 6 

ตลาด

3 ความยดื หยนุ่ ของอุปสงค์และอปุ ทาน 3 

4 พฤติกรรมผู้บริโภค 3

5 การผลติ 3 

6 ตน้ ทนุ รายรบั และกำไร 6 

7 ตลาดในระบบเศรษฐกิจ 3 

8 รายได้ประชาชาติ 3 

9 การกำหนดรายได้ประชาชาติ 3 

10 การเงนิ การธนาคารและนโยบายการเงนิ 3 

11 นโยบายการคลัง 3 

12 เงนิ เฟ้อ เงินฝดื การว่างงาน และการ 6 

แก้ไขปญั หาเศรษฐกิจมหภาค

13 การค้าระหว่างประเทศ 3 

14 การพฒั นาเศรษฐกิจและวัฏจกั ร 3 

เศรษฐกิจ

การวดั ผล/ ประเมินผล 3

รวม 54

หนว่ ยการเรียนร้แู ละส

ชื่อหน่วย สมรรถนะ

หน่วยที่1 ความรู้ (สาระการเรยี นร้)ู ทักษะ(จุดประสงค์กา
ความรทู้ ่ัวไป
เกย่ี วกบั 1.ความหมายและประวตั ิของวิชา 1.อธบิ ายความหมายข
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เขา้ ใจปร

2.แขนงของวชิ าเศรษฐศาสตรแ์ ละ แขนงของวิชาเศรษฐศา

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งความสมั พนั ธ์

กับวิชาอ่นื ๆ ระหวา่ งเศรษฐศาสตร์ก

3.วธิ กี ารศกึ ษาทางเศรษฐศาสตร์ อ่นื ๆ
4.หน่วยเศรษฐกิจและวงจรในระบบ 2.อธบิ ายวตั ถปุ ระสงค์แ
การศึกษาทางเศรษฐศา
เศรษฐกจิ 3.อธบิ ายหนว่ ยเศรษฐก
5.ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ วงจรในระบบเศรษฐกจิ
6.ระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ ง ๆ กบั การ 4.อธบิ ายปัญหาพื้นฐาน

แกป้ ัญหาพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจและระบบเศ

แบบตา่ ง ๆ รวมทงั้ แกป้

พื้นฐานทางเศรษฐกจิ
5.อธิบายเครือ่ งมือประ
ศึกษาวชิ าเศรษฐศาสต

6.อธิบายประโยชนข์ อง
เศรษฐศาสตร์

สมรรถนะประจำหน่วย

ารเรียนร)ู้ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์) สมรรถนะประจำหน่วย
ของ 1.มวี นิ ยั
ระวตั แิ ละ 2.ใฝเ่ รียนรู้ แสดงความรู้เกีย่ วกบั เศรษฐศาสตร์
าสตร์ 3.อยอู่ ยา่ งพอเพียง โดยทว่ั ไป
4 มุง่ ม่นั ทำงาน
กับวชิ า 5.มีจิตสาธารณะ

และวิธี
าสตร์
กจิ และ

นทาง
ศรษฐกิจ
ปญั หา

ะกอบการ
ตร์
งวชิ า

ชอ่ื หน่วย สมรรถนะ

หน่วยท่ี 2 ความรู้ (สาระการเรยี นร้)ู ทกั ษะ(จุดประสงค์กา
อปุ สงค์ อุปทาน
และภาวะดลุ ย 1.อปุ สงค์ 1.อธิบายความหมาย ช
ภาพของตลาด
2.การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อและ อปุ สงค์ ตวั กำหนดอปุ ส

การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ กฎของอปุ สงค์และเสน้

3.อุปทาน 2.อธบิ ายการเปล่ียนแป

4.การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายและ ปริมาณซื้อและการเปล

การเปล่ยี นแปลงอุปทาน อปุ สงค์

5.ดลุ ยภาพของตลาดและการ 3.อธิบายความหมายข

เปล่ยี นแปลงของดุลยภาพตลาด ตัวกำหนดอุปทาน และ

อุปทานและเสน้ อปุ ทาน

4.อธิบายการเปลย่ี นแป

ปริมาณขายและการเป

อปุ ทาน

5.อธบิ ายดลุ ยภาพของ

การเปลยี่ นแปลงของด

ตลาด

ารเรยี นรู)้ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหน่วย
ชนดิ ของ 1.มวี ินัย
สงค์ และ 2.ใฝ่เรยี นรู้ 1.แสดงความรเู้ ก่ยี วกับการ
นอุปสงค์ 3.อยอู่ ย่างพอเพียง เปลย่ี นแปลงอุปสงค์
ปลง 4 มงุ่ มน่ั ทำงาน 2.แสดงความรูเ้ กย่ี วกับการ
ล่ยี นแปลง 5.มจี ิตสาธารณะ เปล่ยี นแปลงอปุ ทาน

ของอุปทาน
ะกฎของ

ปลง
ปลย่ี นแปลง

งตลาดและ
ดลุ ยภาพ

ชื่อหน่วย ความรู้ (สาระการเรียนรู้) สมรรถนะ
1.ความหมายของความยืดหยุ่น ทกั ษะ(จดุ ประสงค์กา
หนว่ ยที่ 3 2.ความยืดหยุน่ ของอปุ สงค์ 1.อธิบายความหมาย
ความยดื หยุ่นของ 3.ความยดื หย่นุ ของอุปทาน ยืดหยนุ่
อุปสงคแ์ ละ 4.ประโยชน์ของความยืดหยนุ่ ของอปุ 2.บอกความยืดหยุ่นข
อุปทาน สงคแ์ ละอปุ ทาน ต่อราคา ความยืดหย
สงค์ต่อรายได้และคว
ของอุปสงค์ ต่อราคา
อน่ื ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
3.อธิบายความยดื หยนุ่
อปุ ทาน
4.ระบคุ า่ ความยืดหยุ่น
อปุ ทาน และอธิบายลกั
เส้นอปุ ทาน
5.บอกประโยชนข์ องคว
ยืดหยุ่นของอุปสงค์และ
และวิเคราะห์ปัญหาทา
เศรษฐกจิ

ารเรยี นร้)ู คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหน่วย
ยของความ 1.มีวนิ ัย
แสดงความรใู้ นเร่ืองความยืดหย่นุ ของ
2.ใฝเ่ รียนรู้ อุปสงคแ์ ละอปุ ทาน
ของอุปสงค์ 3.อยูอ่ ย่างพอเพียง
ยุ่นของอุป 4 มุง่ มนั่ ทำงาน
ามยืดหยุ่น 5.มจี ิตสาธารณะ
าของสินค้า

นของ

นของ
กษณะของ

วาม
ะอปุ ทาน
าง

ช่อื หน่วย สมรรถนะ

หนว่ ยท่ี 4 ความรู้ (สาระการเรียนร)ู้ ทักษะ(จุดประสงค์กา
พฤตกิ รรม
ผบู้ รโิ ภค 1.ความหมายและลักษณะทั่วไปของ 1.อธิบายความหมายแ

ผบู้ ริโภค ท่วั ไปของผูบ้ ริโภค

2.ทฤษฎอี รรถประโยชน์ 2.อธบิ ายทฤษฎีอรรถป

3.ทฤษฎีความพอใจเท่ากนั 3.อธิบายทฤษฎีความพ

4.เสน้ งบประมาณหรอื เส้นราคา เทา่ กัน

5.ดลุ ยภาพของผู้บริโภค 4.อธบิ ายเสน้ งบประมา

การเปลีย่ นแปลงของเส

งบประมาณ

5.อธิบายดุลยภาพของ

และการเปลี่ยนแปลงด

ารเรยี นร้)ู คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์) สมรรถนะประจำหน่วย
และลักษณะ 1.มีวนิ ัย
แสดงความรใู้ นเร่ืองพฤติกรรมของ
2.ใฝ่เรยี นรู้ ผบู้ ริโภค
ประโยชน์ 3.อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
พอใจ 4 มงุ่ มนั่ ทำงาน

5.มจี ิตสาธารณะ
าณและ
สน้

งผบู้ ริโภค
ดุลยภาพ

ช่อื หน่วย สมรรถนะ

หนว่ ยที่ 5 ความรู้ (สาระการเรียนร)ู้ ทักษะ(จุดประสงค์กา
การผลติ
1.ความหมายและลักษณะของการ 1อธบิ ายความหมาย ล

ผลติ การผลิต และฟังก์ชนั ก

2.การวิเคราะห์การผลิตในระยะสัน้ 2.วิเคราะหก์ ารผลติ ใน

3.การวเิ คราะหก์ ารผลติ ในระยะยาว 3.วเิ คราะห์การผลิตใน

4.ดุลยภาพของการผลิต 4.อธบิ ายดุลยภาพของ

หน่วยท่ี 6 1.ความหมายของต้นทุนประเภท 1.อธิบายความหมายข
ตน้ ทุน รายรบั
และกำไร ต่าง ๆ ในทางเศรษฐศาสตร์ ประเภทต่าง ๆ

2.ความหมายของต้นทุนการผลิตแต่ เศรษฐศาสตร์

ละชนดิ ในระยะส้นั 2.อธิบายความหมายข

3.ความหมายและลักษณะของต้นทุน การผลติ แต่ละชนดิ ในร

การผลติ ในระยะยาว 3.อธบิ ายความหมายแ

4.ความหมายและรายรับจากการ ของต้นทนุ การผลิตในร

ผลิตแตล่ ะชนิด 4.อธิบายความหมายแ

5.ความหมายของกำไรทาง จากการผลติ แตล่ ะชนิด

เศรษฐศาสตร์ 5.อธิบายความหมาย

ทางเศรษฐศาสตร์

ารเรยี นรู้) คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหน่วย
ลักษณะของ 1.มวี ินัย
การผลิต 2.ใฝ่เรียนรู้ แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั การผลติ และ
นระยะส้ัน 3.อยอู่ ย่างพอเพียง ดลุ ยภาพของการผลิต
นระยะยาว 4 ม่งุ ม่นั ทำงาน
งการผลติ 5.มจี ิตสาธารณะ

ของต้นทุน 1.มวี ินยั 1.แสดงความรใู้ นเรอื่ งต้นทนุ
ใ น ท า ง 2.ใฝ่เรยี นรู้ 2.แสดงความรู้ในเรอื่ งรายรับ
3.อยอู่ ย่างพอเพียง 3.แสดงความรู้ในเรอื่ งกำไร

ของต้นทุน 4 มุง่ มน่ั ทำงาน
ระยะส้นั 5.มจี ิตสาธารณะ
และลักษณะ
ระยะยาว
และรายรับ

ยของกำไร

ชอ่ื หน่วย ความรู้ (สาระการเรยี นร้)ู สมรรถนะ
1.ความหมายของตลาด ทกั ษะ(จุดประสงคก์ า
หนว่ ยที่ 7 2.ประเภทของตลาด 1.บอกความหมาย และ
ตลาดในระบบ 3.ตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์ ของตลาด
เศรษฐกจิ 4.ตลาดผกู ขาด 2.อธบิ ายลกั ษณะของต
5.ตลาดกึ่งแขง่ ขันก่งึ ผกู ขาด ประเภทต่าง ๆ และกา
ราคาในตลาดแข่งขันส
ตลาดผูกขาด ตลาดก่ึง
ผกู ขาด และตลาดผขู้ า
3.อธิบายดุลยภาพตลา
ตลาด
4.เปรียบเทยี บผลของต
แขง่ ขันสมบรู ณ์และตล
5.อธิบายการกำหนดรา
ปรมิ าณสนิ ค้าของผผู้ ล
ตลาดได้

ารเรยี นร)ู้ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหน่วย
ะประเภท 1.มวี นิ ยั
2.ใฝ่เรยี นรู้ แสดงความรู้ในเรื่องตลาดในระบบ
ตลาด 3.อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง เศรษฐกิจ
ารกำหนด 4 มงุ่ ม่ันทำงาน
สมบูรณ์ 5.มจี ติ สาธารณะ
งแขง่ ขันก่ึง
ายน้อยราย
าดในแต่ละ

ตลาด
ลาดผกู ขาด
าคาและ
ลติ ในแต่ละ

ชอ่ื หน่วย ความรู้ (สาระการเรียนร)ู้ สมรรถนะ
1. ความหมายของรายได้ ทกั ษะ(จุดประสงค์กา
หนว่ ยที่ 8 ประชาชาติ 1.อธิบายความหมายข
รายได้ประชาชาติ 2. การคำนวณรายได้ประชาชาติ ประชาชาติ
3. ความสัมพันธ์ระหวา่ งกันของ 2.คำนวณหารายได้ป
รายได้ประชาชาติ ด้านผลผลติ ด้านรายได
4. รายไดป้ ระชาชาติที่แทจ้ รงิ และ ร า ย จ ่ า ย 3. เ ข ้ า ใ จ
รายไดเ้ ฉลี่ยต่อบุคคล ประชาชาติและควา
5. ประโยชน์และขอ้ ควรระวงั ในการ ระหว่างกัน
ใช้บญั ชรี ายไดป้ ระชาชาติ 4.อธิบายรายได้ประ
แทจ้ ริงและรายได้เฉลี่ย
5.เข้าใจประโยชน์แล
ระวังในการใช้บัญ
ประชาชาติ

ารเรยี นรู้) คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์) สมรรถนะประจำหน่วย
ของรายได้ 1.มวี นิ ยั
1.แสดงความรใู้ นเร่ืองรายได้
2.ใฝ่เรยี นรู้ ประชาชาติ
ประชาชาติ 3.อยอู่ ย่างพอเพยี ง 2.แสดงความรู้ในเร่ืองรายได้เฉลยี่ ต่อ
ด้ และด้าน 4 มุ่งม่นั ทำงาน บคุ คล
จ ร า ย ไ ด้ 5.มจี ิตสาธารณะ
ามสัมพันธ์

ะชาชาติท่ี
ยต่อบคุ คล
ละข้อควร
ญ ช ี ร า ย ไ ด้

ชอ่ื หน่วย ความรู้ (สาระการเรียนรู้) สมรรถนะ
ทกั ษะ(จุดประสงค์กา
หน่วยท่ี 9 1.รายจ่ายเพ่อื การบริโภคและการ 1.อธิบายรายจ่ายเพื่อก
และการออม ปัจจัยทีก่
การกำหนดรายได้ ออม บริโภคและการออม ฟ
บริโภค และการออม
ประชาชาติ 2.รายจ่ายเพ่อื การลงทุน บริโภคและเส้นการ
ทราบถึงกฎว่าด้วยก
3.การใช้จา่ ยของภาครัฐบาล ของเคนส์
2.อธิบายเกี่ยวกับรา
4.การสง่ ออกสุทธิ การลงทุน ปัจจัยที่ก
ลงทุน ฟังก์ชันการล
เปลี่ยนแปลงระดับ
และการย้ายเส้นการล
ไมม่ เี สถียรภาพของการ

ารเรยี นร)ู้ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์) สมรรถนะประจำหนว่ ย
การบริโภค 1.มวี ินยั
กำหนดการ 2.ใฝ่เรยี นรู้ อธบิ ายการกำหนดรายได้ประชาชาติ
ฟังก์ชันการ 3.อยู่อยา่ งพอเพยี ง จากปัจจัยท่ีกำหนด
ม เส้นการ 4 มงุ่ มน่ั ทำงาน
รออม และ 5.มีจติ สาธารณะ
การบริโภค

ายจ่ายเพื่อ
กำหนดการ
ลงทุน การ
การลงทุน
ลงทุน ความ
รลงทนุ

ช่อื หน่วย ความรู้ (สาระการเรียนร)ู้ สมรรถนะ
ทกั ษะ(จุดประสงค์กา
หนว่ ยที่ 9 3.อธิบายการใชจ้ า่ ยขอ
การกำหนดรายได้ ภาครัฐบาล ปจั จัยที่กำ
ประชาชาติ ใช้จ่ายของรฐั บาล เสน้
ของรัฐบาลและ การย้า
รายจ่ายของรฐั บาล
4.อธิบายการส่งออ
นำเข้า ปัจจัยที่กำห
ต้องการส่งออก เ
ต้องการส่งออกและ ก
ความต้องการส่งออก
กำหนดความต้องการน
เส้นความต้องการนำเข
ย้ายเส้นความต้องการน

ารเรียนร)ู้ คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหน่วย
อง
ำหนดการ
นรายจา่ ย
ายของเส้น

กและการ
หนดความ
ส้นความ
การย้ายเส้น
ก ปัจจัยท่ี
นำเข้า และ
ข้า และการ
นำเขา้

ช่อื หน่วย ความรู้ (สาระการเรียนรู้) สมรรถนะ
1.ความรเู้ บื้องตน้ เก่ียวกับการเงิน ทักษะ(จดุ ประสงคก์ า
หน่วยท่ี 10 2.ความสำคญั ของเงนิ ต่อระบบ 1.อธิบายความหมาย ว
การเงินการ เศรษฐกจิ ของเงิน หน้าที่และประ
ธนาคารและ 3.ตลาดการเงิน เงนิ
นโยบายการเงนิ 4.ธนาคารพาณิชย์ 2.เขา้ ใจความสำคญั ขอ
5.ธนาคารกลาง ต่อระบบเศรษฐกจิ
3.อธิบายความหมายแ
ประเภทของตลาดการ
4.อธิบายระบบและกา
ธรุ กรรมของธนาคารพา
5.เข้าใจความเปน็ มา ป
และหน้าทขี่ องธนาคาร
6.เขา้ ใจประเภทและเค
ของนโยบายการเงิน รว
นโยบายการเงินของปร

ารเรียนร)ู้ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหนว่ ย
วิวฒั นาการ 1.มวี นิ ัย
ะเภทของ 2.ใฝ่เรยี นรู้ 1.แสดงความรเู้ กีย่ วกับการเงินและ
การธนาคาร
3.อยู่อยา่ งพอเพยี ง 2.แสดงความรู้เกย่ี วกับนโยบาย
องเงนิ ท่ีมี 4 มุง่ มัน่ ทำงาน การเงิน

5.มีจติ สาธารณะ
และ
รเงนิ
ารดำเนิน
าณชิ ย์
ประเภท
รกลาง
ครื่องมือ
วมทั้ง
ระเทศไทย

ชอ่ื หน่วย สมรรถนะ

หนว่ ยท่ี 11 ความรู้ (สาระการเรยี นรู้) ทกั ษะ(จุดประสงค์กา
นโยบายการคลงั
1.ความหมายและความสำคัญของ 1.เขา้ ใจความหมายแล

การคลัง ความสำคญั ของการคล

2.ความหมายและวัตถุประสงคข์ อง 2.เขา้ ใจความหมายแล

นโยบายการคลัง วัตถุประสงค์ของนโยบ

3.ประเภทและเครือ่ งมอื ของนโยบาย คลัง

การคลงั 3.อธบิ ายประเภทและเ

4.รายได้และรายจ่ายสาธารณะของ ของนโยบายการคลัง

รฐั บาล 4.อธิบายเก่ยี วกบั รายไ

5.งบประมาณแผน่ ดิน รัฐบาล รายจ่ายสาธาร

รฐั บาล และหน้สี าธารณ

5.อธบิ ายงบประมาณแ

ารเรียนรู้) คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์) สมรรถนะประจำหนว่ ย
ละ 1.มีวนิ ัย
ลัง 2.ใฝเ่ รียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับนโยบายการ
ละ 3.อยูอ่ ย่างพอเพียง คลงั ของรัฐบาล
บายการ 4 มงุ่ ม่นั ทำงาน
5.มีจติ สาธารณะ
เคร่ืองมือ

ได้ของ
รณะของ
ณะ
แผน่ ดนิ

ชื่อหน่วย ความรู้ (สาระการเรียนรู้) สมรรถนะ
1.เงนิ เฟ้อ ทักษะ(จุดประสงคก์ า
หน่วยที่ 12 2.เงนิ ฝืด 1.อธิบายความหมายข
เงินเฟ้อ เงินฝืด 3.การว่างงาน ดชั นีราคา สาเหตขุ องก
การวา่ งงาน เฟ้อ ประเภทของเงินเฟ
และการแก้ไข ผลกระทบของ เงนิ เฟ้อ
ปญั หาเศรษฐกิจ แกป้ ัญหาเงินเฟ้อ
มหภาค 2..อธิบายความหมายข
สาเหตทุ ่ที ำใหเ้ กิดเงนิ ฝ
ภาวะเงินฝืด และแก้ไข
ฝดื
3.อธบิ ายความหมายข
ว่างงาน สาเหตุท่ที ำให
วา่ งงาน ประเภทของก
ผลกระทบของ การว่าง
แก้ปญั หาการวา่ งงานโด
นโยบายต่าง ๆ

ารเรยี นรู้) คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหนว่ ย
ของเงินเฟ้อ 1.มีวินยั
การเกิดเงิน 2.ใฝเ่ รยี นรู้ 1.แสดงความรู้เกี่ยวกับเงินเฟ้อ เงิน
ฟ้อ 3.อยูอ่ ย่างพอเพียง ฝดื และการวา่ งงาน
อและ 4 มุง่ ม่นั ทำงาน 2.แสดงความรู้เกี่ยวกับการแก้ไข
ปัญหาเศรษฐกจิ มหภาค
5.มีจติ สาธารณะ
ของเงนิ ฝืด
ฝืด ผลของ
ขภาวะเงนิ

ของการ
ห้เกิดการ
การวา่ งงาน
งงาน และ
ดยใช้

ชอ่ื หน่วย ความรู้ (สาระการเรยี นร)ู้ สมรรถนะ
1.ความหมายและความสำคัญของ ทักษะ(จดุ ประสงค์กา
หนว่ ยที่ 13 การคา้ ระหว่างประเทศ 1.อธิบายความหมายแ
การคา้ ระหว่าง 2.ประโยชนข์ องการค้าระหวา่ ง ความสำคัญของการคา้
ประเทศ ประเทศ ประเทศ
3.ตลาดเงนิ ตราตา่ งประเทศและการ 2.อธบิ ายเกย่ี วกับตลาด
กำหนดอัตราแลกเปล่ยี นเงินตรา ตา่ งประเทศและการกำ
ตา่ งประเทศ อตั ราแลกเปลีย่ นเงินตร
4.การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ประเทศ 3.อธบิ ายพัฒน
เงนิ ตราต่างประเทศของไทย กำหนดอตั ราแลกเปลย่ี
5.ดุลการชำระเงินระหวา่ งประเทศ ต่างประเทศของไทย
4.อธิบายเกีย่ วกับการแ
ปญั หาดลุ การชำระเงิน

ารเรียนร)ู้ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหน่วย
และ 1.มวี ินยั
าระหว่าง 2.ใฝ่เรียนรู้ แสดงความรใู้ นเร่ืองการคา้ ระหว่าง
ประเทศ
3.อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
ดเงนิ ตรา 4 มงุ่ มน่ั ทำงาน
ำหนด 5.มีจิตสาธารณะ
ราระหวา่ ง
นาการการ
ยนเงินตรา

แก้ไข


ชื่อหน่วย ความรู้ (สาระการเรียนรู้) สมรรถนะ
ทกั ษะ(จุดประสงค์กา

หน่วยที่ 14 1.ความหมายและความสำคัญของ 1.อธิบายความหมายแ

การพฒั นา การพฒั นาเศรษฐกจิ ความสำคัญของการพัฒ

เศรษฐกจิ และวฏั 2.หลกั เกณฑ์ในการวดั และ เศรษฐกิจ

จกั รของเศรษฐกิจ ปัจจัยพ้ืนฐานในการพฒั นาเศรษฐกจิ 2.อธิบายหลักเกณฑ์ใน

3.บทบาทของรฐั บาลกับการพัฒนา และปจั จยั พ้ืนฐานในกา

เศรษฐกจิ เศรษฐกจิ 3.อธบิ ายบทบ

4.การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ รฐั บาลกบั การพัฒนาเศ

5.การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ 4.อธิบายเกย่ี วกับวตั ถุป

ประเทศไทย และวิธีการในการวางแ

6.ความเป็นมาและการประยุกตใ์ ช้ เศรษฐกจิ

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.เขา้ ใจถึงการวางแผน

7.วฏั จกั รเศรษฐกิจ พัฒนาเศรษฐกจิ ของปร

6.อธบิ ายความเปน็ มาแ

สามารถประยุกต์ใชป้ ร

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

7.อธบิ ายการเปลย่ี นแป

เศรษฐกจิ ตามวฏั จกั รธ

ารเรยี นร)ู้ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค)์ สมรรถนะประจำหนว่ ย
และ 1.มีวนิ ัย
ฒนา 2.ใฝ่เรยี นรู้ 1.แสดงความร้เู ก่ยี วกับการพัฒนา
3.อยอู่ ยา่ งพอเพียง เศรษฐกิจ
นการวดั 4 มุง่ มัน่ ทำงาน 2.แสดงความร้เู ก่ยี วกับวัฏจกั ร
ารพัฒนา 5.มจี ติ สาธารณะ เศรษฐกิจ
บาทของ
ศรษฐกิจ
ประสงค์
แผนพัฒนา

นการ
ระเทศไทย
และ
รัชญาของ

ปลงภาวะ
ธรุ กจิ

ตารางวิเคราะห์หลกั สูตร ท.ป.น. 3-0-3
ชื่อวิชา หลกั เศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) ระดับ ปวส.
รหัสวชิ า 30200-1001 จำนวน 3 ชว่ั โมง/ สัปดาห์

พฤติกรรม ความรู้พทุ ธพิ ิสัย (40%)
ความเ ้ขาใจ
ช่ือหน่วย การนำไปใ ้ช
การ ิวเคราะ ์ห
การ ัสงเคราะห์
การประเ ิมน

ทักษะ ิพ ัสย
( ิจ3ต0 ิพ ัส%)ย
(ร3ว0ม%)
ลำดับ
จคำวานวมสนำช่ัคัวโญมง

1. ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกับเศรษฐศาสตร์ 1 1 - - - 1 1 1 5 14 8

2. อปุ สงค์ อุปทาน และภาวะดลุ ยภาพของตลาด 1 1 1 - - 1 1 1 6 10 4

3. ความยดื หยนุ่ ของอุปสงค์และอุปทาน 1 1 - - - 1 1 1 5 13 4

4. พฤติกรรมผูบ้ ริโภค 1 1 1 1 -1 1 1 7 5 4

5. การผลติ 1 1 1 - - 1 1 1 6 11 4

6. ต้นทนุ รายรับ และกำไร 1 1 1 2 -1 1 1 8 3 4

7. ตลาดในระบบเศรษฐกจิ 1 1 1 1 -1 1 1 7 6 4

8. รายไดป้ ระชาชาติ 1 1 1 1 -1 1 1 7 7 4

9. การกำหนดรายไดป้ ระชาชาติ 1 1 - 1 - 1 1 1 6 12 4

10. การเงนิ การธนาคารและนโยบายการเงนิ 1 1 1 1 -1 1 1 7 8 4

11. นโยบายการคลัง 2 2 1 - -1 1 1 8 4 4

12. เงนิ เฟอ้ เงินฝืด การวา่ งงาน และการแก้ไขปญั หา 2 1 1 1 11 1 1 9 2 4
เศรษฐกจิ มหภาค

13. การคา้ ระหว่างประเทศ 1 1 1 1 -1 1 1 7 9 4

14. การพฒั นาเศรษฐกจิ และวฏั จักรเศรษฐกิจ 2 2 2 2 1 1 1 1 12 1 6

สอบกลางภาคเรียน 3

สอบปลายภาคเรยี น 3

รวม 17 16 12 11 2 14 14 14 100 54
ลำดับความสำคัญ

โครงการจัดการเรยี นรู้ ท.ป.น. 3-0-3
ชอ่ื วิชา หลักเศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) ระดบั ปวส.
รหสั วชิ า 30200-1001 จำนวน 3 ชั่วโมง/ สปั ดาห์

สัปดาห์ที่ หน่วยท่ี ช่วั โมง ชือ่ หน่วย/สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ

1 - 1-4 ปฐมนเิ ทศ 1.บอกจดุ ประสงคร์ ายวชิ า

1.จดุ ประสงคร์ ายวิชาสมรรถนะ สมรรถนะรายวิชาและ

รายวิชาและคำอธิบายรายวชิ า คำอธบิ ายรายวิชาตาม --

2. แนวทางวดั ผลและการ หลกั สูตรฯ ได้

ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2.บอกแนวทางวัดผลและการ

ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ได้

2 1 5-8 1.ความหมายและประวัติของ 1. อธิบายความหมายของ

วชิ าเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เข้าใจประวัติ

2.แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ และแขนงของวชิ า

และความสัมพันธ์ระหวา่ ง เศรษฐศาสตร์รวมทั้ง

เศรษฐศาสตรก์ บั วิชาอ่ืนๆ ความสมั พนั ธ์

3.วิธีการศกึ ษาทางเศรษฐศาสตร์ ระหวา่ งเศรษฐศาสตร์กับวชิ า

4.หนว่ ยเศรษฐกจิ และวงจรใน อื่นๆ ได้

ระบบเศรษฐกิจ 2. อธบิ ายวัตถุประสงค์และวธิ ี

5.ปญั หาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การศึกษาทางเศรษฐศาสตรไ์ ด้

6.ระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ ง ๆ 3. อธิบายหน่วยเศรษฐกิจและ 3 0
กบั การแกป้ ญั หาพื้นฐานทาง วงจรในระบบเศรษฐกจิ ได้

เศรษฐกจิ 4. อธบิ ายปญั หาพื้นฐานทาง

เศรษฐกจิ และระบบเศรษฐกจิ

แบบต่าง ๆ รวมทง้ั แก้ปญั หา

พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้

5. อธบิ ายเครอ่ื งมือ

ประกอบการศกึ ษาวชิ า

เศรษฐศาสตร์ได้

6. อธบิ ายประโยชนข์ องวชิ า

เศรษฐศาสตร์ได้

สปั ดาหท์ ี่ หน่วยท่ี ชว่ั โมง ชอ่ื หน่วย/สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ

3 2 9-12 1.อุปสงค์ 1.อธบิ ายความหมาย ชนดิ

2.การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ ของอปุ สงค์ ตวั กำหนดอปุ สงค์

และการเปล่ยี นแปลงอุปสงค์ และกฎของอุปสงคแ์ ละเสน้

3.อุปทาน อุปสงค์ได้

4.การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย 2.อธิบายการเปลย่ี นแปลง

และการเปลี่ยนแปลงอุปทาน ปรมิ าณซื้อและการ

5.ดุลยภาพของตลาดและการ เปล่ียนแปลงอุปสงค์

เปลี่ยนแปลงของดุลยภาพ 3.อธบิ ายความหมายของ

ตลาด อปุ ทาน ตัวกำหนดอปุ ทาน
และกฎของอปุ ทานและเส้น 3 0

อุปทานได้

4.อธิบายการเปลย่ี นแปลง

ปริมาณขายและการ

เปล่ียนแปลงอปุ ทานได้

5.อธบิ ายดุลยภาพของตลาด

และการเปล่ยี นแปลงของดลุ ย

ภาพตลาดได้

4 3 13- 1.ความหมายของความยืดหยนุ่ 1.อธิบายความหมายของ

16 2.ความยืดหย่นุ ของอุปสงค์ ความยดื หยุน่ ได้

3.ความยดื หย่นุ ของอุปทาน 2.บอกความยืดหยุ่นของอุป

4.ประโยชน์ของความยืดหยุ่น สงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่น

ของอปุ สงค์และอุปทาน ของอุปสงค์ต่อรายได้และ

ความยืดหยุ่นของ อุปสงค์

ต ่ อ ร า ค า ข อ ง ส ิ น ค ้ า อ ื ่ น ที่

เกยี่ วข้องได้

3.อธิบายความยืดหยุ่นของ 3 0

อปุ ทานได้

4.ระบุค่าความยืดหยุ่นของ

อุปทาน และอธิบายลักษณะ

ของเสน้ อุปทานได้

5.บอกประโยชน์ของความ

ยืดหยุ่นของอุปสงค์และ

อุปทาน และวิเคราะห์ปัญหา

ทางเศรษฐกจิ ได้

สปั ดาหท์ ี่ หน่วยที่ ชว่ั โมง ช่ือหน่วย/สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ

5 4 17-20 1.ความหมายและลกั ษณะท่ัวไป 1.อธิบายความหมายและ

ของผบู้ ริโภค ลกั ษณะท่วั ไปของผบู้ รโิ ภคได้

2.ทฤษฎีอรรถประโยชน์ 2.อ ธ ิ บ า ย ท ฤ ษ ฎี

3.ทฤษฎีความพอใจเทา่ กัน อรรถประโยชนไ์ ด้

4.เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา 3.อธิบายทฤษฎีความพอใจ

5.ดุลยภาพของผู้บรโิ ภค เทา่ กนั ได้ 3 0
4.อธิบายเส้นงบประมาณและ

ก า ร เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง ข อ ง เ ส้ น

งบประมาณได้

5. อ ธ ิ บ า ย ด ุ ล ย ภ า พ ข อ ง

ผู้บริโภคและการเปลี่ยนแปลง

ดุลยภาพได้

6 5 21-24 1.ความหมายและลักษณะของ 1.อธิบายความหมาย ลักษณะ

การผลิต ของการผลิต และฟังก์ชันการ

2.การวิเคราะห์การผลิตในระยะ ผลติ ได้

สั้น3.การวิเคราะห์การผลิตใน 2.วิเคราะห์การผลิตในระยะ

ระยะยาว4.ดุลยภาพของการ ส้ันได้ 30

ผลติ 3.วิเคราะห์การผลิตในระยะ

ยาวได้

4.อธิบายดุลยภาพของการ

ผลิตได้

7 6 25-28 1. ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ต ้ น ทุ น 1.อธบิ ายความหมายของ

ป ร ะ เ ภ ท ต ่ า ง ๆ ใ น ท า ง ตน้ ทุนประเภทต่าง ๆ ในทาง

เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ได้

2.ความหมายของต้นทุนการ 2.อธิบายความหมายของ

ผลิตแต่ละชนิดในระยะสัน้ ต้นทุนการผลิตแต่ละชนิดใน

3.ความหมายและลักษณะของ ระยะสั้นได้

ตน้ ทนุ การผลติ ในระยะยาว 3.อธิบายความหมายและ

4.ความหมายและรายรับจาก ลักษณะของต้นทุนการผลิตใน 3 0

การผลิตแต่ละชนิด ระยะยาวได้

5.ความหมายของกำไรทาง 4.อธิบายความหมายและ

เศรษฐศาสตร์ รายรบั จากการผลติ แตล่ ะชนิด

ได้

5.อธิบายความหมายของกำไร

ทางเศรษฐศาสตรไ์ ด้

(ต่อ)

สปั ดาหท์ ี่ หนว่ ยที่ ชวั่ โมง ชอื่ หน่วย/สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ
8 7 29-32 1.ความหมายของตลาด 1.บอกความหมาย และ
2.ประเภทของตลาด ประเภทของตลาดได้
3.ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์ 2.อธบิ ายลกั ษณะของตลาด
4.ตลาดผกู ขาด ประเภทตา่ ง ๆ และการ
5.ตลาดกง่ึ แข่งขนั กึง่ ผูกขาด กำหนดราคาในตลาดแข่งขัน
สมบรู ณ์ ตลาดผกู ขาด
ตลาดกงึ่ แขง่ ขนั ก่ึงผูกขาด
และตลาดผ้ขู ายน้อยรายได้
3.อธบิ ายดุลยภาพตลาดในแต่ 3 0
ละตลาดได้
4.เปรียบเทียบผลของตลาด
แข่งขนั สมบรู ณ์และตลาด
ผกู ขาดได้
5.อธิบายการกำหนดราคา
และปริมาณสินคา้ ของผูผ้ ลิต
ในแตล่ ะตลาดได้

9 - 33-36 ทบทวน/สอบกลางภาคเรยี น 30

10 8 37-40 1.ความหมายของรายได้ 1. อ ธ ิ บ า ย ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง

ประชาชาติ รายไดป้ ระชาชาติ

2.การคำนวณรายได้ประชาชาติ 2 . ค ำ น ว ณ ห า ร า ย ไ ด้

3.ความสัมพนั ธร์ ะหว่างกนั ของ ประชาชาติด้านผลผลิต ด้าน

รายไดป้ ระชาชาติ รายได้ และด้านรายจา่ ยได้

4.รายไดป้ ระชาชาตทิ ่ีแท้จรงิ 3.เขา้ ใจรายไดป้ ระชาชาติและ

และรายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ บุคคล ความสมั พันธร์ ะหว่างกัน

5.ประโยชนแ์ ละข้อควรระวังใน 4.อธิบายรายได้ประชาชาติที่ 3 0

การใช้บัญชรี ายได้ประชาชาติ แท้จริงและรายได้เฉลี่ยต่อ

บุคคลได้

5.เข้าใจประโยชน์และขอ้ ควร

ระวงั ในการใชบ้ ญั ชรี ายได้

ประชาชาติ

(ต่อ) จุดประสงค์การเรยี นรู้ ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ
สปั ดาหท์ ่ี หน่วยท่ี ช่วั โมง ชอื่ หน่วย/สาระการเรยี นรู้
1.อธิบายรายจ่ายเพื่อการ
11 9 41-44 1.รายจา่ ยเพอ่ื การบริโภคและ
การออม บริโภคและการออม ปัจจัยที่
2.รายจ่ายเพ่ือการลงทนุ
3.การใชจ้ ่ายของภาครฐั บาล กำหนดการบริโภคและการ
4.การส่งออกสทุ ธิ
ออม ฟังก์ชันการบริโภค และ

การออม เส้นการบริโภคและ

เส้นการออม และทราบถึงกฎ

ว่าด้วยการบริโภคของเคนส์

2.อธบิ ายเกีย่ วกับรายจา่ ยเพ่ือ

การลงทนุ ปจั จยั ทกี่ ำหนดการ

ลงทนุ ฟังกช์ นั การลงทุนการ

เปล่ียนแปลงระดบั การลงทุน

และการย้ายเส้นการลงทุน

ความไม่มเี สถยี รภาพของการ

ลงทนุ ได้

3.อธิบายการใช้จา่ ยของ 30
ภาครฐั บาล ปัจจยั ท่ี

กำหนดการใชจ้ า่ ยของรฐั บาล

เส้นรายจา่ ยของรัฐบาลและ

การย้ายของเสน้ รายจา่ ยของ

รฐั บาลได้

4.อธิบายการสง่ ออกและการ

นำเข้า ปจั จยั ที่กำหนดความ

ตอ้ งการส่งออก เส้นความ

ต้องการสง่ ออกและ การยา้ ย

เส้นความต้องการส่งออก

ปัจจยั ทก่ี ำหนดความต้องการ

นำเข้า และเสน้ ความต้องการ

นำเข้า และการยา้ ยเสน้ ความ

ตอ้ งการนำเขา้ ได้

(ตอ่ )

สปั ดาห์ท่ี หนว่ ยที่ ช่ัวโมง ชือ่ หน่วย/สาระการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทฤษฏี ปฏิบตั ิ

12 10 45-48 1.ความรู้เบ้ืองต้นเกีย่ วกบั 1.อธบิ ายความหมาย

การเงิน วิวัฒนาการของเงนิ หน้าที่

2.ความสำคัญของเงินตอ่ ระบบ และประเภทของเงนิ ได้

เศรษฐกิจ 2.เข้าใจความสำคญั ของเงนิ ท่ี

3.ตลาดการเงิน มตี ่อระบบเศรษฐกิจ

4.ธนาคารพาณิชย์ 3.อธบิ ายความหมายและ

5.ธนาคารกลาง ประเภทของตลาดการเงนิ ได้

4.อธิบายระบบและการ

ดำเนนิ ธรุ กรรมของธนาคาร 3 0

พาณิชยไ์ ด้

5.เข้าใจความเป็นมา ประเภท

และหน้าท่ีของธนาคารกลาง

6.เขา้ ใจประเภทและเครอ่ื งมือ

ของนโยบายการเงิน รวมท้ัง

นโยบายการเงินของประเทศ

ไทย

13 11 49-52 1.ความหมายและความสำคัญ 1.เขา้ ใจความหมายและ

ของการคลัง ความสำคัญของการคลัง

2.ความหมายและวัตถปุ ระสงค์ 2.เขา้ ใจความหมายและ

ของนโยบายการคลัง วตั ถุประสงค์ของนโยบายการ

3.ประเภทและเคร่อื งมือของ คลงั

นโยบายการคลงั 3.อธิบายประเภทและ

4.รายไดแ้ ละรายจ่ายสาธารณะ เครอ่ื งมือของนโยบายการคลัง 3 0

ของรัฐบาล ได้

5.งบประมาณแผน่ ดิน 4.อธบิ ายเก่ียวกบั รายไดข้ อง

รฐั บาล รายจ่ายสาธารณะของ

รัฐบาล และหน้ีสาธารณะได้

5.อธบิ ายงบประมาณแผน่ ดนิ

ได้

(ต่อ) จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ
สปั ดาห์ท่ี หนว่ ยท่ี ช่ัวโมง ชือ่ หน่วย/สาระการเรียนรู้
1.อธบิ ายความหมายของเงิน
14 12 53- 1.เงนิ เฟอ้
56 2.เงินฝดื เฟอ้ ดัชนรี าคา สาเหตุของ
3.การว่างงาน
การเกิดเงินเฟ้อ ประเภทของ

เงินเฟ้อ ผลกระทบของ เงิน

เฟอ้ และแก้ปัญหาเงินเฟ้อได้

2.อธบิ ายความหมายของเงิน

ฝดื สาเหตุทท่ี ำใหเ้ กิดเงนิ ฝดื

ผลของภาวะเงินฝดื และแก้ไข

ภาวะเงนิ ฝืดได้ 30

3.อธบิ ายความหมายของการ

ว่างงาน สาเหตทุ ท่ี ำใหเ้ กิด

การว่างงาน ประเภทของการ

ว่างงาน ผลกระทบของ การ

ว่างงาน และแกป้ ญั หาการ

ว่างงานโดยใช้นโยบายต่าง ๆ

ได้

15 13 57- 1.ความหมายและความสำคัญ 1.อธบิ ายความหมายและ

60 ของการคา้ ระหวา่ งประเทศ ความสำคญั ของการค้า

2.ประโยชนข์ องการค้าระหวา่ ง ระหวา่ งประเทศได้

ประเทศ 2.อธบิ ายเกย่ี วกบั ตลาด

3.ตลาดเงนิ ตราตา่ งประเทศ เงินตราต่างประเทศและการ

และการกำหนดอตั รา กำหนดอัตราแลกเปลีย่ น

แลกเปล่ียนเงนิ ตราตา่ งประเทศ เงนิ ตราระหวา่ งประเทศได้

4.การกำหนดอตั ราแลกเปลี่ยน 3.อธิบายพัฒนาการการ 3 0
เงนิ ตราตา่ งประเทศของไทย กำหนดอตั ราแลกเปล่ยี น

5.ดลุ การชำระเงินระหว่าง เงินตราต่างประเทศของไทย

ประเทศ ได้

4.อธิบายเกีย่ วกบั การแก้ไข

ปัญหาดลุ การชำระเงินได้

(ตอ่ )

สัปดาห์ท่ี หน่วยท่ี ชวั่ โมง ชอื่ หน่วย/สาระการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ทฤษฏี ปฏิบตั ิ

16 14 61-64 1.ความหมายและความสำคัญ 1.อธิบายความหมายและ

ของการพัฒนาเศรษฐกิจ ความสำคัญของการพัฒนา

2.หลักเกณฑ์ในการวัดและ เศรษฐกิจได้

ปจั จยั พน้ื ฐานในการพัฒนา 2.อธบิ ายหลกั เกณฑ์ในการวัด

เศรษฐกิจ และปจั จยั พ้นื ฐานในการ

3.บทบาทของรฐั บาลกับการ พฒั นาเศรษฐกิจได้

พัฒนาเศรษฐกิจ 3.อธิบายบทบาทของรัฐบาล 3 0

4.การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ กบั การพัฒนาเศรษฐกิจได้

4.อธิบายเกย่ี วกับ

วัตถปุ ระสงคแ์ ละวธิ กี ารใน

การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

ได้

17 14 65-68 5.การพฒั นาเศรษฐกจิ และ 5.เข้าใจถึงการวางแผนการ 3 0
สงั คมของประเทศไทย พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ
6.ความเป็นมาและการ ไทย
ประยกุ ตใ์ ช้ปรัชญาของ 6.อธบิ ายความเป็นมาและ
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกตใ์ ช้ปรชั ญา
7.วัฏจักรเศรษฐกจิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
7.อธิบายการเปลย่ี นแปลง
ภาวะเศรษฐกจิ ตามวัฏจักร
ธุรกจิ ได้

18 - 69-72 ทบทวน/สอบปลายภาคเรียน - 30
รวม 54 0

รวมท้ังส้นิ 54

หมายเหตุ กำหนดการสอนทบี่ รู ณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์นี้ จดั ทำขนึ้
เพื่อเป็นแนวทางให้กบั ครูผู้สอนในการจัดการเรยี นการสอนเทา่ น้ัน สามารถเปลีย่ นแปลงได้ขึ้นอยู่กับผู้สอน และ
สถานศกึ ษาที่จะนำไปประยุกต์ใช้เปน็ สำคญั

การวัดผลและประเมินผล

ชือ่ วิชา หลักเศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) ท.ป.น. 3-0-3

รหสั วชิ า 30200-1001 จำนวน 3 ช่วั โมง/ สัปดาห์ ระดบั ปวส.

1.การวัดผล

-พุทธพิ สิ ัย 1) แบบฝึกหัด/ แบบฝึกปฏิบัติ 10%

2) ทดสอบหลงั เรียน 10%

3) วดั ผลสมั ฤทธิ์ 10%

รวม 30%

-ทกั ษะพสิ ยั 1) ใบงาน 30 %
2) วดั ผลสัมฤทธ์ิ 20 %

รวม 50 %

-จติ พิสยั รวม 20 %

รวมทง้ั หมด 100 %

(คะแนนทดสอบกอ่ นเรยี นไว้สำหรับเปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบหลังเรียน)

คะแนนระหว่างภาค/ปลายภาค 70 : 30

ระหว่างภาค 1) แบบประเมินผล 15 %

2) สอบกลางภาค 20 %

3) ใบงาน/ แบบฝกึ ปฏิบตั ิ 15%

4) จติ พสิ ยั 20 %

รวม 70 %

สอบปลายภาค 30 %

รวม 100 %

2.การประเมินผล (องิ เกณฑ์)

80 – 100 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 4.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ ีเยีย่ ม
75 – 79 คะแนน ได้ผลการเรยี น 3.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีมาก

70 – 74 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 3.0 หมายถงึ ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ดี

65 – 69 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 2.5 หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑด์ พี อใช้

60 – 64 คะแนน ได้ผลการเรียน 2.0 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์พอใช้

55 – 59 คะแนน ได้ผลการเรียน 1.5 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑอ์ ่อน

50 – 54 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 1.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ออ่ นมาก

 50 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 0 หมายถึง ผลการเรยี นต่ำกวา่ เกณฑ์ข้ันต่ำ

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการท่ี 1 หน่วยท่ี -
รหัส 30200-1001 หลกั เศรษฐศาสตร์ สอนคร้ังที่ 1
ชื่อหน่วย ปฐมนเิ ทศ
จำนวน - ช่ัวโมง

สาระสำคญั
การศึกษาวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ เปน็ วิชาทเี่ น้นการศกึ ษาทางด้านเศรษฐกิจ ท้ังนยี้ ังรวมไปถึงการจดั การหรือการ
วางแผนกลไกลการตลาดเพื่อก่อให้เกิดผลผลิตที่ดีทางด้านเศรษฐกิจ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในงานธุรกิจ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันทั่วไปอีกด้วย
ผู้เรียนวิชานี้นอกจากจะได้ความรู้ที่ถูกต้อง ผ่านการบรรยายและเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่ผู้สอนจัดเตรียมไว้
เพ่ือให้เกดิ ประสทิ ธิภาพการเรยี นรู้สูงสดุ ต่อผู้เรยี นอกี ด้วย
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกจุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวิชาตามหลกั สตู รฯ ได้
2. บอกแนวทางวดั ผลและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ได้
สมรรถนะประจำหน่วย

1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา
2. การวัดและประเมนิ ผล ของวิชาหลักเศรษฐศาสตร์
สาระการเรียนรู้
1. จุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคำอธบิ ายรายวิชาตามหลักสตู รฯ ได้
2. แนวทางวดั ผลและการประเมินผลการเรียนรู้ได้
กิจกรรมการเรียนการสอน

ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน
1. ครูผู้สอนแนะนำจุดประสงค์ที่ผู้เรียนจะได้จากหลักสูตร โดยกำหนดให้ผู้เรียนทุกคนต้องมีความรู้

ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลยภาพของตลาด ความ
ยดื หยุ่นของอุปสงค์และอปุ ทาน พฤติกรรมผูบ้ ริโภค การผลิต ต้นทุน รายรบั และกำไร ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
รายได้ประชาชาติ การกำหนดรายไดป้ ระชาชาติ การเงินธนาคารและนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เงินเฟ้อ
เงินฝดื การวา่ งงาน และการแก้ไขปัญหา
การค้าระหว่างประเทศ เศรษฐกิจมหภาค การพัฒนาเศรษฐกจิ และวฏั จักรเศรษฐกจิ
2. ครูสนทนากบั ผู้เรียนเพื่อให้เห็นความสำคญั ของการเรียนวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์
ขั้นสอน

3. ผเู้ รยี นรับฟังคำชีแ้ จงสังเขปรายวชิ าและการวดั ประเมินผล ซกั ถามขอ้ ปญั หารวมท้ังแสดงความคิดเห็น
เกยี่ วกับการเรียนวชิ านี้

1. การวดั ผล

- พุทธิพิสยั 1) แบบฝกึ หดั 15 %

2) ทดสอบหลงั เรียน 10 %

3) วดั ผลสมั ฤทธ์ิ 10 %

รวม35 %

- ทักษะพสิ ยั 1) ใบงาน 30 %

2) วดั ผลสมั ฤทธ์ิ 20 %

- จติ พสิ ัย รวม 50 %
รวม 15 %

รวมทง้ั หมด100 %

(คะแนนทดสอบกอ่ นเรยี นไวส้ ำหรบั เปรยี บเทยี บกับคะแนนทดสอบหลังเรยี น)

คะแนนระหว่างภาค/ปลายภาค 70 : 30

ระหว่างภาค 1) แบบฝึกหดั 15 %

2) ทดสอบกลางภาค 20 %

3) ใบงาน 15 %

4) จิตพสิ ยั 20 %

รวม 70 %

ปลายภาค ทดสอบปลายภาค 30 %

ร 100 %

2. การประเมนิ ผล (อิงเกณฑ์)

80 – 100 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 4.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดีเยี่ยม

75 – 79 คะแนน ได้ผลการเรียน 3.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑด์ มี าก

70 – 74 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 3.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดี
65 – 69 คะแนน ได้ผลการเรียน 2.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑด์ ีพอใช้

60 – 64 คะแนน ได้ผลการเรียน 2.0 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์พอใช้

55 – 59 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 1.5 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์อ่อน

50 – 54 คะแนน ได้ผลการเรยี น 1.0 หมายถึง ผลการเรียนอย่ใู นเกณฑอ์ ่อนมาก

 50 คะแนน ได้ผลการเรยี น 0 หมายถึง ผลการเรียนตำ่ กวา่ เกณฑ์ข้นั ตำ่

4. ครูใหผ้ ูเ้ รียนทำกจิ กรรมท่ที ำให้ผู้เรียนเขา้ ใจหลกั เศรษฐศาสตร์ก่อนทจี่ ะเข้าสูห่ นว่ ยการเรยี นรู้

ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์

5. ผู้เรียนวางแผนการเรียนวิชาหลักเศรษฐศาสตร์และการนำความรู้ที่ได้จากรายวิชาไปประยุกต์ใช้กับ

งานในชวี ติ ประจำวนั ที่จำเป็นโดยท่วั ไป ซง่ึ ทุกคนจะตอ้ งวางแผนการทำงานต่าง ๆ ในอนาคต

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้

1. หนังสือเรยี น รหสั 30200 -1001 หลักเศรษฐศาสตร์ ของสำนักพมิ พเ์ อมพนั ธ์
2. สือ่ Power Point
3. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
หลกั ฐาน

1. บันทกึ การสอน
2. ใบเช็ครายชื่อ
3. แผนจัดการเรยี นรู้
4. การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล

วธิ วี ัดผล
สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
เครอ่ื งมือวดั ผล
แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
เกณฑ์การประเมนิ ผล
เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ

กิจกรรมเสนอแนะ
แนะนำใหว้ างแผนการเรียนและศกึ ษาเนอ้ื หาก่อนเรียนล่วงหนา้

บันทกึ หลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่พี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการที่ 2 หน่วยท่ี 1
รหัส 30200-1001 หลกั เศรษฐศาสตร์ สอนคร้ังที่ 2
ชือ่ หนว่ ย ความรทู้ วั่ ไปเกยี่ วกับเศรษฐศาสตร์
จำนวน 4 ชั่วโมง

สาระสำคญั
เศรษฐศาสตร์ เป็นการศึกษาถึงแนวทางการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีประสทิ ธภิ าพสงู สุด เศรษฐศาสตร์
จงึ มคี วามสัมพันธแ์ ละเช่ือมโยงกับหลายสาขาวชิ า การศกึ ษาวชิ าเศรษฐศาสตรจ์ ะทำให้เข้าใจ และทราบถึงปัจจัย
ที่กำหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งการผลิต การบริโภค และการลงทุน โดยจะต้องใช้เครื่องมือหลายๆ ประเภท
ในการศึกษาและทำความเขา้ ใจกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เหล่าน้นั เชน่ คณิตศาสตร์ สถติ ิ กราฟ เป็นต้น

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายความหมายของเศรษฐศาสตร์ เข้าใจประวัตแิ ละแขนงของวชิ าเศรษฐศาสตร์รวมทง้ั

ความสมั พันธ์
ระหวา่ งเศรษฐศาสตรก์ ับวิชาอนื่ ๆ ได้

2. อธบิ ายวตั ถุประสงคแ์ ละวิธีการศกึ ษาทางเศรษฐศาสตร์ได้
3. อธบิ ายหน่วยเศรษฐกิจและวงจรในระบบเศรษฐกิจได้
4. อธิบายปญั หาพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ และระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ รวมทั้งแก้ปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ ได้
5. อธิบายเครื่องมอื ประกอบการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ได้
6. อธบิ ายประโยชนข์ องวชิ าเศรษฐศาสตรไ์ ด้

สมรรถนะประจำหนว่ ย
แสดงความร้เู กีย่ วกบั เศรษฐศาสตร์โดยท่ัวไป

สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายและประวัตขิ องวชิ าเศรษฐศาสตร์

2. แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์และความสัมพนั ธ์ระหว่างเศรษฐศาสตรก์ บั วชิ าอนื่ ๆ
3. วิธกี ารศกึ ษาทางเศรษฐศาสตร์
4. หนว่ ยเศรษฐกจิ และวงจรในระบบเศรษฐกิจ
5. ปญั หาพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจ
6. ระบบเศรษฐกจิ แบบตา่ ง ๆ กับการแกป้ ญั หาพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจ
สาระการเรยี นรู้
7. เครอื่ งมือประกอบการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์
8. ประโยชน์ของวชิ าเศรษฐศาสตร์

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขนั้ นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครูกลา่ ววา่ เศรษฐศาสตรเ์ ป็นวชิ าการแขนงหนึง่ ของสงั คมศาสตร์ ผู้ทไี่ ด้รับการยกยอ่ งใหเ้ ป็นบิดาแห่ง
วิชาเศรษฐศาสตร์ คือ อดัม สมิธ (Adam Smith) ได้เขียนตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกของโลก ชื่อ An Inquiry
into the Nature and Causes of the Wealth of Nations ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1776 สังคมหนึ่งๆ
ประกอบด้วยหน่วยเศรษฐกิจที่ทำหน้าที่แตกต่างกันไป และมีจารีตประเพณีที่แตกต่างกันด้วย จึงจำเป็นต้องมี
กฎเกณฑ์และนโยบายที่เป็นแบบแผน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและใช้แก้ปัญหา
ทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าระบบเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ในโลกจะเป็นแบบใดก็ตามต่างมีจุดมุ่งหมายจะแก้ปัญหา
พื้นฐานทางเศรษฐกิจ คือ ปัญหาว่าจะผลิตอะไร (what to Produce?)ปัญหาว่าจะใช้วธิ กี ารผลิตอย่างไร (How
to Produce?) และปญั หาว่าจะผลติ เพ่ือใคร (For whom to Produce?)
เพราะฉะนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผูเ้ รยี นจะต้องเรียนรู้และเข้าใจหลักการของเศรษฐศาสตร์ เพื่อนำความรู้
และวธิ ีการต่างๆ ไปประยกุ ตใ์ ช้เพื่อใหเ้ กิดความถกู ต้องและเกิดประโยชนม์ ากทีส่ ดุ
2. ครกู ล่าววา่ ในรายวชิ านีผ้ เู้ รียนจะได้เรยี นรู้หลกั เศรษฐศาสตรร์ วมไปถงึ ข้อควรรตู้ า่ งๆ
ขน้ั สอน
3. ครใู ช้สอ่ื Power Point ประกอบเทคนคิ การบรรยายความหมายและประวตั ิของวชิ าเศรษฐศาสตร์
3.1 ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ (Economics) เป็นวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์เกี่ยวกับการ
เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการผลิตสินค้าและบริการสนองความต้องการของมนุ ษย์ ซึ่งโดยทั่วไปมี
อย่างไม่จำกัดโดยให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพ (Efficiency) สูงสุด นั่นคือต้องใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
ที่สุดและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมสูงสุด ทรัพยากรการผลิตหรือปัจจัยการผลิตดังกล่าวแบ่ง
ออกเปน็ 4 ประเภท คอื ทดี่ นิ (Land) แรงงาน (Labour) ทุน (Capital) และผู้ประกอบการ (Entrepreneur)
1) ที่ดิน (Land) ได้แก่ ที่ดิน หรือทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ สัตว์ป่า สิ่งเหล่านี้มีอยู่ตาม
ธรรมชาติ มนุษย์สร้างขึ้นเองไม่ได้ แต่สามารถปรบั ปรุงคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติได้บ้าง เช่นการปรับปรุง
ทด่ี นิ ให้มีความอุดมสมบรู ณม์ ากข้นึ เป็นต้น ผลตอบแทนจากการใชท้ ดี่ นิ เรยี กวา่ คา่ เช่า (Rent)
2) แรงงาน (Labour) ซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์ (human resource) ได้แก่ ความสามารถทั้งกำลังกาย
กำลงั สตปิ ญั ญา และความรคู้ วามสามารถที่นำไปใชใ้ นการผลติ สนิ คา้ และบริการ ผลตอบแทนของแรงงานเรยี กว่า
ค่าจ้าง (Wage)
3) ทุน (Capital) เป็นสิ่งทีม่ นุษยส์ รา้ งขึ้นเพ่ือใชร้ ว่ มกับปัจจัยการผลติ อื่น ๆ ในการผลิตสินค้าและบริการ เชน่
เครื่องจกั ร เคร่ืองมอื โรงงาน อาคาร เป็นตน้ ผลตอบแทนของทุนเรยี กว่า ดอกเบีย้ (Interest)
4) ผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneur) เปน็ ผ้ทู ี่ทำหนา้ ทีร่ วบรวมปัจจัยการผลติ ท้ังสามประเภท คือ ที่ดนิ แรงงาน
และทนุ เพ่ือมาใชใ้ นการผลติ สินค้าและบริการ ผลตอบแทนของผูป้ ระกอบการ เรยี กวา่ กำไร (Profit)
ในทางเศรษฐศาสตร์ไดแ้ บ่งสนิ ค้าออกเปน็ 2 ประเภท คือ เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods) และสนิ ค้าไร้ราคา
(Free goods) โดยเศรษฐศาสตร์จะศกึ ษาเฉพาะสินค้าท่เี ป็นเศรษฐทรัพยเ์ ทา่ นัน้
1) เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods) หมายถึง สินค้าและบริการที่มีต้นทุน มีจำกัดและมีราคาการจะได้
สินค้าประเภทนี้ต้องซ้ือหรือจา่ ยเงิน เศรษฐทรพั ยย์ ังแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สินค้าเอกชน(private goods)
เป็นสินค้าที่แยกการบริโภคออกจากกันได้ และเจ้าของสามารถกีดกันผู้บริโภครายอื่นได้ เช่น นายเอกเป็นผู้
จ่ายเงินซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้เครื่องหนึ่ง นายเอกสามารถกีดกันไม่ให้คนอื่นใช้ประโยชน์จากเครื่อง
คอมพิวเตอร์นั้นได้ และสินค้าสาธารณะ (public goods) ซึ่งเป็นสินค้าที่บริโภคร่วมกัน และไม่สามารถกีดกัน


Click to View FlipBook Version