The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makenodown, 2021-09-11 23:52:50

70 กฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

คํานํา

กฎหมายและระเบียบเก่ียวกับการปฏิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
เลม น้ี ผรู วบรวมไดรวบรวม เรียบเรียงกฎหมายและระเบียบเก่ียวกับการปฏิบัติงานของพนักงาน
สว นทอ งถิน่ เพื่อใชเปน คมู อื ในการศกึ ษา คนควา พฒั นาตนเองอยางตอเน่ือง เพื่อทําหนาท่ีในการ
จัดบรกิ ารสาธารณะแกป ระชาชนในพ้ืนท่ตี ามเจตนารมยข องการจัดตงั้ องคก รปกครองสวนทองถ่ิน

ผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนตอผูบริหารและ
ผูปฏิบัติงานทุกระดับ ตลอดจนหนวยงานที่เก่ียวของสามารถนําไปศึกษา คนควา อันจะนําไปสู
แนวทางการปฏบิ ัตงิ านท่ถี กู ตอ ง สะดวก และรวดเรว็ ยิง่ ขึน้ ในการจัดทําหนังสอื เลม นี้ ตองขอบคุณ
ทานออง พนั จาเอกชชั วาล อาจบันดิษ ทส่ี นับสนุนกฎหมายและระเบียบตา ง ๆ ในการจดั ทํา

กรรมกร สีกากี
30 มถิ นุ ายน 2563

สารบญั หนา
เร่อื ง
1
1 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยวธิ ีการงบประมาณขององคก รปกครองสวนทองถิน่ 9
พ.ศ.2541 แกไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2 และ 3 พ.ศ.2543 20

2 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนา ขององคกรปกครองสวน 51
ทอ งถิ่น พ.ศ. 2548 แกไขเพิม่ เตมิ ถงึ (ฉบบั ท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๖๑ 66
86
3 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บ
รักษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2547 แกไขเพิ่มเติม 89
ถงึ (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561 91
94
4 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยคา ใชจา ยในการเดนิ ทางไปราชการของเจาหนาที่
ทองถน่ิ พ.ศ. 2545 แกไขเพิม่ เตมิ ถึง (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561 102
110
5 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยคาใชจายในการฝกอบรมและการเขารับการ 115
ฝกอบรมของเจาหนา ทที่ อ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๗ 121
126
6 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการกําหนดเงินประโยชนตอบแทนอื่นเปนกรณี 132
พิเศษอนั มลี กั ษณะเปนเงินรางวัลประจําป แกพนักงานสวนทองถิ่นใหเปนรายจายอ่ืน
ขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๕๗

7 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยการต้งั งบประมาณขององคก รปกครองสวนทองถ่นิ
เพอื่ สมทบกองทนุ พ.ศ. 2561 แกไ ขเพิ่มเตมิ ถึง ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2563

8 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยรายจา ยเกยี่ วกับทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาและ
การใหความชวยเหลือนักเรียนขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ พ.ศ. 2561

9 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายเพ่ือชวยเหลือประชาชนตามอํานาจ
หนาทีข่ ององคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๖๐ แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับท่ี 2 พ.ศ.
2561

10 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจายเงินสงเคราะหเพ่ือการยังชีพขององคกร
ปกครองสวนทอ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๘

11 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยการลาของผูบริหารทอ งถน่ิ ผชู วยผูบรหิ ารทอ งถ่นิ
และสมาชกิ สภาทองถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๗

12 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการบริหารกิจการและการบํารุงรักษาระบบ
ประปาหมบู า น พ.ศ. 2548

13 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยวิธีการขุดลอกแหลงน้ําสาธารณะประโยชนท่ีตื้น
เขนิ พ.ศ. 2547

14 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการเบิกคาใชจายในการบริหารงานขององคกร
ปกครองสว นทองถ่นิ พ.ศ. 2562

15 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยการดําเนนิ การตามพระราชบัญญัติภาษีท่ีดินและ
ส่งิ ปลกู สรา ง พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2562

เร่อื ง หนา

16 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ใน 147
ระดบั อาํ เภอและตาํ บล พ.ศ. 2562 157
159
17 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยอาสาสมัครบรบิ าลทอ งถ่นิ ขององคก รปกครองสวน 165
ทองถ่ิน และการเบกิ คาใชจาย พ.ศ. 2562 174
177
18 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยเงนิ คาตอบแทนเจา หนาทที่ ป่ี ฏิบตั งิ านใหแกหนวย 185
บริการสาธารณสุข ขององคกรปกครองสวนทองถิน่ พ.ศ. 2562 192
199
19 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาเชาบานของขาราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 201
2548 แกไขเพิ่มเติมถงึ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562 212
221
20 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการจัดทําประกันภัยทรัพยสินของ 227
องคก รปกครองสว นทองถน่ิ พ.ศ. 2562 229

21 ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยรายไดแ ละการจายเงนิ ของสถานศึกษาสังกัดองคกร 237
ปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๖๒ 254
264
22 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยหลักเกณฑก ารจา ยเงินเบีย้ ความพิการใหคนพิการ 266
ขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ พ.ศ. 2553 แกไขเพิม่ เติมถึง (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2562

23 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยหลักเกณฑก ารจายเงินเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุของ
ขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ พ.ศ. 2552 แกไ ขเพ่มิ เติมถึง (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2562

24 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการจัดสวัสดิภาพสัตวขององคกร
ปกครองสว นทอ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๖๒

25 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยเงินชว ยคา ครองชีพ ผูรับบํานาญของราชการสวน
ทอ งถิน่ พ.ศ. 2522 แกไขเพมิ่ เตมิ ถึง (ฉบับท่ี 17 พ.ศ. 2562

26 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของ
พนักงานสวนทอ งถน่ิ พ.ศ. 2557 แกไขเพิ่มเตมิ ถงึ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561

27 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยเงนิ บาํ รุงโรงพยาบาลและหนว ยบรกิ ารสาธารณสขุ
ของ องคกรปกครองสว นทองถ่ิน พ.ศ. 2560 แกไ ขเพิ่มเติมถึงฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2561

28 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยรายจายขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเกี่ยวกับ
คา บาํ รุงสมาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

29 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยบาํ เหนจ็ ลูกจางของหนว ยการบริหารราชการสวน
ทองถิ่น พ.ศ.๒5๔๒ และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒ พ.ศ.๒๔๔๔ (ฉบับท่ี ๓ พ.ศ.
๒๔๔๒ และ(ฉบับที่ ๔ พ.ศ.๒๔๔๔

30 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการยดึ อายัด และขายทอดตลาดทรัพยสินของ
องคกรปกครองสวนทอ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๑ แกไ ขเพิ่มเตมิ ถงึ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2555

31 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยอาสาสมัครทองถ่นิ รกั ษโลก พ.ศ. 2561
32 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดวยการเบกิ คาใชจ า ยใหแกอาสาสมัครปองกันภัยฝาย

พลเรือนขององคกรปกครองสวนทองถิน่ พ.ศ. ๒๕๖๐
33 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการเบิกจายคาวัสดุเคร่ืองแตงกายของเจาหนาท่ี

ทองถิน่ พ.ศ. 2560

เรื่อง หนา

34 ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยการกําหนดใหเ งนิ ประโยชนต อบแทนอนื่ เปน รายจา ย 268
ทอี่ งคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ อาจจา ยได พ.ศ. ๒๕๕๙ 270
273
35 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดวยการเบกิ จายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา 277
ราชการขององคก รปกครองสว นทองถ่นิ พ.ศ. ๒๕๕๙ 284
302
36 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดวยเงินอุดหนนุ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.
๒๕๕๙ 307

37 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการสอบสวนผูบริหารทองถ่ิน รองผูบริหาร 312
ทองถิ่น ประธานสภาทองถิ่น รองประธานสภาทองถิ่น สมาชิกสภาทองถิ่น
เลขานกุ ารผูบรหิ ารทอ งถ่นิ และทปี่ รกึ ษาผูบ ริหารทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๕๔ 316
349
38 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยเงินบําเหน็จบํานาญขาราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 396
2546 แกไขเพม่ิ เตมิ ถงึ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2554 401

39 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยเงินเดือนและคาตอบแทนนายกองคการบริหาร
สวนจงั หวดั รองนายก องคการบรหิ ารสวนจังหวดั ประธานสภาองคการบรหิ ารสวน
จงั หวัด รองประธานสภา องคการบริหารสว นจังหวัด . สมาชิกสภา องคการบริหาร
สว นจงั หวัด เลขานกุ ารนายก องคการบริหารสวนจังหวัด ทีปรึกษานายก องคการ
บริหารสวนจังหวัด และกรรมการสภา องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๕๔
แกไขเพิ่มเตมิ ถงึ (ฉบบั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๕๗

40 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดว ยเงินเดือน เงินคาตอบแทน และประโยชนตอบ
แทนอยางอน่ื ของนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ประธานสภาเทศบาล รอง
ประธานสภาเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษา
นายกเทศมนตรี และการจา ยคา เบ้ียประชุมกรรมการสภาเทศบาล พ.ศ. 2554 แกไข
เพม่ิ เตมิ ถงึ (ฉบบั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๗

41 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยเงนิ คาตอบแทนนายก องคการบริหารสวนตําบล
รองนายก องคการบริหารสวนตําบล ประธานสภา องคการบริหารสวนตําบล รอง
ประธานสภา องคการบริหารสวนตําบล สมาชิกสภา องคการบริหารสวนตําบล
เลขานุการนายก องคการบริหารสวนตําบล และเลขานุการสภาองคการบริหารสวน
ตําบล พ.ศ. ๒๕๕๔แกไขเพิม่ เตมิ ถงึ (ฉบบั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๗

42 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยขอบังคับการประชุมสภาทองถ่ิน พ.ศ.2547
(แกไ ขเพ่มิ เติมถงึ (ฉบับที่2พ.ศ.2554

43 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยกิจการอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ.
๒๕๕๓

44 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยการดูแลรักษาและคุมครองปอ งกนั ทด่ี นิ อันเปนสา
ธารณสมบตั ขิ องแผนดนิ สําหรับพลเมืองใชร ว มกัน พ.ศ. ๒๕๕๓

45 ‼ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพยสินขององคกร
ปกครองสวนทองถ่นิ พ.ศ. ๒๕๕๐

เร่อื ง หนา

46 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยเงินสวสั ดกิ ารเก่ยี วกับการศกึ ษาบตุ รพนักงานสวน 424
ทองถิน่ พ.ศ. 2541 และท่ีแกไขเพม่ิ เตมิ ถึง (ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2549 430
443
47 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการใชและรกั ษารถยนตขององคกรปกครองสวนท
องถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๘ 448

48 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยการเงนิ การคลงั บัญชีและการพัสดุโครงการเรง รดั 452
การขยายเขตไฟฟาโดยระบบผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยขององคกร 455
ปกครองสว นทอ งถิน่ พ.ศ. 2548 459
462
49 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการการบรหิ ารจดั การโครงการเรง รดั ขยายบริการ 492
ไฟฟาโดยระบบผลิตกระแสไฟฟาโดยพลังงานแสงอาทิตยขององคกรปกครองสวน 495
ทองถนิ่ พ.ศ. 2547 497
499
50 ‼กฎกระทรวง การมอบอํานาจในการพิจารณาใชมาตรการบังคับทางปกครองของ 501
เจาหนาทผ่ี ูทา คาํ สง่ั ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๒ 505
508
51 ‼กฎกระทรวง กําหนดเจา หนาทผ่ี อู อกคําสัง่ ใชมาตรการบงั คับทางปกครอง และการ
แตง ตั้งเจาพนักงานบังคบั ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๒ 510
523
52 ‼กฎกระทรวง กําหนดทรัพยสินท่ีไดรับยกเวนจากการจัดเก็บภาษีท่ีดินและสิ่งปลูก
สรา ง พ.ศ. ๒๕๖๒

53 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดหาประโยชนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
พ.ศ. 2543

54 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยเงินสวัสดกิ ารเกีย่ วกบั เบ้ยี กนั ดารของพนกั งานสว น
ทองถนิ่ พ.ศ. 2543

55 ‼ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยการเบิกคาใชจายเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของ
องคกรปกครองสวนทองถน่ิ 2542

56 ‼กฎกระทรวงกําหนดคาใชจายในการจัดเก็บภาษีแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น
พ.ศ. 2562

57 ‼กฎกระทรวงการผอ นชาํ ระภาษีทดี่ นิ และสิง่ ปลูกสราง พ.ศ. 2562
58 ‼กฎกระทรวง กําหนดหลกั เกณฑและวิธีการประกาศราคาประเมินทุนทรัพย อัตรา

ภาษี และรายละเอียดอื่นในการจดั เกบ็ ภาษีทดี่ นิ และสง่ิ ปลูกสราง พ.ศ. 2562
59 ‼กฎกระทรวงกําหนดที่ดินหรอื สิง่ ปลกู สรางทที่ ้งิ ไวว า งเปลาหรอื ไมไดทาํ ประโยชนตาม

ควรแกสภาพ พ.ศ. 2562
60 ‼ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การฝกอบรมซึ่งจัดโดยหนวยงานของรัฐที่

กําหนดใหมีการฝกอบรมหรือดูงานในตางประเทศของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง
ทอ งถนิ่ ที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถเบิกจายได พ.ศ. 2562
61 ‼ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การดําเนินการตามพระราชบญั ญัติภาษีท่ีดินและ
ส่ิงปลูกสรา ง พ.ศ. 2562
62 ‼ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน
การเกบ็ รักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒

เร่อื ง หนา

63 ‼ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา ดว ยการจดั ซ้อื จัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 544
๒๕๖๐ 616
622
64 ‼ระเบียบกระทรวงการคลงั วาดวยเงนิ ทดรองราชการ พ.ศ. 2562 635
65 ‼ระเบียบกระทรวงการคลัง วา ดวยเงนิ ทดรองราชการเพ่ือชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติ 643
644
กรณฉี กุ เฉนิ พ.ศ. ๒๕๖๒ 645
66 ‼ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวาดวย ศูนยการศึกษาอิสลามประจํามัสยิด (ตาดีกา
646
ในจังหวดั ปต ตานี ยะลา นราธิวาส พ.ศ. ๒๕๔๘
67 ‼ประกาศกระทรวงการคลงั เร่อื ง หลักเกณฑการพิจารณาทรพั ยส ินของเอกชน เฉพาะ

สวนทไ่ี ดยนิ ยอมใหท างราชการจัดใหใชเ พื่อสาธารณประโยชน
68 ‼ประกาศกระทรวงการคลงั เรื่อง ยกเวนภาษที ่ีดินหรอื สิง่ ปลกู สรา งท่เี ปนทรพั ยส ินของ

มูลนธิ ิหรอื องคก ารหรือสถานสาธารณกุศล
69 ‼ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑแ ละวิธีการคํานวณการยกเวนมูลคาของ

ฐานภาษีท่ดี นิ และส่ิงปลกู สราง ซึ่งเจา ของเปน บคุ คลธรรมดาใชเปนท่ีอยูอาศัยและมีช่ือ
อยใู นทะเบียนบาน ตามกฎหมายวาดว ยการทะเบียนราษฎร
70 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการเบิกจายคาใชจายในการจัดงาน การจัดการ
แขง ขันกฬี าและการสงนักกีฬา เขา รว มการแขง ขนั กฬี าขององคก รปกครองสวนทองถิ่น
พ.ศ. ๒๕๕๙

หน้าท่ี 1



ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วา่ ด้วยวธิ กี ารงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๑

[แกไ้ ขเพิม่ เติมถงึ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓]

โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ เพื่อให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถน่ิ ถือเปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิและเพ่ือใหก้ ารบรหิ ารงานดา้ นการงบประมาณสน้ิ สดุ ทีจ่ ังหวัด

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐
มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แหง่ พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๓๒ และมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติ
สุขาภิบาล พ.ศ. ๒๔๙๕ มาตรา ๖ และมาตรา ๙๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๒๑
มาตรา ๕ และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบญั ญตั ิสภาตาบลและองค์การบริหารสว่ นตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย จึงออกระเบียบ ไว้ดังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า "ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๑"

ข้อ ๒๑ ระเบียบนีใ้ ห้ใช้บงั คบั ต้ังแต่วันถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เป็นต้นไป
ขอ้ ๓ ใหย้ กเลิก
(๑) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวธิ กี ารงบประมาณขององคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด พ.ศ. ๒๕๔๐
(๒) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณของเทศบาล พ.ศ. ๒๕๒๘
(๓) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณสขุ าภิบาล พ.ศ. ๒๕๓๑
(๔) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยวิธกี ารงบประมาณของเมืองพทั ยา พ.ศ. ๒๕๓๑
(๕) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยวธิ ีการงบประมาณองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๘
ข้อ ๔ ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจตีความวินิจฉัยปัญหา ยกเว้นการ
ปฏิบตั ิการตามระเบยี บน้ี กาหนดหลักเกณฑ์ และกาหนดวธิ ปี ฏิบัติเพือ่ ดาเนนิ การให้เป็นไปตามระเบียบน้ี
ปลดั กระทรวงมหาดไทย อาจมอบอานาจเรอื่ งใดเรอื่ งหน่ึงตามวรรคแรกให้ผู้ว่าราชการจังหวัดได้

ข้อความทั่วไป

ขอ้ ๕๒ ในระเบยี บนี้

๑ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนพิเศษ ๖๑ ง ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 2



"งบประมาณ” หมายความว่า แผนงานหรืองานสาหรับประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงในรูป
ตวั เลขจานวนเงินการต้ังงบประมาณ คือ การแสดงแผนดาเนินงานออกเป็นตัวเลขจานวนเงิน

"แผนงาน” หมายความว่า ภารกิจแต่ละด้านท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีหน้าท่ีตามกฎหมาย ว่าด้วย
องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ แต่ละรูปแบบ

"งาน” หมายความวา่ กิจกรรมตา่ งๆ ของหน่วยงานทกี่ าหนดไว้ในแตล่ ะแผนงาน
"องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ” หมายความว่า องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล
"สภาท้องถิน่ ” หมายความวา่ สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด สภาเทศบาล และสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล
"งบประมาณรายจ่าย” หมายความว่า งบประมาณที่สภาท้องถ่ินให้ความเห็นชอบ และผู้ว่าราชการจังหวัด
หรือนายอาเภอหรือปลัดอาเภอผเู้ ป็นหวั หน้าประจาก่ิงอาเภออนุมัติตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินแต่ละรูปแบบ ทั้งน้ี รวมท้ังงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติมและการโอนการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคาช้ีแจง
งบประมาณดว้ ย
"เงินนอกงบประมาณ” หมายความว่า เงินทั้งปวงท่ีอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นอกจากเงนิ ที่ปรากฏตามงบประมาณรายจา่ ย
"ปีงบประมาณ” หมายความว่า ระยะเวลาตง้ั แตว่ ันท่ี ๑ ตุลาคม ของปีหน่ึงถงึ วนั ที่ ๓๐ กันยายน ของปีถัดไป
และใหใ้ ช้ปี พ.ศ. ทถี่ ัดไปนั้นเปน็ ชือ่ สาหรับปีงบประมาณน้นั
"หนี้” หมายความว่า ข้อผูกพันท่ีต้องจ่าย หรืออาจจะต้องจ่ายเป็นเงิน ส่ิงของหรือบริการไม่ว่าจะเป็นข้อ
ผูกพนั อันเกดิ จากการกยู้ ืม การคา้ ประกนั การซอ้ื หรอื การจา้ งโดยวธิ ใี ช้เครดติ หรือจากการอ่ืนใด
"หนว่ ยงาน” หมายความวา่ สานัก กอง ส่วน ฝา่ ย ตามโครงสรา้ งขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น แต่ละรูปแบบ
"คณะผู้บริหารท้องถ่ิน” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด คณะเทศมนตรี นายกเทศมนตรี และ
คณะกรรมการบรหิ ารองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล
"เจ้าหน้าที่งบประมาณ” หมายความว่า ปลัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ปลัดเทศบาลและปลัดองคก์ ารบริหารส่วนตาบล
ข้อ ๖ บรรดารูปแบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิธีการงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นให้
เป็นไปตามท่กี รมการปกครองกาหนด
ข้อ ๗ ในกรณีที่งบประมาณรายจ่ายประจาปีออกใช้ไม่ทันปีงบประมาณใหม่ ให้ใช้งบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณท่ีลว่ งแล้วไปพลางกอ่ น
การเบิกจ่ายเงินโดยอาศัยงบประมาณรายจ่ายประจาปีที่ล่วงมาแล้วน้ัน ให้นาเงินงบประมาณรายจ่าย
เพิ่มเติมและที่ได้มีการโอนเพิ่มหรือโอนลดรวมเข้าไปด้วย โดยให้ถือเป็นยอดเงินสูงสดุ จะพึงถือจ่ายได้ และให้กระทา
ได้เฉพาะรายจ่ายในหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดคา่ จ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทนใช้สอยวัสดุ และหมวด
ค่าสาธารณูปโภค

หมวด ๑
อานาจหนา้ ทข่ี องเจ้าหน้าท่ีงบประมาณ

๒ ความในข้อ ๕ ถูกยกเลิกโดย ข้อ ๓ แหง่ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่นิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ และใหใ้ ช้ความใหมแ่ ทน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 3



ขอ้ ๘ ให้เจ้าหน้าท่ีงบประมาณมีอานาจหน้าท่ีจัดทางบประมาณกับปฏบิ ัติการอ่ืนตามท่ีกาหนดไวใ้ นระเบียบ
นี้และใหม้ อี านาจหน้าทเ่ี กย่ี วกับงานงบประมาณ ดังต่อไปน้ีด้วย

(๑) เรียกให้หน่วยงานต่าง ๆ เสนอประมาณการรายรับและรายจ่ายตามแบบ และหลักเกณฑ์พร้อมด้วยรายละเอียด
ที่กาหนดตามระเบียบ ขอ้ บงั คับ คาสัง่ หรือหนงั สอื สงั่ การกระทรวงมหาดไทย

(๒) วเิ คราะหง์ บประมาณและการจา่ ยเงินของหนว่ ยงานตา่ งๆ
(๓) ส่ังการ ควบคุม กากับ ดูแล เจ้าหน้าที่จัดทาเอกสารงบประมาณ และรวบรวมเป็น ร่างงบประมาณ
รายจา่ ยประจาปี

หมวด ๒
ลกั ษณะของงบประมาณ

ข้อ ๙ เงินรายจ่ายประจาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้จัดทาเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาปีและ
ให้มปี ระมาณการรายรับประกอบงบประมาณรายจ่ายประจาปดี ว้ ย

ข้อ ๑๐ งบประมาณรายจ่ายประจาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาจจาแนกเป็นงบประมาณรายจ่าย
ทัว่ ไปและงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ

ข้อ ๑๑ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาจจัดทางบประมาณรายจ่ายเฉพาะการได้โดยได้รับความเห็นชอบ
จากสภาท้องถิ่น

ขอ้ ๑๒ งบประมาณรายจ่ายทว่ั ไป และงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ อาจต้ังจา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลือระหว่างกนั ได้
ข้อ ๑๓ งบประมาณรายจ่ายท่ัวไปขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ประกอบด้วย รายจ่ายงบกลางและรายจ่าย
ตามแผนงาน
ข้อ ๑๔ รายจ่ายตามแผนงาน จาแนกเปน็ สองลักษณะ คอื
(๑) รายจ่ายประจา ประกอบดว้ ย

(ก) หมวดเงนิ เดือนและคา่ จ้างประจา
(ข) หมวดค่าจ้างชว่ั คราว
(ค) หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวสั ดุ
(ง) หมวดค่าสาธารณปู โภค
(จ) หมวดเงินอดุ หนุน
(ฉ) หมวดรายจา่ ยอ่ืน
(๒) รายจา่ ยเพอื่ การลงทนุ ประกอบด้วย หมวดคา่ ครภุ ัณฑ์ ที่ดนิ และส่งิ ก่อสร้าง
รายละเอียดประเภทรายจ่ายงบกลาง หมวดรายจ่ายต่างๆ และเงินนอกงบประมาณ ให้เป็นไปตามท่ี
กรมการปกครองกาหนด

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 4



ข้อ ๑๕ งบประมาณรายจ่ายซึ่งต้ังจ่ายจากเงินอุดหนุนทั่วไป หรือเงินประเภทอื่นท่ีต้องนามาตั้งงบประมาณ
รายจ่ายให้จาแนกลักษณะรายจ่ายตามข้อ ๑๔ และให้ระบุประเภทของเงินน้ันในคาชี้แจงประมาณการรายรับและ
งบประมาณรายจ่ายด้วย

ข้อ ๑๖ การต้ังงบประมาณรายจ่ายเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้กระทาตามที่มี
กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ คาสัง่ หรือหนงั สือสัง่ การกระทรวงมหาดไทยกาหนด

ข้อ ๑๗ ประมาณการรายรบั ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ประกอบด้วยรายได้ซึ่งจาแนกเปน็
(๑) หมวดภาษอี ากร
(๒) หมวดคา่ ธรรมเนียม คา่ ปรับและใบอนุญาต
(๓) หมวดรายได้จากทรพั ย์สนิ
(๔) หมวดรายได้จากสาธารณปู โภค และกิจการพาณชิ ย์
(๕) หมวดเงนิ อุดหนุน
(๖) หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด
รายละเอียดประเภทรายได้ ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกรมการปกครองกาหนด
ขอ้ ๑๘ รายละเอียดประเภทรายได้ และรายจ่ายตามงบประมาณรายจา่ ยเฉพาะการขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกรมการปกครองกาหนด
ขอ้ ๑๙ งบประมาณรายจ่ายจะกาหนดให้มเี งนิ สารองจา่ ย เพอ่ื กรณที ่ีจาเป็นได้ตามความเหมาะสม สาหรับ
การอนมุ ตั ใิ หใ้ ช้เงินสารองจ่ายให้เป็นอานาจของคณะผบู้ รหิ ารท้องถ่ิน
ข้อ ๒๐ งบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติมให้ตราเป็นงบประมาณรายจ่ายเช่นเดียวกับงบประมาณรายจ่าย
ประจาปี
ข้อ ๒๑ การตรางบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม จะกระทาได้ต่อเมื่องบประมาณรายจ่ายประจาปี ท่ีได้รับ
อนุมัติแล้วไม่พอแก่การใช้จ่าย หรือมีความจาเป็นต้องตั้งรายจ่ายขึ้นใหม่ ท้ังนี้ ต้องแสดงให้ปรากฏในงบประมาณ
รายจ่ายดังกลา่ วด้วยว่า จะจ่ายจากเงินรายได้ที่มิได้ตั้งรับไว้ในประมาณการรายรับ หรือจากเงินรายได้ท่ีเกินยอดรวม
ทงั้ สน้ิ ของประมาณการรายรบั ประจาปี

หมวด ๓
วิธีการจัดทางบประมาณ

ข้อ ๒๒๓ ให้ใช้แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นแนวทางในการจัดทางบประมาณ ให้หัวหน้า
หน่วยงานจัดทาประมาณการรายรับ และประมาณการรายจ่ายและให้หัวหน้าหน่วยงานคลังรวบรวมรายงานการเงิน
และสถิติตา่ งๆ ของทุกหนว่ ยงานเพ่อื ใช้ประกอบการคานวณขอตั้งงบประมาณเสนอตอ่ เจา้ หน้าทง่ี บประมาณ

๓ ความในข้อ ๒๒ ถูกยกเลิกโดย ข้อ ๔ แห่งระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ และให้ใชค้ วามใหมแ่ ทน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 5



ข้อ ๒๓ ให้เจ้าหน้าที่งบประมาณทาการพิจารณาตรวจสอบ วิเคราะห์ และแก้ไขงบประมาณในช้ันต้นแล้ว
เสนอตอ่ คณะผู้บรหิ ารท้องถ่ิน

เมื่อคณะผู้บริหารท้องถิ่นได้พิจารณาอนุมัติให้ตั้งเงินงบประมาณยอดใดเป็นงบประมาณประ จาปีแล้วให้
เจ้าหน้าที่งบประมาณรวบรวมและจัดทาเป็นร่างงบประมาณรายจ่ายเสนอต่อคณะผู้บริหารท้องถ่ินอีกคร้ังหนึ่งเพ่ือ
คณะผู้บริหารทอ้ งถน่ิ ไดน้ าเสนอต่อสภาท้องถน่ิ ภายในวันที่ ๑๕ สิงหาคม

ข้อ ๒๔๔ ในกรณีท่ีคณะผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่สามารถท่ีจะนาร่างงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีเสนอต่อสภาท้องถิ่นได้ทันภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ ให้เสนอขออนุมัติต่อสภาท้องถ่ิน แล้วรายงานให้ผู้ว่า
ราชการจังหวัดทราบ สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบลให้รายงานนายอาเภอหรือปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจาก่ิง
อาเภอ

สาหรับเทศบาลรูปแบบนายกเทศมนตรี หากนายกเทศมนตรีพิจารณาแล้วเห็นว่าจะไม่สามารถนาร่าง
งบประมาณรายจา่ ยประจาปีถดั ไปเสนอต่อสภาเทศบาลได้ทันภายในระยะเวลาท่กี าหนดไวใ้ ห้ชีแ้ จงเหตผุ ลความจาเป็น
ต่อประธานสภาเทศบาลก่อนวนั ท่ี ๑๕ สงิ หาคม ของปีงบประมาณปจั จุบนั

ข้อ ๒๕ การพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างงบประมาณรายจ่ายของสภาท้องถ่ิน และการพิจารณาอนุมัติร่าง
งบประมาณรายจ่ายของผู้มีอานาจอนุมัติให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับขององค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถนิ่ แตล่ ะรปู แบบ

หมวด ๔
การโอนและแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงงบประมาณ

ข้อ ๒๖ การโอนเงินงบประมาณรายจา่ ยต่างๆ ใหเ้ ป็นอานาจอนมุ ัตขิ องคณะผูบ้ รหิ ารทอ้ งถิน่
ข้อ ๒๗ การโอนเงินงบประมาณรายจ่ายในหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ท่ีทาให้ลักษณะ
ปริมาณ คณุ ภาพเปลย่ี น หรือโอนไปต้งั จา่ ยเปน็ รายการใหม่ ใหเ้ ปน็ อานาจอนมุ ัติของสภาท้องถน่ิ
ข้อ ๒๘ การแก้ไขเปล่ียนแปลงคาช้ีแจงประมาณการรายรับหรืองบประมาณรายจ่าย ให้เป็นอานาจอนุมัติ
ของคณะผูบ้ ริหารทอ้ งถน่ิ
ข้อ ๒๙ การแก้ไขเปล่ียนแปลงคาช้ีแจงงบประมาณรายจ่ายในหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้างที่ทา
ให้ลกั ษณะ ปริมาณ คณุ ภาพเปล่ยี น หรอื เปลยี่ นแปลงสถานท่กี ่อสร้าง ให้เปน็ อานาจอนุมัตขิ องสภาทอ้ งถ่นิ
ข้อ ๓๐ การโอน การแก้ไขเปล่ียนแปลงคาชี้แจงงบประมาณรายจ่ายเงินประเภทอื่นท่ีต้องนามาต้ัง
งบประมาณรายจ่ายตามข้อ ๑๕ ให้เจ้าหน้าท่ีงบประมาณมีอานาจอนุมัติโอนหรือแก้ไขเปล่ียนแปลงคาช้ีแจง
งบประมาณรายจา่ ยไดเ้ มื่อไดร้ ับอนมุ ัตจิ ากผู้มอี านาจแลว้
ข้อ ๓๑ การโอน การแก้ไขเปล่ยี นแปลงคาชีแ้ จงงบประมาณรายการท่ีไดเ้ บิกตัดปี หรอื ขยายเวลาให้เบิกตัด
ปีไว้ จะกระทาได้ต่อเม่ือไดร้ ับอนมุ ตั ิจากผู้มอี านาจให้เบิกตดั ปไี ด้ หรือขยายเวลาเบิกตดั ปี

๔ ความใน ข้อ ๒๔ วรรคสองถูกเพิ่มโดย ข้อ ๕ แห่งระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 6



ข้อ ๓๒ ภายใต้บังคับข้อ ๓๙ การโอนเงินงบประมาณรายจ่าย หรือการแก้ไขเปลยี่ นแปลงคาช้ีแจงประมาณ
การรายรับและงบประมาณรายจ่าย เม่ือได้รับอนุมัติจากผู้มีอานาจแล้ว ให้ประกาศโดยเปิดเผย เพ่ือให้ประชาชน
ทราบแล้วแจ้งการประกาศให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเพ่ือทราบภายในสิบห้าวัน สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบลให้แจ้งแก่
นายอาเภอหรอื ปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหนา้ ประจากิ่งอาเภอ

หมวด ๕
การควบคุมงบประมาณ

ข้อ ๓๓ ให้คณะผู้บริหารท้องถ่ินและเจ้าหน้าที่งบประมาณรับผิดชอบร่วมกันในการควบคุมงบประมาณ
รายจ่ายและเงินนอกงบประมาณ เพ่ือปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสัง่ หรือหนังสอื ส่ังการ
กระทรวงมหาดไทย โดยมหี ัวหนา้ หนว่ ยงานคลังเป็นผู้ชว่ ยเหลือ และใหม้ อี านาจหนา้ ท่ีดงั ตอ่ ไปนด้ี ว้ ย คือ

(๑) ควบคุมการรบั และการเบิกจา่ ยเงนิ
(๒) ควบคุมบัญชี รายงาน และเอกสารอน่ื เกยี่ วกบั การรับจ่ายเงนิ และหนี้
(๓) ตรวจเอกสารการรบั จ่ายเงนิ การขอเบิกเงิน และการกอ่ หนี้ผกู พัน
ข้อ ๓๔ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะจ่ายเงินหรือก่อหน้ีผูกพันได้ตามข้อความท่ีกาหนดไว้ในงบประมาณ
รายจ่ายประจาปี หรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ท้ังนี้ ต้องมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสงั่ หรือหนังสือสั่งการ
กระทรวงมหาดไทยอนุญาตใหจ้ า่ ย และมเี งินรายได้เพียงพอท่ีจะเบิกจ่ายได้
ขอ้ ๓๕ บรรดาเงินท่ีองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นได้รับ ไม่ว่าจะได้รับตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั หรือ
ได้รับชาระตามอานาจหน้าท่ีหรือสัญญา หรือได้รับจากการให้ หรือใช้ทรัพย์สิน หรือเก็บดอกผลจากทรัพย์สินของทาง
ราชการหรือองค์กรเองให้นาส่งเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามระเบียบหรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้องเว้นแต่
จะมกี ฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ คาสัง่ หรอื หนังสอื สงั่ การกระทรวงมหาดไทยกาหนดเปน็ อยา่ งอ่นื
ข้อ ๓๖ บรรดาเงินทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับจากผู้อุทิศให้โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พื่อให้องคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถ่ินใช้จ่ายในกิจการอย่างหนึ่งอย่างใดโดยเฉพาะ ให้จ่ายเงินหรือก่อหน้ีผกู พันภายในวงเงินที่ได้รับนั้น และไม่
ต้องนาส่งเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เว้นแต่มีเงินเหลือจากการใช้จ่ายน้ันและผู้อุทิศให้ไม่ได้กาหนดไว้
เปน็ อย่างอ่นื ใหน้ าสง่ เป็นเงนิ รายได้
การใช้จา่ ยเงนิ อดุ หนุนเฉพาะกิจ เงนิ กู้ เงินจ่ายขาดจากเงินสะสม หรอื เงินอดุ หนนุ จากกระทรวง ทบวง กรม
หรือหน่วยงานอื่นใด ท่ีมีลักษณะให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินดาเนินการตามที่ระบไุ วเ้ ป็นการเฉพาะโดยไม่มีเงอื่ นไข
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินพิจารณาดาเนินการตามที่ระบุไว้โดยไม่ต้องตราเป็นงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบนี้
สาหรับแบบและวธิ ีการจ่ายเงนิ หรือก่อหนี้ผูกพันให้เปน็ ไปตามท่ีกรมการปกครองกาหนด
เงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหาย หรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจาเป็นต้องจ่าย เพื่อบูรณะ
ทรัพย์สนิ หรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ พิจารณาดาเนินการตามระเบียบทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดย
ไม่ต้องตราเป็นงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบนี้
เงินรายรับที่เป็นสถานพยาบาล สถานการศกึ ษา หรือสถานอื่นใดที่อานวยบริการเป็นสาธารณประโยชน์หรือ
ประชาสงเคราะห์ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาเงินไปใช้จ่ายได้แต่เฉพาะตามระเบียบ หนังสือสั่งการที่เก่ียวข้อง
กาหนดไวเ้ ท่าน้นั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 7



ขอ้ ๓๗ เมอ่ื ส้ินปงี บประมาณ หากงบประมาณรายจา่ ยมีเหลอื อยู่ และได้มกี ารเบกิ ตัดปี หรือขยายเวลาเบิกตัด
ปีไว้แล้ว ในกรณีนี้ให้เบิกจ่ายได้โดยอาศัยงบประมาณรายจ่ายฉบับเดิมต่อไปได้อีกภายในระยะเวลาท่ีขอเบิกตัดปีหรือ
ขยายเวลาเบิกตดั ปีไว้

ขอ้ ๓๘๕ ภายใต้บงั คบั ข้อ ๙ ขอ้ ๑๗ ข้อ ๒๑ และข้อ ๓๔ การก่อหน้ีผกู พันงบประมาณรายจ่ายเกินกว่าหน่ึง
ปีงบประมาณ ให้กระทาได้โดยความเห็นชอบของสภาท้องถ่ิน และจัดทาเป็นงบประมาณรายจ่ายตามข้ันตอนกฎหมาย

การก่อหน้ีผกู พันงบประมาณรายจ่ายเกินกว่าหน่ึงปีงบประมาณสาหรบั โครงการใดโครงการหนง่ึ จะกระทาได้เม่ือ
มีความจาเป็นท่ีไม่อาจแยกงบประมาณตั้งจ่ายและดาเนินการในแต่ละปีงบประมาณได้ซ่ึงเป็นโครงการประเภทท่ีดินและ
สิง่ กอ่ สรา้ ง ท่ีไม่อาจแยกการจดั ซ้ือจัดจ้างไดเ้ ป็นส่วน ๆ และมรี ายได้ไม่เพียงพอท่ีจะดาเนินการในปีงบประมาณเดียว ใหก้ ่อ
หนี้ผูกพันได้ไม่เกินปีงบประมาณถัดไปและงบประมาณท่ีจะก่อหนี้ผูกพัน จะต้องไม่เกินร้อยละห้าสิบของงบประมาณ
รายจ่ายเพ่ือการลงทุนของงบประมาณปีท่ีผ่านมา โดยจะต้องระบุในงบประมาณรายจ่ายในปี ปัจจุบัน และใน
ปีงบประมาณถัดไปให้ชัดเจน

หมวด ๖
การรายงาน

ข้อ ๓๙ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดส่งสาเนางบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณรายจ่าย
เพิ่มเติมที่ได้รับอนุมัติให้ประกาศใช้แล้วไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบลให้ส่งนายอาเภอหรือ
ปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอเพื่อทราบ ภายในระยะเวลาไม่เกินสิบห้าวัน นับแต่วันส้ินสุดการประกาศโดย
เปิดเผยเพื่อใหป้ ระชาชนทราบ ณ สานกั งานองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ

ข้อ ๔๐ เม่ือสิ้นปีงบประมาณ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกาศรายงานการรับจ่ายเงินประจาปี
งบประมาณท่ีสิ้นสุดนั้นทั้งงบประมาณรายจ่ายและเงินนอกงบประมาณไว้โดยเปิดเผย ณ สานักงานองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน เพือ่ ให้ประชาชนทราบ ภายในกาหนดสามสิบวันตามแบบทีก่ รมการปกครองกาหนดแลว้ ส่งสาเนารายงานการ รับ
- จ่าย ดังกล่าวไปให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเพ่ือทราบและเก็บเป็นข้อมูลระดับจังหวัดภายในระยะเวลาสิบห้าวันหลังจากนั้น
แลว้ ใหจ้ ังหวัดรายงานกรมการปกครอง

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๔๑ วิธีการงบประมาณท่ีอยู่ในระหว่างดาเนินการ และยังไม่แล้วเสร็จในวันที่ระเบียบน้ีใช้บังคับให้
ดาเนนิ การตอ่ ไปตามระเบียบ หรอื หลกั เกณฑท์ ใ่ี ชบ้ ังคับอยเู่ ดิมจนกว่าจะแลว้ เสร็จ

๕ ความในข้อ ๓๘ ถูกยกเลิกโดยขอ้ ๓ แหง่ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยวธิ ีการงบประมาณขององคก์ รปกครองสว่ น
ท้องถ่นิ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๔๓ และใหใ้ ชค้ วามใหมแ่ ทน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 8



ข้อ ๔๒ บรรดารปู แบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิธกี ารงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ใหใ้ ช้
แบบเดิมไปพลางก่อน จนกวา่ กรมการปกครองจะไดก้ าหนดใหเ้ ป็นไปตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๑
ชานิ ศกั ดเิ ศรษฐ์

(นายชานิ ศักดเ์ิ ศรษฐ)์
รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาราชการแทน

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 9

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย
วา ดวยการจดั ทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ พ.ศ. ๒๕๔๘
รวมแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2559 และ (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2561

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําและประสาน
แผนพฒั นาขององคก รปกครองสว นทอ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๖ ใหเปน ปจจบุ ัน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ แหงพระราชบัญญัติ
กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบียบไว ดงั นี้

ขอ ๑ ระเบียบนเี้ รยี กวา “ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพฒั นาขององคกร
ปกครองสว นทองถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๘

ขอ ๒ 01ระเบียบนใี้ หใชบ งั คบั ตงั้ แตวนั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป
ขอ ๓ ใหยกเลิกระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําและประสานแผนพัฒนาของ
องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๖
บรรดาระเบียบ ขอ บังคบั หรอื คาํ ส่งั อนื่ ใดซง่ึ ขดั หรือแยง กบั ระเบยี บนี้ใหใชระเบียบนีแ้ ทน
ขอ ๔ ในระเบียบน้ี
“องคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ ” หมายความวาองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั เทศบาล เมืองพทั ยา
องคก ารบริหารสว นตาํ บล และองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ อ่ืนท่ีมกี ฎหมายจดั ตัง้ ยกเวนกรุงเทพมหานคร
“สภาทอ งถิน่ ” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล สภาเมืองพัทยา
สภาองคการบริหารสว นตาํ บล และสภาองคกรปกครองสวนทองถิ่นอ่ืนทมี่ กี ฎหมายจดั ตง้ั
“คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น” หมายความวา คณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวน
จังหวัด คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล คณะกรรมการพัฒนาเมืองพัทยา คณะกรรมการพัฒนาองคการบริหาร
สวนตําบล และคณะกรรมการพฒั นาขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ อน่ื ท่มี กี ฎหมายจดั ตั้ง
“คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น” หมายความวา คณะกรรมการ
สนบั สนุนการจัดทําแผนพัฒนาองคก ารบรหิ ารสวนจงั หวดั คณะกรรมการสนบั สนนุ การจัดทาํ แผนพัฒนาเทศบาล
คณะกรรมการสนบั สนุนการจดั ทําแผนพัฒนาเมืองพัทยา คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาองคการ
บริหารสวนตําบล และคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถ่ินอื่นท่ีมี
กฎหมายจัดตัง้
“คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาทองถ่ิน” หมายความวา คณะกรรมการ
ตดิ ตาม และประเมินผลแผนพัฒนาองคการบรหิ ารสว นจงั หวัด คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
เทศบาล คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเมืองพัทยา คณะกรรมการติดตามและประเมินผล
แผนพฒั นาองคก ารบริหารสว นตาํ บล และคณะกรรมการตดิ ตามและประเมินผลแผนพัฒนาขององคกรปกครอง
สว นทองถนิ่ ทม่ี กี ฎหมายจดั ตั้ง

1 ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 122/ตอนพิเศษ 115 ง/หนา 46/17 ตลุ าคม 2548

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~2~

หน้าที่ 10

“อาํ เภอ” หมายความรวมถงึ ก่ิงอาํ เภอดวย
“ผบู ริหารทองถ่นิ ” หมายความวา นายกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน หรือผูบริหารทองถ่ิน
ขององคกรปกครองสว นทอ งถ่ินอ่นื ท่ีมีกฎหมายจดั ตง้ั
“สมาชกิ สภาทอ งถ่ิน” หมายความวา สมาชกิ สภาองคการบรหิ ารสวนจงั หวดั สมาชิก สภา
เทศบาล สมาชิกสภาเมืองพัทยา สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล และสมาชิกสภาองคกรปกครองสวน
ทองถนิ่ อ่นื ท่ีมกี ฎหมายจดั ตง้ั
“นายอําเภอ” หมายความรวมถงึ ปลัดอําเภอผเู ปนหวั หนาประจาํ กงิ่ อาํ เภอดวย
“ปลัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น” หมายความวา ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด
ปลัดเทศบาล ปลัดเมอื งพทั ยา ปลดั องคการบรหิ ารสวนตาํ บล และปลัดขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ อื่น ที่
มีกฎหมายจดั ตง้ั
“หัวหนาสวนการบริหารที่มีหนาท่ีจัดทําแผน”12หมายความวา ผูอํานวยการสํานัก หัวหนา
สํานัก ผูอํานวยการกองขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน หรือตําแหนงท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนซึ่งเทียบเทาตําแหนง
ดงั กลาว
“พนักงานสวนทองถิ่น”23หมายความวา ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด พนักงาน
เทศบาล พนกั งานเมอื งพัทยา พนกั งานสว นตาํ บล และพนักงานหรือขาราชการขององคกรปกครองสว นทองถิน่ อ่ืน
ที่มีกฎหมายจัดตง้ั
“แผนพัฒนาทอ งถน่ิ ”34 หมายความวา แผนพฒั นาทองถน่ิ ขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่
“แผนยุทธศาสตรการพัฒนา”45 (ยกเลกิ
“แผนพฒั นาทองถน่ิ ”4 หมายความวา แผนพัฒนาขององคก รปกครองสว นทองถิ่น ที่กําหนด
วิสัยทัศน ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค ตัวชี้วัด คําเปาหมาย และกลยุทธ โดยสอดคลองกับ แผนพัฒนา
จังหวัด ยทุ ธศาสตรการพฒั นาขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ในเขตจังหวดั แผนพัฒนาอําเภอ แผนพัฒนาตําบล
แผนพัฒนาหมูบา นหรอื แผนชุมชน อนั มีลักษณะเปนการกาํ หนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาท่ีจัดทําข้ึน
สําหรบั ปงบประมาณแตละป ซ่ึงมีความตอ เนอื่ งและเปนแผนกา วหนา และใหห มายความรวมถงึ การเพิม่ เติมหรือ
เปลย่ี นแปลงแผนพฒั นาทองถิ่น
“แผนการดําเนินงาน” หมายความวา แผนการดาํ เนินงานขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ที่
แสดงถงึ รายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาและกจิ กรรมท่ีดําเนินการจริงทั้งหมดในพื้นท่ีขององคกร ปกครอง
สว นทองถน่ิ ประจาํ ปงบประมาณนัน้
“โครงการพฒั นา”56 หมายความวา โครงการทค่ี าํ เนินการจัดทาํ บรกิ ารสาธารณะและกจิ กรรม
สาธารณะเพอื่ ใหก ารพฒั นาบรรลตุ ามวสิ ัยทัศนที่กาํ หนดไว
“การแกไข” หมายความวา การแกไขขอผิดพลาดในแผนพัฒนาทองถ่ินหรือแผนการ

2 ขอ 4 นิยามคําวา “หวั หนา สวนการบรหิ ารทีม่ หี นา ท่ีจดั ทําแผน”แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาของ
องคก รปกครองสว นทองถนิ่ (ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. ๒๕61
3 ขอ 4 นยิ ามคําวา “พนักงานสวนทอ งถิ่น”แกไขเพ่ิมเตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพฒั นาขององคกรปกครองสวน
ทองถิน่ (ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. ๒๕61
4 ขอ 4 คําวา “แผนพัฒนาทองถน่ิ ”แกไขเพ่ิมเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจดั ทําแผนพฒั นาขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ
(ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. ๒๕61
5 ขอ 4 คําวา “แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นา”ยกเลกิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพฒั นาขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่
(ฉบับท่ี 2 พ.ศ. ๒๕59
6 ขอ 4 นิยามคําวา “โครงการพัฒนา”แกไขเพมิ่ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจดั ทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสว นทอ งถิ่น
(ฉบับท่ี 3 พ.ศ. ๒๕61

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~3~

หน้าที่ 11

ดาํ เนนิ งานใหถ กู ตอ ง โดยไมทาํ ใหว ัตถปุ ระสงคและสาระสําคัญเดิมเปลยี่ นแปลงไป
“การเพ่มิ เติม”67 (ยกเลิก
“การเปลี่ยนแปลง”78 (ยกเลกิ
[คําวา “แผนพัฒนาทองถิ่น” แกไขเพ่ิมเติมโดย ขอ 3 แหงระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา

ดวยการจดั ทาํ แผนพัฒนาขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ (ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. ๒๕61]
ขอ ๕ ใหป ลดั กระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจตคี วามและวนิ จิ ฉัย

ปญ หาเก่ยี วกบั การปฏบิ ัตติ ามระเบยี บน้ี และใหมอี าํ นาจกาํ หนดหลักเกณฑแ ละวธิ ีปฏิบตั ิเพอ่ื ดาํ เนนิ การใหเปนไป
ตามระเบียบน้ไี ด

ในกรณีที่มีเหตุจําเปน ใหผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจยกเวนหรือผอนผันการปฏิบัติตาม
ระเบียบน้ขี ององคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ ภายในเขตจงั หวดั แลวรายงานกระทรวงมหาดไทยทราบภายในสิบหา
วันนับแตวนั ที่ยกเวน หรอื ผอนผนั

ขอ ๖ การจัดทําแผนพฒั นาขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน ตองสอดคลอ งกบั ระเบียบวาดว ย
การประสานการจดั ทาํ แผนพฒั นาจงั หวดั ขององคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน

หมวด ๑
องคก รจัดทาํ แผนพัฒนาทองถน่ิ

ขอ ๗ องคกรจัดทาํ แผนพฒั นาทอ งถ่นิ ขององคกรปกครองสวนทอ งถิน่ ประกอบดว ย
(๑ คณะกรรมการพัฒนาทอ งถ่ิน
(๒ คณะกรรมการสนับสนนุ การจดั ทําแผนพฒั นาทอ งถิ่น

ขอ ๘ ใหผบู ริหารทองถ่ินแตง ตั้งคณะกรรมการพัฒนาทอ งถิ่น ประกอบดว ย
(๑ ผบู รหิ ารทองถน่ิ ประธานกรรมการ
(๒ รองนายกองคกรปกครองสวนทองถ่ินน้นั ทุกคน กรรมการ
(๓ สมาชกิ สภาทองถนิ่ ทสี่ ภาทองถน่ิ คัดเลือกจาํ นวนสามคน กรรมการ
(๔ ผทู รงคุณวฒุ ทิ ผี่ บู ริหารทอ งถิ่นคดั เลือกจาํ นวนสามคน กรรมการ
(๕ ผแู ทนภาคราชการและ/หรอื รัฐวิสาหกจิ
ทผ่ี ูบรหิ ารทองถนิ่ คดั เลือกจาํ นวนไมน อยกวา สามคน กรรมการ
(๖ ผแู ทนประชาคมทอ งถิ่นทป่ี ระชาคมทองถ่ินคัดเลือก
จํานวนไมนอยกวา สามคนแตไ มเกินหกคน กรรมการ
(๗ ปลัดองคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ กรรมการและเลขานุการ
(๘ หัวหนาสวนการบริหารที่มีหนาท่จี ดั ทําแผน ผชู วยเลขานกุ าร
89กรรมการตาม (๓ (๔ (๕ และ (๖ ใหม วี าระอยใู นตาํ แหนง คราวละสป่ี  และอาจไดร บั การคดั เลอื กอีก
ก็ได

7 ขอ 4 นยิ ามคําวา “การเพิ่มเตมิ ”ยกเลกิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยการจดั ทําแผนพัฒนาขององคก รปกครองสวนทอ งถิ่น (ฉบบั ที่ 2
พ.ศ. ๒๕59
8 ขอ 4 นิยามคําวา “การเปล่ียนแปลง”ยกเลิกโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยการจัดทาํ แผนพฒั นาขององคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ (ฉบบั
ท่ี 2 พ.ศ. ๒๕59
9 ขอ 8 วรรคสอง แกไขเพ่มิ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทาํ แผนพัฒนาขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ (ฉบับท่ี 3 พ.ศ.

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~4~

หน้าท่ี 12

ประกอบดว ย ขอ ๙ ใหผูบริหารทองถิ่นแตงต้ังคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น

(๑ ปลัดองคกรปกครองสวนทอ งถิ่น ประธานกรรมการ
(๒ หัวหนา สวนการบริหารขององคก รปกครองสวนทองถิน่ กรรมการ
(๓ ผแู ทนประชาคมทอ งถ่นิ ท่ปี ระชาคมทองถิ่นคัดเลอื ก
จาํ นวนสามคน กรรมการ
(๔ หัวหนาสวนการบริหารที่มีหนา ท่จี ดั ทาํ แผน กรรมการและเลขานกุ าร
(๕ เจาหนาท่ีวิเคราะหน โยบายและแผน
หรอื พนกั งานสว นทองถิ่นท่ีผบู รหิ ารทองถิ่นมอบหมาย ผูช วยเลขานกุ าร
910กรรมการตาม (๓ ใหม วี าระอยใู นตําแหนงคราวละสป่ี และอาจไดร ับการคัดเลือกอกี กไ็ ด

ขอ ๑๐ คณะกรรมการพัฒนาทอ งถิน่ มอี าํ นาจหนาที่ ดังนี้
(๑ 11 กําหนดแนวทางการพฒั นาทอ งถิ่น โดยพิจารณาจาก

10

(ก อํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยเฉพาะอํานาจหนาท่ี ท่ีมี
ผลกระทบตอ ประโยชนส ุขของประชาชน เชน การปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การผังเมือง
(ข ภารกิจถายโอนตามกฎหมายกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจ
(ค ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ กลมุ จังหวดั และจังหวดั โดยใหเ นนดําเนินการ ใน
ยุทธศาสตรท ี่สําคัญและมผี ลตอประชาชนโดยตรง เชน การแกไขปญ หาความยากจน การปองกันและแกไขปญหา
ยาเสพติด
(ง กรอบนโยบาย ทิศท าง แนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขต
จงั หวัด
(จ นโยบายของผบู รหิ ารทอ งถ่ินทแ่ี ถลงตอสภาทอ งถิ่น
(ฉ แผน พฒั นาหมบู านหรอื แผนชุมชน
ในการนาํ ประเด็นขางตน มาจัดทําแผนพฒั นาทองถิน่ ใหองคก รปกครองสวนทอ งถิ่นคาํ นึงถงึ
สถานะทางการคลงั ของทอ งถน่ิ และความจําเปน เรง ดวนทตี่ อ งดําเนนิ การ มาประกอบการพจิ ารณาดวย
(๒ 1112รวมจัดทาํ รา งแผนพฒั นาทอ งถ่นิ เสนอแนะแนวทางการพฒั นา และการแกไขปญหา
เก่ยี วกบั การจัดทํารา งแผนพฒั นาทอ งถน่ิ
ในการจดั ทํารางแผนพัฒนาทอ งถ่นิ ใหองคก ารบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหาร
สวนตําบล เมืองพัทยา และองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นท่ีมีกฎหมายจัดต้ัง นําปญหาความตองการจาก
แผนพฒั นาหมูบานหรอื แผนชุมชน ทเ่ี กนิ ศกั ยภาพของหมบู า นหรือชุมชน ท่จี ะดําเนินการเองได มาพจิ ารณาบรรจุ
ไวใ นแผนพัฒนาทองถิ่น แตหากเกินศักยภาพของเทศบาล องคการบริหารสวนตําบล เมืองพัทยา และองคกร
ปกครองสว นทอ งถน่ิ อ่นื ที่มีกฎหมายจดั ตั้ง ใหเ สนอปญ หา ความตองการ ไปยงั องคการบรหิ ารสว นจังหวดั และให
องคการบริหารสว นจงั หวดั นาํ มาพิจารณาบรรจไุ วในแผนพัฒนาทอ งถิ่นขององคการบริหารสว นจังหวดั ตามอํานาจ
หนาที่

10ขอ 9 วรรคสองแกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพฒั นาขององคก รปกครองสวนทองถิน่ (ฉบับที่ 3 พ.ศ. ๒๕
61
11 ขอ10(1แกไขเพิ่มเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยการจัดทําแผนพฒั นาขององคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. ๒๕59
12 ขอ 10 (2แกไขเพมิ่ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยการจดั ทาํ แผนพัฒนาขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน (ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. ๒๕59

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~5~

หน้าที่ 13

ขอ ๑๑ คณะกรรมการสนบั สนุนการจดั ทําแผนพัฒนาทองถิ่น มีหนาที่จัดทํารางแผนพัฒนา
ทอ งถน่ิ ใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาทคี่ ณะกรรมการพฒั นาทองถิน่ กําหนด จัดทํารางแผนการดําเนินงาน
และจัดทาํ รา งขอกําหนดขอบขา ยและรายละเอียดของงานตามขอ ๑๙ (๑

ขอ ๑๒ การประชุมของคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทํา
แผนพฒั นาทอ งถิ่น คณะกรรมการติดตามและประเมนิ ผล คณะอนกุ รรมการ และคณะทาํ งาน ตองมีกรรมการมา
ประชมุ ไมน อยกวาก่ึงหน่งึ ของจาํ นวนกรรมการท้ังหมด แลวแตกรณจี ึงจะเปน องคประชุม

ใหประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือ
ไมอ าจปฏิบตั หิ นา ที่ได ใหก รรมการที่มาประชุมเลอื กกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในท่ีประชุม

การวนิ จิ ฉัยชีข้ าดของการประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหนึ่งในการ
ลงคะแนน ถาคะแนนเสยี งเทา กนั ใหประธานในทีป่ ระชมุ ออกเสียงเพิ่มขึ้นอกี เสียงหนง่ึ เปน เสียงช้ขี าด

หมวด ๒
ผูทรงคณุ วุฒิ

ขอ ๑๓ ผูทรงคุณวุฒิตองมีคุณสมบัติตาม (๑ และไมมีลักษณะตองหามตาม (๒ ถึง (๗
ดงั ตอไปน้ี

(๑ เปน ผมู คี วามรูค วามสามารถ ซ่ือสัตย สจุ รติ สามารถตรวจสอบพฤติกรรมได
(๒ เปนสมาชิกสภาทอ งถ่นิ หรือผูบรหิ ารทอ งถนิ่ นัน้
(๓ เปน พนกั งานหรือลกู จา งขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ นน้ั
(๔ เปนผมู สี วนไดเสยี ไมว า ทางตรงหรือทางออมในสัญญากับองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ี
ตนเปนกรรมการ
(๕ ติดยาเสพติดใหโทษ
(๖ เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ หนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
เพราะทุจรติ ตอหนา ที่หรอื ถอื วากระทําการทุจรติ และประพฤติมชิ อบในวงราชการ
(๗ ไดร บั โทษจําคุกโดยคาํ พพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ ใหจ าํ คุกตั้งแตสองปขึ้นไปและพนโทษมายังไมถึง
หาปน บั ถงึ วนั ทไี่ ดร ับแตงตง้ั ใหด าํ รงตาํ แหนงผทู รงคณุ วุฒิ เวน แตในความผดิ อนั ไดกระทําโดยประมาท

ขอ ๑๔1213 ผทู รงคณุ วฒุ มิ ีวาระอยูในตําแหนง คราวละสป่ี  และอาจไดร บั การคัดเลือกอกี ก็ได

ขอ ๑๕ ผูทรงคุณวุฒพิ นจากตําแหนง ดว ยเหตุใดเหตหุ น่ึง ดังตอ ไปนี้ ไม
(๑ ครบวาระการดาํ รงตําแหนง
(๒ ตาย
(๓ ลาออก โดยยืน่ หนังสอื ตอประธานกรรมการที่ตนดํารงตาํ แหนง
(๔ คณะกรรมการทผี่ ูท รงคุณวฒุ ดิ าํ รงตาํ แหนง อยเู ห็นวา มเี หตุอนั ควรและมมี ตจิ ํานวน
นอ ยกวาสองในสามใหอ อก
(๕ มีลกั ษณะตอ งหามตามขอ ๑๓

13 ขอ 14 แกไขเพิม่ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจดั ทําแผนพัฒนาขององคก รปกครองสวนทองถิ่น (ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. ๒๕61

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~6~ หน้าที่ 14
หมวด ๓
การจดั ทาํ แผนพัฒนาทองถน่ิ

ขอ ๑๖ 14 (ยกเลกิ
13

ขอ ๑๗1415การจดั ทาํ แผนพฒั นาทองถ่ิน ใหด าํ เนินการตามขัน้ ตอน ดงั น้ี
(๑ คณะกรรมการพฒั นาทอ งถ่ินจดั ประชมุ ประชาคมทอ งถ่นิ สวนราชการ และรฐั วิสาหกิจท่ี
เก่ียวของ เพ่ือแจงแนวทางการพัฒนาทองถ่ิน รบั ทราบปญ หา ความตองการ ประเด็นการพัฒนา และประเด็นท่ี
เก่ยี วขอ งตลอดจนความชว ยเหลือทางวชิ าการ และแนวทางปฏบิ ตั ทิ ่ีเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เพ่ือนํามากําหนด
แนวทางการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น โดยใหนําขอมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาจากหนวยงานตางๆ และขอมูลใน
แผนพฒั นาหมูบ านหรอื แผนชมุ ชน มาพิจารณาประกอบการจัดทาํ แผนพฒั นาทองถ่นิ
(๒ คณะกรรมการสนบั สนนุ การจัดทาํ แผนพฒั นาทอ งถนิ่ รวบรวมแนวทางและนําขอ มูลมา
วิเคราะหเ พอื่ จดั ทํารางแผนพฒั นาทอ งถ่ิน แลว เสนอคณะกรรมการพัฒนาทอ งถิน่
(๓ คณะกรรมการพัฒนาทอ งถ่ินพจิ ารณารา งแผนพฒั นาทอ งถ่ินเพ่ือเสนอผบู รหิ ารทอ งถน่ิ
(๔ ผบู รหิ ารทอ งถิ่นพจิ ารณาอนมุ ัตริ างแผนพัฒนาทอ งถนิ่ และประกาศใชแผนพฒั นาทองถ่ิน
เพือ่ ใหเปน ไปตามกฎหมายวา ดว ยสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล สําหรับองคการ
บริหารสว นตาํ บลใหผูบริหารทองถ่ินเสนอรางแผนพัฒนาทองถ่ินตอสภาองคการบริหารสวนตําบลเพื่อใหความ
เห็นชอบกอ นแลวผบู รหิ ารทอ งถิ่นจงึ พจิ ารณาอนุมัติและประกาศใช แผนพัฒนาทองถิน่ ตอไป

ขอ ๑๘1516แผนพัฒนาทองถ่ิน กรณีเทศบาล องคการบริหารสวนตําบล เมืองพัทยา และ
องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ อน่ื ทีม่ ีกฎหมายจดั ตั้ง ใหจ ัดทําหรือทบทวนใหแลว เสรจ็ ภายในเดือนตุลาคม กอน
ปง บประมาณถดั ไป

กรณีองคก ารบริหารสว นจงั หวัด ใหจัดทําหรือทบทวนใหแลวเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน
กอ นปง บประมาณถัดไป

ใหนายอําเภอมีอํานาจขยายเวลาการจัดทําหรือทบทวนแผนพัฒนาทองถิ่นขององคการ
บรหิ ารสวนตําบล

นอกจากวรรคสามใหผวู าราชการจงั หวดั มีอํานาจขยายเวลาการจดั ทําหรอื ทบทวนแผนพฒั นา
ทอ งถ่นิ

ในกรณีเทศบาลตาํ บลผวู าราชการจงั หวัดอาจมอบอาํ นาจใหน ายอาํ เภอก็ได
ในกรณีมีการขยายเวลาการจดั ทาํ หรอื ทบทวนแผนพัฒนาทอ งถน่ิ ตามวรรคสาม วรรคส่ี และ
วรรคหา ใหจ งั หวัดแจงใหก ระทรวงมหาดไทยทราบ

ขอ ๑๙ องคกรปกครองสวนทองถ่ินอาจมอบใหหนวยงานหรือบุคคลภายนอกจัดทํา หรือ
รว มจดั ทาํ รางแผนพัฒนาทอ งถ่ินได โดยมขี ัน้ ตอนการดาํ เนนิ การ ดังน้ี

14 ขอ 16 ยกเลกิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพฒั นาขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน (ฉบับท่ี 2 พ.ศ. ๒๕59
15 ขอ 17 แกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการจัดทาํ แผนพฒั นาขององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. ๒๕59
16 ขอ 16 แกไ ขเพิ่มเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการจัดทาํ แผนพัฒนาขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบับท่ี 2 พ.ศ. ๒๕59

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~7~

หน้าท่ี 15

(๑ คณะกรรมการสนับสนนุ การจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นจัดทํารางขอกําหนดขอบขายและ
รายละเอียดของงานท่ีจะมอบหมายใหห นว ยงานหรอื บคุ คลภายนอกดําเนินการ เพ่ือเสนอคณะกรรมการ พัฒนา
ทองถ่ิน

(๒ คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นพิจารณาใหความเห็นชอบรางขอกําหนดขอบขายและ
รายละเอียดของงานแลว เสนอผูบริหารทอ งถิ่น

(๓ ผบู รหิ ารทองถิ่นพิจารณาอนมุ ัติขอ กาํ หนดขอบขา ยและรายละเอียดของงาน
ขอ ๒๐ ใหหนวยงานหรือบุคคลภายนอกท่ีจัดทําหรือรวมจัดทํารางแผนพัฒนาทองถ่ิน
ดําเนินการ ตามขั้นตอนและวธิ กี ารจดั ทํารา งแผนพฒั นาทองถ่ินตามระเบยี บนี้

หมวด ๔
การแกไ ข การเพม่ิ เตมิ หรอื การเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาทองถิ่น

ขอ ๒๑ การแกไ ขแผนพัฒนาทอ งถ่นิ เปนอาํ นาจของผบู รหิ ารทองถิ่น
1617เม่ือผบู ริหารทอ งถิ่นไดเ หน็ ชอบแผนพฒั นาทอ งถ่นิ ท่แี กไ ขแลว ใหปดประกาศ ใหป ระชาชน
ทราบโดยเปด เผยไมนอยกวา สามลบิ วนั นับแตวันที่ผูบ รหิ ารทองถิ่นเห็นชอบ พรอ มทง้ั แจง สภาทองถน่ิ อาํ เภอ และ
จังหวัดทราบดว ย”
ขอ ๒๒1718เพ่ือประโยชนของประชาชน การเพิ่มเติมแผนพัฒนาทองถ่ิน ใหองคกรปกครอง
สวนทอ งถ่นิ ดําเนินการตามขัน้ ตอน ดังน้ี
(๑ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นจัดทํารางแผนพัฒนาทองถ่ินที่
เพมิ่ เตมิ พรอมเหตผุ ลและความจาํ เปน เสนอคณะกรรมการพัฒนาทอ งถ่ิน
(๒ คณะกรรมการพัฒนาทองถ่ินและประชาคมทองถ่ินพิจารณารางแผนพัฒนาทองถ่ินท่ี
เพ่มิ เติม สาํ หรับองคการบริหารสว นตาํ บลใหส ง รางแผนพัฒนาทองถ่นิ ทเี่ พ่ิมเติม ใหส ภาองคการบรหิ ารสว นตาํ บล
พจิ ารณาตามมาตรา ๔๖ แหง พระราชบญั ญตั สิ ภาตาํ บลและองคก ารบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ ดวย
เม่อื แผนพัฒนาทอ งถ่ินที่เพิ่มเติมไดรับความเห็นชอบแลว ใหสงแผนพัฒนาทองถ่ินดังกลาว
ใหผบู รหิ ารทองถน่ิ ประกาศใช พรอ มท้ังปดประกาศใหประชาชนทราบโดยเปด เผยไมนอยกวาสามลิบวัน นับ
แตว ันทผ่ี ูบ รหิ ารทองถ่นิ ประกาศใช
ขอ ๒๒/๑1819 เพ่ือประโยชนของประซาซน การเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาทองถิ่น ใหเปน
อํานาจ ของคณะกรรมการพัฒนาทองถ่ิน สําหรับองคการบริหารสวนตําบลใหสงรางแผนพัฒนาทองถิ่นท่ี
เปล่ยี นแปลงใหส ภาองคการบรหิ ารสว นตําบลพิจารณาตามมาตรา ๔๖ แหง พระราชบญั ญัติสภาตาํ บลและองคการ
บริหารสวนตาํ บล พ.ศ. ๒๕๓๗ ดว ย
เม่ือแผนพัฒนาทองถ่ินตามวรรคหน่ึงไดรับความเห็นชอบแลว ใหสงแผนพัฒนาทองถิ่น
ดงั กลาว ใหผบู รหิ ารทอ งถิ่นประกาศใช พรอมทั้งปดประกาศใหป ระซาซนทราบโดยเปด เผยไมน อยกวาสามสิบวัน
นบั แตวันท่ผี ูบริหารทองถ่นิ ประกาศใช

17 ขอ 21 วรรคสองแกไขเพมิ่ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพฒั นาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (ฉบับที่ 3 พ.ศ.
๒๕61
18 ขอ 22 แกไขเพิม่ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการจัดทําแผนพัฒนาขององคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน (ฉบับท่ี 3 พ.ศ. ๒๕61
19 ขอ 22/1 เพม่ิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพฒั นาขององคก รปกครองสว นทองถนิ่ (ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. ๒๕61

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~8~

หน้าที่ 16

ขอ ๒๒/๒1920 ในกรณีการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาทองถ่ินที่เกี่ยวกับโครงการ
พระราชดาํ ริ งานพระราชพิธี รัฐพิธี นโยบายรฐั บาล และนโยบายกระทรวงมหาดไทย ใหเปนอํานาจของผูบริหาร
ทองถิ่น สําหรับองคการบรหิ ารสวนตาํ บลใหส ง รางแผนพัฒนาทอ งถ่ินท่ีเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงใหสภาองคการ
บริหารสว นตําบลพจิ ารณาตามมาตรา ๔๖ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบล และองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.
๒๕๓๗ ดวย และเมือ่ แผนพฒั นาทองถิ่นท่เี พม่ิ เตมิ หรอื เปลย่ี นแปลงไดรับความเห็นชอบแลว ใหปดประกาศใหประ
ซาซนทราบโดยเปดเผยไมน อยกวาสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับความเห็นชอบ การเพ่ิมเติมหรือเปลี่ยนแปลง
แผนพฒั นาทองถนิ่ ดังกลา ว

ขอ ๒๓ 21 (ยกเลิก
20

หมวด ๕
การนาํ แผนพฒั นาทอ งถิ่นไปปฏิบตั ิ

ขอ ๒๔ ใหผูบริหารทองถิ่นประกาศใชแผนพัฒนาทองถิ่นที่อนุมัติแลว และนําไปปฏิบัติ
รวมทัง้ แจงสภาทอ งถ่นิ คณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวดั แบบบูรณาการ องคการบริหารสวนจังหวดั อําเภอ
หนว ยงานที่เกย่ี วขอ ง และประกาศใหประชาชนในทองถิน่ ทราบโดยท่ัวกันภายในสิบหาวันนับแตวันท่ีประกาศใช
และปดประกาศโดยเปด เผยไมนอยกวา สามสบิ วนั

ขอ ๒๕2122ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินใชแผนพัฒนาทองถิ่นเปนกรอบในการจัดทํา
งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณรายจายเพิ่มเติม และงบประมาณจากเงินสะสมในชวงของแผนนั้น
รวมทั้งวางแนวทางเพอื่ ใหม กี ารปฏบิ ัติใหบ รรลวุ ตั ถุประสงคต ามโครงการพัฒนาท่ีกําหนดไวใ นแผนพัฒนาทอ งถ่ิน

ขอ ๒๖ การจัดทาํ แผนการดําเนนิ งานใหดําเนินการตามระเบียบนี้ โดยมีข้ันตอนดําเนินการ
ดงั น้ี

(๑ คณะกรรมการสนับสนุนการจดั ทําแผนพัฒนาทองถ่ินรวบรวมแผนงาน โครงการพัฒนา
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจและหนวยงานอื่นๆ ที่
ดําเนินการในพ้ืนทขี่ ององคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน แลว จดั ทาํ รา งแผนการดําเนินงาน เสนอคณะกรรมการพัฒนา
ทอ งถิ่น

(๒ คณะกรรมการพัฒนาทอ งถิ่นพจิ ารณารางแผนการดาํ เนินงาน แลวเสนอผูบริหารทองถิ่น
ประกาศเปนแผนการดําเนินงาน ท้ังน้ีใหปดประกาศแผนการดําเนินงานภายในสิบหาวันนับแตวันที่ประกาศ
เพื่อใหป ระชาชนในทอ งถนิ่ ทราบโดยทวั่ กนั และตอ งปด ประกาศไวอยา งนอ ยสามสบิ วัน

ขอ ๒๗ 2223แผนการดาํ เนินงานใหจัดทําใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันท่ีประกาศใช
งบประมาณรายจายประจาํ ป งบประมาณรายจา ยเพิ่มเติม งบประมาณจากเงินสะสม หรือไดรบั แจง แผนงานและ
โครงการจากหนวยราชการสว นกลาง สว นภูมภิ าค รัฐวสิ าหกจิ หรอื หนว ยงานอน่ื ๆ ทีต่ อ งดาํ เนินการ ในพ้ืนที่
องคกรปกครองสวนทองถ่นิ ในปงบประมาณนัน้

20 ขอ้ 222/2 เพม่ิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการจดั ทาํ แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. ๒๕61
21 ขอ้ 23 ยกเลิกโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการจดั ทาํ แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. ๒๕59
22 ขอ้ 25 แกไ้ ขเพ่มิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการจดั ทาํ แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. ๒๕59
23 ขอ้ 27 แกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการจดั ทาํ แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. ๒๕59

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~9~

หน้าที่ 17

การขยายเวลาการจัดทาํ และการแกไขแผนการดาํ เนนิ งานเปนอํานาจของผบู รหิ ารทองถิ่น
หมวด ๖

การติดตามและประเมนิ ผลแผนพัฒนาทอ งถ่ิน

ขอ ๒๘ ใหผ บู ริหารทองถิน่ แตง ตง้ั คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาทองถ่ิน
ประกอบดว ย

(๑ สมาชิกสภาทอ งถ่นิ ท่ีสภาทองถนิ่ คดั เลือกจํานวนสามคน
(๒ ผูแทนประชาคมทอ งถิ่นที่ประชาคมทอ งถน่ิ คัดเลอื กจาํ นวนสองคน
(๓ ผูแ ทนหนว ยงานทเ่ี ก่ียวขอ งทผ่ี ูบริหารทองถิ่นคดั เลอื กจาํ นวนสองคน
(๔ หัวหนา สวนการบริหารที่คัดเลือกคนั เองจาํ นวนสองคน
(๕ ผทู รงคุณวุฒิที่ผ,ู บริหารทองถ่นิ คัดเลือกจํานวนสองคน
โดยใหคณะกรรมการเลือกกรรมการหนงึ่ คนทําหนาท่ีประธานคณะกรรมการ และกรรมการ
อีกหนึ่งคนทําหนาทีเ่ ลขานกุ ารของคณะกรรมการ
2324กรรมการตาม (1 (2 (3 (4 และ (5 ใหมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสี่ปและอาจ
ไดร ับการคดั เลอื กอกี ก็ได

ขอ ๒๙ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพฒั นาทอ งถิ่นมอี ํานาจหนา ท่ี ดังนี้
(๑ กําหนดแนวทาง วิธกี ารในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
(๒ ดาํ เนินการติดตามและประเมินผลแผนพฒั นา
(๓ 25 รายงานผลและเสนอความเหน็ ซงึ่ ไดจ ากการตดิ ตามและประเมินผลแผนพฒั นาทอ งถิ่น

24

ตอผูบริหารทองถิ่น เพ่ือใหผูบริหารทองถ่ินเสนอตอสภาทองถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาทองถ่ิน พรอมท้ัง
ประกาศผลการตดิ ตามและประเมินผลแผนพฒั นาทอ งถิ่นใหป ระชาชนในทอ งถ่ินทราบ ในท่ีเปดเผยภายในสิบหา
วนั นับแตวันรายงานผลและเสนอความเหน็ ดังกลา ว และตอ งปด ประกาศไวเปนระยะเวลาไมนอยกวาสามสิบวัน
โดยอยา งนอ ยปละหนงึ่ ครงั้ ภายในเดือนธันวาคมของทกุ ป
(๔ แตงต้งั คณะอนุกรรมการหรือคณะทาํ งานเพ่อื ชวยปฏบิ ัติงานตามทเ่ี หน็ สมควร

ขอ ๓๐ องคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจมอบใหหนวยงานหรือบุคคลภายนอกดําเนินการ
หรอื รว มดําเนินการตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาทอ งถนิ่ ได โดยมีข้นั ตอนดําเนินการ ดังน้ี

(๑ คณะกรรมการตดิ ตามและประเมินผลแผนพัฒนาทองถ่ินจัดทํารางขอกําหนด ขอบขาย
และรายละเอยี ดของงานท่จี ะมอบหมายใหห นวยงานหรอื บคุ คลภายนอกดําเนนิ การ เพอื่ เสนอผบู ริหารทองถิ่น

(๒ ผบู ริหารทอ งถิ่นพจิ ารณาอนุมตั ขิ อกําหนด ขอบขา ยและรายละเอยี ดของงาน
(๓ หนวยงานหรอื บคุ คลภายนอกดาํ เนินการหรือรว มดาํ เนนิ การติดตามและประเมินผล
(๔ ใหหนว ยงานหรอื บุคคลภายนอกทดี่ าํ เนินการหรือรว มดาํ เนนิ การติดตามและประเมินผล
รายงานผลการดําเนินการซ่ึงไดจากการติดตามและประเมินผลตอคณะกรรมการติดตามและประเมินผล เพ่ือ

24 ขอ 28 วรรคสาม แกไขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการจดั ทําแผนพฒั นาขององคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.
๒๕61
25 ขอ 29 (3 แกไ ขเพมิ่ เติม โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจดั ทําแผนพฒั นาขององคกรปกครองสว นทอ งถิ่น (ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. ๒๕
61

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 10 ~

หน้าที่ 18

ประเมินผลการรายงานผล เสนอความเหน็ ตอ ผบู ริหารทอ งถนิ่
(๕ 26 ผูบรหิ ารทอ งถนิ่ เสนอผลการติดตามและประเมนิ ผลตอสภาทองถ่ิน และคณะกรรมการ

25

พฒั นาทองถิ่น พรอมทงั้ ประกาศผลการติดตามและประเมนิ ผลแผนพัฒนาทองถิ่น ใหประชาชนในทองถิ่นทราบ
ในท่ีเปดเผยภายในสบิ หาวนั นบั แตว ันทผี่ ูบรหิ ารทองถนิ่ เสนอผลการตดิ ตาม และประเมินผลดังกลาว และตอง
ปด ประกาศไวเ ปน ระยะเวลาไมนอ ยกวา สามสบิ วนั โดยอยา งนอยปละหน่งึ ครั้งภายในเดอื นธนั วาคมของทุกป
ขอ ๓๑ เพ่ือประโยชนของประชาชนโดยสวนรวมและเพ่ือใหการบริหารงานขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นสอดคลองกับแนวนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทยอาจจัดใหมีการติดตามและ
ประเมินผลการดําเนนิ งานตามแผนพัฒนาขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ ไดตามความเหมาะสม

บทเฉพาะกาล

ขอ ๓๒ แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนา แผนพัฒนาสามปแ ละแผนปฏิบตั ิการ ที่มีอยเู ติมกอ นวันท่ี
ระเบยี บนีม้ ผี ลในการประกาศใช ใหมีผลใชไ ดต อไป

[คําวา “แผนพัฒนาทอ งถิน่ ” แกไขเพ่ิมเติมโดย ขอ 3 แหงระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา
ดว ยการจัดทําแผนพฒั นาขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ (ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. ๒๕61]

ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๘
สมชาย สุนทรวฒั น

รัฐมนตรชี วยวา การฯ ปฏบิ ัตริ าชการแทน
รัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย

2627ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยการจัดทําแผนพฒั นาขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน (ฉบับท่ี 2 พ.ศ. ๒๕
59

ขอ ๒ ระเบียบน้ใี หใชบังคบั ต้ังแตว ันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน ตน ไป
ขอ ๑๕ แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนา แผนพัฒนาสามป แผนการดําเนินงาน การติดตาม และ
ประเมินผลแผนพัฒนาท่ีมีอยูเดิมหรือดําเนินการกอนวันท่ีระเบียบนี้มีผลใชบังคับ ใหมีผลใชบังคับใชไดตอไป
จนกวาจะมีแผนพฒั นาทอ งถน่ิ สป่ี 

26 ขอ 30 (5 แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจดั ทําแผนพัฒนาขององคก รปกครองสวนทองถิ่น (ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. ๒๕
61
27 ราชกิจจานุเบกษา เลม 133/ตอนพิเศษ 218 ง/หนา 3/28 กนั ยายน 2559

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 11 ~

หน้าที่ 19

2728ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยการจดั ทาํ แผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (ฉบับท่ี 3พ.ศ. ๒๕
61

ขอ ๒ ระเบยี บนใี้ หใชบ ังคบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน ตนไป

ขอ ๓ ใหแกไขคําวา “แผนพัฒนาทองถิ่นสี่ป” เปน “แผนพัฒนาทองถิ่น” และแกไขคําวา
แผนพฒั นา” เปน “แผนพฒั นาทอ งถิ่น” ในระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแกไขเพ่มิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนา
ขององคก รปกครองสวนทอ งถิน่ (ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๙ ทุกแหง

28 ราชกิจจานุเบกษา เลม 135/ตอนพิเศษ 246 ง/หนา 1/3 ตุลาคม 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~1~ หน้าท่ี 20

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วา ดว ยการรบั เงนิ การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน
และการตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ พ.ศ. ๒๕๔๗ แกไ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่ ๒
พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๕๘ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
----------------------------------------------------
โดยทเี่ ปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การ
เบิกจา ยเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
บริหารงานดา นการเงินเปนแนวทางเดียวกัน
อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗๖ แหงพระราชบัญญัติองคการ
บริหารสวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แหงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.
๒๔๙๖มาตรา ๕ และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล
พ.ศ. ๒๕๓๗รัฐมนตรวี าการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบยี บไว ดังตอ ไปนี้
ขอ ๑ ระเบยี บน้ีเรยี กวา “ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิก
จายเงินการฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ.
๒๕๔๗”
ขอ ๒1 ระเบยี บนใ้ี หใ ชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน
ตน ไป 0

ขอ ๓ ใหยกเลิก
(๑) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน
การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององคกรปกครองสว นทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๑
(๒) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน
การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสว นทองถนิ่ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓
ขอ ๔ ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการใหเปนไปตามระเบียบนี้ และใหมี
อํานาจตีความวินิจฉัยปญหา กําหนดหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติ เพ่ือดําเนินการใหเปนไปตาม
ระเบยี บนี้
ในกรณที ี่องคกรปกครองสวนทองถิ่นไมสามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได ใหขอทํา
ความตกลงกบั ปลดั กระทรวงมหาดไทยกอนการปฏบิ ตั ิ
ปลดั กระทรวงมหาดไทย อาจมอบอํานาจตามวรรคสองใหอธิบดีกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถน่ิ หรอื ผวู าราชการจงั หวัดก็ได
หมวด ๑
ขอความทว่ั ไป
--------------------------------

1 ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 122 /ตอนพิเศษ 9 ง /หนา 25/31 มกราคม 2548

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~2~ หน้าท่ี 21

ขอ ๕ ในระเบียบนี้
(๑)2 “องคกรปกครองสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวนจังหวัด
เทศบาล องคการบริหารสวนตาํ บล รวมทั้งกิจการพาณิชยขององคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ ดวย
(๒)3 “สภาทองถนิ่ ” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล
และสภาองคการบรหิ ารสวนตําบล
(๓)4 “ผูบริหารทองถ่ิน” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
นายกเทศมนตรีคณะเทศมนตรี และนายกองคก ารบริหารสว นตาํ บล
(๔)5 “ผชู ว ยผูบรหิ ารทองถน่ิ ” หมายความวา รองนายกองคการบรหิ ารสวนจังหวัด
รองนายกเทศมนตรี และรองนายกองคการบริหารสว นตําบล
(๕)6 “ปลดั องคกรปกครองสวนทองถิ่น” หมายความวา ปลัดองคการบริหารสวน
จังหวัด ปลัดเทศบาลและปลัดองคก ารบริหารสวนตําบล
(๖)7 “พนักงานสวนทอ งถ่นิ ” หมายความวา ขาราชการองคการบริหารสวนจงั หวัด
พนักงานเทศบาลและพนกั งานสวนตาํ บล
(๗) “หนวยงาน” หมายความวา สํานัก กอง สวน ฝาย ตามโครงสรางขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน แตละรูปแบบ หรือหนวยงานท่ีมีงบเฉพาะการ หรือหนวยงานท่ีไดแยก
ออกไปทาํ การรับจา ยและเก็บรกั ษาเงนิ
(๘) “ผูเบิก” หมายความวา หนวยงานที่ไดรับงบประมาณท่ัวไปและงบประมาณ
เฉพาะการรวมท้งั เงินนอกงบประมาณดว ย
(๙) “หนวยงานคลัง” หมายความวา หนวยงานท่ีมีหนาท่ีเก่ียวกับการรับเงิน การ
เบิกจา ยเงิน การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ ตามระเบียบนี้
(๑๐) “หัวหนาหนวยงานคลัง” หมายความวา หัวหนาหนวยงาน ซ่ึงมีหนาท่ี
เกี่ยวกับการรับเงินการเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน หรืองานเก่ียวกับการเงินการ
บัญชี ตามท่ีกําหนดไวในระเบียบนี้ และใหหมายความรวมถึงหัวหนาหนวยงานท่ีมีงบเฉพาะการ
หรือหนว ยงานทีไ่ ดแยกไปทาํ การรับจา ยและเก็บรกั ษาเงนิ ตา งหากจากหนวยงานคลงั

2 ขอ 5 (1 แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจ
เงินขององคกรปกครองสว นทอ งถ่ิน (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2558
3 ขอ 5 (2) แกไขเพมิ่ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงิน การฝากเงิน การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสว นทอ งถิน่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558
4 ขอ 5 (3) แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสว นทอ งถิ่น (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2558
5 ขอ 5 (4) แกไขเพ่ิมเตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558
6 ขอ 5 (5) แกไขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการรบั เงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558
7 ขอ 5 (6) แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงิน การเบิกจายเงนิ การฝากเงิน การเก็บรักษาเงนิ และการตรวจเงนิ
ขององคก รปกครองสว นทองถนิ่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~3~ หน้าท่ี 22

(๑๑) “เจาหนาที่” หมายความวา ผูท่ีมีหนาท่ีรับจายเงินและใหรวมถึงผูซ่ึงไดรับ
มอบหมายใหม หี นาท่ีรบั จา ยเงินดวย

(๑๒) “ตนู ริ ภยั ” หมายความรวมถงึ กาํ ปน หรือตูเหล็กหรอื หีบเหลก็ อันมั่นคง ซ่ึงใช
สาํ หรบั เกบ็ รกั ษาเงนิ ขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน

(๑๓) “หีบหอ” หมายความวา หีบ หรือถุง หรือภาชนะอ่ืนใด ซึ่งใชสําหรับบรรจุ
เงนิ เพอ่ื ฝากเก็บรักษาไวในตูนิรภัยในลักษณะหีบหอ หรือสําหรับบรรจุเงินเพ่ือนําสง หรือนําฝาก
สวนราชการ หรือบรรจุเงินที่ขอเบิกคืนจากตูนิรภัยของสวนราชการหรือองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น

(๑๔) “อนุมัติฎีกา” หมายความวา อนุญาตใหจายเงินจากองคกรปกครองสวน
ทองถ่นิ

(๑๕) “หลกั ฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแก
ผรู บั หรอื เจาหนต้ี ามขอผกู พันแลว

(16)8 “ใบสําคัญคูจาย” หมายความวา หลักฐานการจายเงินที่เปน
ใบเสร็จรับเงิน หลักฐาน ของธนาคารแสดงการจายเงินแกเจาหน้ี หลักฐานการนําเงินเขาบัญชี
เงินฝากของผรู ับทีธ่ นาคาร หรอื หลกั ฐานอ่นื ใดท่ีแสดงการจายเงนิ ใหแกผูรับเงนิ หรือเจาหนี้ และ
ใหรวมถึงใบนาํ สง เงินตอหนวยงานคลังดว ย

(17)9 “เงินรายรับ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น
จดั เก็บหรอื ไดร บั ไวเปนกรรมสิทธิต์ ามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรม และเงิน
อุดหนุนจากรัฐบาล ที่นําฝากบัญชีเงินฝากกระทรวงการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ตลอดจนเงนิ อดุ หนนุ ทีก่ ระทรวงการคลงั เปนผูจา ยเงินแทนองคกรปกครองสว นทองถน่ิ

(๑๘) “เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินท้ังปวงที่อยูในความรับผิดชอบ
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน เวนแตเงินท่ีปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินท่ีรัฐบาล
อุดหนนุ ใหอ งคก รปกครองสว นทองถิน่ โดยระบวุ ตั ถปุ ระสงค

(19)10 “รายงานสถานะการเงนิ ประจําวัน” หมายความรวมถึง ยอดเงินรับและ
จายในแตละวัน รวมถึงยอดเงนิ ท่ฝี ากธนาคาร

8 ขอ 5 (16) แกไขเพิ่มเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบกิ จายเงิน การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจ
เงินขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2561
9 ขอ 5 (17) แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจ
เงินขององคกรปกครองสวนทองถนิ่ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2561
10 ขอ 5 (19) แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจ
เงนิ ขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~4~ หน้าที่ 23

(20)11 “เงนิ ยมื ” หมายความวา เงนิ งบประมาณหรอื เงินนอกงบประมาณ หรือ
เงินอดุ หนุน ทรี่ ฐั บาลใหองคก รปกครองสวนทองถิ่น โดยท่ีมิตองจัดทําขอบัญญัติหรือเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจาย ประจําปท ่ีองคกรปกครองสว นทองถิ่นจา ยใหแ กบุคคลใดยืมเพอ่ื เปน คา ใชจาย
ในการเดนิ ทางไปราชการ หรอื ปฏิบตั ิราชการอน่ื ใด
(21)12 “แผนพัฒนา” หมายความวา แผนพัฒนาทองถ่ินขององคกรปกครอง
สว นทอ งถ่นิ หรอื ตามท่กี ฎหมายกําหนด
(๒๒) “แผนการใชจายเงิน” หมายความวา แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงิน
ของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหน่ึง ซ่ึงหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง ทุก
ระยะสามเดือน
(23)13 “ทนุ สํารองเงินสะสม” หมายความวา ยอดเงินสะสมจํานวนรอยละสิบหา
ของยอดเงินสะสม ประจําทกุ ส้ินปงบประมาณ เพ่ือรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น
(๒๔) “เงนิ สะสม” หมายความวา เงินท่ีเหลือจายจากเงินรายรับตามงบประมาณ
รายจา ยประจาํ ปและหรืองบประมาณรายจายเพิ่มเติม และใหหมายความรวมถึงเงินรายรับอ่ืนท่ี
องคก รปกครองสว นทองถนิ่ ไดร บั ไวภ ายในวนั สน้ิ ปงบประมาณหลังจากทีไ่ ดหักทุนสํารองเงินสะสม
ไวแ ลว และรวมทงั้ เงนิ สะสมปก อ น ๆ ดวย
(๒๕) “หนี้สญู ” หมายความวา หน้ที ี่องคก รปกครองสวนทองถ่ินในฐานะเจาหนี้ไม
มที างที่จะไดรับชําระหนี้จากลกู หน้ไี ด
(๒๖) “ ป ” หมายความวา ปงบประมาณ
(๒๗) “นายอําเภอ” หมายความรวมถึง ปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจําก่ิงอําเภอ
ดวย
(28 14 “เวลาปดบัญชี” หมายความวา เวลาปดบัญชีรับจายเงินขององคกร

13

ปกครองสวนทองถ่ิน ทั้งน้ี ใหนําเวลาปดบัญชีรับจายเงินของกรมบัญชีกลางมาใชโดยอนุโลม
(29 15 “ระบบ” หมายความวา ระบบบัญชีคอมพิวเตอรขององคกรปกครอง

14

สวนทอ งถิ่น (Electronic Local Administrative Accounting System : e-LAAS)

11 ขอ 5 (20) แกไ ขเพิม่ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจ
เงนิ ขององคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2561
12 ขอ 5 (21) แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจ
เงนิ ขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2561
13 ขอ 5 (23) แกไ ขเพ่ิมเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจายเงิน การฝากเงนิ การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจ
เงนิ ขององคกรปกครองสวนทองถิน่ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2561
14 ขอ 5 (28 เพ่ิมเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทองถิ่น (ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2561
15 ขอ 5 (29 เพ่ิมเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงิน การเกบ็ รักษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~5~ หน้าท่ี 24

หมวด ๒
ขอ กําหนดในการรบั เงิน
-------------------------------
สวนท่ี ๑
การรบั เงนิ
----------------------------
ขอ ๖ 16 บรรดาแบบพิมพแ ละเอกสารใด ๆ ทใ่ี ชในการรับเงนิ การเบกิ จายเงิน การ
15
ฝากเงินการถอนเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
ตลอดจนแบบบัญชี ทะเบยี นและรายงานการเงิน ใหเ ปน ไปตามท่ีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
กําหนด เวนแตจ ะมีกฎหมายระเบยี บ ขอบงั คับกําหนดไวเปน อยา งอื่น
ขอ ๗ บรรดาเงนิ ทีอ่ งคก รปกครองสว นทอ งถิ่นไดรับไวเปนกรรมสิทธ์ิ ใหนําสงเปน
เงินรายไดทั้งส้ิน หามมิใหกันไวเปนเงินฝาก หรือเงินนอกงบประมาณ เวนแตจะมีกฎหมาย
ระเบียบขอบังคับ คาํ ส่ังหรือหนังสอื สงั่ การกระทรวงมหาดไทยกาํ หนดไวเ ปน อยา งอื่น
ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับในกรณีที่มีผูอุทิศใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
เปนการเฉพาะเจาะจงวาใหกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง หรือในกรณีท่ีองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นจัดหารายไดขึ้นเปนคร้ังคราวภายในขอบเขตอํานาจหนาท่ี เพื่อใชจายในกิจการอยางใด
อยางหนงึ่ โดยเฉพาะ
เงินรายไดที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดหาขึ้นเปนครั้งคราว หรือเงินที่มีผูอุทิศ
ใหต ามวรรคสองถา ไมไ ดกําหนดไวเปน อยา งอื่น หากมีเงินเหลือจา ย หรอื หมดความจาํ เปนท่ีจะตอง
ใชจ ายแลว ใหน าํ สง เปนรายไดข ององคก รปกครองสวนทองถนิ่
ขอ ๘ 17 การรับเงินใหรับเปนเงินสด สวนการรับเช็ค ดราฟด หรือตราสารอยาง
16
อ่นื หรือวธิ อี นื่ ใหป ฏิบัติตามวิธกี ารทกี่ รมสง เสรมิ การปกครองทองถ่นิ กาํ หนด
ขอ ๙ การรบั เงนิ ใหองคก รปกครองสวนทองถน่ิ ออกใบเสร็จรับเงินใหแกผูชําระเงิน
ทุกคร้ังเวนแตการรับเงินท่ีมีเอกสารขององคกรปกครองสวนทองถ่ินระบุจํานวนเงินท่ีชําระอันมี
ลกั ษณะเชน เดยี วกบั ใบเสรจ็ รบั เงนิ ซ่ึงเอกสารดงั กลาวจะตอ งมีการควบคุมจาํ นวนท่ีรับจายทํานอง
เดยี วกับใบเสร็จรบั เงนิ และการรับเงินตามฎีกาเบิกเงนิ จากหนว ยงานคลงั
ใหใ ชใ บเสร็จรบั เงนิ เลมเดียวกันรับเงินทุกประเภท เวนแต เงินประเภทใดมีการรับ
ชําระเปนประจําและมีจํานวนมากรายจะแยกใบเสร็จรับเงินเลมหนึ่งสําหรับการรับเงินประเภท
หนึ่งก็ได

16 ขอ 6 แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558
17 ขอ 8 แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรับเงิน การเบกิ จายเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทองถิน่ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~6~ หน้าที่ 25

ขอ 9/1 18 การรับเงินรายรับดังตอไปน้ี ใหใชหลักฐานการรับโอนเงิน หรือการ
17
นําฝากหรอื รายงานการจา ยเงินแทนของกระทรวงการคลัง แทนใบเสรจ็ รบั เงิน
(1 รายไดทีร่ ัฐจดั สรร หรอื อดุ หนุนใหแกอ งคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ
(2 ดอกเบีย้ เงินฝากธนาคาร
(3 เงนิ ทีก่ ระทรวงการคลังจายแทนองคก รปกครองสวนทองถิน่
ขอ 10 19 ใหหนวยงานคลังบันทึกรายการรับเงินในระบบภายในวันท่ีไดรับเงิน
18
หรือไดรับ หลักฐานตามขอ 9/1 โดยแสดงใหทราบวาไดรับเงินตามใบเสร็จรับเงิน ฎีกา หรือ
เอกสารอน่ื เลม ใด เลขท่ีใด จํานวนเทาใด หรือตามที่กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ินกําหนด
ในกรณีที่มีการรับเงินภายหลังกําหนดเวลาปดบัญชีสําหรับวันนั้นแลว ใหบันทึก
การรับเงนิ ในวันนั้นและเก็บเงนิ สดในตูนิรภยั
เงินประเภทใดมีใบเสร็จรับเงินวันหน่ึง ๆ หลายฉบับ จะรวมรับเงินประเภทนั้น
ตามสําเนา ใบเสร็จรบั เงนิ ทกุ ฉบบั มาบันทกึ ในบญั ชรี ายการเดียวกไ็ ด โดยแสดงใหทราบวาเปนเงิน
รับตามใบเสร็จรับเงิน เลขท่ีใด ถึงเลขท่ีใด จํานวนเงินรวมทั้งสิ้นเทาใด ไวดานหลังสําเนา
ใบเสร็จรบั เงินฉบบั สดุ ทา ย
ขอ ๑๑ เมอื่ สิ้นเวลารบั เงนิ ใหเจาหนาท่ีผูมีหนาท่ีจัดเก็บหรือรับชําระเงิน นําเงินท่ี
ไดร บั พรอมสําเนาใบเสร็จรบั เงิน และเอกสารอื่นท่ีจัดเก็บในวันน้ันท้ังหมดสงตอเจาหนาท่ีการเงิน
ขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ เพอื่ นาํ เงินฝากธนาคาร กรณีที่นําฝากธนาคารไมทันใหเก็บรักษา
ไวในตูนริ ภัย
ขอ 12 20 ใหหนวยงานคลังจัดใหมีการตรวจสอบจํานวนเงินที่เจาหนาท่ีจัดเก็บ
19
และนาํ สงกับหลักฐาน และรายการทบ่ี ันทึกไวในระบบ เม่ือไดตรวจสอบวาถูกตองครบถวนแลว
ใหผูตรวจแสดงยอดรวมเงินรับ ตามใบเสร็จรับเงินทุกฉบับท่ีไดรับในวันนั้นไวในสําเนา
ใบเสร็จรบั เงินฉบบั สดุ ทายและลงลายมือชื่อกํากับไวดวย
กรณีท่ีเปนการรับเงินตามขอ 9/1 ใหดําเนินการเชนเดียวกับ
วรรคหน่ึง
สวนที่ ๒
ใบเสรจ็ รบั เงนิ
-----------------------------
ขอ ๑๓ ใบเสรจ็ รับเงนิ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหมีสาระสําคัญอยางนอย
ดังตอ ไปน้ี

18 ขอ 9/1 เพมิ่ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบิกจายเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจเงนิ ของ
องคกรปกครองสว นทองถนิ่ (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
19 ขอ 10 แกไขเพิ่มเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงิน การเบิกจายเงนิ การฝากเงิน การเกบ็ รักษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
20 ขอ 12 แกไ ขเพิ่มเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงิน การเบกิ จายเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคก รปกครองสวนทองถ่ิน (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~7~ หน้าท่ี 26

(๑) ตราเครือ่ งหมายและชอื่ ขององคก รปกครองสวนทองถิ่น
(๒) เลมที่และเลขท่ีของใบเสร็จรับเงิน โดยใหพิมพหมายเลขกํากับเลมและ
หมายเลขกํากับ
เลขทีใ่ นใบเสรจ็ รับเงนิ เรียงกันไปทกุ ฉบบั
(๓) ทท่ี าํ การหรือสํานักงานท่อี อกใบเสร็จรบั เงิน
(๔) วนั เดอื น ป ท่รี บั เงนิ
(๕) ช่อื และช่อื สกุลของบคุ คลหรอื ชอ่ื นติ ิบคุ คลผูชําระเงนิ
(๖) รายการแสดงการรบั เงิน โดยระบุวา รับชําระเงินคาอะไร
(๗) จํานวนเงนิ ที่รบั ชาํ ระทั้งตวั เลขและตัวอกั ษร
(๘) ขอความระบุวา ไดมกี ารรับเงินไวเปนการถกู ตอ งแลว
(๙) ลายมือชื่อพรอมชอ่ื ในวงเล็บ และตาํ แหนง ผูรับเงนิ กาํ กบั อยางนอยหนึ่งคน
ใบเสร็จรบั เงินทกุ ฉบบั ใหมีสําเนาเยบ็ ติดไวกบั เลม อยางนอ ยหน่งึ ฉบบั
หากองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดประสงคจะพิมพใบเสร็จรับเงินดวยเคร่ือง
คอมพิวเตอรพิมพใบเสร็จรับเงินใหจัดทําไดโดยใหมีขนาดตามความเหมาะสมกับลักษณะงานที่
ปฏิบัติมีสําเนาอยางนอยหน่ึงฉบับ และใหมีสาระสําคัญตามวรรคหน่ึง พรอมทั้งใหกําหนดระบบ
วิธกี ารควบคุมการพมิ พใ บเสร็จรับเงิน รวมทง้ั การพิมพ เลมท่ี เลขที่ ใหร ัดกมุ
ขอ ๑๔ ใหหนวยงานคลังจัดทําทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินไวเพ่ือใหทราบ และ
ตรวจสอบไดวาไดจ ดั พิมพขึน้ จํานวนเทา ใด ไดจ า ยใบเสรจ็ รบั เงินเลมใด หมายเลขใดถงึ หมายเลขใด
ใหห นว ยงานใดหรอื เจา หนา ท่ผี ูใด ไปดาํ เนินการจัดเกบ็ เงินเมื่อวนั เดอื น ปใ ด
การจายใบเสร็จรับเงินใหหนวยงานใด หรือเจาหนา ท่ไี ปจัดเกบ็ เงิน ใหพ ิจารณาจาย
ใหในจํานวนท่ีเหมาะสมแกลักษณะงานท่ีปฏิบัติ และใหมีหลักฐานการรับสงใบเสร็จรับเงินน้ันไว
ดว ย
ขอ ๑๕ ใบเสร็จรับเงินเลมใด เมื่อไมมีความจําเปนตองใช เชน ยุบ เลิกสํานักงาน
หรอื ไมม กี ารจดั เกบ็ เงินตอ ไปอกี ใหห วั หนาหนว ยงานท่รี บั ใบเสรจ็ รับเงินนนั้ ไปนาํ สงคืนหนวยงานท่ี
จายใบเสร็จนนั้ โดยเร็ว
ขอ ๑๖ เม่อื สิ้นปใหหัวหนาหนวยงานที่รับใบเสร็จรับเงินไปดําเนินการจัดเก็บเงิน
แจงใหหัวหนาหนวยงานคลังทราบวา มีใบเสร็จรับเงินอยูในความรับผิดชอบเลมใด เลขท่ีใดถึง
เลขท่ใี ดและไดใชใบเสร็จรับเงินไปแลวเลมใด เลขท่ีใดถึงเลขที่ใด อยางชาไมเกินวันท่ีสามสิบเอ็ด
ตุลาคมของปถัดไป และใหหัวหนาหนวยงานคลังรวบรวมรายงานเสนอผานปลัดองคกรปกครอง
สว นทอ งถนิ่ เพ่ือนําเสนอผูบรหิ ารทองถนิ่ ทราบ
ขอ ๑๗ ใบเสร็จรับเงินเลมใดใชสําหรับรับเงินของปใด ใหใชรับเงินภายในปน้ัน
เทานั้น เม่ือข้ึนปใหมก็ใหใชใบเสร็จรับเงินเลมใหม ใบเสร็จรับเงินฉบับใดท่ียังไมใชใหคงติดไวกับ
เลม แตใ หป รเุ จาะรู หรือประทบั ตราเลกิ ใช เพ่อื ใหเปน ทสี่ ังเกตมใิ หนํามาใชร บั เงนิ ไดต อไป
ขอ ๑๘ ใบเสร็จรับเงินหามขูด ลบ แกไข เพ่ิมเติม จํานวนเงินหรือช่ือผูชําระเงิน
หากใบเสรจ็ รับเงินฉบบั ใดลงรายการรบั เงนิ ผดิ พลาด ก็ใหข ีดฆา จาํ นวนเงนิ และเขยี นใหมทั้งจํานวน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~8~ หน้าที่ 27

แลวใหผูร บั เงนิ ลงลายมอื ชือ่ กาํ กับการขีดฆานั้นไวดวย หรือขีดฆาเลิกใชใบเสร็จรับเงินนั้นทั้งฉบับ
และใหตดิ ไวก ับสาํ เนาใบเสรจ็ รับเงนิ ในเลม แลวออกใบเสร็จรบั เงินฉบับใหม
ขอ 19 21 ใหหนวยงานคลังเก็บรักษาสําเนาใบเสร็จรับเงินซ่ึงผูท่ีมีอํานาจ
20
ตรวจสอบยังมิไดต รวจสอบไวในทีป่ ลอดภยั อยาใหสูญหายหรือเสียหายได และเมื่อไดตรวจสอบ
แลวก็ใหเ ก็บไวอ ยางเอกสารธรรมดา
หมวด ๓
การเกบ็ รกั ษาเงนิ
------------------------------
สว นที่ ๑
สถานที่เกบ็ รกั ษา2122
--------------------------------------
ขอ 20 23 ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินเก็บรักษาเงินที่จัดเก็บหรือไดรับไวในตู
22
นริ ภัย ซง่ึ ตงั้ อยใู นทีป่ ลอดภยั ขององคกรปกครองสว นทอ งถ่ิน
ตนู ริ ภยั ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินใหติดหรือตั้งไวในหองมั่นคงหรือกรงเหล็ก
หรอื กรณี ไมม หี องมน่ั คงหรือกรงเหล็กใหติดหรือตั้งไวในที่มั่นคง และปลอดภัยภายในสํานักงาน
ขององคกรปกครอง สว นทองถิน่ นั้น
หากมีจาํ นวนเงนิ สดที่เก็บรักษาไวในตูนิรภัยตามวรรคหนึ่ง ใหนําฝากธนาคารท้ัง
จํานวน ในวันทําการถัดไป กรณีเทศบาลตําบลหรือองคการบริหารสวนตําบลที่มีพื้นที่หางไกล
การคมนาคม ไมสะดวกไมสามารถนําฝากธนาคารไดเปนประจําทุกวันใหเก็บรักษาเงินสดในตู
นิรภัยได และใหน าํ เงนิ สดดงั กลา วฝากธนาคารในวันทําการสดุ ทายของสัปดาห
กรณีทม่ี ีความจาํ เปนตองใหเ จาหนาทีไ่ ปจดั เกบ็ หรอื รับชําระเงินนอกท่ีต้ังสํานักงาน
ปกติ ใหผูบริหารทองถ่ินกําหนดวิธีการรับเงินและเก็บรักษาเงินใหรัดกุมและเหมาะสม เมื่อ
เดนิ ทางกลบั ถึง สํานกั งานใหรีบนําฝากทนั ที
ขอ ๒๑ ตูน ิรภัยใหม ีลูกกุญแจอยา งนอ ยสองดอก แตละดอกมีลักษณะตางกัน โดย
ใหกรรมการเก็บรกั ษาเงินถอื ลูกกญุ แจคนละดอก
ตูนิรภัยหน่ึง ๆ ใหมีลูกกุญแจอยางนอยสองสํารับ ใหกรรมการเก็บรักษาเงินเก็บ
รักษาหนึ่งสํารับนอกน้ันใหนําฝากเก็บรักษาในลกั ษณะหีบหอ ไวใ นตนู ิรภัยเก็บเงินของสวนราชการ
อ่ืนตามทเี่ หน็ สมควร
สว นที่ ๒

21 ขอ 19 แกไ ขเพ่ิมเตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงิน การเบิกจายเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รักษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทองถ่นิ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
22 ชอ่ื สว นที่ 1 ตนู ริ ภยั เกบ็ เงิน แกไขเปน “ สว นที่ 1 สถานทเ่ี ก็บรักษา” แกไ ขขอ ความโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน
การเบิกจายเงนิ การฝากเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององคกรปกครองสว นทอ งถิน่ (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561
23 ขอ 20 แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รักษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคก รปกครองสว นทอ งถิน่ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~9~ หน้าท่ี 28

กรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ
-------------------------------------------
ขอ 22 24 ใหผูบริหารทองถ่ินแตงต้งั คณะกรรมการเก็บรกั ษาเงนิ ไว ณ สํานักงาน
23
อยางนอยสามคน ในจํานวนน้ีใหหัวหนาหนวยงานคลังเปนกรรมการโดยตําแหนงหน่ึงคน และ
กรรมการเก็บรักษาเงนิ อ่นื อกี อยางนอ ยสองคน
การแตงต้ังกรรมการเก็บรักษาเงินตามวรรคหน่ึง ใหแตงต้ังจากพนักงานสวน
ทองถ่นิ โดยใหคํานึงถึง หนาที่ความรับผิดชอบ เวนแต องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีพนักงาน
สวนทองถิ่นไมครบจํานวน ที่จะแตงตั้งเปนกรรมการ ใหแตงตั้งผูชวยผูบริหารทองถ่ินเปน
กรรมการใหค รบจาํ นวนกไ็ ด
ขอ ๒๓ ใหก รรมการเก็บรักษาเงินเปนผูถือลูกกุญแจตูนิรภัย ในกรณีท่ีตูนิรภัยมีท่ี
ใสก ุญแจสามดอกและมีกรรมการสามคน ใหกรรมการถือกุญแจคนละหนึ่งดอก แตถาตูนิรภัยมีท่ี
ใสกุญแจสองดอกแตมีกรรมการสามคน กใ็ หก รรมการท่ีอาวุโสถือกญุ แจคนละหนงึ่ ดอก
ขอ ๒๔ กรรมการเก็บรักษาเงินผูใดไมสามารถปฏิบัติหนาที่กรรมการได ให
ผูบริหารทอ งถิ่นพิจารณาแตง ต้ังพนกั งานสว นทอ งถน่ิ หรอื ผูชว ยผบู ริหารทองถิ่น ตามขอ ๒๒ เปน
กรรมการแทนชั่วคราวใหครบจํานวน การแตงต้ังผูที่จะเปนกรรมการแทนจะแตงตั้งไวเปนการ
ประจําเพ่ือปฏิบตั ิหนา ทีแ่ ทนชั่วคราวก็ได
การปฏิบัติหนาท่ีกรรมการแทนตามวรรคหนึ่ง ตองสงมอบและรับมอบกุญแจ
ระหวางกรรมการผูที่ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่กรรมการแทนช่ัวคราว รวมทั้งตองตรวจนับตัว
เงินและหลกั ฐานแทนตวั เงินเกบ็ รักษาไวในตนู ิรภยั ใหถ กู ตอ งตามรายงานสถานะการเงินประจําวัน
แลวบันทึกการสงมอบและรับมอบพรอมกับลงลายมือชื่อกรรมการทุกคนไวในรายงานสถานะ
การเงินประจาํ วนั
หามมิใหกรรมการมอบลูกกุญแจใหผูอ่ืนทําหนาท่ีกรรมการแทน เวนแตเปนการ
มอบใหก รรมการซ่ึงไดร ับแตงตง้ั เปน กรรมการแทนช่วั คราว
ขอ ๒๕ กรรมการเก็บรักษาเงนิ ตอ งเก็บรกั ษาลกู กญุ แจไวใ นที่ปลอดภัย อยาใหสูญ
หายหรือใหผูใดลักลอบนําไปพิมพแบบลูกกุญแจได หากปรากฏวาลูกกุญแจสูญหาย หรือมีกรณี
สงสัยวาจะมีผูปลอมแปลงลูกกุญแจ ใหร บี รายงานผูบริหารทองถิ่นเพอื่ สั่งการโดยเรว็
สวนท่ี ๓
การเกบ็ รกั ษาเงนิ
----------------------------------
ขอ ๒๖ ใหห วั หนาหนวยงานคลังจัดทํารายงานสถานะการเงนิ ประจาํ วันตามแบบท่ี
กรมสง เสริมการปกครองทองถ่ินกาํ หนดเปน ประจําทกุ วันที่มีการรับจายเงิน หากวันใดไมมีการรับ

24 ขอ 22 แกไขเพิม่ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 10 ~ หน้าที่ 29

จายเงินจะไมทํารายงานสถานะการเงินประจําวันสําหรับวันน้ันก็ได แตใหหมายเหตุในรายงาน
สถานะการเงินประจาํ วันทม่ี ีการรบั จายเงนิ ในวนั ถัดไปใหท ราบดวย
ขอ ๒๗ เมื่อส้ินเวลารับจายเงิน ใหเจาหนาท่ีดําเนินการนําเงินที่ไดรับนําฝาก
ธนาคารท้งั จํานวนหากนําฝากธนาคารไมทันใหนําเงินท่ีจะเก็บรักษา และรายงานสถานะการเงิน
ประจําวนั สง มอบตอคณะกรรมการเก็บรกั ษาเงนิ
ขอ ๒๘ กรณมี เี งินสดเก็บรกั ษาใหกรรมการเก็บรักษาเงินรวมกันตรวจสอบตัวเงิน
กับรายงานสถานะการเงินประจําวัน เม่ือปรากฏวาถูกตองแลวใหนําเงินเขาเก็บรักษาในตูนิรภัย
และใหกรรมการทุกคนลงลายมือชื่อในรายงานสถานะการเงินประจําวันไวเปนหลักฐาน แลวให
หัวหนา หนวยงานคลังเสนอผานปลัดองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพื่อนําเสนอใหผูบริหารทองถ่ิน
ทราบ
ขอ ๒๙ ในกรณีท่ีปรากฏวา เงินท่ีกรรมการไดรับมอบใหเก็บรักษาไมตรงกับ
จํานวนซ่งึ แสดงไวใ นรายงานสถานะการเงินประจําวัน ใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงินและผูนําสง
เงินรวมกันบันทึกจํานวนเงินท่ีตรวจนับไดในรายงานสถานะการเงินประจําวัน และลงลายมือชื่อ
กรรมการทุกคนพรอมดวยเจาหนาท่ีผูสงเงิน แลวนําเงินเขาเก็บรักษาไวในตูนิรภัย และให
คณะกรรมการเก็บรักษาเงินรายงานใหปลัดองคกรปกครองสวนทองถ่ินทราบทันที เพ่ือเสนอ
ผูบริหารทอ งถน่ิ พิจารณาสั่งการ
ขอ 3025 เมอ่ื นาํ เงินเขาเก็บรักษาในตูนริ ภยั เรยี บรอยแลว ใหกรรมการเก็บรักษา
24
เงิน ใสก ุญแจตนู ริ ภัยใหเ รียบรอ ยและลงลายมือชื่อกรรมการเกบ็ รกั ษาเงินแตละคนบนกระดาษปด
ทับ หรือประจําตราครั่ง หรือดินเหนียวไวบนเชือกผูกมัดตูนิรภัยในลักษณะท่ีแผนกระดาษปด
ทบั หรอื ประจําตราคร่งั หรือดนิ เหนยี ว จะตองถกู ทําลายเม่ือมกี ารเปดตูนริ ภยั
ในกรณีท่ีตูนิรภัยตั้งอยูในหองมั่นคง หรือกรงเหล็ก การลงลายมือช่ือบน
แผนกระดาษปด ทบั หรือประจําตราครง่ั หรอื ดินเหนยี ว ของกรรมการเก็บรักษาเงิน จะกระทํา
ทป่ี ระตูหอ งม่นั คง หรอื กรงเหลก็ แตเ พียงแหงเดยี วกไ็ ด
ขอ ๓๑ ในวันทําการถัดไป ใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงินมอบเงินท่ีเก็บรักษาไว
ท้ังหมดใหหัวหนาหนวยงานคลัง หรือเจาหนาที่การเงินแลวแตกรณีรับไปเพื่อดําเนินการนําฝาก
ธนาคารโดยใหลงลายมือช่ือรับเงินไวในรายงานสถานะการเงนิ ประจําวันกอนวันทําการที่รับเงินไป
ฝากธนาคาร
ขอ ๓๒ กอนเปดประตูหองม่ันคง หรือประตูกรงเหล็ก หรือตูนิรภัย ใหกรรมการ
เก็บรักษาเงินตรวจกุญแจ ลายมือช่ือบนแผนกระดาษปดทับ หรือตราประจําคร่ัง หรือดินเหนียว
ของกรรมการ เมื่อปรากฏวาอยูในสภาพเรียบรอ ยจึงใหเปดได

25 ขอ 30 แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 11 ~ หน้าท่ี 30

หากปรากฏวา แผนกระดาษปดทับ หรือตราประจําครั่ง หรือดินเหนียวของ
กรรมการเก็บรักษาเงินอยูในสภาพไมเรียบรอย หรือมพี ฤติการณอืน่ ใดทส่ี งสยั วาจะมีการทุจริต ให
รายงานใหปลัดองคก รปกครองสว นทองถ่นิ ทราบ เพอื่ เสนอผบู รหิ ารทองถ่ินพิจารณาสั่งการ
ขอ ๓๓ ใหห นว ยงานทมี่ ีงบประมาณเฉพาะการ หรือหนวยงานท่ีไดแยกออกไปทํา
การรับจายและเก็บรักษาเงิน ใหนําขอ กําหนดในการเก็บรกั ษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
มาถือปฏบิ ัติ
สว นที่ ๔
การรบั สงเงนิ
----------------------------------------------
ขอ ๓๔ เงินรายรบั ขององคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ ท่เี ก็บรักษาไวต ามขอ ๒๐ ใหนํา
ฝากธนาคารทั้งจํานวน ภายในวันนั้น ถาฝากในวันน้ันไมทันใหนําฝากตูนิรภัย และวันรุงขึ้น หรือ
วันทําการถัดไปใหน ําฝากธนาคารทงั้ จาํ นวน
ขอ 3526 การรบั สง เงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งเปนเงินสดหรือสถานท่ี
25
ที่จะรับสง อยูหางไกล หรือกรณีอื่นใดซึ่งเห็นวาไมปลอดภัยแกเงินท่ีรับสง ใหผูบริหารทองถิ่น
แตง ตง้ั พนกั งาน สว นทองถ่นิ อยางนอ ยสองคน เปนกรรมการรับผิดชอบรวมกันควบคุมการรับสง
เงนิ และจดั ใหม ีเจาหนาที่ ตํารวจควบคุมรักษาความปลอดภัยดวยก็ได
การแตงตั้งกรรมการตามวรรคหน่ึง ใหทําเปนหนังสือและใหมีหลักฐานการรับสง
เงินระหวางผูมอบหรือผูรับมอบเงินกับกรรมการผูนําสงหรือผูรับไวทุกคร้ัง หากกรรมการผูใดไม
สามารถปฏบิ ัตหิ นา ที่ตามท่ไี ดรับแตงตง้ั ไวใ หนําความในขอ ๒๔ มาใชบงั คบั โดยอนุโลม
ขอ ๓๖ ใหคณะกรรมการรับสงเงินมีหนาท่ีรับผิดชอบรวมกันในการควบคุมเงินท่ี
นาํ สง โดยใหป ฏิบตั ิ ดังนี้
(๑) ตรวจนับจํานวนเงินซ่ึงไดรับมอบหมายใหรับสงกับใบนําสงและบันทึกการรับ
เงนิ เพอื่ นําสง ใหถูกตอ งตรงกนั แลวลงลายมอื ชือ่ ในบันทกึ พรอ มกบั ผมู อบหรอื ผูร บั มอบเงิน ทั้งสอง
ฉบับ โดยใหคณะกรรมการรับสงเงินเก็บรักษาไวหนึ่งฉบับมอบใหผูมอบหรือผูรับมอบเก็บไวเปน
หลกั ฐานหนงึ่ ฉบับ
(๒) บรรจุเงินลงหีบหอใสกุญแจหรือใชเชือกผูกมัด และตราประจําครั่งหรือดิน
เหนียวของกรรมการรับสงเงินทุกคนท่ีเชือกมัดหีบหอในลักษณะที่เมื่อเปดหีบหอ ตราประจําครั่ง
หรอื ดินเหนยี วจะตองถูกทาํ ลาย และมอบหบี หอใหกรรมการซึ่งเปนผูอาวุโสเพ่ือนําเงินเดินทางไป
สง ตอ ไป
(๓) ใหก รรมการรับสง เงินพรอมกันออกเดินทางไปยังสถานที่รับสงเงินทันที หามมิ
ใหแยกยายจากกนั หรอื หยุดพกั ระหวางทางโดยไมมีเหตุผลจําเปน และเม่ือไปถึงสถานท่ีนําสงเงิน
แลว ใหรบี นําเงินสง ใหเสร็จสิน้ ภายในวันทําการน้ัน หรืออยางชาภายในวนั ทําการถดั ไป

26 ขอ 35 วรรคหน่ึงแกไขเพม่ิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรบั เงิน การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ และ
การตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสว นทอ งถิ่น (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 12 ~ หน้าท่ี 31

(๔) กอ นเปด หีบหอเพอื่ นาํ สง เงนิ ใหกรรมการรบั สง เงนิ ทุกคนพรอ มกันตรวจสภาพ
ลูกกุญแจและตราประจําครงั่ หรอื ดนิ เหนียว เมอ่ื ปรากฏวาอยูในสภาพเรียบรอยแลว จึงใหนําเงิน
ออกสง หากปรากฏวา หบี หออยใู นลกั ษณะไมเรยี บรอย หรือมีพฤติการณช วนใหสงสยั วา จะมกี าร
ทุจริตเงินในหีบหอ ใหคณะกรรมการรับสงเงินรีบรายงานปลัดองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพ่ือ
นาํ เสนอผูบ ริหารทอ งถ่นิ พจิ ารณาส่งั การตอไป สวนเงินใหคณะกรรมการนําสงใหแ ลว เสร็จ
(๕) กรณจี าํ นวนเงนิ ที่นําสงมปี ลอมแปลงจํานวนเทาใด ใหคณะกรรมการรับสงเงิน
นาํ สง เงนิ ตามจาํ นวนทน่ี าํ สง ได และใหบ ันทกึ จํานวนเงินปลอมแปลงนั้นไวในบันทึกการรับเงินเพ่ือ
นําสง แลว ลงลายมอื ชอ่ื กรรมการทกุ คนพรอ มดว ยเจาพนักงานของผรู บั เงนิ และเมือ่ กลบั ถึงองคกร
ปกครองสว นทอ งถิ่นแลว ใหร ายงานปลดั องคก รปกครองสวนทองถิ่นเพื่อนําเสนอผูบริหารทองถิ่น
พิจารณาสัง่ การ
(๖) เมื่อคณะกรรมการรับสงเงินไดรับสงเงินเสร็จเรียบรอย และเดินทางกลับถึง
องคกรปกครองสวนทองถ่ินแลว ใหรีบมอบคูฉบับใบนําสงเงินหรือหลักฐานการรับมอบเงินให
หนวยงานผนู ําสง หรอื ขอเบิกเงนิ ในวนั นน้ั หรอื อยา งชาในวนั ทาํ การถัดไป และใหห ัวหนาหนวยงาน
ผนู าํ สง หรือขอเบกิ เงินตรวจสอบหลักฐานการนาํ สงเงินหรอื ขอเบิกเงิน เมอื่ ปรากฏวาถกู ตองแลวให
บนั ทึกการรบั มอบตอกนั ไว
ขอ 37 27 การถอนเงินฝากธนาคารขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน หรือ
26
หนวยงานท่ีไดแ ยก ไปทาํ การรบั จา ยและเก็บรกั ษาเงิน ใหองคก รปกครองสวนทองถ่ินแจงเงื่อนไข
การสง่ั จา ยตอธนาคาร โดยใหผ มู ีอํานาจลงนามสั่งจายเงินรวมกันอยางนอยสามคน ในจํานวนน้ี
ใหมีผูบริหารทองถิ่น และปลัดองคกรปกครองสวนทองถ่ินลงนามสั่งจายดวยทุกคร้ัง และให
ผูบริหารทองถิ่นมอบหมายให ผูชวยผูบริหารทองถิ่น หรือผูดํารงตําแหนงไมต่ํากวาหัวหนา
หนว ยงานอีกหนึ่งคน และใหมอบหมาย ผูดํารงตําแหนงไมตํ่ากวาหัวหนาหนวยงานเพ่ิมอีกหน่ึง
คน ในกรณที ่ีไมม ีผูบ ริหารทองถ่นิ เปน ผมู อี ํานาจลงลายมือชอ่ื ถอนเงนิ ฝากรว มกัน
การถอนเงินฝากของหนวยงานท่มี ีงบประมาณเฉพาะการ หรือหนวยงานท่ีไดแยก
ออกไป ทําการรับจายและเก็บรักษาเงิน ผูบริหารทองถิ่นอาจแตงต้ังหัวหนาหนวยงานน้ันและ
พนักงาน สวนทองถ่ินอีกหน่ึงคน เปนผูมีอํานาจลงลายมือช่ือรวมกันถอนเงินฝากของหนวยงาน
นัน้
กรณกี ารถอนเงินฝากจากคลังจังหวัด ใหปฏิบัติตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลัง
กาํ หนด

หมวด ๔
การเบกิ เงนิ
-----------------------------

27 ขอ 37 แกไ ขเพ่มิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 13 ~ หน้าที่ 32

ขอ ๓๘ กอนการเบิกจายเงินตามงบประมาณรายจายประจําปหรืองบประมาณ
รายจาย เพ่มิ เติมใหห นว ยงานผูเบกิ ยน่ื แผนการใชจา ยเงนิ ตอหนว ยงานคลังทกุ สามเดือน
ในกรณีท่ีมีความจําเปน อาจปรับแผนการใชจายเงินของหนวยงานผูเบิกไดตามความเหมาะสม
และสอดคลอ งกบั ฐานะการคลงั ขององคกรปกครองสว นทองถิน่
การจัดทําแผนการใชจ ายเงินใหเปนไปตามแบบท่ีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
กาํ หนด
ขอ 39 28 การขอเบิกเงินจากหนวยงานคลังขององคกรปกครองสวนทองถ่ินตาม
27
งบประมาณ รายจา ยประจําปงบประมาณใด ใหเ บกิ ไดแตเฉพาะในปงบประมาณนั้น รวมทั้งเงิน
อุดหนุนท่ีรัฐบาล ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินโดยท่ีมิตองจัดทําขอบัญญัติหรือเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจายประจําป เวนแต
(1 เปนเงินงบประมาณรายจายที่ยังมิไดกอหน้ีผูกพันในปงบประมาณน้ัน และ
ไดร บั อนมุ ตั ิ ใหกันเงินไวต อ ผูมอี ํานาจตามระเบียบแลว
(2 เปนงบประมาณรายจา ยท่ีไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และไดรับ
อนมุ ตั จิ าก ผูบริหารทองถนิ่ ใหก ันเงินไปจา ยในปงบประมาณถดั ไป
(3 กรณีมีเงินอุดหนุนท่ีรัฐบาลใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน โดยท่ีมิตองจัดทํา
ขอ บญั ญัติ หรือเทศบัญญัตงิ บประมาณรายจายประจาํ ปซ ึ่งเบิกจายไมทันภายในสน้ิ ปง บประมาณท่ี
ผานมา และไดบ ันทึกบัญชีไวแ ลว
ขอ 40 29 การเบิกเงนิ ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใหหนวยงานผูเบิกขอเบิก
28
กับหนวยงานคลัง โดยใหหัวหนาหนวยงานผูเบิกเปนผูลงลายมือชื่อเบิกเงินและใหวางฎีกาตาม
แบบที่กรมสงเสริม การปกครองทอ งถิน่ กาํ หนด
ความในวรรคหนง่ึ มิใหใชบังคับในกรณีที่กระทรวงการคลังเปนผูดําเนินการแทน
องคกร ปกครองสว นทองถ่นิ
การขอเบิกเงินทุกกรณีใหระบุวัตถุประสงคท่ีจะนําเงินนั้นไปจายและหามมิใหขอ
เบกิ จนกวา จะถึงกาํ หนดหรอื ใกลถงึ กาํ หนดจา ยเงนิ
การเบิกเงินตอ งมหี ลกั ฐานการเบกิ เพอื่ ประโยชนในการตรวจสอบ และใหผูเบิกลง
ลายมือชือ่ รบั รองความถูกตอ งในหลักฐานการเบกิ ท่เี ปนภาพถายหรือสําเนาทุกฉบบั
ขอ ๔๑ ฎีกาเบิกเงนิ จะตอ งพิมพจ าํ นวนเงนิ ที่ขอเบิกทงั้ ตวั เลขและตัวอักษรจะตอง
พิมพใ หชดั เจน หามขูดลบ หากผิดพลาดใหแกไขโดยวิธีขีดฆา แลวพิมพใหมท้ังจํานวน แลวใหผู
เบกิ ลงลายมือชือ่ รับรองการขีดฆา นน้ั ดวย
การพมิ พจาํ นวนเงินในฎีกาเบิกเงินทเ่ี ปนตัวอักษร ใหพ ิมพจ ํานวนที่ขอเบิกใหชิดคํา
วา “ตวั อกั ษร” หรือขีดเสนหนา จํานวนเงนิ อยาใหม ีชองวา งทจ่ี ะพิมพจํานวนเพิ่มเตมิ ใหส ูงขนึ้ ได

28 ขอ 39 แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561
29 ขอ 40 แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจา ยเงิน การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงนิ และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสว นทองถิน่ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 14 ~ หน้าท่ี 33

ขอ ๔๒ เงินทเ่ี บิกถาไมไดจา ยหรอื จา ยไมห มดใหห นวยงานผเู บิกนําสงคนื หนวยงาน
คลังภายในสบิ หาวนั นับจากวันท่ไี ดรับเงนิ จากหนวยงานคลงั
ขอ ๔๓ การขอเบิกเงินงบประมาณรายจาย และหรือเงินอุดหนุนที่รัฐบาลใหโดย
ระบวุ ัตถปุ ระสงคป ใ ด ใหวางฎกี าเบกิ เงินไดจ นถึงวันทําการสดุ ทา ยของปน ้นั
ในกรณีที่ไดมีการกันเงินไว ใหวางฎีกาไดจนถึงวันทําการสุดทายของระยะเวลาท่ี
กนั เงิน
ขอ ๔๔ เงินประเภทใดซึ่งโดยลักษณะจะตองจายประจําเดือนในวันสิ้นเดือน ให
วางฎกี าภายในวนั ทย่ี ีส่ ิบหา ของเดือนน้นั
ขอ ๔๕ การเบกิ เงนิ ซ่ึงมลี กั ษณะเปน คาใชจายประจํา และมีการเรียกเก็บเปนงวด
ๆ หรอื คา ใชจายอื่น ๆ ตามประเภทท่ีกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ินกําหนด ใหถือวาคาใชจาย
นั้นเกิดข้ึนเม่ือองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดรับแจงใหชําระหน้ี และใหนํามาเบิกจายจาก
งบประมาณรายจา ยประจําปท ีไ่ ดรับแจงใหชาํ ระหนีไ้ ด
ขอ ๔๖ 30 การเบกิ เงินเดือน คา จา ง บาํ เหนจ็ บํานาญ เงินประจําตําแหนง เงินเพ่ิม
29
เงินประโยชนตอบแทนอื่น เงินชวยเหลือและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน ใหเปนไปตามกฎหมาย
ระเบยี บ ขอบงั คบั คําสั่ง หรอื หนังสอื สงั่ การกระทรวงมหาดไทย
ขอ ๔๗ การซ้ือ เชาทรัพยส นิ หรอื จางทาํ ของ ใหห นวยงานผูเบิกรีบดําเนินการวาง
ฎีกาเบกิ เงินโดยเร็วอยางชาไมเ กินหา วัน นับจากวันที่ไดต รวจรับทรัพยสนิ หรอื ตรวจรบั งานถูกตอง
ขอ ๔๘ เวนแตก รณที ก่ี ําหนดไวใ นขอ ๕๑ และขอ ๕๒ การเบิกเงินเพ่ือจายเปนคา
ซอ้ื ทรัพยส ินหรอื จางทําของ ใหม เี อกสารประกอบฎกี า ดังนี้
๑) สัญญาซื้อทรัพยสิน หรือจางทําของหรือเอกสารอื่นอันเปนหลักฐานแหงหนี้
เชน หลกั ฐานการสั่งซอ้ื หรือส่ังจา ง
(๒) ใบแจง หน้ี หรือใบสงมอบทรัพยส นิ หรอื มอบงาน
(๓) เอกสารแสดงการตรวจรับทรพั ยส ิน หรอื ตรวจรบั งาน
เอกสารหลกั ฐานดงั กลา วจะใชภ าพถายหรอื สาํ เนาซึ่งผเู บิกลงลายมอื ชอ่ื รับรองก็ได
ขอ ๔๙ การเบกิ เงินเพอื่ จา ยลวงหนาตามสัญญาซ้ือทรัพยสิน หรือจางทําของใหมี
สัญญาซ้ือทรัพยสินหรือจางทําของ หรือหลักฐานอื่นซ่ึงแสดงวาใกลจะถึงกําหนดจายเงินแลว
ประกอบฎีกาดว ย ซ่ึงจะเปน ภาพถา ยหรอื สําเนาซงึ่ ผเู บิกลงลายมอื ช่อื รบั รองกไ็ ด
ขอ 50 31 การเบิกเงินเพ่ือจายเปนคาซื้อทรัพยสิน หรือจางทําของ หรือเชา
30
ทรัพยสนิ ใหแ สดง รายการทรัพยสินและจํานวนเงนิ เปน รายประเภทประกอบฎีกาขอเบิกเงนิ
ขอ ๕๑ การเบิกเงินเพื่อจายเปนคาซื้อที่ดิน ใหมีสัญญาจะซื้อจะขาย หรือสัญญา
ซอ้ื ขายประกอบฎีกาดวย ซ่ึงจะเปนภาพถา ยหรือสําเนาซึ่งผูเ บิกลงลายมือชอื่ รับรองก็ได

30 ขอ 46 แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการรับเงิน การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจ
เงินขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558
31 ขอ 50 แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รักษาเงิน และการตรวจ
เงินขององคกรปกครองสว นทอ งถ่ิน (ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 25 61

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 15 ~ หน้าท่ี 34

ขอ ๕๒ การเบิกเงินในหมวดคาตอบแทน ใชสอยและวัสดุ ใหทําการเบิกจายได
ตามงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ และใหมีหลักฐานแสดงวาเงินจํานวนที่ขอเบิกน้ีถูกตองตาม
วัตถุประสงคและเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําส่ัง หรือหนังสือส่ังการ
กระทรวงมหาดไทย
ขอ ๕๓ การเบกิ เงนิ รายจายงบกลางเปนคาใชจายอยางใด ใหปฏิบัติตามกฎหมาย
ระเบียบ ขอ บังคับคาํ สงั่ หรอื หนงั สอื ส่ังการกระทรวงมหาดไทย
ขอ๕๔ การเบิกเงินในหมวดเงินอุดหนุนที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นมิได
ดําเนินการเองและไดต้ังงบประมาณเพื่อการนั้นตามระเบียบไวแลว ใหดําเนินการไดตาม
งบประมาณทไี่ ดรับอนุมัติ ท้งั นี้ การกอใหเ กดิ หนี้และการเบิกเงนิ ตอ งปฏบิ ัติตามระเบียบ ขอบังคับ
คาํ สง่ั หรือหนงั สือสัง่ การกระทรวงมหาดไทย
ขอ ๕๕ การเบิกเงินนอกงบประมาณใหเปนไปตามวิธีการที่กรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่นกําหนด
ขอ ๕๖ คาใชจายท่ีเปนรายจายประจําที่เกิดข้ึนในปใด ใหเบิกจากงบประมาณ
รายจายในปนั้นไปจายเงินที่เบิกไปเพ่ือจายใหยืม ถาจําเปนตองจายติดตอคาบเก่ียวไปถึง
ปง บประมาณใหม จะเบกิ เงินลว งหนาจากปปจจุบันไปจายสําหรับระยะเวลาในปใหมก็ได โดยให
ถอื วา เปนรายจายของปที่เบกิ เงินงบประมาณ ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) คาใชจายในการเดนิ ทางไปราชการไมเกนิ หกสิบวัน
(๒) สาํ หรับปฏบิ ตั ิราชการอนื่ ๆ ไมเ กนิ สบิ หาวนั
หมวด ๕
การกนั เงนิ
-----------------
ขอ 57 32 กรณีที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นป โดย
31
สั่งซอ้ื หรือส่ังจาง หรือการเชาทรัพยสิน ถาเห็นวาการเบิกเงินไปชําระหน้ีผูกพันไมทันสิ้นป ให
ผูบริหารทองถิ่นอนุมัติ ใหกันเงินไวเบิกจายในปถัดไปไดอีกไมเกินระยะเวลาหน่ึงปหรือตามขอ
ผกู พนั
ขอ ๕๘ ใหวางฎีกากนั เงินตามแบบทก่ี รมสงเสริมการปกครองทองถิ่นกําหนดกอน
วันสน้ิ ปอยา งนอยสามสิบวัน เวน แตม ีเหตุผลสมควร ผูบริหารทองถิ่นอาจพิจารณาอนุมัติใหขยาย
เวลา ย่ืนขอกนั เงินไดไมเกนิ วันทําการสดุ ทา ยของปน ั้น
ขอ 59 33 ในกรณีท่มี รี ายจา ยหมวดคาครุภัณฑท ดี่ นิ และสิ่งกอสราง ยังมิไดกอหน้ี
32
ผกู พัน แตมีความจําเปนตองใชจายเงินน้ันตอไปอีก ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินรายงานขอ
อนมุ ัติกันเงิน ตอ สภาทอ งถิ่นไดอ กี ไมเ กินระยะเวลาหนงึ่ ป

32 ขอ 57 แกไขเพิม่ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรับเงิน การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจ
เงินขององคกรปกครองสว นทองถน่ิ (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561
33 ขอ 59 แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรับเงนิ การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจ
เงินขององคก รปกครองสว นทอ งถิ่น (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 16 ~ หน้าที่ 35

กรณีเมอื่ สิ้นสดุ ระยะเวลาการกันเงินตามวรรคหน่ึงแลว หากองคกรปกครองสวน
ทองถน่ิ ยงั มไิ ด ดําเนินการกอหน้ีผูกพัน ใหขออนุมัติขยายเวลาเบิกจายเงินไดไมเกินอีกหน่ึงปตอ
สภาทองถ่ิน หรือกรณี มีความจําเปนตองแกไขเปลี่ยนแปลงรายการดังกลาวท่ีทําให ลักษณะ
ปริมาณ คณุ ภาพเปล่ยี น หรือเปล่ียนแปลงสถานที่กอสราง ใหขออนุมัติเปลี่ยนแปลงและหรือ
ขยายเวลาเบกิ จายเงินไดไมเกิน อกี หนึง่ ปตอ สภาทอ งถน่ิ แลวแตก รณี และโครงการดังกลาวตองมี
วัตถุประสงคเ ดมิ ตามทีไ่ ดร บั อนุมตั ิ ใหกันเงินไว
กรณที ่อี งคก รปกครองสว นทอ งถิ่นไดกอหนผ้ี กู พันแลวใหเ บิกจา ยไดตามขอ ผกู พนั
เมอื่ ส้นิ สุดระยะเวลาการกันเงินตามวรรคหนึง่ หรือขยายเวลาเบิกจายเงินตามวรรค
สองแลว หากยงั ไมไดด าํ เนนิ การกอหน้ผี กู พันหรือมีเงินเหลือจายจากเงินดังกลาว ใหเงินจํานวน
นัน้ ตกเปน เงินสะสม
ขอ 59/1 34 รายจายเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ เงินประจําตําแหนง
33
เงินเพิ่ม เงินประโยชนตอบแทนอ่ืน เงินชวยเหลือและเงินอ่ืนในลักษณะเดียวกัน รวมทั้ง
คา ตอบแทนท่เี รียกช่อื อยางอนื่ ทีม่ รี ะเบียบ กฎหมาย กําหนดใหจายในลักษณะเดียวกัน หาก
เบิกเงนิ ไมทันสิ้นปและมคี วามจาํ เปน ตองใชจายเงินนั้นตอไปอีก ใหผูบริหารทองถิ่นอนุมัติใหกัน
เงนิ ไดไมเกนิ หกเดือน
เมอื่ สิ้นสดุ ระยะเวลาการกนั เงินตามวรรคหน่ึง หากยังดําเนินการไมแลวเสร็จ ให
ขอขยายเวลา การเบกิ จา ยเงินตอสภาทองถน่ิ ไดอกี ไมเกนิ หกเดอื น
ขอ 59/235 การขอขยายเวลาเบิกจายเงินตามหมวดนี้ ใหองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น ดาํ เนนิ การกอ นส้นิ ระยะเวลาทไ่ี ดร ับอนมุ ตั ิใหกนั เงนิ หรอื ขยายเวลาเบิกจายเงนิ

หมวด ๖
การตรวจและการอนมุ ัติฎกี า
-----------------------------
ขอ ๖๐ ใหหัวหนาหนวยงานคลังหรือเจาหนาท่ีการเงิน ท่ีไดรับมอบหมายเปน
ผตู รวจฎีกา
การตรวจฎีกาตามวรรคหน่ึง เมื่อถูกตองในสาระสําคัญตอไปน้ีแลว ใหเสนอผูมี
อาํ นาจเพ่ืออนุมตั ฎิ กี า
(๑) มลี ายมอื ชอื่ ของผเู บกิ เงนิ ถูกตองตามตัวอยา ง
(๒) มีหนี้ผูกพัน หรือมีความจําเปนท่ีจะตองจายเงิน กับถึงกําหนดหรือใกลจะถึง
กาํ หนดท่จี ะตองจายเงนิ

34 ขอ 59/1 แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบิกจา ยเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการ
ตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561
35 ขอ 59/2 เพิ่มเตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการรับเงนิ การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ
ขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 17 ~ หน้าที่ 36

งบประมาณ (๓) มีเงินงบประมาณเพียงพอ รายการถูกตองตรงกับหมวดและประเภทใน

(๔) มเี อกสารประกอบฎีกาครบถว นถกู ตอง
ขอ ๖๑ ฎีกาหรือเอกสารประกอบฎีกาฉบับใดไมถ กู ตองในสาระสําคัญตามขอ ๖๐
ใหผูตรวจฎกี าแจง ใหผ เู บิกทราบ เพือ่ ดําเนนิ การแกไข ถาผเู บิกไมแ กไขใหถูกตองภายในสามวันทํา
การนับจากวันที่ไดร ับทราบ ใหผ ูตรวจฎกี าคนื ฎีกา
ในกรณีที่ฎีกามีขอผิดพลาดเล็กนอย ซ่ึงมิใชสาระสําคัญหรือจํานวนเงินที่ขอเบิก
ผตู รวจฎีกาจะแกไขใหถ ูกตองแลว แจง ใหผเู บิกทราบก็ได
ขอ ๖๒ ฎีกาท่ีตรวจถูกตองแลวตามขอ ๖๐ ใหหัวหนาหนวยงานคลัง หรือ
เจาหนา ทก่ี ารเงนิ ท่ีไดรบั มอบหมายนาํ เสนอผบู ริหารทองถ่ินหรอื ผูทผี่ บู รหิ ารทอ งถนิ่ มอบหมายเปน
ผูอ นุมัติฎีกา
ขอ ๖๓ การอนุมัติฎีกาจะกระทําไดเมื่อสาระสําคัญถูกตองตามที่กําหนดไวในขอ
๖๐ และผตู รวจฎกี าไดล งลายมอื ชอ่ื ตรวจฎีกานัน้ แลว
ในกรณที ี่ผอู นมุ ัติมเี หตุผลสมควร จะอนมุ ัติฎีกาเปน เงนิ จาํ นวนตํ่ากวา ที่ขอเบิกก็ได
ขอ ๖๔ การอนมุ ัติฎกี าเบิกเงนิ เพ่อื จา ยเปนคาซือ้ ทรัพยสินหรือจางทําของ ในกรณี
ที่ไมม ีเหตทุ ักทว ง ใหด าํ เนินการใหเสร็จภายในสามวันทําการนับถัดจากวันรับฎีกา ในกรณีที่มีเหตุ
ทักทว งใหดาํ เนนิ การใหเ สร็จภายในสามวันทาํ การนับถดั จากวันทผี่ เู บกิ ไดแ กไขถกู ตองแลว
ขอ 65 36 เมื่อผูมีอํานาจอนุมัติในฎีกาเบิกเงิน ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
35
บันทึกรายการเบกิ เงนิ ในระบบ
ขอ ๖๖ เม่ือหนวยงานท่ีมีงบประมาณเฉพาะการ หรือหนวยงานที่ไดแยกออกไป
ทําการรบั จา ยและเก็บรักษาเงิน ไดรับแจงรายการหน้ี หรือทํารายการคํานวณเงินคาจางแรงงาน
แลวใหจ ดั แยกประเภทการจายสงหนวยงานคลังเพ่ือตรวจสอบและนําเสนอผูมีอํานาจอนุมัติฎีกา
ตามขอ ๖๒ เพ่อื ขออนมุ ตั จิ า ยเงินตามรายการนั้น ๆ
หมวด ๗
ขอกําหนดในการจา ยเงนิ
-------------------------
สวนที่ ๑
การจายเงนิ
----------------------------
ขอ ๖๗ องคกรปกครองสวนทองถ่ินจะจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันไดแตเฉพาะที่
กฎหมาย ระเบยี บขอบงั คบั หรือหนังสอื สั่งการท่กี ระทรวงมหาดไทยกําหนดไว

36 ขอ 65 แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจ
เงนิ ขององคก รปกครองสว นทองถ่ิน (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 18 ~ หน้าท่ี 37

ขอ 68 37 การจายเงินใหแกเจาหนี้หรือผูมีสิทธิใหจายเปนเช็ค กรณีจําเปนที่ไม
36
อาจจายเปนเช็คได ใหจัดทําใบถอนเงินฝากธนาคารเพื่อใหธนาคารออกตั๋วแลกเงินส่ังจายให
เจาหนห้ี รอื ผูมีสทิ ธิ
การจายเงินผานธนาคารหรือดวยวิธีอ่ืนใด ใหเปนไปตามที่กรมสงเสริมการ
ปกครองทอ งถิ่นกําหนด
ขอ 6938 การเขียนเช็คสงั่ จา ยใหปฏบิ ัติ ดงั นี้
37
(1 การจายเงินใหเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน ในกรณีซื้อทรัพยสิน จางทําของ
หรือเชาทรัพยสิน ใหอ อกเชค็ ส่งั จา ยในนามของเจา หนห้ี รือผูมีสิทธิรับเงิน โดยขีดฆาคําวา “หรือ
ผูถือ” ออกและขดี ครอมดว ย
(2 การจายเงนิ ใหแกเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน นอกจากกรณีตาม (1 ใหออก
เชค็ สง่ั จา ย ในนามของเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน โดยขีดฆาคําวา “หรือผูถือ” และจะขีดครอม
หรือไมก ไ็ ด
(3 ในกรณีสั่งจายเงินเพ่ือขอรับเงินสดมาจาย ใหกระทําไดในการจายเงินที่มี
วงเงินไมเกิน หาพันบาท โดยใหออกเช็คสั่งจายในนามหัวหนาหนวยงานคลังหรือเจาหนาที่ของ
หนว ยงานคลัง และขีดฆาคําวา “หรอื ผูถือ” ออก หา มออกเชค็ สง่ั จา ยเงินสด
(4 หากเจา หน้หี รือผมู ีสทิ ธิรบั เงนิ ไมม ารับเช็คภายในสามสบิ วนั นบั ต้ังแตวันส่ังจาย
ใหยกเลิกเช็คน้ัน หากมีการยกเลิกเช็คดังกลาวเกินสองครั้ง ตองรายงานเหตุผลใหผูบริหาร
ทองถ่ินทราบ
ในการเขียนเชค็ สัง่ จา ยเงนิ หา มลงลายมือชอ่ื สั่งจา ยในเช็คไวลวงหนา โดยยังมิได
มีการเขยี น หรอื พมิ พชื่อผรู บั เงิน และจาํ นวนเงินท่ีส่ังจาย
ขอ 70 39 การเขยี นหรอื พมิ พจาํ นวนเงินในเช็คทเี่ ปน ตวั เลขและตัวอักษรเขียนหรือ
38
พมิ พใหชดิ เสนและชดิ คําวา “บาท” หรือขีดเสน หนาจาํ นวนเงินทง้ั ตัวเลขและตัวอักษร โดยไมมี
ชอ งวาง ทจี่ ะเขียนหรอื พิมพจํานวนเงินเพิ่มเติมได และใหขีดเสน ตรงหลังช่ือสกุล ชื่อบริษัท หรือ
หางหนุ สวน จนชิดคาํ วา “หรือผถู ือ” โดยมิใหม ีการเขียนหรือพิมพช่อื บคุ คลอ่ืนเพิม่ เติมไดอีก
ขอ 71 40 การจา ยเงนิ ทุกกรณี ถา ผจู ายมีหนาท่ตี ามกฎหมายทีจ่ ะตอ งหักภาษีใด ๆ
39
ไว ณ ท่ีจาย หรือเงินอื่นใดที่มีกฎหมายกําหนดใหหัก เพ่ือนําสงสวนราชการหรือหนวยงานใด
ใหด ําเนินการ ตามกฎหมายนน้ั

37 ขอ 68 แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงนิ และการตรวจ
เงินขององคกรปกครองสว นทอ งถิ่น (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
38 ขอ 69 แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจ
เงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
39 ขอ 70 แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการรบั เงิน การเบิกจา ยเงิน การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการตรวจ
เงนิ ขององคก รปกครองสวนทอ งถิ่น (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561
40 ขอ 71 แกไ ขเพิม่ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงิน การเก็บรักษาเงนิ และการตรวจ
เงินขององคก รปกครองสว นทองถ่ิน (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 19 ~ หน้าท่ี 38

ขอ ๗๒ เงินท่ีขอเบิกจากหนวยงานคลังเพ่ือการใด ใหนําไปจายไดเฉพาะเพ่ือการ
นั้นเทานั้นจะนาํ ไปจายเพอ่ื การอนื่ ไมไ ด
สว นท่ี ๒
หลกั ฐานการจา ยเงนิ
-----------------------------------------
ขอ ๗๓ การจายเงนิ ใหแ กเ จาหน้ีหรือผูมีสิทธิรับเงินทุกรายการ จะตองมีหลักฐาน
การจา ยไวเพอ่ื ประโยชนในการตรวจสอบ
4041กรณีที่กระทรวงการคลังจายเงินใหแกเจาหน้ีหรือผูมีสิทธิรับเงินแทนองคกร
ปกครอง สวนทองถิ่นใหใชหลักฐานการจายเงินของกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังเปน
หลกั ฐานการจายเงิน
ขอ 73/142 การจา ยเงินขององคการปกครองสวนทองถ่ิน ใหใชใบเสร็จรับเงิน
41
หรือใบรับเงิน ซึ่งผูรับเงินเปนผูออกให หรือใบสําคัญรับเงิน หรือใบรับรองการจายเงิน หรือ
หลักฐานอ่ืนใด ท่ีกระทรวงมหาดไทยกําหนดใหเปน หลกั ฐานการจา ย
ขอ ๗๔ หลักฐานการจายเงินจะตองพิมพหรือเขียนดวยหมึก การแกไขหลักฐาน
การจายใหขดี ฆาแลว พิมพห รอื เขยี นใหมแลวใหผูรบั เงินลงลายมอื ชือ่ กํากบั ไวทุกแหง
ขอ ๗๕ ใหอ งคกรปกครองสวนทองถนิ่ เก็บรักษาหลกั ฐานการจา ยซึ่งสํานักงานการ
ตรวจเงินแผนดนิ ยังไมไดต รวจสอบไวใ นท่ีปลอดภัย อยาใหช าํ รดุ สูญหาย หรือเสียหายได และเม่ือ
ไดตรวจสอบแลวกใ็ หเกบ็ อยา งเอกสารธรรมดา
ขอ ๗๖ ใบสาํ คญั คูจายที่เปนใบเสร็จรับเงินซ่ึงผูรับเงินออกให อยางนอยจะตองมี
รายการดังตอไปน้ี
(๑) ชอ่ื สถานท่ีอยูหรอื ทที่ าํ การของผูรบั เงิน
(๒) วนั เดอื น ปท ่รี ับเงนิ
(๓) รายการแสดงการรบั เงินและระบวุ าเปนคา อะไร
(๔) จํานวนเงินท้ังตัวเลขและตัวอักษร
(๕) ลายมือชอ่ื พรอมทั้งมีตวั บรรจงช่อื และชอ่ื สกุลของผูร บั เงนิ
ถาผูรับเงินลงลายมือช่ือไมได ใหใชลายพิมพน้ิวมือ หามมิใหใชแกงไดหรือ
เครอ่ื งหมายอน่ื ทํานองเชน วา นน้ั แทนการลงลายมอื ชื่อ
ขอ 7743 ใหผจู า ยเงินประทับตราขอความวา “จายเงินแลว” โดยลงลายมือชื่อ
42
รบั รองการจาย พรอ มทั้งระบชุ ื่อสกุลดวยตัวบรรจงพรอมวัน เดือน ป ท่ีจายกํากับไวในหลักฐาน

41 ขอ 73 วรรคสองเพม่ิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงนิ และการ
ตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
42 ขอ73/1 เพม่ิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
43 ขอ77 แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ (ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 20 ~ หน้าท่ี 39

การจายเงินใหแกเจาหนี้ หรือผูมีสิทธิรับเงินทุกฉบับเพ่ือประโยชนในการตรวจสอบ และกรณีท่ี
เปนใบสําคญั คูจา ยให หวั หนา หนวยงานคลังลงลายมอื ชื่อรบั รองความถูกตอ งกาํ กบั ไวดวย
ในกรณีที่ใบสําคัญคูจายเปนภาษาตางประเทศ ใหมีคําแปลเปนภาษาไทยตาม
สาระสาํ คญั ในขอ 76 ไวด ว ย
ขอ 77/1 44 การจายเงินทุกรายการตองมีการบันทึกการจายเงินไวในระบบและ
43
ตอ งตรวจสอบ การจา ยเงินกับหลักฐานการจายทกุ ส้นิ วนั
ขอ 78 45 ขาราชการ พนักงานสวนทองถ่ิน พนักงานจาง ลูกจาง หรือผูรับ
44
บาํ นาญ หรือเบีย้ หวดั ที่ไมส ามารถมารบั เงินไดดวยตนเอง จะมอบฉันทะใหผูอ่ืนเปนผูรับแทนก็ได
โดยใชใบมอบฉนั ทะ ตามแบบทก่ี รมสงเสริมการปกครองทอ งถิน่ กาํ หนด
การจายเงินใหแกบุคคลนอกจากท่ีกําหนดไวในวรรคหน่ึง หากบุคคลน้ันไม
สามารถมารับเงนิ ได ดว ยตนเอง สามารถทําหนังสอื มอบอาํ นาจใหบคุ คลอื่นมารบั เงินแทนได
การจายเงินในกรณที มี่ ีการโอนสิทธิเรียกรอง ใหเปนไปตามท่ีกระทรวงมหาดไทย
กาํ หนด
ขอ ๗๙ การจายเงินขององคกรปกครองสวนทองถ่ินในตางประเทศ ซ่ึงกฎหมาย
หรือประเพณนี ยิ มของประเทศน้ัน ๆ ไมตองออกใบเสร็จรับเงิน หรือออกใบเสร็จรับเงินไมเปนไป
ตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในขอ ๗๖ ใหผูจายเงินทําใบรับรองการจายเงินโดยระบุวาเปนการ
จายเงินคาอะไร เมื่อวัน เดือน ปใด จํานวนเทาใด และใหลงลายมือชื่อรับรองการจายไว
เชน เดียวกับท่กี ําหนดในขอ ๗๗ ในกรณีท่ีมีหลักฐานการรับเงินเปนอยางอ่ืนก็ใหแนบหลักฐานน้ัน
ไปพรอ มกับใบรบั รองเพือ่ ตรวจสอบดว ย
ขอ 8046 กรณีองคก รปกครองสว นทอ งถิ่นจายเงินรายใด ซึ่งตามลักษณะไมอาจ
45
เรยี ก ใบเสรจ็ รบั เงินจากผรู บั เงนิ ได ใหผูรับเงินลงชอื่ รับเงินในใบสําคัญรับเงินเพื่อใชเปนหลักฐาน
การจาย
ขอ 81 47 กรณีขาราชการ พนักงานหรือลูกจางขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
46
จา ยเงินไป โดยไดรบั ใบเสรจ็ รับเงินซงึ่ มรี ายการไมครบถวนตามขอ 76 หรือซ่ึงตามลักษณะไม
อาจ เรยี กใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงินได ใหขาราชการ พนักงานหรือลูกจางขององคกรปกครอง
สว นทองถิน่ น้นั ทาํ ใบรับรองการจา ยเงนิ เพ่ือนํามาเปนเอกสารประกอบการขอเบิกเงินตอองคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน และเมื่อมีการจายเงินแลว ใหขาราชการ พนักงานหรือลูกจางขององคกร

44 ขอ 77/1 เพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจายเงิน การฝากเงนิ การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
45 ขอ78 แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงิน การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
46 ขอ 80 แกไขเพ่ิมเตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่น (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
47 ขอ 81 แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 21 ~ หน้าที่ 40

ปกครองสวนทองถ่ินน้ัน ทําใบสําคัญรับเงินและลงช่ือในใบสําคัญรับเงินน้ัน เพ่ือเปนหลักฐาน
การจา ย
ขอ 8248 ในกรณที ใี่ บสําคัญคจู า ยสญู หาย ใหป ฏบิ ตั ิดังนี้
47
(1 กรณีท่ีไดรับใบเสร็จรับเงินแลว แตเกิดสูญหาย ใหใชสําเนาใบเสร็จรับเงิน
ซึ่งผรู ับเงินรบั รอง เปน เอกสารการขอเบกิ เงินแทนก็ได
(2 กรณีที่ไมอาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินตาม (1 ได ใหผู จายเงินนั้นทํา
ใบรับรองการจายเงิน โดยช้ีแจงเหตุผล พฤติการณที่สูญหาย หรือเหตุที่ไมอาจขอสําเนา
ใบเสร็จรับเงนิ ได และรับรองวายังไมเคยนําใบเสร็จรับเงินนั้นมาเบิกจาย แมพบภายหลังจะไม
นาํ มาเบิกจา ยอีก แลว เสนอตอผบู งั คับบญั ชาตามลําดบั เพอื่ พิจารณาอนุมัติ เมื่อไดรับอนุมัติแลว
ก็ใหใชใบรับรองนั้นเปน หลักฐานประกอบการขอเบิกเงินได และเมื่อมีการจายเงินแลว ใหผู
จา ยเงนิ น้ัน ทาํ ใบสําคัญรับเงิน และลงชือ่ ในใบสําคญั รับเงินนั้น เพือ่ เปน หลักฐานการจา ย
ขอ ๘๓ หามมิใหผูมีหนา ท่จี ายเงนิ เรยี กใบสาํ คัญคจู า ยหรือใหผ ูรับเงินลงลายมือช่ือ
รับเงินในหลักฐานการจา ยเงิน โดยที่ยังมิไดมีการจายเงนิ ใหแ กเ จาหนห้ี รอื ผมู สี ิทธิรบั เงิน
สว นท่ี ๓
การเบกิ จา ยเงนิ ยมื 4849
------------------------------------------
ขอ 84 50 การจายเงินยืมจะจายไดแตเฉพาะที่ผูยืมไดทําสัญญาการยืมเงินและ
49
ผูบริหารทองถิ่น ไดอนุมัติใหจายเงินยืมตามสัญญาการยืมแลวเทานั้น โดยจะตองเปนไปตาม
เงื่อนไข ดังตอไปน้ี
(1 มีงบประมาณเพื่อการนนั้ แลว
(2 ผยู มื ไดทาํ สญั ญาการยืมเงินขึ้ นสองฉบับ โดยผูยืมไดรับเงินตามสัญญาการยืม
แลว ใหล งลายมือชอื่ รบั เงินในสญั ญาการยืมเงินท้ังสองฉบับ พรอ มกับมอบใหองคกรปกครองสวน
ทองถ่ินผูใหยืม เก็บรักษาไวเปนหลักฐานหนึ่งฉบับ ใหผูยืมเก็บไวหนึ่งฉบับ และรับรองวาจะ
ปฏิบัติตามระเบียบ ขอ บงั คับ หรอื คําสัง่ ท่ีไดก าํ หนดไวสําหรบั เรือ่ งน้ัน และจะนําใบสําคัญคูจาย
ที่ถกู ตอ งรวมท้ังเงินเหลอื จา ย สงคืนตามท่ีกําหนดในขอ 86 ถาไมสงตามกําหนดก็จะชดใชเงิน
หรอื ยินยอมใหองคก รปกครองสว นทอ งถิน่ หกั เงนิ เดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ หรือเงินอ่ืนใด
อนั จะพึงไดรบั จากองคก รปกครองสว นทอ งถิ่น ชดใชเงินยมื นน้ั
กรณีท่ีผยู มื ไมมีเงนิ ใด ๆ อนั จะพึงไดรบั จากองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีจะหักสง
ใชเ งินยืมได ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นกําหนดใหผูยืมหาหลักทรัพยมาวางเปนประกัน หรือ

48 ขอ 82 แกไ ขเพม่ิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสว นทอ งถิน่ (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
49 ช่ือสว นท่ี 3 แกไ ขเปน “การเบิกจายเงินยืม” โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรับเงิน การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงิน การเก็บ
รกั ษาเงนิ และการตรวจเงินขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
50 ขอ 84 แกไ ขเพิ่มเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบกิ จายเงิน การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 22 ~ หน้าท่ี 41

หาบุคคล มาทาํ สัญญาคํ้าประกันไวตอ องคก รปกครองสวนทองถ่นิ ดวย
(3 การอนุมตั ใิ หผ ูยืมเงินเพือ่ ใชในราชการแตล ะราย ใหผ มู ีอํานาจพิจารณาอนุมัติ
ใหย ืม เทาทจี่ ําเปนไดเ ฉพาะผมู ีหนาที่ตองปฏิบัติงานน้ัน ๆ และหามมิใหอนุมัติใหยืมเงินรายใหม
ในเม่ือผูยมื มไิ ดช ําระคืนเงนิ ยมื รายเกาใหเ สร็จสนิ้ ไปกอน
ในกรณกี ารเดินทางไปราชการเปนหมูคณะ อาจใหผูมีสิทธิคนใดคนหนึ่งเปนผูยืม
แทน
(4 กรณีครบกําหนดการสงใชเงินยืมแลวผูยืมยังไมชดใชเงินยืม ใหผูบริหาร
ทองถิ่นมีอํานาจสั่งการ ใหผูคางชําระเงินยืมสงใชเงินยืมภายในกําหนดเวลาตามท่ีเห็นสมควร
อยางชา ไมเ กนิ สามสบิ วันนบั แต วันครบกาํ หนด ถา ผูยืมขัดขนื หรอื หลกี เลี่ยงไมยอมชดใชเงินยืมให
นําความใน (2 มาใชบังคบั แลว รายงานให ผูบริหารทอ งถน่ิ ทราบ
(5 ในกรณที ผี่ ยู มื จะตองพนจากตําแหนงหรือพนจากการปฏิบัติงานใหแกองคกร
ปกครอง สว นทอ งถนิ่ ไมวากรณีใด ๆ ใหหัวหนาหนวยงานคลังมีหนาที่ตรวจสอบทะเบียนเงินยืม
ของบคุ คลดงั กลา ว หากปรากฏวายังคางชําระเงินยืมอยู ใหหัวหนาหนวยงานคลังเรงรัดใหเสร็จ
ส้ินในทันที กอนท่ีผูยืมจะตองพนจากตําแหนงหนาที่ไปหรือพนจากการปฏิบัติงานใหแกองคกร
ปกครองสวนทองถนิ่ ไป ในกรณีที่ผูยืมถึงแกกรรมหรือไมยินยอมชดใชเงินยืมใหนําความใน (2
มาใชบังคบั โดยอนโุ ลม
(6 การสงใชเงนิ ยืมใหหัวหนาหนว ยงานคลงั ปฏบิ ตั ิ ดังนี้
(ก หมายเหตุจํานวนเงินและวัน เดือน ป ท่ีสงใชในสัญญาการยืมเงิน
(ข ตองเก็บรกั ษาสญั ญาการยมื เงนิ นนั้ เปน เอกสารสําคัญในราชการ
(ค ถารับคืนเปนเงินสด ใหออกใบเส ร็จรับเงินใหแกผูยืมไวเปนหลักฐาน
(ง ใหบันทึกรายการสงใชเงินยืมในทะเบียนเงินยืมไวดวย โดยใหผูยืมลง
ชื่อในทะเบียนเงนิ ยมื สําหรับรายการทีส่ งใชนน้ั
ขอ 84/1 51 การจายเงินยืมจากเงินนอกงบประมาณ ใหองคกรปกครองสวน
50
ทองถิ่นกระทําไดเฉพาะ เพ่ือใชจายในการดําเนินงานตามวัตถุประสงคของเงินนอกงบประมาณ
ประเภทนน้ั หรือกรณีอ่ืน และไดร บั อนุมตั จิ ากผูบริหารองคก รปกครองสวนทองถิ่นผใู หยมื น้ัน
ขอ ๘๕ สญั ญาการยืมเงิน สัญญาวางหลักทรัพย และสัญญาค้ําประกัน ใหใชตาม
แบบและวธิ กี ารทกี่ รมสง เสรมิ การปกครองทองถ่ินกําหนด
ขอ 85/1 52 การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินยืมใหแกบุคคลใดในสังกัด ยืมเพื่อ
51
ปฏิบตั ิราชการ ใหกระทาํ ไดเฉพาะรายการ ดงั ตอไปน้ี
(1 รายการคา จา งแรงงาน ซง่ึ ไมมีกาํ หนดจายเปนงวดแนนอนเปนประ จํา แตจํา
เปน ตอ งจา ย ใหแ ตล ะวันหรอื แตละคราวเม่อื เสรจ็ งาน

51 ขอ 84/1 เพมิ่ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการรบั เงนิ การเบิกจายเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
52 ขอ 85/1 เพ่มิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรบั เงิน การเบกิ จา ยเงิน การฝากเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ
ขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 23 ~ หน้าที่ 42

(2 รายการคาตอบแทน ใชสอยและวัสดุ เฉพาะคาตอบแทนสําหรับผูท่ี
ปฏิบัติงานใหแก องคกรปกครองสวนทองถ่ินและจําเปนตองจายแตละวันหรือแตละคราวเม่ือ
สน้ิ สดุ การปฏบิ ัติงาน คา ตอบแทนคณะกรรมการ คา เบีย้ ประชุม รายการคาใชสอยหรือวัสดุท่ีไม
ตองจัดซื้อจัดจาง คาใชจาย ในการเดินทางไปราชการ หรือคาใชจายในการฝกอบรม หรือ
คา ใชจายในการจัดงานเฉพาะรายการ ทไ่ี มตองจดั ซ้อื จดั จาง เปน ตน
(3 รายการคา สาธารณูปโภค เฉพาะคาบรกิ ารไปรษณยี โ ทรเลข
ขอ 8653 เงนิ ท่ียมื ไป ใหผูยืมสง หลกั ฐานการจายภายในกําหนดระยะเวลา ดังนี้
52
(1 กรณีเดินทางกลับภมู ลิ ําเนาเดิม ใหสงตอองคกรปกครองสว นทอ งถิ่นที่จายเงิน
ใหยมื โดยทางไปรษณียลงทะเบียนหรือธนาณัตแิ ลว แตกรณี ภายในสามสิบวันนับจากวันที่ไดรับ
เงิน
(2 กรณเี ดินทางไปราชการอน่ื ใหส ง ตอ องคกรปกครองสวนทองถ่นิ ผใู หย ืมภายใน
สบิ หา วัน นับจากวันกลบั มาถึง
(3 การยืมเงินเพื่อปฏิบัติราชการนอกจากตาม (1 หรือ (2 ใหสงตอองคกร
ปกครอง สว นทอ งถิน่ ผูใ หยมื ภายในสามสิบวนั นับจากวันท่ีไดรบั เงนิ
ในกรณที ี่ผูย มื ไดส ง หลักฐานการจายเพ่ือสงใชคืนเงินยืมแลวมีเหตุตองทักทวง ให
องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ผูใ หย มื แจงขอทกั ทว งใหผยู มื ทราบโดยดวน แลวใหผูยืมปฏิบัติตามคํา
ทักทวงภายใน สิบหาวนั นับจากวนั ทีไ่ ดรับคําทักทวง หากผูยืมมิไดดําเนินการตามคําทักทวงและ
มิไดช ้ีแจงเหตุผล ใหอ งคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ ผูใหยืมทราบ ก็ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินดํา
เนินการตามเงื่อนไข ในสัญญาการยืมเงิน โดยถือวาผูนั้นยังมิไดสงใชเงินยืมเทาจํานวนท่ีทักทวง
นัน้
ขอ 86/154 เม่ือผูย มื สงหลักฐานการจายเงินหรือเงินเหลือจายที่ยืม (ถามี ให
53
หนวยงานคลัง บันทึกการรับคืนในสัญญาการยืมเงิน ถารับคืนเปนเงินสดใหออกใบเสร็จรับเงิน
พรอมท้ังออกใบรับ ใบสําคัญตามแบบที่กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นกําหนดใหผูยืมไวเปน
หลกั ฐาน
ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเก็บรักษาสัญญาการยืมเงินซึ่งยังมิไดชําระคืนให
เสร็จส้ินไวใน ท่ีปลอดภัยอยาใหสูญหายและเม่ือผูยืมไดชําระคืนเงินยืมเสร็จสิ้นแลวใหเก็บรักษา
เชน เดียวกบั หลกั ฐาน การจา ย

หมวด ๘
เงินสะสม
-----------------------

53 ขอ 86 แกไ ขเพ่มิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบกิ จา ยเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสว นทอ งถิ่น (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
54 ขอ 86/1 เพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบกิ จา ยเงิน การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 24 ~ หน้าท่ี 43

ขอ 87 55 ทุกวันสิ้นปงบประมาณ เม่ือองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดปดบัญชี
54
รายรบั รายจา ยแลว ใหกันยอดเงนิ สะสมประจําปไ วร อ ยละสบิ หา ของทุกป เพ่ือเปนทุนสํารองเงิน
สะสม องคก รปกครองสวนทอ งถิ่นอาจใชจ า ยเงินทนุ สํารองเงินสะสมได กรณดี ังตอ ไปนี้
(1 กรณีท่ียอดเงินสะสมคงเหลือไมถึงรอยละสิบหาของเงินสะสม ณ วันที่ 1
ตลุ าคม ของปง บประมาณน้นั ใหขอความเห็นชอบจากสภาทองถิ่น และขออนุมัติผูวาราชการ
จังหวดั
(2 กรณีทป่ี ใ ด องคกรปกครองสวนทองถน่ิ มยี อดเงินทุนสํารองเงินสะสมเกินรอย
ละสบิ หา ของงบประมาณรายจายประจาํ ปน ัน้ หากมคี วามจาํ เปน องคก รปกครองสว นทองถ่ินอาจ
นําเงนิ ทนุ สํารอง เงนิ สะสมเฉพาะในสว นทเ่ี กนิ ไปใชจายไดภายใตเง่ือนไขขอ 89 (1 โดยไดรับ
อนุมัตจิ ากสภาทองถ่นิ
ขอ 88 56 กิจการใดที่มีงบประมาณรายจายประจําปอนุญาตใหจายไดแลว แต
55
ระยะสามเดือนแรกของปงบประมาณ องคกรปกครองสวนทองถ่ินมีรายไดไมเพียงพอที่จะ
ดาํ เนินการตามงบประมาณ องคกรปกครองสว นทองถ่ินอาจนําเงินสะสมทดรองจายไปพลางกอน
ได
กรณีที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นไดรับแจงการจัดสรรเงินอุดหนุนท่ีรัฐบาลระบุ
วตั ถุประสงค ใหไปดํา เนินการตามอํานาจหนาท่ียกเวนงบลงทุน แตยังมิไดรับเงิน หากมีความ
จําเปน ตอ งใชจายเงนิ กอ น องคก รปกครองสว นทองถ่นิ อาจยมื เงนิ สะสมทดรองจา ยไปพลางกอนได
เมอื่ ไดรบั เงินงบประมาณ ดังกลาวแลว ใหบนั ทึกบญั ชีสง ใชเงินสะสมท่ียืมตามวิธีการท่ีกรมสงเสริม
การปกครองทอ งถ่นิ กําหนด
กรณีองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดมีกิจการพาณิชย หากมีความจําเปนกิจการพาณิชย
อาจขอยมื เงินสะสมขององคก รปกครองสวนทองถ่ินไปทดรองจายเพ่ือบริหารกิจการกอนได โดย
ขอความเหน็ ชอบ จากสภาทอ งถิ่นและใหส ง ชดใชเ งินยมื เงนิ สะสมเมอื่ สิน้ ปง บประมาณ
กรณอี งคกรปกครองสวนทองถิ่นใดมผี รู ับบํานาญรายใหมหรือผูรับบํานาญที่ยายภูมิลําเนา
และประสงคจะโอนการรับเงินบํานาญไปรับในองคกรปกครองสวนทองถิ่นประเภทเดียวกันใน
ทองที่ ที่ยายไปอยูใหม องคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหมอาจยืม
เงนิ สะสมทดรองจาย ใหกบั ผูร บั บํานาญนัน้ ได โดยอาํ นาจของผูบรหิ ารทองถิ่น และเม่ือไดรับเงิน
คนื ใหบันทกึ บญั ชี สงใชเงนิ สะสมท่ยี มื ตามวธิ กี ารทกี่ รมสง เสรมิ การปกครองทองถิ่นกาํ หนด
ขอ 89 57 องคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจใชจายเงินสะสมได โดยไดรับอนุมัติ
56
จากสภาทองถ่ิน ภายใตเงอ่ื นไข ดังตอ ไปนี้

55 ขอ 87 แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงิน การเบกิ จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
56 ขอ 88 แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงิน การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่น (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561
57 ขอ 89 แกไขเพิ่มเตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทองถิ่น (ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี


Click to View FlipBook Version