The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makenodown, 2021-09-11 23:52:50

70 กฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

หน้าที่ 91

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๓๔ ง หน้า ๗ ๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย

ว่าดว้ ยรายจา่ ยเกยี่ วกบั ทนุ การศกึ ษาสาหรบั นกั ศึกษา และการใหค้ วามชว่ ยเหลอื นักเรียน
ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ พ.ศ. 2561

โดยที่เป็นการสมควรใหม้ ีระเบียบทุนการศึกษาสาหรับนักศึกษา และการใหค้ วามชว่ ยเหลือนกั เรยี น
ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ถอื ปฏิบตั ิ

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 มาตรา 74 (9) และมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 69 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัตเิ ทศบาล
พ.ศ. 2496 มาตรา 67 (9) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดย
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2505 มาตรา 5 มาตรา 85 (10) และมาตรา 88
แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบียบไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้

ขอ้ 1 ระเบยี บนี้เรียกวา่ “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยรายจ่ายเกยี่ วกับทุนการศกึ ษา
สาหรับนกั ศึกษา และการใหค้ วามช่วยเหลือนักเรยี น ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น พ.ศ. 2561”

ข้อ 2 ระเบยี บนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคับตั้งแต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
ข้อ 3 ในระเบียบน้ี
“องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
และองค์การบริหารส่วนตาบล
“ผู้บริหารท้องถ่ิน” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี
และนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล
“นักเรียน” หมายความว่า ผู้ท่ีเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนระดับอนุบาล ประถมศึกษา
และมัธยมศึกษา
“นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ท่ีเข้ารับการศึกษาในระดับท่ีสูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย
หรือเทยี บเท่า
“ผู้ยากจน” หมายความว่า ผู้ที่อยู่ในครอบครวั ที่มีฐานะยากจน มีรายไดไ้ ม่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ
มชี วี ิตอยอู่ ยา่ งยากลาบาก และขาดแคลนปจั จยั พน้ื ฐาน

“ผู้ด้อยโอกาส” หมายความว่า ผู้ท่ีประสบปัญหาความเดือดร้อนไม่สามารถดารงชีวิต
ได้เทา่ เทียมกับผูอ้ ่นื

ข้อ 4 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจมีรายจ่ายเป็นทุนการศึกษาสาหรับนักศึกษา
หรือการให้ความช่วยเหลือนักเรียนซ่ึงเป็นผู้ยากจนหรือผู้ด้อยโอกาส ตามอานาจหน้าที่ขององค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ทงั้ นี้ ตามความจาเป็นและเหมาะสม โดยคานึงถงึ สถานะการเงินการคลงั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 92

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๓๔ ง หน้า ๘ ๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

ข้อ 5 ในกรณีองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ใด เหน็ ควรใหม้ ีรายจา่ ยตามข้อ 4 ในปงี บประมาณใด
ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ตงั้ งบประมาณรายจ่ายในปงี บประมาณนั้น ตามหลกั เกณฑ์ ดังตอ่ ไปน้ี

(1) ให้ตั้งงบประมาณรายจ่ายสาหรับเป็นทุนการศึกษาและการให้ความช่วยเหลือไว้ใน
หมวดคา่ ใชส้ อย ประเภทรายจ่ายทเ่ี กย่ี วเนื่องกบั การปฏบิ ตั ิราชการทีไ่ ม่เข้าลักษณะรายจา่ ยอืน่ ๆ

(2) ให้ตั้งงบประมาณตาม (1) ได้ไม่เกินอัตราส่วนของรายได้จริงในปีงบประมาณท่ีผ่านมา
โดยไม่รวมเงินอุดหนนุ ทีร่ ฐั จดั สรรให้ ดงั น้ี

(ก) รายได้จริงไม่เกินห้าสิบล้านบาท ตั้งงบประมาณได้ไม่เกินร้อยละสาม แต่ไม่เกิน
หนงึ่ ล้านบาท

(ข) รายได้จริงเกินห้าสิบล้านบาท แต่ไม่เกินสองร้อยล้านบาท ตั้งงบประมาณได้ไม่เกิน
ร้อยละสองจดุ ห้า แตไ่ ม่เกนิ สามลา้ นบาท

(ค) รายได้จริงเกินสองร้อยล้านบาทขึ้นไป ตั้งงบประมาณได้ไม่เกินร้อยละสอง
แต่ไมเ่ กนิ หา้ ล้านบาท

ขอ้ 6 นักศึกษาที่มีสิทธิได้รับทุนการศึกษา และนักเรียนท่ีมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ
อย่างนอ้ ยตอ้ งมคี ุณสมบตั ิ ดังนี้

(1) เป็นผู้ที่มีภูมิลาเนาอยู่ในพื้นท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ระยะเวลาติดต่อกัน
ไม่น้อยกว่าหนงึ่ ปี

(2) เป็นนักศกึ ษาหรอื นกั เรยี นซ่งึ เป็นผ้ยู ากจนหรือผ้ดู อ้ ยโอกาส
ขอ้ 7 ให้นักศึกษา นักเรียน หรือผู้ปกครอง ที่ประสงค์จะขอรับทุนการศึกษาหรือการช่วยเหลอื
จากองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ แลว้ แต่กรณี ยนื่ คาขอตอ่ ผู้บริหารทอ้ งถ่ิน
ให้ผู้บริหารท้องถิ่นส่งคาขอตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพ่ือช่วยเหลือประชาชน
ตามอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พิจารณาผู้ท่ีสมควรไดร้ ับทุนการศึกษาและความชว่ ยเหลือ
ตามระเบียบน้ี
ให้ปิดประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับทุนการศึกษาและความช่วยเหลือตามวรรคสอง ณ สานักงาน
หรือท่ีทาการองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และท่ีทาการหมู่บ้าน ชุมชน ให้ทราบเป็นเวลาไม่น้อยกว่า
สิบหา้ วนั ทาการ
ขอ้ 8 การใหท้ ุนการศกึ ษาแก่นักศกึ ษาซึ่งเปน็ ผูย้ ากจนหรือผูด้ อ้ ยโอกาส ต้องเปน็ การศกึ ษา
ในหลักสูตรท่สี ูงกว่ามัธยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทยี บเทา่ แต่ตอ้ งไม่สงู กวา่ ระดบั ปรญิ ญาตรีหรือเทียบเท่า
ข้อ 9 นักศึกษาซ่ึงเป็นผู้ยากจนหรือผู้ด้อยโอกาส ที่มีสิทธิได้รับทุนการศึกษาจากองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิ่น ตอ้ งเปน็ ผู้ทีศ่ ึกษาอยู่ในสถาบันการศกึ ษาของรฐั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 93

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๓๔ ง หน้า ๙ ๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ้ 10 ค่าใช้จ่ายสาหรับทุนการศึกษา ให้เบิกจ่ายเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับค่าเล่าเรียน
ค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าบารุง ค่าหน่วยกิต และค่าใช้จ่ายอ่ืนที่จาเป็นท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา
ตามอตั ราท่สี ถาบันการศึกษากาหนด แตไ่ มเ่ กนิ ปีการศึกษาละสามหม่ืนสามพนั บาทตอ่ คน

ขอ้ 11 องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ สามารถใหค้ วามช่วยเหลือค่าใช้จ่ายท่จี าเป็นในการศกึ ษา
ของนักเรียนซึ่งเป็นผู้ยากจนหรอื ผ้ดู อ้ ยโอกาส ดังนี้

(1) ระดับเด็กเล็ก ระดับเด็กอนุบาล และระดับประถมศึกษา ไม่เกินภาคการศึกษาละ
หนึง่ พนั บาทตอ่ คน แต่ไม่เกนิ ปีการศกึ ษาละสองพันบาทต่อคน

(2) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่เกินภาคการศึกษาละสองพันบาทต่อคน แต่ไม่เกิน

ปีการศึกษาละสพ่ี นั บาทตอ่ คน
(3) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ไม่เกินภาคการศึกษาละสามพันบาทต่อคน

แต่ไม่เกินปีการศึกษาละหกพนั บาทตอ่ คน
ข้อ 12 ให้ผู้มีหน้าท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการให้ทุนการศึกษายืมเงินเพื่อจ่ายให้แก่นักศึกษา

ท่ีมีสิทธิได้รับทุนการศึกษา และให้นาใบสาคัญรับเงินมาเป็นหลักฐานส่งใช้เงินยืม รวมทั้งให้ติดตาม
ใบเสร็จรับเงนิ ของสถาบันการศึกษาจากผ้มู ีสทิ ธิไดร้ บั ทุนการศกึ ษามาประกอบฎกี าเบิกจ่ายเงินดว้ ย

ให้ผู้มีหน้าท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือนักเรียนยืมเงินเพ่ือจ่ายให้แก่นักเรียน
ท่ีมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ และให้นกั เรียนหรอื ผู้ปกครองลงลายมือชื่อในใบสาคญั รับเงินเพื่อเป็นหลกั ฐาน
ส่งใชเ้ งินยมื

ขอ้ 13 การให้ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียน นักศึกษา และผู้ด้อยโอกาส ท่ียังดาเนินการ
ไม่แล้วเสร็จก่อนวันท่ีระเบียบน้ีใช้บังคับ ให้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์หรือแนวทางปฏิบัติตามหนังสือ
กระทรวงมหาดไทยต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ

ขอ้ 14 ใหป้ ลัดกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามระเบยี บนี้ และใหม้ อี านาจตคี วาม วนิ ิจฉัยปญั หา
กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏบิ ัติ เพอื่ ดาเนินการให้เปน็ ไปตามระเบียบนี้

ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติที่กาหนด
ในวรรคหนึ่ง ให้ขอทาความตกลงตอ่ ปลดั กระทรวงมหาดไทยกอ่ นการปฏบิ ัติ

ประกาศ ณ วนั ท่ี 26 ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พลเอก อนุพงษ์ เผา่ จนิ ดา

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 94

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย
วาดว ยคา ใชจา ยเพอื่ ชวยเหลอื ประชาชนตามอํานาจหนาที่ขององคก รปกครองสวนทองถ่ิน

พ.ศ. ๒๕๖๐ แกไ ขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562
--------------------------------------------------

โดยทเ่ี ปนการสมควรกําหนดระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยคา ใชจา ยเพือ่ ชวยเหลือประชาชนตาม
อํานาจหนา ท่ขี ององคก รปกครองสว นทองถนิ่ พ.ศ. ๒๕๖๐
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗๔ (๙ แหงพระราชบัญญัติองคการบริหาร
สว นจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๗ (๙ แหง พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล (ฉบบั ท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๗๗ แหงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.
๒๔๙๖ มาตรา ๕ และมาตรา ๘๕ (๑๐ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบล และองคการบริหารสวนตําบล
พ.ศ. ๒๕๓๗ รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย จงึ ออกระเบียบไว ดงั น้ี
ขอ ๑ ระเบยี บน้เี รยี กวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจา ยเพ่ือชวยเหลือประชาชนตาม
อํานาจหนา ทข่ี ององคก รปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๐”
ขอ ๒1 ระเบียบนใ้ี หใ ชบังคบั ตง้ั แตว ันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป
0
ขอ ๓ ในระเบียบน้ี
“การชวยเหลือประชาชน” หมายความวา การใหความชว ยเหลอื ประชาชนที่ไดรับ ความเดือดรอน
หรอื ไมสามารถชว ยเหลือตนเองไดในการดาํ รงชพี โดยอาจใหเ ปน สิง่ ของหรือจา ยเปนเงิน หรือการจัดบริการ
สาธารณะเพอ่ื ใหการชว ยเหลือประชาชนในระดับเขตพ้นื ทห่ี รือทอ งถน่ิ ตามอาํ นาจหนา ที่ขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น
“องคกรปกครองสว นทองถ่นิ ” หมายความวา องคการบรหิ ารสว นจังหวดั เทศบาล และองคการ
บริหารสว นตาํ บล
“ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวัด นายกเทศมนตรี และนายก
องคก ารบริหารสว นตาํ บล
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการชว ยเหลือประชาชนขององคก รปกครอง สวนทองถนิ่
“บุคลากร” หมายความวา บุคลากรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือประชาชนที่องคกร
ปกครองสว นทอ งถนิ่ มอบหมายใหปฏบิ ตั ิงาน
“สาธารณภัย” หมายความวา สาธารณภัยตามกฎหมายวาดวยการปอ งกันและบรรเทา สาธารณภัย
“การสงเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ิต”2 หมายความวา การสงเสริมหรือชวยเหลือบุคคล ใหสามารถ
เขาถึงปจจัยพื้นฐานในการดํารงชีวิตไดอยางปกติสุขในสังคม หรือการสงเสริมพัฒนาบุคคล ใหมีความรู
สามารถนําไปใชใ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตใหดขี ้นึ หรือผูท่ีมีช่ืออยูในทะเบียนเพ่ือสวัสดิการแหงรัฐ ตามมติ
คณะรัฐมนตรี

1 ราชกจิ จานเุ บกษา เลม 134 /ตอนพิเศษ 242 ง /หนา 3/ 29 กันยายน 2560
2 คํานิยาม แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยคาใชจายเพอื่ ชวยเหลอื ประชาชนตามอํานาจหนา ทีข่ ององคก รปกครองสวน
ทองถิน่ (ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 95

“เกษตรกร”3 หมายความวา ผูประกอบอาชีพปลูกพืช เล้ียงปศุสัตว เลี้ยงสัตวนํ้า และทํานา
เกลอื ทมี่ รี ายช่ือเปน เกษตรกรรายยอ ย และไดขนึ้ ทะเบียนเกษตรกร หรือสมาชิกในครัวเรือน ของผูท่ีอยูใน
ทะเบยี นเกษตรกรของกรมสงเสริมการเกษตร หรือเปน ผมู รี ายชอื่ อยูในทะเบียนผเู ลี้ยงสัตว ของกรมปศุสัตว
หรือทะเบยี นผเู พาะเลี้ยงสัตวน าํ้ ของกรมประมง
“เกษตรกรผูมีรายไดน อย”4 หมายความวา เกษตรกรผอู ยใู นครอบครวั ทม่ี ีฐานะยากจน มรี ายไดไ ม
เพยี งพอตอการเล้ยี งชพี มีชวี ติ อยางยากลาํ บาก ขาดแคลนปจ จัยพื้นฐาน
“โรคติดตอ ” หมายความวา โรคติดตอ ตามกฎหมายวาดว ยโรคติดตอ
“โรคตดิ ตออันตราย” หมายความวา โรคติดตอ อันตรายตามกฎหมายวา ดว ยโรคตดิ ตอ
“โรคติดตอที่ตองเฝาระวงั ” หมายความวา โรคติดตอ ทต่ี องเฝาระวงั ตามกฎหมาย วา ดวยโรคติดตอ
“โรคระบาด” หมายความวา โรคระบาดตามกฎหมายวาดวยโรคติดตอและโรคระบาด ตาม
กฎหมายวาดว ยโรคระบาดสัตว
“ยา” หมายความวา ยาตามกฎหมายวาดวยยา ขอ ๔ ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม
ระเบยี บนี้ และมอี าํ นาจตีความวนิ จิ ฉยั ปญหา กําหนดหลกั เกณฑแ ละวิธปี ฏิบตั เิ พือ่ ดาํ เนินการใหเปนไปตาม
ระเบยี บน้ี
หมวด ๑ หลกั การชว ยเหลือประชาชน
------------------------------------------------
ขอ ๕ การชว ยเหลือประชาชนตามระเบียบนี้ จะตองดําเนินการในขอบเขตอาํ นาจหนาท่ี ขององคกร
ปกครองสว นทอ งถน่ิ ตามกฎหมาย โดยคํานงึ ถึงสถานะทางการคลงั และความจําเปน เหมาะสม
ขอ ๖5 กรณเี กดิ สาธารณภัยในพ้ืนที่ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไมวาจะมีการประกาศ เขต
4
การใหความชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉนิหรือไมก็ตาม องคกรปกครองสวนทองถ่ินสามารถ
ดาํ เนนิ การชว ยเหลอื ประชาชนในเบื้องตน โดยฉับพลันทันที เพื่อการดํารงชีพหรือบรรเทาความเดือดรอน
เฉพาะหนา หรือระงับสาธารณภัย หรือเพื่อคุมครองชีวิตและทรัพยสินหรือปองกันภยันตรายท่ีจะเกิดแก
ประชาชน ไดตามความจําเปน ภายใตขอบอํานาจหนาท่ีตามกฎหมาย โดยไมตอง เสนอคณะกรรมการ
พจิ ารณา
ในกรณีการชวยเหลือประชาชน เพื่อเยียวยาและฟนฟูหลังเกิดสาธารณภัย หรือการสงเสริมและ
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ หรือการปอ งกนั และระงบั โรคติดตอ หรือการชวยเหลอื เกษตรกรผมู ีรายไดน อ ย ใหเ สนอ
คณะกรรมการใหความเห็นชอบกอน
องคก รปกครองสวนทองถ่ินใดมีความจําเปนตองชวยเหลือประชาชนนอกเหนือจากหลักเกณฑการ
ชว ยเหลอื ตามระเบียบน้ี ใหข อความเหน็ ชอบจากปลัดกระทรวงมหาดไทย กอ นใหก ารชวยเหลอื

3 คาํ นิยามเพิม่ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดวยคาใชจ ายเพ่อื ชวยเหลอื ประชาชนตามอาํ นาจหนาทข่ี ององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ
(ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562
4 คาํ นิยามเพ่ิมเตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจา ยเพ่อื ชวยเหลอื ประชาชนตามอํานาจหนาทขี่ ององคกรปกครองสวนทองถ่นิ
(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2562
5 ขอ 6 แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดวยคาใชจ ายเพอ่ื ชว ยเหลือประชาชนตามอํานาจหนาที่ขององคก รปกครองสวน
ทองถ่นิ (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 96

ขอ ๗56 กรณีมคี วามจาํ เปน ตอ งใหความชวยเหลือประชาชนเพอื่ เยยี วยาหรอื ฟน ฟูหลังเกดิ สาธารณภัย
ใหอ งคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ ดาํ เนนิ การ ดงั น้ี

(๑ กรณีมีการประกาศเขตการใหความชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นท่ีเกิดภัย ให
รายงานอาํ เภอหรอื จังหวดั หรือหนว ยงานทเี่ กี่ยวของ เพื่อพิจารณานําเงินทดรองราชการ เพ่ือการชวยเหลือ
ผปู ระสบภยั พบิ ัติ ใหค วามชวยเหลอื ผปู ระสบภยั

(๒ กรณมี ิไดป ระกาศเขตการใหค วามชว ยเหลือผูป ระสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพ้ืนท่ีเกิดภัย ในการ
ชวยเหลือประชาชน ใหองคกรปกครองสว นทองถ่ินเสนอคณะกรรมการพิจารณา ใหค วามชว ยเหลือ ทั้งน้ี ไม
เกินหลักเกณฑท ก่ี าํ หนดในระเบียบน้ี

หมวด ๒ คณะกรรมการชวยเหลือประชาชน
--------------------------------------------
ขอ ๘ ใหอ งคกรปกครองสวนทอ งถนิ่ แตง ตัง้ คณะกรรมการชวยเหลือประชาชน คณะหน่ึง เรียกวา
“คณะกรรมการชว ยเหลอื ประชาชนขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ ”
(๑) กรณีองคก ารบริหารสว นจงั หวดั ประกอบดวย
( ก นายกองคก ารบริหารสวนจงั หวดั เปนประธานกรรมการ
หรือรองนายกองคก ารบริหารสว นจังหวัด ทีไ่ ดร บั มอบหมาย
จากนายกองคก ารบริหารสวนจังหวัด
( ข ทอ งถิน่ จงั หวดั เปนกรรมการ
( ค ผูแทนสว นราชการที่ไดร บั มอบหมาย เปน กรรมการ
จากผวู า ราชการจังหวดั จาํ นวนไมเกนิ ๒ คน
( ง ผูแทนประชาคมที่นายกองคการ เปนกรรมการ
บริหารสวนจังหวดั คดั เลือกจํานวนไมเ กิน ๓ คน
( จ ปลัดองคการบรหิ ารสวนจังหวดั เปนกรรมการและเลขานุการ
( ฉ หัวหนา หนวยงานขององคการบริหารสวนจงั หวดั เปนกรรมการและ
ทไี่ ดร บั มอบหมายจากนายกองคการบริหารสวนจงั หวดั ผชู วยเลขานุการ
จํานวนไมเ กนิ ๒ คน

(๒) กรณีเทศบาล ประกอบดว ย
( ก นายกเทศมนตรี หรือรองนายกเทศมนตรี เปน ประธานกรรมการ
ท่ีไดรับมอบหมายจากนายกเทศมนตรี เปนกรรมการ
( ข ขา ราชการสาํ นักงานสงเสริมการปกครองทอ งถ่ิ นจังหวดั เปนกรรมการ
ทีท่ องถ่ินจงั หวดั มอบหมาย
( ค 7 ผแู ทนสวนราชการทไ่ี ดร ับมอบหมายจากผูวา ราชการจังหวดั

6

ในกรณีของเทศบาลนครหรือเทศบาลเมือง และนายอาํ เภอ

6 ขอ 7 แกไ ขเพิ่มเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยคาใชจายเพอื่ ชวยเหลอื ประชาชนตามอํานาจหนาทขี่ ององคก รปกครองสวน
ทอ งถิ่น (ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2562
7 ขอ 8 (2(ค แกไขเพม่ิ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจ ายเพ่อื ชวยเหลอื ประชาชนตามอาํ นาจหนาทขี่ ององคกรปกครอง
สวนทองถิน่ (ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 97

ในกรณีคณะกรรมการของเทศบาลตาํ บล จาํ นวนไมเ กิน 2 คน เปนกรรมการ
( ง ผแู ทนประชาคม ทน่ี ายกเทศมนตรีคดั เลือก
จํานวนไมเกิน ๓ คน
( จ ปลดั เทศบาล เปน กรรมการ
และเลขานกุ าร
( ฉ หัวหนาหนว ยงานของเทศบาล ทไี่ ดร บั มอบหมาย เปนกรรมการ
จากนายกเทศมนตรี จาํ นวนไมเ กนิ ๒ คน และผชู ว ยเลขานุการ
(๓) กรณอี งคการบริหารสว นตําบล ประกอบดวย
(ก 78 นายกองคการบริหารสวนตําบล เปน ประธานกรรมการ
หรอื รองนายกองคก ารบริหารสวนตําบลผทู ีไ่ ดร ับมอบหมาย
จากนายกองคการบริหารสวนตาํ บล
(ข ขาราชการสาํ นกั งาน สง เสริมการปกครองทองถ่ินจังหวดั เปนกรรมการ
ทีท่ อ งถน่ิ จงั หวดั มอบหมาย
(ค ผแู ทนสว นราชการทไ่ี ดรับมอบหมายจากนายอาํ เภอ เปน กรรมการ
จํานวนไมเกิน ๒ คน
(ง ผแู ทนประชาคม ที่นายกองคการบรหิ ารสวนตําบลคัดเลอื ก เปนกรรมการ
จํานวนไมเกนิ ๓ คน
(จ ปลัดองคการบริหารสวนตําบล เปนกรรมการ
และเลขานุการ
(ฉ หัวหนาหนวยงานขององคการบรหิ ารสว นตาํ บล เปนกรรมการ
ท่นี ายกองคก ารบรหิ ารสวนตําบลมอบหมาย และผูชวยเลขานุการ
จํานวนไมเกนิ ๒ คน
ขอ ๙ ใหคณะกรรมการชวยเหลือประชาชนขององคก รปกครองสวนทองถ่ิน มีอาํ นาจหนา ที่ ดังน้ี
(๑ 89 ใหนํารายชื่อของประชาชนท่ีไดรับความเดือดรอนที่สํารวจโดยหนวยงานของรัฐและรายชื่อ
ประชาชนท่ีย่ืนลงทะเบยี นขอรบั ความชว ยเหลือตอ องคกรปกครองสว นทองถิน่ ตามขอ ๑๒ และสถานทก่ี ลาง
ตามขอ ๑๙ มาใชในการพจิ ารณาชวยเหลอื ประชาชนตามระเบียบน้ี
(๒ 10 ปดประกาศรายชื่อประชาชนตาม (๑ ท่ีจะไดรับความชวยเหลือ ณ สํานักงานองคกร

9

ปกครองสว นทอ งถิน่ สถานที่กลาง และทท่ี าํ การหมบู า น ชุมชนใหท ราบ เปน เวลาไมนอยกวา สบิ หา วัน
(๓ รายงานผลการพิจารณาใหอ งคกรปกครองสวนทองถิน่ เพือ่ ดาํ เนินการตามอาํ นาจหนาที่ ตอไป
(๔ ควบคมุ การปฏิบัติใหเ ปนไปตามวัตถปุ ระสงคและเปนธรรม
(๕ การปฏบิ ัติหนา ที่อ่ืน ๆ ตามทีก่ าํ หนดไวในระเบียบนี้

8 ขอ8 (3(ก แกไขเพิ่มเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดวยคา ใชจ ายเพ่ือชวยเหลอื ประชาชนตามอาํ นาจหนาที่ขององคก รปกครอง
สว นทองถ่ิน (ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2562
9 ขอ 9 (1แกไ ขเพิม่ เติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยคาใชจ ายเพือ่ ชวยเหลอื ประชาชนตามอํานาจหนา ทข่ี ององคกรปกครองสวน
ทอ งถนิ่ (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562
10 ขอ 9 (2 แกไ ขเพ่ิมเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจ า ยเพ่ือชวยเหลอื ประชาชนตามอาํ นาจหนา ท่ขี ององคก รปกครอง
สว นทอ งถนิ่ (ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 98

ขอ ๑๐ การประชุมคณะกรรมการตามขอ ๗ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหน่ึง ของ
จาํ นวนกรรมการท้ังหมด จงึ จะเปนองคป ระชุม
ในการประชุมคราวใด ถา ประธานกรรมการไมม าประชมุ หรือไมอาจปฏิบตั ิหนา ทไี่ ดใหกรรมการ ทม่ี า
ประชุมเลอื กกรรมการคนหนึ่งเปน ประธานในที่ประชมุ
มตขิ องทีป่ ระชมุ ใหถือเสยี งขา งมาก กรณีมีคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในท่ีประชุม ลงคะแนน
เพิม่ ขน้ึ อีกหน่งึ เสยี งเปนเสยี งชี้ขาด
หมวด ๓
การใหค วามชว ยเหลือประชาชนดา นสาธารณภัย
--------------------
ขอ ๑๑ การใหค วามชวยเหลือประชาชนผูประสบสาธารณภยั หรือภัยพิบัติฉุกเฉิน มีลักษณะเปนการ
ชวยเหลือท่ีจําเปนที่ตองแกไขโดยฉับพลันในการดํารงชีพและความเปนอยูของประชาชน หรือ เปนการ
ซอมแซมใหคืนสูสภาพเดิม อันเปนการบรรเทาความเดือดรอนเฉพาะหนา องคกรปกครอง สวนทองถ่ิน
สามารถใหค วามชว ยเหลอื ไดท นั ที ภายใตข อบอาํ นาจหนา ทีต่ ามกฎหมาย
กรณสี ิ่งสาธารณประโยชนท ่อี ยูในความรับผดิ ชอบขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ ไดร ับ ความเสียหาย
หากองคก รปกครองสว นทอ งถ่ินเหน็ วา การซอมแซมใหคืนสูส ภาพเดิมจะไมคุมคา และการกอสรางใหมจะ
เกิดประโยชนตอ ทางราชการมากกวา ใหเสนอคณะกรรมการเปน ผูพิจารณา ใหความเหน็ ชอบกอ นการใชจาย
งบประมาณโดยใหค ํานงึ ถึงสถานะทางการคลัง
หมวด ๔
การใหค วามชวยเหลอื ประชาชนดานการสง เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวิต
-------------------------
ขอ ๑๒11 การใหความชว ยเหลือประชาชนดานการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากกรณี
10
การชว ยเหลอื ดา นสาธารณภยั ฉุกเฉิน ใหอ งคก รปกครองสว นทองถน่ิ ประกาศใหประชาชนท่ปี ระสงคจะขอรับ
ความชวยเหลือ ย่ืนลงทะเบียนเพ่ือขอรับความชวยเหลือตอองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพ่ือเสนอ
คณะกรรมการตามขอ ๙
ในกรณีเกิดอัคคีภัยที่ไมเขาขายภัยพิบัติ ในการชวยเหลือประชาชน ใหอยูในดุลพินิจของ
คณะกรรมการตามระเบียบน้ีท่ีจะพิจารณาการใหความชวยเหลือตามความจําเปน เหมาะสม ทั้งน้ีไมเกิน
อตั ราตามหลักเกณฑท ีก่ ระทรวงการคลังกาํ หนด

หมวด ๔/๑ 12
11
การใหความชว ยเหลือเกษตรกรผรู ายไดน อย
-----------------------------
ขอ ๑๒/๑ องคกรปกครองสวนทองถ่ินอาจใหความชวยเหลือเกษตรกรผูมีรายไดนอย ที่ประสบ
ปญ หาในการประกอบอาชพี ในเร่อื งดังตอไปน้ี
(ก จัดหาหรือปรบั ปรุงแหลง นาํ้ เพื่อการเกษตร

11 ขอ 12 แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจ า ยเพื่อชว ยเหลอื ประชาชนตามอํานาจหนาทข่ี ององคกรปกครองสวน
ทอ งถิ่น (ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562
12 หมวดที่ 4/1 เพิม่ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจา ยเพ่ือชว ยเหลือประชาชนตามอาํ นาจหนาที่ขององคกรปกครองสว น
ทอ งถิ่น (ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 99

(ข การสนั บสนุนอุปกรณ เครอ่ื งมือเครื่องใชในการปรบั ปรงุ แหลงน้าํ
(ค ประสานกับหนวยงานทีเ่ กี่ยวของเพือ่ ใหการสนบั สนุนดา นการเกษตร
(ง คา ใชจ า ยอื่น ๆ ที่เก่ียวของ ตามท่กี ระทรวงมหาดไทยกาํ หนด
การใหความชว ยเหลือเกษตรกรผูมีรายไดนอย นอกจากกรณีการชวยเหลือดานสาธารณภัยฉุกเฉิน
ใหอ งคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ ประกาศใหเ กษตรกรผมู ีรายไดนอย และประสงคจะขอรับความชวยเหลือ ยื่น
ลงทะเบียนขอรับความชวยเหลือตอองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพ่ือเสนอคณะกรรมการตามขอ 9
พิจารณา
หมวด ๕
การปองกนั และควบคุมโรคติดตอ
------------------------------------
ขอ ๑๓ เม่อื เกิดโรคติดตอ โรคตดิ ตออนั ตราย โรคตดิ ตอทีต่ อ งเฝาระวัง หรือโรคระบาด หรือมีเหตุ
สงสัยวา ไดเ กิดโรคดงั กลา วในเขตพืน้ ทีข่ ององคกรปกครองสวนทองถน่ิ ใด ใหองคกรปกครอง สวนทองถ่ินน้ัน
ดาํ เนนิ การหรือสนับสนนุ ใหม ีการปองกัน การควบคมุ การแพร และการระงับการระบาด ของโรคนั้น หรือ
สรางภูมิคุมกันโรคใหกับผูที่มีภาวะเสี่ยง รวมท้ังการประชาสัมพันธ องคความรูเกี่ยวกับ โรคติดตอ การ
ชวยเหลือหนว ยงานของรฐั และเอกชนใหเกดิ การปฏิบตั ิการตามนโยบายและแผน การเฝาระวงั ปองกัน และ
ควบคมุ โรคตดิ ตอ
ขอ ๑๔ ใหอ งคกรปกครองสวนทองถ่ินทเ่ี กิดโรคหรอื มีเหตสุ งสัยไดว าเกิดโรคตามขอ ๑๓ ประสาน
หนว ยงานท่ีรับผดิ ชอบดําเนินการปองกนั การควบคุม การแพร และการระงับการระบาดของโรค โดยให
องคก รปกครองสวนทองถ่นิ รว มดาํ เนินการหรอื สนับสนนุ การดําเนินการดังกลาว
กรณีมหี นวยงานทีร่ ับผิดชอบภารกิจดังกลาว แตไมสามารถดําเนินการไดอยางครอบคลุม หรือไม
สามารถระงับการระบาดของโรคตดิ ตอได จะสง ผลทําใหเ กิดการแพรร ะบาด ทเี่ ปนอันตราย ตอสุขภาพและ
ชีวิตของประชาชน ใหองคก รปกครองสวนทอ งถนิ่ สามารถดาํ เนินการ การปองกนั และควบคมุ โรคได
ขอ ๑๕ องคก รปกครองสวนทองถ่ินสามารถเบิกจายคาใชจายตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในการปองกัน และ
ควบคุมโรคตดิ ตอ ดงั นี้
(๑ ยา เวชภณั ฑ และวัสดุที่ใชในการปองกันควบคุมโรคติดตอ เชน ถุงมือยางหรือหนัง ผาปด
ปากหรอื ปดจมูก รองเทา ยางหุมสน สงู ใตเขา (รองเทา บูต หรอื เสื้อกันฝน
(๒ เครื่องแตงกายและอปุ กรณในการปฏิบตั ิงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึง ความจําเปน
เหมาะสม และประหยัด หมวด ๖ หลกั เกณฑการชว ยเหลือ
ขอ ๑๖ การชว ยเหลือประชาชน ใหป ฏิบตั ิตามหลกั เกณฑ วิธกี าร เงือ่ นไข ท่ีกําหนดไวใน ระเบียบนี้
ดงั ตอ ไปนี้
(๑ การชวยเหลอื ผูประสบสาธารณภยั หรือภัยพิบัตฉิ ุกเฉิน ใหอ งคก รปกครองสว นทองถิ่น พิจารณา
ใชจ ายงบประมาณชว ยเหลอื ประชาชนตามหลักเกณฑข องกระทรวงการคลงั โดยอนโุ ลม
(๒ 13 การชวยเหลือดานการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
12
พจิ ารณาใชจ า ยงบประมาณชว ยเหลือประชาชน ตามหลักเกณฑท ีก่ ระทรวงมหาดไทยกาํ หนดหรือหลักเกณฑ
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย โดยอนโุ ลม

13 ขอ 16(2แกไขเพ่มิ เติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจา ยเพ่อื ชวยเหลือประชาชนตามอํานาจหนา ทีข่ ององคกรปกครอง
สว นทอ งถ่ิน (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 100

(๓ การชวยเหลือประชาชนดานการปองกันและระงับโรคติดตอใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
พจิ ารณาใชจา ยงบประมาณชว ยเหลือประชาชนตามหลกั เกณฑของกระทรวงสาธารณสขุ โดยอนโุ ลม
(๔ 14 การชวยเหลือเกษตรกรผูมีรายไดนอย ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินพิจารณาใชจาย
13
งบประมาณชวยเหลอื ประชาชน ตามหลักเกณฑข องกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยอนโุ ลม

หมวด ๗
การใชจา ยงบประมาณเพือ่ การชว ยเหลือประชาชน
----------------------------
ขอ ๑๗ การชวยเหลือประชาชน ใหอ งคกรปกครองสว นทองถ่นิ จดั ทําโครงการแสดง สาระสาํ คัญของ
กิจกรรมที่ตองดําเนินการและบรรจุไวในแผนพัฒนาทองถิ่น และตั้งจายในขอบัญญัติ หรือเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจา ยประจําปห รอื งบประมาณรายจายเพ่ิมเติมใหถูกตองตามประเภทของรายจาย ท้ังนี้ ให
ช้ีแจงเหตุผลความจาํ เปน ที่จะตอ งตั้งงบประมาณดงั กลา วไวใ นคําช้แี จงประกอบ งบประมาณรายจายดว ย
ขอ ๑๘ กรณเี กิดสาธารณภัยฉกุ เฉิน จําเปนเรงดวน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเบิกจาย จากงบ
กลาง ประเภทเงินสํารองจาย ในขอ บญั ญัตหิ รือเทศบัญญตั ิงบประมาณรายจา ยประจําป โดยโครงการ ไม
จาํ เปนตอ งอยูในแผนพัฒนาทองถ่นิ
ขอ ๑๙ เพื่อเปน การอํานวยความสะดวกแกป ระชาชน องคกรปกครองสวนทองถ่ินสามารถ จัดใหมี
ศูนยป ฏบิ ัติการรวมในการชวยเหลอื ประชาชนขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน โดยใชเปนสถานท่ีกลาง เพ่ือ
เปนศูนยรวบรวมขอ มูลปญ หาความตองการของประชาชน การประสานงานกบั หนวยงานอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ
สําหรับวิธีการปฏิบัติงานใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ินกําหนด โดยองคกร
ปกครองสวนทองถ่ินอาจพิจารณาสนับสนุนงบประมาณเพ่ือเปนคาใชจายท่ีจําเปน ในการบริหารงานของ
สถานท่ีกลางดงั กลาวใหแกอ งคกรปกครองสว นทองถิน่ หรือสว นราชการทเี่ ปน ท่ีต้งั ของสถานทก่ี ลางดําเนินการ
แทนกไ็ ด
ขอ ๒๐ 15 กรณีองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดใชจายงบประมาณในการใหความชวยเหลือ ตามขอ
14
๑๑ ขอ ๑๒ ขอ ๑๒/๑ และขอ ๑๓ ไประยะหนงึ่ แลวและคาดการณไดว า หากจะใช งบประมาณเพ่ือให
ความชวยเหลือตอไปอาจสงผลกระทบตอสถานะทางการคลงั ในการบริหารหรือ การจัดบริการสาธารณะเพ่ือ
ประโยชนของประชาชน ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินรายงานตอ สวนราชการที่เก่ียวของ เพ่ือใหความ
ชวยเหลือตอ ไป
ขอ ๒๑1516 เมอ่ื สน้ิ สุดการดาํ เนินการตามโครงการชว ยเหลือประชาชน ใหอ งคก รปกครองสว นทองถิน่
ประชาสัมพันธผลการดําเนินการใหประชาชนทราบโดยทั่วกัน เปนเวลาไมนอยกวาสิบหาวัน โดยใหติด
ประกาศ ณ สํานกั งานองคกรปกครองสว นทองถ่ิน สถานท่กี ลาง และท่ที าํ การหมูบ าน และชมุ ชน

14 ขอ16(4เพ่ิมเติมโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดว ยคาใชจ  ายเพ่ือชว ยเหลอื ประชาชนตามอาํ นาจหนาท่ขี ององคก รปกครองสวน
ทองถิ่น (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2562
15 ขอ 20 แกไขเพ่มิ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจา ยเพ่ือชวยเหลือประชาชนตามอาํ นาจหนาท่ีขององคกรปกครองสว น
ทองถน่ิ (ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562
16 ขอ 21 แกไขเพม่ิ เตมิ โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจา ยเพอื่ ชวยเหลอื ประชาชนตามอํานาจหนาท่ขี ององคกรปกครองสว น
ทอ งถิน่ (ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 101

ขอ ๒๒ กรณที ่อี งคกรปกครองสวนทอ งถิน่ ใดไดช ว ยเหลอื ประชาชนตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย
หรือหนังสือส่ังการกระทรวงมหาดไทย และหนังสือสั่งการท่ีเกี่ยวของแลวแตกรณี กอนวันท่ีระเบียบนี้ใช
บงั คบั ใหถ อื วาเปนรายจายทจี่ ายไดตามระเบียบน้ี

ขอ ๒๓ สําหรับการเบิกคาใชจายเพื่อชวยเหลือประชาชนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ท่ีได
ดําเนินการตามหลกั เกณฑข องหนังสือกระทรวงมหาดไทย หรอื หนงั สือสัง่ การที่เก่ยี วขอ งกอนวันที่ ระเบียบนี้
ใชบ งั คบั และยงั ดาํ เนินการไมแลวเสรจ็ ใหด ําเนินการตอไปไดตามหลกั เกณฑนั้นจนกวา จะแลวเสรจ็

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐
พลเอก อนพุ งษ เผาจนิ ดา

รัฐมนตรวี าการกระทรวงมหาดไทย

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยคาใชจ า ยเพ่ือชวยเหลอื ประชาชนตามอาํ นาจหนา ท่ีขององคก รปกครองสวน
ทอ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๐ (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 25621617

ขอ ๒ ระเบยี บนี้ใหใ ชบังคบั ต้ังแตว นั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน ตน ไป
รวบรวมโดย กรรมกร สกี ากี

17 ราชกิจจานุเบกษา เลม 136 /ตอนพิเศษ 17 ง /หนา 1/ 17 มกราคม 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 102

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๐๙ ง หนา ๑ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วา ดวยการจายเงนิ สงเคราะหเพ่อื การยังชีพขององคก รปกครองสว นทองถ่นิ พ.ศ. ๒๕๔๘

ตามท่ีมีการถายโอนภารกิจดานการสงเคราะหเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยเอดส
มาใหกระทรวงมหาดไทยดําเนินการตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจ
ใหแ กอ งคกรปกครองสวนทอ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๒ น้ัน ดังน้ันเพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่มี
ฐานะการคลังเพียงพอสามารถจายเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพ จึงสมควรกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ
และเงือ่ นไขในการจายเงินสงเคราะหเ พ่อื การยังชพี

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๑๖ (๑๐) และมาตรา ๑๗ (๒๗)
แหงพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖ มาตรา ๔๕ (๓) และมาตรา ๗๖ แหงพระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด
พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๕๐ (๗) มาตรา ๕๓ (๑) มาตรา ๕๖ (๑) มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗
แหงพระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๖ มาตรา ๖๒ (๑๔) และมาตรา ๙๐ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕ มาตรา ๖๗ (๖)
และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และ
มาตรา ๑๑ (๑๑) แหงพระราชบัญญัตผิ สู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ กระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบยี บไวด ังน้ี

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจายเงินสงเคราะห
เพือ่ การยงั ชพี ขององคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๘”

ขอ ๒ ระเบยี บน้ใี หใชบ งั คบั ต้งั แตวนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
ขอ ๓ บรรดาระเบยี บ ขอ บงั คับ หรอื คําส่งั อน่ื ใดซง่ึ ขดั หรือแยงกบั ระเบียบนใ้ี หใชร ะเบยี บนแี้ ทน
ขอ ๔ ในระเบียบนี้
“ผูสูงอายุ” หมายความวา บุคคลซึ่งมอี ายเุ กินหกสบิ ปบ ริบูรณขึ้นไปและมสี ญั ชาติไทย
“คนพิการ” หมายความวา คนพิการท่ีจดทะเบียนคนพิการตามพระราชบัญญัติฟนฟู
สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔
“ผูปว ยเอดส” หมายความวา ผปู ว ยเอดสทแ่ี พทยไดรบั รองและทาํ การวินจิ ฉยั แลว

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 103

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๐๙ ง หนา ๒ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

“ผอู ุปการะ” หมายความวา บรรดาผูด ูแลผูสงู อายุ คนพกิ ารและผปู ว ยเอดส เชน บดิ า มารดา
บุตร สามีภริยา ญาติพี่นองหรือบุคคลอ่ืนท่ีผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยเอดส ไดรับการชวยเหลือ
แตท ้งั นีม้ ิใหหมายความรวมถึงสถานสงเคราะหหรือองคกรท่ีดําเนินการในลักษณะเดียวกันกับองคกร
ปกครองสว นทอ งถน่ิ

“เงินสงเคราะหเพ่ือการยังชีพ” หมายความวา เงินงบประมาณขององคกรปกครอง
สว นทองถน่ิ ในการสงเคราะหผ สู งู อายุ คนพิการ และผปู ว ยเอดส ท่ีมีสทิ ธิไดรับเงนิ โดยจา ยเปน เบี้ยยงั ชพี

“ผมู ีสทิ ธไิ ดร ับเงนิ สงเคราะห” หมายความวา ผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยเอดส ซ่ึงไดรับ
การอนุมัตริ ายช่ือจากผบู รหิ ารทอ งถน่ิ ใหเปน ผูมีสิทธไิ ดร ับเงนิ สงเคราะหเพือ่ การยงั ชพี

“องคกรปกครองสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล
เมอื งพัทยา องคก ารบริหารสวนตําบล และองคกรปกครองสวนทองถ่ินอ่ืนที่มีกฎหมายจัดตั้ง ยกเวน
กรงุ เทพมหานคร

“ประชาคม” หมายความวา การรวมตัวกันของชุมชน องคกรภาครัฐ เอกชนและประชาชน
เพื่อรวมกันแกไขปญหาหรือกระทําการบางอยางใหบรรลุวัตถุประสงคภายใตระบบการจัดการท่ีมี
การเช่ือมโยงเปนเครอื ขา ย ซ่งึ การจัดองคก รใหเ ปน ไปตามท่ที างราชการกาํ หนด

“ประชาคมหมบู าน” หมายความวา ประชาคมในเขตหมูบาน
“ประชาคมทองถนิ่ ” หมายความวา ประชาคมจังหวัดสําหรับเขตองคการบริหารสวนจังหวัด
ประชาคมเมืองสําหรับเขตเทศบาล เมืองพัทยาหรือองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่มีกฎหมายจัดต้ัง
ประชาคมตําบลสําหรับเขตองคการบรหิ ารสวนตาํ บล
“ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี
นายกองคก ารบริหารสว นตําบล นายกเมืองพัทยา หรือผูบริหารสูงสุดในองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
อ่ืนที่มีกฎหมายจัดตั้ง และใหหมายความรวมถึงรองนายกองคการบริหารสวนจังหวัด
รองนายกเทศมนตรี รองนายกองคการบริหารสว นตาํ บล รองนายกเมืองพทั ยา หรือรองผูบริหารสูงสุด
ในองคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งไดรับมอบอํานาจจากบุคคลดังกลาว แตท้ังนี้ไมรวมถึง
กรงุ เทพมหานคร
“พนักงานสวนทองถ่ิน” หมายความวา ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด พนักงาน
เทศบาล พนักงานสวนตําบล พนักงานเมืองพัทยา และขาราชการหรือพนักงานองคกรปกครอง
สว นทองถิ่นอน่ื ทีม่ ีกฎหมายจัดตงั้ แตท ้ังน้ีไมรวมถงึ ขา ราชการกรงุ เทพมหานคร

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 104

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง หนา ๓ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ ๕ ใหป ลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ โดยมีอํานาจตีความและวินิจฉัย
ปญหาเกย่ี วกับการปฏิบตั ติ ามระเบยี บนี้ และใหม อี ํานาจกําหนดหลักเกณฑแ ละวิธีปฏิบัติเพ่ือดําเนินการ
ใหเปน ไปตามระเบียบน้ี

หมวด ๑
คุณสมบัติของผูมีสิทธิจะไดรับเงินสงเคราะห

ขอ ๖ ผูม ีสทิ ธจิ ะไดรับเงนิ สงเคราะห ไดแ ก ผูส งู อายุ คนพกิ าร และผูปวยเอดส ท่ีมีคุณสมบัติ
ดงั น้ี

(๑) มภี มู ลิ าํ เนาอยูในเขตพื้นท่อี งคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ
(๒) มรี ายไดไมเพียงพอแกการยังชีพ หรือถูกทอดท้ิง หรือขาดผูอุปการะเล้ียงดู หรือไมสามารถ
ประกอบอาชพี เลย้ี งตนเองได
ขอ ๗ ในกรณีผูส งู อายุ คนพิการ และผูปวยเอดส มีคุณสมบัติเบ้ืองตนเหมือนกัน ใหผูที่
ไดรับความเดือดรอนกวา หรือผูท่ีมีปญหาซํ้าซอน หรือผูที่อาศัยอยูในพ้ืนที่หางไกลทุรกันดาร
ยากตอ การเขา ถึงบริการของรฐั เปนผไู ดร บั การพจิ ารณากอน

หมวด ๒
วธิ ีการพิจารณาผูมสี ิทธไิ ดรบั เงนิ สงเคราะห

สว นท่ี ๑
ผสู งู อายุและคนพิการ

ขอ ๘ ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินการกับผูสูงอายุและคนพิการดวยวิธีการ
ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) ตรวจสอบรายชื่อผูสูงอายุและคนพิการท่ีมีคุณสมบัติตามขอ ๖ แลวเสนอตอที่ประชุม
ประชาคมทอ งถิ่น เพ่อื ทําการพิจารณาจัดลําดับผมู สี ิทธิไดร บั เงนิ สงเคราะห ทัง้ น้ี ใหนําความในขอ ๗
และบัญชีรายชื่อท่ีสํารองไวที่จังหวัดมาประกอบการพิจารณาจัดลําดับดวย สําหรับในเขตองคการ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 105

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง หนา ๔ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

บริหารสวนตําบลใหมีการจัดประชุมประชาคมหมูบานเพ่ือทําการคัดเลือกโดยจัดลําดับผูมีสิทธิไดรับ
เงินสงเคราะหของหมบู านกอน

(๒) นํารายชื่อผูสูงอายุและคนพิการท่ีผานการคัดเลือกตามขอ ๘ (๑) มาจัดทําเปนบัญชี
ผมู สี ทิ ธไิ ดรับเงนิ สงเคราะห แลวปดประกาศไวโดยเปดเผยเปนเวลาไมน อยกวา สิบหาวนั ณ สํานักงาน
ขององคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ หรือที่อนื่ ๆ ตามทีอ่ งคกรปกครองสวนทองถิ่นกําหนด หากไมมีผูใด
คัดคานใหอ งคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ นาํ เสนอผบู ริหารทอ งถิ่นพิจารณาอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิไดรับเงิน
สงเคราะหต ามบญั ชผี ูมีสทิ ธไิ ดรับเงินสงเคราะหเปน ผูม สี ิทธิไดรับเงนิ สงเคราะห

ในกรณีท่มี ีการคัดคานบัญชีผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหดังกลาว ใหผูบริหารทองถิ่นแตงต้ัง
คณะกรรมการตรวจสอบการคัดคานบัญชีผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหประกอบดวยผูแทนขององคกร
ปกครองสว นทอ งถน่ิ และผแู ทนของประชาคมทองถน่ิ จํานวนไมนอยกวาหาคน และใหคณะกรรมการ
ตรวจสอบการคัดคานบัญชีผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหรายงานผลการตรวจสอบใหผูบริหารทองถ่ิน
ทราบภายในสิบหาวันนับแตวนั ทีไ่ ดร บั การแตงต้ังเพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติหรือถอดถอนรายชื่อ
ในบัญชีตอไป

สว นท่ี ๒
ผปู วยเอดส

ขอ ๙ ผูปวยเอดสท่ีมีคุณสมบัติตามขอ ๖ และมีความประสงคจะขอรับการสงเคราะห
ใหย ่ืนคําขอตอ ผูบ รหิ ารทอ งถน่ิ ท่ีตนมภี ูมลิ าํ เนาอยู

ในกรณีทีผ่ ปู ว ยเอดสไมส ามารถเดนิ ทางมาย่นื คาํ ขอรับการสงเคราะหด ว ยตนเองไดจะมอบอํานาจ
ใหผ อู ปุ การะมาดําเนินการแทนก็ได

แบบคําขอรับการสงเคราะหและหนังสือมอบอํานาจใหเปนไปตามท่ีกระทรวงมหาดไทย
กําหนด

ขอ ๑๐ เม่ือมีผูปวยเอดสมายื่นคําขอรับการสงเคราะหตามขอ ๙ ใหพนักงานสวนทองถิ่น
มหี นาทอ่ี อกไปตรวจสภาพความเปนอยูของผูขอรับการสงเคราะหวาเปนผูมีคุณสมบัติสมควรจะไดรับ
การสงเคราะหหรือไม โดยใหนําความในขอ ๗ มาประกอบการพิจารณาจัดลําดับดวยและใหจัดทํา

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 106

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง หนา ๕ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

บัญชรี ายชอ่ื ผปู วยเอดสท ม่ี สี ทิ ธิไดรับเงินสงเคราะหเพ่ือการยังชีพเสนอผูบริหารทองถ่ินอนุมัติใหเปนผู
มีสทิ ธไิ ดรับเงินสงเคราะหตามระเบียบนี้

สวนท่ี ๓
การจัดทําทะเบยี นประวัติของผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะห

ขอ ๑๑ ใหอ งคก รปกครองสวนทองถนิ่ จดั ทําทะเบยี นประวตั ขิ องผมู สี ทิ ธไิ ดรับเงินสงเคราะห
ไวเ ปนหลกั ฐานทุกคน และใหแ จงรายช่อื ผูม ีสทิ ธไิ ดร บั เงนิ สงเคราะหใหสาํ นกั งานทอ งถนิ่ จังหวดั ทราบ

ขอ ๑๒ ภายในเดอื นมนี าคมของทุกป ใหสํานักงานทองถ่ินจังหวัดแจงรายชื่อผูมีสิทธิไดรับ
เงินสงเคราะหตามแบบท่กี ระทรวงมหาดไทยกําหนดไปยังกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ินเพ่ือใชเปน
ขอ มูลในการขอต้งั งบประมาณเงินอดุ หนนุ สําหรับสนบั สนุนการสงเคราะหเ บี้ยยงั ชีพในปง บประมาณถดั ไป

หมวด ๓
การเปลย่ี นแปลงรายชื่อผมู สี ิทธิไดร ับเงนิ สงเคราะห

ขอ ๑๓ ผูม ีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหตามระเบียบนี้ใหมีสิทธิรับเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพ
นบั แตวันท่ไี ดร บั อนมุ ัติรายชื่อจากผูบริหารทองถนิ่ และใหสิทธดิ ังกลา วส้ินสุดลงในกรณดี ังตอ ไปนี้

(๑) ถงึ แกกรรม
(๒) ขาดคุณสมบัติตามขอ ๖
กรณสี ทิ ธิดงั กลา วสน้ิ สดุ ลงตาม (๑) ใหพ นักงานสว นทอ งถ่นิ รายงานใหผ ูบ รหิ ารทอ งถ่นิ ทราบ
ภายในสามวันนับแตวันที่เสียชีวิต และสั่งระงับการจายเงินสงเคราะหเบี้ยยังชีพสําหรับผูที่ถึงแกกรรมนั้น
ในงวดเบิกจา ยถัดไป
กรณสี ิทธิดังกลา วสน้ิ สุดลงตาม (๒) สาํ หรับผูสูงอายุและคนพิการ ใหดําเนินการตามขอ ๘
วรรคสอง กอนเสนอผบู รหิ ารทอ งถ่นิ ส่งั ถอดถอนรายช่อื และระงบั การจายเงนิ เบ้ยี ยงั ชีพในงวดเบกิ จา ยถดั ไป
กรณีสทิ ธิดงั กลา วส้ินสุดลงตาม (๒) สําหรับผูปวยเอดสใหพนักงานสวนทองถ่ินตรวจสอบ
ขอ เท็จจริงกอ นเสนอผบู รหิ ารทอ งถิน่ สั่งถอดถอนรายช่ือและระงับการจา ยเงนิ เบีย้ ยังชีพในงวดเบกิ จายถัดไป

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 107

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง หนา ๖ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ ๑๔ ในกรณีที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมีการระงับการจายเงินตามขอ ๑๓ ให
องคกรปกครองสวนทองถิ่นพิจารณาเลื่อนผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหในบัญชีรายชื่อลําดับถัดไป
เปน ผมู ีสิทธิไดรบั เงนิ สงเคราะหแทนผทู ี่หมดสิทธิ

ขอ ๑๕ การแกไข เปล่ียนแปลงหรือเพ่ิมเติมรายช่ือผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหที่กอใหเกิด
ผลกระทบกบั บญั ชีรายช่ือใหดําเนนิ การตามขอ ๘ หรือขอ ๙ แลวแตก รณี กอนเสนอผูบริหารทองถิ่น
พิจารณาอนุมตั ใิ หมีการแกไข เปลีย่ นแปลงหรอื เพ่ิมเติมรายชอื่ ผมู สี ิทธไิ ดร ับเงินสงเคราะห

หมวด ๔
งบประมาณและวธิ กี ารจา ยเงินสงเคราะหเพอื่ การยงั ชพี

ขอ ๑๖ องคกรปกครองสวนทองถ่ินอาจจะตั้งงบประมาณของตนเองหรือขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากองคการบริหารสวนจงั หวดั เพ่อื ใหการสงเคราะหเบี้ยยังชพี ไดในกรณีดังนี้

(๑) จายใหแ กผสู งู อายแุ ละคนพกิ ารตามบัญชีรายชือ่ ทีไ่ ดรบั อนุมตั ิจากผูบ ริหารทองถ่นิ
(๒) จา ยใหแกผ ปู วยเอดสตามบัญชีรายช่ือทีไ่ ดร บั อนมุ ตั จิ ากผูบ รหิ ารทอ งถิน่
(๓) จายสมทบใหแกผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยเอดส ตามบัญชีรายช่ือท่ีไดรับการ
สงเคราะหงบประมาณเบยี้ ยังชีพจากรฐั อยูเดมิ ในกรณที ีอ่ ัตราทีไ่ ดรบั จากรัฐนอ ยกวา อตั ราทีอ่ งคกรปกครอง
สวนทอ งถน่ิ จา ยใหแ กผมู ีสิทธไิ ดร ับเงนิ สงเคราะห ตาม (๑) และ (๒)
ขอ ๑๗ การตั้งงบประมาณและวิธีการจายเงิน ตามขอ ๑๖ ใหถือปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยวาดวยวิธีการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน และระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยวา ดวยการรบั เงิน การเบกิ จา ยเงิน การฝากเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจเงิน
ขององคก รปกครองสว นทอ งถิ่น โดยมิตอ งจา ยเปนเชค็
ในกรณจี ายเงินใหแ กผูรับมอบอํานาจจะตองตรวจสอบจนแนใจวาเปนบุคคลเดียวกับผูไดรับ
มอบอาํ นาจและตอ งไดรับการยืนยนั วา ผมู สี ิทธิไดรับเงินสงเคราะหยงั มีชวี ิตอยู
หากเปนการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินบันทึก
รายละเอียดการโอนเงินในบัญชีการจายเงินสงเคราะห โดยใชหลักฐานการโอนเงินเปนหลักฐาน
ประกอบการจายเงินและใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเก็บรักษาหลักฐานการจายหรือโอนเงิน
สงเคราะหเ พอื่ การยังชพี ไวเพือ่ การตรวจสอบ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 108

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง หนา ๗ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

ขอ ๑๘ การจา ยเงนิ ตามขอ ๑๖ ใหจ ายไดในอตั ราดังน้ี
(๑) จายตามอตั ราทกี่ ระทรวงมหาดไทยกําหนด
(๒) หากองคกรปกครองสวนทองถ่ินใดมีความประสงคจะจายเกินกวาท่ีกําหนดตาม (๑)
ใหส ามารถทจี่ ะกระทําได ท้ังนต้ี อ งไมเ กินกวา สองเทาของอัตราทีก่ ําหนด หรือไมเกินกวาหนึ่งพันบาท
โดยใหเ สนอสภาทอ งถ่ินพจิ ารณาอนมุ ตั แิ ละใหค าํ นึงถึงสถานะการคลงั ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นน้นั
(๓) การจา ยเงินใหแ กผ มู สี ิทธไิ ดร ับการสงเคราะหแ ตละประเภทใหจายไดใ นอัตราเดยี วกัน
ขอ ๑๙ ใหองคก รปกครองสวนทองถนิ่ จา ยเงนิ สงเคราะหเพื่อการยังชีพแกผูมีสิทธิไดรับเงิน
สงเคราะห เดอื นละ ๑ ครงั้ ยกเวน การจายเงนิ ใหผ สู งู อายุท่ีมีสทิ ธไิ ดรับเงินสงเคราะห จะจายปละ ๒
คร้ัง ๆ ละ ๖ เดือน ก็ได โดยใหอยูในดุลยพินิจของผูบริหารทองถิ่น ดวยวิธีหนึ่งวิธีใดตามความประสงค
ของผมู สี ทิ ธไิ ดรบั เงนิ สงเคราะห ดงั ตอไปน้ี
(๑) จา ยเปน เงินสดหรือโอนเขาบัญชีเงินฝากธนาคารในนามผมู สี ทิ ธไิ ดร ับเงนิ สงเคราะห
(๒) จายเปนเงินสดหรือโอนเขาบัญชีเงินฝากธนาคารในนามบุคคลท่ีไดรับมอบอํานาจ
จากผูม สี ทิ ธไิ ดรบั เงนิ สงเคราะห
การโอนเขาบญั ชเี งินฝากธนาคารใหองคก รปกครองสวนทองถน่ิ เปนผรู บั ผดิ ชอบคาธรรมเนียม
ในการโอน
หนังสือแสดงความประสงคในการรับเงินสงเคราะหของผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะห และ
หนงั สอื มอบอํานาจใหทาํ ตามแบบท่ีกระทรวงมหาดไทยกาํ หนด
ขอ ๒๐ ภายในเดอื นตุลาคมของทกุ ป ใหอ งคก รปกครองสว นทอ งถ่ินดาํ เนนิ การดังตอไปนี้
(๑) แจงผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหมาแสดงตนตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพ่ือยืนยัน
ความประสงคจะขอรับเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพน้ันตอไป ท้ังนี้ หากผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะห
ไมสามารถมาแสดงตนไดจ ะมอบอํานาจตามแบบทีก่ ระทรวงมหาดไทยกาํ หนดใหบุคคลอื่นมาแจง แทนกไ็ ด
(๒) นําบัญชีผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหเฉพาะผูสูงอายุและคนพิการ ปดประกาศไว
โดยเปดเผยเปนเวลาไมน อ ยกวา สิบหาวัน ณ สํานักงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือที่อื่น ๆ ตามที่
องคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ กาํ หนด
ในกรณีท่มี ีการคัดคานบัญชีผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหดังกลาว ใหผูบริหารทองถิ่นแตงต้ัง
คณะกรรมการตรวจสอบการคัดคานบัญชีผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหประกอบดวยผูแทนขององคกร
ปกครองสวนทอ งถิน่ และผูแทนของประชาคมทอ งถน่ิ จํานวนไมนอยกวาหาคน และใหคณะกรรมการ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 109

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง หนา ๘ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

ตรวจสอบการคัดคานบัญชีผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหรายงานผลการตรวจสอบใหผูบริหารทองถิ่นทราบ
ภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับการแตงตั้งเพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติหรือถอดถอนรายชื่อ
ในบัญชตี อ ไป

ขอ ๒๑ กอนการจายเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพแกผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยเอดส
ในงวดแรกจะตองมกี ารแสดงตนหรือไดรับหนงั สือมอบอํานาจแจง การมชี ีวิตอยู และหนังสือจากบุคคล
ท่ีนาเชื่อถือรับรองตอองคกรปกครองสวนทองถ่ินวา หากผูมีสิทธิไดรับเงินสงเคราะหน้ันเสียชีวิต
จะแจงใหอ งคกรปกครองสว นทองถนิ่ ทราบภายในสามวันนับแตว ันทเ่ี สียชวี ติ

บทเฉพาะกาล

ขอ ๒๒ ระเบียบนี้มิใหกระทบกับผูสูงอายุตามระเบียบกรมประชาสงเคราะห วาดวย
การจา ยเงนิ สงเคราะหเพื่อการยังชีพสําหรับผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๓ และที่แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ คนพิการตามระเบียบกรมประชาสงเคราะห วาดวยการจายเงินเบี้ยยังชีพคนพิการ
พ.ศ. ๒๕๓๙ และผูปวยเอดสตามระเบียบกรมประชาสงเคราะหวาดวยการจายเงินอุดหนุนสงเสริม
สวสั ดิการผปู วยเอดสใ นชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๓

ขอ ๒๓ ในกรณีที่การดําเนินการใดทีข่ ัดหรอื แยง กับระเบยี บน้กี อ นท่ีระเบียบน้ีมีผลใชบังคับ
ใหถ ือเปนการปฏบิ ัติท่ชี อบดวยระเบียบน้ีและใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินการใหเปนไปตาม
ระเบียบนนี้ บั แตวนั ทรี่ ะเบียบนี้มีผลใชบงั คับ

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๘
สมชาย สุนทรวัฒน

รฐั มนตรชี วยวาการฯ ปฏิบัตริ าชการแทน
รัฐมนตรวี าการกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 110

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๗๙ ง หนา ๑๖ ๘ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วาดว ยการลาของผบู รหิ ารทองถ่ิน ผูชวยผบู รหิ ารทอ งถนิ่ และสมาชกิ สภาทอ งถนิ่
พ.ศ. ๒๕๔๗

โดยทเ่ี ปนการสมควรปรบั ปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการลาของคณะผูบริหารทองถ่ิน
หรือผูบรหิ ารทอ งถิน่ ประธานสภา รองประธานสภาและสมาชกิ สภาทองถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหเหมาะสม
และสอดคลองกับโครงสรา งขององคก รปกครองสวนทอ งถนิ่ ในปจจุบัน

อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา ๖ แหงพระราชบญั ญัตอิ งคก ารบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐
มาตรา ๗๗ แหง พระราชบัญญตั ิเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๖ แหง พระราชบญั ญัติระเบียบบริหาร
ราชการเมอื งพทั ยา พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหาร
สว นตาํ บล พ.ศ. ๒๕๓๗ รัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว ดงั ตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการลาของผูบริหารทองถิ่น
ผชู ว ยผบู รหิ ารทอ งถ่นิ และสมาชิกสภาทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๗”

ขอ ๒ ระเบียบน้ใี หใ ชบ ังคับนบั แตวนั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ใหยกเลิกระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการลาของคณะผูบริหารทองถิ่นหรือ
ผูบรหิ ารทองถนิ่ ประธานสภา รองประธานสภาและสมาชิกสภาทอ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๒
บรรดาระเบียบ ขอ บงั คบั หรือคาํ สง่ั อืน่ ใดในสว นทม่ี กี ําหนดไวแลวในระเบียบนี้ หรือซ่ึงขัด
หรอื แยงกบั ระเบียบนี้ ใหใ ชร ะเบยี บนแี้ ทน
ขอ ๔ ในระเบียบน้ี
“องคก รปกครองสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวนจงั หวดั เทศบาล เมอื งพทั ยา
องคการบรหิ ารสว นตําบล และใหห มายความรวมถึงองคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ อน่ื ท่มี ีกฎหมายจดั ตัง้ ขึน้
“ผูบริหารทอ งถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายก
เมืองพัทยา นายกองคการบริหารสวนตําบล และใหหมายความรวมถึงตําแหนงผูบริหารทองถิ่นอ่ืน
ทมี่ ีกฎหมายจัดตั้งขึน้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 111

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๗๙ ง หนา ๑๗ ๘ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

“ผูชว ยผบู รหิ ารทองถน่ิ ” หมายความวา รองนายกองคการบริหารสว นจังหวดั เลขานกุ ารนายก
องคการบรหิ ารสว นจังหวัด ทป่ี รึกษานายกองคก ารบรหิ ารสว นจงั หวัด รองนายกเทศมนตรี เลขานุการ
นายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี รองนายกเมืองพัทยา เลขานุการนายกเมืองพัทยา
ผูชวยเลขานุการนายกเมืองพัทยา ประธานที่ปรึกษานายกเมืองพัทยา ที่ปรึกษานายกเมืองพัทยา
รองนายกองคก ารบรหิ ารสวนตําบล เลขานกุ ารนายกองคก ารบริหารสวนตําบล และใหความหมายรวมถึง
ตาํ แหนงที่กฎหมายกําหนดใหม หี นาท่ชี วยเหลือผูบรหิ ารทอ งถ่นิ อ่ืนที่มีกฎหมายจัดต้งั ข้ึน

“สมาชกิ สภาทองถิน่ ” หมายความวา สมาชิกสภาองคการบรหิ ารสว นจงั หวดั สมาชกิ สภาเทศบาล
สมาชิกสภาเมืองพัทยา สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล และใหหมายความรวมถึงสมาชิก
สภาทอ งถน่ิ อื่นทม่ี ีกฎหมายจดั ตง้ั ขึ้น

ขอ ๕ เพื่อประโยชนแหงการลา ใหผูมีหนาที่ชวยเหลือประธานสภาทองถ่ินตามกฎหมาย
หรือผูมีหนาท่ีชวยเหลือประธานสภาทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดต้ังปฏิบัติตามระเบียบน้ีเชนเดียวกับ
สมาชกิ สภาทองถนิ่

ขอ ๖ ระเบียบน้มี ิใหใชบังคบั กบั กรุงเทพมหานคร
ขอ ๗ ใหปลดั กระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามระเบยี บน้ี

หมวด ๑
การลาปวย

ขอ ๘ ผูบริหารทองถิ่น ผูชวยผูบริหารทองถ่ิน หรือสมาชิกสภาทองถิ่น ผูใดประสงค
จะลาปวยเพ่ือรักษาตัว ใหเสนอใบลากอนหรือในวันท่ีลา เวนแตในกรณีจําเปน จะเสนอหรือจัดสง
ใบลาในวนั แรกทม่ี าปฏบิ ตั ิงานก็ได

ในกรณีมอี าการปว ยจนไมส ามารถจะลงชอื่ ในใบลาได จะใหผ อู ่ืนลาแทนก็ได แตเมอื่ สามารถ
ลงชื่อไดแ ลว ใหร บี เสนอหรอื จัดสงใบลาโดยเร็ว

ขอ ๙ การลาปวยตัง้ แตสิบหา วนั ขึน้ ไป ตองมีใบรบั รองแพทยของแพทยซ่งึ ไดร บั ใบอนญุ าต
เปนผปู ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมแนบกบั ใบลา

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 112

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๗๙ ง หนา ๑๘ ๘ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ ๑๐ ในการพิจารณาอนญุ าต แมก ารลาไมถ ึงกําหนดระยะเวลาซ่ึงจะตองมีใบรับรองแพทย
ตามขอ ๙ ถาผูมีอํานาจในการพิจารณาอนุญาตเห็นสมควรจะใหมีใบรับรองแพทย หรือสั่งใหผูลา
ไปรบั การตรวจจากแพทยประกอบการพิจารณาอนุญาตกไ็ ด

หมวด ๒
การลากิจสว นตวั และการลาพกั ผอน

ขอ ๑๑ ผูบรหิ ารทอ งถ่ิน ผูชว ยผบู รหิ ารทอ งถิน่ หรือสมาชิกสภาทองถ่ิน ผูใดจะลากิจสวนตัว
หรือลาพักผอน จะตองไดรับอนุญาตกอนจึงหยุดงานได เวนแตการลากิจสวนตัวนั้นมีเหตุจําเปน
และไมสามารถรอรับการอนุญาตไดทันจะเสนอใบลาแลวหยุดงานก็ได แตจะตองรีบชี้แจงเหตุผล
ใหผมู ีอาํ นาจพจิ ารณาอนุญาตทราบโดยเร็ว

หมวด ๓
การลาคลอดบุตร

ขอ ๑๒ ผูบริหารทองถิ่น ผูชวยผูบริหารทองถิ่น หรือสมาชิกสภาทองถ่ิน ผูใดประสงค
จะลาคลอดบุตร ใหเสนอหรือจัดสงใบลากอนหรือในวันท่ีลา เวนแตไมสามารถจะลงช่ือในใบลาได
จะใหผูอ่ืนลาแทนก็ได แตเม่ือสามารถลงชื่อไดแลวใหเสนอหรือจัดสงใบลาโดยเร็ว และมีสิทธิ
ลาคลอดบุตรโดยไดร ับเงินคา ปวยการครัง้ หนงึ่ ไดเ กาสบิ วัน โดยไมตอ งมใี บรับรองแพทย

การลาคลอดบุตรคาบเก่ียวกับการลาประเภทอื่น ซึ่งยังไมครบกําหนดวันลาประเภทน้ัน
ใหถือวา การลาประเภทนน้ั สิน้ สดุ ลง และใหนบั เปนการลาคลอดบุตรตงั้ แตว นั เร่ิมลาคลอดบุตร

หมวด ๔
การลาเขารับการเตรยี มพล

ขอ ๑๓ ผูบริหารทองถ่ิน ผูชวยผูบริหารทองถิ่น หรือสมาชิกสภาทองถิ่น ผูใดท่ีไดรับ
หมายเรียกเขา รับการเตรียมพล ใหย่ืนใบลาตอผูมีอํานาจพิจารณาอนุญาตภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง นับแต
ไดร ับหมายเรียกเขา รบั การเตรียมพลเปนตน ไป และใหไ ปเขา รบั การเตรยี มพลตามวนั เวลาในหมายนั้น
โดยไมตองรอคําสั่งอนุญาตแตอยางใด และเมื่อพนจากการเขารับการเตรียมพลแลวและยังคงอยู
ในตําแหนงตามวาระ ใหร ีบรายงานตัวตอผูมีอาํ นาจพิจารณาอนญุ าต

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๗๙ ง หนา ๑๙ หน้าท่ี 113
ราชกิจจานเุ บกษา
๘ กนั ยายน ๒๕๔๘
หมวด ๕
การลาไปตางประเทศ

ขอ ๑๔ ผูบริหารทองถิ่น ผูชวยผูบริหารทองถ่ิน หรือสมาชิกสภาทองถ่ิน ผูใดประสงค
จะลาไปตางประเทศ ไมวากรณีใดใหเสนอผูวาราชการจังหวัด พรอมทั้งเหตุผลและความจําเปน
ประกอบกบั การประเมินความคุมคาเพื่อสนับสนุนการพิจารณา และใหผูวาราชการจังหวัดส่ังอนุญาต
ตามทีเ่ หน็ สมควร

หมวด ๖
การนบั วนั ลา

ขอ ๑๕ การนับวันลาใหนับตอเน่ืองกันโดยนับวันหยุดราชการท่ีอยูในระหวางวันลา
ประเภทเดียวกันรวมเปน วนั ลาดวย เวน แตก ารนบั เพอื่ ประโยชนในการคํานวณวันลาสําหรับวันลาปวย
ทมี่ ใิ ชว นั ลาปวยเนอ่ื งจากผูน นั้ ไดรับอันตรายหรือการปวยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติหนาที่ วันลากิจสวนตัว
และวันลาพกั ผอน ใหน ับเฉพาะวนั ทําการ

ขอ ๑๖ ผูบ รหิ ารทองถิน่ ผูชว ยผูบรหิ ารทอ งถน่ิ หรือสมาชกิ สภาทองถ่นิ ท่ถี กู เรยี กกลับมา
ปฏิบัตงิ านในระหวางลานน้ั ใหถ อื วาการลาเปนอันสิ้นสุดเพียงกอนวันเดินทางกลับ และวันปฏิบัติงาน
เร่มิ ต้ังแตวนั ออกเดินทางกลบั เปนตน ไป

เบด็ เตล็ด

ขอ ๑๗ การลาในลกั ษณะอยา งเดยี วกัน ซึ่งมีระยะเวลาตอ เนือ่ งกนั ใหนบั เปน การลาครง้ั หน่งึ
ขอ ๑๘ ผบู ริหารทองถ่ิน ผูชวยผูบริหารทอ งถ่ิน หรือสมาชกิ สภาทองถ่นิ ผูใดท่ลี าเดนิ ทางไป
กรงุ เทพมหานคร และระหวา งที่พาํ นักอยใู นกรงุ เทพมหานครมีความจาํ เปนจะตองลาตอ อกี จะย่ืนใบลา
ตอ อธิบดีกรมสง เสรมิ การปกครองทองถนิ่ ก็ได ถา ไดรบั อนญุ าตแลว ใหแจง ผวู า ราชการจงั หวัดทราบ
ขอ ๑๙ การลาของผบู ริหารทองถน่ิ ผูชวยผูบริหารทองถ่ิน หรือสมาชิกสภาทองถิ่น หาก
ไดด าํ เนนิ การโดยชอบดว ยระเบียบนใ้ี หถอื เปน วันปฏิบตั ิงาน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 114

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๗๙ ง หนา ๒๐ ๘ กนั ยายน ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

การจายเงินคาปวยการหรือคาตอบแทนใหแกผูบริหารทองถิ่น ผูชวยผูบริหารทองถ่ิน หรือ
สมาชิกสภาทองถิ่น หากมีวันปฏบิ ัตงิ านตง้ั แตย ่ีสบิ วันข้นึ ไป ใหจายเงนิ คาปวยการหรือเงินคาตอบแทน
เตม็ เดอื น แตถ า มวี นั ปฏิบตั งิ านนอ ยกวายี่สบิ วนั ใหจ ายเงินคา ปว ยการหรือเงินคาตอบแทนลดลงตามสวน

ขอ ๒๐ การลาทกุ ประเภทของผบู ริหารทองถ่ิน ผชู วยผบู รหิ ารทองถิ่น หรือสมาชิกสภาทองถิ่น
เวน แตก ารลาตามขอ ๑๔ ใหเ ปน อํานาจพิจารณาอนญุ าตของผดู ํารงตาํ แหนง ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) ผูวา ราชการจงั หวัด สาํ หรับผูบริหารทอ งถิน่ และประธานสภาทองถ่ินขององคก ารบริหาร
สว นจงั หวัด เทศบาลนคร เทศบาลเมืองและเมืองพทั ยา

(๒) นายอําเภอหรือปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจําก่ิงอําเภอ สําหรับผูบริหารทองถ่ินและ
ประธานสภาทองถิ่นของเทศบาลตาํ บลและองคก ารบริหารสวนตาํ บล แลวแตกรณี

(๓) ประธานสภาทองถิ่น สําหรับสมาชิกสภาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
แตล ะประเภท

(๔) ผูบริหารทองถิ่น สําหรับผูชวยผูบริหารทองถ่ินขององคกรปกครองสวนทองถ่ินแตละ
ประเภท

ขอ ๒๑ การลาท่ีไมไดกําหนดไวในระเบียบน้ีใหนําระเบียบวาดวยการลาของขาราชการ
พ.ศ. ๒๕๓๕ มาใชบังคบั โดยอนโุ ลม

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๗
ประชา มาลีนนท

รฐั มนตรชี ว ยวา การฯ ปฏบิ ตั ิราชการแทน
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 115

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วา ดว ยการบรหิ ารกจิ การและการบาํ รงุ รกั ษาระบบประปาหมูบา น

พ.ศ. 2548
----------------------------------------------
เพื่อใหการบริหารกิจการและการบํารงุ รักษาระบบประปาหมบู า นท่เี ปนทรพั ยส นิ ขององคก ร
ปกครองสวนทอ งถนิ่ สามารถใหบรกิ ารขน้ั พนื้ ฐานทจี่ าํ เปน ตอ การดํารงชพี และเพ่ิมคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนใน
พนื้ ที่องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ และเพือ่ เปน การสง เสรมิ ใหประชาชน รว มรบั ผิดชอบ
บริหารกิจการและบํารงุ รักษาประปาหมบู า นในเชงิ ธรุ กิจดว ยตนเอง
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 69 และมาตรา 77 แหง พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ.2496
มาตรา 5 และมาตรา 88 แหงพระราชบัญญัตสิ ภาตําบลและองคก ารบริหารสว นตําบล พ.ศ.2537 และ
มาตรา 5 แหง พระราชบญั ญัตกิ าํ หนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอาํ นาจใหแกองคกรปกครองสว นทอ งถนิ่
พ.ศ.2542 รฐั มนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบยี บดังตอไปน้ี
ขอ 1 ระเบยี บน้ีเรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยการบริหารกิจการและบาํ รงุ รักษา
ระบบประปาหมูบา น พ.ศ. 2548”
ขอ 2 ระเบยี บนใ้ี หใชบ งั คบั ตงั้ แตวันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน ตน ไป
ขอ 3 บรรดาระเบยี บ ขอบงั คบั หรอื คําสงั่ อน่ื ใด ซ่งึ ขัดหรือแยงกบั ระเบยี บน้ี ใหใชร ะเบียบน้แี ทน

หมวด 1
ขอ ความทว่ั ไป
ขอ 4 ในระเบยี บน้ี
“องคกรปกครองสว นทองถ่ิน” หมายความวา เทศบาล และองคการบริหารสว นตําบล
“ระบบประปาหมูบ า น” หมายความวา ระบบประปาซงึ่ เปนทรัพยสินขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน แตไมหมายความรวมถึงระบบประปาที่อยูในความรับผิดชอบของการประปา
สวนภูมิภาค การประปานครหลวง หรือกิจการประปาระบบหลักท่ีองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดตั้งขึ้น
เพ่ือใหบ ริการประชาชนและอยูภ ายใตก ารบริหารจดั การขององคกรปกครองสวนทองถนิ่ นน้ั
“หมูบา น” หมายความวา หมบู านหรอื ชุมชนที่ต้ังอยใู นเขตเทศบาลหรือองคการ
บรหิ ารสวนตาํ บล ตามหลกั เกณฑการแบงเขตการปกครองของกระทรวงมหาดไทย
“แหลง นาํ้ ดบิ ” หมายความวา แหลง นา้ํ ใตดนิ หรือแหลง นาํ้ ผวิ ดนิ ที่ใชส าํ หรับผลิต
ประปาหมูบาน
“สมาชกิ ผูใชน าํ้ ” หมายความวา ผทู ย่ี น่ื ความประสงคจะใชนํ้าประปาหมบู า น
ตามขอ 23

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 116

2

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการบรหิ ารกจิ การและบาํ รงุ รักษาระบบ
ประปาหมูบา นทไี่ ดร ับการเลอื กต้งั จากสมาชิกผูใ ชน า้ํ ประปาใหท ําหนา ทบ่ี รหิ ารกิจการและบาํ รุงรักษาระบบประปา

“ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการบริหารกจิ การและบาํ รุงรกั ษา
ระบบประปาหมูบ า น

“ผบู รหิ ารทองถิ่น” หมายความวา นายกเทศมนตรี และนายกองคการบรหิ ารสว นตําบล
ขอ 5 ใหป ลดั กระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามระเบยี บน้ี และใหม อี าํ นาจตคี วามวินิจฉยั
ปญหา กาํ หนดขอ บงั คบั หลักเกณฑ และวิธปี ฏิบตั เิ พอ่ื ดาํ เนนิ การใหเ ปน ไปตามระเบียบนี้
ในกรณีทอี่ งคกรปกครองสว นทองถนิ่ ใดมีเหตุผลและความจาํ เปน ทีไ่ มอ าจปฏบิ ัติ
ตามระเบยี บนไ้ี ด ใหข อทาํ ความตกลงกบั ปลดั กระทรวงมหาดไทยเพื่อยกเวนการปฏิบัติตามระเบยี บน้ี
ปลดั กระทรวงมหาดไทย อาจมอบอาํ นาจใหผูวา ราชการจังหวดั เปน ผพู จิ ารณา
อนุญาตใหอ งคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ยกเวน การปฏบิ ตั ขิ อ หนึ่งขอ ใดตามระเบยี บนก้ี ไ็ ด

หมวด 2
คณะกรรมการบรหิ ารกิจการและบาํ รงุ รกั ษาระบบประปาหมูบ า น

ขอ 6 ใหมคี ณะกรรมการบริหารกจิ การและบํารงุ รกั ษาระบบประปาหมบู า น โดยเลือกต้ัง
จากสมาชกิ ผูใชน ้าํ ประปาของระบบประปาหมูบา นแหง นนั้ ๆ โดยมจี าํ นวนกรรมการตามท่ีสมาชกิ ผใู ชนํา้
สวนใหญกําหนด ทงั้ น้ีตองไมนอ ยกวา เจด็ คน

ใหองคก รปกครองสวนทองถิ่นเจา ของกิจการประปาหมบู า นเปนผดู ําเนินการใหมกี ารเลือกต้งั
คณะกรรมการตามวรรคหนง่ึ ใหแ ลว เสรจ็ ภายในสามสบิ วนั

ใหก รรมการคดั เลือกกนั เองใหมีประธานกรรมการหนึ่งคน รองประธานกรรมการหน่ึงคน
เหรญั ญกิ หนง่ึ คน และเลขานุการหนง่ึ คน โดยใหป ระธานกรรมการเปน ผแู ทนของคณะกรรมการ

ใหค ณะกรรมการตามวรรคหนง่ึ มีอาํ นาจหนา ทเี่ กยี่ วกบั การดาํ เนนิ การกิจการประปา ดังนี้
(1) วางระเบยี บใชบังคับในการบรหิ ารกจิ การประปา โดยระเบยี บดงั กลาวจะมผี ลบังคบั ก็
ตอเมอื่ ไดรบั ความเหน็ ชอบจากองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ เจาของระบบประปาแลว
(2) บรหิ ารกิจการประปาใหเ ปนไปตามขอ บังคับใหเกดิ ความกา วหนา และบรกิ ารประชาชนได
อยา งทว่ั ถงึ และเพยี งพอ
(3) พจิ ารณาอนญุ าตหรืองดจา ยนา้ํ ใหแ กส มาชกิ โดยคาํ นงึ ถงึ ประโยชนข องกิจการประปา
เปน หลกั แตการงดจา ยน้ําใหแกสมาชกิ ตองไดรบั ความเหน็ ชอบจากองคกรปกครองสว นทองถนิ่ เวน แต
กรณีตามขอ 27

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 117

3

(4) จัดทํารายงานผลการดาํ เนินงานใหองคกรปกครองสวนทองถน่ิ ทราบ และรายงานผล
การดําเนนิ งานใหส มาชิกผใู ชนา้ํ ทราบตามทอ่ี งคก รปกครองสวนทอ งถ่ินกาํ หนด

(5) ควบคุม ดแู ล การทาํ งานของเจา หนา ที่ของกิจการประปา
(6) จดั ทาํ โครงการขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ในกรณีที่
รายไดของกิจการประปาไมเ พียงพอตอ การดาํ เนินงาน
คณะกรรมการอาจแตงตงั้ ที่ปรึกษาเพอ่ื ใหคาํ แนะนาํ ปรกึ ษาในการบรหิ ารกจิ การประปาก็ได
ขอ 7 บคุ คลท่จี ะไดร บั การเลอื กตง้ั จากสมาชกิ ผูใชน ํา้ ประปาใหเปน กรรมการตองมคี ุณสมบัติ
ดงั ตอ ไปนี้
(1) มสี ญั ชาตไิ ทยและมีอายไุ มต ่าํ กวา ยี่สิบปบ ริบูรณ
(2) มภี ูมลิ าํ เนาหรอื ถนิ่ ท่ีอยูเ ปนประจาํ และมชี อื่ อยูใ นทะเบยี นบานในหมูบ านหรือชุมชน นั้น ๆ
ตดิ ตอ กันมาแลว ไมนอยกวา หนง่ึ รอ ยแปดสิบวัน และเปน สมาชกิ ผูใชน ้ําของกจิ การประปาท่ตี นจะดํารงตําแหนง
กรรมการ
(3) เปนบุคคลทป่ี ระกอบอาชีพสจุ รติ ไมประพฤตติ นเปน ภยั ตอ สังคม
ขอ 8 บคุ คลทม่ี ีลกั ษณะดังตอ ไปนี้ เปนบคุ คลตองหา มมใิ หม ีสิทธไิ ดรบั การเลอื กตงั้ จาก
สมาชิกผใู ชน ้ําประปาใหเปน กรรมการ คอื
(1) เปนภกิ ษุ สามเณร นกั พรต หรอื นกั บวช
(2) หหู นวกและเปนใบซงึ่ ไมสามารถอา นและเขยี นหนงั สอื ได
(3) ติดยาเสพตดิ ใหโทษ
(4) เคยถกู ไลอ อก ปลดออก หรือใหอ อกจากราชการ หนว ยงานของรฐั หรอื รฐั วิสาหกจิ
เพราะทจุ ริตตอหนา ทห่ี รือถอื วากระทําการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ
ขอ 9 กรรมการมวี าระอยใู นตําแหนงคราวละสองปน บั แตวันเลือกตงั้ แตจะดาํ รงตําแหนง
ตดิ ตอกนั เกนิ สองวาระไมได
ขอ 10 กรรมการพน จากตําแหนง เม่ือ
(1) ถงึ คราวออกตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออกโดยย่นื หนังสือลาออกตอประธานกรรมการ กรณีที่ยงั ไมมปี ระธานกรรมการหรือ
ประธานกรรมการขอลาออกใหย่ืนหนังสือลาออกตอผูบรหิ ารทอ งถน่ิ
(4) ไปเสยี จากหมบู า นหรอื ชุมชนนั้น
(5) ปรากฏภายหลงั วา ขาดคณุ สมบตั ิตามขอ 7 หรอื มลี กั ษณะตอ งหา มตามขอ 8
(6) ตองโทษจาํ คุกฐานกระทาํ ความผดิ ในคดอี าญา ยกเวน การกระทาํ ความผิด
ลหโุ ทษหรือกระทําความผิดโดยประมาท
(7) กรณีทกี่ รรมการวา งลงเกนิ กวาก่ึงหนงึ่ ใหก รรมการทีเ่ หลือพน จากตาํ แหนง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 118

4

ขอ 11 กรณีกรรมการวา งลงเพราะเหตุอน่ื ใดนอกจากครบวาระนอยกวา หรือเทา กบั
ก่งึ หนง่ึ ใหมกี ารเลอื กต้งั กรรมการแทนตําแหนง ทว่ี างภายในสิบหา วนั นบั แตวันที่ตําแหนง วางลง และ
ใหผซู ึ่งไดร ับเลอื กแทนนั้นอยใู นตําแหนงไดเ พียงเทา วาระท่เี หลืออยูของผูซ ึ่งตนแทน เวน แตก รณตี าํ แหนง
ท่วี า งลงมวี าระทเ่ี หลือไมถ ึงหนงึ่ รอ ยแปดสิบวันจะไมจดั ใหมีการเลอื กต้ังแทนตําแหนง กรรมการท่ีวา งกไ็ ด

ขอ 12 ในการประชมุ คณะกรรมการตองมีกรรมการเขาประชุมไมนอยกวา กง่ึ หนง่ึ จงึ จะ
เปน องคประชมุ

ขอ 13 มตทิ ป่ี ระชุมใหถ ือเสยี งขางมาก หากคะแนนเสยี งเทา กนั ใหป ระธานเปน ผูช ข้ี าด
และใหถือวา เปน ท่สี ดุ

ขอ 14 ในกรณที ม่ี ีการแตง ตง้ั ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ที่ปรกึ ษามีสทิ ธิเขา รวมประชุมและ
มสี ทิ ธแิ สดงความคดิ เหน็ ใด ๆ ก็ได แตไ มม สี ทิ ธอิ อกเสียงลงมติ

ขอ 15 ใหประธานกรรมการสงรายงานการประชมุ ใหผ ูบริหารทองถนิ่ ทราบภายใน
สบิ หา วันนบั แตว ันประชมุ

หมวด 3
การบรหิ ารกจิ การประปาหมบู าน

ขอ 16 กิจการประปาหมบู า นเปน ทรัพยส นิ ขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ โดยมอบให
คณะกรรมการดําเนนิ การบรหิ ารจัดการ

ขอ 17 ภายใตบงั คบั ขอ 6 การบริหารกจิ การประปาหมูบานใหด าํ เนนิ การใหเปนไป
ตามที่คณะกรรมการกําหนด

ขอ 18 ใหคณะกรรมการคดั เลอื กบุคคลเพอ่ื ใหองคก รปกครองสวนทองถิ่นแตง ตง้ั ใหเปน
เจา หนาท่ขี องกจิ การประปา โดยมหี นาที่รับผิดชอบดแู ลรักษาระบบประปาใหส ามารถจายนาํ้ ประปาได
จดั เกบ็ คา นา้ํ จดั ทําบัญชี และดาํ เนนิ การอน่ื ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกาํ หนด โดยใหไ ดร ับคาจา งตามท่ี
คณะกรรมการกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ

ขอ 19 การออกระเบยี บขอ บังคบั ของกจิ การประปาจะตองผานความเหน็ ชอบจากสมาชกิ
ผใู ชน ํ้าประปาอยา งนอ ยกึ่งหนึ่งของจาํ นวนสมาชิกผใู ชน ํา้ ประปา โดยจะตอ งไมขดั กบั ขอ กําหนดขององคก ร
ปกครองสวนทอ งถนิ่

ขอ 20 การประชมุ สมาชกิ ผใู ชน า้ํ ตองมีสมาชกิ เขา ประชมุ เกนิ กวากง่ึ หน่ึงของจาํ นวนสมาชกิ
ผูใชนา้ํ ทัง้ หมด จงึ จะเปน องคป ระชุม

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 119

5

ขอ 21 กรณีที่สว นหนึ่งสว นใดของระบบประปาชํารดุ เสียหายใหถ อื เปน หนาท่ีของ
คณะกรรมการในการซอมแซมและบาํ รุงรกั ษา

เวน แตกรณที ส่ี ว นหนง่ึ สว นใดของระบบประปาชํารดุ เสียหายจนเกนิ ความสามารถของ
คณะกรรมการในการซอมแซมและบาํ รุงรักษา ใหถือเปนหนาท่ีขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ในการ
พจิ ารณาซอ มแซมและบาํ รงุ รกั ษาใหร ะบบประปาสามารถใชก ารไดอยูเสมอ

ขอ 22 ใหอ งคก รปกครองสว นทองถนิ่ บาํ รงุ รักษาแหลง นาํ้ ดบิ ของระบบประปาหมบู า น
ใหสะอาดและมีปริมาณนาํ้ เพียงพอท่ีจะใชผ ลติ นํา้ ประปาของกิจการประปาหมบู านอยูเสมอ

ขอ 23 ผทู ปี่ ระสงคจ ะใชน ํา้ ประปาหมบู าน จะตองยน่ื ความประสงคขอใชน ํา้ เปน ลายลักษณ
อกั ษรตอ คณะกรรมการ

ขอ 24 คา ธรรมเนยี มการขอใชน ํ้า คาปรบั คา ติดตง้ั มาตรวดั นาํ้ ใหเปน ไปตามที่
คณะกรรมการกําหนดโดยความเหน็ ชอบขององคกรปกครองสว นทองถนิ่

ขอ 25 การติดต้ังมาตรวัดนํา้ ตอ งตดิ ตัง้ ไวใ นทเ่ี ปดเผยสามารถตรวจสอบไดหรอื หางจากรว้ั
ไมเ กนิ หนงึ่ เมตร

ขอ 26 ผูใดทท่ี าํ ใหท รัพยส ินของระบบประปาหมูบานเสยี หาย ผูนัน้ ตอ งชดใชคาเสียหาย
ใหแกกิจการประปาหมบู าน

ขอ 27 ผใู ดโดยทุจริตเอานาํ้ ประปาหมบู า นไปใช หรอื เปลี่ยนแปลงแกไ ขตัวเลขในมาตรวัดน้าํ
หรอื กระทาํ การใด ๆ กต็ ามเพอ่ื เอานา้ํ ประปาหมูบา นไปใช ใหงดจายนา้ํ ทนั ที และจะตองชดใชค า เสียหายใหแ ก
กิจการประปาหมูบาน และใหค ณะกรรมการโดยไดร ับมอบหมายจากองคกรปกครองสว นทอ งถิ่นพจิ ารณาแจงความ
ดาํ เนนิ คดี

การดําเนนิ การของคณะกรรมการตามวรรคหนง่ึ ใหรวมถงึ การดําเนนิ คดีกับผูทาํ ใหทรพั ยส นิ
ของระบบประปาหมบู า นเสยี หายตามขอ 26 ดวย

ขอ 28 กรณที ีม่ ีการยกเลกิ การใชน า้ํ หรอื โอนใหผูอนื่ ตอ งแจงใหค ณะกรรมการทราบเปน
ลายลักษณอ ักษร และไดรบั อนุญาตจากคณะกรรมการเสียกอ นจงึ สน้ิ สดุ การเปนผูใชน ้ํา มฉิ ะน้ันจะถอื วา
ยงั เปน ผูใ ชนา้ํ อยู และจะตอ งรับผิดชอบจายคาน้าํ ตามท่ีคณะกรรมการหรือผูไดรับมอบหมายเรียกเก็บ

ขอ 29 ระยะเวลาในการเกบ็ คา นาํ้ และระยะเวลาในการคา งชาํ ระคา นาํ้ ใหเปน ไปตามที่
คณะกรรมการกําหนด โดยความเหน็ ชอบขององคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน

ขอ 30 ระบบประปาหมูบา นอาจมีรายได ดงั นี้
(1) เงนิ คานํา้
(2) เงนิ คาธรรมเนียม เงนิ คาปรบั
(3) เงนิ บริจาค
(4) เงนิ ท่ไี ดร บั การอดุ หนนุ จากองคกรปกครองสว นทองถนิ่

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 120

6

ขอ 31 ระบบประปาหมูบา นอาจมรี ายจา ย ดังน้ี
(1) รายจายในการดาํ เนนิ การเก่ียวกับระบบการผลิตนาํ้ ประปา ระบบการจา ยนาํ้ ประปา
การบํารงุ รกั ษาซอมแซม และการขยายกจิ การประปา
(2) รายจา ยในการบรหิ ารกจิ การประปา เชน คาจา งเจา หนาท่ี คา วสั ดุ อปุ กรณ
(3) คาใชจ า ยอน่ื ๆ ตามทีอ่ งคกรปกครองสว นทองถิ่นกาํ หนด เชน คา เบยี้ ประชมุ หรือ
คา ตอบแทนคณะกรรมการบริหารกจิ การและบํารุงรักษาระบบประปา โดยความเหน็ ชอบขององคก รปกครอง
สวนทอ งถิน่
ขอ 32 ใหคณะกรรมการหรือผไู ดร บั มอบหมายใหเ กบ็ รักษาเงินของกจิ การประปา นาํ รายได
ของกิจการประปาฝากธนาคารในนามของกิจการประปาทง้ั จํานวนภายในวนั ทม่ี ีรายได ถา ฝากในวนั ทม่ี รี ายได
ไมท นั ใหน าํ ฝากธนาคารในวนั ทาํ การถดั ไปทงั้ จาํ นวน หากมีความจําเปน จะตอ งเกบ็ รกั ษาเงินไวจ า ยในกรณี
เรง ดวนใหเปน ไปตามทค่ี ณะกรรมการ โดยความเหน็ ชอบขององคกรปกครองสวนทองถนิ่ กาํ หนด
กรณที องทใี่ ดไมม ีธนาคารในพน้ื ทใ่ี หน ํารายไดดงั กลาวฝากคณะกรรมการเกบ็ รักษาเงนิ ของ
องคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ น้นั
ขอ 33 ใหคณะกรรมการกาํ หนดตวั บุคคลในคณะกรรมการเปน ผมู ีอาํ นาจเบกิ จา ยเงนิ ของ
กิจการประปาหมูบานจาํ นวนไมน อยกวา สองคน
ขอ 34 การเบกิ เงนิ ของกจิ การประปาหมบู านตองลงลายมอื ช่ือในการเบิกจายเงนิ อยางนอย
สองคนของผมู อี ํานาจเบกิ จา ย
ขอ 35 ใหองคก รปกครองสวนทองถน่ิ กาํ หนดรปู แบบการทําบัญชขี องกจิ การประปาหมูบาน
แกค ณะกรรมการ โดยใหองคก รปกครองสวนทองถ่ินตรวจสอบการเงนิ และบญั ชีในระยะเวลาตามท่เี หน็ สมควร
หากพบขอบกพรองใหแจงคณะกรรมการดําเนินการแกไขใหถ ูกตอง
ขอ 36 ใหคณะกรรมการจดั ทําบัญชีรายไดแ ละรายจา ยของกิจการประปาหมบู า น
รายงานใหผูบริหารทองถนิ่ ทราบอยางนอ ยเดือนละหนง่ึ ครงั้

ประกาศ ณ วันที่ 12 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2548

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

‡≈à¡ ÒÚÒ µÕπ摇»… Òˆ ß Àπ“â 6 หน้าท่ี 121
√“™°®‘ ®“π‡ÿ ∫°…“
ÒÛ °¡ÿ ¿“æπ— ∏å ÚıÙ˜

√–‡∫¬’ ∫°√–∑√«ß¡À“¥‰∑¬

«à“¥«â ¬«‘∏’°“√‡°¬’Ë «°∫— °“√¢¥ÿ ≈Õ°·À≈àßπ”È  “∏“√≥ª√–‚¬™π∑å ˵’ π◊È ‡¢π‘
æ.». ÚıÙ˜

‚¥¬∑‡Ë’ ªπì °“√ ¡§«√ª√∫— ª√ßÿ «∏‘ °’ “√‡°¬’Ë «°∫— °“√¢¥ÿ ≈Õ°·À≈ßà πÈ” “∏“√≥ª√–‚¬™πå

∑Ë’µÈ◊π‡¢‘πµ“¡√–‡∫’¬∫°√–∑√«ß¡À“¥‰∑¬ «à“¥â«¬À≈—°‡°≥±å·≈–«‘∏’°“√‡°’ˬ«°—∫

°“√Õπÿ≠“µ„À¥â ”‡π‘π°“√¢ÿ¥≈Õ°·À≈àßπÈ” “∏“√≥ª√–‚¬™πå∑’µË È◊π‡¢π‘ æ.». ÚıÛˆ

„Àâ “¡“√∂√Õß√—∫°“√·°â‰¢À√◊Õ∫√√‡∑“§«“¡‡¥◊Õ¥√âÕπ¢Õß√“…Æ√∑’ˇ°‘¥®“°¿—¬·≈âß

·≈–π”È ∑à«¡‰¥Õâ ¬“à ß√«¥‡√Á« ¡ª’ √– ∑‘ ∏¿‘ “æ ·≈–∑—π‡Àµÿ°“√≥å

Õ“»—¬Õ”π“®µ“¡§«“¡„π¡“µ√“ Ú ·Ààßæ√–√“™∫—≠≠—µ‘√–‡∫’¬∫∫√‘À“√

√“™°“√·ºπà ¥‘π æ.». ÚıÛÙ ´Ë÷ß·°â‰¢‡æ¡‘Ë ‡µ¡‘ ‚¥¬æ√–√“™∫—≠≠—µ√‘ –‡∫¬’ ∫∫√‘À“√

√“™°“√·ºàπ¥‘π (©∫—∫∑Ë’ ı) æ.». ÚıÙı √—∞¡πµ√’«à“°“√°√–∑√«ß¡À“¥‰∑¬

®÷ßÕÕ°√–‡∫¬’ ∫‰«â ¥—ßµÕà ‰ªπÈ’

¢Õâ Ò √–‡∫¬’ ∫π‡’È √¬’ °«“à ç√–‡∫¬’ ∫°√–∑√«ß¡À“¥‰∑¬ «“à ¥«â ¬«∏‘ °’ “√‡°¬’Ë «°∫—

°“√¢¥ÿ ≈Õ°·À≈àßπ”È  “∏“√≥ª√–‚¬™π∑å Ë’µπ◊È ‡¢π‘ æ.». ÚıÙ˜é

¢Õâ Ú √–‡∫¬’ ∫π„È’ À„â ™∫â ß— §∫— µßÈ— ·µ«à π— ∂¥— ®“°«π— ª√–°“»„π√“™°®‘ ®“π‡ÿ ∫°…“

‡ªπì µâπ‰ª

¢Õâ Û „À¬â °‡≈‘°√–‡∫¬’ ∫°√–∑√«ß¡À“¥‰∑¬ «à“¥â«¬À≈—°‡°≥±·å ≈–«∏‘ °’ “√

‡°’ˬ«°—∫°“√Õπÿ≠“µ„À⥔‡π‘π°“√¢ÿ¥≈Õ°·À≈àßπ”È  “∏“√≥ª√–‚¬™πå∑Ë’µÈ◊π‡¢‘π

æ.». ÚıÛˆ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

‡≈à¡ ÒÚÒ µÕπ摇»… Òˆ ß Àπâ“ 7 หน้าที่ 122
√“™°®‘ ®“πÿ‡∫°…“
ÒÛ °ÿ¡¿“æπ— ∏å ÚıÙ˜

∫√√¥“√–‡∫’¬∫ ¢âÕ∫—ߧ∫— ·≈–§” —ßË ÕË◊π„¥ „π à«π∑Ë’°”À𥉫â·≈«â „π√–‡∫’¬∫πÈ’

À√Õ◊ ´÷Ëߢ¥— À√Õ◊ ·¬âß°—∫√–‡∫¬’ ∫π’È „À„â ™√â –‡∫’¬∫π’È·∑π

¢Õâ Ù „π√–‡∫’¬∫π’È

ç·À≈àßπ”È  “∏“√≥ª√–‚¬™πéå À¡“¬§«“¡«“à ≈”√“ß À⫬ ÀπÕß §≈Õß ∫÷ß

∫“ß·≈–·À≈ßà π”È ÕπË◊ Ê ∑¡’Ë ≈’ °— …≥–§≈“â ¬§≈ß÷ °π— ·µ‰à ¡√à «¡∂ß÷ π“à ππ”È µ“¡æ√–√“™∫≠— ≠µ— ‘

°“√‡¥π‘ ‡√Õ◊ „ππà“ππÈ”‰∑¬ æ√–æÿ∑∏»°— √“™ ÚÙıˆ

ç°“√¢ÿ¥≈Õ°é À¡“¬§«“¡«à“ °“√¢ÿ¥ ¥Ÿ¥ µ—° À√Õ◊ °“√°√–∑”ª√–°“√ÕπË◊ „¥

∑‡’Ë ªπì °“√π”°√«¥ À‘𠥑π ∑√“¬ ∑’∑Ë ∫— ∂¡Õ¬àŸ„µâ·À≈àßπÈ” “∏“√≥ª√–‚¬™π∑å ’ËµÈπ◊ ‡¢‘π

¢π÷È ¡“∫πæπ◊È ¥‘π

çπ“¬Õ”‡¿Õé „ÀÀâ ¡“¬§«“¡√«¡∂ß÷ ª≈¥— Õ”‡¿Õº‡Ÿâ ªπì À«— Àπ“â ª√–®”°ßË‘ Õ”‡¿Õ

ºŸâÕ”π«¬°“√‡¢µ ”À√∫— „π‡¢µ°√ßÿ ‡∑æ¡À“π§√ ·≈–ª≈¥— ‡¡Õ◊ ßæ∑— ¬“¥â«¬

çÕߧå°√ª°§√Õß à«π∑âÕß∂Ë‘πé À¡“¬§«“¡«à“ Õߧ尓√∫√‘À“√ à«π®—ßÀ«—¥

‡∑»∫“≈ Õߧ尓√∫√‘À“√ à«πµ”∫≈ °√ÿ߇∑æ¡À“π§√ ‡¡◊Õßæ—∑¬“ ·≈–Õߧå°√

ª°§√Õß à«π∑âÕß∂π‘Ë Õπ◊Ë ∑’¡Ë °’ ÆÀ¡“¬®¥— µ—Èß

¢Õâ ı ‡¡Õ◊Ë π“¬Õ”‡¿ÕÀ√Õ◊ Õߧ°å √ª°§√Õß «à π∑Õâ ß∂π‘Ë ·≈«â ·µ°à √≥æ’ ®‘ “√≥“

‡ÀπÁ «“à ·À≈ßà π”È  “∏“√≥ª√–‚¬™π„å π∑Õâ ß∑„Ë’ ¥µπÈ◊ ‡¢π‘  ¡§«√∑”°“√¢¥ÿ ≈Õ° „Àπâ “¬Õ”‡¿Õ

À√◊ÕÕߧå°√ª°§√Õß à«π∑Õâ ß∂πË‘ ¥—ß°≈à“«∑”°“√ ”√«®¢Õ∫‡¢µ ªí°·π«‡¢µ·À≈ßà πÈ”

π—Èπ„Àâ™—¥‡®π æ√âÕ¡∑È—ßÕÕ°·∫∫°“√¢ÿ¥≈Õ° °”Àπ¥À≈—°‡°≥±å «‘∏’°“√·≈–

√–¬–‡«≈“„π°“√¢ÿ¥≈Õ°„Àâ·≈⫇ √Á® ·≈–‡ πÕ‡ªìπ‚§√ß°“√‡æ◊ËÕ¢Õ§«“¡‡ÀÁπ™Õ∫

®“°ºâŸ«à“√“™°“√®—ßÀ«—¥ ·≈â«®÷ߪ√–°“»À“ºâŸª√– ß§å∑Ë’®–∑”°“√¢ÿ¥≈Õ°¡’°”Àπ¥

‰¡àπâÕ¬°«“à  ∫‘ À“â «—π π—∫·µ«à π— ª√–°“»

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

‡≈¡à ÒÚÒ µÕπ懑 »… Òˆ ß Àπ“â 8 หน้าที่ 123
√“™°®‘ ®“πÿ‡∫°…“
ÒÛ °ÿ¡¿“æπ— ∏å ÚıÙ˜

„π°√≥’∑Ë’·À≈àßπ”È π—Èπ¡’Àπ—ß ◊Õ ”§—≠ ”À√—∫∑Ë’À≈«ß „Àâ¬÷¥∂◊Õ·π«‡¢µµ“¡

À≈—°∞“πÀπß—  Õ◊  ”§—≠ ”À√∫— ∑ÀË’ ≈«ßππ—È

¢Õâ ˆ °√≥’∑’Ë∑“ß√“™°“√æ‘®“√≥“·≈⫇ÀÁπ ¡§«√∑’Ë®–®—¥®â“ß„Àâ‡Õ°™π

∑”°“√¢ÿ¥≈Õ°µ“¡√–‡∫’¬∫ ”π—°π“¬°√—∞¡πµ√’«à“¥â«¬°“√æ— ¥ÿ À√◊Õ√–‡∫’¬∫

°√–∑√«ß¡À“¥‰∑¬ «à“¥â«¬°“√æ— ¥ÿ¢ÕßÀπ૬°“√∫√‘À“√√“™°“√ à«π∑âÕß∂Ë‘π·≈–

π“¬Õ”‡¿Õ À√◊ÕÕߧ°å √ª°§√Õß «à π∑Õâ ß∂Ëπ‘ ª√– ß§å®–π”°√«¥ À‘π ¥π‘ ∑√“¬ ∑ˉ’ ¥â

®“°°“√¢ÿ¥≈Õ°‰ª‡ªìπª√–‚¬™πå¢Õß∑“ß√“™°“√À√◊Õ§à“®â“߇հ™π „Àâπ“¬Õ”‡¿Õ

À√Õ◊ Õߧ°å √ª°§√Õß «à π∑Õâ ß∂Ë‘π‡ πÕ¢Õ§«“¡‡ÀÁπ™Õ∫®“°º«âŸ “à √“™°“√®—ßÀ«—¥

„π°√≥’π“¬Õ”‡¿ÕÀ√◊ÕÕߧå°√ª°§√Õß à«π∑âÕß∂Ë‘πª√– ß§å®–π”°√«¥ À‘π

¥‘π ∑√“¬ ∑‰Ë’ ¥®â “°°“√¢ÿ¥≈Õ°‰ª‡ªπì §“à ®â“߇հ™π „Àâµ√’ “§“°√«¥ À‘𠥑π ∑√“¬

∑’ˉ¥â®“°°“√¢¥ÿ ≈Õ°µ“¡√“§“§“à µÕ∫·∑π„π°“√Õπ≠ÿ “µµ“¡¡“µ√“ ˘ ∑«‘ „π∫—≠™’

§à“µÕ∫·∑π∑⓬ª√–¡«≈°ÆÀ¡“¬∑’Ë¥‘π‚¥¬Õπÿ‚≈¡·≈â«„ÀâÀ—°°≈∫®“°§à“®â“ß

·≈–∂â“¡’√“§“‡°‘π°«à“§â“®â“ß ‡Õ°™πºâŸ√—∫®â“ßµâÕß®à“¬‡ß‘π§à“°√«¥ À‘𠥑π ∑√“¬

 «à π∑‡’Ë °π‘ ¥ß— °≈“à «§π◊ „Àâ∑“ß√“™°“√ ·≈–„Àâ‡ßπ‘ ππÈ— µ°‡ªπì √“¬‰¥â¢ÕßÕߧå°√ª°§√Õß

 «à π∑Õâ ß∂Ëπ‘ ππÈ—

„π°√≥’∑Ë’ª√“°Ø«à“∑√—æ¬å ‘π∑’ˉ¥â®“°°“√¢ÿ¥≈Õ°‡ªìπ·√à ∑√—欓°√‰¡â À√◊Õ

«—µ∂‚ÿ ∫√“≥ „À⥔‡π‘π°“√µ“¡°ÆÀ¡“¬«à“¥â«¬°“√π—Èπ

¢âÕ ˜ „π°√≥’∑’Ë à«π√“™°“√À√◊ÕÀπ૬ߓπ¢Õß√—∞Õ◊Ëπ‡ÀÁπ ¡§«√®–∑”°“√

¢ÿ¥≈Õ°·À≈àßπÈ” “∏“√≥ª√–‚¬™πå „Àâ𔧫“¡„π¢âÕ ı ·≈–¢âÕ ˆ ¡“„™â∫—ߧ—∫

‚¥¬Õπ‚ÿ ≈¡

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

‡≈à¡ ÒÚÒ µÕπ懑 »… Òˆ ß Àπ“â 9 หน้าที่ 124
√“™°®‘ ®“πÿ‡∫°…“
ÒÛ °ÿ¡¿“æ—π∏å ÚıÙ˜

¢Õâ ¯ „π°√≥∑’ ¡’Ë §’ «“¡®”‡ªπì ‡√ßà ¥«à π ‡æÕË◊ ªÕÑ ß°π— ·≈–∫√√‡∑“¿¬— æ∫‘ µ— Õ‘ π— ‡°¥‘
®“°Õÿ∑°¿—¬À√◊Õ¿—¬·≈âß ·≈–®”‡ªìπµâÕß∑”°“√¢ÿ¥≈Õ°·À≈àßπÈ” “∏“√≥ª√–‚¬™πå
∑µ’Ë π◊È ‡¢π‘ „Àπâ “¬Õ”‡¿ÕÀ√Õ◊ Õߧ°å √ª°§√Õß «à π∑Õâ ß∂π‘Ë ¡Õ’ ”𓮥”‡ππ‘ °“√„À‡â Õ°™π
∑”°“√¢ÿ¥≈Õ°·À≈àßπÈ”¥—ß°≈à“«‰ªæ≈“ß°àÕπ ·≈⫇ πÕ‡√Ë◊Õß„ÀâºâŸ«à“√“™°“√®—ßÀ«—¥
‡æË◊Õ∑√“∫¿“¬„π Òı «π— π—∫·µ«à —π∑’Ë«à“®“â ß

¢Õâ ˘ „π°“√¢¥ÿ ≈Õ°·À≈ßà πÈ” “∏“√≥ª√–‚¬™πå º«Ÿâ “à √“™°“√®ß— À«¥— ®–°”Àπ¥
‡ßË◊Õπ‰¢„ÀâºâŸ¥”‡π‘π°“√¢ÿ¥≈Õ°ªØ‘∫—µ‘‡æË◊Õ‰¡à„À⇰‘¥§«“¡‡¥◊Õ¥√âÕπ‡ ’¬À“¬·°à√“…Æ√
√«¡∑—Èß°”Àπ¥‡ßË◊Õπ‰¢ÕË◊π„ÀâºâŸ¥”‡π‘π°“√¢ÿ¥≈Õ°µâÕߪؑ∫—µ‘·≈–√—∫º‘¥™Õ∫„𧫓¡
‡ ’¬À“¬∑’ÕË “®‡°¥‘ ¢πÈ÷ ®“°°“√¥”‡π‘π°“√°‰Á ¥â

‡ß◊ÕË π‰¢„π°“√¢ÿ¥≈Õ° „À⇪ìπ‰ªµ“¡¢Õâ °”Àπ¥∑⓬√–‡∫’¬∫πÈ’
¢Õâ Ò „Àâπ“¬Õ”‡¿ÕÀ√◊ÕÕߧå°√ª°§√Õß à«π∑âÕß∂‘Ëπ‡ªìπºŸâ√—∫º‘¥™Õ∫
„π°“√µ√«® Õ∫·≈–§«∫§¡ÿ °“√¢¥ÿ ≈Õ°„À‡â ªπì ‰ª‚¥¬∂Ÿ°µÕâ ßµ“¡‡ß◊ËÕπ‰¢
¢âÕ ÒÒ „Àâª≈—¥°√–∑√«ß¡À“¥‰∑¬√—°…“°“√µ“¡√–‡∫’¬∫πÈ’ ·≈–¡’Õ”π“®
«‘π‘®©—¬ª≠í À“‡°Ë¬’ «°—∫°“√ªØ‘∫—µ‘µ“¡√–‡∫¬’ ∫π’È

ª√–°“» ≥ «—π∑Ë’ ÒÚ ¡°√“§¡ æ.». ÚıÙ˜
«—π¡ŸÀ–¡—¥πÕ√å ¡–∑“

√—∞¡πµ√«’ “à °“√°√–∑√«ß¡À“¥‰∑¬

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 125
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 126

หน้า ๒ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๘๗ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

ว่าดว้ ยการเบกิ ค่าใชจ้ า่ ยในการบริหารงานขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
พ.ศ. 2562

โดยท่ีเป็นการสมควรกาหนดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการ
บริหารงานขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เพื่อใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ถือปฏบิ ัติ

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 69 และมาตรา 77 แห่งพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496
มาตรา 5 และมาตรา 88 แหง่ พระราชบัญญัตสิ ภาตาบลและองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล พ.ศ. 2537
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบยี บไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการ
บรหิ ารงานขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2562”

ขอ้ 2 ระเบียบนี้ให้ใชบ้ งั คบั ต้ังแต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ 3 ในระเบียบนี้

“องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และ
องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล

“ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี และ
นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล

“ค่าใช้จ่าย” หมายความว่า รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายในการบริหารงานประจาตามอานาจ
หนา้ ท่ีขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หรือรายจ่ายท่เี ป็นผลสืบเนือ่ งจากการปฏิบตั หิ น้าท่ีดงั กลา่ วตามท่ี
กาหนดไวใ้ นงบประมาณรายจ่าย ซึ่งเปน็ การเบิกจ่ายจากงบดาเนินงาน ลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค หรืองบรายจ่ายอ่ืนใดที่เบิกจ่ายในลักษณะเดียวกัน และให้หมายความ
รวมถึงรายจา่ ยท่เี กิดจากภารกจิ ทไ่ี ด้รับมอบหมายตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทยด้วย

ข้อ 4 การเบิกจ่ายตามระเบียบน้ี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องดาเนินการเบิกจ่าย
ใหถ้ กู ต้องตามกฎหมาย กฎ และระเบยี บ

ขอ้ 5 ค่าใช้จ่ายใดที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี คาส่ังหรือ

หนังสือเวียนของกระทรวงมหาดไทยกาหนดไว้ ให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าวตามรายการและอัตรา
ที่กาหนดไว้

ข้อ 6 หลักฐานการจ่ายให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน
การเบกิ จา่ ยเงนิ การฝากเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่

ขอ้ 7 ให้ผูบ้ ริหารท้องถิน่ กากับดแู ลการเบิกจา่ ยค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามระเบยี บนี้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 127

หน้า ๓ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๘๗ ง ราชกิจจานุเบกษา

ในกรณีที่การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายใดไม่เป็นไปตามระเบียบน้ีอันเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับ
ความเสียหาย ให้ดาเนินการตามกฎหมายวา่ ด้วยความรบั ผดิ ทางละเมิดของเจา้ หน้าท่ีโดยเร็ว

ข้อ 8 ใหป้ ลดั กระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามระเบยี บน้ี และใหม้ ีอานาจตีความ วนิ จิ ฉัยปญั หา
กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธปี ฏิบตั ิ เพ่ือดาเนินการให้เป็นไปตามระเบยี บน้ี

ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้ ให้ขอทาความตกลง
กับปลัดกระทรวงมหาดไทยโดยความเหน็ ชอบของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

หมวด 1
คา่ ตอบแทน

ขอ้ 9 ค่าใช้จ่ายสาหรับบุคคลภายนอกท่ีปฏิบัติงานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้ผู้บริหาร
ท้องถ่นิ เบิกจ่ายเป็นคา่ ตอบแทนได้ตามท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด

ขอ้ 10 ค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ ให้ผู้บริหารท้องถ่ินเบิกจ่ายได้ตามความจาเป็น เหมาะสม
ประหยัด และเพือ่ ประโยชนข์ องทางราชการ

(1) ค่าตอบแทนล่ามในการแปลภาษาท้องถิ่น ภาษาต่างประเทศ หรอื ภาษามือ
(2) ค่าตอบแทนในการแปลหนงั สอื หรอื เอกสาร
(3) ค่าตอบแทนในการจัดเก็บหรือสารวจข้อมูล เฉพาะในช่วงระยะเวลาที่มีการจัดเก็บหรือ
สารวจข้อมูล
ในกรณีท่ีผู้แปล หรือผู้จัดเก็บ หรือผู้สารวจข้อมูล เป็นเจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่ินนั้นท่ปี ฏบิ ัติงานตามหนา้ ท่ี มิให้ไดร้ บั คา่ ตอบแทน

หมวด 2
คา่ ใช้สอย

ข้อ 11 คา่ ใชจ้ า่ ยที่เป็นค่าใชส้ อย มดี งั ต่อไปน้ี
(1) ค่าใช้จ่ายในการเตรยี มการ ระหวา่ งการรบั เสดจ็ ส่งเสด็จ หรือเก่ียวเนื่องกับการรบั เสด็จ
สง่ เสดจ็ พระมหากษัตรยิ ์ พระราชนิ ี พระบรมวงศานุวงศ์
(2) ค่าจา้ งเอกชนดาเนนิ งานขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
(3) คา่ ใชจ้ ่ายในการเผยแพร่ หรือการประชาสัมพนั ธ์งานขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่
(4) ค่าพานพุ่มดอกไม้ พานประดับพุ่มดอกไม้ พานพุ่มเงินพุ่มทอง กรวยดอกไม้ พวงมาลยั
ช่อดอกไม้ กระเชา้ ดอกไม้ หรอื พวงมาลา สาหรับวางอนุสาวรยี ์ หรือใช้ในการจัดงาน การจดั กิจกรรม
เฉลิมพระเกียรติในวโรกาสตา่ ง ๆ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 128

หน้า ๔ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๘๗ ง ราชกจิ จานุเบกษา

(5) ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และให้หมายรวมถึง
การประชุมราชการทางไกลผ่านดาวเทียม เช่น ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม ค่าอาหารในกรณีท่ีมี
การประชุมคาบเกี่ยวม้อื อาหาร ค่าเชา่ หอ้ งประชุม คา่ ใช้จา่ ยอน่ื ๆ ทจ่ี าเปน็ เป็นต้น

(6) ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม ค่าอาหาร สาหรับกรณีหน่วยงานอื่นหรือบุคคลภายนอก
เข้าดูงานหรือเยี่ยมชมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือกรณีการตรวจเยี่ยมหรือตรวจราชการ การแถลงขา่ ว
ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ การมอบเงินหรือส่งิ ของบรจิ าคให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่

(7) ค่าซ่อมแซมทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ทีเ่ กิดจากการเสือ่ มสภาพ หรอื ชารดุ
เสยี หายจากการใชง้ านปกติ

(8) ค่าของขวัญหรอื ของทร่ี ะลกึ ท่ีมอบให้ชาวต่างประเทศ กรณีเดินทางไปราชการตา่ งประเทศ
ชั่วคราว กรณีชาวต่างประเทศเดินทางมาประเทศไทย ในนามขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
เปน็ สว่ นรวม

(9) ค่าโล่ ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ คา่ กรอบใบประกาศเกยี รตคิ ุณ สาหรบั พนักงานส่วนทอ้ งถน่ิ
หรอื ลูกจ้างประจาทเี่ กษยี ณอายุ หรอื ผใู้ ห้ความชว่ ยเหลอื หรอื ควรไดร้ ับการยกย่องจากทางราชการ

(10) คา่ ใช้จ่ายในการจดั ทาเวบ็ ไซต์
(11) ค่าธรรมเนียมในการคืนบัตร เปล่ียนบัตรโดยสารพาหนะในการเดินทางไปราชการหรือ
ค่าบัตรโดยสารทไี่ มส่ ามารถคืนหรอื เปลย่ี นบัตรไดก้ รณีเลื่อนการเดนิ ทางไปราชการ กรณอี งคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถิ่นส่ังให้งด หรือเล่ือนการเดินทางไปราชการ และให้รวมถึงกรณีเหตุสุดวิสัยอื่น ๆ ท่ีทาให้
ไม่สามารถเดนิ ทางได้ ท้งั นี้ ต้องมิไดเ้ กิดจากตวั ผเู้ ดินทางเป็นเหตุ
(12) ค่าธรรมเนียมท่ีเก่ียวกับการทาธุรกรรมทางการเงินเพื่อความสะดวกขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ ทมี่ ิใชเ่ ปน็ การร้องขอของผมู้ ีสิทธริ ับเงิน

(13) คา่ ใช้จ่ายในการใช้สถานทอี่ ื่นชว่ั คราวขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
(1๔) ค่าใช้จ่ายในการประดบั ตกแต่งอาคารสถานที่ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่
(1๕) ค่าบริการ หรือค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการกาจัดแมลง แมง หนู หรือสัตว์ที่อาจเป็นพาหะ
นาโรครา้ ยมาสูค่ น และใหห้ มายความรวมถงึ การกาจัดเชื้อโรคหรือเชอ้ื ราขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
หรือบา้ นพกั ที่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นจดั ไว้ให้
(๑๖) ค่าใช้จ่ายในการจัดหาอาหารสาหรับผู้ป่วยสามัญ ผู้ป่วยโรคเร้ือน ของสถานบริการของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ หรืออาหาร นม อาหารเสริม สาหรบั เด็กที่อยใู่ นการสงเคราะห์ขององคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่
(๑๗) ค่าใช้จ่ายในการเป็นสมาชิก หรือการจัดซื้อหนังสือ จุลสาร วารสาร หนังสือพิมพ์
หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เพอื่ ใช้ในราชการโดยส่วนรวม
(1๘) คา่ บรกิ ารในการกาจัดส่งิ ปฏกิ ูล จดั เกบ็ ขยะขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
ค่าบรกิ ารในการกาจัดส่ิงปฏิกูล บ้านพักขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินกรณไี ม่มีผู้พักอาศยั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 129

หน้า ๕ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๘๗ ง ราชกจิ จานุเบกษา

(1๙) ค่าผ่านทางด่วนพิเศษ ค่าบริการจอดรถในการเดินทางไปปฏิบัติราชการ สาหรับรถยนต์
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตามระเบียบวา่ ด้วยรถราชการ ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้มาโดย
วิธีการซ้ือ การยืม การเช่า หรือรับบริจาค หรือได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลต่างประเทศหรือ
องค์การระหว่างประเทศและขึ้นทะเบียนเปน็ ครุภัณฑ์ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นนั้น

(๒๐) ค่าใช้จา่ ยเก่ยี วกบั การจัด ผลติ รายการ และถา่ ยทอดทางสถานีโทรทัศน์ และวิทยุ
(๒๑) ค่าระวาง บรรทุก ขนส่งพัสดุหรือพัสดุภัณฑ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยกเว้น
ค่าระวาง บรรทกุ ขนสง่ พัสดุหรอื พัสดุภัณฑใ์ นการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
(๒๒) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการใช้พัสดุที่ยืมจากหน่วยงานอื่น เพื่อใช้ปฏิบัติราชการ

กรณจี าเปน็ เร่งด่วนเปน็ การชว่ั คราว
(๒3) ค่าตรวจร่างกายของบุคลากรเพื่อตรวจหาสารกัมมันตภาพรังสี และเชื้อเอชไอวีจาก

การปฏิบัติงานตามภารกิจปกติ และไม่ถือเป็นสวัสดิการการรักษาพยาบาลที่พนักงานส่วนท้องถิ่นหรือ
ลูกจา้ งประจาทีจ่ ะใช้สิทธิเบิกจา่ ยตามกฎหมายเก่ียวกบั การเบิกจา่ ยค่ารักษาพยาบาล

ทั้งน้ี ค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากท่ีกาหนดไว้ ในวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามท่ีกระทรวงมหาดไทย
กาหนด

ขอ้ ๑2 ค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าใช้สอยตามข้อ ๑๑ ผู้บริหารท้องถ่ินสามารถเบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง
แต่ไมเ่ กินอัตราของกระทรวงการคลังท่กี าหนดให้สว่ นราชการ

ในกรณีกระทรวงการคลังไม่ได้กาหนดค่าใช้จ่ายท่ีเป็นค่าใช้สอยเร่ืองใดตามข้อ ๑๑ ไว้
ผบู้ ริหารทอ้ งถนิ่ สามารถเบิกจา่ ยไดต้ ามความจาเป็น เหมาะสม ประหยดั และเพอื่ ประโยชน์ของทางราชการ

ข้อ 13 ค่าใชส้ อยดงั ต่อไปนี้ มิให้เบกิ จา่ ย
(1) ค่าจัดทาสมดุ บนั ทกึ สมุดฉกี หรอื ของชาร่วย เนือ่ งในโอกาสต่าง ๆ

(2) ค่าจัดพิมพ์ ค่าจัดส่ง ค่าฝากส่งเปน็ รายเดือน สาหรับบตั รอวยพรในเทศกาลต่าง ๆ และ
คา่ จัดพิมพน์ ามบัตรใหก้ บั บคุ ลากรภายในองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่

(3) ค่าพวงมาลัย ดอกไม้ ของขวัญ หรือของเยี่ยมผู้ป่วย เพื่อมอบให้กับองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่นิ สว่ นราชการ หน่วยงานของรฐั หน่วยงานเอกชน บคุ คล เนอ่ื งในโอกาสต่าง ๆ

(4) ค่าทปิ
(5) เงินหรือส่งิ ของบริจาค
(6) ค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ หรือการจัดกิจกรรมนันทนาการภายในองค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่นิ
(7) ค่าใชส้ อยทไี่ มใ่ ห้เบกิ จา่ ยนอกเหนอื จากทก่ี าหนดไว้ ใหเ้ ป็นไปตามทีก่ ระทรวงมหาดไทยกาหนด
ขอ้ 14 ค่าใช้จ่ายในการเช่าอาคารและที่ดิน รวมทั้งค่าบริการอ่ืนใดที่เก่ียวกับการเช่า
ให้ผบู้ รหิ ารทอ้ งถิน่ เบกิ จ่ายเทา่ ที่จา่ ยจรงิ ตามอตั รา ดงั น้ี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 130

หน้า ๖ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๘๗ ง ราชกิจจานเุ บกษา

(๑) การเช่าอาคารเพ่ือใช้ในการปฏิบัติงาน เก็บเอกสารหรือพัสดุต่าง ๆ ให้เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจรงิ
ไม่เกินอัตราตารางเมตรละห้าร้อยบาทต่อเดือน หรือในกรณีท่ีมีเหตุผลความจาเป็นต้องเช่าในอัตรา
เกินตารางเมตรละหา้ ร้อยบาทตอ่ เดอื น ใหเ้ บกิ จา่ ยในวงเงินไม่เกินห้าหมนื่ บาทต่อเดือน

(๒) การเชา่ ท่ดี ินเพือ่ ใชใ้ นราชการ ให้เบิกจา่ ยเทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ ไม่เกินอัตราห้าหมื่นบาทต่อเดือน
ในกรณีที่มีเหตุจาเป็นที่จะต้องเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายตาม (๑) หรือ (๒) เกินอัตราที่กาหนดไว้
ให้ผู้บริหารท้องถ่ินเบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง ทั้งน้ี อัตราที่เบิกจ่ายต้องไม่สูงกว่าอัตราตามท้องตลาด และ
ต้องบนั ทึกเหตผุ ลทตี่ อ้ งเบกิ จา่ ยในอตั ราน้นั ไว้ดว้ ย
ข้อ 15 ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีในชั้นศาล การระงับข้อพิพาทโดยการอนุญาโตตุลาการ
อันเนอ่ื งมาจากการปฏบิ ตั ิราชการ ให้ผูบ้ ริหารทอ้ งถ่ินเบิกจ่ายเทา่ ท่ีจา่ ยจริง
ขอ้ 16 ค่าใชจ้ า่ ยเกี่ยวกับค่าสนิ ไหมทดแทนทผี่ ู้เสยี หายยนื่ คาขอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ชดใช้กรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้กระทาละเมิดต่อบุคคลภายนอกในการ
ปฏบิ ตั ิหน้าที่ ให้ผ้บู ริหารทอ้ งถิน่ เบกิ จา่ ยโดยปฏิบตั ิตามกฎหมายและระเบยี บวา่ ดว้ ยการนนั้

หมวด 3
คา่ วสั ดุ

ข้อ 17 ค่าวัสดุตามหลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ให้ผู้บริหารท้องถิ่นเบิกจ่ายเท่าท่ีจ่ายจริง ตามความจาเป็น เหมาะสม ประหยัด และ
เพ่ือประโยชนข์ องทางราชการ

หมวด 4
คา่ สาธารณูปโภค

ขอ้ 18 ค่าสาธารณูปโภคและค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวข้องกับสาธารณูปโภคดังต่อไปนี้ ให้ผู้บริหารท้องถ่ิน
เบกิ จา่ ยได้เท่าที่จา่ ยจรงิ ตามความจาเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพือ่ ประโยชนข์ องทางราชการ

(1) ค่าไฟฟ้า ค่าน้า ค่าโทรศัพท์ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และบ้านพักราชการ
ท่ไี ม่มีผูพ้ กั อาศยั ให้จา่ ยได้เท่าท่จี ่ายจรงิ

(2) ค่าบริการไปรษณีย์ ค่าฝากส่งไปรษณยี ์ ค่าบริการไปรษณยี ์ตอบรับ ค่าดวงตราไปรษณีย์
หรอื คา่ เช่าตไู้ ปรษณยี ์

(3) ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการสื่อสารและ
โทรคมนาคม เช่น ค่าใช้จา่ ยเก่ยี วกับการใช้ระบบและค่าใชบ้ ริการอนิ เทอร์เนต็ คา่ วทิ ยสุ อ่ื สาร เป็นตน้

(๔) คา่ เชา่ พื้นทเ่ี ว็บไซต์ และค่าธรรมเนยี มทเี่ กีย่ วข้อง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 131

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๘๗ ง หน้า ๗ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา
บทเฉพาะกาล

ข้อ 19 การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าใช้สอยตามระเบียบน้ี ท่ีได้ดาเนินการไปแล้ว
ที่ได้กระทาโดยสุจริต และเป็นไปตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ก่อนวันท่ีระเบียบน้ีใช้บังคับ
ให้ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าใชส้ อยท่ีชอบตามระเบียบน้ี

ขอ้ 20 การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายท่ีเป็นค่าใช้สอยท่ีอยู่ระหว่างดาเนินการก่อนหรือในวันที่ระเบียบนี้
ใช้บังคบั ใหด้ าเนินการตามหนงั สอื สงั่ การของกระทรวงมหาดไทยในเรือ่ งนั้น ๆ ตอ่ ไปจนกวา่ จะแล้วเสร็จ

ประกาศ ณ วนั ท่ี 11 ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก อนพุ งษ์ เผา่ จนิ ดา

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 132

หน้า ๑ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๐๗ ง ราชกิจจานุเบกษา

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย

วา่ ดว้ ยการดาเนนิ การตามพระราชบัญญัติภาษีทีด่ นิ และสงิ่ ปลกู สรา้ ง พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2562

โดยที่เป็นการสมควรกาหนดระเบียบกระทรวงมหาดไทยเกี่ยวกับการดาเนินการตาม
พระราชบัญญัติภาษีทดี่ นิ และสงิ่ ปลกู สรา้ ง พ.ศ. 2562 พ.ศ. ๒๕๖๒

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนง่ึ มาตรา ๒๑ วรรคสาม มาตรา 23 วรรคส่ี
มาตรา 24 มาตรา 30 มาตรา 56 มาตรา 57 วรรคหน่ึง มาตรา 63 วรรคสอง และมาตรา 74
วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ออกระเบยี บนไ้ี ว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขอ้ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดาเนินการตาม
พระราชบัญญตั ภิ าษที ดี่ นิ และสงิ่ ปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2562”

ข้อ ๒ ระเบียบนใี้ ห้ใช้บังคบั ต้งั แตว่ ันถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ในระเบียบนี้
“กรรมการภาษีท่ีดนิ และส่ิงปลูกสร้าง” หมายความว่า นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหาร
ส่วนตาบล และผู้บริหารท้องถ่ินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอ่ืนในจังหวัด ยกเว้นนายกองค์การ
บริหารสว่ นจงั หวดั ซงึ่ ไดร้ บั เลอื กเป็นกรรมการภาษีทด่ี ินและส่งิ ปลูกสร้างประจาจงั หวดั
“กรรมการพจิ ารณาอุทธรณก์ ารประเมินภาษ”ี หมายความว่า นายกเทศมนตรี นายกองค์การ
บริหารส่วนตาบล และผู้บริหารท้องถน่ิ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ อื่นในจังหวัด ซ่ึงได้รับเลือกเป็น
กรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์การประเมินภาษที ่ีดินและสิ่งปลูกสรา้ งประจาจงั หวดั
“เหตุอันพ้นวิสัยที่จะป้องกันได้โดยทั่วไป” หมายความว่า เหตุท่ีเกิดจากสาธารณภัย
เชน่ อคั คภี ัย วาตภยั อุทกภัย ภัยแลง้ ภาวะฝนแลง้ ฝนท้งิ ชว่ ง ภัยจากลกู เหบ็ ภัยอนั เกิดจากไฟป่า
ภัยที่เกิดจากโรคหรือการระบาดของแมลงหรือศัตรูพืชทุกชนิด อากาศหนาวจัดผิดปกติ ภัยสงคราม
และภัยอันเน่ืองมาจากการกระทาของผู้ก่อการร้าย กองกาลังจากนอกประเทศ ตลอดจนภัยอื่น ๆ
ไม่ว่าเกดิ จากธรรมชาติ หรือมีบุคคลหรอื สตั ว์ทาให้เกดิ ข้ึนซง่ึ กอ่ ให้เกิดความเสียหายแกท่ ด่ี นิ หรือสิ่งปลูกสรา้ ง
และยากที่จะป้องกันได้โดยท่ัวไป และให้หมายความรวมถึงภัยพิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่าดว้ ยเงินทดรองราชการเพ่ือชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบภัยพิบตั กิ รณีฉุกเฉินดว้ ย
ข้อ 4 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจตีความวินิจฉัยปัญหา
กาหนดหลกั เกณฑ์และวิธีปฏิบตั ิเพื่อดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามระเบียบน้ี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 133

หน้า ๒ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๐๗ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

หมวด 1
การเลอื กกรรมการภาษที ดี่ นิ และสง่ิ ปลกู สร้าง ตามมาตรา 21 วรรคสาม
และการเลือกกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณ์การประเมินภาษี ตามมาตรา 74 วรรคสอง

ส่วนท่ี 1
การเลอื กกรรมการภาษที ด่ี นิ และส่ิงปลกู สรา้ ง ตามมาตรา 21 วรรคสาม

ข้อ 5 ในกรณีไม่มีกรรมการภาษีท่ีดนิ และส่งิ ปลูกสรา้ ง หรือว่างลง หรือมีจานวนน้อยกวา่ ห้าคน
ให้สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด สารวจจัดทาบัญชีรายช่ือนายกเทศมนตรี หรือ
นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบล แล้วแต่กรณี ท่ีดารงตาแหน่งและปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ เพ่ือให้ผวู้ า่ ราชการจังหวดั
ประกาศรายชื่อ โดยปิดไว้ในท่ีเปิดเผย ณ ศาลากลางจังหวัด และสานักงานหรือท่ีทาการขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นทุกแหง่ ที่จะดาเนนิ การคัดเลือกผแู้ ทนตาแหนง่ นน้ั

ประกาศตามวรรคหนึ่งให้กาหนดจานวนกรรมการภาษีที่ดินและส่ิงปลูกสร้างท่ีจะรับสมัครคัดเลือก
วนั ท่ี เวลา และสถานท่รี บั สมคั รคดั เลอื กด้วย

ขอ้ 6 ให้ผู้วา่ ราชการจังหวดั มีหนงั สอื เชิญผู้ดารงตาแหนง่ นายกเทศมนตรหี รอื นายกองคก์ าร
บริหารสว่ นตาบล แลว้ แตก่ รณี ตามบญั ชีรายชอ่ื ตามขอ้ 5 ร่วมประชมุ เพ่ือคัดเลอื กกรรมการภาษีทด่ี นิ
และสง่ิ ปลกู สร้าง ทั้งน้ี จะตอ้ งสง่ หนงั สอื ให้บุคคลดงั กล่าวทราบลว่ งหนา้ ไม่น้อยกว่าสามวนั

ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นประธานในการประชุมคัดเลือกกรรมการ

ภาษีทดี่ ินและสิง่ ปลูกสร้าง
ข้อ 7 องค์ประชุมของการคัดเลือกกรรมการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ต้องมีนายกเทศมนตรี

หรือนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล แลว้ แต่กรณี เข้ารว่ มประชุม ดงั น้ี
(1) มีนายกเทศมนตรี หรือนายกองค์การบริหารส่วนตาบล ตามบัญชีรายช่ือน้อยกวา่ สิบคน

ต้องมผี เู้ ข้ารว่ มประชุมไมน่ อ้ ยกว่าจานวนสามคน ถอื เป็นองคป์ ระชมุ
(2) มีนายกเทศมนตรี หรือนายกองค์การบริหารส่วนตาบล ตามบัญชีรายช่ือตั้งแต่สิบคนข้ึนไป

ต้องมีผู้เขา่ รว่ มประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงในสาม ถอื เป็นองค์ประชุม
ข้อ 8 ให้นายกเทศมนตรี หรือนายกองค์การบริหารส่วนตาบล แล้วแต่กรณี คนหนึ่ง

มีสิทธิลงคะแนนคัดเลือกกรรมการภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างได้ตามจานวนท่ีประกาศ คัดเลือกแต่ไม่เกิน
ห้าคน

ขอ้ 9 วิธีการคัดเลือกนายกเทศมนตรี หรือนายกองค์การบริหารส่วนตาบลในจังหวัด
เพ่อื เปน็ กรรมการภาษีท่ีดินและส่ิงปลกู สรา้ ง ใหด้ าเนนิ การ ดงั ต่อไปน้ี

(1) วิธีลงคะแนน ให้แจกใบลงคะแนนที่มีรายชื่อผู้สมัครให้แก่ผู้เข้าร่วมประชุมเพื่อทา
เครอื่ งหมายกากบาท (X) แล้วนามาหยอ่ นลงในภาชนะท่ีกาหนด

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 134

หน้า ๓ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๐๗ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

(2) การตรวจนับคะแนน ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งต้ังข้าราชการสังกัดสานักงานส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่นจังหวัด เป็นคณะกรรมการตรวจนับคะแนนจานวนไมน่ ้อยกวา่ สามคน เป็นผู้ตรวจ
นบั คะแนน

(3) กรณีใบลงคะแนนตาม (1) มีการลงคะแนนคัดเลือกเกินจานวนที่คัดเลือก ไม่ให้นา
ใบลงคะแนนนั้นมานบั คะแนน

(4) ในกรณีที่มีผู้ได้คะแนนเท่ากันในลาดับเดียวกันหลายคน ให้ใช้วิธีจับสลากรายช่ือ
ผไู้ ดค้ ะแนนเทา่ กนั เพื่อเรียงลาดับท่ใี นบัญชรี ายช่ือดงั กล่าว

(5) เม่ือตรวจนับคะแนนเสร็จแล้ว ให้คณะกรรมการตรวจนับคะแนนจัดทาบัญชีรายช่ือ
ผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยเรียงตามลาดับคะแนนจากสูงไปหาต่า
พร้อมกับแสดงคะแนนของแต่ละคนไว้ในบัญชีรายช่ือผู้ได้รับเลือกดังกล่าวด้วย แล้วให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
ประกาศบัญชีรายช่ือผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยปิดไว้ในที่เปิดเผย
ณ ศาลากลางจังหวัด และสานักงานหรือที่ทาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกแห่งท่ีผู้น้ันเป็นผู้แทน
และมีหนังสือแจ้งใหผ้ ้ไู ดร้ บั คดั เลือกเป็นกรรมการภาษที ีด่ ินและส่งิ ปลกู สร้างทราบตอ่ ไป

(6) ให้บัญชีรายชื่อผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการภาษีที่ดินและส่ิงปลูกสร้างตาม (5)
มีอายุหน่ึงปีนบั แต่วนั ประชุมคัดเลือก

ขอ้ 10 ให้นายกเทศมนตรี หรือนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล แล้วแตก่ รณี เปน็ กรรมการ
ภาษที ด่ี นิ และสง่ิ ปลกู สร้าง โดยไม่ต้องดาเนินการคัดเลอื ก ในกรณีดังต่อไปนี้

(1) มีผู้ดารงตาแหน่งนายกเทศมนตรี หรือนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ตามบัญชีรายชือ่
ตามขอ้ 5 จานวนหา้ คน หรอื นอ้ ยกว่าห้าคน หรือนอ้ ยกว่าทจี่ ะประกาศรบั สมัคร

(2) มีผู้สมัครเป็นกรรมการภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้าง จานวนห้าคน หรือน้อยกว่าห้าคน
หรือนอ้ ยกว่าทจ่ี ะประกาศรบั สมัคร

ขอ้ 11 ในกรณีท่ีไม่มีผู้สมัครเป็นกรรมการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง หรือมีผู้สมัคร
แต่น้อยกว่าจานวนท่ีรับสมัคร ให้ดาเนินการคัดเลือกโดยใช้วิธีประชุมนายกเทศมนตรี หรือนายก
องค์การบริหารส่วนตาบล แล้วแต่กรณี คัดเลือกกันเองให้ครบตามมาตรา 21 วรรคหนึ่ง โดยให้นาความ
ในขอ้ 9 (2) (3) (4) (5) และ (6) มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม

ขอ้ 12 เม่ือกรรมการภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้าง มีจานวนน้อยกว่าห้าคนหรือน้อยกว่า
ท่ีจะประกาศรับสมัครคัดเลือกตามข้อ 10 (1) และภายหลังมีผู้ดารงตาแหน่งนายกเทศมนตรี
หรือนายกองค์การบริหารส่วนตาบล แล้วแต่กรณี เพ่ิมขึ้น ให้ดาเนินการคัดเลือกกรรมการภาษีท่ีดิน
และสงิ่ ปลกู สรา้ ง ให้ครบจานวนตามมาตรา 21 วรรคหนึง่ ทง้ั นี้ ใหน้ าความในขอ้ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7
ข้อ 8 ขอ้ 9 ขอ้ 10 และขอ้ 11 มาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 135

หน้า ๔ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๐๗ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ข้อ 13 การเลือกกรรมการภาษีที่ดนิ และสิ่งปลูกสร้างเป็นอานาจเฉพาะตัว ผู้บริหารท้องถน่ิ
จะต้องกระทาด้วยตนเอง ผู้รักษาราชการแทนหรือผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทนจะทาหน้าท่ีแทนหรือจะมอบให้
ผใู้ ดปฏบิ ัติหนา้ ทแ่ี ทนไม่ได้

ข้อ 14 เม่ือตาแหน่งกรรมการภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้าง ไม่มีหรือว่างลง หรือมีจานวน
น้อยกว่าห้าคน ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้ผู้มีช่ือในบัญชีรายชื่อตามข้อ 9 (6) ซึ่งมีลาดับสูงสุดในขณะนั้น
เป็นกรรมการภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างแทนตาแหน่งที่ว่าง และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศเหตุ
ดังกล่าว โดยปิดไว้ในท่ีเปิดเผย ณ ศาลากลางจังหวัด และสานกั งานหรือท่ีทาการขององคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถ่ินทกุ แห่งทีผ่ ู้นั้นเป็นผแู้ ทน พร้อมท้งั มีหนังสือแจ้งใหผ้ ู้เป็นกรรมการภาษีท่ีดินและสิ่งปลกู สรา้ ง
แทนตาแหนง่ ทว่ี ่างทราบโดยเรว็

ส่วนท่ี 2
การเลือกกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณก์ ารประเมนิ ภาษี ตามมาตรา 74 วรรคสอง

ขอ้ 15 การเลือกผู้แทนของผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในจังหวัด
เพ่ือเป็นกรรมการพิจารณาอุทธรณ์การประเมินภาษี จานวนไม่เกินสองคน ให้นาความในส่วนที่ 1
การเลอื กกรรมการภาษีท่ีดินและสง่ิ ปลูกสรา้ ง ตามมาตรา 21 วรรคสาม มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม

หมวด 2
การแจง้ และการส่งเรอ่ื งเกย่ี วกับคาปรึกษาหรือคาแนะนาเกย่ี วกบั การจดั เก็บภาษีทด่ี ินและส่ิงปลูกสรา้ ง

ตามมาตรา 23 วรรคส่ี

ขอ้ 16 เมื่อคณะกรรมการภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างประจาจังหวัดได้ให้คาปรึกษาหรือ
คาแนะนาแก่ผู้บริหารท้องถิ่นเก่ียวกับการจัดเก็บภาษีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดแล้ว
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดส่งคาปรึกษาหรือคาแนะนาดังกล่าวไปยังปลัดกระทรวงมหาดไทยเพ่ือพิจารณา
โดยอยา่ งน้อยให้มีเอกสารประกอบการพิจารณา ดงั นี้

(๑) หนงั สือขอคาปรกึ ษาจากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
(๒) รายงานการประชุมคณะกรรมการภาษที ่ดี ินและสิ่งปลกู สรา้ งประจาจงั หวัดซ่ึงมีการอ้างอิง
ประเด็นขอ้ กฎหมายและระเบยี บท่ีเกย่ี วขอ้ ง
(๓) หนังสอื ให้คาปรึกษาหรอื คาแนะนาของคณะกรรมการภาษีทดี่ นิ และสงิ่ ปลูกสรา้ งประจาจังหวัด
(๔) เอกสารอนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (ถา้ ม)ี
ขอ้ 17 กรณีท่ีคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง หรือกระทรวงมหาดไทย
เคยมีคาวินิจฉัย คาปรึกษาหรือคาแนะนาเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างในประเด็น

เดียวกัน หรือในลักษณะเดียวกันมาก่อนแล้ว ปลัดกระทรวงมหาดไทยจะตอบโดยส่งคาวินิจฉัย
คาปรึกษาหรือคาแนะนาท่ีเคยให้ไว้ไปให้คณะกรรมการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างประจาจังหวัด

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 136

หน้า ๕ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๐๗ ง ราชกิจจานเุ บกษา

โดยไม่ต้องดาเนินการให้มีการพิจารณาวินิจฉัยใหม่ก็ได้ เว้นแต่ กรณีท่ีปลัดกระทรวงมหาดไทย
เห็นสมควรพจิ ารณาทบทวนคาวนิ จิ ฉยั ดังกล่าวตามมาตรา 23

ขอ้ 18 เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างส่งคาวินิจฉัย คาปรึกษา
หรือคาแนะนาเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างให้แก่กระทรวงมหาดไทยตามมาตรา 19
หรือกระทรวงมหาดไทยพิจารณาให้คาปรึกษาหรือคาแนะนาตามมาตรา 23 แล้ว ให้กระทรวงมหาดไทย
แจ้งคาวินิจฉัย คาปรึกษาหรือคาแนะนาดังกล่าวให้ผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อแจ้งให้คณะกรรมการ
ภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างประจาจังหวัดทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันได้รับคาปรึกษาหรือคาแนะนา
พร้อมทั้งส่งให้คณะกรรมการภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างประจาจังหวัดอ่ืน และองค์กรปกครอง

สว่ นทอ้ งถิ่นทกุ แหง่ ทราบและถือปฏบิ ัติต่อไป
ขอ้ 19 กระทรวงมหาดไทยอาจดาเนินการเผยแพร่คาวินิจฉัย คาปรึกษาหรือคาแนะนา

ของกระทรวงมหาดไทย หรือคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี
ท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างได้ตามความเหมาะสม ทั้งน้ี การเผยแพร่ดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับกฎหมาย
วา่ ดว้ ยข้อมลู ข่าวสารของราชการ

หมวด 3
การรวบรวมและจดั สง่ ขอ้ มลู การจดั เก็บภาษที ด่ี นิ และสงิ่ ปลกู สรา้ ง ตามมาตรา 24

ข้อ 20 ข้อมูลเก่ยี วกบั การจัดเกบ็ จานวนภาษที ีจ่ ัดเก็บ มูลคา่ ทดี่ นิ และสง่ิ ปลกู สรา้ งท่ใี ช้เปน็ ฐาน
ในการคานวณภาษีของปีที่ผ่านมา และแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ท่ตี ้องจดั ส่งและรวบรวมใหแ้ กก่ ระทรวงมหาดไทย ดังนี้

(1) รายงานสรุปผลการจัดเก็บภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีของปี
ทผี่ ่านมา โดยอย่างนอ้ ยต้องมขี อ้ มลู ดงั ตอ่ ไปน้ี

(ก) จานวนผ้เู สียภาษี
(ข) จานวนเงินภาษีทีจ่ ัดเก็บได้
(ค) จานวนผูค้ า้ งชาระภาษี
(ง) จานวนเงนิ ภาษคี ้างชาระ

(2) ข้อมูลการคานวณภาษีที่ดินและส่ิงปลูกสร้างของผู้เสียภาษีทุกรายตามแบบแสดงรายการ
คานวณภาษีทด่ี นิ และสง่ิ ปลกู สรา้ งทีก่ ระทรวงมหาดไทยประกาศกาหนด

ขอ้ 21 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดส่งข้อมูลตามข้อ 20 ให้แก่คณะกรรมการภาษี
ทด่ี นิ และสงิ่ ปลูกสรา้ งประจาจงั หวดั ภายในเดอื นมกราคมของทกุ ปี

ให้คณะกรรมการภาษีที่ดินและส่ิงปลูกสร้างประจาจังหวัด และกรุงเทพมหานครจัดส่งข้อมูล
ตามข้อ 20 พร้อมทั้งเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้แก่

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 137

หน้า ๖ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๐๗ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

กระทรวงมหาดไทยภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี โดยรายงานผ่านระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ ท่กี รมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ จัดทาข้ึน

ข้อ 22 ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประมวลผลข้อมูลท่ีได้รับรายงานตามข้อ 21 แล้ว
จดั สง่ ขอ้ มูลไปให้หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งภายในเดอื นมนี าคมของทกุ ปี ดังนี้

(1) จัดส่งข้อมูลตามข้อ 20 (1) และ (2) และข้อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาตามข้อ 21
ให้กระทรวงการคลงั

(2) จัดส่งข้อมูลตามข้อ 20 (1) และข้อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาตามข้อ 21
ใหค้ ณะกรรมการการกระจายอานาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่

หมวด 4
การจดั ทาบญั ชรี ายการทด่ี นิ และส่งิ ปลกู สร้าง ตามมาตรา 30

ข้อ 23 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินนาข้อมูลท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างภายในเขตองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีสารวจแล้ว มาจัดทาบัญชีรายการที่ดินและส่ิงปลูกสร้าง เพื่อประกาศไว้

ณ สานักงานหรือที่ทาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือสถานท่ีอ่ืนตามท่ีเห็นสมควร
ไม่น้อยกว่าสามสิบวัน พร้อมทั้งจัดส่งข้อมูลที่เก่ียวข้องให้ผู้เสียภาษีแต่ละรายทราบภายในเดือนพฤศจิกายน
โดยมีรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) รายการทด่ี ิน ประกอบดว้ ย
(ก) ประเภททีด่ ิน
(ข) เลขที่เอกสารสทิ ธ์ิ
(ค) เลขที่ดนิ
(ง) หนา้ สารวจ
(จ) จานวนเนื้อท่ดี นิ
(ฉ) ลกั ษณะการทาประโยชน์ในทีด่ ิน

(๒) รายการสิ่งปลกู สร้าง ประกอบดว้ ย
(ก) ประเภทสง่ิ ปลกู สรา้ ง

(ข) เลขทส่ี งิ่ ปลูกสร้าง
(ค) จานวนพน้ื ท่สี ิ่งปลูกสร้าง
(ง) ลักษณะการทาประโยชนใ์ นสง่ิ ปลกู สร้าง
(จ) อายุสง่ิ ปลกู สรา้ ง
(๓) รายการอาคารชดุ ประกอบด้วย
(ก) ชอ่ื อาคารชุด
(ข) เลขทีห่ อ้ งชดุ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 138

หน้า ๗ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๐๗ ง ราชกิจจานุเบกษา

(ค) จานวนพืน้ ทีห่ อ้ งชุด
(ง) ลักษณะการทาประโยชนใ์ นห้องชุด
ข้อ 24 บัญชีรายการท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างให้เป็นไปตามแบบท้ายระเบยี บน้ี โดยจัดทาแยก
เปน็ ชุดเรียงลาดับตามประเภทที่ดนิ และชอ่ื อาคารชดุ
ขอ้ 25 การจัดส่งบัญชีรายการที่ดินและส่ิงปลูกสร้างใหแ้ ก่ผู้เสียภาษีแตล่ ะรายทราบตามข้อ 24
ให้ระบลุ าดบั ทต่ี ามบญั ชีในประกาศขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ด้วย

หมวด 5
การลดหรอื ยกเวน้ ภาษี ตามมาตรา 56 และมาตรา 57 วรรคหนงึ่

ขอ้ 26 เม่ือมีเหตุอันพ้นวิสัยที่จะป้องกันได้โดยทั่วไปเกิดข้ึนในพ้ืนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และเหตุดังกล่าวได้ยุติลงแล้ว ผู้บริหารท้องถ่ินอาจประกาศลดหรือยกเว้นภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้าง
ในปีตอ่ ไปเพือ่ ช่วยเหลอื และบรรเทาความเดือดร้อนของผูเ้ สียภาษไี ด้ โดยดาเนินการตามขนั้ ตอน ดังน้ี

(1) ประกาศให้ผู้เสียภาษีท่ีประสงค์จะขอลดหรือยกเว้นภาษีท่ีดินและส่ิงปลูกสร้าง

อันเนื่องมาจากเหตุอันพ้นวิสัยที่จะป้องกันได้โดยท่ัวไปมาลงทะเบียนแจ้งรายช่ือและรายละเอียด
ความเสียหายของท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างอันเน่ืองมาจากเหตุอัน พ้นวิสัยต่อผู้บริหารท้องถ่ินภายใน
ระยะเวลา สถานท่ี และวธิ กี ารที่ผู้บริหารท้องถิ่นกาหนด

(2) ประกาศรายช่อื ผเู้ สยี ภาษที ี่มาลงทะเบยี นตาม (1) ณ สานักงานหรือท่ที าการขององคก์ ร
ปกครองสว่ นท้องถน่ิ ให้ทราบเปน็ เวลาไมน่ ้อยกวา่ สบิ หา้ วัน

(3) แต่งต้ังเจ้าหน้าท่ีเพ่ือดาเนินการสารวจเน้ือที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ได้รับความเสียหาย
ของผู้เสยี ภาษที ่มี รี ายชื่อในประกาศตาม (2)

(4) จัดทาบัญชีรายชื่อผู้เสียภาษี จานวนพื้นท่ีและสัดส่วนของที่ดินและส่ิงปลูกสร้างซึ่งได้รับ
ความเสยี หายหรอื ถูกทาลาย และจานวนภาษีที่เหน็ ควรลดหรอื ยกเวน้ ภาษี โดยพิจารณาตามหลกั เกณฑ์
ดงั น้ี

(ก) เสยี หายไมเ่ กินสองในสามของจานวนเนอื้ ทที่ ้งั หมด ให้ลดภาษตี ามสว่ นท่ีเสียหาย
(ข) เสยี หายเกนิ กว่าสองในสามของจานวนเน้ือท่ที งั้ หมด ใหไ้ ด้รบั ยกเวน้ ภาษี

(5) รายงานบัญชีตาม (4) รวมท้งั ขอ้ เทจ็ จริงและเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งไปยังคณะกรรมการภาษี
ที่ดินและส่ิงปลูกสรา้ งประจาจังหวัดหรือรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยแล้วแตก่ รณี เพ่ือขอความเห็นชอบ
การลดหรือยกเว้นภาษีตามรอบระยะเวลาการพจิ ารณา ดังนี้

(ก) รอบที่หนงึ่ ภายในเดือนเมษายน
(ข) รอบทส่ี อง ภายในเดอื นสิงหาคม
(ค) รอบทีส่ าม ภายในเดอื นธนั วาคม

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 139

หน้า ๘ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๐๗ ง ราชกจิ จานุเบกษา

(6) เมื่อคณะกรรมการภาษีที่ดินและส่ิงปลูกสร้างประจาจังหวัดหรือรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยแล้วแต่กรณี พิจารณาลดหรือยกเว้นภาษีให้แก่ผู้ใดแล้ว ให้ส่งบัญชีรายช่ือผู้ที่ได้รบั
การลดหรอื ยกเว้นภาษีใหแ้ ก่ผบู้ ริหารท้องถ่นิ เพ่ือดาเนินการลดหรอื ยกเว้นภาษีตามหลกั เกณฑ์ ดงั นี้

(ก) กรณีลดภาษี ให้เก็บเงินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามจานวนท่ีคณะกรรมการ
ภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างประจาจังหวัดหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแล้วแต่กรณีสั่งลดแล้ว
ในปีตอ่ ไป

(ข) กรณียกเว้นภาษี ใหง้ ดเก็บเงินภาษีทดี่ นิ และสิ่งปลูกสรา้ งในปตี อ่ ไป
ข้อ 27 นอกจากกรณีมีเหตุอันพ้นวิสัยที่จะป้องกันได้โดยทั่วไป หากท่ีดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
ของผู้เสียภาษีรายใดได้รับความเสียหาย หรือถูกร้ือถอน หรือทาลาย หรือชารุดเสียหายจนเป็นเหตใุ ห้
ต้องซ่อมแซมในส่วนสาคัญ โดยมิได้มีเหตุมาจากผู้เสียภาษี ผู้เสียภาษีมีสิทธิยื่นคาร้องขอให้ผู้บริหาร
ท้องถิ่นพิจารณาลดหรอื ยกเวน้ ภาษีท่ีดนิ และสิ่งปลกู สรา้ งในปีตอ่ ไปได้ โดยดาเนินการตามข้ันตอน ดงั น้ี
(1) ย่ืนคาร้องต่อผู้บริหารท้องถ่ินภายในระยะเวลาสิบห้าวันนบั แตว่ ันที่ที่ดินหรือส่ิงปลูกสรา้ ง
ได้รับความเสียหาย หรือถูกร้ือถอน หรือทาลาย หรือชารุดเสียหายจนเป็นเหตุให้ต้องซ่อมแซม
ในสว่ นสาคญั
(2) ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อดาเนินการสารวจเน้ือที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ของผู้เสียภาษีทมี่ ายื่นคารอ้ งตาม (1)
(3) ให้ผู้บริหารท้องถิ่นจัดทาบัญชีรายช่ือผู้เสียภาษี จานวนพื้นท่ีและสัดส่วนของท่ีดินและ
สิ่งปลูกสร้างซึ่งได้รับความเสียหาย หรือถูกร้ือถอน หรือทาลาย หรือชารุดเสียหายจนเป็นเหตุให้ต้อง
ซอ่ มแซมในส่วนสาคญั และจานวนภาษที ี่เหน็ ควรลดหรอื ยกเวน้ ภาษี โดยพิจารณาตามหลกั เกณฑ์ ดังน้ี

(ก) เสยี หายแตส่ ามารถใช้ประโยชนไ์ ดบ้ างส่วน ให้ลดภาษีลงตามสว่ นท่ไี ม่ไดใ้ ชป้ ระโยชน์
(ข) เสียหายจนไมส่ ามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ ง้ั หมด ใหไ้ ด้รับยกเว้นภาษี
(4) ให้ผู้บริหารท้องถ่ินรวบรวมและรายงานบัญชีตาม (3) รวมทั้งข้อเท็จจริงและเอกสาร
ที่เกี่ยวข้องไปยังคณะกรรมการภาษีที่ดินและส่ิงปลูกสร้างประจาจังหวัดหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
แล้วแต่กรณี เพ่อื ขอความเหน็ ชอบการลดหรอื ยกเว้นภาษีตามรอบระยะเวลาการพิจารณา ดังนี้
(ก) รอบทห่ี น่งึ ภายในเดือนเมษายน
(ข) รอบทส่ี อง ภายในเดือนสงิ หาคม
(ค) รอบที่สาม ภายในเดอื นธันวาคม
(5) เม่ือคณะกรรมการภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างประจาจังหวัดหรือรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยแล้วแต่กรณี พิจารณาลดหรือยกเว้นภาษีให้แก่ผู้ใดแล้ว ให้ส่งบัญชีรายชื่อผู้ที่ได้รับ
การลดหรอื ยกเวน้ ภาษใี ห้แก่ผบู้ ริหารทอ้ งถ่ิน เพอ่ื ดาเนินการลดหรอื ยกเวน้ ภาษีตามหลกั เกณฑ์ ดงั นี้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 140

หน้า ๙ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๐๗ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

(ก) กรณีลดภาษี ให้เก็บเงินภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างตามจานวนที่คณะกรรมการภาษี
ท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างประจาจังหวัดหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแล้วแต่กรณีสั่งลดแล้ว
ในปตี อ่ ไป

(ข) กรณยี กเว้นภาษี ให้งดเก็บเงินภาษีที่ดินและสิง่ ปลกู สรา้ งในปีต่อไป
หมวด 6

การออกคาสง่ั และทาการตรวจค้น และการเขา้ ไปในทด่ี นิ หรอื สิ่งปลกู สร้างของผูเ้ สยี ภาษี
ตามมาตรา 63 วรรคสอง

ขอ้ 28 การตรวจค้นต้องกระทาในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก หรือ
ในระหวา่ งเวลาทาการของผเู้ สียภาษีท่มี ไิ ด้ชาระภาษีค้างชาระ เบยี้ ปรับและเงนิ เพมิ่

ขอ้ 29 การตรวจค้นต้องมเี หตอุ ันควรเช่ือได้ว่าจะเป็นประโยชน์แก่การบังคับชาระภาษีค้างชาระ
เบีย้ ปรบั และเงินเพิม่ โดยตอ้ งมีการสืบสวนหรือประมวลหลักฐานต่าง ๆ ก่อนดาเนนิ การตรวจคน้

ข้อ 30 คาสั่งให้ทาการตรวจค้น ให้จัดทาข้ึนจานวนสามฉบับ ตามแบบท้ายระเบียบน้ี

ฉบับท่ีหนึ่งนาไปแสดงแก่ผู้รับการตรวจค้น ฉบับที่สองติดไว้กับสมุดคาส่ังให้ทาการตรวจค้นขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิ่นนั้น และฉบับท่ีสามติดไว้กับบนั ทึกเสนอคาส่งั แต่งต้งั เจ้าหนา้ ท่เี พอื่ การทาการตรวจคน้

ข้อ 31 ในการตรวจคน้
(1) เจ้าหน้าที่ซ่ึงทาการตรวจค้นในแต่ละคร้ัง ต้องมีจานวนไม่น้อยกว่าสองคน โดยมีข้าราชการ
หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าประเภทวิชาการระดับชานาญการ หรือประเภท
ทวั่ ไประดบั ชานาญงานขนึ้ ไป เป็นหวั หน้าชดุ ท่ีทาการตรวจค้น
(2) เจ้าหน้าที่ซ่ึงทาการตรวจค้นจะต้องแสดงบัตรประจาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐต่อผู้รับการตรวจคน้
ทกุ กรณี พร้อมทั้งแจ้งให้ผู้รบั การตรวจค้นทราบถงึ ความประสงค์ในการตรวจคน้ โดยแสดงความบรสิ ุทธ์ิ
ให้ผู้รับการตรวจค้นเห็นว่าเจ้าหน้าท่ีผู้ทาการตรวจค้นไม่มีส่ิงของผิดกฎหมายติดตัวมา และให้บันทึก
ไว้เป็นหลักฐานด้านหลังของคาสั่งตรวจค้นฉบับที่หน่ึง พร้อมให้ผู้รับการตรวจค้นลงลายมือช่ือรับทราบ
คาส่งั ตรวจค้นนน้ั หากผรู้ บั การตรวจคน้ ไม่ยินยอมลงลายมอื ชือ่ ใหบ้ นั ทกึ ถึงเหตนุ ั้นไวด้ ว้ ย
(3) ต้องกระทาต่อหน้าผู้รับการตรวจค้น หากไม่สามารถทาการตรวจค้นได้ด้วยเหตุอย่างใด

อย่างหนึง่ ให้แจง้ เจ้าพนักงานตารวจแห่งทอ้ งทน่ี ้นั ทราบ เพอ่ื เป็นพยานในการตรวจคน้
(4) ต้องใช้ความละเอียดรอบคอบมิให้เอกสาร หลักฐานท่ีเก่ียวกับการบังคับชาระภาษี

ถูกปิดบังซ่อนเร้นไว้ และให้ใช้ดุลยพินิจในการยึดเอกสารหลักฐานเฉพาะที่สาคัญและเป็นประโยชน์
ต่อการบงั คบั ชาระภาษีเทา่ นน้ั

(5) ต้องทาการตรวจคน้ โดยสุภาพ ใชค้ วามระมัดระวังมใิ หเ้ กดิ ความเสียหาย กระจัดกระจาย
บุบสลายแก่ทรัพย์สินใด ๆ และต้องไม่เป็นการขัดขวางการประกอบการของผู้รับการตรวจค้นจนเกิน
ความจาเป็น

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี


Click to View FlipBook Version