The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อรอุมา พงษ์ธนู, 2022-11-12 04:54:26

หลักเศรษฐศาสตร์30200-1001

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

การที่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการยอมรับในสังคมไทยอย่างกว้างขวางเพราะมาจาก ประสบการณ์ที่เป็นจริงของการ
พัฒนาทั่วทุกพ้ืนที่ การพัฒนาจะให้ความสำคัญทีค่ นโดยพฒั นาความเป็นอยูข่ องคนในครอบครวั และชุมชน ส่งเสรมิ ให้เกษตรกร
สามารถกำหนดวิถีชีวิตของตนเองและสามารถพึ่ง ตนเองได้ โดยยึดหลักทางสายกลาง มีการพัฒนาเป็นขั้นเป็นตอน นอกจากน้ี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังให้หลักการพัฒนาที่เน้นองค์รวมโดยมุ่งความสุขของบุคคล ทั้งด้านวัตถุ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม จึงช่วยให้มีกรอบท่ีกว้างกว่าในอดีต ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไม่ปฏิเสธกระแสโลกาภิวตั น์ แต่ชี้ว่าให้มี ความรู้เท่า
ทนั ให้มีความสามารถท่จี ะรบั ความผันผวนของการเปลย่ี นแปลงได้ หากจะสรุปโครงสรา้ งของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งให้ชัดเจน
ข้นึ สามารถแสดงได้ในรปู ตอ่ ไปนี้

ทางสายกลาง

พอประมาณ

มเี หตผุ ล มภี มู ิคมุ้ กัน

เง่อื นไขความรู้ เง่ือนไขคณุ ธรรม
(รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ) (ซอื่ สัตย๋ สจุ รติ ขยัน อดทน สติปัญญา แบง่ ปัน)

นำสู่

ชีวติ / เศรษฐกจิ / สังคม / สงิ่ แวดล้อม
สมดลุ / มน่ั คง / ย่ังยืน

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

จากรูป ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งน้แี บง่ เป็นสามห่วง สองเง่ือนไข คือ ความพอประมาณ ความมเี หตุมีผล และการมภี ูมิค้มุ กนั ซ่ึง
เปน็ องคป์ ระกอบของความพอเพยี งและความรู้ คุณธรรมเป็นเง่อื นไขสองประการ
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล ความจำเป็นทีจ่ ะตอ้ งมรี ะบบ ภมู ิคุ้มกนั ในตัวท่ีดพี อสมควรต่อการ
เปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก ความพอเพียง ประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผลและ
ภูมิค้มุ กันในตัวทดี่ ี

คุณลกั ษณะทง้ั 3 ประกอบดว้ ย
1. ความพอประมาณ (Moderation) หมายถึง ความพอดีที่ไม่มากเกินไปและไม่น้อยเกินไป ในการดำเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ ไมว่ ่าจะเปน็ การผลิต การบรโิ ภค การใชจ้ ่าย การออม ตอ้ งอยใู่ นระดับ ทีไ่ มส่ ามารถสรา้ งความเดอื ดร้อนให้ตนเองและ
ไมเ่ บยี ดเบียนผู้อน่ื
2. ความมเี หตผุ ล (Reasonableness) หมายถึง การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมต่าง ๆ ท่ีมี ความพอประมาณจะตอ้ งมีสติรอบ
ร้คู ิดถึงระยะยาว ตอ้ งมีเปา้ หมายและวธิ ีการท่เี หมาะสม มีความรูใ้ น
การดำเนนิ การ มีการพจิ ารณาจากเหตุ ตอ้ งเปน็ การมองระยะยาว และคำนึงถึงผลกระทบของการกระทำและ ความเสยี่ ง จะทำ
ให้มีความพอประมาณท้ังในปัจจบุ ันและอนาคต
3. การมีภมู ิคุ้มกนั ในตัวดีพอสมควร (Self-Immunity) สภาวะต่าง ๆ มีการเปล่ยี นแปลงอย่าง รวดเรว็ จงึ ต้องมกี ารเตรียมตัว
พรอ้ มรบั ผลกระทบทค่ี าดว่าจะเกดิ ขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดา้ นต่าง ๆ การกระทำทเี่ รยี กได้ว่าพอเพียงไมค่ ำนึงถึงเหตุการณ์และ
ผลในปัจจุบัน แตจ่ ำเป็นต้องคำนึงถึงความเปน็ ไปได้ ของสถานการณต์ า่ ง ๆ ที่จะเกดิ ข้นึ ในอนาคต ภายใตข้ ้อจำกัดของข้อมูลที่มี
อยแู่ ละสามารถสรา้ งภูมิคุ้มกนั พรอ้ มรบั การเปลี่ยนแปลงและการมีภูมิคุ้มกันจะทำใหม้ คี วามพอเพยี งแมเ้ มื่อมกี ารเปลี่ยนแปลงก็
สามารถ รับมือได้ เงื่อนไขต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวัง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ ในการ
วางแผนและการดำเนินการทุกข้ันตอน ในขณะเดียวกันต้องสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาตใิ ห้มี สำนึกคุณธรรม ความซื่อสัตย์
สจุ ริตและให้มีความรอบรทู้ ่เี หมาะสม ดำเนนิ ชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มสี ติปัญญาและความรอบคอบ
เงอื่ นไขความรู้ ตอ้ งประกอบด้วย ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมัดระวงั ท่ีจะนำไปสู่ การตัดสินใจในการประกอบกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจทีอ่ ยู่ในระดับพอเพียง ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม ต้องเสริมสร้าง 2 เรื่อง ได้แก่ เรื่องจิตใจและปัญญา โดยเน้นความรู้คู่
คณุ ธรรม และเร่อื งการกระทำเน้นความอดทน ความเพยี ร สติ ปัญญาและความรอบคอบ
การทำตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือการประยุกต์ คือ การตัดสินใจที่เหมาะสมโดยใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงตัดสินใจตามหลัก คือ สามห่วง สองเงื่อนไข จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน ลดความผันผวน หลัก การ
ตดั สินใจต้องเรม่ิ จากการประเมนิ ศักยภาพภายในของเรา ท้ังในระยะสัน้ และระยะยาวและใช้หลกั ปรชั ญาในการพิจารณากจ็ ะรวู้ า่
อะไรเป็นสิ่งทีค่ วรทำ อะไรเป็นสิง่ ที่ ควรมีการตดิ ต่อกบั ภายนอก หากมีหลกั ของความมีเหตผุ ล ทำให้มีความรอบรู้และมีสติมอง
ระยะยาว วิเคราะห์ศักยภาพอย่างถูกต้อง เมื่อมีเหตุผลก็จะทำให้พึ่งตนเองได้ แต่ไม่ทำอะไรเอาหมดจนขาด ประสิทธิภาพ
นอกจากน้กี ารคำนงึ ถึงความเสย่ี งและการสรา้ งภูมิคมุ้ กนั ทำให้ตระหนักวา่ ควรทำเองหรือ การตดิ ต่อภายนอกลักษณะใดทที่ ำให้
เรารบั มอื กบั การเปลยี่ นแปลงได้ดกี วา่ กนั ตัวอย่างเชน่ การใช้นํ้ามันปโิ ตรเลยี ม ประเทศไทยต้องนำเขา้ นาํ้ มนั ไมส่ ามารถผลติ ใน
ประเทศ ได้เพียงพอ ทางเลือกจึงไม่มี แตห่ ากจะให้มีความพอเพยี ง ต้องมีมาตรการในการสำรองน้าํ มัน เพื่อให้รู้ว่า หากมีปัญหา
ขาดแคลนนํ้ามันในตลาดโลกจะมีนํ้ามันใช้ในประเทศระยะหนึ่ง ทำให้มีเวลาในการปรับตัว มีการกระจายแหล่งนำเข้าเพื่อลด
ความไม่แน่นอน รวมทง้ั มีมาตรการไมใ่ ห้มกี ารพ่ึงพานํ้ามนั ปโิ ตรเลียมมาก เกินไป โดยมกี ารพฒั นาพลงั งานทดแทนที่มีความคมุ้ คา่
มีราคาทีจ่ ะสะทอ้ นในเร่ืองของต้นทุนที่แทจ้ ริง รวมถึงความขาดแคลนและความเสีย่ งด้วย
การทำตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต้องไม่มีหนีส้ ินจริงหรือไม่ โดยทั่วไปบุคคลและธุรกิจ มีความจำเป็นในการก่อหนี้ เพื่อ
การลงทุน หรือการใช้จ่ายในสินค้าคงทนที่มีมูลค่าสูง เช่น ที่อยู่อาศัย ยานพาหนะ ตู้เย็น เป็นต้น หากใช้หลักของปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงจะทำให้มีความพอเพียงในการก่อหนี้ โดยใช้หลักความมีเหตุมีผลในการพิจารณาความจำเป็นเหมาะสมของ
การกอ่ หนี้ การคาดการณ์รายได้ ในอนาคตและขนาดของการก้ทู ่ีเหมาะสม ทำใหพ้ อดีไมม่ ากไปนอ้ ยไป ไม่เบยี ดเบียนตนเองและ
ผู้อื่น นอกจากนี้ยังต้องคำนึงถึงความเสี่ยงและการมีภูมิคุ้มกัน การกู้หนี้ตามกรอบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะสร้า งความ
พอเพียง คอื เปน็ การกทู้ ีเ่ ป็นประโยชนแ์ ละมีความสามารถในการใชค้ ืนได้
4.2 การประยุกตใ์ ช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การบรหิ ารเศรษฐกจิ ของประเทศ
การบรหิ ารเศรษฐกจิ ของประเทศต้องคำนึงถึงการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจในระยะยาวและความมีเสถยี รภาพในระยะสัน้
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว เป็นเครื่องมือที่สำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศกำลัง พัฒนาในการเพิ่มรายได้
ประชาชาติให้ทันกับประเทศที่พฒั นาแล้วการมุง่ เน้นอัตราการเจรญิ เติบโตสูงๆ นี้จะก่อให้เกดิ การใช้จ่ายของรัฐบาลที่ไม่ถกู ต้อง
โดยเน้นอตุ สาหกรรมขนาดใหญแ่ ละละเลยภาคประชาชนและสงั คม กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาความเหลอ่ื มล้าทางรายได้สูงขึ้นและประสบ
ปญั หาทางดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ซ่งึ กระทบโดยตรงต่อความเปน็ อยขู่ องประชากรในประเทศ

ดังนั้น การมุ่งเน้นการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อบรรลุความอยู่ดีกินดี หรือสวัสดิการที่ดีของประชาชนใน
ประเทศ โดยมปี ัจจัยขับเคลือ่ นทส่ี ำคัญ 4 ปัจจัย ได้แก่ ทุนกายภาพ ทุนมนษุ ย์ ทุนธรรมชาตแิ ละทนุ สงั คม ซึง่ ได้นำหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการปัจจัยทุนเหล่านี้เพื่อให้เกิด การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมี
คณุ ภาพ
1. ทุนกายภาพ ประเทศกำลังพัฒนาที่เน้นการบริหารเศรษฐกิจเพื่อเพมิ่ อัตราการเจรญิ เตบิ โต ทางเศรษฐกจิ อาจมีการสะสมทุน
ทางกายภาพมากเกนิ ไป ภาครัฐมกี ารใช้จ่ายทไ่ี มส่ มเหตสุ มผล ประกอบ กับการมีเงินออมในประเทศตาํ่ ทำให้ตอ้ งพงึ่ พาเงนิ กู้และ
เงินลงทุนจากต่างประเทศมากเกินไป จนขาด เสถียรภาพทางเศรษฐกจิ จึงได้น้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น
แนวทางในการบรหิ าร เศรษฐกจิ ของประเทศ เน่อื งจากปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเน้นการให้ประชาชนดำเนนิ ชีวติ ในทางสาย
กลาง มคี วามพอประมาณและมภี มู ิคุ้มกนั ที่ดี ประชาชนต้องเร่มิ ทกี่ ารพงึ่ พาตนเอง โดยการปลกู พืชและเลีย้ งสัตว์
เพื่อการบรโิ ภคภายใต้การทำการเกษตรแบบผสมผสาน เมื่อมผี ลผลติ มากพอกจ็ ะนำมาแปรรูปหรอื ทำการขาย หากประชาชนมี
การพ่งึ พาตนเอง สามารถขายผลผลติ ท่เี หลือจากการบริโภคและมีการใช้จ่ายอยา่ ง พอประมาณ รู้จกั เกบ็ ออมเพ่อื สร้างภูมิคุ้มกัน
ให้กับตนเอง ปัญหาการขาดเงินทุนของประเทศกำลังพัฒนาก็จะลดลงและพึ่งพาเงินทุนจากต่างประเทศน้อยลงด้วย ซึ่งจะช่วย
รักษาเสถยี รภาพทางการเงนิ ของประเทศได้
2. ทุนมนุษย์ ทุนมนุษย์เป็นส่วนสำคัญของการเจริญเติบโตของประเทศอย่างยั่งยืนในระยะยาว การเรียนรู้จากการทำงานและ
การศึกษาโดยเฉพาะคุณภาพของการศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มทุนมนุษย์ ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ให้
ความสำคัญกับความรู้และการศึกษา เพื่อที่จะนำมาใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินใจอย่างมีเหตุผลการศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะ
การศึกษาในระบบ แต่จะรวมถึงการศึกษา นอกห้องเรียน เช่น การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการศึกษาหาความรู้เพื่อเพิ่มทักษะ
ศักยภาพและขีด ความสามารถ นบั ได้ว่าหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งช่วยส่งเสริมการเพมิ่ ทุนมนษุ ย์ ซึ่งทนุ มนุษย์น้ีจะ เป็น
กลไกสำคัญในการขบั เคลอ่ื นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยนื
3. ทนุ ธรรมชาติ ทนุ ธรรมชาติหรอื การใชท้ รัพยากรธรรมชาติของประเทศ ประเทศใดใช้ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ากเกินไป จะส่งผล
ให้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่หมดไปและยังส่งผลร้ายต่อสิ่งแวดล้อม สร้างมลพิษ สุดท้ายจะส่งผลร้ายกลับมายังประชากรใน
ประเทศ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะให้ ความสำคัญในเรื่องการรักษาคณุ ภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้
หลกั การความพอประมาณ ความมเี หตุผลและการมภี มู คิ ุม้ กัน หากประชาชนในทกุ ภาคสว่ นมีเหตผุ ลในการใชท้ รพั ยากร จะทำให้
มี การใชอ้ ยา่ งระมัดระวัง พอประมาณและช่วยกันอนรุ ักษ์ทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม สิง่ เหลา่ นีจ้ ะชว่ ยรกั ษา คณุ ภาพชีวิต ความ
เป็นอยูท่ ด่ี ีของคนในสังคมอย่างยง่ั ยนื
4. ทนุ สงั คม เป็นทนุ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับวัฒนธรรมและสังคมภายในชมุ ชน เป็นบรรทัดฐานหรือค่านิยม ของกลมุ่ คน ทุนสังคมถือเป็น
ปัจจัยที่สำคัญปัจจยั หนึ่งในการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยการลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ
ลดปัญหาการดำเนินธุรกรรม เช่น ปัญหานักแสวงหา ผลประโยชน์ ปัญหาข้อมูลไม่เท่าเทียมกัน เป็นต้น ทุนสังคมช่วยในการ
รับสง่ ข้อมลู ข่าวสาร เทคโนโลยี และ คา่ นยิ มและวฒั นธรรมและชว่ ยส่งเสรมิ ให้มีระบบสถาบันท่เี ขม้ แขง็ และมีธรรมาภบิ าล ตาม
หลักการของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง หากประชาชนในประเทศยึดหลักคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ คนในสังคมมีความไว้วางใจ
กัน เชื่อถือกัน จะช่วยขจัดปัญหานักแสวงหาผลประโยชน์และปัญหาข้อมูลไม่เท่าเทียมกันให้หมดไปได้ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้
ประเทศมีการสร้างความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพภายใต้ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นในหลักการมี
เหตุผล มีความพอประมาณและมีภูมิคุ้มกันและใช้ความรู้หรือประสบการณ์มาพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ รวมทั้ งการมี
คุณธรรมหรือธรรมาภบิ าลในองค์กรของรัฐ หากรัฐยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการจดั การปัจจยั ทนุ ตา่ ง ๆ เหลา่ นี้ จะ
ช่วยให้มีการบริหารจัดการ อย่างเหมาะสม เพื่อให้ได้มาซึ่งการเจริญเติบโตที่มีคุณภาพและนำมาซึ่งสวัสดิการสังคมและความ
เป็นอยทู่ ี่ดีขนึ้ ของประชากรในประเทศ
4.3 นโยบายภาครฐั ท่ีเสริมสร้างการเจริญเติมบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีคณุ ภาพ
ปัจจัยทุน ได้แก่ ทุนกายภาพ ทุนมนุษย์ ทุนธรรมชาติและทุนสังคม มีความสำคัญต่อการสร้าง ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ
ของประเทศ หากมีการบริหารจัดการที่ไม่เหมาะสม อาจสร้างปัญหาต่อ ระบบเศรษฐกิจและสังคม ภายใต้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นในหลักการมเี หตผุ ล มีความพอประมาณ และมี ภูมิคุ้มกัน ประกอบกับการใช้ความรูห้ รือประสบการณ์
มาพจิ ารณาประกอบอย่างละเอยี ดรอบคอบพร้อมทงั้ การมคี ณุ ธรรมในองคก์ รของรัฐ หากรัฐยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพียงในการจัดการปัจจัยทนุ กจ็ ะช่วยใหม้ ีการบริหารจดั การอยา่ งเหมาะสม เพ่ือใหไ้ ดม้ าซง่ึ การเจริญเติบโตที่มีคุณภาพและ
นำมาซึ่ง สวัสดิการสังคมและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชากรในประเทศ ดังนั้น เพื่อให้มีการเจริญเติบโตอย่างมี คุณภาพ
รัฐบาลควรใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการกำหนดนโยบายดังต่อไปนี้
1. นโยบายด้านทนุ กายภาพ ปัญหาหลกั ที่เก่ยี วกบั ทุนกายภาพของประเทศกำลังพัฒนา คอื ปญั หาการขาดเงินทุนหรือการมเี งิน
ออมไม่เพียงพอ ปัญหาการขาดทางเลือกในการลงทุนของเงินออม และปัญหาระบบสถาบันการเงินที่ขาดประสิทธิภาพ ดังนั้น
ภาครฐั ควรดำเนนิ นโยบายตา่ ง ๆ เพอื่ แกป้ ญั หา ต่าง ๆ เหลา่ นี้ เชน่
1. สง่ เสริมและประชาสมั พนั ธก์ ารออมครัวเรอื นในทุกระดับรายได้
2. สร้างระบบสถาบนั การเงนิ ท้องถิน่ เชน่ สหกรณอ์ อมทรัพย์ ธนาคารหมู่บ้าน เปน็ ต้น
3. พัฒนาตลาดทนุ และตลาดเงนิ เพอื่ ให้ประชาชนทุกระดบั รายไดส้ ามารถเข้าถงึ
4. มีสถาบันทค่ี วบคุมดูแลสถาบันการเงินทมี่ จี ริยธรรม เขม้ แข็งและเปน็ อสิ ระ
2. นโยบายดา้ นทนุ มนษุ ย์ เนอ่ื งจากมนษุ ย์ช่วยใหเ้ กิดการเจริญเติบโตในระยะยาวอย่างย่ังยืน และเป็นทุนพื้นฐานท่ีช่วยส่งเสริม
การบริการจัดการทุนในด้านอื่น ๆ จึงมีความจำเป็นอย่างย่ิงในการสะสม ทุนมนุษย์ให้มาก นโยบายภาครัฐจึงจำเป็นต้องเนน้ ใน
การพัฒนาและปรบั ปรุงระบบการศึกษา เชน่
1. กำหนดใหม้ กี ารศกึ ษาภาคบังคบั อย่างนอ้ ย 12 ปี โดยไมต่ ้องเสียค่าใชจ้ า่ ย
2. กำหนดและควบคุมคณุ ภาพของสถาบนั การศึกษาใหม้ มี าตรฐานเทียบเท่ากนั ทั่วประเทศ
3. ส่งเสริมและพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการศึกษาให้เพียงพอ
4. สร้างแหลง่ เงนิ กยู้ ืมเพือ่ การศกึ ษาแก่ผ้ยู ากจนใหเ้ พยี งพอ
5. จัดสรรงบประมาณใหเ้ พียงพอในการใหท้ ุนการศึกษาในระดบั อุดมศึกษาข้ึนไปแกผ่ ู้เรียนดี
6. กำหนดนโยบายปอ้ งกันสมองไหลทงั้ ในระดบั ประเทศและทอ้ งถนิ่
7. ส่งเสริมระบบการศกึ ษานอกห้องเรยี น ภูมิปญั ญาชาวบ้านและปราชญท์ อ้ งถ่ิน
8. สรา้ งหอ้ งสมดุ ชมุ ชนเพื่อเก็บรักษาภูมิปัญญาชาวบา้ น
3. นโยบายด้านทุนธรรมชาติ เป้าหมายหลักคือ ความสมดุลระหว่างการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ กับการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากเกินไป ทำลายสิ่งแวดล้อมเพื่อแลกเปลี่ยนอัตราการ
เจริญเตบิ โตที่สงู ดงั นนั้
1. สร้างองคก์ รกลางในการบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มทเ่ี ข้มแข็งและ มีจริยธรรม
2. กำหนดแรงจงู ใจในด้านภาษีแก่ภาคธุรกจิ ในการรักษาส่งิ แวดลอ้ ม
3. กำหนดบทลงโทษทีร่ นุ แรงและเด็ดขาดตอ่ ผกู้ ระทำผดิ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
4. ปลกู ฝงั จติ สำนกึ ให้แก่ประชาชนในการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
4. นโยบายด้านทุนสังคม ทุนสังคมช่วยส่งเสริมให้เกิดธุรกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลให้เกิด การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
นโยบายภาครัฐที่จะเพิม่ ทุนสังคมมีดงั นี้
1. ปลกู ฝงั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งให้กับประชาชนโดยมุ่งเน้นให้เปน็ ค่านิยม ประจำชาติ
2. บรรจุหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงให้อยูใ่ นหลักสูตรการศกึ ษา
3. สรา้ งสถาบันพัฒนาความรดู้ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง
4. พฒั นาศูนยเ์ ศรษฐกิจพอเพียงประจำท้องถิ่น เช่น วดั โรงเรียน เป็นต้น
การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ประเทศกำลังพัฒนาในหลาย ๆ ประเทศมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน มีความเปราะบางต่อ
ปัจจัยภายนอกและมีโอกาสประสบวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจได้ง่าย ภาครัฐและ ภาคเอกชนมิได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาประยกุ ตใ์ ช้ กล่าวคอื ภาครฐั เปดิ เสรีทางการเงนิ โดยขาดความรู้ ความรอบคอบและเพมิ่ ความเสีย่ งโดยไม่มีมาตรการ
จัดการความเสี่ยงที่ดีพอ รวมทั้ง กู้ยืมเงินอย่างไม่พอประมาณ ไม่สมเหตุสมผล ถือว่าขาดหลักคุณธรรมตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ มาตรการต่าง ๆ ที่นำมาใช้ควรมีความพร้อมและ มีการ
ดำเนินการใชก้ อ่ นที่จะมีการเปดิ เสรีและรักษาอตั ราเงินเฟ้อให้อย่ใู นระดบั ต่าํ รักษาความสมดลุ ของบัญชีเดนิ สะพัดและมีเงินทุน
สำรองเงินตราต่างประเทศอย่างพอเพียง ในการรกั ษาอตั ราเงินเฟ้อใหอ้ ยู่ ในระดบั ตาํ่ ธนาคารกลางควรใชห้ ลักความพอประมาณ

ในการบริหารจัดการการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นอกจากนโยบายการเงินที่ใช้รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
แลว้ ความมวี นิ ยั ทางการคลังก็มี ความสำคัญมากเชน่ กนั ภาครฐั จำเปน็ ตอ้ งมเี หตุผลและความพอประมาณในการใช้งบประมาณ
แผ่นดิน ต้องไม่ใช้จา่ ยเงินเกนิ ตัว มคี วามโปรง่ ใสและตรวจสอบได้ เพอื่ ปอ้ งกนั การใชเ้ งนิ ของรัฐบาลอยา่ งไมม่ เี หตุผล และปัญหา
คอร์รปั ชัน
5. ครูใช้สือ่ PowerPoint ประกอบเทคนิคการบรรยายวัฏจกั รของเศรษฐกิจ
วัฏจกั รเศรษฐกิจ (Economic Cycle) หมายถงึ การเคลื่อนไหวขึ้นลงซำ้ ๆ ของเศรษฐกจิ อนั เนอ่ื งมาจากการเปล่ยี นแปลงของ
กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เชน่ การผลติ การบรโิ ภค การจัดสรรทรพั ยากร การแลกเปลยี่ น เปน็ ต้น ตวั อย่างเชน่ ปรมิ าณสินคา้ ทผ่ี ลติ
ได้เปลี่ยนแปลงขณะที่ความต้องการบริโภคสินค้านั้น คงที่ ย่อมส่งผลให้ราคาสินค้าและบริการชนิดนั้นเปลี่ยนแปลง เมื่อร าคา
สินค้าและบริการเปลีย่ นแปลง รายได้ จากการขายสนิ คา้ และบริการย่อมเปลี่ยนแปลงไปด้วย ลักษณะนี้จะมีผลกระทบต่อระบบ
เศรษฐกจิ โดยรวม ทำใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นไหวในลกั ษณะวัฏจักร นกั เศรษฐศาสตรไ์ ดแ้ บง่ วฏั จักรออกเป็น 4 ระยะ ดังรูป

แสดงการเคล่ือนไหวในลักษณะวฏั จกั รเศรษฐกิจ

1. ระยะเศรษฐกจิ ฟ้ืนตวั (Economic Recovery) การผลิตจะเริม่ ขยายตวั มีการนำเอา ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการเขา้ มาใหม่
การใช้เครื่องจักรหรือเครื่องมือใหม่ การจ้างงาน การฝึกอบรมแรงงาน จะเพิ่มขึ้น การขยายตัวของผลิตภัณฑ์ประช าชาติจะมี
อตั ราเพมิ่ ข้นึ
2. ระยะเศรษฐกจิ รงุ่ เรือง (ฺEconomic Prosperity) เปน็ ระยะที่เศรษฐกจิ มีแนวทาง ขยายตัวสงู ขึ้น มกี ารจ้างงานเพม่ิ ข้ึน การ
ลงทุนเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ อัตราการขยายตัวจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในตอนต้น ต่อมาจะมี
อตั ราลดนอ้ ยถอยลงจนถงึ จุดสูงสุด
3. ระยะเศรษฐกจิ ถดถอย (Economic Recession) ระยะนก้ี ารจา้ งงาน การลงทุน และ ผลติ ภัณฑป์ ระชาชาตมิ ีอตั ราขยายตวั
มแี นวโนม้ ลดลงและในระยะตอ่ มาจะมอี ัตราลดลงเรื่อย ๆ
4. ระยะเศรษฐกจิ ตกตา่ํ (Economic Depression) ภาวการณจ์ า้ งงานจะลดลง การลงทุน ลดลง ระดับราคาจะลดลงเป็นช่วง
ภาวะเงินฝืด อตั ราการขยายตวั ของผลิตภัณฑป์ ระชาชาติจะลดลง จนถงึ จดุ ตํ่าสุด
การเคลอ่ื นไหวของเศรษฐกิจปกตจิ ะอยู่ในระดบั เส้นสมมติทร่ี ะดับเศรษฐกิจปกติ ดังนัน้ เศรษฐกิจ มกี ารเคล่ือนไหวในระยะท่ีสูง
กว่าระดับเศรษฐกจิ ปกติ ประชาชนจะรู้สึกวา่ เศรษฐกิจมีการขยายตวั แตถ่ ้า การเคลอ่ื นไหวต่ํากวา่ ระดับปกติประชาชนจะเห็นถงึ
ปญั หาเศรษฐกจิ ท่ีรนุ แรง
5.1 องค์ประกอบท่กี ระทบต่อการเกดิ วฏั จกั รเศรษฐกิจ
การทเี่ ศรษฐกจิ มกี ารเคล่อื นไหวเกดิ จากองค์ประกอบต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจและผลกระทบจาก ภายนอกระบบเศรษฐกจิ คอื

1. องค์ประกอบโดยทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์มหภาค เช่น ระดับการจา้ งงาน ระดับราคาสนิ คา้ โดยทัว่ ไป ปรมิ าณผลผลิต
ของชาตเิ กดิ การเปลย่ี นแปลงจนเกดิ ผลกระทบตอ่ ภาวะเศรษฐกจิ

2. การเกิดความก้าวหน้าทางวิทยาการ ทำให้เกิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ มาใช้ในระบบการผลิตของชาติ ทำให้เกิดการพัฒนา
กรรมวธิ กี ารผลิต การจดั การ การบริหาร ตลอดจนกลยทุ ธ์ทางการค้า
3. การลงทุนตามนโยบายการพัฒนาของรัฐบาล ย่อมทำให้เกิดผลกระทบต่อการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ ถ้ารัฐบาลมีนโยบาย
การใช้จ่ายเพื่อกอ่ ให้เกิดการผลิตย่อมทำให้เศรษฐกิจขยายตัว แต่ถ้า การใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นไปในทางที่ไม่ก่อให้เกิดการผลิต
เชน่ การสะสมอาวธุ หรอื ทำสงคราม ยอ่ มทำให้ อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ตํา่ ลง
4. ผลกระทบจากการสะสมทุนและตลาดการเงิน ผลกระทบทางการเงินมีความสำคัญต่อ การเปล่ียนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ
กล่าวคือ ในภาวะเศรษฐกิจถดถอย ปรมิ าณเงินที่ใชจ้ ่ายประจำวันจะลดลง การขายผลติ ภัณฑใ์ นตลาดจะชะลอตวั ลง ส่งผลใหก้ าร
กู้ยืมเพื่อนำเงินไปลงทนุ ของอุตสาหกรรมลดลง เกิดสว่ นเกินของปรมิ าณเงิน ถ้าในระยะเวลานี้อัตราดอกเบี้ยในตลาดลดลง การ
กู้ยืมเพื่อการลงทนุ กอ็ าจจะ เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งทำให้เศรษฐกิจฟื้นตวั ได้ แต่ถ้าอัตราดอกเบี้ยในตลาดเพ่ิมสงู ขึน้ เศรษฐกิจกจ็ ะลดการ
ขยายตวั
5. ภาวะของตลาดหลักทรพั ยแ์ ละการเปล่ียนแปลงสินค้าคงเหลือ ในการผลิตและจำหน่ายสินค้า ย่อมใช้เงินทุนจากแหล่งตา่ ง
ๆ การซื้อขายหนุ้ ในตลาดหลกั ทรัพย์กเ็ ป็นส่วนหนึ่งของ การระดมทุน ถ้าหากการซื้อขายมีปริมาณมากย่อมเกิดการขยายตัวของ
เศรษฐกจิ และถา้ หากจำนวนสนิ คา้ เปล่ียนแปลงย่อมส่งผลให้สินค้าคงเหลอื เปลยี่ นแปลงและเกดิ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจขณะนนั้
6. การคาดคะเนภาวะการตลาดในอนาคต นักเศรษฐศาสตร์และนักการตลาดมักจะคาดคะเน ภาวะการตลาด ถ้าคาดว่า
แนวโน้มของอุปสงค์ในตลาดเพิ่มสูงขึ้น ผู้ผลิตจะขยายการผลิตเพิ่มเพื่อรองรับ อุปสงค์ ถ้าการคาดคะเนถูกต้องย่อมทำให้
เศรษฐกิจขยายตัว แต่ถา้ คาดการผิดพลาดกอ็ าจทำให้เศรษฐกจิ ถดถอยหรอื ตกตา่ํ ในระยะตอ่ มาได้
สรุป การพัฒนาเศรษฐกิจจะได้ผลต้องอาศัยการวางแผนนโยบายและการดำเนินงาน ที่ดีอย่างต่อเนื่อง และต้องได้รับความ
ร่วมมือจากทุกฝ่าย จะช่วยให้การพัฒนาเศรษฐกิจ เป็นไปอย่างรวดเร็วและเป็นผลดีกับทุกคน สำหรับประเทศกำลังพัฒนาจะมี
ลักษณะสำคัญคือ สภาพทางเศรษฐกิจ สินค้าส่วนใหญ่เป็นผลผลิตทางการเกษตรและผลผลิตท่ีได้ไม่แน่นอน เนื่องจากการผลิต
ต้องอาศัยธรรมชาติเป็นหลัก จำนวนประชากรมีอัตราการเกิดและอัตรา การตายสูง มีวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดกันมาเป็น
เวลานาน จุดมุ่งหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ คือ ทำให้มาตรฐานการครองชีพดีขึ้น การกระจายรายได้มีควา มเป็นธรรม
ประชาชนมีงานทำมีการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมและเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม
ภายใตห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งทเี่ นน้ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมภี มู ิคุ้มกัน ประกอบกับหลกั คุณธรรมและ
ความรู้ สามารถนำมาประยกุ ต์ใช้กบั การบรหิ าร เศรษฐกจิ ของประเทศ เพ่ือการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยา่ งมีคุณภาพท่ีย่ังยืน
และเพ่ือรกั ษา เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ ในระยะสน้ั ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
6. ครูใหผ้ ้เู รยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4-5 คน รว่ มกันคดิ วิเคราะห์ ร่วมกันแสดงความคดิ เห็นภายในกล่มุ ในหัวข้อ “การดำเนินชีวิต
บนเสน้ ทางสายกลาง (เศรษฐกิจพอเพยี ง)” และร่วมกนั อภิปรายภายในชนั้ เรยี น

ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์
7. ครสู รุปบทเรียน โดยใชส้ ่ือ PowerPoint และเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นได้ซกั ถามขอ้ สงสยั
8. ผ้เู รยี นทำกจิ กรรมใบงาน และแบบประเมินผลการเรยี นรู้

สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้

1. หนงั สอื เรียนหลกั เศรษฐศาสตร์ รหสั วชิ า 30200-1001 ของสำนักพมิ พ์เอมพนั ธ์
2. สอ่ื PowerPoint
3. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
4. กิจกรรมการเรียนการสอน
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน

หลกั ฐาน

1. บนั ทกึ การสอนของผู้สอน
2. ใบเช็ครายชื่อ
3. แผนจดั การเรียนรู้
4. การตรวจประเมินผลงาน

การวัดผลและการประเมินผล

วิธวี ดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ตรวจกิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
4. ตรวจใบงาน
เครอ่ื งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ
3. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
2. แบบประเมินผลการเรยี นรู้มเี กณฑผ์ า่ น และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ 50%
3. แบบประเมินกจิ กรรมใบงานมเี กณฑผ์ า่ น 50%

กจิ กรรมเสนอแนะ

1. แนะนำให้ผเู้ รียนอ่านทบทวนเนือ้ หาเพิ่มเตมิ
2. ควรศกึ ษาข้อมลู เพม่ิ เตมิ จากส่ืออนิ เทอร์เน็ต

แบบเรยี นร้หู นว่ ยการเรยี นรู้ที่ 14

ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. อธิบายวัฏจักรเศรษฐกิจ

.....................................................................................................................................................................................

2. นกั เศรษฐศาสตร์แบง่ วฏั จักรเศรษฐกจิ อย่างไร อธิบาย

.....................................................................................................................................................................................

3. องค์ประกอบทม่ี ผี ลกระทบต่อการเกดิ วฏั จักรเศรษฐกิจมอี ะไรบา้ ง

.....................................................................................................................................................................................

4. แผนพัฒนาฯ ฉบบั ใดที่น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพฒั นา และบริหาร

ประเทศ

.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

ตอนที่ 2 จงเลือกข้อท่ถี ูกต้องทสี่ ดุ เพียงข้อเดียว

1. เป้าหมายทางเศรษฐกจิ ตรงกับขอ้ ใด

ก. ให้ราคาสนิ ค้าถกู ลง ข. ให้ประชากรทกุ คนรวยข้ึน

ค. ใหร้ ะบบเศรษฐกิจมเี สถยี รภาพ ง. ใหป้ ระชาชนมเี งินออมเพ่ิมขน้ึ

จ. ถกู ทกุ ข้อ

2. วัตถปุ ระสงคข์ องการพัฒนาเศรษฐกิจคือข้อใด
ก. เพอ่ื ชว่ ยเหลือเศรษฐกจิ โลก
ข. เพื่อแก้ปญั หาการแทรกแซงของลทั ธิการเมอื ง
ค. เพือ่ ยกระดับมาตรฐานการครองชพี ของประชาชนใหส้ งู ขึน้
ง. เพ่อื ใหส้ ามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ท้งั ทางเศรษฐกจิ และการเมือง
จ. ถกู ทุกข้อ

3. ประเทศใดมีโครงสร้างทางเศรษฐกจิ เปน็ แบบเกษตรกรรม แตม่ กี ารพฒั นาเศรษฐกิจที่สูงมาก

ก. สหรัฐอเมรกิ า ข. ประเทศไทย

ค. เดนมารก์ ง. นิวซีแลนด์

จ. ถกู ทง้ั ข้อ ค. และขอ้ ง.

4. ขอ้ ใดชว้ี า่ เป็นประเทศดอ้ ยพัฒนา
ก. โครงสร้างทางชนชัน้ มีแต่ชนชน้ั กลาง
ข. โครงสรา้ งครอบครวั เปน็ ครอบครัวเดีย่ ว
ค. โครงสรา้ งครอบครัวเป็นครอบครวั ขยาย
ง. โครงสร้างทางชนช้นั มชี นชัน้ กลางมากกวา่ ชนชน้ั ตํ่า
จ. มกี ารแบ่งหนา้ ท่รี ับผดิ ชอบระหว่างสถาบันตา่ ง ๆ อย่างชัดเจน

5. การเปรียบเทียบระดับความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศต้องเปรียบเทียบตามข้อใด
ก. โครงสรา้ งพืน้ ฐาน
ข. ผลติ ภณั ฑ์ประชาชาติ
ค. รายได้ทแี่ ท้จริงเฉลย่ี ต่อบคุ คล
ง. อัตราการเพ่ิมของการลงทุนโดยเฉลย่ี ต่อปี
จ. อตั ราการวา่ งงานตอ่ จำนวนประชากรทอี่ ย่ใู นวยั ทำงาน
6. ปัจจยั ทก่ี ่อให้เกดิ ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ คอื ขอ้ ใด
ก. ทรพั ยากรมนุษย์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และเทคโนโลยี
ข. ทรพั ยากรมนษุ ย์ ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีและปริมาณทนุ
ค. การเพ่มิ ในรายไดป้ ระชาชาตหิ รอื อุปสงค์มวลรวมทีเ่ หมาะสม
ง. การท่กี ำลงั การผลติ ของระบบเศรษฐกิจนั้นเพ่ิมสงู ขน้ึ เรือ่ ย ๆ
จ. คุณภาพและปรมิ าณของปจั จยั การผลิต

7. การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจมีวัตถุประสงคเ์ พ่ืออะไร
ก. ใหจ้ ำนวนคนวา่ งงานลดลง
ข. ใหค้ วามเจรญิ แผก่ ระจายไปทกุ ท้องถ่นิ
ค. ให้เกดิ ความมั่งคง่ั และความม่นั คงของชาติ
ง. ใหร้ ายไดข้ องประชาชนไม่แตกต่างกนั มากนัก
จ. ถกู ทกุ ข้อ

8. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ท่ีดคี วรมลี กั ษณะอยา่ งไร
ก. กำหนดเป้าหมายชดั เจน
ข. กำหนดลกั ษณะในอนาคตของแผน
ค. กำหนดข้นั ตอนกระบวนการต่าง ๆ ชัดเจน
ง. เครือ่ งมือทกุ ชนิดต้องประสานกนั เพ่อื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทีก่ ำหนด
จ. ถูกทุกข้อ

9. วิธีในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจควรดำเนินการอย่างไร
ก. รวมแผนจากทกุ จงั หวัดเป็นแผนของประเทศ
ข. รวมแผนดา้ นจุลภาคเป็นแผนมหภาคของประเทศ
ค. ดูแบบอย่างจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศทีพ่ ฒั นาแลว้
ง. วางแผนจากสว่ นบนสู่สว่ นลา่ งผสมกบั แผนจากส่วนล่างขน้ึ สู่สว่ นบน
จ. ถกู ทุกขอ้

10. หนว่ ยงานใดทที่ ำหน้าทใี่ นการวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ ของไทย
ก. สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
ข. สำนกั งบประมาณ กระทรวงการคลัง
ค. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
ง. สำนกั นายกรัฐมนตรี
จ. กระทรวงพาณิชย์

ตอนท3ี่ วิเคราะห์โอกาสและผลกระทบตอ่ ภาคอุตสาหกรรมไทยเมื่อเขา้ รว่ มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC)

.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 1

ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มเพื่อค้นคว้าข้อมูลเรื่อง “การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีผลกระทบทาง
เศรษฐศาสตร์ตอ่ ประเทศไทยอย่างไรบ้าง” จากนนั้ ช่วยกันวิเคราะห์และ นำเสนอหนา้ ช้นั เรียน
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

บันทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาทีพ่ บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการท่ี 18 หน่วยท่ี -

รหสั 30200-1001 หลักเศรษฐศาสตร์ สอนครั้งที่ -
ชอ่ื หนว่ ย สอบปลายภาค
จำนวน 4 ชั่วโมง
สาระสำคญั
-
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
-
สมรรถนะประจำหน่วย

-

สาระการเรยี นรู้

-

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ขัน้ นำเข้าสู่บทเรยี น
-
ขนั้ สอน
-
ขั้นสรปุ และการประยุกต์
-

ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้

-

หลกั ฐาน

-

การวัดผลและการประเมินผล

วธิ ีวดั ผล
1. ตรวจขอ้ สอบปลายภาค

เครือ่ งมอื วัดผล
1. ข้อสอบปลายภาค

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการทดสอบความรู้ โดยใช้ข้อสอบปลายภาค

กิจกรรมเสนอแนะ

ขอ้ สอบขนึ้ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ของผสู้ อน

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version