The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อรอุมา พงษ์ธนู, 2022-11-12 04:54:26

หลักเศรษฐศาสตร์30200-1001

แผนหลักเศรษฐศาสตร์

จดุ การผลิตท่มี ีประสิทธภิ าพสงู สดุ ในระยะยาว

จากรูป ในระยะยาวหากจำนวนผลผลิตคอื 0Q1 โรงงานท่เี หมาะสมที่สุด คอื โรงงานทีม่ เี ส้นตน้ ทนุ การผลติ SAC1
= LAC SMC1 = LMC อย่างไรก็ตาม ผลผลิตที่ถือว่ามีประสิทธิภาพสูงสุดในระยะยาว คือ 0Q2 โดยท่ี
SAC2 = LAC = SMC2 = LMC
5. ครูใช้สอื่ Power Point ประกอบเทคนิคการบรรยาย ความหมายและรายรบั จากการผลิตแต่ละชนิด
รายรบั จากการผลติ คือ รายไดท้ ีผ่ ผู้ ลติ ได้รับจากการขายผลผลติ ของตนตามราคาตลาด รายรบั จากการผลิตแบง่
ออกเปน็ 3 ชนิด คือ รายรับรวม (Total Revenue: TR) รายรบั เฉลีย่ (Average Revenue: AR)และรายรับหนว่ ย
สุดท้าย (Marginal Revenue: MR)
5.1 รายรับรวม (Total Revenue: TR) คือ รายได้ทผี่ ู้ผลิตไดร้ บั ทง้ั หมดจากการขายผลผลิตสามารถหาไดจ้ าก
ผลคูณของราคาและจำนวนผลผลติ ทีข่ ายได้ ดังสมการต่อไปนี้

TR = P×Q

5. 2 โดยที่ TR = รายรบั รวม
ร า ย รั บ P = ราคา
เ ฉ ลี่ ย Q = จำนวนผลผลิตท่ีขายได้

(Average Revenue: AR) คือ จำนวนรายรบั รวมท้งั หมดเฉลี่ยต่อหนว่ ยของผลผลติ ท่ีขายได้ สามารถหาได้จาก

อตั ราส่วนของรายรบั รวมกบั จำนวนผลผลติ ทีข่ ายได้ ดงั สมการตอ่ ไปน้ี

AR = TR

โดยท่ี AR = รายรับเฉลี่ย
TR = รายรับรวม
Q = จำนวนผลผลติ ท่ขี ายได้
Q

5.3 รายรับหน่วยสุดท้าย (Marginal Revenue: MR) คือ จำนวนรายรับรวมที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อจำนวน
ผลผลิตที่ขายได้เปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย สามารถหาได้จากอัตราส่วนของส่วนเปลี่ยนแปลงของรายรับรวมกับ
สว่ นเปล่ยี นแปลงของจำนวนผลผลติ ที่ขายได้ ดังสมการต่อไปนี้

MR = ΔTR
ΔQ

โดยที่ MR = รายรบั หนว่ ยสดุ ท้าย
ΔTR = ส่วนเปลย่ี นแปลงของรายรบั รวม
ΔQ = ส่วนเปลย่ี นแปลงของจำนวนผลผลติ ทขี่ ายได้

อย่างไรก็ตาม เนื่องจากรายรับรวมเท่ากับราคาคูณจำนวนผลผลิตที่ขายได้ หรือ TR = P X Q และเมื่อนำไป
แทนทใี่ นสมการของรายรับเฉล่ียจะได้ข้อสรุปดังน้ี

AR = TR = PxQ = P
QQ

ดังนั้น AR = P กล่าวคือ รายรับเฉลี่ยมีค่าเทา่ กับราคาจากความหมายของรายรับจากการผลิตดังกล่าว สามารถ
แสดงลักษณะและความสัมพันธ์ของเส้นรายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับหน่วยสุดท้ายได้ ดังตารางและรูป
ต่อไปนี้

ตาราง รายรบั รวม รายรบั เฉลย่ี และรายรบั หน่วยสดุ ท้าย
ในกรณที ร่ี าคาสนิ คา้ เปลีย่ นแปลง

เส้นอปุ สงค์ทผ่ี ผู้ ลิตเผชิญและเส้นรายรบั จากการผลิต ในกรณีทีร่ าคาสนิ คา้ เปลีย่ นแปลง

จากตารางและรูปข้างต้น เมื่อพิจารณาในมุมมองของผู้บริโภค สองช่องแรกของตารางแสดงถึงจำนวนผลผลิตที่

ผู้บริโภคซื้อกับราคาที่ซื้อ เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของอุปสงค์ที่มีต่อผลผลิตที่ผู้ผลิตขายหรือเส้นอุปสงค์ท่ี

ผผู้ ลติ เผชญิ (เสน้ d) มลี กั ษณะทอดลงจากบนลงล่าง ผู้ผลติ ทตี่ อ้ งการจะขายสินคา้ ใหไ้ ดจ้ ำนวนมากกต็ ้องยอมลด

ราคาสินค้าลง ดังนั้น ผลผลิตที่มากขึ้น ผู้ผลิตจะขายในราคาที่ถูกลง ทำให้ผู้ผลิตมีรายรับเฉลี่ย (AR) ลดลง ซ่ึง

รายรับเฉลี่ยมีค่าเท่ากับราคาพอดี (AR = P) มีผลทำให้เส้นรายรับเฉลี่ยเป็นเส้นเดียวกันกับเส้นอุปสงค์ที่ผู้ผลิต

เผชญิ พอดคี วามสัมพนั ธ์ระหว่างรายรับหน่วยสุดท้ายกับรายรับรวม (MR กับ TR) พบว่าผลผลติ ในช่วงแรกที่ขาย

ได้ ผผู้ ลิตมีรายรบั รวมเพ่ิมข้ึน แตร่ ายรับหนว่ ยสดุ ท้ายลดลง เพราะราคาถกู ลงเรอ่ื ย ๆ แต่รายรับหน่วยสุดท้ายยัง

มีค่าเป็นบวกอยู่ (MR>0) รายรับรวมจะยิ่งมีค่ามากขึ้น ถ้าผู้ผลิตขายผลผลิตเพิม่ ขึ้นจนถึงผลผลิตทีร่ ายรับหน่วย

สุดท้ายมีค่าเท่ากับศูนย์ (MR = 0) รายรับรวมจะสูงสุด แต่ถ้าผู้ผลิตยังขายเพิ่มอีกก็จะเผชิญกับ

ราคาทถ่ี ูกลงมาก จนทำให้รายรับหน่วยสดุ ท้ายติดลบ (MR < 0) รายรับรวมจะลดลง

การเปรียบเทียบเส้นรายรบั หน่วยสดุ ทา้ ยกับเส้นรายรับเฉลี่ย (MR กบั AR) พบวา่ เสน้ รายรับหนว่ ยสุดท้ายอยู่ตํ่า

กว่าเสน้ รายรับเฉลยี่ และมีความชนั เปน็ สองเท่าของเส้นรายรับเฉล่ีย

6. ครใู ช้สอื่ Power Point ประกอบเทคนิคการบรรยาย ความหมายของกำไรทางเศรษฐศาสตร์

ผ้ผู ลติ จะต้องตัดสินใจเก่ยี วกบั จำนวนผลผลิตท่จี ะผลติ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายคือ การไดร้ ับกำไรสูงสุด(Maximize

Profit) โดยผู้ผลิตจะต้องพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างรายรับรวมกับตน้ ทุนรวม ซึ่งจะต้องเลือกการผลิตที่ทำให้

รายรบั รวมสูงกว่าตน้ ทุนรวมมากท่สี ุด และโดยทั่วไป กำไร (Profit) หมายถึง ผลตา่ งระหว่างรายรับรวมกนั ตน้ ทุน

รวม เขียนเปน็ สมการไดด้ ังนี้

π = TR - TC

กำไรทาง โดยที่ π = กำไร
TP = รายรับรวม

TC = ตน้ ทนุ รวม

เศรษฐศาสตรท์ ่ีแทจ้ รงิ จะเกิดขน้ึ เมื่อรายรับรวม (TR) มากกว่าตน้ ทุนรวม (TC) กำไรทางเศรษฐศาสตร์ที่แท้จริง

นี้อาจเรียกว่า “กำไรเกินปกติ (Excess Profit)” เพราะผู้ผลิตได้รับรายรับมากกว่าผลตอบแทนที่ควรจะได้รับ

ตามปกติ หรือได้รับมากกว่าต้นทุนค่าเสียโอกาสทั้งหมดจากทรัพยากรที่ใช้ไปในการผลิต ถ้ารายรับรวมเท่ากับ

ต้นทุนรวมจะเรียกว่า “กำไรปกติ (Normal Profit)” แต่กำไรปกติไม่ถือเป็นกำไรที่แท้จริงทางเศรษฐศาสตร์

เพราะผู้ผลิตได้รายรบั เท่ากับต้นทนุ คา่ เสียโอกาสท้งั หมด

จากทรัพยากรที่ใช้ไปในการผลิต หรือกล่าวได้ว่า กำไรปกติเป็นผลตอบแทนสูงสุดที่ผู้ผลิตเสียโอกาสที่จะได้รับ

เมื่อไปผลิตสินค้าอื่น แต่ถ้ารายรับรวมน้อยกว่าต้นทุนรวม เรียกว่า “ขาดทุน (loss)” กล่าวคือ ผู้ผลิตได้ รับ

รายรบั นอ้ ยกวา่ ผลตอบแทนทีค่ วรจะไดร้ บั ตามปกติ หรอื ได้รับนอ้ ยกว่าตน้ ทุนคา่ เสยี โอกาสท้ังหมดจากทรัพยากร

ทีใ่ ช้ไปในการผลิต

เน่ืองจากกำไรคอื เปา้ หมายสำคญั ของผ้ผู ลิต ดงั นั้น ปัญหาทีน่ า่ สนใจคอื การหากำไรสงู สดุ ถ้าพจิ ารณาจากรายรับ

รวมและต้นทุนรวม ในสมการกำไรจะเห็นได้ว่ากำไรจะมีค่าสูงสุด ต่อเมื่อรายรับรวมและต้นทุนรวมมีค่าต่างกัน

มากที่สดุ พจิ ารณาจากรูป

แสดงกำไรรวมมีค่าสงู สดุ

จากรูป กำไรสูงสดุ จะอย่ทู ี่ผลผลิต 0Q ซงึ่ เป็นตำแหนง่ ท่ี TR อยู่สงู กวา่ TC มากทส่ี ดุ ยง่ิ กว่านน้ั ช่วงท่ี TR อยู่ห่าง

จาก TC ตามแนวด่งิ มากท่ีสุดนี้ยังแสดงว่า slope ของ TR และ TC มคี า่ เทา่ กนั พอดี

แตเ่ นื่องจาก slope ของ TR = ΔTR =MR

ΔQ

และ slope ของ TC = ΔT=CMC
ΔQ

ดังน้นั กำไรสงู สดุ จะอยูท่ ่ีรายรับเพ่ิมเท่ากับต้นทนุ หนว่ ยสดุ ทา้ ย (MR = MC) ส่วนระดบั อ่ืน ๆ จะให้กำไรน้อยกว่า

ทง้ั ส้นิ เหตผุ ลคอื ตราบใดทีร่ ายได้เพิ่มยังมีมากกวา่ ต้นทนุ หน่วยสุดท้ายแล้ว กำไรของผู้ผลิตยังคงสูงข้นึ ได้เร่ือย ๆ

ถ้าการผลิตยังคงเพิ่มต่อไป แต่เมื่อใดที่ต้นทุนหน่วยสุดท้ายมากกว่ารายได้เพิ่มแล้วกำไรจะลดลง ดังนั้น กำไร

สูงสุดจะมีเพียงจุดเดียว คือ ตรงท่ี MC = MR และที่ตำแหน่งนี้จะเป็นดุลยภาพของผู้ผลิตด้วย นั่นคือ ผู้ผลิตจะ

ไดร้ บั กำไรสงู สุด ณ เง่อื นไขที่ MC = MR

สรุป ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ต้นทุนค่าเสียโอกาสที่ประกอบด้วยต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง

ต้นทุนค่าเสียโอกาส คือ มูลค่าสูงสุดของผลประโยชน์จากทางเลือกอื่นที่เสียสละไป เนื่องจากตัดสินใจเลือกทาง

ใดทางหนึ่งแล้ว ต้นทุนชัดแจง้ คือ รายจ่ายทีจ่ า่ ยออกไปจริงๆและจ่ายให้แก่บุคคลเพ่ือเป็นค่าตอบแทนในการใช้

ปัจจัยการผลติ ตน้ ทุนไม่ชดั แจง้ คือ ต้นทุนจากการใช้ปัจจยั การผลิตในสว่ นท่ไี มไ่ ด้จา่ ยออกไปจริง ๆ

ต้นทุนระยะสั้นประกอบด้วยต้นทุนรวม ต้นทุนคงที่รวม ต้นทุนผันแปรรวม ต้นทุนหน่วยสุดท้าย ต้นทุนเฉลี่ย

ต้นทุนคงที่เฉลี่ย และต้นทุนผันแปรเฉลี่ย ต้นทุนระยะยาวจะพิจารณาจากต้นทุนเฉลี่ย ผู้ผลิตสามารถ

เปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ และเปลี่ยนแปลงขนาดของโรงงานให้เหมาะสมกับจำนวนผลผลิตที่เสีย

ต้นทุนการผลิตตํ่าสุดรายรับจากการผลิตแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ รายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับหน่วย

สุดท้าย กำไรทางเศรษฐศาสตร์ คือ ผลต่างระหว่างรายรับรวมกนั ต้นทุนรวม ถ้ารายรับรวมมากกว่าต้นทนุ รวม

ผู้ผลิตจะได้รับกำไรเกินปกติ ผลผลิตที่ทำให้ผู้ผลิตได้รับกำไรสูงสุดคือผลผลิตที่มีส่วนต่างระหว่างรายรบั รวมกับ

ต้นทนุ รวมมากที่สุด สว่ นตา่ งอาจเปน็ บวก (กำไร) หรอื เป็นลบ (ขาดทนุ ) ก็ได้

ขน้ั สรุปและการประยุกต์

7. ครูสรปุ บทเรยี น โดยใช้สือ่ PowerPoint และเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นได้ซกั ถามขอ้ สงสยั

8. ผเู้ รยี นทำกจิ กรรมใบงาน และแบบประเมินผลการเรยี นรู้

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี นหลกั เศรษฐศาสตร์ รหสั วชิ า 30200-1001 ของสำนกั พิมพ์เอมพนั ธ์
2. ส่อื PowerPoint
3. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
4. กจิ กรรมการเรียนการสอน
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
หลักฐาน
1. บนั ทึกการสอนของผสู้ อน
2. ใบเช็ครายชอื่
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. การตรวจประเมนิ ผลงาน
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ตรวจกิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
4. ตรวจใบงาน
เครือ่ งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติ
3. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มชี ่องปรับปรุง
2. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผา่ น และแบบฝึกปฏิบตั ิ 50%
3. แบบประเมินกิจกรรมใบงานมเี กณฑ์ผ่าน 50%
กจิ กรรมเสนอแนะ

1. แนะนำใหผ้ เู้ รียนอ่านทบทวนเนื้อหาเพม่ิ เตมิ
2. ควรศกึ ษาข้อมูลเพิ่มเติมจากส่ืออนิ เทอร์เน็ต

แบบประเมนิ ผลการเรียนร้หู น่วยการเรียนร้ทู ่ี 6

ตอนที่ 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้

1. ต้นทนุ ทางบัญชแี ละตน้ ทุนทางเศรษฐศาสตรแ์ ตกต่างกันอย่างไร

............................................................................................................................. ...........................................

2. ตน้ ทุนการผลิตในระยะสัน้ ประกอบดว้ ยต้นทุนอะไรบ้าง

................................................................................................................................................................ ......

3. แสดงให้เหน็ วา่ เสน้ รายรับเฉลีย่ ของผ้ผู ลติ ก็คือเสน้ อุปสงคข์ องสนิ คา้

............................................................................................................................. ........................................

4. ถ้าราคาสินคา้ เท่ากับ 200 บาทตอ่ หน่วย ผู้ผลิตขายสินคา้ ไดจ้ ำนวน 20 หนว่ ย จงตอบคำถามต่อไปนี้

(ก) รายรบั รวมมีคา่ เทา่ ไร

............................................................................................................................. ............................................

.(ข) รายรบั เฉล่ยี มคี ่าเทา่ ไร

.......................................................................................................................................................... ............

(ค) ในกรณที ่รี าคาสนิ ค้าลดลงเหลอื 100 บาทตอ่ หนว่ ย ผผู้ ลิตขายสนิ คา้ เพ่ิมขึ้นเปน็ 25 หนว่ ย รายรับ

หน่วยสุดทา้ ยมคี า่ เทา่ ไร

............................................................................................................................. ....................................................

5. กำไรปกติและกำไรเกินปกติ ในทางเศรษฐศาสตรห์ มายความวา่ อย่างไร

............................................................................................................................. ..........................................

6. แสดงใหเ้ หน็ ว่าผผู้ ลิตได้รบั กำไรสูงสดุ ณ เงอ่ื นไข MC = MR

.........................................................................................................................................................................

7. รายรบั จากการผลิตคอื อะไร

.........................................................................................................................................................................

8. ในระยะยาวผผู้ ลิตจะเลอื กขนาดโรงงานอย่างไร

.........................................................................................................................................................................

9. เสน้ ต้นทนุ หนว่ ยสุดท้ายคืออะไร.................................................................................................

.................................................................................................................................................................

10. อธบิ ายต้นทนุ หนว่ ยสดุ ท้าย

................................................................................................................... ...........................................

ตอนท่ี 2 จงเลอื กข้อท่ถี ูกตอ้ งท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดยี ว

1. ค่าเช่าสถานที่ที่เจา้ ของปจั จยั การผลิตควรได้รับถ้าให้ผูอ้ น่ื เช่าทำธรุ กิจ แต่เขาได้นำสถานทีม่ าประกอบ

ธรุ กิจของตนเอง ในทางเศรษฐศาสตร์ถือวา่ เปน็ ตน้ ทุนประเภทใด

ก. ต้นทนุ รวม ข. ต้นทนุ ทางบัญชี

ค. ต้นทนุ ชดั แจง้ ง. ต้นทนุ ไมช่ ดั แจ้ง จ. ต้นทุนผันแปรรวม

2. คา่ ใชจ้ า่ ยประเภทใดจัดเปน็ ต้นทุนคงที่

ก. ค่าขนสง่ ข. ค่าโฆษณา

ค. ค่าวัตถดุ ิบ ง. คา่ ปจั จยั การผลิต จ. คา่ จ้างและเงินเดือน

3. การใช้แนวคดิ ตน้ ทนุ ค่าเสียโอกาสมีประโยชนใ์ นทางเศรษฐศาสตร์อย่างไร
ก. เพื่อใช้เปน็ เคร่ืองมือในการพจิ ารณาตน้ ทุนต่ําสดุ
ข. เพอื่ ใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือในการพิจารณากำไรสงู สุดของผู้ผลิต
ค. เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการพิจารณาว่าผู้บรโิ ภคได้รบั ประโยชนส์ งู สุดหรือไม่
ง. เพือ่ ใช้เป็นเครอื่ งมอื ในการพิจารณาการใช้ปจั จัยการผลติ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพสูงสุด
จ. เพ่อื ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือในการพิจารณาทางเลือกสำหรบั การผลติ สนิ คา้ ชนดิ ใดชนิดหนึ่ง
จากรูปต่อไปน้จี งตอบคำถามขอ้ 4 – 10

4. เส้น AB หมายถงึ เสน้ อะไร

ก. ตน้ ทุนรวม ข. ต้นทนุ เฉลย่ี

ค. รายรบั รวม ง. รายรบั หน่วยสดุ ท้าย

จ. ตน้ ทุนหน่วยสุดท้าย

5. เสน้ CD หมายถงึ เสน้ อะไร

ก. ตน้ ทนุ รวม ข. ต้นทนุ เฉลยี่

ค. รายรบั รวม ง. รายรับหนว่ ยสดุ ทา้ ย จ. ต้นทนุ หน่วยสุดท้าย

6. ช่วง ab หมายถึงข้อใด

ก. ขาดทุนตา่ํ สดุ ข. กำไรปกติ

ค. กำไรสูงสดุ ง. รายรับหนว่ ยสดุ ท้ายมากทส่ี ุด

จ. ตน้ ทนุ หนว่ ยสดุ ทา้ ยตํา่ ทีส่ ดุ

7. กำไรปกติ หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. TR – TC = 0 ข. TR – TC = 1

ค. TC – TR = 1 ง. TC – TR = -1

จ. TR > TC > 1

8. กำไรเกินปกติ หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. TR > TC ข. TR = TC

ค. TR < TC ง. TR – TC = 0 จ. TC – TR = 1

9. เงอื่ นไขอะไรทีท่ ำใหผ้ ู้ผลิตได้รบั กำไรสงู สุด

ก. TR มคี า่ สูงสดุ ข. AR มีค่าสงู สดุ

ค. MR = MC ง. MR < MC

จ. MR = 0

10. ข้อความใดท่ีไม่ถูกตอ้ ง

ก. เม่ือปริมาณขายเพิม่ ขน้ึ MR มคี ่ามากกว่าศนู ย์ และ TR มีค่าเพมิ่ ข้ึน

ข. เมือ่ ปริมาณขายเพิม่ ขึ้น AR มีคา่ ลดลง และ MR มีคา่ มากกวา่ AR

ค. TR มีคา่ สูงสดุ เม่ือ MR มคี า่ เป็นศูนย์

ง. TR มีค่าเป็นศูนย์ เมื่อ MR มีค่านอ้ ยกว่าศูนย์

จ. AR ลดลง เมื่อปริมาณขายเพ่มิ ขน้ึ และ MR < AR

ตอนที่ 3 จงใช้ตารางตน้ ทนุ การผลิตของหนว่ ยผลิตแห่งหนึ่งดงั ต่อไปนี้ คำนวณคา่ ในตาราง

ตาราง จำนวนผลผลติ และต้นทนุ ประเภทต่างๆ

ปรมิ าณ ตน้ ทนุ ตน้ ทนุ ตน้ ทุน ตน้ ทนุ ตน้ ทนุ ตน้ ทุน ตน้ ทนุ
ผลผลติ คงทรี่ วม ผนั แปร รวม คงทเี่ ฉลี่ย ผนั แปร รวมเฉลี่ย หน่วย
(TFC) รวม (TC) (AFC) เฉลย่ี สุดทา้ ย
(Q) (TVC) (TFC+TVC) (AVC) (AC) (MC)
6 -
0 0 - - -
1 6 7 10.25
2 4.5 9
3 18
4 8.75 31
5
66

ใบงานที่ 1
สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด กำลังจะพิมพ์หนังสือเรียนเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นออกจำหน่าย โดยมีต้นทุนการพิมพ์
ต่าง ๆ ดังนี้
ต้นทนุ คงท่รี วม (TFC) = 100,000 บาท
- ค่าตรวจปรู๊ฟ = 10,000 บาท
- ค่าพิมพค์ งที่ = 70,000 บาท
- คา่ ใช้จ่ายจำหน่ายคงท่ี = 20,000 บาท
ตน้ ทนุ ผนั แปรเฉลี่ย (AVC)
- ค่าพิมพผ์ ันแปร = 5 บาท
- คา่ ลขิ สทิ ธิ์ = 4 บาท
- คา่ ส่วนลดรา้ นค้า = 7 บาท
- ค่าใชจ้ ่ายอืน่ ๆ = 4 บาท
รวม 20 บาท

ราคาจำหนา่ ยเล่มละ 30 บาท
จุดคุ้มทุน คือ จุดที่หน่วยผลิตมีรายรับรวมเท่ากับต้นทุนรวม หรือรายรับรวมเฉลี่ยเท่ากับต้นทุนรวมเฉลี่ยโดย
หน่วยผลติ มีเฉพาะกำไรปกตเิ ท่าน้ัน
(ก) แสดงการคำนวณหาจำนวนพมิ พ์ ณ จดุ คุ้มทุน
............................................................................................................................. ....................................................
(ข) ถา้ ต้องการกำไรเกินปกติ 40,000 บาท จะต้องพิมพ์จำนวนเท่าไร
............................................................................................................................. ....................................................

(ค) สมมติวา่ ใชเ้ ทคโนโลยกี ารพิมพ์ที่สามารถลดตน้ ทุนคงที่ลงเหลอื 50,000 บาท จำนวนพมิ พ์ ณ จุดคุ้มทนุ
จะเปน็ เทา่ ไร
............................................................................................................................. ...................................................
(ง) ถา้ TFC = 100,000 บาท, AVC = 20 บาท แต่ราคาขายเปลย่ี นเปน็ เล่มละ 40 บาท จำนวนพิมพ์
ณ จุดคุม้ ทุนจะเปน็ เท่าไร
............................................................................................................................. ....................................................

ใบงานท่ี 2

เส้นตน้ ทนุ การผลิตระยะยาวมคี วามสัมพันธเ์ ก่ียวเน่อื งกับการผลติ โดยเสยี ต้นทนุ ตํ่าสุดอย่างไร อธบิ าย
.........................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 3

(ก) นาย ก มีที่ดินอยู่แปลงหนึ่งแถบชานเมือง กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับอนุญาตให้เป็นเขตอุตสาหกรรม
นาย ก จึงมีแผนจะตั้งโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปบนที่ดินแปลงนี้ ในการดำเนินการตั้งแต่ก่อสร้างโรงงาน
จนถงึ การผลติ ให้แจกแจงตน้ ทนุ ทางเศรษฐศาสตรป์ ระเภทต่าง ๆ มาโดยละเอยี ด
................................................................................................................................... ..............................................
(ข) ในการสรา้ งโรงงานดังกลา่ วจะมผี ลกระทบภายนอกต่อชุมชนรอบ ๆ อยา่ งไรบ้าง ท้ังในดา้ นบวก
และลบ ตน้ ทุนสังคมของกรณนี ี้คืออะไรบ้าง
.................................................................................................................................................................................

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทีพ่ บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการท่ี 8 หนว่ ยท่ี 7
รหสั 30200-1001 หลกั เศรษฐศาสตร์ สอนครัง้ ที่ 8
ชือ่ หน่วย ตลาดในระบบเศรษฐกจิ
จำนวน 4 ชัว่ โมง

สาระสำคัญ
ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือระบบเศรษฐกิจแบบผสมนั้น การผลิต การจำแนกแจกจ่าย และการบริโภค
เอกชนเป็นผู้ดำเนินการตามกลไกตลาดหรือกลไกราคา เพื่อนำสินค้าและบริการไปสู่ผู้บริโภค โดยอาศัยการ
เชื่อมโยงกันระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค ตลาดในระบบเศรษฐกิจมีความสำคัญมาก เน่ืองจากสินค้าและบริการ
จะต้องผา่ นตลาดต่างจากระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมทร่ี ัฐบาลเปน็ ผู้ดำเนินการแบ่งปนั สนิ คา้ และบริการให้แก่
ประชาชนโดยไม่ผ่านตลาดตลาดแต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดผูกขาด
และตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย โดยแตล่ ะตลาดมีทัง้ ขอ้ ดีและข้อเสียตอ่ ผูบ้ ริโภคและระบบเศรษฐกิจ
จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. บอกความหมาย และประเภทของตลาดได้
2. อธบิ ายลกั ษณะของตลาดประเภทตา่ ง ๆ และการกำหนดราคาในตลาดแขง่ ขันสมบูรณ์ ตลาดผูกขาด
ตลาดก่ึงแข่งขันก่งึ ผูกขาด และตลาดผู้ขายนอ้ ยรายได้
3. อธิบายดุลยภาพตลาดในแตล่ ะตลาดได้
4. เปรยี บเทียบผลของตลาดแขง่ ขันสมบรู ณ์และตลาดผูกขาดได้
5. อธบิ ายการกำหนดราคาและปริมาณสนิ คา้ ของผผู้ ลิตในแต่ละตลาดได้
สมรรถนะประจำหนว่ ย
แสดงความรใู้ นเรอื่ งตลาดในระบบเศรษฐกิจ
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของตลาด
2. ประเภทของตลาด
3. ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์
4. ตลาดผกู ขาด
5. ตลาดก่ึงแขง่ ขนั กงึ่ ผกู ขาด
สาระการเรียนรู้
6. ตลาดผู้ขายน้อยราย
7. การเปรียบเทียบผลของตลาดแขง่ ขันสมบรู ณ์และตลาดผูกขาด
8. การเปรยี บเทยี บผลของตลาดก่ึงแข่งขันกึ่งผูกขาดและตลาดประเภทอ่นื ๆ

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น

1. ครูกล่าวว่า ในระบบเศรษฐกิจแบบผสมหรือระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนั้น การผลิตส่วนใหญ่เป็นเรื่องของ
เอกชนเป็นผู้ดำเนินการตามกลไกราคาเพื่อนำสินค้าและบริการไปสู่ผู้บริโภค โดยอาศัยการตลาดทำหน้าท่ี
เชื่อมโยงระหวา่ งผูผ้ ลิตกบั ผ้บู ริโภค ตลาดในระบบเศรษฐกิจนับว่ามีความสำคญั อย่างมาก เพราะจะช่วยให้มีการ
กระจายสินค้าและบริการจากแหล่งผลิตสู่มือผู้บริโภค ช่วยให้ผ้บู ริโภคมีสนิ ค้าและบริการมาบำบัดความต้องการ
ได้อย่างทว่ั ถงึ ดังนั้น จึงควรทำความเข้าใจเกีย่ วกบั ความหมายของตลาด ลักษณะทั่วไปของตลาดท่ีมีการแข่งขัน
สมบรู ณ์และไมส่ มบรู ณต์ ามลำดับ

2. ครูกล่าวว่า ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ตลาดในระบบเศรษฐกิจ เพื่อนำความรู้ที่ได้ไป
ประยกุ ตใ์ นการวเิ คราะหแ์ ละแยกแยะตลาดแต่ละประเภท รวมไปถงึ กลไลการตลาดของตลาดแตล่ ะประเภท

ข้นั สอน
3. ครูใชเ้ ทคนคิ การบรรยาย ความหมายของตลาด
ตลาด โดยท่ัวไปหมายถงึ สถานทที่ ีผ่ ู้ซอ้ื และผขู้ ายมาพบปะซ้อื ขายแลกเปลยี่ นสินค้าและบริการกันซึง่ มีสถานท่ีตั้ง
และอาณาเขตที่แน่นอน เช่น ตลาดสด ตลาดนัด ตลาดรถยนต์ ตลาดข้าวเปลือก ตลาดโภคภัณฑ์เป็นต้น ในทาง
เศรษฐศาสตรค์ ำว่า “ตลาด (Market)” หมายถึง ตลาดของสินคา้ ชนิดใดชนิดหนึ่งเมื่อผู้ซ้ือและผู้ขายมีการตกลง
ซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ หรือสิ่งอื่นใดเกิดขึ้นก็แสดงว่าตลาดได้เกิดขึ้นแล้ว โดยไม่จำเป็นต้องมีการ
พบกันโดยตรง ไม่จำเป็นต้องมีสถานที่หรืออาณาเขตที่แน่นอน และไม่จำเป็นต้องชำระเงินหรือส่งมอบของกั น
ทันที
4. ครใู ช้เทคนคิ การบรรยาย ประเภทของตลาด
ในการซอ้ื ขายสนิ คา้ และบรกิ ารตามท้องตลาดโดยทั่วไปนนั้ สินคา้ บางชนดิ อาจมผี ผู้ ลติ หรอื ผูข้ ายรายเดียว โดยไม่
มีคู่แข่งขัน แต่สินค้าบางชนิดอาจมีผู้ผลิตจำนวนน้อยหรือผู้ขายจำนวนมาก เช่นผู้ผลิตไฟฟ้า ประปา สลากกิน
แบ่งรัฐบาล น้ําอัดลม ปนู ซเี มนต์ เปน็ ต้น สนิ คา้ สำหรับบริโภคในชวี ิตประจำวนั จะมผี ู้แข่งขนั ในตลาดเป็นจำนวน
มาก ดงั นั้น ในทางเศรษฐศาสตร์จึงแบง่ ตลาดตามลักษณะของตลาดได้ 4 ประเภท ดงั น้ี
1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
2. ตลาดผกู ขาด
3. ตลาดกง่ึ แขง่ ขนั กง่ึ ผูกขาด
4. ตลาดผ้ขู ายน้อยราย
5. ครใู ช้สอื่ PowerPoint/เขียนกระดาน ประกอบเทคนิคการบรรยาย ตลาดแข่งขันสมบรู ณ์
การแข่งขนั ในตลาดจะมที ้ังผซู้ ื้อและผขู้ ายเปน็ จำนวนมาก และสินคา้ มลี กั ษณะที่ไม่แตกต่างกนั ทง้ั ในด้านคุณภาพ
และปริมาณ จึงเรียกว่า “การแข่งขันอย่างสมบูรณ์ (Perfect Competition)” ดังนั้นตลาดแข่งขันสมบูรณ์จึงมี
ลกั ษณะดงั น้ี
1. มีผู้ซื้อและผู้ขายเป็นจำนวนมาก กล่าวคือ มากจนไม่สามารถรวมกลุ่มกันตั้งราคาสินค้าและบริการได้ตามใจ
ชอบ ดังนั้น ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายต่างไม่มีอำนาจในการกำหนดราคาสินค้า ราคาสินค้าที่ขายในตลาดจึงถูกกำหนด
ขนึ้ โดยอปุ สงค์และอปุ ทานของตลาด ซง่ึ ราคาจะเปลยี่ นแปลงไปตามอุปสงค์และอุปทานของสนิ ค้าทีม่ ีอยู่ในตลาด
ขณะนัน้ จึงกล่าวได้ว่า ผู้ซอื้ และผูข้ ายในตลาดนีม้ ีลักษณะเปน็ “ผรู้ บั ราคา (Price Taker)”

2. ผผู้ ลติ มีอิสระในการเข้าออกจากตลาดโดยเสรี เชน่ ถา้ ตลาดมสี นิ คา้ น้อย ราคาสินค้าจะสูงและมีกำไรมาก จึง
เป็นเหตุจูงใจให้ผู้ผลิตรายใหม่เข้ามาผลิตแข่งขันมากขึ้น แต่ถ้าปริมาณสินค้านั้นมีมากทำให้ราคาถูกและมีกำไร
นอ้ ยหรอื ขาดทุน ก็จะทำใหห้ ยุดผลิตหรือออกจากตลาดไปในที่สดุ
3. ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรอบรู้ใหม่ในหน่วยธุรกิจทั้งคุณภาพและปริมาณของสินค้าและบริการรวมทั้งการ
เคลอ่ื นไหวในราคาสนิ คา้ ทเี่ ปลย่ี นแปลงไปด้วย
4. สนิ ค้าและบริการแตล่ ะรายมลี ักษณะเหมอื นกนั ทุกประการ (Homogeneous Products) สนิ ค้าของผู้ขายแต่
ละรายจะสามารถทดแทนกันไดอ้ ย่างสมบูรณ์
5. การเคลอื่ นยา้ ยสินค้าและบริการเป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ถ้าการขนสง่ สินค้าจากแหล่งผู้ผลิตไปถึง
ผู้บรโิ ภคไดร้ วดเร็วกจ็ ะทำใหร้ าคาสนิ ค้าไมแ่ ตกต่างกนั นกั
ดงั น้นั คณุ สมบตั ิของตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์ตามแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ จงึ ไม่เกิดข้นึ ในโลกแห่งความจริง แต่นัก
เศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่พยายามอธิบายให้เข้าใจว่า ถ้าตลาดในระบบเศรษฐกิจอยู่ในเงื่อนไขนี้จะทำให้มี
เสถยี รภาพทางเศรษฐกิจและมคี วามม่ันคง
5.1 อุปสงคแ์ ละอุปทานของหนว่ ยผลติ ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
เนื่องจากการแข่งขันในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ จะประกอบไปด้วยผู้ซื้อผู้ขายเป็นจำนวนมากราคาสินค้าที่ทำการ
ซื้อขายในตลาดถูกกำหนดขึ้นโดยอุปสงค์และอุปทาน ดังนั้น ราคาดุลยภาพของตลาดจะอยู่ที่จุดตัดระหว่างเสน้
อุปสงค์และเส้นอุปทาน จดุ ดงั กลา่ วผูผ้ ลติ ตอ้ งขายสนิ คา้ ในราคาตลาดจึงจะขายสินคา้ ของตนได้หมด เส้นอุปสงค์
ที่ผู้ซอ้ื มีต่อสนิ คา้ ของหนว่ ยผลติ แต่ละรายจึงเปน็ เสน้ ตรงขนานแกนนอน ดังรูป

แสดงความสมั พันธ์ของอปุ สงคแ์ ละอปุ ทานในตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์

จากรูป รูป (ก) เป็นรูปที่แสดงการกำหนดราคาและปริมาณดุลยภาพในตลาด เมื่อเส้นอุปสงค์( D1) ตัดกับเส้น
อุปทาน (S) ณ จุด E1 ราคาดุลยภาพคือ 0P1 บาท และปริมาณดุลยภาพคือ 0Q1 หน่วยรูป (ข) ผู้ขายรายหนึ่ง
จำเป็นต้องยอมรับราคา 0P1 บาท มาตั้งราคาขายสินค้าของตนและขายสินค้านั้นได้หมด ถ้าสมมติว่าปริมาณ
เสนอซื้อเพิ่มขึ้นจาก D1 เป็น D2 และเส้นอุปทาน (S) คงที่ เส้น D2 ตัดกับเส้น S ที่จุด E2 ทำให้เกิดราคาดุลย
ภาพใหม่คอื 0P2 บาท ผูข้ ายรายนตี้ ้องเปลีย่ นแปลงราคาขายใหม่เป็น 0P2 บาทดังนัน้ ถา้ ผ้ขู ายตง้ั ราคาสินค้าตาม
ราคาตลาด เขาจะขายสินค้าได้หมด แต่ถ้าเพิ่มราคาสินค้าสูงกว่าราคาตลาดจะขายสินค้าไม่ได้เลย หรือถ้าลด
ราคาสินค้าลงมากจ็ ะทำใหร้ ายรบั ลดลง ผขู้ ายจงึ ตอ้ งยอมรับราคาสินคา้ ในตลาดมาเป็นราคาสินค้าของตนเสมอ

5.2 ดุลยภาพระยะสน้ั ของผู้ผลติ ในตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์
เนื่องจากการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตได้แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะสั้น หมายถึง ระยะที่ปัจจัยการผลิตไม่
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น โรงงาน ที่ดิน เครื่องจักรต่างๆ เป็นต้น ส่วนระยะยาว หมายถึงระยะที่ปัจจัยการ
ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงได้ไม่ว่าจะเป็นโรงงาน ที่ดิน เครื่องจักรต่าง ๆ ดังนั้น ในระยะสั้นของตลาดแข่งขัน
สมบรู ณ์ ถา้ ผผู้ ลิตต้องการใหไ้ ด้กำไรสูงสุดจะต้องทำการผลติ ณ ปริมาณ MC = MR ซงึ่ ถือว่าเปน็ จุดดุลยภาพของ
ผู้ผลิต ดังรปู

จากรูป ผู้ขายจะเลือกขายท่ี MC = MR พอดี และปริมาณสินค้าเท่ากับ 0Q1 หน่วย โดยมีรายรับเฉลี่ย(AR)
เทา่ กับ 0P1 บาท รายรบั รวมเท่ากับ P1 x Q1 บาท มตี ้นทนุ เฉลยี่ (AC) หนว่ ยละ 0P2 บาท ตน้ ทุนรวมเท่ากับ P2
x Q1บาท ดังนั้น ผู้ขายรายนี้จะมีกำไรเฉลี่ยต่อหนว่ ยเท่ากับ P1 P2 บาท หรือเท่ากับช่วง AB กำไรรวมจึงเท่ากบั
P1 P2 x Q1 บาท หรือเท่ากับพ้ืนท่สี ่ีเหล่ียม P1 P2 AB หรือพนื้ ที่แรเงาทั้งหมดในการขายสนิ คา้ ระยะส้ันผู้ขายบาง
รายอาจประสบกับการขาดทุน นั่นคือ ต้นทุนเฉลี่ย (AC) สูงกว่ารายรบั เฉลี่ย (AR) ดังแสดงในรูปต่อไป ผู้ขายจะ
เผชญิ กบั ต้นทนุ เฉลี่ยท่สี งู กว่ารายรับเฉลี่ย หรอื ราคาขายที่ 0P1 บาท ผู้ขายจะประสบกับการขาดทนุ เพราะผู้ขาย
จะขายสินคา้ ไดห้ รือไม่ก็ตอ้ งเสียตน้ ทุนคงที่

แสดงดุลยภาพในระยะสั้นของผู้ขาย : กรณขี าดทุน

จากรูป เพื่อให้ได้กำไรสูงสุด (หรือขาดทุนน้อยที่สุด) ผู้ขายต้องเลือกขายท่ี MC = MR พอดีณ จุด A ปริมาณ
สินค้าเท่ากับ 0Q1 หน่วย โดยมีรายรบั เฉลี่ยเท่ากบั 0P1 บาท รายรับรวมเท่ากับ P1 x Q1 บาทโดยมีต้นทุนเฉล่ยี
(AC) เท่ากับ 0C บาท ต้นทุนรวมเท่ากับ C x Q1 บาท หรือเท่ากับพื้นที่สี่เหลี่ยม 0CBQ1 ผู้ขายรายนี้จะขาดทุน
เฉลี่ยหนว่ ยละ CP1 บาท หรือเทา่ กับช่วง AB โดยขาดทุนรวมเทา่ กับ Q1 x AB บาท

หรือเท่ากับพื้นที่สี่เหลี่ยม ABC P1 หรือพื้นที่แรเงาทั้งหมดจำนวนหนึ่ง ส่วนผู้ขายจะตัดสินใจว่าควรจะผลิต
ต่อไปหรือไม่นั้นต้องทำการเปรียบเทียบระหว่างรายรับเฉลี่ยกับต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (AVC) หากรายรับเฉลี่ยต่ํา
กว่าต้นทุนผันแปรเฉลี่ย ผู้ขายจะต้องตัดสินใจเลิกผลิตหรือเลิกกิจการทันที แต่ถ้ารายรับเฉลี่ยสูงกว่าต้นทุนผัน
แปรเฉลี่ย (AR > AVC) ผู้ขายจะตัดสินใจผลิตต่อ เพราะการผลิตต่อทำให้มีกำไรบางส่วน ซึ่งนำมาชดเชยการ
ขาดทนุ จากตน้ ทนุ คงที่ไดบ้ างสว่ น ทำใหก้ ารขาดทุนรวมน้อยกวา่ จำนวนตน้ ทนุ คงทท่ี งั้ หมด
ในระยะสั้นผู้ขายในตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะตัดสินใจผลิตสินค้า ที่ MC = MR เมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป
ปริมาณสนิ คา้ ย่อมเปลีย่ นแปลงไปด้วย ทำใหห้ าความสมั พันธ์ระหว่างราคากับปริมาณเสนอขายได้ ความสัมพันธ์
ดังกล่าวคือ อุปทานในระยะสั้นของผู้ขาย ซึ่งเราสามารถหาเส้นอุปทานของผู้ขายได้โดยกำหนดให้ราคาอยู่ท่ี
ระดับต่าง ๆ กัน ในรูปต่อไปจะเห็นได้ว่า ราคาสินค้าหน่วยละ 0P1 บาท ผู้ขายจะขายสินค้าจำนวน 0Q1 หน่วย
เพราะ MC = MR ผู้ขายจะมกี ำไรเกนิ ปกติ หากราคาสินคา้ ลดลงมาเป็น 0P2 บาท ซง่ึ เปน็ ราคาท่เี ทา่ กับ
จุดตา่ํ สุดของเส้นต้นทุนเฉล่ีย (AC) พอดี ผูข้ ายจะผลติ สินคา้ ออกมาขายจำนวน 0Q2 หน่วย ณ จุด B ผู้ขายจะไม่
มีกำไรแต่ก็ไม่ขาดทุน นั่นคือมีกำไรปกติหรือมีกำไรทางเศรษฐศาสตร์เท่ากับศูนย์ เพราะรายรับเฉลี่ยเท่ากับ
ต้นทุนเฉลี่ยพอดี แสดงว่า ณ จุด B เป็นจุดคุ้มทุน(break-even point) หากราคาลดตํ่าลงมาเป็น 0P3 บาท
ผู้ขายจะขาดทุนเพราะรายรับเฉลี่ยตํ่ากว่าต้นทุนเฉลี่ย แต่ผู้ขายยังคงผลิตต่อไป เนื่องจากรายรับเฉลี่ยยังสูงกวา่
ต้นทนุ ผนั แปรเฉลี่ยหากราคาลดลงมาเป็น 0P4 บาท ซ่งึ เป็นจุดตาํ่ สุดของต้นทนุ ผนั แปรเฉล่ีย (AVC) ผูข้ ายจะขาย
ตอ่ ไปหรือไม่ก็ได้ถ้าเลือก ณ จุด D ปริมาณสนิ ค้าเท่ากับ 0Q4 หนว่ ย แต่ถ้าราคาต่าํ กว่า 0P4 บาท หรือต่ํากว่าจุด
Dผู้ขายควรปดิ กจิ การทันที ดงั น้ัน จดุ D จงึ เป็นจดุ ปิดกจิ การ (Shutdown Point)

แสดงการหาเสน้ อปุ ทานในระยะสั้นของผขู้ าย

สรุปได้ว่า เส้นอุปทานในระยะสั้นของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คือ เส้น MC นับตั้งแต่จุดตํ่าสุดของต้นทุนผันแปร
เฉล่ีย (AVC) เป็นต้นไป
5.3 ดลุ ยภาพระยะยาวในตลาดแข่งขนั สมบูรณ์

แสดงดลุ ยภาพระยะยาวในตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์

การผลิตในระยะยาวจะไม่มีปัจจัยคงที่ ผู้ขายจึงสามารถเลือกขนาดการผลิตที่เหมาะสมได้ และที่สำคัญในระยะ
ยาวผู้ขายรายใหม่สามารถเข้ามาทำการแข่งขันในตลาดได้ หากในตลาดมีกำไรเกินปกติอยู่จะจูงใจให้ผู้ขายราย
ใหมเ่ ขา้ มาแข่งขันในตลาดมากขนึ้ เม่ือผู้ขายมีจำนวนมากขน้ึ จะทำให้อปุ ทานของสินค้าในตลาดเพิ่มข้ึน หากอุป
สงค์ของตลาดไม่เปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงน้อยกว่าอุปทาน จะทำให้ราคาดุลยภาพของตลาดลดตํ่าลง เป็น
ผลให้รายรับเฉลี่ย (AR) และรายรับหน่วยสุดท้าย (MR) ของผู้ขายแต่ละรายลดตํ่าลงด้วย กำไรจะค่อย ๆ ลดลง
จนไม่มีกำไรเกินปกติอีกต่อไป ผู้ขายรายใหม่จะไม่เข้ามาแข่งขันในตลาดอีก จุดดุลยภาพในระยะยาวจะอยู่ ณ
จุดต่าํ สดุ ของต้นทุนเฉลย่ี ในระยะยาว (LAC) และรายรับเฉลีย่ เท่ากับตน้ ทุนเฉลย่ี พอดี ในระยะยาวผู้ขายในตลาด
จะไมม่ กี ำไรเกนิ ปกตจิ ะมเี พยี งกำไรปกติเท่าน้นั
จากรูป รูป (ก) แสดงดุลยภาพของตลาด ส่วนรูป (ข) แสดงดุลยภาพของผู้ขายรายหนึ่งณ ราคา 0P1 บาท เป็น
ราคาตลาดในระยะสั้น และเส้น SAC1 และ SMC1 เป็นต้นทุนในระยะสั้นของผู้ขายผู้ขายจะเลือกโรงงานขนาด
อน่ื ไมไ่ ด้ ต้นทนุ เฉล่ยี จึงเปน็ เส้น SAC1 เท่านนั้ ณ ราคา 0P1 บาท ผู้ขายจะขายสนิ คา้ จำนวน 0Q1 หน่วย หรือจุด
A เป็นจุดที่รายรับหน่วยสุดท้ายเท่ากับต้นทุนหน่วยสุดท้ายในระยะสั้น โดยมีกำไรเท่ากับพื้นที่สี่เหลี่ยมที่แรเงา
เมอ่ื ผขู้ ายมกี ำไรเกินปกติทำใหผ้ ู้ขายรายใหม่ ๆ เข้ามาในตลาดสนิ ค้ามากขนึ้ เรื่อย ๆ จนอปุ ทานของตลาดเพิ่มขึ้น
เส้นอุปทานจะเคลื่อนจากเส้น S1 เป็นเส้น S2 ราคาดุลยภาพของตลาดลดลง ผู้ขายรายนี้ได้ปรับตัวจนเข้าสู่การ
ผลิตในระยะยาว โดยสามารถเลือกขนาดการผลิตท่ีเหมาะสมที่สุดได้ ซึ่งก็คือ โรงงานที่มีต้นทุนเฉลี่ยตํ่าสุด และ
เป็นขนาดการผลิตที่อยู่ ณ ต้นทุนหน่วยสุดท้ายในระยะยาว (LMC) เท่ากับรายรับหน่วยสุดท้ายเสมอ (LMC =
MR) ณ จุด B ในรูป (ข)เป็นจุดที่แสดงถึงดุลยภาพในระยะยาวของผู้ขาย สามารถเขียนเงื่อนไขที่ทำให้เกิดดุลย
ภาพในระยะยาวของผูข้ ายในตลาดแข่งขนั สมบูรณ์ได้ดังนี้

SAC = LAC = SMC = LMC = MR = P

อย่างไรก็ตาม การแข่งขันในตลาดแข่งขันสมบูรณ์อาจหาได้ยากในภาวะปัจจุบัน เนื่องจากหน่วยการผลิตต่างๆ
พยายามจะทำให้เกิดกำไรแก่ธุรกิจของตนให้มากที่สุด แต่การแข่งขันที่เข้าใกล้จุดสมบูรณ์มากเท่าไร จะทำให้
ราคาสนิ คา้ ลดต่ําลง ซงึ่ ทำใหป้ ระชาชนได้รับความพอใจในการดำเนินธุรกิจมากขึ้นเทา่ นั้น แตถ่ า้ หน่วยธุรกิจออก
ห่างจากการแข่งขันสมบูรณ์กจ็ ะทำใหป้ ระชาชนในสงั คมไดร้ บั ความลำบากมากขึน้
6. ครใู ช้สือ่ PowerPoint/เขียนกระดาน ประกอบเทคนคิ การบรรยาย ตลาดผูกขาด

ลักษณะของตลาดผูกขาด (Monopoly) คือ ไม่มีคู่แข่งขันในตลาดเลย เพราะมีหน่วยธุรกิจหรือผู้ขายราย
เดียวในตลาด ไม่มีสินค้าทดแทนกันได้หรือทดแทนกันได้ยาก และไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้เช่น กิจการไฟฟ้า
ประปา โทรศัพท์ ไปรษณีย์ โรงงานยาสูบ สุรา เป็นต้น อำนาจในการผูกขาดเกิดขึ้นได้หลายกรณี เช่น การเป็น
เจ้าของปัจจัยการผลิตที่สำคัญแต่เพียงผู้เดียว หรือหน่วยธุรกิจที่มีขนาดใหญ่มากจนก่อให้เกิดการประหยัด
เนื่องจากขนาดและต้นทุนการผลิตตํ่าลงการคิดประดิษฐ์สิ่งของออกมาแล้วทำการจดทะเบียนกรรมสทิ ธิ์เพื่อกนั
ไม่ให้ผู้อ่ืนเขา้ มาผลติ แข่งขัน หรอื กรณีทีร่ ัฐบาลออกกฎหมายให้ผูกขาดแต่ผเู้ ดียว
ตลาดทีม่ ผี ขู้ ายเพียงรายเดียว สนิ คา้ ทงั้ หมดในตลาดจะเปน็ ของผู้ขายรายนน้ั เพียงผ้เู ดียว ผขู้ ายจึงมีอำนาจในการ
กำหนดราคาสินค้าหรือปริมาณผลผลิตได้ตามต้องการ หรือเรียกว่า “Price Maker” อุปสงค์ที่ผู้ขายเผชิญก็คือ
อุปสงค์ของตลาดนั่นเอง โดยทั่วไปอุปสงค์ของตลาดมีลักษณะทอดลงจากซ้ายไปขวาและมีความชันเป็นลบ
ดังนนั้ เสน้ อุปสงคท์ ผ่ี ู้ขายเผชญิ จงึ เป็นเสน้ เดียวกับเสน้ อปุ สงค์ของตลาดดงั แสดงในรูป (ก)จากลกั ษณะเส้นที่ทอด
ลงน้แี สดงวา่ เมือ่ ผู้ขายลดราคาสนิ คา้ ลง ทำให้ผ้บู ริโภคซ้ือสินคา้ มากขนึ้ และถา้ ผูข้ ายขึ้นราคาสินคา้ ทำให้ผู้บริโภค
ซ้ือสินค้าลดลง

แสดงลักษณะเสน้ อุปสงค์ในตลาดผกู ขาด

จากรูป รูป (ก) เส้น D = AR เป็นเส้นอุปสงคข์ องตลาด เส้นอุปสงค์ที่ผู้ขายเผชิญจะเป็นเส้นเดียวกับเส้นอุปสงค์
ของตลาด การที่ผู้ขายต้องเผชิญกันเส้นอุปสงค์ที่มีลักษณะทอดลงจากซ้ายไปขวา แสดงว่าถ้าผู้ขายต้องการขาย
สินค้าให้ไดม้ ากขึ้น จะต้องลดราคาสินค้านั้นลงมา รูป (ข) เส้นอุปสงคท์ ีผ่ ู้ขายเผชิญเป็นเส้นเดยี วกับรายรับเฉล่ยี
(D = AR) และรายรับเฉลี่ยมีค่าเท่ากับราคา (AR = P) เมื่อผู้ขายต้องการขายสินค้ามากขึ้น จะยอมขายสินค้าใน
ราคาที่ถูกลง ทำให้รายรับเฉลี่ยของผู้ขายลดลงตามเส้นอุปสงค์ส่วนเส้นรายรับส่วนเพิ่ม (MR) จะอยู่ตํ่ากว่าเส้น
อุปสงค์ทุก ๆ ระดับสินค้า โดยมีความชันเป็นสองเท่าของเส้นอุปสงค์ เมื่อปริมาณสินค้าเพิ่มขึ้น MR จะลดลง
เรือ่ ย ๆ จนกระทั่งเท่ากับศูนย์และตดิ ลบในทส่ี ุด
ในตลาดผูกขาด แม้ว่าผู้ขายจะกำหนดราคาสินค้าได้ แต่จะไม่สามารถกำหนดให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าของตนตาม
จำนวนทีต่ อ้ งการขายได้ โดยปรมิ าณสนิ ค้าท่ีขายไดจ้ ะขน้ึ อยู่กบั ความเตม็ ใจของผบู้ ริโภค ณ ระดับราคาหน่งึ ๆ ท่ี
ผู้ขายกำหนดขึน้ มา ซึ่งพิจารณาได้จากเส้นอปุ สงค์ท่ีผู้ขายเผชิญ ในทางตรงกันข้าม ถา้ ผู้ขายกำหนดปริมาณสินค้า
ท่ตี ้องการจะขาย ผูข้ ายจะไม่สามารถขายสินค้าไดต้ ามราคาที่ต้องการขายได้เพราะราคาจะขน้ึ อยู่กับความเต็มใจ
จา่ ยของผ้บู ริโภค สรุปได้วา่ ผขู้ ายไม่สามารถกำหนดราคาและปริมาณสินค้าได้พร้อมกัน แตส่ ามารถเลือกกำหนด
อยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ระหวา่ งราคากับปรมิ าณสินค้าได้

6.1 ดุลยภาพในระยะสั้นของตลาดผูกขาด
ผู้ขายในตลาดทุกประเภทจะเลือกระดับผลผลิตที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุด หรือขาดทุนน้อยที่สุดซึ่งทำให้ผู้ผูกขาด
เข้าสู่ดุลยภาพในระยะสั้น โดยเลือกผลิตท่ี MC = MR ในตลาดผูกขาดแม้ว่าผู้ผูกขาดจะมีอำนาจในการกำหนด
ราคาหรอื ปรมิ าณสนิ คา้ แตก่ จ็ ะไม่ได้กำไรเกนิ ปกตเิ สมอไป ซงึ่ ผ้ผู ูกขาดอาจจะไดร้ ับเพียงกำไรปกติ หรือขาดทุนก็
ได้ ขึ้นอยู่กับต้นทุนการผลิตของผู้ผูกขาดและอุปสงค์ของตลาด หากผู้ผูกขาดประสบกับการขาดทุนแต่เขายังคง
ทำการการผลิตต่อไปถ้า ราคาขายหรือรายรับเฉลี่ยยังคงสูงกวา่ ต้นทุนผนั แปรเฉลี่ย(AR > AVC) แต่ถ้าราคาขาย
หรอื รายรับเฉล่ยี ต่ํากวา่ ตน้ ทุนผันแปรเฉลีย่ (AR < AVC) ผู้ผูกขาดจะหยุดผลติ หรือเลิกกจิ การทนั ที

แสดงดลุ ยภาพในระยะส้นั ของผูผ้ กู ขาด : กรณมี ีกำไร

จากรูป ระดับผลผลิตที่ทำให้ผู้ผูกขาดได้รับกำไรสูงสดุ คือ 0Q หน่วย ตรงกับจุดตัดของเส้น MR กับเส้น MC ณ
จุด E ผู้ผูกขาดกำหนดราคาขายตามเส้นอุปสงค์หรอื รายรับเฉลี่ย (D = AR) คือ ราคาหน่วยละ0P บาท ณ จุด A
แต่ต้นทุนเฉลี่ยท่ี 0Q หน่วย คือ 0C บาท ณ จุด B ดังนั้น ผู้ผูกขาดจะมีกำไรเกินปกติหน่วยละ CP บาท หรือ
กำไรรวมเท่ากบั พ้นื ท่ีสเ่ี หลยี่ ม CPAB หรือเท่ากับพืน้ ท่ีแรเงาทงั้ หมด

แสดงดุลยภาพในระยะสนั้ ของผ้ผู ูกขาด : กรณีขาดทนุ

จากรปู ในกรณนี ผี้ ้ผู ูกขาดประสบกบั การขาดทุน เพราะเสน้ ตน้ ทุนเฉล่ียอยสู่ ูงกว่าเส้นอุปสงคห์ รือรายรับเฉล่ีย ผู้
ผูกขาดเลือกผลิตท่ี MC = MR โดยผลิตสินค้าจำนวน 0Q หน่วย กำหนดราคาขายตามเส้นอุปสงค์หรือรายรับ
เฉลี่ย (D = AR) คือ ราคาหน่วยละ 0P บาท ถ้าผู้ผูกขาดเลิกกิจการจะทำให้ขาดทุนเท่ากับต้นทุนคงที่ทั้งหมด
หรือพ้นื ที่สเี่ หลี่ยม CDFB ถา้ ผู้ผูกขาดตดั สินใจดำเนินกจิ การต่อจะขาดทนุ เท่ากบั พืน้ ทีส่ ่ีเหลี่ยม PAFD ซ่งึ นอ้ ย
กวา่ การเลิกกิจการ

ในระยะสัน้ ผู้ผกู ขาดจะประสบได้ท้ังกำไรเกนิ ปกติ กำไรปกติ หรือขาดทุน ทง้ั น้ีขึ้นอยู่กบั ลกั ษณะของเส้นรายรับ
เฉลี่ย (AR) และเสน้ ตน้ ทุนเฉลีย่ (AC) ของผ้ผู กู ขาด หากผูบ้ ริโภคมีความต้องการสนิ ค้าของผ้ผู ูกขาดมากหรือเส้น
อุปสงค์ของผู้ผูกขาดอยู่สูงกว่าเสน้ ต้นทุนเฉลี่ย ผู้ผูกขาดจะได้รับกำไรเกนิ ปกติหรือกำไรทางเศรษฐศาสตร์ แต่ถ้า
สินคา้ ไม่คอ่ ยเป็นทีต่ ้องการของผู้บริโภคหรือผ้ผู ูกขาดมตี ้นทุนการผลติ สูงจนทำใหเ้ ส้นอุปสงคส์ ัมผัสกับเส้นต้นทุน
เฉลย่ี ผ้ผู ูกขาดจะได้รับเพยี งกำไรปกตเิ ท่านั้น และถ้าเสน้ อุปสงค์ของผ้ผู ูกขาดอยตู่ ํ่ากวา่ เส้นต้นทุนเฉล่ียผู้ผูกขาด
จะประสบกับการขาดทุน การที่ราคาสินค้าในตลาดผูกขาดสงู กว่าต้นทุนหนว่ ยสุดท้าย (P > MC) จะทำให้สังคม
ไม่ได้รับผลประโยชน์สูงสุดจากการใช้ทรัพยากรการผลิตและสังคมต้องสูญเสียผลประโยชน์บางส่วนไป แต่ถ้า
ราคาเท่ากับต้นทุนหน่วยสุดท้าย (P = MC)เช่น ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ สังคมจะได้รับผลประโยชน์สูงสุดจาก
การใช้ทรพั ยากรการผลิต ซง่ึ เป็นการใชท้ รัพยากรการผลติ ทม่ี ีประสิทธภิ าพมากทสี่ ดุ
6.2 ดลุ ยภาพในระยะยาวของตลาดผกู ขาด
ในระยะยาวผู้ผูกขาดสามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตและเปลี่ยนแปลงขนาดการผลิตได้ถ้า ผู้ผูกขาด
ประสบกับการขาดทุน เขาจะเลิกกิจการทันที แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ผูกขาดจะยังคงมีกำไรเกินปกติในระยะยาว
เพราะผผู้ ลิตรายใหม่ๆ ไมส่ ามารถเข้ามาทำการแข่งขันกบั ผู้ผกู ขาดรายเดิมได้

แสดงดลุ ยภาพในระยะยาวของผู้ผกู ขาด

จากรูป ผู้ผูกขาดสามารถปรบั ขนาดการผลิตให้สอดคล้องกับปริมาณสนิ ค้าในระดับต่างๆ ได้ ผู้ผูกขาดยินดีขาย
สินค้าจำนวน 0Q หน่วย ซึ่งมีต้นทุนเฉลี่ยในระยะยาว (LAC) หน่วยละ 0C บาท และขายสินค้าตามเส้น
อุปสงค์หรือรายรับเฉลี่ย (D = AR) คือ ราคาหน่วยละ 0P บาท ทำให้มีกำไรในระยะยาวเท่ากับ CP บาท หรือ
เท่ากับพื้นที่สี่เหลี่ยม CPAB ซึ่งถือเป็นกำไรเกินปกติ และผู้ผูกขาดจะยังคงมีกำไรเกินปกติในระยะยาว เพราะ
ผ้ขู ายรายอน่ื ๆ ไมส่ ามารถเข้ามาทำการแขง่ ขนั ในตลาดได้
7. ครใู ชส้ ือ่ PowerPoint/เขียนกระดาน ประกอบเทคนิคการบรรยาย ตลาดกง่ึ แข่งขนั กงึ่ ผกู ขาด
ลักษณะของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) คือ หน่วยธุรกิจในตลาดมีจำนวน
มากและแต่ละหน่วยธุรกิจจำหน่ายสินค้าเป็นสัดส่วนน้อยในตลาด โดยแต่ละหน่วยธุรกิจจำหน่ายผลผลิตหรือ
บริการมีลักษณะแตกต่างไปจากคู่แข่งขันเล็กน้อย ซึ่งเป็นการแข่งขันไม่สมบูรณ์นั่นเอง เพราะมีบางอย่างที่
คล้ายคลึงกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และยังมีบางอย่างที่คล้ายกับตลาดผูกขาดจึงเรียกว่า “ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่ง
ผูกขาด” มีลักษณะดงั นี้

1. ลักษณะที่คล้ายคลึงกับลักษณะของการแข่งขันสมบูรณ์ คือ มีผู้ขายเป็นจำนวนมาก โดยแต่ละหน่วย
ธุรกจิ จำหนา่ ยผลผลติ เปน็ สัดส่วนนอ้ ยในตลาดกึง่ แข่งขันกง่ึ ผูกขาด

2. ลักษณะที่แตกต่างไปจากคู่แข่งขันอื่น คือ เรื่องผลผลิตและบริการ ซึ่งทำให้ธุรกิจสามารถควบคุมราคาของ
ตนเองได้บา้ ง ดังนั้น เสน้ อปุ สงคข์ องแตล่ ะหนว่ ยธุรกจิ จะมีความชนั ตา่ งกัน
หน่วยธุรกิจที่มีลักษณะกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดในประเทศไทย เช่น ร้านตัดผม ร้านซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด
ร้านอาหารต่าง ๆ สถานีบริการอัดฉีดรถยนต์ เป็นต้น สินค้าอาจแตกต่างกันด้านคุณภาพ รูปร่างหลากสี การ
บรรจหุ บี หอ่ ตราย่หี อ้ ซ่ึงเป็นลักษณะของตลาดกึ่งแข่งขันกงึ่ ผูกขาดทงั้ สิน้
จะเหน็ ไดว้ ่า สินค้าในตลาดน้มี ีลักษณะแตกต่างกัน แต่สามารถใชท้ ดแทนกนั ได้ จงึ ทำใหร้ าคาสินค้าของผู้ขายแต่
ละรายมีความแตกต่างกัน และราคาสินค้าไม่ได้กำหนดจากราคาตลาด แต่จะกำหนดตามลักษณะของอุปสงค์ท่ี
ผู้ขายเผชิญอยู่ในขณะนั้น เส้นอุปสงค์จึงมีลักษณะเป็นเส้นที่ทอดลงจากซ้ายไปขวาคล้ายกับอุปสงค์ของตลาด
ผูกขาด แต่เนื่องจากสินค้าของผู้ขายมีอยู่ในตลาดเป็นจำนวนมาก และสามารถใช้ทดแทนด้วยสินค้าของผู้ขาย
รายอนื่ ไดง้ ่าย ทำใหอ้ ปุ สงค์ทผ่ี ู้ขายมีความยืดหยนุ่ ของอปุ สงค์ต่อราคามากกว่าในตลาดผูกขาด ดงั รูป โดยเส้น d
เปน็ เส้นอุปสงค์ท่ีผูข้ ายเผชิญรายหนึ่งเผชิญอยู่ในตลาด
เส้นอุปสงค์ที่ผู้ขายเผชิญมีลักษณะเป็นเส้นที่ทอดลงจากซ้ายไปขวา มีความลาดชันมาก เพราะผู้ขายแต่ละราย
ตอ้ งเผชิญกับการแข่งขันจากผูข้ ายจำนวนมากทขี่ ายสินคา้ คลา้ ยกัน

แสดงเสน้ อปุ สงคท์ ผ่ี ู้ขายแตล่ ะรายในตลาดกึ่งแขง่ ขนั กึ่งผูกขาดเผชิญ

จากรูป เสน้ อปุ สงคท์ ผ่ี ขู้ ายเผชญิ มีลักษณะทอดลงจากซ้ายไปขวา แสดงวา่ ถ้าผูข้ ายกำหนดราคาสินค้าแพงข้ึนจะ
ทำให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าน้อยลง ในทางตรงข้าม ถ้ากำหนดราคาสินค้าถูกลง จะทำให้ผู้บริโภคซื้อสินค้ามากขึ้น
นอกจากนี้ เส้นอุปสงค์ที่ผู้ขายเผชิญยังเป็นเส้นเดียวกับรายรับเฉลี่ย (d = AR) แต่รายรับส่วนเพิ่มมีค่าน้อยกว่า
รายรับเฉลี่ย ณ ทุกระดับสินค้า (MR < AR) เมื่อพิจารณาจากรูป เส้นรายรับส่วนเพิ่ม (MR) จะอยู่ในตำแหน่ง
ทีต่ า่ํ กวา่ เสน้ รายรับเฉลีย่ และมีความชันเปน็ สองเท่าของเส้นรายรับเฉลยี่ (AR)
7.1 ดุลยภาพในระยะส้ันของตลาดกง่ึ แข่งขันกง่ึ ผูกขาด
ผู้ขายแต่ละรายในตลาดจะตัดสินใจผลิตสินค้า ณ MC = MR ซึ่งผู้ขายอาจได้รับกำไรเกินปกติกำไรปกติ หรือ
ขาดทุนก็ได้ ถ้า P > AVC ผู้ขายจะยังคงขายสินค้าต่อไป เพื่อนำเงินส่วนต่างระหว่างรายรบั กับต้นทุนผันแปรไป
ชดเชยกับต้นทุนคงที่ท่มี ีอยู่

แสดงดุลยภาพในระยะสั้นของผขู้ ายในตลาดก่งึ แข่งขนั กง่ึ ผกู ขาด

จากรูป ผู้ขายยินดีเสนอขายสินค้าจำนวน 0Q หน่วย เส้นอุปสงค์อยู่สูงกว่าเส้นต้นทุนเฉลี่ย แสดงว่าผู้ขาย
สามารถขายสินค้าได้ในราคาที่สูงกว่าต้นทุนเฉลี่ย (P > AC) หรือมีรายรับเฉลี่ยสูงกว่าต้นทุนเฉลี่ย(AR > AC)
ผขู้ ายจะได้กำไรเฉลี่ยเทา่ กับ CP บาท หรือเท่ากับพน้ื ท่สี เ่ี หลี่ยม PABC ในกรณนี ผ้ี ูข้ ายจะไดร้ บั กำไรเกินปกติ
ในระยะส้ัน ผูข้ ายแต่ละรายจะพยายามสรา้ งความแตกต่างให้แกส่ นิ ค้าของตน ซ่ึงอาจทำได้ดงั นีค้ อื
1) การคิดค้นหรือพัฒนาสินค้า เพื่อให้เกิดความแตกต่างอย่างแท้จริง และ 2) การโฆษณา เพื่อให้เกิดความ
แตกต่างในด้านการรับรู้ของผ้บู รโิ ภค จากการสรา้ งความแตกต่างของสนิ ค้าจะทำให้ผู้ขายสามารถขายสินค้าได้ใน
ราคาที่สูงขึ้น และทำให้ผู้ขายได้รับกำไรเกินปกติ ถึงแม้ว่ารายรับและต้นทุนของผู้ขายจะเปลี่ยนแปลงไป แต่
ผู้ขายจะยงั คงตดั สนิ ใจผลิต ณ MC = MR เสมอ
7.2 ดุลยภาพในระยะยาวของตลาดก่ึงแขง่ ขันกึ่งผกู ขาด
ในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผกู ขาด ผู้ขายสามารถเขา้ และออกจากตลาดได้อย่างเสรี หากผู้ขายรายเดิมมกี ำไรเกินปกติ
จะจูงใจให้ผู้ขายรายใหม่ ๆ เข้ามาทำการแข่งขันในตลาดเรื่อยๆ เมื่อมีผู้ขายในตลาดมากข้ึนจะทำให้ผู้ขายแต่ละ
รายในตลาดมีส่วนแบ่งตลาดน้อยลง ซง่ึ ส่งผลให้ผูข้ ายไดร้ บั กำไรลดลง ในทางตรงกันข้ามถา้ ผู้ขายบางรายขาดทุน
และออกจากการแข่งขันในตลาด จะทำให้จำนวนผู้ขายลดลง และส่วนแบ่งตลาดจะเพิ่มขึ้น จึงสรุปได้ว่า การ
ผลิตในระยะยาวผู้ขายจะมีการปรับตัวทั้งเข้าและออกจากตลาด จนในที่สุดผู้ขายทุกรายในตลาดจะได้รับเพียง
กำไรปกติเทา่ นัน้ และเกดิ ดุลยภาพในระยะยาวในท่สี ุด ดังรูป

แสดงดลุ ยภาพในระยะยาวของผู้ผกู ขาด

จากรูป แสดงดุลยภาพในระยะยาวของผขู้ ายรายหนึ่ง ผขู้ ายจะปรับขนาดการผลิตจนเขา้ สดูุ่ลยภาพที่ปริมาณ
สนิ คา้ เท่ากับ 0Q หน่วย ซึง่ LMC = MR โดยขายสินค้าในราคาหนว่ ยละ 0P บาท ซึง่ เท่ากบั ต้นทุนเฉลี่ยในระยะ
ยาว (LAC) พอดี ทำให้ผู้ขายมเี พยี งกำไรปกติเท่าน้นั

8. ครูใชส้ ่ือ PowerPoint/เขียนกระดาน ประกอบเทคนคิ การบรรยาย ตลาดผขู้ ายน้อยราย
ตลาดผู้ขายนอ้ ยราย (Oligopoly) คือ ตลาดที่มีหน่วยธุรกิจเพียงสามสี่ราย ซึ่งแต่ละรายจะจำหน่ายสินคา้ เปน็
สัดส่วนมากในตลาด สินค้าท่ีขายมลี กั ษณะเหมือนกันหรือแตกต่างกันกไ็ ด้แต่สามารถใช้ทดแทนกันได้ดี ตัวอย่าง
ขอตลาดผขู้ ายน้อยราย เช่น บรษิ ทั ปูนซเี มนต์ บริษทั ผลติ รถยนต์บริษัทผลิตยางรถยนต์ เหล็กกล้า เหมืองแร่ นํ้า
อัดลม เป็นต้น แต่กรณีที่ผู้ผลิตรายนี้อาจจะไม่ใช่สามหรือสี่รายเพราะคำว่าน้อยรายนี้ไม่ได้จำกัดว่าจะมีกี่ราย
แต่ผู้ผลิตน้อยรายนีจ้ ะมีอิทธิพลเหนือราคาตลาดอยู่บ้างผูข้ ายในตลาดผู้ชายน้อยราย มีพฤติกรรมหลายลักษณะ
ได้แก่ การรวมกลุ่มอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการแข่งขันทางด้านราคาและไม่ใช้ราคา ดังน้ัน
การศึกษาพฤติกรรมของผู้ขายในตลาดนี้ต้องใช้แบบจำลองการรวมกลุ่มแบบคาร์เทล ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มของ
ผู้ขายที่อยู่ในตลาดและเป็นทางการโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อกำจัดความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นในตลาด เพื่อลดการ
แขง่ ขนั หรือการกดี กนั การเข้ามาของผู้ขายรายใหม่ และเพือ่ แสวงหากำไรเพ่มิ มากขึน้ จากการกำหนดราคา
การรวมกลุ่มแบบทางการ คือ การที่ผู้ขายที่มีอยู่น้อยรายมารวมตัวกันเพื่อกำจัดความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นใน
ตลาดและเพื่อแสวงหากำไรเพ่ิมมากข้ึนจากการกำหนดราคาสินคา้ ซึง่ แบบจำลองการรวมกลุม่ แบบคารเ์ ทล แบ่ง
ออกเปน็ 2 แบบ คือ คารเ์ ทลรวมอำนาจไว้ทอี่ งค์กรส่วนกลาง และคารเ์ ทลแบง่ ส่วนแบ่งตลาด
1. คาร์เทลรวมอำนาจไว้ที่องค์กรส่วนกลาง เป็นการรวมกลุ่มอย่างเป็นทางการ องค์กรส่วนกลางมีอำนาจใน
การตัดสินนโยบายทางด้านการกำหนดราคา ปริมาณสนิ คา้ รวมของกลุ่ม และการจดั สรรโควตาให้กับผู้ขายท่ีเป็น
สมาชิก ในที่นี้สมมติว่ามีผู้ขายในตลาดเพียงสองราย คือ ผู้ขาย A และผู้ขาย B โดยมีต้นทุนการผลิตแสดงในรปู
(ก) และ (ข) ส่วนรูป (ค) แสดงถึง (1) เส้นอุปสงค์ที่กลุ่มเผชิญ (D)เป็นเส้นเดียวกับเส้นอุปสงค์ของตลาดเพราะ
ผู้ขายทุกรายในตลาดรวมเป็นกลุ่มเดียวกัน (2) เส้นรายรับหน่วยสุดท้าย (MR) ของกลุ่ม และ (3) เส้นต้นทุน
หน่วยสุดท้าย (MC) ได้มาจากต้นทุนหน่วยสุดท้าย (MC) ของผู้ขาย A และผู้ขาย B รวมกัน หรือ MC = MCA +
MCB

แสดงการกำหนดราคาโดยองค์กรส่วนกลางจากการรวมกล่มุ แบบคาร์เทล

องค์กรส่วนกลางจะตัดสินใจเลือกระดับผลผลิตที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุด โดยเลือกที่ MC = MR จากรูป (ค)
องค์กรส่วนกลางเลือกผลิตเท่ากับ 0Q* หน่วย และกำหนดราคาของกลุ่มเท่ากับ 0P* บาทจากนั้นองค์กร
ส่วนกลางจะจัดสรรโควตาให้แกส่ มาชิก โดยจัดสรรโควตาให้ผู้ขาย A และผู้ขาย B คือ 0QA และ 0QB หน่วย ซ่ึง
เป็นปริมาณสนิ ค้าทที่ ำให้ตน้ ทุนหน่วยสดุ ท้ายของผู้ขาย A ต้นทนุ หนว่ ยสุดท้ายของผู้ขาย B ต้นทุนหน่วยสุดท้าย
ของกลุม่ และรายรบั หน่วยสดุ ท้ายของกลุม่ มีค่าเทา่ กันทงั้ หมดเทา่ กับ C* (MCA= MCB = MC = MR = C*)
2. คาร์เทลแบ่งส่วนแบ่งตลาด เป็นการรวมกลุ่มของผู้ขายและมีการตกลงที่จะแบ่งส่วนแบ่งตลาดระหว่างกัน
ภายใต้เงื่อนไขบางอย่างที่ตกลงกัน โดยผู้ขายแต่ละรายยังคงมีอิสระในการดำเนินนโยบายที่ต้องการ การแบ่ง
สว่ นแบ่งตลาดทำได้ 2 ทาง คือ การกำหนดโควตา และการตกลงขายในราคาเดยี วกันแต่จะแขง่ ขนั โดยไม่ใช้ราคา

การรวมกลุ่มแบบไม่เป็นทางการ แม้ตลาดจะมีผู้ขายจำนวนน้อยราย แต่ผู้ขายทุกรายไม่มีโอกาสรู้ถึงนโยบาย
การค้าของผู้อื่นเพราะเป็นความลับ ทำให้ผู้ขายต้องติดตามการเคลื่อนไหวของคู่แข่งขันตลอดเวลา เพื่อที่จะ
ปรับตัวให้ทันกับคู่แข่งขันได้ ดังนั้น จึงมีการรวมกลุ่มของผู้ขาย โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะลดการแข่งขันและลด
ความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นในตลาด แต่เนื่องจากมีกฎหมายห้ามการรวมตัวกัน จึงมีการรวมกลุ่มแบบไม่เป็น
ทางการขึ้น โดยมีข้อตกลงตา่ ง ๆ ที่รู้กันระหว่างผู้ทีเ่ ขา้ มารวมกลุ่ม เช่น การขายสินค้าในราคาเดียวกัน การแบ่ง
เขตการขาย เป็นต้น แต่การรวมกลุ่มแบบไม่เป็นทางการน้ีจะมีผูข้ ายรายใหญแ่ ละผู้ขายที่มตี ้นทนุ การผลิตตํ่ามา
เปน็ ผู้นำในการกำหนดราคา
การแข่งขันทางด้านราคา ผู้ขายในตลาดผู้ขายน้อยรายจะทำการลดราคาหรือตัดราคาขายเพื่อแย่งลูกค้าหรือ
แยง่ ส่วนแบ่งตลาด ราคาสนิ ค้าจึงไมค่ งที่
การแข่งขันที่ไม่ใช้ราคา โดยทั่วไปผู้ขายจำนวนน้อยจะไม่ขายสินค้าตัดราคากัน เนื่องจากการตัดราคาโดยไม่
ระมัดระวัง อาจจะทำให้ผู้ขายรายอื่นโต้ตอบ จนทำให้เกิดสงครามราคาได้ หรือผู้ขายบางรายต้องขาดทุนและ
ล้มเลิกกิจการไปในที่สุด ดังนั้น การแข่งขันระหว่างผู้ขายจึงเป็นการแข่งขันที่ไม่ใช้ราคา เช่น การปรับปรุง
คุณภาพสนิ ค้า การปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ การโฆษณา การลดแลกแจกแถม เปน็ ต้น
8.1 ดลุ ยภาพในระยะสนั้ และระยะยาวของตลาดผู้ขายน้อยราย
เน่ืองจากเสน้ อุปสงค์ของผขู้ ายจะคล้ายกับเส้นอุปสงคใ์ นตลาดผกู ขาดและตลาดกึ่งแขง่ ขันกึ่งผูกขาดการพิจารณา
ดุลยภาพในระยะสั้นของตลาดนี้จึงไม่แตกต่างไปจากผู้ขายในตลาดทั้งสองที่กล่าวมาแล้ว นั่นคือ ผู้ขายอาจจะมี
กำไรหรือขาดทุนก็ได้แต่ถ้าขาดทุนราคาที่ขายจะต้องมากกว่าต้นทุนผันแปรเฉลี่ย เขาจะยังคงทำการผลิตต่อไป
ดงั นั้น การอธิบายดุลยภาพของตลาดน้จี ึงขออธบิ ายเฉพาะดลุ ยภาพในระยะยาวเท่านน้ั

แสดงดุลยภาพในระยะยาวของผ้ขู ายในตลาด

จากรูป ดลุ ยภาพของผู้ขายจะเกดิ ข้นึ ที่ MR = LMC ปริมาณสนิ คา้ ดลุ ยภาพคอื 0Q หน่วยโดยมตี น้ ทุนเฉล่ียหนว่ ย
ละ 0C บาท และราคาสินค้าที่ตั้งไว้จะเท่ากับ 0P บาท ทำให้มีกำไรจากการขายหน่วยละ CP บาท หรือพื้นที่
สี่เหลีย่ ม PABC ซึง่ เปน็ กำไรเกนิ ปกติทผี่ ขู้ ายรายเดิมอาจมีต่อไปไดใ้ นระยะยาว
9. ครูใชเ้ ทคนิคการบรรยาย การเปรยี บเทียบผลของตลาดแขง่ ขันสมบูรณ์และตลาดผกู ขาด
จากการศึกษาลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดผูกขาด ทำใหท้ ราบว่าผลของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ที่มี
ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ มคี วามแตกต่างจากตลาดผูกขาดที่มีต่อระบบเศรษฐกจิ ดงั น้ี
1. การจัดสรรทรัพยากรในการผลิต ผู้ผลิตทั้งสองตลาดต่างต้องการกำไรสูงสุดจากการผลิตและเลือกขาย ณ
ปริมาณสินค้าที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุดเช่นกัน แต่ผู้ขายในตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะเลือกผลิตในระดับที่ทำให้ได้
กำไรสูงสุด ณ P = MC สังคมจะไดร้ บั ผลประโยชนส์ ูงสุดจากการใช้ทรัพยากรการผลิตและเป็นการจัดสรร
ทรัพยากรการผลติ ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพมากท่สี ดุ แต่ผขู้ ายในตลาดผูกขาดจะเลือกผลิตในระดบั ท่ีราคาสงู กวา่ ตน้ ทุน

หน่วยสุดท้าย (P > MC) จึงทำให้ราคาในตลาดผูกขาดสูงกว่าราคาในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และปริมาณสินค้า
ในตลาดผูกขาดมีน้อยกว่าปริมาณสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์จึงเห็นได้ว่าการดำเนินการในตลาดผูกขาดมีผล
ทำให้การจดั สรรทรัพยากรในการผลิตไม่มีประสทิ ธภิ าพ
2. ผลประโยชน์ของสังคม เป็นผลที่สืบเนื่องมาจากการจัดสรรทรัพยากรในการผลิต ผู้ผลิตจะเลือกผลิตที่
MC = MR จะพบว่าราคาสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์มีค่าเท่ากับต้นทุนหน่วยสุดท้าย (P = MC) ซึ่งก่อให้เกิด
ผลประโยชน์สูงสดุ แก่สังคม ในขณะที่ราคาสินคา้ ในตลาดผกู ขาดมีคา่ สงู กวา่ ต้นทนุ หนว่ ยสดุ ทา้ ย (P > MC) ทำให้
สังคมไม่ไดร้ บั ผลประโยชนส์ งู สดุ ในการจดั สรรทรพั ยากร และสญู เสียผลประโยชนบ์ างสว่ นไปอีกด้วย
10. ครูใช้เทคนิคการบรรยาย การเปรียบเทยี บผลของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดและตลาดประเภทอน่ื ๆ
จากการศึกษาลักษณะของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดแล้ว สามารถนำมาเปรียบเทียบกับตลาดประเภทอื่นๆ ได้
ดังนี้
ในตลาดก่ึงแข่งขันกึง่ ผูกขาดผู้ขายจะต้ังราคาสูงกวา่ รายรบั หน่วยสดุ ทา้ ยและต้นทุนหน่วยสุดท้าย (P > MR และ
MC) ซึ่งแตกต่างจากตลาดแข่งขันสมบรู ณ์แต่คล้ายกับตลาดผูกขาด ดังนั้น การจัดสรรทรัพยากรในการผลิตของ
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดจึงไม่มีประสิทธิภาพ หรือมีประสิทธิภาพน้อยกว่าตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ส่วนปริมาณ
สนิ ค้าผู้ผลิตจะขายน้อยกว่าขนาดการผลติ ท่ีมีประสิทธิภาพ จึงเปน็ การผลิตในขนาดการผลิตท่ีไม่มีประสิทธิภาพ
และมีการใชก้ ำลังการผลิตไมเ่ ตม็ ที่
10.1 การเปรียบเทียบผลของตลาดผขู้ ายนอ้ ยรายกับตลาดประเภทอ่นื ๆ
ในตลาดผู้ขายน้อยราย ผู้ผลิตหรือผู้ขายจะมีการร่วมมือกันกำหนดราคาสินค้า เพื่อรักษาผลประโยชน์ร่วมกัน
โดยไม่คำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดจากการใช้ทรัพยากรการผลิต ผู้ผลิตใช้วัตถุดิบที่ด้ อยคุณภาพเพื่อหวังกำไร
สูงสุดโดยการตั้งราคาขายให้สูง แต่ผู้ขายในตลาดนี้ส่วนใหญ่ไม่นิยมแข่งขันกันด้านราคา แต่จะใช้วิธีต่อไปนี้ใน
การกำหนดราคาตลาด
1. ถ้าผู้ขายในตลาดผู้ขายน้อยรายมีขนาดใกล้เคียงกัน การกำหนดราคามักนิยมใช้วิธีการรวมหัวกันตกลงราคา
หรือการรวมหัวกันผูกขาด ทั้งโดยเปิดเผยและไม่เปิดเผย นอกจากนี้ยังต้องตกลงเรื่องการจำกัดปริมาณผลิต
เพ่อื ให้ราคาอยู่ในระดบั สูงได้
2. ถ้าผูข้ ายบางรายในตลาดมีขนาดใหญ่กว่า หรือมสี ่วนแบ่งตลาดมากกวา่ รายอื่น การกำหนดราคาตลาดมักเป็น
การตั้งราคาตามผู้นำ โดยที่ผู้ขายรายย่อยจะถือเอาราคาที่ผู้ผลิตรายใหญ่กำหนดมาเป็นราคาขายของตน ซ่ึง
ผู้ผลิตรายใหญ่นั้นถือเป็นผู้นำด้านราคา (price leader) กล่าวคือ ถ้ารายใหญ่ตั้งราคาอย่างไร รายย่อยก็จะต้อง
ต้ังราคาตามนน้ั
สรปุ ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ คอื การท่ผี ซู้ ือ้ และผู้ขายทำการตกลงแลกเปล่ียนซ้อื ขายสนิ ค้าและบริการโดยไม่
จำเป็นตอ้ งมีการพบกันโดยตรง ไม่จำเปน็ ตอ้ งมีสถานที่ที่แน่นอนและไม่จำเป็นต้องชำระเงนิ หรือส่งมอบสินค้าแก่
กันทันที
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์เป็นตลาดที่มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก สินค้าในตลาดมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ
เส้นอุปสงค์ที่ผู้ขายเผชิญจะมีลักษณะขนานกับแกนนอน ณ ราคาตลาดดุลยภาพของผู้ขาย หมายถึง สภาวะท่ี
ผู้ขายตดั สนิ ใจเลอื กระดับปริมาณสนิ ค้าที่ขายแล้วได้รับกำไรสูงสุดหรือขาดทุนน้อยที่สุด โดยผขู้ ายไม่มีแนวโน้มท่ี
จะเปลี่ยนแปลงนโยบายการขาย ผู้ขายในระยะสั้นอาจได้รับกำไรเกินปกติ กำไรปกติ หรือขาดทุนก็ได้ แต่ใน
ระยะยาวผู้ขายจะได้รับเพียงกำไรปกติเท่านน้ั

ตลาดผูกขาดเป็นตลาดที่มีผู้ขายเพียงรายเดียวและสินค้าไม่เหมือนกบั ผูข้ ายรายอืน่ เส้นอปุ สงค์ที่ผู้ผูกขาดเผชิญ
เปน็ เส้นเดยี วกบั เสน้ อุปสงค์ของตลาดซ่ึงมลี ักษณะเป็นเส้นทอดลงจากซ้ายลงมาขวาและมีความชนั เปน็ ลบ ท้ังใน
ระยะสั้นและระยะยาว ผ้ผู กู ขาดอาจไดร้ บั ท้ังกำไรเกนิ ปกติ กำไรปกติ หรอื ขาดทุน ในบางกจิ การรฐั บาลจะเข้าไป
ควบคุมการดำเนินงานของผู้ผกู ขาดโดยรัฐบาลจะกำหนดให้ผูผ้ กู ขาดต้ังราคาเท่ากบั ต้นทนุ เฉล่ีย (ราคายุติธรรม)
หรอื ต้งั ราคาเท่ากับต้นทนุ หน่วยสดุ ทา้ ย (ราคาอดุ มคต)ิ
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผกู ขาดเป็นตลาดที่มีผู้ขายเปน็ จำนวนมาก จึงทำให้ผูข้ ายแต่ละรายมอี ิทธิพลตอ่ ราคาสนิ คา้ ใน
ตลาดน้อยมาก และทำให้การดำเนินนโยบายของผู้ขายรายหนึ่ง ๆไมก่ ระทบต่อผู้ขายรายอ่ืน ๆ ในตลาด สินคา้ ใน
ตลาดนมี้ ีลกั ษณะแตกต่างกันแตส่ ามารถใช้ทดแทนกันได้ เส้นอุปสงค์ท่ผี ขู้ ายเผชิญจงึ มีลักษณะทอดลงจากซ้ายลง
มาขวา และเปน็ เสน้ คอ่ นข้างลาดผูข้ ายในระยะส้นั อาจไดร้ ับกำไรเกนิ ปกติ กำไรปกติ หรอื ขาดทุน แต่ในระยะยาว
ผ้ขู ายจะไดร้ บั เฉพาะกำไรปกตเิ ทา่ น้นั
ตลาดผู้ขายนอ้ ยรายเป็นตลาดท่มี ผี ู้ขายต้งั แต่สองรายข้ึนไป ปริมาณสนิ คา้ ของผู้ขายแตล่ ะรายมสี ัดสว่ นท่ี
คอ่ นข้างมาก ส่วนสินค้าในตลาดอาจมีลักษณะคลา้ ยกนั หรือต่างกันแต่สามารถใช้ทดแทนกันได้ แบบจำลองการ
รวมกลุ่มแบบคาร์เทลเป็นลักษณะของการรวมกลมุ่ ผูข้ ายท่ีอยูใ่ นตลาด ซ่ึงแบง่ เปน็ คาร์เทลรวมอำนาจไว้ที่องค์กร
ส่วนกลางและคารเ์ ทลแบ่งส่วนแบง่ ตลาด
11. ครใู ห้ผูเ้ รียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันจัดทำแผนผังความคดิ ในหัวข้อ “ตลาดในระบบเศรษฐกิจ”
โดยให้ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์วา่ ตลาดประเภทแตกตา่ งกันอย่างไร และมีขอ้ ดีขอ้ เสยี อย่างไรหลังจากนน้ั ให้แต่
ละกลุม่ นำเสนอแผนผงั ความคิดของกลมุ่ ภายในชั้นเรยี น
ข้ันสรปุ และการประยุกต์
12. ครสู รปุ บทเรียน โดยใช้สอ่ื PowerPoint และเปิดโอกาสให้นกั เรียนได้ซักถามข้อสงสัย
13. ผเู้ รียนทำกิจกรรมใบงาน และแบบประเมินผลการเรยี นรู้
สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี นหลักเศรษฐศาสตร์ รหสั วิชา 30200-1001 ของสำนกั พมิ พเ์ อมพันธ์
2. ส่ือ PowerPoint
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้
4. กจิ กรรมการเรียนการสอน
5. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
หลักฐาน
1. บันทึกการสอนของผ้สู อน
2. ใบเชค็ รายชื่อ
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. การตรวจประเมินผลงาน
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ตรวจกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรู้
3. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
4. ตรวจใบงาน

เครอื่ งมอื วดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ
3. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรับปรุง
2. แบบประเมินผลการเรียนรู้มเี กณฑ์ผ่าน และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ 50%
3. แบบประเมินกจิ กรรมใบงานมีเกณฑ์ผา่ น 50%
กจิ กรรมเสนอแนะ

1. แนะนำใหผ้ เู้ รียนอ่านทบทวนเน้ือหาเพิม่ เตมิ
2. ควรศึกษาข้อมูลเพ่ิมเตมิ จากสอื่ อินเทอร์เน็ต

แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7

ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามต่อไปน้ี
1. อธบิ ายตลาดในทางเศรษฐศาสตร์แตกตา่ งจากตลาดโดยทัว่ ไปอย่างไร
............................................................................................................................. .........................................
2. อธิบายลกั ษณะของตลาดแขง่ ขันสมบูรณ์
.........................................................................................................................................................................
3. ปจั จัยทีก่ ำหนดขนาดของตลาดมีอะไรบ้าง
................................................................................................. ........................................................................
4. หนา้ ท่ีของตลาดมีอะไรบ้าง
............................................................................................................................. ............................................
5. อธบิ ายลักษณะของตลาดผูกขาด
............................................................................................................................. ....................................................
6. ประเภทของตลาดโดยทว่ั ไปจำแนกออกเปน็ ตลาดประเภทใดบ้าง
..................................................................................................................................................... ....................
.7. ตลาดผูกขาดมีลกั ษณะเดน่ อยา่ งไรบ้าง
.........................................................................................................................................................................
8. อธิบายลกั ษณะของตลาดกง่ึ แขง่ ขนั กึง่ ผกู ขาด
.........................................................................................................................................................................
9. ผลของการแข่งขันกอ่ ใหเ้ กิดผลดแี ละผลเสยี อย่างไรบ้าง
.........................................................................................................................
10. ผลของการผูกขาดกอ่ ใหเ้ กดิ ผลดแี ละผลเสยี อยา่ งไรบา้ ง
.......................................................................................................................................................................

ตอนท่ี 2 จงเลอื กข้อทถี่ กู ตอ้ งท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว

ตอนท่ี 2 จงเลอื กข้อทถี่ ูกต้องท่สี ดุ เพยี งข้อเดียว

1. ตลาดแบ่งตามลักษณะของสินค้าได้กี่ประเภท

ก. ผูผ้ ลิตกบั ผูบ้ ริโภค

ข. หน่วยธรุ กิจกับผู้ผลิต

ค. การซื้อขายทนั ทีและล่วงหน้า

ง. สนิ ค้าเกษตรและสนิ ค้าอุตสาหกรรม

จ. แขง่ ขันสมบูรณแ์ ละแขง่ ขันไมส่ มบรู ณ์

2. เส้นอปุ สงค์ของผ้ผู ลิตในข้อใดทีข่ นานกับแกนนอน

ก. ผูกขาด ข. ผูข้ ายมากราย

ค. แขง่ ขนั สมบูรณ์ ง. ผ้ขู ายนอ้ ยราย จ. แขง่ ขนั ไม่สมบูรณ์

3. เราเรียกผ้ผู ลิตในตลาดผกู ขาดวา่ อยา่ งไร

ก. Price Taker ข. Price Maker

ค. Single Seller ง. Price Monopoly จ. Price Discrimination

4. ขอ้ ใดคอื เสน้ อปุ สงคข์ องตลาดแข่งขนั สมบูรณ์

ก. เป็นเสน้ ทท่ี อดจากขวาไปซา้ ย

ข. เปน็ เส้นท่ีทอดลงจากซ้ายไปขวา

ค. เปน็ เส้นตรงท่ีขนานกบั แกนนอน

ง. เปน็ เสน้ ต้ังฉากกับแกนนอน

จ. ผิดทุกขอ้

5. ขอ้ ใดเปน็ ลกั ษณะของผผู้ ลติ ในตลาดผกู ขาด

ก. มผี ผู้ ลิตสนิ คา้ สองราย

ข. มผี ูผ้ ลติ สนิ คา้ เพยี งรายเดียว

ค. ผู้ผลติ ไมม่ อี ทิ ธพิ ลในการกำหนดราคา

ง. สนิ คา้ ทผ่ี ลติ ได้สามารถทดแทนกันได้

จ. การเข้าออกจากตลาดทำได้โดยเสรี

6. ข้อใดบง่ ชวี้ ่าผผู้ ลติ มีอำนาจผกู ขาดในการขายสินคา้ ในตลาด

ก. ความสามารถในการพัฒนาผลติ ภัณฑ์

ข. ความสามารถในการวางแผนกำไรของกิจการ

ค. ความสามารถในการผลติ สินคา้ ไดด้ ว้ ยตน้ ทนุ ตํ่า

ง. ความสามารถในการกำหนดราคาสินค้าและปรมิ าณ

จ. ถูกทุกขอ้

7. ข้อใดคือลักษณะของตลาดกง่ึ แขง่ ขันก่งึ ผูกขาด

ก. สนิ คา้ ในตลาดมลี กั ษณะแตกตา่ งกนั แต่ทดแทนกนั ได้

ข. สินคา้ ในตลาดมลี กั ษณะคล้ายกนั แตท่ ดแทนกนั ได้

ค. สนิ คา้ ในตลาดมลี ักษณะท่ีคล้ายกันแต่ทดแทนกันไมไ่ ด้

ง. สินค้าในตลาดไมเ่ หมอื นกันและทดแทนกันไมไ่ ด้

จ. สนิ คา้ ในตลาดมลี กั ษณะเหมือนกันทุกประการ

8. ข้อใดคอื ลักษณะสนิ คา้ ในตลาดแขง่ ขันสมบูรณ์
ก. ตลาดข้าวเปลอื ก ตลาดน้าํ มันเชอื้ เพลิง
ข. ตลาดข้าวเปลือก ก๊าซธรรมชาติ
ค. ไฟฟา้ ประปา โทรศพั ท์
ง. ตลาดขา้ วเปลือก ตลาดยางพารา
จ. เสื้อผา้ สำเรจ็ รูป เฟอร์นิเจอร์

9. ข้อใดคอื เสน้ อปุ ทานของผผู้ ลติ ในตลาดผูกขาดในระยะสน้ั
ก. เส้น MC อยเู่ หนอื จุดตาํ่ สดุ ของเสน้ AVC ข้ึนไป
ข. เสน้ MC อยตู่ าํ่ กว่าเสน้ AVC ลงมา
ค. เส้น AVC อยูเ่ หนือจดุ ต่ําสดุ ของเสน้ AC ขึน้ ไป
ง. เส้น MC ท่อี ยู่เหนือเส้น AC
จ. หาเสน้ อุปทานไมไ่ ด้

10. การเพิ่มราคาในตลาดแข่งขันสมบูรณเ์ พอื่ ให้กำไรมากข้ึน จะทำใหผ้ ูข้ ายสนิ คา้ เปน็ อย่างไร
ก. ทำให้ผ้บู รโิ ภคหันมาซือ้ สินค้าของเขาแทนสินค้าของผผู้ ลิตรายอน่ื
ข. ทำให้เขาตอ้ งการเพม่ิ การผลติ เพอื่ ขายมากขึน้ เพราะมผี ูบ้ ริโภคมาซ้อื มากข้นึ
ค. ทำให้ผผู้ ลติ ขายสนิ ค้าไดม้ ากขนึ้ เพราะผู้บรโิ ภคซ้ือสินคา้ มากข้นึ
ง. ทำใหเ้ ขาไมส่ ามารถขายสินคา้ ได้เลย เพราะผูบ้ รโิ ภคจะหนั ไปซอ้ื สนิ คา้ จากผูผ้ ลติ รายอนื่
จ. ทำให้ค่แู ข่งขายสนิ ค้าได้ลดลง เพราะสนิ ค้าคณุ ภาพตํ่า ไม่เป็นท่นี ยิ มของผบู้ ริโภค

ตอนที่ 3 จงใสเ่ ครือ่ งหมาย ✓ หรือ × หนา้ ขอ้ ความท่เี หมาะสม
.............. 1. การซ้อื ขายทางเวบ็ ไซต์เรียกอีกอยา่ งหนึ่งวา่ ตลาดออนไลน์
.............. 2. การแสดงราคาสินคา้ ใหผ้ ู้บรโิ ภครับรู้เปน็ ลกั ษณะสำคัญของตลาดแขง่ ขันสมบรู ณ์
.............. 3. บริษทั ปนู ซีเมนตเ์ ปน็ ผ้ผู ลิตทจี่ ำหน่ายสินค้าเป็นสัดส่วนมากในตลาดทมี่ ีผู้ขายน้อยราย
.............. 4. สบู่ ผงซกั ฟอกเป็นสนิ คา้ ในตลาดแข่งขนั สมบูรณ์ทม่ี ลี กั ษณะและคุณภาพเหมือนกนั จนแทบไม่เห็นความแตกต่าง
.............. 5. สนิ คา้ ในตลาดก่งึ แข่งขนั ก่งึ ผูกขาดส่วนใหญเ่ ปน็ สินคา้ ทจี่ ำเป็นต้องใช้ในชีวติ ประจำวัน
.............. 6. สัมปทาน หมายถึงการท่ีรฐั บาลใหส้ ิทธพิ ิเศษแก่เอกชนในการประกอบธรุ กิจ
.............. 7. ราคาสนิ ค้าและบริการทถี่ ูกกำหนดข้นึ ในสภาพการแขง่ ขนั ของตลาดแขง่ ขนั แบบสมบูรณ์เปน็ ราคาท่ไี มม่ ีความ

ยุตธิ รรมต่อผู้บรโิ ภค
.............. 8. ตลาดชว่ ยใหผ้ ูบ้ รโิ ภคมีมาตรฐานการครองชพี ตํา่ ลง
.............. 9. ขอ้ ดขี องตลาดแข่งขนั ผบู้ ริโภคมีโอกาสในการเลอื กซือ้ สินคา้ ทม่ี ีราคาถกู ลง
.............. 10. ข้อเสยี ของตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์คอื มกี ารแขง่ ขนั กนั ระหว่างผผู้ ลติ อยา่ งแท้จริง

ใบงานที่ 1

ค้นคว้าขอ้ มลู จากสื่อส่ิงพิมพ์เกี่ยวกับลกั ษณะของตลาดในระบบเศรษฐกิจ โดยวิเคราะหว์ า่ สินค้าและ
บรกิ ารเหลา่ นัน้ อยใู่ นตลาดประเภทใด
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 2

ใหท้ ำแผ่นพบั เรื่องลักษณะของตลาดตามประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
(1) ความหมายของตลาด
.....................................................................................................................................................................................

(2) ลกั ษณะสำคญั ของตลาดในประเภทต่าง ๆ
.....................................................................................................................................................................................
(3) ตัวอย่างสนิ คา้ และบรกิ ารทอี่ ยใู่ นตลาดประเภทตา่ ง ๆ
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 3

วเิ คราะหล์ กั ษณะของตลาดตามตารางท่กี ำหนดให้

ประเภทของตลาด ลักษณะของตลาด ตวั อย่างสินคา้
ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์

ตลาดกึง่ แขง่ ขันกงึ่ ผกู ขาด

ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย

ตลาดผกู ขาด

บันทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาทพ่ี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการท่ี 9 หน่วยท่ี -

รหัส 30200-1001 หลักเศรษฐศาสตร์ สอนครง้ั ท่ี -
ชอ่ื หนว่ ย สอบกลางภาค
จำนวน 3 ชั่วโมง
สาระสำคัญ
-

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
-
สมรรถนะประจำหนว่ ย

-

สาระการเรียนรู้

-

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ขัน้ นำเข้าส่บู ทเรยี น
-
ข้นั สอน
-
ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์
-

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้

-

หลกั ฐาน

-

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวัดผล
1. ตรวจข้อสอบกลางภาค

เครอื่ งมอื วดั ผล
1. ขอ้ สอบกลางภาค

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการทดสอบความรู้ โดยใชข้ อ้ สอบกลางภาค

กจิ กรรมเสนอแนะ

ข้อสอบข้ึนอยู่กับดลุ ยพินิจของผสู้ อน

บันทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทพ่ี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการที่ 10 หน่วยท่ี 8

รหัส 30200-1001 หลกั เศรษฐศาสตร์ สอนครั้งท่ี 10
ชื่อหนว่ ย รายไดป้ ระชาชาติ
จำนวน 3 ชวั่ โมง

สาระสำคญั

ในระบบเศรษฐกิจหนึ่ง ๆ จะมีกิจกรรมทางเศรษฐกจิ อยูม่ ากมาย ทั้งด้านการผลิตสินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม และบรกิ าร
การบริโภคและการลงทุนของภาครัฐและเอกชน การส่งออกและการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ หากเรา ต้องการทราบถึง
ปริมาณและมลู คา่ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจเหลา่ น้ีในแต่ละปี เราจำเปน็ ตอ้ งจดั ออกมาในรูปของ รายได้ประชาชาติ ซึ่งสามารถ
จัดออกมาไดท้ ้งั ทางดา้ นการผลติ ด้านรายได้ และด้านรายจ่าย

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายความหมายของรายไดป้ ระชาชาติ
2. คำนวณหารายได้ประชาชาตดิ า้ นผลผลิต ด้านรายได้ และด้านรายจา่ ยได้
3. เข้าใจรายได้ประชาชาติและความสมั พันธ์ระหวา่ งกนั
4. อธบิ ายรายได้ประชาชาตทิ ี่แทจ้ ริงและรายได้เฉลี่ยตอ่ บคุ คลได้
5. เขา้ ใจประโยชน์และข้อควรระวังในการใชบ้ ัญชีรายไดป้ ระชาชาติ

สมรรถนะประจำหน่วย

1. แสดงความรใู้ นเร่ืองรายไดป้ ระชาชาติ
2. แสดงความรู้ในเรอื่ งรายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ บคุ คล

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของรายไดป้ ระชาชาติ
2. การคำนวณรายไดป้ ระชาชาติ
3. ความสัมพันธ์ระหว่างกันของรายไดป้ ระชาชาติ
4. รายไดป้ ระชาชาตทิ แ่ี ทจ้ ริงและรายไดเ้ ฉล่ียต่อบุคคล
5. ประโยชน์และข้อควรระวังในการใช้บญั ชีรายได้ประชาชาติ

กิจกรรมการเรียนการสอน

ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น
1. ครกู ล่าวว่า เศรษฐศาสตร์มหภาคเป็นการศกึ ษาในหลักการและทฤษฎีที่มวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ รักษา เสถยี รภาพ รวมทงั้ การสร้าง
ความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจโดยรวม ตัวแปรสำคัญท่ีใช้วดั ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจทีน่ ักเศรษฐศาสตร์ประเภท
ต่าง ๆ นยิ มใชก้ ันมาก ก็คือ “รายได้ประชาชาติ”

(National Income) นอกจากนี้สว่ นประกอบต่าง ๆ ของรายไดป้ ระชาชาติยังมีความสัมพันธ์กับปจั จยั ที่กำหนดเสถยี รภาพทาง
เศรษฐกิจ ฉะนั้น การศึกษาเรื่องรายได้ประชาชาติจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับ การวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ การวางแผน และการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ ตา่ ง ๆ ตลอดจนการวางแผนในการประกอบธุรกิจของภาคเอกชน

2. ครกู ล่าววา่ ในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 น้ี ผู้เรยี นจะไดเ้ รยี นรรู้ ายได้ประชาชาติ เพือ่ นำความรทู้ ี่ไดไ้ ปประยกุ ต์ในการวิเคราะหแ์ ละ
คำนวณรายได้ประชาชาติ รวมไปถงึ ประโยชนแ์ ละข้อควรระวงั ในการใชบ้ ัญชรี ายไดป้ ระชาชาติ

ขั้นสอน
3. ครูใชเ้ ทคนิคการบรรยาย ความหมายของรายไดป้ ระชาชาติ

รายได้ประชาชาติ (National Income) หมายถึง มูลค่าที่เป็นตัวเงินของสินค้าและบริการ ขั้นสุดท้ายทั้งหมดที่ผลิตขึ้นใน
ระบบเศรษฐกิจใดระบบเศรษฐกิจหนึง่ ภายในระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติ ใช้ระยะเวลา 1 ปี ด้วยปัจจัยการผลิตของประเทศที่ถือ
กรรมสิทธอ์ิ ยู่ รายไดป้ ระชาชาตจิ ะถูกใช้เปน็ เครื่องมอื ในการวัดระดับฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ
4. ครูใช้ส่อื PowerPoint ประกอบเทคนิคการบรรยาย การคำนวณรายได้ประชาชาติ
การคำนวณรายไดป้ ระชาชาติกระทำได้ 3 วธิ ี คือ
1. การคำนวณรายได้ประชาชาตทิ างดา้ นผลผลติ (Product Approach)
2. การคำนวณรายไดป้ ระชาชาตทิ างด้านรายได้ (Income Approach)
3. การคำนวณรายไดป้ ระชาชาตทิ างด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
การคำนวณรายได้ประชาชาติท้ัง 3 วิธีนี้ จะได้ค่ารายได้ประชาชาติเท่ากัน เนื่องจากเป็นการวัดค่า ผลผลิต รายได้ และรายจ่าย
อนั เดียวกัน แต่มีวธิ กี ารวดั ทีแ่ ตกต่างกัน
4.1 การคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านผลผลิต (Product Approach) เป็นการคำนวณรายได้ประชาชาติ โดยการหา
ผลรวมมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (Final Goods and Service) ที่ประเทศผลิตขึ้นได้ในระยะเวลา 1 ปี การ
คำนวณหามลู คา่ ของผลผลิตกระทำได้ 2 วิธี คือ
1. คิดเฉพาะมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย วิธีนี้จะเป็นไปได้ในทางทฤษฎีเท่านั้น ในทางปฏิบัติเป็นไปได้ยากมาก
กล่าวคือ เป็นการยากที่จะจำแนกว่าสินค้าใดเป็นสนิ ค้าและบริการขั้นสุดท้าย และสินค้าใดเป็นสินค้าขั้นกลาง (Intermediate
Goods) บางครัง้ สนิ คา้ ชนดิ เดียวกนั เปน็ ทั้งสินคา้ ขั้นสดุ ท้าย และสินค้าขั้นกลาง เชน่ ข้าวโพดทเ่ี กษตรกรขายให้กับผู้บริโภคก็ถือ
วา่ เปน็ สนิ ค้าข้นั สุดท้าย แต่ถา้ เกษตรกร ขายให้แกโ่ รงงานผลิตอาหารสัตว์ ซึง่ นำขา้ วโพดไปผลติ เป็นอาหารสตั ว์ ในกรณีนขี้ ้าวโพด
ก็จะเป็นสินค้า ขั้นกลาง เมื่อเป็นเช่นนี้อาจก่อให้เกิดการนับซ้ำ (Double Counting) ทำให้มูลค่าของรายได้ประชาชาติสูงเกิน
ความเป็นจริงเพอ่ื หลีกเล่ยี งปญั หาการนับซ้ำจงึ ได้ มกี ารใชว้ ิธีคดิ แบบมลู คา่ เพิม่ (Value Added Method)
2. คิดแบบมูลค่าเพ่ิม วิธีนี้นกั เศรษฐศาสตร์นิยมใชแ้ ละเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลาย กล่าวคือ “มูลค่าเพิ่ม” หมายถึง มูลคา่
ของสินค้าและบริการที่ขายหักด้วยมูลค่าของวัตถุดิบหรือสินค้า ขั้นกลาง เช่น พ่อค้าขายสินค้าชนิดหนึ่งในราคา 1,500 บาท
สินค้านี้ทำจากวัตถุดิบที่ซื้อมาราคา 1,000 บาท มูลค่าที่เพิ่มของสินค้านี้จึงเท่ากับ 1,500 – 1,000 = 500 บาท เป็นต้น เพื่อ
ความเข้าใจจะยกตวั อย่างวิธี การคำนวณมลู ค่าเพมิ่ ดังน้ี
สมมตวิ ่าเป็นสินค้ารถยนต์ โดยกำหนดวา่ การผลติ รถยนตต์ ้องผา่ น 5 ขนั้ ตอน แตล่ ะข้ันตอนจะผลิต สินคา้ และซื้อสินค้าข้ันกลาง
ต่าง ๆ ดงั ตารางต่อไปน้ี

ตาราง การคำนวณมูลคา่ รถยนต์โดยวธิ รี วมมูลค่าเพิม่ หนว่ ย : บาท/หน่วย

ข้นั การผลิต มูลคา่ สนิ คา้ ที่ขาย มลู คา่ สนิ ค้าขนั้ กลาง มลู ค่าเพม่ิ
1. แร่เหล็ก 10,000 0 10,000
2. เหลก็ แผน่ 40,000 30,000
3. ชนิ้ ส่วนรถยนต์ 200,000 10,000 160,000
4. โรงงานประกอบ 300,000 40,000 100,000
5. บรษิ ัทขายรถยนต์ 600,000 200,000 300,000
300,000 600,000
รวม 1,150,000 550,000

จากตาราง จะเห็นได้ว่า ถ้าหากนับมูลค่ารถยนต์ที่ขายในแต่ละขั้นตอนจะได้ค่าเท่ากับ 1,150,000 บาท ในขณะที่ผลรวมของ
มูลค่าเพ่ิมของการผลติ รถยนต์จะได้เพียง 600,000 บาท ซึ่งเทา่ กบั มลู ค่าของรถยนต์ ทบ่ี รษิ ัทขายให้กับผูบ้ รโิ ภค การท่ีมูลค่าของ
รถยนต์มีคา่ สูงเกินความเปน็ จริงกเ็ น่อื งจากเกดิ การนับซ้ำ กลา่ วคือ มลู ค่าของแรเ่ หลก็ ได้รวมอยู่ในมูลคา่ ของเหลก็ แผน่ แลว้ มลู ค่า
ของเหลก็ แผ่นกร็ วมอย่ใู นมลู คา่ ของช้นิ สว่ น รถยนต์ และมูลคา่ ของชน้ิ สว่ นรถยนต์กร็ วมอยูใ่ นมูลค่าของรถยนตแ์ ลว้ เชน่ กัน

ดังนน้ั การคำนวณรายได้ประชาชาตทิ างด้านผลผลิตของประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ (สศช.) จึงใช้วิธีการคิดแบบมูลค่าเพิ่มโดยจัดแบ่งการผลิตของ ประเทศออกเป็นสาขาการผลิตต่าง ๆ ดังตัวอย่างใน
ตารางตอ่ ไปนี้

ตาราง รายได้ประชาชาติ โดยคิดจากมลู คา่ ผลผลติ ของประเทศ พ.ศ. 2557-2561 หน่วย : ลา้ นบาท
หมาย
เหตุ :
1/ GNI
= GNP

(ผลติ ภัณฑม์ วลรวมประชาชาติ)
ปี 2559 - 2560 เปน็ ตัวเลขปรบั ปรุงใหม่
ปี 2561 เปน็ ตวั เลขเบอื้ งต้น
ท่มี า : สำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรฐั มนตรี
4.2 การคำนวณรายไดป้ ระชาชาติทางด้านรายได้ (Income Approach)
วิธีนเี้ ปน็ การ นำเอารายไดท้ กุ ประเภททเ่ี จา้ ของปจั จัยการผลติ ได้รับจากการขายหรือให้บรกิ ารปัจจัยการผลิตแก่ หน่วยธุรกิจต่าง
ๆ ในการผลิตสินค้าและบริการมารวมเข้าด้วยกันในระยะเวลา 1 ปี ซึ่งผลตอบแทนของ ปัจจัยการผลิตที่เจ้าของปัจจัยการผลติ
ได้รับ ประกอบด้วย ค่าจ้าง ค่าเช่าดอกเบี้ ยและกำไร รายได้ เหล่านี้จะแสดงค่าเป็นรายได้ประชาชาติ (NI) ในการคำนวณจะมี
รายการตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้องดังต่อไปน้ี
1. ค่าจ้าง เงินเดือน และเงินทดแทนอื่น ได้แก่ ค่าตอบแทนที่จ่ายให้โดยตรงแก่ลูกจ้าง คือ เงินเดือน ค่าจ้าง และผลประโยชน์
ตอบแทนอยา่ งอนื่ ท่จี ่ายเพมิ่ เติมทางออ้ มทงั้ ท่ีเปน็ ตวั เงนิ และส่งิ ของ เช่น คา่ รกั ษาพยาบาล เงนิ โบนัส คา่ ประกนั สงั คม เป็นตน้ ใน
กรณที ่ีเปน็ สิ่งของซ่ึงสามารถประเมนิ คา่ ออกมาเป็นตวั เงนิ ตามราคาตลาดได้ เชน่ ทอี่ ยู่อาศัย เสอ้ื ผ้า อาหาร เปน็ ตน้

2. รายได้ท่ีเอกชนได้รับในรปู ของค่าเช่า หมายถึง ค่าเช่าทีเ่ อกชนได้รบั จากการให้เช่า ที่ดิน เคหสถาน และทรัพยส์ ินอื่น แต่ถา้
ในกรณีที่ผู้ประกอบการเป็นเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างเอง ให้ประเมินค่าเช่าเป็นรายได้เข้าในรายการนี้ด้วย ส่วนค่าเช่าท่ี
หนว่ ยธุรกิจได้รบั ไม่รวมในรายการน้ี ให้แยก ไปรวมอยใู่ นยอดกำไรของหน่วยธรุ กจิ
3. ดอกเบย้ี สุทธิ หมายถึง ดอกเบี้ยทีเ่ อกชนได้รบั หักดว้ ยดอกเบยี้ ท่ไี ดร้ บั จากรัฐบาล และ ดอกเบ้ยี ของการกู้เพ่ือการบริโภค เหตุ
ท่ไี ม่ถือว่าดอกเบ้ียทรี่ บั จากรฐั บาลเป็นรายได้เพราะเป็นดอกเบ้ีย ทีเ่ กดิ จากหนี้เพื่อการบรโิ ภคทงั้ จากภาครัฐและภาคเอกชนไม่ใช่
หน้เี พอ่ื การผลติ
4. รายได้ของผู้มีอาชีพอิสระ หมายถึง กำไรและรายได้ของกิจการที่มีเจ้าของคนเดียวหรือ ผู้ผลิตในอาชีพต่าง ๆ ที่ไม่อยู่ในรูป
บรษิ ทั ไดแ้ ก่ การประกอบอาชพี อิสระ หา้ งห้นุ สว่ น รา้ นคา้ เกษตรกร และกจิ การที่ไมแ่ สวงหากำไร เชน่ สหกรณป์ ระเภทต่าง ๆ
เป็นตน้
5. ค่าเสื่อมราคา หมายถึง เงินส่วนหนึ่งทีห่ น่วยธรุ กจิ กนั ไว้เพื่อชดเชยการสึกหรอหรือ การเสื่อมค่าของทุน และเก็บไว้ซื้อปัจจัย
ทุนทดแทนของเดิมเมื่อสิ้นสุดอายุการใช้งาน เงินที่กันไว้นี้อาจถือ เป็นกำไรของบริษัทอย่างหนึ่ง แต่เป็นกำไรที่ต้องเก็บไว้เพื่อ
จดุ ประสงค์ดังกลา่ วขา้ งต้น
6. กำไรของหนว่ ยธุรกจิ กอ่ นหักภาษี หมายถงึ กำไรของหน่วยธรุ กิจทแี่ บง่ แยกเป็น เงินปันผลทยี่ งั ไม่ไดจ้ ัดสรรใหแ้ กผ่ ู้ถือหุ้น และ
ภาษเี งินได้ของหนว่ ยธุรกจิ
7. ภาษีทางอ้อมธุรกิจ ได้แก่ ภาษีชนิดต่าง ๆ ที่เก็บจากสินค้า เช่น ภาษีสรรพสามิต ภาษีการค้า ภาษีศุลกากร ภาษีทรัพย์สิน
เป็นต้น ภาษีทางอ้อมธุรกิจนี้แม้จะไม่ใช่ค่าใช้จ่ายโดยตรงในการผลิต แต่ใน การคำนวณรายได้ประชาชาติต้องมีภาษีทางอ้อม
ธุรกิจรวมอยู่ด้วยการคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายได้ของประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจ
และสงั คมแห่งชาติ ได้จำแนกรายไดด้ า้ นตา่ ง ๆ ของภาคเอกชนและรัฐบาลไว้ในตารางตอ่ ไปน้ี

ตาราง รายไดป้ ระชาชาตโิ ดยคิดจากมูลคา่ ดา้ นรายได้ของประเทศ พ.ศ. 2556 - 2560
หน่วย : ล้านบาท

หมายเหตุ : ปี 2558 – 2559 เปน็ ตัวเลขปรบั ปรุงใหม่
ปี 2560 เปน็ ตัวเลขเบือ้ งตน้
ทม่ี า : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี
4.3 การคำนวณรายได้ประชาชาตทิ างด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
วิธีนไี้ ดแ้ ก่ การคำนวณจากรายจา่ ยทง้ั สิ้นทน่ี ำมาซื้อสินค้าและบรกิ ารในระยะเวลา 1 ปี ซ่งึ โดยทั่วไปรายจ่ายท้ังส้ิน ท่ีเกิดขึ้นแบ่ง
ออกเปน็ 4 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. รายจา่ ยเพอ่ื การอุปโภคบรโิ ภคภาคเอกชน (Consumption Expenditure)
2. รายจ่ายเพ่ือการลงทนุ ของเอกชน (Investment Expenditure)
3. รายจา่ ยของรัฐบาล (Government Expenditure)
4. การสง่ ออกสุทธิ (Net Exports)

รายจ่ายในแต่ละรายการมีรายละเอยี ดในการพิจารณาดังต่อไปนี้

1) รายจา่ ยเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน หมายถงึ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของภาคครวั เรอื นใน การซ้ือสินค้าและบรกิ ารในปหี นึ่ง

ๆ ซึ่งสินค้านี้มีทั้งที่เป็นประเภทถาวร เช่น รถยนต์ ตู้เย็น โทรทัศน์ พัดลม เป็นต้น (ยกเว้นรายจ่ายที่ใช้จ่ายเพื่อซื้อที่อยู่อาศัย

เพราะถือเป็นรายจ่ายเพื่อการลงทุน) และสินค้าประเภทไม่ถาวร เช่น สินค้าอุปโภคบริโภค ได้แก่ อาหาร เสื้อผ้า ยารักษาโรค

บหุ ร่ี ผงซักฟอก ยาสฟี นั เปน็ ตน้ อีกทงั้ ยงั รวมถงึ รายจ่ายค่าบรกิ าร เช่น ค่ารกั ษาพยาบาล ค่าดูภาพยนตร์ คา่ ตดั ผม ค่าเช่าบ้าน

คา่ บริการซ่อมรถยนต์ เป็นต้น

2) รายจ่ายเพื่อการลงทุนของเอกชน หมายถึง รายจ่ายที่จ่ายโดยผ่านทางหน่วยธุรกิจ ประกอบด้วย รายจ่าย 3

ประเภท คือ

(1) รายจ่ายเพ่ือการก่อสร้างใหม่ ได้แก่ ค่ากอ่ สร้างโรงงาน คลงั เกบ็ สินคา้ และทอ่ี ยู่อาศยั ถือเปน็ การลงทนุ อย่างหน่ึง

(2) รายจา่ ยเพ่ือซ้ือเคร่ืองมอื เคร่ืองจกั รและอุปกรณต์ ่างๆ เพ่อื การผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร และเพื่อทดแทนเคร่อื งมือเครอ่ื งจกั รเก่า

(3) ส่วนเปลี่ยนของสินค้าคงเหลือ เนื่องจากในการผลิตสินค้าไม่จำเป็นเสมอไปว่าสินค้าที่ ขายได้ทั้งสิ้นในระยะเวลาหนึ่งจะมี

จำนวนเทา่ กับสนิ คา้ ท่ผี ลิตได้ทั้งส้ินในระยะเวลาเดียวกัน โดยปกติแล้ว จะขายไดม้ ากกวา่ หรอื น้อยกว่าสินคา้ ทผ่ี ลิตได้ ด้วยเหตุนี้

การคำนวณรายได้จากรายจ่ายจำเป็นต้องรวม ส่วนเปลยี่ นของสนิ คา้ คงเหลือไวด้ ว้ ย โดยถอื เปน็ ค่าใชจ้ ่ายเพอ่ื การลงทุน

การคำนวณหาสว่ นเปลีย่ นของสินค้าคงเหลือ จะคดิ เฉพาะมลู คา่ ของสินคา้ คงเหลือในปีหนงึ่ ๆ เทา่ นั้น ซึง่ สามารถหาได้ดังนี้

สว่ นเปลยี่ นของสนิ คา้ คงเหลอื = มูลคา่ สนิ ค้าคงเหลือปลายปี – มลู คา่ สนิ คา้ คงเหลือต้นปี

ส่วนเปลี่ยนของสินค้าคงเหลือนี้อาจจะมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ถ้าตัวเลขเป็นบวก แสดงว่า สินค้า ที่ขายได้ในปีนี้มีมูลค่าน้อย
กวา่ สินค้าท่ผี ลติ ได้ในปีนี้ แต่ถ้าตวั เลขเปน็ ลบ แสดงว่า สนิ คา้ ทขี่ ายได้ในปีนี้มี มูลค่ามากกว่าสนิ ค้าทผี่ ลติ ได้ในปเี ดยี วกัน
3) รายจ่ายของรฐั บาล หมายถึง รายจา่ ยท้ังหมดของรัฐบาลในการซ้ือสินคา้ และบริการขั้นสุดท้าย จากภาคเอกชน ในปีหนึ่ง ๆ
ไดแ้ ก่
ก. รายจา่ ยในการซือ้ สินคา้ และบริการจากองคก์ รการผลิตต่าง ๆ
ข. รายจา่ ยประเภทเงินเดือน คา่ จา้ ง คา่ เบย้ี เล้ยี ง คา่ ล่วงเวลา ค่าเคร่อื งใชข้ องขา้ ราชการ เป็นตน้
ค. รายจา่ ยทางดา้ นการทหารและการป้องกันประเทศ
แต่ทั้งนี้ไม่รวมรายจ่ายในรูปเงินโอนต่าง ๆ เช่น รายจ่ายเพื่อสวัสดิการสังคม เงินบำนาญ เงินสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก เงิน
ช่วยเหลอื ผู้สูงอายุ เป็นต้น และรายจา่ ยเพ่อื ชำระเงินตน้ และบริษทั เงินกขู้ องรัฐบาล
4) การส่งออกสุทธิ หมายถึง ผลต่างระหวา่ งมลู ค่าสนิ ค้าที่ส่งไปขายยังต่างประเทศ (Export: X) กับมูลค่าสนิ ค้าทีน่ ำเข้ามาจาก
ตา่ งประเทศ (Import: I) ดังนัน้ การคำนวณรายได้จึงต้องใชม้ ลู คา่ การสง่ ออกสทุ ธิ นนั่ คือ

Net Exports = Exports - Imports
= X-M

มูลค่าส่งออกสทุ ธิน้ีอาจมีคา่ เป็นบวกหรอื ลบก็ได้ ขึ้นอยู่กับมลู ค่าการส่งออกมากหรือน้อยกว่า การนำเข้า ถ้ามูลค่าสนิ ค้าส่งออก
มากกว่ามูลค่าสินค้านำเข้า จะได้ยอดสุทธิเป็นบวก มูลค่ารายได้ประชาชาติ จะเพิ่มขึ้น แต่ถ้ามูลค่าสินค้านำเข้ามากกว่ามูลคา่
สินคา้ สง่ ออก จะได้ยอดสทุ ธเิ ป็นลบ มูลคา่ รายได้ ประชาชาตกิ ็จะลดลง

GDP = C + I + G + (X - M)

เมือ่ C = รายจา่ ยเพ่ือการบรโิ ภคของภาคเอกชน
I = รายจา่ ยเพือ่ การลงทุนของภาคเอกชนและรฐั บาล
G = รายจา่ ยของรัฐบาล

(X-M) = การสง่ ออกสุทธิ

การคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่ายของประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติ ได้จำแนกรายจา่ ยด้านตา่ ง ๆ ของภาคเอกชนและรัฐบาลไวใ้ นตารางต่อไปนี้

ตาราง แสดงรายได้ประชาชาตโิ ดยคิดจากมูลคา่ ด้านรายจ่ายของประเทศ พ.ศ. 2558 - 2562

หน่วย : ล้านบาท

หมายเหตุ : r คอื การปรบั ปรุงค่า
p คอื ทีม่ คี า่ รายปเี ป็นค่าตวั รวมเบ้อื งตน้
p1 คือ ยงั ไมม่ คี ่ารายปี

ทม่ี า : สำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนกั นายกรัฐมนตรี
5. ครูใช้สื่อ PowerPoint ประกอบเทคนคิ การบรรยาย ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั ของรายไดป้ ระชาชาติ
โดยทั่วไปคำว่า “รายได้ประชาชาติ” มักใช้เป็นคำกลางๆ สำหรับเรียกรายได้หรือผลิตผลรวมของชาติ แท้จริงแล้วรายได้
ประชาชาตมิ อี ยู่ 7 ประเภท ดงั น้ี
1. ผลิตภัณฑป์ ระชาชาติในประเทศเบอ้ื งตน้ (Gross Domestic Product: GDP)
2. ผลิตภณั ฑ์ประชาชาตเิ บอื้ งตน้ (Gross National Product: GNP)
3. ผลติ ภณั ฑ์ประชาชาตสิ ุทธิ (Net National Product: NNP)
4. รายได้ประชาชาติ (National Income: NI)
5. รายได้ส่วนบคุ คล (Personal Income: PI)
6. รายไดท้ ส่ี ามารถใช้จา่ ยไดจ้ รงิ (Disposable Income: DI)
7. รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อบคุ คล (Per Capita Income)
รายได้ประชาชาติแต่ละชนิดมีความหมายและความสัมพนั ธ์กันดงั ตอ่ ไปนี้
5.1 ผลิตภณั ฑป์ ระชาชาติในประเทศเบ้อื งตน้ (Gross Domestic Product: GDP) หมายถึง มลู ค่ารวมของสินค้าและบริการ
ขั้นสุดท้ายที่ผลติ ขึ้นได้ภายในประเทศในระยะเวลา 1 ปี กล่าวคือ สินค้า และบรกิ ารใดก็ตามที่ผลติ ขึ้นภายในประเทศใดถอื เป็น
ผลผลติ ภายในประเทศนน้ั โดยไม่คำนึงว่าทรพั ยากร ทน่ี ำมาผลิตสินคา้ น้ันเป็นของชนชาติใด เช่น ชาวเยอรมันมาตั้งโรงงานผลิต
รถยนต์ในประเทศไทย ผลผลิตที่ได้จะรวมอยู่ใน GDP ของไทย ในทางตรงข้าม คนไทยที่ไปเปิดร้านขายอาหารในประเทศ
เยอรมนี ผลผลิตที่ไดก้ ็จะรวมอยู่ใน GDP ของประเทศเยอรมนี มูลค่า GDP ที่คำนวณได้นีจ้ ะแสดงถงึ ความสามารถ ในการผลิต
ของประเทศน้ัน ๆ

GDP = GNP – F

F = รายได้สุทธจิ ากต่างประเทศ (Net Income From Abroad) คอื ส่วนตา่ งระหว่างรายได้ทเี่ กดิ จากปจั จัยการผลติ ทป่ี ระชาชน

ของประเทศนน้ั ไดก้ ่อให้เกิดขนึ้ ในต่างประเทศกับรายได้ทปี่ ระชาชนของ ประเทศอ่นื ได้กอ่ ให้เกิดข้นึ ในประเทศนั้น

GDP จะคิดจากรายได้ของประชาชนทุกคนที่ทำรายได้ในประเทศ และรวมถึงรายได้ของชาวต่างชาติ ที่ทำรายได้ใน

ประเทศน้ันดว้ ย (โดยปกติใช้ระยะเวลา 1 ปี ) ทรพั ยากรที่ ใช้ในการผลติ จะไม่คำนึงถงึ สญั ชาตขิ องผผู้ ลติ คือ จะเป็นของพลเมือง

ในประเทศนั้นหรือจะเป็นของชาวต่างประเทศก็ได้ ตัวอย่างเช่น ตัวเลข ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) ของประเทศไทย

เมือ่ พ.ศ. 2556 มจี ำนวน 12,910,038 ล้านบาท หมายความวา่ สนิ คา้ และบริการทีค่ นไทยและคนตา่ งชาตทิ ี่มถี ่ินทอี่ ยูใ่ นประเทศ

ไทยช่วยกนั ผลติ ได้ 12,910,038 ล้านบาท เปน็ ต้น

5.2 ผลติ ภณั ฑป์ ระชาชาตเิ บ้อื งตน้ (Gross National Product: GNP) หมายถึง มลู ค่ารวม ของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย

ทั้งหมดท่ีประชาชนของประเทศหนึง่ ๆ สามารถผลติ ไดใ้ นระยะเวลา 1 ปี ซึ่งผลิตข้ึนโดยพลเมืองและทรัพยากรของประเทศนนั้

ๆ ทั้งที่ผลิตขึ้นภายในประเทศและต่างประเทศ กล่าวคือ ในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (Open Economy) จะมีการนำเอา

ทรัพยากรภายในประเทศ ออกไปผลิตในประเทศอื่น และประเทศอืน่ นำทรัพยากรเข้ามาผลิตภายในประเทศ ด้วยเหตนุ ี้ รายได้

ประชาชาตขิ องระบบเศรษฐกิจแบบเปดิ ส่วนหนงึ่ จะเปน็ สนิ ค้าและบรกิ ารท่ีผลิตภายในประเทศ แต่อกี ส่วนหน่ึงจะเป็นสินคา้ และ

บรกิ ารทีผ่ ลติ ในประเทศอ่ืน สำหรบั ประเทศท่มี รี ะบบเศรษฐกิจแบบปิด (Closed Economy) จะมีเฉพาะสินคา้ และบรกิ ารท่ผี ลติ

ภายในประเทศเพยี งอย่างเดียว

ดังนั้น GNP จะเท่ากับ GDP ก็ต่อเมื่อไม่มีการเคลื่อนย้ายทรัพยากรระหว่างประเทศ แต่ถ้ามี การเคลื่อนย้ายทรัพยากรระหว่าง

ประเทศ ส่วนต่างระหว่าง GNP กับ GDP จะเท่ากับรายได้สุทธิจาก ต่างประเทศ (net income from abroad: F) เขียนเป็น

สมการไดด้ งั นี้

GNP = GDP + F

ประโยชนข์ อง GDP และ GNP มีดังนี้
1. GDP เหมาะท่ีจะนำไปใช้วัดกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ภายในประเทศ ซึ่งกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การผลิต การบรโิ ภค และ
การแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ หากต้องการดูว่าประเทศนั้น ๆ มีภาวะเศรษฐกจิ เป็นอย่างไร อาจทำได้โดยการหามูลคา่ ของ
สินค้าและบริการที่ทุกคนในประเทศช่วยกันผลิตออกมาเป็นตัวเงิน มูลค่าที่คำนวณออกมาได้เรียกว่า รายได้ประชาชาติ ปีใด
รายได้ประชาชาติสงู ขนึ้ แสดงวา่ ปนี น้ั ประชากร จะมีความเป็นอย่ทู ีด่ ีข้นึ
2. GNP เหมาะท่จี ะนำไปใชว้ ดั ความอยดู่ ีกนิ ดใี นทางเศรษฐกจิ ของคนในประเทศและใช้วัด สวัสดิการทางเศรษฐกิจของคนในชาต
5.3 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product: NNP) หมายถึง มูลค่าของสินค้า และบริการขั้นสุดท้ายทั้งหมด
โดยหักด้วยค่าใช้จา่ ยในการบริโภคทุน รายจ่ายเพือ่ การลงทุนในส่วนหนึ่งนัน้ จะถูกนำไปชดเชยค่าเส่ือมราคาของสินคา้ ประเภท
ทนุ ท่ีหายไป และอกี สว่ นหน่งึ จะนำไปลงทุนในระบบเศรษฐกิจ เขยี นในรปู ของสมการไดด้ ังนี้

NNP = GNP – ค่าใช้จ่ายในการบริโภคทนุ

ค่าใช้จ่ายในการบรโิ ภคทุน (Capital Consumption Allowances) ประกอบด้วย
1. คา่ เสอื่ มราคา (Depreciation)
2. คา่ เครื่องมือเคร่ืองใช้ในการผลติ ท่ีชำรุดสึกหรอหรือล้าสมยั
3. คา่ ทรัพย์สินสูญหาย เชน่ ถกู ไฟไหม้ นำ้ ทว่ ม ถกู โจรกรรม ระเบิด วาตภยั เป็นตน้
มูลค่า NNP ที่คำนวณได้นี้จะแสดงถึงความสามารถในการผลิตระยะยาวของประเทศ เนื่องจาก NNP จะรวมเฉพาะค่าใชจ้ า่ ยใน
การลงทนุ สุทธิ ซงึ่ เปน็ การเพม่ิ กำลงั การผลติ ใหแ้ กป่ ระเทศในอนาคตเท่าน้ัน
ฃอย่างไรก็ตาม การหามูลค่า NNP ให้ถูกต้องและตรงกับความเป็นจรงิ นั้นทำไดย้ าก เพราะ แต่ละหน่วยธุรกิจมีการคิดค่าเส่อื ม
ราคาแตกต่างกัน ด้วยเหตุน้ีนักเศรษฐศาสตร์จึงนิยมใช้ตัวเลข GNP มากกว่าจะใช้ NNP เพราะถือว่าในแง่สถิติ GNP มีความถกู
ตอ้ งมากกว่า

5.4 รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) หมายถึง ผลตอบแทนที่แท้จริงของปัจจัยการผลิต โดยคำนวณได้จาก
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (NNP) หักด้วยภาษีทางอ้อมธุรกิจ (Indirect Dusiness Tax) เหตุผลที่ต้องนำภาษีทางอ้อมธุรกิจมา
หักออก เน่อื งจากผู้ผลติ สินค้าจะต้องเสยี ภาษที างออ้ มใหก้ บั รฐั บาล เชน่ ภาษีการคา้ ภาษีสรรพสามติ ภาษีศุลกากร เปน็ ต้น เม่ือ
รฐั บาลเกบ็ ภาษเี หล่าน้ีแลว้ ผผู้ ลิตสามารถ ผลกั ภาระภาษไี ปยังผูบ้ ริโภคได้ โดยการเพมิ่ เข้าไปในราคาสินคา้ ที่ขาย เมื่อเป็นเช่นนี้
มลู ค่า NNP ซง่ึ รวมเอาภาษี ทางอ้อมธุรกิจเข้าไว้ ทำให้มูลคา่ ของสนิ คา้ ที่ปรากฏในรายได้ประชาชาตสิ งู กว่าความเป็นจริงเท่ากับ
จำนวนภาษที างออ้ มธุรกิจเหลา่ นนั้ ฉะนน้ั เพ่ือให้ไดร้ ายไดป้ ระชาชาตทิ ี่แทจ้ ริง จงึ จำเปน็ ตอ้ งหักภาษี ทางอ้อมธุรกจิ ออกไป เขียน
เป็นสมการไดด้ ังนี้

NI = NNP – ภาษที างออ้ มธุรกิจ – เงนิ โอนของธุรกจิ – เงนิ อดุ หนนุ ของรฐั บาล

มูลคา่ NI ทีค่ ำนวณได้นจ้ี ะแสดงถงึ ความสามารถในการวัดรายได้ทีเ่ กดิ จากการผลติ โดยตรง
5.5 รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income: PI) หมายถึง รายได้ที่บุคคลได้รับทั้งหมดโดยรวมทั้ง รายได้ที่เป็นผลตอบแทน
จากการขายหรือให้บริการปัจจัยการผลิต และรายได้ที่มิใช่ผลตอบแทนจาก การขายหรือให้บริการปัจจัยการผลิต ทั้งนี้ต้องหัก
ภาษรี ายไดจ้ ากทกุ ภาคธุรกิจ และเงินปันผลทย่ี งั ไมไ่ ด้ มกี ารจดั สรร และรวมเงนิ โอนจากภาครฐั บาลรวมไว้ด้วย ซึง่ เปน็ รายไดท้ จี่ ะ
ตกมาถงึ มอื บคุ คลจรงิ ๆ ใน ระยะเวลา 1 ปี
การคำนวณหารายได้ส่วนบุคคลนี้ จะคำนวณจากรายได้ประชาชาติ (NI) ซึ่งเป็นรายได้ทั้งหมด ที่เกิดจากการผลิตของประเทศ
แต่รายได้ส่วนบุคคลที่ได้รับจากการผลติ นั้นบางส่วนจะไมต่ กมา ถึงมือของบุคคล ได้แก่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล เงินประกันสังคม
และเงินปันผลทีย่ ังไม่ได้นำมาจัดสรร นอกจากนี้ รายได้บางส่วนที่ไดร้ บั มาก็ไม่ได้เกิดจากการผลิต ได้แก่ เงินโอนหรือเงินบรจิ าค
และรายได้ ค่าดอกเบี้ยที่เอกชนได้รับจากรัฐบาลและที่ผู้บริโภคจ่ายให้ ดังนั้น การคำนวณรายได้ส่ว นบุคคลจากรายได้
ประชาชาติ จงึ เขียนเปน็ สมการได้ดังน้ี

PI = NI – (ภาษเี งนิ ไดน้ ิติบคุ คล + เงินปนั ผลทย่ี ังไม่ได้จัดสรร) + เงนิ โอน
+ รายไดค้ ่าดอกเบย้ี ทเี่ อกชนได้รับจากรฐั บาลและทผี่ ู้บรโิ ภคจา่ ยให้

ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ปกตบิ รษิ ัทหรอื หา้ งหุ้นส่วนนิตบิ ุคคลเมอ่ื ดำเนินกจิ การมกี ำไร จะต้องนำกำไรน้ี ไปเสยี ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ใหร้ ัฐบาล เชน่ สมมตวิ า่ รัฐบาลไทยเกบ็ ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลจากบรษิ ทั ท่วั ไป ในอตั รารอ้ ยละ 40 ของกำไร สมมติว่า บรษิ ทั ก. มี
กำไร 1 ล้านบาท บริษัท ก. จะต้องเสียภาษใี ห้รฐั บาล 400,000 บาท ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คลน้มี ิได้ตกไปถึงมือของบุคคล ผู้ถือหุ้นจึง
ต้องนำมาหักออกจากรายได้ ประชาชาติ
เงินปันผลที่ยังไม่ได้จัดสรรของบริษัท เมื่อบริษัทดำเนินกิจการมีกำไร ถ้าจ่ายเป็นเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผลนั้นจะเป็น
รายไดส้ ่วนบคุ คล หากบริษทั กนั เงนิ กำไรไวข้ ยายกิจการ ผู้ถอื หนุ้ ก็จะไมไ่ ดร้ ับเงินปนั ผล ดังนน้ั จึงต้องนำเอากำไรทีย่ ังไม่ได้จัดสรร
ของบรษิ ัทไปหักออกจากรายไดป้ ระชาชาติ เพราะกำไรสว่ นน้มี ไิ ด้ ตกไปถึงมอื ของบุคคล
เงินโอน เงินโอนอาจเป็นเงินหรอื ส่ิงของก็ได้ คือ เป็นการให้เปล่าโดยไมม่ สี ินคา้ หรอื บริการตอบแทน เป็นการโอนอำนาจซ้อื จาก
บุคคลหนง่ึ ไปยังบคุ คลหนึง่ โดยมิได้ก่อใหเ้ กิดผลผลิตเพม่ิ ขน้ึ แตอ่ ย่างใด แต่เงนิ โอน ในกรณีนี้ เมอ่ื บุคคลไดร้ ับเข้ามากถ็ ือได้ว่าเป็น
รายได้ที่ชว่ ยใหม้ ีอำนาจซื้อสงู ข้ึน จงึ ตอ้ งนำเอาเงินโอน มารวมเป็นรายไดส้ ่วนบุคคล (PI)
รายได้คา่ ดอกเบยี้ ท่ีรัฐบาลและที่ผู้บริโภคจา่ ยให้ เป็นดอกเบ้ยี ทีเ่ อกชนไดร้ ับจากองคก์ รการผลติ ตา่ ง ๆ แมจ้ ะเปน็ รายไดท้ ไ่ี ม่ได้
เปน็ ผลตอบแทนของปจั จัยการผลิตก็ตาม แตต่ กทอดถึงมือของบุคคลจรงิ ๆ จงึ ต้องนำมารวมเป็นรายไดส้ ่วนบคุ คล (PI)
5.6 รายได้ที่สามารถใช้จ่ายได้จริง (Disposable Income: DI) หมายถึง รายได้ที่ครัวเรือน ทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ
สามารถนำไปใช้จา่ ยซือ้ สนิ คา้ และบรกิ ารไดจ้ รงิ หลงั จากหกั ภาษเี งินได้ บุคคลธรรมดาออกแล้ว เขยี นเปน็ สมการไดด้ งั น้ี

DI = PI – ภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา

มูลคา่ DI ทคี่ ำนวณไดน้ จ้ี ะแสดงถึงอำนาจซื้อทีแ่ ท้จรงิ ของประชาชนวา่ มีอยมู่ ากน้อยเพียงใด และแสดงให้เหน็ ถงึ ความสามารถใน
การออมของประชาชนด้วย เนื่องจากประชาชนจะนำไปใชจ้ า่ ย เพื่อการบรโิ ภค และเก็บออม

5.7 รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Income) หมายถึง รายได้ที่เกิดจากมูลค่าของสินค้า และบริการในราคาตลาดหาร
ด้วยจำนวนประชากรของประเทศทงั้ หมด

รายได้ตอ่ บคุ คล = รายได้ประชาชาติ
จำนวนประชากร

จากความสมั พันธ์ของรายได้ประชาชาติท้ัง 7 ประเภทดังกล่าวแลว้ อาจสรุปความสมั พนั ธ์ได้ดงั นี้
1. ผลิตภณั ฑ์ประชาชาตใิ นประเทศเบื้องต้น (GDP) = มูลคา่ รวมของสนิ คา้ และบริการขน้ั สุดท้าย ทีผ่ ลิตข้ึนไดภ้ ายในประเทศ ใน
ระยะเวลา 1 ปี
2. ผลติ ภัณฑ์ประชาชาติเบอ้ื งต้น (GNP) = GDP + รายได้สทุ ธจิ ากตา่ งประเทศ (F)
3. ผลิตภณั ฑ์ประชาชาตสิ ุทธิ (NNP) = GNP - คา่ ใชจ้ ่ายในการบรโิ ภคทนุ
4. รายได้ประชาชาติ (NI) = NNP - ภาษที างอ้อมธรุ กิจ
5. รายได้ส่วนบุคคล (PI) = NI – (ภาษีเงินได้นิติบุคคล +เงินปันผลที่ยังไม่ได้จัดสรร) + เงินโอน + รายได้ค่าดอกเบี้ยที่เอกชน
ได้รับจากรฐั บาลและทผี่ ้บู รโิ ภคจ่ายให้
6. รายได้ทส่ี ามารถใช้จา่ ยไดจ้ รงิ (DI) = PI – ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา
7. รายได้เฉลยี่ ต่อบุคคล (Per Capita Income) = รายไดป้ ระชาชาติ

จำนวนประชากร

6. ครูใช้ส่อื PowerPoint ประกอบเทคนิคการบรรยาย รายไดป้ ระชาชาติท่แี ท้จริงและรายได้เฉลีย่ ต่อบุคคล
รายไดป้ ระชาชาติทแ่ี ทจ้ ริง (Real GNP)
ในการคำนวณรายได้ประชาชาติตามวิธีต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นรายได้ในรูปตัวเงิน ( Money GNP) หรือผลิตภัณฑ์
ประชาชาติตามราคาปัจจุบันหรือราคาตลาด ซึ่งราคามักจะมกี ารเปลีย่ นแปลง อยู่ตลอดเวลา ฉะนน้ั การนำเอามูลค่าของรายได้
ประชาชาติตา่ งปมี าเปรียบเทียบกัน จึงไมส่ ามารถบอกได้ว่า ผลิตภณั ฑ์ที่แทจ้ รงิ เพม่ิ ข้ึนหรือลดลงเพยี งใด ท้ังนีเ้ พราะการคำนวณ
จากราคาปัจจุบัน นัน่ คอื รายไดข้ อง ปใี ดกค็ ำนวณจากราคาในปีนนั้ ซง่ึ ราคาสินค้าแต่ละปีไมเ่ ท่ากัน บางปสี ูงบางปีต่ำ ดงั น้ัน การ
เปลี่ยนแปลง ในมูลค่า GNP ที่คิดจากราคาปัจจุบันจึงไม่สามารถบอกให้ทราบได้ว่า ในแต่ละปีผลิตภัณฑ์ที่แท้จริงของ ประเทศ
เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรและเทา่ ไร
การแก้ไขปัญหานี้ก็คือ ปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ประชาชาติตามราคาปัจจุบันให้เป็นผลิตภัณฑ์ ประชาชาติที่แท้จริง (Real GNP)
โดยใชด้ ชั นรี าคาของปฐี าน (Price Index) ซง่ึ เป็นปที ีม่ ีราคาคงทม่ี าก ทส่ี ดุ ซึ่งหาได้โดยใชส้ ูตรดงั น้ี

Real GNP = ผลิตภณั ฑป์ ระชาชาติท่ีเป็นตวั เงนิ x 100
ดัชนรี าคาของปีเดียวกัน

หรือ Real GNP = Money GNP ปที ่ี n x 100
ดชั นีราคาของปี n

ตัวอยา่ ง กำหนดให้ Money GNP ในปี 2557 มีมูลคา่ 3,000 ลา้ นบาท ดชั นีราคาของปี 2557 เทา่ กับ 150
จงหาReal GNP
Real GNP (2557) = Money GNP (2557) x 100

ดชั นีราคาของปี 2557
= 3,000 x 100

150
= 2,000 ล้านบาท

รายได้ประชาชาติเฉล่ียต่อบุคคล (Per Capital Income) รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อบุคคล หมายถงึ รายได้เฉล่ียต่อบุคคล
ต่อปีในประเทศหนึ่ง ๆ คำนวณ ได้จากมูลค่าของรายได้ประชาชาติหารด้วยจำนวนประชากรของประเทศนั้น ๆ ตัวเลขที่ได้จะ
แสดงถึง ประสิทธิภาพในการผลิตของระบบเศรษฐกิจ และบ่งบอกถึงความกินดีอยู่ดีของประชาชนของประเทศนั้น สามารถ
คำนวณหารายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ บุคคลโดยใชส้ ูตรดังน้ี

รายไดป้ ระชาชาตเิ ฉลยี่ ต่อบคุ คล = รายได้ประชาชาติในปีทพี่ ิจารณา
จำนวนประชากรของประเทศในปที ่พี ิจารณา

ตาราง แสดงรายได้ประชาชาติเฉลย่ี ตอ่ บคุ คล

ประเภท จำนวนประชากร รายได้ประชาขาติ รายได้ประชาชาตเิ ฉลย่ี ตอ่ บคุ คล
(ลา้ นคน) (ลา้ นบาท) (บาท)
A 250 780,000 3,120
B 170 600,000 3,235.29
C 20 75,000 3,750

จากตาราง สมมติให้เห็นว่า ถึงแม้ว่ารายไดป้ ระชาชาติของประเทศ A จะมีมากที่สุด แต่เมื่อหารด้วย จำนวนประชากรท่ีมอี ย่ใู น
ประเทศ กลับมีรายได้เฉลี่ยต่อบุคคลน้อยที่สุด เนื่องจากประเทศ A มีจำนวน ประชากรมากกว่าประเทศ B และประเทศ C
ในทางตรงข้าม ประเทศ C แม้จะมีรายได้ประชาชาติน้อยกว่า ประเทศ A และประเทศ B แต่รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อบุคคล
ของประชากรมีมากที่สุด เนื่องจากจำนวน ประชากรที่น้อยกว่า ซึ่งแสดงว่าสัดส่วนโดยเฉลี่ยของประชากรในประเทศ C จะมี
โอกาสทจ่ี ะได้รับสนิ ค้า และบรกิ ารมากกวา่ ประเทศ B และประเทศ A ตามลำดบั
7. ครูใช้เทคนคิ การบรรยาย ประโยชน์และข้อควรระวังในการใช้บญั ชีรายไดป้ ระชาชาติ
ประโยชนจ์ ากบญั ชรี ายไดป้ ระชาชาติ
บัญชีรายไดป้ ระชาชาตมิ ีประโยชนแ์ ก่ผูน้ ำประเทศ นักวิเคราะหเ์ ศรษฐกิจ นักวิชาการ นักธุรกิจ ซึ่งสรุประโยชน์ของบญั ชีรายได้
ประชาชาติไวด้ ังนี้
1. ประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เป็นการแสดงให้ทราบถึงการพัฒนา ประเทศในปีที่ผ่านมาหรือปี
ก่อนหน้านวี้ า่ มีสถานการณ์เป็นอย่างไร ไมว่ ่าจะเป็นเรือ่ งของการบรโิ ภคของ ประชาชน การลงทุนท่ีเพิ่มขน้ึ หรือลดลง ซึ่งสิ่งต่าง
ๆ เหลา่ นล้ี ้วนแต่เกี่ยวกบั ความเปน็ อยู่ของประชาชน ในประเทศ
2. ประโยชน์ดา้ นการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกจิ ของประเทศ เปน็ ผลพวงท่เี กิดจากการวิเคราะห์ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
โดยการกำหนดเป็นนโยบายหรือมาตรการตา่ ง ๆ เพื่อใหส้ อดคล้องกบั สถานการณ์ในเรือ่ งของความแตกต่างในด้านการผลิตของ
แตล่ ะสาขา และเพื่อลดชอ่ งว่างระหวา่ งคนรวย กบั คนจนทอ่ี ยใู่ นประเทศในภาคตา่ งๆ
3. ประโยชน์ในการใช้เป็นเครื่องมือวางนโยบายในการเก็บภาษีอากร ในการวางแผนเก็บภาษี จะมีผลต่อราคาสินค้า
ภายในประเทศ เช่น การเก็บภาษีนำเข้าจากสินค้าประเภทพลังงาน จะส่งผลทำให้ ราคาสินค้าในประเทศนั้นมีต้นทุนการผลิต
สูงขึ้น หากประชาชนในประเทศมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวต่ำ ย่อม ไม่เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศนั้น ดังนั้น การวาง
นโยบายในการเกบ็ ภาษอี ากรจำเป็นตอ้ งให้ สอดคล้องกับสถานการณท์ างดา้ นเศรษฐกจิ ของประเทศด้วย
4. ประโยชน์ในการใชเ้ ป็นเคร่อื งมือเทยี บเคยี งฐานะทางเศรษฐกจิ เปน็ การเปรียบเทียบรายได้ ตอ่ บุคคลในแตล่ ะประเทศ เพื่อให้
ทราบถึงฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ และคุณภาพชีวิต ของประชาชนที่เป็นอยู่ เพื่อกำหนดแนวทางในการ
ส่งเสรมิ หรือแก้ไขต่อไป
ขอ้ ควรระวังของบัญชีรายไดป้ ระชาชาติ
1. การนับซ้ำ การนำมูลค่าของสินค้าและบริการมาคำนวณจะต้องเป็นสินค้าและบริการที่อยู่ใน ขั้นสุดท้ายเท่านั้น ไม่เช่นน้ัน
อาจจะส่งผลทำให้มูลค่าของรายได้ประชาชาติมมี ลู คา่ ทส่ี งู เกนิ ความเป็นจรงิ

2. รายได้ประชาชาติไม่ได้รวมสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตได้ทั้งหมดอย่างแท้จริง กล่าวคือ รายได้ประชาชาติ จะรวม
เฉพาะสินค้าและบริการที่ผ่านตลาดเท่านั้น แต่สินค้าและบริการที่ไม่ได้ผ่านตลาด จะไม่ปรากฏในรายได้ประชาชาติ เช่น การ
ทำงานบ้านของแมบ่ ้าน การปลูกสร้างทีพ่ ักอาศัยอย่เู อง การเพาะปลูกเพอื่ บริโภคเอง เปน็ ต้น ในกรณเี ช่นน้หี ากสินค้าและบริการ
ท่ีไม่ผา่ นตลาดมมี ูลค่าเพยี งเล็กน้อย รายได้ประชาชาติก็จะเปน็ เคร่ืองช้ีใหเ้ หน็ สวัสดิการทางเศรษฐกจิ ที่ใกลเ้ คียงกบั ความเป็นจริง
แตถ่ า้ หาก สนิ คา้ และบริการทไ่ี มไ่ ดผ้ ่านตลาดมมี ูลค่ามาก รายไดป้ ระชาชาตกิ ็จะเป็นเคร่อื งช้ใี ห้เห็นสวัสดิการทาง เศรษฐกิจท่ีต่ำ
กวา่ ความเปน็ จริง
3. บัญชีรายไดป้ ระชาชาตไิ มไ่ ดแ้ สดงวัตถุประสงค์หรือประเภทของสินค้าหรือบริการที่ผลิต เพ่มิ ข้ึน เนอื่ งจากรายไดท้ เ่ี พิ่มข้ึนอาจ
แสดงใหเ้ ห็นถึงความสามารถในการผลิตที่เพมิ่ ข้นึ แต่ไมไ่ ด้บอกว่า เศรษฐกิจจะเตบิ โตไปทิศทางใด บางคร้ังรายไดป้ ระชาชาตอิ าจ
เพม่ิ ข้นึ จากกิจกรรมอนื่ อาทิ การผลิต ยทุ ธปัจจยั ทางสงครามเพม่ิ ขึ้น ซ่ึงผลผลติ ท่ีเพิม่ ขึน้ เหล่านไี้ ม่สง่ ผลให้ประชาชนมมี าตรฐาน
การครองชพี ที่ดขี ึ้น ซึ่งเป็นส่วนท่กี ่อใหเ้ กดิ ความสญู เสยี และสิน้ เปลืองทรัพยากรของประเทศอีกประการหน่ึง
4. บัญชรี ายไดป้ ระชาชาติเน้นเพียงทำให้รายไดเ้ ฉลยี่ ต่อบุคคลเพิ่มขึ้น แต่ไม่ไดค้ ำนงึ ถึง ความเป็นธรรมในการกระจายสินค้าและ
บริการไปยังบุคคลต่าง ๆ ในสังคม และยังไม่ไดแ้ สดงถึงเรื่องของ สวัสดิการ หรือคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ควรจะได้รับ เช่น
การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ภยั ธรรมชาติ เปน็ ตน้
5. บัญชีรายได้ประชาชาติแสดงแค่การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าและปริมาณของสินค้าและบริการ ขั้นสุดท้าย ซึ่งไม่ได้แสดงถึงการ
เปลี่ยนแปลงในการพัฒนาคุณภาพของสินคา้ และบรกิ ารทผี่ ลติ ข้นึ แมจ้ ะ เพ่มิ ผลผลิตได้ แต่ไม่อาจกล่าวได้ว่าคนในสังคมมีความ
เปน็ อยู่ที่ดีข้ึนได้
สรุป รายได้ประชาชาติ คือ รายได้ของประชาชนทั้งหมดในประเทศที่เกิดขึ้นในรอบ 1 ปี เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบ้ีย และกำไร
โดยรายได้ประชาชาติจำแนกออกเป็น 7 ชนิด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติในประเทศเบื้องต้น (GDP) ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
เบอื้ งต้น (GNP) ผลิตภณั ฑ์ ประชาชาตสิ ุทธิ (NNP) รายไดป้ ระชาชาติ (NI) รายไดส้ ่วนบคุ คล (PI) รายไดท้ ีส่ ามารถใชจ้ ่ายได้ จริง
(DI) และรายไดเ้ ฉลยี่ ต่อบคุ คล (Per Capita Income) โดยรายไดด้ ังกลา่ วสามารถคำนวณ ได้ 3 ทาง คือ
1. การคำนวณหารายได้ประชาชาติทางดา้ นผลผลิต เชน่ การคำนวณเฉพาะผลผลติ ท่เี พ่ิมขึน้ แตล่ ะข้ันตอนเทา่ น้นั เพราะการคิด
เช่นน้ีจะไม่ก่อใหเ้ กิดการนบั ซำ้ อกี ต่อไป
2. การคำนวณหารายได้ประชาชาติทางด้านรายได้ ได้แก่ รายรับที่ได้จากค่าจ้างแรงงาน ที่เป็นเงนิ เดอื น ค่าเช่าทรพั ยส์ ินต่าง ๆ
คา่ ดอกเบยี้ จากเงนิ ทุน และกำไรทไ่ี ดจ้ ากการดำเนนิ ธุรกจิ
3. การคำนวณหารายไดป้ ระชาชาติทางด้านรายจ่าย เช่น รายจ่ายของรัฐบาล รายจ่าย เ พื่อการบริโภค รายจ่ายเพื่อการลงทุน
และรายจ่ายในการซอ้ื สนิ คา้ จากต่างประเทศ
อย่างไรก็ตาม การคำนวณรายได้ประชาชาตทิ ง้ั 3 วิธดี งั กล่าว อาจมที ัง้ ข้อดแี ละ ขอ้ บกพร่องอยู่บา้ ง เชน่
ขอ้ ดขี องรายได้ประชาชาติ
1. สามารถนำมาวเิ คราะหภ์ าวะเศรษฐกิจของประเทศได้
2. ใช้ในการเปรียบเทยี บมาตรฐานการครองชพี ของประชาชนวา่ อยใู่ นระดบั ใด
3. ใช้เป็นเคร่อื งมอื กำหนดนโยบายทางเศรษฐกจิ ของประเทศไดเ้ ปน็ อย่างดี
4. ทำใหท้ ราบวา่ เศรษฐกจิ ของภาคเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และบรกิ ารมีความ แตกต่างกนั อยา่ งไร
ข้อบกพรอ่ งของรายไดป้ ระชาชาติ
1. การคิดคา่ เสอื่ มราคา ในแต่ละหน่วยงานคดิ ค่าเสอื่ มราคาแตกตา่ งกัน
2. ผลิตภณั ฑ์บางชนิดไม่ผ่านตลาด เช่น งานของแมบ่ า้ น ทำอาหาร และการตัดเยบ็ เส้ือผา้ เป็นตน้
3. การตีราคาสินคา้ คงเหลือไมเ่ ทา่ กัน ขนึ้ อยกู่ ับเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงาน 4. อาจเกดิ การนับซ้ำ เช่น การคำนวณจากรายได้และ
รายจ่าย
8. ครูสอนผูเ้ รียนเพ่ิมเตมิ ในเรือ่ งของการประหยดั อดออม รวมไปถงึ การทำบญั ชรี ายรับ-รายจา่ ย เพอ่ื เปน็ การจดั สรรการใชจ้ ่าย
ให้พอดี

ขน้ั สรปุ และการประยุกต์
9. ครูสรุปบทเรียน โดยใช้สื่อ PowerPoint และเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นไดซ้ ักถามข้อสงสยั
10. ผเู้ รยี นทำกิจกรรมใบงาน และแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้

1. หนังสอื เรียนหลกั เศรษฐศาสตร์ รหัสวชิ า 30200-1001 ของสำนักพมิ พเ์ อมพันธ์
2. สือ่ PowerPoint
3. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน

หลักฐาน

1. บนั ทกึ การสอนของผสู้ อน
2. ใบเช็ครายชอ่ื
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล

วิธวี ดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ตรวจกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมนำความรู้
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ
4. ตรวจใบงาน
เครอื่ งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
3. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรงุ
2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นร้มู เี กณฑผ์ า่ น และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 50%
3. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงานมเี กณฑผ์ า่ น 50%

กิจกรรมเสนอแนะ

1. แนะนำใหผ้ ู้เรยี นอ่านทบทวนเน้อื หาเพ่ิมเตมิ
2. ควรศึกษาข้อมูลเพิม่ เตมิ จากสอื่ อินเทอร์เน็ต

แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 8

ตอนที่ 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. รายไดป้ ระชาชาติคอื อะไร การคำนวณรายได้ประชาชาติทางดา้ นรายได้ ประกอบด้วยรายไดป้ ระเภทใดบา้ ง
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
2. ประโยชนข์ องผลิตภณั ฑ์ประชาชาตใิ นประเทศเบื้องตน้ (GDP) คอื อะไร
.....................................................................................................................................................................................
3. มรี ายได้ประเภทใดบา้ งทไ่ี ม่ไดน้ ำมารวมเป็นรายไดป้ ระชาชาติ เพราะเหตใุ ด
.....................................................................................................................................................................................
4. การคำนวณรายได้ประชาชาตทิ างดา้ นรายจ่าย ประกอบด้วยค่าใชจ้ ่ายอะไรบ้าง
.....................................................................................................................................................................................
5. การคำนวณรายได้ประชาชาติมกี ี่วิธี
.....................................................................................................................................................................................
6. จงอธิบายความหมายของคำต่อไปน้ี
1) ผลิตภัณฑป์ ระชาชาติในประเทศเบื้องตน้ (GDP)
.....................................................................................................................................................................................
2) ผลิตภัณฑ์ประชาชาตเิ บอ้ื งตน้ (GNP)
.....................................................................................................................................................................................
3) ผลติ ภณั ฑ์ประชาชาตสิ ทุ ธิ (NNP)
.....................................................................................................................................................................................
4) รายไดป้ ระชาชาติ (NI)
.....................................................................................................................................................................................
7. ทำไมในการเปรยี บเทยี บรายไดป้ ระชาชาตทิ ่ตี ่างปีกันจงึ ต้องใชร้ ายไดป้ ระชาชาติทแ่ี ทจ้ ริง

.....................................................................................................................................................................................
8. รายไดเ้ ฉลีย่ ตอ่ บคุ คลคอื อะไร และมีวธิ ีวัดอยา่ งไร

.....................................................................................................................................................................................
9. จงอธบิ ายถึงประโยชนข์ องรายไดป้ ระชาชาติ

.....................................................................................................................................................................................
10. ทำไมรายได้ประชาชาตจิ ึงมใิ ช่ดัชนีทส่ี มบูรณ์ในการวดั สวสั ดกิ ารของประชาชน

.....................................................................................................................................................................................
ตอนท่ี 2 จงเลือกข้อทีถ่ ูกตอ้ งทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. รายได้ประชาชาติมีความหมายตรงกบั ข้อใด
ก. คา่ จ้าง ค่าเชา่ ดอกเบ้ยี และกำไร
ข. ค่าใชจ้ า่ ยในการอุปโภคบรโิ ภคของคนทงั้ ประเทศ
ค. คา่ ใช้จา่ ยในการบริโภค คา่ ใชจ้ ่ายในการลงทนุ รายจ่ายของรฐั บาล และรายจา่ ยจากตา่ งประเทศสุทธิ
ง. มูลค่าท่ีเป็นตัวเงินของสินค้าและบริการทั้งหมดทีผ่ ลติ ข้นึ ไดใ้ นระบบเศรษฐกจิ หนึง่ ภายใน ระยะเวลาหนึง่ ปี
จ. ถกู ทกุ ข้อ

2. การวัดรายไดป้ ระชาชาติทำไดก้ ว่ี ิธี อะไรบา้ ง

ก. วิธีเดยี ว คือ รายไดส้ ่วนบุคคล

ข. วิธเี ดยี ว คือ การวัดโดยใชม้ ูลคา่ เพ่มิ

ค. 2 วธิ ี คอื ผลิตภณั ฑ์ประชาชาติเบือ้ งต้น และผลติ ภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ

ง. 3 วิธี คอื ดา้ นรายได้ ด้านรายจ่าย และดา้ นผลผลิต

จ. 4 วิธี คอื ด้านรายได้ ดา้ นรายจ่าย ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ และดา้ นมูลคา่ เพม่ิ

3. การวดั รายได้ประชาชาตดิ ้านรายได้ ทำได้อยา่ งไร

ก. C + I + G + (X – M) ข. มูลค่าเพ่ิม

ค. คา่ จา้ ง + คา่ เช่า + ดอกเบ้ยี + กำไร ง. รายได้จากการสง่ ออกและนำเข้า

จ. มูลค่าสทุ ธิจากการขายใหต้ ่างประเทศ

4. มูลค่าเพ่ิมของแตล่ ะธุรกิจคอื อะไร

ก. มลู ค่าผลิตภัณฑข์ องธุรกิจนัน้

ข. มลู คา่ สินคา้ และบรกิ ารหน่วยสดุ ท้าย

ค. มูลค่าผลติ ภัณฑธ์ ุรกิจน้ันหกั ด้วยกำไร

ง. มูลค่าผลิตภณั ฑข์ องธรุ กิจนน้ั หักดว้ ยมูลคา่ ของวตั ถุดิบ

จ. รายรับจากการขายทัง้ หมดในราคาตลาด

5. การนับซ้ำในการคำนวณรายได้ประชาชาตหิ มายถงึ ข้อใด

ก. รายได้ประชาชาติหลายปีตดิ ตอ่ กัน ข. รายได้ประชาชาตติ ั้งแต่ 2 ปขี นึ้ ไป

ค. การรวมผลติ ภัณฑ์ขน้ั กลางเข้าไปดว้ ย ง. การรวมรายได้จากการขายทั้งหมดในตลาด

จ. การนบั เฉพาะผลิตภัณฑข์ ้ันสดุ ทา้ ย

6. รายไดท้ ตี่ กไม่ถงึ มือผู้บริโภคคอื ขอ้ ใด

ก. ค่าจ้าง ข. คา่ เช่า

ค. ดอกเบย้ี ง. เงินเดือน

จ. กำไรท่ไี มไ่ ดจ้ ัดสรร

7. ทำไมเงนิ โอนจึงไม่รวมอย่ใู นรายได้ประชาชาติ

ก. ไม่ได้ก่อให้เกิดผลผลิตเพมิ่ ข้ึน

ข. ไมไ่ ดร้ วมผลผลติ ทีเ่ พม่ิ ขนึ้

ค. เพอื่ หลกี เล่ียงปญั หาทจี่ ะเกดิ จากมูลคา่ เพมิ่

ง. เงินโอนเป็นเงินที่จา่ ยให้แกน่ ักธุรกจิ ต่างชาติ

จ. เงนิ โอนเป็นเงนิ ที่จ่ายใหแ้ กบ่ คุ คลซงึ่ พำนกั อยตู่ ่างประเทศ

8. ผลิตภัณฑ์ประชาชาตเิ บอ้ื งต้นไมไ่ ด้รวมรายการใดบา้ ง

ก. สนิ ค้าประเภทคงทนถาวร

ข. ผลิตภัณฑ์ทส่ี ง่ ไปขายต่างประเทศ

ค. ผลผลติ ทางการเกษตร

ง. รายรับจากตา่ งประเทศ

จ. บริการของแม่บ้าน

9. สมมติว่านาย ก ซอื้ ข้าวเปลือกจากชาวนาไปสเี ป็นขา้ วสารแจกคนในชุมชนแออัด อยากทราบว่าข้าว ทน่ี าย ก นำไปแจก

นน้ั เปน็ สินคา้ ในขอ้ ใด

ก. สินคา้ ข้นั สุดท้าย ข. สินคา้ ข้ันกลาง

ค. สินคา้ ระหวา่ งการผลติ ง. สินค้าเสรี

จ. สินคา้ ที่ไม่รวมในรายไดป้ ระชาชาติ

10. ความแตกตา่ งระหว่าง GNP กบั GDP คืออะไร
ก. ค่าเส่อื มราคา
ข. คา่ ใชจ้ า่ ยกนิ ทุน
ค. รายไดจ้ ากการส่งออกและนำเขา้
ง. รายได้สุทธจิ ากตา่ งประเทศ
จ. ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา
ตอนที่ 3 จงใสเ่ ครือ่ งหมาย ✓ หรือ × หน้าข้อความทเ่ี หมาะสม
.............. 1. มูลค่าของสินคา้ และบรกิ ารขั้นสดุ ท้ายที่ประเทศผลิตได้ใน 1 ปี คือ รายได้สทุ ธิจากต่างประเทศ
.............. 2. การคำนวณรายไดป้ ระชาชาติประเภทต่าง ๆ ค่าทไ่ี ด้จะไมเ่ ทา่ กนั
.............. 3. ตน้ ทนุ ทเ่ี ป็นค่าจา้ ง ค่าเช่า และดอกเบี้ย เป็นตวั ที่เกิดจากการซือ้ ปัจจัยการผลิตของผ้ผู ลติ
.............. 4. การคำนวณทางด้านผลผลิตเปน็ การคำนวณรายได้ประชาชาติโดยการหาผลรวมของสนิ คา้ และบริการข้ันสุดท้าย
.............. 5. การคำนวณทางดา้ นผลผลติ กอ่ ให้เกดิ การกระจายรายได้ทีไ่ มเ่ ป็นธรรม
.............. 6. รายไดป้ ระชาชาตใิ ชว้ ัดระดับกิจกรรมและกำหนดนโยบายเศรษฐกจิ ของประเทศ
.............. 7. รายไดป้ ระชาชาตริ วมสินค้าและบรกิ ารทุกชนิดท่ไี มผ่ า่ นตลาด
.............. 8. รายไดป้ ระชาชาติคำนงึ ถึงการพกั ผอ่ นหย่อนใจของบคุ คล
.............. 9. รายไดป้ ระชาชาตแิ สดงให้เห็นถึงการกระจายรายไดท้ เี่ ป็นธรรม
.............. 10. ผลิตภัณฑ์ประชาชาตสิ ทุ ธิ (NNP) มีค่าเทา่ กับผลิตภณั ฑ์ประชาชาติเบอ้ื งต้น (GNP) หกั ดว้ ย ค่าใชจ้ า่ ยใน

การบรโิ ภคทนุ

ใบงานท่ี 1

สมมติว่าระบบเศรษฐกิจเกิดภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง จนทำให้ประชาชนจำนวนมากพึ่งพาตลาด ผลผลิตและตลาด
ปัจจัยการผลิตนอ้ ยลง โดยหันมาผลิตสินค้าใช้เอง เหตุการณด์ ังกลา่ วจะส่งผลต่อมูลค่า ผลิตภัณฑ์ประชาชาติในประเทศ
เบ้อื งตน้ (GDP) อยา่ งไร อธิบาย
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 2

วิเคราะห์วา่ เหตกุ ารณ์ตอ่ ไปน้ีนบั รวมอยใู่ นการคำนวณ GDP หรือไม่ เพราะเหตใุ ด
(ก) รัฐบาลมรี ายได้จากการขายสลากกินแบ่งรฐั บาล
.....................................................................................................................................................................................
(ข) คา่ เสอื่ มราคาของปจั จัยทุน
.....................................................................................................................................................................................
(ค) กำไรของธรุ กิจทจ่ี ดั สรรเปน็ เงนิ ปันผล
.....................................................................................................................................................................................
(ง) สินค้าที่ผลิตในระหวา่ งปี แต่ยงั จำหน่ายไม่ได
.....................................................................................................................................................................................

(จ) นางสาวเอ ตัดเย็บเส้อื ผ้าใสเ่ อง
.....................................................................................................................................................................................
(ฉ) นายสรรค์ เสยี การพนันฟตุ บอล
.....................................................................................................................................................................................
(ช) การซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
.....................................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 3

วิเคราะหผ์ ลกระทบของเหตกุ ารณต์ ่อไปนท้ี ีม่ ีตอ่ มูลคา่ ผลติ ภณั ฑ์ประชาชาตเิ บือ้ งต้นของไทย
(ก) เกิดอทุ กภัยทางภาคใต้ ทำให้ผลผลติ ปาลม์ นำ้ มันเสยี หาย
.....................................................................................................................................................................................
(ข) รฐั บาลแจกเงินหมูบ่ า้ นละ 1 ลา้ นบาท
.....................................................................................................................................................................................
(ค) ประชาชนจำนวนมากเสียการพนนั ฟตุ บอลโลก
.....................................................................................................................................................................................
(ง) การเพมิ่ งบประมาณรายจา่ ยดา้ นสาธารณสุข

(จ) รฐั บาลขายพนั ธบตั รรฐั บาลจำนวน 5 แสนล้านบาท
.....................................................................................................................................................................................
(ฉ) การส่งออกของไทยเพม่ิ ขึน้
.....................................................................................................................................................................................
(ช) การนำเขา้ เพ่ิมขนึ้
....................................................................................................................................................................................

บันทึกหลังการสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาทพี่ บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการที่ 11 หน่วยท่ี 9

รหัส 30200-1001 หลกั เศรษฐศาสตร์ สอนครั้งที่ 11
ชื่อหน่วย การกำหนดรายได้ประชาชาติ
จำนวน 3 ชว่ั โมง

สาระสำคัญ

กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีส่วนสำคัญในการกำหนดรายได้ประชาชาติ ได้แก่ รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม รายจ่ายเพ่อื
การลงทนุ การใช้จา่ ยของภาครฐั บาล และการส่งออกสุทธิ กิจกรรมเหลา่ น้จี ะมมี ากหรือนอ้ ยขน้ึ อยกู่ ับปจั จยั หลายประการ เช่น
รายได้ อัตราดอกเบี้ย โดยการบรโิ ภค การออม การลงทุน และการสง่ ออก-นำเขา้ ทม่ี ีความสัมพนั ธก์ ัน และการบรโิ ภค การออม
และการลงทุน จะมผี ลกอ่ ให้เกิดกจิ กรรมทางเศรษฐกิจที่ตอ่ เนือ่ งต่อ ๆ กันไป

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธิบายรายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม ปัจจัยที่กำหนดการบริโภคและการออม ฟังก์ชันการบริโภค และการ
ออม เสน้ การบรโิ ภคและเส้นการออม และทราบถงึ กฎวา่ ดว้ ยการบริโภคของเคนส์
2. อธิบายเกี่ยวกับรายจ่ายเพื่อการลงทุน ปัจจัยที่กำหนดการลงทุน ฟังก์ชันการลงทุน การเปลี่ยนแปลงระดับ การลงทุนและ
การยา้ ยเสน้ การลงทุน ความไม่มีเสถียรภาพของการลงทนุ ได้
3. อธิบายการใชจ้ า่ ยของภาครฐั บาล ปัจจัยท่กี ำหนดการใช้จา่ ยของรฐั บาล เสน้ รายจ่ายของรัฐบาลและ การยา้ ยของเสน้ รายจา่ ย
ของรฐั บาลได้
4. อธิบายการส่งออกและการนำเข้า ปัจจัยที่กำหนดความต้องการส่งออก เส้นความต้องการส่งออกและ การย้ายเส้นความ
ตอ้ งการส่งออก ปัจจัยทกี่ ำหนดความตอ้ งการนำเขา้ และเส้นความตอ้ งการนำเข้า และการยา้ ยเสน้ ความต้องการนำเขา้ ได้

สมรรถนะประจำหน่วย

อธบิ ายการกำหนดรายไดป้ ระชาชาตจิ ากปัจจยั ท่กี ำหนด

สาระการเรยี นรู้

1. รายจ่ายเพอ่ื การบรโิ ภคและการออม
2. รายจา่ ยเพือ่ การลงทนุ
3. การใชจ้ า่ ยของภาครฐั บาล
4. การสง่ ออกสทุ ธิ

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น
1. ครกู ลา่ ววา่ การกำหนดรายไดป้ ระชาชาติ จะกลา่ วถึงความสมั พันธร์ ะหว่างระดบั รายได้ประชาชาตแิ ละ ความต้องการใช้จ่าย
มวลรวม (Desired Aggregate Expenditure) ซึ่งประกอบด้วย รายจ่ายเพื่อการบริโภค รายจ่ายเพื่อการลงทุน การใช้จ่ายของ
รัฐบาล และการส่งออกสุทธิ โดยมุ่งศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็น ตัวกำหนดหรือมีอิทธิพลต่อความต้องการใช้จ่ายมวลรวม
เคร่อื งมอื สำคัญทีใ่ ช้ประกอบการศึกษา ไดแ้ ก่ ฟังก์ชัน สมการ และเส้นกราฟ
2. ครูกลา่ วว่า ในหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 9 นี้ ผู้เรยี นจะได้เรียนร้กู ารกำหนดรายได้ประชาชาติ เพอื่ นำความรทู้ ีไ่ ด้ไปประยุกต์ในการ
วเิ คราะหแ์ ละคำนวณการกำหนดรายได้ประชาชาติ

ขนั้ สอน
3. ครูใชส้ ่อื PowerPoint ประกอบกบั เทคนิคการบรรยาย รายจ่ายเพ่ือการบรโิ ภคและการออม
รายได้ประชาชาติเป็นดัชนีตัวหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังนั้น จึงจำเป็น ต้องศึกษารายละเอียดของ
รายไดป้ ระชาชาตโิ ดยเฉพาะรายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม ท้งั น้ี เม่ื อประชาชนมกี ารบริ โภคมากข้นึ จะทำให้ ความต้ อง
การในสิ นค้าและบริ การในตลาดสูงขึ้ นและการออม ก็จะส่งผลให้มีเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการลงทุนมากขึ้น ซึ่งจูงใจให้ผู้ผลิต
ขยายการลงทุนมากขึ้น และเมื่อมี การลงทุนเพิ่มขึ้นก็จะมีการใช้ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น เจ้าของปัจจัยการผลิตจะมี
รายไดเ้ พมิ่ ขึน้ คนมงี านทำมากข้นึ ซ่ึงจะส่งผลให้ประเทศมรี ายได้ประชาชาตสิ งู ข้ึน


Click to View FlipBook Version