The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อรอุมา พงษ์ธนู, 2022-11-12 04:54:26

หลักเศรษฐศาสตร์30200-1001

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

เครื่องมอื วัดผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
3. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
2. แบบประเมินผลการเรยี นรมู้ เี กณฑผ์ ่าน และแบบฝึกปฏิบัติ 50%
3. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงานมีเกณฑ์ผา่ น 50%
กจิ กรรมเสนอแนะ

1. แนะนำให้ผ้เู รยี นอา่ นทบทวนเนื้อหาเพมิ่ เตมิ
2. ควรศกึ ษาข้อมูลเพม่ิ เติมจากสอื่ อนิ เทอร์เนต็

แบบประเมนิ ผลการเรียนรหู้ นว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3
ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
1. อธิบายความหมายของความยืดหยุ่นของอปุ สงค์ต่อราคา
............................................................................................................................. ....................................................
2. อธบิ ายความหมายของคำตอ่ ไปนี้
1. อปุ สงคไ์ ม่มีความยืดหยนุ่ เลย
........................................................................................................................................... ..............................

2. ตวั กำหนดอุปสงค์มีอะไรบ้าง อธิบาย
.........................................................................................................................................................................

3. อปุ สงคม์ ีความยืดหยุ่นคงท่ี
............................................................................................................ .............................................................

4. อปุ สงคม์ ีความยืดหยุ่นมาก
............................................................................................................................. ............................................

5. อปุ สงคม์ ีความยืดหยุ่นมากที่สดุ
............................................................................................................................. ............................................
3. ถ้าราคาเนื้อหมูกิโลกรัมละ 60 บาท แม่บ้านต้องการซื้อเนื้อหมู 3 กิโลกรัมต่อ 1 เดือน แต่ถ้าราคาเนื้อหมู
ลดลงเป็น กิโลกรัมละ 58 บาท แม่บ้านจะซื้อเนื้อหมูเพิ่มขึ้นเป็น 4 กิโลกรัมต่อ 1 เดือน จงหาค่าความยืดหยุ่น
ของอปุ สงค์แบบจดุ ของเนอื้ หมู
.........................................................................................................................................................................
4. กำหนดใหเ้ สน้ อุปสงคข์ องสินค้าชนิดหน่ึงมลี ักษณะดังต่อไปนี้

จากรปู จงหาค่าความยืดหย่นุ ของเส้นอุปสงคร์ ะหว่างจุด A กบั B ว่าค่าความยดื หยุ่นท่ไี ดเ้ ปน็ อย่างไร

............................................................................................................................. ...........................................

5. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ตอ่ รายได้คืออะไร

............................................................................................................................. ...........................................

6. เดิมผู้บริโภคมีรายได้เดือนละ 3,000 บาท เขาจะซื้อเนื้อไก่บริโภคเดือนละ 7 กิโลกรัม แต่ถ้ารายได้ของเขา

เพิม่ ขึ้น เปน็ เดอื นละ 5,500 บาท เขาจะซ้อื เนอ้ื ไก่บรโิ ภคเดือนละ 10 กโิ ลกรัม จงหาคา่ ความยดื หยุ่นของอุปสงค์

ตอ่ รายได้

.................................................................................. .......................................................................................

7. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอนื่ หรือความยดื หยุ่นไขว้คืออะไร

............................................................................................. ...........................................................................

8. ถ้าราคากาแฟเพิ่มขึ้นจากขวดละ 150 บาท เป็นขวดละ 155 บาท โดยที่ราคาชาคงที่ ผู้บริโภคจะซื้อชามา

บรโิ ภคเพิม่ ขึน้ จากเดอื นละ 1 ขวด เป็น 2 ขวด จงหาคา่ ความยดื หยุ่นไขวข้ องกาแฟ

....................................................................................................................................... ...............................

9. ความยืดหยนุ่ ของอปุ ทานคอื อะไร

............................................................................................................................. .............................................

10. การประกนั ราคาขั้นสงู และการประกันราคาขั้นตา่ํ แตกต่างกันอยา่ งไร

............................................................................................................................. .............................................

ตอนที่ 2 จงเลอื กข้อทถี่ กู ตอ้ งท่สี ุดเพียงข้อเดียว

1. สินคา้ ใดตอ่ ไปนี้มีค่าความยดื หยุ่นของอปุ สงคต์ ่อราคา (Ed) เทา่ กับศูนย์

ก. โลงศพ ข. เสื้อผา้ ค. เครอื่ งจักร ง. วัตถุโบราณ จ. อาหารและเครอ่ื งดม่ื

2. สินค้าข้อใดต่อไปน้ีมีคา่ ความยดื หยนุ่ ของอปุ สงค์ต่อราคา (Ed) น้อยกว่า 1

ก. อาหารและเครือ่ งด่ืม ข. เส้ือผ้า ค. ยารกั ษาโรค ง. น้ํามนั เชือ้ เพลงิ จ. ถูกทุกขอ้

3. ปัจจยั ใดทก่ี ำหนดคา่ ความยดื หยุ่นของอุปสงคต์ ่อราคา

ก. สินค้าอื่นที่ทดแทนกันได้ ข. การเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิต ค. เทคโนโลยีการผลิต

ง. ตน้ ทุนส่วนเพิ่ม จ. ฤดกู าลในการผลิต

4. สินค้าใดต่อไปนมี้ ีค่าความยดื หย่นุ ของอุปทานต่อราคานอ้ ยกว่า 1

ก. สนิ ค้าเกษตร ข. สนิ ค้าฟมุ่ เฟอื ย ค. สินค้าด้อยคุณภาพ ง. สินคา้ อุตสาหกรรม จ. สนิ คา้ จำเป็นตอ่ การดำรงชพี

5. การกำหนดราคาขน้ั สูง รฐั บาลมีวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ชว่ ยเหลือใคร

ก. ผ้ผู ลติ ข. ผู้บริโภค ค. เกษตรกร ง. ผ้ทู อี่ าศัยอยใู่ นชนบท จ. ผทู้ ี่อาศยั อยูใ่ นเมือง

6. เสน้ อุปทานทีม่ ีคา่ ความยืดหย่นุ ต่อราคาเทา่ กับศูนย์ จะมีลกั ษณะอยา่ งไร

ก. เสน้ ตรงขนานแกนนอน ข. เสน้ ตรงขนานแกนตั้ง ค. เสน้ ที่ทอดลงจากซา้ ยไปขวา

ง. เสน้ ที่ทอดข้นึ จากซ้ายไปขวา จ. เสน้ ทีอ่ อกจากจุดกำเนิดทำมุม 45º

7. สนิ ค้าใดต่อไปนี้เม่ือลดราคาสินคา้ แลว้ จะทำให้ผูผ้ ลติ มีรายรับเพ่ิมข้นึ

ก. เครือ่ งดื่ม ข. เคร่อื งจักร ค. ขา้ วราดแกง ง. กระเป๋าแฟช่ัน จ. อาหารแห้ง

8. สินคา้ เกษตรมีค่าความยืดหยุ่นของอปุ ทานต่อราคาเทา่ กบั ข้อใด

ก. Es = 0 ข. Es = 1 ค. Es > 1 ง. Es < 1 จ. 0 > Es > 1

9. สนิ คา้ ใดตอ่ ไปนม้ี ีคา่ ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es) เท่ากบั ศนู ย์

ก. เครอื่ งเพชร ข. วัตถุโบราณ ค. ยารักษาโรค ง. เคร่ืองนงุ่ ห่ม

จ. รถยนต์

10. การทส่ี ินค้าชนดิ หนง่ึ มคี ่าความยืดหยุน่ ของอุปทานเท่ากับ ∞ หมายความตามข้อใด

ก. สินคา้ ชนดิ น้นั เปน็ สินค้าจำเป็น

ข. สนิ คา้ ชนิดน้ันเป็นสินคา้ ฟ่มุ เฟอื ย

ค. ถา้ ผูข้ ายรายหนงึ่ ตง้ั ราคาสูงกว่าราคาตลาด จะขายสนิ ค้าไมไ่ ดเ้ ลย

ง. ถ้าผู้ขายรายหนงึ่ ตั้งราคาสงู กวา่ ราคาตลาด จะมสี นิ คา้ ไมพ่ อขาย

จ. ณ ราคาเดิม ปรมิ าณขายสินค้าไม่จำกดั จำนวน แต่ถา้ ลดราคาเพียงนิดเดียว ผขู้ ายจะไม่นำสนิ ค้า

ออกมาขายเลย

ตอนท่ี 3 จงใชต้ ัวเลอื กต่อไปน้ตี อบคำถามขอ้ 1 – 5

ก. อปุ สงค์มคี วามยดื หยุ่นสมบูรณ์

ข. อุปสงค์มีความยดื หยุ่นมาก

ค. อปุ สงค์มีความยืดหย่นุ คงท่ี

ง. อุปสงค์มคี วามยืดหยนุ่ น้อย

จ. อปุ สงค์ไมม่ คี วามยดื หยนุ่ เลย

1. ถา้ สนิ ค้า A ไม่ว่าราคาจะสงู ขน้ึ หรอื ลดลง ปรากฏวา่ ไม่มผี ลทำใหป้ ริมาณซ้อื เปล่ยี นแปลงแต่ประการใด

แสดงวา่ สนิ คา้ A มคี วามยืดหยุ่นของอุปสงคต์ ่อราคาประเภทใด ……....................................….………..

2. ถ้าสนิ ค้า A เมอ่ื ผู้ผลติ ขึ้นราคาเพียงนิดเดียว ผบู้ ริโภคจะไมซ่ อื้ สนิ คา้ จากผ้ผู ลติ คนนัน้ เลย แสดงว่า

สินคา้ A มคี วามยดื หยุน่ ของอปุ สงคต์ อ่ ราคาประเภทใด ………...........................…………………………….

3. ถา้ สินค้า A เม่ือราคาเปลยี่ นแปลงไป 1% มผี ลทำใหป้ รมิ าณซ้อื เปลี่ยนแปลงไป 0.5% แสดงว่าสินค้า A

มีความยดื หยุน่ ของอุปสงค์ตอ่ ราคาประเภทใด …..........................................…………………………………

4. ถา้ สนิ คา้ A เมือ่ ราคาเปลย่ี นแปลงไป 1% มผี ลทำใหป้ ริมาณซ้อื เปลย่ี นแปลงไป 2% แสดงว่าสนิ ค้า A

มคี วามยดื หยนุ่ ของอุปสงค์ต่อราคาประเภทใด ….........................................………………………………….

5. ถา้ สินค้า A เมอื่ ราคาเปลย่ี นแปลงไป 1% มผี ลทำให้ปรมิ าณซอื้ เปลี่ยนแปลงไป 1% แสดงวา่ สนิ ค้า A

มคี วามยดื หยนุ่ ของอุปสงค์ต่อราคาประเภทใด …………….........................................……………………….

ใบงานท่ี 1

กำหนดให้สมการอุปสงค์และอปุ ทานของตลาดปาลม์ น้ํามนั ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นดังน้ี
QD = 40 – 8P
Qs = 7 + 3P

(ก) สรา้ งตารางอปุ สงค์ และตารางอุปทาน
(ข) หาราคาและปริมาณดุลยภาพของตลาด
(ค) ณ ราคาดุลยภาพ หาคา่ ความยดื หยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
........................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 2

“เสน้ อุปทานทเี่ ป็นเส้นตรงจะมีคา่ ความชันคงที่ ดังนน้ั จงึ มคี ่าความยืดหยุ่นคงทด่ี ว้ ย” ข้อความน้ี
ถูกต้องหรอื ไม่ อธิบาย
........................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 3

วิเคราะห์ผลกระทบของการเก็บภาษนี ำเข้าจากประเทศผนู้ ำเขา้ สนิ คา้ แต่กรณีน้ีเกบ็ ในอัตราไม่สงู นัก
.........................................................................................................................................................................

บันทกึ หลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่พี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการท่ี 5 หน่วยท่ี 4
รหัส 30200-1001 หลักเศรษฐศาสตร์ สอนคร้งั ท่ี 5
ชอ่ื หน่วย พฤตกิ รรมผู้บริโภค
จำนวน 4 ชวั่ โมง

สาระสำคญั
ผู้บริโภคเป็นผู้ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจด้านการบริโภค โดยต้องมีหลักการในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
เพื่อให้เกิดความพอใจหรือได้รับอรรถประโยชน์สูงสุด ภายใต้งบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด เป็นการเข้าสู่ดุลย
ภาพของผ้บู รโิ ภคที่จะเปลยี่ นแปลงไปไดเ้ ม่ือราคาสินคา้ และบรกิ ารหรือรายได้ของผบู้ ริโภคเปลย่ี นไป
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธบิ ายความหมายและลักษณะทว่ั ไปของผบู้ รโิ ภคได้
2. อธิบายทฤษฎีอรรถประโยชน์ได้
3. อธิบายทฤษฎีความพอใจเท่ากันได้
4. อธิบายเส้นงบประมาณและการเปลี่ยนแปลงของเสน้ งบประมาณได้
5. อธบิ ายดุลยภาพของผบู้ รโิ ภคและการเปลย่ี นแปลงดลุ ยภาพได้
สมรรถนะประจำหน่วย
แสดงความรูใ้ นเรอื่ งพฤตกิ รรมของผู้บริโภค
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและลักษณะทวั่ ไปของผ้บู รโิ ภค
2. ทฤษฎีอรรถประโยชน์
3. ทฤษฎคี วามพอใจเท่ากนั
4. เส้นงบประมาณหรอื เส้นราคา
5. ดุลยภาพของผู้บรโิ ภค
กิจกรรมการเรียนการสอน

ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น

1. ครูกล่าวว่า การศึกษาทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค จะทำให้ทราบถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้บริโภค ทฤษฎีท่ี
นิยมนำมาศึกษามีสองทฤษฎี คือ ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) และทฤษฎีความพอใจเท่ากัน
(Indifference Preference Theory) เป็นการวิเคราะห์ด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve
Analysis)ทฤษฎีอรรถประโยชน์เป็นการวิเคราะห์ภายใต้ข้อสมมติที่ว่า ความพอใจของผู้บริโภคสามารถวัดเป็น
หน่วยไดส้ ว่ นทฤษฎคี วามพอใจเทา่ กันสามารถจดั อันดบั ความพอใจได้ แตไ่ ม่จำเป็นต้องวัดออกมาเปน็ หนว่ ย
2. ครูกลา่ วว่า หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 น้ี ผเู้ รยี นจะได้เรียนรถู้ งึ พฤติกรรมของผบู้ ริโภค เพ่อื นำความรไู้ ปประยุกต์ใช้
ในชวี ติ ประจำวนั ในวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมของผ้บู รโิ ภคหากผ้เู รียนจะเป็นผปู้ ระกอบการ

ขน้ั สอน
3. ครูใชส้ ่ือ Power Point ประกอบเทคนิคการบรรยาย ความหมายและลักษณะทว่ั ไปของผบู้ ริโภค

3.1 ความหมายของผู้บรโิ ภค
ผบู้ รโิ ภค (Consumer) เปน็ หน่วยเศรษฐกจิ (Economic Unit) หน่วยหนง่ึ ซึง่ เป็นที่มาของอปุ สงค์ในสนิ ค้าและ
บริการชนิดต่าง ๆ และมีผลต่อเนื่องทำให้เกิดการผลิตสินค้าและบริการประเภทต่าง ๆ ผลผลิตยังมีความสำคัญ
ต่อเศรษฐกจิ ของประเทศ ทำให้เกิดความเจรญิ รุง่ เรอื ง ความสำคัญของผ้บู รโิ ภคดังกล่าวทำใหน้ กั เศรษฐศาสตร์ให้
ความสนใจต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค (Consumer Behavior) และทำการศึกษาอย่างจริงจัง จนเกิดเป็นทฤษฎี
พฤติกรรมผ้บู รโิ ภคข้นึ มาจนถึงปจั จบุ นั นี้
ทฤษฎีที่ว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บรโิ ภค จะอธิบายว่าผู้บริโภคตดั สินใจอย่างไรที่จะเลอื กซื้อสินคา้ ทำไมจึงซื้อ ซื้อ
อะไร และจำนวนเท่าใด ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ทฤษฎีอรรถประโยชน์ และทฤษฎี
ความพอใจเทา่ กนั และเส้นงบประมาณ
3.2 ลกั ษณะท่วั ไปของผบู้ รโิ ภค
การตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าของผู้บริโภคนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ข้อสมมติฐานในทางเศรษฐศาสตร์
เก่ียวกับลกั ษณะทว่ั ไปของผ้บู ริโภค มดี ังน้ี
1. การเลือกซือ้ สินคา้ และบริการ ผูบ้ รโิ ภคจะเลือกซอ้ื สินค้าและบรกิ ารท่ีทำใหไ้ ดร้ บั ความพอใจมากท่ีสุด บคุ คล
ทไ่ี ด้ชอื่ วา่ เปน็ “มนษุ ย์เศรษฐกิจ” จะมีการตัดสนิ ใจในการเลอื กซอ้ื สินค้าและบริการทีท่ ำให้ได้รบั ความสนใจมาก
ทีส่ ุด และไดร้ ับประโยชน์สูงสุดจากการบรโิ ภคสนิ คา้ และบรกิ ารนนั้ ภายใต้งบประมาณท่ีมอี ยู่
2. งบประมาณของผู้บริโภค ในกรณีที่ผู้บริโภคมรี ายได้จำนวนจำกัด จำเป็นต้องคำนึงถึงความสมั พันธร์ ะหวา่ ง
ราคาและปริมาณของสินค้าและบริการ จะพบว่าในผูบ้ ริโภคที่มีรายได้ต่ําจะชอบเลือกซื้อสินค้าที่มีราคาถูก และ
ได้ของในปริมาณมาก จึงต้องใช้เวลาในการตัดสินใจเลือกซื้อนาน ในทางตรงกันข้าม ผู้บริโภคที่มีงบประมาณ
อยา่ งไมจ่ ำกดั มักจะตดั สินใจเลือกซื้อสินคา้ และบริการได้ในเวลาอันรวดเร็วโดยไม่ต้องคำนึงถึงราคาและปริมาณ
ของสินคา้ และบริการน้นั และมักจะมงุ่ ส่คู วามพอใจเป็นหลักสำคัญ
3. อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม ผู้บริโภคจะคำนึงถึงความพอใจส่วนที่เพิ่มเข้ามาจากการบริโภคสินค้าและบริการ
ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่ง “ส่วนเพิ่ม” ของการบริโภคสินค้าที่บริโภคเพิ่มขึ้นทีละหน่วยจะมีค่าลดลง เมื่อผู้บริโภค
บริโภคสินค้าชนิดน้ันเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่มที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าหน่วยแรก ๆ
จะมากกว่าที่ไดร้ ับจากสินค้าหนว่ ยหลัง ๆ ซง่ึ เป็นไปตามกฎการลดนอ้ ยถอยลงของอรรถประโยชนห์ น่วยสดุ ท้าย
4. สินค้าต่างชนิดกัน ผู้บริโภคย่อมมีความพอใจที่จะได้บริโภคสินค้าหลายชนิดแตกต่างกันไปตามจำนวนท่ี
สามารถจะบริโภคได้ เป็นการแบ่งรายไดใ้ ชจ้ ่ายในสินคา้ หลาย ๆ รายการ เพ่ือการดำรงชีวติ และปรบั ตวั ให้เข้ากับ
ภาวะเศรษฐกิจ โดยไดร้ ับความพอใจจากการบรโิ ภค
ข้อสมมติเหล่านี้ เป็นลักษณะทั่วไปของผู้บริโภค ซึ่งจะศึกษารายละเอียดในเรื่องของทฤษฎีอรรถประโยชน์
(Utility Theory) และเสน้ ความพอใจเท่ากนั (Indifference Curve)
การเข้าใจถึงอุปสงค์และอุปทาน จะช่วยให้สามารถวิเคราะห์การทำงานของกลไกตลาดได้อย่างถูกต้องมากข้ึน
ส่วนสำคญั ของการศกึ ษาอปุ สงค์กค็ ือ การศึกษาทฤษฎีพฤติกรรมผูบ้ ริโภค และส่วนสำคัญของการศึกษาอุปทาน
ก็คือ การศึกษาทฤษฎีการผลิตและการกำหนดราคาของผู้ผลิต ในที่นี้ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภคมีอยู่สอง ทฤษฎี
หลัก ๆ คือ ทฤษฎีอรรถประโยชน์ และทฤษฎีความพอใจเท่ากัน ทฤษฎีอรรถประโยชน์เป็นการวิเคราะหภ์ ายใต้
ขอ้ สมมตทิ ว่ี ่า ความพอใจของผู้บรโิ ภคสามารถวัดเปน็ หนว่ ย ๆ ได้ สว่ นทฤษฎีความพอใจเท่ากนั ไมจ่ ำเป็นต้องวัด
ออกมาเปน็ หน่วย ๆ แตใ่ หจ้ ัดอันดบั ความพอใจเทา่ นนั้

4. ครูใช้สอ่ื Power Point ประกอบเทคนคิ การบรรยาย ทฤษฎอี รรถประโยชน์
เป็นทฤษฎีหนึ่งที่ได้พยายามอธิบายพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้บริโภค ซึ่งทฤษฎีนี้ได้เริ่มนำมาใช้ในตอนปลาย
ศตวรรษที่ 19 จากผลงานของนักเศรษฐศาสตร์หลายท่าน เช่น Le'on Walras นักเศรษฐศาสตร์ชาวฝรั่งเศส
และ Alfred Marshall นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นต้น ก่อนที่จะศึกษาหรืออธิบายพฤติกรรมของผู้บริโภค
ดว้ ยทฤษฎอี รรถประโยชน์ ควรทำความเขา้ ใจกับความหมายของคำว่า “อรรถประโยชน”์ เสยี กอ่ น
4.1 ความหมายและลกั ษณะของอรรถประโยชน์
อรรถประโยชน์ (Utility) หมายถงึ ความพอใจท่ผี ้บู รโิ ภคได้รบั จากการบริโภคสินค้าและบริการชนดิ ใดชนิดหน่ึง
ณ เวลาใดเวลาหนงึ่ สินค้าใดทส่ี รา้ งความพอใจให้แก่ผู้บริโภคได้มาก แสดงว่าสนิ ค้านั้นมีอรรถประโยชน์มาก แต่
ถ้าสร้างความพอใจให้แก่ผู้บริโภคได้น้อย แสดงว่าสินค้านั้นมีอรรถประโยชน์น้อยอรรถประโยชน์จะขึ้นอยู่กับ
ความชอบ ความพอใจ หรอื การตระหนักถงึ คณุ ค่าของสงิ่ น้ันของผ้บู ริโภคแต่ละคน ดังน้ัน สนิ คา้ ชนดิ เดยี วกนั อาจ
สร้างความพอใจให้กับผู้บริโภคแต่ละคนไม่เท่ากัน เช่น ผู้บริโภคที่ชอบดื่มกาแฟย่อมได้รับอรรถประโยชน์จาก
กาแฟมากกว่าผู้บริโภคที่ไม่ชอบดื่มกาแฟ แม้ว่าจะเป็นผู้บริโภคคนเดียวกัน แต่ถ้าบริโภคในช่วงเวลาที่ต่างกัน
อาจทำให้อรรถประโยชน์ที่ได้รับจากการดื่มกาแฟต่างกันไปด้วย ในการตัดสินใจเลอื กซื้อสินค้ามาบริโภคเพื่อให้
ได้รับความพอใจสงู สุดตามทฤษฎีอรรถประโยชนม์ ีข้อสมมติดังน้ี
1. ผู้บริโภคเป็นผู้ที่มีเหตุผลในการเลือกบริโภคสินค้า (Rationality) โดยจะเลือกซื้อสินค้าที่ทำให้ได้รับ
อรรถประโยชน์สูงสุด และผู้บริโภคทุกคนมีรายได้จำกัด ดังนั้น ในการเลือกซื้อสินค้า ผู้บริโภคจะเปรียบเทียบ
อรรถประโยชน์ของสินคา้ แต่ละชนิดก่อน และสนิ คา้ ท่ีใหอ้ รรถประโยชนม์ ากที่สุดจะถกู เลอื กก่อนตามลำดับ
2. ความพอใจที่ผบู้ ริโภคไดร้ ับจากการบริโภคสนิ คา้ และบริการ (Cardinal Utility) สามารถวดั ออกมาเป็นหน่วย
หรือตัวเลขได้ เช่นเดียวกับการวัดนํ้าหนักของสินค้าและบริการอื่น ๆ หน่วยนับของอรรถประโยชน์หรือความ
พอใจ คอื ยทู ิล (Utils) เชน่ นํา้ ดื่ม 1 ขวด ให้ความพอใจหรือให้อรรถประโยชน์แกผ่ ู้บรโิ ภค10 ยทู ิล เป็นต้น และ
สินค้าสามารถแบ่งออกเปน็ หน่วยย่อย ๆ ได้ แตล่ ะหนว่ ยมีลกั ษณะและคุณภาพเหมือนกันทำให้การซื้อขายสินค้า
ทำไดส้ ะดวกและสนิ คา้ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บรโิ ภคได้
3. อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Marginal Utility) การลดน้อยถอยลง (Diminishing) กล่าวคือถ้าผู้บริโภคบริโภค
สินค้าและบริการเพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วย อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่มที่ได้รับจากสินค้าหน่วยหลัง ๆ จะลดลงเรื่อย ๆ ซึ่ง
เปน็ ไปตามกฎการลดนอ้ ยถอยลงของอรรถประโยชน์หนว่ ยสุดทา้ ย (Law of Diminishing Marginal Utility)
4. อรรถประโยชน์ส่วนเพม่ิ ของเงินมคี ่าคงที่ (Constant margind Utility of Money) กล่าวคอื อรรถประโยชน์
ส่วนเพ่ิมของเงนิ นนั่ คงที่ ไมว่ ่าจำนวนเงนิ จะลดลงหรือเพม่ิ มากข้ึนเพียงไร
5. ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าแต่ละชนิดเป็นอิสระต่อกัน ซึ่งหมายความว่าความพอใจใน
การบรโิ ภคสินคา้ x ขึ้นอยกู่ ับการบรโิ ภคสนิ ค้า x เพยี งอย่างเดยี ว และไดข้ ึน้ กบั ประมาณการบรโิ ภคของสินคา้ y
4.2 ประเภทของอรรถประโยชน์
อรรถประโยชน์แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื

1. อรรถประโยชน์รวม (Total Utility: TU) หมายถึง จำนวนความพอใจทง้ั หมดท่ผี ู้บริโภคได้รับจากการ
บริโภคสินค้าในปริมาณหนึ่ง ๆ ซึ่งหาได้จากการนำอรรถประโยชน์ที่ได้รับจากสินค้าทุกหน่วยที่บริโภค
มารวมกนั ดังน้นั ค่าของอรรถประโยชนร์ วมจึงขนึ้ อยู่กับจำนวนสินค้าท่บี ริโภค

2. อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย หรืออรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Marginal Utility: MU) หมายถึง
อรรถประโยชน์ส่วนที่เพิ่มขึ้น (หรือลดลง) เมื่อผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าชนิดเดียวกันนั้นเพิ่มขึ้น (หรือลดลง) อีก
หนึ่งหน่วย หรือสามารถแสดงได้ว่า อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย คือ ความพอใจที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อจำนวน
สนิ ค้าทบ่ี รโิ ภคเปลยี่ นแปลงไป 1 หนว่ ย

แสดงอรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์ส่วนเพิม่

จากรูป ทฤษฎีอรรถประโยชน์กล่าวไว้ว่า ในระยะแรกเมื่อผู้บริโภคบริโภคสินค้าและบริการอรรถประโยชน์รวม
(TU) และอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (MU) จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้ามกล่าวคือ ในขณะที่
อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (MU) ของสินค้าหรือบริการที่ได้รับเพิ่มขึ้นทีละ 1 หน่วย กำลังลดน้อยถอยลง
ตามลำดับนั้น อรรถประโยชน์รวม (TU) กลับเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามปริมาณสินค้าและบริการที่ได้รับเพิ่มข้ึน
เมือ่ ไดร้ ับสินค้าหรือบริการเพ่ิมข้ึนถึงปริมาณหน่ึงท่ีอรรถประโยชนห์ น่วยสุดท้าย (MU) ลดลงเหลอื ศูนย์แล้ว เม่ือ
นั้นอรรถประโยชน์รวม (TU) จะมีจำนวนมากที่สุด และต่อจากนั้นถ้าผู้บริโภคยังคงบริโภคสินค้าและบริการ
หน่วยต่อ ๆ ไปอีก ทั้งอรรถประโยชน์รวม (TU) และอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (MU) จะเริ่มเปลี่ยนแปลงไป
ในทางเดยี วกนั คือ ลดลงเหมอื น ๆ กนั
เมื่อพิจารณาจากตาราง ลักษณะความสัมพันธ์ของ TU และ MU ดังกล่าวจะเป็นไปตามกฎการลดน้อยถอยลง
ของอรรถประโยชน์หน่วยสดุ ท้าย (Law of Diminishing Marginal Utility) มีสาระสำคัญว่า ณ ชว่ งเวลาใดเวลา
หน่ึง เมื่อผู้บริโภคบริโภคสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งในจำนวนที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง
อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายที่จะได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นแต่ละหน่วยนั้นจะลดลงเรื่อย ๆ
ตามลำดับ จนมีค่าเป็นศูนย์ และติดลบ โดยกฎนี้มีการกำหนดข้อสมมติหรือเงื่อนไขบางอย่าง คือ การบริโภค
สินค้านนั้ ตอ้ งบรโิ ภคต่อเนื่องในช่วงเวลาหน่ึง โดยในขณะทพ่ี ิจารณารสนยิ มของผ้บู ริโภคต้องไมเ่ ปลี่ยนแปลงและ
ตอ้ งกำหนดหน่วยของสนิ คา้ ที่บรโิ ภคใหช้ ดั เจนด้วย ดงั ตารางต่อไปนี้

ตาราง อรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชนห์ น่วยสดุ ทา้ ยของการด่มื นำ้

น้ำ (แก้ว) อรรถประโยชนร์ วม (TU) อรรถประโยชน์หนว่ ยสดุ ท้าย

(MU)

88

15 7

20 5

22 2

22 0

20 -2

จากตาราง หากผู้บริโภคยังไม่มีความต้องการดื่มนํา้ อรรถประโยชน์รวม (TU) และอรรถประโยชน์หน่วยสุดทา้ ย

(MU) จะมีค่าเท่ากับ 0 ยูทิล เมื่อเริ่มดื่มนํ้าแก้วแรก ผู้บริโภคจะได้รับอรรถประโยชน์รวมเท่ากับ 8 ยูทิล ซึ่ง

เท่ากับอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายพอดี เนื่องจากเป็นการดื่มนํ้าแก้วแรก หลังจากนั้นถ้าดื่มนํ้าแก้วท่ี 2 และ

เพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงแก้วที่ 6 ผู้บริโภคจะได้รับอรรถประโยชน์รวมดังน้ี 15, 20, 22, 22 และ 20 ยูทิล

ในขณะที่อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายจะเป็นดังนี้ 7, 5, 2, 0 และ -2 ยูทิลตามลำดับทั้งนี้เนื่องจาก

อรรถประโยชน์รวมจะมีค่าเท่ากับผลรวมของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายที่ได้รับจากการดื่มน้ำในแต่ละแก้ว

จากตัวอย่างจะเห็นได้วา่ อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายที่ไดร้ ับจากการดื่มนํา้ จะมีลกั ษณะลดลงเรื่อยๆ ซึ่งเป็นไป

ตามกฎการลดนอ้ ยถอยลงของอรรถประโยชนห์ น่วยสุดท้าย ผบู้ ริโภคยังคงดม่ื นา้ํ ตราบเท่าทีอ่ รรถประโยชน์รวมมี

ค่าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และมีค่าสูงสุดเมื่ออรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายมีค่าเท่ากับศูนย์ นั่นคือนํ้าแก้วที่ 5

อรรถประโยชนร์ วมเทา่ กบั 22 ยทู ิล ในขณะท่อี รรถประโยชนห์ นว่ ยสุดทา้ ยเทา่ กับ 0 ยูทลิ แตผ่ ู้บริโภคจะหยดุ ดื่ม

นํ้าแกว้ ที่ 6 เน่ืองจากนา้ํ แกว้ ท่ี 6 ทำใหอ้ รรถประโยชน์รวมลดลงเหลอื 20 ยูทลิ และอรรถประโยชน์หน่วยสดุ ท้าย

ติดลบ คือ -2 ยทู ิล

สรุป ความสัมพันธ์ระหวา่ งอรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายที่ผูบ้ ริโภคได้รับจากการบริโภค

สนิ คา้ เพมิ่ ข้นึ ดังน้ี

1. เมอื่ อรรถประโยชน์หน่วยสดุ ทา้ ยมีค่าเปน็ บวก (MU > 0) อรรถประโยชนร์ วม (TU) มคี ่าเพ่ิมข้นึ

2. เมื่ออรรถประโยชนห์ น่วยสุดทา้ ยมีคา่ เปน็ ศูนย์ (MU = 0) อรรถประโยชน์รวม (TU) มีคา่ สงู สุด

3. เมอ่ื อรรถประโยชน์หนว่ ยสุดท้ายมคี า่ เปน็ ลบ (MU<0) อรรถประโยชนร์ วม (TU) มคี ่าลดลง

4.3 ดุลยภาพของผบู้ ริโภคตามทฤษฎีอรรถประโยชน์

เมื่อผลของการบริโภคสินค้าแต่ละชนิดเป็นไปตามกฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายแล้ว

ผู้บริโภคยังต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขของงบประมาณที่มีอยู่จำกัดจำนวนหนึ่ง ซึ่งทำให้ผู้บริโภคต้องตัดสินใจเลือก

บริโภคสินค้าแต่ละชนิดในจำนวนทีท่ ำให้ไดร้ ับอรรถประโยชน์หรอื ความพอใจสูงสุดเรียกสภาวการณน์ ีว้ ่า “ดุลย

ภาพของผู้บริโภค (Consumer's Equilibrium)” ทั้งนี้จะแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้ไม่

จำกัดและกรณีท่ผี ู้บรโิ ภคมีรายได้จำกดั

1. กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกดั การที่ผู้บรโิ ภคมีรายได้ไม่จำกดั ย่อมทำให้ผู้บริโภคเลือกซ้ือสินค้าต่างๆ ได้
ตามทีต่ อ้ งการ แต่จากขอ้ สมมตผิ ู้บรโิ ภคมีเหตผุ ลในการเลือกซ้ือสนิ ค้า คอื ไดร้ บั ความพอใจสูงสุดจากการบริโภค
ผู้บริโภคจะเลือกบริโภคโดยเรียงตามลำดับของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายที่ได้รับจากสิน ค้าและจะบริโภค
ต่อไปจนอรรถประโยชน์รวมจากสินค้าสูงสุด และอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายมีค่าเท่ากับศูนย์ ผู้บริโภคจึงจะ
หยุดการบรโิ ภคและเกดิ ดุลยภาพของผบู้ รโิ ภค ซ่งึ สามารถเขยี นเง่อื นไขดลุ ยภาพของผ้บู รโิ ภคได้ดงั นี้

MUA = MUB = .... = MUN = 0

โดยท่ี MUA คอื อรรถประโยชน์หนว่ ยสดุ ท้ายของสินค้า A
MUB คอื อรรถประโยชนห์ นว่ ยสดุ ทา้ ยของสินค้า B
MUN คอื อรรถประโยชน์หน่วยสดุ ทา้ ยของสนิ ค้าแตล่ ะชนิด

ตาราง อรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์หนว่ ยสดุ ทา้ ยของการดมื่ นำ้

จากตาราง ถ้าผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด ผู้บริโภคจะเลือกบริโภคสินค้าแต่ละชนิดไปจนกระทั่งอรรถประโยชน์
หน่วยสุดท้ายของสินค้า A (MUA) สินค้า B (MUB) และสินค้า C (MUC) มีค่าเท่ากับศูนย์โดยพิจารณาจากช่องที่
2, 4 และ 6 ดังนั้น ผู้บริโภคจะบริโภคสินค้า A จำนวน 7 หน่วย สินค้า B จำนวน 7 หน่วยและสินค้า C จำนวน
6 หน่วย จึงจะทำให้ผบู้ รโิ ภคได้รบั ความพอใจสงู สุด และเกดิ ดลุ ยภาพของผู้บริโภค
2. กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้จำกัด ผู้บริโภคจะไม่สามารถบริโภคสินค้าได้ทุกชนิดตามที่ต้องการแต่มีสิทธิ์เลือก
บริโภคสินคา้ ได้ไมเ่ กนิ รายไดห้ รืองบประมาณท่ีมีอยู่ และถ้าราคาสินค้าเท่ากนั ผบู้ ริโภคจะเลอื กบริโภคสินค้าท่ีให้
อรรถประโยชน์หนว่ ยสุดท้ายมากที่สุดก่อนแล้วจึงเลือกสนิ ค้าอื่น ๆ รองลงมาตามลำดับ และจะบริโภคจนสินค้า
หน่วยที่ให้อรรถประโยชนห์ น่วยสุดทา้ ยของสินค้ามีค่าเท่ากันท้ังหมดผู้บริโภคก็จะหยดุ การบริโภค และเกิดดุลย
ภาพของผู้บริโภค เขยี นเป็นเงือ่ นไขได้ดงั น้ี

MUA = MUB = .... = MUN

โดยที่ MUN คือ อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของสินค้าแต่ละชนิดถ้าสินค้าแต่ละชนิดมีราคาไม่เท่ากัน
หมายความว่า อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายที่ได้รับจากสินค้าแต่ละชนิดน้ันมาจากจำนวนเงินที่จ่ายไปมากน้อย
แตกต่างกัน และสินค้าแต่ละชนิดมีคุณค่าต่อผู้บริโภคแตกต่างกันด้วย ดังนั้น เพื่อให้สามารถนำอรรถประโยชน์
หน่วยสุดท้ายมาเปรียบเทียบกันได้จึงต้องปรับอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายให้จำนวนเงินเท่ากันก่อน ทั้งน้ี

สามารถทำได้โดยนำเอาราคาสินค้าไปหารอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของสินค้าทุกชนิด (MUN/PN) จะได้
อรรถประโยชนห์ น่วยสุดท้ายที่มาจากจำนวนเงนิ ทจ่ี ่ายไป 2 บาทเทา่ กนั จงึ นำมาเปรียบเทียบกันได้
กฎของอรรถประโยชนส์ ูงสดุ มีสาระสำคัญว่า เม่อื ผู้บริโภคบริโภคสินค้าชนดิ ต่าง ๆ จนทำให้ไดร้ บั อรรถประโยชน์
หน่วยสุดท้ายต่อเงิน 2 บาทของสินค้าทุกชนิดมีค่าเท่ากัน (โดยใช้รายได้ทั้งหมดที่มีอยู่)ผู้บริโภคจะได้รับ
อรรถประโยชนส์ ูงสุด และเกดิ ดลุ ยภาพของผบู้ ริโภค จงึ สามารถเขยี นเปน็ เงอ่ื นไขดลุ ยภาพของผูบ้ ริโภคได้ดงั น้ี

MUA MUB = MUN
PN
= = ……..

PA PB

โดยที่ MUA คอื อรรถประโยชน์หน่วยสุดทา้ ยของสนิ คา้ A และ PA คอื ราคาสินค้า A
MUB คือ อรรถประโยชนห์ นว่ ยสดุ ทา้ ยของสินค้า B และ PB คือ ราคาสินคา้ B
MUN คือ อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของสินค้าแต่ละชนิด และ PN คือ ราคา
สนิ ค้า N

ราคาสินคา้ แต่ละชนิดไม่เทา่ กัน ราคาต่อหนว่ ยของสินค้า A เท่ากับ 2 บาท สนิ ค้า B เทา่ กับ 4 บาทและสินค้า C
เท่ากับ 6 บาท และผู้บริโภคมีรายได้ทั้งหมด 40 บาท เมื่อราคาสินค้าทั้ง 3 ชนิดไม่เท่ากันก่อนที่ผู้บริโภคจะ
ตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าจะต้องนำราคาสินค้าไปหารอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของสินค้าแต่ละชนิด เพ่ือ
ปรับให้เป็นอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายต่อเงิน 2 บาท จากนั้นเปรียบเทียบแลพิจารณาว่าสินค้าใดที่ให้
อรรถประโยชน์หน่วยสดุ ท้ายตอ่ เงนิ 2 บาทมากทส่ี ดุ และรองลงมาตามลำดับพิจารณาจากช่องที่ 3, 5 และ 7
สรุปได้ว่า ผบู้ รโิ ภคจะซ้ือสินค้า A จำนวน 1 หน่วยเป็นเงิน 2 บาท ซ้อื สนิ คา้ B จำนวน 5 หน่วยเป็นเงิน 20 บาท
และซื้อสินค้า C จำนวน 3 หน่วยเป็นเงิน 18 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 40 บาท โดยหน่วยสุดท้ายของการซื้อ
สินค้าทุกชนิดให้อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายต่อเงิน 2 บาท แก่ผู้บริโภคเท่ากันคือ 6 (6 ยูทิลต่อเงิน 2 บาท)
เขยี นเปน็ เงื่อนไขดลุ ยภาพของผูบ้ ริโภคได้ดังน้ี

MUA MUB MUN

= = =6

PA PB PN

อรรถประโยชน์รวมที่ผู้บริโภคได้รบั ทง้ั หมดมาจากการนำอรรถประโยชนห์ น่วยสุดทา้ ยของสินคา้ ทกุ หนว่ ยท่ีซื้อมา
รวมกัน (ช่อง 2, 4 และ 6) ได้แก่ อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของสินค้า A จำนวน1 หน่วย ที่ซื้อเท่ากับ 12
ยูทิล อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของสินค้า B จำนวน 5 หน่วย ที่ซื้อเท่ากับ 240 ยูทิล(72+60+48+36+24)
และอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของสินค้า C จำนวน 3 หน่วย ที่ซื้อเท่ากับ 144 ยูทิล(60+48+36) ดังน้ัน
ผูบ้ รโิ ภคจะไดร้ บั อรรถประโยชน์รวมเทา่ กบั 396 ยทู ิล (TU = 12+240+144) ซ่ึงเป็นอรรถประโยชน์รวมที่ได้รับ
จากการใช้รายได้ทง้ั หมด 40 บาท

5. ครใู ชส้ อ่ื PowerPoint / เขียนกระดาน ประกอบเทคนิคการบรรยาย ทฤษฎีความพอใจเทา่ กัน
ทฤษฎีความพอใจเท่ากัน (Indifference Preference Theory) หรือการวิเคราะห์ด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน
(Indifference Curve Analysis) การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคตามทฤษฎีนี้ทำได้โดยไม่ต้องสมมติว่า
อรรถประโยชน์สามารถวดั ออกมาเป็นหนว่ ย ๆ ได้ แต่ผบู้ ริโภคสามารถบอกไดว้ ่าความพอใจหรืออรรถประโยชน์
ท่ีเขาได้รบั จากสนิ ค้าแตล่ ะชนดิ นั้นมากกว่า น้อยกวา่ หรอื เท่ากันเมื่อเทียบกับความพอใจหรืออรรถประโยชน์อีก
ชนิดหนึ่ง การวิเคราะห์นี้ผู้บริโภคจะบรรลุอรรถประโยชน์สูงสุดภายใต้งบประมาณที่มีอยู่จำกัดได้อย่างไร
เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ เส้นความพอใจเท่ากัน(Indifference Curve: IC) ซึ่งบอกถึงระดับความพอใจ
หรอื อรรถประโยชนท์ ่สี ะทอ้ นในรปู ของปริมาณสินค้าทไ่ี ด้บรโิ ภค และเสน้ งบประมาณ (Budget Line) จะบอกถึง
ขดี ความสามารถหรอื ข้อจำกัดของรายได้หรืองบประมาณที่ผ้บู ริโภคมีอยู่ในช่วงเวลาน้นั
ข้อสมมตทื สี่ ำคัญของทฤษฎคี วามพอใจเทา่ กนั ดงั น้ี
1. ผู้บริโภคเป็นผู้ที่มีเหตุผล มีความสามารถในการเปรียบเทียบ และจัดอันดับความพอใจระหว่างการบริโภค
สินคา้ ในจำนวนหน่ึงกบั อีกจำนวนหน่ึงได้ กลา่ วคือ ผบู้ ริโภคสามารถบอกผลจากการบรโิ ภคโดยการเปรียบเทียบ
ได้วา่ พอใจสินคา้ ใดมากกวา่ นอ้ ยกวา่ หรือเทา่ กนั โดยผู้บรโิ ภคมรี ายไดจ้ ำกัด
2. ผู้บริโภคเป็นบุคคลที่มีความคงเส้นคงวา กล่าวคือ ถ้าผู้บริโภคมีความพึงพอใจในสินค้าและบริการชนิดหน่ึง
แล้ว ระดับความพอใจจะไม่เปลี่ยนแปลงไมว่ ่าจะเปรียบเทียบกบั สนิ ค้าใดก็ตาม เช่น เมื่อผู้บริโภคพอใจสินค้า X
มากกว่าสินค้า Y และพอใจสินค้า Y มากกว่าสินค้า Z ดังนั้น เมื่อผู้บริโภคมีความคงเส้นคงวาแล้วผู้บริโภคย่อม
พอใจสินค้า X มากกว่าสินคา้ Z ด้วย คุณสมบัติของผ้บู ริโภคในลกั ษณะน้ี เรียกว่า ความสามารถในการถ่ายทอด
3. สินค้าที่บริโภคทุกชนิดเป็นสินค้าดี เป็นสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการหรือสร้างความพอใจในการบริโภคได้ กล่าวคือ
สินค้าทุกชนิดที่บริโภคเป็นสินค้าที่ให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคได้ หากมีการบริโภคในจำนวนมากย่อมสร้างความ
พอใจในระดับทสี่ ูงกว่าการได้บรโิ ภคในจำนวนน้อย ๆ หรือบริโภคมากดกี วา่ นอ้ ย
4. การบริโภคอยู่ภายใต้กฎการลดน้อยถอยลงของอัตราการทดแทนกันของสินค้าหน่วยสุดท้าย( Law of
Diminishing Marginal Rate of Substitution: MRS) นั่นคือจำนวนสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคยอมที่จะบริโภค
ลดลง เพื่อแลกกับการได้บริโภคสินค้าอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วย โดยผู้บริโภคยังได้รับความพอใจเท่าเดิม
ยกตัวอย่างเช่น เราอาจจะยอมแลกข้าว 5 ช้อนโต๊ะ เพื่อแลกกับนํ้า 1 แก้ว หรือแลกกับการที่จะไม่มีนํ้าดื่มเลย
อยา่ งไรกด็ ี ในระดบั ความพึงพอใจเท่าเดมิ เราจะยอมแลกขา้ วน้อยกว่า 8 ช้อนโตะ๊ สำหรบั นํา้ แกว้ ที่ 2
5.1 ความหมายของเสน้ ความพอใจเทา่ กนั
เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve: IC) คือ เส้นที่แสดงถึงส่วนผสมของการบริโภคสินค้าสองชนดิ
ในจำนวนต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่ากัน ไม่ว่าผู้บริโภคจะเลือกบริโภคสินค้าทั้งสองชนิด ณ
สว่ นผสมใดบนเสน้ ความพอใจเทา่ กนั เส้นเดียวกันกจ็ ะได้รบั ความพอใจทเี่ ท่ากนั ตลอดทั้งเสน้

ตาราง สว่ นผสมของการบรโิ ภคสินคา้ X และ Y ท่ีใหค้ วามพอใจเท่ากัน

สว่ นผสม จำนวนสนิ ค้า X (หน่วย) จำนวนสินคา้ Y (หน่วย)
A 0 25
B 1 18
C 2 12
D 3 7
E 4 3
F 5 0

จากตาราง กำหนดใหม้ ีสนิ ค้าให้เลอื กบรโิ ภคเพยี ง 2 ชนิด คอื สินคา้ X และสนิ คา้ Y สำหรับส่วนผสม A -
F แสดงถึงส่วนผสมของสินค้า X และสินค้า Y ในจำนวนต่าง ๆ ที่ให้ความพอใจเท่ากันแก่ผู้บริโภคในการเลือก
บริโภคสินค้า X และสินค้า Y เพื่อให้ได้ความพอใจเท่ากันตลอด สามารถทำได้ถ้ามีการบริโภคสินค้าชนิดหน่ึง
เพิม่ ข้ึนจะต้องลดการบรโิ ภคสินค้าอีกชนิดหนึ่งลง หรอื ถา้ ลดการบริโภคสนิ ค้าชนิดหน่ึงลงจะต้องเพ่ิมการบริโภค
สินค้าอีกชนิดหนึ่งให้มากขึ้น เช่น ที่ส่วนผสม A ผู้บริโภคไม่บริโภคสินค้า X เลย แต่บริโภคสินค้า Y จำนวน 25
หน่วย ส่วนผสม B ผู้บริโภคบรโิ ภคสินค้า X จำนวน 1 หน่วยผูบ้ ริโภคตอ้ งลดการบริโภคสินค้า Y ลงอีกเหลือ 18
หนว่ ย ส่วนผสม C บริโภคสนิ คา้ X เพมิ่ ขึ้นอีก 1 หน่วย
ทำให้ต้องลดการบริโภคสินคา้ Y ลงอีกเหลือ 12 หน่วย กล่าวคือ เพื่อรักษาระดับความพอใจให้เทา่ เดิมผู้บริโภค
ตอ้ งบริโภคสินค้า X เพมิ่ ขน้ึ ทลี ะ 1 หน่วย และยอมลดการบริโภคสินค้า Y ลง

แสดงเส้นความพอใจเท่ากัน

จากรูป กำหนดให้แกนตั้งเป็นสินค้า Y และแกนนอนเป็นสินค้า X เส้นที่เชื่อมโยงส่วนผสมของสินค้าที่ทำให้
ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่ากัน คือ เส้นความพอใจเท่ากัน (IC) ในกรณีที่สินค้าทั้งสองชนิดสามารถแบ่งเป็น
หนว่ ยยอ่ ย ๆ ได้ ทุก ๆ จุดบนเสน้ ความพอใจเทา่ กนั เปน็ ส่วนผสมต่าง ๆ ของสนิ คา้ สองชนดิ ทที่ ำใหผ้ ู้บรโิ ภคได้รับ
ความพอใจเท่ากนั
5.2 คุณสมบัติของเสน้ ความพอใจเท่ากัน
เส้นความพอใจเทา่ กนั มีคณุ สมบัตทิ ่ีสำคัญ ดงั นี้
1. เส้นความพอใจเท่ากนั เป็นเส้นท่ีทอดลงจากซ้ายไปขวา หรอื มีความชันเป็นลบ และมีลกั ษณะโค้งเว้าเข้า
หาจุดกำเนิด แสดงว่าสินค้าทั้งสองชนิดสามารถใช้ทดแทนกันได้ เมื่อมีการบริโภคสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มข้ึน
ผู้บริโภคจะต้องลดการบริโภคสินค้าอีกชนิดหนึ่งลง ในทางตรงข้าม เมื่อมีการบริโภคสินค้าชนิดหนึ่งลดลง
ผู้บริโภคจะเพิ่มการบริโภคสินค้าอีกชนิดหนึ่งให้มากขึ้น โดยที่ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่าเดิมหรืออยู่บนเส้น
ความพอใจเทา่ กันเสน้ เดิม

แสดงเส้นความพอใจเท่ากัน

2. เส้นความพอใจเท่ากันมีได้หลายเส้น กล่าวคือ เส้นความพอใจเส้นที่อยู่สูงกว่าหรืออยู่ด้านขวาจะมีความ
พอใจที่มากกว่า ผู้บริโภคคนหนึ่ง ๆ สามารถสร้างเส้นความพอใจเท่ากันจากการบริโภคสินค้าสองชนิดได้หลาย
เส้น แต่ละเส้นแสดงถึงความพอใจที่แตกต่างกัน เรียกว่า “แผนภาพเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference
Map)”

แสดงแผนภาพเส้นความพอใจเท่ากัน

จากรปู ผบู้ ริโภคคนหนึ่งมเี ส้นความพอใจเทา่ กนั 3 เส้น โดยเสน้ IC2 เป็นเส้นความพอใจเท่ากนั เส้นทอี่ ยูส่ งู สดุ ซึ่ง
แสดงถึงระดับความพอใจมากทีส่ ดุ และมากกว่าระดับความพอใจของเสน้ ท่ีอยู่ตํ่ากว่าท้ังสองเส้นคือ IC1 และ IC
ส่วนผสม IC ให้ระดับความพอใจเทา่ กนั ตํา่ สดุ
3. เส้นความพอใจเท่ากันมีลักษณะต่อเน่ืองหรือไม่ขาดช่วง แสดงว่าสินค้าทั้งสองชนิดมีความสามารถในการ
ทดแทนกันได้โดยหน่วยของสินค้าจะเล็กมาก กล่าวคือ มีส่วนผสมของสินค้าทั้งสองชนิดเป็นจำนวนมาก ซ่ึง
สามารถสรา้ งความพอใจที่เท่ากนั ได้โดยไม่ขาดช่วง
4. เส้นความพอใจเทา่ กันจะตัดกนั ไม่ได้ หากเสน้ ความพอใจเท่ากนั ตัดกันจะขัดแย้งกบั ข้อสมมตทิ ีว่ า่ เม่ือบริโภค
สินคา้ มากย่อมทำให้ผ้บู รโิ ภคไดร้ ับความพอใจมากกว่าการบริโภคน้อย

แสดงเส้นความพอใจเท่ากนั ตัดกันไมไ่ ด้

จากรูป สมมติว่าเส้นความพอใจเท่ากันตัดกันที่จุด a และถ้ายอมรับคุณสมบัติที่ว่า เส้นความพอใจเท่ากันเส้นท่ี
อยู่สูงกว่าจะให้ความพอใจมากกว่าเส้นที่อยู่ตํ่าลงมาทางซ้ายมือ จะเห็นได้ว่า ส่วนประกอบของสินค้า X และ
สินคา้ Y ที่จดุ b จะให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคมากกวา่ ทีจ่ ดุ a แต่สว่ นประกอบของสินคา้ ทีจ่ ดุ a ให้ความพอใจแก่
ผู้บริโภคเท่ากับทีจ่ ุด c และส่วนประกอบของสินค้าที่จุด a ก็ให้ความพอใจเท่ากับที่จุด b เช่นกัน ทั้งนี้เพราะจดุ
a อยู่บนเสน้ ความพอใจเท่ากันท้ังเส้น IC และเสน้ IC1 ถ้าพจิ ารณาตามข้อสมมติแล้ว ความพอใจท่ีได้รับจากการ
บริโภคสินค้าที่จุด b ก็จะต้องให้ความพอใจเท่ากับการบริโภคสินค้าที่จุด c ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะที่จุด b มีการ
บริโภคสินค้า y ในปรมิ าณที่มากกว่าจดุ c และอยบู่ นเส้น
ความพอใจเท่ากันที่สูงกว่า การบริโภคสินค้าที่จุด a ให้ความพอใจ 2 ระดับ ดังนั้น ถ้าเส้นความพอใจเท่ากันตัด
กนั จะแสดงให้เห็นเงอื่ นไขของการเลือกท่ีขัดแยง้ กนั ฉะนนั้ เส้นความพอใจเท่ากันจะตดั กันไม่ได้
อตั ราการทดแทนกนั ของสนิ ค้าหน่วยสดุ ทา้ ย (Marginal Rate of Substitution: MRS)
อัตราการทดแทนกันของสินค้าหน่วยสุดท้าย หมายถึง จำนวนสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคยอมที่จะบริโภคลดลง
เพือ่ แลกกับการไดบ้ รโิ ภคสนิ คา้ อกี ชนดิ หนึ่งเพมิ่ ขน้ึ หน่งึ หนว่ ย โดยผู้บรโิ ภคยงั คงได้รับความพึงพอใจเท่าเดิม
ถ้ามีการลดการบริโภคสินค้า Y ลงเพื่อแลกกับการได้บริโภคสินค้า X เพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะเขียนเป็นสัญลักษณ์
MRSXY แตถ่ า้ มกี ารลดการบรโิ ภคสนิ คา้ X ลงเพ่อื แลกกับการได้บริโภคสินค้า Y เพิ่ม 1 หน่วย
จะเขยี นเป็นสญั ลกั ษณ์ MRSYX อัตราการทดแทนกันของสินคา้ หน่วยสุดท้ายสามารถเขียนเป็นสูตรคำนวณได้ดงั น้ี

โดยที่ ΔX คือ สว่ นเปลีย่ นแปลงของสนิ ค้า X
ΔY คือ ส่วนเปล่ยี นแปลงของสนิ คา้ Y

เครื่องหมายลบ (-) ที่อยู่หน้า ΔX หรือ ΔY แสดงถึงการที่ผู้บริโภคยอมที่จะลดการบริโภคสินคา้ ชนิดหนึ่งลง ใน
อตั ราที่นอ้ ยลง เพ่อื จะเพิ่มการบรโิ ภคสินค้าอีกชนดิ หน่งึ ใหม้ ากข้ึน ซ่ึงเป็นไปตามกฎการลดน้อยถอยลงของอัตรา
การทดแทนกันของสนิ คา้ หน่วยสดุ ท้าย
เราสามารถทำความเขา้ ใจเรื่องกฎการลดน้อยถอยลงของอัตราการทดแทนกนั ของสนิ ค้าหน่วยสุดท้ายจากตาราง
และตัวอยา่ ง ดงั น้ี

ตาราง อตั ราการทดแทนกนั ของสนิ คา้ หนว่ ยสดุ ทา้ ย

แสดงอตั ราการทดแทนกนั ของสนิ คา้ หนว่ ยสุดทา้ ย

จากตารางและรูป พบว่า จำนวนสินค้า Y ที่ผู้บริโภคยอมสละ (ΔY) จะลดลงเรื่อย ๆ เพื่อแลกกับการได้บริโภค
สินค้า X เพิ่มขึ้นทีละ 1 หน่วย กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ค่า MRSXY มีค่าลดลงเรื่อย ๆ เช่น ส่วนผสม A ไม่มีการ
บริโภคสินคา้ X เลย ส่วนผสม B ผ้บู ริโภคยอมลดการบรโิ ภคสินคา้ Y ลง 25 หน่วย ณ ส่วนผสม C ผบู้ ริโภคยอม
ลดการบริโภคสินค้า Y ลง 20 หน่วย ในทำนองเดียวกัน ณ ส่วนผสม D, E และ F ผู้บริโภคยอมลดการบริโภค
สนิ คา้ Y ลง 15, 10 และ 5 หนว่ ยตามลำดับ ท้งั นีจ้ ะพบว่า ΔY มจี ำนวนลดลงเรื่อย ๆ ซง่ึ ทำให้คา่ MRSXY ลดลง
และเป็นไปตามกฎการลดน้อยถอยลงของอตั ราทดแทนกนั ของสนิ คา้ หน่วยสุดทา้ ย
6. ครูใช้สอ่ื PowerPoint / เขียนกระดาน ประกอบเทคนิคการบรรยาย เส้นงบประมาณหรอื เส้นราคา
เส้นงบประมาณหรือเสน้ ราคา (Budget Line or Price Line) หมายถงึ เส้นทีแ่ สดงถึงส่วนผสมของสนิ ค้า 2
ชนดิ ในจำนวนตา่ ง ๆ ซ่งึ สามารถซอื้ ไดด้ ว้ ยเงินจำนวนหน่งึ ที่เทา่ กนั ไม่วา่ ผบู้ รโิ ภคจะเลอื กซ้อื สินค้าทง้ั สองชนดิ ณ
ส่วนผสมใด ๆ บนเสน้ งบประมาณเดียวกนั ผู้บริโภคจะจ่ายเงินให้จำนวนท่ีเท่ากนั ตลอดท้ังเสน้ พิจารณา ณ ราคา
ตลาดในขณะนัน้ เสน้ งบประมาณจะมีลกั ษณะเป็นเส้นตรง มคี วามชนั เป็นลบเสมอ

ตาราง สว่ นผสมของสินค้า X และสินคา้ Y ด้วยงบประมาณเทา่ กัน (500 บาท)

สว่ นผสม จำนวนสนิ คา้ X (หน่วย) จำนวนสินค้า Y (หนว่ ย)
A 0 25
B 10 20
C 20 15
D 30 10
E 40 5
F 50 0

จากตาราง กำหนดให้มีสินค้า 2 ชนิดให้เลือกซื้อ ได้แก่ สินค้า X และสินค้า Y โดยสินค้า X ราคาหน่วยละ 10
บาท และสินค้า Y ราคาหน่วยละ 20 บาท โดยที่ผู้บริโภคมีงบประมาณ 500 บาท ส่วนผสม A - F แสดงถึง
ส่วนผสมของปัจจัย X และปัจจยั Y ในจำนวนต่าง ๆ สามารถซอื้ ดว้ ยงบประมาณ 500 บาทหากนำความสัมพันธ์
ระหว่างราคาสินคา้ และจำนวนสินคา้ ท้งั หมดทซ่ี ื้อด้วยงบประมาณทมี่ ีอยู่ สามารถเขียนเปน็ สมการไดด้ งั นี้

M = X(PX) + Y(PY)

โดยท่ี M = งบประมาณทม่ี อี ยู่
Y = จำนวนสินค้า Y ท่ผี บู้ ริโภคซือ้
X = จำนวนสนิ คา้ X ที่ผู้บริโภคซอื้

PX และ PY = ราคาสินค้า X และราคาสินค้า Y

แสดงเส้นงบประมาณ

จากรูป ข้อมูลจากตารางสามารถหาเส้นงบประมาณได้จากการเชื่อมจุด A - F ซึ่งแต่ละจุดแสดงถงึ ส่วนผสมของ
สินค้า X และสินค้า Y โดยใช้งบประมาณที่เท่ากันในการซื้อสินค้า คือ 500 บาทเมื่อลากเส้นเชื่อมจุดทั้งหมดจะ
ได้เส้นงบประมาณ เส้นนี้มีลักษณะเป็นเส้นตรงลาดลงจากซา้ ยไปขวามีความชนั เป็นลบ กล่าวคือ ถ้าผู้บริโภคซอ้ื
สินค้า X เพ่มิ ขนึ้ กจ็ ะซ้อื สินคา้ Y ลดลง เชน่ ถา้ ผูบ้ รโิ ภคซ้อื สนิ คา้ X จำนวน 10 หนว่ ย จะซอื้ สินค้า Y จำนวน 20
หน่วย ในจำนวนเงินที่มีอยูค่ ือ 500 บาท หากซื้อสินค้า X เพิ่มขึ้นจาก 10 หน่วยเป็น 20 หน่วย ก็จำเป็นต้องลด
การซื้อสินค้า Y ลงจาก 20 หน่วยเหลือ 15 หน่วยแต่ยังคงใช้จำนวนเงินเท่าเดิมคือ 500 บาท ซึ่งสามารถหาค่า
ความชนั ของเสน้ งบประมาณได้จากสตู รตอ่ ไปน้ี

โดยที่ -ΔY = ส่วนเปล่ียนแปลงของจำนวนสินคา้ Y ที่ลดลง
ΔX = ส่วนเปลีย่ นแปลงของจำนวนสินคา้ X ที่เพม่ิ ขนึ้

จากรูป จุด H ผู้บริโภคไม่สามารถซื้อสินค้าได้ ณ ส่วนผสมนี้ได้ เนื่องจากต้องใช้เงินเกินกว่างบประมาณที่มีอยู่
ส่วนจุด G เป็นจุดที่แสดงส่วนผสมของสินค้าที่ใช้เงินน้อยกว่างบประมาณ ในทำนองเดียวกันจุดอื่น ๆ ที่อยู่
ภายในพนื้ ทีส่ ามเหลย่ี ม 0AF เป็นจุดท่ีแสดงถงึ สว่ นผสมของสนิ ค้าที่ใชเ้ งินน้อยกวา่ เงนิ งบประมาณท่มี ีอยหู่ รือเป็น
จุดที่สามารถซื้อได้ในขอบเขตของงบประมาณที่มีอยู่ซึ่งใช้เงินงบประมาณไม่หมดสำหรับทุก ๆ จุดบนเส้น
งบประมาณจะแสดงถึง ส่วนผสมของสินคา้ ทีใ่ ชเ้ งินเทา่ กับงบประมาณทม่ี ีอยูพ่ อดี
6.1 การเปลย่ี นแปลงของเส้นงบประมาณ
เส้นงบประมาณมีการเปลี่ยนแปลง 2 ลักษณะ คือ การเปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณเมื่อรายได้ที่แท้จริง
เปลี่ยนแปลงไป และการเปล่ยี นแปลงเส้นงบประมาณเม่ือราคาสินค้าเปลย่ี นแปลงไป ดงั น้ี
1. การเปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณเมื่อรายได้ที่แท้จริงเปลี่ยนแปลงไป รายได้ที่แท้จริงของผู้บริโภค คือ
จำนวนสินคา้ และบรกิ ารท่ีผู้บริโภคซื้อได้ ซึ่งแสดงถึงอำนาจซื้อของผู้บริโภค ดังนั้น รายได้ที่แท้จริงเปลี่ยนแปลง
ไปนั้นมีสาเหตุมาจากรายได้ที่เป็นตัวเงินเปลี่ยนแปลง ในขณะที่ราคาสินค้าคงที่ หรือสาเหตุจากรายได้ที่เป็นตัว
เงินคงที่ แต่ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงกรณีที่รายได้ที่เป็นตัวเงินเพิ่มขึ้น ในขณะที่ราคาสินค้าคงที่ ย่อมทำให้
ผ้บู ริโภคซ้ือสนิ ค้าไดม้ ากขึ้นในทางตรงขา้ ม ถ้าผู้บรโิ ภคมีรายได้ทเ่ี ปน็ ตวั เงินลดลง ยอ่ มทำให้ผู้บริโภคซ้ือสินค้าได้
นอ้ ยลง ดังน้ัน รายไดท้ ่แี ท้จริงเปลย่ี นแปลงไปจะมผี ลทำให้เส้นงบประมาณเปล่ยี นแปลงไปด้วย ดงั แสดงในรูป

แสดงการเปล่ยี นแปลงของเสน้ งบประมาณเมอื่ รายได้ที่แทจ้ ริงเปลีย่ นแปลง

จากรูป สมมติว่างบประมาณเดิมคือ เส้น AB ใช้จ่ายเงินงบประมาณไปจำนวนหนึ่ง เมื่อผู้บริโภคมีรายได้เพิ่มขึน้
เส้นงบประมาณจะเคลื่อนย้ายไปอยู่ที่เส้น EF แต่ถ้าผู้บริโภคมีรายได้หรืองบประมาณลดลงเส้นงบประมาณจะ
เคล่อื นยา้ ยมาอย่ทู ่ีเส้น CD ในขณะทรี่ าคาสินค้ายงั คงท่ี
2. การเปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณใน
ลักษณะนี้เกิดจากราคาสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนไปโดยที่ราคาสินค้าอีกชนิดหนึ่งและงบประมาณไม่
เปล่ียนแปลง ดงั แสดงในรปู

แสดงการเปลย่ี นแปลงของเสน้ งบประมาณเมื่อราคาสนิ คา้ เปลีย่ นแปลง

จากรูป สมมตวิ ่าราคาสินค้าเปลีย่ นแปลงถกู ลง และผู้บริโภคต้องการซื้อสินค้า X เพียงชนดิ เดยี วจะสามารถซื้อได้
มากข้ึน โดยใช้งบประมาณเท่าเดิม (AB) สำหรบั สินค้า Y ผู้บริโภคจะซ้ือในจำนวนเท่าเดิมเนื่องจากราคาสินค้า Y
ไม่เปลี่ยนแปลง ดังน้นั เม่อื ราคาสนิ ค้า X ถกู ลงจะมีผลทำใหเ้ ส้นงบประมาณเดิมย้ายไปทางขวามือ โดยยา้ ยไปยัง
เส้นงบประมาณใหม่ คือ AD ในทางตรงขา้ ม ถา้ ราคาสนิ ค้า Y ถูกลง ผบู้ ริโภคจะซื้อสนิ ค้า Y เพิม่ ข้ึน โดยซ้อื สนิ ค้า
X เท่าเดมิ ผลทีต่ ามมาคอื เส้นงบประมาณเดิมยา้ ยไปทางขวามือโดยยา้ ยไปยังเสน้ งบประมาณใหม่ คือ BC
7. ครใู ช้ส่ือ PowerPoint / เขียนกระดาน ประกอบเทคนิคการบรรยาย ดุลยภาพของผูบ้ รโิ ภค
เราทราบแลว้ ว่าจดุ ตา่ ง ๆ บนเสน้ IC เสน้ เดยี วกนั จะใหค้ วามพอใจเท่ากนั แต่ทง้ั น้ีไมไ่ ดห้ มายความวา่ ผู้บริโภคจะ
สามารถเลือกบริโภคหรือเลือกซื้อสินค้าและบริการ ณ จุดใด ๆ บนเส้น IC ได้ตามใจชอบการจะเลือกซื้อสินค้า
และบริการ ณ จุดใด ๆ ต้องคำนึงถึงรายได้ที่ตนเองมีอยู่ด้วย และเนื่องจากแผนภาพเส้นความพอใจเท่ากัน
(Indifference Map) จะมีเส้นความพอใจเท่ากันอยู่หลายเส้น ดังนั้น เมื่อนำเส้นงบประมาณไปวางลงใน
แผนภาพนีจ้ ะต้องมี IC เส้นใดเส้นหน่ึงสมั ผัสกบั เส้นงบประมาณพอดีณ จดุ สมั ผสั น้ีเองแสดงใหเ้ ห็นว่าจำนวนของ
สินค้าทง้ั 2 ชนิด ซึง่ ซื้อด้วยเงินจำนวนท่ีกำหนดให้จะทำให้ผบู้ รโิ ภคได้รบั ความพอใจสูงสุด เราเรียกจุดน้ีว่า “จุด
ดุลยภาพของผูบ้ รโิ ภค (Consumer's Equilibrium) ” ดงั รูป

แสดงจดุ ดลุ ยภาพของผ้บู ริโภค

จากรูป แผนภาพแสดงเสน้ ความพอใจเท่ากันและเส้นงบประมาณ เมื่อพิจารณาพบว่า ผู้บริโภคสามารถเลือกซ้อื
สินค้า X และสินค้า Y ได้เฉพาะส่วนผสมที่ใช้เงินซื้อเท่ากับงบประมาณที่มีอยู่ นั่นคือ จุด E ให้ความพอใจแก่
ผ้บู รโิ ภคสูงสุดและอยู่ภายใตเ้ ง่ือนไขงบประมาณทมี่ ีอยู่ ซ่ึงจุด E ถือเปน็ จุดดุลยภาพของผู้บริโภค ผู้บริโภคจะซ้ือ
สินค้า X จำนวน X หน่วย และซื้อสินค้า Y จำนวน Y หน่วยจุดดุลยภาพของผู้บริโภค เป็นจุดสัมผัสระหว่างเสน้
งบประมาณกับเส้นความพอใจเท่ากัน และความชันของเส้นความพอใจเท่ากันที่จุด E เท่ากับความชันของเส้น
งบประมาณ ซึ่งคา่ ความชนั ของเสน้ ความพอใจเทา่ กันคือ คา่ MRSXY ส่วนคา่ ความชันของเส้นงบประมาณคือ

PX/PY ดงั นน้ั ณ จุดดลุ ยภาพของผู้บริโภคจะไดว้ ่า

slope ของเส้นความพอใจเท่ากนั = MRSXY = -ΔY

ΔX
และ slope ของเส้นงบประมาณ = PX

PY
นั่นคือดุลยภาพของผู้บริโภคคนหนึ่งที่มีรายได้จำนวนหนึ่งจะเกิดขึ้น ณ เงื่อนไขที่ความชันของเส้นความพอใจ
เทา่ กันเทา่ กบั ความชนั ของเสน้ งบประมาณ ณ จดุ สมั ผสั และผู้บรโิ ภคจะได้รบั ความพอใจสูงสุด ณ เงื่อนไข

MRSXY = PX

PY

จากเงือ่ นไขดลุ ยภาพของผบู้ ริโภคข้างตน้ การท่จี ะทำใหเ้ กิดดลุ ยภาพของผู้บริโภคได้น้นั ผู้บริโภคจะต้องเลือกซ้ือ

สนิ ค้าท้ังสองชนิดจนกระท่ังอตั ราการทดแทนกนั ของสนิ ค้าหน่วยสดุ ทา้ ยเท่ากบั สัดสว่ นของราคาสินคา้ พอดี

7.1 การเปลย่ี นแปลงดุลยภาพของผบู้ ริโภค

ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเปลี่ยนแปลงไป ถ้าราคาสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งหรือรายได้ของผู้บริโภค

เปล่ยี นแปลง ท่ีเปน็ เช่นนีเ้ นอ่ื งจากการเปล่ียนแปลงของราคาสินค้าและบริการและรายได้ของผ้บู ริโภค ทำให้เส้น

งบประมาณย้ายจากที่เดิม ไปสัมผัสกับจดุ ใดจุดหนึง่ บนเส้น IC เส้นอื่น เพื่อให้เข้าใจงา่ ยข้ึนจะแยกพิจารณาเปน็

2 กรณี ดังนี้

1. ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงเมื่อราคาสนิ ค้าและบรกิ ารชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลง แต่ราคาสินคา้ อีกชนิดหนึ่งคงเดิม

ดังรูป สมมติว่าราคาสินค้า X ลดลง ผู้บริโภคจึงซื้อสินค้า X ได้เพิ่มขึ้นด้วยจำนวนเงินเท่าเดิม ดังนั้น เส้น

งบประมาณ AB จึงย้ายมาอยทู่ ี่ AB1 และสัมผสั เส้น IC1 ณ จุด E1 ดุลยภาพของผ้บู รโิ ภคจงึ เปลยี่ นจาก E มาอยู่ท่ี

E1 ปริมาณซ้อื สินค้า 2 ชนิด จึงเปลยี่ นแปลงไป เมื่อดุลยภาพอยู่ ณ จดุ E ผบู้ รโิ ภคซอ้ื สินค้า X จำนวน

X หน่วย และซื้อสินค้า Y จำนวน Y หน่วย เมื่อราคาสินค้าลดลงดุลยภาพยา้ ยมาอยู่ ณ จุด E1 ปริมาณซื้อสินคา้

X จึงเป็น X1 หน่วย และปริมาณซื้อสินค้า Y เป็น Y1 หน่วย และเส้นที่เชื่อมต่อจุดดุลยภาพ E และ E1 เรียกว่า

“เส้นการบริโภคตามราคา (Price Consumption Curve : PCC)” ซึ่งหมายถึง เส้นที่แสดงแนวทางการบริโภค

สนิ ค้าของผูบ้ รโิ ภคอนั เนือ่ งมาจากราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง

การเปลยี่ นแปลงดุลยภาพของผ้บู ริโภคเมื่อราคาสนิ คา้ ชนดิ หน่งึ เปลีย่ นแปลง

2. ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง โดยกำหนดให้ราคาสินค้า X และสินค้า Y
คงท่ี เมือ่ รายไดข้ องผ้บู ริโภคเปลย่ี นแปลงจะมผี ลใหเ้ ส้นงบประมาณเปล่ยี นแปลงไปด้วย คอื เสน้ ใหม่จะขนานและ
อยู่ห่างจากเส้นเดิมเป็นระยะเท่ากันตลอดเส้น แต่จะอยู่สูงหรือตํ่ากว่าเส้นเดิมขึ้นอยู่กับรายได้เพิ่มขึ้นหรอื ลดลง
ถ้ารายได้เพิ่มขึ้นเส้นงบประมาณใหม่อยู่เหนือเส้นเดิม ถ้ารายได้ลดลงเส้นงบประมาณใหม่อยู่ใต้เส้นเดิม ดังรูป
เส้น AB คือ เส้นงบประมาณเดิม และ E คือ จุดดุลยภาพเดิม เมื่อรายได้ของผู้บริโภคเพ่ิมขึน้ งบประมาณจึงขยบั
สูงขึ้นเป็นเส้น A1 B1 และสัมผัสกับเส้น IC1 ที่จุด E1 ดุลยภาพใหม่จึงย้ายมาอยู่ที่จุด E1 ปริมาณซื้อสินค้า X คือ
X1 ปริมาณซื้อสินค้า Y คือ Y1 และเส้นที่เชื่อมต่อจุด ดุลยภาพ E และ E1 เรียกว่า “เส้นการบริโภคตาม
รายได้ (Income Consumption Curve: ICC)” ซึ่งหมายถึงเส้นที่แสดงแนวทางการบริโภคสินค้าของผู้บริโภค
อันเนอ่ื งมาจากรายได้ของผู้บรโิ ภคเปล่ยี นแปลง

การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบ้ ริโภคเมือ่ รายไดเ้ ปลี่ยนแปลง

สรุป ทฤษฎีอรรถประโยชน์เป็นทฤษฎีที่นำมาใช้อธิบายพฤติกรรมผู้บริโภคซึ่งใช้ในการวิเคราะห์แบบนับจำนวน
ได้ โดยมีข้อสมมติที่สำคัญคือ อรรถประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการสามารถวัดค่ า
ออกมาเป็นหน่วยได้ อรรถประโยชน์ หมายถึง ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการชนดิ
ใดชนิดหนึ่ง หรืออรรถประโยชน์คือ สิ่งที่มีอยู่ในตัวสินค้าและบริการซึ่งสามารถบำบัดความต้องการหรือสร้าง
ความพอใจให้แก่ผู้บรโิ ภคได้ ดุลยภาพของผู้บริโภค คือ สภาวะที่ผูบ้ ริโภคตดั สนิ ใจเลือกบริโภคสินค้าชนิดต่าง ๆ
ทที่ ำให้ได้รับอรรถประโยชนร์ วมสูงสดุ
ทฤษฎีความพอใจเท่ากนั เป็นอีกทฤษฎีหน่ึงที่นำมาใช้อธิบายพฤติกรรมผู้บริโภคซึ่งใช้การวิเคราะห์แบบนับลำดับ
ที่ได้ โดยมีข้อสมมติที่สำคัญคือ ผู้บริโภคเป็นผู้ที่มีเหตุผลและมีความสามารถในการเปรียบเทียบและจัดอันดับ
ความพอใจของการบริโภคสินค้าและบริการได้ ทฤษฎีนี้ต้องอาศัยเส้นความพอใจเท่ากันและเส้นงบประมาณมา
ชว่ ยในการวเิ คราะห์ เสน้ ความพอใจเทา่ กันเป็นเสน้ ท่ีแสดงสว่ นผสมของการบรโิ ภคสนิ คา้ สองชนิดในจำนวนต่าง
ๆ ซึ่งทำให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่ากัน ส่วนเส้นงบประมาณเป็นเส้นที่แสดงถึงส่วนผสมของสินค้าสองชนดิ
ในจำนวนต่างๆ ซึ่งสามารถซื้อได้ด้วยงบประมาณหนึ่งที่เท่ากัน ดุลยภาพของผู้บริโภคคือ สภาวะที่ผู้บริโภค
ตัดสนิ ใจซ้ือสินค้าและบริการสองชนิดในสว่ นผสมทท่ี ำให้ได้รับความพอใจสงู สุดด้วยงบประมาณท่ีมีอยู่
8. ครูให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประโยชน์ของการที่ผู้ประกอบการทราบถึงพฤติกรรมของ
ผบู้ ริโภค

ขนั้ สรุปและการประยุกต์
9. ครูสรปุ บทเรียน โดยใชส้ อื่ PowerPoint และเปดิ โอกาสให้นักเรียนไดซ้ ักถามขอ้ สงสัย
10. ผู้เรียนทำกิจกรรมใบงาน และแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี นหลกั เศรษฐศาสตร์ รหสั วชิ า 30200-1001 ของสำนกั พมิ พ์เอมพันธ์
2. ส่อื PowerPoint
3. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
หลกั ฐาน
1. บันทกึ การสอนของผูส้ อน
2. ใบเช็ครายชื่อ
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. การตรวจประเมินผลงาน
การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ตรวจกจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรมนำความรู้
3. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
4. ตรวจใบงาน
เคร่ืองมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
3. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีช่องปรับปรุง
2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้มเี กณฑผ์ ่าน และแบบฝึกปฏิบัติ 50%
3. แบบประเมินกจิ กรรมใบงานมีเกณฑผ์ า่ น 50%
กิจกรรมเสนอแนะ

1. แนะนำใหผ้ ู้เรียนอ่านทบทวนเน้ือหาเพมิ่ เตมิ
2. ควรศึกษาข้อมลู เพ่มิ เตมิ จากส่ืออนิ เทอรเ์ น็ต

แบบประเมินผลการเรยี นร้หู นว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4

ตอนที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปน้ี

1. อธบิ ายความหมายของอรรถประโยชน์ และข้อสมมติของทฤษฎีอรรถประโยชน์กล่าวว่าอย่า

............................................................................................................................. ....................................................

2. กฎการลดนอ้ ยถอยลงของอรรถประโยชน์หนว่ ยสดุ ท้ายมีวา่ อยา่ งไร

............................................................................................................................. ...........................................

3. อรรถประโยชนร์ วมกบั อรรถประโยชนห์ น่วยสุดทา้ ยเหมอื นหรอื ต่างกันอย่างไร

............................................................................................................................. ............................................

4. อธบิ ายดุลยภาพของผบู้ รโิ ภคและเง่ือนไขดุลยภาพของผู้บรโิ ภคในทฤษฎอี รรถประโยชน์

............................................................................................................................. ...........................................

5. อธบิ ายเสน้ ความพอใจเท่ากนั และคณุ สมบัติของความพอใจเทา่ กนั

............................................................................................................................. ............................................

6. อธิบายสาระสำคัญของอตั ราการทดแทนกนั หน่วยสุดทา้ ย

....................................................................................................................................................... ..................

7. อธบิ ายเงื่อนไขดุลยภาพของผบู้ ริโภคในกรณใี ชท้ ฤษฎเี สน้ ความพอใจเทา่ กันวเิ คราะห์

............................................................................................................................................................. ............

8. เหตุใดเส้นความพอใจเท่ากันจงึ ตดั กนั ไม่ได้ อธิบาย

........................................................................................................................................................................

9. เสน้ การบรโิ ภคตามราคา (Price Consumption Curve: PCC) คอื อะไร

.........................................................................................................................................................................

10. เส้นการบรโิ ภคตามรายได้ (Income Consumption Curve: ICC) คอื อะไร

.................................................................................................................................................................

ตอนที่ 2 จงเลือกข้อทีถ่ กู ตอ้ งทสี่ ดุ เพยี งข้อเดียว

จงตอบคำถามข้อท่ี 1 ถึงข้อท่ี 4

กำหนดให้ผู้บริโภคคนหน่ึงมเี งินได้ 20 บาท สินค้า A และ B ราคาหน่วยละ 2 บาท และ 1 บาท ตามลำดับและ

ให้ผูบ้ รโิ ภคคนนม้ี อี รรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายดังตาราง

สนิ คา้ A สินคา้ B

QA MUA QB MUB

1 40 1 30

2 35 2 26

3 30 3 22

4 25 4 18

5 20 5 14

6 15 6 10

7 10 7 6

8582

1. ดุลยภาพของผู้บริโภคในการซือ้ สนิ ค้า A จำนวนกีห่ น่วย

ก. จำนวน 4 หน่วย ข. จำนวน 5 หน่วยค. จำนวน 6 หนว่ ย ง. จำนวน 7 หน่วย จ. จำนวน 8 หนว่ ย

2. ดุลยภาพของผู้บริโภคในการซอ้ื สนิ ค้า B จำนวนก่ีหน่วย

ก. จำนวน 4 หนว่ ย ข. จำนวน 5 หนว่ ย ค. จำนวน 6 หน่วย ง. จำนวน 7 หนว่ ย จ. จำนวน 8 หน่วย

3. คา่ ใชจ้ ่ายในการซื้อสินค้า A จำนวนกบี่ าท

ก. จำนวน 8 บาท ข. จำนวน 10 บาท ค. จำนวน 12 บาท ง. จำนวน 14 บาท จ. จำนวน 16 บาท

4. ค่าใชจ้ า่ ยในการซือ้ สนิ คา้ B จำนวนกีบ่ าท

ก. จำนวน 10 บาท ข. จำนวน 8 บาท ค. จำนวน 6 บาท ง. จำนวน 4 บาท จ. จำนวน 2 บาท

5. ขอ้ ใดคอื ขอ้ สมมตขิ องทฤษฎีอรรถประโยชน์

ก. ความพอใจของผู้บรโิ ภคนบั หน่วยไม่ได้

ข. สินคา้ และบริการแบง่ เป็นหนว่ ยย่อย ๆ ไม่ได้

ค. อรรถประโยชน์หนว่ ยสดุ ทา้ ยจะเพ่ิมขึ้นเร่อื ย ๆ เมอื่ บรโิ ภคมากขึน้

ง. ความพอใจในการบริโภคสนิ คา้ แต่ละชนดิ เปน็ อสิ ระต่อกนั

จ. ผู้บรโิ ภคไมส่ ามารถแสวงหาความพอใจสูงสดุ ได้

6. กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์หนว่ ยสดุ ท้ายเปน็ ความสมั พนั ธใ์ นข้อใด

ก. ปรมิ าณสินคา้ กับความพงึ พอใจ ข. ราคาสนิ ค้ากับความพงึ พอใจ

ค. ราคาสินคา้ กบั ปริมาณเสนอขาย ง. ราคาสินคา้ กับปรมิ าณซ้อื สนิ คา้

จ. ราคาสินคา้ กับสนิ คา้ ทที่ ดแทนกันได้

7. ข้อใดคือเส้นความพอใจเท่ากัน

ก. เปน็ เส้นท่แี สดงความสมั พันธ์ระหว่างการบรโิ ภคสินค้าชนดิ หน่งึ ทใ่ี ห้ความพอใจเท่ากัน

ข. เป็นเส้นทแี่ สดงความสัมพันธร์ ะหว่างการบรโิ ภคสินค้า 2 ชนดิ ที่ใหค้ วามพอใจเท่ากัน

ค. เป็นเส้นทแี่ สดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งการบรโิ ภคสนิ ค้าชนิดหนง่ึ ที่ให้ความพอใจสงู สุด

ง. เปน็ เสน้ ทีแ่ สดงความสมั พันธ์ระหว่างการใช้ปัจจยั การผลติ 2 ชนิดทีใ่ ห้ความพอใจเท่ากนั

จ. เป็นเส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งการใช้ปัจจยั การผลิต 2 ชนดิ ท่ีให้ผลผลติ เทา่ กัน

8. เสน้ งบประมาณเปลีย่ นแปลงไปทางขวาขนานกับเส้นเดิม เกิดจากสาเหตุใด

ก. ความพอใจในการบรโิ ภคเพ่มิ ข้นึ ข. งบประมาณของผผู้ ลติ ลดลง

ค. งบประมาณของผู้บรโิ ภคเพมิ่ ขน้ึ ง. งบประมาณของผบู้ รโิ ภคเทา่ เดิม

จ. ต้นทุนปัจจัยการผลติ เปล่ยี นแปลง

9. อรรถประโยชนร์ วมมคี า่ เท่ากบั อรรถประโยชนเ์ พ่มิ ในกรณีใดอย่างไร

ก. เมื่อ MU มคี ่าเป็นบวก ข. เมอ่ื MU มีคา่ เทา่ กับศูนย์

ค. เมือ่ MU มีคา่ มากกว่าหน่ึง ง. เมอ่ื ผู้บรโิ ภคซ้อื สนิ คา้ มากกวา่ หนึ่งหนว่ ย

จ. ผูบ้ รโิ ภคเลอื กซอ้ื สนิ คา้ หนว่ ยทหี่ น่งึ

10. เสน้ งบประมาณมลี ักษณะอยา่ งไร

ก. เส้นตรง ข. เสน้ ตรงตงั้ ฉากกับแกนนอน

ค. เส้นตรงตง้ั ฉากกบั แกนตงั้ ง. เสน้ โค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด

จ. เส้นโคง้ เวา้ ออกจากจุดกำเนดิ

ตอนท่ี 3 จงใสเ่ ครอื่ งหมาย ✓ หรอื × หน้าขอ้ ความท่ีเหมาะสม
.............. 1. ผู้บริโภคจะเลือกซื้อสินค้าโดยได้รับความพอใจมากที่สุดและได้รับประโยชน์สูงสุดแต่ภายใต้
งบประมาณทมี่ ีอยู่
.............. 2. ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง เรียกว่า
อรรถประโยชน์
.............. 3. หน่วยของอรรถประโยชน์หรอื ความพอใจเรียกว่า หน่วย
.............. 4. เสน้ ความพอใจเท่ากนั แต่ละเส้นตดั กนั ได้
.............. 5. เส้นความพอใจเทา่ กนั เป็นเสน้ โค้งเว้าเข้าหาจดุ กำเนิด
.............. 6. รองเทา้ ขา้ งซ้ายกบั รองเท้าขา้ งขวาเปน็ สินคา้ ทใี่ ชท้ ดแทนกันไม่ได้แต่จำเป็นต้องใช้คูก่ ัน
.............. 7. เส้นการบริโภคตามราคาเป็นเส้นท่ีแสดงแนวทางการบริโภคสนิ คา้ ของผูบ้ ริโภคเนื่องจากราคาสินค้า
เปลี่ยนแปลง
.............. 8. เส้นการบริโภคตามรายไดเ้ ป็นเส้นที่แสดงแนวทางการบริโภคสินค้าอันเนื่องจากรายได้ของผู้บรโิ ภค
เปล่ียนแปลง
.............. 9. ดุลยภาพของผบู้ ริโภคอยทู่ ี่เส้นความพอใจเท่ากันเท่ากับความชนั ของเส้นงบประมาณสัมผสั กนั พอดี
.............. 10. สนิ ค้าอปุ โภคบริโภคเปน็ สนิ คา้ ทีส่ ามารถใชท้ ดแทนกันได้แตไ่ มส่ มบูรณ์นัก

ใบงานท่ี 1

กำหนดใหผ้ บู้ ริโภคมรี ายได้ 5,000 บาทตอ่ เดือน เพื่อนำไปซือ้ สนิ ค้า 2 ชนิด คอื สนิ คา้ X และสนิ คา้ Y
กำหนดให้ Px = 100 บาท และ Py = 200 บาท
(ก) ถ้ารายได้และราคาสนิ ค้า X ลดลงจากเดิมคร่ึงหนงึ่ แต่ Py เพิ่มขึ้นเป็น 400 บาท จงคำนวณหา
เงนิ งบประมาณของผบู้ ริโภคว่าจะเปล่ยี นแปลงไปจากเดิมเทา่ ไร
............................................................................................................................. ....................................................
(ข) เมื่อรายได้เทา่ กับ 5,000 บาท ราคาสนิ ค้า X และสินค้า Y เพ่มิ เปน็ 200 บาท และ 400 บาท
ตามลำดับ จงคำนวณหาเงินงบประมาณของผู้บรโิ ภคว่าเปล่ียนแปลงไปอยา่ งไร
.........................................................................................................................................................................
.ใบงานท่ี 2
หาข่าวจากหนังสือพมิ พห์ รืออินเทอรเ์ น็ตเก่ยี วกบั พฤติกรรมผู้บริโภค โดยยกตัวอยา่ งสนิ คา้ มา 1 ชนดิ
ทเ่ี กยี่ วข้อง จากน้นั วเิ คราะห์ทฤษฎที ่ีศกึ ษามาแล้ว (15 – 20 บรรทดั )
.........................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 3
ผู้บริโภครายหนึ่งใช้จ่ายภายในวงเงินที่กำหนดไว้เพื่อการบันเทิงสองอย่างทุก ๆ เดือน คือ ค่าบัตร
ชมภาพยนตร์รอบละ 80 บาท และค่าบัตรชมการแข่งขันกีฬารอบละ 120 บาท หากเขาใช้บริการทั้ง 2
อย่าง โดยที่อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของการชมภาพยนตร์รอบสุดท้ายของเขาเท่ากับ 40 ยูทิล และ
อรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายของการชมกีฬารอบสุดท้ายเท่ากับ 30 ยูทิล อยากทราบว่าผู้บริโภครายนี้จะ
ได้รบั ความพึงพอใจสงู สดุ จากการบริโภคดงั กล่าวหรอื ไม่

บันทึกหลังการสอน

ข้อสรปุ หลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทีพ่ บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 6 หน่วยท่ี 5
รหัส 30200-1001 หลกั เศรษฐศาสตร์ สอนครั้งท่ี 6
ช่ือหน่วย การผลติ
จำนวน 4 ชวั่ โมง

สาระสำคัญ
การผลิต คือ การสร้างอรรถประโยชน์หรือความพอใจของปัจจัยการผลิตชนิดต่าง ๆ ขึ้นมาใหม่ เพื่อก่อให้เกิด
สินค้าและบริการชนิดต่าง ๆ ขึ้น เพื่อนำไปตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้อย่างเต็มที่ การผลิตที่ดีต้องใช้
ตน้ ทนุ การผลิตตา่ํ สดุ หรือใช้ต้นทุนเทา่ เดิม แต่ผลติ ได้ปรมิ าณมากทส่ี ดุ การผลติ ที่มีประสทิ ธิภาพทำได้ท้ังในระยะ
สั้นและระยะยาว การวิเคราะห์การผลิตจะใช้ฟังก์ชันการผลิต เส้นผลผลิตเท่ากัน และเส้นต้นทุนเท่ากัน
(Isoquant - Isocost Approach) เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของจำนวนผลผลิตและปัจจัยการผลิต และ
ศกึ ษาดุลยภาพของการผลิต ณ จุดทีเ่ ส้นผลผลิตเทา่ กนั สมั ผัสกับเส้นต้นทุนเทา่ กันพอดี
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายความหมาย ลกั ษณะของการผลติ และฟงั กช์ นั การผลติ ได้
2. วิเคราะห์การผลติ ในระยะส้ันได้
3. วิเคราะห์การผลิตในระยะยาวได้
4. อธบิ ายดลุ ยภาพของการผลิตได้
สมรรถนะประจำหน่วย

แสดงความรเู้ ก่ียวกับการผลติ และดุลยภาพของการผลติ
สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายและลกั ษณะของการผลิต
2. การวิเคราะห์การผลติ ในระยะสน้ั
3. การวิเคราะห์การผลิตในระยะยาว
4. ดลุ ยภาพของการผลิต
กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรียน

1. ครูกล่าวว่า ทฤษฎีการผลิตเป็นการศึกษาทางด้านอุปทานหรือผู้ผลิต โดยศึกษาพฤติกรรมของผู้ผลิตในการ
ผลิตสินค้าและบริการออกมาจำหน่าย ณ ระดับราคาต่าง ๆ ว่าผู้ผลิตควรเลือกใช้ปัจจัยการผลิตแต่ละชนิด
อย่างไร จงึ จะทำใหเ้ สยี ตน้ ทุนการผลิตตํ่าทส่ี ดุ หรือการทำให้ได้ผลผลิตสงู ทส่ี ดุ ภายใตเ้ งินทุนท่ีเขามีอยู่อยา่ งจำกัด
ทฤษฎีการผลิตจะศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตที่เรียกว่าInput และจำนวน
ผลผลติ ท่ีได้รับ เรยี กวา่ Output
2. ครูกล่าวว่า หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 นี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ถึงการผลิต เพื่อนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ
วเิ คราะหก์ ารผลิต สินค้าหรือบรกิ าร

ข้นั สอน
3. ครูใชส้ ่อื Power Point ประกอบเทคนิคการบรรยาย ความหมายและลักษณะของการผลิต
3.1 การผลิต
การผลิต (Production) หมายถึง กระบวนการแปลงสภาพของทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิต ได้แก่ ที่ดิน ทุน
แรงงาน และผ้ปู ระกอบการ ให้ออกมาเปน็ สินคา้ และบริการ เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ซึ่งผลผลิตที่
ได้อาจอยู่ในรูปของสินค้า (Goods) ที่จับต้องได้ เช่น อาหาร เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มยารักษาโรค รถยนต์
เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น หรือบริการ (Services) เป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ เช่น การให้บริการต่าง ๆ อาทิ การตัดผม
การตัดเสื้อผ้า การเสริมสวย การศึกษา เป็นต้น ความหมายของการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์จะมีความหมาย
รวมถงึ กระบวนการในการผลิตใหเ้ ป็นสินค้าและบรกิ าร
จุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการผลิต คือ การแสวงหากำไรสูงสุด (Profit Maximization) แม้ว่าผู้ผลิตจะมี
จุดม่งุ หมายร่วมหรอื ยุทธวิธีทางธรุ กจิ หลายอยา่ ง เช่น เพม่ิ ยอดขาย เพมิ่ ส่วนแบ่งทางการตลาดเพ่ิมประสิทธิภาพ
ในการผลติ กต็ าม ในการศึกษาทฤษฎกี ารผลิตจะเกีย่ วขอ้ งกบั ฟงั ก์ชนั การผลิตดงั น้ี
3.2 ฟังก์ชันการผลิต (Production Function)
ฟังกช์ ันการผลิต คอื การแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปัจจัยการผลิตต่าง ๆ กบั จำนวนผลผลติ ท่ีผู้ผลิตผลิตได้จาก
การใช้ปัจจัยการผลิตจำนวนหนึ่ง ภายใต้เทคโนโลยีการผลิตที่มีอยู่ นั่นคือ ฟังก์ชันการผลิตจะอธิบายถึง
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งปจั จัยการผลติ และผลผลิต ในระยะเวลาใดเวลาหน่ึง สามารถเขียนเป็นฟงั กช์ ันไดว้ า่

Q = ƒ(X1, X2, X3, …, Xn)

โดยท่ี Q คือ จำนวนผลผลติ
X1, X2, X3, …, Xn คือ ปจั จัยการผลติ
อ่านได้ว่า จำนวนผลผลิตจะมากน้อยอย่างไรขึ้นอยู่กับปัจจยั การผลิตที่ใช้ในการผลิต ผู้ผลิตสามารถเพิ่มหรือลด
จำนวนผลผลิตได้ดว้ ยการเพม่ิ หรือลดจำนวนของปจั จยั การผลติ ชนิดใดชนิดหน่ึงหรอื หลายชนิดท่ใี ช้อย่ใู นขณะนั้น
ยกตัวอย่างเช่น ถา้ เป็นการผลติ มนั สำปะหลังสามารถเขียนเป็นฟงั ก์ชันได้วา่

Q = ƒ(S, F, L, R, T, etc)

โดยท่ี Q คอื จำนวนผลผลติ ท่ีได้รบั
S คือ จำนวนทอ่ นพันธุ์
F คือ ปริมาณปุ๋ยท่ีใช้
L คือ จำนวนแรงงานท่ใี ช้ในการผลติ
R คอื ปริมาณนำ้ ฝน
T คอื เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการผลิต

จากฟงั กช์ นั การผลติ สมมตวิ ่าเปน็ การผลิตมันสำปะหลังซงึ่ ต้องใช้ท้ังท่อนพนั ธ์ุ ปุ๋ย แรงงาน นาํ้ ฝนและเทคโนโลยี
ประกอบกันเป็นปัจจัยการผลิต ดังนั้น ผลผลิตจะออกมามากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปริมาณของปัจจัยการผลิต
และระยะเวลาของการผลิต สำหรบั การแบ่งระยะของการผลติ ในทางเศรษฐศาสตร์จะพจิ ารณาจากความสามารถ
ในการเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตเป็นสำคัญในการศึกษาทฤษฎีการผลิตเพื่อให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ โดยทั่วไป
นยิ มทจ่ี ะสมมตใิ ห้มีปัจจยั การผลติ เพียง 2 ชนิด คือ ปจั จยั ทุน และปัจจยั แรงงาน ซ่งึ เขียนเปน็ ฟงั ก์ชันได้ดงั น้ี

Q = ƒ(K, L)

โดยที่ K คอื จำนวนปจั จยั ทนุ
L คือ จำนวนปจั จัยแรงงาน

การใช้ปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดในช่วงแรก ๆ หากผู้ผลิตสามารถปรับเปลี่ยนปริมาณการผลิตได้ในการผลิตน้ัน
ปัจจัยบางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงได้ยากในระยะสั้น เช่น ที่ดิน เครื่องจักร อาคาร โรงงานเป็นต้น ซึ่งปัจจัยนี้
เรยี กวา่ “ปจั จยั คงที่ (Fixed Factors)” ส่วนปจั จัยที่สามารถเปลยี่ นแปลงไดง้ ่ายเช่น แรงงาน วัตถุดิบ ค่าน้ําและ
คา่ ไฟ เป็นต้น ปจั จยั น้ีเรียกว่า “ปจั จยั ผันแปร (Variable Factors)”
3.3 ความหมายของการผลิตในระยะส้นั และระยะยาว
โดยทัว่ ไปเมื่อผู้ผลิตพบว่าสินคา้ ของตนขายได้มากหรือน้อย ผผู้ ลติ ย่อมจะพยายามปรับจำนวนผลผลิตให้มากข้ึน
หรือน้อยลงตามไปด้วยซึ่งมีผลต่อการเพิ่มหรือลดปัจจัยการผลิต อย่างไรก็ตาม ผู้ผลิตมักจะพบว่าในขณะที่ตน
สามารถเปลี่ยนแปลงปรมิ าณปัจจัยการผลิตหลายอย่างได้ทันที แต่ก็มีปัจจยั การผลิตบางอย่างทีต่ อ้ งใช้เวลานาน
พอสมควรกว่าจะเพิ่มหรือลดจำนวนลงได้ การผลิตในทางเศรษฐศาสตร์จงึ แบ่งการวิเคราะห์การผลติ ออกเป็น 2
กรณี ดังนี้
1. การผลิตในระยะสั้น (Short Run Production) หมายถึง ช่วงเวลาของการผลิตที่ผู้ผลิตไม่สามารถ
เปลี่ยนแปลงระดับการใช้ปัจจัยการผลิตบางชนิดได้ตามความต้องการ กล่าวคือ ผู้ผลิตสามารถปรับเปลี่ยน
ปริมาณการผลิตโดยการเพิ่มหรือลดการใช้ปัจจัยการผลิตบางชนิดได้ แต่ยังคงใช้ปัจจัยการผลิตบางชนิดใน
ปริมาณเท่าเดิม เช่น ชาวไร่อ้อยสามารถเพิ่มผลผลิตอ้อยได้โดยการเพิ่มเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเวลาในการดูแลเอาใจใส่
นํ้า เป็นต้น โดยที่ยังใช้ทีด่ ินในขนาดเท่าเดิม เราเรียกปัจจัยการผลิตที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงตามระดับผลผลิต
ว่า “ปจั จยั คงท”ี่ และเรียกปจั จยั การผลิตท่ีเปลี่ยนแปลงตามระดับผลผลิตว่า “ปจั จัยผันแปร” จึงสรุปได้ว่า การ
ผลติ ในระยะสน้ั จะประกอบไปดว้ ยปัจจัยคงท่แี ละปจั จัยผันแปร
2. การผลิตในระยะยาว (Long Run Production) หมายถึง ช่วงเวลาของการผลิตที่ผู้ผลิตสามารถ
เปลี่ยนแปลงระดบั การใช้ปจั จยั การผลติ ทุกชนิดไดต้ ามความต้องการ กลา่ วคือ ผู้ผลิตสามารถปรับเปลีย่ นปรมิ าณ
การใช้ปัจจัยการผลิตให้มากหรือน้อยได้ตามต้องการ การจะปรับใช้ปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดมากน้อยเท่าไรนัน้
ขึ้นอยู่กับความสัมพนั ธ์ระหวา่ งจำนวนผลผลิตที่ผู้ผลิตต้องการกบั ปริมาณปัจจัยการผลติ ที่ใชแ้ ละราคาของปจั จยั
การผลิตแต่ละชนิด ซึ่งราคาของปัจจัยการผลิตจะสะท้อนถึงค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนการผลิต ตลอดจนผลกำไรท่ี
ผู้ผลิตควรจะได้รับ แต่อย่างไรก็ตาม เงื่อนไขที่จำเป็นของการได้กำไรสูงสุดของผู้ผลิต คือ ผู้ผลิตจะต้องใช้
ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดให้เกิดประสิทธิภาพสูงก่อน จึงสรุปได้ว่าการผลิตในระยะยาว ปัจจัยการ
ผลิตจะมีประเภทเดียวคือ ปัจจัยผันแปร ปัจจัยที่เคยเป็นปัจจัยคงที่ในระยะส้ันเช่น ที่ดิน เครื่องจักร อาคาร
โรงงาน เป็นต้น สามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อจำนวนผลผลิตเปลี่ยนแปลงไปในระยะยาว ซึ่งหมายความว่า ใน
ระยะยาวปจั จยั เหล่านี้จะกลายเปน็ ปจั จัยผนั แปรทั้งส้ิน
จะพบว่า การผลติ ในระยะส้ันและการผลิตในระยะยาวจะแบง่ ตามการเปลยี่ นแปลงปัจจยั การผลิตคงที่ทุกชนิดให้
เป็นปจั จัยผันแปรทั้งหมด ซง่ึ ข้นึ อย่กู ับความสามารถของผู้ผลติ ในการเปล่ียนแปลงปจั จัยคงท่ีใหเ้ ปน็ ปจั จัยผันแปร
นอกจากนี้ในการผลิตสินค้าแต่ละชนิดยังใช้เวลาที่แตกต่างกัน สำหรับการเปลี่ยนแปลงปัจจัยคงที่ให้เป็นปัจจัย
ผันแปร

4. ครูใชส้ ื่อ Power Point / เขยี นกระดาน ประกอบเทคนคิ การบรรยาย การวิเคราะหก์ ารผลิตในระยะสน้ั
การผลิตในระยะสั้น เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผลผลิตกับปัจจัยการผลิตซึ่งปัจจัยการผลิตใน
ระยะสนั้ ประกอบด้วยปัจจัยคงที่และปัจจัยผันแปร ถา้ กำหนดให้ปัจจัยการผลิต 2 ชนดิ คอื ปัจจยั ทุน (K) ซ่ึงเป็น
ปัจจัยคงที่ และแรงงาน (L) เป็นปัจจัยผันแปร สามารถนำความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิตและจำนวนผลผลิต
มาเขยี นเปน็ ฟังกช์ ันการผลติ ในระยะสัน้ ไดด้ ังนี้

Q = ƒ(K, L)
เนื่องจากในระยะสั้น ปัจจัยทุน (K) ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงจำนวนได้ การเพิ่มจำนวนผลผลิตจงึ ต้องทำโดยการ
เปล่ยี นแปลงแรงงาน (L) ใหเ้ พิ่มขนึ้ เพยี งอยา่ งเดยี ว จึงเขียนฟงั ก์ชันการผลิตใหม่ได้ว่า

Q = ƒ(L)
ฟังก์ชันการผลิตในระยะสั้น จะแสดงถึงจำนวนผลผลิตที่ผลิตมาจากการใช้ปัจจัยทุนซึ่งเป็นปัจจัยคงที่ร่วมกับ
ปัจจัยแรงงานซึ่งเปน็ ปจั จัยผันแปร ดังนัน้ จำนวนผลผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปจึงขนึ้ อย่กู ับจำนวนปัจจัยแรงงานท่ีใช้
ในการผลิต
การวิเคราะห์การผลิตในระยะสั้น จะอธิบายถึงกำว่าด้วยการใช้ปัจจัยการผลิตที่มีสัดส่วนไม่คงที่ (Law of
Variable Proportions) ซึ่งอธบิ ายถึงลักษณะและความสัมพนั ธข์ องผลผลิตแต่ละชนิด และอธิบายถึงกฎการลด
นอ้ ยถอยลงของผลได้ (Law of Diminishing Returns) รวมทั้งการแบ่งชว่ งของการผลิต
4.1 กฎวา่ ดว้ ยการใชป้ ัจจัยการผลติ ทีม่ ีสัดส่วนไมค่ งท่ี
การศึกษาความสมั พันธร์ ะหวา่ งผลผลิตกับปัจจัยการผลิตในระยะสั้น เป็นไปตามกฎว่าด้วยการใช้ปัจจยั การผลิต
ที่มีสัดส่วนไม่คงที่จะอธิบายว่า เมื่อปัจจัยคงที่ทำงานร่วมกับปัจจัยผันแปรที่เพิ่มขึ้นทีละหน่วยโดยกำหนดให้
เทคโนโลยีการผลิตไม่เปลยี่ นแปลง พบว่าจำนวนผลผลติ รวม (Total Product: TP) ที่ไดร้ ับในช่วงแรกจะเพิ่มข้ึน
เรื่อย ๆ จนระดับจำนวนผลผลิตรวมสูงสุด จากนั้นผลผลิตรวมจะลดลงผลผลิตประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในการ
วิเคราะห์การผลิตในระยะส้นั ประกอบด้วย ผลผลิตรวม ผลผลติ เฉลีย่

ตาราง การเปล่ยี นแปลงของจำนวนผลผลติ มันสำปะหลงั
เมือ่ เพิ่มปัจจัยผนั แปร (ปุ๋ย) ทลี ะหน่วยใหก้ ับปจั จยั คงท่ี (ท่เี ดิม)

จากตารางข้างต้น เป็นตัวอย่างฟังกช์ ันการผลติ มนั สำปะหลงั ในระยะสัน้ ของเกษตรกรรายหน่ึงโดยกำหนดใหป้ ุ๋ย
เป็นปัจจัยผันแปร ซึ่งเพิ่มขึ้นครั้งละ 1 กิโลกรัม และที่ดินเป็นปัจจัยคงที่เท่ากับ 1 ไร่ทำงานร่วมกันเพื่อผลิตมัน
สำปะหลงั โดยผลผลิตมนั สำปะหลังท่ีไดร้ ับเป็นไปตามตาราง นำมาเขียนเป็นเสน้ ผลผลิตประเภทต่าง ๆ และช่วง
การผลติ ได้ดงั น้ี

เส้นผลผลติ ชนิดต่าง ๆ และการแบ่งช่วงการผลิต

4.2 ความสมั พนั ธข์ องผลผลติ รวม ผลผลติ เฉลยี่ และผลผลิตหน่วยสดุ ทา้ ย
ลกั ษณะและความสัมพันธ์ของผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลีย่ และผลผลติ หนว่ ยสดุ ท้าย
จากรูป สรุปลักษณะและความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตแบบต่าง ๆ และระหว่างผลผลิตกับปัจจัยการผลิตได้ ถ้า
กำหนดให้ผู้ผลิตรายหนึ่งใช้ปัจจัยการผลิตเพียง 2 ชนิด คือ ที่ดินและปุย๋ โดยให้ท่ีดินเป็นปัจจัยคงที่ และปุ๋ยเปน็
ปัจจัยผันแปรเพียงชนิดเดียว ผลของการเปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัยผันแปรพิจารณาได้จากผลผลิตชนิดต่าง ๆ
ดังนี้
1. ผลผลิตรวม (Total Product: TP) หมายถึง จำนวนผลผลิตทั้งหมดที่ได้จากการใช้ปัจจัยผันแปรจำนวน
หนง่ึ ๆ รว่ มกับปัจจยั คงท่ีท่มี อี ยู่ในขณะนั้น (Marginal Product) ต้ังแต่บรรทดั แรกจนถึงบรรทัดสุดทา้ ยในช่อง 5
เสน้ ผลผลติ รวมจะมีลักษณะคลา้ ยรูประฆงั คว่ํา ท่เี ปน็ เช่นนเ้ี พราะการเพิ่มปัจจัยผนั แปรหนว่ ยแรก ๆ เพ่ือทำงาน
ร่วมกับปัจจัยคงที่นั้น มีสัดส่วนพอเหมาะ และดึงศักยภาพของปัจจัยคงที่มาใช้ได้อย่างเต็มที่ ผลผลิตหน่วย
สุดท้ายจึงเพิ่มขึ้นตามลำดับ ส่งผลให้ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วแต่เมื่อเพิ่มปัจจัยผันแปรมาถึงจุดหนึ่งแลว้
การเพิ่มปัจจัยผันแปรต่อไป จะทำให้ผลผลิตหน่วยสุดท้ายลดลงเรื่อย ๆ จนถึงศูนย์ ซึ่งทำให้ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น
ช้ากว่าระยะแรก ผลผลิตรวมจะสงู สุดเม่ือผลผลติ หน่วยสุดท้ายเป็นศูนย์ ดังนั้น ถ้ายังเพิ่มปัจจยั ผันแปรตอ่ ไปอีก
จะทำให้ผลผลิตหน่วยสุดท้ายติดลบ เป็นผลให้ผลผลิตรวมลดลง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นไปตามกฎว่าด้วยการใช้ปัจจัย
การผลิตที่มีสัดส่วนไม่คงที่
2. ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product: AP) หมายถึง ผลผลิตที่ได้รับต่อหนึ่งหน่วยของปัจจัยผันแปร ซึ่งหาได้
โดยการนำจำนวนผลผลิตรวมที่ได้รับหารด้วยจำนวนปัจจยั ผันแปรที่ใช้ ผลผลิตเฉล่ียจะบอกว่าปัจจัยผันแปรแต่
ละหน่วยโดยเฉลี่ยแล้วก่อให้เกิดผลผลิตเท่าใด เช่น ผลผลิตรวมทั้งหมด 100 หน่วยใช้ปัจจัยแรงงาน 5 คน
ร่วมกับปัจจัยทุน แสดงว่า แรงงานแต่ละคนก่อให้เกิดผลผลิตโดยเฉลี่ยต่อคนเทา่ กับ 20 หน่วย เป็นต้น สามารถ
หาคา่ AP ไดจ้ าก

AP = TP
L

โดยท่ี AP = ผลผลิตเฉลยี่
TP = ผลผลิตรวม
L = ปัจจัยผนั แปร (แรงงาน)

3. ผลผลิตหน่วยสุดท้าย (Marginal Product: MP) หมายถึง จำนวนผลผลิตรวมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปเมื่อเพม่ิ
การใช้ปัจจัยผันแปรเข้าไปทีละหนึ่งหน่วย กล่าวคือ ผลผลิตหน่วยสุดท้ายจะบอกให้ทราบว่าเมื่อผู้ผลิต
เปลี่ยนแปลงปัจจยั ผนั แปรไปจากเดิม 1 หน่วย ทำให้ผลผลติ รวมเปลยี่ นแปลงไปจากเดิมกี่หน่วยค่า MP บอกให้รู้
ว่า การใช้ปัจจัยผันแปรเพิ่มขึ้นแต่ละหน่วย จะทำให้จำนวนผลผลิตเพิ่มขึ้นเท่าใด เช่น เดิมใช้แรงงาน 5 คน
ผลผลิตรวมที่ได้รับ 100 หน่วย หากเพิ่มแรงงานคนท่ี 6 เข้าไป ทำให้ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นเป็น 110 หน่วย แสดง
วา่ แรงงานคนที่ 6 นี้ ก่อใหเ้ กิดผลผลติ เท่ากับ 10 หนว่ ย เป็นต้น สามารถหาค่า MP ไดจ้ าก

MP = ΔTP
ΔL

โดยที่ MP = ผลผลติ หน่วยสดุ ท้าย ซงึ่ เป็นค่าความชนั ของเส้น TP
ΔTP = สว่ นเปลย่ี นแปลงของผลผลติ รวม
ΔL = สว่ นเปล่ยี นแปลงของปัจจยั ผนั แปร (แรงงาน)

การผลิตในระยะสั้น จำนวนผลผลติ ที่ได้รบั จากการใช้ปัจจัยคงที่ร่วมกับปัจจัยผันแปรเปน็ ไปตามกฎการลดน้อย
ถอยลงของผลได้ (Law of Diminishing Returns) กฎนก้ี ล่าวว่า “การผลิตทม่ี ีการใช้ปัจจัยคงท่ีร่วมกับปัจจัยผัน
แปร เมื่อใช้ปัจจัยผันแปรเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในระยะแรก ผลผลิตรวมจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น (Increasing
Returns) ต่อมาผลผลิตรวมจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง (Diminishing Returns)จนกระทั่งถึงระดับที่ผลผลิตรวม
สูงสุด หากยังเพิ่มปัจจัยผันแปรเข้าไปอีก ผลผลิตรวมจะลดลง (NegativeReturns)” ซึ่งกฎนี้มีสาเหตุ
เนื่องมาจากการใช้ปัจจัยการผลิตในสัดส่วนที่ไม่เท่ากัน เช่น การปลูกมันสำปะหลัง สมมติว่าใช้ที่ดิน 1 ไร่ กับ
ชาวไร่ 2 คน เป็นอัตราส่วนผสมของปัจจัยที่เหมาะสมในการปลูกมันสำปะหลัง หากเราเพิ่มชาวไร่ซึ่งเป็นปัจจัย
ผันแปรเขา้ ไปเรอ่ื ย ๆ ในการปลูกมันสำปะหลัง 1 ไร่ ซงึ่ เป็นปัจจัยคงท่ี จะเห็นวา่ ผลผลติ หน่วยสดุ ทา้ ยจะค่อย ๆ
ลดลง เพราะชาวไร่มจี ำนวนมากเกนิ ไปสำหรบั การปลกู มนั สำปะหลงั 1 ไร่
4. ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตรวม (TP) ผลผลิตเฉลี่ย (AP) และผลผลิตหน่วยสุดท้าย (MP) แบ่งการ
วเิ คราะหอ์ อกเป็น 3 ข้ัน ดงั นี้
ขั้นท่ี 1 (Stage I) เป็นช่วงแรกของการใช้ปัจจัยผันแปรในช่วงที่ผลผลิตเฉลี่ย (AP) มีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และ
สิ้นสุดตรงที่ผลผลิตเฉลี่ยมีค่าสูงสุด ในขั้นนี้ผลผลิตรวม (TP) จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น และเพิ่มขึ้นในอัตราที่
ลดลง ค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายมากกว่าผลผลิตเฉลี่ย (MP > AP) และ ณ จุดท่ี AP มีค่าสูงสุด ค่าของ AP =
MP จะเปน็ เสน้ แบ่งขั้นของการผลิตข้ันที่ 1 และข้ันท่ี 2
ขั้นที่ 2 (Stage II) เป็นช่วงของการเพิ่มการใช้ปัจจัยผันแปรเข้าไปแล้ว ทำให้ผลผลิตเฉลี่ยเริ่มลดลงและส้ินสุด
ตรงทผ่ี ลผลิตรวมสงู สดุ นั่นคอื ค่าของผลผลิตหน่วยสุดทา้ ยมีค่าเปน็ ศนู ย์ (MP = 0) ในชว่ งน้ีผลผลติ รวมเพิ่มขน้ึ ใน
อัตราท่ลี ดลง ผลผลิตหนว่ ยสดุ ทา้ ยมีคา่ ลดลง แต่ยังมากกวา่ ศูนย์ และค่าของ AP > MP
ขั้นที่ 3 (Stage III) เป็นชว่ งของการเพ่ิมการใชป้ ัจจัยผันแปรเขา้ ไปแล้ว ทำให้ผลผลติ หน่วยสุดท้ายลดลง และมี
ค่าติดลบ แสดงว่ามีการใช้ปัจจัยผันแปรมากเกินไปเมื่อเทียบกับปัจจัยคงที่ เมื่อมีการใช้ปัจจัยผันแปรเพิ่มขึ้น
ผลผลิตรวมลดลง ดังนั้น แม้ว่าผู้ผลิตจะใช้ปัจจยั ผันแปรโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายแตผ่ ู้ผลิตที่มีเหตุผลจะไม่ดำเนินการ
ผลติ ในข้นั นี้

สรุป การใช้ปัจจัยผันแปรที่เหมาะสมจะอยูใ่ นการผลิตขัน้ ที่ 2 เนื่องจากการผลิตในขั้นที่ 1 ปัจจัยผนั แปรมีนอ้ ย
เกนิ ไปเม่อื เทียบกับปัจจยั คงท่ี การเพมิ่ ปจั จยั ผนั แปรเพื่อทำงานรว่ มกับปจั จยั คงท่ีทำให้ผลผลติ หน่วยสุดท้ายมีค่า
มากกว่าผลผลิตเฉลี่ย (MP > AP) แสดงว่าผู้ผลิตสามารถใช้ปัจจัยผันแปรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ผลผลิต
หน่วยสุดท้าย (MP) จะแสดงถึงประสิทธิภาพของปัจจัยผันแปรหน่วยที่เพิ่มขึ้น และผลผลิตเฉลี่ย (AP) แสดงถึง
ประสิทธิภาพของปัจจัยผันแปรโดยเฉลี่ย ดังนั้น เมื่อเพิ่มการใช้ปัจจัยผันแปรมีผลให้ผลผลิตหน่วยสุดท้ายลดลง
แสดงถึงการลดลงในประสิทธภิ าพของปัจจัยผนั แปรหน่วยทีใ่ ช้เพ่ิมขึน้ แต่ผลผลติ รวมยังคงเพมิ่ โดยเพิ่มในอัตราที่
ลดลง แสดงวา่ ผลผลิตรวมที่เพ่มิ ข้ึนเกิดจากการเพิ่มของประสิทธิภาพของปัจจัยคงที่ ฉะน้นั ผู้ผลิตจึงไม่ควรหยุด
การใช้ปัจจัยผันแปรในช่วงนี้ เนื่องจากการเพิ่มการใช้ปัจจัยผันแปร ทำให้มีการเพิ่มขึ้นของประสิทธิภาพของ
ปัจจัยคงที่ จึงทำให้ผลผลิตรวมยังคงเพิ่มขึ้น ถึงแม้ผลผลิตหน่วยสุดท้ายของปัจจัยผันแปรจะลดลง แต่ผลผลิต
เฉลี่ยยังคงเพิ่มขึ้น แสดงถึงการเพิ่มขึ้นในประสิทธิภาพของปัจจัยผันแปรโดยเฉลี่ย ในขั้นการผลิตนี้จึงมีการใช้
ปัจจัยผันแปรน้อยไปเมื่อเทียบกับปัจจัยคงที่ สำหรับการผลิตขั้นท่ี 2 (Stage II) ถึงแม้การเพิ่มขึ้นของปัจจัยผัน
แปรจะทำใหผ้ ลผลติ หนว่ ยสุดท้ายและผลผลิตเฉลีย่ ลดลง แต่ผลผลิตหนว่ ยสุดท้ายยงั คงเปน็ บวก และผลผลิตรวม
ยังคงเพมิ่ ขึน้ แต่เพิ่มขน้ึ ในอัตราทีล่ ดลง แสดงวา่ การเพม่ิ การใช้ปัจจยั ผันแปรร่วมกับปจั จยั คงทจี่ ำนวนหนงึ่ ผลผลิต
หน่วยสุดท้ายลดลง แสดงถึงการลดลงในประสิทธิภาพของปจั จัยผันแปรทีเ่ พิ่มขึ้น และผลผลติ เฉลีย่ ลดลง แสดง
ถึงการลดลงของประสิทธภิ าพของปัจจยั ผนั แปรโดยเฉลี่ย แตผ่ ลผลิตรวมยังคงเพ่ิม แสดงให้เหน็ ว่าการเพิ่มปัจจัย
ผนั แปรขน้ึ อกี จะทำให้สามารถเพิ่มประสทิ ธภิ าพของปจั จยั คงที่ มผี ลใหผ้ ลผลิตรวมยังคงเพมิ่ ขึ้นฉะน้ันข้ันการผลิต
ที่เหมาะสมที่ผู้ผลิตจะใชป้ ัจจยั ผนั แปรรว่ มกับปจั จัยคงที่ จึงอยู่ในขั้นการผลิตท่ี 2 (Stage II) เพราะเป็นช่วงการ
ผลิตที่สิ้นสดุ ความคงทีผ่ ลผลิตหน่วยสดุ ท้าย (MP) มีค่าเท่ากับศูนย์ ถ้ามีการขยายการผลิตโดยการเพิ่มปัจจัยผัน
แปรเข้าไปอีก จะทำให้ประสิทธิภาพของปัจจยั คงท่ีลดลง และทำให้ผลผลิตรวม (TP) ลดลง เพราะฉะนั้นไม่ควร
เพิ่มปจั จัยผันแปรเกนิ กว่าจุดนี้
5. ครูใช้สื่อ Power Point / เขยี นกระดาน ประกอบเทคนิคการบรรยาย การวิเคราะห์การผลิตในระยะยาว
การวิเคราะห์การผลิตในระยะยาว จะใช้ทฤษฎีเส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Curve) และเส้นต้นทุนเท่ากัน
(Isocost Curve) เนื่องจากการผลิตในระยะยาว ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ตาม
ต้องการ และมีปัจจัยผันแปรเพียงชนิดเดียว ผู้ผลิตที่ต้องการกำไรสูงสูดจะเลือกส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่
สามารถผลติ สินค้าไดจ้ ำนวนมากทีส่ ุด ภายใต้งบประมาณหรือต้นทุนท่ีมีอยู่
1. เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Curve: IQ) คือ เส้นที่แสดงส่วนผสมต่าง ๆ ของปัจจัยการผลิตสองชนิดที่
ทำใหไ้ ดผ้ ลผลิตในจำนวนทเี่ ท่ากัน ไม่ว่าผ้ผู ลติ จะเลอื กผลิตสินค้าโดยใช้ปจั จยั การผลติ ทง้ั สองชนิดบนเส้นผลผลิต
เท่ากัน ย่อมทำให้ผู้ผลิตผลิตสินค้าได้ในจำนวนท่ีเท่ากันตลอด กล่าวคือเมื่อผู้ผลิตต้องการใช้ปัจจัยการผลิตชนิด
หนึ่งเพิม่ ขึ้น ผ้ผู ลิตจำเป็นต้องลดการใช้ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหน่ึงลงเพ่ือรักษาระดับของจำนวนผลผลิตท่ีผลิตให้
เทา่ เดิมตลอด ดงั แสดงในตารางตอ่ ไปน้ี

ตาราง สว่ นผสมต่างๆ ของการใชป้ จั จยั L และปจั จยั K
ในการผลติ สินคา้ จำนวน 100 หน่วย

ส่วนผสม ปจั จยั L (หน่วย) ปัจจัย K (หน่วย)
A 0 30
B 1 20
C 2 12
D 3 6
E 4 2
F 5 0

แสดงเส้นผลผลติ เท่ากนั

จากตาราง สมมติว่าผู้ผลิตมีปจั จัยการผลิต 2 ชนิด คือ ปัจจัย L และปัจจัย K ในการเลือกใช้ปัจจัย Lและปัจจยั
K เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้ในจำนวนเทา่ กัน คือ 100 หน่วย ดังนั้น ถ้ามีการใช้ปัจจัยชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นจะต้อง
ลดการใชป้ ัจจัยอีกชนิดหนึ่งลง เช่น ส่วนผสม A ผู้ผลติ ใชป้ จั จัย L จำนวน 1 หน่วย ใช้ปจั จยั K จำนวน 30 หน่วย
ส่วนผสม B ใช้ปัจจัย L จำนวน 2 หน่วย จึงลดการใช้ปัจจัย K ลงเหลือ 20 หน่วยจากรูป กำหนดให้แกนตั้งเป็น
ปัจจัย K และแกนนอนเป็นปัจจัย L เมื่อนำข้อมูลจากตารางมาวาดกราฟจะได้จุด A – F ซึ่งแต่ละจุดแสดงถึง
ส่วนผสมของการใช้ปัจจัย L และปัจจัย K ทม่ี จี ำนวนตา่ งกนั แต่ใหผ้ ลผลติ เท่ากนั เม่อื ลากเส้นเช่ือมจุดทั้งหมดจะ
ได้ “เส้นผลผลิตเทา่ กนั (Isoquant Curve: IQ)”
คุณสมบตั ิของเสน้ ผลผลิตเทา่ กัน
เส้นผลผลิตเท่ากนั มคี ุณสมบตั ิดงั น้ี
1. เส้นผลผลิตเท่ากันเป็นเส้นที่ทอดลงจากซ้ายมาขวาหรือมีความชันเป็นลบ และโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด ซ่ึง
แสดงให้เห็นว่าปัจจัยการผลิตทั้งสองชนิดสามารถใช้ทดแทนกันได้แต่ไม่สมบูรณ์ กล่าวคือถ้าผู้ผลิตเพิ่มการใช้
ปัจจัยการผลติ ชนดิ หนึ่งข้ึน กต็ อ้ งลดการใช้ปัจจัยการผลิตอีกชนดิ หนึ่งลง เพ่อื ใหจ้ ำนวนผลผลติ ยังคงเทา่ เดมิ

2. เส้นผลผลิตเท่ากันมีได้หลายเส้น เส้นที่อยู่ทางขวาหรอื อยู่สูงกว่าเสน้ เดมิ แสดงถึงส่วนผสมของการใช้ปัจจยั
การผลิตที่ทำให้ได้ผลผลิตในจำนวนที่มากกว่า เส้นผลผลิตเท่ากันสามารถสร้างขึ้นได้หลายเส้นซึ่งเรียกว่า
“แผนภาพเส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Map)” เส้นผลผลิตเท่ากันที่อยู่สูงกว่า แสดงถึง จำนวนผลผลิตท่ี
มากกว่า ส่วนเส้นผลผลิตเท่ากันที่ตํ่าสุด (IQ1) แทนจำนวนผลผลิต 100 หน่วย เส้นที่อยู่ถัดขึ้นไปจากเส้นต่ำสุด
(IQ2) แทนจำนวนผลผลิต 200 หน่วย และเสน้ ที่อยสู่ ูงสุด (IQ3) แทนจำนวนผลผลิต 300 หนว่ ย

แสดงแผนภาพเส้นผลผลติ เท่ากนั

จากรูป แสดงแผนภาพเส้นผลผลิตเท่ากันประกอบด้วย เส้นผลผลิตเท่ากัน 3 เส้น โดยเส้นที่ให้ผลผลิตมากที่สดุ
และรองลงมาคอื เส้น IQ3 เสน้ IQ2 และเส้น IQ1
3. เส้นผลผลติ เทา่ กันตัดกนั ไมไ่ ด้ เนือ่ งจากขัดแย้งกับคุณสมบตั ิขอ้ 2 หากเสน้ ผลผลิตเทา่ กนั จำนวน 2 เสน้ ตัดกัน
หมายความว่า ณ จุดที่ตัดกันส่วนผสมของปัจจัยการผลิตจะเท่ากันและผลผลิตที่ได้ก็เท่ากันด้วย ซึ่งขัดแย้งกับ
จำนวนผลผลติ ที่ได้จากเสน้ ผลผลิตเท่ากนั ในช่วงที่ไม่ไดต้ ดั กนั โดยเส้นที่สงู กวา่ จะให้ผลผลิตมากกว่า ดังนั้น เส้น
ผลผลิตเทา่ กนั จึงตัดกนั ไมไ่ ด้
อัตราการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกนั (Marginal Rate of Technical Substitution: MRTS)
1. อัตราการใชป้ ัจจยั การผลิตทดแทนกัน หมายถึง จำนวนปัจจัยการผลิตชนดิ หนง่ึ ทผ่ี ผู้ ลติ สามารถใช้ลดลงเม่ือ
มีการใช้ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วย โดยที่ผลผลิตยังคงเท่าเดิม ดังนั้น อัตราการใช้ปัจจัยการ
ผลติ ทดแทนกันจึงแสดงถึงความสามารถในการทดแทนกนั ของปัจจัยการผลิตชนิดหน่ึง(ท่ีเพม่ิ ขึ้นทีละหน่วย) กับ
ปัจจยั การผลิตอีกชนิดหนึ่ง (ทล่ี ดลง) โดยผลผลติ ยงั คงเท่าเดมิ สามารถเขยี นสมการได้ดังนี้

MRTSLK = -ΔK
ΔL

โดยที่ ΔK = ส่วนเปลี่ยนแปลงของปัจจยั K
ΔL = สว่ นเปล่ยี นแปลงของปจั จยั L

จากตารางข้างต้น เมื่อมีการใช้ปัจจัย L เพิ่มขึ้นทีละหนึ่งหน่วย ผู้ผลิตต้องลดการใช้ปัจจัย K ลงเรื่อยๆกล่าวคือ
ค่า MRTSLK มีค่าลดลง ปรากฏการณ์นี้เป็นไปตามกฎการลดน้อยถอยลงของผลได้ (Law of Diminishing
Returns) เกิดจากการเพิ่มปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งเข้าไปเรื่อย ๆ แล้วทำให้สัดส่วนของการใช้ปัจจัยการผลิตท้ัง
สองชนดิ ไม่เหมาะสม
2. เสน้ ตน้ ทุนเท่ากัน (Isocost Curve หรือ Isocost Line) คอื เส้นท่ีแสดงการเลอื กซ้อื ปจั จัยการผลิต 2 ชนิด
ในอตั ราสว่ นต่าง ๆ โดยกำหนดใหร้ าคาของปัจจยั การผลติ สองชนิดทสี่ ามารถซ้ือได้ด้วยเงินทนุ ท่ีเทา่ กนั เส้นต้นทุน
เท่ากัน จึงเป็นเส้นที่บอกให้ทราบว่า ณ จุดที่ปัจจัยการผลิตถูกนำเข้ามาในกระบวนการผลิตผู้ผลิตจะเสียต้นทนุ
เท่าไร สำหรับค่าใชจ้ ่ายในการซ้ือปัจจยั การผลติ นน้ั สมมตใิ ห้มีปัจจยั การผลติ 2 ชนดิ คือ K และ L ดงั น้นั สมการ
ตน้ ทนุ ก็คอื

TC = L⋅ PL + K⋅PK

โดยท่ี TC คือ ตน้ ทุนการผลติ รวม
L คือ จำนวนปัจจยั L
K คือ จำนวนปจั จัย K
PL คอื ราคาต่อหน่วยของปจั จยั L
PK คือ ราคาตอ่ หน่วยของปจั จัย K

เสน้ ต้นทนุ เท่ากนั มีวธิ กี ารหาคลา้ ยกบั เสน้ งบประมาณ ดงั รปู

เส้นตน้ ทนุ เท่ากัน

จากรูป สมมติว่าผู้ผลิต กำหนดต้นทุนการผลิตไว้ 100 บาท สำหรับซื้อปัจจัยการผลิต 2 ชนิด คือปัจจัย K และ
ปัจจยั L โดยราคาปัจจยั K หน่วยละ 25 บาท ปจั จยั L หนว่ ยละ 10 บาท ถา้ ผ้ผู ลิตไม่ซือ้ ปัจจยั K แต่ซอื้ ปัจจยั L
อย่างเดียว เขาจะซื้อปัจจัย L ได้ 10 หน่วย (ณ จุด C) แต่ถ้าไม่ซื้อปัจจัย L แต่ซื้อปัจจัย K เพียงอย่างเดียว เขา
จะซื้อปัจจัย K ได้ 4 หน่วย (ณ จุด A) ถ้าผู้ผลิตซื้อปัจจัยการผลิตทั้ง 2 ชนิด (ณ จุด B) เขาจะซื้อปัจจัย K ได้ 2
หนว่ ย และปัจจัย L ได้ 5 หนว่ ย ซ่งึ ใช้เงนิ ซอื้ ปัจจยั การผลิตเป็นเงนิ 100 บาทเท่ากนั กลา่ วคือ
ณ จุด A คา่ ใชจ้ ่ายในการซอ้ื ปัจจยั การผลิต = 0(10) + 4(25) = 100 บาท
ณ จดุ B คา่ ใชจ้ ่ายในการซ้ือปัจจัยการผลิต = 5(10) + 2(25) = 100 บาท

ณ จุด C ค่าใชจ้ ่ายในการซอ้ื ปจั จยั การผลติ = 10(10) + 0(25) = 100 บาท
ลักษณะของเส้นต้นทนุ เท่ากนั มดี ังนี้
1. เปน็ เส้นตรงทอดลงจากซา้ ยไปขวา
2. มีส่วนตัดแกนตั้งและแกนนอนเท่ากับต้นทุนหารด้วยราคาของปัจจัยการผลิตในแกนตั้งและแกนนอน
ตามลำดบั
3. ความชัน (Slope) ของเส้นต้นทุนเท่ากันมีค่าเท่ากับราคาของปัจจัยการผลิตในแกนนอนหารด้วยราคาของ
ปจั จยั การผลิตในแกนตั้ง น่ันคือ

ความชันของเสน้ ตน้ ทนุ เท่ากัน = PL
PK

โดยท่ี PL คือ ราคาของปจั จัย L
PK คือ ราคาของปัจจัย K

6. ครูใชส้ ื่อ Power Point / เขยี นกระดาน ประกอบเทคนคิ การบรรยาย ดุลยภาพการผลิต
หลังจากการศึกษาเกี่ยวกับเส้นผลผลิตเท่ากันและเส้นต้นทุนเท่ากันแล้ว สามารถนำเส้นเหล่านี้มาใช้ในการ
วิเคราะห์ว่า ผู้ผลิตควรตัดสินใจเลือกใช้ปัจจัยการผลิตสองชนิดในส่วนผสมใด จึงจะทำให้คุ้มค่ามากที่สุดกับ
งบประมาณทมี่ อี ยู่
ดุลยภาพของการผลิต (Production's Equilibrium) คือ จุดที่มีการใช้ปัจจยั การผลติ ท่ีเหมาะสมที่สุด ผู้ผลิต
เสยี ตน้ ทนุ การผลิตต่ําทส่ี ุด ได้รบั ผลผลิตมากท่ีสดุ กล่าวคอื การใช้ปัจจยั การผลิตที่เหมาะสมท่ีสดุ โดยเสียต้นทุน
การผลิตตํ่าสดุ อยู่ ณ จุดที่เสน้ ผลผลิตเท่ากันสัมผัสกับเส้นต้นทุนเทา่ กันพอดี และค่าความชันของจุดนีจ้ ะเทา่ กัน
คือ

MRTSLK = -ΔK = PL ΔL PK
การใชส้ ว่ นผสมของปัจจัยการผลิตทเ่ี สยี ต้นทนุ ตํ่าทีส่ ดุ พจิ ารณาได้ดังรูป

แสดงดุลยภาพของการผลติ

จากรูป สมมตวิ า่ ผผู้ ลติ มตี น้ ทนุ การผลติ เท่ากบั 100 บาท โดยซ้อื ปัจจัยการผลติ 2 ชนดิ คือ ปจั จยั L และปจั จยั K
โดยท่ีราคาปัจจยั L หน่วยละ 10 บาท และราคาปจั จัย K หนว่ ยละ 25 บาท ซึ่งผลติ สนิ คา้ ได้จำนวน 100 หน่วย
เส้น IQ คือ เส้นผลผลิตเท่ากัน และเส้น ED คือ เส้นต้นทุนเท่ากัน ผู้ผลิตจะเลือกผลติ ณ จุด A ซึ่งเป็นจุดที่เส้น
ผลผลิตเท่ากันสัมผัสกับเส้นต้นทุนเท่ากันพอดี ทำให้ผู้ผลิตเสียต้นทุนการผลิตต่ำที่สุดในการผลิตสินคา้ จำนวน
100 หน่วย โดยผู้ผลิตจะใช้ปัจจัย L จำนวน 5 หน่วย และปัจจัย K จำนวน 2 หน่วย โดยเสียต้นทุนการผลิต
เท่ากันคือ 100 บาท สำหรับการผลิต ณ จุด B และจุด C แม้ผู้ผลิตจะได้รับผลผลิตจำนวน 100 หน่วยเท่ากันก็
ตาม แต่ทั้งจุด B และจุด C อยู่สูงกว่าเส้นต้นทุนเท่ากนั แสดงให้เห็นว่าผู้ผลิตจะต้องใช้ต้นทุนมากกว่า 100 บาท
ส่วนการผลิตในจุด F จะได้ปรมิ าณผลผลติ เทา่ กบั 200 หน่วย ซงึ่ เปน็ จุดทไี่ มส่ ามารถทำการผลิตได้ เนื่องจากเกิน
งบประมาณท่ีมอี ยู่
กฎผลได้ต่อขนาด
การผลิตในระยะยาวเป็นการผลิตที่ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงปัจจยั การผลิตได้ทุกชนิดตามที่ต้องการ ถ้าผู้ผลิต
เพิ่มปัจจัยการผลิตทุกชนิดในอัตราส่วนเท่ากัน จะมีผลทำให้ผลผลิตที่ไดร้ ับจากการขยายขนาดของการใช้ปัจจยั
การผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่า เท่ากัน หรือตํ่ากว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของปัจจัยการผลิต แต่ปรากฏการณ์นี้จะ
เกดิ ขึ้นเฉพาะการผลิตในระยะยาวเท่านน้ั ซงึ่ เรียกวา่ “กฎผลได้ต่อขนาด (returns to scale)” ซงึ่ มีลักษณะของ
ผลได้ตอ่ ขนาดดังน้ี
1. ผลไดต้ ่อขนาดเพม่ิ ขนึ้ (Increasing Returns to Scale) เป็นลกั ษณะทีผ่ ู้ผลติ ไดร้ ับผลผลติ เพิ่มขึน้ ในอัตรา
ท่สี ูงกว่าอัตราการเพมิ่ ขึ้นของปัจจยั การผลิตทุกชนดิ ทีใ่ ช้
2. ผลได้ต่อขนาดคงที่ (Constant Returns to Scale) เป็นลักษณะที่ผู้ผลิตได้รับผลผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราที่
เท่ากับอตั ราการเพิ่มขึน้ ของปจั จยั การผลิตทุกชนดิ ที่ใช้ ซึง่ อาจเกดิ จากประสิทธิภาพที่มาจากผลของการแบ่งงาน
กันทำได้เพิ่มจนถงึ จดุ สูงสุดแลว้ และไมส่ ามารถเพิม่ ประสิทธภิ าพในการผลติ ไดอ้ ีก
3. ผลได้ตอ่ ขนาดลดลง (Decreasing Returns to Scale) เป็นลกั ษณะที่ผผู้ ลิตได้รบั ผลผลติ เพ่ิมขึ้นในอัตรา
ที่ต่ํากวา่ อตั ราการเพิม่ ข้ึนของปัจจัยการผลติ ทุกชนิดทีใ่ ช้ ซง่ึ เกิดจากปญั หาความยงุ่ ยากอันเนื่องมาจากการผลิตที่
มีขนาดใหญม่ ากเกินไป
สรุป การผลิต (Production) หมายถงึ การนำทรัพยากรหรือปจั จัยการผลติ ตา่ ง ๆ อันได้แก่ ทดี่ ิน ทนุ แรงงาน
และผู้ประกอบการ มาผ่านกระบวนการแปรสภาพให้กลายเป็นสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการ
ของมนุษย์ ผผู้ ลติ มีจดุ มุ่งหมาย คอื แสวงหากำไรสงู สุด (profit maximization)
การผลิตในระยะส้ัน เปน็ การผลติ ในชว่ งระยะเวลาท่ีผู้ผลติ ไมส่ ามารถเปลย่ี นแปลงการใช้ปจั จัยการผลิตบางชนิด
ไดต้ ามความตอ้ งการ ดงั นนั้ การผลติ ในระยะส้นั ประกอบด้วยปัจจัยคงทีแ่ ละปจั จยั ผนั แปร เม่อื เพ่มิ ปจั จัยผันแปร
ทีละหนึ่งหน่วยในช่วงแรก ผลผลิตหน่วยสุดท้ายจะมีค่าเพิ่มขึ้นมีค่าสูงสุด และหลังจากนั้นจะมีค่าลดลงเรื่อย ๆ
ซึ่งเปน็ ไปตามกฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิตหนว่ ยสดุ ท้าย
การผลติ ในระยะยาว เป็นการผลติ ในชว่ งระยะเวลาทผ่ี ู้ผลิตสามารถเปลย่ี นแปลงการใช้ปจั จยั การผลิตทุกชนิดได้
ตามความต้องการ ดังนั้น การผลิตในระยะยาว ปัจจัยการผลิตจะมีประเภทเดียวคือ ปัจจัยผันแปร ปัจจัยที่เคย
เป็นปัจจัยคงที่ในระยะสั้น เช่น ที่ดิน เครื่องจักรอาคาร โรงงาน เป็นต้น สามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อจำนวน
ผลผลติ เปลี่ยนแปลงไปในระยะยาวซง่ึ หมายความวา่ ในระยะยาว ปจั จัยเหลา่ นีจ้ ะกลายเป็นปัจจยั ผันแปรทั้งสน้ิ
การวิเคราะห์การผลิตในระยะยาวจะใช้เส้นผลผลิตเท่ากันและเส้นต้นทุนเท่ากัน ผู้ผลิตที่ต้องการกำไรสูงสูดจะ
เลือกส่วนผสมของปัจจัยการผลิตท่ีสามารถผลิตสินค้าได้จำนวนมากที่สุดภายใต้งบประมาณหรือต้นทุนที่มีอยู่

ผู้ผลิตจะเลือกใช้ส่วนผสมปัจจัยการผลิตที่เสียต้นทุนการผลิตตํ่าสุด ณ จุดที่เส้นผลผลิตเท่ากันสัมผัสกับเส้น
ต้นทุนเทา่ กันพอดี และคา่ ความชนั ของจุดนจ้ี ะเท่ากนั เรียกจุดน้วี ่า “ดลุ ยภาพของการผลติ ”

ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์
7. ครูสรปุ บทเรียน โดยใช้สอื่ PowerPoint และเปดิ โอกาสให้นักเรียนไดซ้ ักถามขอ้ สงสยั
8. ผเู้ รียนทำกจิ กรรมใบงาน และแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรยี นหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
2. สือ่ PowerPoint
3. แบบประเมินผลการเรยี นรู้
4. กิจกรรมการเรยี นการสอน
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
หลักฐาน
1. บนั ทกึ การสอนของผสู้ อน
2. ใบเช็ครายชอ่ื
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. การตรวจประเมนิ ผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วธิ วี ดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ตรวจกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรู้
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ
4. ตรวจใบงาน
เครือ่ งมอื วัดผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ
3. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไม่มีช่องปรบั ปรุง
2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้มีเกณฑผ์ า่ น และแบบฝกึ ปฏิบัติ 50%
3. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงานมเี กณฑ์ผ่าน 50%
กิจกรรมเสนอแนะ

1. แนะนำใหผ้ ู้เรยี นอ่านทบทวนเน้ือหาเพ่มิ เติม
2. ควรศึกษาข้อมูลเพม่ิ เตมิ จากส่ืออนิ เทอร์เนต็

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้

1. อธิบายความหมายของการผลติ และฟังก์ชนั การผลิต

.................................................................................................................

............................................................................................................................. ........................

2. อธิบายการผลิตในระยะสน้ั และระยะยาวว่าแตกต่างกันอย่างไร

............................................................................................................................. ............................................

3. กฎว่าดว้ ยการใชป้ จั จยั การผลติ ทีม่ สี ัดสว่ นไมค่ งท่ี อธิบายไว้ว่าอยา่ งไร

.......................................................................................................................................... ...............................

4. ผลผลิตเฉลย่ี ผลผลิตหน่วยสุดทา้ ย หมายความว่าอย่างไร

.........................................................................................................................................................................

5. การผลติ แบ่งออกไดก้ ชี่ ว่ ง แตล่ ะช่วงมลี ักษณะอยา่ งไร และช่วงการผลิตใดเป็นช่วงที่เหมาะสมที่สดุ

................................................................................................................................................................ ................

6. เสน้ ผลผลิตเทา่ กนั คอื อะไร และมคี ณุ สมบตั อิ ย่างไร

................................................................................................................................................................

7. เส้นต้นทุนเท่ากันคืออะไร และมีคณุ สมบตั ิอยา่ งไร

.........................................................................................................................................................................

8. อัตราการใช้ปจั จัยการผลติ ทดแทนกันหมายความว่าอย่างไร

........................................................................................................................................................................

9. เง่อื นไขการใชส้ ว่ นผสมของปัจจัยการผลติ ท่เี สียตน้ ทุนตํา่ ท่สี ุดมวี า่ อย่างไร

......................................................................................................................................................................

10. สมการต้นทนุ จากการใชป้ ัจจัยการผลิต 2 ชนิดมีว่าอยา่ งไร

.........................................................................................................................................................................

ตอนที่ 2 จงเลอื กขอ้ ทีถ่ ูกตอ้ งทีส่ ดุ เพียงข้อเดยี ว

1. ขอ้ ใดคอื จุดมุ่งหมายท่สี ำคญั ทสี่ ุดของการผลติ ในทางเศรษฐศาสตร์ของผูผ้ ลิต

ก. ตน้ ทนุ การผลติ คงท่ี ข. ต้นทุนการผลติ ลดลง

ค. แสวงหาซ่งึ กำไรสงู สดุ ง. รายรับจากการขายสินค้าเพ่มิ ขนึ้

จ. รายรับจากการขายปัจจัยการผลติ เพิ่มขึน้

2. การผลิตในระยะสั้นขั้นใดทีผ่ ลผลติ หน่วยสดุ ทา้ ย (MP) มคี า่ เทา่ กบั ศูนย์

ก. ขัน้ ท่ี 1 ข. ข้ันที่ 2

ค. ขั้นที่ 3 ง. ขน้ั ท่ี 4 จ . ขัน้ ท่ี 1 และ 2

3. ตามทฤษฎกี ารผลิต ข้อใดเป็นการผลิตขัน้ ที่ 1 ในการผลิตระยะสน้ั

ก. เปน็ ระยะก่อต้งั กจิ การใหม่ ข. เป็นช่วงการผลิตท่ี MP เทา่ กบั ศูนย์

ค. เปน็ ชว่ งการผลิตท่ี MP น้อยกวา่ APง. เปน็ ชว่ งการผลติ ที่ MP มากกวา่ AP

จ. เป็นชว่ งการผลิตท่ี MP นอ้ ยกวา่ 0

4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ปัจจยั คงท่ี

ก. ทีด่ ิน ข. อาคารโรงเรอื น

ค. วัตถุดิบ ง. เคร่ืองจักร จ. โรงงาน

5. ขอ้ ใดเป็นกฎที่ใชใ้ นการผลิตระยะสัน้

ก. กฎการลดน้อยถอยลงของตน้ ทนุ การผลติ

ข. กฎวา่ ด้วยเทคโนโลยกี ารผลติ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ

ค. กฎว่าดว้ ยการลดนอ้ ยถอยลงของผลผลติ เฉลี่ย

ง. กฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิตหน่วยสดุ ทา้ ย

จ. กฎการลดนอ้ ยถอยลงของผลผลิตรวม

6. ขอ้ ใดไม่ใช่คุณสมบัติของเส้นผลผลติ เท่ากนั

ก. เปน็ เส้นที่ทอดลงจากซา้ ยไปขวา ข. เปน็ เสน้ ต่อเน่ืองกนั ไม่ขาดตอน

ค. เปน็ เส้นท่ีตัดกนั ได้ และมีไดห้ ลายเสน้ ง. เปน็ เส้นโคง้ เว้าเข้าหาจุดกำเนิด

จ. เสน้ ทีอ่ ยู่สูงกว่าให้ผลผลิตมากกวา่

7. ขอ้ ใดเปน็ เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์การผลิตในระยะยาว

ก. เส้น TP, MP และ AP ข. เสน้ ต้นทนุ การผลิต

ค. เส้นอุปสงคแ์ ละเสน้ อปุ ทาน ง. เส้นผลผลติ เท่ากันและเสน้ ต้นทุนเท่ากัน

จ. เสน้ ความพอใจเทา่ กันและเสน้ งบประมาณ

8. คา่ MRTSLK = -5 มคี วามหมายว่าอย่างไร

ก. การเพ่มิ ปัจจัย L = 1 ตอ้ งลดปจั จยั K = 5

ข. การเพ่มิ ปจั จยั K = 1 ตอ้ งลดปัจจัย L= 5

ค. การเพิ่มปัจจัย L = 5 ตอ้ งลดปจั จัย K = 5

ง. การเพมิ่ ปจั จยั K = 5 ตอ้ งลดปัจจยั L = 1

จ. ผิดทุกขอ้

9. สมมติวา่ ผ้ผู ลติ เพิม่ ปจั จยั การผลิตทกุ ชนิดในอตั รา A ผลผลติ ท่ีไดร้ ับเพ่ิมข้นึ ในอตั รา B ผูผ้ ลติ เห็นว่า

A นอ้ ยกว่า B เราเรียกการผลิตนี้วา่ อะไร

ก. ผลตอบแทนต่อขนาดลดลง ข. ผลตอบแทนตอ่ ขนาดเพ่ิมขน้ึ

ค. ผลตอบแทนต่อขนาดคงท่ี ง. ผลตอบแทนตอ่ ขนาดลดน้อยถอยลง

จ. ผลตอบแทนต่อขนาดไมม่ กี ารเปลี่ยนแปลง

10. ขอ้ ใดเปน็ ความหมายของกฎว่าดว้ ยการลดน้อยถอยลงของผลผลติ หน่วยสดุ ทา้ ย (MP)

ก. เมือ่ ใช้ปัจจยั คงทเ่ี พ่ิมข้ึนทีละ 1 หนว่ ย ผลผลติ เพิม่ จะมีคา่ ลดลงเรอื่ ย ๆ

ข. เมอื่ ใช้ปจั จัยผันแปรเพ่ิมขึ้นทีละ 1 หน่วย ผลผลิตเพม่ิ จะมคี ่าลดลงเรื่อย ๆ

ค. ผลผลติ เพิม่ จะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อใชป้ ัจจัยผนั แปรมากข้นึ

ง. ผลผลิตเพ่มิ จะลดลงเรือ่ ย ๆ เมอ่ื ผ้ผู ลติ ขยายกจิ การ

จ. ผิดทกุ ข้อ

ตอนท่ี 3 จงใช้ขอ้ ความต่อไปนต้ี อบคำถามข้อ 1 ถงึ ข้อ 5
หน่วยผลิตแห่งหนึ่งทำการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งโดยใช้เงินลงทุน 1,000 บาท สำหรับซื้อปัจจัยการผลิต L และ K
ทั้งนี้ราคาของปัจจัยการผลิต L และ K หน่วยละ 10 บาท และ 20 บาท ตามลำดับและลักษณะการใช้ส่วนผสม
ระหวา่ งปจั จยั การผลติ ทง้ั 2 ชนิด เป็นดังรูปข้างล่าง

1. ณ จุด L1 มีค่า …………………………………....................................................……....…..………. หน่วย
2. ณ จดุ L2 มคี ่า …………………………………………………..................................…….….....………. หนว่ ย
3. ณ จุด K1 มีคา่ …………………………………………………..................................……….….....……. หน่วย
4. ตน้ ทนุ รวม (TC) ณ จดุ A มีค่า ………………………………………………..............................………. บาท
5. ณ จดุ B และ C หมายความว่าอย่างไร ……………………………………….……………………...................….

ใบงานท่ี 1

เป้าหมายของหน่วยผลติ มีอะไรบา้ ง
............................................................................................................................. ...................................................

ใบงานท่ี 2

อธิบายความหมายของคำต่อไปน้ี การผลติ หน่วยผลติ อุตสาหกรรม ที่ใช้ในหนังสือหลักเศรษฐศาสตร์
............................................................................................................................. ............................................

ใบงานที่ 3

เกษตรกรรายหนึ่งต้องการผลิตรังไหมนํ้าหนัก 1 ตัน ภายใน 1 ปี ด้วยต้นทุนตํ่าสุด โดยใช้ปัจจัยการผลิต 2
ชนิด คือ แรงงาน และต้นหม่อน สมมติว่าไม่มีต้นทุนอื่น และสมมติว่าปัจจัยท้ัง 2 ชนิดนี้มีราคาคงที่ พบว่า
เขาจะต้องใช้ต้นหม่อน 20 ตัน และแรงงาน 80 คน ต้นหม่อนราคาตันละ 1,000 บาทMP ของต้นหม่อน
และแรงงานเท่ากับ 2.5 และ 10 ตามลำดับ จงแสดงการคำนวณหาค่าจ้างต่อปีที่ต้องจ่ายให้คนงาน และ
ตน้ ทุนรวม
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

บันทกึ หลังการสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาท่ีพบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 7 หน่วยท่ี 6
รหสั 30200-1001 หลกั เศรษฐศาสตร์ สอนคร้งั ที่ 7
ช่ือหน่วย ตน้ ทุน รายรับ และกำไร จำนวน 4 ช่ัวโมง

สาระสำคัญ
จากการศึกษาถึงพฤติกรรมของผู้ผลิตในหน่วยท่ี 5 ทำให้ทราบแนวคิดในการจัดสรรต้นทุนที่มีอยู่อย่างจำกัดใน
การเลือกซื้อปัจจัยการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตมากที่สุดหรือเพื่อให้ได้กำไรสูงสุดและเสียต้นทุนการผลิตตํ่าที่สุด
ผู้ผลิตจำเป็นต้องศึกษาถึงหลักการใช้ต้นทุนการผลิตทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อจะได้วางแผนการผลิต ให้
เสียต้นทุนตํ่าสุดและต้องศึกษาถึงรายรับที่ได้จากการผลิตที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุดจากการวางแผนการผลิตใน
ชว่ งเวลาตา่ ง ๆ กันได้
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของต้นทุนประเภทตา่ ง ๆ ในทางเศรษฐศาสตรไ์ ด้
2. อธบิ ายความหมายของต้นทนุ การผลติ แต่ละชนิดในระยะสั้นได้
3. อธิบายความหมายและลกั ษณะของต้นทนุ การผลิตในระยะยาวได้
4. อธบิ ายความหมายและรายรับจากการผลติ แตล่ ะชนิดได้
5. อธบิ ายความหมายของกำไรทางเศรษฐศาสตร์ได้
สมรรถนะประจำหนว่ ย
1. แสดงความรู้ในเรอ่ื งตน้ ทนุ
2. แสดงความรใู้ นเร่ืองรายรบั
3. แสดงความรูใ้ นเรื่องกำไร
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของต้นทนุ ประเภทต่าง ๆ ในทางเศรษฐศาสตร์
2. ความหมายของต้นทนุ การผลิตแตล่ ะชนดิ ในระยะสัน้
3. ความหมายและลกั ษณะของต้นทนุ การผลิตในระยะยาว
4. ความหมายและรายรบั จากการผลิตแตล่ ะชนิด
5. ความหมายของกำไรทางเศรษฐศาสตร์
กิจกรรมการเรียนการสอน

ข้ันนำเข้าส่บู ทเรียน
1. ครูกลา่ วว่า การที่ผผู้ ลติ จะตัดสนิ ใจทำการผลิตสนิ ค้าหรอื บริการเป็นจำนวนเท่าใดจากปจั จัยการผลติ ท่มี ีอยู่ใน
ขณะนั้น จึงจะได้รับกำไรสงู สุดหรือขาดทุนนอ้ ยที่สุด ผู้ผลิตจะต้องนำต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิตมา
เปรียบเทียบกัน การศึกษาต้นทุนการผลิต รายรับจากการผลิตและกำไรจากการผลิตจึงเป็นการศึกษาทางด้าน
อุปทานของสินค้าหรือบรกิ าร ซึง่ เปน็ การพิจารณาทางด้านพฤติกรรมของผ้ผู ลติ

ขัน้ สอน
2. ครูใชส้ ื่อ Power Point ประกอบเทคนิคการบรรยาย ความหมายของตน้ ทุนประเภทต่างๆ ในทาง

เศรษฐศาสตร์ในทางเศรษฐศาสตรแ์ บ่งต้นทนุ ออกเปน็ ลกั ษณะต่าง ๆ ได้แก่ ตน้ ทนุ คา่ เสียโอกาส ตน้ ทนุ
ชดั แจ้งต้นทุนไมช่ ัดแจ้ง ต้นทนุ ทางเศรษฐศาสตร์ ตน้ ทุนทางบัญชี ต้นทุนเอกชนและตน้ ทนุ ทางสงั คม
โดยมีลกั ษณะของต้นทุนแตล่ ะชนิดดงั น้ี

2.1 ต้นทุนค่าเสยี โอกาส (Opportunity Cost)

เนื่องจากทรัพยากรมีอยู่จำกัดและมีน้อยกว่าความต้องการของมนุษย์ จึงทำให้ต้องตัดสินใจใช้ทรัพยากรใน

ทางเลือกหนึ่ง ๆ และถ้าตัดสินใจใช้ทรัพยากรไปในทางใดทางหนึ่งแล้วย่อมเสียโอกาสที่จะนำทรัพยากรนี้ไปใช้

ในทางอื่น ๆ เรียกว่า “ต้นทุนค่าเสียโอกาส” คือ มูลค่าสูงสุดของผลประโยชน์จากทางเลือกอื่น ๆ ที่ไม่ได้เลือก

เนื่องจากได้ตัดสินใจใช้ทรัพยากรในทางเลือกหนึง่ ไปแล้ว ในการผลิตสินค้าอย่างหนึง่ ผูผ้ ลิตจะต้องซื้อปัจจัยการ

ผลิตจำนวนหนึ่งจากเจ้าของปัจจัยการผลิต และเมื่อตัดสนิ ใจนำปัจจัยเหล่านั้นไปใช้ในการผลิตสนิ ค้าแล้ว จะทำ

ให้ไม่สามารถนำปัจจัยดังกล่าวไปใช้ในทางเลือกอื่นได้ เช่น การที่ผู้ผลิตใช้ทรัพยากรจำนวนหนึ่งผลิตสินค้า A ก็

หมายถึง สินค้า B, C, D, …. ที่ผลิตโดยใช้ทรัพยากรจำนวนเดียวกันหายไปจากสังคม การที่นักศึกษาใช้เวลาใน

การอ่านหนังสือเตรียมสอบ ก็จะทำให้หมดโอกาสที่จะใช้เวลาดังกล่าวไปดูภาพยนตร์ หรือเที่ยวเตร่ หรือการใช้

เวลาในการศึกษาเล่าเรียนก็หมดโอกาสที่จะใช้เวลานั้นทำงานหารายได้ เป็นต้น การตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากร

ในทางใดทางหนง่ึ นน้ั ทำให้เกดิ ต้นทุนในการเลือกขึ้น ต้นทนุ ดงั กล่าวน้เี รียกวา่ “ต้นทนุ คา่ เสียโอกาส”

2.2 ต้นทนุ ชัดแจ้ง ตน้ ทุนไมช่ ดั แจ้ง ต้นทนุ ทางเศรษฐศาสตร์ ตน้ ทนุ ทางบญั ชี

ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) เป็นรายจ่ายที่ผู้ผลิตได้จ่ายออกไปจริง ๆ ซึ่งอาจจ่ายให้แก่บุคคลอื่นเพื่อเป็น

ค่าตอบแทนในการใช้ปัจจัยการผลิต ส่วนต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) เป็นต้นทุนของการใช้ปัจจัยการ

ผลิตในสว่ นทผี่ ู้ผลติ ไม่ได้จา่ ยออกไปจริง ๆ หรือหมายถงึ ตน้ ทนุ ค่าเสยี โอกาสของผูผ้ ลิตท่ีเกิดขึ้นเมื่อใช้ปัจจัยการ

ผลิต ซึง่ เปน็ ตน้ ทนุ ท่ไี ม่ได้จา่ ยออกไปจรงิ ๆ ได้แก่ ต้นทนุ ของปจั จัยการผลติ ทีผ่ ผู้ ลติ เปน็ เจ้าของ ได้แก่ คา่ จ้าง ค่า

เช่า ดอกเบี้ย และกำไร ที่ได้มาจากปัจจัยการผลิตของผู้ผลิต ทำให้ผู้ผลิตสูญเสียโอกาสที่จะนำปัจจัยการผลิต

เหล่านี้ไปใช้ในทางเลือกอื่น และค่าเสื่อมราคาทางเศรษฐศาสตร์ ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Cost)

ประกอบด้วยต้นทุนทั้งหมดที่รวมทั้งต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้งแต่ต้นทุนทางบัญชี (Accounting

Cost) ประกอบด้วยต้นทุนชัดแจ้งเท่านั้น ดังนั้นต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จึงมีความหมายกว้างกว่าต้นทุนทาง

บัญชี

2.3 ต้นทนุ เอกชนและตน้ ทุนทางสังคม

ต้นทุนเอกชน (Private Cost) เปน็ รายจ่ายท่ีเกดิ จากการผลิตทงั้ หมดและผู้ผลิตถือว่าเป็นต้นทุนของตนเอง ซึ่ง

ประกอบดว้ ยต้นทุนชัดแจง้ และต้นทนุ ไมช่ ัดแจ้ง อย่างไรกต็ าม ตน้ ทุนประเภทนีอ้ าจก่อให้เกดิ ผลเสียต่อบุคคลอ่ืน

ๆ ในสังคม เช่น โรงงานอุตสาหกรรมปล่อยนํ้าเสียออกมาตามแม่นํ้าลำคลอง ส่งผลให้ผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณน้ัน

ป่วย ซึ่งผลเสียที่เกิดขึ้นถือเป็นต้นทุนภายนอก (External Cost) ดังนั้น ต้นทุนทางสังคม (Social Cost) เป็น

ตน้ ทนุ ทกุ ชนิดท่เี กดิ ข้นึ โดยตรงหรอื สบื เนอื่ งมาจากการผลติ ประกอบดว้ ยตน้ ทนุ เอกชนและต้นทุนภายนอก

3. ครใู ช้สอ่ื Power Point ประกอบเทคนิคการบรรยาย ความหมายของต้นทนุ การผลิตแต่ละชนิดในระยะสนั้

ปัจจัยการผลิตในระยะสั้นประกอบด้วยปัจจัยคงที่และปัจจัยผันแปร ดังนั้น ต้นทุนการผลิตในระยะสั้นจึง

ประกอบด้วยต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตและต้นทุนการผลิตในระยะสั้นแบ่ง

ออกเปน็ 3 ลกั ษณะ คือ ต้นทุนรวม ตน้ ทุนเฉล่ีย และต้นทนุ หน่วยสุดท้าย

3.1 ต้นทุนรวม (Total Cost : TC) หมายถึง ต้นทุนของปัจจัยการผลิตทุกชนิดที่นำมาใช้ในการผลิต

ประกอบด้วยต้นทนุ รวมและต้นทนุ ผนั แปรรวม เขียนเป็นสมการไดด้ งั นี้

TC = TFC + TVC

1. ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost: TFC) หมายถึง ต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามปรมิ าณการผลิตจะไม่ผลิต
หรือผลิตมากน้อยเท่าไรก็ต้องเสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ ต้นทุนเหล่านี้ เช่น ค่าเช่าที่ดินค่าก่อสร้างอาคารโรงงาน
ค่าเครอื่ งจักรรวมทั้งคา่ ตดิ ต้งั เป็นต้น
2. ต้นทุนผนั แปรรวม (Total Variable Cost: TVC) หมายถึง ต้นทุนที่เปลีย่ นแปลงตามปริมาณการผลติ ต้นทุน
ประเภทนี้จะไม่เกิดขน้ึ ถา้ ไม่มีการผลิต เชน่ แรงงาน วัตถดุ บิ น้าํ มนั เช้อื เพลิงนา้ํ ประปา ค่าไฟฟ้า เป็นตน้
3.2 ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost: AC) หรือต้นทุนรวมเฉลี่ย (Average Total Cost: ATC) คือต้นทุนรวม
เฉล่ยี ตอ่ หน่วยของผลผลติ ซ่งึ สามารถหาต้นทุนเฉลย่ี ได้จากอัตราสว่ นของต้นทุนรวมกับจำนวนผลผลิต ดงั สมการ
ตอ่ ไปนี้

AC = TC = AFC + AVC
Q

1. ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost: AFC) คือ ต้นทุนคงที่ทั้งหมดเฉลี่ยต่อหน่วยของผลผลติ สามารถหา
ตน้ ทุนคงท่เี ฉล่ียได้จากอัตราส่วนของตน้ ทุนคงทร่ี วมกบั จำนวนผลผลิต ดงั สมการตอ่ ไปนี้

AFC = TFC
Q

2. ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (Average Variable Cost: AVC) คือ ต้นทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยต่อหน่วยของผลผลิต
โดยหาต้นทนุ ผนั แปรเฉลย่ี ได้จากอัตราสว่ นของต้นทุนผนั แปรรวมกบั จำนวนผลผลติ ดงั สมการตอ่ ไปนี้

AVC = TVC
Q

3.3 ตน้ ทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal Cost: MC) คอื ตน้ ทุนรวมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปเม่ือเปลีย่ นแปลงปรมิ าณการ
ผลิต 1 หน่วย สามารถหาต้นทุนหน่วยสุดท้ายได้จากอัตราส่วนของส่วนเปลี่ยนแปลงของต้นทุนรวมกับส่วน
เปลย่ี นแปลงของจำนวนผลผลติ ดังสมการตอ่ ไปน้ี

MC = ΔTC
ΔQ

ต้นทุนการผลิตแต่ละชนิดท่กี ล่าวถงึ ข้างต้น สามารถแสดงความสมั พนั ธ์ได้ดังตารางต่อไปนี้ และจากตวั เลขเหล่าน้ี
สามารถนำามาเขยี นเป็นเสน้ ต้นทนุ ประเภทต่าง ๆ ได้

ตาราง จำนวนผลผลิตและตน้ ทนุ ประเภทตา่ งๆ

เสน้ ตน้ ทนุ คงท่รี วม เส้นตน้ ทนุ ผันแปรรวม และเส้นตน้ ทนุ รวม

ในตาราง แสดงตน้ ทุนชนิดต่าง ๆ ในแต่ละระดบั ผลผลิตของการผลิตสินคา้ ชนิดหน่ึง ซ่งึ เรมิ่ จากผลผลิต 0 หน่วย
เป็นต้นไป และแสดงถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนแต่ละชนิด เมื่อมีการเพิ่มการผลิตเพิ่มขึ้นทีละหน่ึง
หน่วย จากรูปข้างตน้ แสดงลกั ษณะของเส้นตน้ ทนุ ชนิดตา่ ง ๆ และจำนวนผลผลิตเป็นแกนนอน อธบิ ายไดด้ งั นี้
1. ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost: TFC) มีค่าเท่าเดิมหรือไม่เปลี่ยนแปลงตามจำนวนผลผลิตที่เพิ่มข้ึน
แสดงในตารางข้างต้นของช่องที่ 2 จะพบว่าต้นทุนคงที่รวมมีค่าเท่ากับ 50 เท่ากันตลอดทุกระดับผลผลิต เม่ือ
พิจารณาจากรูป เส้นต้นทุนคงที่รวมมีลักษณะเป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน แสดงว่าต้นทุนนี้ไม่เปลี่ยนแปลง
แม้ว่าผูผ้ ลติ จะไม่ผลติ ผลิตน้อย หรือผลติ มากก็ตาม
2. ต้นทุนผันแปรรวม (Total Variable Cost: TVC) เป็นเส้นที่มีลักษณะความโค้งแบบ Cubic Curve
กล่าวคือ ในระยะแรกเป็นเส้นที่เว้าออกจากแกนนอนและช่วงหลังเว้าเข้าหาแกนนอน ลักษณะของเส้นเป็นไป
ตามกฎของการผลิตในระยะสั้น คือ กฎว่าด้วยการผลิตที่มสี ัดส่วนไม่คงที่ ดงั แสดงในรปู และตารางช่องที่ 3 TVC
มคี า่ เทา่ กับศูนย์ เม่อื ยงั ไมม่ ีการผลิต ต่อมาในระยะแรก ๆ ผลผลิตรวมเพิม่ ขึ้นในอัตราทเ่ี พ่ิมข้ึน ดังน้ัน ต้นทุนผัน
แปรรวมเพ่ิมขน้ึ ในอัตราทีล่ ดลง เมื่อทำการผลิตเพ่ิมขน้ึ ในชว่ งต่อมาผลผลิตรวมเพ่ิมข้ึนในอัตราท่ีลดลง จึงทำให้
ต้นทุนผันแปรรวมเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น ปรากฏการณ์นี้เกิดจากกฎการลดน้อยถอยลงของผลได้ และเส้น
TVC ต้องเป็นเส้นที่ออกจากจุดกำเนิด (Origin) เสมอ เพราะถ้าผู้ผลิตไม่ทำการผลิตเลย TVC จะมีค่าเป็นศูนย์
ค่าใช้จ่าย TVC เชน่ ค่าวตั ถุดบิ คา่ แรงงาน ค่านา้ํ ค่าไฟ เปน็ ต้น
3. ต้นทนุ รวม (Total Cost: TC) มีค่าเท่ากับตน้ ทุนคงท่รี วมเมอ่ื ยงั ไม่ได้มีการผลติ แตอ่ ย่างใดจากตารางข้างต้น
ในช่องท่ี 4 ผลผลิตเท่ากับศูนย์ ต้นทุนรวมเท่ากบั 50 มีค่าเท่ากับต้นทุนคงที่รวมต่อมาต้นทนุ รวมจะมีค่าเพิ่มขน้ึ
ตามจำนวนผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ต้นทุนรวมมีลักษณะคล้ายกับเส้นต้นทุนผันแปรรวม จะเห็นได้ว่า ต้นทุนรวมมีค่า
มากกวา่ ต้นทุนผนั แปรรวม (TC > TVC) เท่ากบั 50 เสน้ ต้นทุนรวมเปน็ เส้นทลี่ ากออกจากแกนต้งั ณ จุดเดียวกับ
เส้นต้นทุนคงที่รวม แสดงว่าแม้ว่าผู้ผลิตยังไม่ได้เริ่มผลิตแต่ก็มีต้นทุนเกิดขึ้นแล้ว เช่น ค่าที่ดิน ค่าโรงงาน ค่า
เครื่องจักร เป็นต้น ต้นทุนรวมจึงมีค่าเท่ากับต้นทุนคงที่รวมต่อมาเส้นต้นทุนรวมจะเอียงขึ้นไปทางขวาและมี
ลักษณะคล้ายกับเส้นต้นทุนผันแปรรวม จะแตกต่างกันก็ตรงตำแหน่งของเส้นต้นทุนรวมอยู่สูงกว่าตำแหน่งของ
เส้นต้นทนุ ผันแปรรวม เมือ่ วัดระยะหา่ งของเสน้ ตน้ ทนุ ทั้งสองตามแกนตั้งจะมีคา่ เท่ากับต้นทุนคงท่รี วมพอดี

เสน้ ตน้ ทุนหนว่ ยสดุ ท้าย เสน้ ตน้ ทนุ คงทเ่ี ฉล่ีย เสน้ ตน้ ทนุ ผันแปรเฉลย่ี และเสน้ ต้นทนุ เฉลีย่

1. ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (AFC) มีค่าลดลงอย่างรวดเร็วในระยะแรกและจะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อมีการผลิตเพิ่มข้ึน
เนื่องจากต้นทุนคงที่รวมมีค่าเท่าเดิมแตผ่ ลผลิตมีจำนวนเพิ่มขึ้น จึงทำให้ต้นทุนคงที่เฉลีย่ ลดลงเรื่อย ๆ ดังแสดง
ในตารางข้างต้นของช่องที่ 5 เมื่อพิจารณารูปเส้นต้นทุนคงที่เฉลี่ยมีค่าความชันเป็นลบและมีลักษณะโค้งเว้าเขา้
หาจุดกำเนิด แสดงว่า เมื่อจำนวนผลผลิตเพิ่มขึ้นจะทำให้ต้นทุนคงทีเ่ ฉลี่ยลดลงแต่ต้นทุนคงที่เฉลี่ยจะมีคา่ ลดลง
เรือ่ ย ๆ แตจ่ ะไมเ่ ทา่ กบั ศูนย์
2. ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (AVC) มีค่าลดลงในระยะแรก เมื่อถึงผลผลิตระดับหนึ่งต้นทุนผันแปรเฉลี่ยจะมีค่า
เพิม่ ข้ึน ดงั แสดงในตารางข้างต้นของช่องที่ 6 สำหรบั เสน้ ตน้ ทุนผันแปรเฉลี่ยมีลักษณะคล้ายรูปตัวยู แสดงว่า ใน
ระยะแรกของการเพิ่มการผลิต ค่าเฉลี่ยของต้นทุนผันแปรมีค่าลดลง ต่อมาเมื่อผลิตเพิ่มขึ้น ค่าเฉลี่ยของต้นทุน
ผนั แปรกลับมคี ่าสูงขึน้ เสน้ ต้นทนุ ผันแปรเฉลยี่ จงึ มีค่าความชนั เป็นบวก
3. ต้นทุนเฉลี่ย (AC) ในระยะแรกมีค่าลดลง ต่อมาเมื่อผลผลิตจนถึงระดับหนึ่งต้นทุนเฉลี่ยจะมีค่าเพิ่มขึ้น มี
ลักษณะคล้ายกบั ต้นทนุ ผันแปรเฉลยี่ (AVC) แต่ตน้ ทนุ เฉลย่ี มีค่ามากกว่าตน้ ทนุ ผันแปรเฉล่ยี ดงั ต้นทุนเฉล่ียในช่อง
ที่ 7 จะพบว่า ต้นทุนเฉลี่ยมีค่ามากกว่าต้นทุนผันแปรเฉลี่ย โดยมีค่าเท่ากับต้นทุนคงที่เฉลี่ยพอดี ส่วนลั กษณะ
เส้นต้นทุนเฉลีย่ จะคล้ายกับตัวยู แสดงว่า ค่าเฉลี่ยของตน้ ทุนรวมในระยะแรกของการผลิตมีค่าลดลงและจะมีคา่
สงู ขึ้นเม่ือเพ่ิมการผลติ มากขน้ึ
4. ต้นทุนหน่วยสุดท้าย (MC) มีค่าลดลงในระยะแรก ๆ และมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อผลิตเพิ่มขึ้นดังต้นทุน
หนว่ ยสดุ ท้ายในชอ่ งท่ี 8 เส้นต้นทุนหนว่ ยสดุ ทา้ ย จะมลี ักษณะเอียงลงหรือมีความชันเป็นลบในช่วงแรก ๆ ต่อมา
เมื่อผลิตเพิ่มขึ้นระดับหนึ่ง เส้นต้นทุนหน่วยสุดท้ายจะตํ่าสุดหรือความชันมีค่าเท่ากับศูนย์ในตอนเริ่มแรก ต่อมา
จะมีค่าความชันเป็นบวก ในช่วงท่ีเส้นต้นทุนหน่วยสุดท้ายเอยี งข้ึนต้องตัดทีจ่ ุดต่ําสุดของเส้นต้นทุนผันแปรเฉลี่ย
และจุดต่าํ สุดของเส้นตน้ ทนุ เฉลย่ี ตามลำดับ
3.4 ความสัมพนั ธ์ระหว่างเส้นต้นทุนเฉลย่ี และเสน้ ตน้ ทุนหนว่ ยสุดท้าย
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเสน้ ตน้ ทนุ เฉลี่ยและเสน้ ต้นทุนหน่วยสดุ ท้าย สรุปได้ดงั นี้
1. ตราบใดที่ MC มีค่านอ้ ยกว่า AVC ค่า AVC จะลดลง เมื่อการผลติ เพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ เส้น MC ช่วงนี้จะอยู่ต่ํากว่า
เสน้ AVC
2. ตราบใดที่ MC มีค่ามากกว่า AVC ค่า AVC จะเพมิ่ ขนึ้ เมอื่ ผลติ จำนวนเพ่ิมขึ้น เส้น MC ชว่ งนี้จะอยู่เหนือเส้น
AVC จากเหตุผล 2 ประการข้างต้น MC จะเท่ากับ AVC เมื่อ AVC มีค่าตํ่าสุด เส้น MC จึงตัดจุดตํ่าสุดของเส้น
AVC และความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง MC และ AC ก็เชน่ เดยี วกัน

4. ครูใชส้ ่ือ Power Point ประกอบเทคนิคการบรรยาย ความหมายของตน้ ทุนการผลติ แตล่ ะชนดิ ในระยะยาว
เนอื่ งจากการผลิตในระยะยาว ผ้ผู ลติ สามารถเปลีย่ นแปลงปัจจัยการผลติ ไดท้ ุกชนิด หรอื มเี ฉพาะปัจจยั ผันแปร
เท่านั้น ดังนน้ั ตน้ ทุนการผลิตในระยะยาวจงึ ประกอบดว้ ยต้นทุนผันแปรเท่านัน้ สำหรบั การผลิตในระยะยาว เมือ่
ผูผ้ ลิตต้องการเปลย่ี นแปลงจำนวนผลผลติ ทผี่ ลิต ผู้ผลิตจะเปล่ยี นแปลงปจั จัยการผลติ ทุกชนดิ รวมทัง้ ขนาดของ
โรงงานให้เหมาะสมกับจำนวนผลผลติ ที่ตอ้ งการผลติ ซงึ่ ทำให้เสียตน้ ทุนเฉลี่ยตํ่าสุด ซง่ึ จะแตกตา่ งจากการผลิตใน
ระยะสน้ั ท่ผี ้ผู ลิตต้องใชโ้ รงงานขนาดเดมิ ท่มี อี ยู่และไม่สามารถปรบั เปลีย่ นขนาดของโรงงานตามจำนวนผลผลิตท่ี
ผลติ ได้
4.1 ต้นทุนการผลติ ในระยะยาว
ในระยะส้ันเพ่ือทจี่ ะไดร้ บั กำไรสูงสดุ ผผู้ ลิตอาจต้องผลติ ณ จุดท่ีต้นทุนเฉล่ียไม่ใชจ่ ุดต่ําสุด แต่ในระยะยาวผู้ผลิต
สามารถปรับปรุงขนาดของโรงงานให้เหมาะสมกับการผลิตได้ ดังนั้น ผู้ผลิตจึงสามารถเลือกขนาดของโรงงานที่
เสียตน้ ทนุ การผลติ ตา่ํ สุดได้ พจิ ารณาจากรูปต่อไปน้ี

เส้นตน้ ทุนเฉล่ยี ระยะยาว

จากรูป สมมติว่าในการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีขนาดของโรงงานให้เลือกทั้งหมด 3 ขนาด แต่โรงงานมีเส้นต้นทุน
เฉลีย่ ระยะสั้น (Short-run Average Cost: SAC) คอื เสน้ SAC1, SAC2 และ SAC3 ตามลำดับในระยะยาวผู้ผลิต
สามารถเลือกขนาดของโรงงานได้ทุกขนาด โดยจะเลือกขนาดโรงงานที่เหมาะสมกับจำนวนผลผลิตที่เสียต้นทุน
เฉลี่ยตํ่าสุดเสมอ เช่น ถ้าต้องการผลิตสินค้าจำนวน 0Q1 หน่วย ควรเลือกโรงงานที่มีขนาดของต้นทุน คือ SAC1
เพราะจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายเฉล่ยี ตาํ่ กว่าการใชโ้ รงงานขนาดอื่น ๆ หรอื ถ้าตอ้ งการผลิตสนิ ค้าจำนวน 0Q3 หน่วย
ก็ใช้โรงงานที่มีต้นทุน SAC2 แต่ถ้าต้องการผลิตสินค้าจำนวน 0Q2 จะใช้โรงงานขนาด SAC1 หรือ SAC2 ก็ได้ ซึ่ง
จะเสยี ค่าใชจ้ ่ายไม่ตา่ งกนั แต่อย่างใด จากทกี่ ล่าวมาสรปุ ได้ว่าเสน้ ต้นทนุ เฉลยี่ ระยะยาว (LAC) คอื ส่วนที่เป็นเส้น
หลักของ SAC ถือว่า LAC คือ เส้นวางแผนของเส้นSAC และเป็นเส้นที่สัมผัสกับเส้น SAC ทั้งหลาย เสียต้นทุน
เท่ากับ aQ1 และ bQ1 ตามลำดับดังนั้น จะเห็นได้ว่าในบรรดาโรงงานขนาดต่าง ๆ นั้น จะมีอยู่ขนาดหนึ่งที่เป็น
ขนาดที่ดีที่สุดหรือเป็นการผลิตที่มีประสิทธิภาพที่สุด คือ เส้นต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วยตํ่าสุด เมื่อเปรียบเทียบกับ
โรงงานในขนาดตา่ ง ๆ โรงงานขนาดทกี่ ลา่ วน้ีจดุ ต่าํ สุดของเสน้ SAC สมั ผสั กบั จุดต่าํ สุดของเส้น LAC คือ โรงงาน
ท่มี ีตน้ ทนุ SAC2 และผลผลติ ทีเ่ หมาะสม คือ 0Q4


Click to View FlipBook Version