หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 537
แบบฝึกหดั ที่ 9.4
จงปฏิบตั ิกิจกรรมตามทีโ่ จทย์กาหนด (10 คะแนน)
1. วันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 บรษิ ัท ทองเอก จากัด ประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผลให้แกผ่ ู้ถอื หุน้ สามญั
เปน็ หุ้นสามญั ของบรษิ ทั รวยยง่ิ จากดั จานวน 5,000 หุ้น มูลคา่ ห้นุ ละ 100 บาท
มูลค่ายตุ ธิ รรมหุ้นละ 130 บาท บรษิ ัทต้ังใจถอื ไวเ้ ปน็ เงินลงทุนทว่ั ไป และจา่ ยเงินปันผล
ในวันท่ี 1 มนี าคม 2557
ใหท้ า บันทึกรายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป
สมุดรายวันทว่ั ไป หนา้ 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 538
2. วนั ท่ี 1 เมษายน 2557 บรษิ ทั ทองจริง จากัด ประกาศจา่ ยเงินปันผลใหแ้ กผ่ ถู้ ือหุ้นสามญั
เป็นหนุ้ สามญั ของบรษิ ทั ยิ่งรวย จากดั ซงึ่ มรี าคาตามบญั ชี 480,000 บาท มลู ค่ายตุ ธิ รรมในวันน้ี
550,000 บาท บริษทั ต้งั ใจถอื ไวเ้ ปน็ เงินลงทุนทัว่ ไป และจะจ่ายเงนิ ปันผลในวนั ที่ 1 พฤษภาคม 2557
ใหท้ า บันทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทั่วไป
สมดุ รายวนั ทั่วไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
3.3 การจ่ายเงินปันผลเปน็ เอกสารแสดงหน้ีสนิ ของบริษทั (Scrip Dividends)
ในกรณีทีบ่ รษิ ัทมเี งนิ สดไม่เพยี งพอท่จี ะจา่ ยเงนิ ปันผลในขณะน้ัน เพ่อื เป็นการเลอ่ื นเวลา
ในการจา่ ยเงินปันผลเป็นเงินสดออกไป บริษทั จึงจ่ายปันผลเป็นเอกสารแสดงหนส้ี นิ ให้แกผ่ ถู้ อื หุ้นไว้
เช่น ตัว๋ สัญญาใชเ้ งนิ ซงึ่ บริษัทสัญญาว่าจะจ่ายให้แก่ผถู้ อื หนุ้ ตามจานวนเงนิ พร้อมดอกเบยี้ (ถ้าม)ี
ภายในระยะเวลาทกี่ าหนด
1) ณ วันประกาศจา่ ยเงนิ ปันผล บนั ทึกบัญชีโดย
เดบติ กาไรสะสม ××
เครดติ เงนิ ปนั ผลค้างจา่ ย-ตัว๋ เงนิ จ่าย ××
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 539
2) วันจา่ ยเงินปันผลเป็นเอกสารแสดงหนี้สนิ ของบริษัท บนั ทึกบัญชีโดย
เดบติ เงินปันผลคา้ งจ่าย – ตั๋วเงนิ จา่ ย ××
เครดติ ต๋วั เงนิ จ่าย ××
3) บันทกึ จ่ายเงนิ ปันผลเป็นเงินสดพร้อมดอกเบ้ยี ตัว๋ เงินจ่าย (ถ้ามี) บนั ทกึ บัญชีโดย
เดบิต ตั๋วเงินจา่ ย ××
ดอกเบย้ี จา่ ย ××
เครดติ เงินสด ××
ตัวอยา่ งที่ 9.8 วันที่ 1 เมษายน 2557 บรษิ ัท ทรพั ย์ธานี จากดั (มหาชน) ประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผล
เปน็ ต๋วั สญั ญาใช้เงิน อัตราดอกเบี้ย 10% ตอ่ ปี จานวน 100,000 บาท กาหนดระยะเวลา 3 เดอื น
นับจากวนั ทอ่ี อกตั๋ว บรษิ ทั ออกตว๋ั สญั ญาใชเ้ งินวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2557
การบันทึกบัญชี
สมดุ รายวันทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
เม.ย. 1 กาไรสะสม 100,000 -
เงินปนั ผลคา้ งจา่ ย-ตว๋ั เงินจา่ ย 100,000 -
ประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผล
เปน็ ตัว๋ สญั ญาใช้เงนิ
พ.ค. 1 เงนิ ปนั ผลคา้ งจา่ ย-ตัว๋ เงนิ จา่ ย 100,000 -
ตว๋ั เงนิ จ่าย 100,000 -
ออกตั๋วสญั ญาใชเ้ งินใหผ้ ถู้ ือหุ้น
ดอกเบย้ี 10% ตอ่ ปี
ระยะเวลา 3 เดือน
ส.ค. 1 ตัว๋ เงนิ จ่าย 100,000 -
ดอกเบี้ยจ่าย (100,000x10%x3/12) 2,500 -
เงนิ สด 102,500 -
บันทกึ จา่ ยเงินปนั ผลพรอ้ มดอกเบีย้
ตามต๋ัวเงนิ จ่าย
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 540
แบบฝกึ หดั ที่ 9.5
จงปฏิบตั ิกิจกรรมตามทโี่ จทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. วนั ที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 บริษัท รวมทรพั ย์ จากัด ประกาศจ่ายเงินปันผลเปน็ ตัว๋ สัญญาใชเ้ งิน
อัตราดอกเบย้ี 9% ตอ่ ปี จานวน 150,000 บาท กาหนดระยะเวลา 3 เดือนนับจากวันทีอ่ อกตวั๋
บรษิ ทั ออกต๋ัวสัญญาใช้เงินวนั ที่ 1 มีนาคม 2557
ใหท้ า บนั ทกึ รายการในสมุดรายวนั ทั่วไป
สมดุ รายวันท่ัวไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 541
2. วนั ที่ 1 เมษายน 2557 บริษัท ร่งุ ทรพั ย์ จากดั ประกาศจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ ต๋ัวสญั ญาใชเ้ งิน
อัตราดอกเบี้ย 10% ตอ่ ปี จานวน 200,000 บาท ระยะเวลา 3 เดอื น นบั จากวันที่ออกต๋ัว
บริษทั ออกต๋ัวสญั ญาใช้เงนิ วันที่ 1 พฤษภาคม 2557
ใหท้ า บนั ทกึ รายการในสมุดรายวนั ทั่วไป
สมุดรายวันทวั่ ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 542
3.4 การจา่ ยเงินปันผลในลักษณะคืนทุน (Liquidating Dividends)
เงนิ ปันผลท่ีจ่ายเพ่ือการคืนทนุ มักเกิดขน้ึ กบั บรษิ ทั ทกี่ าลงั เลิกกจิ การ หรือบริษัทที่ดาเนินกิจการ
เกย่ี วกับทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ เหมืองแร่ ปา่ ไม่ เปน็ ต้น ซ่ึงมีอายุการดาเนินงานจากัด เช่น 10 ปี
หรือ 20 ปี ดังนั้น จึงต้องทยอยจ่ายคืนทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเมื่อหมดอายุสัมปทานก็จะจ่ายคืนทุน
ให้แก่ผู้ถือหุ้นหมดพอดี เงินปันผลท่ีจ่ายแต่ละครั้งถือเป็นการแบ่งผลกาไรส่วนหน่ึง อีกส่วนหน่ึงถือเป็น
การจ่ายคนื ทุนผ้ถู ือหุน้ เงนิ ปนั ผลที่อาจจ่ายไดเ้ ท่ากับกาไรสะสมบวกคา่ สูญส้นิ ของงวดบัญชีนน้ั
บัญชีเงินทุนจ่ายคืนทุนผู้ถือหุ้น เป็นบัญชีที่นาไปแสดงเป็นรายการหักจากส่วนของผู้ถือหุ้น
ในงบแสดงฐานะการเงนิ และเปดิ เผยการจา่ ยเงนิ ปนั ผลในลกั ษณะคืนทุนไว้ในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
1) ณ วันประกาศจา่ ยเงนิ ปันผล ให้เดบติ กาไรสะสมดว้ ยเงนิ ปนั ผลทป่ี ระกาศจ่ายจากกาไร
ส่วนทีเ่ กินกว่ากาไร ใหเ้ ดบิตบญั ชเี งินทนุ จา่ ยคืนผู้ถอื หนุ้ ดงั น้ี
เดบติ กาไรสะสม ××
เงินทนุ จา่ ยคืนผู้ถอื หุ้น ××
เครดิต เงนิ ปนั ผลคา้ งจา่ ย ××
2) วันจ่ายเงนิ ปันผล บนั ทกึ บญั ชโี ดย
เดบิต เงินปันผลคา้ งจ่าย ××
เครดิต เงินสด ××
ตวั อยา่ งที่ 9.9 บริษทั สยามเหมืองแร่ จากดั เป็นบริษัทไดร้ บั สมั ปทานในการทาเหมืองแร่
งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2556 แสดงดังนี้
บริษัท สยามเหมอื งแร่ จากัด
งบแสดงฐานะการเงิน (บางสว่ น)
ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2556
สินทรพั ย์ หนส้ี ินและส่วนของผู้ถอื หุ้น
เงนิ สด 900,000 เจ้าหนี้ 1,000,000
อาคาร 10,000,000 หุ้นสามญั 12,000,000
หัก ค่าเส่ือมราคาสะสม 1,000,000 9,000,000 สว่ นเกินมลู ค่าหนุ้ สามญั 8,600,000
เหมอื งแร่ 15,000,000 กาไรสะสม 500,000
หกั ค่าสูญสนิ้ 2,800,000 12,200,000
รวมสนิ ทรพั ย์ 22,100,000 รวมหนี้สินและสว่ นของผถู้ อื หนุ้ 22,100,000
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 543
ในปี 2556 บริษัทตัดบญั ชคี ่าสูญสนิ้ เหมืองแร่ 1,200,000 บาท บรษิ ทั สามารถจ่ายเงินปันผล
สาหรบั ปี 2556 จานวน 1,700,000 บาท (500,000 + 1,200,000) ตอ่ มาวนั ท่ี 5 มกราคม 2557
บรษิ ทั ประกาศจา่ ยเงินปันผล จานวน 800,000 บาท โดยจะจ่ายเงนิ ปันผลในวนั ที่ 25 มกราคม 2557
การบันทกึ บัญชี
สมดุ รายวันทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 5 กาไรสะสม 500,000 -
เงินทนุ จา่ ยคนื ผูถ้ ือหุ้น 300,000 -
เงินปันผลค้างจ่าย 800,000 -
ประกาศจา่ ยเงินปนั ผลจากกาไร
และเปน็ การจ่ายคืนทนุ
25 เงนิ ปันผลค้างจ่าย 800,000 -
เงินสด 800,000 -
บันทึกจา่ ยเงนิ ปนั ผลใหแ้ กผ่ ู้ถอื ห้นุ
การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินหลงั จากจ่ายเงินปนั ผลในลักษณะคนื ทุน ดังนี้
บริษัท สยามเหมอื งแร่ จากัด
งบแสดงฐานะการเงนิ (บางสว่ น)
ณ วันที่ 31 มกราคม 2557
สินทรพั ย์ หนสี้ ินและสว่ นของผถู้ ือหุ้น
เงินสด 100,000 เจา้ หน้ี 1,000,000
อาคาร 10,000,000 หุ้นสามญั 12,000,000
หัก ค่าเส่ือมราคาสะสม 1,000,000 9,000,000 หัก เงนิ ทุนจา่ ยคืนผู้ถอื หนุ้ 300,000 11,700,000
เหมืองแร่ 15,000,000 สว่ นเกินมลู คา่ หุน้ สามญั 8,600,000
หกั ค่าสูญส้ิน 2,800,000 12,200,000
รวมสินทรพั ย์ 21,300,000 รวมหน้ีสินและสว่ นของผถู้ อื หุ้น 21,300,000
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
บรษิ ัทประกาศจา่ ยเงินปันผล จานวน 800,000 บาท เป็นการจา่ ยจากกาไร 500,000 บาท
ส่วนอกี 300,000 บาท ถือเป็นการคืนทุนแกผ่ ู้ถอื หุ้น
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 544
แบบฝกึ หดั ที่ 9.6
จงปฏิบัตกิ จิ กรรมตามท่ีโจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. เมือ่ วันท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2557 บรษิ ทั สนิ แร่ จากดั ไดป้ ระกาศจา่ ยเงินปนั ผลเป็นเงนิ สดให้ผ้ถู ือหุ้น
จานวน 2,500,000 บาท โดยจ่ายจากกาไรสะสม 80% ทเ่ี หลอื เป็นการจา่ ยคืนทนุ ผถู้ อื หุ้น
บริษัทจะจ่ายเงนิ ปันผลในวนั ที่ 1 มนี าคม 2557
ให้ทา บนั ทึกรายการในสมดุ รายวันทว่ั ไป
สมดุ รายวันท่ัวไป หนา้ 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
2. เม่อื วนั ท่ี 1 มนี าคม 2557 บรษิ ทั เหมืองทอง จากัด ไดป้ ระกาศจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ เงินสดใหผ้ ้ถู ือหุน้
จานวน 3,000,000 บาท โดยจ่ายจากกาไรสะสม 2,000,000 บาท ที่เหลอื เปน็ การจา่ ยคืนทนุ ผถู้ อื หุ้น
และจ่ายเงนิ ปนั ผลในวนั ที่ 1 เมษายน 2557
ใหท้ า บันทึกรายการในสมดุ รายวันทว่ั ไป
สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 545
3.5 การจ่ายเงินปันผลเปน็ หุ้นสามัญ (Stock Dividends)
การจ่ายเงินปันผลเป็นหุ้นสามัญ คือ หุ้นสามัญท่ีบริษัทออกเพ่ิมให้แก่ผู้ถือหุ้นตามสัดส่วน
ของจานวนหนุ้ ท่ถี อื อยู่ โดยทวั่ ไปบรษิ ัทจะจา่ ยดว้ ยหุ้นสามญั ทจ่ี ดทะเบียนแล้ว แต่ยังไม่ได้นาออกจาหน่าย
หรือหุ้นสามัญท่ีบริษัทได้รับคืนมา การจ่ายเงินปันผลเป็นหุ้นสามัญถือเป็นการโอนกาไรสะสมบางส่วน
ไปเปน็ ทนุ อยา่ งถาวร
1) ณ วนั ประกาศจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ หุ้นสามญั จานวนกาไรสะสมทจ่ี ะโอนไปเป็นทนุ
โดยพจิ ารณาจากจานวนหนุ้ สามญั ปนั ผล ดังนี้
(1) จานวนหุ้นสามัญปันผลนอ้ ยกวา่ 20 – 25% ของหนุ้ ที่ออกจาหน่าย ซึ่งถือว่าหุ้นปันผล
มีจานวนนอ้ ย จะโอนบัญชีกาไรสะสมออกโดยใชม้ ูลค่ายุตธิ รรมของหนุ้ ปนั ผล
ให้เดบิตบัญชกี าไรสะสมด้วยมลู คา่ ยุตธิ รรม และเครดติ บญั ชีหุ้นสามัญปนั ผลค้างจ่าย
ด้วยราคาตามมูลค่า ผลตา่ งให้บันทึกในบญั ชสี ว่ นตา่ กวา่ มลู ค่าห้นุ สามญั หรอื ส่วนเกินมลู คา่ หนุ้ สามัญ
เดบติ กาไรสะสม (มลู ค่ายุตธิ รรม) ××
ส่วนตา่ กว่ามลู ค่าหนุ้ สามญั (ถา้ มี) ××
เครดติ หุ้นสามญั ปนั ผลคา้ งจา่ ย ××
ส่วนเกินมลู ค่าห้นุ สามญั (ถา้ มี) ××
(2) จานวนหนุ้ สามัญปันผลมากกว่า 20 – 25% ของหนุ้ ทอ่ี อกจาหนา่ ย ซ่ึงถือว่าหุ้นปันผล
มีจานวนมาก จะมีผลกระทบต่อราคาตลาดของหุ้นสามัญ ทาให้ราคาตลาดปรับลดลงมากกว่าปกติได้
กรณนี ี้ จะบนั ทกึ โอนบัญชีกาไรสะสม โดยใชร้ าคาตามมลู ค่าของหุ้นปันผล บันทกึ บัญชโี ดย
เดบิต กาไรสะสม (ราคาตามมูลคา่ ) ××
เครดติ ห้นุ สามัญปันผลค้างจา่ ย ××
2) วันจ่ายเงนิ ปันผลเป็นหุ้นสามัญ บันทกึ บญั ชีโดย ××
××
เดบิต ห้นุ สามัญปนั ผลคา้ งจา่ ย
เครดิต หุ้นสามัญ
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 546
ตวั อย่างท่ี 9.10 บริษัท นาชยั จากดั มหี ุน้ สามัญออกจาหน่ายและเรียกชาระแล้ว จานวน 10,000 หุ้น
มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ในวันที่ 1 เมษายน 2557 บริษัทประกาศจ่ายหุ้นสามัญปันผล 10%
มลู ค่ายุตธิ รรมของหนุ้ สามญั ณ วนั ประกาศจ่าย หุ้นละ 110 บาท บริษัทมีกาไรสะสม 200,000 บาท
และบรษิ ัทจะจ่ายห้นุ สามญั ปนั ผลในวันที่ 1 พฤษภาคม 2557
การบันทึกบญั ชี
สมดุ รายวนั ท่วั ไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
เม.ย. 1 กาไรสะสม (10,000 x 10% x 110) 110,000 -
หนุ้ สามญั ปันผลคา้ งจ่าย 100,000 -
ส่วนเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั 10,000 -
ประกาศจา่ ยหุ้นสามญั ปนั ผล 10%
พ.ค. 1 หนุ้ สามญั ปนั ผลค้างจ่าย 100,000 -
หุ้นสามญั (1,000 × 100) 100,000 -
บนั ทึกจ่ายหนุ้ สามัญปนั ผล
จานวน 1,000 หุน้ (10,000×10%)
ตวั อย่างที่ 9.11 จากตวั อยา่ งท่ี 9.10 บริษทั นาชัย จากดั ประกาศจ่ายหุ้นสามญั ปนั ผลในอัตรา 30%
สมุดรายวนั ทวั่ ไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
เม.ย. 1 กาไรสะสม (10,000 x 30% x 100) 300,000 -
หุน้ สามญั ปันผลค้างจา่ ย 300,000 -
ประกาศจา่ ยหุน้ สามญั ปันผล 30%
พ.ค. 1 หนุ้ สามญั ปนั ผลค้างจา่ ย 300,000 -
หุน้ สามัญ (3,000 × 100) 300,000 -
บนั ทกึ จา่ ยหุ้นสามัญปนั ผล
จานวน 3,000 หุ้น (10,000×30%)
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 547
สทิ ธริ บั หุ้นปันผลไมเ่ ตม็ ห้นุ (Fractional Shares)
การจ่ายหุ้นสามัญปันผล ผ้ถู ือหนุ้ บางรายอาจประสบปญั หาเก่ียวกับการไดร้ บั หุ้นปันผลไมเ่ ต็มหนุ้
เชน่ บรษิ ัทประกาศจ่ายหุ้นปันผล 10% ผูถ้ ือหุ้นรายหนง่ึ มหี ้นุ สามญั จานวน 45 หุน้ จะไดร้ บั หุน้ ปนั ผล
4.5 หุ้น ซ่งึ จะไดร้ ับหนุ้ เตม็ 4 หุ้น ส่วนอกี 0.5 หุน้ ถอื เป็นหนุ้ ปันผลไมเ่ ตม็ หนุ้
การบันทกึ บญั ชเี กีย่ วกบั สิทธริ ับห้นุ ปันผลไมเ่ ต็มหนุ้ แบง่ เปน็ 3 วิธี ดงั นี้
1. จา่ ยเงนิ สดสาหรับส่วนที่ไม่สามารถออกหุ้นใหไ้ ด้ บนั ทกึ บัญชโี ดย
เดบติ หนุ้ สามญั ปันผลค้างจ่าย ××
เครดติ หุ้นสามญั ××
เงนิ สด ××
2. ออกใบสาคัญแสดงสทิ ธิรับหุ้นปันผลไม่เตม็ หุ้น บนั ทึกบัญชโี ดย
เดบติ หนุ้ สามัญปนั ผลค้างจา่ ย ××
เครดิต หุ้นสามัญ ××
ใบสาคญั แสดงสทิ ธริ บั ห้นุ ผลไม่เตม็ หุน้ ××
(1) นาใบสาคญั แสดงสทิ ธิรบั หุ้นปันผลไมเ่ ต็มหุ้นมาแลกใบหุ้น บันทึกบญั ชีโดย
เดบติ ใบสาคญั แสดงสทิ ธริ บั หุ้นผลไม่เตม็ หนุ้ ××
เครดติ ห้นุ สามัญ ××
(2) ใบสาคัญแสดงสทิ ธิรบั หนุ้ ปันผลไมเ่ ตม็ หนุ้ หมดอายุ บันทึกบญั ชีโดย
เดบติ ใบสาคญั แสดงสทิ ธริ บั ห้นุ ผลไมเ่ ตม็ หุ้น ××
เครดิต สว่ นเกนิ ทุนจากการไม่ใช้สิทธริ บั ห้นุ ปนั ผล ××
3. เรียกเก็บเงนิ สว่ นท่ีขาดและออกใบหุ้นให้ บันทกึ บัญชีโดย
เดบติ เงินสด ××
หุ้นสามญั ปันผลคา้ งจา่ ย ××
เครดิต หนุ้ สามญั ××
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 548
ตวั อย่างท่ี 9.12 บรษิ ทั เพม่ิ ทรพั ย์ จากดั มหี ุน้ สามญั ออกจาหน่ายและเรียกชาระแลว้ 20,000 หุ้น
มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 บริษัทประกาศจา่ ยหนุ้ สามญั ปันผล 30%
จานวน 6,000 ห้นุ (20,000 x 30%) บริษทั จ่ายหุน้ สามญั ปันผลวันที่ 1 มนี าคม 2557
มีผถู้ อื หุน้ 3 ราย ท่ไี ด้รบั หุ้นปันผลไมเ่ ตม็ หุ้น จานวน 0.8, 0.7 และ 0.5 รวมท้ังสน้ิ 2 หุ้น (0.8+0.7+0.5)
ดงั น้นั บริษทั จงึ ออกหนุ้ ได้เพียง 5,998 หนุ้ (6,000 – 2)
การบันทกึ บัญชี
สมุดรายวันทั่วไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ก.พ. 1 กาไรสะสม (20,000 x 30% x 100) 600,000 -
หนุ้ สามัญปนั ผลคา้ งจ่าย 600,000 -
ประกาศจา่ ยห้นุ สามญั ปนั ผล 30%
การบนั ทกึ บญั ชเี กย่ี วกับสทิ ธิรบั หุ้นปันผลไม่เต็มห้นุ
1. จ่ายเงินสดสาหรบั สว่ นท่ไี มส่ ามารถออกหนุ้ ให้ได้
สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดอื น วนั บญั ชี บาท สต.
599,800 -
มี.ค. 1 ห้นุ สามญั ปนั ผลค้างจา่ ย 600,000 - 200 -
หุ้นสามัญ (5,998 x 100)
เงินสด (2 x 100)
ออกหนุ้ สามญั ปนั ผลและจา่ ยเงินสด
ในสว่ นทไ่ี ม่สามารถออกห้นุ ได้
2. ออกใบสาคญั แสดงสทิ ธิรับหุ้นปันผลไม่เตม็ หนุ้
บรษิ ัทออกใบสาคัญแสดงสทิ ธิรบั หุ้นปันผลไมเ่ ตม็ หุน้ ใหแ้ กผ่ ถู้ ือหนุ้ 3 ราย หมดเขตการใชส้ ทิ ธิ 2 เดือน
สมุดรายวนั ทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ี ค. 1 หุ้นสามญั ปันผลคา้ งจา่ ย 600,000 -
ห้นุ สามัญ (5,998 x 100) 599,800 -
ใบสาคญั แสดงสทิ ธ-ิ
รับหุน้ ปนั ผลไม่เตม็ หุ้น (2x100) 200 -
ออกหนุ้ สามญั ปนั ผลและใบสาคัญ
แสดงสทิ ธิรบั หนุ้ ปันผลไมเ่ ต็มหนุ้
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 549
ต่อมาวันท่ี 1 เมษายน 2557 มผี ้นู าใบสาคญั แสดงสิทธริ บั หนุ้ ปนั ผลไม่เตม็ ห้นุ มาแลกใบหุ้น 1 ห้นุ
สมุดรายวันทวั่ ไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
เม.ย. 1 ใบสาคัญแสดงสทิ ธริ ับหุ้นปันผลไม่เต็มหนุ้ 100 -
หุ้นสามญั (1 x 100) 100 -
ออกหนุ้ สามญั ตามใบแสดงสทิ ธิ
ในวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2557 ใบสาคัญแสดงสทิ ธริ ับหนุ้ ปนั ผลไม่เตม็ ห้นุ หมดอายุ
สมดุ รายวนั ท่ัวไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
พ.ค. 1 ใบสาคญั แสดงสิทธริ ับหุ้นปันผลไมเ่ ตม็ หนุ้ 100 -
ส่วนเกินทุนจากการไม่ใช้- 100 -
สทิ ธิรับหุ้นปันผล (1 x 100)
ใบสาคัญแสดงสิทธหิ มดอายุ
3. เรยี กเกบ็ เงนิ ส่วนท่ขี าดและออกใบหุ้นให้
ผถู้ อื หุ้นทง้ั 3 ราย ทไ่ี ดร้ ับหุ้นปันผลไมเ่ ต็มหุน้ ยอมจา่ ยเงินส่วนทเ่ี หลอื เพ่ือใหเ้ ตม็ มูลค่าหนุ้ ท่ตี นถือ
ดงั น้ัน บริษทั จะต้องออกห้นุ เพม่ิ 1 หุ้น
สมุดรายวนั ทั่วไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
มี.ค. 1 เงินสด (1-0.8)+(1-.07)+(1-0.5)x100 100 -
ห้นุ สามญั ปนั ผลค้างจา่ ย 600,000 -
ห้นุ สามัญ (6,001 x 100) 600,100 -
เกบ็ เงินส่วนท่ีขาดและออกหนุ้ สามญั
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 550
แบบฝกึ หดั ท่ี 9.7
จงปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทโ่ี จทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. บรษิ ัท ภูมทิ รัพย์ จากัด มีทุนจดทะเบียนเป็นห้นุ สามญั จานวน 50,000 หุน้
ออกจาหนา่ ยและชาระเต็มมลู คา่ แล้ว จานวน 30,000 หุน้ มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท
บริษัทประกาศจ่ายหุน้ สามญั ปนั ผลวันท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2557 และจา่ ยเงนิ ปนั ผลวนั ท่ี 1 มีนาคม 2557
ใหท้ า บนั ทึกรายการประกาศและจ่ายห้นุ สามญั ปันผลแตล่ ะกรณี ดงั น้ี
กรณีท่ี 1 ประกาศจ่ายหุ้นปันผล 10% ขณะที่หุ้นสามญั มมี ลู คา่ ยตุ ิธรรมห้นุ ละ 110 บาท
กรณีท่ี 2 ประกาศจา่ ยหุ้นปันผล 20% ขณะทีห่ ุ้นสามญั มีมลู ค่ายตุ ธิ รรมหุน้ ละ 120 บาท
กรณที ี่ 3 ประกาศจ่ายห้นุ ปันผล 30% ขณะท่ีหุ้นสามญั มมี ลู คา่ ยุติธรรมหุ้นละ 130 บาท
กรณที ่ี 1 ประกาศจ่ายห้นุ ปันผล 10% ขณะที่หนุ้ สามัญมีมลู คา่ ยุตธิ รรมห้นุ ละ 110 บาท
สมุดรายวนั ทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 551
กรณีที่ 2 ประกาศจา่ ยหนุ้ ปนั ผล 20% ขณะทหี่ นุ้ สามญั มมี ลู ค่ายตุ ธิ รรมหุ้นละ 120 บาท
สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วนั บญั ชี บาท สต. บาท สต.
กรณที ี่ 3 ประกาศจา่ ยหนุ้ ปันผล 30% ขณะท่ีหุ้นสามญั มมี ลู คา่ ยุติธรรมหนุ้ ละ 130 บาท
สมดุ รายวันท่วั ไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วัน บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 552
2. บรษิ ัท มที รพั ย์ จากัด มที นุ จดทะเบยี นเป็นหุ้นสามญั จานวน 40,000 หุ้น ออกจาหน่ายและ
ชาระเต็มมลู คา่ แล้ว จานวน 30,000 หนุ้ มลู ค่าหนุ้ ละ 100 บาท ในวนั ท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2557
บริษทั ประกาศจ่ายหุ้นสามญั ปนั ผล 10% หนุ้ สามญั มีมลู คา่ ยตุ ิธรรมห้นุ ละ 110 บาท
และจ่ายเงินปันผลในวนั ที่ 1 มีนาคม 2557 มีผู้ถือหนุ้ 4 ราย ท่ีไดร้ บั หนุ้ ปันผลไมเ่ ตม็ หนุ้
จานวน 0.20 หุ้น 0.80 หุน้ 0.70 หนุ้ และ 0.30 หุ้น รวมทั้งส้นิ 2 ห้นุ
ให้ทา บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ท่ัวไป ณ วันที่ตอ่ ไปน้ี
วันท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557
วันท่ี 1 มีนาคม 2557 บริษัทจ่ายเงินสดสาหรับส่วนทไ่ี ม่สามารถออกหุ้นใหไ้ ด้
วันที่ 1 มีนาคม 2557 บรษิ ทั ออกใบสาคัญแสดงสทิ ธริ ับหุ้นปนั ผลไม่เตม็ หุ้นให้แกผ่ ถู้ ือหุน้ 4 ราย
หมดเขตการใชส้ ทิ ธิ 2 เดอื น
ในวนั ที่ 1 เมษายน 2557 มผี นู้ าใบสาคัญแสดงสทิ ธริ บั หุน้ ปนั ผลไมเ่ ต็มหุ้น
มาแลกใบหุ้น 2 ห้นุ
วนั ท่ี 1 มีนาคม 2557 บรษิ ทั เรียกเกบ็ เงินสว่ นทข่ี าดและออกใบหนุ้ ให้
วันที่ 1 กมุ ภาพันธ์ 2557
สมุดรายวนั ทัว่ ไป หนา้ 1
พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
วันท่ี 1 มีนาคม 2557 บริษัทจา่ ยเงนิ สดสาหรบั สว่ นทีไ่ มส่ ามารถออกหนุ้ ใหไ้ ด้
สมดุ รายวันทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วัน บญั ชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 553
วนั ท่ี 1 มีนาคม 2557 บริษทั ออกใบสาคญั แสดงสทิ ธริ บั หุ้นปันผลไมเ่ ตม็ หุ้นให้แกผ่ ถู้ ือหุ้น 4 ราย
หมดเขตการใช้สทิ ธิ 2 เดอื น
ในวนั ที่ 1 เมษายน 2557 มีผนู้ าใบสาคญั แสดงสทิ ธริ บั หุ้นปนั ผลไมเ่ ต็มหนุ้ มาแลกใบหนุ้ 2 หุ้น
สมดุ รายวันท่วั ไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
วนั ท่ี 1 มีนาคม 2557 บริษทั เรยี กเกบ็ เงินสว่ นท่ีขาดและออกใบห้นุ ให้
สมุดรายวนั ทัว่ ไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต สต. เครดิต
เดือน วัน บญั ชี บาท บาท สต.
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 554
สรุป
กาไรสะสมเป็นผลจากการดาเนินงานของบริษัทตั้งแต่จัดตั้งบริษัทจนถึงปัจจุบันท่ียังไม่แบ่งปัน
ใหผ้ ู้ถอื หนุ้ และยังสะสมไวใ้ นบรษิ ัท
กาไรสะสมในงบการเงนิ จะแบง่ เป็น 2 ประเภท คือ
1) กาไรสะสมจัดสรร เป็นกาไรสะสมที่กันไว้สาหรับวัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น จัดสรร
ไว้เปน็ ทนุ สารองตามกฎหมาย สารองเพ่ือขยายงาน เปน็ ตน้
2) กาไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร เป็นกาไรสะสมส่วนท่ีเหลือจากการจัดสรร ซ่ึงสามารถนาไป
จ่ายเป็นเงนิ ปนั ผลให้ผ้ถู อื หุน้ ได้
วัตถุประสงค์ของการจัดสรรกาไรสะสม แบ่งเป็น 3 ประเภท การจัดสรรตามกฎหมาย
การจดั สรรตามภาระผกู พนั และการจัดสรรตามนโยบายของบริษัท
เงินปันผล เป็นกาไรสุทธิท่ีบริษัทแบ่งให้ผู้ถือหุ้น โดยปกติการคานวณเงินปันผลจะคานวณ
เป็นร้อยละของมลู คา่ หนุ้ ท่ีออกจาหน่ายและเรียกชาระเต็มมูลค่าแล้ว แต่ไม่รวมหุ้นทุนท่ีบริษัทได้รับคืนมา
การจา่ ยเงินปันผลใหจ้ า่ ยตามสัดส่วนของจานวนหุ้นที่ยังอยใู่ นมือผ้ถู อื ห้นุ
ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิได้รับเงินปันผลก่อนผู้ถือหุ้นสามัญตามอัตราและสิทธิพิเศษที่กาหนด
ไว้ในใบหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ ดังนี้
1) หุ้นบุรมิ สิทธิชนิดไมส่ ะสมและไมร่ ่วมรบั
2) ห้นุ บรุ ิมสิทธิชนดิ ไม่สะสมแตร่ ว่ มรบั
3) หนุ้ บรุ ิมสทิ ธชิ นดิ สะสมแตไ่ มร่ ว่ มรบั
4) หนุ้ บรุ มิ สิทธชิ นดิ สะสมและรว่ มรบั
เงนิ ปันผลท่บี รษิ ัทประกาศจ่ายมี 5 ชนดิ คือ
1) จ่ายเงนิ ปนั ผลเป็นเงินสด
2) จ่ายเงนิ ปนั ผลเป็นสนิ ทรัพย์อน่ื
3) จา่ ยเงินปนั ผลเปน็ เอกสารแสดงหนสี้ นิ ของบรษิ ทั
4) จ่ายเงนิ ปนั ผลในลกั ษณะคืนทุน
5) จ่ายเงนิ ปันผลเป็นหุ้นสามัญ
การจ่ายเงินปันผลเป็นหุ้นสามัญ ผู้ถือหุ้นบางรายอาจประสบปัญหาเก่ียวกับการได้รับ
หุ้นปันผลไม่เตม็ หุ้น การบันทกึ บัญชีเก่ยี วกับสทิ ธิรับห้นุ ปันผลไมเ่ ต็มหุ้น แบ่งเปน็ 3 วิธี คอื
(1) จา่ ยเงินสดสาหรับสว่ นทไ่ี มส่ ามารถออกหุ้นให้ได้
(2) ออกใบสาคญั แสดงสทิ ธริ ับหนุ้ ปันผลไม่เตม็ หุ้น
(3) เรียกเก็บเงินส่วนท่ขี าดและออกใบหุน้ ให้
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 555
คาศพั ทท์ างการบญั ชี
คาศพั ท์ ความหมาย
Appropriation Retained Earnings กาไรสะสมจดั สรร
Cash Dividends การจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ เงินสด
Contractual Restrictions การจดั สรรตามภาระผูกพัน
Date of Declaration วนั ประกาศจ่ายเงินปนั ผล
Date of Payment วนั ท่จี า่ ยเงนิ ปนั ผล
Discretion of Management การจัดสรรตามนโยบายของบริษทั
Dividends เงนิ ปันผล
Ex-dividend Date วันปดิ รับโอนหุ้น
Fractional Shares สทิ ธิรบั หนุ้ ปนั ผลไม่เตม็ หุ้น
Legal Restrictions การจดั สรรตามกฎหมาย
Liquidating Dividends การจ่ายเงนิ ปนั ผลในลกั ษณะคนื ทุน
Property Dividends การจ่ายเงนิ ปันผลเปน็ สินทรัพยอ์ ื่น
Retained Earnings กาไรสะสม
Scrip Dividends การจ่ายเงินปนั ผลเป็นเอกสารแสดงหน้ีของบรษิ ัท
Stock Dividends การจ่ายเงินปันผลเป็นหุ้นสามญั
Un-appropriation Retained Earnings กาไรสะสมทย่ี ังไมไ่ ดจ้ ดั สรร
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 556
แบบทดสอบหลงั เรยี น
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล
คาชีแ้ จง
1. ให้เลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สดุ เพยี งขอ้ เดยี ว และทาเครอ่ื งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 8 ขอ้ รวม 8 คะแนน ใชเ้ วลา 8 นาที
1. ในวันทีบ่ รษิ ัทมกี ารจัดสรรกาไรสะสม จะบนั ทกึ บญั ชีอยา่ งไร (จุดประสงคก์ ารเรยี นร้ขู อ้ ที่ 2)
ก. เดบิต กาไรสะสม ××
เครดติ กาไรสะสมจัดสรร-(ตามวัตถุประสงคท์ กี่ าหนดไว้) ××
ข. เดบติ กาไรสะสมจดั สรร ××
เครดติ กาไรสะสมจดั สรร-(ตามวตั ถุประสงค์ท่ีกาหนดไว)้ ××
ค. เดบิต กาไรสะสมจัดสรรเพือ่ ขยายงาน ××
เครดิต กาไรสะสมจัดสรร ××
ง. เดบติ กาไรสะสมจดั สรรสารองตามกฎหมาย ××
เครดิต กาไรสะสม ××
จ. เดบติ กาไรสะสมจัดสรร-(ตามวตั ถุประสงค์ทกี่ าหนดไว้) ××
เครดิต กาไรสะสมจดั สรร ××
2. วันท่ี 1 มกราคม 2557 บริษทั รักไทย จากดั จดทะเบยี นและออกจาหนา่ ยหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 5% ชนดิ สะสม
และร่วมรบั ไมเ่ กนิ 7% จานวน 20,000 หนุ้ มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท และหนุ้ สามัญ จานวน 50,000 หุน้
มูลค่าห้นุ ละ 50 บาท ปี 2557 บริษัทประกาศจ่ายเงนิ ปันผล จานวน 700,000 บาท ส่วนปี 2556
ไม่มกี ารจา่ ยเงินปนั ผล เงินปันผลทผี่ ูถ้ อื หุ้นบรุ มิ สทิ ธแิ ละผู้ถอื หุน้ สามญั จะไดร้ ับ มจี านวนเท่าใด
(จดุ ประสงค์การเรียนร้ขู ้อท่ี 3)
ก. เงนิ ปันผลหุ้นบุรมิ สิทธิ 100,000 บาท เงนิ ปันผลห้นุ สามญั 600,000 บาท
ข. เงินปันผลหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 200,000 บาท เงนิ ปันผลหุ้นสามญั 500,000 บาท
ค. เงนิ ปันผลหนุ้ บุริมสิทธิ 240,000 บาท เงนิ ปันผลหุ้นสามัญ 460,000 บาท
ง. เงินปันผลหุ้นบุรมิ สทิ ธิ 240,000 บาท เงินปนั ผลหนุ้ สามัญ 560,000 บาท
จ. เงินปันผลหุน้ บุริมสิทธิ 260,000 บาท เงินปันผลหุ้นสามัญ 440,000 บาท
3. ข้อใดเป็นการจัดสรรกาไรสะสมตามภาระผกู พัน (จุดประสงค์การเรียนร้ขู อ้ ที่ 1)
ก. สารองตามกฎหมาย
ข. สารองเพอ่ื การไถถ่ อนห้นุ กู้
ค. สารองเพอ่ื การขยายกจิ การ
ง. สารองเพอื่ การจ่ายเงินปันผล
จ. สารองเผ่อื ผลขาดทุนในอนาคต
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 557
4. วนั ท่ี 1 มนี าคม 2557 บริษทั ปรีดา จากดั ประกาศจ่ายเงนิ ปนั ผลเป็นหุ้นสามัญ
ของบริษัท กิจรงุ่ จากัด จานวน 8,000 หุ้น มลู ค่าหนุ้ ละ 100 บาท มูลค่ายุตธิ รรมหนุ้ ละ 110 บาท
บริษัทตั้งใจถือไวเ้ ปน็ เงนิ ลงทนุ ท่วั ไป บรษิ ัทจะจ่ายเงินปนั ผลในวันท่ี 1 เมษายน 2557
การบนั ทึกบัญชีจา่ ยเงนิ ปนั ผลในวันที่ 1 เมษายน 2557 ตรงกับข้อใด (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ขอ้ ที่ 5)
ก. เดบิต กาไรสะสม 880,000
เครดิต เงินปันผลค้างจา่ ย 880,000
ข. เดบิต กาไรสะสม 880,000
เครดิต เงินลงทุนทว่ั ไป 880,000
ค. เดบิต เงินปันผลค้างจ่าย-เงนิ ลงทนุ ทว่ั ไป 880,000
เครดิต เงนิ ลงทุนทั่วไป 880,000
ง. เดบิต เงินลงทุนทว่ั ไป 880,000
เครดติ เงนิ ปนั ผลคา้ งจ่าย-เงินลงทนุ ทัว่ ไป 880,000
จ. เดบติ เงินปนั ผลคา้ งจ่าย 880,000
เครดิต กาไรจากการจาหนา่ ยเงนิ ลงทนุ 880,000
5. วนั ท่ี 1 มีนาคม 2557 บริษัท เจริญสุข จากัด ประกาศจ่ายเงนิ ปนั ผลเปน็ ตัว๋ สัญญาใชเ้ งิน
อตั ราดอกเบี้ย 6% ต่อปี จานวน 100,000 บาท กาหนดระยะเวลา 3 เดอื น นับจากวันทีอ่ อกตวั๋
บริษัทออกตวั๋ สญั ญาใชเ้ งนิ วนั ที่ 1 เมษายน 2557 การบนั ทกึ บัญชจี า่ ยเงินปนั ผล
ในวันท่ี 1 มีนาคม 2557 ตรงกับข้อใด (จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ขอ้ ท่ี 6)
ก. เดบติ เงนิ สด 100,000
เครดติ ตัว๋ เงนิ จ่าย 100,000
ข. เดบติ ตวั๋ เงินจ่าย 100,000
เครดิต กาไรสะสม 100,000
ค. เดบิต เงินปันผลคา้ งจา่ ย 100,000
เครดติ เงนิ สด 100,000
ง. เดบิต กาไรสะสม 100,000
เครดติ เงินปนั ผลค้างจา่ ย 100,000
จ. เดบิต กาไรสะสม 100,000
เครดิต เงนิ ปนั ผลคา้ งจา่ ย-ต๋วั เงนิ จา่ ยเงนิ จ่าย 100,000
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 558
6. เมื่อวนั ท่ี 1 เมษายน 2557 บริษัท พลงั งาน จากดั ได้ประกาศจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ เงนิ สดให้กบั ผถู้ ือหุน้
จานวน 300,000 บาท โดยจ่ายจากกาไรสะสม 35% ทเ่ี หลอื เปน็ การจา่ ยคนื ทนุ
จะบันทึกบญั ชตี ามข้อใด (จุดประสงค์การเรยี นรขู้ อ้ ที่ 7)
ก. เดบิต กาไรสะสม 300,000
เครดิต เงินปันผลคา้ งจ่าย 105,000
เงินทุนจ่ายคืนผถู้ อื ห้นุ 195,000
ข. เดบิต กาไรสะสม 300,000
เครดติ เงินปนั ผลคา้ งจ่าย 300,000
ค. เดบิต กาไรสะสม 195,000
เงนิ ปนั ผลจ่าย 105,000
เครดิต เงินทุนจา่ ยคนื ผถู้ อื หนุ้ 300,000
ง. เดบติ กาไรสะสม 105,000
เงินทุนจา่ ยคืนผถู้ อื หุ้น 195,000
เครดิต เงินปันผลคา้ งจา่ ย 300,000
จ. เดบิต เงนิ ปนั ผลคา้ งจ่าย 300,000
เครดิต กาไรสะสม 105,000
เงินทนุ จ่ายคืนผ้ถู อื หุ้น 195,000
7. บรษิ ทั พรชนก จากดั มหี ุ้นสามัญออกจาหนา่ ยและเรียกชาระเต็มมลู ค่าแล้ว จานวน 10,000 ห้นุ
มูลคา่ ห้นุ ละ 100 บาท ในวันที่ 1 มนี าคม 2557 บริษัทประกาศจ่ายหุ้นสามญั ปันผล 20%
หุ้นสามญั มมี ลู คา่ ยุตธิ รรมหุน้ ละ 120 บาท จะบนั ทึกบัญชตี ามขอ้ ใด (จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ข้อที่ 8)
ก. เดบติ กาไรสะสม 200,000
ห้นุ สามัญปนั ผลคา้ งจา่ ย 40,000
เครดิต หุ้นสามญั 240,000
ข. เดบิต หุ้นสามัญปนั ผลคา้ งจ่าย 240,000
เครดิต หนุ้ สามญั 200,000
ส่วนเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั 40,000
ค. เดบิต กาไรสะสม 240,000
เครดิต หุ้นสามัญปันผลคา้ งจ่าย 240,000
ง. เดบิต กาไรสะสม 240,000
เครดิต ห้นุ สามญั ปนั ผลคา้ งจ่าย 200,000
สว่ นเกนิ มูลค่าหนุ้ สามัญ 40,000
จ. เดบติ หนุ้ สามัญปนั ผลค้างจ่าย 240,000
เครดติ หุน้ สามัญ 200,000
สว่ นเกินมลู คา่ ห้นุ สามัญ 40,000
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 559
8. บริษัท ขวญั จิต จากัด จดทะเบยี นหุ้นสามญั จานวน 28,000 หนุ้ มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท
ออกจาหน่ายและเรยี กชาระเตม็ มลู ค่าแลว้ จานวน 20,000 ห้นุ ในปี 2556 บรษิ ัทมกี าไรสทุ ธิ
จานวน 800,000 บาท วนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ์ 2557 บรษิ ทั ประกาศจา่ ยเงนิ ปันผลให้แกผ่ ู้ถือหนุ้ สามญั
อตั ราหุ้นละ 2 บาท การบนั ทกึ บญั ชใี นวนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 ตรงกบั ข้อใด
(จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ข้อท่ี 4)
ก. เดบติ กาไรสะสม 40,000
เครดิต เงนิ สด 40,000
ข. เดบิต กาไรสะสม 40,000
เครดิต เงนิ ปันผลค้างจา่ ย-ห้นุ สามัญ 40,000
ค. เดบติ กาไรสะสม 56,000
เครดติ ห้นุ สามัญปนั ผลค้างจา่ ย 56,000
ง. เดบิต เงินปันผลคา้ งจา่ ย 56,000
เครดิต เงนิ สด 56,000
จ. เดบติ เงินปันผลคา้ งจา่ ย 56,000
เครดติ กาไรสะสม 56,000
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 10
ราคาตามบญั ชตี ่อหุ้นและกาไรต่อหนุ้
สาระการเรียนรู้
1. ราคาตามบัญชตี อ่ หุ้น
2. กาไรตอ่ หนุ้
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกความหมายของราคาตามบัญชตี อ่ หุน้ ได้
2. คานวณราคาตามบญั ชตี อ่ ห้นุ ได้
3. บอกความหมายของกาไรตอ่ หุ้นได้
4. คานวณกาไรต่อหนุ้ ขัน้ พื้นฐานได้
5. คานวณกาไรตอ่ หุ้นปรบั ลดได้
6. ปฏิบตั งิ านดว้ ยความรับผิดชอบ มคี วามสนใจใฝ่รู้ ซื่อสตั ย์สจุ รติ ตรงต่อเวลาและสภุ าพเรยี บรอ้ ย
สมรรถนะประจาหน่วย
คานวณกาไรต่อหุ้นข้ันพื้นฐานและกาไรต่อหุ้นปรบั ลดไดถ้ กู ตอ้ งตามมาตรฐานการบัญชี
ผังมโนทัศน์ (Concept Map) Ways to increase
ราคาตามบญั ชตี ่อหนุ้ 1. ราคาตามบญั ชีต่อหุ้น
และกาไรตอ่ หนุ้ 1.1 ความหมายของราคาตามบัญชตี ่อหุ้น
1.2 การคานวณราคาตามบญั ชตี ่อหุ้น
2. กาไรตอ่ ห้นุ
2.1 ความหมายของกาไรต่อหนุ้
2.2 การคานวณกาไรตอ่ หนุ้ ข้ันพ้นื ฐาน
2.3 การคานวณกาไรต่อหนุ้ ปรบั ลด
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 10 ราคาตามบัญชตี ่อหุ้นและกาไรต่อหนุ้ 561
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 10 ราคาตามบญั ชีตอ่ ห้นุ และกาไรต่อหนุ้
คาชี้แจง
1. ใหเ้ ลือกคาตอบทีถ่ กู ต้องท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดียว และทาเครื่องหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 5 ข้อ รวม 5 คะแนน ใชเ้ วลา 5 นาที
1. ขอ้ ใดคือความหมายของราคาตามบญั ชีต่อหุน้ (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ ้อที่ 1)
ก. ราคาหนุ้ สามญั หน่ึงหนุ้ ณ วนั ใดวันหนงึ่
ข. ราคาตลาดของหุ้นสามญั ณ วนั ท่ใี นงบการเงนิ
ค. มูลคา่ เงินสดทผี่ ถู้ ือห้นุ สามญั จะได้รับ ณ วันท่บี ริษัทมีการเลกิ กิจการ
ง. จานวนเงินทผ่ี ้ถู อื หุน้ หน่ึงห้นุ มสี ิทธิไดร้ บั คนื ณ วันทีใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน
จ. สทิ ธสิ ว่ นได้เสียในเงินทุนของบรษิ ทั ต่อหนึ่งหุ้นในกรณีหากบริษทั มีการเลิกกจิ การ
2. บรษิ ทั สขุ ยง่ิ จากดั มีสว่ นของผ้ถู อื หุน้ ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2557 ประกอบด้วย
(หน่วย : บาท)
หุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 8% ชนิดสะสม จดทะเบียนและออกจาหนา่ ยแล้ว 10,000 ห้นุ
มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท และมลู คา่ ทีจ่ ะได้รับเม่ือเลกิ กจิ การหนุ้ ละ 105 บาท 1,000,000
ห้นุ สามญั จดทะเบยี น 15,000 หุ้น จาหนา่ ยและเรยี กชาระแล้ว 10,000 หุน้
มูลค่าหนุ้ ละ 100 บาท 1,000,000
หนุ้ สามญั ใหจ้ อง 2,000 ห้นุ 200,000
ส่วนเกนิ มลู คา่ หุ้นสามญั 120,000
กาไรสะสม 360,000
หัก หุน้ สามญั ซ้อื คนื มา 1,500 ห้นุ ราคาห้นุ ละ 102 บาท (153,000)
รวมส่วนของผถู้ อื หนุ้ 2,527,000
หุน้ บรุ มิ สทิ ธยิ งั ไม่ไดร้ บั เงินปนั ผลรวมปปี จั จุบัน 2 ปี ราคาตามบัญชีต่อห้นุ ของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ และ
ราคาตามบัญชีตอ่ หุ้นของหุ้นสามญั มมี ลู คา่ หุน้ ละเทา่ ใด (จุดประสงค์การเรียนรขู้ ้อที่ 2)
ก. หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิหุ้นละ 100.00 บาท และหุ้นสามญั หนุ้ ละ 145.43 บาท
ข. หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิหนุ้ ละ 105.00 บาท และห้นุ สามญั หนุ้ ละ 147.70 บาท
ค. หุ้นบรุ ิมสทิ ธิหุ้นละ 113.00 บาท และหนุ้ สามญั หุ้นละ 133.05 บาท
ง. หุ้นบรุ มิ สทิ ธิหุ้นละ 121.00 บาท และหุน้ สามญั หุน้ ละ 125.43 บาท
จ. ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิห้นุ ละ 129.00 บาท และหุ้นสามญั หนุ้ ละ 103.08 บาท
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 10 ราคาตามบญั ชตี อ่ หนุ้ และกาไรต่อหุ้น 562
3. ขอ้ ใดคือความหมายของกาไรต่อห้นุ (จุดประสงคก์ ารเรียนรขู้ ้อที่ 3)
ก. จานวนกาไรหรอื ขาดทนุ สทุ ธิตอ่ งวดต่อหุน้ สามญั หนงึ่ หนุ้
ข. ส่วนเฉลย่ี ของกาไรสาหรับงวดบญั ชีหนงึ่ ตอ่ หนง่ึ ห้นุ บุรมิ สทิ ธิ
ค. กาไรตอ่ หนง่ึ หุ้นสามัญทผ่ี ้ถู ือหุ้นสามัญจะได้รบั เมอ่ื เลิกกจิ การ
ง. กาไรหรอื ขาดทนุ ตอ่ หนงึ่ หุ้นสามญั ทผ่ี ถู้ อื หุ้นสามญั จะได้รบั หากบรษิ ัทเลกิ กจิ การ
จ. ส่วนเฉลีย่ ของกาไรสาหรับงวดบัญชีหนงึ่ ต่อหนง่ึ หนุ้ สามญั และตอ่ หนึง่ หนุ้ บรุ มิ สิทธิ
4. วันท่ี 1 มกราคม 2557 บริษัท พรนภา จากัด มีหุ้นบุริมสิทธิ 8% ชนิดสะสม 15,000 หุ้น
มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท หนุ้ สามญั จดทะเบียนและออกจาหนา่ ยแล้ว 40,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท
ในวันท่ี 1 มีนาคม 2557 บริษัทออกหุ้นสามัญเพิ่ม 4,000 หุ้น ต่อมาวันที่ 30 กันยายน 2557
บริษัทซื้อหุ้นสามัญคืน 3,000 หุ้น บริษัทมีกาไรสุทธิปี 2557 800,000 บาท และ
ไม่ประกาศจ่ายเงินปันผล กาไรต่อหุ้นขั้นพ้ืนฐาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีมูลค่าหุ้นละเท่าใด
(จุดประสงคก์ ารเรยี นร้ขู อ้ ท่ี 4)
ก. 14.09 บาท
ข. 15.97 บาท
ค. 16.06 บาท
ง. 18.79 บาท
จ. 18.89 บาท
5. ในปี 2557 บริษทั กนกลดา จากดั มีจานวนหุน้ สามัญท่ถี ือโดยบคุ คลภายนอก 200,000 ห้นุ
มลู คา่ หนุ้ ละ 100 บาท กาไรสุทธิ 900,000 บาท มหี ้นุ กแู้ ปลงสภาพ 6% ออกจาหน่าย
วนั ที่ 1 เมษายน 2557 3,000 หนุ้ ราคาตามมลู คา่ ห้นุ ละ 1,000 บาท อตั ราการแปลงสภาพ
หุ้นกู้ 1 ห้นุ แปลงสภาพเปน็ หนุ้ สามญั ได้ 20 หนุ้ อัตราภาษีเงนิ ได้ 30% กาไรต่อหนุ้ ปรบั ลด
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557 มมี ูลค่าห้นุ ละเทา่ ใด (จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ขอ้ ที่ 5)
ก. 3.60 บาท
ข. 3.95 บาท
ค. 4.06 บาท
ง. 4.14 บาท
จ. 4.50 บาท
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 10 ราคาตามบัญชีต่อห้นุ และกาไรต่อหุ้น 563
เน้อื หาสาระ
มูลค่าทางบัญชีและความสามารถในการดาเนินงานของบริษัทเป็นสิ่งที่ผู้ถือหุ้น เจ้าหน้ีและ
ผเู้ ก่ยี วข้องทุกคนตา่ งให้ความสนใจ การเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับราคาตามบัญชีต่อหุ้นของบริษัทจะช่วยให้
ผู้ถือหุ้นได้ทราบความคุ้มค่าของการลงทุนและมีข้อมูลประกอบการพิจารณากาหนดราคาซื้อขายหุ้น
ได้อยา่ งเหมาะสม รวมถึงข้อมูลเก่ียวกับกาไรต่อหุ้นของบริษัทจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุน
เพื่อประเมินความสามารถในการทากาไรของบรษิ ทั และตดั สินใจลงทุน
1. ราคาตามบญั ชีตอ่ หนุ้ (Book Value Per Share)
1.1 ความหมายของราคาตามบัญชตี ่อหุ้น
ราคาตามบัญชีต่อหุ้น หมายถึง สิทธิส่วนได้เสียในเงินทุนของบริษัทต่อหน่ึงหุ้น
ซ่ึงคานวณจากงบแสดงฐานะการเงิน ณ สิ้นวันใดวันหนึ่ง โดยสมมติว่าถ้าบริษัทเลิกกิจการ ณ วันคานวณ
สินทรัพย์ของบริษัทจาหน่ายได้ในราคาตามบัญชี และหนี้สินของบริษัทจ่ายชาระในราคาตามบัญชี
ผูถ้ ือหนุ้ จะได้รบั เงนิ คนื ห้นุ ละเทา่ ใด
ประโยชน์ของการคานวณราคาตามบัญชีต่อหุ้น เพ่ือให้ผู้ถือหุ้นได้ทราบว่าหากจะซอ้ื
หรือจาหน่ายหุ้น ณ วันนน้ั ควรจะตัง้ ราคาหนุ้ ละเท่าใด
1.2 การคานวณราคาตามบัญชตี อ่ หุ้น แบง่ เปน็ 2 กรณี ดงั นี้
กรณที ี่ 1 บรษิ ทั มีหุน้ สามญั เพียงชนดิ เดียว
ราคาตามบญั ชีต่อหุ้น = สว่ นของผ้ถู อื หนุ้ ทงั้ สนิ้
จานวนหุ้นสามัญทอ่ี ยใู่ นมือผถู้ อื ห้นุ *
*คานวณจาก จานวนหุ้นสามญั ที่ออกใบหนุ้ แล้ว บวก จานวนหุ้นสามญั ให้จอง หัก หนุ้ สามัญรับคนื มา
ตัวอย่างท่ี 10.1 บรษิ ัท แสนดี จากดั แสดงรายการส่วนของผถู้ ือหุ้น ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2557 ดงั นี้
ส่วนของผู้ถือหุ้น (หน่วย : บาท)
หุน้ สามญั (จดทะเบียน 100,000 หุ้น มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท 5,000,000
และออกจาหนา่ ยแลว้ 50,000 หุ้น 2,000,000
หุน้ สามญั ใหจ้ อง 20,000 หุ้น 700,000
1,100,000
ส่วนเกินมลู คา่ หุ้นสามญั (900,000)
กาไรสะสม 7,900,000
หกั ห้นุ สามญั รบั คืนมา 10,000 หุ้น
รวมสว่ นของผถู้ อื หนุ้
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 10 ราคาตามบญั ชีต่อห้นุ และกาไรต่อหนุ้ 564
การคานวณราคาตามบัญชีตอ่ หุ้น ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2557 มีดงั น้ี
ราคาตามบญั ชีต่อหุ้น = สว่ นของผู้ถือหุน้ ทง้ั สิ้น
จานวนห้นุ สามญั ทอี่ ยใู่ นมือผู้ถอื ห้นุ
= 7,900,000
50,000 + 20,000 – 10,000
= 131.67 บาทตอ่ หุน้
กรณที ี่ 2 บริษัทมีหนุ้ สามัญและหุ้นบรุ มิ สทิ ธิ
ในกรณีท่บี รษิ ทั มหี ุ้นทนุ 2 ชนดิ จะตอ้ งคานวณส่วนทเ่ี ป็นหนุ้ บรุ มิ สทิ ธกิ อ่ น และนาไป
หักออกจากส่วนของผู้ถือหุน้ ทงั้ สิ้น ส่วนทเ่ี หลอื จะเป็นสว่ นของหนุ้ สามัญท้ังหมด
การคานวณส่วนของหุ้นบรุ มิ สทิ ธิ พจิ ารณาจาก
1) มูลค่าที่จะได้รับคืนเมื่อเลิกกิจการ (Liquidating Value) เป็นมูลค่าที่บริษัทกาหนด
ไว้ล่วงหนา้ เม่อื เลิกกิจการจะไดร้ ับทนุ คืนหนุ้ ละเทา่ ใด หากไมไ่ ดก้ าหนดไว้ให้ใช้ราคาตามมูลคา่ หุ้นเป็นเกณฑ์
2) สิทธิในเงินปันผล เป็นสิทธิท่ีผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับเงินปันผลในปีท่ีเลิกกิจการ
แม้บริษัทยังไม่ได้ประกาศจ่าย หรือกาหนดให้หุ้นบุริมสิทธิได้รับคืนเงินปันผลท่ีคงค้างอยู่ทั้งหมด
โดยไม่คานึงว่าจะมียอดกาไรสะสมเพียงพอหรือไม่ หรืออาจจากัดให้ได้รับเงินปันผลท่ีคงค้างเพียง
ไม่เกินยอดในบัญชีกาไรสะสม ถ้าเป็นหุ้นบุริมสิทธิชนิดร่วมรับจะต้องคานวณกาไรสะสมส่วนที่เป็น
ของหุ้นบรุ ิมสทิ ธติ ามสทิ ธิพเิ ศษทรี่ ะบไุ ว้
ตวั อยา่ งท่ี 10.2 บริษทั ชนะกจิ จากัด แสดงรายการสว่ นของผู้ถือหนุ้ ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2557 ดงั น้ี
สว่ นของผู้ถือหุ้น (หน่วย : บาท)
หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 8% จดทะเบยี น 20,000 หุ้น มลู คา่ หุ้นละ 100 บาท 1,500,000
มลู ค่าเมอื่ เลกิ กจิ การ หนุ้ ละ 105 บาท 3,000,000
1,000,000
ออกจาหนา่ ยและเรียกชาระแล้ว 15,000 หนุ้
200,000
หนุ้ สามญั จดทะเบยี น 50,000 หุน้ มลู คา่ หนุ้ ละ 100 บาท 300,000
ออกจาหน่ายและเรยี กชาระแลว้ 30,000 หนุ้ 900,000
(360,000)
หุ้นสามญั ใหจ้ อง 10,000 หุ้น 6,540,000
สว่ นเกินมลู คา่ ห้นุ บุรมิ สทิ ธิ
สว่ นเกินมลู คา่ หุ้นสามญั
กาไรสะสม
จดั สรรแลว้ 300,000
ยังไมไ่ ดจ้ ดั สรร 600,000
หัก หุน้ สามญั รบั คนื มา 3,000 ห้นุ
รวมสว่ นของผู้ถอื หุ้น
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 10 ราคาตามบญั ชีต่อหนุ้ และกาไรต่อหนุ้ 565
การคานวณราคาตามบัญชีต่อห้นุ บรุ มิ สทิ ธแิ ละหนุ้ สามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ตามกรณีต่าง ๆ ดงั น้ี
กรณที ี่ 1 หุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 8% ชนิดไมส่ ะสมและไม่ร่วมรับ
ส่วนของผูถ้ อื หนุ้ 6,540,000
ส่วนที่เป็นของผถู้ ือหุน้ บุรมิ สิทธิ
มลู คา่ เมอื่ เลกิ กจิ การ 15,000 หนุ้ หนุ้ ละ 105 บาท 1,575,000
เงนิ ปนั ผล (1,500,000 × 8%) 120,000 1,695,000
สว่ นที่เปน็ ของผถู้ ือหนุ้ สามญั 4,845,000
การคานวณราคาตามบญั ชีตอ่ หนุ้
ราคาตามบัญชตี ่อหุน้ ของหนุ้ บรุ ิมสิทธิ = 1,695,000 = 113 บาท
15,000
ราคาตามบัญชตี ่อห้นุ ของหุน้ สามญั = 4,845,000 = 130.95 บาท
30,000 + 10,000 - 3,000
กรณที ่ี 2 หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 8% ชนดิ สะสมแต่ไมร่ ่วมรบั บริษทั ไมไ่ ด้จา่ ยเงินปนั ผลมาเปน็ เวลา 2 ปี
เพราะมีผลขาดทุน
สว่ นของผู้ถือหนุ้ 6,540,000
สว่ นทีเ่ ปน็ ของผถู้ อื ห้นุ บุริมสทิ ธิ
มูลคา่ เมอ่ื เลกิ กจิ การ 15,000 หุ้น หุ้นละ 105 บาท 1,575,000
เงินปนั ผล (1,500,000 × 8%) × 2 240,000 1,815,000
สว่ นทเ่ี ปน็ ของผูถ้ ือหุน้ สามญั 4,725,000
การคานวณราคาตามบญั ชีต่อหนุ้
ราคาตามบัญชีตอ่ หนุ้ ของหุน้ บรุ ิมสิทธิ = 1,815,000 = 121 บาท
15,000
ราคาตามบญั ชีต่อหุ้นของหนุ้ สามญั = 4,725,000 = 127.71 บาท
30,000 + 10,000 - 3,000
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 10 ราคาตามบญั ชีต่อหุ้นและกาไรต่อหนุ้ 566
กรณที ี่ 3 หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 8% ชนดิ สะสมและร่วมรบั บริษัทไมไ่ ด้จา่ ยเงินปันผลมาเป็นเวลา 2 ปี
เพราะมผี ลขาดทุน
สว่ นของผู้ถือหุ้น 6,540,000
ส่วนที่เปน็ ของผถู้ ือหนุ้ บรุ ิมสิทธิ
มลู คา่ เมอื่ เลิกกจิ การ 15,000 ห้นุ หุ้นละ 105 บาท 1,575,000
เงินปันผล 332,727 1,907,727
สว่ นทเี่ ปน็ ของผูถ้ อื หุน้ สามัญ 4,632,273
หุน้ บรุ ิมสทิ ธชิ นิดสะสมแต่รว่ มรับเต็มท่ี
หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ ห้นุ สามญั รวม
เงินปันผลหุ้นบรุ ิมสทิ ธปิ ี 56-57 (1,500,000×8%)×2 240,000 - 240,000
เงินปนั ผลหุ้นสามัญ (4,000,000×8%) - 320,000 320,000
เงินปนั ผลคงเหลอื 340,000 บาท
แบง่ ตามอตั ราสว่ นทุน 92,7271)
เงินปันผลของหุน้ บรุ มิ สทิ ธิ - 92,727
- 247,2731) 247273
เงนิ ปนั ผลของหนุ้ สามญั
รวม 332,727 567,273 900,000
1) การคานวณห้นุ บรุ มิ สทิ ธชิ นิดร่วมรับเต็มที่
ผ้ถู อื หนุ้ บุรมิ สิทธจิ ะมสี ทิ ธริ ่วมรบั เงนิ ปันผลคงเหลือ หลงั จากที่ผูถ้ ือหุ้นบรุ มิ สทิ ธิและผถู้ ือหุ้นสามญั
ได้รบั เงินปนั ผลในอัตราเดียวกัน (900,000 – 240,000 – 320,000) จานวน 340,000 บาท
โดยแบ่งตามอตั ราสว่ นทุน
หุน้ บรุ ิมสทิ ธิ (15,000×100) = 1,500,000 340,000×1,500,000/5,500,000 = 92,727* บาท
หุ้นสามญั (40,000×100) = 4,000,000 340,000×4,000,000/5,500,000 = 247,273* บาท
รวม 5,500,000 รวมเงินปนั ผล 340,000 บาท
*ปัดทศนิยม
การคานวณราคาตามบญั ชีต่อหุ้น = 1,907,727 = 127.19 บาท
ราคาตามบัญชีต่อหนุ้ ของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 125.20 บาท
15,000
ราคาตามบญั ชตี อ่ หุน้ ของหนุ้ สามญั
= 4,632,273 =
30,000 + 10,000 - 3,000
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 ราคาตามบัญชีตอ่ หุน้ และกาไรต่อหุน้ 567
กรณที ี่ 4 ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิ 8% ชนิดไม่สะสมแตร่ ว่ มรับ 1,575,000 6,540,000
ส่วนของผู้ถือหุ้น 245,455
ส่วนทเ่ี ปน็ ของผถู้ อื หุ้นบุริมสิทธิ 1,820,455
4,719,545
มูลค่าเมอื่ เลกิ กจิ การ 15,000 หุ้น ห้นุ ละ 105 บาท
เงินปันผล
ส่วนทเ่ี ป็นของผู้ถอื หนุ้ สามญั
ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิชนิดไม่สะสมแต่รว่ มรบั เต็มที่ ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ ห้นุ สามญั รวม
เงินปันผลหุน้ บรุ ิมสทิ ธปิ ี 2557 (1,500,000×8%) 120,000 - 120,000
เงินปนั ผลหุ้นสามัญ (4,000,000×8%) - 320,000 320,000
เงนิ ปันผลคงเหลอื 460,000 บาท แบ่งตามอัตราสว่ นทนุ
เงินปนั ผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 125,4551) - 125,455
เงินปนั ผลของหุน้ สามญั - 334,5451) 334,545
รวม 245,455 654,545 900,000
1) การคานวณหุ้นบรุ มิ สิทธชิ นดิ รว่ มรับเต็มท่ี
ผถู้ ือหุ้นบรุ มิ สิทธจิ ะมสี ิทธริ ว่ มรบั เงนิ ปนั ผลคงเหลอื หลงั จากท่ีผถู้ อื หนุ้ บรุ มิ สิทธิและผ้ถู ือหุ้นสามญั
ได้รับเงนิ ปนั ผลในอตั ราเดียวกัน (900,000 – 120,000 – 320,000) จานวน 460,000 บาท
โดยแบ่งตามอัตราส่วนทนุ
หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ (15,000×100) = 1,500,000 460,000×1,500,000/5,500,000 = 125,455* บาท
หุน้ สามญั (40,000×100) = 4,000,000 460,000×4,000,000/5,500,000 = 334,545* บาท
รวม 5,500,000 รวมเงนิ ปนั ผล 460,000 บาท
*ปดั ทศนยิ ม
การคานวณราคาตามบัญชตี ่อหนุ้ = 1,820,455 = 121.37 บาท
ราคาตามบัญชีตอ่ หนุ้ ของหนุ้ บรุ ิมสิทธิ 127.56 บาท
15,000
ราคาตามบญั ชตี ่อหุน้ ของหนุ้ สามญั
= 4,719,545 =
30,000 + 10,000 - 3,000
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 ราคาตามบญั ชีต่อหนุ้ และกาไรต่อห้นุ 568
แบบฝึกหดั ท่ี 10.1
ตอนท่ี 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้ใหส้ มบรู ณ์ (ขอ้ ละ 2 คะแนน)
1. ราคาตามบัญชีตอ่ หนุ้ หมายถึงอะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ราคาตามบญั ชีตอ่ หุ้น กรณีมหี นุ้ สามัญชนิดเดียว คานวณอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. เงินทนุ ส่วนของห้นุ บุรมิ สทิ ธิ พจิ ารณาจากอะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตอนที่ 2 จงปฏิบัตกิ ิจกรรมตามท่โี จทย์กาหนด (10 คะแนน)
1. บรษิ ทั จิตดี จากดั แสดงรายการส่วนของผถู้ อื หุ้น ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2557 ดงั นี้
ส่วนของผู้ถือหุ้น (หน่วย : บาท)
หุน้ สามญั (จดทะเบยี น 50,000 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 100 บาท
และออกจาหน่ายแลว้ 30,000 หุ้น 3,000,000
หุ้นสามญั ใหจ้ อง 10,000 หุ้น 1,000,000
ส่วนเกนิ มลู ค่าหนุ้ สามญั 800,000
กาไรสะสม 500,000
หกั หุ้นสามัญรับคนื มา 5,000 หนุ้ (510,000)
รวมสว่ นของผู้ถือหุ้น 4,790,000
ให้ทา คานวณราคาตามบญั ชีตอ่ หนุ้ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2557
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 10 ราคาตามบัญชีตอ่ ห้นุ และกาไรต่อหุ้น 569
ราคาตามบัญชตี อ่ ห้นุ = สว่ นของผถู้ ือหุน้ ทงั้ สิน้
จานวนหุ้นสามญั ทอี่ ย่ใู นมอื ผ้ถู อื หนุ้
=
=
2. บรษิ ัท เกรยี งไกร จากดั แสดงรายการสว่ นของผ้ถู อื หุน้ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557 ดังน้ี
สว่ นของผถู้ ือหุ้น (หน่วย : บาท)
ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ 6% ชนดิ ไม่สะสมแตร่ ่วมรับ จดทะเบียน 50,000 หนุ้
มลู คา่ หุน้ ละ 100 บาท มลู ค่าเมอ่ื เลกิ กจิ การ หนุ้ ละ 110 บาท
ออกจาหน่ายและเรยี กชาระแล้ว 20,000 หนุ้ 2,000,000
หนุ้ สามญั จดทะเบยี น 80,000 หุ้น มลู คา่ หุ้นละ 100 บาท
ออกจาหนา่ ยและเรยี กชาระแล้ว 40,000 หุ้น 4,000,000
หุ้นสามญั ใหจ้ อง 20,000 ห้นุ 2,000,000
ส่วนเกินมลู คา่ หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 200,000
สว่ นเกินมลู ค่าหุ้นสามญั 600,000
กาไรสะสม 800,000
หกั หนุ้ สามัญรับคนื มา 5,000 หุน้ (500,000)
รวมส่วนของผ้ถู อื หนุ้ 9,100,000
ให้ทา 1. คานวณส่วนทเ่ี ป็นของผ้ถู ือห้นุ บรุ มิ สทิ ธแิ ละสว่ นท่ีเปน็ ของผถู้ ือหุ้นสามญั
2. คานวณเงนิ ปันผลหุ้นบุรมิ สทิ ธิ 6% ชนิดไม่สะสมแตร่ ่วมรับ
3. คานวณราคาตามบญั ชีต่อหุ้นของหนุ้ บรุ ิมสิทธิและหนุ้ สามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
1. คานวณสว่ นที่เป็นของผ้ถู ือหุ้นบรุ ิมสิทธแิ ละสว่ นที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ
ส่วนของผถู้ อื หุ้น
ส่วนท่ีเป็นของผถู้ อื หุ้นบุรมิ สทิ ธิ
มลู คา่ เมอื่ เลกิ กจิ การ
เงนิ ปันผล
สว่ นท่เี ปน็ ของผ้ถู อื หุ้นสามญั
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 10 ราคาตามบัญชตี ่อหุน้ และกาไรต่อห้นุ 570
2. คานวณเงินปันผลหนุ้ บุริมสทิ ธิ 6% ชนิดไม่สะสมแต่ร่วมรบั หุ้นสามญั รวม
ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิ
เงินปันผลหนุ้ บรุ มิ สิทธปิ ี 2557
เงินปนั ผลหุ้นสามัญ
เงนิ ปันผลคงเหลอื ....................บาท แบง่ ตามอัตราส่วนทนุ
เงินปนั ผลของหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ
เงนิ ปันผลของหนุ้ สามญั
รวม
1) การคานวณหุ้นบรุ ิมสทิ ธชิ นดิ รว่ มรบั เต็มที่
ผ้ถู ือหุน้ บรุ มิ สทิ ธจิ ะมสี ิทธิรว่ มรับเงินปนั ผลคงเหลอื หลงั จากทผี่ ูถ้ ือหุ้นบรุ มิ สิทธิและผู้ถือหนุ้ สามญั
ได้รบั เงนิ ปันผลในอัตราเดียวกนั ..................................................... จานวน...................บาท
โดยแบง่ ตามอตั ราสว่ นทุน
หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ = =
หุน้ สามญั = =
รวม รวมเงินปันผล
3. คานวณราคาตามบญั ชีต่อหุ้นของหุ้นบรุ มิ สทิ ธิและหุน้ สามญั ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557
ราคาตามบญั ชตี ่อหุน้ ของหุ้นบรุ ิมสิทธิ = = บาท
ราคาตามบัญชีต่อหุ้นของหนุ้ สามญั = = บาท
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 10 ราคาตามบัญชีต่อหุ้นและกาไรต่อหุ้น 571
2. กาไรตอ่ หนุ้ (Earnings Per Share)
2.1 ความหมายของกาไรต่อหุ้น
กาไรต่อหุ้น หมายถึง จานวนกาไรหรือขาดทุนสุทธิต่องวดต่อหุ้นสามัญหนึ่งหุ้น ซ่ึงผู้ลงทุน
ในปัจจบุ ันและในอนาคตจะใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือในการวดั ความสามารถในการทากาไรของบริษทั อีกท้ังสามารถ
เปรยี บเทียบความสามารถในการทากาไรระหวา่ งบริษัทอกี ด้วยเพ่อื ประโยชนใ์ นการตัดสินใจลงทนุ
การคานวณกาไรต่อหุ้นจะคานวณเฉพาะหุ้นสามัญเท่านั้น จะไม่คานวณกาไรต่อหุ้นบุริมสิทธิ
เน่ืองจากผู้ถือหนุ้ บรุ ิมสิทธจิ ะได้รับกาไรจากบริษทั เท่ากบั จานวนเงินปนั ผลในอัตราทีก่ าหนดไวเ้ ทา่ นั้น
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2558) เร่ือง กาไรต่อหุ้น กาหนดให้กิจการ
ทกุ กิจการทีม่ ีหุน้ สามญั หรือหุ้นสามัญเทียบเท่าต้องคานวณและแสดงกาไรต่อหุ้นในงบการเงินเพ่ือช่วยให้
ผูใ้ ชง้ บการเงนิ สามารถเปรยี บเทียบผลการดาเนนิ งานระหวา่ งกจิ การในงวดเดยี วกนั และผลการดาเนินงาน
ระหว่างงวดของกิจการได้ดียิ่งข้ึน แม้ว่าการเปรียบเทียบกาไรต่อหุ้นระหว่างกิจการจะมีข้อจากัด
เน่ืองจากกาไรของกิจการแต่ละแห่งอาจเกิดจากการใช้นโยบายการบัญชีที่แตกต่างกัน แต่การคานวณ
โดยใชจ้ านวนหุ้นทเี่ ป็นไปตามมาตรฐานเดยี วกันจะทาให้ข้อมูลทเ่ี ปน็ ประโยชน์ยง่ิ ขน้ึ
การคานวณกาไรต่อหุ้น ขึน้ อยู่กบั โครงสรา้ งทนุ ของบรษิ ัท ดังน้ี
1. โครงสร้างทุนแบบง่าย (Simple Capital Structure) คือ บริษัทที่มีหุ้นสามัญ หรือ
หลักทรัพย์อ่ืนท่ีไม่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ เช่น หุ้นบุริมสิทธิ หรือหุ้นกู้ ชนิดที่ไม่สามารถ
แปลงสภาพได้ บริษัทท่ีมีโครงสร้างทุนแบบง่ายจะคานวณกาไรต่อหุ้นข้ันพื้นฐาน (Basic Earnings Per
Share) เท่านั้น
2. โครงสร้างทุนแบบซับซ้อน (Complex Capital Structure) คือ บริษัทที่มีหุ้นสามัญ
และหุน้ สามญั เทียบเท่า (Potential Ordinary Share) ซึ่งเป็นเครื่องมือทางการเงิน รวมท้ังสัญญาต่าง ๆ
ทีก่ าหนดเง่ือนไขไว้ อาจทาให้บรษิ ทั ตอ้ งออกห้นุ สามญั เพมิ่ ในอนาคต เช่น หุ้นบุริมสิทธิชนิดท่ีแปลงสภาพ
เป็นหุ้นสามัญ ใบสาคัญแสดงสิทธิและสิทธิท่ีจะเลือกซื้อหุ้นสามัญ เป็นต้น บริษัทท่ีมีโครงสร้างทุน
แบบซับซ้อนจะคานวณกาไรต่อหุ้น 2 ประเภท คือ กาไรต่อหุ้นข้ันพ้ืนฐานและกาไรต่อหุ้นปรับลด
(Diluted Earnings Per Share)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 10 ราคาตามบญั ชีต่อหุน้ และกาไรต่อหนุ้ 572
2.2 การคานวณกาไรต่อหุ้นขนั้ พ้ืนฐาน (Basic Earnings Per Share)
กาไรตอ่ หุ้นขั้นพืน้ ฐาน คอื กาไรหรือขาดทุนทผี่ ู้ถือหุน้ สามัญจะได้รับต่อหนึ่งหุ้น เพื่อวัดมูลค่า
ของส่วนได้เสยี ของหนุ้ สามญั แต่ละหนุ้ จากผลการดาเนินงานของกิจการในรอบระยะเวลาท่ีรายงาน
ดงั นัน้ บรษิ ัททม่ี โี ครงสร้างทุนแบบงา่ ย จะคานวณกาไรต่อหนุ้ ขั้นพน้ื ฐาน ดังนี้
กาไรตอ่ หุน้ ขนั้ พื้นฐาน = กาไรสทุ ธสิ าหรับงวด – เงนิ ปนั ผลหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถวั เฉลยี่ ถ่วงนา้ หนกั ของหุ้นสามญั ทถี่ ือโดยบคุ คลภายนอก
หรอื
ขาดทุนตอ่ ห้นุ ขน้ั พ้นื ฐาน = ขาดทุนสุทธิสาหรบั งวด + เงนิ ปันผลหุ้นบรุ ิมสิทธิ
จานวนถวั เฉลย่ี ถ่วงนา้ หนกั ของห้นุ สามญั ท่ถี ือโดยบคุ คลภายนอก
ข้อมูลสาหรับการคานวณกาไรต่อหนุ้ ข้นั พน้ื ฐาน ประกอบดว้ ย
1. กาไรหรอื ขาดทนุ สุทธสิ าหรบั งวดทีเ่ ป็นของผูถ้ ือหุ้นสามัญเทา่ น้นั ดังน้ันจะนาเงนิ ปันผล
ส่วนทีเ่ ปน็ ของห้นุ บรุ ิมสทิ ธมิ าหกั ออก โดยคานึงถึงสิทธิของห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ ไดแ้ ก่
1) หนุ้ บุรมิ สทิ ธิชนิดไมส่ ะสม ใช้เงินปนั ผลเฉพาะปีปจั จบุ นั ทไี่ ด้ประกาศจา่ ยเท่านน้ั
2) ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิชนิดสะสม ใชเ้ งนิ ปันผลเฉพาะปปี จั จบุ นั เท่านั้น ไมว่ า่ บริษทั จะประกาศ
จา่ ยเงนิ ปนั ผลหรือไมก่ ็ตาม
2. จานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักของหุ้นสามัญท่ีถือโดยบุคคลภายนอก ถ้าหุ้นสามัญ
ท่ีออกจาหน่ายไม่มีการเปล่ียนแปลงตลอดปี สามารถใช้จานวนหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอก
เป็นจานวนถัวเฉล่ียถ่วงน้าหนักของหุ้นสามัญได้เลย ถ้ามีการเปล่ียนแปลงจานวนหุ้นสามัญระหว่างปี
การออกหุ้นเพิ่ม หรือการซ้ือหุ้นคืนมา ให้ถือว่ามีการเปล่ียนแปลงต้ังแต่วันที่เกิดรายการจนถึงวันสิ้นงวด
การออกหุ้นปนั ผล การแตกหนุ้ และการรวมหุ้น ให้ถอื วา่ มกี ารเปล่ียนแปลงตงั้ แต่วันต้นงวด
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 10 ราคาตามบญั ชีตอ่ หุ้นและกาไรต่อหุน้ 573
ตวั อย่างท่ี 10.3 วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษัท ภูมิใจ จากัด จดทะเบียนและออกจาหน่าย
หุ้นบุริมสิทธิ 8% ชนิดไม่สะสม จานวน 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 50 บาท และหุ้นสามัญ
จานวน 20,000 หุน้ มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท ในระหวา่ งงวดบัญชีไมม่ กี ารเปล่ียนแปลงจานวนหุ้นทุน
บรษิ ทั มกี าไรสทุ ธิประจาปี 2557 จานวน 2,500,000 บาท และได้ประกาศจา่ ยเงนิ ปันผล
การคานวณกาไรตอ่ หุ้นขั้นพ้นื ฐาน = กาไรสุทธสิ าหรบั งวด – เงนิ ปันผลหุน้ บรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถวั เฉลี่ยถ่วงนา้ หนกั ของหุน้ สามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอก
= 2,500,000 – (10,000 × 50 × 8%)
20,000
= 2,500,000 – 40,000
20,000
= 123 บาท
ดังน้ัน บรษิ ัท ภมู ใิ จ จากัด มกี าไรตอ่ หุ้นในปี 2557 จานวน 123 บาท
มกี ารเปลยี่ นแปลงจานวนหุ้นสามญั ในระหว่างงวดบัญชี
กรณีที่ 1 การออกหุ้นเพ่มิ หรอื การซ้ือหุ้นคืนมา
ตวั อยา่ งท่ี 10.4 วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 บรษิ ทั ชนื่ ใจ จากดั มหี ้นุ บรุ ิมสทิ ธิ 5% ชนดิ สะสม จานวน
20,000 หนุ้ มูลค่าหุ้นละ 50 บาท และหนุ้ สามญั จดทะเบยี น จานวน 50,000 หนุ้ ออกจาหนา่ ยแลว้
จานวน 40,000 หุ้น มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท ในระหว่างงวดบญั ชีมีการเปล่ียนแปลงจานวนหนุ้ ทุน ดังนี้
มี.ค. 1 ออกหุน้ สามญั เพม่ิ จานวน 2,000 หุน้
พ.ค. 1 ซื้อหนุ้ สามญั คนื มา จานวน 4,000 หนุ้
บริษัทมกี าไรสุทธปิ ระจาปี 2557 จานวน 1,500,000 บาท และประกาศจา่ ยเงนิ ปันผล
การคานวณจานวนถัวเฉลยี่ ถว่ งน้าหนักของหุ้นสามญั ทีถ่ ือโดยบคุ คลภายนอก
วันที่ รายการ จานวนหุ้น สดั ส่วนเวลาจาก จานวนหนุ้ ถวั เฉลีย่
ทเ่ี ปลี่ยนแปลง ถ่วงน้าหนกั
วนั ทีเ่ กดิ รายการจนถงึ
วันสิ้นงวด 40,000.00
1,666.67
ม.ค. 1 ยอดคงเหลือตน้ ปี 40,000 12/12 (2,666.67)
39,000.00
ม.ี ค. 1 ออกหุน้ สามญั เพม่ิ 2,000 10/12
พ.ค. 1 ซ้อื หนุ้ สามญั คืนมา (4,000) 8/12
รวม
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 10 ราคาตามบัญชตี อ่ หุ้นและกาไรต่อหุ้น 574
การคานวณกาไรตอ่ หุ้นขัน้ พื้นฐาน
กาไรต่อหุ้นขัน้ พ้ืนฐาน = กาไรสุทธสิ าหรบั งวด – เงนิ ปันผลหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถัวเฉล่ียถว่ งนา้ หนักของหนุ้ สามญั ที่ถือโดยบุคคลภายนอก
= 1,500,000 – (20,000 × 50 × 5%)
39,000
= 1,500,000 – 50,000
39,000
= 1,450,000
39,000
= 37.18 บาท
ดังนั้น บรษิ ัท ชน่ื ใจ จากัด มกี าไรตอ่ หุ้นในปี 2557 จานวน 37.18 บาท
กรณีที่ 2 การออกหุ้นปนั ผล การแตกห้นุ และการรวมหุ้น
การออกหุ้นปันผล การแตกหุ้น เปน็ การออกหุ้นสามัญใหผ้ ู้ถือหุน้ เดมิ โดยไมไ่ ดร้ บั ส่งิ ตอบแทนเพม่ิ เติม
ส่วนการรวมหุ้น เป็นการลดจานวนหุ้นเท่านั้น บริษัทไม่ได้ลดสินทรัพย์สุทธิ บริษัทจะต้องปรับปรุง
จานวนหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอก สาหรับงบการเงินทุกงวดที่นาเสนอตามสัดส่วนที่เปลี่ยนไป
โดยถือว่าการออกหุ้นปันผล การแตกหุ้นและการรวมหุ้น เกิดตั้งแต่งวดแรกท่ีเสนอรายงาน เพื่อทาให้
งบการเงินสามารถเปรียบเทยี บกนั ได้
ตัวอย่างท่ี 10.5 วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษัท สุขใจ จากัด มีหุ้นบุริมสิทธิ 8% ชนิดสะสม
จานวน 50,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 50 บาท และหุ้นสามัญ จดทะเบียนและออกจาหน่ายแล้ว
จานวน 90,000 หุ้น มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท ในระหว่างงวดบญั ชีมกี ารเปลย่ี นแปลงจานวนหนุ้ สามญั ดงั นี้
ก.พ. 1 จ่ายหุ้นปันผล 20%
พ.ค. 1 ออกหนุ้ สามญั เพมิ่ 30,000 หุน้
ก.ค. 1 แตกห้นุ ในอตั รา 2 : 1
ส.ค. 1 ซ้อื หุ้นสามัญคืน 39,000 หุน้
พ.ย. 1 ออกหุ้นสามญั เพม่ิ 60,000 หุน้
บริษัทมกี าไรสทุ ธปิ ระจาปี 2557 จานวน 2,500,000 บาท และประกาศจา่ ยเงินปันผล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 ราคาตามบัญชตี อ่ หนุ้ และกาไรต่อหนุ้ 575
การคานวณจานวนถัวเฉล่ียถว่ งน้าหนกั ของหุ้นสามัญทีถ่ ือโดยบคุ คลภายนอก
วนั ที่ รายการ จานวนหนุ้ หนุ้ ปันผล การแตกห้นุ สัดสว่ นเวลาจาก จานวนห้นุ
20%
วนั ท่ีเกดิ รายการ ถัวเฉลยี่
จนถึงวันสิน้ งวด ถ่วงน้าหนัก
ม.ค. 1 ยอดยกมา 90,000 1.2* × 2 12/12 216,000
ก.พ. 1 จ่ายหุ้นปนั ผล 20%
พ.ค. 1 ออกห้นุ สามัญเพม่ิ 30,000 × 2 8/12 40,000
ก.ค. 1 แตกหุ้นในอัตรา 2 : 1
ส.ค. 1 ซื้อหุน้ สามัญคืน (39,000) 5/12 (16,250)
พ.ย. 1 ออกหนุ้ สามัญเพ่มิ 60,000 2/12 10,000
รวม 249,750
*การคานวณหุ้นปันผล จานวนหนุ้ เดมิ 100 หุน้ จะถกู ปรบั เพ่ิมขึน้ 120 หนุ้ หรอื จากหุ้นเดิม 1 หุน้ จานวนหนุ้ ใหม่
หลังจากปันผลจะเป็น 1.2 หุ้น
การคานวณกาไรต่อหุ้นขน้ั พ้ืนฐาน
การคานวณกาไรต่อหนุ้ ขั้นพ้นื ฐาน = กาไรสุทธสิ าหรบั งวด – เงนิ ปันผลหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถัวเฉลยี่ ถ่วงนา้ หนักของหุ้นสามัญทถี่ ือโดยบุคคลภายนอก
= 2,500,000 – (50,000 × 50 × 8%)
249,750
= 9.21 บาท
ดังน้ัน บริษัท สุขใจ จากดั มกี าไรต่อหนุ้ ในปี 2557 จานวน 9.21 บาท
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 ราคาตามบญั ชีต่อหนุ้ และกาไรต่อหนุ้ 576
ตัวอยา่ งที่ 10.6 วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษทั จงรกั จากัด มหี ้นุ บรุ ิมสิทธิ 8% ชนิดสะสม
จานวน 50,000 หุ้น มูลคา่ หนุ้ ละ 50 บาท และหุ้นสามญั จดทะเบียนและออกจาหนา่ ยแล้ว
จานวน 100,000 หุน้ มลู คา่ ห้นุ ละ 100 บาท ในระหวา่ งงวดบญั ชีมกี ารเปลี่ยนแปลงจานวนหุ้นทุน ดังนี้
ม.ี ค. 1 ออกหนุ้ สามญั เพมิ่ 30,000 หุ้น
ก.ค. 1 ซอื้ หนุ้ สามญั คนื มา 20,000 ห้นุ
ต.ค. 1 รวมหนุ้ ในอัตรา 2 : 1
ธ.ค. 31 ออกหุน้ สามญั เพมิ่ 10,000 ห้นุ
บริษทั มกี าไรสทุ ธปิ ระจาปี 2557 จานวน 1,000,000 บาท และประกาศจา่ ยเงนิ ปันผล
การคานวณจานวนถวั เฉลี่ยถว่ งน้าหนกั ของหุ้นสามญั ทถี่ ือโดยบคุ คลภายนอก
วนั ท่ี รายการ จานวนหุ้น การรวมหุ้น สดั สว่ นเวลาจากวนั ที่ จานวนหนุ้ ถวั เฉลยี่
เกิดรายการจนถงึ ถว่ งน้าหนัก
วนั สนิ้ งวด
ม.ค. 1 ยอดยกมา 100,000 ÷ 2 12/12 50,000
ม.ี ค. 1 ออกหนุ้ สามญั เพิ่ม 30,000 ÷2 10/12 12,500
ก.ค. 1 ซอื้ หุ้นสามญั คนื (20,000) ÷ 2 6/12 (5,000)
ต.ค. 1 รวมหุ้นในอตั รา 2 : 1
ธ.ค. 31 ออกหนุ้ สามัญเพ่มิ 10,000 0/12 0
รวม 57,500
การคานวณกาไรตอ่ หุ้นขั้นพ้ืนฐาน
การคานวณกาไรต่อหุ้นข้ันพ้นื ฐาน = กาไรสทุ ธสิ าหรับงวด – เงนิ ปันผลหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนกั ของหนุ้ สามญั ทีถ่ ือโดยผู้ถือห้นุ
= 1,000,000 – (50,000 × 50 × 8%)
57,500
= 13.91 บาท
ดังนั้น บริษทั จงรกั จากัด มีกาไรต่อห้นุ ในปี 2557 จานวน 13.91 บาท
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 10 ราคาตามบัญชีตอ่ ห้นุ และกาไรต่อหุน้ 577
แบบฝึกหดั ที่ 10.2
ตอนที่ 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้ใหส้ มบรู ณ์ (ข้อละ 2 คะแนน)
1. กาไรตอ่ หุ้น หมายถึงอะไร
………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. บริษัททมี่ ีโครงสร้างทุนแบบงา่ ยต้องคานวณกาไรต่อห้นุ ประเภทใด
………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. โครงสรา้ งเงนิ ทนุ ของบริษัทแบบซบั ซอ้ น หมายถงึ อะไร
………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
4. กาไรตอ่ ห้นุ ขนั้ พ้ืนฐาน คานวณอยา่ งไร
………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตอนที่ 2 จงปฏิบตั ิกจิ กรรมตามท่ีโจทย์กาหนด (10 คะแนน)
1. วนั ที่ 1 มกราคม 2557 บรษิ ทั สุขยงิ่ จำกัด มหี นุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 6% ชนิดสะสม 10,000 ห้นุ
มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท และหุ้นสามัญ จดทะเบยี น 60,000 หุน้ ออกจาหนา่ ยแลว้ 20,000 ห้นุ
มูลคา่ หุน้ ละ 50 บาท ในระหวา่ งงวดบญั ชีมีการเปลย่ี นแปลงจานวนห้นุ ทุน ดงั นี้
ก.พ. 1 ซือ้ หุน้ สามญั คืนมา 5,000 ห้นุ
มี.ค. 31 ออกหนุ้ สามญั เพม่ิ 9,000 หุ้น
พ.ย. 1 ซือ้ หนุ้ สามญั คนื มา 6,000 หุ้น
บริษัทมกี าไรสุทธิปี 2557 600,000 บาท ในปนี บี้ ริษทั ไมป่ ระกาศจา่ ยเงนิ ปันผล
ใหท้ า 1. การคานวณจานวนถวั เฉลีย่ ถ่วงน้าหนักของห้นุ สามญั ทถ่ี ือโดยบคุ คลภายนอก
2. คานวณกาไรต่อห้นุ ข้ันพ้นื ฐาน
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 10 ราคาตามบัญชีตอ่ หุน้ และกาไรต่อหนุ้ 578
1. การคานวณจานวนถัวเฉล่ียถว่ งนา้ หนกั ของหุ้นสามญั ที่ถือโดยบคุ คลภายนอก
วนั ที่ รายการ จานวนห้นุ สัดส่วนเวลาจาก จานวนหุ้นถัวเฉล่ีย
ทเี่ ปลีย่ นแปลง วนั ที่เกิดรายการ ถ่วงนา้ หนัก
จนถึงวันสิน้ งวด
2. คานวณกาไรตอ่ หุ้นข้ันพื้นฐาน ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2557
กาไรต่อหนุ้ ข้ันพืน้ ฐาน = กาไรสุทธสิ าหรบั งวด – เงินปนั ผลหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถวั เฉลยี่ ถ่วงน้าหนักของห้นุ สามญั ท่ีถือโดยบคุ คลภายนอก
2. บรษิ ัท กา้ วหนา้ จากดั มกี าไรสทุ ธจิ านวน 1,494,000 บาท ประกาศจา่ ยเงนิ ปันผล
ให้ผูถ้ ือหุน้ บรุ ิมสิทธิ 200,000 บาท ระหว่างปีมกี ารเปลี่ยนแปลงจานวนหุน้ สามัญ ดังน้ี
ม.ค 1 จานวนหนุ้ สามญั ทม่ี อี ยเู่ ดมิ 90,000 หนุ้
เม.ย. 1 ซื้อห้นุ สามญั คนื มา 40,000 หุ้น
มิ.ย. 1 แตกหุ้นในอตั รา 3 : 1
ธ.ค. 31 ออกจาหนา่ ยหนุ้ สามัญเพ่ิม 50,000 หนุ้
ใหท้ า 1. การคานวณจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักของหนุ้ สามญั ที่ถือโดยบคุ คลภายนอก
2. คานวณกาไรต่อหุ้นข้ันพน้ื ฐาน
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 10 ราคาตามบญั ชตี อ่ หุ้นและกาไรต่อหนุ้ 579
1. การคานวณจานวนถวั เฉลีย่ ถว่ งน้าหนกั ของหุ้นสามัญทถ่ี ือโดยบคุ คลภายนอก
สัดสว่ นเวลาจาก จานวนห้นุ ถวั เฉลย่ี
ถ่วงน้าหนัก
วันที่ รายการ จานวนหนุ้ แตกหนุ้ วนั ทเ่ี กิดรายการ
จนถงึ วันสนิ้ งวด
2. คานวณกาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
กาไรตอ่ หุ้นขนั้ พ้นื ฐาน = กาไรสุทธสิ าหรบั งวด – เงินปันผลหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถัวเฉลยี่ ถว่ งน้าหนกั ของห้นุ สามัญทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอก
3. บรษิ ัท นาโชค จากัด มีกาไรสทุ ธจิ านวน 1,200,000 บาท ประกาศจ่ายเงินปันผล
ให้ผู้ถือหุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 220,000 บาท ระหวา่ งปีมกี ารเปลยี่ นแปลงจานวนหุน้ สามญั ดังนี้
ม.ค 1 จานวนหุ้นสามัญทมี่ อี ยเู่ ดมิ 50,000 หนุ้
เม.ย. 1 ออกจาหน่ายหุ้นสามญั เพมิ่ 15,000 หนุ้
ม.ิ ย. 1 แตกห้นุ ในอตั รา 3 : 1
ก.ค. 1 จ่ายหนุ้ ปันผล 20%
ก.ย. 1 รวมหนุ้ ในอัตรา 2 : 1
ธ.ค. 1 ออกจาหน่ายหุ้นสามัญเพม่ิ 15,000 หุน้
ใหท้ า 1. การคานวณจานวนถัวเฉล่ียถ่วงน้าหนักของห้นุ สามญั ทถ่ี อื โดยบคุ คลภายนอก
2. คานวณกาไรต่อหนุ้ ขั้นพ้นื ฐาน
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 10 ราคาตามบญั ชตี ่อหุน้ และกาไรต่อหุ้น 580
1. การคานวณจานวนถัวเฉลย่ี ถ่วงนา้ หนักของหุ้นสามัญทถี่ ือโดยบุคคลภายนอก
วนั ที่ รายการ จานวนหุ้น หุน้ ปันผล/แตกหุ้น/ สัดส่วนเวลาจาก จานวนหุ้นถัวเฉลย่ี
รวมหนุ้ วันทีเ่ กิดรายการ ถว่ งน้าหนัก
จนถึงวันสิ้นงวด
2. คานวณกาไรต่อหุ้นข้ันพื้นฐาน
กาไรตอ่ หุ้นข้นั พืน้ ฐาน = กาไรสุทธสิ าหรับงวด – เงินปันผลหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถัวเฉลย่ี ถ่วงน้าหนกั ของหุ้นสามัญท่ีถอื โดยบุคคลภายนอก
2.3 การคานวณกาไรต่อหุ้นปรับลด (Diluted Earning Per Share)
บรษิ ัทที่มีโครงสร้างทนุ แบบซับซอ้ น โดยมหี ้นุ สามัญเทยี บเทา่ ซ่ึงเปน็ เครื่องมือทางการเงิน
หรอื สัญญาท่อี าจทาใหผ้ ู้ถือไดร้ บั สิทธใิ นหนุ้ สามญั ได้แก่ ใบสาคญั แสดงสทิ ธิหรือสิทธิทจี่ ะเลอื กซ้อื หนุ้
และตราสารแปลงสภาพ เชน่ หนุ้ กแู้ ปลงสภาพ หุ้นบรุ มิ สิทธแิ ปลงสภาพ เปน็ ตน้
ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง กาไรต่อหุ้น กาหนดให้
บรษิ ัทท่ีมีหนุ้ สามัญและหนุ้ สามญั เทียบเทา่ จะตอ้ งคานวณทงั้ กาไรต่อหุน้ ขนั้ พื้นฐานและกาไรต่อห้นุ ปรบั ลด
การคานวณกาไรต่อหุ้นปรบั ลด แบง่ เป็น 4 กรณี ดังนี้
กรณีท่ี 1 ถ้าห้นุ สามญั เทยี บเทา่ เปน็ หนุ้ กแู้ ปลงสภาพ
การคานวณกาไรต่อหุ้นปรับลดมีข้อสมมติว่าหุ้นกู้แปลงสภาพเกิดขึ้น ณ วันต้นงวด หรือ
เมื่อออกจาหน่ายหลักทรัพย์ (ในกรณีท่ีหุ้นกู้ออกจาหน่ายระหว่างงวด) ทาให้ไม่มีดอกเบี้ยจ่ายเกิดข้ึน
ในระหว่างงวด ดอกเบ้ียจ่ายที่ประหยัดได้จะทาให้กาไรสุทธิเพิ่มขึ้นและจานวนหุ้นสามัญจะเพ่ิมข้ึน
ตามสดั สว่ นการแปลงสภาพทีก่ าหนด ซง่ึ ข้อสมมติดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อการคานวณกาไรต่อหนุ้ ดังนี้
1) ผลกระทบต่อกาไรสุทธิส่วนที่เป็นของหุ้นสามัญจะเพิ่มขึ้นเท่ากับดอกเบ้ียจ่าย
ทเี่ ปน็ ยอดสุทธิจากภาษีเงินได้ เนื่องจากมีการแปลงสภาพหุ้นกู้ไปเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นงวด จึงไม่ต้อง
จา่ ยดอกเบยี้ หุ้นกู้อีก ดงั นน้ั ให้นาดอกเบยี้ จา่ ยสุทธจิ ากภาษเี งินไดบ้ วกกบั กาไรสุทธปิ ระจาปี
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 ราคาตามบัญชีตอ่ ห้นุ และกาไรต่อห้นุ 581
2) ผลกระทบต่อจานวนถัวเฉล่ียถ่วงน้าหนักของหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอก
จะเพม่ิ ขึน้ จากจานวนหุ้นทีแ่ ปลงสภาพ
ตัวอย่างที่ 10.7 บริษัท รุ่งฤดี จากัด มีกาไรสุทธิประจาปี 2557 800,000 บาท มีหุ้นสามัญ
ท่อี อกจาหนา่ ยและถือโดยบุคคลภายนอกถัวเฉล่ียถ่วงนา้ หนกั 200,000 หุน้ บริษัทมหี ุ้นกู้แปลงสภาพ 6%
ออกจาหน่ายเม่ือส้ินปี 2556 จานวน 1,000 หุ้น ราคาตามมูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท กาหนดให้
หุ้นกู้ 1 หุ้น แปลงสภาพเปน็ หุ้นสามัญได้ 20 หนุ้ อัตราภาษเี งนิ ได้ 30%
การคานวณ
กาไรตอ่ หุ้นข้นั พืน้ ฐาน = กาไรสุทธสิ ่วนท่ีเป็นของหนุ้ สามญั
จานวนถวั เฉลีย่ ถว่ งน้าหนักของหุ้นสามัญท่ถี อื โดยบคุ คลภายนอก
= 800,000
200,000
กาไรต่อหุ้นปรับลด = 4 บาท
= กาไรสทุ ธสิ ่วนทเี่ ปน็ ของหนุ้ สามญั + ดอกเบี้ยจา่ ยหนุ้ กสู้ ทุ ธจิ ากภาษเี งนิ ได้ 1)
จานวนหนุ้ สามัญถวั เฉลยี่ ถว่ งน้าหนัก + จานวนหนุ้ สามัญจากหนุ้ ก้แู ปลงสภาพ 1)
= 800,000 + 42,000
200,000 + 20,000
= 3.83 บาท
หมายเหตุ
1) ดอกเบ้ยี จา่ ยหนุ้ กสู้ ทุ ธจิ ากภาษเี งินได้ (1,000×1,000×6%) × 70%
= 42,000 บาท
1) จานวนหนุ้ สามัญถวั เฉล่ยี ถ่วงนา้ หนกั ทีเ่ พมิ่ ขึ้นหากหนุ้ กแู้ ปลงสภาพ (1 : 20) = 20,000 หนุ้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 ราคาตามบัญชตี ่อหุน้ และกาไรต่อหนุ้ 582
กรณีท่ี 2 ถา้ หนุ้ สามญั เทียบเทา่ เป็นหนุ้ บุรมิ สทิ ธิแปลงสภาพ
ให้สมมติว่าการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญเกิด ข้ึนตั้งแต่ต้นงวด หรือ
ตัง้ แต่ออกจาหน่ายหลักทรพั ย์ (หากออกจาหนา่ ยระหว่างงวด) การแปลงสภาพหนุ้ ดงั กลา่ วจะมผี ลกระทบตอ่
การคานวณกาไรต่อหุ้นปรับลด ดงั น้ี
1) ผลกระทบต่อกาไรสุทธิส่วนที่เป็นของหุ้นสามัญจะเพ่ิมข้ึน เนื่องจากบริษัทไม่ต้อง
จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิอีกต่อไป เงินปันผลท่ีบวกกลับไม่ต้องหักภาษีเงินได้
เงนิ ปันผลหุ้นบรุ มิ สทิ ธชิ นดิ สะสมจะต้องบวกกลบั ดว้ ยเงินปันผลจานวน 1 ปีเสมอ ไม่วา่ จะมกี ารประกาศจ่าย
หรอื ไมก่ ็ตาม และห้นุ บุริมสทิ ธชิ นดิ ไม่สะสมบวกกลบั ด้วยเงินปนั ผลเฉพาะปีทีป่ ระกาศจ่ายในงวดปจั จบุ นั
2) ผลกระทบต่อจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักของหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอก
จะเพม่ิ ขนึ้ จากจานวนหุ้นบุริมสทิ ธิทีแ่ ปลงสภาพ
ตัวอย่างที่ 10.8 บริษัท ภักดี จากัด มีกาไรสุทธิประจาปี 2557 800,000 บาท มีหุ้นสามัญ
ที่ออกจาหน่ายและถือโดยบุคคลภายนอกถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก 200,000 หุ้น บริษัทมีหุ้นบุริมสิทธิ 5%
ชนิดสะสมและแปลงสภาพ ออกจาหน่ายเม่ือต้นปี 2556 จานวน 1,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท
กาหนดให้ห้นุ บุริมสทิ ธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหุน้ สามญั ได้ 2 หนุ้
การคานวณ
กาไรตอ่ หนุ้ ขน้ั พน้ื ฐาน = กาไรสุทธสิ าหรับงวด – เงนิ ปันผลหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ
จานวนถวั เฉลี่ยถว่ งน้าหนกั ของหุน้ สามญั ท่ีถอื โดยบคุ คลภายนอก
= 800,000 – 5,000 (1,000 × 100 × 5%)
200,000
กาไรตอ่ ห้นุ ปรบั ลด = 3.98 บาท
= กาไรสทุ ธสิ ่วนทีเ่ ป็นของห้นุ สามญั + เงนิ ปนั ผลหุ้นบรุ ิมสิทธทิ ่ีหลกี เล่ียงได1้ )
จานวนหุ้นสามัญถวั เฉลย่ี ถว่ งน้าหนัก + จานวนหนุ้ สามญั เพมิ่ หากแปลงสภาพ1)
= 795,000 + 5,000
200,000 + 2,000
= 3.96 บาท
หมายเหตุ
1) เงนิ ปันผลหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิทห่ี ลีกเล่ียงได้หากมกี ารแปลงสภาพ (1,000×100×5%) = 5,000 บาท
1) จานวนหุ้นสามญั ถัวเฉลยี่ ถ่วงนา้ หนักที่เพมิ่ ขนึ้ หากแปลงสภาพ (1 : 2)
= 2,000 ห้นุ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 10 ราคาตามบัญชีต่อหุ้นและกาไรต่อหนุ้ 583
กรณีที่ 3 ถ้าหุ้นสามัญเทียบเท่าเปน็ ใบสาคัญแสดงสทิ ธิซอ้ื ห้นุ สามัญ
ถ้าบริษัทออกใบสาคัญแสดงสิทธิซ้ือหุ้นสามัญให้แก่พนักงาน กรรมการ หรือผู้ถือหุ้น
การคานวณกาไรตอ่ หนุ้ ปรบั ลด บริษทั ตอ้ งปฏิบัตติ ามขัน้ ตอนดงั น้ี
1) เมื่อราคาตามสิทธิต่ากว่ามูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ สมมติว่าผู้ถือใบมอบสิทธิ
จะใชส้ ทิ ธซิ ื้อห้นุ สามัญ
2) บริษัทจะนาเงินที่ได้รับจากการจาหน่ายหุ้นสามัญน้ีไปซ้ือหุ้นสามัญคืนมา
จากบุคคลภายนอกด้วยมูลคา่ ยตุ ธิ รรม เพอื่ นาหุ้นสามัญดังกล่าวมาใช้ในการแปลงสภาพหุ้น ถ้าจานวนหุ้น
สามัญท้ังสิ้นท่ีบริษัทต้องใช้ในการแปลงสภาพหุ้นสูงกว่าจานวนหุ้นสามัญซ้ือคืนมา บ ริษัทจะต้อง
ออกหุ้นสามัญเพมิ่ เตมิ ให้กับผถู้ อื หนุ้ สามญั เทยี บเทา่ โดยไม่ไดร้ ับสิ่งตอบแทนใด ๆ ทั้งส้นิ
ตัวอย่างท่ี 10.9 บริษัท เจริญสุข จากัด มีจานวนหุ้นสามัญท่ีถือโดยผู้ถือหุ้น 200,000 หุ้น
กาไรสทุ ธิสว่ นที่เป็นของหุ้นสามัญ 600,000 บาท มูลค่าหุ้นละ 50 บาท มูลค่ายุติธรรม หุ้นละ 60 บาท
และออกใบสาคัญแสดงสทิ ธซิ ื้อหุ้นสามญั 3,000 หนุ้ ราคาตามสทิ ธหิ ้นุ ละ 50 บาท
การคานวณ
กาไรตอ่ หนุ้ ขัน้ พ้นื ฐาน = กาไรสุทธสิ าหรบั งวด – เงินปนั ผลหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ
จานวนถวั เฉล่ียถ่วงน้าหนักของหุน้ สามญั ทถ่ี อื โดยบคุ คลภายนอก
= 600,000
200,000
= 3 บาท
กาไรต่อห้นุ ปรบั ลด = กาไรสุทธสิ ่วนท่ีเปน็ ของหนุ้ สามญั
จานวนหุ้นสามัญถวั เฉล่ยี ถ่วงนา้ หนัก + จานวนหนุ้ สามญั ท่อี อกเพ่ิม
= 600,000
200,000 + 500
= 2.99 บาท
หมายเหตุ
1. เงินสดที่ไดร้ ับหากมกี ารใช้สิทธิ (3,000 หนุ้ × 50 บาท) = 150,000 บาท
2. นาเงินสดทไี่ ดร้ ับไปซ้อื หนุ้ สามญั คืนมา (150,000 ÷ 60 บาทตอ่ ห้นุ ) = 2,500 ห้นุ
3. บริษัทต้องออกเพม่ิ โดยไม่ได้รบั ผลตอบแทน (3,000 – 2,500) = 500 หนุ้
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 10 ราคาตามบัญชีต่อหุน้ และกาไรต่อห้นุ 584
กรณีที่ 4 ถ้าหุน้ สามัญเทยี บเท่ามีหลายประเภท การคานวณกาไรต่อหุ้น มขี นั้ ตอนดังนี้
ขัน้ ท่ี 1 คานวณกาไรตอ่ ห้นุ ขนั้ พน้ื ฐาน
ขัน้ ท่ี 2 คานวณผลกระทบตอ่ ห้นุ ของหุ้นสามญั เทียบเท่าแตล่ ะชนดิ โดยสมมติว่ามี
การแปลงสภาพเปน็ หนุ้ สามญั
ขนั้ ท่ี 3 เรยี งลาดบั ผลกระทบตอ่ ห้นุ ของห้นุ สามญั เทียบเทา่ ปรับลดจากผลกระทบ
นอ้ ยท่สี ดุ ไปมากทส่ี ดุ
ข้นั ที่ 4 คานวณกาไรต่อหนุ้ ปรบั ลดใหม่โดยรวมผลกระทบตอ่ ห้นุ ทม่ี ผี ลตอ่ กาไรและ
จานวนหนุ้ ตามลาดบั ในข้นั ท่ี 3 ทลี ะรายการ
ตวั อย่างท่ี 10.10 ขอ้ มูลบางสว่ นของบริษัท รงุ่ เรือง จากดั ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2557 มดี งั นี้
(หน่วย : บาท)
หุ้นก้แู ปลงสภาพ 6% 20,000,000
หนุ้ กแู้ ปลงสภาพ 10% 10,000,000
รวมหนส้ี ินไมห่ มุนเวยี น 30,000,000
หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 10% สะสมและแปลงสภาพได้ จดทะเบียน 20,000 ห้นุ
มูลค่าหนุ้ ละ 500 บาท ออกจาหนา่ ยและอยใู่ นมอื ผถู้ อื หนุ้ 10,000 หุ้น 5,000,000
หนุ้ สามญั จดทะเบียน 500,000 หนุ้ มูลค่าหนุ้ ละ 100 บาท
ออกจาหนา่ ยและอยใู่ นมอื ผู้ถอื หนุ้ 200,000 หุ้น 20,000,000
ส่วนเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั 4,000,000
กาไรสะสม 12,000,000
รวมสว่ นของผูถ้ ือหุ้น 41,000,000
ข้อมูลเพิม่ เติม
1. กาไรสทุ ธปิ ี 2557 จานวน 2,000,000 บาท ในปี 2557 ไม่มกี ารประกาศจา่ ยเงนิ ปันผล
2. อตั ราภาษเี งินได้ 30%
3. หุ้นกแู้ ปลงสภาพ 6% ออกจาหนา่ ยในปี 2555 ราคาตามมูลคา่ ห้นุ ละ 1,000 บาท
หุ้นกู้ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหนุ้ สามญั ได้ 8 หนุ้
4. หุ้นกแู้ ปลงสภาพ 10% ออกจาหนา่ ยในปี 2556 ราคาตามมูลคา่ ห้นุ ละ 1,000 บาท
หุ้นกู้ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหนุ้ สามญั ได้ 12 หนุ้
5. หุน้ บุรมิ สทิ ธิ 10% ออกจาหนา่ ยในปี 2556 ในราคาตามมลู คา่
ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ 1 หนุ้ แปลงสภาพเป็นหุ้นสามญั ได้ 5 ห้นุ
6. เม่อื วนั ที่ 1 มนี าคม 2557 บรษิ ัทออกใบสาคัญแสดงสทิ ธิทจ่ี ะเลอื กซอ้ื หุ้น 50,000 หนุ้
ราคาใช้สิทธิหุน้ ละ 120 บาท หุ้นสามัญ มีมลู คา่ ยุติธรรมหนุ้ ละ 150 บาท
7. ในปี 2557 ไมม่ ีการแปลงสภาพหนุ้
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 10 ราคาตามบัญชตี อ่ หุ้นและกาไรต่อหนุ้ 585
การคานวณกาไรต่อหุ้นข้นั พ้ืนฐานและกาไรต่อหนุ้ ปรับลด เป็นดังน้ี
ขั้นที่ 1 คานวณกาไรตอ่ หนุ้ ขัน้ พื้นฐาน
กาไรตอ่ หนุ้ ข้นั พ้นื ฐาน = กาไรสทุ ธสิ าหรับงวด – เงินปนั ผลหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ
จานวนถวั เฉล่ยี ถว่ งนา้ หนักของหุ้นสามญั ท่ถี ือโดยบุคคลภายนอก
= 2,000,000 – 500,000 (5,000,000 × 10%)
200,000
= 7.50 บาท
ข้นั ท่ี 2 คานวณผลกระทบตอ่ หนุ้ ของหุ้นสามัญเทยี บเท่าแตล่ ะชนิด สมมติว่ามีการแปลงสภาพ
เปน็ หุ้นสามญั
1. ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะเลอื กซื้อหนุ้ สามญั
จานวนเงนิ ทไ่ี ดร้ ับหากมีการใชส้ ิทธิ (50,000 หุน้ × 120 บาท) = 6,000,000 บาท
จานวนหุ้นสามัญทอี่ อกเพ่มิ เมื่อมกี ารใชส้ ทิ ธิ = 50,000 หุ้น
จานวนหนุ้ ทบี่ ริษัทสามารถซอ้ื คืนได้ (6,000,000 ÷ 150 บาทต่อห้นุ ) = 40,000 หนุ้
จานวนหนุ้ สามญั ทบ่ี รษิ ทั ตอ้ งออกเพม่ิ โดยไม่ได้รบั ผลตอบแทน = 10,000 หุ้น
ผลกระทบตอ่ หุ้น = กาไรท่ีเพมิ่ ขนึ้ = 0 = 0 บาท
จานวนหนุ้ สามญั ทเี่ พิม่ ขนึ้ 10,000
2. หนุ้ กู้แปลงสภาพ 6%
ดอกเบีย้ จา่ ยทหี่ ลกี เลยี่ งไดห้ ากแปลงสภาพ (20,000,000×6%)×70% = 840,000 บาท
จานวนหุ้นสามัญทเ่ี พิม่ ขึ้นหากห้นุ กู้แปลงสภาพ (1 : 8) = 160,000 หนุ้
(20,000,000 ÷ 1,000) × 8
ผลกระทบตอ่ หุ้น = กาไรท่เี พมิ่ ข้นึ = 840,000 = 5.25 บาท
จานวนห้นุ สามญั ทเ่ี พ่มิ ข้นึ 160,000
3. หนุ้ กแู้ ปลงสภาพ 10%
ดอกเบีย้ จา่ ยทหี่ ลกี เล่ียงไดห้ ากแปลงสภาพ (10,000,000×10%)×70% = 700,000 บาท
จานวนห้นุ สามญั ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ หากหุ้นก้แู ปลงสภาพ (1 : 12) = 120,000 หนุ้
(10,000,000 ÷ 1,000) × 8
ผลกระทบต่อหุ้น = กาไรทเ่ี พม่ิ ขึ้น = 700,000 = 5.83 บาท
จานวนหนุ้ สามัญทเี่ พิ่มขึ้น 120,000
4. หุน้ บรุ ิมสทิ ธแิ ปลงสภาพ 10%
เงนิ ปนั ผลท่หี ลีกเลีย่ งได้หากแปลงสภาพ (5,000,000×10%) = 500,000 บาท
จานวนหุ้นสามัญทเี่ พิม่ ขึน้ หากหุ้นบรุ มิ สทิ ธิแปลงสภาพ (10,000 × 5) = 50,000 หนุ้
ผลกระทบตอ่ หุ้น = กาไรทีเ่ พม่ิ ข้นึ = 500,000 = 10.00 บาท
จานวนหนุ้ สามัญทเี่ พิม่ ขึ้น 50,000
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 10 ราคาตามบญั ชีต่อหุน้ และกาไรต่อหนุ้ 586
ข้นั ท่ี 3 เรียงลาดับผลกระทบตอ่ หุ้นของหนุ้ สามัญเทยี บเทา่ ปรบั ลดจากผลกระทบนอ้ ยท่ีสุดไปมากทสี่ ุด
ลาดบั ท่ี 1 ใบสาคญั แสดงสทิ ธิทจ่ี ะเลือกซื้อหนุ้ สามญั กาไรตอ่ หนุ้ ทป่ี รับเพ่มิ 0.00 บาท
ลาดบั ท่ี 2 หุ้นกู้แปลงสภาพ 6% กาไรตอ่ ห้นุ ทป่ี รับเพม่ิ 5.25 บาท
ลาดับท่ี 3 หนุ้ ก้แู ปลงสภาพ 10% กาไรตอ่ หนุ้ ที่ปรบั เพ่มิ 5.83 บาท
ลาดบั ท่ี 4 หุ้นบรุ ิมสทิ ธิแปลงสภาพ 10% กาไรต่อหุ้นทป่ี รับเพม่ิ 10.00 บาท
ขน้ั ที่ 4 คานวณกาไรตอ่ หุน้ ปรบั ลดใหมโ่ ดยรวมผลกระทบต่อหนุ้ ทมี่ ผี ลตอ่ กาไรและจานวนหุ้นตามลาดบั
ในขน้ั ที่ 3 ทลี ะรายการ
กาไรตอ่ ห้นุ ขั้นพื้นฐาน = 2,000,000 – 500,000 = 7.50 บาท
200,000
ลาดับที่ 1 กาไรตอ่ หนุ้ ปรบั ลด = 1,500,000 = 7.14 บาท
200,000 + 10,000
ลาดับท่ี 2 กาไรต่อหุ้นปรบั ลด = 1,500,000 + 840,000 = 6.32 บาท
210,000 + 160,000
ลาดบั ท่ี 3 กาไรตอ่ หนุ้ ปรบั ลด = 2,340,000 + 700,000 = 6.20 บาท
370,000 + 120,000
ลาดบั ท่ี 4 กาไรตอ่ หุน้ ปรบั ลด = 3,040,000 + 500,000 = 6.56 บาท
490,000 + 50,000
จากการคานวณขา้ งต้น กาไรต่อห้นุ ปรับลด เทา่ กบั 6.20 บาท เน่อื งจากผลการแปลงสภาพ
หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 10% ไมท่ าใหก้ าไรต่อหนุ้ ปรับลดลง แต่กลบั เพม่ิ ขึน้ จากเดมิ 6.20 บาท เป็น 6.56 บาท
การแสดงรายการกาไรตอ่ หนุ้ ในงบกาไรขาดทนุ จะเป็นดังน้ี
บรษิ ัท รุ่งเรือง จากัด
งบกาไรขาดทนุ (บางสว่ น)
สาหรบั ปีสิน้ สดุ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557
กาไรสทุ ธิ (หนว่ ย : บาท)
กาไรต่อห้นุ ขั้นพืน้ ฐาน
กาไรตอ่ หุน้ ปรบั ลด 2,000,000
7.50
6.20