The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makenodown, 2021-09-11 23:52:50

70 กฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

หน้าท่ี 622

หน้า ๓๖ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๐ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ระเบยี บกระทรวงการคลงั

ว่าดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพอื่ ช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั พิบตั กิ รณฉี ุกเฉนิ
พ.ศ. ๒๕๖๒

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการ
เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ ให้มีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ
วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และเพื่อให้ส่วนราชการมีวงเงินทดรองราชการในการ
ให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติเป็นกรณีจาเป็นเร่ งด่วน
ท่ไี มส่ ามารถรอการเบกิ เงินจากงบประมาณได้

อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๔๑ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัตวิ ินัยการเงินการคลังของรัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวางระเบียบไว้
ดังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลอื
ผู้ประสบภยั พิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒”

ข้อ ๒ ระเบียบน้ใี ห้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก
(๑) ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
กรณีฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖
(๒) ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
กรณฉี ุกเฉนิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ ๔ ระเบียบน้ีไม่ใช้บังคับกับการจ่ายเงินทดรองราชการตามระเบียบกระทรวงการคลัง
วา่ ด้วยเงนิ ทดรองราชการเพอื่ ใชจ้ า่ ยกรณีฉกุ เฉนิ หรือจาเป็นในการรักษาความมนั่ คงของประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๒
ขอ้ ๕ ในระเบยี บนี้
“ภัยพิบัติ” หมายความว่า สาธารณภัยอันได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง

ภาวะฝนแล้ง ฝนท้ิงช่วง ภัยจากลูกเห็บ ภัยอันเกิดจากไฟป่า ภัยที่เกิดจากโรคหรือการระบาด
ของแมลง หรือศัตรูพืชทุกชนิด ภัยอันเกิดจากโรคท่ีแพร่หรือระบาดในมนุษย์ อากาศหนาวจัดผดิ ปกติ
ภัยสงคราม และภัยอันเน่ืองมาจากการกระทาของผู้ก่อการรา้ ย กองกาลังจากนอกประเทศ ตลอดจน
ภัยอื่น ๆ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติหรือมีบุคคลหรือสัตว์ทาให้เกิดข้ึน ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต
ร่างกายของประชาชน หรอื ทาให้เกดิ ความเสยี หายแก่ทรัพย์สนิ ของประชาชน

“ฉุกเฉิน” หมายความว่า เกิดข้ึนโดยปัจจุบันทันด่วนหรือเป็นท่ีคาดหมายว่าจะเกิดข้ึน
ในเวลาอนั ใกลแ้ ละจาเป็นต้องรบี แกไ้ ขโดยฉับพลนั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 623

หน้า ๓๗ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๐ ง ราชกิจจานุเบกษา

“ผู้ประสบภัยพิบัติ” หมายความว่า ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากภัยพิบัติ
กรณีฉกุ เฉิน แตไ่ ม่รวมถงึ ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรฐั

“การให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตร” ให้หมายความรวมถึง การให้ความช่วยเหลือ
ผูป้ ระสบภัยพบิ ตั ดิ า้ นการปศสุ ัตว์และด้านการประมงด้วย

“การให้ความช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์และฟื้นฟูผู้ประสบภัย” หมายความว่า การให้
ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในระยะสั้น เพ่ือให้ผู้ประสบภัยพิบัติน้ันสามารถช่วยตนเองได้
เชน่ การใหค้ วามชว่ ยเหลือเดก็ ผู้สูงอายุ หรือคนพกิ ารซงึ่ หวั หน้าครอบครัวเสียชวี ติ พกิ ารหรือบาดเจบ็
จากภัยพิบัติ การขนย้ายครอบครัว และการส่งเสริมอาชีพระยะส้ันแก่ครอบครัวของผู้ประสบภัยพิบัติ
ตลอดจนการให้คาปรึกษาแนะนาและการส่งต่อให้แก่หน่วยงานผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบ อันเป็นการจาเป็น
เพอื่ ใหก้ ารดารงชวี ิตเข้าสู่สภาวะปกติโดยเร็ว

“การใหค้ วามช่วยเหลือด้านการแพทย์และการสาธารณสุข” หมายความว่า การใหค้ วามชว่ ยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัตดิ า้ นกายและจิต ซึ่งประกอบดว้ ยการรักษาพยาบาล การส่งเสรมิ สุขภาพ การป้องกนั
และควบคุมโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการสาธารณสุขที่จาเป็น เพ่ือให้การดารงชีวิตเข้าสู่สภาวะปกติ
โดยเร็ว

ขอ้ ๖ ให้ปลัดกระทรวงการคลังรักษาการตามระเบียบน้ีและมีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์
และวธิ ปี ฏบิ ัตเิ พื่อให้เปน็ ไปตามระเบียบนี้

ขอ้ ๗ การปฏิบัติในกรณีใดท่ีระเบียบนี้ไม่ได้กาหนดไว้ หรือการยกเว้นการปฏิบัติในกรณีใด
ตามระเบียบน้ใี หส้ ่วนราชการขอทาความตกลงกับกระทรวงการคลงั

หมวด ๑
เงินทดรองราชการ

ขอ้ ๘ ให้ส่วนราชการมีวงเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน

ในการให้ความชว่ ยเหลือหรอื สนบั สนุนการใหค้ วามช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภัยพบิ ัติในระหว่างท่ียังไมไ่ ด้รบั เงนิ

งบประมาณรายจา่ ย ดงั นี้

(๑) สานกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี สานกั นายกรฐั มนตรี ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

(๒) สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหม ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

(๓) สานกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงการพฒั นาสงั คม

และความม่ันคงของมนษุ ย์ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

(๔) สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

(๕) สานกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงมหาดไทย ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 624

หน้า ๓๘ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๒๐ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

(๖) สานักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

(๗) กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

(๘) สานักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด แหง่ ละ ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

ในการน้ี ให้ปลัดกระทรวงกลาโหมมีอานาจจัดสรรเงนิ ทดรองราชการตาม (๒) แก่หน่วยงาน

ในสังกัดกระทรวงกลาโหมตามความจาเป็นและเหมาะสม และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอานาจจัดสรร

เงินทดรองราชการตาม (๘) แก่อาเภอหรือกิ่งอาเภอตามความจาเป็นและเหมาะสม ซ่ึงแต่ละแห่ง

ต้องมีวงเงินไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ท้ังน้ี ในกรณีท่ีมีความจาเป็น จะจัดสรรเพ่ิมเติมให้อีกก็ได้

และให้แจ้งกระทรวงการคลงั ทราบด้วย

กรณีเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉนิ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั มอี านาจอนุมตั ใิ ห้ส่วนราชการอ่ืน

มี ว ง เ งิ น ทด รอ งร า ช กา รเ พื่อ ช่ วยเ หลือ ผู้ป ระ สบภัยพิบั ติกร ณี ฉุก เฉินไ ด้ตา ม คว าม เ หม าะ สมจาเป็น

และกรณีที่วงเงินทดรองราชการไม่พอ ให้ส่วนราชการดังกล่าวหรือส่วนราชการตามวรรคหน่ึงสามารถ

ขอขยายวงเงินทดรองราชการเพิ่มโดยตรงต่อกระทรวงการคลังได้ แล้วให้รายงานการอนุมัติดังกล่าว

ใหน้ ายกรัฐมนตรที ราบ

ข้อ ๙ การอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการภายในวงเงินตามข้อ ๘ ให้เป็นอานาจของ

ผู้ดารงตาแหนง่ ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) นายกรัฐมนตรี สาหรับกรณตี ามข้อ ๘ (๑)

(๒) ปลัดกระทรวงกลาโหม สาหรบั กรณีตามข้อ ๘ (๒)

(๓) ปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ สาหรบั กรณตี ามข้อ ๘ (๓)

(๔) ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สาหรับกรณตี ามขอ้ ๘ (๔)

(๕) ปลดั กระทรวงมหาดไทย สาหรับกรณีตามข้อ ๘ (๕)

(๖) ปลดั กระทรวงสาธารณสุข สาหรับกรณีตามขอ้ ๘ (๖)

(๗) อธิบดกี รมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั สาหรบั กรณีตามข้อ ๘ (๗)

(๘) ผู้ว่าราชการจังหวัด สาหรับกรณีตามข้อ ๘ (๘) เว้นแต่การอนุมตั ิจ่ายเงินทดรองราชการ

ของอาเภอหรือกิ่งอาเภอภายในวงเงินท่ีจัดสรรให้ ให้เป็นอานาจของนายอาเภอหรือปลัดอาเภอ

ผู้เปน็ หัวหนา้ ประจาก่งิ อาเภอ แลว้ แตก่ รณี

ผู้มีอานาจอนมุ ัติจา่ ยเงินทดรองราชการตามวรรคหนง่ึ อาจมอบหมายใหบ้ ุคคลอื่นซง่ึ เปน็ ขา้ ราชการ

ในสังกดั อนมุ ัติจา่ ยเงนิ ทดรองราชการแทนตนก็ได้

ในกรณีท่ีมีเหตุอันควรคาดหมายได้ว่าจะเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินข้ึนในจังหวัดใดและมีความจาเป็น

ต้องเตรียมเงินสดไว้เพื่อใช้จ่ายในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในวันหยุดราชการ ให้ผู้ว่าราชการ

จงั หวดั น้ันมีอานาจเบกิ เงนิ ทดรองราชการตามขอ้ ๘ (๘) ไวเ้ พือ่ สารองจา่ ยไดต้ ามความเหมาะสมจาเปน็

และเมื่อภยั พิบัติกรณีฉกุ เฉนิ สน้ิ สดุ ลงให้นาเงนิ ท่เี หลอื ส่งคืนคลงั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 625

หน้า ๓๙ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๐ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ้ ๑๐ ให้ส่วนราชการตามข้อ ๘ ยุติการอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือ
ผปู้ ระสบภยั พิบัติกรณีฉกุ เฉนิ ในกรณใี ดกรณีหนึง่ ท่เี กดิ ขึ้นก่อน ดังตอ่ ไปนี้

(๑) เมื่อส่วนราชการตามข้อ ๘ ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพ่ือช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติแล้ว

(๒) เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือตามประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ
ผปู้ ระสบภยั พิบัติกรณีฉุกเฉนิ

(๓) มีการประกาศยุติการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจากอธิบดีกรมป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภยั หรอื ผูว้ ่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี

หมวด ๒
คณะกรรมการใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ตั ิ

ขอ้ ๑๑ ให้จังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระดับอาเภอ
หรือก่ิงอาเภอคณะหน่งึ เรียกว่า “คณะกรรมการให้ความชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภยั พิบัติอาเภอ” เรียกโดยยอ่ ว่า
“ก.ช.ภ.อ.” หรือ “คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกิ่งอาเภอ” เรียกโดยย่อว่า
“ก.ช.ภ.กอ.” แล้วแต่กรณี ประกอบด้วยนายอาเภอหรือปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจาก่ิงอาเภอ
เป็นประธานกรรมการ หัวหน้าสว่ นราชการประจาอาเภอหรอื กิง่ อาเภอทเี่ กี่ยวขอ้ งหรอื ผูแ้ ทนไม่เกินสี่คน
ผู้แทนกระทรวงกลาโหมหนึ่งคน ผู้แทนกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหนึ่งคน ผู้แทนองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอาเภอหรือกิ่งอาเภอน้ันหน่ึงคน เป็นกรรมการ และปลัดอาเภอหัวหน้า
ฝา่ ยความม่นั คง เปน็ กรรมการและเลขานุการ

ข้อ ๑๒ ให้ ก.ช.ภ.อ. หรอื ก.ช.ภ.กอ. มหี นา้ ท่แี ละอานาจ ดังต่อไปนี้
(๑) สารวจความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินท่ีเกิดขึ้นในอาเภอหรือกิ่งอาเภอ แล้วแต่กรณี
และความตอ้ งการรบั ความช่วยเหลอื ดา้ นตา่ ง ๆ ของผปู้ ระสบภัยพบิ ัติโดยจดั ทาบัญชเี ปน็ ประเภทไว้
(๒) ตรวจสอบและกล่ันกรองการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในด้านต่าง ๆ ตามที่

องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้สารวจความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินท่ีเกิดขึ้นในแต่ละพ้ืนที่
ที่รบั ผดิ ชอบตามอานาจหน้าทท่ี ก่ี ฎหมายกาหนด

(๓) พจิ ารณาชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยพบิ ตั ติ ามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่ีกระทรวงการคลังกาหนด
(๔) ประสานงานและรว่ มดาเนนิ การชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั พบิ ัติกบั ก.ช.ภ.อ. หรือ ก.ช.ภ.กอ. อนื่
ในกรณีทเ่ี กิดภัยพิบัตกิ รณฉี กุ เฉินข้นึ ในหลายอาเภอหรอื หลายกง่ิ อาเภอ
(๕) รายงานผลการสารวจตาม (๑) และการแก้ไขความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหน้าท่ไี ดด้ าเนนิ การไปแลว้
ให้ ก.ช.ภ.จ. ทราบหรอื เพ่ือพิจารณาดาเนนิ การช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยพิบตั ิตอ่ ไป
(๖) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ัติตามที่ ก.ช.ภ.อ หรอื ก.ช.ภ.กอ. มอบหมาย แลว้ แต่กรณี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 626

หน้า ๔๐ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๐ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ้ ๑๓ ให้จังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระดับจังหวัด
คณะหน่ึง เรียกว่า “คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด” เรียกโดยย่อว่า
“ก.ช.ภ.จ.” ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ ปลัดจังหวัด พาณิชย์จังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด ผู้แทนกระทรวงกลาโหมหน่ึงคน ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่นั คงของมนุษย์หนึง่ คน ผ้แู ทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หน่ึงคน ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข
หนึง่ คน ผูแ้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ หนึ่งคน ผ้แู ทนส่วนราชการทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ภยั พบิ ัติกรณฉี กุ เฉนิ
ไม่เกินสีค่ น สภาอตุ สาหกรรมจังหวัด หรอื ประธานหอการค้าจงั หวัดหรอื ผแู้ ทนในเขตจงั หวัดนั้นหนึ่งคน
เปน็ กรรมการ และหวั หน้าสานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ

ขอ้ ๑๔ ให้ ก.ช.ภ.จ. มีหนา้ ท่ีและอานาจ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ตรวจสอบและกล่ันกรองการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติด้านต่าง ๆ ตามท่ี
ก.ช.ภ.อ. หรือ ก.ช.ภ.กอ. ได้สารวจความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินท่ีเกิดขึ้นในแต่ละพ้ืนที่
ท่รี ับผดิ ชอบตามอานาจหนา้ ทท่ี ีก่ ฎหมายกาหนด
(๒) พิจารณาชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารที่กระทรวงการคลงั กาหนด
(๓) ระดมสรรพกาลัง ควบคุม เร่งรัด และประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในการ
ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ เพ่ือให้ผู้ประสบภัยพิบัติได้รับความช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว ทั่วถึง
และไม่ซ้าซ้อน
(๔) พิจารณาอนุมัติค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติสาหรับส่วนราชการหรือ
หน่วยงานอนื่ ของรฐั ที่ไมม่ วี งเงนิ ทดรองราชการเพ่อื ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบัตกิ รณีฉุกเฉนิ แต่จาเปน็ ตอ้ ง
ดาเนินการช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยพิบัติตามมติของ ก.ช.ภ.จ.
(๕) จัดทาโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กาลังคน อุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้

ยานพาหนะ และอ่ืน ๆ ที่จาเป็นจากส่วนกลาง ในกรณีภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินท่ีเกิดข้ึนเกินกว่า
ความสามารถของจงั หวดั

(๖) ประสานงานและร่วมดาเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกับ ก.ช.ภ.จ. อื่น ในกรณี
ภยั พบิ ตั กิ รณีฉกุ เฉินเกิดขนึ้ ในหลายจังหวัด

(๗) รายงานความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินท่ีเกิดข้ึนในจังหวัด การแก้ไข
ความเดือดร้อนเฉพาะหน้าท่ีได้ดาเนินการไปแล้ว และโครงการขอรับการสนับสนุนการช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติจากส่วนกลาง ให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทราบหรือเพื่อพิจารณา
ดาเนินการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั พบิ ตั ิต่อไป

(๘) พิจารณาประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินร่วมกับ
ผู้ว่าราชการจังหวดั

ข้อ ๑๕ การประชุมคณะกรรมการตามข้อ ๑๑ หรือข้อ ๑๓ ต้องมีกรรมการมาประชุม
ไมน่ ้อยกวา่ กึง่ หนึง่ ของจานวนกรรมการทั้งหมดจงึ จะเปน็ องคป์ ระชุม

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 627

หน้า ๔๑ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๐ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ในการประชุมคราวใด ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ ได้

ใหก้ รรมการที่มาประชุมเลอื กกรรมการคนหน่งึ เป็นประธานในที่ประชมุ

มติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรณีที่มีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในท่ีประชุม

ลงคะแนนเสียงอีกหนึ่งเสียงเป็นเสยี งชี้ขาด
หมวด ๓

การให้ความช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ัติ

ขอ้ ๑๖ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติตามระเบียบนม้ี ีวัตถุประสงค์เพ่ือวางหลักเกณฑ์
สาหรับส่วนราชการในการดาเนินการช่วยเหลือโดยเร่งด่วนตามความจาเป็นและเหมาะสมเมื่อเกิด
ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินขึ้นในท้องท่ีหน่ึงท้องท่ีใด โดยมุ่งหมายท่ีจะบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า
ของผู้ประสบภัยพิบัติ แต่มไิ ด้ม่งุ หมายทจ่ี ะชดใชค้ วามเสยี หายใหแ้ กผ่ ้ใู ด

ข้อ ๑๗ การใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ัตกิ รณีฉุกเฉนิ ตามระเบียบนี้
ต้องเป็นค่าใช้จ่ายท่ีจาเป็นในการดารงชีพและความเป็นอยู่ของประชาชนหรือเป็นการซ่อมแซมให้คืนสู่
สภาพเดิมอันเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า โดยไม่สามารถใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
เพื่อสรา้ งส่งิ กอ่ สรา้ งหรือสาธารณูปโภคท่ีถาวรหรอื ก่อสรา้ งใหม่ได้

ขอ้ ๑๘ เม่ือเป็นท่ีคาดหมายว่าจะเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินขึ้นในเวลาอันใกล้และจาเป็นต้อง
รีบดาเนินการโดยฉับพลัน ให้ส่วนราชการดังต่อไปนี้อาจใช้จ่ายเงินทดรองราชการในเชิงป้องกัน
หรือยับย้ังภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินนั้นได้โดยไม่ต้องประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
กรณฉี กุ เฉนิ ภายในวงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

(๑) ในกรณีกรุงเทพมหานคร ให้เป็นอานาจหน้าที่ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
โดยอธิบดีกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเปน็ ผมู้ อี านาจอนมุ ัติจา่ ยเงนิ

(๒) ในกรณีจังหวัดอื่น ให้เป็นอานาจหน้าที่ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
จังหวัดโดยผู้ว่าราชการจังหวัดเปน็ ผู้มีอานาจอนมุ ตั ิจ่ายเงนิ

ท้ังน้ี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

เมื่อดาเนินการตามวรรคหนึ่งแล้วแต่ยังไมส่ ามารถป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบตั ิกรณีฉกุ เฉนิ ดงั กล่าวได้
กใ็ ห้ประกาศเขตการใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภัยพบิ ตั กิ รณฉี ุกเฉินโดยให้ดาเนนิ การตามข้อ ๒๐

ความในวรรคหน่ึงและวรรคสอง ไม่ใช้บังคับกับการป้องกันหรือยับย้ังภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
ที่เกิดจากโรคหรือการระบาดของสัตว์หรือพืชทุกชนิด ท้ังนี้ ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ดาเนนิ การ
ตามข้อ ๑๙

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 628

หน้า ๔๒ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๐ ง ราชกิจจานุเบกษา

ขอ้ ๑๙ การป้องกันหรือยับย้ังภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน หรือการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย
พิบัติจากภัยท่ีเกิดจากโรคหรือการระบาดของสัตว์หรือพืชทุกชนิด ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ใช้จ่ายจากเงินงบประมาณของหน่วยงานก่อน เม่ือไม่สามารถป้องกันได้และเกิดโรคหรือการแพร่ระบาดแล้ว
และงบประมาณไม่เพียงพอ อาจใช้จา่ ยจากเงนิ ทดรองราชการตามข้อ ๘ (๔) ได้

ขอ้ ๒๐ เม่ือภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินเกิดข้ึนในท้องท่ีใด ให้ผู้มีอานาจดาเนินการประกาศให้ท้องที่น้ัน
เปน็ เขตการให้ความช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิกรณีฉกุ เฉนิ ตามหลักเกณฑ์ ดงั ต่อไปนี้

(๑) กรณเี กิดในกรุงเทพมหานคร ใหเ้ ปน็ อานาจของอธบิ ดกี รมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
(๒) กรณีเกดิ ในจังหวัดอืน่ ใหเ้ ป็นอานาจของผ้วู ่าราชการจังหวดั ร่วมกับ ก.ช.ภ.จ.
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภัยพิบัตกิ รณฉี ุกเฉินตอ้ งกาหนดพ้ืนที่และระยะเวลา
ของการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัตนิ ้ันดว้ ย ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข
ท่กี รมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกาหนด โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง
ในการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในจังหวัดอ่ืน ๆ
หากไม่สามารถประชุม ก.ช.ภ.จ. ได้ทันท่วงที และผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นว่าความเสียหายดังกล่าว
เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทก่ี ระทรวงการคลังกาหนด ก็ให้มีอานาจพิจารณาประกาศเขตการใหค้ วามช่วยเหลอื
ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิกรณฉี กุ เฉนิ ไปก่อนไดโ้ ดยไมต่ อ้ งขอความเห็นชอบจาก ก.ช.ภ.จ.
ข้อ ๒๑ เมื่อได้มีการประกาศตามข้อ ๒๐ แล้ว ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ดาเนนิ การช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทีก่ าหนดในหมวดนี้
ขอ้ ๒๒ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร ให้ดาเนินการ
ดังต่อไปน้ี
(๑) ให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดาเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติทุกด้าน
เว้นแต่การให้ความช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์และฟ้ืนฟูผู้ประสบภัย การให้ความช่วยเหลือ
ด้านการเกษตรหรือการให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ให้เป็นอานาจหน้าที่
ของสว่ นราชการตามข้อ ๘ (๓) (๔) และ (๖) แลว้ แต่กรณี
(๒) กรณีส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐซ่ึงไม่มีวงเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินได้รับการร้องขอให้ช่วยเหลือ หรือถูกส่ังการให้ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ให้ขอรับการสนับสนุนจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เว้นแต่การให้ความช่ว ยเหลือ
ด้านสังคมสงเคราะหแ์ ละฟ้ืนฟูผปู้ ระสบภัย การให้ความชว่ ยเหลือดา้ นการเกษตร หรือการใหค้ วามชว่ ยเหลือ
ด้านการแพทย์และการสาธารณสขุ ให้เป็นอานาจหน้าท่ขี องสว่ นราชการตามขอ้ ๘ (๓) (๔) และ (๖)
แลว้ แตก่ รณี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 629

หน้า ๔๓ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๐ ง ราชกิจจานุเบกษา

(๓) กรณีท่ีมีเหตุจาเป็นเพ่ือประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ให้สานักเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรีหรือสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทยให้การสนับสนุนเงินทดรองราชการ
เพ่ือช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินแก่สว่ นราชการตามขอ้ ๘ (๓) (๔) (๖) และ (๗) โดยไม่ต้อง
ใหส้ ่วนราชการดังกล่าวขอรบั การสนับสนนุ ก่อนได้

(๔) กรณีท่ีมีความจาเป็นเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติและกระทรวงกลาโหมได้รับการร้องขอ
หรอื ถกู ส่งั การ หนว่ ยงานดังกลา่ วสามารถดาเนินการให้ความชว่ ยเหลือไดโ้ ดยตรง

ข้อ ๒๓ การให้ความชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั พิบัติในจังหวดั อืน่ ให้ดาเนินการ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ใหอ้ าเภอหรอื กิง่ อาเภอ แลว้ แต่กรณี ดาเนนิ การให้ความชว่ ยเหลือตามมติของ ก.ช.ภ.อ.

หรือ ก.ช.ภ.กอ. แล้วแต่กรณี ภายในวงเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉนิ
ตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดสรรให้ และในกรณีที่มีความจาเป็นต้องใช้เงินเพื่อดาเนินการช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติมากกว่าวงเงินที่ได้รับจัดสรร ให้อาเภอหรือกิ่งอาเภอขอรับการสนับสนุนโดยตรง
จากจังหวัด และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติการจ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพบิ ัติ
กรณีฉกุ เฉินของจงั หวดั เพ่อื สนบั สนนุ การดงั กล่าวหรือดาเนินการให้ความช่วยเหลอื ตามมตขิ อง ก.ช.ภ.จ

ในกรณีที่ไม่สามารถประชมุ ก.ช.ภ.อ. ก.ช.ภ.กอ. หรือ ก.ช.ภ.จ. แล้วแต่กรณี ได้ทันท่วงที
ถา้ นายอาเภอหรือปลัดอาเภอผ้เู ป็นหัวหนา้ ประจากง่ิ อาเภอหรือผู้วา่ ราชการจังหวดั แลว้ แตก่ รณี เหน็ วา่
ความเสยี หายดังกล่าวเปน็ ไปตามระเบยี บนี้ กใ็ หม้ ีอานาจพจิ ารณาอนมุ ัติการให้ความชว่ ยเหลอื ไปกอ่ นได้
โดยไม่ตอ้ งขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการดังกล่าว

(๒) ในกรณีส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐซ่ึงไม่มีวงเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินได้รับการร้องขอให้ช่วยเหลือ หรือถูกสั่งการให้ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ใหข้ อรบั การสนบั สนุนจากจงั หวดั

(๓) ในกรณีท่ีมีความจาเป็นเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ และกรมป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยหรือกระทรวงกลาโหม แล้วแต่กรณี ได้รับการร้องขอหรือถูกส่ังการ ให้หน่วยงานดังกล่าว
สามารถดาเนินการให้ความช่วยเหลือไดโ้ ดยตรง และรายงานให้ ก.ช.ภ.อ. ก.ช.ภ.กอ. หรือ ก.ช.ภ.จ.
ทราบต่อไป เว้นแต่ในกรณีการให้การสนับสนุนและช่วยเหลือในด้านวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้
ยานพาหนะและสิ่งอื่น ๆ เพ่ือใช้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้กรมป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยสามารถดาเนินการให้ความชว่ ยเหลือได้โดยไมต่ อ้ งรอ้ งขอ

(๔) ในกรณีท่ีมีความจาเป็นเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ให้กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือกระทรวงสาธารณสุข มีอานาจ
โอนเงนิ ทดรองราชการเพื่อช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยพิบตั ิกรณีฉุกเฉินให้แก่จงั หวัดเพอ่ื ใช้ในการให้ความช่วยเหลือ
ผ้ปู ระสบภัยพบิ ตั ไิ ดต้ ามภารกจิ ของส่วนราชการเจา้ ของเงนิ โดยไม่ต้องใหจ้ ังหวัดขอรบั การสนับสนนุ กอ่ นได้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 630

หน้า ๔๔ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๒๐ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

(๕) ในกรณีทม่ี เี หตุจาเปน็ เพ่ือประโยชนใ์ นการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ตั ิ ให้สานักเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงมหาดไทยมีอานาจโอนเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
กรณฉี ุกเฉนิ ใหแ้ ก่จงั หวัดโดยไมต่ ้องใหจ้ งั หวดั ขอรับการสนับสนนุ กอ่ นได้

การโอนเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินให้แก่ จังหวัด
ใหด้ าเนินการตามวิธกี ารที่กระทรวงการคลงั กาหนด

ข้อ ๒๔ การใหค้ วามชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัยพบิ ัติของกระทรวงกลาโหมทง้ั ในกรุงเทพมหานคร
และจังหวดั อื่น ให้สานักงานปลดั กระทรวง กระทรวงกลาโหม หรอื หน่วยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม
ท่ีได้รับมอบหมาย ดาเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติตามขอ้ ตกลงร่วมกนั ระหวา่ งกระทรวงกลาโหม
กรุงเทพมหานคร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุข โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั และสานกั งบประมาณ
เพ่อื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เปน็ ไปโดยทั่วถึงและไมซ่ ้าซอ้ นกัน

การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข
ท่ีกระทรวงกลาโหมกาหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั

ข้อ ๒๕ การขอรับการสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือตามข้อ ๒๒ และข้อ ๒๓ ให้ทา
เป็นหนงั สอื ซึ่งอย่างน้อยให้มีรายการ ดังต่อไปนี้

(๑) ประเภทของภยั พิบัติกรณีฉุกเฉนิ
(๒) วัน เดอื น ปที ีเ่ กดิ ภยั พิบตั ิกรณีฉกุ เฉนิ และวัน เดือน ปที ี่เกิดความเสยี หาย
(๓) สถานทีเ่ กิดเหตุ (ใหร้ ะบุชอื่ ถนน หม่บู า้ น ตาบล อาเภอ)
(๔) จานวนผปู้ ระสบภัยพิบัติโดยประมาณ
(๕) ความเสียหายโดยประมาณ เช่น จานวนบ้านเรือนที่เสียหาย ทรัพย์สินท่ีเสียหาย
รวมท้งั มลู คา่ ความเสียหายที่เกิดขน้ึ โดยประมาณ จานวนผู้บาดเจบ็ ผู้เสียชวี ิต เป็นต้น
(๖) การช่วยเหลือแกไ้ ขปญั หาความเดือดรอ้ นเฉพาะหนา้ ที่ได้ดาเนนิ การไปแลว้
(๗) ความตอ้ งการในการขอรับความช่วยเหลอื หรอื สนบั สนนุ การให้ความชว่ ยเหลอื
กรณีท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วนไม่อาจขอรับการสนับสนุนเป็นหนังสือได้ ให้ขอรับการสนับสนุน
การให้ความช่วยเหลือโดยเคร่ืองมือส่ือสารใด ๆ หรือโดยวิธีอื่นใดและให้ยืนยันเป็นหนังสือในภายหลัง
โดยดว่ นทส่ี ุด
การขอรับการสนับสนุนระหว่างส่วนราชการตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ให้ส่วนราชการ
ทาสัญญายมื เงนิ ตามระเบยี บของทางราชการ
ข้อ ๒๖ เพื่อให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ตั ิ ให้ส่วนราชการ
ประสานงานระหว่างส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐด้วยกันกับเอกชนและองค์กรการกุศล
ท่ีเกี่ยวขอ้ งอย่างใกล้ชดิ เพื่อใหค้ วามช่วยเหลือเปน็ ไปโดยทว่ั ถึงและไม่ซ้าซอ้ นกนั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 631

หน้า ๔๕ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๒๐ ง ราชกิจจานเุ บกษา

หมวด ๔
การจ่ายและการชดใชเ้ งนิ ทดรองราชการ

ขอ้ ๒๗ การจ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินให้จ่าย
เป็นค่าใช้จ่ายตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข และอัตราทกี่ ระทรวงการคลงั กาหนด

หากมีความจาเป็นต้องจ่ายนอกเหนือหลักเกณฑ์ตามวรรคหน่ึง ต้องได้รับอนุมัติจาก
กระทรวงการคลงั กอ่ น

ข้อ ๒๘ เม่ือผู้มีอานาจตามข้อ ๙ อนุมัติการจ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินแล้ว ให้ส่วนราชการตามข้อ ๘ เบิกเงินจากคลังเป็นเงินทดรองราชการ
เพื่อจ่ายไปพลางกอ่ นตามทีก่ าหนดในระเบียบนี้

ข้อ ๒๙ ในการจ่ายเงินรายใด ผู้รับเงินมิได้ออกใบเสร็จรับเงินให้ไว้เป็นหลักฐานหรือมิได้

ลงลายมือชื่อไว้ในสมุดทะเบียนที่ใช้เป็นหลักฐานการจ่ายเงินของทางราชการ ให้ผู้รับเงินทาใบสาคั ญ
รบั เงินตามระเบียบของทางราชการ

ข้อ ๓๐ กรณีส่วนราชการตามข้อ ๘ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗) ได้จ่ายเงิน
ทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินไปแล้ว ให้ดาเนินการขอรับโอนเงิน
งบประมาณรายจ่ายเพอ่ื ชดใชเ้ งินทดรองราชการ ดังน้ี

(๑) รวบรวมใบสาคัญและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับการจ่ายเงินเพ่ือส่งให้กรมบัญชีกลางภายใน
สามสิบวันทาการนับแตว่ นั ท่ีได้รบั เงินจากคลัง เมื่อกรมบัญชีกลางได้รับใบสาคัญและเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง
กับการจ่ายเงินแล้วให้ดาเนินการตรวจสอบเอกสารหลักฐานดังกล่าว เม่ือถูกตอ้ งครบถว้ นแล้วใหเ้ บิกเงิน
งบประมาณรายจา่ ยโดยวิธีเบกิ หกั ผลกั สง่ เพอื่ ชดใช้เงินทดรองราชการให้แกส่ ว่ นราชการโดยเร็ว

(๒) เม่ือได้จ่ายเงนิ ทดรองราชการเพอ่ื ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบตั ิกรณีฉกุ เฉินไปแล้ว ให้จดั ทา
รายงานการใช้จ่ายเงินซ่ึงผู้มีอานาจอนุมัติรับรองและเก็บหลักฐานใบสาคัญต้นฉบับไว้ที่ส่วนราชการนั้น
เพ่อื ให้สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ตรวจสอบ

ข้อ ๓๑ กรณีส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นของรัฐท่ีได้รับการสนับสนุนหรือได้รับโอน
เงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินจากส่วนราชการตามข้อ ๘ ให้ส่วนราชการ
หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐดังกล่าวส่งใบสาคัญและเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการจ่ายเงินมายังส่วนราชการ
เจ้าของเงินภายในส่ีสิบห้าวันทาการนับแต่วันที่ได้รับเงิน และให้ส่วนราชการเจ้าของเงินดาเนินการ
ตามวิธีการในข้อ ๓๐ ท้ังนี้ ระยะเวลาในการดาเนินการขอรับโอนเงินงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้
เงินทดรองราชการจะตอ้ งเสร็จส้นิ ภายในเจ็ดสิบหา้ วนั ทาการ

กรณีกระทรวงกลาโหมไดจ้ ัดสรรเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉนิ
ให้แก่หน่วยงานในสังกัด หรือกรณีสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดจะขอรับโอนเงิน
งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินทดรองราชการ ให้หน่วยงานในสังกดั กระทรวงกลาโหมหรือสานกั งาน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 632

หน้า ๔๖ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๒๐ ง ราชกิจจานุเบกษา

ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดส่งใบสาคัญและเอกสารท่เี ก่ียวข้องกับการจ่ายเงนิ มายงั สานกั งาน
ปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหม หรือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แล้วแต่กรณี ภายใน
ส่ีสิบห้าวันทาการนับแต่วันท่ีไดร้ ับเงิน และให้สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหมหรอื กรมป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย ดาเนินการตามวิธีการในข้อ ๓๐ ท้ังน้ี ระยะเวลาในการดาเนินการขอ
รับโอนเงินงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินทดรองราชการจะต้องเสร็จสิ้นภายในเจ็ดสิบห้าวันทาการ
โดยเมื่อสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดส่งใบสาคัญและเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการจ่ายเงิน
มายังกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแล้ว ให้สาเนาหนังสือแจ้งสานักงานคลังจังหวัดทราบด้วย
เพื่อให้สานักงานคลังจงั หวดั ตรวจสอบ

ท้ังน้ี ให้สานักงานคลังจังหวัดตรวจสอบการใช้จ่ายเงินทดรองราชการของสานักงานป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่กี ระทรวงการคลงั กาหนด

ข้อ ๓๒ ในกรณีท่ีเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายน และได้
จ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินไปแล้ว แต่ไม่สามารถขอรับโอนเงิน
งบประมาณรายจ่ายเพ่ือชดใช้เงินทดรองราชการในปีงบประมาณได้ทัน ให้นาไปขอรับโอนเงิน
งบประมาณรายจ่ายชดใช้ในปีงบประมาณถดั ไป โดยให้ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่ไดร้ ับอนมุ ัติให้ก่อหน้ีผกู พนั
เกินกว่าหรือนอกเหนือไปจากท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีหรือ
พระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยเพิม่ เตมิ

ข้อ ๓๓ วิธีการปฏิบัติเก่ียวกับการเงินในเรื่องใดที่มิได้กาหนดไว้ในระเบียบนี้ให้ถือปฏิบัติ
ตามระเบียบของทางราชการ

หมวด ๕
การจดั หาและการควบคุมพสั ดุ

ขอ้ ๓๔ การจัดหาพัสดุ การตรวจรับพัสดุ และการบริหารพัสดุ เพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบตั ิ
ใหส้ ่วนราชการถือปฏบิ ัตติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการจดั ซอ้ื จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั

หมวด ๖
การตรวจสอบติดตามการใชจ้ ่ายเงินทดรองราชการ

ข้อ ๓๕ การตรวจสอบติดตามการใช้จ่ายเงินทดรองราชการของส่วนราชการตามข้อ ๘
ให้ดาเนินการ ดงั นี้

(๑) กรณีส่วนราชการตามข้อ ๘ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗) ให้ผู้มีอานาจ
ตามข้อ ๙ มอบหมายให้ผตู้ รวจสอบภายในของส่วนราชการน้ัน ๆ ดาเนินการตรวจสอบการใช้จ่ายเงนิ
ทดรองราชการแล้วรายงานผลการตรวจสอบให้ผู้มีอานาจดังกล่าวทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่
สิ้นสดุ ระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 633

หน้า ๔๗ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๒๐ ง ราชกิจจานุเบกษา

(๒) กรณีส่วนราชการตามขอ้ ๘ (๘) ให้ผู้ว่าราชการจังหวดั มอบหมายให้ผู้ตรวจสอบภายใน
ของจังหวัดดาเนินการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ แล้วรายงานผลการตรวจสอบ
ให้ผู้มีอานาจดงั กล่าวทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่สิน้ สดุ ระยะเวลาการให้ความชว่ ยเหลือ

ให้สานักงานคลังจังหวัดเป็นศูนย์ประสานงานเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองเพื่อช่วยเหลือ
ผปู้ ระสบภัยพบิ ัติกรณฉี กุ เฉนิ ของจงั หวัด

ขอ้ ๓๖ ใหส้ ว่ นราชการและจงั หวดั สง่ รายงานผลการตรวจสอบการใชจ้ า่ ยเงนิ ทดรองราชการ
ตามข้อ ๓5 ไปยังกรมบัญชีกลาง ตามแบบและเงื่อนไขท่ีกระทรวงการคลังกาหนด ภายในสิบห้าวัน
นบั แตว่ นั ที่ไดร้ ับรายงานผลการตรวจสอบดงั กลา่ ว

ข้อ ๓๗ ใหม้ ีคณะกรรมการตรวจสอบตดิ ตามการใชจ้ ่ายเงินทดรองราชการกระทรวงการคลัง
ประกอบด้วย อธิบดีกรมบัญชีกลาง เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนสานักงบประมาณ ผู้แทนสานกั งาน
การตรวจเงนิ แผน่ ดนิ เป็นกรรมการ ผ้แู ทนกรมบัญชีกลาง เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร

ให้กรมบัญชีกลางเป็นศูนย์ตรวจสอบติดตามการใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือ
ผูป้ ระสบภยั พิบตั กิ รณฉี กุ เฉินและทาหน้าทส่ี นบั สนนุ การดาเนนิ งานของคณะกรรมการตามวรรคหน่งึ

ข้อ ๓๘ ให้คณะกรรมการตรวจสอบติดตามการใช้จ่ายเงินทดรองราชการกระทรวงการคลัง
มหี น้าทแี่ ละอานาจ ดังต่อไปนี้

(๑) รับปัญหาข้อร้องเรียนจากประชาชนหรือหน่วยงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาการให้ความช่วยเหลอื
ผู้ประสบภัยพิบัติซึ่งเป็นไปอย่างไม่ถูกต้อง ไม่เป็นธรรม หรือไม่เป็นไปตามระเบียบน้ี พร้อมท้ัง
ตรวจสอบและแจ้งให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องรับไปพิจารณาดาเนินการต่อไปตามท่ีเห็นสมควร และเมื่อ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องดาเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนแล้ว ให้แจ้งคณะกรรมการตรวจสอบติดตาม
การใชจ้ า่ ยเงนิ ทดรองราชการกระทรวงการคลงั ทราบด้วย

(๒) แต่งตั้งคณะทางานเพื่อปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการตรวจสอบติดตามการใช้จ่าย
เงินทดรองราชการกระทรวงการคลังมอบหมาย

บทเฉพาะกาล

ขอ้ ๓๙ การดาเนินการและการใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
กรณีฉุกเฉินสาหรบั ภยั พิบัตกิ รณีฉุกเฉินทเ่ี กิดขนึ้ อยูก่ อ่ นวนั ที่ระเบยี บนีใ้ ชบ้ ังคับ ใหถ้ อื ปฏิบตั ติ ามระเบยี บ
กระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖
และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม จนกว่าจะดาเนินการแล้วเสร็จ เว้นแต่การดาเนินการข้ันตอนใดท่ียังไม่ได้เร่ิม
ดาเนินการ ใหถ้ อื ปฏบิ ัติตามระเบียบน้ี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 634

หน้า ๔๘ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๒๐ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ้ ๔๐ ในระหว่างท่ียังมิได้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข และอัตราในการจ่าย
เงินทดรองราชการตามระเบียบน้ี ให้ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ท่ีออกตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบัตกิ รณีฉกุ เฉนิ
พ.ศ. ๒๕๕๖ ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่
กระทรวงการคลังกาหนด เพ่อี ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพบิ ตั ิกรณฉี ุกเฉนิ ตามระเบยี บน้ี

ขอ้ ๔๑ ในระหว่างท่ียังมิได้กาหนดแบบและเงื่อนไขของรายงานผลการตรวจสอบการใช้จ่าย
เงินทดรองราชการตามระเบียบนี้ ให้ใช้แบบและเงื่อนไขของรายงานการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
พ.ศ. ๒๕๕๖ และที่แก้ไขเพ่ิมเติมไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการกาหนดแบบและเง่ือนไขของรายงาน
ผลการตรวจสอบการใช้จ่ายเงนิ ทดรองราชการตามระเบยี บน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี 19 เมษายน พ.ศ. ๒๕๖2
อภิศักดิ์ ตนั ตวิ รวงศ์

รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 635

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๔๗ ง หนา ๕ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ

วา ดวย ศูนยการศึกษาอสิ ลามประจํามสั ยิด (ตาดีกา) ในจังหวัดปต ตานี ยะลา นราธวิ าส
พ.ศ. ๒๕๔๘

เพ่ือเปนการสง เสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนอิสลามศึกษาของศูนยการศึกษาอิสลาม
ประจํามัสยิด (ตาดีกา) ในจังหวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส ตามมาตรา ๒๕ แหงพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘ เรื่อง
การรับโอนภารกิจในการดูแลสงเสริมตาดีกา ใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต กระทรวงศึกษาธิการ
จงึ วางระเบยี บไว ดงั ตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยศูนยการศึกษาอิสลาม
ประจํามัสยิด (ตาดีกา) ในจงั หวดั ปตตานี ยะลา นราธิวาส พ.ศ. ๒๕๔๘”

ขอ ๒ ระเบียบน้ีใชบงั คับต้ังแตว ันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนตนไป
บรรดาระเบียบ ขอบังคับหรือคําสั่งอ่ืนใดที่กําหนดไวในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับ
ระเบียบนใ้ี หใชระเบียบนแ้ี ทน
ขอ ๓ ในระเบียบน้ี
“ศนู ย” หมายความวา ศูนยการศึกษาอสิ ลามประจาํ มสั ยดิ (ตาดีกา)
“จงั หวดั ชายแดนภาคใต” หมายความวา จงั หวดั ปตตานี จงั หวดั ยะลา จงั หวัดนราธวิ าส
“ผสู อน” หมายความวา ผใู หการอบรมหรือสอนในศูนย
“ผเู รียน” หมายความวา ผูเขารับการอบรมหรอื เรยี นในศนู ย
“สํานักงาน” หมายความวา สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชนหรือ
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ตามกฎหมายวาดว ยโรงเรยี นเอกชน แลวแตกรณีหรือสํานักงาน
เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
“นายทะเบยี น” หมายความวา ผูว า ราชการจงั หวัดหรือผูท ่ีผูว าราชการจังหวดั มอบหมาย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 636

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๔๗ ง หนา ๖ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

“เขตตรวจราชการ” หมายความวา เขตตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ เขตท่ี ๑๘
ประกอบดวยจังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส โดยมีสํานักผูตรวจราชการประจําเขต
ตรวจราชการ ที่ ๑๒ เปนทต่ี ้งั สํานกั งาน

ขอ ๔ ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจวินิจฉัยช้ีขาด
ปญหาหรอื ขอขัดแยงท่ีเกดิ ขนึ้ จากการใชร ะเบยี บนี้

หมวด ๑
การจดั ตง้ั และดาํ เนนิ การ

ขอ ๕ การจดั ต้ังศนู ย มหี ลักเกณฑดังตอ ไปนี้
(๑) เปนมัสยดิ ทจ่ี ดทะเบียนถกู ตองตามกฎหมายวาดว ยการบรหิ ารองคก รศาสนาอิสลาม
(๒) มคี ณะกรรมการบริหารศูนย
(๓) มีอาคาร สถานท่ี และบริเวณในเขตชุมชนน้นั ที่เหมาะสมในการดาํ เนินการ
ขอ ๖ ใหศูนยมอี ํานาจหนา ทด่ี ังตอ ไปนี้
(๑) จัดการศึกษาอบรม จริยธรรมตลอดจนจัดกิจกรรมดานศาสนาและประเพณีท่ีดีงาม
ของผูน บั ถือศาสนาอสิ ลามตามทก่ี ําหนดไวใ นหลกั สูตร
(๒) จัดทาํ ขอ มูลเกีย่ วกบั ศูนย อหิ มา มประจาํ มสั ยดิ ผสู อน ผูเ รยี น
(๓) รายงานผลการจดั การเรียนการสอนประจาํ ปตอสํานกั งาน
ขอ ๗ ใหอิหมามประจํามัสยิดยื่นขอจัดตั้งศูนยตอนายทะเบียนโดยไดรับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการอสิ ลามประจําจงั หวัด
ใหน ายทะเบยี นออกใบอนญุ าตการจดั ตงั้ ศนู ย ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันท่ีไดรับคํารองพรอมเอกสาร
ทีค่ รบถวน ตามแบบที่กาํ หนด
ขอ ๘ การเลิกศูนย ใหอิหมามประจํามัสยิดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมัสยิด
ยื่นคําขอตอนายทะเบยี น และรายงานใหค ณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดทราบ
ทรพั ยสินของศูนยใหตกเปน กรรมสิทธ์ขิ องมัสยดิ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๔๗ ง หนา ๗ หน้าที่ 637
ราชกจิ จานุเบกษา
๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๘
หมวด ๒
การบริหาร

ขอ ๙ ใหมีคณะกรรมการบริหารศูนยระดับเขตตรวจราชการ โดยมีผูตรวจราชการกระทรวง
ศกึ ษาธกิ ารเปนที่ปรึกษา และมีกรรมการจาํ นวน ๑๙ คน ประกอบดวย

(๑) ประธานศนู ยป ระสานงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสามจังหวัดชายแดนภาคใต
เปน ประธานกรรมการ

(๒) ประธานกรรมการอิสลามประจาํ จงั หวัดจํานวน ๒ คน
(๓) ประธานศูนยประสานงานชมรมตาดกี าสามจังหวดั ชายแดนภาคใต
(๔) ประธานชมรมตาดีกา ระดับจังหวัดจาํ นวน ๓ คน
(๕) ประธานชมรมอหิ มา มจังหวัดชายแดนภาคใต จาํ นวน ๓ คน
(๖) ผแู ทนสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน จํานวน ๑ คน
(๗) ผแู ทนสาํ นกั บรหิ ารงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน จาํ นวน ๑ คน
(๘) ผอู าํ นวยการสํานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา จังหวัดชายแดนภาคใต จาํ นวน ๖ คน
(๙) ผอู าํ นวยการสํานกั ผตู รวจประจําเขตตรวจราชการเขตท่ี ๑๒ เปน กรรมการและเลขานกุ าร
ขอ ๑๐ คณะกรรมการบริหารศนู ยระดบั เขตตรวจราชการมอี ํานาจหนา ทดี่ งั ตอไปนี้
(๑) กาํ หนดแนวทางการบรหิ ารจัดการ และติดตามประเมนิ ผล
(๒) จดั ทาํ หลกั สตู รตาดีกาในสามจังหวดั ชายแดนภาคใต
(๓) ใหคําแนะนาํ สนับสนุนสง เสริมการสอนอสิ ลามศกึ ษาของศนู ยร วมกบั คณะกรรมการบรหิ าร
ศูนยระดบั จังหวดั ระดบั อําเภอ และระดบั ตาํ บล
(๔) เสนอแนะการจดั การเรยี นการสอนอิสลามศึกษาของศูนยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต
ตอสาํ นักงาน
(๕) ปฏบิ ัติงานอน่ื ทีไ่ ดรบั มอบหมาย
ขอ ๑๑ การประชุมของคณะกรรมการบริหารศูนย ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา
ก่ึงหนง่ึ ของกรรมการทั้งหมดจึงเปน องคประชมุ
ถาประธานกรรมการไมม าประชุม หรือไมอยใู นที่ประชมุ ใหกรรมการทม่ี าประชมุ เลอื กประธานคนหนงึ่
เปนประธานที่ประชุม

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 638

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๔๗ ง หนา ๘ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

การวินจิ ฉยั ช้ขี าดของท่ีประชุม ใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหน่ึงมีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน
ถา คะแนนเสยี งเทา กนั ใหประธานทีป่ ระชุมออกเสยี งเพมิ่ อกี เสยี งหน่ึงเปนเสียงชขี้ าด

ขอ ๑๒ ใหมีคณะกรรมการบริหารศูนยระดับจงั หวัด จาํ นวน ๑๑ คนประกอบดวย
(๑) ผูวา ราชการจงั หวัดหรอื รองผวู าราชการจังหวัดหรือผูแทนที่ผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย
เปน ประธานกรรมการ
(๒) นายกองคก ารบริหารสวนจังหวดั
(๓) ผอู าํ นวยการสํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา
(๔) ผแู ทนคณะกรรมการอิสลามประจาํ จงั หวดั จํานวน ๑ คน
(๕) ผูแ ทนชมรมตาดกี าระดบั จังหวัด จาํ นวน ๒ คน
(๖) ผแู ทนชมรมอหิ มา มระดบั จงั หวัด จาํ นวน ๒ คน
(๗) ผอู ํานวยการสาํ นกั งานวฒั นธรรมจังหวัด
(๘) รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเขต ๑ ที่รับผิดชอบการศึกษาเอกชน
เปนกรรมการและเลขานุการ
ใหบุคคลตาม (๒), (๓), (๔), (๕), (๖) และ (๗) เปนกรรมการ และใหคณะกรรมการ
อิสลามประจําจังหวัด ชมรมอิหมามระดับจังหวัด ชมรมตาดีการะดับจังหวัด แลวแตกรณีคัดเลือก
ผแู ทน ตามวรรคหนง่ึ (๔), (๕) และ (๖)
ขอ ๑๓ คณะกรรมการบรหิ ารศนู ยร ะดบั จงั หวัดมีอํานาจหนา ทีด่ งั ตอ ไปน้ี
(๑) กําหนดแนวทางการพัฒนาศูนยใหสอดคลองกับแนวทางท่ีคณะกรรมการบริหารศูนย
ระดับเขตตรวจราชการกาํ หนด
(๒) ระดมทรพั ยากรและประสานงานหนว ยงานภาครฐั และเอกชนเพ่อื พฒั นาศนู ย
(๓) แนะนํา สนบั สนนุ สงเสรมิ ศูนยร วมกับคณะกรรมการบริหารศูนยระดับอาํ เภอและระดับตาํ บล
(๔) นิเทศติดตามประเมินผลการดําเนินงานของศูนยและรายงานตอคณะกรรมการบริหาร
ระดับเขตตรวจราชการ
(๕) ปฏิบัตงิ านอ่ืนทีไ่ ดร บั มอบหมาย
ขอ ๑๔ ใหม ีคณะกรรมการบริหารศูนยร ะดับอาํ เภอ จาํ นวน ๙ คน ประกอบดวย
(๑) นายอาํ เภอหรอื ปลัดอําเภอท่ีไดร บั มอบหมาย เปน ประธานกรรมการ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 639

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๔๗ ง หนา ๙ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๒) ผแู ทนสมาชกิ องคการบรหิ ารสวนจงั หวดั ในพืน้ ท่ี จาํ นวน ๑ คน
(๓) ผูแทนองคก รปกครองสว นทองถ่นิ ในพื้นท่ี จาํ นวน ๒ คน
(๔) ผแู ทนกรรมการอสิ ลามจงั หวัด จาํ นวน ๑ คน
(๕) ประธานชมรมอิหมา มระดบั อําเภอ
(๖) เจา หนา ทวี่ ัฒนธรรมระดับอําเภอ
(๗) เจาหนาที่สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ท่ีผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มอบหมายเปนกรรมการและเลขานกุ าร
(๘) ประธานชมรมตาดีการะดบั อําเภอ เปน กรรมการและผชู วยเลขานุการ
ใหบุคคลตาม (๒), (๓), (๔), (๕) และ (๖) เปน กรรมการ
ใหน ายอาํ เภอดําเนินการคัดเลือกผูแทน (๒) และ (๓) ในพื้นท่ี และคณะกรรมการอิสลาม
ประจาํ จังหวดั เลือกผูแ ทนตาม (๔)
ขอ ๑๕ คณะกรรมการบริหารศูนยร ะดบั อําเภอมีอาํ นาจหนา ทีด่ ังตอไปน้ี
(๑) ระดมทรัพยากรและประสานงานหนวยงานภาครฐั และเอกชนเพอ่ื พฒั นาศูนย
(๒) นเิ ทศติดตามประเมินผลการดาํ เนินงานของศูนยและรายงานตอคณะกรรมการบริหารศูนย
ระดับจังหวดั
(๓) กําหนดแนวทางการพฒั นาศูนยในระดับอําเภอใหสอดคลองกบั ระดับจงั หวดั
(๔) กํากับดแู ลการใชจายเงินของศูนย
(๔) ปฏบิ ัติงานอ่นื ที่ไดรบั มอบหมาย
ขอ ๑๖ ใหมีคณะกรรมการบรหิ ารศูนยร ะดบั ตําบล จาํ นวน ๗ คน ประกอบดว ย
(๑) นายกองคการบริหารสว นตาํ บลเปนประธานกรรมการ
(๒) ปลดั ตําบล
(๓) กาํ นัน
(๔) ผแู ทนอหิ มา มระดบั ตําบล จาํ นวน ๑ คน
(๕) ผแู ทนผูสอนตาดีกา จาํ นวน ๑ คน
(๖) ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ที่ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามอบหมายเปนกรรมการ
และเลขานุการ
(๗) ผูแทนชมรมตาดีกา ระดบั ตาํ บล จํานวน ๑ คน เปน กรรมการและผูชว ยเลขานกุ าร

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 640

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๔๗ ง หนา ๑๐ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

ใหบ คุ คลตาม (๒), (๓), (๔) และ (๕) เปน กรรมการ
ใหค ณะกรรมการบริหารศูนยร ะดบั อาํ เภอ คัดเลือกกรรมการตาม (๔), (๕), (๗)
ขอ ๑๗ คณะกรรมการบรหิ ารศูนยระดบั ตาํ บลมอี าํ นาจหนาท่ีดงั ตอไปนี้
(๑) ประสานสง เสริมการพัฒนาศนู ยใ นพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบ
(๒) ระดมทรัพยากรเพื่อพฒั นาศนู ย
(๓) นิเทศติดตามประเมนิ ผลและรายงานตอ คณะกรรมการบริหารศูนยระดบั อาํ เภอ
(๔) ปฏิบตั ิงานอน่ื ท่ีไดร บั มอบหมาย
ขอ ๑๘ ใหม ีคณะกรรมการบริหารศนู ย ประกอบดวยอหิ มา มประจํามสั ยิดเปน ประธานโดยตาํ แหนง
และกรรมการอน่ื จํานวนไมนอยกวา ๖ คน แตไมเกิน ๑๒ คน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
ประจํามสั ยดิ โดยมผี ูสอนตาดีกาท่อี หิ มามแตงตั้งเปน กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการบริหารศูนยต ามวรรคหนง่ึ มีวาระการดํารงตําแหนง ๔ ป พนวาระแลวอาจไดรับ
การแตง ต้งั อกี ได
ขอ ๑๙ คณะกรรมการบริหารศูนย มีอาํ นาจหนาทด่ี ังตอ ไปนี้
(๑) ดําเนนิ การบรหิ ารศนู ยใหสอดคลองกับแนวทางของคณะกรรมการบริหารศนู ยในทกุ ระดับ
(๒) จดั การศึกษาอบรมใหแกผูเ รียนตามหลกั สูตร
(๓) สงเสรมิ และพฒั นาผูส อนใหจ ดั การเรยี นการสอนอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
(๔) ใหค วามเหน็ ชอบในการแตง ตัง้ และถอดถอนผสู อน
(๕) รายงานผลการดําเนนิ งานของศนู ยต อ หนว ยงานทเี่ กี่ยวของ
(๖) ดาํ เนินงานอนื่ ๆ ตามท่ีไดร บั มอบหมาย
ขอ ๒๐ ใหน าํ ความในขอ ๑๑ มาใชบงั คับกบั การประชุมของคณะกรรมการในขอ ๑๒ ขอ ๑๔
ขอ ๑๖ และขอ ๑๘ โดยอนโุ ลม

หมวด ๓
ผูส อน

ขอ ๒๑ ผูสอนมคี ุณสมบัติ ดังตอไปน้ี
(๑) มสี ัญชาติไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 641

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๔๗ ง หนา ๑๑ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

(๒) มีอายตุ ้งั แต ๑๘ ปบ ริบูรณข ึ้นไป
(๓) มีความรูวชิ าสามัญ ไมตํ่ากวาการศึกษาภาคบังคับ หรือเทียบเทาตามที่กําหนดในแผน
การศึกษาแหง ชาติ หรอื ตามกฎหมายวาดวยการศึกษาภาคบังคับแลวแตกรณี และมีความรูดานศาสนา
อสิ ลามไมต่ํากวา ช้ันอิสลามศึกษาตอนกลางปท่ี ๓ ของหลักสูตรอสิ ลามศกึ ษาตอนกลาง (มุตาวัชซีเตาะฮ)
หรือเทยี บเทา หรือมปี ระสบการณส อนศาสนาไมน อ ยกวา ๓ ป โดยผา นการรบั รองจากคณะกรรมการ
อสิ ลามประจําจังหวัด
(๔) เปนผูม คี วามเลอื่ มใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
และตามแนวทางของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย
ขอ ๒๒ ใหอ ิหมามประจาํ มสั ยิดแตงต้ังถอดถอนผูสอน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
บริหารศูนย และรายงานการเปลี่ยนแปลงตอนายทะเบียน

หมวด ๔
การสง เสริมและสนับสนนุ

ขอ ๒๓ ใหกระทรวงศึกษาธิการสงเสริมและสนับสนุนเก่ียวกับงบประมาณ การพัฒนา
บุคลากร การพฒั นาหลกั สตู ร การบริหารจดั การของศูนย และกจิ กรรมขององคกรตาดกี าทกุ ระดับ

การสงเสริมและสนับสนุนตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามนโยบายของรัฐบาล หรือมติของ
คณะรฐั มนตรี แลวแตก รณี

ขอ ๒๔ ใหสํานักงานมหี นาที่ดงั ตอไปนี้
(๑) รว มกับสาํ นักผูต รวจประจําเขตตรวจราชการจัดทําแผนเพ่ือสงเสริมสนับสนุนการดําเนินการ
ของศูนย
(๒) ทําหนา ที่สาํ นกั ทะเบยี นกลาง รวบรวมขอมูลเก่ียวกับศูนย อิหมามประจํามัสยิด ผูสอน
ผเู รียนในพื้นท่ที ่ีรบั ผิดชอบ

บทเฉพาะกาล

ขอ ๒๕ ใหห ลกั สตู รอิสลามศึกษาฟรฎอ ีน ประจํามัสยิด พ.ศ. ๒๕๔๘ ท่ีใชอยูกอนระเบียบนี้
ใชบงั คับ เปนหลักสูตรตามระเบียบนี้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 642

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๔๗ ง หนา ๑๒ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ ๒๖ ใหสถานสอนจริยศึกษา (ตาดีกา) ท่จี ดทะเบียนกบั กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
กอนระเบยี บนใ้ี ชบังคับ เปน ศูนยตามระเบยี บนี้

ขอ ๒๗ ใหผูสอนที่ทําหนาทอ่ี ยูก อนระเบียบนี้ใชบ งั คับ เปนผูสอนตามระเบียบน้ี
ขอ ๒๘ ใหคณะกรรมการบริหารสถานสอนจริยศึกษา (ตาดีกา) ท่ีดําเนินการอยูกอน
ระเบียบน้ีใชบังคับปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาจะมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารศูนยตามระเบียบนี้
ทั้งนไี้ มเ กนิ ๖๐ วนั นับแตระเบยี บนป้ี ระกาศใช

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๘
จาตุรนต ฉายแสง

รฐั มนตรวี า การกระทรวงศึกษาธิการ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 643

หน้า ๑๕ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๖๒ ง ราชกิจจานุเบกษา

ประกาศกระทรวงการคลงั

เรือ่ ง หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาทรพั ย์สนิ ของเอกชน
เฉพาะสว่ นทไ่ี ด้ยนิ ยอมใหท้ างราชการจดั ให้ใช้เพือ่ สาธารณประโยชน์

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา 8 (๘) แห่งพระราชบัญญัติ
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ๒๕๖๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงกาหนดหลักเกณฑ์
ให้ทรัพย์สินของเอกชนเฉพาะส่วนที่ได้ยินยอมใหท้ างราชการจัดให้ใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ได้รบั ยกเว้น
จากการจดั เกบ็ ภาษี ดงั ต่อไปนี้

ขอ้ 1 ทรพั ย์สินทีไ่ ด้ยินยอมให้ทางราชการจัดให้ใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ ต้องเป็นทรพั ย์สิน
ท่ปี ระชาชนในองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินนัน้ ไดใ้ ชป้ ระโยชน์รว่ มกนั

ขอ้ ๒ ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นและเจ้าของทรัพย์สินร่วมกันจัดทาขอ้ ตกลงให้ใชท้ รัพย์สิน
เพื่อสาธารณประโยชน์เป็นหนังสือลงลายมือชื่อท้ังสองฝ่าย โดยต้องตกลงยินยอมให้องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถิน่ จัดใหใ้ ชเ้ พ่อื สาธารณประโยชนต์ ลอดท้ังปีภาษี

ข้อ ๓ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นติดประกาศความยินยอมให้ใช้ทรัพย์สินเพ่ือสาธารณะ

ณ ท่ีทาการขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นน้ัน และในทซี่ ่ึงทรัพย์สนิ ที่ได้รบั การอนุมัติตามประกาศฉบับนี้
ตั้งอยู่

ข้อ ๔ ประกาศนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคบั ตั้งแตว่ ันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 2๑ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖2
อภศิ ักดิ์ ตันตวิ รวงศ์

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 644

หน้า ๑๓ ๒๖ มถิ ุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๖๒ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ประกาศกระทรวงการคลัง

เรือ่ ง ยกเว้นภาษีทด่ี นิ หรอื สิ่งปลกู สรา้ งทเี่ ปน็ ทรพั ย์สนิ ของมลู นธิ ิ
หรือองค์การหรอื สถานสาธารณกุศล

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา 8 (๗) แห่งพระราชบัญญัติ
ภาษีทดี่ ินและสง่ิ ปลูกสร้าง พ.ศ. ๒๕๖๒ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลงั จึงออกประกาศ ดงั ต่อไปนี้

ขอ้ 1 ให้ยกเว้นภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างท่ีเป็นทรัพย์สินของมูลนิธิหรือองค์การหรือ
สถานสาธารณกุศล ตามรายชื่อที่กระทรวงการคลังประกาศกาหนดตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข)
แห่งประมวลรษั ฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพ่ิม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ท้งั นี้ เฉพาะที่ไม่ได้ใชห้ าผลประโยชน์

ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใชบ้ งั คบั ต้งั แตว่ ันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 2๑ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖2
อภิศักดิ์ ตันตวิ รวงศ์

รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลัง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 645

หน้า ๑๔ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๖๒ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ประกาศกระทรวงการคลงั

เร่ือง หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารคานวณการยกเวน้ มลู คา่ ของฐานภาษีท่ีดนิ และสง่ิ ปลกู สรา้ ง
ซง่ึ เจ้าของเป็นบคุ คลธรรมดาใชเ้ ป็นท่ีอยอู่ าศัยและมชี อ่ื อยใู่ นทะเบียนบา้ น
ตามกฎหมายวา่ ด้วยการทะเบียนราษฎร

อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนง่ึ และมาตรา 4๑ วรรคสาม แหง่ พระราชบัญญัติ
ภาษที ่ดี นิ และส่งิ ปลกู สรา้ ง พ.ศ. ๒๕๖๒ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลัง จึงกาหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธกี าร
คานวณการยกเวน้ มูลคา่ ของฐานภาษี ดังตอ่ ไปนี้

ขอ้ ๑ กรณีที่ดินและส่ิงปลูกสร้างที่เจ้าของเป็นบุคคลธรรมดาใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยและมีชื่อ
อยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยทะเบียนราษฎร ให้นามูลค่าของที่ดินและส่ิงปลูกสร้างน้ัน
หักด้วยห้าสิบล้านบาท หากมูลค่าของฐานภาษีท่ีคานวณได้ดังกล่าวมีมูลค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับศูนย์
ให้มลู ค่าของฐานภาษดี งั กลา่ วเทา่ กบั ศนู ย์

ขอ้ ๒ กรณีสง่ิ ปลกู สรา้ งที่เจา้ ของเปน็ บคุ คลธรรมดาใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยและมชี ่ืออยใู่ นทะเบียนบา้ น
ตามกฎหมายว่าด้วยทะเบียนราษฎร ใหน้ ามูลค่าของสิ่งปลกู สรา้ งน้นั หักด้วยสิบลา้ นบาท หากมูลคา่ ของ

ฐานภาษีท่ีคานวณได้ดังกล่าวมมี ูลคา่ น้อยกว่าหรอื เทา่ กบั ศนู ย์ ให้มูลค่าของฐานภาษีดงั กล่าวเท่ากบั ศูนย์
ข้อ 3 ประกาศนีใ้ หใ้ ช้บังคับตั้งแตว่ ันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี 2๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖2
อภศิ ักดิ์ ตนั ติวรวงศ์

รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการคลัง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 646

เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๐๙ ง หน้า ๑ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙
ราชกิจจานุเบกษา

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จา่ ยในการจดั งาน การจัดการแขง่ ขนั กฬี าและการส่งนักกีฬา
เขา้ รว่ มการแขง่ ขันกฬี าขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
พ.ศ. ๒๕๕๙

โดยที่เป็นการสมควรกําหนดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
การจัดการแขง่ ขนั กีฬาและการส่งนกั กฬี าเข้ารว่ มการแขง่ ขันกฬี าขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ มาตรา ๗๔ (๔) และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชบัญญัติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๗ (๔) มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แห่ง
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ มาตรา ๘๕ (๔) และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัติ
สภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว้
ดังนี้

ขอ้ ๑ ระเบียบนเี้ รียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
การจดั การแข่งขนั กฬี าและการส่งนกั กีฬาเข้าร่วมการแข่งขนั กฬี าขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๕๙”

ขอ้ ๒ ระเบยี บนี้ให้ใช้บงั คบั ตง้ั แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คําสั่งหรือหนังสือสั่งการอ่ืนใดท่ีกําหนดไว้แล้ว
ในระเบียบน้ี หรือซึง่ ขดั หรอื แย้งกบั ระเบยี บน้ี ให้ใช้ระเบยี บนีแ้ ทน
ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
องค์การบริหารส่วนตําบล
“ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี
นายกองค์การบริหารสว่ นตําบล
“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือพนักงานจ้าง
ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ
“ค่าอาหาร” หมายความว่า ค่าอาหารมื้อเช้า อาหารมื้อกลางวัน และอาหารมื้อเย็นและ
รวมถงึ อาหารว่างและเคร่อื งด่มื
“การจัดงาน” หมายความว่า การจัดงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามอํานาจหน้าที่
ตามกฎหมาย โดยกําหนดไว้ในแผนงาน โครงการ ท้ังในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเอง
หรอื จัดรว่ มกับองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นอืน่ หรือจัดร่วมกับหนว่ ยงานอน่ื

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 647

เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๐๙ ง หน้า ๒ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙
ราชกจิ จานุเบกษา

“การจัดการแข่งขันกีฬา” หมายความว่า การจัดการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

ตามอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย โดยกําหนดไว้ในแผนงาน โครงการ ท้ังในกรณีท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

จัดเองหรือจัดร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอ่ืนหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอ่ืน และให้รวมถึง

การแขง่ ขันกฬี าตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย

“การส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา” หมายความว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดการ

ส่งนักกีฬาของตนเข้าแข่งขันกีฬาท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินของตนจัดเอง หรือองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่นอื่นเป็นผู้จัดหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่นจัดร่วมกันหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอ่ืน

และให้รวมถงึ การแขง่ ขันกฬี าตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย

“ค่าใช้จ่ายพิธีทางศาสนา” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายในการประกอบพิธีทางศาสนาที่จําเป็น

ท่เี กย่ี วเน่ืองกับลักษณะของงานท่ีองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ จดั

ข้อ ๕ ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจตีความ วินิจฉัยปัญหา

กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธปี ฏิบตั ิ เพ่ือดําเนินการให้เปน็ ไปตามระเบยี บนี้

ขอ้ ๖ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถตั้งงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดงาน

การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา โดยเบิกจ่ายตามงบประมาณท่ีต้ังไว้ได้

ไม่เกินอัตราส่วนของรายไดจ้ ริงในปีงบประมาณทผ่ี ่านมา ทง้ั นี้ ไม่รวมเงินอุดหนนุ ที่รฐั บาลจดั สรรให้

(๑) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ไมเ่ กินร้อยละสบิ

(๒) เทศบาลและองคก์ ารบริหารส่วนตําบล ไมเ่ กนิ ร้อยละหา้

กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดมีความจําเป็นต้องใช้งบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดงาน

การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเกินอัตราตามวรรคหนึ่งให้ขออนุมัติ

ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นรายกรณีก่อนการดําเนินการ โดยส่วนที่เกินจะต้องไม่เกินหนึ่งเท่าของอัตราส่วน

ตามวรรคหน่ึงและให้ระบเุ หตุผลความจําเปน็ เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณา

หมวด ๑
คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั งาน

ขอ้ ๗ การจดั งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ให้เบิกจ่ายได้ตามรายการ ดงั น้ี
(๑) ในกรณีจําเป็นต้องมีพิธีทางศาสนาในการจัดงานครั้งนั้น ให้เบิกค่าใช้จ่ายพิธีทางศาสนา
ได้คร้ังเดียวเท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท เว้นแต่ในกรณีจําเป็นต้องมีการทําพิธีทางศาสนา
ต้งั แต่ ๒ ศาสนาข้ึนไป ให้เบิกจา่ ยไดค้ ร้งั เดียวเท่าทีจ่ า่ ยจริงแตไ่ มเ่ กนิ ๕๐,๐๐๐ บาท
(๒) ค่ารบั รอง ผทู้ ่ีไดร้ บั เชิญมารว่ มงานและผู้มาร่วมประกอบกิจกรรมตามวัตถุประสงค์

(ก) ค่าอาหารว่างและเครอื่ งด่มื ในอัตราไม่เกนิ คนละ ๕๐ บาทตอ่ วัน
(ข) คา่ อาหารและเครอื่ งด่มื ไมม่ ีแอลกอฮอล์ ในอตั ราไมเ่ กินคนละ ๑๐๐ บาทตอ่ วนั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 648

เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๐๙ ง หน้า ๓ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙
ราชกิจจานุเบกษา

(๓) คา่ ใชจ้ า่ ยเก่ยี วกับสถานท่ีและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ท่ีจําเป็นและเก่ียวข้อง ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง
ดงั นี้

(ก) ค่าสถานทจี่ ดั งาน เช่น ค่าเช่าหรือค่าบาํ รุง
(ข) ค่าเช่าหรือค่าบริการวัสดุอุปกรณ์ท่ีจําเป็นในการจัดงาน รวมค่าติดตั้งและค่าร้ือถอน
เช่น เคร่ืองโปรเจคเตอร์ เครอื่ งเสียง เต็นท์ เวที
(ค) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย เช่น ค่าจ้างเหมารักษาความปลอดภัย
หรืออ่ืน ๆ ในกรณีท่ีขอความร่วมมือกับส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นจะต้องไม่ซํ้าซ้อน
กบั ค่าใช้จา่ ยทสี่ ว่ นราชการหรือองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อน่ื เบกิ จา่ ยใหก้ ับผูท้ ่ีมาปฏิบตั ิหน้าท่ี
(ง) ค่าจา้ งเหมาทาํ ความสะอาด
(จ) ค่าใชจ้ า่ ยในการตกแตง่ จดั สถานท่ี
(ฉ) ค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น กระแสไฟฟ้า นํ้าประปา โทรศัพท์ รวมถึงค่าติดต้ัง
คา่ เช่าอปุ กรณ์ และอนื่ ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง
(ช) คา่ เชา่ หรอื คา่ บรกิ ารรถสขุ า ตลอดระยะเวลาทจี่ ัดงาน
(๔) ค่าใช้จา่ ยในการประกวดหรือแข่งขนั
(ก) คา่ ตอบแทนกรรมการตัดสิน

๑) เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตัดสินและไม่มีหน้าท่ี
ความรบั ผิดชอบในการจดั งานดังกล่าว ให้เบกิ จา่ ยไดใ้ นอตั ราคนละไมเ่ กิน ๔๐๐ บาทตอ่ วัน

๒) บุคคลที่มิได้เป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ที่ได้รับการแต่งต้ังเป็นกรรมการตัดสิน
ใหเ้ บกิ จา่ ยได้ในอัตราคนละไม่เกิน ๘๐๐ บาทตอ่ วนั

(ข) ค่าโล่ หรือถ้วยรางวัลที่มอบให้ผู้ชนะการประกวดหรือแข่งขันเป็นการประกาศเกียรติคุณ
ใหเ้ บิกจา่ ยได้ช้ินละไม่เกนิ ๓,๐๐๐ บาท

(ค) เงินหรือของรางวัลนอกเหนือจาก (ข) ที่มอบให้ผู้ชนะการประกวดหรือแข่งขัน
ใหเ้ บกิ จ่ายไดไ้ มเ่ กินรอ้ ยละ ๓๐ ของประมาณการคา่ ใชจ้ ่ายตามโครงการ

(๕) คา่ จา้ งเหมาจัดนิทรรศการ ให้เบิกจา่ ยได้เท่าทีจ่ ําเปน็ และประหยดั
(๖) ค่ามหรสพ การแสดง และค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์งาน เช่น ค่าโฆษณา
ทางวิทยุ โทรทัศน์ และส่ือประเภทสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ค่าใช้จ่ายในการออกอากาศทางวิทยุ โทรทัศน์
ค่าจ้างเหมาทําป้ายโฆษณาหรือสิ่งพิมพ์ ให้เบิกจ่ายได้ไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของประมาณการค่าใช้จ่าย
ตามโครงการ
(๗) ค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ ทจ่ี ําเปน็ และเก่ียวขอ้ งในการจัดงาน ใหเ้ บกิ จา่ ยไดเ้ ท่าที่จาํ เปน็ และประหยดั

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 649

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๐๙ ง หน้า ๔ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙
ราชกจิ จานุเบกษา

หมวด ๒
ค่าใช้จ่ายในการจดั การแข่งขนั กีฬา

ข้อ ๘ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การแข่งขนั กีฬา ให้เบิกจา่ ยไดต้ ามรายการ ดงั นี้
(๑) กรณกี ารแข่งขนั กฬี าระหวา่ งองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่

(ก) ค่าเช่าหรอื ค่าเตรยี มสนามแข่งขนั ให้เบกิ จา่ ยได้เทา่ ทจี่ า่ ยจรงิ
(ข) คา่ อปุ กรณ์กีฬา ใหเ้ บิกจ่ายได้เทา่ ที่จาํ เป็นและประหยดั
(ค) ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ประจําสนาม ให้เบิกจ่ายในอัตราคนละไม่เกิน ๒๐๐ บาทต่อวัน
เฉพาะวันทีม่ ีการแข่งขนั กฬี า
(ง) คา่ ตอบแทนเจา้ หนา้ ทีจ่ ัดการแขง่ ขนั กฬี า ให้เบิกจา่ ยในอตั ราคนละไม่เกิน ๔๐๐ บาทต่อวัน
(จ) คา่ ตอบแทนกรรมการตดั สิน

๑) เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตัดสินและไม่มีหน้าท่ี
ความรบั ผดิ ชอบในการจดั การแขง่ ขนั กีฬา ให้เบกิ จ่ายไดใ้ นอัตราคนละไมเ่ กิน ๔๐๐ บาทตอ่ วัน

๒) บุคคลที่มิได้เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตัดสิน
ให้เบกิ จ่ายได้ในอัตราคนละไม่เกิน ๘๐๐ บาทตอ่ วัน

ในกรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความจําเป็นต้องใช้กรรมการตัดสินกีฬาประเภทใด
เพื่อเป็นไปตามมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานที่สมาคมกีฬาประเภทน้ันกําหนด ให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินนั้นทําความตกลงกับผู้ว่าราชการจังหวัดก่อนการดําเนินการ ท้ังนี้ สามารถเบิกค่าตอบแทน
กรรมการตดั สินกฬี าประเภทนัน้ ได้ไม่เกินอัตราท่กี ารกีฬาแห่งประเทศไทยกาํ หนด

(ฉ) คา่ จดั ทําปา้ ยชอื่ หรอื ทีมผู้เข้าร่วมแข่งขันและหรือค่าจัดทําเกียรติบัตรหรือประกาศเกียรติคุณ
ใหเ้ บกิ จ่ายไดเ้ ทา่ ทจี่ ่ายจรงิ

(ช) ค่าโล่หรือถ้วยรางวัล ท่ีมอบให้ผู้ชนะการแข่งขัน เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณ
ให้เบิกจา่ ยได้ชิ้นละไมเ่ กนิ ๓,๐๐๐ บาท

(ซ) เงินหรือของรางวัลนอกเหนือจาก (ช) เพ่ือมอบให้ผู้ชนะการแข่งขัน ให้เบิกจ่าย
ได้ไมเ่ กนิ ร้อยละ ๓๐ ของประมาณการคา่ ใช้จ่ายตามโครงการ

(ฌ) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น การจัดพิธีเปิด - ปิดการแข่งขันกีฬา ร้ิวขบวน กีฬาสาธิต
คา่ เวชภัณฑแ์ ละอปุ กรณ์เวชภัณฑ์ ให้เบกิ จา่ ยได้เทา่ ทีจ่ า่ ยจรงิ ตามความจําเป็น เหมาะสมและประหยดั

(๒) กรณีการจัดการแข่งขันกีฬาสําหรับนักเรียนของโรงเรียนหรือสถานศึกษาสังกัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน กีฬาสําหรับเยาวชน หรือกีฬาประชาชนในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ให้เบกิ จ่ายค่าใช้จ่ายของนกั กีฬาได้ ดังนี้

(ก) ค่าชดุ กฬี า ในอตั ราชุดละไม่เกิน ๒๐๐ บาท
(ข) ค่าอาหารว่างและเครอ่ื งดมื่ ในอัตราคนละไม่เกนิ ๕๐ บาทต่อวัน

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 650

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๐๙ ง หนา้ ๕ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙
ราชกิจจานุเบกษา

(ค) ค่าอาหารและเครอื่ งดม่ื ไม่มีแอลกอฮอล์ ในอัตราไมเ่ กนิ คนละ ๑๐๐ บาทตอ่ วนั
(ง) คา่ ใชจ้ ่ายอน่ื ใหเ้ บิกได้ตามหลกั เกณฑ์ในตาม (๑)
(๓) ค่าใช้จา่ ยเกยี่ วกบั สถานที่ เบิกจา่ ยได้ตามหลกั เกณฑ์ในข้อ ๗ (๓)

หมวด ๓
การสง่ นักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขนั กีฬา

ข้อ ๙ ค่าใช้จา่ ยในการสง่ นกั กฬี าเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั กีฬา ใหเ้ บิกจ่ายไดต้ ามรายการ ดังนี้
(๑) ค่าใช้จ่ายสําหรับผู้ควบคุม หรือผู้ฝึกสอนที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ และนักกีฬาให้เบิกจ่าย
ค่าใช้จ่ายได้ตามท่ีจ่ายจริงตามสิทธิท่ีกําหนดไว้ในระเบียบเก่ียวกับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ของเจ้าหนา้ ทท่ี ้องถ่ิน
(๒) ค่าตอบแทนสําหรับบุคคลท่ีมิใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ท่ีองค์กรครองส่วนท้องถิ่นแต่งต้ังให้เป็น
เจ้าหนา้ ท่ใี นการควบคุมหรือผฝู้ กึ สอนหรือเจ้าหน้าทีอ่ ่ืนที่จําเปน็ ในอตั ราคนละไม่เกนิ ๘๐๐ บาทตอ่ วนั
(๓) ค่าใช้จ่ายในการฝึกซ้อมกีฬาท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เห็นว่ามีความจําเป็น
ต้องฝึกซ้อมก่อนการแข่งขันในแต่ละคร้ัง จะเบิกจ่ายได้เฉพาะกรณีท่ีมีระยะเวลาฝึกซ้อมไม่น้อยกว่า
๔ ช่วั โมงตอ่ วัน และให้เบกิ จ่ายได้ไม่เกิน ๗ วัน รายการค่าอาหารและเคร่ืองด่ืมสําหรับนักกีฬาในอัตรา
คนละไม่เกิน ๑๐๐ บาทต่อวัน และค่าตอบแทนผู้ควบคุมและผู้ฝึกสอนแต่ละประเภทกีฬา ให้เบิกจ่ายได้
ไมเ่ กิน ๔ คน ในอตั ราคนละไมเ่ กนิ ๔๐๐ บาทตอ่ วนั

(ก) ค่าอาหารและเคร่อื งด่ืม สําหรับนักกฬี า ในอตั ราไม่เกนิ คนละ ๑๐๐ บาทต่อวนั
(ข) ค่าตอบแทนผู้ควบคุมหรือผู้ฝึกสอนแต่ละประเภทกีฬา ให้เบิกจ่ายได้ไม่เกิน ๔ คน
ในอตั ราไมเ่ กนิ คนละ ๔๐๐ บาทต่อวนั
(๔) กรณีมคี วามจาํ เปน็ ตอ้ งเก็บตวั เพอื่ ฝึกซ้อมก่อนการแข่งขนั ในแตล่ ะครั้ง ให้กระทําได้ไม่เกิน
๓๐ วัน ในกรณีน้ีให้เบิกค่าใช้จ่ายสําหรับผู้ควบคุมหรือผู้ฝึกสอนและนักกีฬา ตามสิทธิท่ีกําหนดไว้ใน
ระเบยี บเกยี่ วกับค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการของเจา้ หน้าทท่ี อ้ งถิน่ และให้งดเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยตาม (๓)
(๕) ค่าอุปกรณ์การกีฬา ค่าชุดวอร์ม ค่าชุดกีฬา พร้อมรองเท้า ถุงเท้า ของผู้ควบคุม
หรือผู้ฝึกสอนและนักกฬี า ให้เบกิ จ่ายไดเ้ ท่าท่จี าํ เป็นและประหยดั
(๖) ค่าใชจ้ ่ายอ่ืน ๆ ทีใ่ ช้ในการแข่งขันกฬี า ให้เบิกจา่ ยได้เทา่ ทจ่ี าํ เป็นและประหยัด
ขอ้ ๑๐ การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา
เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท่ีได้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ที่หนังสือส่ังการ
ของกระทรวงมหาดไทยกําหนดก่อนวันท่ีระเบียบน้ีใช้บังคับ และยังดําเนินการไม่แล้วเสร็จให้ดําเนินการ
ตามหลกั เกณฑน์ ้ันต่อไปจนกวา่ จะแลว้ เสรจ็

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 651

เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๐๙ ง หนา้ ๖ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙
ราชกจิ จานุเบกษา

ข้อ ๑๑ เมื่อระเบียบใช้บังคบั ในการคิดคาํ นวณอตั ราสว่ นตามข้อ ๖ ใหน้ ําคา่ ใช้จ่ายในการจดั งาน
การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
กอ่ นหรือในวนั ทรี่ ะเบียบนใี้ ช้บังคบั ในปีงบประมาณนั้นมารวมคาํ นวณดว้ ย

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจนิ ดา

รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี


Click to View FlipBook Version