The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makenodown, 2021-09-11 23:52:50

70 กฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

หน้าท่ี 141

หน้า ๑๐ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๐๗ ง ราชกิจจานุเบกษา

ขอ้ 32 การตรวจค้นที่ไมอ่ าจกระทาตอ่ หน้าผู้รบั การตรวจค้น ให้เจ้าหน้าทผ่ี ู้ทาการตรวจค้น
นาพยานหลักฐานที่ได้ไปยังสถานีตารวจแห่งท้องท่ีเพ่ือลงบันทึกประจาวันไว้เป็นหลักฐาน ณ สถานีตารวจ
แห่งทอ้ งที่

ขอ้ 33 การปฏบิ ัติเมอื่ ทาการตรวจคน้ แล้วเสรจ็
(1) ให้เจ้าหน้าท่ีผู้ทาการตรวจค้นจัดทาบันทึกรายละเอียดการตรวจค้นตามแบบท้าย
ระเบียบน้ีจานวนสามฉบับ พร้อมท้ังอ่านให้ผู้รับการตรวจค้นฟัง และให้ผู้รับการตรวจค้นลงลายมือช่ือ
รับทราบถงึ รายละเอียดในบันทึกดงั กล่าว โดยบันทึกฉบบั ที่หนึ่งมอบใหก้ ับผู้รับการตรวจคน้ ฉบับทส่ี อง
ติดไว้กับสมดุ คาส่งั ใหท้ าการตรวจค้นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนนั้ และฉบับที่สามติดไว้กับบนั ทกึ

เสนอคาสั่งแตง่ ตั้งเจ้าหนา้ ท่ีเพือ่ การทาการตรวจคน้
(2) ให้เจ้าหน้าที่ผู้ทาการตรวจค้นและผู้รับการตรวจคน้ ลงลายมือชื่อกากับเอกสารหลักฐาน

ท่ีทาการตรวจยึดทุกฉบับ หากจานวนเอกสารหลักฐานมีจานวนมาก ให้เป็นดุลยพินิจของหัวหน้าชุด
ว่าจะลงนามเฉพาะในเอกสารทีเ่ หน็ ว่าสาคญั ก็ได้

ข้อ 34 ให้เจ้าหน้าท่ีผู้ทาการตรวจค้นจัดทาบันทึกเพื่อรายงานผลการตรวจค้นตามแบบท้าย
ระเบยี บนต้ี อ่ ผ้บู รหิ ารทอ้ งถน่ิ ทราบทนั ที หรอื ในวันทาการแรก โดยอย่างน้อยต้องมีรายละเอยี ด ดงั นี้

(1) เจ้าหน้าที่ได้มีการแสดงคาส่ังตรวจค้น การแสดงบัตรประจาตัวเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และ
การแสดงความบริสทุ ธิก์ อ่ นเขา้ ทาการตรวจค้น

(2) ชื่อผู้รับการตรวจค้น หากเป็นกรณีอื่นซึ่งไม่มีผู้รับการตรวจค้น หรือมีการแจ้งให้
เจ้าพนักงานตารวจแห่งท้องทน่ี ัน้ ทราบเพ่อื เปน็ พยานในการตรวจค้น ให้แสดงรายละเอียดไวด้ ้วย

(3) วัน เวลาทเ่ี ริ่มทาการตรวจคน้ และสน้ิ สุดการตรวจคน้
(4) ลักษณะการตรวจค้น การตรวจพบเอกสารหลักฐาน การได้มาซึ่งเอกสารหลักฐาน

และปญั หาอุปสรรคตา่ ง ๆ ของการตรวจค้น
ขอ้ 35 การออกคาส่ังตรวจค้น จะต้องจัดทาทะเบียนคุมไว้เป็นหลักฐาน และการนับเลข

ของคาสัง่ ตรวจคน้ ให้นับตามปีปฏทิ นิ

ประกาศ ณ วนั ท่ี 1 สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก อนุพงษ์ เผา่ จนิ ดา

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

แบบบญั ชีรายการทด่ี
ช่ือองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ .....

ตาแหนง่ ท่ีดิน รายการท่ีดิน ลกั ษณะการทาประโยชน์ (ตร.ว.)

ที่ ประเภท เลขที่ เลขที่ดิน หนา้ สถานท่ีต้ัง จานวนเนอ้ื ที่ดิน อยู่อาศัย อ่ืนๆ วา่ งเปล่า/ ใช้ ท่ี
ที่ดิน เอกสาร สารวจ (หมู่ท่ี/ชมุ ชนุ , ไม่ทา ประโยชน์
สิทธ์ิ ประกอบ
ตาบล) ไร่ งาน ตร.ว. เกษตร ประโยชน์ หลาย
ประเภท
กรรม

หน้าที่ 142

ภ.ด.ส. ๓

ดนิ และสง่ิ ปลกู สร้าง
................................................

รายการสิ่งปลูกสร้าง

ประเภท ลักษณะ ลักษณะการทาประโยชน์ (ตร.ม.) อายุ
ส่ิงปลูกสร้าง ส่ิงปลูกสร้าง โรงเรือนหรือ
(ตามบัญชี ขนาดพื้นท่ีรวม วา่ งเปล่า/ สิ่งปลูกสร้าง หมาย
กรมธนารักษ์) (ตึก/ไม้/ ไมท่ า เหตุ
บ้านเลขที่ คร่ึงตึกคร่ึงไม้) ของสิ่งปลูกสร้าง ประกอบ อยอู่ าศัย อ่ืนๆ (ปี)
(ตร.ม.) เกษตรกรรม ประโยชน์

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี



หน้าท่ี 143
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 144

คำสั่ง (ช่ือองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ )
ท.่ี ........./....................

เร่ือง ให้ตรวจค้น ยดึ บญั ชี เอกสำรหรอื หลกั ฐำนอื่นของผูเ้ สียภำษที ด่ี ินและส่ิงปลกู สรำ้ ง

ด้วย.............................อยู่บ้านเลขท่ี...............หมู่ท่ี... ........ถนน............................................
ตรอก/ซอย...............................แขวง/ตาบล.......................เขต/อาเภอ....................จังหวัด.................. ...
สานกั งานอย่ทู ี่.........................................................................................................................................
ได้ค้างชาระภาษีที่ดินและส่ิงปลูกสร้าง ประจาปีภาษี...................ถึงปีภาษี.....................เป็นเงิน
.....................................บาท...........สตางค์ (.............................) เบี้ยปรับเป็นเงิน.....................................บาท
...........สตางค์ (.............................) และเงินเพิ่มเป็นเงิน.....................................บาท...........สตาง ค์
(.............................) โดย (ช่ือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน) ได้มีหนังสือเตือนครั้งสุดท้าย ที่............/...........
ลงวันท่ี.....เดือน...................พ.ศ. .... ให้ชาระค่าภาษีค้างชาระแล้ว แต่ผู้ค้างภาษีก็ยังไม่ชาระค่าภาษีค้างชาระ
ใหเ้ ป็นการเสร็จสิ้นไป

เพื่อประโยชน์ในการยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามมาตรา 62 แห่งพระราชบัญญัติภาษีที่ดิน
และสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 63 แห่งพระราชบัญญัติภาษีท่ีดินและ
สิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 (ช่ือตาแหน่งผู้บริหารท้องถิ่นที่ออกคาส่ัง) จึงสั่งให้เจ้าหน้าท่ีมาทาการตรวจค้น
ยึดบญั ชี เอกสารหรือหลักฐานอน่ื ของผเู้ สยี ภาษีดังกล่าว โดยมีนามและตาแหนง่ ดงั ต่อไปนี้

1. ...........................................................ตาแหน่ง........................................................
สงั กดั .........................................................................

2. ...........................................................ตาแหน่ง........................................................
สงั กัด.........................................................................

3. ...........................................................ตาแหน่ง........................................................
สังกดั .........................................................................
ณ สถานที่และหรอื เกยี่ วเน่ืองกับสถานทด่ี งั ต่อไปน้ี คอื ...............................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ในวันท่.ี ...............เดอื น....................พ.ศ. .......... เวลา......................น. ถึงเวลา........................ ..น.

ผู้ออกคาส่ัง : ลงชือ่ ..........................................
คาเตอื น : (..........................................)
(ตาแหน่งผบู้ รหิ ารทอ้ งถ่ิน)

ได้แก่ นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารสว่ นตาบล นายกเมอื งพัทยา ผูว้ ่าราชการกรงุ เทพมหานคร
หรอื ผู้บรหิ ารท้องถ่นิ อืน่ ตามท่ีมกี ฎหมายกาหนด แต่ไมร่ วมถึงนายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด
เจ้าหนา้ ทีผ่ ปู้ ฏบิ ตั ติ ามคาส่งั น้ี ตอ้ งแสดงบตั รประจาตัวของตน และแสดงคาส่งั ให้ตรวจคน้ นี้ให้แก่ผ้เู กยี่ วขอ้ ง
ทราบ และให้บนั ทึกวันเดอื นปที ่ีได้จดั การดงั กลา่ วไว้ในด้านหลังของคาสัง่ น้ดี ว้ ย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 145

ใบรับเอกสำรและหลกั ฐำนต่ำง ๆ

สถานท่บี ันทึก...................................................

วนั ท่.ี ..........เดอื น.............................พ.ศ. ....

ขา้ พเจา้ ..................................................................ตาแหน่ง...................................................

สงั กดั ............................................................พร้อมดว้ ย.................................................. .....................................
ตาแหน่ง.............................................................................................................................................................
ได้มาทาการตรวจสอบ ค้น หรือยึดบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอ่ืนเพื่อประโยชน์ในการยึดหรืออายัดทรัพย์สิน
ของผ้เู สียภาษีที่มไิ ด้ชาระภาษคี า้ งชาระ เบย้ี ปรับและเงินเพิ่ม ราย....................................................................
ซ่ึงมีภูมิลาเนาอยู่ท่ี เลขท่ี................ถนน............................................ตรอก/ซอย......................... ......แขวง/
ตาบล....................เขต/อาเภอ....................จงั หวดั ..................... สานกั งานอย่ทู ี่......................................
............................................................................................................................ ............. ตามคาสั่งให้ทาการ
ตรวจค้น ยึดบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอื่นของผู้เสียภาษีของ (ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน)
เลขท.่ี ....................ลงวันที่..............................

ในการตรวจค้นดงั กลา่ ว ปรากฏว่ามีเอกสารและหลักฐานดังต่อไปน้ที ่ีเชอื่ ว่ามสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกับ
ภาษีค้างชาระดังกล่าวด้วย จึงได้ยึดไปเพ่ือดาเนินการตรวจสอบมีรายการแสดงชื่อและปริมาณของส่ิงท่ียึดไว้
ดังต่อไปนี้……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บรรดาเอกสารหลักฐานท่ียึดไปนี้ หากท่านประสงค์จะตรวจสอบเพื่อดาเนินกิจการของท่าน
ขอให้ท่านตดิ ตอ่ ไดท้ ี่....................................(ช่อื องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ )..................................................... .

ลงชื่อ.......................................... ผยู้ ดึ
(..........................................)

ลงชอื่ ............................................ เจ้าของหรือผู้ครอบครองส่ิงท่ยี ึด
(..........................................)

ลงชือ่ .......................................... พยาน
(..........................................)

ลงชอ่ื .......................................... พยาน
(..........................................)

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 146

บันทกึ ผลกำรตรวจค้นยดึ บญั ชี เอกสำรหรอื หลักฐำนอน่ื ของผเู้ สยี ภำษที ด่ี ินและสงิ่ ปลูกสรำ้ ง

บันทึกฉบับน้ีได้ทาท่ี บ้านเลขท่ี............หมู่ที่.............ถนน.................................................
ตรอก/ซอย...............................แขวง/ตาบล....................เขต/อาเภอ....................จังหวัด..................... ..........
เมอ่ื วนั ที่....................................................เวลา...........................น.

วนั น้ี เมื่อเวลา.....................น. ข้าพเจ้า............................................................................. ......
ตาแหน่ง...................................................สังกัด..... .......................................................พร้อมด้วย
............................................................................................................ตาแหน่ง...................................................
ได้มาทาการตรวจสอบ ค้น หรือยึดบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอื่นเพื่อประโยชน์ในการยึดหรืออายัดทรัพย์สิน
ของผเู้ สียภาษีทม่ี ไิ ดช้ าระภาษคี ้างชาระ เบ้ยี ปรบั และเงนิ เพ่มิ ราย............................................................. .......
ซ่ึงมีภูมิลาเนาอยู่ที่ เลขท่ี................ถนน............................................ตรอก/ซอย...............................แขวง/
ตาบล....................เขต/อาเภอ....................จงั หวัด..................... สานกั งานอยทู่ .่ี ........................... ..........
......................................................................................................................................... ตามคาสั่งให้ทาการ
ตรวจค้น ยึดบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอื่นของผู้เสียภาษีของ (ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
เลขที่.....................ลงวนั ท.่ี .............................

ในการตรวจค้นคร้ังน้ี เจ้าหน้าทไ่ี ด้แสดงคาสัง่ ตรวจค้น และบตั รประจาตัวให้ผู้รับการตรวจค้น
ดแู ลว้ โดยมี....................................................................ซ่ึงมีความเกี่ยวพันกับ....................... ...........................
โดยมี..................................................................................เป็นผทู้ าการตรวจค้น

ผลการตรวจคน้ ปรากฏว่า..............................………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บรรดาบัญชี เอกสาร และหลกั ฐาน เจ้าหน้าทีไ่ ดด้ าเนินการโดย.........................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
และทรัพยส์ ินของผูเ้ สยี ภาษี (ถ้ามี) เจา้ หนา้ ทไ่ี ด้ดาเนินการโดย……………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ในการตรวจคน้ คร้งั นี้เจา้ หนา้ ที่มไิ ด้ทาให้เกิดความเสียหาย หรือบบุ สลายซ่ึงทรัพยส์ ินของผู้รับ
การตรวจคน้ แตอ่ ย่างใด เจา้ หนา้ ทไ่ี ด้อ่านใหฟ้ ัง และรับว่าถูกต้อง จงึ ลงลายมอื ชอ่ื ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน

ลงชือ่ .......................................... ผูน้ าการตรวจค้น
(..........................................)

ลงช่อื ............................................ เจา้ หนา้ ท่ี
(..........................................)

ลงชื่อ.......................................... ผรู้ บั การตรวจค้น
(..........................................)

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 147

หน้า ๑ ๑๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วา่ ดว้ ยการจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาพ้นื ทใ่ี นระดับอาเภอและตาบล
พ.ศ. 2562

โดยที่มาตรา ๕๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐
กาหนดให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ในระดับชาติและความต้องการของประชาชนในท้องถ่ินในจังหวัด ประกอบกับตามยุทธศาสตร์ชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๘๐ ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐ ข้อ 4.2 กาหนดใหภ้ าครฐั บรหิ ารงานแบบบูรณาการโดยมียทุ ธศาสตรช์ าตเิ ปน็ เปา้ หมาย
และเชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ ทุกพื้นท่ี จึงสมควรกาหนดแนวทาง
เพือ่ บรู ณาการในการจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาในระดบั พน้ื ท่ีหมบู่ ้าน ชมุ ชน ตาบล และอาเภอ
ให้เกิดความเช่ือมโยงสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด ภาค และประเทศ
ไปในทศิ ทางเดยี วกันได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เกิดความคุม้ ค่า นาไปสูค่ วามม่ันคง ม่ังค่ัง และยง่ั ยนื

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. 2534 และในฐานะท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญตั ิสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และมาตรา 6
แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบยี บบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย
จึงออกระเบียบไว้ ดงั นี้

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสาน
แผนพฒั นาพน้ื ทใ่ี นระดบั อาเภอและตาบล พ.ศ. 2562

ข้อ ๒ ระเบยี บนใี้ หใ้ ช้บงั คับต้งั แตว่ นั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือสั่งการหรือคาสั่งอ่ืนใดในส่วนที่กาหนดไว้แล้ว
ในระเบียบน้หี รอื ซงึ่ ขัดหรอื แยง้ กบั ระเบียบนีใ้ ห้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบน้ี

“แผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี” หมายความว่า แผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนา
ตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอาเภอ และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น
ที่ดาเนนิ การในพน้ื ท่อี าเภอ

“การจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนที่” หมายความว่า การจัดทาแผน
และประสานแผนพัฒนาหมบู่ ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน แผนพัฒนาอาเภอ
และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น รวมทั้งองค์กรภาคเอกชนและประชาชน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 148

หน้า ๒ ๑๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

ทด่ี าเนนิ การในพ้ืนทีใ่ ห้มคี วามเช่ือมโยงและสอดคลอ้ งในทกุ ระดบั เปน็ แผนเดียวกนั เพื่อให้สะท้อนปญั หา
และความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ และสอดคล้องกบั แนวทางตามแผนพัฒนาจังหวัด แผนพฒั นา
กลุ่มจงั หวดั และแผนพัฒนาภาค ทเี่ ป็นการบูรณาการการทางานของทุกหนว่ ยงานในพืน้ ที่

“หมบู่ า้ น” หมายความวา่ หมู่บ้านตามกฎหมายว่าดว้ ยลกั ษณะปกครองทอ้ งท่ี
“ชุมชน” หมายความวา่ ชุมชนท่ีไมม่ ีตาแหน่งกานัน ผใู้ หญบ่ ้าน และอย่ใู นพน้ื ที่ความรบั ผิดชอบ
ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
“องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ” หมายความว่า องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด เทศบาล องคก์ าร
บริหารส่วนตาบล เมืองพัทยา และราชการส่วนท้องถ่ินอ่ืนตามที่มีกฎหมายกาหนดแต่ไม่รวมถึง

กรงุ เทพมหานคร
“คณะกรรมการชุมชน” หมายความวา่ คณะกรรมการของชมุ ชนท่ีอยใู่ นพนื้ ท่ีความรับผิดชอบ

ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในเขตเทศบาลและเมอื งพัทยา
“คณะกรรมการหมู่บ้าน” หมายความว่า คณะกรรมการหมู่บ้านตามกฎหมายวา่ ด้วยลักษณะ

ปกครองท้องที่ และคณะกรรมการกลางหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเองตามกฎหมายว่าด้วย
จดั ระเบยี บบริหารหม่บู า้ นอาสาพฒั นาและปอ้ งกนั ตนเอง

“แผนพัฒนาอาเภอ” หมายความว่า แผนพัฒนาที่รวบรวมรายการโครงการและแผนงานต่าง ๆ
ของอาเภอที่สะท้อนถึงปัญหาและความต้องการของประชาชน ตลอดจนความต้องการของทุกภาคสว่ น
ในพ้ืนท่ีอาเภอโดยแผนพัฒนาอาเภอจาเป็นต้องจัดทาเพื่อให้เป็นเครื่องมือในการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์
และทิศทางการพฒั นาของอาเภอในอนาคต

“แผนความต้องการระดับอาเภอ” หมายความว่า รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่าง ๆ
ท่ีจาเป็นต้องดาเนินการในพื้นท่ีอาเภอในแต่ละปีงบประมาณที่ระบุถึงปัญหาและความต้องการของ

ประชาชนในพื้นท่ีอาเภอและเป็นไปตามลาดับความสาคัญ ท่ีมาจากแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน
แผนพฒั นาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนของส่วนราชการหรือหนว่ ยงานอื่น ทด่ี าเนนิ การในพืน้ ท่ี
โดยจัดกลุ่มของปัญหาและความต้องการออกเป็นหมวดหมู่และส่งไปยังจังหวัดหรอื หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
เพ่ือประกอบการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดหรือแผนปฏิบัติ
ราชการประจาปขี องส่วนราชการ

“แผนปฏิบัติงานประจาปีของอาเภอ” หมายความว่า แผนพัฒนาที่รวบรวมโครงการหรือกิจกรรม
ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอ่ืนของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ได้รับการจัดสรร
งบประมาณรายจ่ายประจาปีที่ต้องดาเนินการในพื้นท่ีอาเภอ และรายงานให้คณะกรรมการบริหารงาน
จังหวัดแบบบรู ณาการทราบ

“แผนพัฒนาท้องถิ่น” หมายความว่า แผนพัฒนาท้องถ่ินตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าดว้ ยการจัดทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 149

หน้า ๓ ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

“แผนพัฒนาตาบล” หมายความว่า แผนพัฒนาที่รวบรวมรายการแผนงานหรือโครงการ
หรือกิจกรรม ทจ่ี าเป็นต้องทาเพือ่ การพัฒนาแกไ้ ขปญั หาและความต้องการของประชาชนในพนื้ ที่ระดับตาบล
ท่ีมาจากแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น
ท่ดี าเนนิ การในพ้ืนท่ี

“แผนพัฒนาหมู่บ้าน” หมายความว่า แผนพัฒนาที่กาหนดแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม
ท่ีมาจากกระบวนการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเองท่ีคณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชนในหมู่บ้านร่วมคิด
วิเคราะห์ปัญหา ศักยภาพความพร้อมของหมู่บ้าน ภายใต้เวทีประชาคมหมู่บ้าน และข้อมูลที่คน
ในหมู่บ้านจัดเก็บ รวมถึงข้อมูลจากแผนชนิดต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นแผนท่ีส่วนราชการ
หนว่ ยงาน องคก์ รต่าง ๆ ให้การสนับสนุน หรือจดั ทาข้นึ เพือ่ รวบรวมให้เป็นกรอบแนวทางการปอ้ งกนั
แก้ไขปญั หา และพฒั นาหมูบ่ า้ นให้สอดคลอ้ งกบั ปญั หาและความต้องการที่แท้จรงิ ของหมู่บา้ น

“แผนชุมชน” หมายความว่า แผนชุมชนตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา
แผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

“การจัดทาเวทีประชาคมหมูบ่ ้านและชมุ ชน” หมายความว่า การจัดทาเวทีประชาคมร่วมกนั
ระหว่างประชาชน คณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน และส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น
ท่ีดาเนินการในพื้นที่ เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี เพ่ือใช้
ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บา้ น แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนของส่วนราชการหรือหน่วยงานอืน่
ทด่ี าเนินการในพื้นท่ี

ขอ้ ๕ ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจตีความ วินิจฉัยปัญหา
กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏิบตั เิ พือ่ ดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามระเบยี บนี้

หมวด 1
การจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาหมู่บา้ นและแผนชมุ ชน

ขอ้ 6 ในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้เป็นไปตามแนวทาง
ดงั นี้

(1) จัดทาเวทีประชาคมหมู่บ้านและชุมชน เพ่ือรวบรวมข้อมูลปัญหาความต้องการต่าง ๆ

ของหม่บู ้านและชุมชน ทงั้ ในด้านเศรษฐกจิ สงั คมและคุณภาพชีวติ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
ความม่ันคงและความสงบเรียบรอ้ ย และการบริหารจดั การ หรืออน่ื ๆ

(2) บรู ณาการจัดทาแผนพัฒนาหมูบ่ า้ นและแผนชุมชน ให้นาขอ้ มลู จากเวทีประชาคมหมูบ่ า้ น
และชุมชน ข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) มาใช้เป็น
ข้อมลู พ้ืนฐานในการจดั ทาแผนพฒั นาหมู่บา้ นและแผนชมุ ชน พรอ้ มทง้ั จัดลาดบั ความสาคญั เพื่อรองรบั
การพัฒนาและแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี รวมทั้งตอบสนองนโยบายสาคัญเร่งด่วนท่ีจะแก้ไขปัญหา และ
พฒั นาระดับหมูบ่ า้ นและชุมชนของรฐั บาล

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 150

หน้า ๔ ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกจิ จานุเบกษา

(3) ส่งแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชนตาม (2) ให้ ก.บ.ต. และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เพ่อื เป็นขอ้ มลู ในการจดั ทาแผนพัฒนาตาบล และแผนพฒั นาท้องถ่นิ

(4) ประสานจัดทาโครงการเก่ียวกับการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน เพ่ือขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากหน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และหน่วยงานอ่นื ๆ

(5) ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาหม่บู ้านและแผนชมุ ชนให้เป็นปัจจุบนั
(6) ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชนทุกปี เพ่ือให้แผนงานหรือโครงการ
ระดับหมู่บ้านและชุมชน เป็นปัจจุบัน และมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการพัฒนา
ของประชาชนในหมู่บา้ นและชมุ ชน
ในการจัดทาแผนตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการหมู่บ้าน เป็นองค์กรหลักท่ีรับผิดชอบ
ในการบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน หรือให้คณะกรรมการชุมชน หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ช่วยดาเนินการบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมบู่ ้านและแผนชุมชนก็ได้
ข้อ 7 ให้นายอาเภอและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ดาเนินการพัฒนาศักยภาพ
คณะกรรมการหมู่บ้าน และคณะกรรมการชุมชน หรือหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องในการบูรณาการ
และประสานงานในการจดั ทาแผนพัฒนาหมู่บา้ นและแผนชุมชน
ข้อ 8 เพ่ือให้เกิดการบูรณาการในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้อาเภอ
และองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เป็นหนว่ ยงานหลกั รว่ มกันในการจัดทาแผนพฒั นาหมูบ่ า้ นและแผนชมุ ชน
ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เป็นหน่วยงานสนับสนุนในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน
และแผนชุมชน
ทั้งน้ี แนวทางการจดั ทาแผนพัฒนาหมบู่ า้ นและแผนชุมชน ใหเ้ ป็นไปตามทกี่ ระทรวงมหาดไทย
กาหนด

หมวด 2
การจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาตาบล

ข้อ 9 ในตาบลหน่ึง ให้มีคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ ขึ้นคณะหน่ึง

เรียกโดยย่อวา่ ก.บ.ต. โดยประกอบดว้ ย

(๑) ปลดั อาเภอผรู้ บั ผดิ ชอบประจาตาบลทีน่ ายอาเภอมอบหมาย ประธานกรรมการ

(2) ปลดั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในตาบล กรรมการ

(3) ข้าราชการทป่ี ฏบิ ตั งิ านในตาบลท่ีนายอาเภอแต่งต้ังจานวนไมเ่ กินสามคน กรรมการ

(4) กานนั ผู้ใหญ่บา้ นในตาบล กรรมการ

(5) ผู้ทรงคณุ วุฒิทนี่ ายอาเภอแต่งตง้ั จานวนไมเ่ กินหา้ คน กรรมการ

(6) พฒั นากรผู้รบั ผดิ ชอบตาบล กรรมการและเลขานุการ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 151

หน้า ๕ ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

ในการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตาม (5) ให้คานึงถึงผู้มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการพัฒนา
ชุมชนในระดบั ตาบล หรอื มปี ระสบการณ์ในการจดั ทาแผนพัฒนาในระดบั ตาบล

องค์ประชุมและการประชุมของ ก.บ.ต. ให้นาหมวด 5 คณะกรรมการทม่ี ีอานาจดาเนนิ การ
พิจารณาทางปกครองตามกฎหมายว่าดว้ ยวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง มาใช้บงั คบั โดยอนุโลม

ขอ้ 10 ให้ ก.บ.ต. มีอานาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) รวบรวมข้อมูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่
ขอ้ มลู ความจาเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) ขอ้ มลู พ้นื ฐานระดบั หมบู่ า้ น (กชช.2ค) และข้อมลู อื่น ๆ เพื่อใชเ้ ป็น
ขอ้ มลู ในการจัดทาแผนพฒั นาตาบล
(2) รวบรวมแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน และแผนพัฒนาท้องถ่ินในตาบล เพ่ือใช้
ประกอบการจัดทาแผนพฒั นาตาบล
(3) จัดทาแผนพัฒนาตาบล ให้นาข้อมูลจาก (1) และ (2) มาวิเคราะห์หรือสังเคราะห์
กลั่นกรอง ประมวลผล เพ่ือกาหนดทิศทางการพัฒนาตาบล และจัดลาดับความสาคัญของแผนงาน
หรือโครงการระดับตาบล รวมทั้งจัดทาแผนงานหรือโครงการในการแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี ที่มีความ
คาบเกี่ยวต้ังแต่สองหมู่บ้านหรือสองชุมชนข้ึนไป เพื่อรองรับการพัฒนาและตอบสนองนโยบาย
สาคญั เรง่ ดว่ นในการแกไ้ ขปัญหาและพัฒนาในตาบล
(4) จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับตาบลท่ีสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิ่นในพ้ืนทีร่ ะดบั ตาบล และจัดทาบญั ชปี ระสานโครงการพัฒนา ส่งให้องคก์ รปกครอง
สว่ นท้องถนิ่ พจิ ารณาบรรจุไว้ในแผนพฒั นาท้องถน่ิ
(5) จัดส่งแผนพัฒนาตาบล ให้ ก.บ.อ. ใช้ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผน
ความตอ้ งการระดับอาเภอ
(6) ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาตาบลทุกปี เพื่อให้แผนงานหรือโครงการระดับตาบล
เป็นปจั จุบัน
ขอ้ 11 ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล
และดาเนินการพฒั นาศักยภาพ ก.บ.ต. ในการจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาตาบล
ทัง้ น้ี แนวทางในการจัดทาแผนพฒั นาตาบล ให้เป็นไปตามที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด

หมวด 3
การจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาอาเภอ

ข้อ 12 ในอาเภอหนึ่ง ให้มีคณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ ขึ้นคณะหนึ่ง
เรียกโดยย่อวา่ ก.บ.อ. โดยประกอบด้วย
(๑) นายอาเภอ ประธานกรรมการ
(๒) ปลัดอาเภอหวั หนา้ กลมุ่ งานหรอื ปลดั อาเภอ รองประธานกรรมการ
หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารงานปกครอง
(๓) พัฒนาการอาเภอ กรรมการ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 152

หน้า ๖ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกจิ จานุเบกษา

(4) ท้องถ่นิ อาเภอ กรรมการ

(5) หวั หนา้ สว่ นราชการ รฐั วิสาหกจิ หรือหน่วยงานอ่ืนของรฐั ในระดบั อาเภอ กรรมการ

ทน่ี ายอาเภอแตง่ ต้ังจานวนไม่เกินสบิ สองคน

(6) ผแู้ ทนผบู้ ริหารองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในอาเภอซงึ่ คดั เลอื กกนั เอง กรรมการ

ประเภทละหนง่ึ คน ยกเวน้ องค์การบริหารสว่ นจังหวดั และเมืองพัทยา

(7) ผู้ทรงคณุ วฒุ ทิ น่ี ายอาเภอแต่งต้งั จานวนไมเ่ กินห้าคน กรรมการ

(8) ปลดั อาเภอผู้รบั ผดิ ชอบสานกั งานอาเภอ กรรมการและเลขานุการ

(9) ขา้ ราชการสานักงานส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ จงั หวดั กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

ทท่ี อ้ งถ่นิ จงั หวดั มอบหมายจานวนหน่ึงคน

(10) ขา้ ราชการในสานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

ทนี่ ายอาเภอแต่งต้ังจานวนหนึง่ คน

กรรมการตาม (5) (6) และ (7) มีวาระอยูใ่ นตาแหน่งคราวละห้าปี

ในการแต่งต้งั ผู้ทรงคุณวฒุ ติ าม (7) ให้นายอาเภอแต่งต้งั โดยคานึงถงึ ผู้ที่มีความรคู้ วามสามารถ

เก่ียวกับการพัฒนาระดับอาเภอ ด้านการศึกษา หรือมีประสบการณ์ในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ

รวมทั้งดา้ นภาคประชาสงั คมและเอกชน

องค์ประชุมและการประชมุ ของ ก.บ.อ. ให้นาหมวด 5 คณะกรรมการที่มีอานาจดาเนนิ การ

พิจารณาทางปกครองตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาใชบ้ ังคับโดยอนุโลม

ขอ้ 13 ให้ ก.บ.อ. มอี านาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้

(1) วางแนวทางปฏิบตั แิ ละอานวยการการบรหิ ารงานแบบบูรณาการในอาเภอ รวมท้ังกาหนด

กรอบแนวทางปฏิบัติในการประสานแผนพัฒนาพ้ืนท่ีของภาคส่วนต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีอาเภอให้เป็นไป

ตามหลกั การ นโยบายและกฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง

(2) จัดทาแผนพัฒนาอาเภอและแผนความต้องการระดับอาเภอ โดยกาหนดทิศทาง

การพัฒนาอาเภอ การประสานและรวบรวมข้อมูลจากปัญหาและความต้องการของประชาชน

แผนพฒั นาหมู่บ้าน แผนชมุ ชน แผนพฒั นาตาบล แผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ และแผนพัฒนาของส่วนราชการ

หรือหน่วยงานอ่ืนทดี่ าเนินการในพนื้ ทอ่ี าเภอ

(3) จัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปขี องอาเภอ โดยรวบรวมโครงการหรอื กิจกรรมของส่วนราชการ

รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ

รายจ่ายประจาปีท่ีต้องดาเนินการในพ้ืนท่ีอาเภอ และรายงานให้ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด

แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) ทราบ

(4) ประสานกับทุกภาคส่วนในพื้นที่ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือนาแผนพัฒนา

อาเภอไปส่กู ารปฏิบัติ รวมทั้งกากับ ตดิ ตามผล และให้คาแนะนาหน่วยงานตา่ ง ๆ ทด่ี าเนินงานพฒั นา

พืน้ ทีร่ ะดบั อาเภอในดา้ นต่าง ๆ เพื่อการพฒั นาและการแกไ้ ขปญั หาในพ้ืนทอี่ ยา่ งยงั่ ยืน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 153

หน้า ๗ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

(5) ตรวจสอบความซ้าซ้อนของแผนงานหรือโครงการของหน่วยงานต่าง ๆ และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดาเนินการในพ้ืนที่อาเภอ หากตรวจพบความซ้าซ้อนของแผนงานหรือโครงการ
ให้ ก.บ.อ. เร่งแจง้ ขอ้ เทจ็ จรงิ พร้อมท้ังเสนอความเหน็ ประกอบไปยงั หนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ งเพื่อพิจารณา
ดาเนินการต่อไป

(6) ปฏิบัติหน้าท่ีอื่น ๆ ตามท่ีคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.)
มอบหมาย

(7) แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการเพ่อื ปฏบิ ัติหนา้ ที่ต่าง ๆ ตามท่ี ก.บ.อ. มอบหมาย
คณะอนุกรรมการตาม (7) อย่างน้อยต้องประกอบด้วย ผู้แทนจากส่วนราชการภายในอาเภอ

ผู้แทนจากองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ และผู้แทนภาคประชาสงั คม
ขอ้ 14 ให้ ก.บ.อ. นากรอบทิศทางการพัฒนาอาเภอและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด

มาเป็นแนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับอาเภอ โดยกาหนดให้
แผนพัฒนาอาเภอมรี ะยะเวลาสอดคลอ้ งกับห้วงเวลาของแผนพัฒนาจงั หวัด

การกาหนดโครงร่างแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับอาเภอ ให้เป็นไปตามท่ี
กระทรวงมหาดไทยกาหนด

ข้อ 15 ให้ ก.บ.อ. นาแผนพัฒนาอาเภอ ตามข้อ 14 เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา
ให้ความเหน็ ชอบ

เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาอาเภอตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ ก.บ.อ.
ประกาศใช้แผนพัฒนาอาเภอและจัดส่งแผนพัฒนาอาเภอให้หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ
รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนท่ี เพ่ือให้ทุกภาคส่วนนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาพ้ืนที่
ระดับอาเภอในทศิ ทางการพฒั นาอาเภอเดยี วกนั

ขอ้ 16 ให้ ก.บ.อ. จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับอาเภอในความรบั ผิดชอบขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และจัดทาบัญชปี ระสานโครงการพัฒนา สง่ ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

ขอ้ 17 ให้ ก.บ.อ. จัดส่งแผนความต้องการระดับอาเภอ ให้ ก.บ.จ. หรือหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้องเพ่ือเป็นข้อมูลในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด
หรือแผนปฏิบัตริ าชการของหน่วยงานนน้ั ๆ

ข้อ 18 ให้อาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และ
ดาเนินการพฒั นาศกั ยภาพของ ก.บ.อ. ในการจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาอาเภอ

ทง้ั นี้ การจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ให้เปน็ ไปตามแนวทางที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด
ข้อ 19 ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจารณาโครงการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขอรับ
การประสานโครงการตามบัญชีประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือโครงการที่
คณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวดั แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพ่อื บรรจไุ วใ้ นแผนพัฒนาขององค์การบรหิ าร
ส่วนจังหวัด พร้อมทั้งตรวจสอบโครงการดังกล่าวเพื่อไม่ให้โครงการซ้าซ้อนกับแผนพัฒนาจังหวัด

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 154

หน้า ๘ ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

และแผนปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืน และให้จัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา
เพอ่ื จัดสง่ ให้หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งพจิ ารณาดาเนินการ

ขอ้ 20 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความสาคัญกับการสร้างและพัฒนาศักยภาพ
ในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นให้เป็นไป
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการจดั ทาแผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

หมวด ๔
การบรู ณาการและประสานแผนพฒั นาในระดับพนื้ ท่ี

ขอ้ 21 เพื่อให้เกิดการบูรณาการและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี ให้ดาเนินการ
ตามแนวทาง ดังน้ี

(๑) จดั ทาเวทปี ระชาคม เพือ่ ให้ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการระดมความคดิ เหน็ ของประชาชน
เพ่อื ให้ได้มาซงึ่ ปัญหา และความตอ้ งการจากประชาชนในพ้ืนที่

(๒) ให้มีการประสานแผนในระดับพื้นที่ โดยการรวบรวมและจัดลาดับความสาคัญของปญั หา

และความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี ผ่านกลไกการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน
แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่นิ และแผนความต้องการระดับอาเภอ เพ่ือให้แผนมคี วามเชอื่ มโยง
สอดคล้องกนั ในทกุ ระดบั เป็นแผนเดียวกนั

(๓) ในกรณแี ผนงานหรอื โครงการ หรือพ้ืนท่ี มีความซา้ ซอ้ นกันในการจดั ทาแผนระดับอาเภอ
กับแผนพัฒนาท้องถิ่น ใหห้ ารอื รว่ มกันระหวา่ งคณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการกบั องคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นที่เกย่ี วขอ้ ง

(4) บูรณาการการงบประมาณ และประสานความรว่ มมือเพอื่ ขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณ
ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนพฒั นาในระดบั พืน้ ที่ โดยการแสวงหาความรว่ มมือ และการบูรณาการจากทกุ ภาคสว่ น

ข้อ 22 ในการดาเนินการตามข้อ ๒1 (๑) ให้นายอาเภอกาหนด วัน เวลา และสถานท่ี
ในการจัดทาเวทีประชาคมร่วมกันของหมู่บ้าน ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนที่
และอาจประสานใหส้ ว่ นราชการหรือหน่วยงานอนื่ ท่ดี าเนินการในพื้นทเ่ี ขา้ ร่วมเวทีประชาคมด้วยก็ได้

การจัดทาเวทีประชาคมตามวรรคหนึ่งในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้นายกเทศมนตรี

หรือนายกเมืองพัทยากาหนด วัน เวลา และสถานท่ีในการจัดทาเวทีประชาคมของชุมชน และเมืองพัทยา
และอาจประสานสว่ นราชการหรือหนว่ ยงานทด่ี าเนนิ การในพนื้ ที่เขา้ รว่ มเวทีประชาคมด้วยก็ได้

ข้อ 23 ปฏิทินการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาตามระเบียบนี้ ให้เป็นไปตามท่ี
กระทรวงมหาดไทยกาหนด

ข้อ ๒4 ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด
โดยนาแผนพัฒนาอาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ แผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัด
มาประกอบการจดั ทาแผนพัฒนาท่ีบรู ณาการร่วมกัน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 155

หน้า ๙ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๙ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

หมวด ๕
การสนบั สนนุ การดาเนนิ การ

ข้อ 25 การดาเนินการของคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน ก.บ.ต. และ
ก.บ.อ. หรอื การดาเนินการอื่นใดทเ่ี ปน็ ไปภายใตร้ ะเบียบนี้ ใหห้ นว่ ยงานหลักซึ่งรบั ผิดชอบในการจัดทาแผน
ในแตล่ ะระดับและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องสนับสนุนงบประมาณตามความเหมาะสม

ขอ้ 26 ให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน
และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน รวมท้ัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนทางวิชาการ
วัสดุอุปกรณ์ และพฒั นาบุคลากรท่เี กีย่ วขอ้ งตามความเหมาะสม

ขอ้ 27 จังหวัด ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พิจารณา
นาโครงการหรือกิจกรรมท่ีอยู่ในแผนพัฒนาอาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ แผนงานโครงการ
ระดับตาบล แผนงานหรือโครงการระดับหมู่บ้านและชุมชน ไปประกอบการจัดตั้งคาของบประมาณ
หรือจัดทางบประมาณรายจา่ ยประจาปตี ามอานาจหนา้ ที่ โดยใหค้ วามสาคญั เปน็ ลาดบั ตน้ เนอ่ื งจากเปน็
แผนงานโครงการทีผ่ ่านกระบวนการประชาคมของประชาชนในพนื้ ที่

หมวด ๖
การกากบั ดูแล

ข้อ ๒8 ให้นายอาเภอมีหนา้ ทก่ี ากับดูแล และใหค้ าแนะนาในการประสานแผนพัฒนาหมบู่ า้ น

แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอาเภอ ที่ดาเนินการในพื้นท่ีอาเภอ
เพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ การตามระเบียบน้เี กิดผลสมั ฤทธิ์

ข้อ 29 เพ่ือให้การประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนที่เกิดผลสัมฤทธ์ิ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
มีอานาจหน้าทีก่ ากบั ดูแล และให้คาแนะนาท่ีเปน็ ประโยชน์ตามหลักเกณฑ์ ดังน้ี

(1) บูรณาการการจัดทาแผนพัฒนาในระดับพื้นที่กับทกุ ภาคส่วน และสอดคล้องเช่อื มโยงกบั
แผนพัฒนาจงั หวัด

(2) ประเมนิ ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผล และผลกระทบ ที่เกดิ ข้นึ จากการประสานแผนพฒั นา
ในระดบั พืน้ ที่

(3) การมสี ว่ นร่วมของประชาชน และการบริหารกิจการบา้ นเมอื งที่ดี
(4) พิจารณาให้หนว่ ยงานใดเป็นผ้ดู าเนินการ ในกรณีท่ีมีความซา้ ซ้อนกันในเรื่องงบประมาณ
ระยะเวลาดาเนนิ การ ผ้ดู าเนนิ การ หรอื โครงการ
ขอ้ ๓0 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอาเภอกากับดูแล และให้คาแนะนาเพื่อให้องค์กร

ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นดาเนินการจดั ทาแผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ และการประสานแผนพัฒนาท้องถนิ่ ให้สอดคลอ้ ง
กับแผนพัฒนาในระดับจังหวัด เพ่ือให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎหมายว่าด้วยการจัดต้ังองค์กรปกครอง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 156

หน้า ๑๐ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

ส่วนท้องถิ่น และกฎหมายว่าด้วยการกาหนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถน่ิ

ขอ้ ๓1 ให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ร่วมกับกรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน
และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ติดตามและประเมินผลคุณภาพแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน
แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนพัฒนาอาเภอ เป็นประจาทุกปี เพ่ือปรับปรุงคุณภาพ
ใหส้ อดคล้องกับความต้องการและปัญหาของประชาชนในพน้ื ที่

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๓2 ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการบริหารงานอาเภอ (กบอ.) ท่ีนายอาเภอ
แต่ละอาเภอมีคาสั่งแต่งต้ังตามหนังสือกรมการปกครอง ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๓๐๕.๑/ว ๙๗๔๕
ลงวันท่ี ๑๘ เมษายน ๒๕๖๒ เร่ือง การจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)
ฉบับทบทวนในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปฏิบัตหิ นา้ ท่คี ณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบรู ณาการ (ก.บ.อ.)
ตามระเบียบน้ีไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ
(ก.บ.อ.) ตามระเบียบนี้ แต่ทัง้ นี้ ต้องไมเ่ กนิ สามปีนับแตว่ นั ทร่ี ะเบยี บน้ใี ช้บังคับ

ประกาศ ณ วนั ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก อนพุ งษ์ เผ่าจนิ ดา

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 157

หน้า ๓ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๕ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

ว่าดว้ ยอาสาสมัครบรบิ าลทอ้ งถ่ินขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
และการเบิกค่าใช้จา่ ย
พ.ศ. 2562

โดยที่เป็นการสมควรกาหนดให้มีระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยอาสาสมัครบรบิ าลทอ้ งถิ่น
ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และการเบกิ ค่าใชจ้ ่าย พ.ศ. 2562

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖๗ (9) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ซึ่งแกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญตั ิเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2505 มาตรา 69 และมาตรา 77
แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา ๕ มาตรา ๘๕ (10) และมาตรา ๘๘
แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และมาตรา ๖ มาตรา 7๔ (9)
และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยจึงวางระเบียบไว้ ดังตอ่ ไปนี้

ขอ้ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น

ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และการเบกิ คา่ ใชจ้ ่าย พ.ศ. 2562”
ข้อ ๒ ระเบียบน้ใี ห้ใชบ้ งั คับตง้ั แตว่ ันถัดจากประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป
ขอ้ ๓ ในระเบยี บนี้
“องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” หมายความว่า เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล และ

องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั
“ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความว่า นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนตาบล และ

นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั
“ผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง” หมายความว่า ผู้สูงอายุตามกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุที่ไม่สามารถ

ชว่ ยเหลือตนเองไดเ้ ต็มท่ี มีภาวะพง่ึ พิง ซึ่งได้ผ่านประเมนิ ตามทีค่ ณะกรรมการผสู้ ูงอายแุ ห่งชาตกิ าหนด
“อาสาสมัครบริบาลทอ้ งถนิ่ ” หมายความวา่ บุคคลท่ีทาหน้าท่ีชว่ ยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

ในการดูแลผู้สูงอายุที่มภี าวะพึ่งพิง ซ่ึงผ่านการอบรมหลักสูตรท่ีเก่ียวกับการดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง
ในระยะยาว ตามท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด ไม่ใช่เจ้าหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ

ไม่อยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ และกฎหมาย
ว่าดว้ ยการประกันสังคม

“การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” หมายความว่า การบริการดูแลที่บ้านและชุมชน
เพ่อื ให้บรกิ ารแกผ่ ู้สูงอายทุ ่ีมภี าวะพึ่งพิง ดา้ นอนามัยพ้ืนฐาน การฟ้ืนฟสู มรรถภาพ และกายภาพบาบัด
ตามประเภทและกจิ กรรมบริการที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด ตลอดจนแนะนาการดูแลและชว่ ยเหลือ
ผู้สงู อายทุ ี่ไม่ไดเ้ ปน็ การรกั ษาพยาบาล

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 158

หน้า ๔ ๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๔๕ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ้ 4 การดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง อัตราค่าตอบแทน และการจ่ายค่าตอบแทน
ของอาสาสมัครบริบาลท้องถิน่ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เง่ือนไข และ
อตั ราตามทีก่ ระทรวงมหาดไทยกาหนด

ในการกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข อัตราค่าตอบแทน และการจ่ายค่าตอบแทน
ตามวรรคหน่ึง กระทรวงมหาดไทยอาจหารือร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น กรมกิจการผู้สูงอายุ
กรมอนามัย กรมการแพทย์ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการ
การกระจายอานาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ด้วยกไ็ ด้

ข้อ 5 อาสาสมัครบริบาลท้องถ่ินที่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทน เพื่อเป็นค่าป่วยการชดเชย

การงานหรือเวลาที่เสียไป เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง ได้แก่
อาสาสมัครบริบาลท้องถ่ินที่มีภูมิลาเนาอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพื้นท่ีหรือพื้นที่ใกล้เคียง
ที่ไดร้ บั คาสัง่ ชว่ ยสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิหนา้ ทใ่ี นการดูแลผูส้ งู อายทุ ่ีมภี าวะพึ่งพิงจากผ้บู รหิ ารทอ้ งถนิ่ แห่งนนั้

สาหรับค่าตอบแทนตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามอัตราค่าตอบแทนตามข้อ 4 โดยให้ตั้ง
งบประมาณในหมวดค่าตอบแทน ประเภทค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติราชการ อันเป็นประโยชน์แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน ท้ังน้ี ให้คานึงถึงฐานะทางการเงินการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตามความเหมาะสม และความจาเป็นดว้ ย

ข้อ 6 องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นอาจจดั ใหม้ กี ารอบรมหลกั สตู รที่เก่ียวกบั การดแู ลผู้สูงอายุ
ที่มีภาวะพ่ึงพิงในระยะยาว หรือจัดรว่ มกับองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินอ่ืนหรือหน่วยงานอ่ืน เพ่ืออบรม
ให้ความรู้แก่บุคคลในท้องถ่ินของตนท่ีประสงค์จะเปน็ อาสาสมัครบรบิ าลท้องถิ่นหรือเพื่ออบรมให้ความรู้
เพิ่มเติมให้แก่อาสาสมัครบริบาลท้องถ่นิ ของตนก็ได้ โดยให้เปน็ ไปตามท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด

ค่าใช้จ่ายตามวรรคหน่ึง ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย

ในการฝกึ อบรมและการเข้าร่วมการฝึกอบรมของเจา้ หนา้ ท่ที ้องถิ่น
ขอ้ 7 การเบิกจ่ายเงินและหลักฐานการจ่ายตามข้อ 5 และข้อ 6 ให้ถือปฏิบัติตาม

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่าย การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และ
การตรวจเงินขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน

ข้อ 8 ใหป้ ลดั กระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และใหม้ อี านาจตคี วาม วนิ จิ ฉัย
ปญั หากาหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏบิ ตั ิ เพ่ือดาเนินการให้เปน็ ไปตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ท่ี 19 เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก อนพุ งษ์ เผ่าจนิ ดา

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 159

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๗๕ ง หน้า ๒ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย

ว่าดว้ ยเงนิ ค่าตอบแทนเจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบตั งิ านใหแ้ กห่ นว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ
ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
พ.ศ. 2562

โดยที่เป็นการสมควรกําหนดให้มีระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าท่ี
ทีป่ ฏิบัติงานให้แก่หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนง่ึ มาตรา ๗๔ (9) และมาตรา ๗๖ วรรคหนงึ่
แห่งพระราชบัญญัติองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๗ (9) แห่งพระราชบัญญัตเิ ทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๖๙
และมาตรา ๗๗ แหง่ พระราชบัญญตั เิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ วรรคหนง่ึ มาตรา ๘๕ (10)
และมาตรา ๘๘ วรรคหน่งึ แหง่ พระราชบัญญัตสิ ภาตําบลและองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยออกระเบียบไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่
ทป่ี ฏิบตั งิ านใหแ้ กห่ น่วยบริการสาธารณสุขขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2562”

ข้อ ๒ ระเบยี บน้ใี ห้ใชบ้ ังคบั ตั้งแตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป
ขอ้ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือหนังสือสั่งการใด ๆ ท่ีมีกําหนดไว้แล้ว
ในระเบียบน้หี รอื ซงึ่ ขัดแย้งกบั ระเบยี บนี้ ใหใ้ ช้ระเบยี บนี้แทน
ขอ้ ๔ ในระเบียบนี้
“องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตําบล
“ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี
และนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บล
“ปลัดองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ” หมายความวา่ ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปลัดเทศบาล
และปลดั องค์การบริหารส่วนตําบล
“หัวหน้าส่วนราชการ” หมายความว่า ผู้อํานวยการสํานัก ผู้อํานวยการกอง รวมถึงหัวหนา้
ส่วนราชการท่ีเรยี กชื่ออยา่ งอ่ืน
“หัวหน้าหน่วยบริการสาธารณสุข” หมายความว่า ผู้อํานวยการ และหัวหน้าหน่วยบริการ
สาธารณสขุ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 160

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๗๕ ง หน้า ๓ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า บุคลากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การ
บริหารส่วนตาํ บล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดาํ รงตาํ แหน่ง และได้รับคําสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ี
ในหน่วยบริการสาธารณสุข หรือนอกหน่วยบริการสาธารณสุข หรือต่างหน่วยบริการสาธารณสุข
เพ่ือใหก้ ารบริการ สนับสนนุ ด้านบรกิ าร หรือร่วมใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน ได้แก่

(1) นายแพทย์
(2) ทนั ตแทพย์
(3) เภสชั กร
(4) พยาบาล และพยาบาลเทคนคิ

(5) นักวิทยาศาสตร์ และนักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
(6) นกั วิชาการสาธารณสขุ และเจา้ พนกั งานสาธารณสุข
(7) เจา้ พนักงานทนั ตสาธารณสขุ
(8) เจา้ หนา้ ที่ตําแหน่งอน่ื ที่ไดร้ ับคาํ สัง่ หรือได้รับมอบหมายให้ปฏบิ ัติงาน
(9) ลกู จ้าง และพนักงานจ้างทไ่ี ดร้ ับคําส่งั หรือไดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏิบตั ิงาน
“เงินค่าตอบแทน” หมายความว่า เงินท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจ่ายให้แก่เจ้าหน้าท่ี
ท่ีปฏิบัติงานให้แก่หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เพื่อเพ่ิมพูนประสิทธิภาพ
เสริมสร้างแรงจูงใจ และเป็นค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานในเวลาราชการ หรือนอกเวลาราชการ
ในหน่วยบริการสาธารณสุข หรือนอกหน่วยบริการสาธารณสุข หรือต่างหน่วยบริการสาธารณสุข
หมายความรวมถงึ
(1) คา่ ตอบแทนในการปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหน้าท่ี
(2) ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานในคลนิ ิกพิเศษนอกเวลาราชการ

(3) คา่ ตอบแทนในการปฏิบตั งิ านเวรหรอื ผลัดบ่ายหรือผลัดดกึ ของพยาบาล
(4) คา่ ตอบแทนในการปฏิบัติงานชันสตู รพลิกศพ
(5) ค่าตอบแทนพิเศษสาํ หรับแพทยส์ าขาส่งเสรมิ พเิ ศษ
(6) ค่าตอบแทนเงนิ เพ่ิมพิเศษสําหรบั แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร ที่ปฏิบัติงานในหน่วย
บรกิ ารสาธารณสขุ โดยไม่ทาํ เวชปฏบิ ตั ิสว่ นตวั และหรอื ปฏบิ ัติงานในโรงพยาบาลเอกชน
(7) ค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานดา้ นการสรา้ งเสริมสุขภาพและเวชปฏบิ ตั ิครอบครวั
(8) คา่ เบีย้ เลย้ี งเหมาจ่ายสําหรับเจ้าหนา้ ทท่ี ่ีปฏิบัติงานในหนว่ ยบริการสาธารณสขุ
(9) ค่าตอบแทนอ่ืนท่ีไม่ได้กําหนดในข้อนี้ ให้นําค่าตอบแทนเก่ียวกับการปฏิบัติงานของ
เจา้ หน้าทใี่ ห้แกห่ น่วยบริการสาธารณสุขทก่ี ระทรวงสาธารณสุขกาํ หนด มาใช้โดยอนุโลม
“หน่วยบริการสาธารณสุข” หมายความว่า โรงพยาบาล สถานีอนามยั โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพประจําตําบล ศูนย์การแพทย์ คลินิกอบอุ่น ศูนย์บริการสาธารณสุข ศูนย์สุขภาพชุมชน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 161

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๗๕ ง หน้า ๔ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

หรือสถานบริการสาธารณสุขที่เรียกช่ืออย่างอื่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซึ่งให้บริการแก่
ประชาชนทั่วไป

ข้อ 5 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้ังงบประมาณรายจ่ายเงินค่าตอบแทนให้แก่เจ้าหน้าที่
ตามความเหมาะสม โดยให้คํานึงถึงสถานะทางการคลังขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

ข้อ 6 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นเป็นผู้มีอํานาจอนุมัติการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่
ทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหแ้ ก่หนว่ ยบริการสาธารณสขุ ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

ขอ้ 7 การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนให้แก่เจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติงานให้แก่หน่วยบริการสาธารณสุข
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้นําหลักเกณฑ์ เง่ือนไข วิธีการ และอัตราตามที่กระทรวงสาธารณสุข

กาํ หนด มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม
ข้อ 8 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่

ทปี่ ฏบิ ัตงิ านใหแ้ ก่หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) คณะกรรมการพิจารณาตรวจคําขอการรับเงินค่าตอบแทน มีหน้าท่ี พิจารณาแบบ

คําขอรับเงินค่าตอบแทน ตรวจสอบคุณสมบัติ ประเมินความเหมาะสมของเจ้าหน้าที่ที่ย่ืนแบบคําขอรับเงิน
คา่ ตอบแทน และเสนอตอ่ คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินคา่ ตอบแทนเหน็ ชอบ ประกอบดว้ ย

(ก) หวั หน้าหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ
(ข) เจา้ หนา้ ท่ีหน่วยบรกิ ารสาธารณสุขจาํ นวนไม่น้อยกวา่ สองคนเปน็ กรรมการ
(ค) เจา้ หน้าทจ่ี าํ นวนหนง่ึ คนเปน็ เลขานกุ าร
(2) คณะกรรมการพิจารณาจ่ายเงินค่าตอบแทน มีหน้าที่ พิจารณาคุณสมบัติ ประเมิน
ความเหมาะสมของเจ้าหนา้ ท่ที ่ียนื่ แบบคาํ ขอรบั เงนิ ค่าตอบแทน และพิจารณาเห็นชอบใหม้ ีสทิ ธิไดร้ ับเงนิ
คา่ ตอบแทน ประกอบด้วย

(ก) ปลัดองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นเปน็ ประธานกรรมการ
(ข) หัวหน้าสว่ นราชการจาํ นวนไมน่ ้อยกว่าสองคนเป็นกรรมการ
(ค) หัวหนา้ หน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ จาํ นวนไมน่ อ้ ยกว่าสองคนเป็นกรรมการ
(ง) หัวหน้าส่วนราชการด้านสาธารณสขุ จํานวนหนงึ่ คนเปน็ เลขานกุ าร
(3) คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการจ่ายเงินค่าตอบแทน มีหน้าท่ี ติดตามและ
ประเมินประสทิ ธิภาพความเหมาะสมการจา่ ยเงนิ คา่ ตอบแทนเจา้ หน้าที่ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ เงอ่ื นไข
วิธีการ และอตั รากําหนด และรายงานผลการประเมินให้ปลดั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ และผู้อนมุ ัติ
ทราบปลี ะหนึง่ ครง้ั ภายในเกา้ สิบวนั นบั ตงั้ แต่วันถัดจากวันส้นิ ปีงบประมาณ ประกอบดว้ ย
(ก) หวั หน้าส่วนราชการดา้ นสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ
(ข) หัวหนา้ หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุขจาํ นวนไม่นอ้ ยกวา่ สองคนเปน็ กรรมการ
(ค) เจ้าหนา้ ทจ่ี าํ นวนหนงึ่ คนเปน็ เลขานุการ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 162

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๗๕ ง หน้า ๕ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

ข้อ 9 ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดมีเจ้าหน้าท่ีที่ได้รับแต่งต้ังเป็นคณะกรรมการ
ตามข้อ 8 ไม่เพียงพอหรือไม่มีเจ้าหน้าที่ดังกล่าว ให้ผู้บริหารท้องถ่ินแต่งตั้งเจ้าหน้าท่ีอื่นเป็น
คณะกรรมการได้

ขอ้ 10 การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทน ให้เจ้าหน้าท่ียื่นคําขอรับเงินค่าตอบแทนตามแบบ
แนบท้ายระเบียบน้ี ต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับชั้น เพื่อเสนอให้ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณา
โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการตามขอ้ 8

การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนตามวรรคหน่ึง ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน
เปน็ ผูเ้ บกิ จ่ายเงินคา่ ตอบแทนในการปฏิบตั ิงานครั้งน้ันเพยี งแหง่ เดียว

ข้อ 11 ในกรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใดท่ีได้ดําเนินการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทน
ก่อนวันที่ระเบียบน้ีใช้บังคับ และได้ดําเนินการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทน ไปตามหนังสือส่ังการ
ของกระทรวงมหาดไทย หรือประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด
หรือประกาศคณะกรรมการกลางพนกั งานเทศบาล หรือประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานสว่ นตําบล
หรือหนังสือส่ังการท่ีเก่ียวข้องแล้วแต่กรณี และไม่เกินอัตราท่ีกําหนดตามข้อ 7 ณ เวลานั้น
ใหถ้ ือวา่ การดําเนนิ การน้ันเป็นไปตามระเบียบนี้

หากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใดดําเนินการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนยังไม่แล้วเสร็จก่อน
วันท่ีระเบียบนี้ใช้บังคับ ให้ดําเนินการต่อไปตามหนังสือส่ังการของกระทรวงมหาดไทย หรือประกาศ
คณะกรรมการกลางข้าราชการองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั หรือประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล
หรอื ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตาํ บล หรือหนังสอื สั่งการที่เกย่ี วข้อง แล้วแตก่ รณที ีใ่ ช้อยู่
ในขณะน้นั จนกว่าจะแล้วเสรจ็

ขอ้ 12 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจตีความ

วินจิ ฉยั ปญั หากําหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีปฏบิ ัติเพอ่ื ดาํ เนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ท่ี 11 มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก อนพุ งษ์ เผ่าจนิ ดา

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 163 1

แบบคำขอรบั เงินคำ่ ตอบแทนเจ้ำหน้ำท่ีทีป่ ฏบิ ตั ิงำนใหแ้ กห่ น่วยบริกำรสำธำรณสขุ
ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

เขยี นท.ี่ .........................................................

วันท.ี่ ........เดือน...................................พ.ศ. .................

เร่ือง ขอรับเงนิ ค่าตอบแทน

เรียน ผู้บรหิ ารท้องถนิ่

ขา้ พเจา้ .................................................................... ตาแหน่ง .............................................................

ระดับ............................................. อายุราชการ ................. ปี สังกดั สานัก/กอง ..........................................................

ปัจจุบนั ปฏิบตั ิงานในหน่วยบรกิ ารสาธารณสุข.................................................................................................................

หมทู่ ่.ี ...............ตาบล.....................................................อาเภอ.........................................จงั หวัด....................................

ต้ังแต่วันที่......................................................... ถงึ วนั ท.ี่ ...............................................รวมระยะเวลา........ป.ี ........เดอื น

ท่อี ยปู่ จั จบุ นั บ้านเลขที.่ .....................................ถนน............................................ตาบล/แขวง.........................................

อาเภอ/เขต........................................................จังหวดั ........................................รหสั ไปรษณยี ์....................................

ได้รับใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี พรอ้ มแนบหลักฐานมาพร้อมกบั คาขอนีแ้ ล้ว ดงั น้ี

 ใบอนญุ าตประกอบโรคศิลปะ  ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพเวชกรรม

 ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ทันตกรรม  ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพเภสัชกรรม

 ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์  ใบอนญุ าตผู้ประกอบวชิ าชพี การแพทย์แผนไทย

 ใบอนุญาตผปู้ ระกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยประยุกต์  ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพเทคนิค

การแพทย์ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพกายภาพบาบัด

 ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ระบุ .....................................................................................................................

 ไมม่ ใี บอนุญาตประกอบวิชาชีพ

ถา้ มีใบอนุญาตเลขที่ ........................................ออกให้ ณ วนั ที่ ........ เดือน ..................................... พ.ศ. ....................

มีความประสงค์ขอรับเงินค่าตอบแทน ตามข้อ 4 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงิน

ค่าตอบแทนเจ้าหน้าทท่ี ี่ปฏิบตั งิ านให้แกห่ น่วยบริการสาธารณสขุ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2562 ดงั น้ี
 (1) ค่าตอบแทนในการปฏบิ ตั ิงานของเจ้าหน้าท่ี
 (2) ค่าตอบแทนการปฏบิ ัตงิ านในคลินิกพเิ ศษนอกเวลาราชการ
 ค่าตอบแทนในการปฏบิ ัติงานเวรหรือผลดั บา่ ยหรอื ผลดั ดกึ ของพยาบาล
 คา่ ตอบแทนในการปฏิบัติงานชันสูตรพลิกศพ
 คา่ ตอบแทนพิเศษสาหรับแพทย์สาขาสง่ เสรมิ พิเศษ
 ค่าตอบแทนเงนิ เพิ่มพเิ ศษสาหรับแพทย์ ทนั ตแพทย์ และเภสัชกร ท่ปี ฏบิ ัตงิ านในหนว่ ยบรกิ าร

สาธารณสขุ โดยไม่ทาเวชปฏบิ ตั สิ ่วนตัวและหรือปฏิบัตงิ านในโรงพยาบาลเอกชน
 ค่าตอบแทนในการปฏบิ ตั ิงานดา้ นการสรา้ งเสริมสุขภาพและเวชปฏบิ ตั ิครอบครวั
 คา่ เบ้ยี เลี้ยงเหมาจ่ายสาหรบั เจา้ หนา้ ทีท่ ีป่ ฏิบัติงานในหนว่ ยบริการสาธารณสุข
 ค่าตอบแทนอ่นื ๆ ระบุ ................................................................................................................

ต้งั แต่วันท.ี่ ........................................... ถึงวนั ที่..........................................รวมระยะเวลา........ป.ี ........เดอื น.........ช่วั โมง

ในอตั ราคนละ/เดือนละ/วันละ/ผลดั ละ/ชวั่ โมงละ .................................บาท รวมเป็นเงนิ จานวน ....................... บาท

(............................................................................................)

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 164 2

ข้าพเจ้าขอรับรองว่าเป็นผู้ที่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนตามระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์
เงื่อนไข วิธีการ และอัตราที่กาหนดไว้ทุกประการ แต่หากข้าพเจ้าแสดงข้อมูลอันเป็นเท็จหรือได้รับเงินค่าตอบแทน
ดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย ข้าพเจ้ายินดีรับผิดชอบชดใช้เงินคืนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จ่ายเงิน
ตามจานวนเงนิ ทีไ่ ดร้ บั พรอ้ มดอกเบย้ี ท่ีกฎหมายกาหนด

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพิจารณาอนุมตั ิ

ลงชอ่ื ................................................ผยู้ ื่นขอรับเงิน
(...............................................)

ผลกำรพิจำรณำของผู้บงั คบั บญั ชำและคณะกรรมกำรฯ

1. ควำมเหน็ ผูบ้ ังคบั บญั ชำชั้นต้น 2. ควำมเห็นหวั หนำ้ หนว่ ยบริกำรสำธำรณสุข

ไดต้ รวจสอบหลักเกณฑ์ คุณสมบตั ิ และการ  เหน็ ชอบ ตามข้อ 1

ปฏิบัติงานของผยู้ ่นื แล้วมคี วามเห็นว่า  ไมเ่ หน็ ชอบ ตามข้อ 1 เนื่องจาก.........................

 มีสิทธไิ ด้รับเงินค่าตอบแทน ........................................................................................

 ไมม่ ีสิทธไิ ดร้ ับเงนิ ค่าตอบแทน เน่ืองจาก............. ........................................................................................

........................................................................................

ลงชอ่ื ................................................. ลงชือ่ .................................................

(..................................................) (..................................................)

ตาแหน่ง ................................................ หวั หน้าหนว่ ยบริการสาธารณสขุ

3. ควำมเห็นคณะกรรมกำรพจิ ำรณำตรวจคำขอฯ 4. ควำมเห็นคณะกรรมกำรพิจำรณำจำ่ ยเงนิ ฯ

ในการประชมุ ครัง้ ที่ ..../.........เมอื่ วันท่ี...................... ในการประชมุ คร้ังที่ ../.... เม่อื วนั ที่..........................

ไดต้ รวจสอบคาขอ คุณสมบตั ิ และประเมนิ ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า

ความเหมาะสมแล้วเหน็ ว่า  เหน็ ชอบให้มีสทิ ธิ

 มสี ทิ ธิไดร้ ับเงนิ ค่าตอบแทน  ไม่เหน็ ชอบมีสทิ ธิ

 ไมม่ ีสทิ ธไิ ดร้ ับเงินค่าตอบแทน เนื่องจาก............ เนื่องจาก.........................................................................

....................................................................................... ........................................................................................

ลงชื่อ ................................................. ลงชื่อ .................................................

(................................................) (..................................................)

ประธานกรรมการพิจารณาตรวจคาขอรับเงนิ ฯ ประธานกรรมการพิจารณาจา่ ยเงิน ฯ

5. ผูอ้ นุมตั ิ

 อนุมัติให้ได้รับเงินค่าตอบแทน

 ไม่อนมุ ตั ใิ ห้ไดร้ ับเงนิ ค่าตอบแทน เนอ่ื งจาก....................................................................................................

ลงชอื่ .................................................ผู้บรหิ ารท้องถ่นิ
(................................................)

หมายเหตุ 1. องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ สามารถเรยี กหลักฐานอื่น ๆ ทีจ่ าเปน็ เพื่อใช้ประกอบการพจิ ารณาอนุมัติได้
2. ให้ใชแ้ บบคาขอ 1 รายการ/ชดุ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 165

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วา่ ด้วยคา่ เชา่ บ้านของขา้ ราชการส่วนท้องถนิ่ พ.ศ. 2548

แก้ไขเพม่ิ เติมถึง (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562

_________________

โดยที่เป็นการสมควร แก้ไขระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้ารา ชการ
สว่ นทอ้ งถิ่น ให้เหมาะสมยิง่ ขึน้

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหาร
สว่ นจังหวดั พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕
และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการ
ส่วนทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2548

ข้อ ๒1 ระเบียบน้ีให้ใชบ้ งั คับต้ังแตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน็ ต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิก
(๑) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยค่าเช่าบา้ นของขา้ ราชการสวนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๒๘
(2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการสวนท้องถ่ิน (ฉบับที่ 2)
พ.ศ.2532
(3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการสวนท้องถ่ิน (ฉบับท่ี 3)
พ.ศ.2533
(4) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการสวนท้องถ่ิน (ฉบับที่ 4)
พ.ศ.2536
(5) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการสวนท้องถ่ิน (ฉบับท่ี 5)
พ.ศ.2540
(6) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการสวนท้องถ่ิน (ฉบับที่ 6)
พ.ศ.2541
(๗) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการสวนท้องถิ่น (ฉบับที่ 7)
พ.ศ.2541
ขอ้ 4 ในระเบียบน้ี
“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และ
องค์การบรหิ ารส่วนตาบล
“ข้าราชการส่วนท้องถ่ิน” หมายความว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงาน
เทศบาล และพนกั งานสว่ นตาบล

-----------------------

1 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 82 ง ลงวันที่ 11 กันยายน 2548

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 166

-2–

“เงินเดือน” หมายความว่า เงินเดือนสุทธิท่ีข้าราชการส่วนท้องถิ่นได้รับ ทั้งน้ี เมื่อหักเงิน
เบิกลด เนื่องจากการปรับชั้นเงินเดือนออกแล้ว และรวมกับเงินเพิ่มพิเศษรายเดือนสาหรับค่าวิชาหรือเงินเพิ่ม
การเล่ือนฐานะ หรอื สาหรบั ประจาตาแหนง่ ที่ต้องฝ่าอันตรายเป็นปกตหิ รือสาหรับการสู้รบ

“สถาบันการเงิน” หมายความว่า สถาบันการเงิน รัฐวิสาหกิจ หรือสหกรณ์ที่ดาเนินกิจการ
เกีย่ วกบั การเคหะ ท้ังน้ี ตามท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด

“ท้องที่” หมายความว่า อาเภอ กิ่งอาเภอ หรือท้องที่ของอาเภอหรือกิ่งอาเภอที่
กระทรวงมหาดไทยประกาศกาหนดใหเ้ ปน็ ท้องที่เดียวกนั

“ทอ้ งทที่ ่เี ริม่ รับราชการครั้งแรก” หมายความว่า ท้องท่ีท่ีได้รับการบรรจุและแต่งต้ังให้ปฏิบัติ
ราชการ หรอื มีคาสง่ั ให้ไปปฏบิ ัตริ าชการ และได้มีการรายงานตัวเพ่อื ปฏบิ ตั ริ าชการตามระเบยี บนีเ้ ปน็ ครง้ั แรก

“ท้องท่ีที่กลับเข้ารับราชการใหม่” หมายความว่า ท้องท่ีที่กลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการ
ส่วนท้องถิ่นตามระเบียบนี้

“ภัยพิบัติ” หมายความว่า ภัยธรรมชาติหรือความเสียหายอย่างใดๆ ซ่ึงเกิดข้ึนโดยท่ีผู้ซึ่งได้รับ
ความเสียหายนัน้ ไมม่ ีสว่ นท่ีจะต้องรว่ มรบั ผิดดว้ ย

ข้อ ๕ การจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินค่าเช่าบ้านข้าราชการส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไป
ตามหลกั เกณฑ์และอตั ราตามระเบยี บน้ี

การเบกิ จ่ายให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด
ข้อ 62 ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้ใดได้รับคาส่ังให้เดินทางไปประจาสานักงานในต่างท้องที่
มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการเท่าที่ต้องจ่ายจริงตามที่สมควรแก่สภาพแห่งบ้าน แต่อย่างสูงไม่เกิน
จานวนเงินที่กาหนดไว้ตามบัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้าราชการท้ายระเบียบน้ี ทั้งน้ี เว้นแต่ผู้น้ัน
(1) 3 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้จัดท่ีพักอาศัยให้ตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงมหาดไทย
กาหนด
(2) มีเคหสถานอันเป็นกรรมสิทธิ์ของตนเองหรือคู่สมรสในท้องท่ีที่ไปประจาสานักงานใหม่
โดยไม่มีหนี้คา้ งชาระกบั สถาบันการเงนิ
ความในวรรคหน่ึงให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้ได้รับคาสั่งให้เดินทางไปประจา
สานกั งานในตา่ งทอ้ งท่ีท่เี ป็นท้องที่ท่เี ร่ิมรับราชการครงั้ แรกหรอื ท้องทีท่ ี่กลับเข้ารบั ราชการใหม่ดว้ ย
ข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้ใดได้รับเงินเดือนไม่ตรงกับท่ีกาหนดในบัญชีอัตราค่าเช่าบ้าน
ขา้ ราชการทา้ ยระเบยี บน้ี ใหไ้ ด้รับค่าเช่าบ้านตามสว่ นของเงนิ เดือนโดยคานวณตามวธิ กี ารท่กี ระทรวงมหาดไทย
กาหนด
ข้อ 7 ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้ใดได้รับคาส่ังให้ไปรับราชการในท้องท่ีใดและไม่มีสิทธิได้รับ
ค่าเช่าบ้านข้าราชการเพราะเหตุที่มีเคหสถานอันเป็นกรรมสิทธ์ิของตนเองหรือคู่สมรสตามข้อ 6 (2) แม้ว่า
กรรมสิทธ์ิในเคหสถานได้โอนไปด้วยเหตุใด ก็ไม่ทาให้เกิดสิทธิท่ีจะได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการในระหว่างรับราชการ
ในทอ้ งท่ีนั้น เว้นแตเ่ คหสถานน้นั ถูกทาลาย หรือเสียหายเนอ่ื งจากภยั พิบัตจิ นไม่สามารถพักอาศยั อยู่ได้
ขอ้ 8 ถ้าข้าราชการสว่ นทอ้ งถิน่ และคู่สมรสรับราชการในท้องท่ีเดียวกันและต่างก็มีสิทธิได้รับ
ค่าเช่าบา้ นขา้ ราชการตามระเบยี บน้ี ใหเ้ บกิ จ่ายไดเ้ ฉพาะคนใดคนหนง่ึ

-----------------------

2 ข้อ 6 แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551
3 ขอ้ 6 (1) แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2559

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 167

-3–

ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้ใดมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการตามระเบียบน้ีและมีคู่สมรส
เป็นข้าราชการ พนักงานหรือลูกจ้างของรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือพนักงาน
หรือเจ้าหน้าที่องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หรือองค์การมหาชน ถ้าคู่สมรสของผู้น้ันได้ใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน
หรือข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้นั้นได้อยู่ในที่พักอาศัยท่ีทางราชการจัดให้แก่คู่สมรสในท้องท่ีเดียวกัน ข้าราชการ
ส่วนทอ้ งถิน่ ผนู้ ้นั ไม่มสี ิทธเิ บิกค่าเช่าบา้ นขา้ ราชการตามระเบียบน้ี

ข้อ 9 ข้าราชการส่วนท้องถ่ินซึ่งมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการอยู่แล้วภายหลังได้รับ
เงนิ เดือนเพ่ิมข้ึน ให้มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านเท่าท่ีต้องจ่ายจริงตามท่ีสมควรแก่สภาพแห่งบ้าน แต่อย่างสูงไม่เกิน
จานวนเงินท่ีกาหนดไว้ตามบัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้าราชการท้ายระเบียบน้ี ถ้าเงินเดือนท่ีได้รับเพ่ิมขึ้นไม่ตรง
กบั ทกี่ าหนดในบัญชีอตั ราค่าเช่าบ้านดังกล่าว ให้ได้รับค่าเช่าบ้านตามส่วนของเงินเดือนโดยคานวณตามวิธีการ
ท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด

ข้อ 10 การลดหรืองดเบิกจ่ายเงินเดือนแก่ข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้ใด เนื่องจากการถูกตัด
เงินเดือนหรือการลาโดยไม่มีสิทธิได้รับเงินเดือน ไม่กระทบต่อสิทธิของผู้น้ันท่ีได้รับค่าเช่าบ้านตามระเบียบนี้
และให้ผู้น้นั มสี ิทธไิ ด้รับค่าเช่าบ้านเสมือนหนึ่งไม่มีการลดหรืองดเบิกจ่ายเงินเดือนเช่นว่าน้ัน เว้นแต่เป็นการลา
ตดิ ตามคสู่ มรสซง่ึ ยา้ ยไปรับราชการในตา่ งประเทศ

ข้อ 11 ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้ใดซึ่งมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งให้
ออกจากราชการไว้ก่อน หรือมีกรณีอื่นใดอันเป็นเหตุให้ถูกงดเบิกจ่ายเงินเดือนให้งดเบิกจ่ายค่าเช่าบ้าน
ข้าราชการ เมื่อกรณีถึงที่สุด ถ้าปรากฏว่าผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินเดือนในระหว่างกรณีเช่นว่าน้ันสาหรับเดือนใด
ให้มสี ทิ ธิได้รับคา่ เช่าบา้ นสาหรับเดือนนั้นตามระเบยี บน้ี

ข้อ 12 ใหข้ ้าราชการส่วนท้องถ่ินมีสิทธิได้รับเงินค่าเช่าบ้านต้ังแต่วันท่ีข้าราชการส่วนท้องถิ่น
ผู้นั้นได้เช่าอยู่จริง แต่ไม่ก่อนวันรายงานตัวเพ่ือเข้ารับหน้าท่ี และให้สิ้นสุดในวันท่ีขาดจากอัตราเงินเดือน
หรือวันที่อยู่ในข่ายหมดสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านตามระเบียบน้ี ถ้าผู้ซ่ึงได้รับแต่งต้ังให้ไปรับราชการในท้องที่อื่น
ไม่สามารถออกเดินทางไปได้ในวันที่ส่งมอบหน้าท่ี ให้มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการต่อไปอีกไม่เกินสิบวัน
นับแต่วันส่งมอบหน้าที่ เว้นแต่มีความจาเป็นจะต้องอยู่ต่อไปอีกให้เบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการต่อไปได้เท่าท่ี
จาเปน็ โดยได้รบั การอนุมัติจากผอู้ อกคาสัง่ แต่งตั้ง

ข้อ 13 ในกรณีที่ข้าราชการส่วนท้องถ่ินซ่ึงได้รับค่าเช่าบ้านอยู่แล้วในท้องที่หน่ึงและต่อมา
ได้รับแต่งต้ังให้ไปรับราชการในท้องท่ีอื่นซ่ึงตนมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านตามระเบียบน้ี ให้ข้าราชการผู้นั้นมีสิทธิ
นาหลักฐานการชาระค่าเช่าบ้านในท้องที่เดิมมาเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการในท้องที่ใหม่ได้ ถ้าคู่สมรสหรือบุตร
ซ่ึงอยู่ในอุปการะของข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้นั้นไม่อาจติดตามข้าราชการผู้นั้นไปได้และมีความจาเป็นต้อง
อาศยั อยู่ในบา้ นในท้องทีเ่ ดิมตอ่ ไป

ข้อ 14 ในกรณีที่ข้าราชการส่วนท้องถ่ินซ่ึงมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านตามระเบียบนี้ ได้เช่าซื้อ
หรือผ่อนชาระเงินกู้เพื่อชาระราคาบ้านท่ีค้างชาระอยู่ในท้องที่ท่ีไปประจาสานักงานใหม่ เพ่ือใช้เป็นที่อยู่อาศัย
และไดอ้ าศัยอยู่จริงในบ้านน้ัน ให้ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้นั้นมีสิทธินาหลักฐานการชาระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อน
ชาระเงินกู้ดังกล่าวมาเบิกค่าเช่าบ้านได้ไม่เกินจานวนเงินท่ีกาหนดไว้ตามบัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้าราชการ
ท้ายระเบียบนี้ ตามเงื่อนไขดังต่อไปน้ี

(1) ตนเอง หรือคู่สมรส ได้ทาการผ่อนชาระค่าเช่าซื้อหรือผ่อนชาระเงินกู้เพื่อชาระราคาบ้าน
ในท้องที่นั้น จะเบิกจ่ายได้เฉพาะบ้านหลังแรกเท่านั้น เว้นแต่บ้านหลังที่เคยใช้สิทธิถูกทาลายหรือเสียหาย
เน่อื งจากภยั พบิ ัตจิ นไม่สามารถพักอาศัยอยู่ได้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 168

-4-

(2) หากเช่าซื้อหรือกู้เงินเพื่อชาระราคาบ้านร่วมกับบุคคลอื่นซ่ึงไม่ใช่คู่สมรสและมีกรรมสิทธิ์
รวมกับบุคคลอ่ืนในบ้านนั้น จะเบิกจ่ายค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนชาระเงินกู้ได้ตามสัดส่วนแห่งกรรมสิทธ์ิสาหรับ
บ้านหลังดงั กลา่ ว

(3) จะต้องเป็นการผ่อนชาระค่าเช่าซื้อหรือผ่อนชาระเงินกู้เพื่อชาระราคาบ้านกับสถาบัน
การเงินและสญั ญาเชา่ ซื้อหรอื สัญญาเงนิ กจู้ ะตอ้ งเปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด

(4) จะต้องไม่เคยใช้สิทธินาหลักฐานการชาระค่าเช่าซ้ือหรือค่าผ่อนชาระเงินกู้สาหรับบ้าน
หลังหน่ึงหลังใดในท้องที่น้ันมาแล้ว เว้นแต่เป็นกรณีท่ีได้รับแต่งตั้งให้กลับไปรับราชการในท้องท่ีที่เคยใช้สิทธิ
นั้นอีก และเป็นการใช้สิทธินาหลักฐานการชาระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนชาระเงินกู้ตามท่ีเคยใช้สิทธิมาแล้ว
หรอื ขณะที่ยา้ ยมารับราชการในทอ้ งที่นัน้ บา้ นท่ีเคยใชส้ ทิ ธไิ ดโ้ อนกรรมสิทธิไ์ ปแลว้

(5) หากเงินกู้เพ่ือชาระราคาบ้านสูงกว่าราคาบ้าน ให้นาค่าผ่อนชาระเงินกู้มาเบิกค่าเช่าบ้าน
ข้าราชการได้ โดยให้คานวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด

ให้นาความในข้อ 7 ถึงข้อ 12 มาใช้บังคับกับการเช่าซื้อหรือการผ่อนชาระเงินกู้เพื่อชาระ
ราคาบา้ นโดยอนุโลม

ข้อ 15 ข้าราชการส่วนท้องถิ่นซึ่งได้ใช้สิทธินาหลักฐานการชาระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อน
ชาระเงนิ กู้เพ่ือชาระราคาบา้ นมาเบิกค่าเชา่ บา้ นตามขอ้ 14 และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ไปรับราชการในท้องท่ีอ่ืน
ซ่ึงตนมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านตามระเบียบนี้ให้ข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้น้ันมีสิทธินาหลักฐานการชาระค่าเช่าซื้อ
หรือค่าผอ่ นชาระเงินกูเ้ พื่อชาระราคาบ้านในท้องทีเ่ ดิมมาเบิกคา่ เช่าบ้านในท้องที่ใหม่ได้

ข้อ 16 ข้าราชการส่วนท้องถ่ินผู้ใดมีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านอยู่ก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ
แต่ไม่มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านตามระเบียบน้ี ให้ยังคงมีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านต่อไป ตามระเบียบ ข้อบังคับ คาส่ัง
หรอื หนงั สอื ส่งั การที่มอี ยู่เดมิ จนกวา่ จะหมดสทิ ธินนั้

ข้อ 17 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจตีความวินิจฉัย
ปัญหา กาหนดหลักเกณฑ์และวธิ ปี ฏิบัติ เพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี

ในกรณีทอ่ี งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติที่กาหนด
ตามวรรคแรก ให้ขอทาความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทยก่อนการปฏบิ ัติ

ประกาศ ณ วนั ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2548
สมชาย สนุ ทรวฒั น์

รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏบิ ัตริ าชการแทน
รัฐมนตรวี ่าการประทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

-5- หน้าที่ 169

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยคา่ เช่าบา้ นของข้าราชการส่วนท้องถ่นิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 25514
ข้อ ๕ สิทธิของข้าราชการสวนท้องถิ่น ผู้ท่ีไดรับคาส่ังให้เดินทางไปประจาสานักงานในท้องที่

ท่ีเริ่มรับราชการครั้งแรกหรือท้องท่ีที่กลับเข้ารับราชการใหม่ ให้เร่ิมมีสิทธิการไดรับค่าเช่าบ้านข้าราชการ
เมอ่ื ไดรบั คาส่ังให้เดินทางไปประจาสานักงานในต่างท้องที่ต้ังแตว่ ันท่รี ะเบียบนี้มผี ลใช้บังคับ

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยค่าเช่าบ้านของขา้ ราชการสว่ นท้องถ่ิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 25595

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยคา่ เช่าบา้ นของขา้ ราชการส่วนท้องถิน่ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 25626
ขอ้ 3 ให้ยกเลกิ บญั ชีอัตราคา่ เช่าบา้ นข้าราชการส่วนท้องถน่ิ ทา้ ยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย

ว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2548 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2559 และให้ใช้บัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้าราชการ
ส่วนทอ้ งถ่ิน ท้ายระเบียบน้ีแทน

ข้อ 4 ให้ยกเลิกบัญชีอัตราค่าเช่าบ้านสาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท้าย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถ่ิน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 และให้
ใช้บัญชีอัตราค่าเช่าบ้านสาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ท้ายระเบยี บน้ีแทน

-----------------------

4 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 85 ง ลงวันท่ี 21 พฤษภาคม 2551
5ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนพิเศษ 178 ง ลงวันท่ี 16 สิงหาคม 2559
6ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนพิเศษ 75 ง ลงวันที่ 25 มนี าคม 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

ระดับปฏิบตั ิงาน บัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้า

เงินเดือน ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน ตาแหน
ระดับ
เดือนละ/บาท
เงินเดือน
ข้ันท่ี 1 – 15.5 2,500
ข้ันท่ี 1 – 2.5
ขั้นท่ี 16 ขึ้นไป 3,000 ขั้นท่ี 3 - 8
ขั้นที่ 8.5 ข้ึนไป

ตาแหน่ง

ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ระดบั ชานาญการ

เงินเดือน ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน เงินเดือน ค่าเช่าบา้ นไม

เดือนละ/บาท เดือนละ/บา

ขั้นที่ 1 – 9.5 2,500 ข้ันที่ 1 – 4 3,000

ขั้นท่ี 10 – 14 3,000 ขั้นท่ี 4.5 – 12 4,000

ขั้นท่ี 14.5 ขึ้นไป 4,000 ขั้นท่ี 12.5 – 20.5 5,000

ขั้นที่ 21 ขึ้นไป 6,000

-----------------------

1 แก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉ

หน้าที่ 170

าราชการส่วนท้องถนิ่ 1 เงินเดือน ระดับอาวุโส
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน
น่งประเภทท่ัวไป ขั้นท่ี 1 – 11 เดือนละ/บาท
บชานาญงาน ข้ันท่ี 11.5 - 17
ขน้ั ที่ 17.5 ขึน้ ไป 4,000
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน 5,000
เดือนละ/บาท
6,000
2,500
3,000
4,000

งประเภทวิชาการ

ระดบั ชานาญการพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ

ม่เกิน เงินเดือน ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน เงินเดือน ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน

าท เดือนละ/บาท เดือนละ/บาท

ข้ันท่ี 1 – 6.5 4,000 ขั้นท่ี 1 – 7.5 5,000

ขั้นที่ 7 – 11.5 5,000 ขนั้ ที่ 8 ขนึ้ ไป 6,000

ขั้นท่ี 12ขึ้นไป 6,000

ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

เงินเดือน ระดบั ต้น -2
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน
ขั้นที่ 1 – 5.5 เดือนละ/บาท ตาแหน่งประเภ
ขั้นท่ี 6 – 14 ระ
ขั้นท่ี 14.5 - 20 3,000
ขนั้ ที่ 20.5 ขึน้ ไป เงินเดือน
4,000
5,000 ข้ันที่ 1 – 5.5
6,000 ข้ันที่ 6 – 11
ขนั้ ที่ 11.5 ข้ึนไป

ระดับต้น ตาแหน่งประ
ระ
เงินเดือน ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน
เงินเดือน
เดือนละ/บาท
ขั้นที่ 1 – 2
ขั้นท่ี 1 - 10 4,000 ข้ันที่ 2.5 – 10.5
ข้ันที่ 11 ขึ้นไป
ขั้นท่ี 10.5 – 19.5 5,000

ขั้นที่ 20 ขึ้นไป 6,000

หน้าท่ี 171

– เงินเดือน ระดบั สูง
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน
ภทอานวยการท้องถิ่น ขั้นท่ี 1 – 7 เดือนละ/บาท
ะดับกลาง ข้ันที่ 7.5 ข้ึนไป
5,000
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน
เดือนละ/บาท 6,000

4,000
5,000
6,000

ะเภทบริหารท้องถิน่ เงินเดือน ระดับสูง
ะดับกลาง ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน
ข้ันท่ี 1 – 6.5 เดือนละ/บาท
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน ขั้นที่ 7 ขึ้นไป
เดือนละ/บาท 5,000
6,000
4,000
5,000
6,000

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

บัญชีอัตราค่าเช่าบ้านสาหรับข้าราชกา
ขององคกรปกครอง

เงินเดือน อันดับ ครูผู้ช่วย อนั
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน เงินเดือน
ข้ันที่ 1 – 8.5 เดือนละ/บาท
ข้ันที่ 9 – 12.5 ขั้นที่ 1 – 1.5
ข้ันที่ 13 2,500 ขั้นที่ 2 – 6.5
ขั้นท่ี 7 – 21.5
3,000
4,000

อนั ดับ คศ. 3 อ

เงินเดือน ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน เดือน เงินเดือน

ข้ันที่ 1 – 5.5 ละ/บาท
ขั้นที่ 6 – 11.5
ข้ันท่ี 12 ขึ้นไป 4,000 ข้ันท่ี 1 – 6.5

5,000 ขั้นที่ 7 ข้ึนไป

6,000

-----------------------

2 แก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าเช่าบ้านของข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉ

หน้าที่ 172

ารครูและบุคลากรทางการศึกษา
งส่วนท้องถน่ิ 2

นดับ คศ. 1 อันดับ คศ. 2
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน
เดือนละ/บาท เงินเดือน ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน

2,500 เดือนละ/บาท

3,000 ข้ันที่ 1 – 11.5 4,000
4,000
ขั้นท่ี 12 – 16.5 5,000

ขั้นท่ี 17 ขึ้นไป 6,000

อนั ดับ คศ. 4 อนั ดับ คศ. 5
ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน ค่าเช่าบา้ นไม่เกิน
เดือนละ/บาท เดือนละ/บาท

5,000 6,000
6,000

ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 173
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 174

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๗๕ ง หน้า ๖ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานุเบกษา

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย

ว่าดว้ ยคา่ ใช้จา่ ยในการจดั ทาประกันภยั ทรัพย์สินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่
พ.ศ. 2562

โดยท่ีเป็นการสมควรใหม้ ีระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจัดทาประกนั ภัยทรัพย์สนิ ของ
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นถอื ปฏบิ ตั ิ

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 มาตรา 74 (9) และมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญตั ิ
องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั พ.ศ. 2540 มาตรา 69 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัตเิ ทศบาล
พ.ศ. 2496 และมาตรา 67 (9) แห่งพระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเตมิ โดย
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2505 มาตรา 5 มาตรา 85 (10) และมาตรา 88
แห่งพระราชบญั ญัตสิ ภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ออกระเบยี บไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยคา่ ใช้จ่ายในการจัดทาประกันภัย
ทรพั ยส์ ินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ พ.ศ. 2562”

ข้อ 2 ระเบยี บนใ้ี หใ้ ชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป
ขอ้ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบงั คับ คาส่งั หรือหนงั สือสงั่ การอื่นใดท่ขี ัดหรือแยง้ กบั ระเบยี บนี้
หรือทม่ี กี าหนดไว้แล้วในระเบยี บนี้ ใหใ้ ช้ระเบียบนแี้ ทน
ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี
“องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และ
องค์การบรหิ ารส่วนตาบล
“ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี และ
นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบล
“ทรัพย์สิน” หมายความว่า รถราชการ ครุภัณฑ์ หรือส่ิงก่อสร้าง ขององค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่ิน ทีม่ กี ารใชง้ านตามอานาจหน้าทีข่ ององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
“รถราชการ” หมายถึง รถราชการตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการใช้และรกั ษารถยนต์
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ พ.ศ. 2548 ได้แก่ รถส่วนกลาง รถประจาตาแหนง่ และรถรับรอง

ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มาโดยการซ้ือ การรับบริจาคหรือได้รับความช่วยเหลือ และได้ข้ึนทะเบียน
เป็นครุภัณฑข์ ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ เพื่อใชใ้ นการปฏบิ ัติราชการ

ข้อ 5 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจจัดให้มีการทาประกันภัยทรัพย์สินตามความจาเป็น
และเหมาะสม โดยคานึงถึงสถานะทางการคลังและการจัดทาบริการสาธารณะตามอานาจหน้าที่ของ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นเปน็ สาคัญ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 175

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๗๕ ง หน้า ๗ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

ในการจัดทาประกันภัยทรัพย์สิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องพิจารณาด้วยว่า
คา่ เบี้ยประกนั ภัยคมุ้ กบั ความคมุ้ ครองท่ีจะไดร้ บั หรือไม่

ข้อ 6 ทรพั ย์สินทจี่ ะเสนอขอทาประกันภยั ไดต้ อ้ งเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ ดงั นี้
(1) เป็นทรัพย์สินท่ีเมื่อเกิดความเสียหายแล้ว อาจส่งผลกระทบหรือเป็นอันตรายต่อชีวิต
และทรพั ย์สนิ ของบคุ คลอ่นื
(2) เป็นทรัพย์สินท่ีใช้เพ่ือบริการสาธารณะ ซึ่งเมื่อได้รับความเสียหายแล้ว จะส่งผลกระทบ
ตอ่ ความเดอื ดร้อนของสาธารณชนเป็นวงกว้าง
(3) เปน็ ทรพั ยส์ ินที่มีมลู ค่าสงู

(4) ไม่เป็นทรัพยส์ ินที่มีเง่อื นไขตามสัญญาหรอื สัญญาสัมปทานบงั คบั ให้ตอ้ งทาประกนั ภยั
ใหผ้ ู้บรหิ ารท้องถิ่นเป็นผ้พู จิ ารณาอนมุ ัตกิ ารทาประกนั ภยั ทรพั ยส์ นิ
ข้อ 7 การทาประกนั ภัยรถราชการภาคสมคั รใจ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ ดังน้ี
(1) ต้องเป็นรถยนต์ส่วนกลางที่ใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจหน้าที่ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถน่ิ
(2) ลกั ษณะการใช้รถยนตม์ ีความเสี่ยงตอ่ การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ และ
(3) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีงบประมาณเพียงพอท่ีจะจัดทาประกันภัย โดยไม่กระทบ
ตอ่ การปฏิบตั ิภารกิจตามอานาจหนา้ ที่
ขอ้ 8 นอกจากหลักเกณฑต์ ามขอ้ 7 การจัดทาประกนั ภัยภาคสมัครใจขององคก์ รปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่นิ ให้เป็นไปตามเง่ือนไข ดังนี้ด้วย
(1) รถยนต์ส่วนกลางขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
ได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และ 4 อาเภอ ของจังหวัดสงขลา ได้แก่

อาเภอสะบ้ายอ้ ย อาเภอเทพา อาเภอนาทวี และอาเภอจะนะ ตอ้ งเปน็ รถยนตท์ ่ีมภี ารกจิ ปกตใิ นพ้ืนที่
(2) รถยนต์ส่วนกลางขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีมีลักษณะการใช้งานที่ก่อให้เกิดความเส่ียง

ในการเกิดอุบัติเหตุได้มากกว่ารถยนต์ส่วนกลางขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตามปกติ หรือเม่ือเกิด
อุบัติเหตุแล้วมีโอกาสจะก่อให้เกิดความเสียหาย ส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของบุคคลอ่ืน
ในวงกว้างหรือจานวนมาก เช่น รถพยาบาล รถยนต์ฉุกเฉิน รถยนต์บรรเทาสาธารณภัย รถยนต์ดับเพลิง
รถยนต์บรรทุกน้ามัน รถยนต์บรรทุกสารเคมี รถยนต์บรรทุกก๊าซ รถยนต์โดยสารหรือรถยนต์บัสโดยสาร
จานวนตั้งแต่ 20 ท่นี ่ังข้ึนไป เปน็ ตน้

ขอ้ 9 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณาประเภทของการจัดทาประกันภัยตามข้อ 8
ตามความจาเป็น เหมาะสม และประหยัด

การจัดทาประกันภัยรถยนต์ส่วนกลางนอกจากกรณีตามข้อ 8 ให้จัดทาประกันภัยภาคสมัครใจ
ในความคุ้มครองประเภทท่ี 3 ในวงเงนิ ความคุ้มครองไมเ่ กิน 300,000 บาทต่อคน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 176

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๗๕ ง หน้า ๘ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา

ข้อ 10 รายการครุภัณฑ์ตามรูปแบบจาแนกงบประมาณ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยวธิ ีการงบประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ท่สี ามารถเสนอขอจัดทาประกันภัยได้ มีดังนี้

(1) ครภุ ณั ฑก์ อ่ สร้าง
(2) ครภุ ณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรห์ รอื การแพทย์
(3) ครุภัณฑ์โรงงาน
ส่ิงก่อสร้างที่สามารถเสนอขอจัดทาประกันภัยได้ต้องเป็นอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอ่ืน
ซึ่งสร้างขึ้นบนพ้ืนดินและยึดติดเป็นอันเดียวกับพื้นดินน้ัน ยกเว้นอาคารสานักงานหรืออาคารที่ทาการ
รวมถึงอาคารประกอบอ่นื ทใ่ี ชป้ ระโยชน์ตอ่ เน่ืองและบ้านพักขา้ ราชการ

ข้อ 11 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งงบประมาณรายจ่ายสาหรับการจัดทาประกันภัย
ทรพั ยส์ ินไว้ในหมวดคา่ ตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเพอื่ ให้ได้มาซง่ึ บรกิ าร

ข้อ 12 การจัดทาประกันภัยรถราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ที่ดาเนินการไปแลว้
โดยชอบและสุจริต ตามหนังสือส่ังการกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ว 2633 ลงวันที่
14 สิงหาคม 2552 เร่ือง ซักซ้อมความเข้าใจเก่ียวกับการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการประกันภัยรถราชการ
ให้มีผลใชบ้ ังคับไดต้ ามระเบยี บนี้

ขอ้ 13 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบน้ี และให้มีอานาจตีความ
วนิ จิ ฉัยปญั หา กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏิบัติ เพ่ือดาเนินการให้เปน็ ไปตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี 27 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก อนุพงษ์ เผา่ จนิ ดา

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 177

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๖๐ ง หน้า ๑ ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานุเบกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วา่ ดว้ ยรายไดแ้ ละการจา่ ยเงนิ ของสถานศึกษาสงั กดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
พ.ศ. ๒๕๖๒

โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
นาเงินรายได้ของสถานศึกษาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถนิ่ ใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั สภาวการณป์ ัจจุบัน

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ มาตรา ๗๔ (๙) และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชบญั ญตั ิ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๗ (๙) มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗
แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ มาตรา ๘๕ (๑๐) และมาตรา ๘๘
แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
จึงออกระเบียบไว้ ดงั นี้

ขอ้ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยรายได้และการจ่ายเงิน
ของสถานศกึ ษาสังกดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๒”

ขอ้ ๒ ระเบียบน้ใี หใ้ ช้บงั คับต้ังแต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนาเงินรายได้ของ
สถานศึกษาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. ๒๕๕๑
บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาส่ังหรือหนังสือสั่งการในส่วนที่มีกาหนดไว้แล้วในระเบียบน้ี
หรือซ่ึงขดั หรอื แย้งกบั ระเบียบน้ี ใหใ้ ช้ระเบยี บนีแ้ ทน
ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
“องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน” หมายความว่า องค์การบริหารสว่ นจังหวัด เทศบาล องคก์ าร
บริหารสว่ นตาบล
“ผู้บริหารท้องถ่ิน” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี
นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาท่ีอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครอง

ส่วนท้องถ่ิน ที่มีอานาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา เช่น สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ โรงเรยี น ศนู ยก์ ารเรียน วิทยาลยั สถาบนั

“สถานศึกษาที่มีการจัดการศึกษาลักษณะพิเศษ” หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษา
ข้ันพื้นฐานซึ่งจัดการศึกษาในหลักสูตรพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ เป็นหลักสูตรทสี่ ถานศึกษาจัดทาขนึ้
เพื่อพัฒนาผู้เรียนแต่ละบุคคลให้มีความเชี่ยวชาญตามความถนัดของตนโดยรายวิชาเพิ่มเติมมีลักษณะ
ต่อเนื่องกันเป็นหลักสูตรหรือแผนการเรียนรู้ ได้แก่ หลักสูตรความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ หลักสูตร

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 178

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๖๐ ง หน้า ๒ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา

ความเป็นเลิศทางด้านดนตรี หลักสูตรความเป็นเลิศทางดา้ นกีฬา หลักสตู รความเป็นเลศิ ทางดา้ นศลิ ปะ
หลกั สูตรความเป็นเลิศทางด้านวิชาชีพ หรอื ด้านอนื่ ซึง่ อาจจัดการศึกษาไดท้ ้ังในรปู แบบนกั เรยี นประจา
ตามหลักเกณฑ์ท่ีสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือสถาบันการพลศึกษา หรือสถาบัน
ทางการศึกษาของรัฐท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนกาหนด หรือแบบนักเรียนไปกลับ ตามความพร้อมขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถน่ิ

“หัวหนา้ สถานศึกษา” หมายความว่า ผู้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา หรอื ผู้ทีไ่ ดร้ บั
การแตง่ ตั้งจากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ให้รับผดิ ชอบบรหิ ารสถานศกึ ษา

“หัวหน้าหนว่ ยงานคลงั ” หมายความวา่ ผูท้ ีไ่ ด้รับการแตง่ ตั้งจากผ้บู ริหารท้องถน่ิ ให้รบั ผิดชอบ
เป็นหัวหน้าปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน หรือ
งานเกยี่ วกับการเงินการบญั ชี ตามทีก่ าหนดไว้ในระเบียบนี้

“เจ้าหน้าที่การเงิน” หมายความว่า ข้าราชการส่วนท้องถิ่น หรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน
พนักงานครู หรือพนักงานส่วนท้องถ่ินท่ีได้รับแต่งตั้งจากผู้บริหารท้องถ่ินให้มีหน้าท่ีหรือปฏิบัติงาน
เกี่ยวกับการรบั เงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงนิ หรืองานเก่ยี วกับการเงินการบญั ชี
ของสถานศึกษา

“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คณะกรรมการ
บริหารศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก หรือคณะกรรมการของสถานศึกษาท่เี รียกช่ืออย่างอ่ืน

“แผนปฏิบัติการประจาปี” หมายความว่า แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาท่ีใช้ปฏิบัติการ
ประจาปงี บประมาณน้นั ๆ

“เงนิ รายได้สะสม” หมายความวา่ รายได้ท่เี ปน็ ยอดผลต่างระหวา่ งเงินรายไดก้ บั คา่ ใช้จา่ ยของ
สถานศึกษาประจาปงี บประมาณน้ัน ๆ รวมทัง้ รายได้สะสมปีงบประมาณกอ่ น ๆ ด้วย

“ค่าเรียน” หมายความว่า เงินท่ีเก็บเป็นค่าการศึกษานอกเหนือจากหลักสูตรการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐาน

ข้อ ๕ ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบยี บนี้ และให้มีอานาจตคี วามวนิ ิจฉยั ปัญหา
กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ัตเิ พือ่ ดาเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบนี้

หมวด 1
รายไดข้ องสถานศกึ ษา

ขอ้ 6 เงินรายไดข้ องสถานศึกษา ประกอบดว้ ย
(๑) เงินท่ีได้จากการท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้งั งบประมาณ ให้สถานศึกษา ดังรายการ
ตอ่ ไปน้ี

(ก) เงินที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับจากการจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปและ
ต้ังงบประมาณใหส้ ถานศึกษาเปน็ ค่าอาหารกลางวัน เงนิ รายหวั นกั เรยี น และเงนิ พัฒนาการจัดการศกึ ษา

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 179

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๖๐ ง หน้า ๓ ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

(ข) เงินท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งงบประมาณให้สถานศกึ ษาเป็นค่าอาหารกลางวนั
เงนิ รายหวั นักเรียน เงินพัฒนาการจดั การศึกษา และเงนิ ค่าใช้จา่ ยอนื่ ที่กาหนดไว้ตามระเบียบน้ี

(๒) เงินที่มีผู้อุทิศให้แก่สถานศึกษา ท้ังนี้ หากเป็นการอุทิศให้แบบมีเงื่อนไขต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการกอ่ น

(๓) เงินท่ีไดร้ บั การสนับสนุนจากหนว่ ยงานอืน่
(4) เงินท่ีได้จากการเรียกเก็บเป็นค่าบารุงการศึกษาหรือค่าเรียนนอกเหนือจากหลักสูตร
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ตามแนวทางทอี่ ธบิ ดกี รมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน่ กาหนด
(๕) เงินทไ่ี ด้จากการรับจ้าง การแสดง หรอื กิจกรรม หรือจากการจาหน่ายส่ิงของ
(๖) เงินทไี่ ดจ้ ากทรพั ย์สินของสถานศึกษา
(๗) ดอกผลทเ่ี กิดจากเงินรายไดส้ ถานศกึ ษา
(๘) รายได้อื่น ๆ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือตามท่ีกระทรวงมหาดไทย
กาหนดใหเ้ ปน็ รายได้ของสถานศกึ ษา
ในกรณีที่สถานศึกษามีรายได้ตาม (๕) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจกาหนดหลักเกณฑ์
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการแบ่งสัดส่วนของรายได้ดังกล่าวให้แก่ผู้เรียนที่เกี่ยวข้องได้ โดยผ่านความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการ
ข้อ ๗ เงินค่าบารุงการศึกษา ตามข้อ ๖ (๔) จะเรียกเก็บได้เฉพาะในเร่ืองที่สถานศึกษา
จะพัฒนาการเรียนการสอนเสริมเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดประสบการณ์
และการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือบริการอ่ืน เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและมาตรฐาน
การศึกษาของผู้เรียนได้ตามอัตราที่เหมาะสมกับสภาพท้องถ่ิน ซ่ึงต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจของ
ผู้ปกครองและผู้เรียน โดยในการจัดเก็บให้คานึงถึงผู้ปกครองท่ีมีฐานะยากจนและผู้ปกครองท่ีไม่มีสิทธิ
เบกิ เงนิ สวสั ดกิ ารเกี่ยวกบั การศกึ ษาของบุตรดว้ ย ทัง้ นี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
ข้อ ๘ ในกรณีที่มีเหตุพิเศษ คณะกรรมการอาจยกเว้นให้ผู้เรียนเป็นการเฉพาะราย
ไมต่ อ้ งชาระเงินบารงุ การศึกษานอกเหนอื จากหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐานก็ได้

หมวด ๒
รายจ่ายของสถานศกึ ษา

ข้อ 9 รายจ่ายของสถานศึกษา ประกอบดว้ ย
(1) คา่ ใช้จ่ายตามรายการหรือวัตถปุ ระสงค์ท่ไี ดร้ ับการอดุ หนนุ จากรฐั
(2) ค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวกับการศกึ ษาสาหรับผู้เรียนโดยตรงและคา่ ใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการบริหารงานทัว่ ไป
สาหรบั สถานศึกษา ซ่งึ มีรายการค่าใชจ้ า่ ยเป็นไปตามแนวทางท่อี ธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่นกาหนด
(3) คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นตามหลักสูตรการศึกษา
(4) ค่าใช้จา่ ยในการนาผเู้ รียนไปทศั นศึกษา

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 180

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๖๐ ง หน้า ๔ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๕) ค่าใชจ้ า่ ยในการนาผู้เรยี นไปรว่ มกจิ กรรม การแข่งขนั กฬี า หรือการแข่งขันทกั ษะทางการศกึ ษา
ภายในและตา่ งประเทศ

(๖) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา หรือการส่งบุคลากร
ของสถานศึกษาไปเขา้ รับการฝกึ อบรม

(๗) ค่าวสั ดุหรอื ครภุ ณั ฑท์ ี่เปน็ สอ่ื หรืออปุ กรณ์สาหรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ของสถานศกึ ษา
(๘) ค่าวัสดุหรือครภุ ณั ฑ์สานกั งานของสถานศึกษา
(๙) ค่าจ้างเหมาบริการงานการสอน งานทาความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย พาหนะ
รบั ส่งนกั เรยี นตามความจาเป็นทีต่ ้องจดั ให้มี

(1๐) ค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษาตามระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่าดว้ ยการเบิกจา่ ยเงนิ คา่ สอนพเิ ศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษาและสถาบนั อดุ มศึกษา

(1๑) ค่าเบี้ยประชุมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา
แหง่ ชาติ ไม่เกนิ สองคร้งั ตอ่ ภาคเรียน

(1๒) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดหา ปรับปรุง ซ่อมแซม บารุงรักษาวัสดหุ รือครภุ ัณฑ์สานักงาน
และอาคารสถานทีก่ รณที ี่มคี วามจาเปน็ เรง่ ดว่ น

(1๓) ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการจัดหา ปรับปรุง ซ่อมแซมหรือพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก
สาธารณปู โภคหรือสาธารณปู การ

(1๔) ค่าใช้จ่ายที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะส่ังการกาหนดให้เป็นรายจ่ายของสถานศึกษา
ได้เฉพาะรายการที่กฎหมาย ระเบียบ หนังสือกระทรวงมหาดไทยกาหนดให้เป็นรายจ่ายขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถน่ิ เทา่ น้ัน

(๑๕) คา่ ใชจ้ ่ายอื่น ๆ ทเี่ กีย่ วเน่ืองตาม (๑) - (๑๔) หรือค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ท่ีมีกฎหมาย ระเบยี บ

คาส่ัง หรือหนงั สือของกระทรวงมหาดไทยกาหนด
รายจ่ายตาม (3) (4) (5) (6) (๗) และ (๘) ให้เป็นไปตามอัตราค่าใช้จ่ายตามระเบียบ

กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและการเข้ารับการฝึกอบรมของเจ้าหน้าท่ี
ท้องถิ่น ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของเจ้าหน้าท่ีท้องถิ่น
หรือระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬา
และการสง่ นักกฬี าเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ แลว้ แต่กรณี

รายจ่ายตาม (๕) ในกรณีการนาผู้เรียนไปร่วมกิจกรรม การแข่งขันกีฬา หรือการแข่งขัน
ทักษะทางการศึกษาภายในประเทศ ให้เป็นอานาจของผู้บริหารท้องถิ่น ส่วนกรณีการนาผู้เรียนไปร่วม
กิจกรรมการแข่งขันกีฬา หรือการแข่งขันทักษะทางการศึกษาในต่างประเทศ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินนั้นต้องทาความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นรายกรณีก่อนดาเนินการและให้อนมุ ัติ
เฉพาะบุคลากรท่ีเกย่ี วขอ้ งกับภารกจิ ดังกลา่ วโดยตรงเท่าน้นั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 181

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๖๐ ง หน้า ๕ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

หมวด 3
การบรหิ ารรายได้ รายจ่าย และการพัสดขุ องสถานศึกษา

ข้อ 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนเป็นค่าอาหารกลางวัน
เงินรายหวั นกั เรียน และเงินพฒั นาการจัดการศึกษา และเงินอ่นื ทีอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นให้สถานศึกษา
ตามข้อ ๖ (๑) ให้ต้ังงบประมาณโดยตราเป็นข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
หรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเตมิ แล้วแตก่ รณี ไว้ในงบดาเนนิ งาน หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
รายการค่าใชส้ อย ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบตั ิราชการที่ไมเ่ ขา้ ลักษณะรายจ่ายหมวดอน่ื ๆ
โครงการสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยการบริหารสถานศกึ ษา เวน้ แต่กรณีทีม่ ีการกาหนดให้งบประมาณรายการนน้ั
ไม่ตอ้ งตราเปน็ ขอ้ บญั ญตั ิหรอื เทศบัญญตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คบั ประกาศ หรอื คาสั่ง

เมื่อข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีหรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
ตามวรรคหนง่ึ ประกาศใชแ้ ล้ว ให้เบิกจ่ายเพอื่ โอนเข้าบัญชีเงนิ ฝากธนาคารของสถานศึกษา โดยคานงึ ถึง
สถานะทางการเงนิ การคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ขอ้ ๑๑ เงินรายได้ท่ีสถานศึกษาได้รับให้ใช้จ่ายตามกิจการของสถานศึกษา ให้จัดทาเป็น
โครงการหรือกิจกรรม บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณของสถานศึกษา โดยผ่านความ
เห็นชอบของคณะกรรมการ และให้หัวหน้าสถานศึกษาประกาศใช้แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
ของสถานศึกษา

ข้อ 1๒ รายได้ของสถานศึกษาตามข้อ ๖ เม่ือสถานศึกษาใช้จ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษา
ประจาปีงบประมาณแล้ว หากมีเงินเหลือจ่ายให้ตกเป็นเงินรายได้สะสมของสถานศึกษา เว้นแต่กรณี
รายได้ท่มี กี ารกาหนดเงื่อนไขเงนิ เหลือจ่ายให้สง่ คนื

ข้อ 1๓ ในกรณีที่สถานศึกษามีรายได้ไม่เพียงพอและมีความจาเป็นต้องใช้จ่ายเงิน ผู้บริหาร
ทอ้ งถิ่นอาจอนุมตั ใิ หใ้ ชจ้ า่ ยจากเงนิ รายไดส้ ะสมไดต้ ามความจาเปน็ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ

การใชจ้ ่ายจากเงินรายไดส้ ะสมตามวรรคหนงึ่ ให้กระทาไดเ้ ฉพาะกิจการทอ่ี ยู่ในอานาจหนา้ ทขี่ อง
สถานศึกษา ซึง่ เก่ยี วกบั ดา้ นการบรกิ ารผ้เู รยี น หรอื กิจการท่เี พม่ิ พนู รายได้ของสถานศกึ ษา หรอื กจิ การ
ทจี่ ัดทาเพื่อแก้ไขปัญหาความเดอื ดร้อนของผู้เรียน ต้องเกิดประโยชนก์ ับผู้เรยี นโดยตรง และตอ้ งเปน็ ไป

ตามแผนพัฒนาของสถานศึกษา ทั้งน้ี การใช้จ่ายจากเงินรายได้สะสมของสถานศึกษา ให้จัดทาเป็น
โครงการหรอื กิจกรรมบรรจุไวใ้ นแผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ

ข้อ 1๔ ให้ผู้บริหารท้องถ่ินเป็นผู้มีอานาจอนุมัติการดาเนินการโครงการหรือกิจกรรมของ
สถานศึกษา เวน้ แต่กรณดี ังต่อไปนี้ ผ้บู ริหารทอ้ งถิ่นอาจมอบอานาจเป็นหนังสือใหห้ ัวหน้าสถานศึกษาก็ได้

(๑) การดาเนินการโครงการหรือกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณที่มีวงเงิน
ไมเ่ กินห้าแสนบาท

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 182

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๖๐ ง หน้า ๖ ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๒) การดาเนินการโครงการหรือกิจกรรมทไี่ ม่ได้กาหนดในแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ
เฉพาะที่มีความจาเป็นเรง่ ด่วนเพือ่ แกไ้ ขปัญหาความเดือดรอ้ นของผเู้ รียนท่มี วี งเงนิ ไม่เกินหา้ หมนื่ บาท

ขอ้ 1๕ การจัดซื้อจัดจ้างและการอนุมัติจ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษาให้เป็นอานาจของ
ผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ

หมวด 4
การรบั เงนิ การเบิกจา่ ยเงนิ การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงินและการตรวจเงนิ ของสถานศกึ ษา

ขอ้ 1๖ การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินของ
สถานศกึ ษาใหถ้ ือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการรับเงิน การเบกิ จา่ ยเงิน การฝากเงนิ
การเกบ็ รักษาเงนิ และการตรวจเงนิ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ โดยอนุโลม

รูปแบบฎีกาเบิกจ่ายเงินของสถานศึกษาให้เป็นไปตามท่ีอธิบดกี รมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
กาหนด

ขอ้ 1๗ การอนุมัติฎีกาเบิกจ่ายเงินที่จ่ายจากเงินรายได้หรือเงินรายได้สะสมของสถานศึกษา
ให้มอบหมายเจ้าหน้าท่ีการเงินของสถานศึกษาเป็นผู้ดาเนินการจัดทาฎีกาเบิกเงิน กาหนดและควบคุม
เลขที่ฎีกา เสนอให้ผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้เป็นหัวหน้าหน่วยงานคลังเป็นผู้ตรวจฎีกาก่อนเสนอต่อ
ผมู้ ีอานาจอนุมัตติ ามข้อ ๑๔ และขอ้ 1๕ แลว้ แต่กรณี

ข้อ ๑๘ การส่ังจ่ายเงินจากธนาคารท่ีสถานศึกษาได้ฝากเงินไว้ ให้ผู้บริหารท้องถ่ินแต่งต้ัง
หัวหน้าสถานศึกษาและข้าราชการครู หรือพนักงานครูอย่างน้อยสองคน เป็นผู้มีอานาจลงนาม
ส่ังจ่ายเงนิ นน้ั

ในกรณีสถานศกึ ษาไมม่ ีผู้ดารงตาแหนง่ ครู ผู้บริหารท้องถิ่นอาจแตง่ ตงั้ ขา้ ราชการหรอื พนกั งาน
ส่วนท้องถิ่นอ่ืนดาเนินการแทน โดยคานึงถึงระดับตาแหน่ง หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับ
แตง่ ตัง้ เป็นสาคัญ

ในกรณีของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้หัวหน้าหน่วยงานคลังกับข้าราชการ หรือพนักงาน
ส่วนท้องถ่ินอย่างน้อยสองคนท่ีได้รับมอบหมายจากผู้บริหารท้องถิ่น เป็นผู้มีอานาจลงนามส่ังจ่าย
เงนิ ฝากธนาคาร

ข้อ 1๙ การจัดทาบัญชีและรูปแบบบัญชีของสถานศึกษาให้เป็นไปตามท่ีกระทรวงการคลัง
กาหนด

หมวด ๕
สถานศึกษาทมี่ กี ารจดั การศกึ ษาลักษณะพิเศษ

ข้อ ๒๐ นอกเหนือจากท่ีกาหนดไว้ในข้อ 9 รายจ่ายของสถานศึกษาที่มีการจัดการศึกษา
ลักษณะพิเศษ ประกอบด้วย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 183

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๖๐ ง หน้า ๗ ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๑) ค่าเครื่องแต่งกายและอุปกรณ์สาหรับผู้เรียนในการฝึกกีฬา ฝึกงาน ฝึกปฏิบัติการ
หรอื การแขง่ ขัน

(๒) คา่ วัสดุหรือครภุ ัณฑท์ ่จี าเปน็ สาหรบั จดั ท่พี ักอาศัยใหแ้ กผ่ ู้เรียนในสถานศกึ ษา
(๓) ค่าประกนั อบุ ตั ิเหตผุ ้เู รยี น

(ก) ในขณะฝกึ กีฬา ฝกึ งาน ฝึกปฏบิ ัติการ หรอื ในระหว่างการเรยี นตามหลกั สตู ร
(ข) ในระหว่างการแข่งขัน
(๔) คา่ จา้ งเหมาบริการซกั รีดเฉพาะในกรณีทม่ี คี วามจาเปน็
(5) คา่ อาหารประจาวัน
(6) ค่าอาหารเสริมเฉพาะในกรณที ่ีมคี วามจาเปน็
(๗) ค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็นในการจัดการศึกษาลักษณะพิเศษ เช่น ค่าวัสดุ อุปกรณ์
ในการเรยี นการสอน
ค่าใช้จ่ายตามวรรคหน่ึง ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจาเป็น เหมาะสม และ
ประหยัด สาหรับตาม (๕) และ (๖) ให้เบิกจ่ายได้ไม่เกินอัตราท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด หรือท่ีส่วน
ราชการถือปฏบิ ตั อิ ยู่
ข้อ ๒๑ การกาหนดให้สถานศึกษาใดเป็นสถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาลักษณะพิเศษ
ให้เปน็ ไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย

หมวด ๖
ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก

ข้อ 2๒ ให้ผู้บริหารท้องถิ่นมอบหมายหัวหน้าหน่วยงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น
หัวหน้าหน่วยงานคลังของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมอบหมายข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
ในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นเจ้าหนา้ ทีก่ ารเงินของศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็

การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บ
รกั ษาเงิน และการตรวจเงินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ โดยอนุโลม

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๒๓ ในกรณสี ถานศึกษาใดมีเงินรายไดส้ ะสมตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์
และวิธีการนาเงินรายได้ของสถานศึกษาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษา
สงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ พ.ศ. ๒๕๕๑ ใหถ้ ือเปน็ เงนิ รายได้สะสมของสถานศกึ ษาตามระเบียบน้ี

ข้อ 2๔ การใดท่ีได้ดาเนินการไปก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับและยังดาเนินการไม่แล้วเสร็จ
ให้ดาเนินการต่อไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนาเงินรายได้ของ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 184

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๖๐ ง หน้า ๘ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานเุ บกษา

สถานศึกษาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
พ.ศ. ๒๕๕๑ จนกวา่ จะแล้วเสรจ็

ข้อ ๒๕ สถานศึกษาใดที่จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานซ่ึงจัดหลักสูตรพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ
ตามคานิยาม คาว่า “สถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาลักษณะพิเศษ” ตามระเบียบนี้ อยู่ก่อนวันที่
ระเบียบนใ้ี ชบ้ ังคบั ใหถ้ ือว่าเป็นสถานศกึ ษาท่ีมีการจดั การศึกษาลักษณะพิเศษ ตามระเบยี บนี้

รายจ่ายของสถานศึกษาตามวรรคหน่ึงซ่ึงเป็นไปตามหลักเกณฑ์ตามข้อ ๒๐ ของระเบียบนี้
ท่ีได้ดาเนินการไปแล้วและได้กระทาโดยสุจริตก่อนวันที่ระเบียบน้ีใช้บังคับให้ถือเป็นการกระทาที่ชอบ
ตามระเบียบนี้

ขอ้ ๒๖ การจัดทาบญั ชีและรูปแบบบัญชีของสถานศกึ ษาตามข้อ ๑๙ หากกระทรวงการคลงั
ยังไม่ได้กาหนดไว้ ให้นาการจัดทาบัญชีและรูปแบบบัญชีตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์
และวิธีการนาเงินรายได้ของสถานศึกษาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษา
สังกดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๑ มาใชโ้ ดยอนโุ ลม จนกวา่ กระทรวงการคลังจะกาหนด

ประกาศ ณ วนั ที่ 25 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก อนุพงษ์ เผา่ จนิ ดา

รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 185

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สรำะนเักบงยี านบคกณระทกรรรวมงกมาหรกาฤดษไทฎีกยา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

วา่ ด้วยหลกั เกณฑ์การจ่ายเงนิ เบี้ยความพิการใหค้ นพิการขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๕๓สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนโักดงยาทนค่ีเปณ็นะกกรารรมสกมาครกวฤรษกฎำกีหานดหลักเกณฑส์กำานรักจง่าานยคเงณินะเกบร้ียรคมกวาารมกพฤิษกฎารกี ใาห้คนพิการของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เพ่ือให้สอดคล้องกับระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
สำนกั งาชนีวคิตณคะนกรพริกมกาารรแกหฤ่งษชฎาีกตา ิ ว่าด้วยหลักสเำกนณักงฑาน์ แคณละกวริธรีกมากราจรกัดฤสษวฎัสีกดาิการเบี้ยควาสมำนพักิกงานรคพณ.ะศก.รร๒ม๕ก๕าร๒กฤษฎีกา
ลงวันท่ี ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ (๙) แห่งพระราชบัญญัติ
สง่ เสริมและพฒั สำนนากั คงุณานภคาณพะชกวี รติรมคกนาพรกิกฤาษรฎพีกา.ศ. ๒๕๕๐ สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สำนักงานคณะกรรมการกฤอษาฎศีกัยา อำนาจตามคสวำานมกั ใงนานมคาณตระากร๖รม๙กาแรลกะฤมษฎาตกี ารา ๗๗ แห่งพสรำะนรกั างชานบคัญณญะกัตริเรทมศกบารากลฤษฎกี า
พ.ศ. ๒๔๙๖ มสาำตนรกั างา๕นคแณละะกมรารตมกราาร๘กฤ๘ษฎแกีหาง่ พระราชบัญญสำัตนิสักภงาานตคำณบะลกแรลรมะกอางรคก์กฤาษรฎบีกราหิ ารส่วนตำบล
พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖ และมาตรา ๙๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา

สำนกั งาพน.คศณ. ๒ะก๕ร๔รม๒การรัฐกมฤนษตฎรกี วีา่าการกระทรวสงำมนหกั างาดนไคทณยอะกอรกรรมะกเาบรียกฤบษไวฎ้กี ดาังตอ่ ไปน้ี สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สำนขักอ้ งา๑นคณระะเกบรียรมบกนา้ีเรรกียฤกษวฎ่าีกา“ระเบียบกระทสรำนวักงมงาหนาคดณไทะกยรวร่ามดก้วายรกหฤลษักฎเีกกาณฑ์การจ่ายเงิน
สำนกั งาเนบคี้ยณคะวการมรพมกิกาารรกใหฤษ้คฎนกี พาิการขององค์กสรำปนกกั คงารนอคงณส่วะกนรทรอ้มงกถารน่ิ กฤพษ.ศฎีก. า๒๕๕๓” สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สำนขัก้องา๒นค๑ณะรกะรเรบมียกบารนกี้ใฤหษ้ใฎชกี ้บา ังคับตั้งแต่วันสำถนัดกั จงาานกควณันะปกรรระมกกาาศรกในฤษรฎากีชากิจจานุเบกษา
เปน็ ตน้ ไป

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ข้อ ๓ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง ประกาศ หรือมติอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้ง
กับระเบียบน้ใี หสใ้ำชนร้กั ะงาเบนยีคณบนะก้ีแรทรนมการกฤษฎีกา สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนักงานคณะกรรมการกฤขษ้อฎกี ๔า ในระเบียบนส้ีำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สำน“ักคงานนพคิกณาะรก”รรมแกลาะรก“ฤผษู้ฎดีกูแาลคนพิการ” สหำมนาักงยาคนวคาณมะถกรึงรม“กคานรกพฤิกษาฎรีก”า และ “ผู้ดูแล
คนพกิ าร” ตามกฎหมายวา่ ด้วยสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ าร

สำนักงานคณะกรรมการกฤ“ษอฎงีกคา์กรปกครองสส่วำนนทักง้อางนถค่ินณ”ะกหรมรมากยาครวกาฤมษฎว่ากี าเทศบาล องคส์กำนากัรงบารนิหคาณระสก่วรนรมตกำาบรกลฤษฎกี า

และเมอื งพทั ยา
สำน“กั ผงบู้านรคิหณาะรกทรอ้ รงมถก่ินาร”กฤหษมฎาีกยาความว่า นายกสำเทนักศงมานนคตณรีะนการยรมกกอางรคก์กฤาษรฎบกี ราิหารส่วนตำบล

สำนักงาแนลคะณนะากยรกรมเมกือารงกพฤทั ษยฎากี า สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนขัก้องา๕นคณใหะก้ปรลรมัดกการรกะฤทษรฎวีกงามหาดไทยรักษสำานกักางราตนคาณมระกะรเบรมียกบารนกี้ ฤโษดฎยกีมาีอำนาจตีความ
และวินิจฉัยปัญหาเก่ียวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ และให้มีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ

สำนักงาเนพคอ่ื ณดะำกเนรรนิ มกกาารใกหฤ้เษปฎน็ กี ไาปตามระเบยี บสนำ้ีนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๓๖ ง/หนา้ ๑/๒๓ มนี าคม ๒๕๕๓

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี


Click to View FlipBook Version