The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อรอุมา พงษ์ธนู, 2022-11-12 04:54:26

หลักเศรษฐศาสตร์30200-1001

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

3.1 ปัจจยั ทก่ี ำหนดการบรโิ ภคและการออม
การท่ปี ระชาชนจะสามารถมีรายจ่ายเพื่อการบรโิ ภคและการออมมากน้อยเพยี งใดน้ัน ขึน้ อยู่กับ ปัจจยั ตา่ ง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการ
บรโิ ภคและการออมดงั น้ี
1. รายได้สทุ ธิสว่ นบคุ คล เป็นปจั จยั ท่มี อี ทิ ธิพลต่อรายจ่ายในการบริโภคและการออมมากท่ีสดุ กลา่ วคอื รายได้สุทธิส่วนบุคคล
เปน็ รายไดท้ ่ีภาคครวั เรอื นได้รบั หลังจากหักภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดาแล้ว จงึ สามารถนำไปใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออมได้
ผทู้ ี่มีรายไดส้ ว่ นน้มี ากสามารถใชจ้ า่ ยเพ่ือการบรโิ ภคและการออมไดม้ ากกว่าผูท้ ม่ี รี ายได้สุทธิส่วนบุคคลนอ้ ย
2. สภาพคลอ่ งสนิ ทรพั ย์ทบี่ ุคคลมอี ยู่ เนอื่ งจากทรพั ยส์ นิ ที่ครวั เรือนถือครองอยู่มสี ภาพคล่องสูง หรือตำ่ ไม่เท่ากัน ซึ่งทรัพย์สิน
ทม่ี ี สภาพคล่อง ไดแ้ ก่ เงินสด เงนิ ฝากกระแสรายวันเงนิ ฝากประจำ พันธบัตร ห้นุ ทองคำ และที่ดนิ ในกรณที ่ปี ระชาชนถอื ครอง
สินทรัพยส์ ภาพคล่องสูงไว้มากประชาชนจะรู้สึกว่าตน มฐี านะทางการเงินทีม่ ั่นคง สามารถใชจ้ า่ ยเพ่ือการบรโิ ภคและการออมได้
มากกว่าประชาชนท่ีถือสนิ ทรัพย์ สภาพคล่องต่ำ เพราะไม่แนใ่ จว่าจะสามารถเปลย่ี นสนิ ทรพั ย์ให้เปน็ เงินสดไดต้ ามเวลาที่ตอ้ งการ
หรอื ไม่ และได้รับมลู ค่าที่ตนพอใจมากนอ้ ยเพียงใดหรอื ไม่ จงึ ต้องชะลอการบริโภคและการออมบางส่วนไวก้ อ่ น
3. สินทรัพย์ถาวรที่บุคคลมีอยู่ ถ้าประชาชนมีสินทรัพย์ถาวร เช่น รถยนต์ โทรทัศน์ ตู้เย็น คอมพิวเตอร์ เครื่องเรือน อยู่แลว้
ความจำเปน็ ในการซือ้ สนิ คา้ เหล่านีจ้ ะอยู่ในระดับต่ำ ทำให้ ลดการใช้จ่ายลงไดม้ าก เพราะสินค้าเหล่านี้มีความคงทนถาวรและมี
อายุการใช้งานนาน
4. รายได้ในอนาคต เกี่ยวกับรายได้ในอนาคตนี้ จะมีผลต่อการบริโภคและการออมในปัจจุบัน ซึ่งเป็นปัจจัยที่เอื้อให้มีการออม
เพิ่มมากขึ้น หากประชาชนคาดการณ์ว่าจะมีรายไดเ้ พ่ิมขึ้นในอนาคต เขาอาจจะ เพิ่มการบรโิ ภคและการออมในปัจจุบันให้มาก
ขึ้น ในทางตรงขา้ ม เขาจะลดการบริโภคและการออมในปจั จุบนั ลง ถ้าเขาคาดวา่ รายได้ในอนาคตจะลดน้อยลง
5. การคาดคะเนระดับราคาสนิ ค้าถ้าหากประชาชนคาดว่าราคาสินค้าในอนาคตจะสงู ขึ้น เขาจะรีบ ซื้อสินค้ามากกว่าปกติเพื่อ
กักตุนไว้ ทั้งนี้เป็นพฤติกรรมของบุคคลโดยทั่วไปทีไ่ มอ่ ยากซือ้ ของแพง โดยเฉพาะ สินค้าประเภทคงทนถาวร ทำให้รายจ่ายเพ่อื
การบริโภคขณะนั้นเพ่ิมขึน้ การออมลดลง แต่ถ้าหากคาดว่า ราคาสินค้าในอนาคตจะลดลง เขาจะชะลอการซื้อสินค้าในปจั จุบัน
เพ่อื รอซ้อื สินคา้ ในอนาคตแทน จะทำให้ รายจ่ายเพื่อการบรโิ ภคในระยะนั้นลดลง
6. สินเชือ่ เพ่ือการบรโิ ภค ณ ระดับรายได้ที่ใชจ้ ่ายได้เท่ากัน ในกรณีที่สงั คมน้ันมีระบบการให้ สินเชื่อเพื่อการบริโภคในรูปของ
การจ่ายเงนิ ดาวนต์ ่ำและดอกเบีย้ ตำ่ จะจูงใจให้ประชาชนมีการใช้จ่าย เพื่อการบริโภคสงู กว่าในกรณีทไี่ ม่มรี ะบบการให้สินเชื่อใน
ลกั ษณะดังกลา่ ว
7. อตั ราดอกเบยี้ เม่อื ประชาชนมรี ายได้ ส่วนหนึง่ จะถกู ใชไ้ ปในการบริโภค สว่ นท่เี หลอื ก็จะเกบ็ ออมไว้ และการทป่ี ระชาชนจะ
มีการออมมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับอัตราดอกเบี้ย ถ้าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากสูง ก็จะจูงใจให้ประชาชนเก็บออมมากขึ้น และใช้
จา่ ยเพื่อการบรโิ ภคลดลง แตถ่ ้าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากต่ำ บุคคลจะมีการออมลดลง และมใี ช้จา่ ยเพอ่ื การบริโภคมากขน้ึ
8. การเก็บภาษี มีผลโดยตรงต่อรายได้สุทธิส่วนบคุ คล ถ้ารัฐบาลเก็บภาษมี าก รายได้สทุ ธิ ส่วนบุคคลท่ีจะนำไปใช้จ่ายเพื่อการ
บริโภคจะเหลอื นอ้ ย การบรโิ ภคและการออมของบุคคลจะลดลง ซ่งึ การข้นึ ภาษีนีจ้ ะมผี ลกระทบต่อบคุ คลท่ีมีรายได้ต่ำมากกว่าผู้
ทมี่ ีรายได้สงู เนื่องจากผู้ท่ีมีรายไดต้ ่ำจะใช้ รายได้สว่ นใหญ่เพื่อการบรโิ ภคและเหลอื กเ็ ก็บออม
9. การกระจายรายได้ เนอื่ งจากผู้ทีม่ ีรายไดต้ ํา่ จะใชจ้ ่ายในการบริโภคในสัดส่วนท่ีมากกว่าผู้ท่ี มีรายได้สูง การกระจายรายได้ที่มี
ความยุตธิ รรมจะทำให้คา่ ใช้จ่ายในการบริโภคของสังคมสูง แต่ถ้าหาก การกระจายรายได้มีความเหลื่อมลํ้ากนั มาก รายจ่ายเพ่ือ
การบริโภค รวมไปถึงการออมของสังคมจะต่ำลง เพราะว่าผู้มีรายได้สูงจะมีเพียงกลุ่มน้อย เมื่อมีรายได้สูงขึ้น รายจ่ายเพื่อการ
บริโภคจะเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ดังนั้น ประเทศใดที่มีการกระจายรายได้เท่าเทียมกัน รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออมของ
ประเทศนัน้ จะสูงกวา่ ประเทศทีม่ กี ารกระจายรายไดท้ ไ่ี มเ่ ทา่ เทียมกัน
10. ค่านิยมทางสังคม เป็นคุณค่าที่สังคมได้กำหนดไว้ว่าเปน็ ส่ิงที่นา่ ประพฤติปฏิบัติ โดยไม่คำนึงถึง ความเหมาะสมและความ
สอดคลอ้ งกบั ภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม หากค่านยิ มทางสังคมให้ความสำคัญกับวตั ถุ จะทำให้บุคคลบางกลุ่มมกี ารใช้จ่ายในสนิ ค้า
และบริการที่ฟุ่มเฟือยและมีราคาสูง ทำให้สังคมนั้นมีการบริโภค อยู่ในระดับสูงและการออมอยู่ในระดับต่ำ ส่วนสังคมที่ยึด
คา่ นิยมการประหยดั สังคมนัน้ กจ็ ะมีการบรโิ ภค และการออมอยู่ในระดับท่เี หมาะสมและเป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกจิ ในระยะยาว
11. อัตราเพม่ิ ของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร ถา้ หากอตั ราเพิม่ ของประชากร อยูใ่ นระดับสงู รายจ่ายเพื่อการ
บริโภคและการออมจะเพิ่มมากขึ้น แต่ถ้าอัตราเพิ่มของประชากรอยู่ในระดับต่ำรายจ่ายเพื่อการบริโภคก็จะลดลง นอกจากนี้
โครงสร้างอายุของประชากรก็มีอิทธพิ ลต่อรายจ่ายเพื่อการบริโภค โดยทั่วไปหากจำนวนประชากรวัยทำงานมีสัดส่วนต่ำ การใช้

จา่ ยเพือ่ การบริโภคจะมมี าก เพราะประชากร ทีไ่ มอ่ ยู่ในวยั ทำงานแม้จะไม่มรี ายได้แต่ก็ยังตอ้ งบริโภค แตถ่ า้ จำนวนประชากรวัย
ทำงานมีสัดส่วนมาก รายจา่ ยเพอ่ื การบริโภคและการออมกจ็ ะนอ้ ย
3.2 ฟังก์ชันการบริโภคและการออม
ฟงั ก์ชนั การบริโภค จากปัจจัยตา่ ง ๆ ที่เปน็ ตัวกำหนดรายจ่ายเพือ่ การบรโิ ภค เราสามารถแสดง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการบรโิ ภค
กับตัวกำหนดตา่ ง ๆ ด้วยสัญลักษณ์ทางพีชคณิตซึง่ เรยี กว่า “ฟังก์ชันการบริโภค (Consumption Function)”

C = f(Yd, A1, A2, A3, ...)

เม่อื C = รายจ่ายเพอื่ การบรโิ ภค
Yd = รายได้สทุ ธิส่วนบคุ คล
A1 = สนิ ทรัพย์ทบ่ี คุ คลมอี ยู่
A2 = สินคา้ ถาวรท่ีบุคคลมีอยู่
A3 = รายได้ในอนาคต เปน็ ต้น

จากฟังก์ชันการบริโภค จะเห็นไดว้ า่ รายจ่ายเพ่ือการบริโภคขึ้นอยูก่ ับปัจจัยต่าง ๆ มากมาย แต่ในระยะสั้นปัจจัยที่มีความสำคญั
และมีอิทธิพลต่อการบริโภคมากที่สุด คือ รายได้สุทธิส่วนบุคคล ส่วนปัจจัยอื่น ๆ ค่อนข้างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง จึงสรุปได้ว่า
รายได้สทุ ธิสว่ นบคุ คลเปน็ ตวั กำหนดโดยตรง ของการบริโภค ส่วนปัจจยั อื่น ๆ ถอื เปน็ ตวั กำหนดโดยอ้อมของการบรโิ ภค
ดังนั้น ถ้าสมมติให้ปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นตัวกำหนดโดยอ้อมอยู่คงที่ ฟังก์ชันการบริโภคจะเป็นตัวแสดง ให้เห็นถึงความสัมพันธ์
ระหว่างรายได้สทุ ธสิ ว่ นบุคคลกับรายจ่ายเพือ่ การบริโภค ดังนี้

C = f(Yd)

โดยธรรมชาตขิ องบคุ คลตอ้ งมีการบริโภคขน้ั ตำ่ สดุ ระดบั หนง่ึ ซ่ึงเป็นการบริโภคเพื่อการยงั ชพี ใหช้ วี ิตอยรู่ อด ถงึ จะไมม่ ีรายไดเ้ ลย
ก็ตาม หรือเป็นการบริโภคโดยอัตโนมัติ เงินที่นำมาใช้จ่ายนี้อาจได้มาจาก การกู้ยืมหรือนำเงินออมที่มีอยู่ออกมาใช้ หรือนำ
ทรัพย์สินที่มีอยู่ออกขายเพื่อให้ได้เงินมาใช้จ่ายในการบริโภค และเมื่อรายได้สูงข้ึน การบริโภคก็จะสูงขึ้น เมื่อรายได้ลดลง การ
บริโภคก็จะลดลงเช่นกัน ดังนั้น อาจแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกับรายได้สุทธิส่วนบุคค ลในรูปสมการเส้นตรง
(Linear Equation) ดังนี้

C = Ca + bYd

เมอ่ื C = รายจา่ ยเพอื่ การบรโิ ภค
Yd = รายไดส้ ุทธสิ ่วนบคุ คล
Ca = ระดับการบรโิ ภคเมอ่ื รายไดเ้ ทา่ กบั ศนู ย์หรือระดับการบริโภคทไ่ี มข่ ึน้ กับรายได้
b = สัดสว่ นของรายจา่ ยเพอ่ื การบริโภคทีเ่ พ่มิ ขึ้น เม่อื รายไดเ้ พมิ่ ขึ้น 1 หนว่ ย หรอื ค่าความชนั ของ
เส้นการบรโิ ภค

ฟังก์ชนั การออม เมอื่ บุคคลมีรายไดเ้ ขาจะตัดสินใจว่า จะจดั สรรรายได้ของเขาอยา่ งไรระหว่าง การบรโิ ภคกับการออม กล่าวคือ
ถ้าตัดสินใจท่จี ะบรโิ ภคมากข้นึ กจ็ ะมเี งินออมนอ้ ยลง แต่ถ้าตดั สินใจทีจ่ ะ ลดการบรโิ ภคก็จะมีเงินออมมากขึ้น ฉะนั้น จึงกล่าวได้
ว่า การออมเป็นรายได้สุทธิส่วนที่เหลือจากการบริโภค และจากที่กล่าวมาข้างต้นเราทราบว่าการบริโภคจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับรายได้สุทธิส่วนบุคคล เช่นเดียวกับ การออมที่ขึ้นอยู่กับรายได้สุทธิส่วนบุคคลด้วย ดังนั้น ฟังก์ชันการออมจึงเป็นการแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่าง การออมกบั รายไดส้ ทุ ธิสว่ นบุคคล นน่ั คือ

S = f(Yd)

เมือ่ S = การออม
Yd = รายไดส้ ุทธิส่วนบคุ คล

เนอ่ื งจากรายได้สุทธสิ ่วนบุคคลจะถกู จัดสรรไประหวา่ งการบริโภคกบั การออม ดังนน้ั

Yd = C + S

หรือ

S = Yd – C

จากสมการการบริโภค C = Ca + bYd

แทนคา่ C ในสมการ S จะไดส้ มการการออมดังนี้
S = -Ca + (1 - b)Yd

จากสมการการออมที่ได้ เมื่อบุคคลไม่มีรายได้สุทธสิ ่วนบุคคลเลย เงินที่เก็บออมไว้จะถูก นำออกมาใช้จ่าย ทำให้เงินออมลดลง
เทา่ กบั Ca (คา่ ของ Ca มคี า่ ตดิ ลบ) ซ่งึ เปน็ รายจ่ายเพื่อการบรโิ ภคขั้นตำ่ สุด ในการดำรงชีวติ และความสัมพันธ์ระหว่างการออม
กับรายได้สุทธิส่วนบุคคลจะมีทิศทางไปในทางเดียวกัน เช่นเดียวกับสมการการบรโิ ภค กล่าวคือ ถ้ารายได้สุทธิส่วนบุคคลสูงขนึ้
การออมกจ็ ะสูงขน้ึ ดว้ ย แตถ่ า้ รายไดส้ ทุ ธสิ ว่ นบคุ คลลดลง การออมก็จะลดลงด้วย
3.3 เส้นการบรโิ ภคและเสน้ การออม
เสน้ การบรโิ ภค จากสมการเสน้ ตรงแสดงรายจ่ายเพอื่ การบรโิ ภค สามารถนำไปสรา้ งเสน้ การบริโภคได้ดังน้ี
สมมติให้ Ca = 40 และ b = 0.60 สามารถเขียนสมการการบริโภคได้ คือ

C = 40 + 0.60Yd

จากสมการการบรโิ ภคขา้ งต้น สามารถแสดงเส้นการบริโภคไดโ้ ดยการกำหนดคา่ Yd ณ ระดับต่าง ๆ ก็จะได้ค่า C มาชุดหนึง่ ดัง
ตารางต่อไปนี้

ตาราง แสดงรายจ่ายเพื่อการบริโภค ณ ระดบั รายได้ต่าง ๆ

รายได้สุทธิ (Yd) รายจา่ ยเพอ่ื การบริโภค (C)
0 40
50 70
100 100
150 130
200 160
250 190
300 220

จากตาราง นำไปสรา้ งเสน้ การบรโิ ภค (Consumption Curve) จะมีลกั ษณะเปน็ เสน้ ตรงทอด ขน้ึ ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งรายได้กบั การบรโิ ภคท่ีมีทศิ ทางไปในทางเดียวกนั กล่าวคอื เมอ่ื รายได้เพมิ่ ข้ึน รายจา่ ยเพ่ือการบรโิ ภคกจ็ ะสงู ขน้ึ ในทาง

ตรงกันข้าม เมื่อรายได้ลดลง รายจ่ายเพื่อการบริโภค ก็จะลดต่ำลงเช่นกัน เส้นการบริโภคตามตัวอย่างนี้ เริ่มท่ี 40 (Ca = 40)
จะเห็นไดว้ า่ แมผ้ ู้บริโภคจะไม่มี รายไดเ้ ลย แตก่ ย็ งั ตอ้ งบริโภค ดงั แสดงในรูป

แสดงเสน้ การบริโภค (consumption curve)

เสน้ การออม จากสมการการออม สามารถนำไปสรา้ งเส้นการออมไดด้ งั นี้

จากสมการการบรโิ ภค C = 40 + 0.60Yd

และ Yd = C + S

แทนค่า C ในสมการ Yd จะได้สมการการออม คอื

S = -40 + 0.40Yd

จากสมการการออมขา้ งต้น สามารถแสดงเสน้ การออมได้โดยการกำหนดค่า Yd ณ ระดับตา่ ง ๆ ก็จะได้คา่ S มาชุดหน่ึง ดงั ตาราง

ตอ่ ไปน้ี

ตาราง แสดงการออม ณ ระดับรายได้ตา่ ง ๆ

รายไดส้ ทุ ธิ (Yd) รายจา่ ยเพอ่ื การออม (S)
0 -40
50 -20
100 0
150 20
200 40
250 60
300 80

จากตารางนำไปสร้างเส้นการออม (Saving Curve) จะมีลักษณะเป็นเส้นตรงทอดขึ้นเช่นเดียวกับ เส้นการบริโภค แต่มีส่วนตัด
แกนตั้งเป็นลบ เนื่องจากจะมีการบริโภคในขณะที่ไม่มีรายได้เลย เงินที่เก็บออมไว้ จะถูกนำออกมาใช้จ่าย ทำให้เงินออมลดลง
เท่ากบั Ca (ค่าของ Ca มคี ่าตดิ ลบ) ดงั รูป

แสดงเสน้ การออม (saving curve)

3.4 ความโนม้ เอียงเฉลี่ยและความโนม้ เอียงหน่วยเพม่ิ ในการบริโภคและการออม
ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (Average Propensity to Consume: APC) หมายถึง อัตราส่วนระหว่างรายจ่ายเพื่อ
การบริโภคตอ่ รายไดส้ ทุ ธิส่วนบุคคล ณ ระดับใดระดับหนึง่ นั่นคือ

APC = รายจ่ายเพื่อการบรโิ ภค = C
รายได้สุทธสิ ว่ นบคุ คล Yd

จากค่า APC ขา้ งต้นทำใหท้ ราบว่า

ถา้ C > Yd APC > 1

ถ้า C = Yd APC = 1

ถา้ C < Yd APC< 1

คา่ ของ APC จะไมเ่ ท่ากบั ศูนย์ เพราะถงึ อย่างไรกต็ าม บคุ คลกต็ ้องมีรายจ่ายเพ่ือการบริโภคจำนวนหนงึ่ แมว้ ่าจะไม่มรี ายไดเ้ ลยก็

ตาม ดังน้ัน ค่า C จงึ ไม่เท่ากบั ศนู ย์ ทำใหค้ ่า APC ไม่เท่ากับศูนย์ดว้ ย

ความโน้มเอยี งเฉลี่ยในการออม (Average Propensity to Save: APS) หมายถงึ อัตราสว่ น ระหว่างการออมต่อรายได้สุทธิ

สว่ นบคุ คล ณ ระดับใดระดบั หนงึ่ นัน่ คือ

APS = การออม = S
รายไดส้ ุทธิสว่ นบคุ คล Yd

จากคา่ APS ขา้ งตน้ ทำให้ทราบว่า APS > 0
ถ้า S > 0 APS = 0
ถา้ S = 0 APS < 0
ถ้า S < 0

ความโนม้ เอยี งหนว่ ยเพมิ่ ในการบริโภค (Marginal Propensity to Consume: MPC) หมายถึง อัตราการเปลยี่ นแปลงของ
รายจ่ายเพื่อการบรโิ ภคต่ออตั ราการเปลย่ี นแปลงของรายไดส้ ทุ ธิส่วนบุคคล กล่าวคอื เป็นการวดั รายจ่ายเพ่ือการบรโิ ภควา่ จะ
เปลีย่ นแปลงไปอยา่ งไร เมื่อรายไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป 1 หน่วย น่ันคอื

MPC = อตั ราการเปล่ียนแปลงของรายจ่ายเพอ่ื การบรโิ ภค = ΔC
อัตราการเปลีย่ นแปลงของรายได้สุทธสิ ว่ นบุคคล ΔYd

เนื่องจากรายจ่ายเพ่ือการบรโิ ภคมีความสมั พันธ์ไปในทางเดียวกับรายได้ กล่าวคือ เมื่อรายได้สูงขึ้น การบริโภคก็จะสูงข้ึน และ
เมื่อรายได้ลดลง การบรโิ ภคก็จะลดลงด้วย ดังนั้น ค่า MPC จึงมีค่ามากกว่าศูนย์ (มีค่าเป็นบวก) และอัตราการเปล่ียนแปลงของ

รายจา่ ยเพ่ือการบรโิ ภคจะนอ้ ยกว่าอัตราการเปลย่ี นแปลง ของรายได้ เนือ่ งจากบุคคลจะเก็บรายไดส้ ่วนหนึง่ ไว้ น่นั คือ MPC จะ
มคี ่านอ้ ยกว่า 1 เสมอ ดงั นนั้ จะไดว้ ่า

0 < MPC < 1

ในตัวอยา่ งสมการของเสน้ บรโิ ภค C = 40 + 0.60Yd ความโนม้ เอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค คอื b ซงึ่ มีคา่ เทา่ กบั 0.60 และเป็น
คา่ ความชนั ของเสน้ สมการนน่ั เอง
ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการออม (Marginal Propensity to Save : MPS) หมายถึง อัตรา การเปลี่ยนแปลงของการ
ออมต่ออัตราการเปลีย่ นแปลงของรายได้สุทธิส่วนบุคคล กล่าวคือ เป็นการวัด การออมวา่ จะเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งไร เมื่อรายได้
เปล่ยี นแปลงไป 1 หน่วย นน่ั คอื

MPS = อัตราการเปลย่ี นแปลงของการออม = ΔS
อตั ราการเปลี่ยนแปลงของรายได้สทุ ธสิ ว่ นบุคคล ΔYd

จากขอ้ มลู ในตาราง สามารถหาค่า APC, APS, MPC และ MPS ไดด้ ังตารางตอ่ ไปนี้
ตาราง แสดงรายจ่ายในการบริโภคและการออม ณ ระดับรายได้
ตา่ ง ๆ และวิธีการหาคา่ APC, APS, MPC และ MPS

จากความสมั พนั ธ์ระหว่างรายจ่ายเพ่อื การบริโภค การออม และรายได้ อาจแสดงได้โดยกราฟ ดงั ตอ่ ไปนี้

จากรูป (ก) และรปู (ข) มีข้อสงั เกตดงั ตอ่ ไปนี้
ในรปู (ก) เสน้ รายจ่ายเพื่อการบรโิ ภคตัดแกนต้งั เท่ากับ Ca ณ รายได้เท่ากับ 0 ซึง่ เป็นรายได้ที่ การออมติดลบ และมคี ่าเท่ากับ –
Ca เสน้ ตรงท่ีออกจากจดุ กำเนิด และทำมมุ 45 องศากับแกนนอน เป็นเส้น ทีแ่ สดงว่าทุก ๆ จุดบนเสน้ น้แี สดงถึงปริมาณรายจ่าย
เพอื่ การบรโิ ภคเทา่ กบั รายไดท้ ใ่ี ชจ้ ่ายได้จริง คือ C = Yd เส้น C เปน็ เสน้ การบริโภคหรอื เสน้ ทีแ่ สดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างรายจ่าย
เพื่อการบริโภคกับรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง ในรูป (ข) ถึงแม้ว่าภาคครัวเรือนจะไม่มีรายได้เลย เงินที่เก็บออมไว้จะถูกนำออกมาใช้
จ่าย ทำให้เงินออมลดลง เท่ากับ –Ca นอกจากนี้จะเห็นได้ว่า ณ จุด a รายจ่ายเพื่อการบริโภคเท่ากับรายได้ทีใ่ ช้จ่ายได้จริงและ
การออมเท่ากับ 0 จากตารางจุดนี้อยู่ตรงกับรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงเท่ากับ 100 บาท ณ รายได้ที่อยู่ต่ำกว่า Yd2 ครัวเรือนใช้จ่าย
มากกว่ารายได้ จึงตอ้ งกูย้ มื หรอื นำเงนิ ออมออกมาใช้ และการออมตดิ ลบเท่ากบั dfในรูป (ก) หรือเทา่ กับ d'f' ในรปู (ข) ณ รายได้
ที่สูงกว่า Yd2 ภาคครัวเรือนจะใช้จ่ายรายได้เพียงส่วนหนึ่ง เพื่อการบริโภค ทำให้มีเงินเหลือเท่ากับ bc ในรูป (ก) และเก็บออม
เทา่ กับ b'c' ในรปู (ข) นอกจากน้จี ะเหน็ ไดว้ า่ ณ รายได้ Yd2 ค่า APC มีคา่ เท่ากับ 1 ณ รายได้ Yd1 ค่า APC มคี า่ มากกว่า 1 และ
ณ รายได้ Yd3 ค่า APC มคี า่ น้อยกว่า 1
การเปลี่ยนแปลงปริมาณรายจ่ายเพื่อการบริโภคและการเปลีย่ นแปลงการบริโภค การเปลี่ยนแปลง ปริมาณรายจ่ายเพื่อการ
บริโภค และการเปลีย่ นแปลงการบรโิ ภค มคี วามหมายแตกต่างกัน และจะได้รบั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงของรายได้สุทธิ
สว่ นบุคคล ซึ่งเปน็ ตัวกำหนดโดยตรงของการบริโภค และ ตวั กำหนดโดยอ้อม เชน่ สนิ ทรัพยท์ บ่ี ุคคลมีอยู่ สินทรพั ย์ถาวรที่บุคคล
มอี ยู่ รายได้ในอนาคต การคาดคะเน ราคาสนิ คา้ สินเชอ่ื เพอื่ การบรโิ ภค อตั ราดอกเบ้ีย เปน็ ต้น จะมีผลต่อการบรโิ ภคดังนี้
การเปลี่ยนแปลงปริมาณรายจ่ายเพื่อการบริโภค (Change in The Amount Consumed) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของ
รายจ่ายเพื่อการบริโภคอันเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงรายได้สุทธิ ส่วนบุคคล ซึ่งเป็นตัวกำหนดโดยตรงในการบริโภค การ
เปล่ียนแปลงดังกลา่ วเปน็ การย้ายจากจดุ หนึ่ง ไปยังอีกจดุ หนึง่ บนเสน้ การบริโภคเดียวกนั ดังรูป

แสดงการเปล่ยี นแปลงปริมาณรายจา่ ยเพ่อื การบริโภค

จากรปู กำหนดใหป้ ัจจัยอ่ืน ๆ อยคู่ งท่ี เม่ือรายไดเ้ ทา่ กับ Yd1 การบริโภคเท่ากบั C1 (ณ จุด A) ต่อมา รายไดเ้ พม่ิ ขึน้ เป็น Yd2 การ
บรโิ ภคจึงเพมิ่ ตามเปน็ C2 (ณ จดุ B) น่นั คือ เกดิ การยา้ ยจากจดุ A ไปยังจุด B บนเสน้ การบริโภคเส้นเดียวกนั หากรายได้เพิ่มข้ึน
อกี เป็น Yd3 การบริโภคจะเพ่มิ ข้ึนอกี เป็น C3 (ณ จุด D) เปน็ การยา้ ยจากจดุ B ไปยังจุด D บนเสน้ การบรโิ ภคเสน้ เดมิ เชน่ กัน
การเปลี่ยนแปลงการบริโภค (Shift in Consumption) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรายจ่าย เพื่อการบริโภค อันเนื่องมาจาก
การเปลี่ยนแปลงของตวั กำหนดโดยอ้อมตวั ใดตวั หนึ่งหรือหลายตวั โดยที่ รายได้สุทธสิ ว่ นบุคคลไมเ่ ปลีย่ นแปลง การเปล่ยี นแปลง
การบรโิ ภคในลกั ษณะน้ีจะมผี ลตอ่ รปู แบบการบริโภค คอื ทำใหเ้ ส้นการบรโิ ภคท้ังเสน้ เคลื่อนย้ายไปจากตำแหนง่ เดมิ ดงั รปู

แสดงการเปล่ียนแปลงการบรโิ ภค

จากรูป C1 เป็นเส้นการบริโภคเริ่มแรก ต่อมาสมมติว่า ผู้บริโภคคาดการณ์ว่าจะเกิดภาวะราคา สินค้าเพิ่มสูงขึ้นอย่างรุนแรงใน
ระบบเศรษฐกิจ ผู้บริโภคต่างตัดสินใจเพิ่มการบริโภคโดยเร่งรีบซื้อสินค้า มากักตุนไว้ ฉะนั้น ณ รายได้ Yd1 การบริโภคจะเพมิ่
จาก C1 (ณ จุด A) เป็น C2 (ณ จุด B) เหตุการณ์ดังกล่าวน้ี จะมีผลทำให้การบริโภคเพิ่มข้ึน ดังนั้น เส้นการบริโภคจงึ เคลื่อนย้าย
ไปจากเดิมทั้งเส้นจากเส้น C1 เป็นเส้น C2 ในทางตรงข้าม ถ้าผู้บริโภคคาดการณ์ว่าราคาสินค้าโดยทั่วไปจะลดลง ผู้บริโภคจะ
ชะลอการซื้อสินค้า ในปัจจุบันเพื่อรอซ้ือสินค้าเมือ่ ราคาสินค้าลดลงในอนาคต การบริโภคในระยะนี้จะลดลง มีผลทำให้ เส้นการ
บริโภคเคลื่อนย้ายจากเส้น C1 เป็นเส้น C3 จึงสรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงในตัวกำหนดโดยอ้อม จะทำให้เส้นการบริโภคเคลื่อน
ยายไปจากเดิมท้ังเส้น
3.5 กฎวา่ ดว้ ยการบรโิ ภคของเคนส์
จากการศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหว่างรายจ่ายเพื่อการบริโภคกับรายได้สุทธิส่วนบคุ คล อาจสรปุ ได้ ตามกฎว่าด้วยการบริโภคของ
เคนส์ (John Maynard Keynes) ภายใต้ข้อสมมติทีก่ ำหนดให้ปัจจัยทีเ่ ปน็ ตวั กำหนดโดยออ้ มของการบรโิ ภคคงที่ ดังต่อไปน้ี

1. แม้บุคคลจะไม่มีรายไดเ้ ลย การบริโภคก็จำเปน็ ต้องมีเพื่อการดำรงชีวติ ให้อยู่รอด แสดงว่า ค่าของ C จะไมเ่ ท่ากับศนู ย์
ทำให้ค่า APC ไม่เท่ากับศูนย์ด้วย ณ ระดับรายจ่ายเพื่อการบริโภคมากกว่ารายได้สุทธิ ส่วนบุคคล ค่า APC จะมีค่า
มากกว่า 1

2. เมื่อรายได้สุทธิส่วนบุคคลเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้รายจ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น เมื่อรายได้สุทธิ ส่วนบุคคลลดลง จะทำให้
รายจา่ ยเพ่อื การบริโภคลดลงไปด้วย แสดงวา่ คา่ MPC จะมีค่าเป็นบวกเสมอ
3. อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายเพื่อการบริโภคจะน้อยกว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้ สุทธิส่วนบุคคล แสดงว่าคา่
MPC จะมคี า่ นอ้ ยกว่า 1 เสมอ และคา่ APC จะลดลงเมื่อรายไดส้ ทุ ธิ สว่ นบคุ คลสูงข้ึน
4. รายไดส้ ทุ ธสิ ่วนบคุ คลจะถกู แบ่งออกเป็นรายจา่ ยเพ่อื การบรโิ ภคสว่ นหน่งึ และเปน็ เงินเก็บ ออมไวส้ ่วนหนึง่
5. MPC ณ รายได้สูงจะมีค่าน้อยกว่า MPC ณ รายได้ต่ำ แสดงว่า MPC ของประเทศยากจน จะมีค่าสูงกว่า MPC ของประเทศ
รำ่ รวย และ MPC ของคนจนจะสูงกว่า MPC ของคนรวย
จากการทีก่ ฎว่าด้วยการบริโภคของเคนส์ มีข้อสมมติว่าปจั จัยที่เป็นตัวกำหนดโดยอ้อมของการ บริโภคคงที่ กล่าวอีกนยั หนึง่ คอื
กฎนี้มีข้อสมมติว่าการบริโภคจะเปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงเท่านั้น การตั้งข้อสมมติเช่นนี้ขัดกับความเป็นจริ งอยู่บ้าง
เพราะการบริโภคอาจเปลี่ยนแปลงแม้รายได้คงที่ อย่างไรก็ตาม กฎนี้ยังมีประโยชน์ในการวิเคราะห์ในระยะสั้น เพราะการ
เปลี่ยนแปลงการบริโภคในระยะสั้นอันเนื่องมาจากปัจจัยอื่นมักจะมีไม่มากดังนั้นรายได้ จึงเป็นตัวกำหนดสำคัญที่สุดของการ
บริโภคในระยะส้ัน
3.6 ความสัมพนั ธ์ระหว่างการบรโิ ภคและการออม
เมื่อได้ทำการศึกษาลักษณะของฟังก์ชันการบริโภคและการออมแต่ละส่วนแล้ว ในที่นี้จะศึกษาถึง ความสัมพันธ์ระหว่างการ
บริโภคและการออม ดงั นี้
ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภคและความโนม้ เอยี งเฉลีย่ ในการออม
จากที่ทราบแล้ววา่ เมื่อบุคคลมรี ายได้ ส่วนหนึ่งจะถกู ใช้ไปเพือ่ การบริโภคและอกี สว่ นหนึ่งจะเก็บ ออมไว้ น่ันคอื

Yd = C + S

เอา Yd หารตลอดจะไดว้ า่

Yd = C + S
Yd Yd Yd
1 = APC + APS

น่ันคือ APC + APS = 1 เสมอ

เนื่องจากค่า APC จะไม่เท่ากับศนู ย์ ดังนั้น ค่าของ APS ก็จะไม่เท่ากับหน่ึง กล่าวคือ เมื่อรายได้สงู ขึ้นคา่ APC จะมีค่าลดลง แต่

ค่า APS จะมคี า่ สงู ขึน้ ในทางตรงข้าม ถ้ารายได้ลดลงคา่ APC จะมีค่าสูงขึน้ แต่คา่ APS จะมีคา่ ลดลง

ความโนม้ เอียงหน่วยเพ่ิมในการบรโิ ภคและความโนม้ เอยี งหนว่ ยเพิ่มในการออม

ดังท่ีกลา่ วมาแล้วว่า เมอื่ บุคคลมรี ายได้ ส่วนหน่งึ จะถกู ใช้ไปเพอ่ื การบรโิ ภค และอกี สว่ นจะเก็บ ออมไว้ นนั่ คอื

Y=C+S

เมือ่ รายไดเ้ ปลีย่ นแปลงไป บุคคลจะมกี ารเปล่ียนแปลงปริมาณรายจ่ายเพ่ือการบริโภค และ การเกบ็ ออมตามไปดว้ ย นน่ั คอื

ΔYd = ΔC + ΔS

เอา ΔYd หารตลอดจะไดว้ ่า

ΔYd = ΔC +ΔS
ΔYd ΔYd ΔYd

MPC + MPS = 1 เสมอ

และเมื่อพิจารณาจากสมการ S = -Ca + (1-b)Yd จะพบว่า MPS ก็คือ ค่า 1 – b ซึ่ง b ก็คือ ค่าของ MPC นั่นคือ MPS = 1 –
MPC น่นั เอง

ดงั นนั้ เม่อื ทราบคา่ MPC ก็สามารถหาคา่ MPS ไดห้ รือเม่อื ทราบค่า MPS ก็สามารถหาค่า MPC ได้เชน่ กนั

เนื่องจากค่า MPC มีค่าอยู่ระหว่าง 0 กับ 1 คือ 0 < MPC < 1 ค่าของ MPS ก็จะอยู่ระหว่าง 0 กับ 1 ด้วยเช่นกัน นั่นคือ 0 <

MPS < 1 ดงั น้ัน

ถ้าค่าของ MPC เข้าใกล้ 0 ค่าของ MPS จะมีค่าใกล้ 1 ในทางตรงข้าม

ถ้าค่าของ MPC เข้าใกล้ 1 ค่าของ MPS จะมีคา่ ใกล้ 0

4. ครใู ชส้ อ่ื PowerPoint ประกอบกับเทคนิคการบรรยาย รายจ่ายเพอื่ การลงทนุ
การลงทุน (Investment) หมายถึง การใช้จ่ายที่ธุรกิจมีวัตถุประสงค์สำคัญในการวางแผนไว้ เพื่อผลิตสินค้าและบริการใน
อนาคตเพิ่มขึ้น ฉะนั้นการลงทุนในทางเศรษฐศาสตร์จะพิจารณาเฉพาะ การเพิ่มสินค้าทุน ซึ่งรายจ่ายเพื่อการลงทุน
(Investment Expenditures: I) จะประกอบดว้ ย
1. รายจา่ ยในการกอ่ สรา้ ง เช่น รายจา่ ยในการก่อสรา้ งโรงงานผลติ สนิ ค้า เป็นต้น
2. รายจ่ายในการซื้อเคร่อื งมือเครอ่ื งจกั รใหม่ในการผลิตตา่ ง ๆ
3. สว่ นเปลย่ี นของสนิ คา้ คงเหลอื
ดังนัน้ การลงทุนจงึ นบั วา่ มคี วามสำคัญในระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ เพราะการลงทุนมบี ทบาท สำคญั ต่อความเจริญเตบิ โตและ
ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่าการลงทนุ ทางการเงิน เช่น การซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ การซ้ือ
ทีด่ ินเพือ่ เก็งกำไร การซ้อื พนั ธบตั ร การซอื้ สนิ ทรพั ย์ และหลักทรพั ยม์ อื สอง ไมถ่ อื ว่าเปน็ รายจ่ายเพื่อการลงทนุ เพราะการลงทุน
ทางการเงินไม่ได้ทำให้สินทรัพย์ ประเภททุนในระบบเศรษฐกิจมีจำนวนเพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงไม่มีผลต่อการเพิ่มผ ลผลิตโดยตรงใน
ระบบเศรษฐกจิ
ปจั จัยทก่ี ำหนดการลงทนุ มดี ังน้ี

เนอ่ื งจากวัตถุประสงค์หลักของผูป้ ระกอบการในการลงทุนก็เพอื่ มุ่งหวงั ผลตอบแทนจากการลงทุน กล่าวคือ การ
ลงทุนจะมีมากหรือนอ้ ยย่อมขึ้นอยกู่ ับปัจจัยต่าง ๆ หลายประการ ดังนี้

1. รายได้ประชาชาติ รายได้ประชาชาติเป็นตัวที่สามารถสะท้อนถึงอำนาจซื้อของคนในระบบ เศรษฐกิจได้ระดับหนึ่ง คือ ถ้า
รายได้ประชาชาตสิ งู จะสง่ ผลให้ประชาชนมอี ำนาจในการซือ้ สนิ ค้าและบริการเพม่ิ ขึน้ นัน่ คอื รายได้ของบคุ คลสูงขึ้น จะมีการใช้
จ่ายในการซือ้ สินคา้ และบริการมากขึน้ ผผู้ ลิตสามารถขายสินค้า และบริการได้เพมิ่ มากขนึ้ รายไดข้ องผ้ผู ลิตก็จะสูงขึ้นส่งผลให้มี
การลงทุนมากขึ้น แต่ถ้ารายได้ประชาชาติ ต่ำลง ก็จะส่งผลให้ประชาชนมีอำนาจซื้อต่ำลง นั่นหมายความว่า รายได้ของบุคคล
ลดลง การใชจ้ า่ ยในการ ซอ้ื สนิ คา้ และบริการน้อยลง ผู้ผลิตจะขายสินคา้ และบริการไดน้ ้อย รายไดข้ องผู้ผลติ จะลดลง ทำใหผ้ ้ผู ลติ
มกี ารลงทุนน้อยลง ดงั นัน้ รายได้จึงเป็นตวั กำหนดท่สี ำคญั ของการลงทุน
2. อัตราดอกเบี้ย เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญในการกำหนดการลงทุน ผู้ลงทุนมักจะพิจารณา อัตราดอกเบี้ยประกอบ ถ้าอัตรา
ดอกเบี้ยสงู การลงทุนอาจมีน้อยหรือไม่มเี ลย แต่ถ้าอัตราดอกเบี้ยลดต่ำลง การลงทนุ จะมีมากขึ้น ทั้งนี้เพราะอัตราดอกเบ้ยี เป็น
ส่วนหนึ่งของตน้ ทนุ ที่ผู้ลงทุนต้องจา่ ยใหแ้ ก่เจา้ ของทนุ กรณีที่ต้องกู้เงินมาเพื่อการลงทุน ถ้าอัตราดอกเบีย้ สงู ปริมาณการลงทุน
จะต่ำ แต่ถา้ อัตราดอกเบ้ยี ตำ่ ปรมิ าณการลงทุนจะสงู
3. ภาษี นักลงทุนมักจะให้ความสนใจกับอัตราผลตอบแทนจากการลงทนุ ที่เขาคาดว่าจะได้รบั หลังจากหกั ภาษี ดังนั้น ถ้าอัตรา
ภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มขึ้น โดยปัจจัยอื่น ๆ ไม่เปลี่ยนแปลง จะมีผลทำให้ อัตราผลตอบแทนหลังจากหักภาษีที่เขาคาดว่าจะ
ไดร้ ับลดลง และถ้าอตั ราภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ ุคคลลดลง อัตรา ผลตอบแทนหลงั จากหกั ภาษที ่เี ขาคาดว่าจะไดร้ ับกจ็ ะเพ่มิ ขึ้น
4. กำไรทค่ี าดว่าจะได้รับ เนื่องจากการลงทุนจะตอ้ งจ่ายคา่ ตอบแทนแก่เจา้ ของเงินทุน ดังนั้น ผลู้ งทุนจงึ ตอ้ งเปรียบเทียบต้นทุน
และผลได้จากการลงทุน หากตน้ ทนุ ต่ำกว่าผลได้กจ็ ะไดก้ ำไร ซ่ึงเป็น แรงจูงใจให้นักลงทนุ ตดั สินใจเพมิ่ การลงทุน แต่ถ้าต้นทุนสูง
กวา่ ผลไดก้ จ็ ะขาดทนุ นักลงทนุ ก็จะระงับการลงทุน
5. ความเจรญิ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความเจรญิ ก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์จะทำให้มกี ารผลติ เครอื่ งมือเคร่อื งจักรทีท่ นั สมัยใช้
สะดวก สามารถผลิตไดค้ รงั้ ละมาก ๆ มปี ระสิทธิภาพในการผลติ สูงขน้ึ จะทำให้ ตน้ ทุนการผลิตตำ่ และอตั ราผลตอบแทนทไี่ ด้รับ
จากการลงทุนสูงขน้ึ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็น ปัจจัยหน่ึงท่ีเปน็ สาเหตุให้มกี ารเพมิ่ การลงทุน
6. ราคาสินคา้ ทุน ถา้ ราคาสนิ ค้าทนุ เพม่ิ ขน้ึ และตน้ ทุนในการบำรงุ รักษาสนิ ค้าทุนสงู ขึ้น ความตอ้ งการ ลงทุนก็จะลดลง เพราะ
ตน้ ทุนของการลงทนุ เพ่ิมข้ึน จะทำให้กำไรของผ้ผู ลติ ลดลง
7. ปริมาณสินค้าทุน ถ้าปริมาณสินค้าทุนที่มีอยู่มีมากอยู่แล้ว และผู้ผลิตยังไม่ได้ใช้เครื่องมือ เครื่องจักรอย่างเต็มกำลัง
เพราะฉะนน้ั เขาจะยงั ไมเ่ พ่มิ การซือ้ เครอ่ื งมือเคร่อื งจักร การลงทุนก็จะน้อยลง
8. นโยบายของรัฐบาลและเสถียรภาพทางการเมือง บรรยากาศทางการเมืองเป็นปัจจัยสำคัญตอ่ การลงทุน ถ้าการเมืองไม่มี
เสถียรภาพจะทำให้นักลงทุนเกิดความกลัวไม่กล้าลงทุน นอกจากนี้ นโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ออกมายังมีผลต่อการลงทุน
โดยเฉพาะภาษีจะมีผลกระทบต่อกำไรของผู้ผลิต ถ้ารัฐบาล เก็บภาษีมากขึ้น จะทำให้ผู้ผลิตได้กำไรลดลง หรือไม่ได้กำไรก็ไม่
ลงทนุ แตถ่ า้ รฐั บาลเก็บภาษลี ดลง จะทำให้ ผู้ผลติ ผลติ สินคา้ และบริการมากข้ึน

9. ความมั่นใจของผู้ลงทุนเก่ียวกับอนาคตของธุรกิจ ถ้าผู้ลงทุนมั่นใจว่าอนาคตธรุ กิจจะดีก็จะ ลงทุนเพิ่มขึ้น ในทางตรงกัน
ข้าม ถ้ามน่ั ใจวา่ อนาคตธุรกจิ จะแย่ลง การลงทุนกจ็ ะน้อยลง
10. การคาดคะเนของผู้ผลิต ถ้าผผู้ ลติ คาดคะเนวา่ สินค้าของเขาจะขายดีขนึ้ เขาจะลงทนุ เพม่ิ ขึ้น แต่ถา้ คาดว่าในอนาคตสินค้า
จะขายไม่ออก การลงทนุ กจ็ ะลดลง
4.1 ฟงั ก์ชันการลงทุนและเส้นการลงทนุ
จากปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นตัวกำหนดการลงทนุ สามารถแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างการลงทุนกับตัว กำหนดต่าง ๆ ด้วยสัญลักษณ์
ทางพีชคณิตซง่ึ เรียกวา่ “ฟงั กช์ นั การลงทุน (Investment Function)” ได้ดงั น้ี
I = f(Y, B1, B2, B3,…)
เม่อื I = ปริมาณการลงทนุ
Y = ระดบั รายได้
B1 = อัตราดอกเบีย้
B2 = กำไรที่คาดวา่ จะไดร้ บั
B3 = รายจา่ ยทเ่ี กี่ยวกับการลงทนุ เปน็ ตน้
จากฟังก์ชันการลงทุน จะเห็นได้ว่า ปริมาณการลงทุนทั้งหมดขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ หลายประการ และจากการศึกษารายได้
ประชาชาติพบว่า รายได้ของบุคคลเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุดต่อการลงทุน ดังนั้น รายได้จึงเป็นตัวกำหนดโดยตรงในการ
ลงทุน ส่วนปัจจัยอื่น ๆ เป็นตัวกำหนดโดยอ้อม และเมื่อพิจารณา ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการลงทุนทั้งหมดกับรายได้
สามารถแบง่ การลงทุนออกเปน็ 2 ลักษณะ ดงั น้ี
1. การลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment: Ia) เป็นการลงทุนที่ไม่เปลีย่ นแปลง ตามระดับรายได้ กล่าวคือ ไม่ว่า
รายไดจ้ ะเปลย่ี นแปลงไปอย่างไร การลงทุนกย็ ังคงเดิม ซึ่งการลงทนุ อิสระนี้ ส่วนมากเป็นการเปลี่ยนการลงทนุ สนิ ค้าคงเหลือและ
ของภาครัฐบาลเป็นการลงทุนที่ไม่หวังผลกำไร ตอบแทนโดยตรง เช่น การลงทุนในกิจการด้านการศึกษา การลงทุนด้าน
สาธารณูปโภคต่าง ๆ การลงทนุ สร้างถนนหนทาง เปน็ ตน้ เส้นการลงทุนจะมลี ักษณะเป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน ดงั รูป (ก)
2. การลงทุนโดยการจูงใจ (Induced Investment : Ii) เป็นการลงทุนที่เปลีย่ นแปลงไปในทาง เดียวกันกับรายได้ กล่าวคอื
เมื่อรายได้สูงขึ้นย่อมจูงใจใหผ้ ู้ผลิตมีการลงทุนผลิตสินคา้ และบริการเพิ่มมากขึ้น และเมื่อรายได้ลดลง การลงทุนผลิตสนิ ค้าและ
บรกิ ารกจ็ ะลดลงตามไปดว้ ย เสน้ การลงทุนลักษณะน้ี อาจเปน็ ได้ทง้ั เสน้ ตรงหรอื เส้นโคง้ ขึ้นอยกู่ บั ค่าความโนม้ เอียงหน่วยสุดท้าย
ของการลงทุน (Marginal Propensity to Invest: MPI) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของการลงทุนอันเนื่องมาจากรายได้
เปลี่ยนแปลงไป 1 หนว่ ย นัน่ คอื

MPI = ΔI
ΔY

เมื่อ ΔI = อัตราการเปล่ียนแปลงของปริมาณการลงทุน
ΔY = อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้

จากรปู (ก) เสน้ Ia เปน็ เสน้ การลงทนุ โดยอสิ ระซึ่งขนานกับแกนนอนแสดงวา่ ปรมิ าณการลงทนุ จะคงท่เี สมอไม่วา่ ระดับรายได้
ประชาชาติจะเป็นเท่าใด ส่วนรูป (ข) นั้น Ii เป็นเส้นการลงทุนโดยการจูงใจ ซึ่งออกจากจุดกำเนิด และค่าความชันเป็นบวก
หมายความวา่ ถ้ารายไดป้ ระชาชาตเิ ทา่ กบั ศนู ย์ การลงทุน โดยการจงู ใจก็เทา่ กับศูนย์ดว้ ย แต่ถ้ารายได้ประชาชาติเพิ่มสูงขึ้นการ
ลงทุนโดยการจงู ใจก็จะเพ่ิมสงู ข้ึน แต่จะเพ่ิมขน้ึ เร็วหรือช้าข้ึนอยกู่ ับคา่ ความชันของเสน้ การลงทุนดงั กลา่ ว ซง่ึ มีชอื่ เรยี กว่า “ความ
โน้มเอียง หน่วยสดุ ทา้ ยของการลงทุน (Marginal Propensity to Invest: MPI)” ซง่ึ มสี ตู รวา่

MPI = ΔI
ΔY

ถา้ นำส่วนท่ีเป็นการลงทนุ โดยอิสระกบั สว่ นทเี่ ปน็ การลงทนุ โดยการจูงใจมารวมกนั จะได้สมการ การลงทุนดงั นี้
I = Ia + Ii

เมื่อ I = ปรมิ าณการลงทนุ ทงั้ สิน้
Ia = การลงทุนแบบอิสระ
Ii = การลงทุนโดยการจงู ใจ

เน่ืองจากการลงทนุ โดยการจงู ใจมีความสัมพันธไ์ ปในทางเดยี วกบั ระดับรายได้ ดังนน้ั
Ii = iY

เม่อื Ii = ความโน้มเอียงหนว่ ยสดุ ท้ายของการลงทุน MPI = ΔI
ΔY

Y = ระดบั รายได้
แทนค่า Ii ในสมการการลงทุนจะได้ว่า

I = Ia + iY
และจากสมการการลงทนุ น้ี สามารถแสดงไดด้ ้วยเสน้ กราฟ ดงั รูป

แสดงเสน้ การลงทุนทงั้ หมด

จากรปู แสดงเสน้ การลงทนุ ทงั้ สิน้ จะเหน็ ไดว้ า่ การลงทุนแบบอสิ ระมคี ่าเทา่ กับ Ia ซ่ึงเปน็ การลงทุน ณ ระดบั รายไดเ้ ท่ากับศูนย์
และ I = iY เป็นการลงทุนโดยการจูงใจ ณ ระดับรายไดป้ ระชาชาติ Y0 การลงทนุ ทั้งหมดเทา่ กบั Y0 A โดยแยกเปน็ การลงทนุ โดย
อิสระเทา่ กบั Y0 B และการลงทนุ โดยการจงู ใจเทา่ กบั AB
ในที่น้ีขอแสดงตวั อยา่ งการคำนวณปรมิ าณการลงทนุ เพื่อให้เขา้ ใจมากย่ิงขนึ้ ดังนี้
สมมตวิ า่ ปรมิ าณการลงทุนทัง้ หมด ณ ระดับรายได้ (Y) 2,500 ลา้ นบาท โดยกำหนดให้ MPI = 0.20 และการ
ลงทุนเมอื่ ยงั ไมม่ รี ายได้ (Ia) = 1,000 ล้านบาท พรอ้ มทง้ั วาดรูปประกอบ
วิธที ำ จากสมการการลงทนุ I = Ia + iY
แทนคา่ ลงในสมการการลงทนุ จะไดว้ า่
I = 1,000 + 0.20(2,500)
= 1,000 + 500
= 1,500 ลา้ นบาท
นัน่ คือ ณ ระดับรายได้ 2,500 ลา้ นบาท ปริมาณการลงทนุ ทัง้ หมดเทา่ กบั 1,500 ลา้ นบาท โดยแสดง เสน้ การลงทุนทั้งหมดได้ ดัง
รปู

แสดงเสน้ การลงทุนทั้งหมด

การเปลี่ยนแปลงปริมาณการลงทุนและการเปลี่ยนแปลงการลงทุนเช่นเดียวกับการบริโภคที่ได้ พิจารณาไปแล้ว กล่าวคือ การ
เปลี่ยนแปลงปริมาณการลงทุนและการเปลี่ยนแปลงการลงทุนมีความหมาย แตกต่างกัน สามารถพิจารณาได้จากฟังก์ชันการ
ลงทนุ ดังนี้
I = f(Y, B1,B2, B3,…)
เมื่อ Y = ระดับรายได้ ซึ่งเป็นตัวกำหนดโดยตรงของการลงทุน
B1, B2, B3,… = อัตราดอกเบี้ย กำไรที่คาดว่าจะได้รับ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รายจ่ายที่เกี่ยวกบั การลงทุน นโยบาย
ของรัฐบาล และเสถยี รภาพทาง การเมือง เป็นตัวกำหนดโดยออ้ มของการลงทนุ
การเปล่ยี นแปลงของตัวกำหนดโดยตรงและตวั กำหนดโดยออ้ ม จะมีผลต่อการลงทนุ ดังนี้
1. การเปลี่ยนแปลงปริมาณการลงทุน (Change in The Amount Invested) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุน
อนั เน่ืองมาจากการเปล่ยี นแปลงในระดับรายได้ ซ่ึงเปน็ ตัวกำหนดโดยตรง ในการลงทุนการเปลี่ยนแปลงในลักษณะนีเ้ ปน็ การยา้ ย
จากจดุ หน่ึงไปยงั อกี จดุ หน่งึ บนเสน้ การลงทนุ เดยี วกนั ดังรปู

แสดงการเปล่ยี นแปลงปริมาณการลงทนุ

จากรปู กำหนดให้ปัจจยั อน่ื ๆ อยคู่ งท่ี เมื่อรายได้เทา่ กับ 0Y1 การลงทนุ เท่ากบั 0I1 (ณ จดุ A) ต่อมารายได้ เพม่ิ ขน้ึ เป็น 0Y2 การ
ลงทุนจึงเพ่มิ ข้นึ เปน็ 0I2 (ณ จดุ B) น่ันคอื เกดิ การยา้ ยจากจุด A ไปยงั จดุ B บนเส้นการลงทุน เส้นเดียวกนั จะเหน็ ไดว้ ่า เส้นการ
ลงทนุ ไม่เปลีย่ นแปลง แตร่ ายจา่ ยเพื่อการลงทุนเลือ่ นจากจดุ A ไปยงั จดุ B
2. การเปลี่ยนแปลงการลงทุน (Shift in Investment) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระดับการลงทุน อันเนื่องมาจากการ
เปลีย่ นแปลงตวั กำหนดโดยออ้ มในการลงทนุ โดยที่ระดบั รายได้ซง่ึ เป็นตวั กำหนด โดยตรงยงั คงเดิม การเปล่ยี นแปลงในลักษณะนี้
จะมีผลทำให้เสน้ การลงทนุ ทงั้ เส้นเคล่ือนย้ายไปจาก ตำแหน่งเดมิ ดังรปู

จากรูป I1 เปน็ เส้นการลงทนุ เร่ิมแรก ต่อมาสมมตวิ า่ ผู้ผลติ คาดการณ์วา่ กำไรทค่ี าดว่าจะไดร้ บั จะนอ้ ยลง จึงชะลอการลงทุน ซ่ึงมี
ผลทำให้เส้นการลงทุนเคลอ่ื นยา้ ยจาก I1 มาอย่ทู ี่ I2 ในทางตรงกนั ข้าม ถา้ ผู้ผลติ คาดการณ์ ว่ากำไรที่คาดวา่ จะได้รับจะเพิ่มสูงข้ึน
ผผู้ ลิตกจ็ ะลงทนุ เพิ่มข้ึน ซ่ึงมีผลทำใหเ้ ส้นการลงทนุ เคลอ่ื นย้ายจาก I1 มาอย่ทู ี่ I3 จงึ สรุปได้วา่ การเปลยี่ นแปลงในตัวกำหนดโดย
ออ้ มจะทำใหเ้ ส้นการลงทนุ เคล่อื นยา้ ยไปจากเดมิ ทง้ั เส้น

4.2 ความสมั พนั ธ์ระหว่างการลงทุนและการออม
การลงทุนมีความสัมพนั ธ์กบั การออม คือ แหล่งเงินทุนได้มาจากแหล่งเงินออม ในกรณีที่ระบบ เศรษฐกจิ มีภาคเอกชน แต่ไม่มี
ภาครัฐบาล และภาคตา่ งประเทศ สมการจะเปน็ ดังนี้

S=I

น่ันคอื การออมของภาคเอกชนจะเทา่ กับการลงทุนของภาคเอกชน หรอื กลา่ วอีกอยา่ งหนงึ่ ได้ว่า การลงทนุ ของประเทศที่เกิดขึ้น
จรงิ จะเทา่ กับการออมทเ่ี กิดข้นึ จรงิ ผู้ผลติ หรอื หนว่ ยธรุ กจิ จะทำหน้าทีเ่ ป็น ผลู้ งทุน ส่วนครัวเรือนหรือผ้บู รโิ ภคจะทำหน้าที่เป็นผู้
เก็บออม โดยมีสถาบนั เชน่ ธนาคารพาณิชย์เป็น ตัวกลาง ทำให้หน่วยธุรกิจสามารถหาเงินทุนเพ่ิมเติมจากที่ตนมีอยู่มาใช้ในการ
ลงทนุ ได้

สรปุ ไดว้ ่า การลงทนุ ที่เกดิ ข้ึนจริงจะต้องเท่ากับการออมทเ่ี กดิ ขนึ้ จริงเสมอ ณ ระดบั รายได้ ประชาชาติหนึ่ง ๆ แตก่ ารลงทนุ ที่ต้ัง
ใจไว้ไม่จำเป็นตอ้ งเทา่ กบั การออมทีต่ ้ังใจไว้ กลา่ วคอื ณ ระดับรายได้ ประชาชาติหนง่ึ ๆ การลงทุนทีต่ งั้ ใจไว้อาจจะมากกว่า น้อย
กวา่ หรือเท่ากบั การออมท่ตี งั้ ใจไวก้ ็ได้
4.3 ความไมม่ เี สถยี รภาพของการลงทุน
ถ้าจะเปรียบเทยี บความมีเสถยี รภาพของการบริโภคและการลงทนุ ซึง่ ต่างกเ็ ป็นตวั กำหนดระดับ รายได้ท้ัง 2 ตัว อาจกล่าวได้ว่า
การบรโิ ภคมีเสถียรภาพมากกว่าการลงทนุ ด้วยเหตุนี้การลงทนุ จึงมี ผลกระทบตอ่ ภาวะเศรษฐกิจมากกว่าการบริโภค เหตุท่กี าร
ลงทุนไม่มีเสถียรภาพ เพราะขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลายประการซึ่งล้วนแต่มีความไม่แน่นอน เช่น การค้นพบเทคโนโลยีใหม่ ซึ่งบาง
ช่วงเวลา มีการค้นพบมาก แต่บางช่วงเวลามีการค้นพบน้อย ทำให้การลงทุนเพิ่มขึ้นไม่สม่ำเสมอ หรือผลกำไรปัจจุบัน ซึ่งเป็น
พื้นฐานการคาดคะเนผลกำไรในอนาคตกไ็ ม่แน่นอน บางครงั้ สูง บางคร้งั น้อย นอกจากนก้ี ารลงทุน ทีไ่ ดผ้ ลตอบแทนในระยะยาว
ผู้ลงทุนตอ้ งพจิ ารณาด้วยความรอบคอบและมีความม่ันใจจึงจะลงทุน
5. ครูใชส้ อื่ PowerPoint ประกอบกบั เทคนิคการบรรยาย การใช้จ่ายของภาครัฐบาล
การใช้จ่ายของภาครัฐบาล (Government Expenditure: G) แบ่งเป็นรายจ่ายเพือ่ การบริโภค เช่น เงินเดอื นและค่าจา้ ง ค่า
ใช้สอย ค่าวัสดุครุภัณฑ์ เป็นต้น รายจ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการสร้าง สิ่งสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และ
รายจ่ายเพ่ือการพัฒนาประเทศ รวมทั้งรายจ่ายประเภทเงินโอน (Transfer Payments) เช่น เงินบำเหน็จบำนาญที่จ่ายให้
ขา้ ราชการเกษยี ณอายุ เงนิ สงเคราะหก์ ารรักษา พยาบาล สงเคราะห์การศกึ ษาและสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก เงนิ ใหเ้ ปล่า เป็นต้น
รายจ่ายประเภทนี้เป็นเพียง การโอนอำนาจซื้อจากรัฐบาลไปยังประชาชนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเพิ่มผลผลิต จึงไม่นับ
รวมอยูใ่ น รายจ่ายมวลรวม (รายจ่ายของรัฐบาลท่ีจะรวมเปน็ รายได้ประชาชาติต้องกนั คา่ ใชจ้ า่ ยเงนิ โอนออกไปกอ่ น)
ปจั จยั ท่กี ำหนดการใช้จ่ายของภาครฐั บาล มี 2 ประการ ดังน้ี
1. รายรบั ของรฐั บาล (Government Revenue) ประกอบดว้ ย รายได้จากภาษีอากร รายไดท้ ี่ มิใชภ่ าษีอากร และเงนิ กู้ หาก
รัฐบาลมีรายรับมากย่อมมคี วามสามารถที่จะใชจ้ ่ายได้มาก แต่ถ้ามรี ายรบั นอ้ ย ยอ่ มใช้จ่ายไดน้ ้อย
2. นโยบายการคลงั ของรัฐบาล (Fiscal Policy) มี 2 แบบ คอื นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy)
ตวั อยา่ งเชน่ ถ้ารัฐบาลต้องการใหเ้ ศรษฐกิจขยายตวั เพราะระบบเศรษฐกิจ มีการใชจ้ า่ ยน้อยเกินไป รฐั บาลจะใชน้ โยบายขยายตัว
เช่น การให้เงนิ อดุ หนุนช่วยเหลือ หรือการเกบ็ ภาษี อากรลดลง เพื่อให้ประชาชนมกี ารใช้จา่ ยเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึน้ เมื่อ
คนมีรายได้มากขึ้นอันเนื่องมาจาก การมีงานทำ ระบบเศรษฐกิจก็จะขยายตัวในที่สุด และนโยบายการคลังแบบหดตัว
(Contractionary Policy) ตัวอย่างเช่น ถ้ารัฐบาลต้องการให้เศรษฐกิจหดตัว เพราะมีการใช้จ่ายเงินมากเกินไป รัฐบาลจะ ใช้
นโยบายหดตัว เช่น การเก็บภาษีอากรเพิ่มขึ้น หรือรัฐบาลใหเ้ งินอุดหนุนลดลง จะทำให้ประชาชนใช้จ่าย น้อยลง และทำให้การ
บริโภคลดลงและเงินออมลดลง ในทีส่ ุดรายไดป้ ระชาชาตกิ ็จะลดลง
5.1 เส้นรายจา่ ยของรัฐบาลและการเปล่ยี นแปลงเสน้ รายจา่ ยรฐั บาล
รายจ่ายของภาครัฐบาลมักจะกำหนดไว้ลว่ งหนา้ อย่างนอ้ ย 1 ปี เส้นรายจ่ายของรฐั บาลจึงเป็น เส้นตรงขนานแกนนอนหรอื แกน
รายไดป้ ระชาชาติ ดงั รปู

แสดงเสน้ การใชจ้ ่ายของภาครัฐบาลและการเปลีย่ นแปลงเสน้ การใชจ้ า่ ยของรฐั บาล

จากรูป สมมติว่า G0 เป็นเส้นการใชจ้ ่ายของภาครัฐบาลที่กำหนดไว้เดิม ต่อมารัฐบาลได้ตัดสินใจ เพิ่มการใช้จ่ายให้มากข้ึน ทำ
ให้เส้นการใช้จ่ายของภาครัฐบาลย้ายจากเส้น G0 เป็นเส้น G1 ในทางตรงข้าม ถ้ารัฐบาลตัดสนิ ใจลดรายจ่ายลงจากเดมิ เส้นการ
ใชจ้ ่ายของรัฐบาลจะย้ายจากเสน้ G0 เป็นเส้น G2

6. ครูใชส้ อื่ PowerPoint ประกอบกับเทคนิคการบรรยาย การส่งออกสทุ ธิ
เมื่อระบบเศรษฐกิจมีการตดิ ตอ่ กบั ตา่ งประเทศ ไมว่ ่าในรปู ของการสง่ ออกหรือการนำเข้ายอ่ มมีผลกระทบ ต่อผลผลติ รายได้และ
การว่าจ้างทำงานภายในประเทศ การส่งออกสินค้าทำให้การผลิต การว่าจ้างทำงาน และ รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิด
กระแสการไหลเข้าของรายจา่ ยเข้าสรู่ ะบบเศรษฐกิจ เพราะผูส้ ง่ ออก เมอ่ื ได้รบั รายได้จากผซู้ ื้อในตลาดตา่ งประเทศ ก็จะนำรายได้
นนั้ มาจับจา่ ยใชส้ อยทั้งการบรโิ ภคและการลงทุน ทำใหร้ ายได้ของบคุ คลอ่นื ๆ ในระบบเศรษฐกิจเพ่ิมสงู ขน้ึ สว่ นการนำเข้าทำให้
ประเทศต้องสูญเสีย เงินตราต่างประเทศ เพื่อจ่ายให้แก่ประเทศที่ส่งสนิ ค้าเข้ามาทำให้การจ้างงานและรายได้ประชาชาติลดลง
เกิดกระแสการร่วั ไหลของรายได้ออกจากระบบเศรษฐกิจ ดังนน้ั ถ้าการสง่ ออกสุทธิ (สว่ นตา่ งระหวา่ งมลู ค่า การสง่ ออกกับมูลค่า
การนำเขา้ ) มคี ่าเปน็ บวกจะทำใหร้ ายได้ การจ้างงานและการลงทุนเพ่ิมขึ้น แตถ่ ้าการสง่ ออกสุทธมิ ีคา่ เป็นลบ จะทำให้รายได้การ
จ้างงานและการลงทุนลดลง
การส่งออก (Export: X) หมายถงึ มลู คา่ สินคา้ และบรกิ ารทปี่ ระเทศหนงึ่ ส่งไปจำหน่ายตา่ งประเทศ
การนำเขา้ (Import: M) หมายถงึ มูลคา่ สนิ คา้ และบริการทีป่ ระเทศหน่งึ นำเขา้ จากต่างประเทศ
ปัจจัยที่กำหนดการส่งออก มีดงั น้ี
1. นโยบายของรัฐบาล ถ้ารัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการส่งออก เช่น การลดภาษีสินค้าส่งออก การขยายตลาดในประเทศ การ
ลดหรือยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบ การปรับปรุงพิธีการศุลกากรให้สะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส จะทำให้การส่งออกเพิ่มข้ึน
เพราะฉะนั้นเส้นการส่งออกจะเคลอ่ื นสงู ขึน้ เปน็ X1
2. ราคาสนิ คา้ สง่ ออก ถา้ ราคาสินค้าส่งออกของประเทศใดสูงกวา่ ราคาสินค้าของต่างประเทศ ซง่ึ เปน็ สินคา้ ชนิดเดยี วกัน จะทำ
ใหป้ ระเทศนนั้ ส่งออกไดล้ ดลง เสน้ การสง่ ออกจะเคลอื่ นตำ่ ลงเป็น X2 ในทางตรงข้าม ถ้าราคาสินคา้ ส่งออกตำ่ กวา่ ราคาสนิ คา้ ของ
ต่างประเทศซึ่งเป็นสินค้าชนิดเดียวกัน จะทำให้ การส่งออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาสินค้าส่งออกขึ้นอยู่กับต้นทุนการผลิตและ
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ถ้าเงินบาทมีค่าต่ำกว่าความเป็นจริงเมื่อเทียบกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
สินค้า ส่งออกของไทยจะมีราคาต่ำโดยมองจากผู้ซือ้ ในตา่ งประเทศ ทำให้ปริมาณการส่งออกของไทยเพิ่มขึ้น เพราะฉะนัน้ เส้น
การส่งออกจะเคลอื่ นสงู ขึน้ เป็น X1

แสดงการสง่ ออกและการเปลี่ยนแปลงเส้นการส่งออก

จากรูป เส้น X0 เป็นเส้นการส่งออกเดิมของประเทศ A สมมติว่าประเทศนี้ได้ทำการพัฒนาและค้นพบ เทคโนโลยีใหม่ ๆ จึง
สามารถลดต้นทนุ การผลิตได้ ทำให้ราคาสินคา้ ส่งออกลดลง ปริมาณการสง่ ออกจึงเพิ่มข้ึน เสน้ การสง่ ออกจะเคล่อื นจาก X0 เป็น
เส้น X1 ในทางตรงข้าม ถา้ ประเทศ A ไมส่ ามารถพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ การสง่ ออกกจ็ ะลดลง เส้นการส่งออกจะเคลื่อนจาก
X0 เป็นเสน้ X2
3. ความต้องการของตลาดต่างประเทศและคุณภาพสินค้าถ้าตา่ งประเทศต้องการซื้อสินค้า จากเรามากขึ้น หรือคุณภาพของ
สินค้าส่งออกดขี ึน้ แม้จะมีราคาแพง ก็อาจจะทำให้การส่งออกสินค้าไป ต่างประเทศเพ่ิมขึ้นได้ เส้นการส่งออกจะเคลือ่ นขึ้นเปน็
X1 ในทางตรงข้าม ถ้าคณุ ภาพของสนิ ค้าส่งออก แย่ลง การสง่ ออกกจ็ ะลดลง เสน้ การส่งออกจะเคลอ่ื นตำ่ ลงเป็น X2

4. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ มีผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า กล่าวคือ ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนสูงขึ้นจากเดิม 30
บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นเป็น 33 บาทต่อ 1 ดอลลาร์ สหรัฐฯ ราคาสินค้าส่งออกเปรียบเทียบกับราคาสินค้าชนิด
เดียวกันจากต่างประเทศจะมีราคาถูกลง เพราะ ฉะนั้น ต่างประเทศจะซ้ือสินคา้ ของเรามากขึ้น เส้นการส่งออกจะเคลือ่ นสูงข้นึ
เป็น X1 ในทางตรงข้าม ถ้า อัตราแลกเปลี่ยนลดลงจากเดิม 30 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ลดลงเหลือ 28 บาทต่อ 1 ดอลลาร์
สหรัฐฯ ราคาสินค้าส่งออกเปรียบเทียบกับราคาสินค้าชนิดเดียวกันจากต่างประเทศแพงขึ้น ต่างประเทศจะซื้อสินค้า ของเรา
ลดลง เสน้ จะเคล่ือนต่ำลงเปน็ X2
ปัจจยั ที่กำหนดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ มดี งั นี้
1. รายได้ประชาชาติ (Y) ถ้าระบบเศรษฐกิจมีรายได้ประชาชาติสูง ประชาชนส่วนใหญ่จะมีงานทำ มีรายได้เพิ่มสูงขึ้น จึงมี
อำนาจซื้อสินค้าสูงขึ้น เพราะฉะนั้นประชาชนจะมีความตอ้ งการในการนำเข้าสินคา้ จากต่างประเทศมากขึ้น ในทางตรงข้าม ถ้า
รายไดป้ ระชาชาตลิ ดลง การวา่ งงานอาจเพมิ่ ขึ้น ประชาชน จะมีรายไดน้ อ้ ย จึงมีแนวโนม้ ทจ่ี ะนำเข้าสนิ ค้าจากต่างประเทศลดลง
2. สินเชื่อผู้บริโภคและอัตราดอกเบี้ย (i) ถ้าประชากรสามารถซื้อสินค้าจากตา่ งประเทศด้วย เงินผ่อน มีการจ่ายเงินดาวน์ต่ำ
และมีระยะเวลาในการผ่อนชำระนาน และอัตราดอกเบี้ยต่ำ ผู้บริโภคจะ มีแนวโน้มในการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศมากขึ้น
ในทางตรงข้าม ถ้าต้องจา่ ยเงนิ ดาวนส์ ูง มรี ะยะเวลา ในการผอ่ นชำระส้นั และอตั ราดอกเบ้ยี สงู จะทำให้ผบู้ รโิ ภคนำเขา้ สนิ ค้าจาก
ต่างประเทศลดลง
3. สินทรพั ยข์ องผูบ้ ริโภค (A) ถ้าผู้บริโภคมีสนิ ทรัพยส์ ภาพคลอ่ งอยใู่ นมอื มาก เขาจะรู้สกึ ว่า ฐานะทางการเงนิ มนั่ คง การนำเข้า
สินคา้ จากต่างประเทศกจ็ ะเพ่ิมข้นึ และถ้าผู้บริโภคมสี นิ ทรพั ยค์ งทน ถาวรบางอยา่ งอยใู่ นมือมาก กอ็ าจทำใหม้ กี ารนำเข้าสินค้าที่
ใชป้ ระกอบกนั มากขึ้น หรอื ในกรณที ผ่ี ู้บริโภค มสี นิ ทรัพย์คงทนบางอย่างอยใู่ นมอื มาก กจ็ ะทำให้การซ้ือสนิ คา้ ทใ่ี ชท้ ดแทนกันจาก
ต่างประเทศลดลงได้
4. การคาดคะเนของผู้บริโภค (E) ถ้าผู้บริโภคคาดคะเนว่ารายได้ของเขาจะเพิ่มขึ้นในอนาคต หรือราคาสินค้านำเข้าจาก
ต่างประเทศจะสงู ขึน้ หรอื สนิ ค้าบางชนดิ จะขาดตลาด ทำให้ผู้บริโภคนำเข้า สนิ ค้าจากตา่ งประเทศมากข้นึ ในปจั จุบนั
5. รสนิยมหรือค่านิยม (T) ถ้าคนในประเทศมีแนวโน้มนยิ มใช้สินค้าจากต่างประเทศมากขึ้น ทำให้ความตอ้ งการซื้อสินค้าจาก
ตา่ งประเทศมากขน้ึ ตามไปด้วย
6. จำนวนประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร (Pop) ถ้าจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ความต้องการนำเข้าสินค้าจาก
ต่างประเทศจะเพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากร หรือถ้าโครงสร้างอายุของ ประชากรเป็นวัยรุ่น รสนิยมในการบริโภคสินค้า จาก
ต่างประเทศกจ็ ะมากข้ึน จะทำใหม้ ีการนำเข้าสินค้าจากตา่ งประเทศมากขึ้นตามไปด้วย
7. ราคาเปรยี บเทยี บระหวา่ งสินค้านำเข้ากับสินค้าท่ีผลิตได้ในประเทศ (Pm) ถ้าราคาสินค้า นำเขา้ เปรยี บเทียบกับราคาสินค้า
ที่ผลิตในประเทศถูกกว่า ความต้องการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศก็จะ มากขึ้น ในทางตรงข้าม หากราคาสินค้านำเข้า
เปรียบเทยี บกบั ราคาสนิ คา้ ท่ีผลิตในประเทศแพงกว่า ความตอ้ งการนำเขา้ สินคา้ จากตา่ งประเทศก็จะลดลง
8. คุณภาพของสินค้านำเข้า(Q) เปรียบเทียบกับสินค้าในประเทศ หากสินค้านำเข้ามีคุณภาพ ดีกว่าสินค้าในประเทศ ความ
ต้องการในการนำเขา้ สนิ ค้าจากต่างประเทศก็จะมากขึน้ ถงึ แม้ราคาสนิ คา้ จะแพงก็ตาม
9. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (ER) จะมีผลกระทบต่อมลู ค่าการนำเข้าเช่นเดียวกนั ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนสูงขึ้น เช่น
จากเดมิ ฿ 32 = $ 1 เป็น ฿ 35 = $ 1 ราคาสินค้านำเข้าจากต่างประเทศจะแพงขนึ้ เพราะฉะน้นั ความตอ้ งการซ้อื สินค้านำเข้า
จะลดลง เชน่ เดิมอัตราแลกเปลย่ี น ฿ 32 = $ 1 ถา้ ราคาสนิ คา้ นำเขา้ 1 หน่วย เท่ากบั 1 ดอลลาร์ เมอ่ื ซอ้ื 1 หน่วยต้องจ่าย $ 1
ซึ่งก็คือ ต้องจ่ายเงินบาทเป็นจำนวนเท่ากับ 32 บาท ต่อมาอัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนเป็น ฿ 35 = $ 1 ถ้าซื้อสินค้าเข้าจาก
ต่างประเทศเท่าเดิม 1 หน่วย ผู้นำเข้าต้องจ่ายเป็นเงินบาทแพงขึ้นเป็น 35 บาท เพราะอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
สูงขึ้น ฉะนั้นเมื่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศสูงขึ้น ราคาสินค้านำเข้าจะแพงขึ้น ความต้องการจะซื้อ สินค้าเข้าจะ
นอ้ ยลง ซึง่ สามารถแสดงฟงั ก์ชนั การนำเข้าสินค้า ไดด้ ังนี้

M = f(Y, i, A, E, T, Pop, Pm, Q, ER, … )

การนำเข้าสินค้า(M) เป็นค่าใช้จ่ายที่ครัวเรือน ผู้ประกอบการและรัฐบาลนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ โดยปกติปริมาณการ
นำเข้าสินค้าจากต่างประเทศมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับรายได้ประชาชาติ กล่าวคือ เมื่อรายได้ประชาชาติสูงข้ึน

ปริมาณการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศกจ็ ะเพิ่มขึ้น ในทางตรงข้าม ถ้ารายได้ประชาชาติลดลง ปริมาณการนำเข้าสินค้าจาก
ต่างประเทศกจ็ ะลดลงดว้ ย ดังน้ัน ฟังกช์ นั การนำเขา้ สินค้าจะเปน็ ดงั นี้

M = Ma + mY
เมื่อ Ma = มลู ค่าการนำเข้าสินค้าจากตา่ งประเทศ เมื่อ Y มคี ่าเท่ากบั ศูนย์

M = ความโน้มเอียงหน่วยสดุ ทา้ ยของการนำเข้าสนิ ค้า (Marginal Propensity to Import:
MPM) และ m หาได้จากการหาสว่ นเปลย่ี นแปลงของมลู คา่ การนำเขา้ สนิ ค้าท่ีเกดิ จากการ
เปลีย่ นแปลงของรายไดป้ ระชาชาติหน่ึงหน่วย
หรอื m = ΔM
ΔY ซงึ่ แสดงให้เห็นว่า เมื่อรายไดส้ ูงข้ึนจะมคี วามโน้มเอยี ง
ทจี่ ะนำเข้าสินคา้ เพิม่ ข้นึ อยา่ งใด ซงึ่ อาจทำความเข้าใจด้วยรปู ได้ดังน้ี

แสดงการเปล่ียนแปลงเสน้ การสง่ ออกและเสน้ การนำเข้า

จากรูป เส้น M คือ เสน้ การนำเข้าสินคา้ จากตา่ งประเทศ เส้น X คอื เส้นการสง่ ออกสินค้า สมมติให้ เสน้ X มีค่าคงท่ี เสน้ จึงขนาน
กับแกนนอนหรอื ขนานกับเส้นรายไดป้ ระชาชาติ ทง้ั สองเส้นตดั กันทจ่ี ดุ E ซง่ึ เป็นจดุ ที่มลู คา่ การสง่ ออกเท่ากบั มลู คา่ การนำเขา้
สินคา้ จากตา่ งประเทศ หรือ X – M = 0 แสดงวา่ “ดุลการค้า สมดุล” และรายได้ประชาชาตเิ ท่ากบั 0Y ณ รายไดท้ ต่ี ่ำกว่า 0Y
มูลคา่ การส่งออกมากกว่ามลู คา่ การนำเขา้ หรอื X > M แสดงวา่ “ดลุ การค้าเกนิ ดลุ ” ส่วนรายได้ท่ีมากกว่า 0Y มูลค่าการส่งออก
นอ้ ยกว่ามลู ค่าการนำเข้า หรอื X < M แสดงวา่ “ดลุ การคา้ ขาดดลุ ”
ค่า MPM จะสูงหรอื ตำ่ ข้นึ อยูก่ บั ภาษศี ุลกากรท่เี ก็บจากสินคา้ นำเขา้ การผลติ สนิ คา้ ของประเทศ รสนิยมของคนในประเทศ และ
ราคาสนิ คา้ ทีผ่ ลิตไดภ้ ายในประเทศเทียบกบั สนิ คา้ จากต่างประเทศ
สรปุ องคป์ ระกอบของรายไดป้ ระชาชาติ ประกอบด้วย รายจา่ ยเพอื่ การบริโภคและ การออม รายจา่ ยเพื่อการลงทนุ การใช้จ่าย
ของภาครฐั บาลและการส่งออกสทุ ธิ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคและการออม เช่น รายได้สุทธิส่วนบุคคล สินทรัพย์ สภาพคล่องที่บุคคลมีอยู่ สินทรัพย์ถาวรที่
บุคคลมีอยู่ รายได้ในอนาคต การคาดคะเนระดับ ราคาสินค้า สินเช่ือเพื่อการบริโภค อัตราดอกเบี้ย เป็นต้น รายได้สุทธิส่วน
บคุ คลจะถูกจดั สรรไป ระหว่างการบรโิ ภคและการออม แม้ผบู้ รโิ ภคจะไมม่ ีรายได้เลย แตก่ ย็ งั ต้องบรโิ ภค เงนิ ท่ีนำมาใช้จา่ ย

อาจได้มาจากการกู้ยืมหรือเงินออม หรือการนำทรัพย์สินสภาพคล่องที่มีอยู่ออกมาขายก็ได้ เมื่อผู้บริโภคมีรายได้สูงขึ้น การ
บริโภคจะสูงขึ้น แต่ถ้ารายได้ลดลง การบริโภคก็จะลดลงเช่นกัน ดังนั้น รายได้สุทธิส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับการบริโภคใน
รูปแบบสมการเสน้ ตรง
รายจ่ายเพือ่ การลงทุน ประกอบด้วย รายจ่ายในการก่อสรา้ ง รายจ่ายในการซื้อเครื่องมือ เครื่องจกั รใหม่ในการผลติ ตา่ ง ๆ และ
ส่วนเปลี่ยนของสินค้าคงเหลือ การลงทุนมีบทบาทสำคัญต่อ ความเจริญเติบโตและความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในระบบ
เศรษฐกจิ ของประเทศ
การใช้จ่ายของภาครัฐบาล แบ่งเป็นรายจ่ายเพื่อการบริโภค รายจ่ายเพื่อการลงทุน และ รายจ่ายเพื่อการพัฒนาประเทศ แต่
รายจ่ายประเภทเงนิ โอนจะไม่นบั รวมในรายจา่ ยมวลรวม เพราะ รายจา่ ยประเภทนีไ้ ม่เกย่ี วพันกับการเพ่มิ ผลผลิต
การส่งออกสทุ ธิ การส่งออกสินค้าจะทำให้การผลติ การว่าจ้างทำงานและรายไดป้ ระชาชาติ เพ่มิ ขน้ึ ก่อให้เกิดกระแสการไหลเขา้
ของรายจ่ายเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ ส่วนการนำเข้าทำให้ประเทศ ต้องสูญเสียเงินตราต่างประเทศ ทำให้การจ้างงานและรายได้
ประชาชาติลดลง เกิดกระแส การรั่วไหลของรายได้ออกจากระบบเศรษฐกจิ ถ้าการสง่ ออกสทุ ธิมีคา่ เป็นบวก จะทำให้รายได้ การ
จ้างงานและการลงทุนเพม่ิ ขึน้ แต่ถา้ การสง่ ออกสุทธิมคี ่าเปน็ ลบ จะทำใหร้ ายได้ การจ้างงาน และการลงทุนลดลง
7. ครใู ห้ผเู้ รยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ในหวั ขอ้ “ประโยชน์ของการกำหนดรายได้ประชาชาติ”

ข้ันสรุปและการประยกุ ต์

8. ครูสรุปบทเรียน โดยใช้สือ่ PowerPoint และเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นได้ซกั ถามขอ้ สงสยั

9. ผเู้ รียนทำกจิ กรรมใบงาน และแบบประเมินผลการเรียนรู้

สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้

1. หนังสือเรยี นหลักเศรษฐศาสตร์ รหสั วชิ า 30200-1001 ของสำนักพิมพเ์ อมพนั ธ์

2. ส่อื PowerPoint

3. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้

4. กิจกรรมการเรยี นการสอน

5. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน

หลกั ฐาน

1. บันทกึ การสอนของผ้สู อน 2. ใบเช็ครายชือ่

3. แผนจัดการเรียนรู้ 4. การตรวจประเมินผลงาน

การวัดผลและการประเมนิ ผล

วิธวี ดั ผล

1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจกิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรู้

3. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 4. ตรวจใบงาน

เครื่องมือวัดผล

1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ

3. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน

กณฑก์ ารประเมนิ ผล

1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ

2. แบบประเมินผลการเรยี นรมู้ เี กณฑ์ผา่ น และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ 50%

3. แบบประเมินกจิ กรรมใบงานมเี กณฑผ์ า่ น 50%

กจิ กรรมเสนอแนะ

1. แนะนำให้ผูเ้ รยี นอา่ นทบทวนเนื้อหาเพิ่มเตมิ

2. ควรศึกษาขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ จากสือ่ อินเทอรเ์ นต็

แบบเรียนรู้หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 9

ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามต่อไปน้ี
1. อธบิ ายความหมายของรายจา่ ยเพือ่ การบรโิ ภค
.....................................................................................................................................................................................
2. ปัจจัยที่กำหนดรายจ่ายเพือ่ การบริโภค
.....................................................................................................................................................................................
3. ความโน้มเอยี งเฉลยี่ และความโนม้ เอยี งหน่วยสุดท้ายในการบริโภคคอื อะไร
.....................................................................................................................................................................................
4. การเปล่ยี นแปลงปริมาณรายจา่ ยเพ่ือการบรโิ ภคและการเปลยี่ นแปลงการบรโิ ภคแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
.....................................................................................................................................................................................
5. ความโน้มเอียงเฉล่ยี และความโนม้ เอยี งหนว่ ยสดุ ทา้ ยของการออมคอื อะไร
.....................................................................................................................................................................................
6. การบริโภคและการออมมคี วามสมั พนั ธก์ ันอย่างไร

.....................................................................................................................................................................................
7. กำหนดให้สมการการบรโิ ภค คอื C = 30 + 0.8Yd
1) จงหาสมการการออม

.....................................................................................................................................................................................
2) จงหาค่า MPC และ MPS

.....................................................................................................................................................................................
8. ตัวกำหนดการลงทุนมอี ะไรบ้าง

.....................................................................................................................................................................................
9. จงอธิบายความหมายของคำต่อไปน้ี
1) การลงทุนอิสระ

.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
2) การลงทนุ โดยการจงู ใจ

.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

10. การเปล่ยี นแปลงปรมิ าณการลงทุนและการเปลยี่ นแปลงการลงทนุ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร
.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ตอนที่ 2 จงเลอื กข้อทถี่ ูกตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งข้อเดียว

1. การหาฟงั ก์ชนั ของการบรโิ ภคใช้องคป์ ระกอบของอะไร

ก. คา่ ใช้จ่ายของเงนิ ออมมาเป็นองคป์ ระกอบของฟงั กช์ ันของการบริโภค

ข. ใช้เงินโบนสั มาเปน็ องค์ประกอบของฟงั ก์ชันของการบรโิ ภค

ค. ใชค้ ่าจา้ งมาเปน็ องคป์ ระกอบของฟงั ก์ชันของการบรโิ ภค

ง. ใช้รายได้สุทธิส่วนบุคคลมาเปน็ องค์ประกอบของฟังก์ชันของการบริโภค

จ. ใชด้ อกเบย้ี เงินฝากมาเป็นองคป์ ระกอบของฟังก์ชันของการบริโภค

2. ความโน้มเอยี งเฉลย่ี ในการบรโิ ภคหมายถึงขอ้ ใด

ก. อัตราสว่ นระหวา่ งรายจ่ายเพื่อการบรโิ ภคกับรายได้ ณ รายไดร้ ะดบั หนงึ่

ข. อัตราการเพม่ิ ขน้ึ ของรายจา่ ยเพ่อื การบริโภค

ค. อัตราการเปล่ยี นแปลงของรายจ่ายเพอ่ื การบริโภคต่อการออม

ง. รายจ่ายเพอ่ื การบรโิ ภคเฉลย่ี ตอ่ คน

จ. อัตราการเพ่ิมขน้ึ ของรายจา่ ยต่อการออม

3. จงหาสมการการบรโิ ภคเมอื่ กำหนดใหค้ า่ MPC = 0.8 รายไดส้ ่วนบคุ คล = 10 และรายจ่ายเพื่อ การบรโิ ภค = 18

ก. C = 12 + 0.6Yd ข. C = 10 + 0.8Yd
ค. C = 12 + 0.8Yd ง. C = 16 + 0.6Yd
จ. C = 18 + 0.8Yd

4. ถ้ากำหนด ΔC = 40, C =50, Yd = 100, ΔYd = 50

ก. คา่ APC = 1.25 ข. ค่า APC = 2

ค. ค่า APC = 0.5 ง. ค่า APC = 0.4

จ. ค่า MPC = 0.7

5. การออมของครัวเรอื นมคี วามสมั พนั ธก์ ับรายไดข้ องครัวเรือนอยา่ งไร

ก. การออมเปน็ ตัวกำหนดระดับรายได้ ข. รายไดเ้ ปน็ ตวั กำหนดการออม

ค. การออมกบั รายไดไ้ มม่ คี วามสมั พันธก์ ัน ง. ถา้ การออมเพมิ่ ข้ึนรายได้จะลดลงเสมอ

จ. ถา้ การออมลดลงรายไดไ้ ม่เปล่ียนแปลง

6. ถา้ สมการการออม S = -0.10 + 0.60Yd แลว้ MPS มคี า่ เทา่ ใด

ก. MPS = -10 ข. MPS = 0.60

ค. MPS = -0.10 ง. MPS = 0.40

จ. MPS = -0.40

7. ถ้า S = 0 แล้วค่า APS มคี า่ เท่าใด

ก. APS = 1 ข. APS > 1

ค. APS < 0 ง. APS = 0

จ. APS = 0.5

8. MPS กบั MPC มคี วามสมั พันธก์ นั อย่างไร

ก. MPC จะตอ้ งมีค่าสูงกว่า MPS เสมอ

ข. MPC + MPS = 1 เสมอ

ค. เมื่อ MPC สูงขนึ้ MPS กส็ ูงขนึ้ ตาม

ง. MPC กบั MPS เป็นอสิ ระตอ่ กัน

จ. MPC จะตอ้ งมีค่านอ้ ยกว่า 1 เสมอ

9. ข้อใดไม่ใช่รายจ่ายในการลงทนุ
ก. ค่าใชจ้ า่ ยในการก่อสรา้ งอาคาร
ข. คา่ ใชจ้ า่ ยในการซอื้ เคร่ืองมอื เครื่องจักร
ค. สว่ นเปล่ยี นแปลงสุทธขิ องสินค้าคงเหลอื
ง. ค่าใชจ้ ่ายในการกอ่ สร้างอาคารใหม่
จ. การซ้ือสนิ ทรัพยแ์ ละหลกั ทรพั ย์มือสอง

10. เส้นการบริโภคจะเลอ่ื นสูงข้นึ ด้วยเหตุผลใด
ก. ความโน้มเอยี งในการบริโภคลดลง
ข. ความโนม้ เอยี งในการออมเพ่มิ ข้นึ
ค. ความโนม้ เอยี งหน่วยสดุ ท้ายของการออมลดลง
ง. รายไดข้ องผู้บริโภคสงู ขนึ้
จ. ผ้บู ริโภคเพมิ่ รายจ่ายเพอ่ื การบริโภคในระดับรายไดต้ า่ ง ๆ กนั

ตอนที่ 3 จงใสเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ หรอื × หนา้ ข้อความทเี่ หมาะสม
.............. 1. ปจั จัยที่มีอิทธพิ ลตอ่ คา่ ใชจ้ ่ายในการบริโภคและการออมมากทส่ี ดุ คือ รายได้สุทธสิ ่วนบคุ คล
.............. 2. การเก็บภาษีมีผลทางอ้อมต่อรายไดส้ ุทธสิ ่วนบุคคล
.............. 3. สมการการบริโภคและการออมอย่ใู นรปู ของสมการเส้นโค้ง
.............. 4. การออมเป็นผลต่างระหว่างรายได้สทุ ธสิ ่วนบุคคลกับรายจา่ ยในการบรโิ ภค
.............. 5. APS + APC = 1 เสมอ
.............. 6. รายไดส้ ุทธิสว่ นบุคคลจะถกู แบ่งไปใชเ้ พ่อื การบริโภคและเพอ่ื ใช้จ่ายยามฉุกเฉิน
.............. 7. เม่อื รายได้สูงขึ้น APC มคี า่ เพ่มิ ขนึ้ แต่ APS มคี ่าลดลง
.............. 8. MPC + MPS = 0 เสมอ
.............. 9. การลงทุนในทางเศรษฐศาสตรจ์ ะพิจารณาเฉพาะการเพมิ่ สนิ ค้าทุน
.............. 10. การซอื้ ขายทีด่ ินเพื่อเก็งกำไร การซื้อพันธบัตรถือเป็นรายจ่ายเพอื่ การลงทนุ

ใบงานท่ี 1

กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจหนึง่ มแี บบจำลองระบบเศรษฐกิจ 3 ภาคเศรษฐกิจ, Y = C + I + G ดังนี้ (หนว่ ยเปน็ ล้านบาท)
C = 10 + 0.80Yd , I = 5 + 0.10Y, G = 20 และ T = 5
โดยท่ี Yd = รายได้ทใ่ี ชจ้ ่ายไดจ้ ริง (Y - T) Y = รายได้ประชาชาติ จงหา
(ก) รายได้ประชาชาตดิ ลุ ยภาพ (Y)
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

(ข) ค่าของรายไดป้ ระชาชาตทิ มี่ ีค่าเทา่ กับรายจา่ ยเพ่อื การบริโภค
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

(ค) ค่าความโนม้ เอยี งเฉล่ยี ในการบรโิ ภค (APC) เมื่อ Y =100
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 2

สมมติว่าทุกครัวเรือนในระบบเศรษฐกิจนำรายได้ส่วนที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดเก็บเป็นเงินออม จะมีผลต่อ เส้นรายจ่ายเพื่อการ
บรโิ ภคอยา่ งไร
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 3

เคนส์ (John Magnard Keynes) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและรายได้ อธิบายขอ้ สรุป ของการศึกษาเรื่อง
นี้
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

บันทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรยี นร้แู บบบรู ณาการท่ี 12 หน่วยที่ 10

รหสั 30200-1001 หลกั เศรษฐศาสตร์ สอนครัง้ ท่ี 12
ชื่อหน่วย การเงนิ การธนาคารและนโยบายการเงิน
จำนวน 4 ชั่วโมง

สาระสำคัญ

เงินเป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบรกิ ารและเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญประเภทหนึ่งในระบบเศรษฐกจิ ปริมาณเงิน
จะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทานของเงิน ผู้ลงทุนทำการผลิตสินค้าและบริการสามารถแสวงหาเงิน ได้จากตลาด
การเงิน ไม่ว่าจะเป็นจากสถาบันการเงินหรือตลาดหลักทรัพย์ ประเทศต่าง ๆ รวมทั้งประเทศไทยต้องพยายาม ใช้นโยบาย
การเงนิ ใหเ้ หมาะสม เพ่ือความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจและความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายความหมาย วิวฒั นาการของเงนิ หนา้ ทแ่ี ละประเภทของเงนิ ได้
2. เข้าใจความสำคญั ของเงินทม่ี ตี อ่ ระบบเศรษฐกจิ
3. อธิบายความหมายและประเภทของตลาดการเงนิ ได้
4. อธิบายระบบและการดำเนนิ ธรุ กรรมของธนาคารพาณชิ ยไ์ ด้
5. เข้าใจความเป็นมา ประเภทและหนา้ ท่ีของธนาคารกลาง
6. เข้าใจประเภทและเครอื่ งมอื ของนโยบายการเงิน รวมทง้ั นโยบายการเงนิ ของประเทศไทย

สมรรถนะประจำหน่วย

1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั การเงินและการธนาคาร
2. แสดงความรู้เกย่ี วกบั นโยบายการเงิน

สาระการเรยี นรู้

1. ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกับการเงนิ
2. ความสำคญั ของเงินต่อระบบเศรษฐกจิ
3. ตลาดการเงิน
4. ธนาคารพาณิชย์
5. ธนาคารกลาง

สาระการเรียนรู้

6. นโยบายการเงิน
7. นโยบายการเงินของประเทศไทย

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ขัน้ นำเขา้ ส่บู ทเรียน
1. ครูกล่าวว่า มนษุ ยท์ อี่ ยู่รวมกนั เป็นสังคมและไมส่ ามารถผลิตสง่ิ ของไดท้ กุ อย่าง จงึ จำเปน็ ตอ้ งเลอื กผลติ เฉพาะส่ิงท่ตี นมีความ
ถนัด โดยนำส่ิงของที่ตนผลติ ได้ไปแลกกบั สงิ่ ของที่ผอู้ ่นื ผลิตได้ การแลกเปล่ยี น จึงเกดิ ขน้ึ มาพร้อมกบั การเกิดขึ้นของสังคมมนุษย์
การแลกเปลย่ี นจึงได้พัฒนาจากการใชข้ นสตั ว์ ใบยาสูบ เกลือ เปลือกหอย ลูกปัด เป็นต้น มาเปน็ การใช้โลหะเปน็ ส่อื กลางในการ
แลกเปลย่ี น ไดแ้ ก่ ทองคำ เงนิ ทองแดง และแรด่ ีบุก ตอ่ มาโลหะมีจำกดั และหายาก เน่ืองจากมนษุ ย์มจี ำนวนเพิม่ มากขน้ึ เรื่อย ๆ
จึงได้พฒั นามาใช้ เงินกระดาษเป็นส่ือกลางในการแลกเปลีย่ น จนกระทั่งเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ที่ใชเ้ งนิ ตราอย่างปจั จบุ ัน
2. ครูกล่าวว่า ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 10 นี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้การเงินการธนาคารและนโยบายการเงิน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไป
ประยกุ ต์ในชวี ิตประจำวนั

ขน้ั สอน
3. ครใู ชส้ ื่อ PowerPoint ประกอบกับเทคนิคการบรรยาย ความรเู้ บื้องตน้ เกย่ี วกับการเงิน
ในสมัยโบราณยังไม่มกี ารใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปล่ียนสนิ ค้าและบริการ จึงใช้วิธีการ แลกเปลี่ยนสิ่งของต่อของ (Barter
System) ซึ่งการแลกเปลี่ยนในลักษณะนี้จะขาดความสะดวก และ เป็นอุปสรรคขัดขวางการขยายขอบเขตของการแลกเปลีย่ น
เมอื่ สงั คมมขี นาดใหญ่ขึ้น ผบู้ รโิ ภคมี ความต้องการสนิ ค้าและบริการเพ่มิ ข้ึน การแลกเปลีย่ นแบบของตอ่ ของจึงไมส่ ะดวก จึงต้อง
ใช้เงินเป็น สื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ซึ่งการแลกเปลี่ยนโดยวิธีนี้ทำได้โดยสะดวกและรวดเร็ว และสามารถ ขยายขอบเขตได้
กว้างขวางเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกจิ ที่กา้ วหน้า
เงินเป็นสิ่งท่มี นษุ ยย์ อมรับให้เป็นส่ือกลางในการซ้ือขายแลกเปลยี่ นกันโดยมธี นาคารเป็นตวั กลาง ในการระดมเงินจากประชาชน
ระบบธนาคารจะสร้างเงินฝากขึ้นมา ซึง่ จะเป็นสว่ นหน่ึงของปรมิ าณเงนิ เพื่อนำไปใหผ้ ู้ประกอบธรุ กจิ กูย้ มื ไปลงทุนขยายการผลิต
สนิ ค้าและบรกิ าร
3.1 ความหมายของเงิน
เงิน (Money) คือ สิ่งทีค่ นในสังคมยอมรับกนั โดยท่ัวไปให้เป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนหรอื ใชจ้ ่าย ในการซอ้ื สนิ คา้ และบริการ
หรือใช้ในการชำระหน้ี ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายรวมถึง เงินตราและ เงินประเภทอื่น ได้แก่ เงินเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร และ
เงนิ ฝากธนาคารประเภทฝากกระแสรายวนั โดยใช้เช็ค
3.2 ววิ ัฒนาการของเงนิ
ก่อนที่จะเริ่มมีการใช้เงินนั้นมนุษย์ใช้วิธีการแลกเปลี่ยนสิ่งของต่อสิ่งของ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนโดยตรง เช่น ชาวนานำข้าวไป
แลกเนอ้ื สัตว์กับนายพราน หรอื นำขา้ วไปแลกเส้ือผา้ กับชาวบา้ น หรอื นำไข่ไปแลกเสอ้ื ผา้ กบั ชาวบา้ น เป็นตน้ แต่การแลกเปลี่ยน
โดยตรงนี้ขาดความสะดวกสบาย เมื่อสังคมมีขนาดใหญ่ขึ้น ความต้องการในการแลกเปล่ียนมีมากขึ้น การแลกเปลี่ยนโดยตรง
จงึ ไม่สามารถทำหนา้ ทไี่ ด้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ จงึ ได้หาวิธแี ลกเปลีย่ นทางออ้ มโดยใช้เงินเปน็ สอ่ื กลางในการแลกเปลย่ี น กลา่ วคือ
จะต้อง นำสงิ่ ของท่ีต้องการแลกเปลี่ยนนัน้ ไปเปลย่ี นเปน็ เงินกอ่ น โดยขายให้กบั ผทู้ ่ตี ้องการสิ่งของนัน้ แลว้ จึงน ำเงิน ไปซอ้ื ส่ิงของ
ทต่ี นต้องการอีกต่อหนึ่ง ในระยะแรกสงิ่ ทใี่ ช้เป็น “เงนิ ” ได้แก่ สิง่ ของหรอื สินค้าบางชนดิ ท่ีสังคมนนั้ ยอมรบั ซงึ่ แตกตา่ งกนั ไป ตาม
ท้องถิ่น และเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เช่น ขนสัตว์ หนังสัตว์ ใบชา ยาสูบ เกลือ เปลือกหอย ลูกปัด ซึ่งส่วนมากจะเป็น
สิง่ ของทห่ี ายากในสังคมนั้นเพ่อื ให้มีคณุ ค่าในตัวของมันเอง แตเ่ งินทเี่ ปน็ สิง่ ของนี้มี ขอ้ จำกัดหลายประการ เช่น ขาดความคงทน
ถาวร นำติดตัวไปด้วยไม่สะดวก แบ่งแยกเป็นหน่วยย่อย ๆ ได้ยาก คุณภาพของสิ่งของก็ไม่เห มือนกัน ในระยะเวลาต่อมาจึง
เปลี่ยนมาใช้เงินที่ทำด้วยโลหะแทน เงินโลหะ ได้แก่ โลหะที่มีค่า เช่น ทองคำ เงิน ในตอนแรกการชำระเงินใช้วิธีชั่งโลหะให้มี
น้ำหนัก เท่ากับมูลคา่ ที่ต้องการจะชำระ ต่อมาได้มีการนำโลหะมาหลอมเปน็ เหรียญซึ่งมีคา่ แน่นอน มีการทำเหรียญ กษาปณ์ได้
โดยเสรี และอนุญาตให้โลหะน้นั เคลอ่ื นย้ายระหวา่ งประเทศไดโ้ ดยเสรี มูลค่าของเหรยี ญกษาปณ์ จะมมี ลู ค่าเทา่ กบั เนือ้ โลหะท่ีมา
ทำเป็นเหรียญกษาปณ์ ต่อมาเหรียญกษาปณ์ได้วิวัฒนาการมาเป็นเงินที่มี ค่าไม่เต็ม กล่าวคือ มูลค่าของเนื้อโลหะที่มาทำเป็น
เหรียญกษาปณ์จะน้อยกว่ามูลค่าของเหรียญกษาปณ์นั้น เพราะเมื่อโลหะหายากและมีราคาสูงขึ้น ประชาชนจึงพากันฝนเนื้อ
โลหะออก หรือนำไปหลอมทำเป็น เครื่องประดับหรอื เคร่ืองใช้อืน่ และเหรียญกษาปณ์ก็มีจำนวนนอ้ ยลงทุกที จึงได้มกี ารทำขอบ
เหรียญกษาปณ์ ให้มีรอยหยกั และผสมโลหะเน้ือแขง็ ทีม่ ีค่านอ้ ยลงไปเพ่อื ให้ทนทานขึ้น เหรียญกษาปณใ์ นปจั จุบนั น้ี เป็นเงินท่มี คี า่
ไมเ่ ตม็ ท้งั สน้ิ และตอ่ มาโลหะหายากขน้ึ มีราคาแพงและไม่สะดวกในการผลติ และ การพกพา จงึ เรม่ิ วิวัฒนาการมาใชเ้ งินกระดาษ
ขนึ้ เงินกระดาษมกี ำเนดิ มาจากใบรับฝากเงนิ ของพวกช่างทองในสมัยโบราณ กล่าวคือ ประชาชนมกั จะฝากโลหะมีคา่ เงิน ทอง
ไว้กบั ช่างทอง เนอื่ งจากเปน็ บคุ คลทไ่ี ดร้ ับความเช่อื ถอื และมีที่เกบ็ รกั ษาที่แขง็ แรง และพวกพอ่ คา้ ไม่สามารถจะนำเงินและทองตดิ
ตวั ไปไหนมาไหนไดต้ ลอดเวลา เพราะไม่สะดวกและ ไม่ปลอดภยั พวกชา่ งทองกจ็ ะออกใบรบั ฝากให้เจา้ ของถือไวแ้ ทน ใบรับฝาก
นีส้ ามารถจะโอนกรรมสทิ ธิ์กนั ได้ โดยการเซน็ ช่ือสลักหลังใบรับ ในตอนแรกพวกช่างทองจะออกใบรบั ให้กับคนที่นำโลหะมาฝาก
เท่าน้ัน ต่อมา จากประสบการณ์พวกชา่ งทองพบวา่ ผฝู้ ากมกั จะไม่ถอนโลหะหรือเงินเหรยี ญออกไปพร้อม ๆ กัน และถอนคืน ไม่
หมด ดังนั้น พวกช่างทองจึงนำเอาโลหะเหล่านี้ออกให้กู้ โดยออกใบรับให้แก่ผู้ที่ไม่ได้นำโลหะมาฝาก และคิดค่าบริการเป็น
ดอกเบี้ยตามสมควร ใบรับนี้สามารถนำมาขึ้นเป็นโลหะได้เช่นเดียวกับใบรับทั่วไป พวกช่างทองเหล่านี้จึงทำหน้าที่เป็นนาย
ธนาคารและใบรบั น้ีกไ็ ดแ้ ก่ บตั รธนาคาร (Bank Card) ปัจจบุ นั เงินกระดาษ ได้แก่ ธนบตั ร ซึ่งรัฐบาลพิมพ์ขนึ้ มาใช้และรับรองให้
ใช้ชำระหนีไ้ ดต้ ามกฎหมาย โดยท่วั ไปแล้วการพิมพธ์ นบตั รจะต้องมที นุ สำรองเงนิ ตราหนนุ หลงั ทนุ สำรองเงินตรานปี้ ระกอบด้วย

ทองคำและเงินตราต่างประเทศ ทั้งเงินเหรียญและธนบัตรนีไ้ มม่ ีมูลคา่ เต็มตามโลหะ กล่าวคือ ไม่สามารถนำไปแลกโลหะคืนได้
เต็มตามจำนวน นอกจากนี้ยังมีการชำระหนี้หรือจ่ายเงินซื้อสินค้าโดยใช้เช็ค ซึ่งกระทำได้ โดยมีเงินฝากหรือทำความตกลงกับ
ธนาคารไว้ว่า ให้จ่ายเงินเมื่อเขียนเช็คสั่งจ่าย การใช้เช็คนี้เรียกกัน โดยทั่วไปว่าเงินฝากเผื่อเรียก หรือเงินฝากกระแสรายวัน
(Current Account) ปัจจุบันการสื่อสารที่ทันสมัยทำให้การใช้เงินโดยผ่านธนาคารสะดวกสบายและมีหลายรูปแบบมากขึ้น
บางครั้งเงนิ ฝากกระแสรายวนั สามารถตัดบัญชีออกจากบญั ชีเงินฝากออมทรพั ย์ หรอื บัญชเี งนิ ฝากประจำได้ หรือหลักทรพั ยอ์ ื่น ๆ
ท่มี ีความคล่องตัวมาก ๆ ไดแ้ ก่ พนั ธบัตรรฐั บาล หนุ้ กู้ บัตรเครดิต เชค็ ของขวัญ เชค็ เดินทางก็อาจใช้แทนเงนิ ไดอ้ กี ด้วย สิง่ ต่าง ๆ
เหล่าน้ีเรียกว่า “สง่ิ คล้ายเงิน” ซ่ึงอาจเปล่ยี นเปน็ เงนิ ได้ง่าย ประเทศท่มี ีความเจริญกา้ วหนา้ ในทางเศรษฐกจิ มาก ๆ เช่น ประเทศ
ในยุโรปและอเมริกายังมี การโอนเงินกันทางโทรศัพท์ ทางคอมพิวเตอร์ ซ่ึงในอนาคตอาจจะนับรวมอยู่ในประเภทของเงินต่อไป
เนื่องจากวิวัฒนาการของเงินนั้นยังคงมีอยู่เรื่อย ๆ ไม่ส้ินสดุ เพียงเท่านี้ สำหรับประเทศไทยน้ันได้มีวิวฒั นาการมาตั้งแตโ่ บราณ
เช่นเดียวกัน ในสมัยโบราณการผลิต เป็นแบบเลี้ยงตัวเอง การค้าขายแลกเปลี่ยนมีน้อย ความจำเป็นในการใช้เงินมีไม่มากนัก
อย่างไรก็ตาม มีหลักฐานว่า มีการใช้เงินตรามาเป็นเวลานานแล้วตั้งแต่ก่อนสมัยทวารวดี ศรีวิชัย ในสมัยสุโขทัย ซึ่งการค้า
เจริญรุง่ เรืองจนถงึ สมัยอยธุ ยาและรตั นโกสนิ ทร์ มไิ ดม้ กี ารเปล่ยี นแปลงระบบการเงนิ มากนัก จนกระทง่ั ในรชั กาลพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั (รัชกาลท่ี 4) ได้เปิดประตูการค้ากับต่างประเทศ มากยิ่งขึ้น มีการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงใน พ.ศ. 2398
ให้สิทธิแก่ชาวอังกฤษที่จะมาทำการค้ากับคนไทยได้ โดยเสรีและก็มีประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศที่ได้เข้ามาทำสัญญาใน
ทำนองเดียวกัน ทำให้ปริมาณเงิน ที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับปริมาณการค้าและเงินที่ใช้ในสมัยนั้นผลิตโดยแรงงานคนจึงผลิตไดเ้ ป็น
จำนวนน้อย ต่อมาจึงมีการผลิตโดยใช้เครื่องจักรเป็นครั้งแรก ซึ่งเป็นเครื่องจักรที่พระนางเจ้าวิคตอเรีย ราชินีแห่งอังกฤษ ถวาย
เป็นของขวัญแด่พระเจ้ากรุงสยาม ผลิตเหรียญออกมาใช้ครั้งแรก เป็นเหรียญเงิน 4 ชนิด คือ หนึ่งบาท กึ่งบาท หนึ่งสลึง และ
หนงึ่ เฟ้ือง มเี หรยี ญทองแดง 2 ขนาดเรยี กว่า ซีกและเสย้ี ว มเี หรียญดีบุก 2 ขนาด ให้เป็นเงนิ ย่อยแทนเบ้ยี เรียกว่า อฐั และโสฬส
และมที องคำอกี 3 ขนาด เรียกวา่ ทศ พศิ และพัดดงึ ส์ นอกจากนย้ี งั มกี ารพมิ พ์กระดาษหรือธนบัตรขน้ึ อีกดว้ ย เรียกว่า “หมาย”
ซึ่งมีอยู่ 3 ราคา คือ ใบละเฟื้อง ใบละสลึง และใบละแปดสิบบาท ซึ่งสามารถนำมาแลกเป็นเหรียญกษาปณ์ได้ที่พระคลังมหา
สมบัติ และได้ มีการจ่ายเบีย้ หวัดให้แก่ข้าราชการ เรียกว่า ใบพระราชทานเงินตรา ซึ่งสามารถนำมาแลกเป็นเหรียญกษาปณไ์ ด้
เช่นเดียวกนั ดังน้ัน เงินกระดาษท้ัง 2 ชนิดน้จี ึงมลี กั ษณะคล้ายเชค็ และไม่นยิ มใชแ้ ลกเปลีย่ นกนั ส่วนมากจะนำไปข้ึนเป็นเหรียญ
กษาปณ์จากพระคลังมหาสมบัติหมด ในที่สุดก็เลิกใช้ไปเมื่อสิน้ รัชกาลท่ี 4 ในสมัยรัชกาลที่ 5 แร่ดีบุกและทองแดงมรี าคาสูงขนึ้
ทำให้ราษฎรพากนั หลอมเป็นโลหะเพื่อส่งขาย ต่างประเทศ จึงขาดแคลนเงินตราเป็นจำนวนมาก ต่อมาได้มีธนาคารพาณิชยเ์ ขา้
มาเริ่มดำเนินการ ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก ได้แก่ ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ ใน พ.ศ. 2431 รัชกาลท่ี 5 ได้โปรดให้
ประกาศใช้พระราชบัญญัตธิ นบัตร เม่ือวนั ท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2445 (ร.ศ. 121) และโปรดใหต้ ง้ั กรมธนบัตรขึน้ รบั ผดิ ชอบในการ
ออกธนบัตรรวม 5 ชนิด ได้แก่ ใบละ 5, 10, 20, 100 และ 1,000 บาท ตามลำดับ พิมพ์โดยบริษัท โทมัส เดอ ลารู (Thomas
de La Rue) ประเทศอังกฤษ และต่อมาเนื่องจากการค้า ได้เจริญมากขึ้น การที่มีหน่วยเงินแบบดั้งเดิมคือ ชั่ง ตำลึง บาท สลึง
เฟื้อง และโสฬสไม่สะดวกในการ ลงบัญชี จึงมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นระบบบาท สตางค์หรอื ระบบหนึ่งส่วนต่อร้อยส่วนโดยได้
ตรา พระราชบัญญัติมาตราทองคำ พ.ศ. 2451 (ร.ศ. 127) ขึ้น และได้เพิ่มสตางค์ปลีก ได้ทำเหรียญกษาปณ์ ทองขาวและ
ทองแดงข้ึน 3 ชนิด คือ 10 สตางค์ 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ และประชาชนชาวไทยกเ็ ร่ิมยอมรบั ธนบตั รเปน็ เงินตราใช้หมนุ เวยี น
ในทอ้ งตลาดตง้ั แต่นัน้ เป็นต้นมา จนกระท่งั ในปัจจบุ นั น้ี เมื่อกิจการ ธนาคารพาณชิ ยเ์ จริญรงุ่ เรอื งขนึ้ เงินฝากกระแสรายวันก็เริ่มมี
บทบาทขึ้นและเร่ิมมกี ารใช้เชค็ กันมากขึ้น นอกจากนย้ี ังมกี ารใช้บตั รเครดิตของธนาคารและสถาบันการเงนิ ตา่ ง ๆ ทง้ั ในและนอก
ประเทศ จากวิวัฒนาการของเงิน จะเห็นได้ว่า เงินที่มีคุณสมบัติไม่ดีก็ค่อย ๆ เลิกใช้กันไปในที่สุด และเงิน ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมี
คณุ สมบตั ิของเงนิ ท่ีดีดงั น้ี
3.3 คณุ สมบตั ิของเงนิ
1. เป็นที่ยอมรับในสังคม คือ สามารถใช้ซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ ได้และเป็นที่ยอมรับในการ ชำระหนี้ ซึ่งเป็นคุณสมบัติท่ี
สำคญั ท่ีสดุ เพราะถา้ ไม่มีคนยอมรับก็ไมส่ ามารถใช้จา่ ยส่ิงของได้
2. มคี วามทนทาน ไม่เน่าเป่อื ยหรือเสยี หายไดง้ ่ายเมื่อเกบ็ เอาไวน้ าน ๆ หรือเมื่อมีการเปลย่ี นมอื เพราะเงินยอ่ มมีการหมุนเวียน
ในท้องตลาดจากมือหนึ่งไปสู่มือหนึ่งเสมอ เช่น สิ่งของต่าง ๆ เป็นหนังสัตว์ ใบชา อาจขึ้นรา หรือเปลือกหอยอาจแตกหักได้
ดังนั้น เหรียญที่เป็นโลหะส่วนมากจะมีการนำไปผสมกับ โลหะอื่น ๆ บางชนิดเพื่อให้ทนทานยิ่งขึ้น หรือถ้าเป็นธนบัตรก็จะใช้
กระดาษที่มคี วามเหนียวและทนทาน กว่ากระดาษทว่ั ไป มาทำธนบัตร

3. แบ่งเป็นหนว่ ยยอ่ ยได้ง่าย แบง่ เปน็ หน่วยย่อยไดง้ ่ายและจะตอ้ งเหมือนกนั ทกุ หนว่ ย กลา่ วคอื ตอ้ งมีมาตรฐานท้ังดา้ นรูปรา่ ง
น้ำหนัก และคุณภาพ ไมเ่ ชน่ น้นั จะทำให้เกิดความสับสนได้ จะเห็นไดว้ ่าสงิ่ ของท่ใี ชเ้ ป็นเงินต่าง ๆ สว่ นใหญ่ไม่มีคุณสมบัตินี้จึงได้
เลกิ ใชไ้ ปในทส่ี ดุ
4. เป็นส่ิงที่หายาก เปน็ สิง่ ที่หายากและยากต่อการปลอมแปลง กล่าวคือ จะต้องมปี รมิ าณจำกัด เพราะถ้าหางา่ ยจะไม่มีค่าและ
อาจจะมีการปลอมแปลงได้ง่าย ดังนั้นจะเห็นได้ว่าในการทำเงินเหรียญจะมี การยกขอบหรือทำลวดลายที่ขอบ ในการพิมพ์
ธนบตั รก็จะทำเปน็ ลายน้ำ เพ่อื ใหเ้ หน็ ลกั ษณะของเงิน แต่ละชนดิ ไดช้ ดั เจนย่ิงข้นึ และยากต่อการปลอมแปลง
5. สะดวกสบายในการใช้จ่าย เงินควรทำจากวัสดุที่มีน้ำหนักเบา มีขนาดพอเหมาะเพื่อสะดวก แก่การแลกเปลี่ยน กล่าวคือ
จะต้องไมห่ นักหรอื ใหญ่เกนิ ไปจนยากต่อการพกพาและไม่เลก็ เกินไปจนกระทั่งหยบิ ไมต่ ดิ หรือทำให้ สูญหายไดง้ ่าย
3.4 หนา้ ทข่ี องเงนิ
หนา้ ทีข่ องเงนิ ในระบบเศรษฐกิจมี 4 ประการ ดังน้ี
1. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of Exchange) คือ แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ เป็นเงินแล้วจึงนำเงินไปซ้ือ
สินค้าและบริการอนื่ ๆ หน้าทีน่ ้ีนับว่าเป็นหน้าที่ท่มี ีความสำคัญมากทีส่ ดุ จะเห็นได้วา่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจสว่ นมากต้องกำหนด
เปน็ ตวั เงนิ ท้ังนั้น เชน่ ราคาสนิ คา้ และบริการ ค่าจา้ งแรงงาน ค่าเชา่ ทดี่ นิ คา่ ใชจ้ ่ายและรายได้ตา่ ง ๆ
2. เป็นมาตรฐานและหน่วยในการวัดมูลค่า (Standard of Value and Unit of Account) เมื่อมี การแลกเปลี่ยนสินค้า
จำเป็นตอ้ งมหี น่วยในการวัดมูลค่าสินค้าแต่ละชนิดไม่เหมือนกัน เช่น กำหนดให้ไข่ไก่ ฟองละ 4 บาท ไก่ตัวละ 150 บาท ค่าตดั
ผมครัง้ ละ 150 บาท เป็นต้น และเป็นประโยชน์เพราะสามารถ รวมมูลค่าส่ิงของตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกันไดเ้ นือ่ งจากมีหน่วยเดยี วกนั
3. เป็นมาตรฐานในการชำระหนีภ้ ายหนา้ (Standard of Deferred Payments) การใช้เงิน ทำให้สามารถเลื่อนเวลาชำระ
หนีไ้ ปในอนาคตได้ ทำให้มีการซ้อื ขายเงินเช่ือเกดิ ขึ้น เชน่ ในการทำสัญญา ซอ้ื ขายสินค้าต่าง ๆ จะตอ้ งทำความตกลงว่าจะชำระ
หนี้เมื่อได้รับมอบงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว การตกลง ทำสัญญานี้จะต้องตกลงกันเป็นตัวเงิน ถ้าตกลงกันเป็นสิ่งของจะค่อนข้าง
ลำบากเพราะคุณภาพและราคา ของสนิ คา้ อาจเปลย่ี นแปลงหรือเน่าเสยี ได้
4. เปน็ เครื่องสะสมมูลคา่ (Store of Value) กล่าวคอื สะสมเงินในปัจจุบันน้เี พอื่ ใชใ้ นโอกาสต่อไป เช่น เก็บไว้ใชเ้ มือ่ ยามป่วย
ไข้ หรือยามชรา เป็นต้น เหตุที่คนนิยมเก็บเงนิ ก็เพราะสามารถใชจ้ ่ายได้ทนั ที แต่มีข้อจำกัดอยูบ่ ้างคอื ไม่ก่อให้เกิดผลกำไรมาก
นักอาจจะได้ดอกเบี้ยบา้ งเล็กนอ้ ยและคา่ ของเงินอาจจะ เปลี่ยนแปลงไปเมือ่ เทียบกับระดับราคาสินค้า เช่น ค่าของเงินจะลดลง
เมื่อระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้น สำหรับหน้าที่ของเงินนั้นเป็นหน้าที่ที่ช่วยให้การดำเนินการของระบบเศรษฐกิจเป็นไปได้
ด้วยดี กล่าวคอื เป็นเครื่องหล่อลนื่ ของระบบเศรษฐกจิ และสนองความต้องการของผทู้ ี่ตอ้ งการถอื เงินและชุมชน กลมุ่ ตา่ ง ๆ
3.5 ประเภทของเงิน
ปัจจบุ นั ประเภทของเงนิ ที่ใชใ้ นประเทศไทยมอี ยู่ 3 ชนิด คือ
1. เหรียญกษาปณ์ (Coins) หมายถึง เงินเหรียญที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย การออกเหรียญกษาปณ์ เป็นหน้าที่ของกรมธนา
รักษ์ กระทรวงการคลงั สำหรับชนิด ราคา โลหะ อตั ราเนือ้ โลหะ น้ำหนัก ขนาด ลวดลายและลกั ษณะอ่นื ๆ ของเหรยี ญกษาปณ์
นัน้ ให้กำหนดโดยกฎกระทรวงการคลงั
2. ธนบัตร (Bill) หมายถึง เงินที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ธนบัตรที่ออกใช้ ในปัจจุบันเป็นธนบตั รของรัฐบาล ซึ่งธนาคารแหง่
ประเทศไทยเป็นผจู้ ดั ทำและนำออกใช้
3. เงนิ ฝากธนาคารประเภทฝากกระแสรายวัน หรอื เงนิ ฝากเผ่อื เรยี ก (Current Account) คอื เงนิ ฝากกระแสรายวันซึง่ จ่าย
โอนกันด้วยเชค็ เงนิ ฝากประเภทนี้มอี ำนาจซอ้ื เชน่ เดียวกบั ธนบตั รและ เหรยี ญกษาปณ์
4. ครใู ชเ้ ทคนคิ การบรรยาย ความสำคญั ของเงินตอ่ ระบบเศรษฐกจิ
เงนิ มีความสำคญั ในทางเศรษฐกจิ เป็นอย่างมาก เพราะการเปล่ียนแปลงปริมาณเงนิ จะก่อใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงในระดบั รายได้
ผลผลิตและการจ้างงาน กล่าวคือ ถ้าพิจารณาด้านความต้องการใช้จ่าย มวลรวม เมื่อปริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ โดย
สง่ิ อืน่ ๆ คงท่ี อตั ราดอกเบ้ยี จะลดลง ทำให้ ความต้องการในการลงทุนมแี นวโนม้ เพิม่ ขึ้น การจ้างงานเพม่ิ ขึ้น ซึง่ มีผลทำใหร้ ายได้
ประชาชาติเพิ่มขึ้น ในทางตรงข้าม ถ้าปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลดลง โดยสิ่งอื่น ๆ คงที่ อัตราดอกเบี้ยจะเพิ่มขึ้น ทำให้
ความต้องการในการลงทุนมีแนวโน้มลดลง ส่งผลให้รายไดป้ ระชาชาติลดลง ดังนั้น เงินจึงมีความสำคัญต่อ ระบบเศรษฐกิจและ
ความเปน็ อยขู่ องมนษุ ยเ์ ป็นอยา่ งมาก กลา่ วคอื

1. ความสำคัญในด้านการผลิต ผู้ประกอบการมกั แสวงหาเงินตรามาลงทุนประกอบการผลิต หรือทำการค้าโดยหวังผลกำไร
ตอบแทนเปน็ เงนิ ตรา หากผปู้ ระกอบการคาดวา่ จะได้รับกำไรสูง ยอ่ มมี การลงทนุ เพม่ิ มากขึ้น การใชจ้ ่ายลงทุนย่อมเป็นผลดีต่อ
สังคม ช่วยให้ผู้บริโภคไดร้ ับสินคา้ และบรกิ ารเพิ่มข้นึ
2. ความสำคัญในด้านการแลกเปลี่ยนและการอุปโภคบริโภค เนื่องจากเงนิ ตราเปน็ สิ่งที่มนุษย์ ยอมรับและใช้เป็นส่ือกลางใน
การซื้อขายแลกเปลี่ยนกันอย่างแพร่หลาย เงินตราจึงเป็นสิ่งกระตุ้นให้สินค้า จากแหล่งผลิตสู่มือผู้บริโภคได้รวดเร็วยิ่งข้ึน
ตามปกติผู้บริโภคจะมีรายได้เป็นเงินตราในรูปของเงินเดือน ค่าจ้าง ดอกเบี้ย หรือค่าเช่า สิ่งเหล่านี้ช่วยให้ผู้บริโภคใช้จ่ายเงิน
รายได้ไปแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ มาบำบัดความต้องการได้มากกว่าการแลกเปลี่ยนแบบดั้งเดิม คือ การแลกเปลี่ยนสิ่งของ
กับสิ่งของ และ ระบบเศรษฐกิจท่ีใชเ้ งินตราในการแลกเปลี่ยนนัน้ ช่วยให้ระบบการแลกเปลี่ยนสมำ่ เสมอ ชุมชนมีมาตรฐาน การ
ครองชพี สูงขนึ้ เพราะช่วยให้มีการผลิตสินคา้ ส่มู ือผบู้ รโิ ภคสงู ข้ึน
3. ความสำคัญในด้านสงั คม การที่มนษุ ย์นยิ มใช้เงินตรากันอย่างกว้างขวางเพราะสามารถ ซ้ือขายแลกเปลย่ี นสินคา้ และบรกิ าร
ได้ทุกชนิด เงินตราจะเป็นหลักประกันที่มั่นคงในระบบการเปลี่ยนแปลง แต่ละคนจึงเลือกทำงานแต่เฉพาะที่ตนมีความชำนาญ
เพือ่ ใหไ้ ดม้ าซง่ึ เงินตราไปใช้จา่ ย การแบง่ งานกันทำเป็นลักษณะของสงั คมปัจจบุ นั ซึ่งกอ่ ใหเ้ กิดการผลิต การค้า และความเป็นอยู่
ของสังคมมนษุ ยส์ งู ยง่ิ ขนึ้
5. ครูใชส้ ่อื PowerPoint ประกอบเทคนคิ การบรรยาย ตลาดการเงิน
ตลาดการเงิน (Financial Market) คอื ตลาดท่อี ำนวยความสะดวกในการโอนเงินจาก หน่วยเศรษฐกจิ ทมี่ ีเงินออมไปยังหน่วย
เศรษฐกิจทตี่ อ้ งการเงินออมเพ่ือนำไปลงทนุ
ตลาดการเงนิ ประกอบดว้ ยตลาดเงนิ และตลาดทุน
1. ตลาดเงิน (Money Market) คือ ตลาดท่มี กี ารระดมเงินทุนและการใหส้ นิ เชื่อระยะสน้ั ไม่เกนิ 1 ปี ไดแ้ ก่ การโอนเงิน การ
ซื้อขายหลกั ทรพั ย์ทางการเงินทม่ี ีอายกุ ารไถถ่ อนระยะสนั้ เชน่ ต๋ัวเงนิ คงคลงั ต๋ัวแลกเงนิ ต๋วั สญั ญาใช้เงิน เป็นต้น ตลาดเงินเปน็ ท่ี
รวมกลไกที่ทำให้การหมุนเวียนของเงินทุนระยะสั้น เป็นไปด้วยดี ได้แก่ การให้สินเชื่อแก่บุคคล การจัดหาทุนเพื่อก าร
ประกอบการของธรุ กิจ การจดั หาเงินทุน ระยะส้นั ของภาครัฐบาล ตลาดเงนิ ยงั แบ่งออกเป็น
1) ตลาดเงนิ ในระบบ ประกอบดว้ ย สถาบนั การเงินที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมาย ได้แก่ ธนาคารกลาง ธนาคารพาณิชย์ สถาบนั เฉพาะกิจ
ของรัฐ บริษัทเงินทุนและหลักทรัพย์ กิจกรรมหลักของตลาดเงินในระบบ ได้แก่ การกู้โดยตรงหรือเบิกเกินบัญชี (Over Draft)
การกู้ยมื ระหวา่ งธนาคารด้วยกันเอง (Inter Bank) การกโู้ ดยขายตราสารทางการเงนิ ตั๋วสัญญาใชเ้ งนิ ตัว๋ เงินคลงั ตราสารการค้า
และ ตราสารทธี่ นาคารรบั รอง
2) ตลาดเงินนอกระบบ เป็นแหล่งการกู้ยืมที่ไม่มีกฎหมายรองรับสถานภาพของผู้ให้กู้ กิจกรรมที่สำคัญของตลาดเงินประเภทนี้
ไดแ้ ก่ การเลน่ แชร์ การใหก้ ู้ และการขายฝาก
2. ตลาดทุน (Capital Market) คือ ตลาดที่มีการระดมเงินออมและให้สินเชื่อในระยะยาว ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ได้แก่ เงินฝาก
ประจำ หุ้นสามัญ หุ้นกู้ และพนั ธบัตรทั้งของรฐั บาลและเอกชน โดยอาจแบ่งเปน็ ตลาดสินเช่ือท่ัวไป และตลาดหลักทรัพย์ ตลาด
สินเชื่อทั่วไป ซึ่งประกอบด้วย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทประกันชีวิต และบริษัทเงินทุน ส่วนตลาดหลักทรัพย์ แบ่งออกเป็นตลาด
ย่อยได้ 2 ตลาด คอื
1) ตลาดแรก (Primary Market) คอื ตลาดที่ทำการซอื้ ขายหลักทรัพย์ท่ีออกใหม่ เป็นการซอื้ ขายทหี่ น่วยธุรกิจผู้ออกหลักทรัพย์
ได้รับเงินทุนจากผ้ซู อื้ หลกั ทรัพย์ใหม่ ทางเศรษฐศาสตรถ์ อื ว่าการซ้ือขาย หลักทรัพย์ในตลาดนีเ้ ป็นการลงทนุ ทแี่ ท้จรงิ
2) ตลาดรอง (Secondary Market) คือ ตลาดทท่ี ำการซอ้ื ขายหลกั ทรัพย์เก่า ในทางเศรษฐศาสตร์ ถือวา่ ไม่ใชก่ ารลงทุนท่ีแท้จริง
เป็นเพียงการเปลี่ยนมือระหว่างผู้ถือหลักทรัพย์โดยหน่วยธุรกิจผู้ออก หลักทรัพย์นั้น ๆ ไม่ได้รับเงินทุนจากการซ้ือขายเหล่าน้นั
อย่างไรก็ตาม ตลาดรองก็มีบทบาทเกื้อกูล ต่อตลาดแรก เพราะทำให้ผู้ซื้อหลักทรัพย์ในตลาดแรก มีความมั่นใจว่าจะสามารถ
เปลี่ยนหลักทรัพย์ เป็นเงินสดได้เมื่อต้องการ ปัจจุบันการแบ่งตลาดเงินและตลาดทุนออกจากกันชัดเจนทำได้ค่อนข้างยาก
เพราะสถาบันการเงิน แต่ละแห่งมักมีธรุ กรรมที่เกีย่ วข้องทั้งสินเชื่อระยะสั้นและระยะยาว ในการศึกษาจึงพิจารณารวมกันเป็น
ตลาดการเงนิ
5.1 ความสำคัญของตลาดการเงิน
1. ระดมทุนจากหน่วยเศรษฐกิจทีม่ ีเงินออม หากไม่มีตลาดการเงิน เงินส่วนท่ีเหลือจากการใชจ้ ่าย ของหน่วยเศรษฐกิจบางสว่ น
จะถูกถือไว้โดยไม่มีผลประโยชน์งอกเงย เมื่อมีตลาดการเงิน หน่วยเศรษฐกิจ เหล่านั้นก็สามารถนำเงินออกไปฝากไวก้ ับสถาบัน

การเงินในรูปเงินฝากประเภทต่าง ๆ และสามารถ แลกเปลี่ยนเป็นหลักทรัพยป์ ระเภทต่าง ๆ ได้ตามความเหมาะสมโดยได้รับ
ผลตอบแทน
2. เกิดการจัดสรรเงินทุนอย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยเศรษฐกิจใดที่ต้องการลงทุน ถ้าไม่มีเงินออม ของตนก็สามารถหาได้ จาก
ตลาดการเงิน โดยจ่ายค่าตอบแทนแก่เจ้าของเงินทุน และจ่ายค่าใช้จ่ายใน การดำเนินงานของสถาบันการเงิน ดังนั้น โครงการ
ลงทุนที่อาศัยเงินทุนจากตลาดการเงิน จึงต้องมีอัตรา ผลตอบแทนสูงเพียงพอเพื่อให้คุ้มกับต้นทุนเงินทุนที่กู้ยืมมา ทำให้ระบบ
เศรษฐกิจมกี ารใชเ้ งนิ ทนุ อย่างมี ประสทิ ธิภาพ
3. รักษาอัตราการเติบโตของระบบเศรษฐกิจ สินเชื่อจากตลาดการเงินมีส่วนช่วยให้การบริโภค และการผลิตเป็นไปอย่าง
สม่ำเสมอ หากขาดตลาดการเงิน อุปสงค์มวลรวมจะลดต่ำลง ในช่วงที่เกิดภาวะ เศรษฐกิจตกต่ำ แต่เมื่อมตี ลาดการเงินที่ปลอ่ ย
สนิ เช่อื ได้อยา่ งพอเพยี งในช่วงเวลาท่เี หมาะสม กจ็ ะช่วยรักษา ระดบั การใชจ้ า่ ยมวลรวมไมใ่ ห้ตกตำ่ ลง
4. ระบบเศรษฐกิจท่มี ตี ลาดการเงินที่ได้รับการพัฒนา ธนาคารกลางสามารถใช้นโยบายการเงนิ เพอ่ื ปรบั สภาวะทางเศรษฐกิจให้
เป็นไปตามทต่ี อ้ งการได้ เพ่อื แก้ปญั หาเศรษฐกจิ ระดบั มหภาค
5.2 ทฤษฎีการเงิน
ปรมิ าณเงนิ หรืออปุ ทานของเงิน (Supply of Money: Ms) หมายถงึ ปริมาณเงินท่ีหมุนเวียนอยู่ ในระบบเศรษฐกจิ ในขณะใด
ขณะหนึ่ง กล่าวคือ เนื่องจากแต่ละประเทศใช้เงินเป็นสื่อกลางในการ แลกเปลี่ยนหลายชนิด บางชนิดเป็นที่ยอมรับอย่าง
แพร่หลายในทุกประเทศ เช่น ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ เป็นต้น แต่ บางชนิดก็ยอมรับมากน้อยไม่เท่ากันในแต่ละประเทศ เช่น
เช็ค ดราฟต์ เป็นต้น ดังนั้นคำว่า ปริมาณเงิน หรืออุปทานของเงินในประเทศต่าง ๆ จึงแตกต่างกัน โดยเฉพาะในกรณีของ
ประเทศไทยนัน้ ธนาคาร แหง่ ประเทศไทยไดก้ ำหนดความหมายของปริมาณเงนิ ไว้ดงั น้ี
5.2.1 ปริมาณเงินในความหมายแคบ (Narrow Money) หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร และเงินฝากกระแส
รายวัน รวมกันทั้งหมดทใ่ี ชห้ มนุ เวียนอยู่ในมือเอกชน องคก์ ร ห้างรา้ น บรษิ ัท และหน่วยราชการตา่ ง ๆ ในขณะใดขณะหน่ึง โดย
ไมน่ บั รวมเงินทีอ่ ยู่ในมือของธนาคารและรฐั บาล เพราะเงนิ เหล่านยี้ งั ไมไ่ ด้ถูกนำออกมาใชห้ มุนเวียน การกำหนดปริมาณเงินตาม
ความหมายอย่างแคบนี้ มวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ ใชว้ ดั อำนาจซ้อื ของประชาชนในระบบเศรษฐกจิ ถ้าปรมิ าณเงนิ เพิม่ ข้นึ อำนาจซื้อของ
ประชาชนในระบบเศรษฐกจิ ก็จะเพิม่ ข้นึ ในทางตรงขา้ ม ถา้ ปริมาณเงินลดลงอำนาจซ้ือของประชาชน ในระบบเศรษฐกจิ จะลดลง
5.2.2 ปริมาณเงินในความหมายกว้าง (Broad Money) เป็นแนวคดิ ของนักเศรษฐศาสตร์ สมัยใหม่ทเ่ี ชอื่ วา่ บทบาทของเงิน
ไม่ได้มีไว้เพื่อใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการเท่านั้น แต่มีบทบาทในการ เป็นเครื่องรักษามูลค่าด้วย นั่นคือมีความต้องการถือเงินไว้
เพอ่ื เกง็ กำไร ดงั นน้ั นกั เศรษฐศาสตร์สมยั ใหมจ่ งึ เห็นว่า ความหมายของปริมาณเงินควรขยายเพม่ิ เตมิ ออกไป โดยรวมหลกั ทรพั ย์
ทางการเงินประเภทอน่ื ทม่ี ี สภาพคลอ่ งสงู ได้แก่ เงนิ ฝากออมทรพั ย์ และเงินฝากประจำ เข้าไว้ในปรมิ าณเงนิ ด้วย ฉะนน้ั ปริมาณ
เงิน ในความหมายกวา้ งจึงประกอบดว้ ยเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ และ เงินฝากประจำ
ที่อยใู่ นมือของหน่วยเศรษฐกิจในขณะใดขณะหน่ึง
ดังนั้น การวิเคราะห์อุปทานของเงินในทางทฤษฎีโดยทั่วไป มักจะใช้ปริมาณเงินในความหมายกว้าง นั่นคือ ปริมาณเงินท่ี
หมุนเวียนอยู่ในระบบเศรษฐกิจในขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งจะมีจำนวนเท่าใดก็ตาม จะไม่ขึ้นอยู่กับอัตราดอกเบี้ย แต่ขึ้นอยู่กับ
นโยบายการเงินของรัฐบาลหรือธนาคารกลาง เมื่อเป็นเช่นนี้ เส้นอุปทานของเงินจึงไม่มีความยืดหยุ่นต่ออัตราดอกเบี้ย และมี
ลักษณะเปน็ เส้นตรงตงั้ ฉากกบั แกนนอน ดงั รูป

เสน้ ปริมาณเงินหรืออปุ ทานของเงนิ (M )

s

5.3 ความต้องการถือเงนิ หรืออุปสงคข์ องเงิน
อุปสงค์ของการถือเงนิ คือ ปริมาณเงินทั้งส้ินที่ระบบเศรษฐกิจต้องการถอื ไว้ในขณะใดขณะหนึง่ ซึ่งทฤษฎีการเงินของเคนส์ ได้
จำแนกความตอ้ งการถือเงินหรืออปุ สงคข์ องเงินไว้ 3 ประเภท ดงั นี้
5.3.1 ความต้องการถือเงินเพื่อใช้จ่ายประจำวัน (Transaction Demand for Money) เช่น ค่าอาหาร ค่าพาหนะ ค่า
เส้ือผ้า ค่าใช้จ่ายในกิจการของธุรกิจ ค่าของใช้ภายในสำนักงาน เป็นต้น จะมีมากหรือ น้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับรายได้ อุปนิสัยใน
การบริโภค และระยะเวลาทีไ่ ดร้ ับรายไดน้ ั้น กล่าวคือ คนที่มีรายได้ เดือนละ 7,500 บาท ก็อาจจะมคี วามตอ้ งการถือเงินเพื่อใช้
จา่ ยประจำวนั มากกว่าคนทมี่ ีรายไดเ้ ดอื นละ 4,000 บาท หรอื คนท่มี นี ิสยั ใช้จ่ายฟุม่ เฟือยกอ็ าจมีความต้องการถือเงินมากกว่าคน
ทีม่ ีนิสยั ประหยดั ระยะเวลาท่ีไดร้ บั รายไดก้ เ็ ช่นเดยี วกนั คนทีไ่ ด้รับรายไดเ้ ป็นรายเดือนก็ต้องถอื เงินไว้จำนวนหนึ่งเพอ่ื เฉลี่ยไว้ ใช้
ทัง้ เดอื น ขณะที่คนมีรายไดเ้ ป็นรายวนั อาจมีความจำเปน็ จะต้องถอื เงนิ ประเภทนน้ี อ้ ยมาก สำหรบั ธรุ กิจ ย่อมตอ้ งการเงินจำนวน
หนึ่งไว้เป็นค่าใช้จ่าย เงินเดือน วัตถุดิบ สาธารณูปโภค เป็นต้น ทั้งนี้อัตราดอกเบีย้ จะไม่มีความสัมพันธ์กับความต้องการถอื เงนิ
ประเภทน้ี
5.3.2 ความต้องการถือเงินเพื่อใช้จ่ายยามฉุกเฉิน (Precautionary Demand for Money) ได้แก่ เงินที่เก็บไว้ในกรณีท่ี
เกิดอุบัตเิ หตุ เจ็บป่วย หรือว่างงาน เพื่อเป็นการไม่ประมาทคนส่วนมากจะมคี วามต้องการ ถือเงินไว้จำนวนหนึ่งเพื่อเหตุเหล่านี้
ซึ่งจะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับรายได้ อุปนิสัยส่วนบุคคล และสวัสดิการ ทางสังคมของประเทศ ในประเทศที่เจริญแล้วมักจะมี
โครงการสวัสดกิ ารทางสังคม เพอ่ื ช่วยเหลือคนงาน เมอื่ ยามชราหรือเมอื่ เกิดอบุ ตั เิ หตุ เจ็บปว่ ย โครงการสวสั ดิการทางสงั คมทำให้
ความต้องการถือเงินประเภทนี้ ลดน้อยลง ความต้องการถือเงินเพื่อใช้จ่ายยามฉุกเฉินจะมีความสัมพันธ์กับรายได้เช่นเดียวกับ
ความต้องการ ถือเงินเพื่อใชจ้ า่ ยประจำวนั และอัตราดอกเบ้ยี ไมม่ คี วามสัมพันธก์ บั ความตอ้ งการถอื เงนิ ประเภทนี้
5.3.3 ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไร (Speculative Demand for Money) หมายถึง ความต้องการถือเงินไว้เพื่อเส่ยี ง
หากำไรจากการซื้อขายหลักทรัพย์ โดยจะซื้อขายหลักทรัพย์ในขณะที่มี ราคาต่ำ แล้วนำออกขายเมื่อหลักทรัพย์มีราคาสูงข้ึน
ส่วนต่างของราคาซื้อกับราคาขายก็คือกำไรที่จะได้รับ ซึ่งโดยปกติราคาหลักทรัพย์จะมีความสัมพันธ์ในทางตรงข้ามกับอัตรา
ดอกเบี้ย กลา่ วคอื เม่อื อตั ราดอกเบี้ยสูง ราคาหลักทรพั ยจ์ ะต่ำ และเม่อื อัตราดอกเบ้ียต่ำ ราคาหลกั ทรัพย์ก็จะสูง ดังนั้น เพอ่ื ใหไ้ ด้
กำไร บุคคลจะซื้อ หลักทรัพย์เป็นจำนวนมาก เมื่อหลักทรัพย์มรี าคาต่ำและอัตราดอกเบีย้ สูง ก็จะเหลือเงินที่ถือไว้เพื่อการ เก็ง
กำไรนอ้ ย การทบี่ คุ คลถอื หลกั ทรัพยไ์ วม้ ากในขณะที่อัตราดอกเบ้ยี สงู เพราะคาดว่าในอนาคตอตั รา ดอกเบ้ียจะตำ่ ลง จะมีผลทำ
ให้ราคาหลักทรัพยส์ ูงข้นึ เมือ่ นำหลักทรัพยอ์ อกขายก็จะได้กำไร ในทางตรงกนั ข้าม ถ้าหลกั ทรพั ย์มีราคาสูงและอัตราดอกเบ้ียต่ำ
บุคคลจะไม่ซ้ือหลักทรัพยเ์ ลยก็จะเหลือเงินท่ีถือไว้ เพื่อการเก็งกำไรเป็นจำนวนมาก ฉะนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความต้องการถือเงิน
เพือ่ เก็งกำไร จะมีความสัมพันธ์ ตรงกันขา้ มกับอตั ราดอกเบ้ีย ดังรปู

เสน้ อุปสงคข์ องความตอ้ งการถอื เงนิ เพอื่ เก็งกำไร

จากรปู Md คือ เสน้ อปุ สงค์ของความตอ้ งการถือเงินเพือ่ เกง็ กำไร มีลกั ษณะเปน็ เส้นทีล่ าดลงจาก ซา้ ยมือไปขวามือ ซึง่ หมายความ
ว่า เมื่ออัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ความต้องการถอื เงินเพ่ือเก็งกำไรของบุคคลและ หน่วยธุรกิจจะน้อยลง และถ้าอัตราดอกเบี้ยตำลง
ความต้องการถือเงินเพือ่ เก็งกำไรของบคุ คลและหน่วย ธุรกิจจะเพิม่ ขนึ้ กลา่ วคือ ณ ระดับอัตราดอกเบี้ย r0 ความต้องการถือเงิน
เพอ่ื เก็งกำไรจะมคี ่าเท่ากบั M0 เมอ่ื อตั ราดอกเบ้ียลดลงเป็น r1 ความต้องการถือเงินเพ่ือเก็งกำไรจะเพ่ิมขึน้ เป็น M1

5.4 ดลุ ยภาพของตลาดเงิน
เนื่องจากอุปสงค์ของการถือเงินมีความสมั พันธ์ในทางตรงกันข้ามกับอัตราดอกเบี้ย โดยที่อุปทาน ของเงินไม่มีความสัมพันธ์กับ
อตั ราดอกเบีย้ เพราะปริมาณเงนิ จะเปล่ยี นแปลงตามนโยบายของรัฐบาล ดงั น้ัน ดลุ ยภาพของตลาดเงนิ จะเกดิ ขน้ึ ณ ระดับที่อุป
สงค์ของการถอื เงินเท่ากบั อุปทานของเงนิ ดังรูป

ดุลยภาพของตลาดเงิน

จากรูป Md คือ เส้นอุปสงค์ของความต้องการถือเงิน และ Ms คือ เส้นอุปทานของเงิน ตัดกัน ณจุดดุลยภาพ E ปริมาณเงินจะ
เท่ากับ M ซึ่งเป็นปริมาณเงินท้ังหมดท่ีถืออยู่จริงและเทา่ กับปริมาณเงินที่ ต้องการถอื และอตั ราดอกเบีย้ ดุลยภาพของตลาดเงนิ
จะเท่ากับ r ถ้าอัตราดอกเบี้ยอยู่สูงกว่าดุลยภาพของ ตลาดเงิน เช่น r1 ปริมาณเงินที่ต้องการถือมีจำนวนน้อยกว่าปริมาณเงิน
ทั้งหมดที่ถืออยู่จริง จึงเป็นเหตุให้ ตลาดการเงินตอ้ งปรับลดอตั ราดอกเบี้ยลงจาก r1 เป็น r ซึ่งเป็นระดับดุลยภาพของตลาดเงิน
และจะไมล่ ดต่ำต่อไปอีก เพราะความต้องการถือเงนิ จะเท่ากบั ปรมิ าณเงนิ ทีถ่ ืออยู่จริง ในทางตรงขา้ ม ถ้าอัตราดอกเบ้ยี อยู่สูงขึ้น
จาก r2 เป็น r เพ่อื ลดอปุ สงคข์ องการถือเงินลง ณ ระดับดลุ ยภาพของตลาดเงนิ อัตราดอกเบีย้ จะไมส่ งู ข้ึนตอ่ ไปอีก
ฉะนั้นอาจกลา่ วได้ว่า ดุลยภาพของตลาดเงนิ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะอยู่เช่นนั้น ตราบใดทีอ่ ุปสงคข์ อง การถือเงินและอุปทานของเงนิ
ไม่เปล่ียนแปลง เหตุผลก็คอื ถ้าอตั ราดอกเบี้ยเปล่ียนแปลงไปจากดลุ ยภาพ ดว้ ยเหตุใดกต็ าม จะทำใหอ้ ุปสงคข์ องการถือเงินและ
อุปทานของเงนิ ขาดความสมดลุ อตั ราดอกเบย้ี ทเี่ ปลยี่ น ไปจากดุลยภาพจงึ ดำรงอยู่ไมไ่ ด้ ต้องเปลี่ยนแปลงอยเู่ รือ่ ย ๆ จนเกดิ ดลุ ย
ภาพของตลาดเงินอีกครั้งหน่ึง จึงจะหยุดนิ่ง อย่างไรก็ตาม ดุลยภาพของตลาดเงินจะเปลีย่ นแปลงไป ถ้าอุปสงค์ของการถือเงนิ
หรืออุปทานของเงิน อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง 2 อย่างเปลี่ยนแปลงไป และการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาดเงินจะมี
ผลกระทบ ต่อการลงทุน ซึ่งเป็นสว่ นหนึ่งของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม และการเปลี่ยนแปลงความต้องการใชจ้ ่าย มวลรวม
จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในผลผลิต รายได้และการจ้างงาน ด้วยเหตุนี้ การใช้นโยบายการเงิน จึงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ปรมิ าณเงนิ มีผลกระทบถึงการเปลีย่ นแปลงของผลผลิต รายได้และการจา้ งงาน
6. ครใู ชส้ อื่ PowerPoint ประกอบเทคนิคการบรรยาย ธนาคารพาณชิ ย์
ธนาคารพาณิชย์ (Commercial Bank) เป็นสถาบันการเงินที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของ ประเทศมาก เพราะเป็นสถาบนั
การเงนิ ท่ีสามารถระดมเงนิ ฝากและให้สินเช่ือมากกว่าสถาบันการเงินอืน่ ๆ ธนาคารพาณชิ ย์มบี ทบาทหน้าท่ีแตกต่างจากสถาบัน
การเงินทั่วไปประการหนึ่งคือ ธนาคารพาณิชย์รับฝาก เงินกระแสรายวัน ซึ่งจ่ายโอนโดยเช็ค แต่สถาบันการเงินเฉพาะอย่างไม่
สามารถกระทำการได้ หากกระทำการดังกล่าวถือว่าผดิ กฎหมาย หน้าที่นเ้ี องทที่ ำให้ธนาคารพาณิชยส์ ามารถสร้างเงินฝากข้ึนได้
เอง โดยอยู่ ภายใต้การควบคุมของเจ้าหน้าที่ทางการเงินของรัฐบาล คือ ธนาคารกลาง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความ เสียหายต่อ
เศรษฐกิจของประเทศ ธนาคารในประเทศไทยเริ่มขึ้นครั้งแรกเมื่อธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ได้เปิดดำเนินการเมื่อวันท่ี 2
ธนั วาคม พ.ศ. 2431 ธนาคารแห่งแรกทเ่ี ปน็ ของคนไทยเดิมชื่อวา่ “ธนาคารสยามกมั มาจล” และได้เปลยี่ นช่ือ เปน็ ธนาคารไทย
พาณิชย์เมื่อวันท่ี 27 มกราคม พ.ศ. 2482 มีทุนเริ่มแรก 3 ล้านบาท ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2449 กิจการธนาคารพาณิชย์มีความ
เจริญกา้ วหนา้ มรี ากฐานมน่ั คง ธนาคารพาณชิ ยจ์ ึงกลายเป็นสถาบนั การเงิน ทมี่ ีอทิ ธพิ ลต่อเศรษฐกจิ มากทสี่ ุด

การดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติธนาคารพาณิชย์ พ.ศ. 2505 และ 2522 (ฉบับ
ปรับปรงุ ) ซึ่งใหค้ ำจำกัดความของธนาคารพาณิชย์ไว้ว่า ธนาคารพาณิชย์ คือ ธนาคารที่ได้รบั อนญุ าตให้ประกอบธุรกิจ ประเภท
รับฝากเงนิ ที่ตอ้ งจ่ายคืนเม่ือทวงถาม หรือเม่ือหมดระยะ เวลาท่กี ำหนดไว้และใช้ประโยชน์ จากเงินน้นั ในทางหน่ึงหรือหลายทาง
เช่น การให้กู้ยื มการซื้ อขายหรื อเก็บเงินตามตั๋วแลกเงินหรือตราสารเปลีย่ นมืออืน่ ใด หรือการซื้อหรือขายเงิน ปริวรรตเงนิ ตรา
ตา่ งประเทศ เป็นตน้
ระบบของธนาคารพาณชิ ยท์ ีจ่ ัดตง้ั ขน้ึ ทน่ี ยิ มในปัจจบุ นั อาจจำแนกออกได้เปน็ 2 ระบบ ดงั น้ี
1. ระบบธนาคารเดีย่ วหรือระบบธนาคารเอกเทศ คอื ระบบธนาคารทแ่ี ต่ละธนาคารมีสำนกั งาน เพียงแหง่ เดียว ไม่มีสาขา ไม่
เกี่ยวข้องหรืออยู่ภายใต้การควบคุมของผู้หนึ่งผู้ใด หรือธนาคารหน่ึงธนาคารใด ส่วนใหญ่ตั้งขึ้นตามความต้องการทางเศรษฐกิจ
ของคนในทอ้ งถ่ินหนึ่ง ๆ โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ผลประโยชน์ ทางเศรษฐกจิ โดยสว่ นรวมของทอ้ งถนิ่ เป็นสำคัญ เช่น สหรฐั อเมริกา
เป็นประเทศหนึ่งท่มี รี ะบบธนาคารเด่ยี ว อยา่ งแพรห่ ลาย เน่อื งจากลักษณะการปกครองแบ่งออกเป็นมลรฐั อีกท้ังเพื่อส่งเสริมให้
กจิ การธนาคาร พาณิชยม์ ีการแขง่ ขันกันอย่างเสรี
2. ระบบธนาคารสาขา คือ ระบบที่ธนาคารแต่ละแห่งมีสาขาตั้งแต่ 1 สาขาขึ้นไป โดยกระจาย อยู่ในท้องที่ต่าง ๆ ท้ัง
ภายในประเทศและต่างประเทศ ระบบธนาคารสาขาจะบริหารโดยมีสำนักงานใหญ่ เป็นผู้วางนโยบายและควบคุมดูแลการ
ดำเนินงาน ประเทศต่าง ๆ ส่วนมากรวมท้งั ประเทศไทยใชร้ ะบบ ธนาคารสาขา
หน้าท่ขี องธนาคารพาณิชย์ ที่สำคญั มีดังนี้
1. การรับฝากเงนิ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คอื
1) เงินฝากประเภทกระแสรายวัน เปน็ การรบั ฝากเงนิ ท่ีจะตอ้ งจา่ ยคืนทันทเี มื่อทวงถาม ปัจจุบันธนาคารจะไม่จา่ ยดอกเบ้ียใหแ้ กผ่ ู้
ฝาก เงินฝากประเภทนีเ้ ป็นทีน่ ิยมกันในวงการธรุ กจิ
2) เงินฝากประเภทฝากประจำ เป็นเงินฝากประเภทที่ถอนคืนได้เมื่อหมดกำหนดระยะเวลา หรือถอนคืนเมื่อไปแจ้งให้ธนาคาร
ทราบล่วงหน้าเทา่ นั้น ธนาคารจะให้ดอกเบี้ยเงินฝากชนิดนี้ ตามกำหนด ระยะเวลาที่ฝาก และอัตราดอกเบี้ยจะสูงกว่าการฝาก
เงนิ แบบอื่น ๆ เพราะธนาคารสามารถนำเงนิ ไปลงทุน ในระยะยาวได้ แตถ่ ้าถอนกอ่ นกำหนดจะไม่จา่ ยดอกเบยี้ ให้
3) เงนิ ฝากประเภทฝากออมทรพั ย์ เงินฝากประเภทนเี้ หมาะสำหรบั ผ้มู ีรายได้นอ้ ย เกบ็ สะสมทรัพย์
2. การให้เงนิ กูแ้ ละการขยายสนิ เช่อื ลกู หนี้ธนาคารสามารถกยู้ มื เงินจากธนาคารตามเง่อื นไข และนโยบายของธนาคาร โดยการ
ทำสัญญากู้เงินกับธนาคารพาณิชย์ อาจใช้หลักทรัพย์หรือบุคคลค้ำประกัน ก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของแต่ละ
ธนาคาร
3. การใหบ้ ริการอน่ื ๆ อาทิ
1) การให้บริการในด้านเป็นตัวแทนของลูกค้า เช่น ซื้อขายหุ้น เก็บเงินตามเช็ค ตั๋วเงิน และตราสารอื่น ๆ และช่วยเก็บเงิน
ประเภทอื่น ๆ เชน่ คา่ เชา่ ดอกเบ้ยี ค่าน้ำประปา ค่าไฟฟา้ ค่าโทรศพั ท์ หรือทะเบียนรถยนต์ ช่วยจดั ทำพนิ ัยกรรม และช่วยเป็น
ตัวแทนรัฐบาลในการจัดการเงินบางประเภท เช่น ขายพนั ธบัตร ตั๋วเงินคลัง เป็นต้น
2) การให้บริการช่วยเหลือด้านการชำระเงินระหว่างประเทศ เช่น การเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต เพื่อสั่งซื้อสินค้าเข้ามาขายใน
ประเทศ การซื้อขายเงินตราตา่ งประเทศ คา่ สนิ คา้ ส่งออก การเรียกเก็บเงิน ตามต๋วั เงินตา่ งประเทศ
3) การให้บริการอ่ืน ๆ ที่ให้ความสะดวกแก่ลูกค้า เช่น การรับฝากของมีค่า การบริการขายเช็ค เดินทาง รับโอนเงินภายในและ
ภายนอกประเทศ บรกิ ารด้านการศกึ ษาตอ่ ต่างประเทศ ออกหนงั สือและ เอกสารต่างๆ แจ้งข่าวสารทางการคา้ และเศรษฐกิจแก่
ลกู ค้า
7. ครใู ชส้ อื่ PowerPoint ประกอบเทคนคิ การบรรยาย ธนาคารกลาง
เนื่องจากปริมาณเงินเปน็ ปจั จัยสำคัญอย่างหนง่ึ ทีท่ ำใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ดำเนนิ ไปไดด้ ว้ ยดี เมอ่ื ปรมิ าณเงินมีพอเหมาะ แตถ่ ้า
ปริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกิจมีมากหรอื น้อยเกนิ ไป ก็จะกระทบตอ่ ภาคการผลติ ทำใหเ้ กดิ ภาวะเงนิ เฟ้อหรอื เงนิ ฝดื ได้ ดงั น้ัน จงึ
จำเป็นต้องมกี ารควบคมุ ปรมิ าณเงนิ ให้มคี วามพอเหมาะ สถาบนั ทที่ ำหน้าที่น้ีคอื “ธนาคารกลาง (Central Bank)” ซงึ่ เป็นสถาบัน
ทมี่ ีอำนาจหนา้ ท่ีรับผิดชอบเกีย่ วกบั การควบคุมปรมิ าณเงินและการจัดการทางดา้ นการเงนิ ของระบบเศรษฐกิจ เพือ่ ให้บรรลุ
เปา้ หมายทาง เศรษฐกจิ เช่น ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ การรกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ เป็นต้น

สำหรับธนาคารกลางของประเทศไทย คือ “ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand)” หรือเรียกสั้น ๆ ว่า “ธนาคาร
ชาติ” ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2485 ตามพระราชบัญญัติ ธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 กำหนดให้เป็น
องค์กรอสิ ระ โดยได้เลียนแบบมาจากธนาคารแหง่ ประเทศองั กฤษ (Bank of England) ธนาคารแห่งประเทศไทยมีสาขาทั้งส้นิ 4
แห่ง คือ ที่จังหวัดลำปาง จังหวัดขอนแก่น จังหวัดสงขลา และที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่สี่แยกบางขุนพรหม
และมสี ำนกั งานอกี แห่งหนง่ึ อยูท่ ี่ถนนสรุ วงศ์ กรุงเทพฯ
ลักษณะสำคัญของธนาคารกลาง
ธนาคารกลางมีลกั ษณะแตกตา่ งจากธนาคารพาณิชย์ ดงั น้ี
1. ธนาคารกลางทำหน้าที่เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติเป็นสำคัญ ดังนั้น จึงไม่ใช่สถาบันที่ แสวงหากำไรเหมือนธนาคาร
พาณชิ ย์
2. ธนาคารกลางจะไมด่ ำเนนิ ธรุ กจิ แขง่ ขันกับธนาคารพาณชิ ย์
3. ลูกค้าของธนาคารกลางเป็นคนละประเภทกับลูกค้าของธนาคารพาณิชย์ ลูกค้าของธนาคารกลาง ได้แ ก่ ธนาคารพาณิชย์
หน่วยงานราชการ และรัฐวสิ าหกิจต่าง ๆ สำหรับลูกค้าของธนาคารพาณชิ ย์ ไดแ้ ก่ พ่อค้าและประชาชนท่ัวไป
4. ธนาคารกลางเป็นผคู้ วบคุมการดำเนนิ งานของธนาคารพาณิชย์ อย่างใกล้ชิดเพือ่ ประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ
บทบาทและหน้าทข่ี องธนาคารกลาง
ธนาคารกลางในทุกประเทศมีวัตถุประสงค์และนโยบายหลักคล้ายคลึงกัน คือ รักษาเสถียรภาพ ของเงินตราและเศรษฐกิจของ
ประเทศ โดยอาจสรุปหนา้ ท่หี ลักของธนาคารกลางโดยเฉพาะธนาคารแห่ง ประเทศไทย ไดด้ ังน้ี
1. การออกธนบตั ร หน้าที่ของธนาคารกลาง ได้แก่ การออกธนบัตรใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ โดยปริมาณที่ออกใช้จะต้อง
เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ เพราะถ้ามีการออกธนบัตรมากเกินความจำเป็น อาจทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ หรือถ้าปริมาณ
ธนบัตรทอ่ี อกใชม้ นี ้อยเกินไปกจ็ ะเกิดภาวะเงนิ ฝดื ได้ เพือ่ ให้ การออกธนบตั รมีความมั่นคงเป็นทีเ่ ช่ือถือของประชาชน และมีความ
ยืดหยุ่นได้ตามความต้องการทางเศรษฐกิจ กฎหมายธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ จึงได้กำหนดให้การออกธนบัตรต้องมี
เงินทุนสำรองเงินตราเป็น อัตราส่วนไม่น้อยกว่าที่กำหนด สำหรับประเทศไทยปัจจุบันการออกธนบัตรจะต้องมีเงินทุนสำรอง
เงินตรา เป็นทองคำ และสินทรัพย์ต่างประเทศรวมกันทั้งสิ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของยอดธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ และใน
จำนวนน้ีไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ต้องเป็นทองคำและเงินตราต่างประเทศสกุลหลัก
2. การเป็นนายธนาคารของรฐั บาล หน้าท่ใี นฐานะทีเ่ ป็นนายธนาคารของรัฐบาลมีดังน้ี
1) รักษาบญั ชเี งนิ ฝากของรฐั บาล หน่วยงานราชการ และรัฐวสิ าหกจิ ตา่ ง ๆ
2) ให้รฐั บาลและรฐั วสิ าหกจิ กู้ยืมเงิน เป็นแหล่งเงนิ กยู้ มื แหล่งสดุ ท้ายของรฐั บาลและรฐั วิสาหกจิ ในกรณที ีร่ ัฐบาลและรัฐวสิ าหกิจ
ไม่สามารถกู้ยมื เงนิ จากแหล่งอื่นได้ ธนาคารกลางมี 2 ลกั ษณะ คือ ใหก้ ้ไู ด้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาล
และให้กู้เพือ่ ใชจ้ า่ ยตามโครงการเฉพาะกจิ ของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ
3) เปน็ ตวั แทนในการจัดการทางการเงินของรัฐบาล ได้แก่ เป็นตัวแทนในการจดั การหนขี้ อง รัฐบาล และเปน็ ตัวแทนของรัฐบาล
ในองคก์ ารการเงนิ ระหวา่ งประเทศ เชน่ การก้ยู มื เงนิ จากเอกชนใหแ้ กร่ ฐั บาล โดยวธิ ปี ระมลู ขายต๋ัวเงนิ คลงั การจำหนา่ ยพนั ธบัตร
รัฐบาล และตราสารอื่น ๆ ทำหน้าที่โอนเงินระหว่างประเทศ และภายในประเทศให้รัฐบาล ทำการซื้อขายทองคำ ควบคุมและ
ปรวิ รรตเงินตราต่างประเทศ และซ้ือขายเงนิ ตรา ต่างประเทศ
4) เป็นท่ีปรึกษาทางการเงินของรัฐบาล ในการดำเนินนโยบายการคลังและหนี้สาธารณะ ของรัฐบาล รัฐบาลจำเป็นต้องระวัง
ไม่ให้เกิดผลเสียหายแก่ระบบการเงินของประเทศอันจะส่งผลกระทบ ไปถึงเศรษฐกิจของประเทศในที่สุด ธนาคารแห่งประเทศ
ไทยจงึ เป็นท่ีปรึกษาทางการเงินของรัฐบาลได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ในการดำเนินนโยบายการเงินและนโยบายการคลงั
3. การเป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลางใหบ้ ริการต่าง ๆ แก่ธนาคารพาณิชย์ ในลักษณะเดียวกับท่ีธนาคาร
พาณิชย์ให้แก่ลูกค้าของธนาคาร การทำหน้าทีเ่ ป็นนายธนาคารของ ธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ การรับฝากเงนิ ของธนาคารพาณิชย์
การควบคมุ ปรมิ าณเงนิ และเครดติ การเปน็ สำนักงานกลางในการหักบัญชรี ะหว่างธนาคาร การใหธ้ นาคารพาณิชย์กู้ยืมเงิน และ
การเปน็ ศูนย์กลาง การโอนเงิน รวมทั้งการแกป้ ญั หาทางการเงินของธนาคารพาณชิ ย์ ดังนั้น การให้บริการของธนาคารกลาง จึง
สามารถกระทำได้โดยผ่านธนาคารพาณิชย์อีกทหี น่ึง ซ่งึ การทำหน้าทีเ่ ปน็ นายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย์ อาจแยกได้ดงั นี้

1) หน้าที่ในการรับฝากเงิน โดยธนาคารพาณิชย์จะนำเงินสำรองตามกฎหมายส่วนหนึ่งฝากไว้ ที่ธนาคารกลาง นอกจากนี้เงิน
ฝากของธนาคารพาณิชยท์ ธ่ี นาคารกลางยงั ใชป้ ระโยชนใ์ นการหักบญั ชชี ำระหนี้ระหวา่ งธนาคารพาณชิ ยไ์ ดอ้ ีกด้วย
2) หน้าที่ในการให้กู้ยืม เมื่อธนาคารพาณิชย์ขาดแคลนเงินสดและมีความจำเป็นต้องใช้เงิน ธนาคารพาณิชย์สามารถขอกู้จาก
ธนาคารกลางโดยมีหลกั ทรพั ยป์ ระกนั หรอื นำตวั๋ เงนิ ทเี่ ช่ือถอื ไดข้ ายลด แกธ่ นาคารกลาง
ในการนี้ธนาคารกลางจะคิดดอกเบี้ยจากธนาคารพาณิชย์ โดยหักอัตราดอกเบี้ยจากเงินตน้ ทันที ก่อนที่จะจ่ายเงินกู้ จึงเรียกวา่
“อัตราส่วนลด (Discount Rate)” ธนาคารกลางจะใช้อัตราสว่ นลด นีเ้ ป็นเคร่อื งมอื ควบคมุ สินเช่อื อยา่ งหนึ่ง เพราะการเพ่ิมหรือ
ลดอตั ราสว่ นลดจะมผี ลยบั ย้ังหรอื ส่งเสรมิ การก้ยู ืมของธนาคารพาณชิ ย์
3) หน้าที่ในการกำกับและตรวจสอบธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน เพื่อดูแลการ ประกอบการของธนาคารพาณิชย์และ
สถาบันการเงินต่าง ๆ เช่น บริษัทเงินทุนและหลักทรัพย์ให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ เพื่อความ
ปลอดภัยของลูกคา้ ผู้ฝากเงนิ
4) ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการหักบัญชีและการโอนเงิน ธนาคารกลางเป็นศูนย์กลางการโอนเงิน ระหว่างธนาคารต่าง ๆ ทั่ว
ประเทศ เพราะทุกธนาคารมีเงินฝากอยู่ที่ธนาคารกลาง การหักหนี้และการโอนเงิน โดยผ่านธนาคารกลางจึงทำได้สะดวก และ
เสียคา่ ใช้จ่ายนอ้ ยท่สี ุด
4. เป็นผู้รักษาเงินสำรองระหว่างประเทศ เนื่องจากเงินสำรองระหว่างประเทศจะมีมากหรือ น้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับฐานะทาง
เศรษฐกจิ และดุลการชำระเงินของประเทศ จึงเปน็ หนา้ ท่ขี องธนาคารกลาง ซึ่งเป็นผมู้ สี ทิ ธใิ นการออกธนบตั รและรักษาเงินสำรอง
ของธนาคารพาณิชย์ ดังนั้น ธนาคารกลางจึงควร เป็นผู้รักษาเงินสำรองระหว่างประเทศทั้งหมด เพื่อผลประโยชน์ในการดำเนิน
หน้าท่ีของธนาคารกลาง และสะดวกแก่การควบคมุ เงนิ สำรองนี้
5. เปน็ ผ้คู วบคุมปริมาณเงนิ และเครดิต หนา้ ที่หลักของธนาคารกลาง คอื ควบคมุ ปรมิ าณเงนิ และเครดติ ทเ่ี หมาะสมในประเทศ
กล่าวคือ ถ้าปริมาณเงินมีมากหรือน้อยเกินไป จะกระทบต่อความกา้ วหน้า และเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งการควบคุมปริมาณ
เงินของระบบเศรษฐกิจ ธนาคารกลางจะใช้วิธีควบคุม การขยายเครดิตเป็นสำคัญ ถ้าต้องการเพิ่มปริมาณเงินก็จะขยายเครดิต
มากขึ้น และถ้าต้องการลดปริมาณเงิน ก็จะลดการขยายเครดิต มาตรการต่าง ๆ ที่นำมาใช้ก็คือ นโยบายการเงิน ซึ่งถือเป็น
นโยบายหลักอนั หนง่ึ ของประเทศท่ใี ชส้ ำหรบั รักษาเสถยี รภาพและความเจรญิ กา้ วหน้าทางเศรษฐกจิ
6. เป็นผู้ให้กู้ยมื แหล่งสดุ ท้าย ธนาคารพาณชิ ย์และสถาบันการเงนิ ต่าง ๆ สามารถก้ยู ืมเงนิ จาก ธนาคารกลางได้ วิธีกมู้ ี 3 วธิ ี คือ
1) นำต๋วั เงนิ ทีเ่ ชอื่ ถือได้ขายลดแกธ่ นาคารกลาง
2) ขายตัว๋ เงนิ คลังและพนั ธบัตรรัฐบาลแกธ่ นาคารกลาง
3) กู้ยืมโดยมที รัพยส์ นิ เปน็ หลักประกนั
ธนาคารกลางมคี วามสำคญั อย่างย่ิง เพราะชว่ ยให้ภาวะเงนิ ฝดื ทางการเงนิ ลดลง ธนาคารกลางและ สถาบันการเงินมีสภาพคล่อง
สงู ขน้ึ ธนาคารกลางสามารถให้กูย้ ืมไดเ้ กอื บจะไมม่ ขี อบเขตจำกดั แตก่ ารให้ก้ยู มื ของธนาคารกลางควรเป็นไปอย่างรอบคอบเพื่อ
ไม่ให้เกิดผลเสียแก่เศรษฐกจิ ของประเทศ
7. เป็นผคู้ วบคมุ ธนาคารพาณชิ ย์ เนือ่ งจากการขยายสินเชอื่ ของธนาคารพาณชิ ยจ์ ะมผี ล โดยตรงตอ่ การลงทนุ ธนาคารกลางจึง
เขา้ มาควบคมุ การดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ หากธนาคารกลาง
พบข้อบกพร่องอย่างไรจะแจ้งให้ทราบเพื่อแก้ไขได้ทันท่วงที และธนาคารกลางยังมีอำนาจในการอนุมัติ การจัดตั้งธนาคารและ
สาขาอกี ด้วย
8. ครใู ชส้ ่อื PowerPoint ประกอบเทคนิคการบรรยาย นโยบายการเงนิ
นโยบายการเงิน (Monetary Policy) หมายถึง การควบคุมดูแลปริมาณเงินและสินเชื่อ โดยธนาคารกลางเพือ่ บรรลุเป้าหมาย
ทางเศรษฐกิจประการใดประการหนึ่ง หรือหลายประการ ได้แก่ การรักษาเสถียรภาพของราคา การส่งเสริมให้มีการจ้างงาน
เพิ่มขึ้น การรักษาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การรักษาดุลยภาพของดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ และการกระจาย
รายไดอ้ ย่างเปน็ ธรรม

ประเภทของนโยบายการเงนิ
การดำเนินนโยบายการเงิน แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1. นโยบายการเงินแบบเข้มงวด (Restrictive Monetary Policy) โดยใช้เครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ ทางการเงนิ เพอ่ื ทำให้ปริมาณเงินมี
ขนาดเล็กลง มักใช้ในกรณีที่ระบบเศรษฐกิจเกิดภาวะเงินเฟ้อ คือ ภาวะ ที่ราคาสินค้าสูงขึ้น ประชาชนจะใช้จ่ายมากกว่า
ความสามารถในการผลติ ของระบบเศรษฐกิจ หรอื ประชาชน ใช้จ่ายเกินตวั ดุลการคา้ และดลุ การชำระเงินขาดดุล เปน็ ต้น การใช้
นโยบายการเงินแบบเขม้ งวดจะช่วย ลดความรนุ แรงในระบบเศรษฐกิจลงได้
2. นโยบายการเงนิ แบบผอ่ นคลาย (Easy Monetary Policy) โดยใช้เครอื่ งมือตา่ ง ๆ ทางการเงินเพือ่ ทำให้ปริมาณเงนิ มีขนาด
ใหญ่ขึน้ มักใชใ้ นกรณีตอ่ ไปน้ี ภาวะเศรษฐกิจซบเซา กลา่ วคือ การลงทนุ รวมทัง้ การผลิตและการใช้จ่ายของประชาชนอยูใ่ นระดบั
ต่ำ ความต้องการสินเชื่อมีน้อย เมื่อเทียบกับปริมาณเงินออมที่มีอยู่ การใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลายจะช่วยกระตุ้นให้
เศรษฐกจิ มีการฟนื้ ตวั
เคร่ืองมอื ของนโยบายการเงิน
เครื่องมือของนโยบายการเงิน แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or General
Control) และการควบคมุ ทางคณุ ภาพหรือการควบคุมเฉพาะอยา่ ง (Qualitative or Selective Credit Control)
1. การควบคมุ ทางปริมาณหรือโดยท่ัวไป เปน็ การควบคุมปรมิ าณเครดิต เครอ่ื งมือทใี่ ช้ได้แก่
1) อตั ราดอกเบย้ี มาตรฐาน (Bank Rate) เปน็ อัตราดอกเบีย้ ทธี่ นาคารกลางคิดจากธนาคาร พาณิชย์ โดยปกตเิ ป็นการกู้ยืมโดย
มีหลักทรัพย์รัฐบาลค้ำประกัน หากธนาคารกลางตอ้ งการเพิ่มปริมาณเงิน ก็จะลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน ในทางตรงข้าม หาก
ธนาคารกลางต้องการลดปริมาณเงินก็จะขึ้นอัตรา ดอกเบี้ยมาตรฐาน การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยมาตรฐานมีผลต่อ
ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ ในบางประเทศการปรับอัตราดอกเบี้ยมาตรฐานอาจมีผลทำให้อัตราดอกเบี้ยโดยทั่วไป
ภายในประเทศ ปรับตัวไปในทิศทางเดียวกับอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน และอาจก่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ย
ภายในและภายนอกประเทศมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุนระยะสั้นจากประเทศที่มีอัตรา ดอกเบี้ยต่ำกว่าไปยัง
ประเทศที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า ซึ่งมีผลกระทบต่อบัญชีทุนเคลื่อนย้ายอันเป็นส่วนหนึ่ง ของบัญชีดุลการชำระเงินระหว่าง
ประเทศ
2) อัตรารับช่วงซื้อลด (Rediscount rate) หมายถึง ดอกเบี้ยเงินกู้ที่ธนาคารกลางเก็บล่วงหน้า จากธนาคารพาณิชย์ เมื่อ
ธนาคารพาณิชย์นำตัว๋ เงินท่ธี นาคารพาณิชย์รับซือ้ ลดไปขายลดต่อให้กบั ธนาคารกลาง ธนาคารกลางสามารถเพ่มิ หรอื ลดอัตรารับ
ชว่ งซื้อลดเพอื่ เปล่ียนแปลงปรมิ าณเงินโดยเฉพาะอย่างยิ่งสินเช่ือ ของธนาคารพาณชิ ย์ กล่าวคอื ถา้ ธนาคารกลางลดอัตรารับช่วง
ซื้อลด ธนาคารพาณชิ ยจ์ ะกยู้ มื จากธนาคารกลาง มากข้ึน ดงั นั้น เงินสดสำรองจงึ เพ่ิมข้นึ ธนาคารพาณิชย์สามารถขยายสินเชื่อได้
มากขนึ้ ปริมาณเงนิ ซง่ึ รวมทั้ง เงินฝากจึงเพิม่ ข้ึน ในทางตรงข้าม ถา้ ธนาคารกลางเพิ่มอัตรารับช่วงซ้ือลด ปรมิ าณเงนิ และเงนิ ฝาก
ก็จะลดลง ปัจจุบันธนาคารกลางได้โอนกิจการรับช่วงซื้อลดไปให้ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย เพื่อ
ดำเนินการต่อโดยมจี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ส่งเสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศเปน็ หลัก
3) อัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย (Legal Reserve Ratio) การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสด สำรองตามกฎหมายนี้ มี
ผลกระทบต่อกระบวนการสร้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ กล่าวคือ ในกรณีที่ ธนาคารกลางประกาศเพิ่มอัตราเงินสดสำรอง
ตามกฎหมายให้สูงขึ้น หากธนาคารพาณิชย์ไม่มเี งินสดสำรอง ส่วนเกิน ธนาคารพาณิชย์ตอ้ งการเพิ่มเงนิ สดสำรองตามกฎหมาย
ให้เพียงพอตามอัตราใหม่ จะมีทางเลือก 4 ทาง คือ (ก) ขายหลักทรัพย์ที่มีอยู่ (ข) ขอกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ด้วยกัน (ค) ขอ
กู้ยมื จากธนาคารกลาง และ (ง) ลดเงินฝากโดยเรยี กเงนิ กทู้ ี่มอี ยขู่ ณะนั้นบางส่วนกลบั คืน หรือ ไมต่ อ่ อายสุ ินเชือ่ ที่ถึงเวลาชำระคืน
ในทางตรงข้าม เมอ่ื ธนาคารกลางลดอัตราเงนิ สดสำรองตามกฎหมาย ธนาคารพาณชิ ย์จะสามารถขยายสนิ เชื่อ ต่อไปได้อกี ทำให้
จำนวนเงินฝากทั้งสิ้นเพ่ิมขึน้ และปริมาณเงินเพิม่ ขึ้นด้วย การเพิ่มหรอื ลดอัตราเงินสด สำรองตามกฎหมายเป็นวิธีการที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินและสินเชื่อค่อนข้างมาก ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมายต้องใช้อย่าง
ระมดั ระวงั หรือใช้เมอ่ื มวี กิ ฤตการณท์ างการเงิน และมีแนวโนม้ วา่ จะยดื เยือ้ เปน็ เวลานาน
4) การซื้อขายหลักทรัพย์ (Securities Trading) ธนาคารกลางจะขายหลักทรัพย์ เมื่อต้องการลดปริมาณเงินและสินเชื่อใน
ระบบเศรษฐกิจ เพราะการขายหลักทรัพยจ์ ะทำใหธ้ นาคารกลาง ดึงเงินส่วนทีม่ ีอยมู่ ากเกนิ ไปออกจากระบบเศรษฐกิจ ในทางตรง
ขา้ ม ธนาคารกลางจะซ้อื หลักทรัพย์กลบั คนื เมื่อตอ้ งการเพิม่ ปรมิ าณเงินและสินเช่อื ในระบบเศรษฐกจิ ให้มากขึ้น การซ้ือ

หลักทรัพย์ของธนาคารกลาง จะเพิ่มเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์ จึงทำให้ปริมาณเงินและสินเชื่อเพิ่มขึ้น การซื้อขาย
หลักทรัพย์ ของธนาคารกลางยังมีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงเงินสดสำรองและการขยายสินเชื่อของธนาคารพาณชิ ย์ รวมทั้งยังมผี ล
ต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินอีกด้วย เมื่อธนาคารกลางซื้อหลักทรัพย์ ราคาหลักทรัพย์จะสูงขึ้น และอัตรา
ดอกเบ้ียจะตำ่ ลงเพื่อจูงใจใหน้ ำหลกั ทรัพย์มาขายแกธ่ นาคารกลาง ถ้าปรมิ าณซ้อื หลกั ทรพั ย์มมี ากพอ ปรมิ าณทนุ เพ่ือการให้กู้ยืม
จะลดลง อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินจึงลดลง ในทางตรงข้ามถา้ ธนาคารกลางต้องการขายหลักทรัพย์ ราคาหลักทรพั ย์จะต่ำและ
อัตราดอกเบีย้ จะสงู ขน้ึ เพ่ือจงู ใจให้ผลู้ งทุนซอื้ หลกั ทรัพยข์ องธนาคารกลาง
2. การควบคมุ ทางคุณภาพหรือด้วยวิธีเลือกสรร เป็นการควบคุมการให้เครดติ ของธนาคาร พาณิชย์บางประเภท วิธีการทัว่ ไป
ได้แก่ การกำหนดเงือ่ นไขการกูย้ ืมประเภทที่ต้องการจำกดั เครดิต เช่น จำนวนเงินดาวน์ (Down Payment) ระยะเวลาของการ
ผ่อนชำระ อัตราดอกเบี้ย เป็นตน้ ซึ่งธนาคาร พาณิชยแ์ ละสถาบันการเงินต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด ชนิดของเครดติ ที่
ธนาคารกลางใชใ้ นการ ควบคุม ไดแ้ ก่
1) การควบคุมเครดิตเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ ประเทศที่ตลาดทุนมีระดับการพัฒนาสูง จะมีบุคคลประเภทหนึ่งประกอบ
อาชีพค้าขายหากำไรจากหลักทรัพย์ บุคคลเหล่านี้จะซื้อหลักทรัพย์ เมื่อราคาหลักทรัพย์ต่ำ (ดอกเบี้ยสูง) และขายเมื่อราคา
หลักทรัพย์สูง (ดอกเบี้ยต่ำ) การซื้อขายหลักทรัพย์ เป็นเรื่องของการเก็งกำไรทั้งสิ้น เพราะต้องมีการคาดคะเนอัตราดอกเบี้ยใน
อนาคต ซึ่งอาจก่อให้เกิด ความเสียหายแก่ตลาดหลักทรัพย์ได้ ธนาคารกลางสามารถควบคุมเหตุการณ์เช่นนี้ได้ด้วยวิธีจำกัด
เครดิต เพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ กล่าวคือ โดยปกติผู้ซื้อหลักทรัพย์มักจะมีเงินสดไม่พอ จำเป็นต้องกู้ยืมเงินบ างส่วน โดยใช้
หลักทรัพยท์ ซี่ ้อื เปน็ หลกั ประกันจากธนาคารพาณิชย์หรอื สถาบนั การเงนิ อืน่ ๆ จงึ ใช้วิธกี ำหนดอตั ราต่ำสุดของราคาหลักทรัพย์ทผ่ี ู้
ซื้อต้องชำระเป็นเงินสดที่เรียกว่า Margin Requirement ยิ่งมีอัตรา สูงเท่าใด ก็หมายความว่า ธนาคารกลางต้องการจำกัด
เครดติ เพอ่ื การซ้อื ขายหลักทรพั ย์มากเทา่ น้ัน
2) การควบคมุ เครดิตเพือ่ การอุปโภคบริโภค เครอื่ งมือทธ่ี นาคารกลางใช้สำหรบั ควบคมุ เครดิตประเภทน้ีมี 2 ชนิด คือ
การกำหนดจำนวนเงินต่ำสุดที่ต้องชำระครั้งแรก และระยะเวลาสูงสุดของ การผ่อนชำระ กล่าวคือ การเพิ่มจำนวนเงินต่ำสุดท่ี
ต้องชำระคร้ังแรก และการลดระยะเวลาสูงสุดของการ ผ่อนชำระจะทำใหส้ ามารถจำกัดเครดติ เพื่อการอุปโภคบรโิ ภคได้มากข้ึน
และมีผลตอ่ การจัดสรรทรพั ยากรใหเ้ ปน็ ไปตามทต่ี ้องการ
3) การชกั ชวนใหธ้ นาคารพาณชิ ยป์ ฏิบัติตาม ธนาคารกลางอาจดำเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายหรอื เข้ มงวดไดโ้ ดยไม่
จำเป็นต้องใช้เครื่องมือดังกล่าวข้างต้นแต่ใช้วิธีการชักชวนด้วยวาจาให้ธนาคารพาณิชย์ ปฏิบัติตามในเรื่องที่ขอร้อง เช่น การ
ขอร้องให้ละเว้นจากการให้กู้ยืมแก่ธุรกิจเก็งกำไร เป็นต้น การที่ธนาคารกลาง สามารถใช้บังคับด้วยวิธีการนี้ได้ด้วยเงื่อนไข 2
ประการ คอื ธนาคารกลางมเี คร่อื งมืออื่นพร้อมจะนำมาใช้บังคับไดถ้ ้าไมป่ ฏิบัติตามและธนาคารพาณิชยต์ ้องพึ่งธนาคารกลางท้ัง
ด้านการเงินและบริการตา่ ง ๆ อยา่ งมาก
9. ครใู ชส้ ื่อ PowerPoint ประกอบเทคนคิ การบรรยาย นโยบายการเงินของประเทศไทย
ธนาคารกลางได้ดำเนนิ นโยบายการเงินและเลอื กใช้มาตรการทางการเงนิ ทีแ่ ตกต่างกนั เพ่อื ให้บรรลเุ ปา้ หมาย 3 ประการ ดังน้ี
1. การรกั ษาเสถยี รภาพทางการเงนิ มาตรการทางการเงินท่ใี ช้มี 2 กรณี กรณภี าวะเงินเฟ้อ ใช้นโยบายการเงนิ แบบเข้มงวด
ประกอบดว้ ยมาตรการตา่ ง ๆ เช่น เพิม่ อัตราดอกเบ้ยี มาตรฐาน เพมิ่ อตั รา เงนิ สดส ำรองตามกฎหมาย เพ่มิ เพดานอัตราดอกเบย้ี
เงินกู้และเงินฝาก การซื้อหลักทรพั ย์ รฐั บาล ส่วนกรณี ภาวะเงินฝดื ใชน้ โยบายการเงินแบบผอ่ นคลาย โดยใช้มาตรการตา่ ง ๆ ใน
ทิศทางตรงกันข้ามกับกรณเี งินเฟอ้
2. การเสรมิ สร้างความมัน่ คงของสถาบันการเงนิ มาตรการทน่ี ำมาใชไ้ ดแ้ ก่ การกำหนดอตั รา เงนิ กองทุนต่อสนิ ทรพั ยเ์ สย่ี งที่
สถาบันการเงินต้องดำรง กำหนดอตั ราการสำรองหน้ที สี่ งสยั จะสญู (Non-Performing Loan: NPL) กำหนดเง่ือนไขและอตั รา
สูงสุดทสี่ ถาบันการเงนิ จะให้บุคคลกู้ยืม จำกัด
การถือหุ้นของผถู้ อื หนุ้ สง่ เสริมการกระจายการถือหนุ้ ไปยังประชาชน ควบคมุ การปลอ่ ยสินเช่ือ
ของกรรมการสถาบนั การเงนิ นัน้ ๆ รวมทง้ั ปรับปรุงกฎระเบียบในการกำกบั และตรวจสอบสถาบันการเงิน
3. การส่งเสรมิ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม มาตรการทใี่ ชไ้ ด้แก่ การรับช่วงซือ้ ลดต๋ัวสัญญาใช้เงินในภาคเศรษฐกิจที่ต้องการ
สนับสนนุ เช่น การส่งออก การเกษตร อุตสาหกรรม เป็นต้น กำหนดนโยบายและขอความรว่ มมอื จากธนาคารพาณิชยใ์ นการเพมิ่
สินเชื่อใหส้ าขาเศรษฐกิจดังกลา่ ว การให้ ความช่วยเหลือแก่สถาบันการเงนิ ทีม่ บี ทบาทในการสง่ เสรมิ การพัฒนาเศรษฐกจิ และ

สังคม เชน่ ธนาคาร พฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแหง่ ประเทศไทย ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารเพ่ือการสง่ ออกและนำเขา้ แห่งประเทศไทย เปน็ ตน้
นโยบายอตั ราการแลกเปล่ยี น
ตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ประเทศไทยได้เปลี่ยนมาใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยน แบบลอยตัว (Managed
Float Currency) ซึ่งค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินตราสกุลต่าง ๆ ถูกกำหนดโดย กลไกตลาดตามอุปสงค์และอุปทานของตลาด
เงนิ ตราในประเทศและต่างประเทศ และสามารถเปลีย่ นแปลง ขนึ้ ลงไดต้ ามปัจจัยพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ โดยธนาคารกลางจะเข้า
ซื้อหรือขายดอลลาร์สหรัฐฯ ตามความจำเป็น เพื่อไม่ให้อัตราแลกเปลี่ยนมีความผันผวนมากเกินไป และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
นโยบายเศรษฐกจิ ระบบ ดังกล่าวทำใหน้ โยบายการเงินมีความคล่องตัวและมีประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขึ้นในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจของนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งทำให้ทางการสามารถดูแลการไหล เข้าออกของเงินทุน
ตา่ งประเทศไดด้ ขี นึ้
สรุป ธนาคารกลางเป็นผู้ควบคุมธนาคารพาณิชย์ ซึ่งเป็นสถาบนั การเงินเอกชนที่ ทำหน้าที่รับฝากเงินและให้กู้ยืมแกป่ ระชาชน
ส่วนธนาคารกลางจัดตั้งขึ้นเพื่อรักษาเสถยี รภาพ ของเงินตราและเศรษฐกิจของประเทศโดยการใช้นโยบายการเงิน ควบคุมการ
ดำเนนิ งานของ ธนาคารพาณิชย์ และทำหนา้ ทใ่ี นการควบคุมทางด้านปริมาณ โดยการซื้อขายหลักทรพั ยร์ ัฐบาล เพม่ิ ลด อตั รารับ
ช่วงซ้ือลดตั๋วเงนิ เพ่มิ ลดอัตราเงนิ สดสำรองตามกฎหมาย หรือการควบคุมทางด้านเครดติ เฉพาะอยา่ ง ซง่ึ เปน็ การควบคุมเครดิต
เพื่อการเก็งกำไร ควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค ควบคุม เครดิตเพื่อการก่อสร้าง ควบคุมเครดิตโดยการขอร้องอย่างเป็นกันเอง
ตามปกติปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ หากมีมากหรือน้อยเกินไป จะไม่เป็นผลดีต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจ รัฐบาลของประเทศ
ตา่ ง ๆ จึงใชน้ โยบายการเงินเพื่อป้องกันหรือแก้ไขไมใ่ หม้ ภี าวะ เงนิ เฟ้อหรอื ภาวะเงินฝืด เพอื่ สรา้ งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ
ตามเป้าหมาย
10. ครูให้ผู้เรียนสรปุ ความรเู้ ก่ียวกบั ธนาการพาณชิ ยแ์ ละธนาคารกลาง จดั ทำเปน็ แผนผงั ความคดิ และรว่ มกันอภิปรายภายในชนั้
เรยี น
ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์
11. ครูสรุปบทเรยี น โดยใช้สอื่ PowerPoint และเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นได้ซักถามขอ้ สงสยั
12. ผู้เรียนทำกิจกรรมใบงาน และแบบประเมินผลการเรียนรู้

สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้

1. หนงั สอื เรียนหลกั เศรษฐศาสตร์ รหสั วิชา 30200-1001 ของสำนักพิมพเ์ อมพันธ์
2. ส่อื PowerPoint
3. แบบประเมินผลการเรยี นรู้
4. กจิ กรรมการเรียนการสอน
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน

หลักฐาน

1. บนั ทกึ การสอนของผูส้ อน
2. ใบเชค็ รายช่ือ
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. การตรวจประเมินผลงาน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล

วิธวี ัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ตรวจกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมนำความรู้
3. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. ตรวจใบงาน

เคร่ืองมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
3. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรับปรุง
2. แบบประเมินผลการเรยี นรมู้ เี กณฑ์ผา่ น และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 50%
3. แบบประเมินกิจกรรมใบงานมเี กณฑผ์ า่ น 50%

กิจกรรมเสนอแนะ

1. แนะนำใหผ้ ้เู รียนอา่ นทบทวนเนอื้ หาเพ่มิ เตมิ
2. ควรศึกษาขอ้ มูลเพิ่มเติมจากสอื่ อนิ เทอร์เน็ต

แบบเรียนรหู้ นว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 10

ตอนที่ 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

1. เงินคืออะไร และมหี น้าทอี่ ะไรบา้ ง

.....................................................................................................................................................................................

2. เงินทีใ่ ชใ้ นประเทศมกี ่ปี ระเภท อะไรบ้าง

.....................................................................................................................................................................................

3. อธบิ ายความสำคัญของตลาดการเงิน

.....................................................................................................................................................................................

4. ตามแนวคิดของเคนส์ (John Moynard Keynes) อุปสงค์ของการถือเงนิ ประกอบด้วยอะไรบา้ ง

.....................................................................................................................................................................................

5. อปุ ทานของเงนิ หรอื ปรมิ าณเงนิ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง

.....................................................................................................................................................................................

6. ธนาคารกลางมีลักษณะที่แตกตา่ งจากสถาบันการเงนิ อืน่ อย่างไร

.....................................................................................................................................................................................

7. ระบบธนาคารพาณชิ ยแ์ บ่งออกเปน็ กร่ี ะบบ อะไรบ้าง

.....................................................................................................................................................................................

8. นโยบายการเงนิ หมายถงึ อะไร แบ่งออกเป็นก่ีประเภท อะไรบ้าง

.....................................................................................................................................................................................

9. เมื่อปรมิ าณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขน้ึ มีผลตอ่ อัตราดอกเบี้ยอย่างไร

.....................................................................................................................................................................................

10. การควบคมุ ปรมิ าณเงนิ ท่นี ยิ มใช้กนั โดยทวั่ ไปเปน็ การควบคุมแบบใด และมเี ครือ่ งมืออะไรบา้ ง

.....................................................................................................................................................................................

ตอนท่ี 2 จงเลอื กข้อท่ถี กู ต้องทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว

1. ประเทศอหิ ร่านต้องการแลกน้ำมนั กับข้าวของประเทศไทย ถือเปน็ การแลกเปลยี่ นแบบใด

ก. Barter System ข. Modern System

ค. Commodity System ง. Credit System

จ. Indirect System

2. ในทศั นะของเคนส์ประชาชนมคี วามตอ้ งการถือเงินสดไวเ้ พือ่ อะไร

ก. เพ่ือใช้จ่ายประจำวัน ข. เพอ่ื เก็งกำไร

ค. เพ่ือสำรองยามฉุกเฉิน ง. เพอ่ื หากำไรจากหลักทรัพย์

จ. ถูกทุกข้อ

3. อปุ ทานของเงนิ ข้นึ อยกู่ บั ปัจจัยอะไรบ้าง

ก. นโยบายของรัฐบาลและธนาคารกลาง ข. อตั ราดอกเบีย้

ค. ระดับรายได้ ง. การใช้จ่ายของรัฐบาล

จ. การใช้จ่ายของประชาชน

4. ธนาคารแหง่ แรกในประเทศไทยคือธนาคารใด

ก. ธนาคารซี่ไฮทง ข. ธนาคารหวั่งหลี

ค. ธนาคารสยามรัฐ ง. ธนาคารสยามกมั มาจล

จ. ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้

5. ระบบธนาคารพาณิชยใ์ นประเทศไทยเปน็ ระบบใด

ก. ระบบธนาคารเดยี่ ว ข. ระบบธนาคารสาขา

ค. ระบบธนาคารคู่ ง. ระบบธนาคารกลมุ่

จ. ระบบธนาคารลกู โซ่

6. ข้อใดมใิ ช่ลักษณะของธนาคารกลาง

ก. ไมท่ ำธรุ กิจตดิ ต่อโดยตรงกบั ประชาชนทวั่ ไป

ข. ทำธุรกิจโดยไม่แสวงหากำไร

ค. ธนาคารกลางเปน็ ของรัฐบาลเทา่ น้ัน

ง. ธนาคารทำเพื่อประโยชนข์ องชาติ

จ. ธนาคารกลางมีลูกคา้ ประเภทเดียวกับธนาคารพาณิชย์

7. ธนาคารกลางพมิ พธ์ นบตั รเปน็ จำนวนเท่าใดข้นึ อยูก่ ับสิง่ ใด

ก. ปริมาณสนิ ค้าทผ่ี ลติ ขึ้น ข. ทุนสำรองเงนิ ตรา

ค. ตามคำขอของรฐั บาล ง. รายจา่ ยของรัฐบาล

จ. โครงการเร่งดว่ น

8. ถา้ ธนาคารกลางต้องการใหธ้ นาคารพาณิชย์ใหส้ นิ เช่อื มากข้ึนจะทำได้โดยวิธีใด

ก. เพมิ่ อตั ราเงนิ สดสำรองตามกฎหมาย

ข. ขายพนั ธบตั รรัฐบาลให้ธนาคารพาณิชย์

ค. การเพมิ่ อัตราดอกเบย้ี มาตรฐาน

ง. ลดอตั รารบั ชว่ งซอื้ ลด

จ. ไมม่ ขี ้อใดถูก

9. ข้อใดมใิ ช่เปา้ หมายของการดำเนนิ นโยบายการเงินของประเทศไทย

ก. เพือ่ รักษาเสถียรภาพของราคาสนิ ค้า

ข. เพ่ือขยายอัตราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ

ค. เพื่อหาทางใช้หน้เี งินกู้ต่างประเทศของภาคเอกชน

ง. เพือ่ สร้างความเขม้ แขง็ ของสถาบันการเงิน

จ. สง่ เสรมิ ให้มกี ารจา้ งงานเพม่ิ ข้นึ

10. ขอ้ ใดมิใช่ความสำคญั ของตลาดการเงิน

ก. ระดมเงินออม ข. จัดสรรเงินทุน

ค. การจัดเกบ็ ภาษเี ปน็ ธรรม ง. รักษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ

จ. ผดิ ทกุ ขอ้

ตอนท่ี 3 จงใสเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ หรอื × หน้าขอ้ ความทีเ่ หมาะสม

.............. 1. เงนิ เป็นสงิ่ ที่สังคมยอมรบั โดยท่วั ไปใช้เปน็ สื่อกลางในการแลกเปล่ยี นและชำระค่าสนิ คา้

.............. 2. โลหะทนี่ ำมาใช้ไดแ้ ก่ ธนบตั รและทองคำ

.............. 3. เงนิ ฝากกระแสรายวันเปน็ เงินฝากทีม่ กี ารจา่ ยโอนกนั ดว้ ยใบโอนเท่านน้ั

.............. 4. ตลาดเงนิ เปน็ ตลาดท่ีมีการระดมเงนิ ทุนและใหส้ ินเชื่อระยะส้ันไม่เกิน 1 ปี

.............. 5. ตลาดทุนเป็นตลาดท่มี กี ารระดมเงินออมและให้สนิ เชื่อในระยะปานกลาง

.............. 6. ตลาดรองเป็นตลาดที่ทำการซ้ือขายหลักทรัพย์เก่า ซึ่งเป็นการลงทนุ ท่ีไมแ่ ท้จริง

.............. 7. การใช้นโยบายการเงนิ มผี ลกระทบต่อการเปล่ยี นแปลงผลผลิต รายได้ และการจ้างงาน

.............. 8. ธนาคารพาณิชยข์ องคนไทยแหง่ แรกคอื ธนาคารฮอ่ งกงและเซย่ี งไฮ้ จำกัด

.............. 9. การออกธนบตั รมากเกนิ ความจำเป็นจะทำใหเ้ กดิ ภาวะเงินเฟอ้

.............. 10. การออกธนบัตรต้องมีทนุ สำรองเงนิ ตราเป็นทองคำและสนิ ทรัพยต์ า่ งประเทศ

ใบงานที่ 1

ธนาคารกลางเลอื กใชห้ ลกั การใดในการพิจารณาว่าจะใชน้ โยบายการเงนิ แบบหดตัว หรือแบบขยายตวั
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 2

หากกำหนดใหส้ ิ่งอ่ืน ๆ คงที่เมื่อระบบเศรษฐกิจเกิดช่องห่างเงินฝืด ธนาคารกลางควรใชน้ โยบาย การเงินแบบใดเพื่อแกไ้ ข
ปัญหาดังกล่าว ยกตัวอย่างมาตรการการเงนิ มา 1 มาตรการ
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 3

ธนาคารกลางควรเลือกใชเ้ ครอื่ งมือของนโยบายการเงนิ อะไรบา้ ง เพอ่ื กอ่ ให้เกดิ ผลต่าง ๆ ดงั นี้
(ก) ควบคุมการใหส้ ินเชอื่ ของธนาคารพาณชิ ย์ใหอ้ ยูใ่ นระดบั ทลี่ ดลง
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
(ข) สนบั สนุนธนาคารพาณิชยป์ ล่อยสนิ เชื่อ โดยไมเ่ ปลย่ี นแปลงอตั ราเงินสดสำรองตามกฎหมาย
.....................................................................................................................................................................................
(ค) ส่งเสริมธนาคารพาณิชยจ์ ัดสรรสนิ เช่อื ด้านการเกษตร
.....................................................................................................................................................................................
(ง) ส่งเสรมิ ธนาคารพาณชิ ย์จดั สรรสนิ เชอ่ื ในธรุ กิจขนาดเล็ก
.....................................................................................................................................................................................

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการท่ี 13 หน่วยท่ี 11

รหัส 30200-1001 หลักเศรษฐศาสตร์ สอนครง้ั ที่ 13
ชือ่ หน่วย นโยบายการคลงั
จำนวน 4 ช่ัวโมง

สาระสำคญั

รายได้ของรัฐบาลได้มาจากประชาชน กล่าวคือ การใช้จ่ายต่าง ๆ ของรัฐบาลจะได้มาโดยการโยกย้ายทรัพยากร บางส่วนจาก
ภาคเอกชน เนื่องจากทรัพยากรต่าง ๆ ของสังคมในขณะใดขณะหนึ่งมีจำนวนจำกัด ซึ่งต้องแบ่งกันใช้ระหว่าง ภาครัฐบาลและ
ภาคเอกชน ดังนน้ั เม่ือภาครฐั บาลใชม้ ากขนึ้ ภาคเอกชนจะต้องใชน้ ้อยลง รฐั บาลมกั จะหาเงนิ มาใชจ้ ่ายดว้ ย วธิ ีการต่าง ๆ เมื่อได้
รายไดม้ ารฐั บาลจะนำไปใชจ้ า่ ยตามวัตถปุ ระสงค์ท่ีไดก้ ำหนดไว้ ซึ่งการใชจ้ ่ายของรฐั บาลถือเปน็ เคร่ืองมือ ทางการคลงั ทีก่ ่อให้เกดิ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจให้เป็นไปตามแนวทางทีร่ ัฐบาลต้องการ แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาลต้อง จัดทำงบประมาณแผ่นดนิ
เพื่อใช้เป็นเครอื่ งมือในการบรหิ ารประเทศ การหาเงนิ เพือ่ มาใช้จ่ายของรัฐบาล นอกจากการเก็บ ภาษีอากรแล้วรัฐบาลยังทำการ
กู้ยมื เงนิ หรือการกอ่ หน้สี าธารณะท้งั จากภายในและตา่ งประเทศ เพ่ือนำมาใชจ้ ่ายในโครงการ ตา่ ง ๆ ของรฐั บาล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. เข้าใจความหมายและความสำคัญของการคลงั
2. เขา้ ใจความหมายและวตั ถุประสงค์ของนโยบายการคลัง
3. อธบิ ายประเภทและเคร่ืองมือของนโยบายการคลังได้
4. อธบิ ายเกย่ี วกับรายได้ของรัฐบาล รายจา่ ยสาธารณะของรัฐบาล และหนสี้ าธารณะได้
5. อธบิ ายงบประมาณแผน่ ดนิ ได้

สมรรถนะประจำหน่วย

แสดงความรู้เกย่ี วกบั นโยบายการคลังของรัฐบาล

สาระการเรียนรู้

1. ความหมายและความสำคญั ของการคลัง
2. ความหมายและวตั ถปุ ระสงคข์ องนโยบายการคลงั
3. ประเภทและเครอื่ งมือของนโยบายการคลงั
4. รายได้และรายจา่ ยสาธารณะของรัฐบาล
5. งบประมาณแผน่ ดิน

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครูกล่าวว่า บทบาทของรัฐบาลในอดีตมขี อบเขตจำกดั คือ รักษาความมัน่ คงปลอดภยั ท้ังภายในและภายนอก ประเทศ การ
ทูต การศาล สว่ นเรื่องกิจกรรมทางเศรษฐกจิ จะเปน็ เรือ่ งของเอกชน แต่ในปจั จบุ นั รัฐบาลไดเ้ ขา้ มา ดำเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
หลายด้านเพื่อเสถียรภาพที่มั่นคง และชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน รัฐบาลจึงมีรายจ่ายเพิ่มขึ้น การใช้จ่ายของรัฐบาลมี
ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ทำใหร้ ะบบเศรษฐกิจขยายตัว ดังนน้ั เพือ่ ให้บรรลเุ ปา้ หมายที่วางไว้ รฐั บาลจำเป็นต้องมีเครื่องมือ
ในการบริหารงาน นั่นคือ นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) ซึ่งเป็นกลไกที่สำคัญของรัฐบาลในการบริหารประเทศ โดยมี
ความสามารถในการหา รายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายและมีการใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจที่ดี มี
เสถียรภาพ ไม่เกิดภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม ประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพที่ดีขึ้น มีรายได้
ประชาชาตสิ ูงขึน้
2. ครกู ลา่ ววา่ ในหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 11 น้ี ผูเ้ รยี นจะได้เรียนรูน้ โยบายการคลัง เพ่อื นำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปประยุกตใ์ นชวี ติ ประจำวัน

ขน้ั สอน
3. ครูใชเ้ ทคนิคการบรรยาย ความหมายและความสำคญั ของการคลัง
3.1 ความหมายของการคลัง
การคลัง หมายถึง การกำหนดนโยบายและการดำเนินงานทางการเงนิ ด้วยการหารายได้และ การใช้จ่ายของรัฐบาล โดยรัฐบาล
จะมีรายได้จากภาษีอากร การขายสนิ ค้าและบริการ และรายไดอ้ ่นื ๆ รวมทั้งการกูย้ มื ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ สว่ นการใช้
จ่ายของรัฐบาลจะใช้จ่ายเงินตามงบประมาณ ที่เสนอต่อรัฐสภา อันได้แก่ การบริหารประเทศ การป้องกันประเทศ การรักษา
ความสงบ การบริการชมุ ชน และสังคม และการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ
3.2 ความสำคญั ของการคลงั
การคลังมีความสำคัญในการดำเนินงานของรัฐบาล เพราะรัฐบาลจะต้องมีทั้งส่วนที่เป็นรายได้ และรายจ่ายเพื่อการพัฒนา
ประเทศ รัฐบาลจำเปน็ ต้องมีรายไดซ้ ึง่ ส่วนใหญ่มาจากการจดั เก็บภาษีอากร จากประชาชน เพอ่ื จะได้นำมาใช้จ่ายให้พอเพียงกับ
ความต้องการของระบบเศรษฐกจิ การใชจ้ า่ ยของรฐั บาล จะสง่ ผลกระทบต่อรายได้ประชาชาติ การผลิต การบริโภค และการจ้าง
งาน หากรัฐบาลมีรายได้ไม่เพียงพอ กับรายจ่าย ก็จะต้องกู้ยืมเงินมาชดเชย จึงต้องศึกษาว่ารัฐบาลควรจะจัดเก็บภาษีอากรและ
นำไปใชจ้ ่าย อย่างไรจึงจะเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ แกป่ ระชาชนเจ้าของประเทศ
4. ครใู ชเ้ ทคนิคการบรรยาย ความหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายการคลงั
นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) หมายถึง นโยบายเกี่ยวกับการหารายได้และการใช้จ่ายของรัฐบาล ซึ่งเป็นเครื่องมือในการ
กำหนดแนวทาง เป้าหมายและการดำเนินงาน เพ่ือให้บรรลุเปา้ หมายทางเศรษฐกจิ การดำเนนิ นโยบายการคลังอาจใชว้ ิธกี ารต่าง
ๆ เชน่ การเปล่ยี นแปลงการใชจ้ า่ ยของรัฐบาล การเปลี่ยนแปลงแหล่งและวธิ กี ารหารายได้ การเปลี่ยนแปลงอตั ราภาษี เปน็ ตน้
4.1 วัตถุประสงคข์ องนโยบายการคลัง
นโยบายการคลังมีวตั ถุประสงค์ท่ีสำคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ขาดเสถียรภาพมักจะก่อให้เกิด ความเดือดร้อนแก่ประชาชน
จำนวนมาก นโยบายการคลังจงึ ตอ้ งพยายามสรา้ งเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ สร้างเสถียรภาพในตลาดเงิน และความสมดุลในบัญชี
เดินสะพดั
2. การเสริมสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกจิ จะมีการขยายตัวกต็ ่อเมื่อการสะสมทุนมีอัตราการเพิ่มสูงกวา่
อตั ราการเพ่มิ ของประชาชน รฐั บาลอาจใชน้ โยบายการคลังโดยเพิ่ม การใช้จ่ายในด้านการศึกษา เพ่ือยกระดับความรู้และทักษะ
ของประชาชนให้สูงขนึ้ หรอื เพมิ่ การลงทุน ดา้ นสาธารณูปโภค เพื่ออำนวยความสะดวกแก่การลงทนุ และการผลิตของภาคเอกชน
รวมท้ังการเลือกใช้ ประเภทและอัตราภาษีเพือ่ จงู ใจนกั ลงทุน
3. การส่งเสริมการจัดสรรทรัพยากรระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐบาลให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การที่รัฐบาลเข้าไปยุ่ง
เกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจไมว่ ่าจะเป็นการผลิตสินค้าและบริการด้วยตนเอง หรือ การเก็บภาษีอากร ล้วนทำให้รัฐบาลต้อง
เสียค่าใช้จ่าย หากรัฐบาลใช้ทรัพยากรของสังคมมาก ทรัพยากรที่ เหลือสำหรับภาคเอกชนก็จะลดลง นโยบายการคลังจึงมี
ความสำคัญในการกำหนดว่า การจัดสรรทรัพยากร ระหว่างภาครัฐบาลและภาคเอกชนเป็นไปในสัดส่วนที่ทำให้สังคมได้รับ
สวัสดิการสงู สุดหรือไม่ และการจัดสรร ทรัพยากรในภาครัฐบาลมีประสิทธิภาพเพียงใด รัฐบาลสามารถจัดหาสินค้าและบริการ
สาธารณะทง้ั ปริมาณ และคุณภาพตรงกับความต้องการของประชาชนหรือไม่
4. การส่งเสริมการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำของรายได้ เนื่องจากแผนการ ใช้จ่ายของรัฐบาลจะเป็น
ตัวกำหนดว่าประชาชนกลุ่มใดได้รับประโยชน์จากการใช้จ่ายของรัฐบาล และ แต่ละกลุ่มได้รับประโยชน์มากน้อยต่างกันเท่าใด
ส่วนแผนการหารายไดต้ ้องวิเคราะห์วา่ ประชาชนกลมุ่ ใด เปน็ ผรู้ ับภาระการใชจ้ ่ายของรฐั และแตล่ ะกลุม่ รับภาระมากน้อยต่างกนั
เท่าใด ดงั นั้น นโยบายการคลงั จงึ สามารถนำไปสูก่ ารปรบั ปรงุ การกระจายรายไดข้ องประชาชนใหม้ คี วามเทา่ เทยี มกันมากขึน้
5. การแก้ไขปัญหาความยากจน รัฐบาลมีหน้าที่ดูแลแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน โดยมุ่งเน้นผู้ที่ยากจนที่สุดและ
แกป้ ัญหาความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
5. ครูใชส้ ่อื PowerPoint ประกอบเทคนิคการบรรยาย ประเภทและเครือ่ งมือของนโยบายการคลงั
โดยทั่วไปแยกนโยบายการคลังออกเป็น 2 แบบ คือ การแบ่งนโยบายการคลังตามลักษณะ การทำงานและการแบง่ นโยบายการ
คลงั ตามปญั หาทต่ี ้องแก้ไข

1. นโยบายการคลงั จำแนกตามลกั ษณะการทำงาน แบง่ เปน็ นโยบายการคลงั แบบอัตโนมัติ และนโยบายการคลงั แบบตง้ั ใจ
1) นโยบายการคลังแบบอัตโนมัติ เป็นนโยบายการคลังที่สามารถปรับตัวเพื่อให้เกิด เสถียรภาพหรือลดความผันผวนได้โดย
อัตโนมัติ กลา่ วคือ จะชว่ ยชะลอการใช้จา่ ยมวลรวมไมใ่ ห้เพิ่มสูงขน้ึ มากเกินไปในขณะทีเ่ กิดภาวะเงนิ เฟอ้ และช่วยพยงุ การใช้จ่าย
มวลรวมไมใ่ หล้ ดลงมากเกนิ ไปในขณะท่เี กิด ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ เครอ่ื งมอื ของนโยบายการคลังแบบอัตโนมตั ิ ไดแ้ ก่ ภาษีเงินได้
และรายจ่ายเงินโอน และเงนิ ชว่ ยเหลอื
2) นโยบายการคลังแบบตั้งใจ ในกรณีที่ระบบเศรษฐกิจมีความผันผวนมากและเกิดขึ้นเป็น เวลานาน การแก้ไขปัญหาโดยใช้
นโยบายการคลงั แบบอัตโนมตั ิอาจไมไ่ ด้ผล รัฐบาลจะต้องใชน้ โยบายการคลัง แบบตงั้ ใจ เคร่ืองมือของนโยบายการคลังแบบต้ังใจ
ไดแ้ ก่ การเปลี่ยนแปลงชนดิ ของภาษี อัตราภาษี และการเปล่ยี นแปลงระดับการใชจ้ า่ ยของรฐั บาล
2. นโยบายการคลงั จำแนกตามลักษณะปัญหาเศรษฐกิจทีต่ ้องแก้ไข แบ่งเป็นนโยบายการคลงั แบบขยายตวั และนโยบายการ
คลงั แบบหดตัว
1) นโยบายการคลงั แบบขยายตัว เปน็ นโยบายการคลงั ที่เพ่มิ งบประมาณรายจา่ ยและ ลดภาษี เปน็ การใชจ้ ่ายงบประมาณแบบ
ขาดดลุ และเปน็ การยกระดับรายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกจิ เพราะรายจ่ายของรัฐบาลจะเพ่มิ ขนึ้ แล้ว การลดภาษยี ังมผี ลให้
รายจ่ายในภาคเอกชนเพิ่มสูงขึ้น การดำเนินนโยบายการคลังดังกล่าว ทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว การจ้างงานและรายได้
ประชาชาติ เพิ่มสูงขึ้น รัฐบาลใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัวในกรณีที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ รายจ่ายมวลรวม มีไม่เพียง
พอทจี่ ะทำใหเ้ กิดภาวะการจ้างงานเต็มทไ่ี ด้
2) นโยบายการคลั งแบบหดตั วเป็ นนโยบายการคลั งที่ ลดงบประมาณรายจ่ายและเพิ่ มภาษี หรือการตั้งงบประมาณแบบ
เกินดลุ เพ่อื ให้ความต้องการใช้จา่ ยมวลรวมลดลง อันจะนำไปสู่การลดแรง กดดันของภาวะเงินเฟอ้
6. ครูใชส้ ่อื PowerPoint ประกอบเทคนคิ การบรรยาย รายไดแ้ ละรายจา่ ยสาธารณะของรฐั บาล
6.1 รายได้ของรฐั บาล
รายได้ของรัฐบาล (Government Revenue) เนือ่ งจากรฐั บาลตอ้ งใชจ้ า่ ยเพื่อบริหารราชการ แผ่นดนิ ตามภาระหน้าท่ีในด้าน
ต่าง ๆ เช่น การป้องกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย การศึกษา การพัฒนาเศรษฐกิจ การให้สวัสดิการแก่ประชาชน
เปน็ ตน้ ดงั น้ัน รฐั บาลจึงมีหน้าที่ในการหารายไดจ้ าก แหลง่ ตา่ ง ๆ ซึ่งส่วนใหญเ่ ป็นรายได้จากประชาชนเกือบทงั้ หมด ทำให้สง่ ผล
กระทบตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ภาคต่างๆ แหลง่ ที่มาของรายได้รฐั บาล โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. รายได้ที่เป็นภาษีอากร (Tax Revenue) รายได้หลักที่สำคัญที่สุดของรัฐบาล คือ รายได้ จากการจัดเก็บภาษีอากรประเภท
ต่าง ๆ การเก็บภาษีอากรที่เพิ่มมากขึ้น จะทำให้รัฐบาลมีงบประมาณ เพื่อนำไปใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น แต่รัฐบาลต้องคำนึง ถึง
ความสามารถในการเสยี ภาษีของประชาชนดว้ ย ภาษี ทีร่ ัฐบาลจดั เก็บแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ
1) ภาษีทางตรง (Direct Tax) คือ ภาษีที่ผู้เสียภาษีเป็นผู้แบกรบั ภาระของภาษีนัน้ ทั้งหมด หรือเป็นส่วนใหญ่ ไม่สามารถผลกั
ภาระภาษีไปให้ผู้อื่นได้ เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีการใช้จ่าย เพื่อการบริโภค ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีการ
ประกนั สังคม ภาษมี รดก ภาษที ่เี กบ็ จากทนุ เเละภาษีการ ใหโ้ ดยเสนห่ า เป็นตน้
2) ภาษที างออ้ ม (Indirect Tax) คอื ภาษที ีผ่ เู้ สยี ภาษีไม่ไดเ้ ปน็ ผู้แบกรับภาระของภาษีน้นั ผเู้ สียภาษีสามารถผลักภาระภาษีไป
ใหผ้ ู้อน่ื ได้ เช่น รัฐบาลเก็บภาษสี รรพสามติ จากผูผ้ ลิตสุรา ผทู้ ี่ผลิตสุรา จะผลักภาระภาษีทง้ั หมดหรือสว่ นหนึ่งที่ตนต้องเสียให้กับ
รฐั บาลแก่ผู้บริโภคในรปู ของการขายสุราในราคา ทแ่ี พงขึน้ เปน็ ต้น ภาษีทางออ้ ม ได้แก่ ภาษีสนิ คา้ ขาเข้า ภาษีสินคา้ ขาออก ภาษี
สรรพสามิต ภาษีการคา้ ภาษที รัพยส์ นิ อากรและแสตมป์ คา่ ใบอนญุ าตและกำไรจากรัฐวิสาหกิจ
การใช้ประโยชน์จากภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อมเป็นเครื่องมือในการดำเนินนโยบายของ รัฐบาล เช่น ในการใช้ภาษีเป็น
เครื่องมอื ในการกระจายรายได้ รัฐบาลควรใชภ้ าษที างตรงเป็นเครือ่ งมอื เพราะภาษที างตรงนนั้ ภาระภาษีทร่ี ฐั บาลจัดเก็บมักตก
แก่ผู้เสยี ภาษี ดังนั้น รฐั บาลจึงจะเลือกใช้ภาษี แตล่ ะชนดิ เกบ็ จากผู้ท่ีรัฐบาลตอ้ งการจะลดความไดเ้ ปรยี บทางเศรษฐกิจ เช่น การ
เกบ็ ภาษมี รดก หรือ การเก็บภาษเี งินได้บุคคลธรรมดาในระบบกา้ วหน้า เปน็ ตน้
โครงสรา้ งของอัตราภาษีทีจ่ ดั เก็บมี 3 ประเภท คอื

1. อัตราภาษีตามสัดส่วน โครงสร้างภาษีของอัตราภาษีตามสัดส่วนนั้น อัตราภาษีที่จัดเก็บจะอยู่คงที่ เมื่อฐานของภาษี
ขยายใหญข่ ึน้ ภาษีที่จัดเกบ็ โดยมอี ตั ราภาษคี งท่ี เชน่ ภาษีศลุ กากร ภาษสี รรพสามิต ภาษีมูลคา่ เพ่มิ เป็นตน้

2. อัตราภาษีแบบกา้ วหนา้ โครงสรา้ งภาษแี บบกา้ วหนา้ นัน้ อตั ราภาษที จ่ี ัดเกบ็ จะเพิ่มขึ้น เรว็ กวา่ ฐานภาษที ่ีเพม่ิ ข้นึ การจัดเก็บ

ภาษีในอัตราก้าวหน้านี้ถือเป็นการจัดเก็บที่ทำให้เกิดการกระจายรายได้ ตัวอย่างภาษีอัตราก้าวหน้านี้ ได้แก่ ภาษีเงินได้ บุคคล

ธรรมดา

3. อตั ราภาษแี บบถดถอย โครงสรา้ งของอัตราภาษแี บบถดถอย จะมลี ักษณะท่วี ่าเม่อื ฐานภาษี ขยายใหญข่ ้ึน อัตราภาษีท่ีจัดเก็บ

นั้นจะลดลง การจัดเก็บภาษีแบบถดถอยนี้ ผู้มีรายได้น้อยต้องเสียภาษี ในอัตราที่สูงกว่าผู้มีรายได้สูง ภาษีอัตราแบบถดถอยนี้

ได้แก่ ภาษีบำรุงท้องที่ ที่ขณะนี้กำหนดให้ อัตราภาษีของราคาที่ดินต่ำกว่าไร่ละ 30,000 บาท อัตรา 0.5% ของราคาที่ดินปาน

กลาง และราคาท่ีดิน เกินไร่ละ 30,000 บาท อัตราไรล่ ะ 0.25%

2. รายไดแ้ ละรายรับที่มิใชภ่ าษีอากร (Non-Tax Revenue) นอกจากรายไดท้ ่ีเปน็ ภาษีอากรแล้ว รัฐบาลยังมรี ายได้ในรูปอ่ืน

ๆ เพือ่ นำมาใชจ้ ่ายในกจิ การของรัฐ รายไดอ้ ่นื ๆ นน้ั พอจะแบง่ ได้ดังนี้

1) รายได้จากการประกอบธุรกิจของรัฐบาล เป็นรายได้ที่อยู่ในรูปของรัฐวสิ าหกิจหรือในรูปของ หน่วยงานอื่น ๆ รายได้ท่เี กดิ

จากการประกอบธุรกจิ ของรัฐจากการผลิตหรือจำหน่ายสนิ คา้ และบริการตา่ ง ๆ แก่ประชาชน กล่าวคือ การซอื้ สนิ ค้าและบริการ

ของรัฐบาลโดยประชาชนจะเป็นไปตามความสมัครใจ ส่วนที่เป็นรายได้ของรัฐบาลก็คือ กำไรจากการประกอบธุรกิจดังกล่าว

อยา่ งไรกต็ าม รฐั บาลมเี หตุผล ในการเข้าไปประกอบกิจการ ดังน้ี

(1) เพ่ือทำการผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารบางอย่างทจ่ี ำเป็นต่อความเปน็ อยู่ของประชาชน อาทิ สิ่งสาธารณูปโภค

(2) เพ่อื เป็นการใหส้ วสั ดกิ ารแกป่ ระชาชน โดยรฐั บาลเปน็ ผผู้ ลิตสนิ คา้ และบรกิ าร บางอย่างและขายให้แก่ประชาชนในราคาที่ต่ำ

เช่น การจัดบรกิ ารรถโดยสารประจำทาง การสรา้ ง อาคารสงเคราะห์ เป็นต้น

(3) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการหารายได้ รัฐบาลอาจทำการผูกขาดการผลิตสินคา้ และ บริการบางอย่างเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการ

หารายไดข้ องรัฐบาล เชน่ การผกู ขาดการผลิตหรอื จำหนา่ ยสรุ า และยาสบู เปน็ ตน้

2) รายได้จากการกู้ยืมหรือการก่อหนี้สาธารณะ เป็นวิธีการกู้ยืมเงินจากประชาชน หรือ กู้ยืมเงินจากต่างประเทศ การก่อหนี้

สาธารณะของรัฐบาลเป็นการหาเงินมาใช้จ่ายก่อนแล้วเก็บภาษีทีหลัง กล่าวคือ การกู้ยืมนั้นเพื่อใช้จ่ายในกิจการต่าง ๆ ของ

รัฐบาล เมื่อถึงเวลาชำระหนี้ รัฐบาลจะจัดเก็บภาษีจาก ประชาชนมาชำระหน้ี ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องพิจารณาต่อไปคือ ภาษีที่เก็บ

มาเพ่อื ชำระหน้นี ัน้ เก็บกบั ใคร และ ภาระในการกยู้ มื ของรัฐบาลนั้นตกแก่ใคร

ปญั หาเก่ียวกบั การกอ่ หนี้สาธารณะ มดี ังนี้

(1) รัฐบาลทำการกู้ยืมเพื่อนำไปใช้จ่ายในกิ จการใด และสามารถทำการใช้จา่ ยเงินที่กู้ยืมมานั้นคุ้มค่าหรือไม่ ถ้ารัฐบาลกู้ยืมมา

เพื่อนำไปใช้จ่ายเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และใช้เงินกู้นั้น อย่างคุ้มค่าแล้ว การกู้ยืมของรัฐบาลนั้นจะเป็น

คุณประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม แต่ถ้ารัฐบาลนำเงนิ กู้ ที่ได้มาไปใช้จ่ายอย่างไม่คุ้มค่าอาจก่อใหเ้ กดิ ผลเสยี ต่อระบบเศรษฐกจิ ของ

ประเทศ

(2) รัฐบาลตอ้ งพิจารณาว่าการกู้ยืมแต่ละครั้งมีความเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศ หรือไม่ กล่าวคือจะต้องพิจารณา

ว่าการกู้ยืมนั้นมีผลต่อภาวะเงินเฟ้อภาวะการจ้างงาน และการลงทนุ ของภาคเอกชนอย่างไร โดยหลักแล้วรัฐบาลจะต้องทำการ

กู้ยืมโดยคำนงึ ถงึ ประโยชน์และเสถยี รภาพทาง เศรษฐกจิ ของประเทศเป็นสำคญั

(3) รัฐบาลต้องพิจารณาว่าการกู้ยืมเงินนั้นทำการกู้ยืมจากใคร และมีผลต่อภาวะเศรษฐกจิ อย่างไร หรือมีผลต่อภาวะการชำระ

เงินกขู้ องประเทศอยา่ งไร แลว้ ใครจะเปน็ ผูแ้ บกรบั ภาระการชำระหนี้ ดงั กลา่ ว

ในกรณีที่กู้ยืมเงินในประเทศ รัฐบาลต้องพิจารณาว่าการกู้ยืมจากแต่ละแหล่งมีผลในด้านการ เพิ่มปริมาณเงินมากน้อยเพียงใด

เช่น การกู้ยืมจากธนาคารกลางจะมีผลทำให้ปริมาณเงินเพิ่มขึ้นมาก จนอาจเป็นเหตุให้เกิดเงินเฟ้อได้ง่าย ในกรณีของการกู้ยืม

จากต่างประเทศ รัฐบาลจำเป็นต้องพจิ ารณาถงึ ความเหมาะสมในการ ก่อหนี้สาธารณะ แตล่ ะคร้ัง เพราะการกู้ยืมจาก

ตา่ งประเทศเท่ากบั เป็นการนำทรพั ยากรของประเทศ จำนวนหนง่ึ ไปชำระหน้แี ละดอกเบย้ี ให้แกต่ า่ งประเทศ

3) รายได้จากการบริหาร เป็นรายได้ที่เกิดจากการบริหารของรัฐบาล ได้แก่ ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต และค่าปรับ รายได้

ประเภทน้มี ีลักษณะคลา้ ยกบั รายไดท้ เ่ี กดิ จากการประกอบกจิ การของ รัฐบาล การจดั เกบ็ มักจะเป็นไปตามหลักของผลประโยชน์

ที่ผู้เสียค่าธรรมเนียมหรือค่าใบอนุญาตได้รับ ประโยชน์ กล่าวคือ ผู้ที่เสียค่าธรรมเนียมหรือค่าใบอนุญาตนั้นจะเป็นผู้ที่ได้รับ

บริการบางอย่างโดยตรง จากรฐั บาล เช่น ค่าธรรมเนียมหนงั สอื เดนิ ทางไปตา่ งประเทศ คา่ ใบอนญุ าตขับข่รี ถยนต์ เป็นต้น แต่ผู้ที่

เสยี ค่าปรบั ไมไ่ ด้เปน็ ผ้ทู ี่ไดร้ ับประโยชน์ เพราะเขาละเมดิ กฎระเบยี บ หรือกฎหมายของสังคม

4) รายได้จากการบริจาค รายได้ที่เกดิ จากการบริจาคถือเป็นการให้เปล่าโดยสมัครใจ ของผู้ให้ เช่น ในแต่ละปีมีผู้บริจาคเงิน
และทรพั ย์สนิ ใหแ้ กโ่ รงพยาบาล โรงเรยี น สถานที่ราชการของรัฐบาล เปน็ เงนิ จำนวนมาก
6.2 รายจา่ ยสาธารณะของรัฐบาล
รายจ่ายสาธารณะของรัฐบาล (Public Expenditure) หมายถึง การใช้จ่ายของรัฐบาลเพื่อรักษา ระดับการดำเนินงานของ
รัฐบาล และเพอ่ื ผลประโยชน์ของสังคมโดยรวม การใช้จา่ ยของรฐั บาลแบ่งออก เปน็ 3 แนวทาง ดงั น้ี
1. การใช้จ่ายเพื่อรักษาระดับการบริหารงานของรัฐบาล เป็นรายจ่ายที่สำคัญที่สุดการใช้จ่ายในส่วนนี้ ได้แก่ การใช้จ่าย
เกี่ยวกับการบริหาร การรักษาความสงบภายใน การปอ้ งกันประเทศ และ รัฐบาลมกั ใชเ้ งินเป็นจำนวนมากในแต่ละปี
2. การใช้จ่ายเพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวม รัฐบาลต้องใช้จ่ายในกิจการต่าง ๆ ทั้งในด้านสังคมและด้านเศรษฐกิจ
เพื่อท่ีจะทำใหป้ ระชาชนส่วนใหญม่ ชี ีวิตความเป็นอยู่ท่ีดขี ้ึน การใช้จ่ายใน สว่ นนีไ้ ด้แก่ การจดั สรรการใชท้ รัพยากรของสงั คม การ
จัดสรรการกระจายรายได้ การรกั ษาเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจและการสง่ เสริมความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ รายได้ประเภทนี้
มกั จะเปน็ รายจา่ ยท่ี เกี่ยวกับการลงทุนของรฐั บาล
3. การใช้จ่ายเพ่ือชว่ ยเหลือต่างประเทศ ปัจจบุ นั ประเทศต่าง ๆ มกั จะมกี ารคบหาสมาคมกัน เพ่ือแสวงหาอิทธิพลของประเทศ
และเพ่ือความสงบสุขของโลก รัฐบาลจึงต้องใช้จา่ ยเพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกต่ า่ งประเทศเปน็ เงินจำนวนหนงึ่ เป็นประจำ รายจา่ ย
ประเภทน้มี ักคำนึงถงึ ผลประโยชนข์ องประเทศ เป็นสำคัญ
6.2.1 ประเภทของรายจ่ายสาธารณะ
รายจา่ ยสาธารณะจำแนกได้หลายแบบ ตามหลักพิจารณาวา่ การใชจ้ ่ายแตล่ ะรายการของรัฐบาล มีผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจ หรือ
มผี ลต่อการจัดสรรการใชท้ รัพยากรภายในสงั คมอย่างไร
1. การจำแนกรายจา่ ยตามลักษณะการเพม่ิ พูนประสิทธิภาพการผลติ โดยตรง ซ่งึ แบง่ ออกได้ 2 ลักษณะ ดังน้ี
1) รายจ่ายทเ่ี พม่ิ พูนประสทิ ธภิ าพการผลิตโดยตรง เป็นการใชจ้ า่ ยเพื่อการลงทุนของรฐั บาล จะช่วยให้ประเทศมีจำนวนสนิ ค้าทุน
และมีความสามารถในการผลิตเพ่ิมข้นึ ซึ่งจะชว่ ยให้ประเทศมคี วามสามารถ ในการขยายการผลติ เพม่ิ ขนึ้ ในอนาคต รายจ่ายน้ีจะ
ช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และจะช่วยให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น การลงทุนสร้าง
ระบบสาธารณูปโภค และการลงทนุ ทางด้านงานวิจยั และพฒั นา เป็นต้น
2) รายจ่ายทไ่ี ม่ไดเ้ พิม่ พนู ประสิทธภิ าพการผลิตโดยตรง เป็นรายจา่ ยเพอื่ การบรโิ ภคของรัฐบาล เช่น การรักษาความสงบภายใน
การบริหารงานของรัฐบาล เปน็ ตน้ รายจ่ายน้มี ีความสำคัญตอ่ ความเจริญ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของประเทศ และชว่ ยเพม่ิ ความอยู่
ดกี นิ ดีของประชาชน
2. การจำแนกรายจ่ายจากการเคล่ือนย้ายการใช้ทรัพยากรระหวา่ งภาคเอกชนและภาค รัฐบาล ซงึ่ แบง่ ได้ 2 ลักษณะ ดงั น้ี
1) การใช้จ่ายที่มีการเคลื่อนย้ายทรัพยากรโดยตรง เป็นรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อสินค้าและ บริการของรัฐบาล ซึ่งทำให้เกิดการ
เคลือ่ นยา้ ยการใชท้ รัพยากรโดยตรงระหว่างภาครัฐบาลและภาคเอกชน เช่น การใช้จา่ ยเพือ่ ป้องกนั ประเทศ การรกั ษาความสงบ
ภายใน การจดั บริการการศึกษา เปน็ ต้น การใช้จ่าย ในลักษณะนร้ี ัฐบาลตอ้ งดงึ เอาทรพั ยากรบางสว่ นมาจากภาคเอกชน โดยการ
เก็บภาษีอากรหรือการกู้ยืม เมื่อรัฐบาลเก็บภาษีไปแล้ว รัฐบาลจะนำไปใช้จ่ายในกิจการต่าง ๆ ที่รัฐบาลต้องการ การใช้จ่าย
ประเภทนี้ จะเปน็ การเพ่มิ บทบาทในทางเศรษฐกิจของรฐั บาล และเปน็ การลดบทบาทในทางเศรษฐกจิ ของเอกชน
2) การใชจ้ า่ ยทไ่ี ม่มกี ารเคลือ่ นยา้ ยทรพั ยากรโดยตรง เปน็ รายจา่ ยเก่ยี วกบั การถ่ายโอนเงิน ของรฐั บาลกับเอกชน เช่น รายจ่ายที่
เก่ียวกับการให้เงินเดือนและสวสั ดกิ าร รายจา่ ยเกย่ี วกบั บำเหนจ็ บำนาญ เปน็ ต้น รฐั บาลเก็บภาษมี าเพือ่ ใชจ้ ่ายเป็นเงินสวัสดิการ
แก่พนักงานหรือคนบางกลุม่ การกระทำเช่นนี้จะไม่ทำให้ เกิดการเคล่ือนย้ายทรัพยากรโดยตรงจากเอกชนสู่รัฐบาล แต่เป็นการ
ถ่ายโอนทรัพยากรจากเอกชนโดยมี รัฐบาลเปน็ ตวั กลาง รัฐบาลเพียงทำหน้าที่เก็บภาษอี ากรจากคนบางกลุ่ม แล้วนำเงินภาษีมา
จ่ายใหแ้ กค่ น อีกกลุ่มหนึง่ เท่านั้น
3. การจำแนกรายจ่ายตามลกั ษณะงาน จำแนกได้ 5 ประเภท ดงั นี้
1) รายจ่ายเกี่ยวกับบริการเศรษฐกิจ ได้แก่ เกษตรกรรมและทรัพยากรที่ไม่ใช่แร่ธาตุ เชื้อเพลิง และพลังงาน ทรัพยากรแร่
อตุ สาหกรรม การกอ่ สร้าง การขนสง่ การเกบ็ รักษาสินคา้ การคมนาคม โครงการอเนกประสงคแ์ ละบริการเศรษฐกิจอ่นื ๆ
2) รายจา่ ยท่ีเก่ียวกับการบริการสงั คม ได้แก่ การศึกษา การสาธารณสุข การประกันสงั คม และสวสั ดกิ ารพิเศษ และการบรกิ าร
ชุมชน

3) รายจ่ายท่เี ก่ียวกับการป้องกันประเทศ

4) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรกั ษาความสงบภายใน

5) รายจ่ายที่เกี่ยวกบั การบริหารท่ัวไป ได้แก่ การบริหารทั่วไป การตำรวจและตุลาการ การบริการวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์

ทั่วไป

6.2.2 หลกั การทด่ี เี ก่ียวกบั รายจ่ายสาธารณะของรฐั บาล

หลักการที่ดีของการใชจ้ า่ ยของรัฐบาล แบง่ ได้ 4 หลกั การ ดงั นี้

1. หลักของการประหยัด เนื่องจากทรัพยากรของสังคมมีอยู่จำกัด ดังนั้น การใช้จ่ายของรัฐบาล จะต้องเป็นไปในลักษณะท่ี

ประหยดั หรอื ใช้เงินอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากทสี่ ดุ โดยตอ้ งพยายามไมใ่ ห้เกิด การสูญเปลา่ ในการใช้ทรัพยากร

2. หลักของผลประโยชน์ หลักนี้จะพิจารณาถึงผลประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการใช้จ่ายและผลประโยชน์ ของการใช้จ่ายที่จะตกแก่

สงั คม เช่น การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การจัดสรรการกระจายรายได้ของ สังคม เปน็ ต้น ตัวอย่างเช่น ในขณะท่ีเศรษฐกิจ

ซบเซา รัฐบาลต้องใชจ้ า่ ยเงินเพ่อื กระต้นุ การขยายตวั ทาง เศรษฐกิจ ช่วยให้คนมีงานทำ และมีรายได้

3. หลักของการกลน่ั กรอง เพื่อใหก้ ารใช้จา่ ยนีเ้ ป็นประโยชน์ต่อสงั คมมากท่ีสุด แต่การใช้จ่ายของ รัฐบาลต้องผ่านการกลั่นกรอง

ในระดับตา่ ง ๆ อยา่ งรอบคอบทง้ั ในระดบั รัฐบาลและรัฐสภา

4. หลักของการสร้างส่วนเกิน เมื่อพิจารณางบประมาณแผ่นดินของรัฐบาล รัฐบาลจึงควรยึด หลักของการสร้างส่วนเกินของ

งบประมาณในระยะเวลาพอสมควร โดยทั่วไปรัฐบาลจะมีการใช้จ่ายมากกว่า รายได้เสมอ ทำให้เกิดงบประมาณขาด

ดุล แตร่ ฐั บาลไมค่ วรจัดทำงบประมาณขาดดุลเป็นประจำ เพราะ อาจทำใหเ้ กดิ ผลเสียต่อระบบเศรษฐกจิ คือ อาจทำให้เกดิ ภาวะ

เงินเฟอ้

7. ครูใช้สื่อ PowerPoint / เขียนกระดาน ประกอบเทคนคิ การบรรยาย งบประมาณแผ่นดนิ (Government Budget)

งบประมาณ (Budget) หมายถึง แผนการปฏิบัติงานของรัฐบาลที่แสดงในรูปตัวเงินที่เสนอ ต่อรัฐสภา ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

โดยปกตจิ ะกำหนดระยะเวลา 1 ปี คอื เรมิ่ ตน้ วันที่ 1 ตุลาคม และสิน้ สุด วนั ท่ี 30 กนั ยายน ของปถี ัดไป โดยมีสำนกั งบประมาณ

เปน็ ผ้รู บั ผิดชอบจัดทำงบประมาณประจำปี

7.1 ความสำคญั ของงบประมาณ

งบประมาณมคี วามสำคญั ต่อการบรหิ ารงานของรัฐบาล ท้งั ในด้านเศรษฐกจิ และการเมือง สรปุ ไดด้ งั นี้

1. รัฐบาลใชง้ บประมาณเป็นเครื่องมือในการบริหารราชการแผ่นดินตามที่รัฐบาลได้แถลงนโยบายไว้ รัฐบาลสามารถใชแ้ ผนงาน

เหล่านั้นตรวจสอบการทำงานของหน่วยงานของรัฐบาล เพื่อพิจารณาว่า หน่วยงานต่าง ๆ ทำงานบรรลุเป้าหมายและมี

ประสิทธิภาพในการทำงานหรอื ไม่

2. รัฐบาลสามารถใช้ งบประมาณทั้ งในด้านรายไดแ้ ละการใชจ้ ่ายของรัฐบาลท ำงานเพื่ อให้ บรรลุ เปา้ หมายทางเศรษฐกิจของ

รฐั บาล เช่น การพัฒนาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การรักษาเสถียรภาพ ทางเศรษฐกจิ การแกป้ ญั หาการกระจายรายไดข้ อง

สังคม การกระจายความเจรญิ สูภ่ มู ิภาค เป็นต้น

3. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามารถใช้งบประมาณเป็นเครื่องมือควบคุมและตรวจสอบ การทำงานของรัฐบาลตั้งแต่การอนุมตั ิ

งบประมาณ การแปรญัตติ และการตรวจสอบการใช้จ่ายของรฐั บาล

7.2 ลักษณะของงบประมาณแผน่ ดนิ ที่ดี

งบประมาณท่ีดีควรมลี ักษณะดงั นี้

1. เป็นศูนย์รวมของเงินแผ่นดิน กล่าวคือ รายรับและรายจ่ายของรัฐบาลทุกรายการจะต้องปรากฏ อยู่ในงบประมาณแผ่นดิน

ทั้งหมด และถ้าไม่จำเปน็ ไมค่ วรมงี บพิเศษนอกงบประมาณ เพราะจะทำใหย้ งุ่ ยาก ตอ่ การควบคมุ

2. งบประมาณจะต้องถือหลักพัฒนา โดยใช้งบประมาณแผ่นดินเป็นเครื่องมือที่จะนำความเจริญ ก้าวหน้ามาสู่ประเทศให้มาก

ท่สี ุด

3. งบประมาณจะต้องถือหลักประหยัด กล่าวคือ งบประมาณรายรับจะต้องจัดเก็บรายได้ โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด และ

งบประมาณรายจ่ายต้องใชจ้ ่ายเงนิ ตามโครงการตา่ ง ๆ อยา่ งประหยัดและ มปี ระสทิ ธิภาพมากทสี่ ุด

4. งบประมาณจะต้องมีระยะเวลาท่ีเหมาะสม ตามปกติจะมีระยะเวลา 1 ปี ซึ่งปีงบประมาณ ของแต่ละประเทศอาจแตกต่างไป

ตามความเหมาะสม

7.3 ลักษณะของงบประมาณ
ตามปกตินโยบายงบประมาณแผน่ ดินของประเทศใดประเทศหน่งึ ในระยะเวลาหนึง่ ๆ ซึง่ มี 3 ลกั ษณะ ดังน้ี
1. งบประมาณสมดุล (Balanced Budget) หมายถึง งบประมาณรายไดเ้ ท่ากับรายจ่ายของ รัฐบาลเท่ากนั พอดี งบประมาณ
ประเภทนี้ไม่ได้ถือว่าเป็นงบประมาณที่มีประสิทธิภาพเสมอไป เช่น ในกรณี เกิดภาวะเงินเฟ้อ หากรัฐบาลมีรายรับมากกว่า
รายจ่าย การใช้นโยบายงบประมาณสมดุล รัฐบาลต้อง ใชจ้ ่ายเงินเพ่มิ ข้ึน จะมผี ลให้เงนิ เฟ้อรนุ แรงมากย่ิงข้นึ ในทางตรงข้าม ใน
ภาวะเงนิ ฝดื หากรัฐบาลมรี ายจ่าย มากกว่ารายรับ การใช้นโยบายงบประมาณสมดุล จะทำใหร้ ัฐบาลตอ้ งจดั เกบ็ ภาษีเพ่ิมขึ้นเพื่อ
หารายได้ให้สูงขึ้น จะทำให้ธุรกิจการค้าและอุตสาหกรรมซบเซามากขึ้น และเกิดภาวะเงินฝืดที่มีความรุนแรงมากขึ้นเช่นกัน
ดังนัน้ การใช้นโยบายงบประมาณสมดุล รฐั บาลควรตอ้ งดำเนินการอยา่ งระมดั ระวงั
2. งบประมาณขาดดุล (Deficit Budget) หมายถงึ งบประมาณรายจ่ายมากกว่างบประมาณ รายรับจะเกิดข้นึ ในกรณีท่รี ฐั บาล
มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงินเพิ่มมากขึ้นในโครงการลงทุนต่าง ๆ เพื่อเพิ่ม ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในกรณีนี้รัฐบาล
จะต้องกู้เงินมาเพื่อใช้จ่าย ดังนั้น การใช้นโยบาย งบประมาณขาดดลุ นี้ รัฐบาลควรนำมาใช้ในขณะที่เกิดภาวะเศรษฐกจิ ซบเซา
หรอื เกิดภาวะเงนิ ฝดื เพราะ การทร่ี ฐั บาลใชจ้ า่ ยเงนิ เพ่ิมขน้ึ จะทำให้อปุ สงค์มวลรวมเพ่มิ ข้ึนด้วย การท่ีรัฐบาลใชง้ บประมาณขาด
ดุล แสดงว่าการใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาลมีมากกว่าภาษีอากรที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ปริมาณเงิน ในระบบเศรษฐกิจจงึ
เพิ่มขึ้น ประชาชนสามารถใช้จ่ายเพื่อการบริโภคได้มากขึ้น รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น และระบบเศรษฐกิจขยายตัว ผลผลิตจะ
เพม่ิ ขนึ้ ในกรณที ่ีมีการจ้างงานเต็มที่ แต่ถ้ารฐั บาลดำเนนิ นโยบาย งบประมาณขาดดลุ ไปเรอ่ื ย ๆ จะทำใหเ้ กิดภาวะเงินเฟ้อข้ึนกับ
ระบบเศรษฐกิจ เนอ่ื งจากรายไดป้ ระชาชาติ เพ่ิมข้ึน ความตอ้ งการใชจ้ ่ายเพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภคของประชาชนจะเพ่ิมขนึ้ แต่การ
จ้างงานผลผลิตเพ่ิม ไมท่ ันกับความต้องการ ผลทต่ี ามมาคือ ราคาสนิ คา้ และบริการจะสูงขึน้ เรอ่ื ย ๆ จนเกดิ ภาวะเงินเฟ้อในท่สี ุด
ในทางตรงกันข้าม ถ้าระบบเศรษฐกิจอยู่ในภาวะตกต่ำหรือภาวะเศรษฐกิจชะงักงัน การใช้จ่าย ของรัฐบาลจะทำให้รายได้
ประชาชาติขยายตัว ปัจจัยการผลิตและแรงงานที่ว่างงานจะนำมาใช้ในการผลิต ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น สินค้าและบริการท่ี
ประชาชนต้องการเพ่ิมขน้ึ เม่อื รายได้ของประชาชนเพิม่ ขึ้น ความต้องการใชจ้ า่ ยเพือ่ การอุปโภคบริโภคกจ็ ะเพ่ิมข้นึ ดังนน้ั การใช้
นโยบายงบประมาณขาดดุลจะเป็น ผลดตี ่อระบบเศรษฐกจิ เม่อื ประสบปัญหาเศรษฐกจิ ตกต่ำ
3. งบประมาณเกินดุล (Surplus Budget) หมายถึง งบประมาณรายได้มากกว่ารายจา่ ย จะเกิดขึ้น ในกรณีที่รัฐบาลพยายาม
จำกัดจำนวนอุปสงค์มวลรวมเพื่อแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ การจัดทำงบประมาณของรัฐบาลไทย มีสำนักงบประมาณเป็นหน่วยงาน
รับผิดชอบในขั้นตอน การจัดเตรียมงบประมาณประจำปี และเมื่อรัฐสภาอนุมัติงบประมาณแล้วจะมีสำนักงบประมาณ
กรมบัญชีกลาง และสำนกั งานตรวจเงนิ แผ่นดนิ (สตง.) ควบคมุ การใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ทตี่ งั้ ไว้
สำหรับงบประมาณของรัฐบาลไทยประเภทรายรับ รายจ่าย และวงเงินงบประมาณในปีงบประมาณ 2561-2563 แสดงไว้ใน
ตารางตอ่ ไปน้ี

ตาราง แสดงรายรับของรฐั บาลจำแนกตามประเภท ประจำปงี บประมาณ 2561-2563


Click to View FlipBook Version