The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makenodown, 2021-09-11 23:52:50

70 กฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

~ 25 ~ หน้าที่ 44

(๑ ใหกระทําไดเฉพาะกิจการซ่ึงอยูในอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่นซึ่งเกี่ยวกับ ดานการบริการชุมชนและสังคม หรือกิจการท่ีเปนการเพ่ิมพูนรายไดของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือกิจการที่จัดทําเพ่ือบําบัดความเดือดรอนของประชาชน ท้ังน้ี
ตอ งเปน ไปตามแผนพัฒนาขององคกร ปกครองสว นทองถนิ่ หรือตามทกี่ ฎหมายกําหนด
(๒ ไดสงเงินสมทบกองทุนสงเสริมกิจการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละ
ประเภท ตามระเบียบแลว
(3 ใหก นั เงนิ สะสมสาํ รองจายเปนคาใชจายดา นบคุ ลากรไมน อ ยกวา สามเดือนและ
กนั ไวอ ีก รอยละสบิ ของงบประมาณรายจายประจําปนั้น เพ่อื เปนคา ใชจายในการบริหารงานและ
กรณีทมี่ ี สาธารณภัยเกิดขึ้น
(4 เมื่อไดรับอนุมัติใหใชจายเงินสะสมแลว องคกรปกครองสวนทองถ่ินตอง
ดาํ เนนิ การ กอหนี้ผูกพันใหเสรจ็ สิ้นภายในระยะเวลาไมเ กนิ หนง่ึ ปถัดไป หากไมดําเนินการภายใน
ระยะเวลา ทกี่ ําหนดใหการใชจายเงนิ สะสมนนั้ เปนอนั พับไป ทั้งน้ี ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ใชจายเงินสะสม โดยคํานึงถึงฐานะการเงินการคลัง ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและ
เสถียรภาพในระยะยาว
ข อ 89/ 1 58 ใ น ก ร ณี ท่ี มี ภ า ร กิ จ ต า ม น โ ย บ า ย เ ร ง ด ว น ข อ ง รั ฐ บ า ล ห รื อ
57
กระทรวงมหาดไทย และจําเปนตองใหอ งคก รปกครองสว นทองถ่ินเปนผูดําเนินการ โดยมีความ
จําเปนตองใชจายจาก งบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและงบประมาณดังกลาวไม
เพียงพอและไมตองดวยเง่ือนไข การใชจายเงินสะสมหรือเงินทุนสํารองเงินสะสมตามขอ 87
และขอ 89 ปลัดกระทรวงมหาดไทย อาจอนุมตั ิยกเวนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นใชจายจาก
เงินสะสมหรือเงินทุนสํารองเงินสะสมได โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทย
ขอ ๙๐ 59 กรณที งี่ บประมาณรายจายประกาศใชบังคับแลว มีงบประมาณไมเพียง
58
พอท่ีจะจายหรือไมไดตั้งงบประมาณเพื่อการน้ันไว ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจายขาดเงิน
สะสมได โดยไดรบั อนุมัตจิ ากผูบรหิ ารทอ งถ่นิ ในกรณดี งั ตอ ไปนี้
(๑) รับโอน เลื่อนระดบั เลอ่ื นขั้นเงินเดอื นพนกั งานสว นทองถิ่น
(๒) เบิกเงินให ผูบริหารทองถิ่น ผูชวยผูบริหารทองถิ่น สมาชิกสภาทองถ่ิน
เลขานกุ ารผบู รหิ ารทอ งถ่ิน เลขานกุ ารสภาทองถิ่น ทป่ี รึกษาผูบริหารทอ งถนิ่ พนกั งานสวนทองถ่ิน
ซึง่ มีสิทธไิ ดร ับเงนิ ตามกฎหมายวา ดว ยการจดั ต้ังองคกรปกครองสว นทองถนิ่ นั้น ตลอดจนลูกจางซ่ึง
มีสทิ ธิไดร บั เงินอื่นตามกฎหมาย ระเบยี บ คําสง่ั หรอื หนงั สอื สัง่ การกระทรวงมหาดไทย ในระหวาง
ปงบประมาณ
(๓) คาใชจายตาม (๑) และหรือ (๒) ใหถ อื เปน รายจา ยในปง บประมาณน้ัน

58 ขอ 89/1 เพ่มิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทอ งถิน่ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561
59 ขอ 90 แกไขเพม่ิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเบิกจา ยเงิน การฝากเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 26 ~ หน้าที่ 45

ขอ ๙๑ ภายใตบังคับขอ ๘๙ ในกรณีฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกิดข้ึน ใหผูบริหาร
ทองถ่ินอนุมตั ใิ หจายขาดเงนิ สะสมไดตามความจาํ เปน ในขณะนนั้ โดยใหคาํ นงึ ถึงฐานะการเงิน การ
คลังขององคกรปกครองสวนทอ งถนิ่ น้นั
ขอ ๙๒ การวางฎกี าเบกิ เงนิ สะสม ตามขอ ๘๙ และขอ ๙๐ ใหดําเนินการวางฎีกา
เบกิ เงนิ สะสมไดเฉพาะตามจํานวนท่ีจะตองจายจริงและจะถึงกําหนดเวลาที่ตองจายเงินหรือวาง
ฎกี าเบิกเงนิ สะสมเปนงวด ๆ ตามความจาํ เปน
ขอ ๙๓ 60 ใหหนวยงานคลังจัดทํารายงานเงินสะสมและเงินทุนสํารองสะสม ณ
59
วนั สนิ้ เดือนมีนาคมและกันยายนตามแบบรายงานท่ีกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ินกําหนดสงให
สาํ นักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดตรวจสอบแลวรายงานใหผูวาราชการจังหวัดทราบ
ภายในเดอื นเมษายนและตลุ าคมของทกุ ป

หมวด ๙
การถอนคนื เงนิ รายรบั และการจาํ หนายหน้ีสูญ
------------------------------
ขอ ๙๔ 61 กรณีองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดรับเงินรายไดและตอมาไดมีการขอ
60
คืนในลกั ษณะของลาภมิควรไดภ ายในกําหนดอายคุ วาม ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นถอนคืนเงิน
รายรบั โดยปฏิบัตติ ามขอ ๙๕ และขอ ๙๖
ขอ ๙๕ การถอนคนื เงนิ รายรบั ตามขอ ๙๔ ใหตรวจสอบและมสี าระสําคัญ ดงั น้ี
(๑) เหตุผลความจาํ เปนในการถอนคนื เงินรายรับท่ีนาํ สงเปนเงินรายรับที่นาํ สงแลว
(๒) หลักฐานเอกสารทเี่ ก่ยี วขอ งอื่น ๆ เชน หลักฐานแสดงการยกเลิกการจัดซื้อจัด
จาง คาํ ขอคืนเงนิ คาซ้ือเอกสาร หนงั สอื แจง ใหร บั ผดิ ชดใชจากการละเมดิ เปนตน
ขอ ๙๖ วธิ ีปฏบิ ตั ิในการถอนคืนเงินรายรับ ใหปฏบิ ตั ิดังนี้
(๑) ขอเงินคืนภายในปงบประมาณที่รับเงิน เม่ือตรวจสอบแลวเห็นวาถูกตองให
จา ยคืนเงินรายรับดงั กลา ว โดยตอ งไดรบั อนมุ ตั ิจากผบู ริหารทองถ่นิ
(๒) ขอเงนิ คืนภายหลังจากปงบประมาณที่รับเงินรายรับเม่ือตรวจสอบแลวเห็นวา
ถกู ตอ งใหองคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ จา ยขาดเงินสะสมไดโ ดยตอ งไดร บั อนมุ ัตจิ ากสภาทอ งถิ่น
ขอ ๙๗ หากองคกรปกครองสวนทองถิ่น มิอาจจัดเก็บหน้ีจากลูกหนี้ที่คางชําระ
เกินกวาสิบปขนึ้ ไป ดวยเหตหุ นึง่ เหตุใด และไดดาํ เนนิ การแลว ดงั นี้
(๑) เรงรัดติดตามใหมีการชําระหน้ีแลว แตไมสามารถจัดเก็บได เน่ืองจากลูกหน้ี
กลายเปนบุคคลลม ละลาย ยากจน ไมม ที รัพยสินจะเรยี กชาํ ระหนี้ได หรือกฎหมายมิไดเปดชองให
กระทาํ ได

60 ขอ 93 แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการรับเงนิ การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2558
61 ขอ 94 แกไขเพม่ิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงนิ การเ บกิ จายเงิน การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจ
เงินขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ (ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 27 ~ หน้าท่ี 46

(๒) กรณีทีล่ ูกหนีต้ ายหรือสาบสูญ ผูรับพินัยกรรม หรือทายาทผูรับมรดกตองเปน
บุคคลที่มลี ักษณะเชนเดียวกบั ทไ่ี ดร ะบุไวใ น (๑)
ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินจําหนายหน้ีสูญจากบัญชีลูกหนี้โดยไดรับความ
เห็นชอบจากผูบ รหิ ารทอ งถน่ิ และไดรับอนุมตั จิ ากสภาทองถิน่
หลักเกณฑการจําหนายหน้ีสูญ และวิธีการบันทึกบัญชีใหเปนไปตามที่
ปลดั กระทรวงมหาดไทยกาํ หนด
หมวด ๑๐
การตรวจเงนิ
----------------------------------------
ขอ ๙๘ ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดทําบัญชีและทะเบียนรายรับรายจาย
รวมท้งั สรรพบัญชีหรือทะเบียนอื่นใดตามทกี่ รมสง เสรมิ การปกครองทอ งถ่ินกําหนด
การจัดทําบัญชีโดยระบบบัญชีคอมพิวเตอรขององคกรปกครองสวนทองถ่ินให
เปนไปตามหมวด ๑๑ 62
61
ขอ ๙๙ ใหหัวหนาหนวยงานคลังทํารายงานแสดงรายรับรายจายและงบทดลอง
เปนรายเดอื นเสนอปลัดองคกรปกครองสว นทอ งถิ่นเพื่อนําเสนอผบู ริหารทองถิ่นเพื่อทราบในฐานะ
หัวหนาผบู งั คบั บญั ชา และสงสาํ เนาใหผ วู า ราชการจังหวัด สําหรับองคการบริหารสวนตําบลใหสง
นายอาํ เภอ
ขอ 100 63 ใหหัวหนาหนวยงานคลังจัดทํางบแสดงฐานะการเงิน และงบอื่น ๆ
62
ตามแบบที่ กระทรวงการคลังกําหนด เพ่ือสงใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตรวจสอบภายใน
เกา สบิ วนั นบั แตวันส้นิ ป พรอ มสงใหกระทรวงการคลังดวย และสงสําเนาใหผูวาราชการจังหวัด
กรณอี งคการบริหารสว นจังหวดั และเทศบาล สงนายอําเภอ กรณอี งคการบรหิ ารสวนตําบล
ขอ ๑๐๑ ใหอ งคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ ประกาศสาํ เนางบแสดงฐานะการเงินและ
งบอื่น ๆตามขอ ๑๐๐ โดยเปดเผยเพ่ือใหประชาชนทราบ ณ สํานักงานองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นในเวลาอนั สมควร
ขอ ๑๐๑/๑6364 ใหห วั หนาหนวยงานคลงั จดั ทํารายงานแสดงผลการดําเนินงานราย
ไตรมาสตามที่กรมสงเสรมิ การปกครองทองถ่ินกําหนดเพ่ือนําเสนอผูบริหารทองถิ่นภายในสามสิบ
วันนับจากวันส้ินไตรมาสและประกาศสําเนารายงานดังกลาวโดยเปดเผยใหประชาชนทราบ ณ
สํานักงานองคกรปกครองสวนทองถ่ินภายในสิบหาวันนับแตผูบริหารทองถ่ินรับทราบรายงาน
ดงั กลา ว

62 ขอ 98 วรรคสอง เพม่ิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการรบั เงิน การเบิกจา ยเงิน การฝากเงิน การเกบ็ รกั ษาเงิน และการ
ตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2558
63 ขอ 100 แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรับเงิน การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจ
เงนิ ขององคก รปกครองสวนทองถ่ิน (ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2561
64 ขอ 101/1 เพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบกิ จา ยเงิน การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 28 ~ หน้าที่ 47

ขอ ๑๐๒ ในการตรวจสอบบญั ชแี ละหลักฐานการรับจายเงิน ใหหัวหนาหนวยงาน
ผูเบิกหรือรับเงิน และหรือหัวหนาหนวยงานคลัง มีหนาท่ีใหคําชี้แจงและอํานวยความสะดวกแก
เจาหนา ทขี่ องสาํ นักงานการตรวจเงนิ แผน ดนิ และหากไดรับขอทักทว งจากสํานักงานการตรวจเงิน
แผนดินใหหัวหนาหนวยงานผูเบิกและหรือหัวหนาหนวยงานคลังปฏิบัติตามคําทักทวงโดยเร็ว
อยางชาไมเ กินส่สี บิ หา วันนบั จากวันท่อี งคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ไดร ับแจงขอทักทวงนั้น
ขอ ๑๐๓ ในกรณที อี่ งคก รปกครองสว นทองถน่ิ ชแ้ี จงขอทักทว งไปยังสํานักงานการ
ตรวจเงินแผนดิน แตสาํ นกั งานการตรวจเงินแผนดินยืนยันวายังไมมีเหตุผลท่ีจะลางขอทักทวง ให
องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ ชแี้ จงเหตุผลและรายงานใหผูวาราชการจงั หวดั วินิจฉัยภายในสิบหาวัน
นบั จากวันท่ไี ดรบั คํายืนยันจากสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน และใหผูวาราชการจังหวัดแจงผล
การวินจิ ฉยั ภายในสามสบิ วนั นับจากวนั ทไี่ ดร ับรายงานจากองคก รปกครองสวนทองถนิ่
ในกรณีท่ีองคก รปกครองสว นทองถิ่นจะตองปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผูวาราชการ
จังหวัดใหป ฏิบัตใิ หเ สร็จสนิ้ ภายในสส่ี บิ หา วนั นบั จากวันทไ่ี ดรับทราบผลการวนิ ิจฉัย
ขอ ๑๐๔ 65 ใหสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถ่ินจังหวัด ตรวจสอบการ
64
จัดทําบญั ชแี ละรายงานการเงินขององคก รปกครองสวนทองถ่ินอยางนอยปละหนึ่งคร้ัง พรอมท้ัง
รายงานใหผวู า ราชการจังหวดั ทราบ ภายในสบิ หา วนั นับแตว ันท่ไี ดท ําการตรวจสอบแลว เสรจ็
ผูบ รหิ ารทองถนิ่ ผวู า ราชการจงั หวัด อธบิ ดกี รมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน หรือ
ปลัดกระทรวงมหาดไทย อาจใหผูเชี่ยวชาญบัญชีทําการตรวจสอบบัญชีการเงินขององคกร
ปกครองสวนทองถน่ิ เปน การภายในได สาํ หรับองคก ารบรหิ ารสวนตําบล ใหนายอําเภอดําเนินการ
ดังกลา วไดเชน เดียวกัน
หมวด ๑๑
ระบบบัญชคี อมพวิ เตอรข ององคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ
( Electronic Local Administrative Accounting System : e-LAAS)66
-------------------------------------------
ขอ ๑๐๕67 ใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ จดั ทําบัญชีโดยระบบบัญชีคอมพิวเตอร
66
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ( Electronic Local Administrative Accounting System :
e-LAAS) ซง่ึ อยางนอยประกอบดวยระบบการทาํ งาน ๔ ระบบดังนี้
(1) ระบบงบประมาณ ประกอบดวยการจัดทําขอบัญญัติงบประมาณรายจาย
ประจําป ขอบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม เทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป หรือ

65 ขอ 104 แกไขเพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการรับเงิน การเบิกจายเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงนิ และการตรวจ
เงนิ ขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่น (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2558
66 ชื่อหมวด 11 เบ็ดเตลด็ แกไ ขเปน “ระบบบัญชคี อมพวิ เตอรข ององคก รปกครองสวนทองถิน่ ( Electronic Local Administrative Accounting
System : e-LAAS)” โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจเงินของ
องคกรปกครองสว นทองถ่ิน (ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2558
67 ขอ 105 แกไ ขเพิม่ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการรับเงิน การเบิกจา ยเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงนิ และการตรวจ
เงินขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 29 ~ หน้าท่ี 48

เทศบญั ญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม การโอนและการแกไขเปลี่ยนแปลงคําชี้แจงงบประมาณ
รวมทัง้ การควบคุมงบประมาณและรายงานยอดงบประมาณคงเหลอื

(2) ระบบรายรบั ประกอบดวยการรับเงินทุกประเภท รวมท้ังการออกบเสร็จรับ
เงนิ และหลกั ฐานการรบั เงิน รายงานและทะเบียนตา ง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ ง

(3) ระบบรายจาย ประกอบดว ยการกอ หนผี้ ูกพันและการเบิกจายเงิน รวมท้ังการ
จดั ทําฎกี า รายงานและทะเบียนตาง ๆ ทเี่ กี่ยวของ

(4) ระบบบัญชี ประกอบดว ยการจดั ทําบญั ชแี ละทะเบยี นตาง ๆ รวมทัง้ การจดั ทํา
รายงานการเงนิ ขององคก รปกครองสว นทองถ่นิ

ขอ ๑๐๕/๑6768 ใหกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ินวางระบบ กําหนดวิธีการ
ปฏิบัติงาน การบริหารพัฒนาระบบ การสงเสริมและกํากับดูแลการปฏิบัติงานระบบบัญชี
คอมพิวเตอรข ององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่

ขอ ๑๐๕/๒6869 ใหสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัด สงเสริมและ
สนับสนุนรวมท้ังกํากับดูแลการปฏิบัติงานในระบบบัญชีคอมพิวเตอรขององคกรปกครองสวน
ทอ งถ่นิ ใหเปน ไปตามทีก่ รมสง เสรมิ การปกครองทองถิ่นกาํ หนด

บทเฉพาะกาล
-------------------------------
ขอ ๑๐๖ การรับเงนิ การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การถอนเงิน การเก็บรักษาเงิน
แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ เ งิ น ใ ด ที่ อ ยู ใ น ร ะ ห ว า ง ดํ า เ นิ น ก า ร แ ล ะ ยั ง ไ ม แ ล ว เ ส ร็ จ ใ น วั น ท่ี ร ะ เ บี ย บ
กระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ใชบังคับใหดําเนินการตอไปตามระเบียบหรือหลักเกณฑท่ีใชบังคับอยู
เดมิ จนกวาจะแลว เสร็จ
ขอ ๑๐๗ บรรดาแบบพิมพและเอกสารใด ๆ ท่ีใชในการรับเงิน การเบิกจายเงิน
การฝากเงินการถอนเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
ตลอดจนแบบบัญชีและทะเบียนตาง ๆ ใหใชแบบเดิมไปพลางกอน จนกวากรมสงเสริมการ
ปกครองทองถ่นิ จะไดก าํ หนดใหเปนไปตามระเบียบนี้
ขอ ๑๐๘ หากองคก รปกครองสวนทองถ่ินมีบัญชีลูกหนี้เงินยืมเงินสะสมซ่ึงตองตั้ง
งบประมาณรายจายชดใชคงคางตามบัญชี ใหปรับปรุงบัญชีตามแบบท่ีกรมสงเสริมการปกครอง
ทองถิ่นกําหนดและใหตั้งเงินทุนสํารองเงินสะสมสําหรับปแรกจากบัญชีเงินสะสมท่ีไดปรับปรุง
ยอดเงินสะสมเรียบรอยแลว
ขอ ๑๐๙ บรรดาระเบยี บ ขอ บังคับ ประกาศ คําส่ัง หรือหนังสือสั่งการท่ีออกตาม
ความในระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บ
รักษาเงินและการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๑ และระเบียบ

68 ขอ 105/1 เพม่ิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรบั เงนิ การเบิกจา ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2558
69 ขอ 105/2 เพิ่มเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรบั เงนิ การเบิกจายเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงนิ
ขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 30 ~ หน้าที่ 49

กระทรวงมหาดไทยวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการ
ตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ ใหใชบังคับตอไปจนกวาจะมี
ระเบยี บ ขอบังคบั ประกาศคาํ สัง่ หรอื หนังสอื สั่งการทอ่ี อกตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๗
ประชา มาลนี นท

รัฐมนตรชี วยวา การฯ ปฏิบตั ริ าชการแทน
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการรบั เงนิ การเบกิ จายเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน
และการตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสว นทองถ่นิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 254870

ขอ 2 ระเบยี บนใี้ หใ ชบ งั คบั ต้งั แตว ันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน
ตนไป

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดว ยการรับเงิน การเบกิ จายเงิน การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงนิ
และการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่น (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 25 5871
70

ขอ 2 ระเบียบน้ีใหใชบงั คับตง้ั แตว นั ถดั จากวันท่ีประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน
ตน ไป

ขอ 17 การปฏิบัตงิ านบนระบบบญั ชีคอมพิวเตอรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ท่ไี ดดาํ เนนิ การตามระเบียบ ขอ บังคับ ประกาศ คําส่ัง หรือหนังสือส่ังการไปกอนวันที่ระเบียบน้ีมี

ผลใชบงั คบั ใหถือวาเปนการปฏบิ ตั ิงานในระบบบญั ชคี อมพิวเตอรข ององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
ตามระเบยี บนี้

ขอ 18 ในวาระเร่ิมแรก หากองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดยังไมพรอมจะปฏิบัติ
ตามหมวด 11 ระบบบัญชีคอมพิวเตอรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ( Electronic Local
Administrative Accounting System : e-LAAS) ตามระเบยี บนี้ ใหอ งคกรปกครองสว นทองถ่ิน
นั้นปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําส่ัง หรือหนังสือสั่งการเดิมตอไปได แตทั้งนี้ตองไม
เกินหน่งึ รอ ยแปดสิบวนั นับแตระเบยี บนม้ี ผี ลใชบังคบั

ขอ 19 บรรดาระเบยี บ ขอ บงั คับ ประกาศ คําส่ัง หรือหนังสือสั่งการท่ีใชอยูกอน
วันทีร่ ะเบยี บนม้ี ผี ลใชบ ังคบั ใหใ ชตอไปโดยอนุโลมเทาที่ไมข ัดหรือแยง ระเบยี บนี้

70 ราชกจิ จานุเบกษา เลม 123 /ตอนพเิ ศษ 12 ง /หนา 12/26 มกราคม 2549
71 ราชกิจจานเุ บกษา เลม 132 /ตอนพเิ ศษ 230 ง /หนา 2/25 กันยายน 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

~ 31 ~ หน้าท่ี 50

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการรบั เงิน การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน
และการตรวจเงนิ ขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ (ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2561 72

71

ขอ 2 ระเบยี บนี้ใหใชบังคับตง้ั แตว ันถัดจากวนั ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน
ตนไป

กรรมกร สกี ากี : ผรู้ วบรวม

ขอขอบคณุ พนั จ่าเอกชชั วาล อาจบนั ดษิ ทใี่ หค้ วามอนเุ คราะหว์ ตั ถดุ ิบในการวบรวม ทา่ นสามารถศกึ ษาสาระ/ความรูใ้ นการปฏิบตั ิ
ราชการไดท้ ี่ facebook กล่มุ “แบ่งปันความรู”้

72 ราชกิจจานุเบกษา เลม 135 /ตอนพิเศษ 323 ง /หนา 1/18 ธนั วาคม 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 51

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย
วาดว ยคา ใชจา ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนาทที่ องถ่ิน

พ.ศ. ๒๕๕๕ แกไขเพิ่มเตมิ ถึง ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2562

โดยทเ่ี ปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการ
ของเจา หนา ทที่ อ งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๒๖ เสียใหม ใหเ หมาะสมกับสภาพการณป จจุบัน

อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗๖ แหง พระราชบัญญัติองคก ารบรหิ ารสวนจงั หวัด
พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แหงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ และ
มาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบยี บไว ดังตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ระเบยี บนเี้ รียกวา “ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจายในการเดินทางไปราชการ ของ
เจาหนาท่ีทองถ่นิ พ.ศ. ๒๕๕๕” 1

ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใ ชบังคับเมอื่ พนกําหนดหกสิบวันนับแตว นั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป
ขอ ๓ ใหย กเลิก
(๑ ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจา ยในการเดินทางไปราชการของเจาหนาท่ีทองถ่ิน พ.ศ.
๒๕๒๖
(๒ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาเจาหนาที่ทองถ่ิน
(ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๘
(๓ ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนาที่ทองถิ่น (ฉบับ
ท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๓๐
(๔ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยคาใชจายในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนาที่ทองถิ่น (ฉบับ
ท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๔๑
(๕ ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ า ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนาที่ทองถ่ิน (ฉบับ
ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๔๑
(๖ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจา ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนาท่ีทองถิ่น (ฉบับ
ท่ี ๖ พ.ศ. ๒๕๔๘
บรรดาระเบยี บ ขอ บังคับ คําส่งั อน่ื และหนงั สอื สง่ั การในสวนที่มีกําหนดไวแลวในระเบียบน้ี หรือซ่ึง
ขัดหรอื แยง กบั ระเบยี บนี้ ใหใ ชระเบียบนแี้ ทน
ขอ ๔ ในระเบียบนี้ “องคกรปกครองสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวนจังหวัด
เทศบาล และ องคการบรหิ ารสว นตําบล
“ผบู ริหารทอ งถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี และ นายก
องคการบรหิ ารสวนตาํ บล
“เจาหนาที่ทองถ่ิน” หมายความวา ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด พนักงานเทศบาล
พนักงานสวนตําบล และใหหมายความรวมถึง นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายก
องคการบรหิ ารสว นตาํ บล ประธานสภาองคกรปกครองสว นทองถ่ิน สมาชิกสภาองคกรปกครอง สวนทองถิ่น
รองนายกองคการบรหิ ารสว นจังหวดั รองนายกเทศมนตรี รองนายกองคก ารบรหิ ารสวนตําบล ที่ปรึกษานายก

1 ราชกิจจานเุ บกษา เลมที่ 129 ตอนพเิ ศษ 161 ง ประกาศวันท่ี 24 ตลุ าคม 2555

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 52

องคก ารบรหิ ารสว นจังหวัด ที่ปรกึ ษานายกเทศมนตรี เลขานกุ ารนายกองคก ารบรหิ าร สวนจังหวดั เลขานกุ าร
นายกเทศมนตรี เลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล ลูกจาง พนักงานจาง ขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น ซ่ึงไดรับคาจางจากเงินงบประมาณรายจายขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือผูที่
กระทรวงมหาดไทย สั่งใหไ ปปฏิบตั ริ าชการใหองคก รปกครองสวนทองถ่ิน หรอื ผูท่ีองคกร ปกครองสว นทอ งถน่ิ
สั่งใหไปปฏิบัติราชการ ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และไดกําหนดใหเบิกคาใชจาย ในการเดินทางไป
ราชการจากองคก รปกครองสว นทอ งถิ่น

“ภูมลิ ําเนาเดมิ ” หมายความวา ทองท่ีที่เริ่มรับราชการครั้งแรกหรือทองท่ีที่กลับเขารับราชการใหม
หรือไดรับบรรจเุ ปน ลูกจางหรอื พนักงานจา งครง้ั แรกหรือครัง้ สุดทาย แลว แตก รณี

“บคุ คลในครอบครวั ” หมายความวา บคุ คลซึง่ อยใู นอปุ การะและรวมอาศยั อยกู บั ผเู ดินทางไปราชการ
ดงั ตอ ไปนี้

(๑ คสู มรส
(๒ บตุ ร
(๓ บดิ ามารดาของผูเดินทาง และหรอื บิดามารดาของคูส มรส
(๔ ผตู ิดตาม
2“ยานพาหนะประจําทาง” หมายความวา รถไฟ รถโดยสารประจําทางตามกฎหมายวาดวย การ
ขนสงทางบกและเรือกลเดินประจําทางตามกฎหมายวาดวยการเดินเรือในนานนํ้าไทย และให หมายความ
รวมถงึ ยานพาหนะอื่นใดท่ีใหบริการขนสงแกบุคคลทั่วไปเปนประจําโดยมีเสนทาง อัตราคาโดยสาร และคา
ระวางท่ีแนนอ น
3“พาหนะสว นตวั ” หมายความวา รถยนตสวนบุคคล หรือรถจักรยานยนตสวนบุคคล ซ่ึงมิใช ของ
ทางราชการ ท้งั น้ี ไมวา จะเปน กรรมสิทธิข์ องผเู ดินทางไปราชการหรือไมกต็ าม
4“การเดินทางไปราชการเปนหมูคณะ” หมายความวา การเดินทางไปราชการในสถานท่ี และชวงเวลา
เดียวกนั ตั้งแตส องคนขน้ึ ไป
ขอ ๕ ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบน้ี และใหมีอํานาจตีความวินิจฉัยปญหา
กาํ หนดหลักเกณฑและวิธีปฏิบตั ิ เพอื่ ดําเนินการใหเปนไปตามระเบยี บน้ี
ในกรณที อ่ี งคก รปกครองสวนทอ งถิน่ ไมสามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑแ ละวิธปี ฏบิ ัติทก่ี าํ หนดใน วรรค
หนึ่งใหขอทาํ ความตกลงกบั ปลดั กระทรวงมหาดไทย กอนการปฏบิ ตั ิ
ปลัดกระทรวงมหาดไทยอาจมอบอํานาจเรื่องใดเร่ืองหน่ึงตามวรรคสองใหอธิบดีกรมสงเสริม การ
ปกครองทอ งถ่นิ หรือผูวาราชการจังหวัดก็ได

หมวด ๑
บทท่ัวไป
ขอ ๖ การจา ยเงนิ ตามงบประมาณรายจา ย เพอื่ เปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ ของเจาหนาที่
ทองถ่นิ ตามความจําเปนและประหยดั ภายใตหลกั เกณฑและอัตราการจายตามระเบียบนี้ สวนวิธีการเบิกจาย
น้ัน ใหปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยเกี่ยวกับการเบิกจายเงิน และระเบียบ กระทรวงมหาดไทย
เกี่ยวกับวธิ ีการงบประมาณ ซง่ึ องคกรปกครองสว นทองถิ่นน้ันถอื ปฏิบัติ

2 เพ่ิมเติมคํานิยาม ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจ ายในการเดินทางไปราชการของเจา หนาทท่ี องถน่ิ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2558
3 เพม่ิ เติมคาํ นยิ าม ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจ า ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนา ทีท่ องถนิ่ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2558
4 เพม่ิ เตมิ คํานิยาม ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนา ท่ีทอ งถน่ิ ฉบบั ที่ 42 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 53

5ในกรณที ่มี ีมตคิ ณะรัฐมนตรกี ําหนดไวเปนอยา งอน่ื ก็ใหป ฏบิ ัตติ ามมตินน้ั
คา ใชจ า ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนา ทที่ องถิ่น ผเู ดนิ ทางไปราชการจะเบิกคาใชจายดังกลาว
ตา กวาสทิ ธขิ องตนกไ็ ด

ขอ ๗ ผเู ดินทางไปราชการซ่ึงเปนเจาหนาท่ีทองถิ่น ใหเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ ได
ตามทีก่ าํ หนดไวใ นระเบยี บนี้

ผูเดินทางไปราชการซ่ึงมีสัญญากับองคกรปกครองสวนทองถิ่นกําหนดคาใชจายในการเดินทาง ไป
ราชการไวเปน อยางอ่ืน ใหเบกิ คา ใชจา ยตามทีก่ ําหนดไวใ นสญั ญา

ผูเดินทางไปราชการที่มไิ ดเปน เจาหนา ทที่ อ งถน่ิ หรือท่ีมไิ ดม ตี าํ แหนง กาํ หนดไวในระเบียบน้ี หรือไมมี
กฎหมายกําหนดตาํ แหนง ของผนู ้ันเทียบไวก ับตาํ แหนงระดบั ของเจา หนา ท่ที อ งถิ่น ใหปลดั กระทรวงมหาดไทยมี
อาํ นาจกําหนดเทียบตําแหนง กบั ตาํ แหนงระดับของเจาหนา ท่ที อ งถนิ่ เพือ่ ประโยชนใ นการเบกิ คาใชจายในการ
เดินทางไปราชการได หรอื องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ อาจขออนมุ ตั ิ ตอ ผวู า ราชการจงัหวดั เปน กรณี ๆ ได

ขอ ๘ สิทธิท่ีจะไดรับคาใชจายในการเดินทางไปราชการเกิดข้ึนต้ังแตวันทไดรับอนุมัติให เดินทางไป
ราชการ หรือวันท่ีออกจากราชการแลวแตกรณี โดยใหผท่ีมีอํานาจพิจารณาอนุมัติการเดินทาง ไปราชการ
ดังน้ี

(๑ ผูวาราชการจังหวัด เปนผูอนุมัติการเดินทางไปราชการของผูบริหารทองถ่ินและประธาน สภา
ทอ งถนิ่

การขออนมุ ัตเิ ดินทางไปราชการตางประเทศ ตองขออนุมตั ลิ วงหนา กอ นเดนิ ทางไปราชการ ไมน อ ย
กวา สามสบิ วนั และผวู าราชการจงั หวัดตอ งพจิ ารณาใหเ สรจ็ ภายในสบิ หา วนั นบั แตวันไดรบั แจง หากพจิ ารณา
ไมอ นมุ ัตใิ หแจง เหตผุ ลการไมอ นมุ ัตดิ ว ย และผบู รหิ ารทอ งถน่ิ หรอื ประธานสภาทอ งถิ่น สามารถอทุ ธรณคาํ สง่ั ได
ตามพระราชบัญญัตวิ ิธีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

กรณีทีก่ ระทรวงมหาดไทย หรือกรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถิ่น แจงใหผบู รหิ ารทองถิน่ หรือ
ประธานสภาทอ งถน่ิ เดินทางไปราชการ ประชมุ อบรมหรอื สัมมนา ใหถอื วาไดรับอนุมัติใหเ ดินทาง ไปราชการ
แลว โดยไมตอ งขออนมุ ตัตอผวู าราชการจงั หวัดอีกเพียงแตแ จง ใหผ ูวาราชการจังหวดั ทราบ

กรณีผบู รหิ ารทอ งถน่ิ หรอื ประธานสภาทอ งถน มภี ารกจิ ท่ตี อ งปฏิบัตเิ ปน การตอ เนื่องหรอื เปน การปฏบิ ตั ิ
ภารกจิ เก่ียวกับงานสังคม ประเพณี วัฒนธรรม นอกเขตจงั หวัด ภายใน ๑ วันทาํ การ ใหส ามารถ
ดําเนินการไดโ ดยไมต อ งขออนุมตั ิตอผูว า ราชการจงั หวัดกอน

56(2 ผบู รหิ ารทอ งถ่ินเปน ผอู นุมัติการเดินทางไปราชการของรองนายกองคก ารบรหิ ารสวนจงั หวัด รอง
นายกเทศมนตรี รองนายกองคก ารบรหิ ารสวนต าบล ทป่ี รึกษานายกองคการบริหารสว นจังหวัด ท่ปี รึกษา
นายกเทศมนตรี เลขานุการนายกองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั เลขานกุ ารนายกเทศมนตรี เลขานกุ ารนายก
องคก ารบรหิ ารสวนต าบล ขา ราชการและพนกั งานสว นทอ งถ่นิ รวมถึงลกู จาง พนกั งานจา งขององคกร
ปกครองสวนทอ งถ่นิ ตลอดจนผูทผี่ บู รหิ ารทองถน่ิ สงั่ ใหไ ปปฏบิ ตั ิราชการ

5 ขอ 6 วรรคสองและสาม เพม่ิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ า ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนาท่ีทอ งถ่นิ ฉบบั ที่ 3
พ.ศ. 2559
6 ขอ 8 (2 โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนาที่ทอ งถ่ิน ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 54

(๓ ประธานสภาทอ งถนิ่ เปนผอู นมุ ัติการเดินทางไปราชการของสมาชกิ สภาทองถนิ่ โดยตองมี คาํ
รับรองจากผูบริหารทอ งถน วา มงี บประมาณเพยี งพอทจี่ ะเบกิ จายได

ขอ ๙ ถาผูเดนิ ทางไปราชการมคี วามจาํ เปนตองออกเดินทางลวงหนา หรอื ไมสามารถ เดนิ ทางกลับทองที่
ตั้งสํานกังานปกตเิ มือ่ เสร็จส้ินการปฏบิ ตั ิราชการ เพราะมเี หตุสวนตวั โดยไดร บั อนุมัติ ใหลากิจหรือลาพักผอน
ตามระเบยี บวา ดว ยการนั้น และไดรบั อนมุ ัตริ ะยะเวลาดังกลา วจากผมู อี ํานาจ อนมุ ตั กิ ารเดนิ ทางแลว ใหมีสิทธิ
ไดรับคา ใชจา ยในการเดินทางไปราชการตามที่ระเบียบนก้ี าํ หนดไว ตอเมื่อไดมีการปฏิบัติราชการตามคําสั่งของ
องคก รปกครองสวนทองถนิ แลว

ขอ ๑๐ เจา หนา ทที่ องถ่ินซึ่งไดรับการแตงตงใหดํารงตําแหนงระดับสูงข้ึนภายหลังวันที่ ไดเดินทางไป
ราชการแลว ใหม สี ทิ ธทิ ่จี ะไดรับคา ใชจายในการเดนิ ทางตามอตั ราสาํ หรบั ตําแหนงระดบั ท่ีสูงขึ้น นับแตวันท่ีมี
คาํ ส่ังแตงตงั้ ดังกลา ว แมค ําสัง่ นัน้ จะใหมีผลยอนหลังไปถึงหรือกอ นวนั ออกเดนิ ทาง กต็ าม

ขอ ๑๑ เจาหนาท่ีทองถิ่นซึ่งเดินทางไปรักษาการในตําแหนง หรือรักษาราชการแทน ใหไดรับ
คา ใชจ ายในการเดนิ ทางไปรกั ษาการในตาํ แหนง หรือรกั ษาราชการแทน ตามอัตราสําหรบั ตําแหนงระดับที่ตน
ดาํ รงอยู แตก ารเดินทางระหวา งทร่ี ักษาการในตําแหนงหรือรักษาราชการแทน รวมท้ังการเดินทางกลบั มาดาํ รง
ตําแหนงเดิม ใหไดรับคาใชจายในการเดินทางไปราชการตามอัตรา สําหรับตําแหนงระดับท่ีตนรักษาการใน
ตําแหนง หรอื รักษาราชการแทน

ในกรณีท่เี ปนการเดินทางไปรักษาการในตําแหนง หรือรักษาราชการแทนในตําแหนงระดับท่ีตากวา
ใหผ ูเดนิ ทางมสี ทิ ธไิ ดรบั คาใชจ า ยในอตั ราสาํ หรับตําแหนงระดบั ทต นดาํ รงอยู

ขอ ๑๒ การเดนิ ทางไปราชการ ถาผูเดนิ ทางหยดุ อยูท่ีใดโดยไมมเี หตอุ นั ควร ไมมีสิทธไิ ดรับ คาใชจาย
ในการเดินทางสาหรบั ระยะเวลาท่หี ยดุ น้ัน

ขอ ๑๓ ผเู ดินทางไปราชการซ่งึ เปน ผูไ ดรบั เบย้ี เลีย้ งประจํา จะเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ตามระเบียบนี้ได
เม่ืองดเบกิ เบี้ยเลี้ยงประจํา

67กรณผี ูเดินทางไปราชการถงึ แกความตายระหวา งไปราชการ โดยเหตุแหงความตายมิได เกิดจากการ
ประทุษรายดว ยเหตุสว นตวั หรือการประพฤติชั่วอยางรายแรงของตน ใหบุคคลในครอบครัว ของผูถึงแกความ
ตายหรอื ผูจัดการศพ มีสิทธิเบิกคาพาหนะในการเดินทางเพื่อไปปลงศพ หรือคาพาหนะ และคาใชจายอื่นท่ี
เกย วกบั การสง ศพกลบั ภายในวงเงินและเงอื่ นไข ดังนี้

(๑ กรณเี ดนิ ทางเพื่อไปปลงศพ ใหบุคคลในครอบครัวเบิกคาพาหนะไดไมเกินสามคนและให เบิกได
เฉพาะคาพาหนะไปกลบั เทาที่จายจริงไมเกินอัตราตามเสนทางจากทองท่ีที่ผูถึงแกความตาย รับราชการไปยัง
ทอ งท่ที ่ถี งึ แกความตายตามสิทธิของผูถึงแกความตาย เวนแตบุคคลในครอบครัว ของผูถึงแกความตายมีสิทธิ
ไดรับคาใชจ าย ในการเดินทางไปราชการสูงกวาสิทธิของผูถึงแกความตาย ใหเบิกคาพาหนะไปกลับตามสิทธิ
ของผูนน แตถาผถู ึงแกค วามตายไมม บี ุคคลในครอบครวั หรอื มีแตบ ุคคล ในครอบครัวมอบอํานาจใหบุคคลอืน
เปนผูจัดการศพ ใหผ จู ดั การศพเบิกคา พาหนะไดเพยี งคนเดียว

(๒ กรณีการสงศพกลับใหเบกิ คา พาหนะในการสงศพกลบั ไดเทา ทจายจริง แตไมเกินอัตรา คา พาหนะ
ในเสนทางจากทองที่ท่ีถึงแกความตายไปยังทองที่ที่ผถึงแกความตายรับราชการ และใหเบิก คาใชจายอ่ืนท่ี
จาํ เปน ทเกยี่ วกับการสงศพกลับไดเทา ที่จา ยจริง

7 ขอ 13 วรรสอง,วรรคสาม และวรรคส่ี แกไ ขตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจ ายในการเดินทางไปราชการของเจาหนาท่ีทอ งถ่นิ
ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 55

หมวด ๒
การเดินทางไปราชการในราชอาณาจกั ร

สว นท่ี ๑
การเดินทางไปราชการชว่ั คราว
ขอ ๑๔ การเดินทางไปราชการช่วั คราว ไดแ ก
(๑ การไปปฏบิ ัติราชการชวคราวนอกท่ีตั้งสํานักงาน ซึ่งปฏิบัติราชการปกติตามคําสั่ง ผูบังคับบัญชา
หรอื ตามหนา ทที่ ่ีปฏบิ ัติราชการโดยปกติ
(๒ การไปสอบคดั เลือก หรือรบั การคดั เลือกตามทไ่ี ดรบั อนุมัตจิ ากผูมอี าํ นาจอนุมตั ิ
(๓ การไปชว ยราชการ ไปรักษาการในตําแหนง หรอื ไปรักษาราชการแทน
ขอ ๑๕ คา ใชจา ยในการเดินทางไปราชการชวั่ คราว ไดแก
(๑ เบีย้ เลีย้ งเดินทาง
(๒ คาเชา ที่พัก
(๓ คาพาหนะ รวมถึงคาเชายานพาหนะ คาเช้ือเพลิงหรือพลังงานสําหรับยานพาหนะ คาระวาง
บรรทกุ คาจางคนหาบหาม และอืน่ ๆ ทาํ นองเดียวกนั
(๔ คาใชจา ยอืน่ ทีจ่ ําเปน ตอ งจา ยเน่ืองในการเดนิ ทางไปราชการ
78ขอ ๑๖ เบี้ยเลี้ยงเดนิ ทางใหเบิกไดใ นลกั ษณะเหมาจาย ตามบญัชีหมายเลข ๑ ทายระเบยี บนี้
ขอ ๑๗ การนบั เวลาเดนิ ทางไปราชการเพ่ือคาํ นวณเบยี้ เลีย้ งเดนิ ทาง ใหนบั ตงั้ แตเวลาออก จากสถานท่ี
อยหู รอื สถานทปี่ ฏิบัติราชการปกตจิ นถึงกลบั ถงึ สถานที่อยู หรือสถานที่ปฏิบัติราชการ ตามปกติ แลวแตกรณี
เวลาเดินทางไปราชการในกรณีทีม่ ีการพกั แรมใหนับยสี่ ิบสช่ี ่วั โมงเปน หนึ่งวนั ถา ไมถงึ ย่สี ิบสีช่ ว่ั โมง หรอื
เกนิ ย่สี บิ ส่ีช่วั โมงและสว นทีไ่ มถงหึ รือเกินยส่ี บิ สช่ี วั่ โมงน้ันนับไดเ กินสิบสองชั่วโมงใหถอื เปน หนง่ึ วนั
เวลาเดนิ ทางไปราชการในกรณีท่ีมไิ ดมีการพกั แรม หากนบั ไดไ มถ งึ ย่ีสบิ สชี่ ่ัวโมงและสวนทไ่ี มถึง นั้นนับ
ไดเ กินสิบสองชว่ั โมง ใหถือเปน หนึง่ วัน หากนบั ไดไ มเ กนิ สบิ สองช่ัวโมง แตเกินหกช่ัวโมงข้ึนไป ใหถือเปนครึ่ง
วนั
ในกรณที ี่ผูเดนิ ทางไปราชการมคี วามจําเปนตองออกเดินทางลว งหนา หรือไมสามารถเดินทาง กลับทอ ง
ที่ต้ังสํานักงานปกติเมื่อเสร็จส้ินการปฏิบัติราชการ เพราะมีเหตุสวนตัวตามขอ ๙ การนับเวลา เดินทางไป
ราชการเพอื่ คํานวณเบี้ยเลยี งเดนิ ทางกรณลี ากิจหรอื ลาพักผอนกอ นปฏิบัตริ าชการ ใหน บั เวลา ตั้งแตเริ่มปฏิบัติ
ราชการเปน ตนไป และกรณลี ากิจหรอื ลาพกั ผอนหลังเสรจ็ สนิ้ การปฏบิ ัตริ าชการ ใหถ ือวา สิทธิในการเบิกจาย
เบี้ยเลีย้ งเดนิ ทางสน้ิ สดุ ลงเม่อื ส้นิ สดุ เวลาปฏบิ ัตราิ ชการ
89ขอ ๑๘ การเดินทางไปราชการที่จําเปนตองพักแรม เวนแตการพักแรมซึ่งโดยปกติตองพักแรม ใน
ยานพาหนะหรือพักแรมในท่ีพักซึ่งทางราชการจัดท่ีพักไวใหแลว ใหผูเดินทางไปราชการเบิกคาเชาท่ีพัก ใน
ลักษณะเหมาจา ยหรอื ในลกั ษณะจา ยจริงกไ็ ด แตถาเปน การเดนิ ทางไปราชการเปนหมูคณะตองเลือก คาเชาท่ี
พักในลกั ษณะเดียวกันทงั้ คณะ ท้งั นี้ ตามบัญชีหมายเลข ๒ ทายระเบียบนี้
ในกรณเี ปน การเดินทางไปราชการในทองทที่ ่ีมีคา ครองชีพสูงหรือเปน แหลง ทอ งเทย่ี ว ใหผ เู ดนิ ทาง ไป
ราชการเบกิ คาเชา ท่พี กั ในอัตราสูงไดต ามความจําเปน ตามหลักเกณฑและอัตราตามบัญชีหมายเลข ๒ ทาย
ระเบียบนี้

8 ขอ 16 แกไขตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนา ท่ที อ งถิน่ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2558
9 ขอ 18 แกไ ขตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจา ยในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนาทที่ องถน่ิ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 56

910การเดินทางไปราชการเปนหมคู ณะ ซ่งึ มผี ดู าํ รงตาํ แหนง ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ตําแหนง
ประเภทอํานวยการทอ งถนิ่ ระดับสูง ตําแหนงประเภทบริหารทองถ่ินระดับสูง หรือตําแหนง ตั้งแตระดับ ๙
ข้นึ ไป หรือตําแหนง ทเ่ี ทียบเทา เปน หวั หนาคณะ หากมีความจาํ เปนตอ งใชส ถานที่ ในท่ีเดยี วกนั กบั ที่พัก เพ่ือ
เปน ท่ีประสานงานของคณะหรือบคุ คลอน่ื ใหเบิกคาเชา ท่พี กั ไดเ พ่ิมข้ึนสําหรับ หอ งพักอีกหอ งหนง่ึ หรือจะเบิกคา
เชา หอ งชุดแทนก็ไดเทาท่ีจา ยจริง ท้ังนี้ ตามบญั ชหี มายเลข ๒ ทา ยระเบียบน้ี
ขอ ๑๙ การเบิกเบ้ียเล้ียงเดินทางสําหรับการเดินทางไปราชการเร่ืองหนึ่งเร่ืองใดในสถานที่ ปฏิบัติ
ราชการแหง เดียวกนั ใหเบกิ ไดเพยี งระยะเวลาไมเ กินหนงึ่ รอ ยยส่ี ิบวันนับแตวันออกเดินทาง ถาเกินตองไดรับ
อนมุ ตั จิ ากผวู า ราชการจงหั วัด ทัง้ น้ีใหพิจารณาถึงความจาํ เปน และประหยัดดวย
ขอ ๒๐ การเดนิ ทางไปราชการ ณ สถานทปี่ ฏบิ ตั ิราชการใดทไี่ มส ะดวกในการเดนิ ทาง ไปกลบั ระหวาง
สถานทป่ี ฏบิ ตั ิราชการกับสถานที่อยู ใหเบิกคาเชาท่ีพักระหวางไปราชการไดเพียงระยะเวลา ไมเกินหนึ่งรอย
ยส่ี บิ วนั นบั แตวนั ออกเดนิ ทาง ถาเกินตอ งไดร ับอนุมตั ิจากผูวา ราชการจังหวดั ทงั้ นี้ ใหพ จิ ารณาถึงความจาํ เปน
และประหยดัดว ย
ขอ ๒๑ ในกรณีทผี่ ูเดนิ ทางไปราชการเจบ็ ปว ย และจําเปนตองพักเพ่ือรักษาพยาบาล ใหเบิก คาเบ้ีย
เล้ียงเดินทาง และคา เชา ทพี่ กั สําหรบั วนั ทีพ่ กั นนได แตท ้ังนต้ี องไมเ กินสิบวนั
ภายใตบังคับวรรคหน่งึ ในกรณีทีผ่ เู ดินทางเจบ็ ปวยและตอ งเขาพกั รักษาตวั ในสถานพยาบาล ใหง ดเบิก
คา เชาทพ่ี กั เวนแตก รณีทจี่ ําเปน
การเจ็บปวยตามวรรคหนง ตองมีใบรับรองแพทยท่ีทางราชการรับรอง ในกรณีท่ีไมมีแพทย ที่ทาง
ราชการรบั รองอยใู นทองทที่ ี่เกดิ การเจบ็ ปว ย ผูเดนิ ทางตองช้แี จงประกอบ
ขอ11 ๒2 การเดินทางไปราชการ โดยปกตใิ หใชยานพาหนะประจ าทาง และใหเบิกคาพาหนะ ได

10
โดยประหยัด
ในกรณีท่ไี มมียานพาหนะประจ าทาง หรือมีแตตองการความรวดเร็วเพ่ือประโยชนแกราชการ ใหใช
พาหนะอ่ืนได แตผูเ ดินทางจะตอ งชีแ้ จงเหตุผลและความจ าเปนไวในรายงานการเดนิ ทางหรือหลกั ฐาน การขอ
เบิกเงนิ คาพาหนะน้ัน
การเบิกคาพาหนะรับจา งใหเบกิ ไดส าหรับกรณี ดงั ตอ ไปนี้
(๑ การเดินทางไปกลับระหวางสถานที่อยู ท่ีพัก หรือสถานท่ีปฏิบัติราชการกับสถานี ยานพาหนะ
ประจ าทาง หรือกับสถานที่จัดพาหนะที่ตองใชในการเดินทางไปยังสถานท่ีปฏิบัติราชการ ภายในเขตจังหวัด
เดยี วกนั
(๒ การเดินทางไปกลบั ระหวา งสถานทอี่ ยู ท่พี ัก กบั สถานทปี่ ฏบิ ตั ริ าชการภายในเขตจงั หวัด เดียวกัน
วันละไมเกินสองเทย่ี ว
(๓ การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร
การเดินทางไปสอบคัดเลอื กหรือรบั การคัดเลือกผูเดนิ ทางไปราชการจะเบิกคาพาหนะรับจา ง ตาม (๒
ไมได
การเดินทางไปราชการโดยพาหนะรับจางขามเขตจงั หวดั ระหวา งสถานที่อยูท่ีพกั หรือสถานท่ี ปฏิบัติ
ราชการกบั สถานยี านพาหนะประจ าทาง หรือสถานท่ีจัดพาหนะที่ตองใชในการเดินทางไปยัง สถานท่ีปฏิบัติ
ราชการ ใหเบิกคา พาหนะรบั จา งไดเทา ท่จี ายจริง แตต องไมเ กนิ อัตรา ดงั น้ี

10 ขอ 18 วรรคสามแกไขตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนา ที่ทอ งถ่นิ ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.
2559
11 ขอ 22 แกไขตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนาที่ทอ งถน่ิ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 57

(1 กรณีเปนการเดนิ ทางขามเขตจงั หวดั ระหวา งกรงุ เทพฯ กบั จงั หวดั ทม่ี ีเขตตดิ ตอ กับ กรงุ เทพฯ หรอื
การเดนิ ทางขา มเขตจงั หวัดทผ่ี านเขตกรุงเทพฯ ใหเบกิ เทาท่จี า ยจรงิ ภายในวงเงิน เที่ยวละไมเกิน 600 บาท

(2 การเดินทางขา มเขตจังหวดั อืน่ ๆ นอกเหนอื จากขอ (1 ใหเ บิกเทาท่ีจายจริงภายใน วงเงินเที่ยว
ละไมเ กนิ 500 บาท

ในกรณที ่ผี เู ดนิ ทางไปราชการ มคี วามจ าเปน ตองออกเดินทางลว งหนา หรือไมส ามารถเดินทาง กลบั
ทองที่ตงั้ ส านกั งานปกตเิ ม่ือเสร็จส้นิ การปฏิบัตริ าชการ เพราะมเี หตสุ ว นตวั ตามขอ 9 ใหเ บิก คาพาหนะ
เทา ทจ่ี ายจริงตามเสน ทางทีไ่ ดร ับค าสง่ั ใหเ ดินทางไปราชการ กรณีที่มกี ารเดินทางนอกเสน ทาง ในระหวา งการ
ลานั้น ใหเ บกิ คาพาหนะไดเทา ท่จี ายจรงิ โดยไมเกนิ อัตราตามเสนทางที่ไดร ับค าสั่ง ใหเ ดินทางไปราชการ

ดงั นี้ ขอ12 ๒๓ การเดนิ ทางไปราชการโดยรถโดยสารประจาํ ทางและรถไฟ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ

11

(๑ การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทาง ใหเบิกคาพาหนะเดินทางไดเทาที่จายจริงไมเกิน อัตราที่
คณะกรรมการควบคุมการขนสงทางบกกลางกําหนด เวน แตกรณีจําเปนท่ผี ูเ ดนิ ทางถกู เรียกเก็บ เงินคาพาหนะ
เกินกวาอัตราที่คณะกรรมการควบคุมการขนสงทางบกกลางกําหนด ก็ใหเบิกคาพาหนะ เดินทางไดเทาที่จาย
จริง
(๒13 การเดินทางโดยรถไฟ ใหเบิกคาพาหนะเดินทางไดเทาที่จายจริง สําหรับการเดินทาง โดย

12
รถดว นหรอื รถดว นพิเศษ ช้ันท่ี ๑ น่ังนอนปรับอากาศ (บนอ.ป. ใหเบิกไดเฉพาะผูดํารงตําแหนง ประเภท
ท่ัวไป ตั้งแตระดับชํานาญงาน ขึ้นไป ประเภทวิชาการตั้งแตระดับชํานาญการ ขึ้นไป ตําแหนง ประเภท
อํานวยการทองถ่ิน ตําแหนงประเภทบริหารทองถ่ิน หรือตําแหนงต้ังแตระดับ ๖ ขึ้นไป หรือตําแหนง ท่ี
เทยี บเทา
ขอ ๒๔ ในทอ งทจี่ ังหวัดใดทไ่ี มมีอัตราคา พาหนะประเภทใดกาํ หนดไว ใหผูวา ราชการจงั หวดั กาํ หนด

อัตราคาพาหนะดงั กลาวขนไว เพ่ือประโยชนใ นการพจิ ารณาอนมุ ัตแิ ละการตรวจสอบ เมื่อกาํ หนดแลว ใหแ จง

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถ่ิน

1314ขอ 25 การใชพ าหนะสว นตวั เดนิ ทางไปราชการ ผเู ดนิ ทางจะตองไดร บั อนุมัติจากผบู รหิ ารทองถนิ่
ส าหรบั ผบู รหิ ารทองถน่ิ และประธานสภาทองถ่ินตองไดรบั อนมุ ัติจากผมู ีอํานาจอนุมัติตามขอ 8 โดยตองระบุ
ยหี่ อ และหมายเลขทะเบยี นพาหนะสว นตัวไวดวย และตอ งใชพ าหนะน้นั ตลอดเสน ทาง จงึ จะมีสทิ ธเิ บกิ เงิน
ชดเชยเปนคา พาหนะในลกั ษณะเหมาจายใหเ ปน คาใชจายสาํ หรบั เปน คา พาหนะสว นตัวได ทั้งน้ี ใหพจิ ารณา
อนมุ ตั กิ ารใชพาหนะสว นตวั ตามความจําเปน เหมาะสม และประหยัด

ในกรณผี เู ดินทางไมส ามารถใชพ าหนะสว นตวั ไดต ลอดเสน ทาง ตอ งช้แี จงเหตุผลความจาํ เปน
ตอผมู อี ํานาจอนุมัติตามวรรคหนง่ึ เพอื่ พจิ ารณาอนมุ ตั ิ

12 ขอ 23 แกไ ขตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจา ยในการเดนิ ทางไปราชการของเจาหนาที่ทอ งถ่ิน ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2558
13 ขอ 23 วงเล็บสอง แกไ ขตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนาท่ที อ งถ่นิ ฉบับที่ 3 พ.ศ.
2559
14 ขอ 25 แกไ ขตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนา ที่ทองถิน่ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 58

ขอ15 26 เงินชดเชยเปนคา พาหนะตามขอ ๒๕ ใหเบิกจา ยในประเภทคา พาหนะ ดงั นี้

14
(๑ รถยนตสวนบุคคล กิโลเมตรละ ๔ บาท
(๒ รถจักรยานยนตสวนบคุ คล กิโลเมตรละ ๒ บาท
1516ใหคาํ นวณระยะทางเพ่ือเบกิ เงนิ ชดเชยตามเสนทางของกรมทางหลวงในระยะทางสั้น และตรงซึ่ง
สามารถเดินทางไดสะดวกและปลอดภัย ทั้งน้ี ใหใชระยะทางของกรมทางหลวงเปนเกณฑ ในการคํานวณ
ระยะทางดังกลา ว
ในกรณีที่ไมมีเสนทางของกรมทางหลวงใหใชระยะทางตามเสนทางของหนวยงานอื่นท่ีตัดผาน เชน
เสน ทางของเทศบาล และในกรณีท่ีไมมีเสนทางของกรมทางหลวงและของหนวยงานอ่ืน ใหผูเดินทาง เปนผู
รับรองระยะทางในการเดินทาง
ขอ17 27 การเดินทางไปราชการโดยเครื่องบิน ใหโดยสารชั้นประหยัดตามหลักเกณฑ ดังตอไปน้ี

16
(๑ ส าหรับผูดํารงตําแหนงประเภททั่วไปตั้งแตระดับชํานาญงานข้ึนไป ตําแหนงประเภทวิชาการ
ตั้งแตระดับชํานาญการข้ึนไป ตําแหนงประเภทอําานวยการทองถิ่น ตําแหนงประเภทบริหารทองถิ่น หรือ
ตําแหนงต้ังแตร ะดับ 6 ข้ึนไป หรือตาํ แหนง ที่เทียบเทา
(2 ผูดาํ รงตาํ แหนงต่ํากวาท่ีระบุใน (1 เฉพาะกรณีท่ีมีความจําเปนรีบดวน เพ่ือประโยชน ตอทาง
ราชการ และไดร ับอนมุ ตั ิจากผมู อี าํ นาจอนมุ ัติ
(3 การเดินทางซึ่งไมเขาหลักเกณฑตาม (1 หรือ (2 จะเบิกคาใชจายไดไมเกินคาใชจาย ในการ
เดินทางภาคพืน้ ดินในระยะเดยี วกนั ตามสทิ ธิซง่ึ ผูเดินทางจะพึงเบิกได
ในกรณีผูเดินทางตาม (1 มีความจํา เปนตองโดยสารเคร่ืองบินในช้ันท่ีสูงกวาสิทธิ ใหผูดํารง
ตําแหนงท่ีเดินทางดงั กลาวสามารถเดนิ ทางและเบิกคาโดยสารเคร่ืองบินในช้ันที่สูงกวาสิทธิได โดยตอง ไดรับ
อนมุ ตั ิจากผูว า ราชการจังหวดั ”
ขอ18 ๒๘ ผูเดินทางไปราชการในหนาที่เลขานุการกับผูบังคับบัญชาท่ีเปนหัวหนาคณะ ซ่ึงดํารง

17
ตําแหนง ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ประเภทอํานวยการทองถิ่นระดับสูง ตําแหนงประเภทบริหาร
ทอ งถ่นิ ระดบั สูง หรือตาํ แหนง ตัง้ แตร ะดับ ๙ ขึ้นไป หรือตําแหนง ทเี่ ทียบเทา หากมคี วามจําเปนตอ งเดินทาง
พรอ มกับ ผบู ังคับบญั ชาและเพือ่ ประโยชนใ นการประสานส่ังการในระหวา งเดินทางไปราชการใหเบิกคาพาหนะ
ไดเ ทา กับ ที่ผบู งั คับบัญชามีสทิ ธิเบิกและใหพักแรมในทีเ่ ดยี วกับผูบังคับบัญชา โดยเบิกคาเชา ทพ่ี กั ไดตามสิทธิ ท่ี
ตนเองไดรบั หรือเบกิ ไดเทาทจ่ี ายจริงในอัตราต่าํ สุดของท่ีพักน้นั แตไมเ กนิ อตั ราที่ผูบ งั คบั บัญชามสี ิทธิเบกิ
ขอ ๒๙ ผเู ดินทางไปราชการเพื่อทําหนาท่ีรับรอง หรือปฏิบัติงานรวมกับชาวตางประเทศ จะเบิกคา
พาหนะในการเดินทางเทา กบั ที่ตอ งเบิกสาํ หรบั ชาวตา งประเทศนนั้ ก็ได
ขอ ๓๐ ผูเดินทางไปราชการซึ่งตองนําส่ิงของเคร่ืองใชของทางราชการไปดวย ใหเบิกคาพาหนะ
สาํ หรับสิ่งของเครือ่ งใชนั้นไดโดยประหยดั
ขอ ๓๑ ผูเดินทางไปราชการซ่ึงตองจายคาใชจายอื่นท่ีจําเปนเนื่องในการเดินทางไปราชการ ใหเบิก
คาใชจายนน้ั ไดโดยประหยัด สว นท่ี ๒ การเดินทางไปราชการประจาํ

15 ขอ 26 แกไ ขตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการเดนิ ทางไปราชการของเจาหนาท่ที อ งถนิ่ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2558
16 ขอ 26 วรรคสอง แกไ ขตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการของเจา หนา ทท่ี องถ่นิ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ.
2561
17 ขอ 27 แกไ ขตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายในการเดนิ ทางไปราชการของเจาหนาที่ทองถิน่ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2561
18 ขอ 28 แกไขตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ า ยในการเดินทางไปราชการของเจาหนา ทีท่ อ งถ่ิน ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2559

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 59

ขอ ๓๒ การเดินทางไปราชการประจํา ไดแกการเดินทางไปประจําตางสํานักงานไปรักษาการ ใน
ตาํ แหนง หรือรักษาราชการแทน เพอ่ื ดํารงตาํ แหนง ใหม ณ สาํ นักงานแหงใหม
ขอ19 ๓๓ ผูเดนิ ทางไปราชการประจําสํานักงานแหงใหมใหเบิกคาใชจ ายไดตามขอ ๑๕ และกรณีท่ผี ู

18
เดนิ ทางดงั กลาวมคี วามจาํ เปน ตองยายท่อี ยูใหม ใหเ บิกคาขนยายสิ่งของสวนตัวในลักษณะ เหมาจายได ตาม
บญั ชหี มายเลข ๓ ทายระเบียบนี้
ขอ ๓๔ การเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการประจํา ในกรณีที่มิไดกําหนดไวในสวนน้ี ใหนํา
หลกั เกณฑทีก่ ําหนดไวใ นหมวด ๒ สว นท่ี ๑ มาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม
ขอ ๓๕ การนับเวลาเดินทางไปราชการ เพอื่ คาํ นวณเบ้ยี เลยี้ งเดนิ ทางใหนบั ตั้งแตเ วลา ออกจากสถานที่
อยูจนถงึ สถานทพ่ี กั ทไี ปรับราชการแหงใหม
ขอ ๓๖ ผูเดินทางไปราชการประจาํ จะเบิกคาเชา ท่พี กั และคาพาหนะสาํ หรับบคุ คล ในครอบครวั ไดโดย
ประหยดั
1920การเบกิ คา เชา ท่พี ัก และคา พาหนะสําหรบั ผตู ดิ ตาม ใหเบิกไดด ังนี้
(๑ หนึ่งคนสําหรับผูดํารงตําแหนงประเภททั่วไปต้ังแตระดับชํานาญงาน ลงมา ตําแหนงประเภท
วิชาการระดบั ปฏิบัตกิ าร หรือตําแหนงตงั้ แตร ะดบั ๖ ลงมา หรือตาํ แหนงที่เทียบเทา
(๒ ไมเ กินสองคนสําหรบั ผดู าํ รงตาํ แหนงประเภทท่ัวไประดับอาวุโส ตําแหนงประเภทวิชาการ ตั้งแต
ระดับชาํ นาญการ ขน้ึ ไป ตําแหนง ประเภทอํานวยการทองถนิ่ ตาํ แหนงประเภทบรหิ ารทองถ่ิน หรือตําแหนง
ตั้งแตระดบั ๗ ขึน้ ไป หรอื ตาํ แหนง ที่เทยี บเทา
ขอ ๓๗ คาเชาท่ีพักและคาพาหนะ สําหรับบุคคลในครอบครัวนอกจากผูติดตามใหเบิกไดใน อัตรา
เดียวกบั ผูเดนิ ทางตามขอ ๓๓ สําหรบั ผตู ดิ ตามใหเ บกิ ไดเทากับเจาหนาที่ทองถิ่นในตําแหนงระดับตาสุด ใน
กรณที เี่ ดนิ ทางไปถงึ ทอ งทท่ี ่ตี งั ส าํ นักงานแหงใหม ถา ไมอ าจเขาพกั อาศัยทท่ี างราชการจัดให หรอื บา นเชาไดและ
ผบู ริหารทองถ่ินอนุญาตแลว ใหเบิกคาเชาท่ีพักสําหรับตนเองและบุคคลในครอบครัว ไดไมเกินเจ็ดวันนับแต
วันทไ่ี ปถงึ ทองท่ที ่ีต้ังสาํ นกั งานแหงใหม ถามคี วามจาํ เปนจะตองเบิกคาเชาที่พักเกินเจด็วันตองไดรับอนุมัติจาก
ผวู าราชการจงั หวดั
ขอ ๓๘ ในกรณีที่ผูเดินทางไปประจําตางสํานักงาน เดินทางโดยเคร่ืองบินตามขอ ๒๗ ใหบุคคลใน
ครอบครัวเดนิ ทางโดยเคร่ืองบนิ ไดด ว ย
ขอ ๓๙ ในกรณจี ําเปนซงึ่ ไมอ าจนําบุคคลในครอบครัวไปพรอมกับผูเดินทางได ใหผูเดินทาง รายงาน
ชแี้ จงเหตุผลความจาํ เปนและกาหนดเวลาทีจ่ ะเล่ือนการเดนิ ทางตอ ผบู ริหารทองถิ่น
การขอเล่อื นการเดนิ ทางตามวรรคหนง่ึ ใหขอกอ นทเี่ จาหนาท่ีทอ งถ่ินผนู นั้ จะเดนิ ทาง
ผบู รหิ ารทองถ่ินมอี าํ นาจอนุญาตเลอ่ื นการเดินทางไดภ ายในเวลาอนั สมควร แตต องไมเกนิ หน่งึ ปนับแต
วนั ที่ปรากฏในคําสง่ั ใหเดนิทางไปราชการ
ขอ21 40 ยกเลิก

20
ขอ ๔๑ คา ใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการ ในกรณไี ปประจําสํานักงานซึ่งตางสังกัดใหเบิก จากสังกัด
ใหมซ ่ึงไปประจาํ

19 ขอ 33 แกไขตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจา ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนาทีท่ อ งถิน่ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2558
20 ขอ 36 วรรคสองแกไ ขตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจา ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนา ท่ีทองถนิ่ ฉบับที่ 3 พ.ศ.
2559
21 ขอ 40 ยกเลกิ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจา ยในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนา ที่ทอ งถน่ิ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 60

สว นที่ ๓
การเดินทางกลับภูมิลาํ เนาเดมิ
ขอ ๔๒ การเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม ใหหมายความถึงการเดินทางเพ่ือกลับภูมิลําเนาเดิม ของผู
เดนิ ทางไปราชการประจาํ ในกรณที ีอ่ อกจากราชการหรอื ถกู สง่ั พกั ราชการ
ขอ ๔๓ เจา หนาท่ที องถน่ิ ซง่ึ ออกจากราชการ หรือลูกจา ง ซงึ่ องคก รปกครองสวนทองถิ่นเลิกจาง จะ
เบกิ คา ใชจ า ยในการเดินทางสาํ หรับตนเองและบคุ คลในครอบครัวไดเฉพาะคาเชาท่ีพัก คาพาหนะ และคาขน
ยายสิ่งของสวนตัว เพ่ือกลับภูมิลําเนาเดิมของเจาหนาที่ทองถิ่นผูน้ัน ตามอัตราสําหรับ ตําแหนงระดับครั้ง
สดุ ทา ย กอ นออกจากราชการหรอื เลกิ จาง
ในกรณที ่เี จา หนาท่ีทอ งถนิ่ ถึงแกค วามตาย ใหสทิ ธใิ นการเบิกคาใชจ ายตามวรรคหน่งึ ตกแก ทายาทผูใด
ผูหน่ึงที่อยกู ับเจาหนาท่ที องถิน่ ขณะถึงแกความตาย
ในกรณีท่ีไมมที ายาทท่อี ยูกับเจาหนาทท่ี อ งถนิ่ ขณะถึงแกความตาย หรอื มีทายาทแตไมสามารถ จัดการ
ได ใหสิทธิในการเบิกคาใชจายตามวรรคหน่ึงตกแกทายาทผูใดผูหนึ่งที่มิไดไปอยูดวยถาทายาท ผูน้ันตอง
เดนิ ทางไปจัดการดังกลา วใหเบิกคาใชจายตามวรรคหนึ่งสาํ หรับตนเองไดเฉพาะการเดนิ ทางกลับ
การเดินทางและการขนยายส่ิงของตามขอนี้ ใหกระทําภายในหน่ึงรอยแปดสิลวันนับแตวันออก จาก
ราชการ เลิกจาง หรอื ตาย ถา เกินตอ งไดร ับอนมุ ัติจากผบู ริหารทอ งถ่ิน
ขอ ๔๔ เจาหนาทีท่ องถนิ่ ซงึ่ ถูกสง่ั พกั ราชการ หรอื ลูกจาง ซ่ึงถกู สงั่ พักการจางจะเบกิ คา ใชจ า ยสําหรบั
ตนเองและบคุ คลในครอบครัว เฉพาะคา เชา ท่ีพกั คาพาหนะและคาขนยายส่ิงของ สวนตัวเพื่อกลับภูมิลําเนา
เดมิ ของเจา หนา ท่ที องถนิ่ ผนู นั้ โดยจะไมรอผลการสอบสวนถงึ ที่สุดก็ได
ขอ ๔๕ ในกรณีทีผ่ ูมสี ทิ ธเบิกคาใชจา ยในการเดนิ ทางกลับภูมิลําเนาเดิม ตามขอ ๔๓ และ ๔๔ จะ
ขอเบกิ คา ใชจา ยในการเดนิ ทางไปยังทองท่ีอื่นซ่ึงมิใชภูมิลําเนาเดิม โดยเสียคาใชจายในการเดินทาง ไมสูงกวา
ใหก ระทาํ ไดเ มื่อไดร ับอนุมัตจิ ากผูบ รหิ ารทอ งถ่นิ
ขอ22 ๔๖ การเบกิ คาใชจ ายในการเดนิ ทางกลับภูมิลาํ เนาเดมิ ใหเบิกจากตนสงั กดั เดิม

21

หมวด ๓
การเดนิ ทางไปราชการตา งประเทศชั่วคราว
ขอ ๔๗ การเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราวของเจาหนาท่ีทองถิ่น ซ่ึงจะเบกิคาใชจาย ตาม
ระเบียบน้ีได ผูท ีเ่ ดินทางจะตอ งไดร บั อนุมัติจากผูม อี าํ นาจตามขอ ๘
2223ถาผูเ ดนิ ทางไปราชการตา งประเทศชว่ั คราวไดรับความชว ยเหลอื จากตา งประเทศ หรือหนว ยงานใด ๆ
ในเร่ืองคา ใชจา ยในการเดินทางแลว ไมมีสิทธิเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ ตามระเบียบนี้ แตหาก
ความชว ยเหลือท่ไี ดร บั นอยกวา สทิ ธิท่จี ะพึงมีตามระเบียบน้ี ใหเ บิกคาใชจา ย สมทบได ดงั นี้
(๑ คา โดยสารเครอ่ื งบนิ กรณีท่ผี ใู หค วามชว ยเหลอื ไมอ อกคา โดยสารเครอ งบนิ ให ใหเบิก คาโดยสาร
เครือ่ งบินไปและกลับไดต ามสิทธขิ องผูเดนิ ทาง กรณีไดรับความชว ยเหลือคาโดยสารเคร่ืองบิน ไปและกลับแลว
ใหง ดเบกิ เงินสมทบคา โดยสารเคร่อื งบิน แมความชวยเหลอื น้นั ช้นั ที่น่ังจะตา กวา สทิ ธิ ท่ีพงึ ไดร บั และกรณไี ดรับ
ความชว ยเหลือคาโดยสารเครือ่ งบนิ เพียงเท่ียวเดียว ใหเบิกคาโดยสารเครื่องบิน อีกหนึ่งเท่ียวในชั้นเดียวกับที่
ไดรับความชวยเหลือ แตต องไมเกนิ สิทธทิ ีพ่ งึ ไดร บั

22 ขอ 46 แกไขโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจ า ยในการเดินทางไปราชการของเจาหนา ท่ีทองถิ่น ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2558
23 ขอ 47 วรรคสองแกไขโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนา ที่ทอ งถ่นิ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ.
2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 61

(๒ คาเบี้ยเล้ียงเดินทาง กรณีที่ไมไดรับความชวยเหลือคาเบ้ียเลยงเดินทาง ใหเบิกคาเบ้ียเล้ียง
เดนิ ทางไดต ามสทิ ธขิ องผเู ดนิ ทาง กรณที ่ไี ดร ับความชวยเหลือคาเบี้ยเลี้ยงเดินทางหรือผูใหความชวยเหลือ จัด
เลี้ยงอาหารให ใหเบกิ คา เบย้ี เลี้ยงเดนิ ทางสมทบไดใ นกรณี ดงั นี้

( ก กรณไี ดร ับความชวยเหลือคาเบย้ี เลี้ยงเดินทางตากวาสิทธิที่พึงไดรับ ใหเบิกคาเบี้ยเล้ียง เดินทาง
สมทบเฉพาะสว นทขี่ าด ซง่ึ เม่ือรวมกบั คา เบย้ี เลย้ี งเดินทางท่ไี ดรบั ความชวยเหลอื แลว จะตอง ไมเกินสิทธิท่ีพึง
ไดรับ

( ข กรณีผู ใหความชวยเหลอื จดั เลยี้ งอาหารทุกมือ้ ใหง ดเบกิ คา เบี้ยเล้ียงเดนิ ทาง กรณจี ัดเล้ยี งอาหาร
๒ มอื้ ใหเบกิ จายคาเบย้ี เล้ียงเดนิ ทางไดไ มเ กิน ๑ ใน ๓ ของอตั ราเบย้ี เล้ยี ง เดินทางเหมาจาย และกรณีจัด
เลยี้ งอาหาร ๑ มื้อ ใหเ บิกจายคาเบี้ยเลย้ี งเดนิ ทางไดไ มเ กิน ๒ ใน ๓ ของอัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจาย

(๓ คาท่ีพัก กรณีผูใหความชวยเหลือไมออกคาเชาท่ีพักให ใหเบิกคาเชาที่พักไดตามสิทธิของ ผู
เดินทาง กรณีไดรับความชวยเหลือคาท่ีพักต่ํากวาสิทธิที่พึงไดรับ ใหเบิกคาเชาท่ีพักสมทบเฉพาะสวนท่ีขาด
ตามจํานวนทไ่ี ดจายจรงิ ซง่ึ เมอ่ื รวมกับคาทพ่ี ักท่ีไดร ับความชว ยเหลือแลวจะตอ งไมเกินสทิ ธทิ ี่พึงไดรับ และกรณี
ทผี่ ูใ หความชวยเหลือจดั ท่พี กั กให ใหง ดเบกิ คาเชา ที่พกั

(๔ คา รับรอง ใหผเู ดินทางมีสทิ ธไิ ดรับเงินคา รับรองตามขอ ๕๕
(๕ คาพาหนะเดินทางไปกลับระหวางสถานที่อยู ที่พัก หรือสถานที่ปฏิบัติราชการกับสถานี
ยานพาหนะและคา ใชจ า ยอน่ื ท่ีจําเปนเนื่องในการเดินทางไปราชการ กรณีท่ีมิไดรับความชวยเหลือใหเบิก ได
ตามสทิ ธิ กรณีไดรับความชวยเหลือตํ่ากวา สิทธทิ ่พี ึงไดรับ ใหเ บิกสมทบเฉพาะสวนที่ขาดตามจํานวน ที่ไดจาย
จริง รวมแลว ตองไมเ กินสทิ ธิท่ีพึงไดรับ
ขอ ๔๘ คา ใชจายในการเดนิ ทางไปราชการตางประเทศช่ัวคราว ไดแก
(๑ เบย้ี เล้ียงเดินทาง
(๒ คาเชาทีพ่ ัก
(๓ คาพาหนะ รวมท้ังคาเชายานพาหนะ คาเช้ือเพลิงพลังงาน สําหรับยานพาหนะ คาระวาง
บรรทกุ คาจา งคนหาบหาม และอ่ืน ๆ ทํานองเดยี วกนั
(๔ คา รบั รอง
(๕ คา ใชจ ายอื่นท่ีจาํ เปนเนือ่ งในการเดินทางไปราชการ
ขอ ๔๙ เบีย้ เลี้ยงเดนิ ทางไปราชการตา งประเทศชว่ั คราวใหเบิกไดในลักษณะเหมาจายภายใน วงเงินที่
กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถิ่นกําหนด
2324เบีย้ เลีย้ งเดินทางไปราชการตางประเทศช่ัวคราวใหเบิกไดในลักษณะเหมาจายตามบัญชี หมายเลข
๔ ทา ยระเบียบนี้
ผูเดนิ ทางไปราชการตางประเทศชั่วคราวที่มิไดเบิกเบี้ยเล้ียงเดินทางตามวรรคหนึ่ง ใหเบิกคาอาหาร
คาเครอื่ งด่มื คา ภาษแี ละคา บรกิ ารทโี่ รงแรม ภตั ตาคาร หรอื รานคาเรียกเก็บ คาใชสอยเบ็ดเตล็ด และคาทํา
ความสะอาดเสื้อผา ตามบญั ชีหมายเลข ๔ ทา ยระเบยี บ
ในกรณีที่ผูเดินทางไปราชการเจ็บปวยและจําเปนตองพักเพื่อรักษาพยาบาล ใหนําขอ ๒๑ มาใช
บังคบั โดยอนุโลม
ขอ ๕๐ การนับเวลาเดินทางไปราชการตางประเทศเพื่อคํานวณเบี้ยเล้ียงเดินทาง ใหนับต้ังแต
ประทบั ตราหนงั สอื เดินทางออกจากประเทศไทยจนถงึ เวลาทีป่ ระทับตราหนงั สอื เดนิ ทาง เขาประเทศไทย

24 ขอ 49 วรรคหนึง่ และสองแกไขโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจ า ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนา ท่ีทอ งถน่ิ ฉบบั ท่ี 2
พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 62

ในกรณกี ารเดนิ ทางของเจาหนาท่ที องถน่ิ ที่ใชเอกสารอยางอ่ืนซึ่งมิใชหนังสือเดินทางเวลา ที่ถือวาเปน
เวลาเขาและออกจากประเทศไทยใหใ ชเวลาประทบั ตราเขาและออกในเอกสารนนั้
เวลาเดนิ ทางไปราชการในกรณีที่มีการพักแรม ใหนับยี่สิบสชั่วโมงเปนหนึ่งวัน ถาไมถึงยี่สิบส่ีช่ัวโมง
หรือเกนิ ยีส่ บิ ส่ีชวั่ โมงและสวนท่ไี มถ งึหรอื เกินยี่สบิ สช่ี ัว่ โมงนั้นนับไดเ กนิ สิบสองช่ัวโมงใหถ ือเปนหน่งึ วนั
เวลาเดนิ ทางไปราชการในกรณีทีม่ ไิ ดม ีการพักแรม หากนับไดไมถึงยี่สิบส่ีช่ัวโมง และสวนท่ี ไมถึงน้ัน
นับไดเกนิ สิบสองชัว่ โมงใหถ ือเปนหนึง่ วัน หากนบั ไดไมเ กินสบิ สองชั่วโมงแตเกินหกช่ัวโมงข้ึนไป ใหถือเปนครึ่ง
วนั
ในกรณที ีผ่ เู ดนิ ทางไปราชการมีความจาํ เปนตองออกเดนิ ทางลว งหนา หรือไมสามารถเดินทาง กลับทอ ง
ท่ีต้ังสํานักงานปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ เพราะมีเหตุสวนตัวตามขอ ๙ การนับเวลา เดินทางไป
ราชการเพือ่ คํานวณเบย้ี เลยี้ งเดินทางกรณีลากิจหรอื ลาพักผอ นกอ นปฏิบัตริ าชการ ใหน บั เวลา ต้ังแตเริ่มปฏิบัติ
ราชการเปน ตนไป ยกเวน ในกรณีที่ผเู ดนิ ทางไปราชการมีเหตุจําเปน ตองพักแรมในทองท่ี ท่ีปฏิบัติราชการกอน
วันเริ่มปฏิบัติราชการ ใหนับเวลาเพ่ือคํานวณเบ้ียเลี้ยงเดินทางตั้งแตเวลาที่เขาพัก ในทองที่ที่ปฏิบัติราชการ
ท้งั นี้ ไมเกินย่ีสิบสี่ชั่วโมงเมื่อนับถึงเวลาเริ่มปฏิบัติราชการ และกรณีลากิจ หรือลาพักผอนหลังเสร็จส้ินการ
ปฏบิ ตั ิราชการ ใหถอื วาสทิ ธใิ นการเบิกจา ยเบย้ี เลี้ยงเดนิ ทางส้ินสุดลง เม่ือส้ินสุดเวลาการปฏิบัติราชการ
ขอ25 ๕๑ การเดินทางไปราชการตา งประเทศชั่วคราวท่ีจําเปน ตอ งพักแรม เวน แตการพกั แรม ซ่งึ โดย

24
ปกตติ องพกั แรมในยานพาหนะ หรอื การพักแรมในทีพ่ กั แรมซ่งึ ทางราชการจัดท่ีพักไวใหแลว ใหผูเดินทางไป
ราชการเบิกคาเชาท่ีพักไดเทาที่จายจริงตามสิทธิท่ีตนเองไดรับในการพักอาศัยคนเดียว ท้ังน้ี ตามบัญชี
หมายเลข ๕ ทา ยระเบยี บ
2526การเดินทางไปราชการเปน หมคู ณะ ใหผ ูเดนิ ทางไปราชการเบิกคา เชา ท่ีพักไดด งั ตอ ไปน้ี
(๑ ผูดํารงตําแหนงประเภททั่วไป ตําแหนงประเภทวิชาการตั้งแตระดับชํานาญการพิเศษ ลงมา
ตาํ แหนงประเภทอํานวยการทอ งถ่ินต้งั แตร ะดบั กลาง ลงมา ตําแหนงประเภทบริหารทอ งถิ่นตัง้ แต ระดับกลาง
ลงมา หรือตําแหนงตั้งแตระดับ ๘ ลงมา หรือตําแหนงท่ีเทียบเทา ใหพักแรมรวมกันสองคน ตอหนึ่งหอง
โดยใหเบิกคาเชาท่ีพักไดเทาที่จายจริงในอัตราคาเชาหองพักคู คนละไมเกินรอยละเจ็ดสิบ ของอัตราคาเชา
หอ งพกั คนเดียว ถา ผูดาํ รงตําแหนงดงั กลาวแยกพักหอ งพักคนเดียวใหเ บิกไดในอตั ราเดยี วกนั เวนแตเปนกรณที ่ี
ไมเหมาะสมจะพักรวมกัน หรือมีเหตุจําเปน ท่ไี มอาจพกั รวมกับผูอ่นื ได ใหเบิกไดเทาที่จายจริง ในอัตราคาเชา
หอ งพักคนเดียว
(๒ ผูดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ตําแหนงประเภทอํานวยการทองถ่ินระดับสูง
ตาํ แหนง ประเภทบรหิ ารทองถิ่นระดบั สูง หรือตําแหนง ตง้ั แตระดบั ๙ ข้นึ ไป หรอื ตําแหนง ทีเ่ ทยี บเทา ใหเบกิ
คาเชาท่พี กั ไดเทาที่จายจรงิ ในอตั ราคา เชาหองพกั คนเดียว

(๓ ผดู ํารงตาํ แหนงประเภทบริหารทอ งถิ่นระดับสงู หรือผูดาํ รงตําแหนง ต้งั แตระดบั ๑๐ ข้นึ ไป หรอื
ตําแหนงท่ีเทียบเทา ซ่ึงเปนหัวหนาคณะ หากมีความจําเปนตองใชสถานที่ในที่เดียวกันกับท่ีพักเพื่อเปน ที่
ประสานงานของคณะหรอื กบั บคุ คลอนื่ ใหเบิกคาเชา ทพ่ี ักไดเพ่มิ ข้นึ สําหรับหอ งพักอีกหองหนึ่งในอัตรา คาเชา
หอ งพักคนเดยี วหรอื จะเบิกคาเชา หองชุดแทนก็ได แตทั้งน้ีตองมีอัตราไมเกินสองเทาของอัตรา คาเชาหองพัก
คนเดียว”

25 ขอ 51 แกไขโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนาที่ทอ งถน่ิ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2558
26 ขอ 51 วรรสองแกไขโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจา ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนาที่ทองถนิ่ ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2559

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 63

ในกรณที ่ผี เู ดนิ ทางไปราชการมีความจําเปนตองออกเดินทางลวงหนากอนเร่ิมปฏิบัติราชการ เพราะมี
เหตสุ ว นตัวตามขอ ๙ และมเี หตจุ าํ เปนตองพักแรมในทองทีท่ ่ปี ฏิบตั ริ าชการกอ นวนั เรม่ิ ปฏิบตั ิราชการ ใหเบิก
คาเชา ทพ่ี กั กอ นวันเร่มิ ปฏิบตั ิราชการดงั กลาวไดไมเ กนิ หนงึ่ วัน

ในกรณีทผ่ี เู ดินทางไปราชการนําบคุ คลอ่ืนที่ไมม ีสิทธเิ บิกคา ใชจายในการเดนิ ทางไปพักรวมอยดู ว ย ใหผู
เดนิ ทางไปราชการรบั ภาระคาใชจา ยสว นทเ่ี พม่ิ ข้นึ จากสิทธทิ พ่ี ึงจะไดร ับจากทางราชการ

ขอ ๕๒ การเดนิ ทางไปราชการตา งประเทศช่ัวคราว โดยปกตใิ หใชยานพาหนะประจําทาง และใหเบกิ
คาพาหนะไดเทา ทจี่ า ยจรงิ โดยประหยดั

ในกรณที ่ีไมมียานพาหนะประจําทางหรือมีแตตองการความรวดเร็วเพ่ือประโยชนแกราชการ ใหใช
พาหนะอืน่ ได แตผเู ดนิ ทางจะตองชแ้ี จงเหตผุ ลและความจาํ เปนไวใ นหลักฐานการขอเบิกคา พาหนะนั้น

ในกรณที ีผ่ ูเดินทางไปราชการมีความจาํ เปนตอ งออกเดนิ ทางลว งหนา หรอื ไมสามารถเดนิ ทาง กลบั ทอง
ท่ีตัง้ สํานักงานปกติเมอ่ื สิน้ การปฏบิ ัตริ าชการ เพราะมเี หตสุ วนตัวตามขอ ๙ ใหเ บิกคา พาหนะ ไดเทา ท่ีจายจรงิ
ตามเสน ทางที่ไดรบั คําสง่ั ใหเดินทางไปราชการ กรณีท่ีมีการเดนิ ทางนอกเสน ทางในระหวาง การลาน้ัน ใหเบิก
คา พาหนะไดเ ทาท่ีจา ยจรงิ โดยไมเกนิ อตั ราตามเสน ทางทีไ่ ดร บั คําสัง่ ใหเดนิ ทางไปราชการ

27 “ขอ 53 การเดินทางไปราชการตา งประเทศโดยเครื่องบินจากประเทศไทยไปตางประเทศ หรือ
จากตางประเทศกลบั ประเทศไทย หรือการเดินทางในตางประเทศทม่ี ีระยะเวลาในการเดินทางตง้ั แต เกา ช่ัวโมง
ขึน้ ไป ใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑ ดังตอ ไปนี้

(1 ชน้ั ธรุ กจิ หรือชั้นระหวางชั้นหนึ่ งกับช้ันประหยัด สําหรับผูดํารงตําแหนงประเภทบริหาร ทองถิ่น
ระดบั สูง ตาํ แหนง ประเภทอํานวยการทองถิ่นระดับสูง หรือตําแหนงต้ังแตระดับ 9 ขึ้นไป หรือตําแหนงท่ี
เทยี บเทา

(2 ชัน้ ประหยัด สาํ หรบั ผูดํารงตาํ แหนง นอกจากที่ระบไุ วใ น (1
ในกรณีที่ผูเดินทางตาม (1 มีความจําเปนตองโดยสารเคร่ืองบินในช้ันท่ีสูงกวาสิทธิ ใหผูดํารง
ตําแหนงทเ่ี ดนิ ทางดังกลาวสามารถเดินทางและเบิกคาโดยสารเคร่ืองบินในชั้นที่สูงกวาสิทธิได โดยตองไดรับ
อนุมตั ิจากผวู า ราชการจังหวัด

ขอ28 53/1 การเดนิ ทางไปราชการตา งประเทศโดยเคร่ืองบินจากประเทศไทยไปตางประเทศ หรือ

27
จากตางประเทศกลับประเทศไทย หรือการเดินทางในตางประเทศท่ีมีระยะเวลาในการเดินทาง ตํ่ากวาเกา
ชวั่ โมง ใหโดยสารช้ันประหยัด
ในกรณที ี่ผูเดนิ ทางมีความจาํ เปน ตอ งโดยสารเครอ่ื งบนิ ในช้นั ทสี่ งู กวาสทิ ธิ ใหผ ดู ํารงตําแหนง ที่เดินทาง
ดังกลาวสามารถเดินทางและเบิกคาโดยสารเคร่ืองบินในช้ันท่ีสูงกวาสิทธิได โดยตองไดรับอนุมัติจาก ผูวา
ราชการจงั หวัด
2829ขอ ๕๔ ผเู ดนิ ทางไปราชการตางประเทศในหนาท่ีเลขานกุ ารกับผูบงั คับบญั ชาทเี่ ปนหวั หนาคณะ ซึ่ง
ดาํ รงตําแหนงประเภทวิชาการระดับเช่ยี วชาญ ตาํ แหนงประเภทอํานวยการทองถนิ่ ระดบั สงู ตําแหนง ประเภท
บริหารทอ งถ่นิ ระดับสูง หรือตําแหนงต้ังแตระดับ ๙ ข้ึนไป หรือตําแหนงที่เทียบเทา ใหเบิก คาพาหนะได

27 ขอ 53 วรรคหนึง่ แกไ ขโดยโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดวยคาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจาหนาที่ทอ งถ่นิ ฉบับท่ี 4 พ.ศ.
2561
28 ขอ 53/1 เพ่มิ เติมโดยแกไ ขโดยโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจ า ยในการเดินทางไปราชการของเจา หนา ท่ีทองถน่ิ ฉบบั ท่ี 4
พ.ศ. 2561
29 ขอ 54 แกไ ขโดยโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ า ยในการเดนิ ทางไปราชการของเจา หนา ที่ทองถนิ่ ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2559

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 64

เทากับทผ่ี ูบงั คับบัญชามสี ิทธิเบิก และใหพักแรมในท่ีเดียวกับผูบังคับบัญชา โดยเบิกคาเชา ที่พักไดเทาที่จาย
จริงตามสิทธทิ ี่ตนเองไดร ับหรือเบกิ ในอตั ราต่ําสุดของท่พี กั นั้น แลว แตจ าํ นวนใดจะสงู กวา

ขอ30 ๕๕ ใหผูเดินทางไปราชการตางประเทศช่ัวคราวเบิกคารับรองในการเดินทางไปราชการ ใน

29
ลกั ษณะเหมาจา ย ตามบญั ชีหมายเลข ๖ ทา ยระเบยี บนี้
การเดินทางไปราชการท่ีจะเบิกคารับรองตามวรรคหน่ึงได ตองเปนการเดินทางกรณีใดกรณีหนึ่ง
ดังตอไปนี้
(๑ เปนผเู ดินทางไปเขา รว มประชุมระหวางประเทศในฐานะผูแ ทนรัฐบาล ผูแทนรัฐสภา หรือผูแทน
สว นราชการไทย แตไมรวมถงึ การประชมุ การสัมมนาทางวิชาการ
(๒ เปนผูเ ดนิ ทางไปเจรจาธุรกิจ เจรจากูเงินและขอความชวยเหลือจากตางประเทศในฐานะ ผูแทน
รฐั บาลไทย
(๓ เปนผเู ดนิ ทางไปปรกึ ษาหารือหรือเขารวมการประชุมเกี่ยวกับความรวมมือระหวาง หนวยงานของ
รฐั บาลไทยกบั หนว ยงานตางประเทศ
(๔ เปนผูเดินทางไปเยอื นตา งประเทศในฐานะทตู สันถวไมตรีหรอื ในฐานะแขกของรฐั บาล ตางประเทศ
(๕ เปนผูเดินทางไปรวมงานรฐั พธิ ตี ามคาํ เชิญของรัฐบาลตางประเทศ
(๖ เปน ผเู ดินทางไปจัดงานแสดงสนิ คาไทย หรือสงเสรมิ สนิ คา ไทยในตางประเทศ หรือสงเสริมการ
ลงทุนของตา งประเทศในประเทศไทย หรือสง เสริมการลงทุนของไทยในตา งประเทศ
(๗ เปน ผูเดินทางไปเผยแพรศ ลิ ปะหรอื วัฒนธรรมไทยในตางประเทศ
3031ขอ 55/1 ใหผูเดนิ ทางไปราชการตางประเทศชว่ั คราวเบิกคาใชจา ยอ่นื ที่จาํ เปนตองจา ย เน่ืองในการ
เดินทางไปราชการไดเทา ท่ีจา ยจรงิ ตามหลักเกณฑด งั ตอ ไปน้ี
(๑ เปนคาใชจายท่ีจําเปนตองจาย หากไมจายไมอาจเดินทางถึงจุดหมายแตละชวงท่ีเดินทาง ไป
ปฏบิ ัตริ าชการได
(๒ ตอ งไมเปน คา ใชจ า ยทมี่ กี ฎหมาย ระเบียบ หลกั เกณฑ ขอบังคับ หรือหนังสือส่ังการของ กรม
สง เสรมิ การปกครองทอ งถ่ินกําหนดไวเปน การเฉพาะ
(๓ ตอ งไมใชค าใชจายท่เี ก่ยี วกบั เน้ืองานท่ีไปปฏบิ ัติราชการ ซึ่งถอื เปนคาใชจายในการบริหารงาน ของ
องคกรปกครองสว นทอ งถิ่น

ขอ ๕๖ ผเู ดินทางไปราชการตางประเทศช่ัวคราว ซ่ึงไดร บั คา ใชจ ายในการเดินทางลวงหนาไปแลว ถา
ไมไ ดเดินทางภายในสส บิ หา วนั นบั แตว นั ไดร บั เงิน ใหนาํ เงินคา ใชจ ายทไ่ี ดรับไปแลวสง คนื ทนั ที

หมวด ๔
เบด็ เตลด็
ขอ ๕๗ เจา หนาท่ีทอ งถิน่ ผูเดนิ ทางไปราชการอาจเบิกเงนิ ลวงหนาไดตามสมควร โดยย่ืนบญั ชี รายการ
ประมาณคา ใชจายในการเดนิ ทาง

30 ขอ 55 แกไขโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจาหนาท่ีทอ งถ่นิ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2558
31 ขอ 55/1 เพม่ิ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนา ท่ีทอ งถิ่น ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2558

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 65

ขอ32 ๕๘ การเบิกเงินตามระเบียบน้ี ผูเบิกตองยื่นรายงานการเดินทาง พรอมดวยใบสําคัญคูจาย

31
และเงินเหลอื จา ย (หากมี ตอ องคกร ปกครองสว นทอ งถน่ิ เจา สงั กัดภายในสิบหา วันนับแตว ันเดินทางกลบั หรอื
วันเดนิ ทางถึงสํานักงานแหงใหม หรือวนั ทีอ่ อกจากราชการหรอื ถกู สง่ั พักราชการแลว แตกรณี โดยแบบรายงาน
การเดินทางเพ่อื ขอเบกิ คา ใชจา ยในการเดนิ ทางไปราชการและเอกสารประกอบทใ่ี ช ในการเบิกคา ใชจา ย ในการ
เดนิ ทางไปราชการใหเปน ไปตามทก่ี าํ หนดไวทา ยระเบียบนี้
3233การเบกิ คา เชาทพี่ ักเทาทจ่ี ายจรงิ ผูเดินทางไปราชการจะใชใบเสร็จรับเงินหรือใบแจงรายการ ของ
โรงแรม หรือทีพ่ กั แรมทม่ี ขี อ ความแสดงวา ไดร บั ชาํ ระเงินคาเชาท่ีพักเรียบรอยแลว โดยเจาหนาท่ีรับเงิน ของ
โรงแรม หรอื ท่พี ักแรมลงลายมอื ช่ือ วนั เดือน ป และจํานวนเงินที่ไดรับเพ่ือเปนหลักฐานในการขอเบิก คา
เชาทพ่ี ักกไ็ ด.
34กรณีที่ผูเดนิ ทางไปราชการทดรองจายเงินคาใชจา ยในการเดินทางไปราชการ ใหถือวาคาใชจาย ใน
การเดินทางไปราชการ เปนรายจายที่เกิดข้ึนเมื่อองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดรับแบบรายงานการเดินทาง
และใหเบิกจายจากงบประมาณประจาํ ปงบประมาณท่ีไดรับแบบรายงานการเดินทาง
บทเฉพาะกาล
ขอ ๕๙ การเดินทางไปราชการที่ตอเน่ืองกัน ในระหวางการใชระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวย
คาใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนาท่ีทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๒๖ และท่ีแกไขเพิ่มเติมกับ ระเบียบนี้
สําหรบั สทิ ธิที่จะไดร บั คา ใชจ ายทเี่ กดิ ข้นึ หรือทก่ี อหน้ีผูกพันไปแลวโดยสุจริตกอนวันท่ี ระเบียบนี้ใชบังคับ ให
เปนไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจายในการเดินทางไปราชการ ของเจาหนาท่ีทองถิ่น พ.ศ.
๒๕๒๖ และทแ่ี กไขเพมิ่ เตมิ แตท ้ังน ไมเปน การกระทบกระเทือนถงึ สทิ ธิ ทจ่ี ะไดรบั คา ใชจา ยเพ่มิ ขึ้นตามระเบยี บ
นส้ี าํ หรบั สว นทเ่ี กนิ จาํ นวนเงนิ คาใชจ า ยที่ไดร ับแลว นัน้
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕
ยงยทธุ วชิ ัยดษิ ฐ
รฐั มนตรวี าการกระทรวงมหาดไทย

32 ขอ 58 วรรคหน่งึ แกไ ขโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจายในการเดินทางไปราชการของเจาหนาทีท่ องถนิ่ ฉบบั ที่ 3 พ.ศ.
2561
33 ขอ 58 วรรคสอง เพมิ่ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจา ยในการเดินทางไปราชการของเจาหนา ท่ที อ งถ่นิ ฉบับท่ี 2 พ.ศ.
2558
34 ขอ 58 วรรคสาม เพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจาหนา ที่ทอ งถน่ิ ฉบับท่ี 3 พ.ศ.
2561

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 66

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๒๑๙ ง หน้า ๑ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วา่ ดว้ ยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม และการเขา้ รับการฝึกอบรมของเจ้าหน้าท่ีท้องถ่ิน
พ.ศ. ๒๕๕๗

โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือให้การบริหารงานด้านการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
เปน็ ไปอยา่ งเหมาะสมสอดคลอ้ งกับสภาวการณใ์ นปัจจุบัน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
มาตรา ๕ และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย จงึ ออกระเบยี บไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและ
การเข้ารบั การฝึกอบรมของเจ้าหน้าทที่ อ้ งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๕๗”

ข้อ ๒ ระเบยี บนี้ให้ใชบ้ ังคบั ตัง้ แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมขององค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๙
บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คําส่ัง และหนังสือส่ังการอื่นใดในส่วนท่ีกําหนดไว้แล้วในระเบียบนี้
หรือซึง่ ขดั หรือแยง้ กับระเบียบน้ี ใหใ้ ช้ระเบียบนแ้ี ทน
ขอ้ ๔ ในระเบียบนี้
“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
และองคก์ ารบริหารส่วนตําบล
“ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี
และนายกองคก์ ารบริหารส่วนตาํ บล
“เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น” หมายความว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล
พนักงานส่วนตําบล และให้หมายความรวมถึง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี
นายกองค์การบริหารส่วนตําบล รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด รองนายกเทศมนตรี รองนายก
องค์การบริหารส่วนตําบล ประธานสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาชิกสภาองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถิ่น เลขานุการและทีป่ รึกษาผู้บริหารท้องถ่ิน ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ลูกจ้างหรือพนักงานจ้าง
ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ซง่ึ ได้รับคา่ จ้างจากเงินงบประมาณรายจา่ ยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตลอดจนผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ี ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ใหเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรม

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 67

เล่ม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๒๑๙ ง หนา้ ๒ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

“การฝึกอบรม” หมายความว่า การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ
การสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การฝึกงาน
หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่น ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีโครงการหรือหลักสูตรและช่วงเวลาจัด
ท่ีแนน่ อนทีม่ วี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื พัฒนาบุคคลหรือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยไม่มีการรับปริญญา
หรือประกาศนียบตั รวิชาชีพ

“การอบรม” หมายความว่า การให้ความรู้โดยการบรรยายและการตอบปัญหาจากวิทยากร
เพียงฝ่ายเดียว

“การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ” หมายความว่า การให้ความรู้โดยการบรรยาย
เช่นเดียวกับการอบรม แต่เป็นการให้ความรู้เพียงเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งและอาจกําหนดให้มีการฝึกปฏิบัติ
ดว้ ยก็ได้

“การสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ” หมายความว่า การประชุมในลักษณะเป็น
การระดมความคิด การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น เพ่ือนําข้อสรุปที่ได้ไปพัฒนาหรือ
เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ าน และอาจกําหนดใหม้ กี ารฝึกปฏบิ ตั ดิ ว้ ยกไ็ ด้

“การบรรยายพิเศษ” หมายความว่า การให้ความรู้โดยการบรรยายในเร่ืองท่ีองค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถน่ิ เหน็ สมควรให้ความร้พู ิเศษเพม่ิ เติมแก่เจ้าหน้าท่ที ้องถ่นิ

“การฝกึ ศกึ ษา” หมายความวา่ การเพม่ิ พูนความรหู้ รือประสบการณ์ด้วยการศกึ ษาและฝึกปฏิบตั ิ
“การดูงาน” หมายความว่า การเพิ่มพูนความรู้หรือประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์ซึ่งได้
กําหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตรให้มีการดูงานก่อน ระหว่างหรือหลังการฝึกอบรมและหมายความ
รวมถึงโครงการหรือหลักสูตรที่กําหนดเฉพาะการดูงานภายในประเทศที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
หรือหนว่ ยงานอืน่ ของรฐั จัดข้นึ
“การฝึกงาน” หมายความว่า การเพ่ิมพูนความรู้หรือประสบการณ์ด้วยการปฏิบัติงาน
ซึ่งกาํ หนดในหลกั สูตรหรอื โครงการ และหมายความรวมถึงการปฏิบตั งิ านภาคสนามดว้ ย
“ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรม” หมายความรวมถึง บุคคลภายนอกที่เข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการ
หรอื หลกั สูตรการฝกึ อบรมทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เป็นผู้จัด
“วิทยากร” หมายความว่า ผู้บรรยาย ผู้อภิปราย หรือท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืน ซ่ึงทําหน้าที่
ใหค้ วามร้แู ก่ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมตามโครงการหรือหลักสูตร และให้รวมถงึ ผดู้ ําเนนิ การสมั มนา
“การฝึกอบรมประเภท ก” หมายความว่า การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหนึ่ง
เปน็ เจา้ หนา้ ที่ทอ้ งถิน่ ระดับ ๙ ขึ้นไป หรือตําแหน่งทีเ่ ทียบเท่า
“การฝึกอบรมประเภท ข” หมายความว่า การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหน่ึง
เป็นเจ้าหน้าทที่ อ้ งถิ่นระดับ ๑ ถงึ ระดับ ๘ หรือตําแหน่งท่ีเทียบเท่า
“การฝกึ อบรมบุคคลภายนอก” หมายความว่า การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหน่ึง
มิใช่เจ้าหน้าท่ที ้องถนิ่

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 68

เลม่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๒๑๙ ง หน้า ๓ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

“ค่าอาหาร” หมายความว่า ค่าอาหารม้ือเช้า อาหารม้ือกลางวัน และอาหารม้ือเย็น
และรวมถึงอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม

“ช่วงระหว่างการฝึกอบรม” หมายความว่า ช่วงเวลาต้ังแต่เวลาส้ินสุดการลงทะเบียน หรือ
เวลาเริ่มพิธีเปิดการฝึกอบรม หรือเวลาเริ่มการฝึกอบรม จนถึงเวลาส้ินสุดการฝึกอบรมตามโครงการ
หรือหลกั สูตร

ข้อ ๕ ให้ปลดั กระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามระเบยี บน้ี และให้มีอํานาจตีความวินิจฉัยปัญหา
กาํ หนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏบิ ัตเิ พอ่ื ดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี

ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติที่กําหนด
ในวรรคหนึ่ง ให้ขออนุมัติตอ่ ปลัดกระทรวงมหาดไทยกอ่ นการปฏบิ ัติ

หมวด ๑
บททวั่ ไป

ขอ้ ๖ การเบิกจา่ ยค่าใช้จา่ ยในการฝกึ อบรมให้เป็นไปตามระเบียบน้ี
การเบิกจ่ายเงินและหลักฐานการจ่ายซ่ึงมิได้กําหนดไว้ในระเบียบน้ี ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
ข้อ ๗ โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดหรือจัดร่วมกับ
หนว่ ยงานอ่นื ต้องเปน็ เรือ่ งท่ีอยใู่ นอํานาจหน้าที่ โดยคาํ นงึ ถึงความคมุ้ คา่ ในการใช้จ่ายงบประมาณ
ข้อ ๘ การฝึกอบรมที่จัดโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ส่วนราชการ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่น ให้เจ้าหน้าที่ท้องถ่ิน รวมถึงเจ้าหน้าท่ีท้องถิ่นของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืนที่ไม่ใช่เป็นผู้จัดการฝึกอบรมสามารถเข้ารับการฝึกอบรมและเบิกค่าใช้จ่าย
ในการฝกึ อบรมตามระเบียบน้ีได้
ข้อ ๙ การจดั ฝกึ อบรม การเดินทางไปจดั การฝึกอบรมและเข้ารับการฝึกอบรม การเดินทาง
ไปดูงาน ทั้งในประเทศและหรือต่างประเทศ ตามท่ีกําหนดในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม
ต้องได้รับอนุมัติจากผู้มีอํานาจตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ของเจ้าหน้าที่ท้องถ่ิน โดยให้พิจารณาอนุมัติเฉพาะผู้ท่ีปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ต่อ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนัน้ ตามจาํ นวนทเ่ี หน็ สมควร
ขอ้ ๑๐ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมหรือผู้สังเกตการณ์ที่เข้ารับการฝึกอบรมหรือเข้าร่วม
สังเกตการณ์ที่หน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานอื่นจัดการฝึกอบรม จัดทํารายงานผลการเข้ารับการฝึกอบรม
หรือเข้าร่วมสังเกตการณ์เสนอผู้มีอํานาจอนุมัติตามข้อ ๙ ภายในหกสิบวัน นับแต่วันเดินทางกลับถึง
สถานที่ปฏิบตั ริ าชการ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 69

เล่ม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๒๑๙ ง หน้า ๔ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

ข้อ ๑๑ ให้มีการประเมินผลการฝึกอบรม และรายงานต่อผู้บริหารท้องถิ่นท่ีจัดการฝึกอบรม
ภายในหกสิบวันนับแต่วนั สิน้ สุดการฝกึ อบรม

หมวด ๒
คา่ ใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม

ส่วนที่ ๑
ค่าใชจ้ ่ายขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ที่จัดการฝึกอบรม

ข้อ ๑๒ โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดหรือจัดร่วมกับ
หนว่ ยงานอนื่ ต้องไดร้ ับอนมุ ัติจากผู้บริหารทอ้ งถิน่ เพื่อเบกิ จา่ ยค่าใช้จ่ายตามระเบียบน้ี

ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นทจ่ี ดั การฝกึ อบรมเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมได้ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) คา่ ใช้จา่ ยเกยี่ วกับการใช้และการตกแต่งสถานทีฝ่ กึ อบรม
(๒) ค่าใชจ้ า่ ยในพธิ เี ปิดและปิดการฝึกอบรม
(๓) ค่าวัสดุ เครือ่ งเขียน และอุปกรณ์
(๔) คา่ ประกาศนียบัตร
(๕) ค่าถ่ายเอกสาร คา่ พมิ พเ์ อกสารและสิ่งพิมพ์
(๖) ค่าหนังสอื สาํ หรับผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม
(๗) คา่ ใชจ้ ่ายในการติดตอ่ สอ่ื สาร
(๘) ค่าเชา่ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝกึ อบรม
(๙) ค่ากระเปา๋ หรือสง่ิ ที่ใช้บรรจเุ อกสารสําหรับผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม
(๑๐) ค่าของสมนาคุณในการดูงาน
(๑๑) ค่าอาหารวา่ งและเครอ่ื งดืม่
(๑๒) คา่ สมนาคุณวทิ ยากร
(๑๓) ค่าอาหาร
(๑๔) คา่ เช่าทพี่ ัก
(๑๕) ค่ายานพาหนะ
(๑๖) ค่าใช้จ่ายอ่ืนทจี่ าํ เปน็ ในการฝกึ อบรม
ข้อ ๑๓ ค่าใช้จ่ายตามข้อ ๑๒ (๑) ถึง (๘) และ (๑๖) ให้เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง
ตามความจําเปน็ เหมาะสม และประหยดั
ขอ้ ๑๔ ค่าใช้จ่ายตามขอ้ ๑๒ (๙) ให้เบิกจา่ ยไดเ้ ท่าท่ีจ่ายจรงิ ไมเ่ กนิ อตั ราใบละ ๓๐๐ บาท
ขอ้ ๑๕ ค่าใช้จ่ายตามขอ้ ๑๒ (๑๐) ใหเ้ บิกจา่ ยไดเ้ ทา่ ที่จา่ ยจริงแห่งละไม่เกนิ ๑,๕๐๐ บาท
ข้อ ๑๖ ค่าใช้จ่ายตามข้อ ๑๒ (๑๑) ให้เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินอัตราตามบัญชี
หมายเลข ๑ ท้ายระเบียบน้ี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 70

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๒๑๙ ง หน้า ๕ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ้ ๑๗ ค่าใช้จา่ ยตามข้อ ๑๒ (๑๒) ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละอตั รา ดังนี้
(๑) หลักเกณฑ์การจา่ ยค่าสมนาคณุ วทิ ยากร

(ก) ช่ัวโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการบรรยาย ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้
ไม่เกนิ ๑ คน

(ข) ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการอภิปรายหรือสัมมนาเป็นคณะ ให้จ่าย
ค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกิน ๕ คน โดยรวมถึงผู้ดําเนินการอภิปรายหรือสัมมนาท่ีทําหน้าท่ี
เชน่ เดยี วกบั วทิ ยากรดว้ ย

(ค) ช่ัวโมงการฝึกอบรมท่ีมีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่มอภิปราย
หรือสัมมนา หรือแบ่งกลุ่มทํากิจกรรม ซ่ึงได้กําหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม และ
จําเปน็ ตอ้ งมีวิทยากรประจํากลมุ่ ให้จา่ ยค่าสมนาคุณวิทยากรไดไ้ มเ่ กนิ กล่มุ ละ ๒ คน

(ง) ชั่วโมงการฝึกอบรมใดมีวิทยากรเกินกว่าจํานวนท่ีกําหนดไว้ตาม (ก) (ข) หรือ (ค)
ใหเ้ ฉลี่ยจ่ายคา่ สมนาคุณวิทยากรไม่เกนิ จํานวนเงนิ ที่กําหนดไวใ้ น (๒)

(จ) การนับชั่วโมงการฝึกอบรมให้นับตามเวลาที่กําหนดในตารางการฝึกอบรม โดยรวม
เวลาที่พักรับประทานอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม การฝึกอบรมแต่ละช่ัวโมงต้องมีเวลาไม่น้อยกว่าห้าสิบนาที
ถา้ ไมถ่ งึ ห้าสบิ นาทแี ตไ่ ม่นอ้ ยกว่ายสี่ บิ หา้ นาที ให้จ่ายคา่ สมนาคุณวทิ ยากรไดใ้ นอตั ราคร่งึ ช่วั โมง

(๒) อตั ราค่าสมนาคุณวทิ ยากร
(ก) วิทยากรที่เป็นบุคคลของรัฐไม่ว่าจะสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่จัดการฝึกอบรม

หรือไม่ก็ตาม ให้ได้รับค่าสมนาคุณสําหรับการฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกินช่ัวโมงละ ๘๐๐ บาท
ส่วนการฝึกอบรมประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ให้ได้รับค่าสมนาคุณไม่เกินช่ัวโมงละ
๖๐๐ บาท

(ข) วิทยากรท่ีมิใช่บุคคลตาม (ก) ให้ได้รับค่าสมนาคุณสําหรับการฝึกอบรมประเภท ก
ไม่เกินช่ัวโมงละ ๑,๖๐๐ บาท ส่วนการฝึกอบรมประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก
ให้ได้รับคา่ สมนาคณุ ไมเ่ กินชวั่ โมงละ ๑,๒๐๐ บาท

(ค) กรณีท่ีจําเป็นต้องใช้วิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เป็นพิเศษ
เพื่อประโยชน์ในการฝึกอบรมตามโครงการหรือหลักสูตรที่กําหนด จะให้วิทยากรได้รับค่าสมนาคุณ
สูงกวา่ อตั ราท่ีกําหนดตาม (ก) หรอื (ข) กไ็ ด้ โดยความเหน็ ชอบของผู้วา่ ราชการจังหวัด

(ง) การฝึกอบรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น
ถ้าวิทยากรได้รับค่าสมนาคุณจากหน่วยงานอื่นแล้ว ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีจัดการฝึกอบรม
งดเบกิ คา่ สมนาคณุ จากองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ทจ่ี ัดการฝึกอบรม

(๓) การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ใช้แบบใบสําคัญรับเงินสําหรับวิทยากร ตามเอกสาร
หมายเลข ๑ ท้ายระเบยี บนี้ เปน็ หลกั ฐานการจ่าย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 71

เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๒๑๙ ง หนา้ ๖ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ้ ๑๘ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่มีการจัดอาหารให้แก่บุคคลตามข้อ ๒๒
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีจัดการฝึกอบรมเบิกจ่ายค่าอาหารได้เท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินอัตรา
ค่าอาหาร ตามบัญชหี มายเลข ๑ ท้ายระเบยี บนี้

การจัดอาหารให้แก่บุคคลตามข้อ ๒๒ ให้ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วา่ ดว้ ยการพัสดุ

ขอ้ ๑๙ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่มีการจัดท่ีพักหรือออกค่าเช่าท่ีพักให้แก่บุคคล
ตามข้อ ๒๒ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่จัดการฝึกอบรมเบิกจ่ายค่าเช่าท่ีพักได้เท่าท่ีจ่ายจริง
แต่ไม่เกินอัตราค่าเช่าที่พักตามบัญชีหมายเลข ๒ และบัญชีหมายเลข ๓ ท้ายระเบียบนี้ และตาม
หลักเกณฑ์ ดงั นี้

(๑) การจัดที่พักให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สําหรับการฝึกอบรมประเภท ข และการฝึกอบรม
บุคคลภายนอก ให้พักรวมกันต้ังแต่สองคนข้ึนไปโดยให้พักห้องพักคู่ เว้นแต่เป็นกรณีที่ไม่เหมาะสม
หรอื มเี หตุจาํ เปน็ ไม่อาจพักรวมกบั ผอู้ ่นื ได้ ผู้บรหิ ารท้องถ่นิ ทจี่ ดั การฝกึ อบรมอาจจัดใหพ้ ักหอ้ งพกั คนเดียวได้

(๒) การจดั ที่พักให้แก่ผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าท่ีระดับ ๑ - ๘ หรือเทียบเท่า ให้พักรวมกัน
ต้ังแต่สองคนขึ้นไปโดยให้พักห้องพักคู่ เว้นแต่เป็นกรณีท่ีไม่เหมาะสมหรือมีเหตุจําเป็นไม่อาจพักรวมกับ
ผู้อ่ืนได้ ผู้บริหารท้องถ่ินที่จัดการฝึกอบรมอาจจัดให้พักห้องพักคนเดียวได้ ส่วนผู้สังเกตการณ์หรือ
เจา้ หนา้ ทีร่ ะดบั ๙ ขน้ึ ไป หรอื เทียบเทา่ จะจดั ใหพ้ กั ห้องพักคนเดยี วกไ็ ด้

(๓) การจัดทพ่ี ักใหแ้ กป่ ระธานในพธิ เี ปดิ หรือพธิ ีปิดการฝกึ อบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม
หรือวทิ ยากร ใหพ้ ักห้องพักคนเดียวหรอื พักห้องพักคกู่ ไ็ ด้

การจัดท่ีพักให้แก่บุคคลตามข้อ ๒๒ ให้ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการพัสดุ

ขอ้ ๒๐ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่มีการจัดยานพาหนะให้บุคคลตามข้อ ๒๒
ให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินดําเนนิ การตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี

(๑) กรณใี ชย้ านพาหนะขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ที่จดั ฝึกอบรม หรือกรณยี ืมยานพาหนะ
จากหน่วยงานอื่น ใหเ้ บิกจ่ายคา่ เช้อื เพลิงได้เท่าที่จ่ายจริง

(๒) กรณีใช้ยานพาหนะประจําทางหรือเช่าเหมายานพาหนะ ให้เบิกจ่ายค่าพาหนะได้เท่าท่ี
จ่ายจริงตามความจําเป็น เหมาะสม และประหยัด

(๓) กรณีวิทยากรมีถ่ินที่อยู่ในท้องท่ีเดียวกับสถานท่ีจัดการฝึกอบรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่จัดการฝึกอบรมจะเบิกจ่ายเงินค่าพาหนะรับจ้างเที่ยวไปและเท่ียวกลับ ให้แก่วิทยากรแทนการจัด
ยานพาหนะรับส่งวิทยากรได้ โดยให้ใช้แบบใบสําคัญรับเงินสําหรับวิทยากรเอกสารหมายเลข ๑
ท้ายระเบยี บน้ี เปน็ หลักฐานการจ่าย

(๔) การเบิกจ่ายเงินค่าพาหนะเดินทางเท่ียวไปและเที่ยวกลับระหว่างสถานท่ีอยู่ ที่พัก

หรือที่ปฏิบัติราชการไปยังสถานท่ีจัดฝึกอบรมของบุคคลตามข้อ ๒๒ ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้บริหารท้องถ่ิน

ท่ีจดั การฝึกอบรม

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 72

เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๒๑๙ ง หน้า ๗ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ้ ๒๑ การฝึกอบรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้จัด แต่ไม่ได้จัดอาหาร ท่ีพัก
หรือยานพาหนะ ไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีจัดการฝึกอบรมเบิกจ่าย
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดหรือส่วนท่ีขาดให้แก่บุคคลตามข้อ ๒๒ แต่ถ้าบุคคลตามข้อ ๒๒ (๔) หรือ (๕)
เป็นเจ้าหน้าที่ท้องถ่ินให้เบิกจ่ายจากต้นสังกัด ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดไว้ในระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของเจ้าหนา้ ท่ที อ้ งถิ่น ยกเวน้

(๑) คา่ เช่าท่พี กั ให้เบิกจา่ ยตามหลกั เกณฑ์และอัตราตามขอ้ ๑๙
(๒) ค่าเบ้ียเล้ียงเดินทาง ให้คํานวณเวลาเพ่ือเบิกจ่ายเบ้ียเลี้ยงเดินทางโดยให้นับต้ังแต่เวลา
ท่ีเดินทางออกจากสถานที่อยู่หรือสถานท่ีปฏิบัติราชการตามปกติ จนกลับถึงสถานที่อยู่หรือสถานท่ี
ปฏิบัติราชการตามปกติ แล้วแต่กรณี โดยให้นับยี่สิบสี่ชั่วโมงเป็นหนึ่งวัน ถ้าไม่ถึงยี่สิบสี่ชั่วโมงหรือ
เกินย่ีสิบส่ีช่ัวโมงและส่วนท่ีไม่ถึงยี่สิบส่ีช่ัวโมงหรือเกินยี่สิบสี่ช่ัวโมงน้ันเกินสิบสองช่ัวโมงให้ถือเป็นหน่ึงวัน
แล้วนําจํานวนวันทั้งหมดมาคูณกับอัตราเบี้ยเล้ียงเดินทาง ในกรณีท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผู้จัดการ
ฝึกอบรมจัดอาหารบางม้ือในระหว่างการฝึกอบรม ให้หักเบ้ียเลี้ยงเดินทางท่ีคํานวณได้ในอัตรามื้อละ
๑ ใน ๓ ของอตั ราเบี้ยเล้ยี งเดินทางต่อวนั
ขอ้ ๒๒ บุคคลทจี่ ะเบิกจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมตามระเบียบนี้ ได้แก่
(๑) ประธานในพธิ ีเปิดหรือพธิ ปี ิดการฝกึ อบรม แขกผู้มีเกยี รติ และผู้ติดตามไม่เกิน ๒ คน
(๒) เจ้าหน้าที่ท่ีไดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏบิ ัติหนา้ ท่ใี นการฝึกอบรม
(๓) วทิ ยากร
(๔) ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม
(๕) ผสู้ งั เกตการณ์
ค่าใช้จ่ายตามวรรคหน่ึงให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่จัดการฝึกอบรมเป็นผู้เบิกจ่าย แต่ถ้า
จะเบิกจ่ายจากต้นสังกัดให้ทําได้เม่ือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีจัดฝึกอบรมร้องขอ และต้นสังกัด
ตกลงยนิ ยอม
ขอ้ ๒๓ การเทียบตําแหน่งบุคคลตามข้อ ๒๒ (๑) (๓) และ (๕) ท่ีมิได้เป็นเจ้าหน้าที่ท้องถ่ิน
เพ่ือเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายตามระเบียบน้ี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดการฝึกอบรมเทียบตําแหน่งได้
ดังน้ี
(๑) บุคคลที่เคยเป็นเจ้าหน้าท่ีท้องถิ่นมาแล้วหรือเคยรับราชการมาแล้ว ให้เทียบตามระดับ
ตําแหน่งหรอื ชัน้ ยศครง้ั สดุ ทา้ ยก่อนออกจากราชการหรอื ออกจากงาน แล้วแตก่ รณี
(๒) บคุ คลที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยไดเ้ ทยี บระดับตําแหนง่ ไว้แล้ว
(๓) วิทยากรในการฝึกอบรมประเภท ก ให้เทียบเท่าข้าราชการระดับ ๑๐ สําหรับวิทยากร
ในการฝึกอบรมประเภท ข และการจัดฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก ใหเ้ ทียบเทา่ ขา้ ราชการระดบั ๘

(๔) การเทียบตําแหน่งที่มิใช่บุคคลตาม (๑) (๒) และ (๓) ให้พิจารณาโดยคํานึงถึงตําแหน่ง

หน้าท่ีปัจจุบัน วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ การทํางานและภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้มาช่วย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 73

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๒๑๙ ง หน้า ๘ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

ปฏิบัติราชการ เพ่ือให้เกิดความเหมาะสมและประโยชน์ต่อทางราชการ ท้ังนี้ ให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถนิ่ ขอความเหน็ ชอบจากปลดั กระทรวงมหาดไทยเป็นรายบุคคล

ขอ้ ๒๔ การจัดการฝึกอบรมท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดการฝึกอบรมบุคคลภายนอก
ใหเ้ บิกคา่ ใชจ้ า่ ยได้เฉพาะคา่ ใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมในประเทศเทา่ นนั้

ข้อ ๒๕ การจัดการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ถ้าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่จัดการฝึกอบรม
ไม่จัดอาหาร ที่พักหรือยานพาหนะท้ังหมดหรือจัดให้บางส่วน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีจัด
การฝกึ อบรมเบิกจา่ ยคา่ ใช้จา่ ยให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่เป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนดไว้
ในข้อ ๒๑ และใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีจัดการฝึกอบรมเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายท้ังหมดหรือส่วนท่ีขาด
ใหแ้ กผ่ ูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมทีม่ ไิ ดเ้ ปน็ เจ้าหน้าท่ที ้องถ่ินตามหลักเกณฑ์ ดงั นี้

(๑) ค่าอาหาร ใหเ้ บกิ จา่ ยไดไ้ ม่เกนิ อตั ราตามบัญชหี มายเลข ๕ ทา้ ยระเบียบน้ี
(๒) ค่าเช่าท่ีพัก ให้เบิกจ่ายในลักษณะเหมาจ่ายไม่เกินอัตราตามบัญชีหมายเลข ๕
ท้ายระเบยี บนี้
(๓) ค่าพาหนะเดินทาง ให้เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินสิทธิตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจ้าหน้าทที่ อ้ งถิ่น
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายตามข้อนี้ ให้ใช้แบบใบสําคัญรับเงินค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
บุคคลภายนอก เอกสารหมายเลข ๒ ท้ายระเบียบน้ี เปน็ หลักฐานการจ่าย
ขอ้ ๒๖ โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีจัดการฝึกอบรม
ได้รับความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายท้ังหมดจากหน่วยงานภายในประเทศ ต่างประเทศ หรือระหว่างประเทศ
ให้งดเบิกจ่ายค่าใช้จ่าย ส่วนกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีจัดการฝึกอบรมได้รับความช่วยเหลือ
ค่าใช้จ่ายบางส่วนหรือที่ได้รับการช่วยเหลือน้อยกว่าระเบียบนี้ ให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายสมทบในส่วนท่ี
ไม่ไดร้ บั ความช่วยเหลือหรือในส่วนทน่ี อ้ ยกวา่ ไดต้ ามหลักเกณฑ์และอตั ราทก่ี ําหนดไวใ้ นระเบียบน้ี
ข้อ ๒๗ กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่จัดการฝึกอบรมประสงค์จะจ้างจัดฝึกอบรม
ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ให้ดําเนินการได้ตามหลักเกณฑ์
และอัตราค่าใช้จ่ายตามระเบียบนี้ และในการเดินทางไปฝึกอบรมในต่างประเทศให้ปฏิบัติตามหนังสือ
กระทรวงมหาดไทยทก่ี าํ หนดในเร่อื งดังกล่าวดว้ ย
การจ่ายเงนิ คา่ ใช้จา่ ยตามวรรคหน่งึ ให้ใชใ้ บเสรจ็ รับเงินของผรู้ บั จา้ งเปน็ หลักฐานการจ่าย

สว่ นที่ ๒
ค่าใชจ้ ่ายของผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมและผู้สงั เกตการณ์

ขอ้ ๒๘ ค่าใช้จ่ายท่ีเป็นค่าลงทะเบียน ค่าธรรมเนียม หรือค่าใช้จ่ายทํานองเดียวกัน
ทเ่ี รยี กชอ่ื อย่างอื่นใหผ้ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมเบิกจ่ายได้ ดังน้ี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 74

เลม่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๒๑๙ ง หน้า ๙ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗
ราชกจิ จานุเบกษา

(๑) การฝึกอบรมท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐจัดหรือร่วมกันจัด
ให้เบิกจ่ายไดเ้ ทา่ ท่จี ่ายจรงิ ในอัตราท่หี นว่ ยงานผจู้ ดั เรียกเก็บ

(๒) การฝึกอบรมท่ีหน่วยงานอ่ืนซ่ึงไม่ใช่หน่วยงานของรัฐจัดหรือร่วมกันจัด ให้เบิกจ่าย
ค่าลงทะเบยี นไดเ้ ทา่ ทจี่ า่ ยจริง ไมเ่ กนิ อัตราตามบญั ชหี มายเลข ๔ ท้ายระเบียบนี้

การเบิกค่าลงทะเบียนตาม (๒) ต้องมีระยะเวลาการฝึกอบรมในแต่ละวันเกิน ๓ ชั่วโมงครึ่งขึ้นไป
หากระยะเวลาการฝกึ อบรมในแตล่ ะวนั ไม่เกนิ ๓ ชั่วโมงคร่ึง ให้เบกิ ค่าลงทะเบียนไดก้ ง่ึ หนึ่ง

ข้อ ๒๙ กรณีคา่ ใช้จา่ ยตามข้อ ๒๘ ที่รวมค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก หรือค่าพาหนะของผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมไว้ทั้งหมด หรือหน่วยงานท่ีจัดการฝึกอบรมได้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าอาหาร
ค่าเช่าท่ีพัก หรือค่าพาหนะท้ังหมดให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมหรือผู้สังเกตการณ์ ให้ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมหรือผู้สงั เกตการณ์งดเบกิ ค่าใชจ้ ่ายดังกล่าว

กรณีค่าใช้จ่ายตามข้อ ๒๘ ท่ีไม่รวมค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก หรือค่าพาหนะ หรือรวมไว้บางส่วน
หรือหน่วยงานท่ีจัดการฝึกอบรมไม่รับผิดชอบค่าอาหาร ค่าเช่าท่ีพัก หรือค่าพาหนะท้ังหมด
หรือรับผิดชอบให้บางส่วน ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมหรือผู้สังเกตการณ์เบิกค่าใช้จ่ายทั้งหมด หรือเฉพาะ
ส่วนท่ีขาด หรือส่วนท่ีหน่วยงานที่จัดการฝึกอบรมมิได้รับผิดชอบน้ันได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
กาํ หนดไว้ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการของเจ้าหน้าทีท่ ้องถ่นิ

ข้อ ๓๐ กรณีท่ีบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับอนุมัติให้เดินทางไปฝึกอบรม
ในต่างประเทศ โดยได้รับความชว่ ยเหลอื ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปฝึกอบรมทั้งหมด ให้งดเบิกค่าใช้จ่าย
แต่ถ้าได้รับความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปฝึกอบรมบางส่วน ให้เบิกค่าใช้จ่ายสมทบในส่วนท่ี
ไม่ได้รับความช่วยเหลือได้ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของ
เจ้าหนา้ ท่ที อ้ งถิ่น แตต่ ้องไม่เกินวงเงินท่ีได้รับความชว่ ยเหลอื ภายใต้เงือ่ นไข ดังน้ี

(๑) กรณีได้รับความช่วยเหลือค่าโดยสารเครื่องบินเท่ียวไปและเท่ียวกลับแล้ว แม้จะต่ํากว่า
สิทธทิ ไ่ี ด้รับก็ให้งดเบิกค่าโดยสารเคร่ืองบิน แต่ถ้าได้รับความช่วยเหลือค่าโดยสารเครื่องบินเพียงเที่ยวเดียว
ให้เบิกค่าโดยสารเครื่องบินอีกหน่ึงเที่ยวในชั้นเดียวกับที่ได้รับความช่วยเหลือ แต่ต้องไม่สูงกว่าสิทธิ
ทีพ่ งึ ได้รับตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการของเจา้ หน้าทที่ อ้ งถิ่น

(๒) กรณีมีการจัดท่ีพักให้ ให้งดเบิกค่าเช่าท่ีพัก แต่ถ้าได้รับความช่วยเหลือค่าเช่าท่ีพักต่ํากว่า
สิทธิท่ีพึงได้รับ ให้เบิกค่าเช่าที่พักสมทบเฉพาะส่วนท่ีขาดตามท่ีจ่ายจริง แต่เม่ือรวมกับค่าเช่าที่พัก
ทไี่ ด้รับความชว่ ยเหลอื แล้ว จะต้องไม่เกนิ สทิ ธทิ พี่ งึ ได้รบั

(๓) กรณีได้รับความช่วยเหลือค่าเบี้ยเล้ียงเดินทางตํ่ากว่าสิทธิท่ีพึงได้รับ ให้เบิกค่าเบ้ียเล้ียง
เดินทางสมทบเฉพาะสว่ นทีข่ าด แต่ถ้ามีการจัดอาหารในระหว่างการฝึกอบรม การเบิกค่าเบ้ียเล้ียงเดินทาง
ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ่กี าํ หนดไวใ้ นขอ้ ๒๑

การเบิกค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจัดทํารายละเอียดค่าใช้จ่ายตามแบบ
รายละเอียดค่าใช้จ่ายกรณีได้รับความช่วยเหลือ ตามเอกสารหมายเลข ๓ ท้ายระเบียบนี้ พร้อมแนบ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 75

เล่ม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๒๑๙ ง หน้า ๑๐ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

สําเนาหนังสือของหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือเพ่ือเป็นหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย แต่ถ้าหน่วยงาน
ที่ให้ความช่วยเหลือไม่ได้ระบุวงเงินให้ความช่วยเหลือไว้ ให้คํานวณเงินค่าใช้จ่ายที่ได้รับความช่วยเหลือ
ตามอัตราค่าใช้จา่ ยตามระเบียบนี้

ขอ้ ๓๑ ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและผู้สังเกตการณ์ ในการเดินทางไปฝึกอบรม
ต่างประเทศท่ีหน่วยงานผู้จัดในประเทศจัด หรือหน่วยงานต่างประเทศจัด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
ทก่ี ําหนดไวใ้ นข้อ ๒๙ ยกเว้นคา่ ลงทะเบียนใหเ้ บิกจา่ ยไดเ้ ทา่ ทจ่ี ่ายจริงในอัตราที่หน่วยงานผจู้ ัดเรยี กเกบ็

บทเฉพาะกาล

ขอ้ ๓๒ กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมตามระเบียบหรือ
หลักเกณฑ์ท่ีใช้บังคับอยู่ก่อนวันท่ีระเบียบน้ีใช้บังคับ ให้ดําเนินการตามระเบียบหรือหลักเกณฑ์น้ันต่อไป
จนแลว้ เสร็จ

ประกาศ ณ วนั ที่ ๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
วิบลู ย์ สงวนพงศ์

ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปฏิบตั ริ าชการแทน
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

อตั ราคา่ อาหา

การฝึกอบรมในสถานท่ขี องส่วนราชการ รฐั ว

ระดับการฝกึ อบรม หรือหนว่ ยงานอน่ื ของรฐั
๑. การฝึกอบรมประเภท ก
ในประเทศ ใน
จดั ครบทุกมอ้ื จดั ไม่ครบทุกมื้อ

ไม่เกนิ ๗๐๐ ไมเ่ กนิ ๕๐๐ ไม

๒. การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกนิ ๕๐๐ ไมเ่ กนิ ๓๐๐ ไม
และการฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก อัตราคา่ อาหารว่าง แล

การฝึกอบรมในสถานทข่ี องส่วนราชการ รัฐวสิ าหกจิ

หรือหนว่ ยงานอนื่ ของรัฐ

ระดับการฝกึ อบรม ในประเทศ ในตา่ งประเทศ

อาหารวา่ งและ เคร่อื งด่มื อาหารวา่ งและ เค

เคร่ืองดมื่ เครื่องดื่ม

ทกุ ระดับ ไม่เกิน ๓๕ ไมเ่ กิน ๑๐ ไมเ่ กนิ ๕๐ ไมเ่

หน้าท่ี 76 ๑

ารในการฝกึ อบรม บัญชหี มายเลข ๑
วสิ าหกจิ
(บาท : วนั : คน)
การฝึกอบรมในสถานท่ีของเอกชน

นตา่ งประเทศ ในประเทศ ในตา่ งประเทศ
จดั ครบทกุ ม้ือ จัดไม่ครบทกุ ม้ือ

ม่เกนิ ๒,๕๐๐ ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ ไมเ่ กนิ ๗๐๐ ไมเ่ กนิ ๒,๕๐๐

มเ่ กนิ ๒,๕๐๐ ไมเ่ กนิ ๘๐๐ ไมเ่ กนิ ๖๐๐ ไมเ่ กิน ๒,๕๐๐

ละเครอื่ งดืม่ ในการฝกึ อบรม

(บาท : ครึง่ วนั : คน)

การฝึกอบรมในสถานทข่ี องเอกชน

ครอื่ งดื่ม ในประเทศ ในตา่ งประเทศ

อาหารวา่ งและ เครือ่ งด่มื อาหารวา่ งและ เครอ่ื งดมื่
เคร่ืองดมื่ เคร่ืองดม่ื

เกนิ ๒๐ ไมเ่ กิน ๕๐ ไม่เกิน ๒๐ ไมเ่ กิน ๑๐๐ ไม่เกนิ ๔๐

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 77 ๒

บญั ชีหมายเลข ๒

อตั ราคา่ เชา่ ทพ่ี ักในการฝกึ อบรมในประเทศ
(บาท : วัน : คน)

ระดบั การฝึกอบรม ค่าเชา่ หอ้ งพกั คนเดียว ค่าเชา่ หอ้ งพกั คู่
๑. การฝึกอบรมประเภท ก
ไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาท ไมเ่ กิน ๑,๑๐๐ บาท

๒. การฝกึ อบรมประเภท ข ไม่เกนิ ๑,๒๐๐ บาท ไมเ่ กนิ ๗๕๐ บาท
และการฝกึ อบรมบุคคลภายนอก

หมายเหตุ : (๑) คา่ เชา่ ห้องพกั คนเดียว หมายความว่า คา่ ใชจ้ ่ายในการเชา่ หอ้ งพักหนง่ึ หอ้ งทส่ี ถานทพี่ ักแรม
เรยี กเก็บ กรณที ผ่ี ูเ้ ชา่ เข้าพกั เพียงคนเดยี ว

(๒) ค่าเชา่ หอ้ งพกั คู่ หมายความว่า คา่ ใชจ้ า่ ยในการเชา่ หอ้ งพักท่ีสถานที่พักแรมเรยี กเกบ็ กรณี
ทผ่ี ู้เช่าเขา้ พักรวมกันตั้งแตส่ องคนขึน้ ไป

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

ระดับการฝกึ อบรม อตั ราคา่ เชา่ ทพี่ กั ในก
๑. การฝึกอบรมประเภท ก (บาท : วัน

ประเภท ก.
คา่ เช่าทพี่ ักคนเดยี ว คา่ เชา่ ทพ่ี กั คู่

ไมเ่ กนิ ๘,๐๐๐ ไม่เกิน ๕,๖๐๐

๒. การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกนิ ๖,๐๐๐ ไม่เกนิ ๔,๒๐๐
และการฝึกอบรมบคุ คลภายนอก

หมายเหตุ : (๑) คา่ เช่าหอ้ งพักคนเดยี ว หมายความว่า ค่าใช้จา่ ยในการเช่าหอ้ งพัก
(๒) คา่ เช่าหอ้ งพกั คู่ หมายความว่า คา่ ใชจ้ ่ายในการเช่าหอ้ งพักทส่ี ถา
(๓) ประเภท ก ประเภท ข และประเภท ค หมายถงึ ประเทศ รฐั เมอื

หน้าท่ี 78 ๓

บญั ชีหมายเลข ๓

การฝึกอบรมในตา่ งประเทศ
น : คน)

ประเภท ข. ประเภท ค.
คา่ เช่าทพี่ ักคนเดียว คา่ เช่าทพ่ี ักคู่ ค่าเชา่ ทพี่ ักคนเดียว คา่ เชา่ ทพี่ ักคู่

ไม่เกนิ ๕,๖๐๐ ไม่เกนิ ๓,๙๐๐ ไมเ่ กนิ ๓,๖๐๐ ไม่เกนิ ๒,๕๐๐

ไมเ่ กนิ ๔,๐๐๐ ไม่เกนิ ๒,๘๐๐ ไม่เกิน ๒,๔๐๐ ไมเ่ กนิ ๑,๗๐๐

กหนึ่งห้องทีส่ ถานที่พกั แรมเรยี กเกบ็ กรณีทผ่ี เู้ ชา่ เขา้ พักเพยี งคนเดยี ว
านทพี่ ักแรมเรียกเกบ็ กรณีทผ่ี เู้ ช่าเขา้ พักรวมกนั ต้ังแตส่ องคนข้ึนไป
อง ตามบัญชีแนบทา้ ยบญั ชที ้าย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 79 ๔

บัญชหี มายเลข ๔

อตั ราการเบิกจา่ ยค่าลงทะเบียนในการฝกึ อบรม

ประเภท บาท : วัน : คน
อัตรา

๑. ค่าลงทะเบียน รวมค่าอาหารวา่ งและเครอื่ งด่ืม ไมเ่ กนิ ๔๐๐

๒. ค่าลงทะเบียน รวมค่าอาหาร คา่ อาหารว่างและเครอ่ื งดมื่ ไมเ่ กนิ ๖๐๐

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 80 ๕

บญั ชหี มายเลข ๕

การเบิกจ่ายคา่ อาหารใหแ้ กผ่ ู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมในการฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก

การจัดอาหาร บาท : วนั : คน
อตั รา

๑. การฝึกอบรมที่ไม่จัดอาหารท้ัง ๓ มื้อ ไมเ่ กิน ๒๔๐
๒. การฝึกอบรมท่จี ดั อาหารให้ ๒ มอ้ื ไม่เกิน ๘๐
๓. การฝึกอบรมทจี่ ดั อาหารให้ ๑ ม้ือ ไมเ่ กนิ ๑๖๐

การเบิกจ่ายคา่ ทีพ่ ักให้แกผ่ เู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมในการฝึกอบรมบุคคลภายนอก

กรณไี มจ่ ดั ทพี่ กั ให้ บาท : วัน : คน
อตั รา

ให้เบกิ จ่ายคา่ ใช้จา่ ยใหแ้ กผ่ ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม ไมเ่ กิน ๕๐๐

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 81 ๖

บญั ชีประเทศจําแนกตามประเภท ก. ประเภท ข. และประเภท ค. แนบท้ายบัญชหี มายเลข ๓

ประเภท ก. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดงั น้ี

๑. ญีป่ ุ่น ๒. สาธารณรฐั ฝรง่ั เศส

๓. สหพนั ธรฐั รสั เซยี ๔. สมาพนั ธรฐั สวิส

๕. สาธารณรัฐอติ าลี ๖. ราชอาณาจักรเบลเย่ยี ม

๗. ราชอาณาจกั รสเปน ๘. สหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

๙. สหรฐั อเมรกิ า ๑๐. สหราชอาณาจักรบรเิ ตนใหญแ่ ละไอรแ์ ลนดเ์ หนอื

๑๑. สาธารณรัฐโปรตเุ กส ๑๒. สาธารณรฐั สงิ คโปร์

๑๓. แคนาดา ๑๔. เครือรัฐออสเตรเลยี

๑๕. ไต้หวนั ๑๖. เติรก์ เมนสิ ถาน

๑๗. นิวซแี ลนด์ ๑๘. บอสเนยี และเฮอร์เซโกวีนา

๑๙. ปาปัวนิวกนี ี ๒๐. มาเลเซีย

๒๑. ราชรฐั โมนาโก ๒๒. ราชรัฐลักเซมเบิร์ก

๒๓. ราชรัฐอนั ดอร์รา ๒๔. ราชอาณาจกั รกัมพูชา

๒๕. ราชอาณาจักรเดนมาร์ก ๒๖. ราชอาณาจักรนอร์เวย์

๒๗. ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ๒๘. ราชอาณาจักรโมรอ็ กโก

๒๙. ราชอาณาจกั รสวาซแิ ลนด์ ๓๐. ราชอาณาจกั รสวเี ดน

๓๑. รัฐสุลต่านโอมาน ๓๒. โรมาเนีย

๓๓. สหพนั ธส์ าธารณรฐั บราซลิ ๓๔. สหพนั ธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย

๓๕. สหรฐั อาหรบั อมิ เิ รตส์ ๓๖. สาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลใี ต)้

๓๗. สาธารณรฐั โครเอเชยี ๓๘. สาธารณรฐั ชลิ ี

๓๙. สาธารณรฐั เชก็ ๔๐. สาธารณรฐั ตุรกี

๔๑. สาธารณรฐั บลั แกเรยี ๔๒. สาธารณรฐั ประชาชนจนี

๔๓. สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรยี ๔๔. สาธารณรฐั ประชาธิปไตยติมอร์ – เลสเต

๔๕. สาธารณรฐั เปรู ๔๖. สาธารณรฐั โปแลนด์

๔๗. สาธารณรฐั ฟนิ แลนด์ ๔๘. สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินส์

๔๙. สาธารณรฐั มอรเิ ชยี ส ๕๐. สาธารณรฐั มอลตา

๕๑. สาธารณรฐั โมซมั บิก ๕๒. สาธารณรฐั เยเมน

๕๓. สาธารณรฐั ลิทัวเนยี ๕๔. สาธารณรฐั สโลวกั

๕๕. สาธารณรฐั สโลวเี นยี ๕๖. สาธารณรฐั ออสเตรีย

๕๗. สาธารณรฐั อาเซอร์ไบจาน ๕๘. สาธารณรฐั อินโดนีเซยี

๕๙. สาธารณรฐั อินเดยี ๖๐. สาธารณรฐั เอสโตเนีย

๖๑.สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ๖๒. สาธารณรฐั ไอซแ์ ลนด์

๖๓. สาธารณรฐั ไอร์แลนด์ ๖๔. สาธารณรฐั ฮังการี

๖๕. สาธารณรฐั เฮลเลนกิ (กรีซ) ๖๖. ฮ่องกง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 82 ๗

ประเภท ข. ได้แก่ ประเทศ รฐั เมือง ดงั น้ี ๒. สาธารณรัฐซิมบบั เว
๑. รฐั บาห์เรน ๔. สาธารณรฐั อสิ ลามอิหรา่ น
๓. สาธารณรฐั ไซปรัส ๖. รฐั อิสราเอล
๕. สาธารณรฐั อิรัก ๘. รัฐคเู วต
๗. ราชอาณาจกั รฮชั ไมด์จอรเ์ ดน ๑๐. สภาพพม่า
๙. สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ๑๒. ราชอาณาจกั รซาอุดิอาระเบยี
๑๑. รฐั กาตาร์ ๑๔. เนการาบรไู นดารุสซาลาม
๑๓. สาธารณรฐั ประชาชนบังกลาเทศ ๑๖. ราชอาณาจกั รตองกา
๑๕. สาธารณรฐั อาหรับซีเรีย ๑๘. สาธารณรัฐแคเมอรนู
๑๗. สาธารณรฐั บุรนุ ดี ๒๐. สาธารณรัฐชาด
๑๙. สาธารณรฐั แอฟรกิ ากลาง ๒๒.สาธารณรัฐจิบูตี
๒๑. สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (ไอเวอรี่โคส) ๒๔. สาธารณรฐั แซมเบีย
๒๓. สาธารณรฐั อาหรับอยี ิปต์ ๒๖. สาธารณรฐั เคนยา
๒๕. สาธารณรัฐกานา ๒๘. สาธารณรัฐอสิ ลามมอรเิ ตเนีย
๒๗. สาธารณรัฐมาลี ๓๐. สาธารณรัฐเซเนกลั
๒๙. สาธารณรฐั ไนเจอร์ ๓๒. สาธารณรัฐเซยี ร์ราลีโอน
๓๑. สหพนั ธส์ าธารณรฐั ไนจีเรยี ๓๔. สาธารณรฐั เบนนิ
๓๓. สหสาธารณรฐั แทนซาเนยี ๓๖. สาธารณรฐั คอสตาริกา
๓๕. เครอื รฐั บาฮามาส ๓๘. สาธารณรัฐตรินแิ ดดและโตเบโก
๓๗. สาธารณรัฐปานามา ๔๐. สาธารณรัฐอารเ์ จนตินา
๓๙. จาเมกา ๔๒. สาธารณรัฐอาร์เมเนยี
๔๑. มาซิโดเนยี ๔๔. จอร์เจยี
๔๓. สาธารณรฐั เบลารสุ ๔๖. สาธารณรฐั คีร์กซิ
๔๕. สาธารณรฐั คาซัคสถาน ๔๘. สาธารณรฐั มอลโดวา
๔๗. สาธารณรฐั ลัตเวยี ๕๐. ยเู ครน
๔๙. สาธารณรฐั ทาจกิ ิสถาน ๕๒. สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธปิ ไตยศรีลังกา
๕๑. สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน ๕๔. สาธารณรัฐตนู เิ ซยี
๕๓. สหรฐั เมก็ ซิโก ๕๖. สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม
๕๕. ราชอาณาจกั รเนปาล ๕๘. สาธารณรัฐแกมเบีย
๕๗. สาธารณรฐั ยูกันดา

ประเภท ค. ไดแ้ ก่ ประเทศ รฐั เมอื งอนื่ ๆ นอกจากที่กาํ หนดในประเภท ก. และประเภท ข.

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 83 ๘

เอกสารหมายเลข ๑

ใบสําคัญรบั เงนิ
สาํ หรบั วิทยากร

ชอื่ ส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรม......................................................................................................................................
โครงการ/หลกั สตู ร.....................................................................................................................................................

วันท่ี..........เดือน............................พ.ศ. ...............

ขา้ พเจ้า.........................................................................................................อยบู่ ้านเลขท่.ี ........................................
ตาํ บล/แขวง....................................................อําเภอ/เขต............................................จังหวดั .........................................
ไดร้ ับเงินจาก............................................................................................................ดังรายการต่อไปนี้

รายการ จํานวนเงนิ

บาท

จํานวนเงิน ( )

(ลงชอ่ื )...............................................................ผรู้ ับเงนิ

(ลงช่อื )...............................................................ผจู้ า่ ยเงิน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

แบบใบสาํ คัญรบั เงนิ คา่ ใชจ้

ชอื่ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นผ้จู ดั ฝกึ อบรม ……………………………….............………………
วันที่ ………... เดือน …………….....……… พ.ศ. ………....….....……ถึงวันท่ี …....………. เดือ
รวมทั้งสนิ้ ……. คน ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม/ผู้สงั เกตการณ์ ได้รับเงินจากองค์กรปกครอง

ลําดับท่ี ช่ือ - ชอื่ สกลุ ที่อยู่ ค่าอาหาร
(บาท)

รวมเป็นเงนิ ทงั้ สน้ิ

ลงช่ือ ……………
(…………

ตําแหน่ง …………

หน้าท่ี 84 ๙

เอกสารหมายเลข ๒

จา่ ยในการฝึกอบรมบคุ คลภายนอก

…………โครงการ/หลักสูตร…………….........................................................………………..………...
อน …....……...….………… พ.ศ. ………...….………....จํานวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม/ผู้สังเกตการณ์
งส่วนท้องถิน่ ผู้จดั ฝึกอบรม ปรากฏรายละเอยี ดดังนี้

ค่าเชา่ ทพ่ี กั คา่ พาหนะ รวมเปน็ เงนิ วนั เดอื น ปี ลายมอื ช่อื
(บาท) (บาท) (บาท) ทีร่ ับเงนิ ผรู้ บั เงนิ

………………………………………… ผ้จู า่ ยเงิน
……………………………………………..)

…………………………………………….

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 85 ๑๐

เอกสารหมายเลข ๓

แบบรายละเอยี ดคา่ ใชจ้ ่ายกรณีท่ีได้รับความชว่ ยเหลือ

โครงการ/หลกั สูตร ………………………………….……………………………ณ ประเทศ …………………………..…………………………..
ต้งั แตว่ ันท่ี ………………………….………………… ถึงวนั ท่ี …………………………………..…….…………………………..........................
ชอื่ …………………………………………………………………………………………….……………………………………………………….............
ตาํ แหนง่ ……………………………………… ระดับ ………………………….………… กอง ………………...………………………….............
หนว่ ยงานทใ่ี ห้ความชว่ ยเหลือ ……………………………………………………………………..……………............................................

คา่ ใชจ้ า่ ยทีไ่ ดร้ ับความชว่ ยเหลอื

๑. คา่ โดยสารเครอ่ื งบิน เสน้ ทาง ………………………………….. ในวงเงนิ …..………………..…………. บาท

๒. คา่ ที่พกั อตั ราวันละ ………..……บาท จํานวน ……..…วนั ในวงเงนิ ……………………………….. บาท

๓. คา่ เบยี้ เลี้ยง อตั ราวันละ ….……บาท จาํ นวน ………วนั ในวงเงนิ …………………………….…. บาท

๔. ……………………………………………………………………………….. ในวงเงนิ …………………………….…. บาท

๕. ……………………………………………………………………………….. ในวงเงิน ……………………….….…. บาท

๖. ……………………………………………………………………………….. ในวงเงนิ …………………….….……. บาท

รวมเป็นเงิน …………..... บาท

คา่ ใชจ้ ่ายทขี่ อเบิกสมทบ

๑. ค่าโดยสารเครอื่ งบิน เส้นทาง ………….…………………………… ในวงเงนิ ………………………….……. บาท

๒. คา่ ที่พกั อตั ราวนั ละ ……………… บาท จํานวน …………วนั ในวงเงนิ ………………………….……. บาท

๓. คา่ เบีย้ เล้ียง อัตราวันละ ………… บาท จํานวน …………วัน ในวงเงนิ ….……………………………. บาท

๔. คา่ พาหนะรับจา้ งระหว่างบ้านพกั ถงึ สนามบนิ ในประเทศ ในวงเงิน …………………………..…… บาท

๕. ค่าธรรมเนยี มสนามบนิ ในประเทศ ในวงเงิน …….…………………………. บาท

๖. คา่ ธรรมเนยี มสนามบินในต่างประเทศ ในวงเงนิ …….…………………………. บาท

๗. ค่าธรรมเนยี มวีซา่ ในวงเงนิ ………………………………. บาท

รวมเปน็ เงิน ….………………………. บาท

ขอรับรองว่าข้อความขา้ งต้นเปน็ จริง

ลงชอ่ื ………………………………………… ผเู้ ดนิ ทาง
…………./……………/…………

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 86

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๗๘ ง หน้า ๑ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วา่ ด้วยการกาํ หนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเปน็ กรณพี ิเศษอนั มลี กั ษณะเปน็ เงินรางวลั ประจําปี
แกพ่ นักงานส่วนทอ้ งถิน่ ให้เปน็ รายจ่ายอ่ืนขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
พ.ศ. ๒๕๕๗

โดยที่เป็นการสมควรกําหนดระเบียบเพ่ือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจมีรายจ่ายเกี่ยวกับ
เงินประโยชนต์ อบแทนอื่นเปน็ กรณพี ิเศษอนั มีลกั ษณะเปน็ เงนิ รางวัลประจําปี

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหน่ึง และมาตรา ๗๔ (๙) แห่งพระราชบัญญัติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๗ (๙) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕ และมาตรา ๗๗ วรรคหน่ึง
แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ วรรคหน่ึง และมาตรา ๘๕ (๑๐) แห่งพระราชบัญญัติ
สภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จึงออกระเบียบไว้
ดังต่อไปน้ี

ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการกําหนดเงินประโยชน์
ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษอันมีลักษณะเป็นเงินรางวัลประจําปีแก่พนักงานส่วนท้องถิ่น ให้เป็นรายจ่ายอ่ืน
ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๗”

ข้อ ๒ ระเบียบนีใ้ ห้ใช้บังคับต้งั แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป
ขอ้ ๓ ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจตีความวินิจฉัยปัญหา
กาํ หนดหลกั เกณฑ์ และวธิ ปี ฏบิ ัตเิ พอ่ื ดาํ เนินการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี
ขอ้ ๔ ในระเบียบน้ี
“คณะกรรมการกลาง” หมายความว่า คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด
คณะกรรมการกลางพนกั งานเทศบาล และคณะกรรมการกลางพนกั งานสว่ นตําบล
“คณะกรรมการจังหวัด” หมายความว่า คณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด
คณะกรรมการพนักงานเทศบาล และคณะกรรมการพนกั งานสว่ นตาํ บล
“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และ
องค์การบรหิ ารสว่ นตําบล

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 87

เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๗๘ ง หนา้ ๒ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

“พนักงานส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า ผู้ซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการ
โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณ หมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงิน
งบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นนํามาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือพนักงานจ้างขององค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

“ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้างตามมาตรฐานท่วั ไปเก่ยี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลส่วนท้องถ่ิน
“พนักงานจ้าง” หมายความว่า พนักงานจ้างตามมาตรฐานท่ัวไปเก่ียวกับพนักงานจ้างขององค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
ข้อ ๕ ภายใต้มาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใดที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินน้ันอาจจัดสรรเงินให้เป็นเงินประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษ
อนั มีลกั ษณะเปน็ เงนิ รางวลั ประจําปีแกพ่ นักงานส่วนท้องถ่นิ ได้
ขอ้ ๖ การจ่ายเงนิ ประโยชน์ตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษอันมีลักษณะเป็นเงินรางวัลประจําปี
ตามขอ้ ๕ ให้ดําเนนิ การตามหลกั เกณฑ์ เงอ่ื นไข และวิธีการท่ีคณะกรรมการกลาง และคณะกรรมการจังหวัด
กาํ หนดโดยการต้ังจ่ายไวใ้ นงบประมาณรายจ่ายประจาํ ปี และไม่ใหน้ าํ เงินสะสมมาจ่าย
การกําหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการของคณะกรรมการกลาง และคณะกรรมการ
จังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงคุณภาพ ปริมาณงาน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ
ความสามารถ ความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ และหลักเกณฑ์
แนวทาง และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลประจําปีของส่วนราชการ จังหวัด และสถาบันอุดมศึกษาตามท่ี
คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการกําหนด
ข้อ ๗ กรณีทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นใดได้เบิกจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ
อันมีลักษณะเป็นเงินรางวัลประจําปีไปแล้วตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ประกาศคณะกรรมการกลาง
ประกาศคณะกรรมการจังหวัด หรือหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทย และหนังสือสั่งการ
ท่ีเกีย่ วขอ้ งแล้วแตก่ รณกี อ่ นวนั ทร่ี ะเบียบนี้ใชบ้ งั คับใหถ้ ือว่าเป็นรายจา่ ยทีจ่ ่ายได้ตามระเบยี บน้ี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 88

เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๗๘ ง หน้า ๓ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
ราชกิจจานุเบกษา

ขอ้ ๘ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดท่ีได้เสนอขอกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ
อันมีลักษณะเป็นเงินรางวัลประจําปีไว้ต่อคณะกรรมการจังหวัดก่อนวันท่ีระเบียบน้ีใช้บังคับ และได้
ดําเนินการพิจารณาแล้วเสร็จแต่ยังค้างจ่าย หรือยังที่ดําเนินการไม่แล้วเสร็จให้ดําเนินการต่อไปตาม
หลักเกณฑ์ เงอ่ื นไขและหนังสอื ส่งั การทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทงั้ น้ี ใหจ้ า่ ยได้โดยถือปฏบิ ัตติ ามขอ้ ๖

ประกาศ ณ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั ิราชการแทน
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 89

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วาดวยการต้ังงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ เพอ่ื สมทบกองทนุ

พ.ศ. ๒๕๖๑ แกไขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2563
-------------------

01โดยทีเ่ ปนการสมควรใหม รี ะเบียบวา ดวยการตั้งงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
เพอ่ื สมทบกองทุน พ.ศ. ๒๕๖๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗๔ (๙ และมาตรา ๗๖ แหงพระราชบัญญัติองคการ
บรหิ ารสวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๗ (๙ และมาตรา ๖๙ แหงพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ และมาตรา ๘๕ (๑๐ และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ
บรหิ ารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ รฐั มนตรีวา การกระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบยี บไว ดงั ตอไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการตั้งงบประมาณขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินเพ่ือสมทบกองทนุ พ.ศ. ๒๕๖๑”

ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใ ชบงั คับต้งั แตวันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน ตน ไป
ขอ ๓ ในระเบียบนี้
“องคกรปกครองสวนทองถ่ิน” หมายความวา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล และ
องคก ารบรหิ ารสวนตําบล
“2กองทนุ ” หมายความวา กองทนุ หรอื ทุนหมุนเวียนท่จี ดั ตง้ั ข้นึ โดยกฎหมาย ไดแก
(1) กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถ่ินหรือพื้นท่ีตามกฎหมายวาดวยหลักประกัน
สุขภาพแหงชาติ
(2) กองทุนสวัสดกิ ารชุมชนท่ปี ระชาชนในชมุ ชนรวมกนั จดั ตง้ั ขนึ้ และไดรับการรับรอง ตาม
กฎหมายวาดวยสง เสรมิ การจัดสวัสดกิ ารสงั คม
“เงินสมทบกองทุน” หมายความวา เงินงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถ่ินที่ต้ังไว
สมทบกองทุน
ขอ ๔ องคก รปกครองสวนทองถ่ินท่ีมีความประสงคเขารวมบริหารจัดการหรือดําเนินการ
รว มกับกองทนุ ต้ังงบประมาณรายจายประจาํ ป หรอื งบประมาณรายจา ยเพ่ิมเตมิ โดยต้ังไวในงบกลาง
ประเภทรายจายตามขอผูกพัน รายการเงินสมทบกองทุน โดยใหระบุช่ือกองทุนท่ีจะตั้งงบประมาณ
สมทบ ท้งั น้ี ตามอตั ราเงนิ สมทบทแี่ ตละกองทนุ ไดกําหนดไว
การต้ังงบประมาณเพื่อสมทบกองทุนตามวรรคหน่ึง ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินคํานึงถึง
อาํ นาจหนา ทที่ ่ีเกี่ยวขอ งสถานะทางการคลงั และประโยชนท ป่ี ระชาชนจะไดร ับเปนสาํ คญั
ขอ ๕ การจายเงินสมทบกองทุน ใหถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการ
รับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินขององคกรปกครอง
สว นทองถนิ่
ขอ ๖ รายจายตามระเบียบน้ีท่ีไดดําเนินการไปแลว ท่ีไดกระทําโดยสุจริต และเปนไป
ตามหนังสือส่ังการของกระทรวงมหาดไทย กอนวันที่ระเบียบน้ีใชบังคับใหถือวา เปนการกระทําท่ี
ชอบ ตามระเบียบน้ี

1 ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๙ ง วันท่ี ๒๑ มกราคม ๒๕๖๒ รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

2 ขอ 3 นิยามคาํ วา “กองทนุ ”แกไ ขเพม่ิ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการต้งั งบประมาณขององคก รปกครองสว นทองถิ่นเพื่อสมทบกองทนุ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. ๒๕๖3

หน้าท่ี 90

ขอ ๗ ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบน้ี และใหมีอํานาจตีความวินิจฉัย
ปญหา กําหนดหลกั เกณฑแ ละวิธีปฏิบัติ เพอื่ ดาํ เนินการใหเ ปน ไปตามระเบยี บนี้

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๔ ธนวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พลเอกอนพงษ เผาจนิ ดา

รัฐมนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย
23ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการต้ังงบประมาณขององคกร ปกครองสว นทองถ่ินเพือ่ สมทบ
กองทนุ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2563

ขอ ๒ ระเบยี บน้ีใหใ ชบ ังคับตั้งแตวันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

3ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๖๗ ง วันท่ี ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๓ รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี


Click to View FlipBook Version