The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makenodown, 2021-09-11 23:52:50

70 กฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

รวมกฏหมายและระเบียบในการปฏิบัติงานของ อปท.

70 เรื่อง 658 หน้า

กรรมกร สีกากี
30 มิถุนายน 2563

หน้าท่ี 430

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๙ ง หนา ๓ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย

วา ดว ยการใชและรักษารถยนตขององคก รปกครองสว นทองถิน่
พ.ศ. ๒๕๔๘

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการใชและรักษารถยนต
ขององคก รปกครองสวนทองถิ่น ใหเหมาะสมกับสภาวการณใ นปจจบุ นั และสะดวกตอการปฏิบัติงาน
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินยิ่งข้ึน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗๖ แหง พระราชบญั ญัติองคการบริหารสวนจังหวัด
พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แหงพระราชบัญญตั เิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และมาตรา ๕
และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทยออกระเบยี บไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบยี บนีเ้ รียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการใชและรักษารถยนตของ
องคก รปกครองสวนทองถ่นิ พ.ศ. ๒๕๔๘”

ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใ ชบังคบั ต้ังแตว ันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ใหยกเลิก
(๑) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการใชและรักษารถยนตของหนวยการบริหารราชการ
สวนทอ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๓๕
(๒) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยการใชแ ละรกั ษารถยนตข องหนวยการบริหารราชการ
สวนทอ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๓๕ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑
บรรดาระเบียบ ขอบังคับ คําส่ัง หรือหนังสือส่ังการอื่นใด ท่ีกําหนดไวแลวในระเบียบนี้
หรือซึง่ ขัดหรือแยงกบั ระเบยี บน้ี ใหใ ชร ะเบยี บนี้แทน

หมวด ๑
บทท่วั ไป

ขอ ๔ ในระเบยี บนี้
“องคกรปกครองสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล และ
องคการบริหารสว นตาํ บล

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 431

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๙ ง หนา ๔ ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๔๘
ราชกิจจานุเบกษา

“ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรีและ
นายกองคการบริหารสวนตําบล

“หวั หนาสวนราชการ” หมายความวา หวั หนาสว นราชการท่ที าํ หนา ท่ีบังคบั บญั ชาและรบั ผดิ ชอบ
งานประจําในสวนราชการขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด
ปลดั เทศบาล ปลดั องคการบริหารสวนตาํ บล ผอู าํ นวยการสาํ นัก

“รถสวนกลาง” หมายความวา รถยนตหรอื รถจกั รยานยนตท่ีจดั ไวเ พอื่ กิจการอันเปนสวนรวม
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และใหหมายความรวมถึงรถยนตที่ใชในการบริการประชาชนหรือ
ใชในหนาทข่ี องสวนราชการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน รถยนตดับเพลิง รถยนตบรรทุกน้ํา
รถยนตพ ยาบาล รถยนตบรรทุกขยะมูลฝอย และเครือ่ งจกั รกลตาง ๆ

“รถประจําตําแหนง” หมายความวา รถยนตซ่ึงจัดใหแกผูบริหาร หรือหัวหนาสวนราชการ
ขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ

“รถรับรอง” หมายความวา รถยนตที่จัดไวเปนพาหนะรับรองชาวตางประเทศซ่ึงเปนแขก
ของทางราชการ หรือจัดไวเ พ่ือรบั รองบคุ คลสาํ คัญ

ขอ ๕ ใหม ีตราเคร่ืองหมายประจําองคก รปกครองสวนทองถ่ิน ขนาดกวางหรือยาวไมนอยกวา
๑๘ เซนตเิ มตร และอักษรช่อื เตม็ ขององคกรปกครองสวนทองถนิ่ ขนาดสงู ไมนอยกวา ๕ เซนติเมตร
หรอื ชือ่ ยอขนาดสูงไมน อยกวา ๗.๕ เซนตเิ มตร ไวดา นขา งนอกรถยนตส ว นกลางทงั้ สองขางทุกคัน

สําหรับรถจกั รยานยนต ขนาดของเครื่องหมายและช่ืออักษรขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
ใหลดลงตามสว น

ตราเคร่ืองหมายและอักษรช่ือขององคกรปกครองสวนทองถ่ินในวรรคหนึ่งและวรรคสอง
ใหพนดวยสีขาว เวนแตใชสีขาวแลวมองไมเห็นชัดเจน ใหใชสีอ่ืนแทน ในกรณีท่ีมีการจําหนาย
รถยนตสวนกลาง ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินลบหรือทําลายตราเครื่องหมายและอักษรช่ือของ
องคก รปกครองสว นทองถ่นิ ออกทงั้ หมด กอนทีจ่ ะสง มอบรถยนตใ หบคุ คลอนื่

ขอ ๖ ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดทําบัญชีรถแยกประเภทเปนรถประจําตําแหนง
รถสวนกลาง และรถรบั รอง รวมทงั้ แสดงหลักฐานการไดม าและการจําหนายจายโอนตามแบบ ๑ หรือ
แบบ ๒ ทายระเบยี บน้ี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 432

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๙ ง หนา ๕ ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๔๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

การเปลี่ยนแปลงประเภทรถตามวรรคหน่ึงจะกระทํามิได เวนแตในกรณีที่มีความจําเปน
ใหเ ปลี่ยนแปลงได โดยใหผบู ริหารทองถิน่ ขอทาํ ความตกลงกบั กระทรวงมหาดไทย

ขอ ๗ ในแตละปงบประมาณองคกรปกครองสวนทองถ่ินตองสํารวจและกําหนด
เกณฑการใชสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงของรถทุกคัน เพื่อเปนหลักฐานในการเบิกจายนํ้ามันเช้ือเพลิง
และตรวจสอบของเจาหนาท่ีฝายตรวจสอบ

ขอ ๘ ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจตีความวินิจฉัยปญหา
กาํ หนดหลกั เกณฑและวิธีปฏิบัติ เพอ่ื ดาํ เนินการใหเ ปนไปตามระเบยี บนี้

ในกรณที ่ีองคก รปกครองสวนทองถ่ินไมส ามารถปฏิบัตติ ามระเบียบน้ไี ด ใหขอทําความตกลง
กบั ปลัดกระทรวงมหาดไทยกอนการปฏิบตั ิ

ปลดั กระทรวงมหาดไทยอาจมอบอาํ นาจตามวรรคสอง ใหอธิบดกี รมสง เสริมการปกครองทองถิน่
หรือผวู าราชการจงั หวัด ก็ได

หมวด ๒
การจดั หา

ขอ ๙ รถประจาํ ตาํ แหนง ใหม ีไดไมเ กนิ ตาํ แหนงละหน่ึงคนั หัวหนาสว นราชการผูใดดํารงตําแหนง
หลายตําแหนง ใหเลือกใชรถประจําตาํ แหนงไดเพียงตําแหนงเดยี ว และใหใชรถในตําแหนงนั้นไปจนกวา
จะพน จากตาํ แหนง

รถประจําตําแหนง ซ่ึงมีอายุการใชงานมาแลวไมนอยกวาหกป และรถสวนกลางซ่ึงมีอายุการใชงาน
มาแลว ไมนอยกวา หา ป ใหถือเปนเกณฑท ่จี ะพิจารณาจัดหารถคันใหมทดแทนคนั เกา ได

ความในวรรคสองไมใ ชบงั คบั กับรถรบั รอง โดยใหอ ยูในดุลยพินิจของผูบริหารทองถิ่น ท่ีจะพิจารณา
ตามความจําเปนและเหมาะสม

ขอ ๑๐ ขนาดเครอื่ งยนตร ถประจําตําแหนง รถสวนกลางและรถรบั รอง ตลอดจนราคาใหเ ปน ไป
ตามทป่ี ลัดกระทรวงมหาดไทยกําหนด

สําหรับรถประจาํ ตาํ แหนง ใหก าํ หนดขนาดเครือ่ งยนตส งู สุดไมเ กิน ๒,๔๐๐ ซีซี
หา มองคก รปกครองสว นทองถ่ินนําเงินนอกงบประมาณหรือเงินอื่นใดมาสมทบเพื่อจัดหารถ
ใหม ขี นาดเคร่ืองยนต หรอื ราคาเกนิ กวาทีก่ าํ หนดตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๙ ง หนา ๖ หน้าท่ี 433
ราชกจิ จานุเบกษา
๒๕ ตลุ าคม ๒๕๔๘
หมวด ๓
การใช

ขอ ๑๑ รถประจําตาํ แหนง ใหใชในการปฏบิ ัตริ าชการในตาํ แหนง หนา ท่หี รือที่ไดรับมอบหมาย
โดยรวม หรอื งานที่เกีย่ วเนื่องโดยตรงกบั งานในตําแหนง หนาทห่ี รือฐานะที่ดํารงตําแหนงน้ันรวมตลอดถึง
การใชเ พอื่ การเดนิ ทางไปและกลับระหวางที่พักและสํานักงาน และเพื่อการอ่ืนท่ีจําเปนและเหมาะสม
แกก ารดาํ รงตําแหนง หนา ที่

รถสวนกลาง รถรับรอง ใหใชเพื่อกิจการอันเปนสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
หรอื เปน ประโยชนข องทางราชการ ตามหลักเกณฑทอ่ี งคกรปกครองสว นทอ งถิ่นเจาของรถกาํ หนดขึน้

การใชรถยนตป กติใหใชภายในเขตองคก รปกครองสว นทองถ่ินน้ัน หากจะใชรถยนตออกไป
ปฏิบตั หิ นา ท่ีนอกเขตองคก รปกครองสวนทอ งถิ่น ถาเปนรถยนตสวนกลางตองไดรับอนุญาตเปนหนังสือ
จากผบู รหิ ารทองถ่นิ กอน สําหรบั รถประจําตาํ แหนงกใ็ หอ ยใู นดุลยพินิจของผูที่ดํารงตําแหนงนั้นตามท่ี
เห็นวาจาํ เปนและเหมาะสม

หามผูมีสิทธิไดรับรถประจําตําแหนง ซึ่งไดรถประจําตําแหนงแลวนํารถสวนกลางไปใชอีก
เวน แตมเี หตุผลความจาํ เปนเฉพาะคราว ทัง้ น้ี ใหระบเุ หตผุ ลความจาํ เปน ท่ีตอ งใชรถสว นกลางไวด ว ย

ใบขออนญุ าตใชร ถสวนกลางและรถรบั รองใหใชต ามแบบ ๓ ทายระเบยี บน้ี
ขอ ๑๒ ใหอ งคก รปกครองสวนทองถนิ่ จดั ใหม สี มดุ บนั ทึกการใชร ถสวนกลางและรถรับรอง
ประจาํ รถแตละคัน สมดุ บนั ทกึ อยางนอยใหม ขี อ ความตามแบบ ๔ ทา ยระเบียบน้ี
องคกรปกครองสว นทองถน่ิ ตองควบคุมพนักงานขับรถใหลงรายการไปตามความเปนจรงิ
ขอ ๑๓ ใหผูใชรถประจําตําแหนงคืนรถใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นภายในกําหนด
สามสิบวนั นบั แตว นั ทีไ่ ดพน จากตาํ แหนง หรอื สง มอบงาน แลวแตก รณี
กรณีผูใชรถประจําตําแหนงถึงแกกรรม ใหผูบริหารทองถิ่นเรียกรถประจําตําแหนงคืน
หากผบู รหิ ารทองถิ่นเห็นวา มเี หตผุ ลสมควรจะผอนผนั ใหสงคนื รถประจําตาํ แหนง เกนิ กําหนดเวลาดังกลาว
ในวรรคหน่ึง ก็ใหก ระทําไดแตตองไมเ กนิ กวาหกสิบวนั นับแตว ันถงึ แกกรรม

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๙ ง หนา ๗ หน้าที่ 434
ราชกจิ จานเุ บกษา
๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘

หมวด ๔
การเก็บรกั ษาและซอ มบํารงุ

ขอ ๑๔ การเก็บรักษารถประจําตําแหนง ใหอยูในความควบคุมและความรับผิดชอบของ
ผูดาํ รงตําแหนง

การเก็บรักษารถสวนกลาง รถรับรอง ใหอ ยูในความควบคุมและความรับผิดชอบขององคกร
ปกครองสว นทองถิ่น โดยเกบ็ รักษาในสถานทเ่ี ก็บหรอื บริเวณขององคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ

สําหรับรถสว นกลาง ผบู ริหารทอ งถิน่ หรอื ผไู ดร ับมอบอาํ นาจจากผูบริหารทองถ่ินจะพิจารณาอนุญาต
ใหน ํารถไปเก็บรกั ษาทอ่ี น่ื เปนการชว่ั คราวหรอื เปนคร้ังคราวได ในกรณตี อไปนค้ี อื

(๑) องคกรปกครองสวนทองถิ่นไมมีสถานท่เี กบ็ รกั ษาปลอดภัยเพยี งพอ หรอื
(๒) มรี าชการจาํ เปนและเรงดว น
ขอ ๑๕ การอนุญาตใหนํารถสวนกลางไปเก็บรักษาท่ีอ่ืนเปนการชั่วคราว อันเนื่องมาจาก
องคกรปกครองสวนทองถิ่นไมมีสถานที่เก็บรักษาปลอดภัยเพียงพอ ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบในการ
เก็บรักษารถสวนกลางจัดทํารายงานขออนุญาตพรอมดวยเหตุผลความจําเปนและรายละเอียดของ
สถานที่ท่ีจะนํารถสวนกลางไปเก็บรักษา ซ่ึงแสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนวามีความปลอดภัยเพียงพอ
เสนอประกอบการพิจารณาของผูม ีอํานาจอนญุ าตดว ยทกุ คร้งั
ในกรณีทเ่ี กิดการสญู หายหรือเสยี หายข้ึนกับรถสว นกลางในระหวางการเก็บรักษาที่อื่นเปนการชั่วคราว
ตามวรรคหนึ่ง ผูเก็บรักษาตองรับผิดชอบชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
เวนแตจะพสิ จู นไดว า ไดใ ชความระมัดระวังดแู ลรกั ษาเยย่ี งวิญชู น จะพงึ สงวนรกั ษาทรัพยส ินของตนแลว
และการสูญหายหรือเสียหายนั้น มิไดเกิดข้ึนจากความประมาทเลินเลออยางรายแรงของผูเก็บรักษา
แตห ากการสญู หายหรอื เสียหายนน้ั เกดิ ขึ้น เนอื่ งจากการนําไปใชในการอน่ื ใหผ อู นื่ ใช หรอื นาํ ไปเกบ็ ไว
ณ ท่ีท่ีมิไดรบั อนญุ าต ผเู กบ็ รกั ษาตองรับผดิ ชอบทกุ กรณี แมว าจะเกดิ ดว ยเหตุสดุ วสิ ัย เวนแตจะพิสูจนไดวา
ถึงอยา งไรความสูญหายหรือเสยี หายก็จะเกิดแกรถสวนกลางคนั นน้ั
เมื่อเกิดการสูญหายหรือเสียหายข้ึนกับรถประจําตําแหนง รถสวนกลาง และรถรับรอง
ผรู ับผดิ ชอบตองรายงานใหผ ูบริหารทองถ่ินทราบทนั ที ตามแบบ ๕ ทา ยระเบียบน้ี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 435

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๙ ง หนา ๘ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘
ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ ๑๖ ใหอ งคก รปกครองสวนทอ งถ่ินมีหนาที่รับผิดชอบการซอมบํารุงรถประจําตําแหนง
รถสว นกลางและรถรับรอง ใหอ ยูในสภาพพรอมที่จะใชงานไดด ีอยูเสมอ

รถประจําตําแหนงคันใดเกิดความเสียหายหรือบุบสลาย เพราะความผิดของบุคคลภายนอก
ใหผ ูม ีสทิ ธใิ ชรถประจําตําแหนง นัน้ เปนผูเรียกคา เสียหายในนามขององคก รปกครองสวนทองถ่ิน แตถา
ความเสยี หายหรอื บบุ สลายเกิดข้ึนเพราะความผิดของผูขับข่ีรถประจําตําแหนง ไมวาจะเปนผูใด ใหผู
ดาํ รงตาํ แหนง น้นั เปน ผูรบั ผิดชอบในการซอ มแซมใหค งสภาพดตี ามเดิม

ใหผ ูมีสทิ ธใิ ชร ถประจําตําแหนง เปนผูร ับผดิ ชอบในการซอมบํารุงรถดังกลาวภายในกําหนดระยะเวลา
สองปครงึ่ นบั แตว ันทีซ่ ื้อมา และเมือ่ พน กําหนดระยะเวลาดังกลาวแลวใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นน้ัน ๆ
เปนผูซอ มบํารุง

การบํารุงรักษารถยนต เชน การเติมหรอื เปลยี่ นนํ้ามันเครอื่ ง นา้ํ มนั เบรค ไสก รองนา้ํ มนั เครอ่ื ง
แบตเตอรี่ หัวเทียน เปนตน ซึ่งจําเปนตองกระทําเปนครั้งคราวตามที่ระบุไวในคูมือการใชรถยนต
ใหเบิกจา ยจากงบประมาณขององคกรปกครองสว นทองถน่ิ ไดเมอื่ ไดร บั อนุมตั ิจากผูบ ริหารทองถิน่

ผูใชรถประจําตาํ แหนงตองรบั ผดิ ชอบในกรณีทร่ี ถประจาํ ตําแหนงสูญหายเพราะความประมาทเลินเลอ
ของผใู ชร ถประจําตําแหนง หรืออนุญาตใหบุคคลอ่ืนนํารถประจําตําแหนงไปใชนอกเหนือหนาที่ปกติ
ผใู ชรถประจําตําแหนง ตอ งรับผดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนความสญู หาย แมด ว ยเหตสุ ดุ วิสัย

ขอ ๑๗ ใหองคก รปกครองสว นทองถน่ิ ตรวจสอบและดแู ลสภาพรถประจําตําแหนง รถสวนกลาง
และรถรบั รอง มิใหมีมลพิษทางอากาศและระดับเสียงจากทอไอเสยี เกนิ ระดับมาตรฐานท่กี ระทรวงวิทยาศาสตร
เทคโนโลยแี ละสิง่ แวดลอมกําหนด

ในการเร่มิ ตรวจสอบมลพิษของรถตามวรรคหนึ่งใหอยูในดุลยพินิจของผูบริหารทองถิ่นท่ีจะ
ดําเนินการไดตามความเหมาะสม แตท้ังน้ีจะตองดําเนินการตรวจสอบรถทุกคันในคร้ังแรกใหเสร็จ
ภายใน ๖ เดอื น นบั แตวันท่ีระเบยี บนี้มผี ลบังคับใช

นอกจากการตรวจสอบมลพิษของรถตามวรรคสองแลว ใหม กี ารตรวจสอบมลพิษทุกหกเดือน
หรือทุกระยะทาง ๑๕,๐๐๐ กิโลเมตร แลวแตจะถึงกําหนดอยางใดกอน และภายหลังการซอมบํารุง
ท่ีเกี่ยวกับระบบการทํางานของเครื่องยนตทุกครั้ง เม่ือพบวารถคันใดมีมลพิษเกินระดับมาตรฐาน
ใหดาํ เนินการแกไ ข ซอ มบํารงุ หรือปรับแตง สภาพเครื่องยนตใ หดีทนั ที

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 436

เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๑๑๙ ง หนา ๙ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๑๘ ใหอ งคกรปกครองสวนทองถ่นิ จดั ทําสมุดแสดงรายการซอมบํารุงรถแตละคันตามแบบ ๖
ทายระเบียบน้ี

หมวด ๕
การเบกิ จายคานาํ้ มันเชื้อเพลงิ

ขอ ๑๙ การเบิกจายคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับรถยนตขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินกําหนดปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงท่ีจะจายใหรถยนตแตละคันไว ทั้งนี้
ใหถือตามสภาพและขนาดรถยนตน้ัน ๆ รถสวนกลางและรถรับรอง ใหเบิกจายคาน้ํามันเชื้อเพลิง
จากงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถ่ินน้นั สําหรบั รถประจาํ ตาํ แหนง ใหผูมีสิทธิใชรถประจําตําแหนง
เปนผจู ายคา นํา้ มันเชือ้ เพลงิ

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘
สมชาย สนุ ทรวฒั น

รัฐมนตรชี วยวา การฯ ปฏบิ ตั ริ าชการแทน
รัฐมนตรวี าการกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

ประเภทรถประจําตาํ แหนง แบบ ๑
หมายเหตุ
ทะเบียนรถของ อบจ. /เทศบาล / อบต. ………………………………………………………

แบบ/รนุ ป/ หมายเลข สงั กดั

ลาํ ดบั ท่ี ช่ือของรถ ขนาด (ซีซี) ทะเบยี น หนวยงานใด ราคา วนั ไดม า วันจําหนา ย

หน้าท่ี 437
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

ประเภทสวนกลาง/รถรับรอง แบบ ๒
วันจาํ หนา ย หมายเหตุ
ทะเบยี นรถของ อบจ. /เทศบาล / อบต. ………………………………………….

แบบ/รนุ ป/ หมายเลข สงั กดั

ลาํ ดับที่ ช่อื ของรถ ขนาด (ซีซี) ทะเบียน หนวยงานใด ราคา วนั ไดมา

หน้าท่ี 438
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 439

แบบ ๓

ใบขออนุญาตใชรถสว นกลาง

วันท…่ี ……..เดอื น………………………………..พ.ศ. ….
เรยี น (ผูม ีอํานาจสั่งใชร ถ)……………………………………………………………………………………….……

ขาพเจา ……………………………………………………ตําแหนง………….………………………
ขออนญุ าตใชร ถ (ไปทีไ่ หน)……………………………………………………………………..........………………..
เพอื่ …………………………………………………….....……………………………….มคี นนั่ง………………..คน
ในวันท…่ี ……………………………….....................………………เวลา……………………………………………
ในวันท…ี่ ……………………………….....................………………เวลา……………………………………………

…………………………………………………ผขู ออนุญาต
…………………………………………………ผอู ํานวยการกอง/หัวหนา กอง

หรือผแู ทน
…………………………………………………(วัน เดือน ป)

………………………………………………………………………………………………………………………….
(ลงนามผมู อี าํ นาจส่งั ใชร ถ).……………………………………………………………………….......................……

…………/………....…………..………./…….

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

บนั ทึกการใชรถ แบบ ๔
หมายเหตุ
รถหมายเลขทะเบียน …………………………………………………..

ออกเดินทาง ระยะ กม./ กลบั ถึงสาํ นกั งาน ระยะ กม./ไมล
ลาํ ดับ รวมระยะทาง พนกั งาน

ที่ วันท่ี เวลา ผูใชร ถ สถานที่ไป ไมล เม่อื รถ เมื่อรถกลบั กม./ไมล ขบั รถ

วันที่ เวลา

ออกเดินทาง กรม สาํ นักงาน

หน้าท่ี 440
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี
ผูบนั ทกึ ………………………
ตําแหนง ……………………….

หน้าที่ 441

แบบ ๕

วันที่ ………….เดือน……………………..พ.ศ. ….
เรอื่ ง รายงานอุบัติเหตุรถหมายเลขทะเบยี น………………………………….
เรียน ………………………………………………………….
เหตุเกดิ เมือ่ วนั ท…ี่ ……………………………………...…………………………………….เวลา………………..น.
สถานท่ีเกดิ เหต…ุ ………………………………….……………………………………(ดงั แผนท่ีสังเขปท่ีแนบมานี้)
ความเรว็ ขณะเกดิ เหต…ุ ………………………………..…………………………………………………….กม./ชม.
กอ นเกิดเหตเุ ดนิ ทางจาก……………………………….จะไป………….....………………………………………….
ความเสยี หาย………….....………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………….…………………………………………………………………
พาหนะหรือทรัพยสนิ ฝายตรงขา ม
รถ…………………………………………..หมายเลขทะเบยี น………………………………………………………
ขับขโี่ ดย……………………………….อาย…ุ ………….ป ใบอนุญาตขบั ขเ่ี ลขท…ี่ …………………….............…..
ท่อี ยูของผขู บั ข่…ี ……………………………………………………………………………………………………….
ช่อื เจา ของรถ……………………………………………....………………………………………………………..….
เหตเุ กดิ จาก…………………………...………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………….
ความเสียหาย…….........…………………………………………………………………………………………….…
ผบู าดเจบ็
ชอ่ื ……………………………………..อาย…ุ ………………..ป ที่อยู………….....................……………………...
………………………………………………………………………………………………………………………….
ช่อื ……………………………………..อาย…ุ ………………..ป ทอ่ี ย…ู ……….....................……………………...
………………………………………………………………………………………………………………………….
ผสู อบสวนและพยาน
พนักงานสอบสวนชื่อ……………………………………………สถานตี าํ รวจ…………………………………….....
พยานชอ่ื ………………………………………อาย…ุ ………...ป อย…ู ……………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………….…
พยานชื่อ………………………………………อาย…ุ ………...ป อยู………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………….…
ผลของคดี ……….………………………………………………………………………………………………….…

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 442

แบบ ๖

รายละเอยี ดการซอมบาํ รงุ

รถ………………………………………………..หมายเลขทะเบียน………………………………………..

ลาํ ดบั เลขระยะทาง จํานวนเงิน

ท่ี เม่อื เขาซอม รายการซอม บาท สต. สถานท่ซี อ ม วนั ตรวจรับ หมายเหตุ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 443

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สรํานะเักบงียานบคกณระะกทรรวมงกมารหกาฤดษไฎทกี ยา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

วา ดวยการเงนิ การคลัง บญั ชแี ละการพัสดุโครงการเรง รดั ขยายบริการไฟฟา

โดยระบสําบนผกั ลงาติ นกครณะะแกสรไรฟมกฟาารดกฤว ยษพฎีกลาังงานแสงอาทสติํานยักขงอานงอคงณคะกกรรรปมกกคารรกอฤงษสฎวีกนาทองถ่ิน

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๔๘ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นเักพงาื่อนใคหณกะากรรปรมฏกิบาัรตกิเฤกษี่ยฎวีกกาับการเงิน กสารํานคักลงังานบคัญณะชกีแรลรมะกกาารรกพฤัษสฎดกีุโาครงการเรงรัด

ขยายบริการไฟฟาโดยระบบผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยขององคกรปกครองสวน

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ทองถ่นิ เปน ไปดวยความเรยี บรอ ย

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติสภา

สาํ นกั งานตคําณบะลกแรรลมะกอารงกคฤษกฎาีกราบริหารสวนสตํานําักบงลานคพณ.ะศก.รร๒ม๕กา๓รก๗ฤษมฎีกาาตรา ๖๙ แลสะาํ นมักางตานรคาณ๗ะก๗รรมแกาหรงกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติเทศบาลพ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๖ และมาตรา ๗๖ แหงพระราชบัญญัติองคการ

บริหารสว นจงั สหําวนดักงพาน.ศคณ. ๒ะก๕ร๔รม๐การรฐั กมฤนษตฎรกี วีาา การกระทรสวํางนมกั หงานดคไทณยะกจรึงรอมอกการกะฤเบษยีฎบกี าไว ดังตอ ไปนี้

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษขฎอกี ๑า ระเบียบนสี้เํารนียักกงวานาค“ณระะกเบรรียมบกการรกะฤทษรฎวีกงามหาดไทยวาสดําวนยักงกาานรคเณงินะกกรรามรกคาลรังกฤษฎกี า

บัญชีและการพัสดุโครงการเรงรัดขยายบริการไฟฟาโดยระบบผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงาน

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า พ.ศ. ๒๕๔ส๘ําน”กั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

แสงอาทติ ยขององคก รปกครองสวนทอ งถิ่น

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษขฎอีก๒า ๑ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า
ระเบียบน้ีใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เปน ตนไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษขฎอ ีก๓า บรรดาระเสบํานยี ักบงาขนอคบณังะคกบั รรหมกราือรคกําฤสษัง่ ฎอกี ืน่ าใดทขี่ ัดหรอื แสยาํ นง ักกงับารนะคเณบะียกบรรนมี้ใกหาใรชกฤษฎีกา
ระเบียบนแ้ี ทน

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ขอ ๔ ในระเบยี บน้ี

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ“ฎโคกี ารงการ” หมาสยํานคักวงาามนควณา ะโกครรมงกาารรกเฤรษงฎรัดีกาขยายบริการสไําฟนฟักงาาโนดคยณระะกบรรบมผกลาริตกฤษฎกี า

กระแสไฟฟาดวยพลงั งานแสงอาทติ ย

สําน“กั คงาณนคะณกระกรรมรกมกาารรไกฟฤษฟฎากี ทาองถิ่น” สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

หมายความวา คณะกรรมการตามระเบียบ

สาํ นกั งานกครณะทะกรรวรงมมกหารากดฤไษทฎยีกวาาดวยการบสริําหนาักรงจานัดคกณาระกโครรรมงกกาารรกเฤรษงฎรกี ัดาขยายบริการสไาํ ฟนัฟกงาาโนดคยณระะกบรรบมผกลาริตกฤษฎีกา
กระแสไฟฟา ดวยพลงั งานแสงอาทติ ยข ององคกรปกครองสว นทองถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๗

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๑

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานกคาณรซะกื้อรกรามรกจาารงกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ราชกิจจานเุ บกษา.เลม ๑๒๒/ตอนพิเศษ ๒๕ ง/หนา ๙/๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 444

- ๒ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษขฎอีก๕า ในการดําเสนํานินักกงารนซค้ือณหะกรรือรกมากราจรกางฤแษตฎีกลาะคร้ัง ใหเปนสอาํ ํานนักางจานแคลณะะหกนรรามทก่ีขาอรงกฤษฎกี า

คณะกรรมการไฟฟา ทองถนิ่ ตามหลักเกณฑ ดังน้ี
สําน(กั ๑งา)นใคหณกะกรรรรมมกกาารรกคฤนษหฎีกนา่ึงหรือหลายสคํานนทกั ง่ีไาดนรคับณมะกอรบรมหกมารากยฤจษาฎกีกคาณะกรรมการ

ไฟฟาทอ งถ่นิ เปน ผตู ดิ ตอ ตกลงซื้อหรือจางจากผขู ายหรอื ผูร ับจาง
สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ(๒ฎีก)าใหค ณะกรรมสํากนาักรงไาฟนฟคณาทะกอรงรถมิ่นกจารัดกทฤําษหฎลกี ักาฐานเปนหนังสสาํ นือักใงนากนาครณซะื้อกหรรรมือกกาารรกฤษฎกี า

จางแตละครั้งสโาํ ดนยักองายนาคงณนะอกยรรใมหกมาีรรากยฤษกฎารีกปา ระกอบดวยสําวนันักเงดานือคนณปะทก่ีซรร้ือมหกรารือกกฤาษรฎจกี าาง รายละเอียด
พัสดุท่ีจะซื้อหรืองานท่ีจะจาง จํานวนเงินซื้อหรือจาง วันเร่ิมตนและระยะเวลาสิ้นสุดการจาง

สํานกั งานระคยณะะเกวรลรามกการกปฤรษะฎกีกันาความชํารุดบสกําพนักรงอางนคลณายะกมรือรมชื่กอาผรูซกื้อฤษหฎรีกือาผูวาจาง และสลําานยักมงือานชคื่อณผะูขการยรหมกราือรผกูฤษฎีกา

รบั จา ง
สําน(ัก๓งา)นใคหณปะกรระรธมากนาครกณฤษะกฎรีกรามการไฟฟาสทําอนงกั ถงาิ่นนคเปณนะกผรูลรมงกนาารมกใฤนษหฎีกนาังสือตาม (๒)

สํานักงานในคณฐาะนกะรรผมูซ ก้อื าหรกรฤือษผฎูวีกาาจาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นขกั องาน๖คณใะหกปรรรมะกธาารนกคฤษณฎะกี การรมการไฟฟสาําทนักองงาถนิ่นคณตะั้งกกรรรมรกมากรการฤไษฟฎฟกี าาทองถิ่นอยาง
นอยสามคนเปนคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือตรวจการจาง เพื่อตรวจรับพัสดุและตรวจการ

สํานักงานจคา งณใะหกถรกูรมตกอ างรคกฤรษบฎถีกว านตามหลกั ฐาสนําทนกัต่ี งกาลนคงกณนั ะกไวรร โมดกยารลกงฤชษ่อื ฎไวกี เาปนหลกั ฐาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือตรวจการจางใหถือเสียงขางมาก
ถากรรมการบสาํางนคกั นงาไนมคยณอะมกรรรับมพกัสารดกุใฤหษทฎําีกบาันทึกความเสหํา็นนไักวงาแนลควณเะสกนรอรมใกหาปรกรฤะษธาฎนกี คา ณะกรรมการ

ไฟฟาทองถ่นิ พิจารณาวินิจฉยั สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า
สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมวด ๒ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

การรับเงิน การเบกิ จา ยเงนิ การฝากเงนิ การถอนเงิน และการเกบ็ รักษาเงิน

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นขกั องาน๗คณใะหกรครณมกะากรรกรฤมษฎกีการาไฟฟาทองถสิ่นํานแักตงางนตคั้งณผะูปกรฏริบมักตาิงรากนฤจษาฎกกี คา ณะกรรมการ
ไฟฟา ทอ งถ่ิน ดงั น้ี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษ(๑ฎ)ีกาผูจดั เก็บหรอื สผํานูรักบงชาํานรคะณเงะนิกรใรหมกม าหี รนกฤา ษทฎีด่ กี งั านี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

(ก) จัดทําทะเบียนคมุ รายชื่อผูชําระคาบํารุงสมาชิกผใู ชระบบไฟฟา

สํานกั งาน(คขณ)ะกจรัดรเมกก็บาหรกรฤือษรฎับกี ชาําระเงินคาบําสรําุงนสกั มงาานชคิกณผะูใกชรรระมบกบารไกฟฤฟษฎาีกเาพ่ือนําสงผูเก็บ

รักษาเงนิ
สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า
(ค) เก็บรกั ษาใบเสรจ็ รับเงินจนกวา จะหมดเลม และสงสําเนาใบเสร็จรับเงิน

ที่ใชห มดแลวใสหํานผ ักูเ งกาบ็ นรคักณษะกาเรงรินมกพารรกอฤมษทฎงั้ ีกขาอเบกิ ใบเสร็จสรํานบั ักเงงนิานเคลณม ใะหกรมรมการกฤษฎีกา
(๒) ผูเกบ็ รกั ษาเงิน ใหม ีหนา ทีด่ งั นี้

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า(ก) ตรวจสสอํานบักจงําานนควณนะเกงรินรมทก่ีผาูจรกัดฤเษกฎ็บีกหา รือผูรับชํารสะาํ เนงักินงนานําคสณงะพกรรรอมมกการับกฤษฎกี า

หลกั ฐาน

สาํ นักงาน(คขณ)ะกใหรรบมันกาทรึกกฤราษยฎกกี าารรับ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา และบัญชีรับ

จายเงิน ในสมุดคุมรับ - จายเงิน

สํานักงาน-คจณา ะยกเรงรินมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 445

- ๓ - สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า(ค) ใหนําเงสินํานทัก่ีรงับานไวคทณุกะกปรรระมเกภาทรกฝฤาษกฎธกี นาาคารในบัญชสีคํานณักะงากนรครณมะกการรไมฟกาฟรากฤษฎีกา
ทอ งถ่นิ อยา งนอยเดอื นละหนึง่ ครงั้
สํานักงาน(คงณ)ะใกหรรเ กมบ็การรกั กษฤษาสฎําีกเานาใบเสรจ็ รับสเํางนนิ กั ไงวาในนคทณ่ีปะกลรอรดมภกาัยรกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษขฎอ ีก๘า การรบั เงินสทํานุกักปงราะนเคภณทะขกอรงรโมคกรารงกกฤาษรฎใกีหาดาํ เนินการดังสนําน้ี ักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

(๑) การรับเงินใหรับเปนเงินสด เช็คที่ธนาคารรับรองหรือดราฟท หรือตราสาร

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

อยา งอ่นื ที่ธนาคารรับรอง

สํานักงานคณะกรรมการกฤษ(๒ฎกี)าการรับเงิน จสะําตนอกั งงาอนอคกณใะบกเรสรรม็จกราบั รกเงฤนิ ษใฎหีกแากผูน าํ มาชาํ รสะําทนกุ ักคงารนง้ั คณะกรรมการกฤษฎกี า
(๓) เมื่อรับเงินแลว ใหผูจัดเก็บหรือผูรับชําระเงินนําเงินที่ไดรับพรอมสําเนา

ใบเสรจ็ รับเงินสแําลนักะเงอานกคสณาระอกร่นื รทมจี่กดัารเกกฤ็บษทฎัง้ ีกหามด สงตอผูเสกํา็บนรักกังาษนาคเณงินะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษขฎอีก๙า การถอนเงสินํานฝักางกาในหคเณปะนกอรราํ มนกาาจรขกอฤงษกฎรีกรามการท่ีไดรับสแาํ ตนงักตงาั้งนจคําณนวะกนรสรามมกคารนกฤษฎกี า

โดยมีประธานคณะกรรมการไฟฟาทองถิ่นเปนประธาน และลงลายมือชื่อรวมกันอยางนอยสองใน

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาม

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ขอ ๑๐ กรณีที่มีการซื้อหรือจาง ใหกรรมการคนใดคนหน่ึงเบิกเงินและนําเงิน

ดังกลาวไปชําสรําะนคกั างซาื้อนคหณรือะกจรารงมทกําาขรอกฤงษแฎลีกะาใหสงหลักฐาสนํานกักางราชนําครณะเะงกินรแรมลกะาหรกรือฤษเงฎินีกสาดคงเหลือ ให
ผเู ก็บรักษาเงนิ

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ขอ ๑๑ ใบเสร็จรบั เงินอยางนอยจะตองมีรายการดังนี้

สาํ น(กั ๑ง)านชค่อื ณะแกลระรสมถการนกทฤีอ่ษยฎูขีกอางผจู ดั เกบ็ หรสือํานผักรู งับานชคาํ รณะะเกงรินรมการกฤษฎีกา

(๒) วันเดอื นปท ่ีรบั เงิน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า
สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ(๓ฎีก)ารายการแสดสงํากนากั รงราบั นเคงณนิ ะกระรรบมุวกาาเรปกน ฤคษาฎอกี ะาไร

(๔) จํานวนเงินทงั้ ตวั เลขและตัวอักษร
สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๕) ลายมอื ช่อื พรอ มทั้งมีตัวบรรจงชื่อและช่อื สกุลของผรู บั เงนิ

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ขอ ๑๒ การรับเงินทกุ ประเภทใหใ ชใ บเสร็จรบั เงนิ เลม เดยี วจนกวา จะหมดเลม

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ขอ ๑๓ คา บาํ รงุ สมาชิกผใู ชร ะบบไฟฟา ใหเ ปน ไปตามอตั ราแนบทายระเบยี บนี้

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ขอ ๑๔ คาบํารุงสมาชิกผูใชระบบไฟฟารายเดือนหรือรายรับอ่ืน ใหนําไปใชจาย

เปน คาบาํ รงุ รักสาํษนากั รงะาบนบคณไฟะกฟรารแมลกะารคกา ฤใษชฎจ กีายา ในการดําเนสนิ ํางนากั นงอานนื่ คๆณะเทกรา รทมีจ่ กําาเรปกนฤษฎีกา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษขฎอกี ๑า ๕ บรรดาแสบําบนพักงิมานพค แณบะกบรบรมญั กชาีรทกะฤเษบฎยี ีกนาและเอกสารใสดาํ นๆักงทาี่ในชคใณนะกการรจมัดกาซรื้อกฤษฎีกา

จัดจาง การรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การถอนเงินและการเก็บรักษาเงินใหเปนไปตาม

แบบทายระเบสยี ําบนกันง้ี านคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 446

- ๔ - สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษขฎอ ีก๑า ๖ ใหป ลดั กสรําะนทักรงาวนงคมณหะากดรไรทมยกรารกั กษฤาษกฎากี ราตามระเบียบนสี้ําแนลักงะามนีอคําณนะากจรตรมีคกวาารมกฤษฎีกา

วนิ ิจฉยั ปญ หากําหนดหลักเกณฑและวิธีปฏบิ ัตเิ พอื่ ดําเนินการใหเ ปนไปตามระเบยี บน้ี

สาํ นปกั งลาัดนกครณะะทกรรวรมงมกาหรากดฤษไทฎยีกอา าจมอบอํานสาําจนตกั างมานวครณรคะกหรนร่ึงมใกหารอกธฤิบษดฎีกกี รามสงเสริมการ

ปกครองทองถิ่นหรือผวู าราชการจังหวัดก็ได

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎปกี ราะกาศ ณ วนั ทสําี่ น๑ัก๘งามนกครณาะคกมรรพมก.ศาร.ก๒ฤษ๕ฎ๔ีก๘า

ประชา มาลนี นท

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

รฐั มนตรีชวยวาการฯ ปฏิบตั ริ าชการแทน

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า รฐั มนตรีวาสกําานรักกงารนะคทณรวะกงมรรหมากดารไทกฤยษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 447

- ๕ - สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั ง[าเนอคกณสะากรรแรนมบกทารา กยฤ]ษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สําน๑ักง.านอคัตณระากครา รบมาํกราุงรสกฤมษาฎชิกี าผูใชระบบไฟสฟําานแักนงาบนทคาณยะรกะรเรบมียกบารกกรฤะษทฎรีกวางมหาดไทยวา

ดวยการเงิน การคลัง บัญชีและการพัสดุโครงการเรงรัดขยายบริการไฟฟาโดยระบบผลิต

สํานักงานกครณะแะสกรไรฟมฟกาารดกวฤยษพฎลกี งั างานแสงอาทสิตํายนขักองางนอคงณคะก กรรปรกมกคารรอกงฤสษว ฎนีกทาอ งถ่นิ พ.ศ.ส๒าํ น๕ัก๔ง๘านคณะกรรมการกฤษฎกี า

๒. บันทึกขอ ตกลงการซ้ือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

๓. บันทึกขอ ตกลงการจาง

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ๔ฎ.ีกาใบตรวจรับพสสั ําดนหุ กั รงาือนกคาณรจะการงรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
๕. ใบเสรจ็ รบั เงนิ

สาํ น๖ัก.งานบคัญณชะีรกับรร-มจกา ายรเกงฤนิ ษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

๗. สมุดคมุ การรับ-จายเงนิ
สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ๘ฎ.ีการายละเอียดผสูชําาํนรักะงคานาคบณาํ ระุงกสรรมมากชากิ รผกฤูใชษรฎะกี บาบไฟฟา ประจสําาํ ปนัก พงา.นศค.ณ…ะก.รรมการกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(ดูขอ มูลจากภาพกฎหมาย)

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษพฎงีกษาพ ลิ ัย/ผูจัดทํา

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๘
สาํ นักนงนั านทคพณละ/กปรรรมับกปารรุงกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๑ มกราคม ๒๕๕๐

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 448

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สรํานะเักบงียานบคกณระะกทรรวมงกมารหกาฤดษไฎทกี ยา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

วาดวยการบรหิ ารจดั การโครงการเรงรดั ขยายบริการไฟฟา

สํานักงานคโณดะยกรระรบมบกาผรลกติฤษกฎระีกแาสไฟฟา ดวยสพําลนังกั งงาานนคแณสงะอกรารทมติ กยาร กฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขององคก รปกครองสว นทองถ่นิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

พ.ศ. ๒๕๔๗

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เพื่อใหการบริหารจัดการโครงการเรงรัดขยายบริการไฟฟาโดยระบบผลิต

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

กระแสไฟฟา ดว ยพลังงานแสงอาทติ ยเ ปน ไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ เปนประโยชนตอประชาชนอยาง

ทว่ั ถึงและตอเสนํา่อืนงกั ตงาานมคแณนะวกทรารงมทก่คีารณกฤะษรฐัฎมกี านตรีมีมติ เมอื่สําวนนั ักทงาี่ ๓นคมณถิ ะกุนรารยมนกา๒รก๕ฤ๔ษ๖ฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษอฎากีศาัยอํานาจตามสคํานวกั างมานในคณมะากตรรรามก๕ารแกลฤษะฎมกีาาตรา ๘๘ แหสงําพนรักะงรานาคชณบะัญกญรรัตมิกสาภรากฤษฎกี า

ตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖๙ และ มาตรา ๗๗ แหง

พระราชบัญญสัตาํ นิเทกั งศาบนคาณละพกร.ศรม.ก๒าร๔ก๙ฤษ๖ฎมีกาาตรา ๖ และสมํานาตักงราานค๗ณ๖ะกแรหรมงกพารรกะฤรษาชฎบกี าัญญัติองคการ

บรหิ ารสวนจังหวดั พ.ศ. ๒๕๔๐ รัฐมนตรวี า การกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบยี บไว ดังตอ ไปนี้

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการบริหารจัดการ

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า
โครงการเรงรัดขยายบริการไฟฟาโดยระบบผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยขององคกร

สํานกั งานปคกณคะรกอรงรสมวกนารทกอฤงษถฎ่ินกี าพ.ศ. ๒๕๔๗ส”ํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นขักองาน๒ค๑ณระกะรเบรมยี กบานรก้ีใฤหษใฎชบีกางั คับตัง้ แตว นั สปํานระักกงาานศคใณนะรการชรกมิจกจาารนกฤุเบษฎกีกษาาเปนตนไป

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษขฎอ ีก๓า บรรดาระเสบํานียกับงาขนอคบณงั ะคกบั รรหมกราอื รคกําฤสษงั่ ฎอีกื่นาใดท่ขี ดั หรือแสยาํ นงักกงับารนะคเณบะียกบรรนม้ีใกหาใรชกฤษฎกี า
ระเบยี บนี้แทน

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ขอ ๔ ในระเบยี บน้ี

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษ“ฎอีกงคา ก รปกครองสสําวนนักทงาอนงคถณิ่นะ”กรหรมกายารคกวฤาษมฎวกี าาองคการบริหสาํ รนสักวงานนตคําณบะลกเรทรศมกบาารลกฤษฎีกา

และองคการบรหิ ารสวนจงั หวดั เฉพาะในเขตสภาตาํ บล

สาํ น“กั โงคานรคงณกะากรร”รมหกมารากยฤคษวฎากี มาวา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

โครงการเรงรัดขยายบริการไฟฟาโดยระบบผลิต

กระแสไฟฟา ดว ยพลงั งานแสงอาทิตย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

“ระบบไฟฟา” หมายความวา ระบบผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย

ประกอบดวยสําแนักผงงาเนซคลณละกแรสรงมอกาารทกิตฤษยฎ กีโคา รงสรางรอสงํารนับักแงาผนงคเณซะลกลรรแมสกงารอกาฤทษิตฎกียา เครื่องแปลง

กระแสไฟฟา แบตเตอรี่ และอุปกรณค วบคมุ การประจแุ บตเตอรี่
สํานกั งานคณะกรรมการกฤษ“ฎสีกมาาชิกผูใชระบสบําไนฟักงฟาาน”คณหะมการยรมคกวาารมกวฤาษฎรกีาาษฎรท่ีเขารวมสโําคนักรงงากนาครณเระงกรรัดรมขกยาารยกฤษฎกี า

บริการไฟฟาโดยระบบผลิตกระแสไฟฟาดว ยพลงั งานแสงอาทิตย
สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ราชกิจจานเุ บกษา.เลม ๑๒๑/ตอนพิเศษ ๕๐ ง/หนา ๓๖/๓ พฤษภาคม ๒๕๔๗

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 449

- ๒ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษขฎอกี ๕า ใหองคกรสปํานกกั คงรานอคงณสวะกนรทรมอกงาถร่ินกฤรษับฎมีกอาบระบบไฟฟสาําทนี่ไักดงาตนิดคตณ้ังะแกรลรวมเกสารร็จกฤษฎีกา

ตามโครงการ เปนทรัพยสินขององคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยถือปฏิบัติตามระเบียบ

กระทรวงมหาสดาํ ไนทักยงวานา ดคณว ยะกกรารรมนกนั้ ารกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษขฎอีก๖า ใหองคกรสปํากนคักงราอนงคสณวะนกทรรอมงกถาิ่นรกจฤัดษใฎหกี มาีหลักฐานการสขาํ อนใักชงารนะคบณบะไกฟรฟรมากจาารกกฤษฎกี า

สมาชิกผูใชระบบไฟฟา สําหรับเอกสารและหลักฐานประกอบการขอใชระบบไฟฟาใหเปนไป

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ตามที่กรมสงเสรมิ การปกครองทองถิน่ กาํ หนด

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ขอ ๗ ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตั้งคณะกรรมการไฟฟาทองถ่ินในแตละ

ทองถ่ินหรือแสตํานลักะงสานภคาณตะํากบรลรมแกลาวรกแฤตษกฎรกี ณา ี ประกอบดสวํานยักตงัวาแนคทณนะจการกรมสกมาารชกิฤกษผฎูใีกชาระบบไฟฟามี
จาํ นวนไมน อ ยกวา ๕ คน ท้ังนีอ้ งคประกอบของคณะกรรมการและวิธีดําเนินงานเปนไปตามที่กรม

สาํ นกั งานสคงเณสะรกิมรกรมารกปารกกคฤรษอฎงีกทาอ งถน่ิ กําหนสดํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เพ่ือประโยชนของสมาชิกผูใชระบบไฟฟา องคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจตั้ง

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า
คณะกรรมการไฟฟาทองถ่ินมากกวา ๑ คณะได โดยตองกําหนดเขตพื้นที่รับผิดชอบใหชัดเจนไม

สํานักงานทคับณซะอกนรกรมนั การกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานขักองาน๘คณใหะกค รณรมะกการรรกมฤษกฎารกี ไาฟฟา ทองถนิ่ สมํานอี ักํางนาานจคหณนะกา ทรร่ี มดกงั านรี้กฤษฎกี า
(๑) ตรวจสอบสภาพอุปกรณตางๆ ของสมาชิกผูใชระบบไฟฟา และระบบไฟฟา

สํานักงานใหคณอยะกูในรรสมภกาพรกใฤชษงฎานกี าได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒) ซอมและแกไขอุปกรณไฟฟาตามท่ีสมาชิกผูใชระบบไฟฟารองขอ และ

บนั ทกึ ผลการสซาํอนมกั /งแานกคไณขทะกุกรครรม้งัการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

(๓) เก็บคาบํารุงสมาชิกผูใชระบบไฟฟาตามขอบัญญัติขององคกรปกครองสวน
สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ทองถ่ินโดยใหออกใบเสร็จรับเงิน และจัดทําบัญชีรับ - จายไวเปนหลักฐานโดยนําเขาบัญชี

คณะกรรมการสไาํ ฟนักฟงาทนคอ ณงถะนิ่กรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๔) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น กรณีท่ีคา

สํานกั งานบคาํ ณรงุ ะสกมรรามชกิกาผรกูใชฤรษะฎบกี บา ไฟฟาไมเ พยีสํางนพักองตานอ คกณาระกใชรรจ มากยารกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

(๕) ติดตามผลการใชงานของสมาชิกผูใชระบบไฟฟา และรายงานใหองคกร
สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ปกครองสวนทอ งถนิ่ ทราบเปนลายลักษณอ กั ษรทกุ ๆ ๖ เดือน

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ขอ ๙ ใหอ งคก รปกครองสว นทองถิน่ เปน ทีป่ รึกษาคณะกรรมการไฟฟาทองถ่ินมี

อาํ นาจหนา ที่ สดํางั นนัก้ีงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) ประชุมรวมกับคณะกรรมการไฟฟาทอ งถิ่น อยา งนอ ยปล ะ ๒ คร้งั

สํานักงานคณะกรรมการกฤษ(ฎ๒กี )า ประสานงาสนําภนกัางยาในนคทณอะกงรถร่ินมกทาั้งรภกฤาษคฎรีกัฐาและคณะกรสราํ มนกักงาารนไคฟณฟะการทรอมงกถาร่ินกฤษฎีกา

เพ่ือใหม ีไฟฟา ใชใ นหมูบานอยา งยัง่ ยืน

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
(๓) รวมตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรมการไฟฟาทองถ่ิน ให

สํานักงานขคอ ณเสะนกอรรแมนกะาแรกลฤะษรฎวมีกาแกปญหาตา งสๆํานทกั งี่เากนดิ คขณ้ึนะกกบัรรโมคกรางรกกาฤรษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 450

- ๓ - สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษ(๔ฎกี)าพจิ ารณาจดั สรํานรกัเงงนิานใหคณก ะับกครณรมะกการรกมฤษกฎารีกไาฟฟา ทองถ่นิ ตสาํานมักขงอ าน๘คณ(ะ๔ก)รรมการกฤษฎกี า

(๕) รวบรวมรายงานผลการใชงานของสมาชิกผูใชระบบไฟฟาท่ีคณะกรรมการ

ไฟฟาทอ งถ่นิ เสสํานนักองาแนลคะณนะาํ กสรง รใมหกก ารบั กกฤรษมฎสีกงาเสริมการปกสคํารนอักงงทานอ คงณถิน่ะกรรมการกฤษฎีกา

วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเงิน การคลัง บัญชีและการพัสดุตามระเบียบน้ี ใหเปนไป

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ตามระเบียบทีก่ ระทรวงมหาดไทยกําหนด

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ขอ ๑๐ สมาชิกผูใชระบบไฟฟาตองชําระคาบํารุงสมาชิกเปนรายเดือนในอัตรา

สํานกั งานตคาณมระกะรเบรมียกบาทรกี่กฤรษะฎทกี ราวงมหาดไทยสกําํานหักงนาดนใคนณขะอกร๙รมกใหารกกับฤษคฎณีกะากรรมการไฟสฟําานทักองางนถค่ินณโะดกยรไรมมกตาอรงกฤษฎกี า
นาํ สงเปน เงนิ รายไดข ององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ขอ ๑๑ คาบํารุงสมาชิกผูใชระบบไฟฟารายเดือนใหนําไปใชจายเปนคา

สาํ นกั งานบคาํ ณรงุ ะรกักรษรมากราะรบกบฤษไฟฎกีฟาา ตามระเบียสบําทนักีก่ งราะนทครณวะงกมรหรมาดกาไรทกยฤกษําฎหีกนาดในขอ ๙ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

ในกรณีคาบํารุงสมาชิกผูใชระบบไฟฟาไมเพียงพอตอการบํารุงรักษาระบบไฟฟา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ใหคณะกรรมการไฟฟาทองถ่ินจัดทํารายละเอียดคาใชจายเสนอองคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานกั งานพคจิ ณาระกณรารจมดั กตารั้งกงฤบษปฎรีกะามาณเพอ่ื บาํ รสงุ ํารนกั ักษงาานรคะณบะบกไรฟรมฟกาาใรหกอฤยษูใฎนกี สาภาพใชงานไสดําโ นดักยงตานลคอณดะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นขักองาน๑ค๒ณะกใหรรปมลกาัดรกกรฤษะทฎีกราวงมหาดไทยสรําักนษกั งาากนาครณตะากมรรรมะกเบารียกบฤษนฎ้ี แีกาละใหมีอํานาจ
ตคี วาม วินจิ ฉัยปญ หาเพ่อื ดาํ เนนิ การใหเ ปนไปตามระเบยี บน้ี

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษปฎลีกัดากระทรวงมหสาําดนไักทงยานอคาณจมะกอรบรมอกาํ นารากจฤตษาฎมีกวารรคหนงึ่ ใหอสธาํ นิบักดงีกานรคมณสะงกเสรรรมิมกกาารรกฤษฎีกา

ปกครองสว นทอ งถ่นิ หรือผูวาราชการจังหวัดได

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งาปนรคะณกะากศรรณมกวานัรกทฤ่ี ษ๒ฎเกี มาษายน พ.ศ. ส๒าํ ๕น๔ักง๗านคณะกรรมการกฤษฎกี า

ประชา มาลีนนท
สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี ราัฐมนตรชี วยวสาํากนาักรงฯานปคฏณบิะกตั รริ รามชกการากรแฤษทฎนกี า

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 451

- ๔ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานพครณพะมิ กลรร/มพกิมารพกฤษฎกี า

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๑๖ สงิ หาคม ๒๕๔๗

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สุนนั ทา/ปาลนิ /ตรวจ

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ส๒าํ น๖ักงสาิงนหคาณคะมกร๒รม๕ก๔าร๗กฤษฎีกา

A+B

สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษนฎันกี ทา พล/ปรบั ปรงุ
๑๑ มกราคม ๒๕๕๐

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๑๓๖ ก หน้า ๑ หน้าท่ี 452
ราชกิจจานเุ บกษา
๑๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒

กฎกระทรวง

การมอบอานาจในการพิจารณาใช้มาตรการบังคบั ทางปกครองของเจ้าหนา้ ท่ีผู้ทาคาสง่ั ทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๒

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และมาตรา ๖๓/๒ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติวธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ นายกรฐั มนตรีออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ข้อ ๑ ในกรณีท่ีกฎหมายใดไม่ได้กาหนดเร่ืองการมอบอานาจไว้โดยเฉพาะ การมอบอานาจ
ในการพิจารณาใช้มาตรการบงั คับทางปกครองสาหรับคาสั่งทางปกครองทกี่ าหนดใหช้ าระเงนิ ให้เปน็ ไป
ตามที่กาหนดไว้ ดังต่อไปนี้

(๑) การมอบอานาจในราชการบริหารส่วนกลางและราชการบริหารส่วนภูมิภาค เจ้าหน้าที่
ผู้ทาคาส่ังทางปกครองอาจมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งดังต่อไปนี้ เป็นผู้พิจารณาใช้มาตรการบังคับ
ทางปกครองได้

(ก) นายกรฐั มนตรีอาจมอบอานาจใหร้ องนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจาสานกั นายกรัฐมนตรี
หรือผู้วา่ ราชการจังหวัด

(ข) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงอาจมอบอานาจใหร้ ฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวง ปลดั กระทรวง
อธิบดหี รอื หัวหนา้ สว่ นราชการซ่ึงดารงตาแหน่งเทยี บเทา่ อธบิ ดี หรือผวู้ ่าราชการจังหวัด

(ค) รัฐมนตรีว่าการทบวงอาจมอบอานาจให้รัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง ปลัดทบวง
อธบิ ดีหรือหวั หนา้ สว่ นราชการซ่งึ ดารงตาแหนง่ เทียบเทา่ อธบิ ดี หรอื ผู้วา่ ราชการจงั หวัด

(ง) ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีอาจมอบอานาจให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วย
ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี หรือผู้วา่ ราชการจังหวดั

(จ) ปลัดกระทรวงอาจมอบอานาจให้รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวง หรือ
ผวู้ ่าราชการจังหวดั

(ฉ) ปลดั ทบวงอาจมอบอานาจให้รองปลัดทบวง ผชู้ ่วยปลัดทบวง หรือผู้วา่ ราชการจงั หวัด

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 453

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๑๓๖ ก หน้า ๒ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานุเบกษา

(ช) อธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่าอาจมอบอานาจให้รองอธิบดี ผู้ช่วยอธิบดี หรือ
ผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดีหรือผู้ช่วยอธิบดี ผู้อานวยการกองหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า
ผู้อานวยการกอง หรือผู้วา่ ราชการจังหวดั

(ซ) ผวู้ า่ ราชการจังหวัดอาจมอบอานาจให้รองผูว้ ่าราชการจงั หวดั ผ้ชู ว่ ยผู้วา่ ราชการจงั หวัด
ปลดั จงั หวดั หัวหน้าส่วนราชการประจาจงั หวดั นายอาเภอ หรอื ปลัดอาเภอผเู้ ปน็ หวั หนา้ ประจาก่ิงอาเภอ

(๒) การมอบอานาจในราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน ให้เป็นไปตามกฎหมายท่ีจัดต้ังราชการ
สว่ นท้องถ่ินนัน้

(๓) การมอบอานาจในรฐั วสิ าหกิจ ให้เปน็ ไปตามกฎหมายท่จี ดั ตั้งรัฐวิสาหกจิ นนั้

(๔) การมอบอานาจในหน่วยงานอืน่ ของรฐั ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายทจี่ ัดตัง้ หน่วยงานนน้ั
(๕) การมอบอานาจในสภาวิชาชีพ ให้เป็นไปตามกฎหมายที่จัดตงั้ สภาวิชาชพี นั้น
ในกรณีท่ีมีการมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้พิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ผ้วู ่าราชการจังหวัดอาจมอบอานาจนัน้ ใหแ้ กผ่ ู้ดารงตาแหน่งตาม (ซ) ตอ่ ไปได้
ขอ้ ๒ การมอบอานาจในการพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครองสาหรับคาส่ัง
ทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรือละเว้นกระทา ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่งทางปกครองเป็น
ผู้ดารงตาแหน่งตามข้อ ๑ ให้นาหลักเกณฑ์การมอบอานาจในการพิจารณาใช้มาตรการบังคับ
ทางปกครองตามขอ้ ๑ มาใชบ้ ังคับโดยอนุโลม
ในกรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีผู้ทาคาส่ังทางปกครองท่ีกาหนดใหก้ ระทาหรอื ละเวน้ กระทา ดารงตาแหนง่
ต่ากวา่ ผดู้ ารงตาแหนง่ ตามขอ้ ๑ เจ้าหน้าท่ผี ู้นน้ั ตอ้ งพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครองนัน้ เอง
หากเจ้าหน้าทีผ่ ู้ทาคาส่ังทางปกครองทีก่ าหนดใหก้ ระทาหรือละเว้นกระทาตามวรรคสองเห็นว่า
การพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครองอาจมีผลกระทบต่อสิทธิหรือเสรีภาพของผู้อยู่ในบังคับ

ของคาสั่งทางปกครองเกนิ สมควร ใหเ้ จ้าหนา้ ทผ่ี นู้ ั้นเสนอเรอ่ื งตอ่ หวั หนา้ หนว่ ยงานต้นสังกัดเพ่ือพิจารณา
มอบหมายใหเ้ จ้าหนา้ ทอ่ี ่ืนเป็นผู้พจิ ารณาใชม้ าตรการบังคับทางปกครองแทนไดต้ ามทเ่ี ห็นสมควร

ขอ้ ๓ การมอบอานาจตามขอ้ ๑ และข้อ ๒ ให้ทาเปน็ หนงั สือ

ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 6 ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖2
พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา
นายกรฐั มนตรี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 454

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๑๓๖ ก หน้า ๓ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยท่ีมาตรา ๖๓/๒ วรรคสอง
แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญญัติให้เจ้าหน้าท่ีผู้ทาคาสั่งทางปกครอง
ซ่ึงมีอานาจที่จะพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครองจะมอบอานาจให้เจ้าหน้าที่ซึ่งอยู่ใต้บังคับบัญชา
หรือเจ้าหน้าท่ีอื่นเป็นผู้ดาเนินการก็ได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้อง
ออกกฎกระทรวงนี้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๑๓๖ ก หน้า ๔ หน้าที่ 455
ราชกิจจานเุ บกษา
๑๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒

กฎกระทรวง

กำหนดเจำ้ หน้ำทผี่ ู้ออกคำสง่ั ใช้มำตรกำรบังคบั ทำงปกครอง
และกำรแต่งตัง้ เจ้ำพนกั งำนบังคับทำงปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๒

อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๖ วรรคหน่ึง แห่งพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำร
ทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และมำตรำ ๖๓/๗ วรรคสำม แห่งพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำร
ทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึง่ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบญั ญตั ิวธิ ปี ฏบิ ัติรำชกำรทำงปกครอง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ นำยกรัฐมนตรอี อกกฎกระทรวงไว้ ดงั ต่อไปนี้

ข้อ ๑ กำรออกคำส่ังใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองสำหรับคำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้
ชำระเงิน ใหเ้ ปน็ อำนำจของเจ้ำหน้ำที่ ดังต่อไปน้ี

(๑) ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หรือปลัดทบวง ในกรณีที่ผู้ทำคำสั่งทำงปกครอง
เปน็ เจ้ำหน้ำทข่ี องสำนกั งำนปลดั สำนักนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนปลดั กระทรวง หรอื สำนกั งำนปลดั ทบวง
แล้วแต่กรณี

(๒) อธิบดีหรือหัวหน้ำส่วนรำชกำรที่มีฐำนะเป็นกรม ในกรณีท่ีผู้ทำคำส่ังทำงปกครอง
เป็นเจำ้ หน้ำทขี่ องกรมหรือส่วนรำชกำรที่มีฐำนะเป็นกรม แลว้ แตก่ รณี

(๓) ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ในกรณีท่ีผู้ทำคำสั่งทำงปกครองเป็นเจ้ำหน้ำที่ของรำชกำรส่วนภูมิภำค
ในจงั หวดั

(๔) ผูบ้ ริหำรรัฐวิสำหกิจ ในกรณที ่ผี ทู้ ำคำสงั่ ทำงปกครองเปน็ เจำ้ หนำ้ ทข่ี องรฐั วสิ ำหกจิ
(๕) ผู้บริหำรหน่วยงำนอื่นของรัฐ ในกรณีท่ีผู้ทำคำส่งั ทำงปกครองเป็นเจ้ำหน้ำที่ของหนว่ ยงำนอนื่
ของรฐั
(๖) นำยกองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด นำยกเทศมนตรี ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
หรือนำยกเมืองพัทยำ ในกรณีที่ผู้ทำคำส่ังทำงปกครองเป็นเจ้ำหน้ำท่ีขององค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด
เทศบำลนคร เทศบำลเมือง กรุงเทพมหำนคร หรอื เมอื งพัทยำ แล้วแตก่ รณี
(๗) ผู้บริหำรท้องถ่ินอื่นนอกจำก (๖) โดยควำมเห็นชอบของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ในกรณี
ทผ่ี ทู้ ำคำสง่ั ทำงปกครองเปน็ เจำ้ หน้ำทข่ี ององคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นท้องถน่ิ นัน้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 456

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๑๓๖ ก หน้า ๕ ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

(๘) นำยกสภำวิชำชีพ ในกรณีที่ผู้ทำคำสั่งทำงปกครองเป็นสภำวิชำชีพซึ่งมีอำนำจหน้ำท่ี
ตำมทีก่ ฎหมำยกำหนด

(๙) หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐซึ่งเป็นหน่วยธุรกำรของคณะกรรมกำรนั้น ในกรณีที่ผู้ทำคำสั่ง
ทำงปกครองเป็นคณะกรรมกำรตำมกฎหมำย

(๑๐) เจ้ำหน้ำท่ีผู้มีอำนำจตำม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) หรือ (๘) แล้วแต่กรณี
ในกรณีท่ีผู้ทำคำส่ังทำงปกครองเป็นเอกชนซ่ึงได้รับอนุญำต ได้รับแต่งต้ัง หรือได้รับมอบหมำย
จำกเจำ้ หน้ำทด่ี งั กล่ำว

ข้อ ๒ ในกรณีท่ีรัฐมนตรี หรือเจ้ำหน้ำที่ผู้มีอำนำจตำมข้อ ๑ เป็นผู้ทำคำสั่งทำงปกครอง

ที่กำหนดให้ชำระเงิน ให้รัฐมนตรีหรือเจ้ำหนำ้ ที่ แล้วแต่กรณี เป็นผู้มีอำนำจออกคำส่ังใช้มำตรกำรบงั คับ
ทำงปกครอง

ขอ้ ๓ ให้ผู้มีอำนำจออกคำส่ังใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองแต่งตั้งเจ้ำหน้ำที่ผู้อยู่ภำยใต้
บังคับบัญชำซ่ึงผ่ำนกำรอบรมด้ำนกำรบังคับคดีจำกกรมบังคับคดีหรือด้ำนกำรบังคับทำงปกครอง
ตำมหลักสูตรท่ีคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครองให้ควำมเห็นชอบ เป็นเจ้ำพนักงำนบังคับ
ทำงปกครองเพ่ือดำเนินกำรยึดหรอื อำยดั และขำยทอดตลำดทรพั ยส์ นิ

ในกำรดำเนินกำรยึดหรอื อำยดั และขำยทอดตลำดทรพั ย์สิน เพ่อื ประโยชนใ์ นกำรใช้มำตรกำร
บังคับทำงปกครองสำหรับคำสั่งทำงปกครองท่ีกำหนดให้ชำระเงินแต่ละคำส่ัง ผู้ออกคำสั่งใช้มำตรกำร
บังคับทำงปกครองอำจมอบหมำยให้เจ้ำพนักงำนบังคับทำงปกครองหน่ึงคนหรือหลำยคนร่วมเป็น
เจำ้ พนกั งำนบงั คับทำงปกครองก็ได้

ในกรณีที่มีกำรมอบหมำยเจ้ำพนกั งำนบังคับทำงปกครองตำมวรรคสองเพียงหน่ึงคน บุคคลดงั กล่ำว
ตอ้ งสำเรจ็ กำรศึกษำปรญิ ญำตรีทำงนติ ศิ ำสตร์ แต่กรณที ีม่ ีกำรมอบหมำยเจ้ำพนกั งำนบงั คบั ทำงปกครอง

หลำยคน ในกำรดำเนนิ กำรยดึ หรอื อำยัดทรพั ย์สินตอ้ งมเี จำ้ พนักงำนบงั คับทำงปกครองอย่ำงนอ้ ยหนงึ่ คน
สำเร็จกำรศึกษำปริญญำตรีทำงนิติศำสตร์

ข้อ ๔ ในกำรแต่งตั้งเจ้ำพนักงำนบังคับทำงปกครอง ให้หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐหรือ
นำยกสภำวิชำชีพ แล้วแต่กรณี เป็นผู้ออกบตั รประจำตวั เจ้ำพนกั งำนบงั คับทำงปกครอง โดยให้นำแบบบัตร
และหลกั เกณฑ์ในกำรออกบตั รตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยบัตรประจำตัวเจ้ำหน้ำท่ีของรฐั มำใชบ้ ังคับโดยอนุโลม

ขอ้ ๕ กรณีท่ีกฎหมำยใดกำหนดเจ้ำหน้ำที่ผู้ออกคำสั่งใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครอง
หรือหลักเกณฑ์ในกำรแต่งตั้งเจ้ำพนักงำนบงั คบั ทำงปกครองไวโ้ ดยเฉพำะแล้ว ให้ใช้บังคับตำมกฎหมำย
ว่ำด้วยกำรนั้น เว้นแต่เจ้ำหน้ำท่ีเห็นว่ำกำรใช้หลักเกณฑ์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรน้ันจะเกิดผลน้อยกว่ำ
หลกั เกณฑท์ กี่ ำหนดไว้ในกฎกระทรวงนี้ เจำ้ หน้ำท่จี ะใชห้ ลกั เกณฑต์ ำมกฎกระทรวงนี้แทนกไ็ ด้

ข้อ ๖ บรรดำคำส่ังใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองโดยวิธีกำรยึดหรืออำยัด และ
ขำยทอดตลำดทรัพย์สนิ ของผอู้ ยู่ใต้บังคับของคำสั่งทำงปกครองท่ีไดอ้ อกโดยชอบตำมกฎกระทรวง ฉบับที่ ๙
(พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญตั ิวธิ ีปฏิบตั ิรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ กอ่ นวนั ที่

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 457

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๑๓๖ ก หน้า ๖ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานุเบกษา

กฎกระทรวงน้ีใช้บังคับ ให้ถือว่ำเป็นคำส่ังใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองตำมกฎกระทรวงนี้ และ
ให้ดำเนินกำรยึดหรืออำยัดหรือขำยทอดตลำดทรัพย์สินตำมที่ระบุไว้ในคำสั่งใช้มำตรกำรบังคับ
ทำงปกครองตอ่ ไปได้ แตต่ อ้ งไม่เกนิ หนึง่ ปนี ับแต่วันท่กี ฎกระทรวงน้ีใช้บงั คับ

ข้อ ๗ ในวำระเร่ิมแรก ผู้มีอำนำจออกคำสั่งใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองจะแต่งต้ัง
ผู้ซึ่งไม่ผ่ำนกำรอบรมด้ำนกำรบังคับคดีจำกกรมบังคับคดีหรือด้ำนกำรบังคับทำงปกครองตำมหลักสูตร
ทค่ี ณะกรรมกำรวธิ ปี ฏิบตั ริ ำชกำรทำงปกครองให้ควำมเห็นชอบ เป็นเจำ้ พนักงำนบังคับทำงปกครองก็ได้
โดยเจำ้ หน้ำทดี่ งั กล่ำวสำมำรถปฏิบัติหน้ำทไี่ ดไ้ มเ่ กินหน่ึงปนี ับแต่วันที่กฎกระทรวงน้ีใช้บงั คบั

ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 6 ธนั วำคม พ.ศ. ๒๕๖2
พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชำ
นำยกรฐั มนตรี

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 458

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๑๓๖ ก หน้า ๗ ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มำตรำ ๖๓/๗ วรรคสำม
แห่งพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระรำชบัญญัติ
วิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญญัติให้เจ้ำหน้ำท่ีผู้ออกคำส่ังใช้มำตรกำรบังคับ
ทำงปกครองและกำรแต่งต้ังเจ้ำพนักงำนบังคับทำงปกครองเป็นไปตำมท่ีกำหนดในกฎกระทรวง จึงจำเป็นต้อง
ออกกฎกระทรวงนี้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๘๗ ก หน้า ๑ หน้าท่ี 459
ราชกจิ จานุเบกษา
๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒

กฎกระทรวง

กำหนดทรพั ย์สินทีไ่ ดร้ บั ยกเว้นจำกกำรจดั เกบ็ ภำษที ด่ี นิ และสิง่ ปลูกสร้ำง
พ.ศ. ๒๕๖๒

อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๖ วรรคหน่ึง และมำตรำ ๘ (๑๒) แห่งพระรำชบัญญัติ
ภำษที ด่ี ินและส่งิ ปลูกสร้ำง พ.ศ. ๒๕๖๒ รฐั มนตรวี ่ำกำรกระทรวงกำรคลังออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปน้ี

ให้ท่ีดินและสิ่งปลูกสร้ำงที่เป็นทรัพย์สินดังต่อไปนี้ ได้รับยกเว้นจำกกำรจัดเก็บภำษีท่ีดินและ
สง่ิ ปลกู สรำ้ ง

(๑) ทรัพย์สินพระมหำกษัตริย์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดระเบียบทรัพย์สินพระมหำกษัตริย์
และทรัพย์สินของบคุ คลซึง่ ได้รับเงนิ ปีพระบรมวงศำนุวงศ์ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้ำขนึ้ ไปตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ย
กำรจ่ำยเงินเดือน เงินปี บำเหน็จบำนำญ และเงินอ่ืนในลักษณะเดียวกัน เฉพำะส่วนที่ได้ใช้เพ่ือกำร
ดังตอ่ ไปน้ี

(ก) ใช้ในรำชกำร รำชกำรในพระองค์ หรือหน่วยงำนในพระมหำกษัตริย์
(ข) ใชใ้ นกิจกำรอื่นใดในพระมหำกษัตรยิ แ์ ละพระบรมวงศำนุวงศ์ หรือใช้เพ่อื สำธำรณประโยชน์
(ค) ใช้เป็นศำสนสถำนไมว่ ำ่ ของศำสนำใดท่ีใชเ้ ฉพำะเพอื่ กำรประกอบศำสนกจิ หรือกจิ กำร
สำธำรณะ หรือเป็นทีอ่ ยู่ของสงฆ์ นักพรต นกั บวช หรือบำทหลวง ไม่วำ่ ในศำสนำใด หรอื เป็นศำลเจำ้
ท้ังนี้ หำกเป็นทรัพย์สินท่ีไม่ได้ใช้เพื่อกำรตำมวรรคหนึง่ ให้ได้รับยกเว้นเฉพำะส่วนที่มิได้
ใช้หำผลประโยชน์
(๒) ทรัพยส์ นิ ของรัฐวิสำหกจิ ทยี่ ังมไิ ด้ใชใ้ นกิจกำรของรฐั วิสำหกจิ และยังมไิ ดใ้ ช้หำผลประโยชน์
“รัฐวสิ ำหกจิ ” หมำยควำมว่ำ
(ก) องค์กำรของรัฐบำลตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดตง้ั องค์กำรของรัฐบำล กิจกำรของรัฐ
ตำมกฎหมำยท่จี ัดตั้งกจิ กำรน้ัน หรือหนว่ ยงำนธรุ กจิ ที่รฐั บำลเปน็ เจ้ำของ
(ข) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหำชนจำกัดที่กระทรวงกำรคลังมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่ำ
ร้อยละหำ้ สิบ

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าที่ 460

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๘๗ ก หน้า ๒ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒
ราชกจิ จานุเบกษา

(๓) ทรัพย์สินทีเ่ ปน็ ท่ดี นิ ว่ำงเปล่ำในสนำมบนิ รอบบรเิ วณทำงว่ิง ทำงขบั หรือลำนจอดอำกำศยำน
ที่กันไว้เพ่ือควำมปลอดภัยตำมมำตรฐำนข้ันต่ำของข้อกำหนดว่ำด้วยมำตรฐำนสนำมบินท่ีสำนักงำน
กำรบนิ พลเรือนแห่งประเทศไทยกำหนด

(๔) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้ำงท่ีใชเ้ ป็นทำงรถไฟหรือทำงรถไฟฟ้ำซงึ่ ใช้ในกิจกำรของกำรรถไฟหรอื
กำรรถไฟฟำ้ โดยตรง

“ทำงรถไฟ” หมำยควำมวำ่ ถนนหรือทำงซ่ึงไดว้ ำงรำงเพอ่ื กำรเดนิ รถไฟ และให้หมำยควำม
รวมถึง อโุ มงค์ สะพำน ทำงยกระดับ หอ้ งระบบอำณตั สิ ญั ญำณประจำสถำนี ซมุ้ เครอ่ื งกน้ั ถนนผ่ำนเสมอ
ระดับทำงรถไฟ ท่ีทำกำรหอสญั ญำณ และชำนชำลำสถำนีเฉพำะพื้นที่บริเวณที่ผู้โดยสำรรอเพอ่ื ขนึ้ หรอื

ลงจำกรถไฟ
“ทำงรถไฟฟ้ำ” หมำยควำมว่ำ รำงหรอื ทำงสำหรบั รถไฟฟ้ำแล่นโดยเฉพำะ ไม่วำ่ จะจดั สร้ำง

ในระดับพ้ืนดิน เหนือหรือใต้พื้นดินหรือพื้นน้ำ หรือผ่ำนไปในอำคำรหรือสิ่งปลูกสร้ำงใด ๆ และ
ให้หมำยควำมรวมถึงเขตทำง ไหล่ทำง ทำงเท้ำ ทำงออกฉุกเฉิน อุโมงค์ สะพำน ทำงยกระดับ
เข่อื นกนั้ นำ้ ทอ่ หรอื ทำงระบำยน้ำ ท่อหรอื ทำงระบำยอำกำศ กำแพงกันดิน ร้ัวเขต และหลกั ระยะ

(๕) ทรพั ย์สินทใี่ ชส้ ำหรบั กำรสำธำรณปู โภคและทรัพย์สนิ ท่ีใชป้ ระโยชนร์ ่วมกันในโครงกำรของ
กำรเคหะแห่งชำตติ ำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรเคหะแหง่ ชำติ

(๖) ทรัพย์สินของเอกชนที่ใช้เป็นพิพิธภัณฑ์ตำมท่ีรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังประกำศ
กำหนด ทง้ั น้ี เฉพำะสว่ นท่ีใช้เป็นแหล่งศึกษำเรียนรเู้ พอื่ สำธำรณประโยชน์

(๗) สง่ิ ปลูกสรำ้ งทเ่ี ป็นบ่อสำหรบั ใช้ในระบบบำบัดนำ้ เสยี ทใ่ี ช้ประโยชนต์ ่อเนื่องกบั อำคำร
(๘) ส่งิ ปลกู สร้ำงทเี่ ป็นบ่อน้ำทีใ่ ชป้ ระโยชน์เพอ่ื สำธำรณะ
(๙) ส่ิงปลูกสร้ำงท่เี ปน็ ถนน ลำน และรั้ว

(๑๐) ท่ดี ินทมี่ กี ฎหมำยกำหนดหำ้ มมใิ หท้ ำประโยชน์
(๑๑) ทรัพย์สินที่เป็นที่ทำกำรของสำนักงำนเศรษฐกิจและกำรค้ำของต่ำงประเทศที่จัดต้ังขึ้น
ในประเทศไทยตำมควำมตกลงระหว่ำงรฐั บำลไทยกบั รฐั บำลต่ำงประเทศ

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๖ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๖2
อตุ ตม สำวนำยน

รัฐมนตรวี ่ำกำรกระทรวงกำรคลัง

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 461

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๘๗ ก หน้า ๓ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒
ราชกิจจานเุ บกษา

หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ีเป็นกำรสมควรกำหนดให้ทรัพย์สินท่ีเป็นที่ดิน
หรือส่ิงปลูกสร้ำงบำงประเภทได้รับยกเว้นจำกกำรจัดเก็บภำษีตำมพระรำชบัญญัติภำษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้ำง
พ.ศ. ๒๕๖๒ จงึ จำเปน็ ตอ้ งออกกฎกระทรวงนี้

รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 462
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 463
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 464
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 465
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 466
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 467
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 468
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 469
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 470
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 471
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 472
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 473
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 474
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี

หน้าท่ี 475
รวบรวมโดย : กรรมกร สีกากี


Click to View FlipBook Version