The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางนภลดา อินภูษา, 2022-03-16 02:51:44

เอกสารประกอบการสอน 2563

เอกสารประกอบการสอน 2563

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 8 การเปลีย่ นแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 437

สมุดรายวนั ทั่วไป หนา้ 2
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 8 การเปล่ียนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น 438

1.3 สิทธิที่จะเลือกซื้อห้นุ (Stock Options)

บริษัทที่เป็นกิจการขนาดใหญ่จะมีโครงการให้สิทธิแก่พนักงานเพื่อซ้ือหุ้นทุนของบริษัท

ได้ในราคาที่ต่ากว่ามูลค่ายุติธรรมของหุ้นทุน เพ่ือจูงใจให้พนักงานหรือบุคคลระดับผู้บริหารมีส่วนร่วม
ในความเปน็ เจ้าของบริษัท และเพือ่ เป็นการตอบแทนผลงานของพนักงาน หรือตอบแทนกรรมการบริษัท
ทีไ่ ด้เสียสละเวลาเขา้ มาบรหิ ารจดั การให้กจิ การเจรญิ กา้ วหน้า

วิธีการบญั ชีเกยี่ วกบั ใบสาคญั แสดงสิทธซิ อ้ื ห้นุ ทอี่ อกให้พนักงานโดยถือเปน็ การตอบแทน มีดงั น้ี
1) บันทึกออกใบสาคัญแสดงสทิ ธซิ ื้อหุ้นเพอ่ื เป็นคา่ ตอบแทน
จานวนค่าตอบแทน คานวณจากผลตา่ งระหว่างมลู ค่ายตุ ธิ รรมของหนุ้ สามญั ทส่ี ูงกว่าราคาใช้สิทธิ

และใบสาคัญแสดงสทิ ธซิ อ้ื หนุ้ ที่ออกใหพ้ นักงานถอื เป็นคา่ ตอบแทนที่ได้ปฏบิ ัตงิ านในงวดปจั จบุ นั
บันทกึ บญั ชีโดย

เดบติ คา่ ตอบแทนพนกั งาน ××
เครดติ ใบสาคญั แสดงสิทธซิ ื้อหนุ้ ××

2) บันทึกการใชใ้ บสาคัญแสดงสิทธซิ ื้อหุ้นทุน บันทึกออกหุน้ สามญั และ
ลดบญั ชีใบสาคญั แสดงสทิ ธิซ้อื หุ้นตามสดั ส่วนสทิ ธทิ ่ใี ช้

เดบติ เงนิ สด ××

ใบสาคญั แสดงสทิ ธิซอ้ื หุน้ ××
เครดติ หนุ้ สามญั ××
××
สว่ นเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั (ผลต่าง)

3) บันทึกใบสาคัญแสดงสิทธซิ ือ้ ห้นุ หมดอายุ โอนปดิ บัญชใี บสาคญั แสดงสทิ ธซิ ้ือหุ้น
ไปยงั บัญชสี ่วนเกนิ ทนุ จากการไมใ่ ชส้ ทิ ธซิ อ้ื ห้นุ

เดบิต ใบสาคัญแสดงสทิ ธิซื้อหนุ้ ××
เครดติ สว่ นเกนิ ทนุ จากการไม่ใช้สทิ ธิซอื้ หุ้น ××

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 8 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหนุ้ 439

ตัวอยา่ งท่ี 8.5 วันที่ 1 มกราคม 2557 บรษิ ัท โอบกิจ จากดั ประกาศใหส้ ทิ ธิเป็นคา่ ตอบแทนแกพ่ นักงาน
โดยออกใบสาคญั แสดงสทิ ธซิ อ้ื หนุ้ เพ่ือนามาซอ้ื หุ้นสามญั จานวน 10,000 หนุ้ มูลค่าหนุ้ ละ 100 บาท
ราคาใช้สทิ ธิห้นุ ละ 110 บาท มลู ค่ายุตธิ รรมของหุ้นสามญั ณ วนั ใหส้ ิทธหิ ้นุ ละ 120 บาท

ใบสาคญั แสดงสิทธซิ ้ือหนุ้ มีอายุ 4 เดอื น ตอ่ มาวนั ที่ 1 มนี าคม 2557 มีผู้นาใบสาคัญแสดงสทิ ธิซือ้ หุน้
มาใช้ซื้อหุ้นสามญั ท้ังสิ้น 80% ส่วนทีเ่ หลอื ปลอ่ ยใหห้ มดอายุ

การบนั ทกึ บญั ชี

สมดุ รายวันทัว่ ไป หน้า 1
เครดิต
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต บาท สต.
เดอื น วนั บญั ชี บาท สต.
100,000 -
ม.ค. 1 คา่ ตอบแทนพนกั งาน 100,000 -

ใบสาคญั แสดงสิทธซิ ้ือหุน้

บนั ทกึ ออกใบสาคัญแสดงสทิ ธซิ อื้ หนุ้

10,000 × (120 – 110)

ม.ี ค. 1 เงนิ สด (8,000 x 110) 880,000 -
80,000 -
ใบสาคญั แสดงสทิ ธซิ ื้อหุ้น (8,000x10)

หุ้นสามญั (8,000 x 100) 800,000 -
160,000 -
สว่ นเกนิ มูลค่าหุน้ สามญั

มีผูน้ าใบสาคญั แสดงสทิ ธิซอ้ื หุ้น

มาซื้อหุ้นสามญั 8,000 หุน้

พ.ค. 1 ใบสาคญั แสดงสทิ ธิซ้ือหนุ้ 20,000 -

ส่วนเกนิ ทุนจากการไม่ใช้- 20,000 -

สิทธซิ ื้อหุ้น

ใบสาคัญแสดงสิทธซิ อื้ หุน้ หมดอายุ

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในส่วนของผถู้ ือหุน้ 440

แบบฝกึ หดั ที่ 8.3

จงปฏิบตั ิกจิ กรรมตามที่โจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. เมอ่ื วนั ที่ 1 มกราคม 2557 บริษทั ออมทรพั ย์ จากัด ใหส้ ทิ ธแิ กพ่ นกั งานสามารถซื้อหุน้ สามญั ได้

10,000 หนุ้ มลู คา่ หุน้ ละ 50 บาท สทิ ธิมอี ายุ 6 เดือน ราคาของหุ้นสามญั ท่ีใช้สิทธิซ้ือหนุ้ ละ 60 บาท

และมลู ค่ายุตธิ รรมของหุน้ สามญั ณ วนั ให้สทิ ธิห้นุ ละ 80 บาท ตอ่ มาวนั ท่ี 1 เมษายน 2557
มีผูม้ าใช้สทิ ธิ 70% สว่ นทเี่ หลอื ปลอ่ ยใหห้ มดอายุ
ให้ทา บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ท่ัวไป

สมดุ รายวันทว่ั ไป หนา้ 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผูถ้ ือหุ้น 441

2. วนั ท่ี 1 สิงหาคม 2557 บรษิ ัท โชคดี จากัด (มหาชน) ประกาศให้สทิ ธซิ ื้อหุ้นสามญั เป็นคา่ ตอบแทน

ให้แก่ผบู้ รหิ ารระดับสงู จานวน 7 คน คนละ 1,000 หุน้ มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท ราคาใช้สทิ ธิ

หุ้นละ 110 บาท มูลค่ายตุ ิธรรมของหนุ้ สามญั ณ วนั ใหส้ ทิ ธิห้นุ ละ 130 บาท สิทธิมีอายุ 4 เดือน

ต่อมาวนั ท่ี 1 กนั ยายน 2557 มีผู้บริหารนาใบสาคญั แสดงสทิ ธซิ ื้อหุ้นมาใช้ทั้งสนิ้ 80%

ส่วนทเ่ี หลอื ปลอ่ ยใหห้ มดอายุ

ใหท้ า บันทึกรายการในสมุดรายวันทวั่ ไป

สมดุ รายวันท่ัวไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 8 การเปลีย่ นแปลงในสว่ นของผถู้ ือห้นุ 442

3. บริษทั ก้าวหน้า จากัด มรี ายการเก่ยี วกบั ใบสาคัญแสดงสทิ ธิซอ้ื หนุ้ ดงั นี้

2558

ก.พ. 1 ออกใบสาคัญแสดงสทิ ธิซ้ือหนุ้ ใหแ้ ก่พนักงานท่ที างานมาไม่ตา่ กว่า 10 ปี จานวน 5,000 หุ้น

มลู คา่ หุ้นละ 50 บาท ในราคาหนุ้ ละ 55 บาท มลู คา่ ยุตธิ รรมของหุ้นสามญั วันนี้ 65 บาท

สทิ ธมิ อี ายุ 4 เดือน

เม.ย. 5 พนกั งานนาใบสาคัญแสดงสทิ ธิซ้อื หุ้นมาใช้ซือ้ หุ้นสามญั จานวน 4,500 ห้นุ

ม.ิ ย. 1 ใบสาคญั แสดงสทิ ธซิ ้ือหุ้นท่อี อกให้พนกั งานทเี่ หลือหมดอายวุ นั นี้

ให้ทา บันทึกรายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไป

สมุดรายวันทั่วไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 8 การเปลยี่ นแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 443

2. การแปลงสภาพหุ้นบรุ มิ สทิ ธิ

บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนและออกจาหน่ายหุ้นบุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพได้ บริษัทจะให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้น
ในการแปลงสภาพไปเป็นหุ้นสามัญตามอัตราส่วนการแปลงสภาพและภายในระยะเวลาทก่ี าหนด ซึ่งบริษัท
จะต้องสารองหุ้นสามัญไว้ให้เพียงพอจนถึงวันที่สิทธิแปลงสภาพหมดอายุ ถ้าหุ้นบุริมสิทธิเป็นชนิดสะสม
และยงั มเี งินปนั ผลคงคา้ งอยู่ บริษัทจะตอ้ งจา่ ยเงนิ ปันผลที่คงคา้ งนัน้ กอ่ นจงึ ทาการแปลงสภาพหนุ้ บุริมสิทธิ
การให้สิทธิแปลงสภาพหุ้นดังกล่าว ยอดรวมในส่วนของผู้ถือหุ้นจะไม่เปล่ียนแปลง แต่องค์ประกอบ
ในส่วนของผู้ถือหนุ้ อาจเปล่ยี นแปลงได้ เชน่ กาไรสะสมลดลง หรือส่วนเกินทนุ เพิ่มข้นึ

การบนั ทึกบัญชีการแปลงสภาพห้นุ บุรมิ สทิ ธิ ให้โอนปิดบญั ชีทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั หุน้ บรุ มิ สทิ ธแิ ปลงสภาพ
และบันทกึ การออกหุน้ สามัญในราคาตามมลู ค่า ถ้ามีผลตา่ งด้านเดบิตจะบันทกึ บัญชกี าไรสะสม และถ้ามี
ผลต่างดา้ นเครดติ จะบันทกึ บญั ชสี ว่ นเกินทนุ จากการแปลงสภาพหนุ้ บุรมิ สทิ ธิ ดงั นี้

เดบิต หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ ××

ส่วนเกินมลู คา่ หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ หรือ ××

กาไรสะสม (ผลต่าง) ××

เครดิต หนุ้ สามญั ××

สว่ นตา่ กว่ามูลค่าหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ ××
××
ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ (ผลตา่ ง)

ตวั อยา่ งที่ 8.6 งบแสดงฐานะการเงินบางส่วนของบรษิ ัท ทรพั ย์ทวี จากัด ณ วนั ท่ี 31 มกราคม 2557

แสดงรายการสว่ นของผถู้ ือหุ้น ดงั นี้

สว่ นของผูถ้ ือหุ้น (หน่วย : บาท)

หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 6% ไมส่ ะสมชนิดแปลงสภาพได้

(ออกจาหน่าย 5,000 หุน้ มูลค่าหนุ้ ละ 100 บาท) 500,000

หุ้นสามญั

(จดทะเบยี น 10,000 หนุ้ ออกจาหน่ายแลว้ 8,000 หุน้ มลู ค่าหุน้ ละ 50 บาท) 400,000

ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 50,000

สว่ นเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั 40,000

กาไรสะสม 800,000

รวมสว่ นของผถู้ อื หุ้น 1,790,000

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 444

กรณีที่ 1 เงอ่ื นไขการแปลงสภาพ คือ หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 1 หนุ้ แปลงสภาพเป็นหนุ้ สามญั ได้ 2 หุ้น
เมือ่ วันท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 มีผูถ้ ือหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 1,000 หุน้ มาแปลงสภาพเปน็ หนุ้ สามญั

การบนั ทกึ บัญชี

สมดุ รายวันทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ก.พ. 1 หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ (1,000x100) 100,000 -

ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นบรุ มิ สทิ ธิ (1,000×10) 10,000 -

หนุ้ สามัญ (1,000 x 2 x 50) 100,000 -

ส่วนเกินทนุ จากการแปลงสภาพ-

หุน้ บุริมสิทธิ 10,000 -

บนั ทกึ การแปลงสภาพหุ้นบุรมิ สทิ ธิ

เป็นหนุ้ สามญั จานวน 2,000 ห้นุ

กรณที ่ี 2 เงื่อนไขการแปลงสภาพ คือ ห้นุ บุรมิ สทิ ธิ 1 ห้นุ แปลงสภาพเปน็ หุ้นสามญั ได้ 3 หุน้
เม่อื วนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ์ 2557 มีผูถ้ อื หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 1,000 หนุ้ มาแปลงสภาพเปน็ หุ้นสามญั

การบนั ทึกบัญชี

สมดุ รายวันทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ก.พ. 1 หุ้นบรุ ิมสทิ ธิ (1,000x100) 100,000 -

ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นบุรมิ สทิ ธิ (1,000×10) 10,000 -

กาไรสะสม 40,000 -

หุ้นสามัญ (1,000 x 3 x 50) 150,000 -

บันทึกการแปลงสภาพห้นุ บุรมิ สิทธิ

เปน็ หุ้นสามญั จานวน 3,000 หนุ้

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 8 การเปล่ยี นแปลงในสว่ นของผู้ถือหนุ้ 445

แบบฝึกหดั ที่ 8.4

จงปฏิบัติกจิ กรรมตามทีโ่ จทยก์ าหนด (10 คะแนน)

1. บริษัท ทรพั ยท์ วี จากัด มีรายการสว่ นของผู้ถอื ห้นุ ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2556 ดงั น้ี

หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 8% ไมส่ ะสมชนดิ แปลงสภาพได้

(ออกจาหน่ายแล้ว 1,000 หุน้ มลู คา่ หนุ้ ละ 100 บาท) 100,000 บาท

หุน้ สามญั

(จดทะเบียน 50,000 ห้นุ ออกจาหนา่ ยแล้ว 30,000 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) 300,000 บาท

ส่วนเกนิ มลู คา่ หุน้ บรุ มิ สทิ ธิ 20,000 บาท

กาไรสะสม 90,000 บาท

รวมสว่ นของผถู้ อื หุน้ 510,000 บาท

เมือ่ วนั ที่ 1 มกราคม 2557 ผ้ถู ือหุน้ บรุ ิมสิทธิ 500 หุ้น ต้องการแปลงสภาพเป็นหนุ้ สามญั

ให้ทา บนั ทกึ การแปลงสภาพหุน้ บรุ ิมสทิ ธิตามกรณดี ังน้ี

กรณที ี่ 1 เง่อื นไขการแปลงสภาพ คือ หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ 1 หนุ้ แปลงสภาพเป็นหุน้ สามญั ได้ 12 หนุ้

กรณีที่ 2 เง่ือนไขการแปลงสภาพ คือ หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 1 หนุ้ แปลงสภาพเปน็ หุ้นสามญั ได้ 15 หุ้น

กรณที ี่ 1 เงือ่ นไขการแปลงสภาพ คอื หุน้ บุรมิ สทิ ธิ 1 หนุ้ แปลงสภาพเปน็ หุ้นสามญั ได้ 12 หุน้

สมดุ รายวนั ทั่วไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

กรณที ่ี 2 เงื่อนไขการแปลงสภาพ คือ หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 1 หุน้ แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ 15 หนุ้

สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 8 การเปลยี่ นแปลงในสว่ นของผถู้ ือหุน้ 446

2. บริษัท ทาดี จากัด มรี ายการสว่ นของผ้ถู อื ห้นุ ณ วนั ที่ 1 มนี าคม 2557 ดงั น้ี

หุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 9% ไมส่ ะสมชนดิ แปลงสภาพได้

(ออกจาหน่ายแล้ว 10,000 หุ้น มลู คา่ หุ้นละ 10 บาท) 100,000 บาท

ห้นุ สามญั

(จดทะเบยี น 100,000 หุ้น ออกจาหนา่ ยแลว้ 60,000 หนุ้ มลู ค่าหุ้นละ 5 บาท) 300,000 บาท

ส่วนเกินมลู ค่าหุ้นบุรมิ สทิ ธิ 40,000 บาท

ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั 180,000 บาท

กาไรสะสม 70,000 บาท

รวมสว่ นของผูถ้ ือหุ้น 690,000 บาท

เม่ือวนั ที่ 1 เมษายน 2557 ผถู้ ือหนุ้ บุริมสิทธิ 8,000 หุ้น ต้องการแปลงสภาพเปน็ หนุ้ สามญั

ให้ทา บันทกึ การแปลงสภาพหนุ้ บุริมสิทธติ ามกรณดี งั น้ี

กรณที ่ี 1 เง่อื นไขการแปลงสภาพ คอื หนุ้ บรุ มิ สิทธิ 1 ห้นุ แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ 2 หุ้น

กรณที ี่ 2 เงือ่ นไขการแปลงสภาพ คือ หนุ้ บุริมสิทธิ 1 หนุ้ แปลงสภาพเปน็ หุน้ สามญั ได้ 3 หุ้น

กรณีที่ 1 เงื่อนไขการแปลงสภาพ คือ หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 1 ห้นุ แปลงสภาพเป็นหุ้นสามญั ได้ 2 หุ้น

สมดุ รายวันท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

กรณที ่ี 2 เงอ่ื นไขการแปลงสภาพ คือ ห้นุ บรุ ิมสิทธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเปน็ หุ้นสามญั ได้ 3 หนุ้

สมดุ รายวนั ทัว่ ไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 การเปล่ยี นแปลงในส่วนของผ้ถู ือหุน้ 447

3. บริษทั ชอบพฒั นา จากัด มีรายการสว่ นของผูถ้ ือหุน้ ณ วนั ที่ 1 มกราคม 2557 ดงั น้ี

หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 6% ไมส่ ะสมชนิดแปลงสภาพได้

(ออกจาหน่ายแล้ว 10,000 หุน้ มลู คา่ ห้นุ ละ 20 บาท) 200,000 บาท

ห้นุ สามญั

(จดทะเบยี น 50,000 หุ้น ออกจาหนา่ ยแล้ว 15,000 หนุ้ มลู ค่าห้นุ ละ 10 บาท) 150,000 บาท

สว่ นเกนิ มลู ค่าหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 40,000 บาท

สว่ นเกินมลู คา่ หุ้นสามญั 50,000 บาท

กาไรสะสม 50,000 บาท

รวมส่วนของผ้ถู ือหนุ้ 490,000 บาท

เมอื่ วันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 ผถู้ ือหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 1,000 ห้นุ ตอ้ งการแปลงสภาพเปน็ ห้นุ สามญั

ใหท้ า บนั ทึกการแปลงสภาพหุ้นบรุ มิ สทิ ธิตามกรณดี งั นี้

กรณที ี่ 1 เงื่อนไขการแปลงสภาพ คอื ห้นุ บุรมิ สิทธิ 1 หุน้ แปลงสภาพเปน็ หุน้ สามัญได้ 1 หนุ้

กรณที ่ี 2 เง่ือนไขการแปลงสภาพ คอื หนุ้ บรุ มิ สิทธิ 1 หุน้ แปลงสภาพเป็นหนุ้ สามญั ได้ 2 หุ้น

กรณีที่ 1 เงอื่ นไขการแปลงสภาพ คอื ห้นุ บุรมิ สทิ ธิ 1 หุน้ แปลงสภาพเปน็ หนุ้ สามญั ได้ 1 หุน้

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

กรณที ี่ 2 เง่ือนไขการแปลงสภาพ คอื หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ 1 ห้นุ แปลงสภาพเปน็ หุน้ สามญั ได้ 2 หุน้

สมุดรายวนั ทวั่ ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 8 การเปล่ียนแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 448

3. การแตกหุ้นและการรวมหนุ้

3.1 การแตกหุ้น (Stock split-up) เป็นการเพ่ิมจานวนหุ้น แต่มูลค่าหุ้นลดลง โดยไม่ทาให้
เงินทุนจดทะเบียนของบริษัทเปล่ียนแปลง บริษัทจะทาการแตกหุ้นเมื่อราคาซื้อขายหุ้นของบริษัท
ในทอ้ งตลาดสูงมากเกนิ ไป และบรษิ ทั ต้องการเพ่มิ จานวนผถู้ ือหุ้นให้มากข้นึ

การปฏิบัติทางการบัญชี เม่ือมีการแตกหุ้นจะไม่มีการบันทึกบัญชี เพียงแต่บันทึกความทรงจา
เพ่ือแสดงหลักฐานว่าราคาตามูลค่าของหุ้นได้เปล่ียนแปลงลดลง และจานวนหุ้นของบริษัทเพ่ิมข้ึน
เปน็ จานวนเทา่ ใด

ตวั อยา่ งท่ี 8.7 บรษิ ัท ทรพั ยท์ วี จากดั มีรายการส่วนของผถู้ ือหนุ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ดงั น้ี

หุ้นสามญั 1,000 ห้นุ มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท 100,000 บาท

สว่ นเกินมลู คา่ ห้นุ สามญั 10,000 บาท

กาไรสะสม 200,000 บาท

รวมสว่ นของผู้ถือหุ้น 310,000 บาท

เมื่อวนั ท่ี 1 มกราคม 2557 บริษทั ไดแ้ ตกหนุ้ สามัญจาก 1 หุน้ เดมิ เป็น 2 หุ้นใหม่

จานวนห้นุ ทแี่ ตกคอื 2,000 หุ้น การบนั ทกึ ความทรงจาในสมุดรายวนั ทัว่ ไป ดังน้ี

สมุดรายวนั ทั่วไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 บนั ทกึ ความทรงจา :

บริษทั แตกหุน้ สามัญจาก 1,000 หุน้

มลู ค่าหุน้ ละ 100 เปน็ 2,000 ห้นุ

มลู คา่ ห้นุ ละ 50 บาท

ภายหลังการแตกหนุ้ รายการส่วนของผ้ถู ือหุ้น ณ วันท่ี 1 มกราคม 2557 แสดงดงั นี้

ห้นุ สามญั 2,000 หุ้น มูลคา่ หุ้นละ 50 บาท 100,000 บาท
ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั 10,000 บาท
กาไรสะสม 200,000 บาท

รวมสว่ นของผูถ้ อื หนุ้ 310,000 บาท

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในสว่ นของผู้ถือหนุ้ 449

3.2 การรวมหุ้น (Stock Split-down) เป็นการลดจานวนหุ้น แต่มูลค่าหุ้นเพ่ิมข้ึน โดยไม่ทาให้
เงินทุนจดทะเบียนของบริษัทเปลี่ยนแปลง บริษัทจะทาการรวมหุ้นเม่ือราคาซ้ือขายหุ้นของบริษัท
ในทอ้ งตลาดมรี าคาต่ามากเกินไป และบรษิ ทั ตอ้ งการยกระดบั ราคาของหุ้นให้สูงข้ึน

การปฏิบัติทางการบัญชี เม่ือมีการรวมหุ้นจะไม่มีการบันทึกบัญชี เพียงแต่บันทึกความทรงจา
เพื่อแสดงหลักฐานว่าราคาตามูลค่าของหุ้นได้เปลี่ยนแปลงเพ่ิมขึ้น และจานวนหุ้นของบริษัทลดลง
เป็นจานวนเท่าใด

ตัวอยา่ งท่ี 8.8 บรษิ ัท ทรพั ยท์ วี จากดั มรี ายการสว่ นของผ้ถู อื หุ้น ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2556 ดังนี้

หนุ้ สามญั 1,000 หนุ้ มลู คา่ หุน้ ละ 100 บาท 100,000 บาท

สว่ นเกนิ มลู คา่ หุ้นสามญั 10,000 บาท

กาไรสะสม 200,000 บาท

รวมสว่ นของผู้ถอื หุน้ 310,000 บาท

เมอื่ วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษทั ได้ทาการรวมหุ้นสามญั จาก 2 หุ้นเดิม เปน็ 1 ห้นุ ใหม่

จานวนหุ้นทรี่ วมคอื 500 ห้นุ บรษิ ัทจะบันทกึ ความทรงจาในสมดุ รายวนั ทั่วไป ดงั น้ี

สมุดรายวนั ทัว่ ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 บนั ทกึ ความทรงจา :

บรษิ ัทรวมหนุ้ สามญั จาก 1,000 หนุ้

มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท เป็น 500 หุ้น

มูลคา่ หุน้ ละ 200 บาท

ภายหลงั การรวมห้นุ รายการสว่ นของผถู้ ือห้นุ ณ วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 แสดงดังน้ี

หนุ้ สามญั 500 หนุ้ มลู คา่ หุน้ ละ 200 บาท 100,000 บาท
ส่วนเกินมลู ค่าห้นุ สามญั 10,000 บาท

กาไรสะสม 200,000 บาท
รวมสว่ นของผถู้ อื หุ้น 310,000 บาท

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปล่ยี นแปลงในสว่ นของผถู้ ือหุน้ 450

แบบฝึกหดั ที่ 8.5

จงปฏิบตั ิกิจกรรมตามที่โจทย์กาหนด (10 คะแนน)

1. บริษัท ภูมิทรัพย์ จากัด มีรายการส่วนของผู้ถอื หนุ้ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2556 ดังน้ี

หุ้นสามญั 5,000 หุ้น มลู ค่าหุ้นละ 50 บาท 250,000 บาท

ส่วนเกนิ มลู ค่าหนุ้ สามญั 25,000 บาท

กาไรสะสม 600,000 บาท

รวมส่วนของผู้ถือหนุ้ 875,000 บาท

ให้ทา บนั ทึกความทรงจาในสมุดรายวนั ทั่วไป และแสดงรายการส่วนของผู้ถือหุน้ แตล่ ะกรณดี ังน้ี
กรณีที่ 1 เมอื่ วนั ที่ 1 มกราคม 2557 บรษิ ทั ไดแ้ ตกหุ้นสามญั จาก 1 หุน้ เดมิ เป็น 2 หุ้นใหม่

กรณที ี่ 2 เม่อื วนั ที่ 1 มกราคม 2557 บริษทั ไดท้ าการรวมหุน้ สามญั จาก 2 ห้นุ เดมิ เป็น 1 หนุ้ ใหม่

กรณที ่ี 1 เมือ่ วันท่ี 1 มกราคม 2557 บรษิ ทั ไดแ้ ตกห้นุ สามญั จาก 1 หนุ้ เดมิ เปน็ 2 หุ้นใหม่

สมดุ รายวนั ทั่วไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ภายหลงั การแตกหนุ้ รายการสว่ นของผ้ถู ือหุ้น ณ วันท่ี 1 มกราคม 2557 ดงั น้ี บาท
หนุ้ สามญั บาท
สว่ นเกินมลู ค่าหนุ้ สามญั บาท
กาไรสะสม บาท

รวมส่วนของผู้ถอื หุ้น

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผ้ถู ือหนุ้ 451

กรณีที่ 2 เมอ่ื วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 บริษทั ไดท้ าการรวมห้นุ สามญั จาก 2 หนุ้ เดมิ เป็น 1 หนุ้ ใหม่

สมดุ รายวันทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ภายหลงั การรวมหุน้ รายการส่วนของผู้ถอื หุ้น ณ วนั ที่ 1 มกราคม 2557 ดงั น้ี บาท
หุ้นสามญั บาท
บาท
สว่ นเกินมลู ค่าหุ้นสามญั บาท
กาไรสะสม

รวมส่วนของผถู้ ือหุ้น

2. บริษัท พรชัย จากัด (มหาชน) จดทะเบยี นและออกจาหน่ายหุน้ สามญั จานวน 10,000 หนุ้

มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท ในวนั ท่ี 1 สิงหาคม 2557 บรษิ ทั ไดแ้ ตกหนุ้ สามัญจาก 1 หุ้นเดิม เป็น 4 หุน้ ใหม่

ให้ทา บันทึกความทรงจาในสมุดรายวนั ทั่วไป

สมดุ รายวันท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น 452

3. บรษิ ัท พรชนก จากดั (มหาชน) จดทะเบียนและออกจาหนา่ ยหนุ้ สามญั จานวน 10,000 หุ้น

มลู คา่ หุ้นละ 100 บาท ต่อมาราคาซอ้ื ขายหุ้นในทอ้ งตลาดมรี าคาตา่ มาก ในวันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557

บรษิ ัทได้ทาการรวมหนุ้ สามัญจาก 4 หนุ้ เดิม เป็น 1 หุน้ ใหม่

ใหท้ า บนั ทกึ ความทรงจาในสมุดรายวันทัว่ ไป

สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

4. หนุ้ ทุนได้รบั คืน

หนุ้ ทุนได้รบั คืน (Treasury Stock) หมายถึง หนุ้ สามญั ท่ีบริษทั ได้เคยออกจาหนา่ ยใบหนุ้ ไปแลว้
ตอ่ มาบรษิ ทั ได้รบั หุ้นสามญั ดงั กลา่ วกลับคืนมา และในปจั จบุ นั ยงั อย่ใู นมอื ของบริษัท

หุ้นทุนได้รบั คืนมี 3 กรณีคอื
1) ห้นุ ทนุ ไดร้ บั คืนจากการซอ้ื คนื (Reacquisition of Shares)
2) หนุ้ ทนุ ได้รบั คืนจากการรบั บรจิ าค (Donated Treasury Stock)
3) หุ้นทุนไดร้ ับคืนจากการรบั ชาระหน้ี

บริษทั จากัดไมส่ ามารถถอื หุ้นทุนของตนเองได้ ดงั นั้น ถา้ บรษิ ทั ไดร้ ับหนุ้ กลบั คนื มาไม่วา่ โดยวิธีใด
ตอ้ งรบี นาห้นุ นน้ั ขายทอดตลาดทนั ที

บริษัทมหาชนจากัดสามารถถือหุ้นของบริษัทตนเองได้ โดยการซื้อหุ้นคืนจากผู้ถือหุ้นที่ออกเสียง
ไม่เหน็ ด้วยกับมติของทีป่ ระชุมผู้ถอื หนุ้ ซงึ่ แกไ้ ขข้อบังคับของบรษิ ัทเก่ียวกบั สทิ ธิในการออกเสียงลงคะแนน
ในการรบั เงนิ ปนั ผล ซึ่งผถู้ ือหนุ้ เห็นว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม หรืออาจซ้ือหุ้นคืนเพ่ือบริหารทางการเงิน
เมอ่ื บรษิ ัทมีกาไรสะสมและสภาพคล่องส่วนเกิน และการซื้อหุ้นคืนน้ันไม่เป็นเหตุให้บริษัทประสบปัญหา
ทางการเงิน

วธิ ีปฏิบตั ทิ างการบัญชเี ก่ียวกับหุ้นทุนได้รับคืนแต่ละวิธีมรี ายละเอียดดงั น้ี

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 8 การเปล่ยี นแปลงในสว่ นของผถู้ ือห้นุ 453

4.1 ห้นุ ทุนไดร้ ับคืนจากการซ้อื คืน

ในกรณที บี่ รษิ ทั ซอ้ื หนุ้ ทนุ ของตนเองที่จาหน่ายและออกใบหนุ้ แล้วกลบั คนื มา อาจมีเหตุผลต่าง ๆ
เช่น ต้องการลดจานวนผู้ถือหุ้นให้น้อยลงเพื่อเพ่ิมกาไรต่อหุ้น เพ่ือรักษาระดับราคาหุ้นให้มีเสถียรภาพ
ปอ้ งกันการถกู ซื้อกิจการ ตอ้ งการให้มีหุน้ เพยี งพอในการให้สิทธซิ อื้ หุ้นเป็นค่าตอบแทนพนกั งาน เป็นตน้

หุ้นทุนซ้ือคืนไม่ใช่สินทรัพย์ เพราะบริษัทไม่มีสิทธิท่ีจะถือหุ้นของตนเอง เม่ือบริษัทซ้ือหุ้นทุน
ของตนเองกลับคืนมาทาให้ทุนของบริษัทลดง แต่ไม่มีสินทรัพย์เกิดขึ้น หุ้นทุนซ้ือคืนท่ีบริษัทถืออยู่
จะไม่มีสิทธิในการออกเสียง ไม่มีสิทธิที่จะซื้อหุ้นใหม่ในฐานะผู้ถือหุ้น ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผล
หรือผลประโยชน์อนื่ ใดเม่ือเลิกกจิ การ

บรษิ ัทสามารถนาหนุ้ ทนุ ซ้อื คนื ออกจาหนา่ ยไดเ้ มือ่ พ้นกาหนด 6 เดือนนับจากวนั ซ้ือคนื เสรจ็ สิ้น
และจะต้องจาหน่ายให้หมดภายใน 3 ปี เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาดงั กล่าว บริษัทต้องยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืน
ในกรณีที่บริษัทจะออกจาหนา่ ยหุน้ ใหม่ บรษิ ทั ตอ้ งจาหน่ายหุ้นทนุ ซ้อื คืนให้เสร็จส้นิ กอ่ น

วธิ กี ารบันทกึ บัญชีหุ้นทนุ ซ้ือคืน มี 2 วิธี คอื
1) วธิ รี าคาทุน (Cost Method)
2) วธิ รี าคาตามมลู คา่ (Par Value Method)
ทัง้ 2 วธิ ี เปน็ วิธที ่ยี อมรบั กันโดยทวั่ ไปและมีผลทาให้ยอดคงเหลอื ในส่วนของผู้ถือหนุ้ เท่ากนั

1. วิธีราคาทุน

เป็นวธิ ที ี่คณะกรรมการมาตรฐานการบญั ชีกาหนดให้ใช้ มีขัน้ ตอนดงั นี้
1) บนั ทึกซอ้ื หนุ้ ทุนคืน จะบนั ทกึ ด้วยราคาทนุ ท่ีได้จ่ายไป บันทึกบญั ชีโดย

เดบติ ห้นุ ทุนซอ้ื คืน (ระบุชนิด) ××
เครดติ เงินสด ××

2) บันทกึ จาหนา่ ยห้นุ ทนุ ซอื้ คืน จะบันทกึ เครดติ บญั ชหี ุ้นทุนซอ้ื คนื (ระบุชนิด) ด้วยราคาทุน
ถ้าบริษัทซ้ือหุ้นทุนคืนหลายครั้งด้วยราคาที่แตกต่างกัน การคานวณราคาทุนของหุ้นทุนซ้ือคืนให้ใช้
วิธถี ัวเฉลย่ี ถว่ งนา้ หนกั แบ่งเปน็ 3 กรณี

(1) จาหนา่ ยในราคาเทา่ กบั ราคาทนุ ท่ซี อ้ื คนื จะไม่มผี ลต่างเกิดขน้ึ บนั ทึกบญั ชโี ดย

เดบติ เงนิ สด (ราคาขาย) ××
เครดติ หนุ้ ทุนซื้อคืน (ระบชุ นิด) ××

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในสว่ นของผ้ถู ือหุ้น 454

(2) จาหน่ายในราคาสงู กว่าราคาทนุ ทซ่ี ้ือคืน ผลต่างจะอยู่ดา้ นเครดติ ใหบ้ นั ทกึ ผลตา่ งน้ี
ในบญั ชีส่วนเกนิ ทุนหนุ้ ทุนซอ้ื คืน บนั ทึกบัญชีโดย

เดบติ เงินสด (ราคาขาย) ××
เครดติ หุ้นทุนซ้ือคืน (ระบชุ นิด) ××
ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซ้อื คืน ××

(3) จาหน่ายในราคาตา่ กวา่ ราคาทนุ ที่ซอ้ื คืน ผลตา่ งจะอยู่ดา้ นเดบติ ใหบ้ นั ทกึ ผลต่างนี้
ในบญั ชสี ว่ นเกินทนุ หนุ้ ทุนซอ้ื คืน (ถ้ามี) ใหส้ ว่ นเกนิ ดงั กลา่ วหมดไปก่อน หากยังมผี ลต่างเหลอื อยู่

ให้บนั ทึกลดยอดบญั ชกี าไรสะสม บันทกึ บัญชโี ดย

เดบิต เงินสด (ราคาขาย) ××
(1) สว่ นเกินทุนหนุ้ ทุนซ้อื คืน ××
(2) กาไรสะสม ××

เครดิต หนุ้ ทนุ ซื้อคืน (ระบชุ นิด) ××

3) บันทึกยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืน ตามข้อบังคับของกฎหมาย เม่ือบริษัทซื้อหุ้นทุนคืน

สามารถนาออกจาหน่ายเม่ือพ้นกาหนด 6 เดือนนับจากวันท่ีซ้ือคืน และต้องจาหน่ายให้หมดภายใน 3 ปี
มฉิ ะนั้นตอ้ งยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืน โดยปิดบัญชีหุ้นทุนและเครดิตบัญชีหุ้นทุนซื้อคืน ถ้ามีผลต่างด้านเดบิต
ให้ลดยอดบัญชีส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืนให้หมดก่อน ถ้ามีผลต่างเหลือให้บันทึกลดยอดบัญชีกาไรสะสม

บนั ทึกบัญชีโดย
(1) ผลตา่ งดา้ นเดบิต

เดบติ หุ้นสามญั /หุ้นบุรมิ สทิ ธิ (ราคาตามมลู คา่ ) ××
ส่วนเกินมลู ค่าห้นุ สามญั /บรุ ิมสทิ ธิ ××

(1) สว่ นเกนิ ทุนหุน้ ทุนซื้อคืน ××
(2) กาไรสะสม ××
เครดติ หุ้นทุนซอ้ื คนื (ระบุชนดิ )
××

(2) ผลต่างด้านเครดติ ให้บันทึกเข้าบัญชีสว่ นเกนิ ทุนหนุ้ ทนุ ซื้อคนื

เดบิต หุ้นสามญั /ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ (ราคาตามมลู ค่า) ××
สว่ นเกนิ มลู คา่ หุน้ สามญั /บรุ มิ สทิ ธิ ××

เครดิต หุ้นทุนซอื้ คนื (ระบุชนิด) ××
ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคนื ××

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในสว่ นของผถู้ ือหนุ้ 455

2. วธิ ีราคาตามมลู คา่

สถาบนั การเงินทไ่ี ด้รบั อนุญาตจากธนาคารแหง่ ประเทศไทยใหล้ ดทุนโดยการซือ้ หนุ้ ทนุ คืนได้
สามารถบนั ทึกหนุ้ ทุนซอื้ คืนดว้ ยวิธีราคาตามมลู คา่ มขี ัน้ ตอนดังนี้

1) บันทึกซ้ือหุ้นทนุ คืน วิธนี จ้ี ะนาราคาทนุ ทซี่ อื้ คนื มาเปรียบเทียบกบั ราคาจาหนา่ ยครงั้ แรก

การบนั ทกึ บญั ชีแบง่ เปน็ 3 กรณี ดงั น้ี
(1) ราคาทีซ่ ้ือคืนมาเทา่ กบั ราคาจาหน่ายครัง้ แรก จะบนั ทึกบญั ชีโดยเดบติ หุ้นทุนซ้ือคืน

ในราคาตามมลู ค่า พร้อมท้งั ปิดบญั ชีส่วนเกินมลู ค่าหรอื สว่ นต่ากวา่ มลู ค่าของหนุ้ ทนุ น้นั ดังน้ี

เดบติ ห้นุ ทนุ ซ้ือคนื (ราคาตามมลู คา่ ) ××

สว่ นเกนิ มลู คา่ ห้นุ สามญั /บรุ มิ สทิ ธิ ××
เครดติ เงินสด ××

(2) ราคาที่ซอื้ คืนมาสงู กว่าราคาจาหนา่ ยครง้ั แรก ผลต่างดา้ นเดบิตใหล้ ดยอด
บัญชีส่วนเกนิ ทุนหุ้นทนุ ซอ้ื คืนใหห้ มดก่อน ถ้ามผี ลตา่ งเหลอื ใหบ้ นั ทกึ ลดยอดบญั ชีกาไรสะสม
บนั ทกึ บญั ชีโดย

เดบิต หุ้นทนุ ซอ้ื คืน (ราคาตามมลู คา่ ) ××

สว่ นเกนิ มลู คา่ หุน้ สามญั /บรุ มิ สทิ ธิ ××
(1) สว่ นเกนิ ทุนหุน้ ทนุ ซ้อื คืน ××
(2) กาไรสะสม ××

เครดติ เงินสด ××

(3) ราคาทซี่ อ้ื คนื มาตา่ กว่าราคาที่จาหน่ายครง้ั แรก ผลต่างด้านเครดติ ให้บนั ทึก
เข้าบญั ชสี ่วนเกินทุนหุ้นทนุ ซอื้ คืน บนั ทกึ บญั ชีโดย

เดบิต หนุ้ ทนุ ซอื้ คนื (ราคาตามมลู คา่ ) ××
สว่ นเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั /บรุ ิมสทิ ธิ ××
เครดติ เงินสด
××
ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซอื้ คืน
××

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 8 การเปลยี่ นแปลงในส่วนของผู้ถือห้นุ 456

2) บันทกึ จาหนา่ ยห้นุ ทุนซอ้ื คืน การบันทกึ บญั ชแี บง่ เป็น 3 กรณี คือ
(1) จาหน่ายในราคาเท่ากับราคาตามมูลค่า จะเดบติ บญั ชเี งนิ สด และ

เครดิตบญั ชหี นุ้ ทนุ ซอื้ คืนดว้ ยราคาตามมลู ค่า บันทกึ บญั ชโี ดย

เดบติ เงนิ สด ××
เครดิต หุ้นทุนซ้ือคนื (ราคาตามมลู คา่ )
××

(2) จาหนา่ ยในราคาสูงกวา่ ราคาตามมลู ค่า ผลต่างดา้ นเครดติ ให้บันทึกเขา้
บญั ชีส่วนเกนิ มลู ค่าห้นุ สามัญ/บรุ มิ สิทธิ บนั ทึกบัญชีโดย

เดบติ เงินสด ××
เครดติ หนุ้ ทุนซอ้ื คนื (ราคาตามมลู ค่า) ××

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ/บุริมสทิ ธิ ××

(3) จาหนา่ ยในราคาตา่ กวา่ ราคาตามมูลคา่ ผลตา่ งดา้ นเดบติ ใหล้ ดยอด
บัญชสี ว่ นเกินทนุ หนุ้ ทุนซ้อื คนื ให้หมดก่อน ถา้ มีผลต่างเหลอื ใหบ้ นั ทกึ ลดยอดบญั ชีกาไรสะสม
บันทกึ บญั ชโี ดย

เดบิต เงนิ สด ××
(1) ส่วนเกินทุนหนุ้ ทุนซื้อคืน ××

(2) กาไรสะสม ××
เครดติ หนุ้ ทุนซอ้ื คนื (ราคาตามมลู คา่ ) ××

3) การยกเลกิ หุ้นทุนซ้ือคืน จะเดบติ ปิดบญั ชีห้นุ สามัญ/หนุ้ บรุ มิ สิทธิ และเครดติ บญั ชีหุ้นทุนซือ้
คนื ดว้ ยราคาตามมูลคา่ บันทึกบญั ชีโดย

เดบิต หุน้ สามัญ/บุรมิ สทิ ธิ (ราคาตามมลู ค่า) ××
เครดิต หนุ้ ทนุ ซ้ือคนื ××

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 8 การเปลี่ยนแปลงในสว่ นของผถู้ ือหุ้น 457

ตวั อย่างที่ 8.9 วันท่ี 1 มกราคม 2557 บริษัท มั่นคง จากดั (มหาชน) จดทะเบียนหุ้นสามัญ 30,000 หุ้น

มลู คา่ หนุ้ ละ 10 บาท และออกจาหน่ายหนุ้ สามญั 10,000 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 20 บาท และมกี าไรสะสม

250,000 บาท ขอ้ มูลสว่ นของผู้ถือหนุ้ ก่อนการซอ้ื หุ้นทนุ คืน มดี ังนี้

สว่ นของผถู้ ือหุ้น (หนว่ ย : บาท)

ทนุ จดทะเบียน

หุน้ สามญั 30,000 หนุ้ มลู คา่ ห้นุ ละ 10 บาท 300,000

ทนุ ที่ออกและชาระแลว้

ห้นุ สามญั มลู ค่าหุ้นละ 10 บาท ออกจาหนา่ ยและอยใู่ นมือผถู้ ือหุ้น 10,000 หุน้ 100,000

สว่ นเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั 100,000

กาไรสะสม 250,000

รวมส่วนของผู้ถอื หุน้ 450,000

เนอ่ื งจากบรษิ ัทมกี าไรสะสมและสภาพคลอ่ งส่วนเกนิ จึงมนี โยบายซอ้ื หุ้นทุนคนื ดงั นี้

2557
ม.ค. 1 บรษิ ทั ซ้ือหุ้นทนุ คนื จานวน 1,600 ห้นุ ในราคาหนุ้ ละ 25 บาท
ก.พ. 5 บรษิ ทั ซอื้ หนุ้ ทนุ คืน จานวน 400 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 27 บาท
ต.ค. 1 บริษัทจาหน่ายหนุ้ ทุนซอื้ คืน จานวน 800 หุ้น ในราคาหุ้นละ 28 บาท
พ.ย. 2 บริษัทจาหน่ายห้นุ ทนุ ซอื้ คืน จานวน 200 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 20 บาท
ธ.ค. 15 บรษิ ทั จาหน่ายหนุ้ ทุนซอ้ื คนื จานวน 400 หุ้น ในราคาห้นุ ละ 22 บาท

1. วิธีราคาทุน

การบันทึกบัญชี

สมุดรายวันท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 หนุ้ ทนุ ซื้อคนื (1,600 x 25) 40,000 -

เงินสด 40,000 -

บนั ทึกซอ้ื หนุ้ ทนุ คืน 1,600 หุน้

ราคาห้นุ ละ 25 บาท

ก.พ. 5 หนุ้ ทุนซ้อื คนื (400 x 27) 10,800 -

เงินสด 10,800 -

บันทึกซอ้ื ห้นุ ทนุ คืน 400 หุ้น

ราคาหนุ้ ละ 27 บาท

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 การเปลย่ี นแปลงในสว่ นของผถู้ ือหนุ้ 458

สมุดรายวันทั่วไป หน้า 2

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ต.ค. 1 เงินสด (800 x 28) 22,400 -
ห้นุ ทุนซื้อคืน (800 x 25.401))
20,320 -

สว่ นเกนิ ทนุ ห้นุ ทุนซ้ือคนื 2,080 -

จาหน่ายหนุ้ ทนุ ซื้อคืน 800 หุ้น

ราคาหนุ้ ละ 25.40 บาท

พ.ย. 2 เงินสด (200 x 20) 4,000 -

สว่ นเกนิ ทนุ ห้นุ ทุนซอ้ื คืน 1,080 -

หุ้นทุนซ้อื คืน (200 x 25.40) 5,080 -

จาหน่ายหนุ้ ทนุ ซอ้ื คืน 200 ห้นุ

ราคาหนุ้ ละ 25.40 บาท

ธ.ค. 15 เงนิ สด (400 x 22) 8,800 -

สว่ นเกินทนุ ห้นุ ทุนซอื้ คนื (2,080-1,080) 1,000 -

กาไรสะสม 360 -

หุ้นทุนซอื้ คืน (400 x 25.40) 10,160 -

จาหนา่ ยหนุ้ ทุนซอ้ื คนื 400 หุ้น

ราคาหนุ้ ละ 25.40 บาท

หมายเหตุ 1) 25.40 = ต้นทุนของหนุ้ ทนุ ซือ้ คนื วธิ ถี ัวเฉลี่ยถว่ งน้าหนกั [(1,600 × 25) + (400 × 27)]/2,000 หนุ้

การแสดงรายการในส่วนของผถู้ อื ห้นุ (บางส่วน) ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2557 จะเป็นดงั น้ี

ส่วนของผู้ถือหุ้น (หน่วย : บาท)

ทนุ จดทะเบยี น

หุ้นสามญั 30,000 หุ้น มลู ค่าหุน้ ละ 10 บาท 300,000

ทุนทอ่ี อกและชาระแลว้

หนุ้ สามญั ออกจาหนา่ ยและอยูใ่ นมือผู้ถือห้นุ 10,000 ห้นุ มูลค่าหุ้นละ 10 บาท 100,000

ส่วนเกินมลู คา่ หุ้นสามญั 100,000

กาไรสะสม (250,000 – 360) 249,640

รวมกาไรสะสมและทนุ ทีน่ ามาลง 449,640

หัก หุ้นทุนซื้อคืน 600 หุน้ (ราคาทุนห้นุ ละ 25.40 บาท) (15,240)

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 434,400

2. วธิ ีราคาตามมูลค่า

การบันทกึ บญั ชี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การเปล่ียนแปลงในสว่ นของผ้ถู ือหนุ้ 459

พ.ศ. 2557 สมดุ รายวันท่วั ไป เลขท่ี เดบิต หนา้ 1
เดอื น วัน บญั ชี บาท สต. เครดิต
ม.ค. 1 รายการ บาท สต.
16,000 -
ก.พ. 5 หนุ้ ทุนซอื้ คนื (1,600 x 10) 16,000 - 40,000 -
ส่วนเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั (1,600 x 10) 8,000 -
ต.ค. 1 กาไรสะสม
4,000 -
พ.ย. 2 เงนิ สด (1,600 x 25) 4,000 -
บันทึกซอื้ หุ้นทนุ คนื 1,600 หนุ้ 2,800 -
ธ.ค. 15 ราคาหุ้นละ 25 บาท
หนุ้ ทุนซ้อื คืน (400 x 10) 10,800 -
สว่ นเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั (400 x 10)
กาไรสะสม 22,400 -

เงินสด (400 x 27) 8,000 -
บนั ทึกซอื้ หุน้ ทนุ คนื 400 หนุ้ 14,400 -
ราคาหุน้ ละ 27 บาท
เงนิ สด (800 x 28) 4,000

หุ้นทุนซื้อคืน (800 x 10) 2,000 -
สว่ นเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั 2,000 -
จาหน่ายหนุ้ ทุนซ้ือคืน 800 หนุ้
ราคาห้นุ ละ 28 บาท 8,800 -
เงินสด (200 x 20)
หุน้ ทนุ ซื้อคนื (200 x 10) 4,000 -
สว่ นเกินมูลค่าหนุ้ สามญั 4,800 -
จาหน่ายหนุ้ ทุนซ้ือคืน 200 หนุ้
ราคาหุ้นละ 20 บาท
เงินสด (400 x 22)
หุ้นทนุ ซอ้ื คนื (400 x 10)
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามญั
จาหนา่ ยหนุ้ ทนุ ซ้อื คืน 400 หนุ้
ราคาหนุ้ ละ 22 บาท

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 8 การเปลี่ยนแปลงในสว่ นของผู้ถือหุ้น 460

การแสดงรายการในสว่ นของผู้ถือหุน้ (บางส่วน) ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2557 จะเปน็ ดงั นี้

ส่วนของผู้ถือหุ้น (หนว่ ย : บาท)

ทุนจดทะเบยี น

ห้นุ สามญั 30,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท 300,000

ทุนท่ีออกและชาระแล้ว

หุ้นสามญั ออกจาหนา่ ยและอยใู่ นมอื ผูถ้ อื หุน้ 10,000 หนุ้ มลู ค่าหนุ้ ละ 10 บาท 100,000

หกั หุ้นทุนซ้อื คืน 600 หุ้น (ราคาตามมลู คา่ หุ้นละ 10 บาท) (6,000)

หุน้ สามญั ที่ถอื อยู่ในมอื บคุ คลภายนอก 9,400 หนุ้ มูลคา่ หุน้ ละ 10 บาท 94,000

ส่วนเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั (100,000 - 16,000 - 4,000 + 14,400 + 2,000 + 4,800) 101,200

กาไรสะสม (250,000 – 8,000 – 2,800) 239,200

รวมส่วนของผถู้ อื หนุ้ 434,400

การยกเลิกหุ้นทุนซอ้ื คืน

จากตัวอยา่ งท่ี 8.9 ในวนั ท่ี 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ต้องยกเลกิ หุน้ ทนุ ซ้อื คนื จานวน 600 ห้นุ
สมมติว่าในระหวา่ งปี 2558 - วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2559 บริษทั ไม่มกี ารซ้ือหุ้นทนุ คนื

1. วธิ ีราคาทุน

สมดุ รายวนั ท่ัวไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต.
เดือน วนั บัญชี บาท สต.
15,240 -
ม.ค. 1 หุน้ สามญั (600 x 10) 6,000 -
6,000 -
ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั (600 x 10) 3,240 -

กาไรสะสม

หนุ้ ทุนซ้อื คืน (600 x 25.40)

บันทกึ ยกเลกิ หุน้ ทุนซือ้ คืน 600 หุน้

ราคาหุน้ ละ 25.40 บาท

2. วิธีราคาตามมลู คา่

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดือน วัน บัญชี บาท สต.
6,000 -
ม.ค. 1 หนุ้ สามญั (600 x 10) 6,000 -

หนุ้ ทุนซื้อคนื (600 x 10)

บนั ทกึ ยกเลกิ หุ้นทุนซื้อคืน 600 หุ้น

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปลยี่ นแปลงในส่วนของผูถ้ ือหุน้ 461

แบบฝึกหดั ที่ 8.6

จงปฏิบตั กิ ิจกรรมตามท่ีโจทยก์ าหนด (10 คะแนน)

1. วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษทั ทาดี จากัด (มหาชน) จดทะเบยี นหุน้ สามญั จานวน 30,000 หุน้

มลู ค่าห้นุ ละ 50 บาท และออกจาหน่ายหุ้นสามญั จานวน 20,000 หุ้น ในราคาหุน้ ละ 55 บาท

หลงั จากปดิ บญั ชี ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2557 บรษิ ัทมีรายการส่วนของผู้ถือหุ้นดังนี้

ส่วนของผ้ถู ือหุ้น (หน่วย : บาท)

ทุนจดทะเบยี น

หุ้นสามญั 30,000 หุน้ มูลคา่ ห้นุ ละ 50 บาท 1,500,000

ทนุ ทอ่ี อกและชาระแลว้

หุ้นสามญั มลู ค่าหนุ้ ละ 50 บาท ออกจาหน่ายและอยใู่ นมือผ้ถู อื ห้นุ 20,000 หุน้ 1,000,000

สว่ นเกนิ มลู ค่าหนุ้ สามญั 100,000

กาไรสะสม 100,000

รวมสว่ นของผูถ้ อื หุน้ 1,200,000

ต่อมาในปี 2558 บรษิ ัทมีกาไรสะสมและสภาพคลอ่ งส่วนเกนิ จึงมีนโยบายซอื้ หนุ้ ทุนคนื โดยกาหนดว่า
จะจาหนา่ ยใหห้ มดภายในวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2558 หากจาหน่ายไม่หมดบรษิ ทั จะยกเลกิ หนุ้ ทุนซ้อื คนื
ในวันที่ 31 ธันวาคม 2559

รายการเกยี่ วกับห้นุ ทนุ ซ้อื คืน มีดงั นี้

2558
ม.ค. 1 บรษิ ทั ซ้ือหนุ้ ทุนคนื จานวน 3,000 ห้นุ ในราคาหุ้นละ 60 บาท
ก.พ. 3 บรษิ ทั ซ้ือหนุ้ ทุนคืน จานวน 1,000 หุ้น ในราคาหุ้นละ 52 บาท
ต.ค. 1 บรษิ ัทจาหน่ายหนุ้ ทุนซอื้ คืน จานวน 1,500 หนุ้ ในราคาหุ้นละ 65 บาท
พ.ย. 5 บริษัทจาหนา่ ยหนุ้ ทุนซอื้ คืน จานวน 1,200 หุ้น ในราคาหุ้นละ 53 บาท
ธ.ค. 3 บริษัทจาหน่ายหนุ้ ทนุ ซอื้ คืน จานวน 600 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 40 บาท

ใหท้ า บนั ทึกรายการหุ้นทุนซือ้ คนื ในสมุดรายวันท่ัวไป แสดงรายการสว่ นของผ้ถู อื ห้นุ ในปี 2558

และบันทกึ ยกเลิกหนุ้ ทุนซ้ือคืนในปี 2559 ในแตล่ ะกรณดี งั นี้
กรณที ี่ 1 วิธรี าคาทุน
กรณที ่ี 2 วธิ ีราคาตามมลู คา่

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 8 การเปลยี่ นแปลงในส่วนของผถู้ ือหุ้น 462

กรณที ่ี 1 วธิ ีราคาทุน สมุดรายวนั ทว่ั ไป หนา้ 1
การบนั ทกึ บัญชี รายการ
เลขท่ี เดบติ เครดติ
พ.ศ.
เดอื น วัน บัญชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผู้ถือห้นุ 463

การแสดงรายการสว่ นของผถู้ ือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จะเปน็ ดงั น้ี

สว่ นของผ้ถู ือหุ้น (หนว่ ย : บาท)

ทนุ จดทะเบียน

หนุ้ สามญั 30,000 หุ้น มลู คา่ หนุ้ ละ 50 บาท 1,500,000

ทุนที่ออกและชาระแลว้

หุ้นสามญั ออกจาหนา่ ยและอยูใ่ นมือผูถ้ อื หนุ้ 20,000 หุ้น มูลคา่ ห้นุ ละ 50 บาท

ส่วนเกินมลู ค่าหุน้ สามญั

กาไรสะสม

รวมกาไรสะสมและทนุ ทนี่ ามาลง

รวมส่วนของผ้ถู ือหนุ้

บันทึกการยกเลิกหนุ้ ทุนซ้อื คืน

สมุดรายวนั ทวั่ ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2559 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผ้ถู ือห้นุ 464

กรณที ี่ 2 วธิ ีราคาตามมูลคา่

การบันทกึ บญั ชี

สมดุ รายวันท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น 465

การแสดงรายการส่วนของผูถ้ ือหุ้น ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2558 จะเปน็ ดังนี้

สว่ นของผู้ถือหุ้น (หนว่ ย : บาท)

ทุนจดทะเบยี น

หนุ้ สามญั 30,000 หนุ้ มูลค่าหุ้นละ 50 บาท 1,500,000

ทุนทอ่ี อกและชาระแล้ว

หุ้นสามญั ออกจาหน่ายและอยู่ในมอื ผู้ถอื หุ้น 20,000 หนุ้ มลู คา่ หุน้ ละ 50 บาท

หกั

หุ้นสามญั ท่ีถืออยูใ่ นมอื บคุ คลภายนอก

สว่ นเกนิ มลู ค่าหนุ้ สามญั

กาไรสะสม

รวมส่วนของผถู้ ือหุ้น

บันทึกการยกเลกิ หนุ้ ทุนซอ้ื คืน

สมดุ รายวันทั่วไป หนา้ 1

พ.ศ. 2559 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

2. บริษัท ภูมิทรัพย์ จากดั (มหาชน) มรี ายละเอียดเกยี่ วกบั ห้นุ ทนุ ซอ้ื คืน ดงั น้ี
2558
ม.ค. 1 จดทะเบียนหุ้นสามญั 20,000 หนุ้ มลู คา่ หุ้นละ 100 บาท ออกจาหนา่ ยหนุ้ สามญั
10,000 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท และมีบญั ชีกาไรสะสม 300,000 บาท
ก.พ. 5 บรษิ ัทซอ้ื ห้นุ ทนุ คนื จานวน 2,000 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 120 บาท
ม.ี ค. 1 บรษิ ัทซ้ือห้นุ ทนุ คืน จานวน 1,000 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 130 บาท
ต.ค. 1 จาหน่ายหนุ้ ทนุ ซื้อคนื จานวน 1,000 หุน้ ในราคาหนุ้ ละ 140 บาท
พ.ย. 4 จาหน่ายหนุ้ ทนุ ซ้ือคนื จานวน 600 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 90 บาท
ธ.ค. 2 จาหน่ายหนุ้ ทุนซือ้ คนื จานวน 800 หุ้น ในราคาหุ้นละ 125 บาท

ใหท้ า บันทึกรายการในสมดุ รายวันท่วั ไป และแสดงรายการส่วนของผถู้ ือห้นุ ในปี 2558 วธิ รี าคาทนุ

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 8 การเปล่ยี นแปลงในสว่ นของผูถ้ ือหนุ้ 466

สมุดรายวันทวั่ ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 8 การเปลยี่ นแปลงในสว่ นของผู้ถือหนุ้ 467

การแสดงรายการส่วนของผถู้ อื หุ้น ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2558 จะเป็นดังนี้

สว่ นของผถู้ ือหุ้น (หนว่ ย : บาท)

ทนุ จดทะเบียน

หุ้นสามญั 20,000 หนุ้ มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท 2,000,000

ทุนท่อี อกและชาระแลว้

หุ้นสามญั มูลค่าห้นุ ละ 100 บาท ออกจาหนา่ ยและอยูใ่ นมอื ผถู้ อื หุ้น 10,000 หุ้น 1,000,000

ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั

สว่ นเกนิ ทุนหนุ้ ทนุ ซ้ือคนื

กาไรสะสม

รวมกาไรสะสมและทนุ ท่ีนามาลง

หัก

รวมส่วนของผู้ถอื หนุ้

3. บริษัท มีทรัพย์ จากดั (มหาชน) มีรายละเอียดเกย่ี วกบั หุน้ ทนุ ซ้อื คืน ดงั น้ี
2558
ม.ค. 1 จดทะเบียนและออกจาหน่ายหนุ้ สามัญ 10,000 หุน้ มลู คา่ หุ้นละ 100 บาท
ในราคาหุ้นละ 120 บาท และมบี ญั ชกี าไรสะสม 250,000 บาท
ก.พ. 5 บริษัทซอื้ หนุ้ ทุนคนื จานวน 5,000 หนุ้ ในราคาหุ้นละ 125 บาท
ต.ค. 1 จาหน่ายหนุ้ ทุนซือ้ คืน จานวน 1,000 หนุ้ ในราคาห้นุ ละ 125 บาท
พ.ย. 1 จาหนา่ ยหนุ้ ทุนซื้อคืน จานวน 2,000 หุน้ ในราคาหุ้นละ 130 บาท
ธ.ค. 1 จาหน่ายหนุ้ ทนุ ซือ้ คืน จานวน 1,500 หุ้น ในราคาหุ้นละ 90 บาท
ธ.ค. 31 ยกเลกิ ห้นุ ทนุ ซ้ือคนื ทเี่ หลอื ทง้ั หมด

ให้ทา บันทึกรายการในสมุดรายวนั ท่ัวไป วิธีราคาตามมูลค่า

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 8 การเปลยี่ นแปลงในสว่ นของผ้ถู ือห้นุ 468

สมุดรายวนั ท่วั ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 8 การเปลีย่ นแปลงในสว่ นของผูถ้ ือหนุ้ 469

4.2 หุน้ ทุนได้รบั คืนจากการรบั บริจาค

ผ้ถู ือหุ้นอาจบรจิ าคหนุ้ สามญั หรอื หนุ้ บุรมิ สทิ ธิคนื ให้แกบ่ รษิ ทั และต่อมาบริษทั นาออกจาหน่ายใหม่

เพื่อเพิ่มเงนิ ทุนหมนุ เวยี น สามารถบันทกึ บัญชไี ด้ 3 วิธี คือ
1. วธิ ีบันทึกความทรงจา วธิ นี ถ้ี อื ว่าหุน้ ทุนทร่ี บั บริจาคมาไมม่ ตี น้ ทุนจึงบันทึกความทรงจาไว้

เม่ือนาหุ้นทุนท่ีได้รับบริจาคมาออกจาหน่าย ให้บันทึกเดบิตบัญชีเงินสด และเครดิตบัญชีส่วนเกินทุน

จากการรบั บรจิ าค ดังน้ี

เดบิต เงินสด ××
เครดิต สว่ นเกนิ ทนุ จากการรับบรจิ าค ××

2. วิธีราคาทนุ
1) บันทึกรับบริจาคหุ้นทุน จะบันทึกหุ้นทุนรบั คนื ด้วยมูลคา่ ยตุ ิธรรมของห้นุ ทนุ

ในขณะนนั้ และเครดติ บญั ชีสว่ นเกินทนุ จากการรับบรจิ าค ดังนี้

เดบติ ห้นุ ทนุ รบั คนื (มลู คา่ ยุติธรรม) ××
เครดิต ส่วนเกินทุนจากการรบั บรจิ าค ××

2) บันทกึ จาหนา่ ยหุ้นทุนรับบริจาค แบ่งเปน็ 3 กรณี ××
(1) จาหน่ายในราคาเท่ากับมูลค่ายตุ ธิ รรม ××

เดบติ เงินสด
เครดติ หุ้นทุนรบั คืน (มลู ค่ายุตธิ รรม)

(2) จาหน่ายในราคาสงู กวา่ มลู คา่ ยตุ ิธรรม ××

เดบิต เงนิ สด ××
เครดติ หุ้นทุนรบั คืน (มูลค่ายุติธรรม) ××
สว่ นเกินทุนจากหุ้นทุนรับคืน

(3) จาหน่ายในราคาต่ากว่ามลู คา่ ยตุ ธิ รรม ผลตา่ งนาไปปรบั ลดบัญชตี ามลาดบั ดงั นี้

เดบติ เงนิ สด ××
(1) สว่ นเกินทุนจากหุ้นทุนรับคืน ××
(2) กาไรสะสม ××

เครดติ หุ้นทนุ รบั คืน (มลู ค่ายตุ ธิ รรม) ××

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 470

3) วธิ รี าคาตามมลู ค่า มีขนั้ ตอนการบันทึกบญั ชี ดงั น้ี
1) บันทกึ รับบริจาคหุ้นทุน จะบันทกึ เดบิตบญั ชหี ุ้นทนุ รบั คืนดว้ ยราคาตามมลู คา่

เครดติ บญั ชีสว่ นเกินมูลค่าห้นุ สามญั ตามสดั สว่ นของจานวนหนุ้ ทุน

เดบติ หนุ้ ทนุ รบั คนื (ราคาตามมูลคา่ ) ××

สว่ นเกนิ มลู ค่าหนุ้ สามญั (จากการขายครัง้ แรก) ××
เครดติ สว่ นเกินทุนจากการรับบรจิ าค ××

2) บันทกึ จาหน่ายหุ้นทุนรับบรจิ าค แบ่งเปน็ 3 กรณี
(1) จาหน่ายในราคาเท่ากับราคาตามมลู คา่

เดบติ เงนิ สด ××
เครดิต หุ้นทุนรับคืน (ราคาตามมลู ค่า) ××

(2) จาหน่ายในราคาสงู กวา่ ราคาตามมลู ค่า

เดบติ เงินสด ××

เครดิต หุ้นทุนรับคืน (ราคาตามมลู คา่ ) ××
ส่วนเกินมลู คา่ หุ้นสามัญ ××

(3) จาหนา่ ยในราคาต่ากวา่ ราคาตามมลู คา่ ผลตา่ งให้ปรับลดบัญชตี ามลาดับดงั น้ี

เดบติ เงนิ สด ××
(1) ส่วนเกนิ ทุนจากการรบั บรจิ าค ××
(2) กาไรสะสม ××

เครดติ หุน้ ทนุ รับคืน (ราคาตามมูลคา่ ) ××

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 8 การเปล่ียนแปลงในส่วนของผู้ถือหุน้ 471

ตัวอย่างท่ี 8.10 บริษัท นาทรัพย์ จากัด มรี ายการเก่ยี วกับหุ้นทุนรับคืนจากการบรจิ าค ดงั น้ี
2557
ม.ค. 1 จาหนา่ ยหนุ้ สามญั 10,000 หุ้น มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท ในราคาหุ้นละ 110 บาท

ม.ี ค. 1 มผี ู้บรจิ าคห้นุ สามญั คนื มาใหบ้ ริษัท 1,000 ห้นุ มลู ค่ายตุ ิธรรมหนุ้ ละ 120 บาท
เม.ย. 1 นาหนุ้ ที่ไดร้ บั บรจิ าคออกจาหนา่ ยทงั้ หมดในราคาหุ้นละ 140 บาท

1. วธิ บี นั ทกึ ความทรงจา

สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หน้า 1
เดบติ เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ บาท สต. บาท สต.
เดอื น วัน บญั ชี 1,100,000 -

ม.ค. 1 เงินสด (10,000 × 110) 1,000,000 -
100,000 -
หุน้ สามัญ (10,000 × 100)
140,000 -
ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นสามญั 140,000 -

จาหน่ายหนุ้ สามญั 10,000 หนุ้

ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท

ม.ี ค. 1 บนั ทกึ ความทรงจา : ได้รบั บรจิ าค

หนุ้ สามญั จานวน 1,000 หนุ้

มลู คา่ ยตุ ิธรรมหุ้นละ 120 บาท

เม.ย. 1 เงนิ สด (1,000 x 140)

ส่วนเกนิ ทนุ จากการรบั บริจาค

บนั ทกึ จาหนา่ ยหุ้นทุนที่ไดร้ บั บรจิ าค

1,000 ห้นุ ในราคาหุ้นละ 140 บาท

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 8 การเปล่ยี นแปลงในส่วนของผูถ้ ือหนุ้ 472

2. วิธีราคาทนุ

สมดุ รายวนั ท่ัวไป หนา้ 1
เดบติ เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี บาท สต. บาท สต.
เดอื น วัน บัญชี 1,100,000 -

ม.ค. 1 เงินสด (10,000 × 110) 1,000,000 -
100,000 -
หุ้นสามญั (10,000 × 100)
120,000 -
ส่วนเกินมลู คา่ หุน้ สามญั 120,000 -

จาหน่ายหนุ้ สามญั 10,000 หุ้น

ในราคาหุน้ ละ 110 บาท

มี.ค. 1 หนุ้ ทุนรบั คนื (1,000 x 120)

ส่วนเกินทนุ จากการรบั บริจาค

บนั ทกึ รับบรจิ าคหุ้นสามัญ

1,000 หุ้น มลู คา่ ยตุ ธิ รรม

หุ้นละ 120 บาท

เม.ย. 1 เงินสด (1,000 x 140) 140,000 -

หนุ้ ทุนรบั คนื (1,000 x 120) 120,000 -
20,000 -
สว่ นเกนิ ทนุ จากหนุ้ ทนุ รบั คืน

บันทกึ จาหนา่ ยหุ้นทนุ ท่ไี ด้รบั บรจิ าค

1,000 ห้นุ ในราคาหุ้นละ 140 บาท

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 8 การเปลีย่ นแปลงในสว่ นของผู้ถือหนุ้ 473

3. วธิ ีราคาตามมูลคา่

สมุดรายวนั ทวั่ ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดอื น วนั บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 เงนิ สด (10,000 × 110) 1,100,000 -
1,000,000 -
หุน้ สามัญ (10,000 × 100) 100,000 -

สว่ นเกินมลู คา่ หุน้ สามญั

จาหน่ายหนุ้ สามญั 10,000 หุน้

ในราคาหุ้นละ 110 บาท

ม.ี ค. 1 หนุ้ ทุนรบั คืน (1,000 x 100) 100,000 -
10,000 -
ส่วนเกนิ มลู ค่าหนุ้ สามญั (1,000x10)

ส่วนเกนิ ทนุ จากการรบั บริจาค 110,000 -

บนั ทกึ รับบรจิ าคหุ้นสามัญ

1,000 หุ้น

เม.ย. 1 เงนิ สด (1,000 x 140) 140,000 -

ห้นุ ทนุ รับคนื (1,000 x 100) 100,000 -
40,000 -
สว่ นเกินมลู ค่าห้นุ สามญั

บนั ทกึ จาหนา่ ยห้นุ ทุนท่ไี ดร้ บั บรจิ าค

1,000 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 140 บาท

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปลยี่ นแปลงในสว่ นของผู้ถือหนุ้ 474

แบบฝึกหดั ที่ 8.7

จงปฏิบตั กิ จิ กรรมตามที่โจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. บริษทั นาทรพั ย์ จากัด มรี ายการเกีย่ วกับหุ้นทนุ รบั คนื จากการบรจิ าค ดงั น้ี

2557

ม.ี ค. 1 จาหนา่ ยหนุ้ สามญั 20,000 หนุ้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท ในราคาหุ้นละ 120 บาท
เม.ย. 1 มผี ู้บรจิ าคห้นุ สามัญคืนมาใหบ้ รษิ ทั 5,000 ห้นุ มลู คา่ ยุตธิ รรมห้นุ ละ 110 บาท
พ.ค. 1 นาหนุ้ ท่ไี ด้รบั บริจาคออกจาหน่ายท้ังหมดในราคาหุ้นละ 120 บาท

ให้ทา บันทึกรายการหุ้นทนุ รับคืนจากการบริจาคในสมดุ รายวันท่วั ไป แตล่ ะกรณดี ังนี้
กรณที ่ี 1 วธิ บี นั ทึกความทรงจา
กรณที ่ี 2 วธิ ีราคาทนุ

กรณีท่ี 3 วธิ รี าคาตามมูลคา่

กรณที ่ี 1 วธิ ีบนั ทึกความทรงจา

สมุดรายวันทวั่ ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 8 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 475

กรณที ่ี 2 วิธีราคาทุน สมุดรายวนั ทัว่ ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 8 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผถู้ ือหุ้น 476

กรณีท่ี 3 วธิ รี าคาตามมลู ค่า

สมุดรายวันทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

2. วันท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2557 บรษิ ทั มั่งมี จากดั (มหาชน) ได้รับบรจิ าคหุ้นสามัญจากผูถ้ อื หนุ้

จานวน 1,000 หุ้น ราคาตามมลู ค่าหนุ้ ละ 100 บาท ราคาจาหน่ายครง้ั แรกหุ้นละ 110 บาท
และมีมลู คา่ ยตุ ธิ รรม ณ วันนหี้ ุน้ ละ 120 บาท ตอ่ มาวันที่ 1 มนี าคม 2557 บรษิ ทั ได้นาหุน้ สามัญ
ท่ีไดร้ ับบรจิ าคออกจาหนา่ ยทง้ั หมดในราคาหุ้นละ 150 บาท

ให้ทา บันทกึ รายการในสมุดรายวันท่วั ไป แต่ละกรณดี ังน้ี
กรณีที่ 1 วิธบี นั ทกึ ความทรงจา
กรณที ี่ 2 วธิ รี าคาทนุ

กรณที ี่ 3 วิธีราคาตามมลู คา่

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 8 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผ้ถู ือหุ้น 477

กรณีท่ี 1 วธิ ีบันทกึ ความทรงจา

สมดุ รายวนั ทั่วไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

กรณีที่ 2 วิธีราคาทุน

สมดุ รายวันทัว่ ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 8 การเปล่ยี นแปลงในส่วนของผู้ถือหุน้ 478

กรณีที่ 3 วิธรี าคาตามมลู ค่า

สมดุ รายวันทั่วไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

3. วนั ที่ 1 มกราคม 2557 บรษิ ทั สขุ ใจ จากดั (มหาชน) ออกจาหน่ายหนุ้ สามญั 10,000 หุ้น
มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ในราคาหุน้ ละ 120 บาท ในวันที่ 1 พฤษภาคม 2557 มีผถู้ ือหุ้นบริจาคหนุ้ สามญั

ใหบ้ รษิ ทั จานวน 1,500 หุ้น มูลคา่ ยุติธรรม ณ วนั นหี้ นุ้ ละ 130 บาท ต่อมาวนั ท่ี 15 พฤษภาคม 2557
บรษิ ทั นาหุ้นสามญั ทร่ี บั บรจิ าคออกจาหน่ายทงั้ หมดในราคาหนุ้ ละ 95 บาท
ให้ทา บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันท่ัวไป แตล่ ะกรณีดังน้ี

กรณีท่ี 1 วิธรี าคาทุน
กรณีท่ี 2 วธิ ีราคาตามมลู คา่

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผูถ้ ือหุน้ 479

กรณที ่ี 1 วิธีราคาทุน

สมุดรายวันท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 8 การเปลีย่ นแปลงในส่วนของผถู้ ือหุ้น 480

กรณที ี่ 2 วธิ ีราคาตามมูลคา่

สมุดรายวันทัว่ ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเปล่ยี นแปลงในสว่ นของผู้ถือหุ้น 481

4.3 หุน้ ทุนได้รบั คืนจากการรับชาระหนี้

กรณที ีล่ กู หนี้ชาระหน้ีใหแ้ กบ่ รษิ ัทเปน็ หุ้นทนุ ของบรษิ ัทเอง การบนั ทึกบญั ชีจะปฏบิ ัติเชน่ เดยี วกบั

กรณีหุ้นทุนซ้ือคืนทุกประการ ยกเว้นรายการซื้อหุ้นคืนจะบันทึกด้วยการเครดิตบัญชีเงินสด
สว่ นหุ้นทนุ ได้รับคนื จากการรบั ชาระหนี้ จะบันทกึ เครดติ บญั ชลี กู หน้ี การบนั ทึกบญั ชีมี 2 วิธี คือ

1. วิธีราคาทุน มขี ัน้ ตอนดังนี้

1) บนั ทกึ หุ้นทุนไดร้ ับคืนจากการรับชาระหน้ี บนั ทึกบญั ชีโดย

เดบิต หุ้นทุนรบั คนื (มลู คา่ ยุตธิ รรม) ××
เครดิต ลูกหนี้ ××

2) บันทกึ จาหน่ายหุ้นทุนไดร้ ับคนื จากการรับชาระหน้ี แบ่งเป็น 3 กรณี
(1) จาหน่ายในราคาเทา่ กบั มลู คา่ ยตุ ธิ รรม บนั ทกึ บญั ชีโดย

เดบติ เงนิ สด (ราคาขาย) ××
เครดติ หนุ้ ทนุ รับคนื (ระบชุ นดิ ) ××

(2) จาหนา่ ยในราคาสงู กวา่ มลู ค่ายุติธรรม บนั ทกึ ผลตา่ งเครดติ บญั ชสี ่วนเกนิ ทนุ
หุน้ ทุนรบั คืน บันทึกบญั ชโี ดย

เดบติ เงินสด (ราคาขาย) ××

เครดติ หนุ้ ทนุ รบั คนื (ระบุชนิด) ××
สว่ นเกินทุนหุ้นทุนรับคืน ××

(3) จาหนา่ ยในราคาต่ากว่ามลู ค่ายุติธรรม บันทึกผลตา่ งเดบิตบัญชสี ว่ นเกินทุน
หุ้นทนุ รบั คืน (ถ้าม)ี ใหส้ ่วนเกินดังกล่าวหมดไปก่อน หรือยงั มผี ลต่างเหลืออยบู่ นั ทกึ ลดยอดบญั ชกี าไรสะสม
บันทึกบญั ชโี ดย

เดบติ เงนิ สด (ราคาขาย) ××

(1) ส่วนเกนิ ทุนห้นุ ทุนรับคืน ××
(2) กาไรสะสม ××
เครดติ หนุ้ ทุนรับคืน (ระบุชนิด)
××

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผู้ถือห้นุ 482

3) บันทึกยกเลกิ หุ้นทุนรบั คืน บนั ทึกบญั ชโี ดย ××
(1) ผลตา่ งดา้ นเดบติ ××

เดบิต หุน้ สามญั /หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ (ราคาตามมลู คา่ ) ××
สว่ นเกินมลู ค่าหนุ้ สามญั /บรุ ิมสทิ ธิ ××
(1) สว่ นเกินทุนห้นุ ทุนรับคืน
(2) กาไรสะสม ××
เครดติ หุ้นทุนรับคืน (ระบุชนิด)

(2) ผลตา่ งด้านเครดติ บนั ทกึ บญั ชีโดย ××
××
เดบิต หนุ้ สามญั /หุน้ บุรมิ สทิ ธิ (ราคาตามมลู ค่า)
ส่วนเกนิ มลู ค่าหนุ้ สามญั /บรุ ิมสทิ ธิ ××
เครดิต หุน้ ทนุ รับคนื (ระบชุ นิด) ××
สว่ นเกินทุนหุ้นทุนรับคืน

2. วธิ ีราคาตามมลู คา่ มขี ้นั ตอนดงั นี้
1) บันทกึ หุ้นทนุ ไดร้ ับคืนจากการรับชาระหนี้ วิธนี ้ีจะนาราคาทนุ ท่ซี ื้อคนื มาเปรยี บเทยี บ

กบั ราคาจาหน่ายครงั้ แรก การบนั ทกึ บญั ชีแบง่ เปน็ 3 กรณี ดังน้ี

(1) ราคาท่ีรบั คนื มาเท่ากับราคาจาหน่ายครง้ั แรก บันทกึ บญั ชโี ดย

เดบิต หุ้นทุนรบั คืน (ราคาตามมลู ค่า) ××
ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั /บรุ มิ สทิ ธิ ××
เครดติ ลูกหน้ี
××

(2) ราคาที่รบั คืนมาสูงกว่าราคาจาหน่ายครัง้ แรก บนั ทกึ บญั ชีโดย

เดบิต หนุ้ ทนุ รบั คืน (ราคาตามมลู ค่า) ××
สว่ นเกินมลู ค่าหนุ้ สามญั /บรุ มิ สทิ ธิ ××
(1) ส่วนเกินทุนหนุ้ ทุนรับคืน ××

(2) กาไรสะสม ××
เครดติ ลกู หนี้ ××

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผู้ถือหนุ้ 483

(3) ราคาที่รบั คนื มาตา่ กวา่ ราคาทจ่ี าหน่ายครง้ั แรก บนั ทึกบญั ชีโดย

เดบิต หุน้ ทุนรับคนื (ราคาตามมลู ค่า) ××
สว่ นเกินมลู ค่าหุ้นสามญั /บรุ มิ สทิ ธิ ××
เครดิต ลูกหน้ี
××
สว่ นเกินทุนหุ้นทุนรับคนื
××

2) บันทึกจาหน่ายหนุ้ ทุนไดร้ บั คืนจากการรบั ชาระหนี้ การบนั ทกึ บัญชแี บง่ เปน็ 3 กรณี คือ
(1) จาหนา่ ยในราคาเทา่ กบั ราคาตาม บนั ทึกบญั ชโี ดย

เดบติ เงินสด ××
เครดิต หุน้ ทนุ รับคืน (ราคาตามมูลค่า) ××

(2) จาหน่ายในราคาสงู กวา่ ราคาตามมลู ค่า บันทึกบญั ชีโดย ××
××
เดบิต เงนิ สด ××
เครดติ หุน้ ทนุ รบั คืน (ราคาตามมูลค่า)
สว่ นเกินมูลคา่ หุ้นสามญั /บุรมิ สทิ ธิ

(3) จาหนา่ ยในราคาต่ากวา่ ราคาตาม บันทกึ บญั ชโี ดย

เดบติ เงนิ สด ××
(1) ส่วนเกินทุนหุน้ ทุนรับคืน ××

(2) กาไรสะสม ××
เครดิต ห้นุ ทุนรับคืน (ราคาตามมลู ค่า) ××

3) การยกเลกิ ห้นุ ทุนรับคืน บนั ทกึ บญั ชีโดย ××
××
เดบติ หุ้นสามญั /บรุ มิ สทิ ธิ (ราคาตามมลู คา่ )
เครดิต หุ้นทนุ รบั คืน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 484

ตวั อยา่ งท่ี 8.11 บริษทั เพม่ิ ทรัพย์ จากัด (มหาชน) มีรายการหุ้นทุนไดร้ ับคนื จากการรบั ชาระหนี้ ดงั นี้

2557

ม.ค. 1 จาหน่ายหนุ้ สามญั 10,000 หุน้ มูลค่าห้นุ ละ 100 บาท ในราคาหุน้ ละ 120 บาท

และขายสนิ คา้ เปน็ เงินเชอ่ื ใหบ้ รษิ ทั ทวีสนิ จากัด 625,000 บาท

ม.ี ค. 1 บริษทั ทวีสิน จากดั ชาระหนเ้ี ปน็ หุ้นสามัญของบรษิ ทั จานวน 5,000 หุ้น

มูลค่ายุติธรรมหุ้นละ 125 บาท

เม.ย. 20 บริษัทจาหน่ายหุ้นทไ่ี ด้รบั คืน จานวน 2,500 ห้นุ ในราคาห้นุ ละ 90 บาท

30 ยกเลกิ หนุ้ สามญั ท่ีได้รบั คนื จานวน 2,500 หนุ้

1. วธิ รี าคาทนุ

สมดุ รายวันท่วั ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 เงนิ สด (10,000 x 120) 1,200,000 -

หุ้นสามญั (10,000 x 100) 1,000,000 -

สว่ นเกนิ มลู คา่ หุน้ สามญั 200,000 -

บันทึกจาหนา่ ยหุ้นสามญั

10,000 ห้นุ ราคาห้นุ ละ 120 บาท

ลูกหน-้ี บริษทั ทวสี นิ จากัด 625,000 -

ขาย 625,000 -

ขายสนิ คา้ เป็นเงนิ เชือ่

มี.ค. 1 ห้นุ ทนุ รบั คืน (5,000 x 125) 625,000 -

ลกู หน-ี้ บรษิ ัท ทวสี ิน จากัด 625,000 -

รบั ชาระหนเ้ี ปน็ หนุ้ สามญั 5,000 หนุ้

มูลค่ายตุ ธิ รรมห้นุ ละ 125 บาท

เม.ย. 20 เงินสด (2,500 × 90) 225,000 -

กาไรสะสม 87,500 -

หุ้นทุนรบั คืน (2,500 x 125) 312,500 -

จาหนา่ ยหนุ้ สามญั ที่ไดร้ บั คนื

2,500 หุน้ ในราคาหนุ้ ละ 90 บาท

30 หุน้ สามญั (2,500 × 100) 250,000 -

ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั (2,500×20) 50,000 -

กาไรสะสม 12,500 -

หุน้ ทุนรบั คนื (2,500 × 125) 312,500 -

ยกเลกิ หุน้ ทุนรบั คืน 2,500 หุ้น

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 8 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผูถ้ ือห้นุ 485

2. วธิ รี าคาตามมลู ค่า

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วัน บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 เงินสด (10,000 x 120) 1,200,000 -
1,000,000 -
หนุ้ สามัญ (10,000 x 100) 200,000 -

ส่วนเกินมลู ค่าหนุ้ สามญั

บันทกึ จาหนา่ ยหนุ้ สามญั

10,000 หนุ้ ราคาห้นุ ละ 120 บาท

ลูกหน-ี้ บรษิ ทั ทวสี ิน จากดั 625,000 -

ขาย 500,000 - 625,000 -
100,000 - 625,000 -
ขายสนิ ค้าเปน็ เงินเช่ือ 25,000 -

ม.ี ค. 1 ห้นุ ทุนรบั คนื (5,000 x 100)

สว่ นเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั (5,000x20)

กาไรสะสม

ลูกหน-ี้ บริษทั ทวีสิน จากัด

รับชาระหนีเ้ ปน็ หุน้ สามญั 5,000 หุ้น

ราคาตามมูลค่าหุ้นละ 100 บาท

เม.ย. 20 เงินสด (2,500 x 90) 225,000 -
25,000 -
กาไรสะสม

หุ้นทนุ รบั คนื (2,500 x 100) 250,000 -

จาหนา่ ยหนุ้ สามญั ที่ได้รบั คืน

2,500 หุ้น ในราคาหุ้นละ 90 บาท

เม.ย. 30 หนุ้ สามญั 250,000 -
250,000 -
หุ้นทุนรบั คืน (2,500 x 100)

ยกเลกิ หุ้นทนุ รบั คนื 2,500 ห้นุ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การเปล่ยี นแปลงในสว่ นของผถู้ ือหุ้น 486

แบบฝกึ หดั ที่ 8.8

จงปฏิบตั กิ ิจกรรมตามที่โจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. บรษิ ัท รวยทรัพย์ จากดั (มหาชน) มรี ายการเก่ียวกับหุ้นทุนไดร้ บั คืนจากการรบั ชาระหนี้ ดังน้ี

2557

ม.ค. 1 จาหน่ายหนุ้ สามญั 5,000 ห้นุ มลู ค่าห้นุ ละ 100 บาท ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท
และขายสนิ ค้าเปน็ เงนิ เชอ่ื ใหบ้ รษิ ทั ออมสนิ จากดั 240,000 บาท

ก.พ. 1 บรษิ ัท ออมสิน จากดั ชาระหนีเ้ ป็นหุ้นสามญั ของบรษิ ัท 2,000 หุ้น

มลู คา่ ยตุ ธิ รรมหุน้ ละ 120 บาท
มี.ค. 20 บรษิ ัทจาหน่ายหนุ้ ทไี่ ด้รบั คนื จานวน 1,000 หุ้น ในราคาห้นุ ละ 130 บาท

25 บริษัทจาหน่ายหนุ้ ท่ไี ด้รบั คนื จานวน 500 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 90 บาท

31 ยกเลกิ หุ้นทนุ ทไี่ ดร้ บั คนื จานวน 500 หุน้
ใหท้ า บันทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป ในแต่ละกรณีดังนี้

กรณที ่ี 1 วธิ ีราคาทุน

กรณที ่ี 2 วธิ รี าคาตามมลู คา่

กรณที ่ี 1 วิธรี าคาทนุ สมุดรายวันท่วั ไป หนา้ 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.


Click to View FlipBook Version