The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siall28945, 2022-01-27 05:00:31

ภารกิจและเหตุการณ์ของนายกแพทยสมาคมฯ ครบรอบ ๑๐๐ ปี

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Keywords: นายก พสท.,ครบรอบ ๑๐๐ ปี

ศ.เกียรติคณุ นายแพทย์อมร ลลี ารศั มี นายกแพทยสมาคม พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔

นายกฯ ลาดับคนท่ี ๓๙ ปลายปีท่ี ๙๙ - ปีท่ี ๑๐๐ - ต้นปีท่ี ๑๐๑ ของ พสท.

ภารกิจและเหตกุ ารณ์
ในวาระที่ดารงตาแหน่งนายก
แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ

ภารกจิ และเหตกุ ารณใ์ นวาระท่ีดารงตาแหน่งนายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ

เป็ นแบบปกทส่ี ่งใหผ้ ูอ้ อกแบบ ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ นายแพทย์อมร ลีลารัศมี
หน้าปก ไปออกแบบหน้าปกใหม่ นายกแพทยสมาคมปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔
ให้เหมาะสมและทันยุค
นายกฯ ลาดบั คนที่ ๓๙ สมาชิกเลขที่ ๔๙๗๐
ปลายปีท่ี ๙๙ - ปีที่ ๑๐๐ - ตน้ ปที ่ี ๑๐๑ ของ พสท.

การประชมุ ใหญ่สามัญประจาปี ๒๕๖๒ ของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ซง่ึ เปน็ วนั แรกที่
ข้าพเจ้ารบั ตาแหน่งนายกแพทยสมาคมฯ(วาระที่ ๗) ในวันเสารท์ ี่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓

หนงั สือ e-book เล่มน้ี สามารถอา่ นดไู ด้จาก

https://anyflip.com/center/flips/book.php?cid=715116#/

การประชุมใหญ่สามัญประจาปี ๒๕๖๒ ของแพทยสมาคมฯ จัดในวันเสาร์ที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ.
๒๕๖๓ ณ ห้องประชุมสยามมกุฎราชกุมาร อาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี ซอยศูนย์วิจัย ท่ี แพทย
สมาคมแห่งประเทศไทย ฯ และนับเป็นวันแรกที่ข้าพเจ้ารับตาแหน่งนายกแพทยสมาคมแห่งประเทศ
ไทย ฯ ได้ถา่ ยรูปพร้อมกับคณะกรรมการบริหารและผู้มารว่ มแสดงความยินดี

ด ร . พ ร ชั ย ม ง ค ล ว นิ ช
อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม
ศ.ดร.วิเชียร เปรมชัยสวัสด์ิ
รองธิการบดี ดร. ธิดารัตน์
เอกสิทธิกุล อาจารย์ใน
คณะแพทย์ และคุณสาลินี
พรหมบุตร มาร่วมแสดง
ค ว า ม ยิ น ดี ด้ ว ย เ พ ร า ะ
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.
อมร ลีลารัศมี เป็นอดี ต
คณบดีคณะแพทยศาสตร์ และปัจจบุ นั ยังดารงตาแหน่งรองอธิการบดี ม.สยาม ดว้ ย

คำนำ

ภำรกจิ และเหตกุ ำรณ์ในวำระท่ีดำรงตำแหนง่ นำยกแพทยสมำคมแหง่ ประเทศไทยฯ

ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ นายแพทย์อมร ลลี ารศั มี
นายกแพทยสมาคมฯ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔ และนายกฯ ลาดับคนท่ี ๓๙

ปลายปีท่ี ๙๙ – ตลอดปีท่ี ๑๐๐ - ต้นปที ่ี ๑๐๑ ของการก่อตงั้ พสท.

เมื่อพรหมลิขิตไดก้ าหนดให้ข้าพเจา้ มาดารงตาแหน่งนายกแพทยสมาคมฯ วาระปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔ ซง่ึ
เป็นนายกฯ ลาดับคนที่ ๓๙ โดยเป็นช่วงเวลาต้ังแต่ปลายปีที่ ๙๙ - ปีท่ี ๑๐๐ จนถึงต้นปีท่ี ๑๐๑ ของการก่อตั้ง
แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ นับต้ังแต่วันที่ข้าพเจ้ารับตาแหน่งนายก พสท. ก็ไม่ได้คาดการณ์ว่า จะมีภารกิจ
แปลกใหม่เพิ่มเติมอย่างมากมายในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปีของ พสท. ของการดารงตาแหน่งในช่วงเวลานี้ แต่ก็มี
โรคโควิด-๑๙ ระบาด ทาให้ต้องมาทากิจกรรมใหม่ ๆ พร้อม ๆ กับสนับสนุนกิจกรรมเดิมท่ียังทาอยู่ เท่าท่ีภาวะ
วิสัยและพฤติการณข์ องแพทยสมาคมฯ จะอานวยใหท้ าได้

ในชว่ งหกเดอื นแรก (เดือนมกราคม ถงึ ส้นิ เดือนมิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓) เปน็ ชว่ งของการระบาดของโรคโค
วดิ -๑๙ ระลอกแรกและทัว่ โลกยงั มคี วามรู้น้อยมากเกี่ยวกบั เชือ้ SARS-CoV-2 และโรคโควดิ -๑๙ ในชว่ งเวลานี้
ประเทศไทยกาลังปิดประเทศเพือ่ สกัดก้นั การเขา้ มาของเช้ือ SARS-CoV-2 จากคนไทยหรือชาวตา่ งประเทศท่ี
เดนิ ทางกลบั มาสปู่ ระเทศไทย จงึ มกี ารเรง่ รีบทากิจกรรมให้ความรู้เพ่ือช่วยใหแ้ พทยแ์ ละประชาชนรู้จกั โรคโควิด –
๑๙ และสร้างขวัญกาลงั ใจให้แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์เพอ่ื เสี่ยงชีวิตเข้าไปดแู ลรักษาผ้ตู ิดเชื้อทีม่ ีอาการจน
ต้องรบั เข้าไปรักษาในโรงพยาบาล กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทนี่ ายกแพทยสมาคมฯ ไดท้ าหรือรว่ มทาในห้วงเวลานไ้ี ด้ถูก
บันทึกไว้แลว้ เปน็ หนงั สือ e-book หนา ๓๖๓ หนา้ หรอื หาอ่านได้ที่

http://online.anyflip.com/tbkj/mqkq/mobile/index.html

ในช่วงหกเดือนท่ีสองจนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นช่วงเวลาท่ีประเทศไทยสามารถควบคุมผู้ติด
เชื้อรายใหม่ต่อวันให้ลงไปเหลือ ๐ รายตั้งแต่เดือนมิถุนายน เป็นต้นมาจนครบ ๑๐๐ วัน ทาให้ระบบสาธารณสุข
ของประเทศไทยได้รับการยกย่องไปทั่วโลกว่า เป็นระบบสุขภาพท่ีดีและมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดแห่งหนึ่งในโลก
ในช่วงเวลาน้ี ประเทศไทยมุ่งควบคุมโรคโควิด-๑๙ อย่างเต็มที่ ประชาชนเริ่มสนใจเรื่องวัคซีนต้านโควิด-๑๙ (ที่
จริง วัคซีนเป็นเพียงเคร่ืองมือในการลดความรุนแรงของโรคและลดระยะเวลาแพร่เช้ือได้) ทั้งประเทศต่ืนตัวเร่ือง
การใช้วิถีชีวิตใหม่ (new-normal life style) อยากรู้เร่ืองวัคซีน ยาต้านไวรัส ทาให้ข้าพเจ้าในฐานะนายกแพทย
สมาคมฯ ได้ให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 เชื้อไวรัสกลายพันธุ์และชนิดของวัคซีนต้านโควดิ -
๑๙ จนกระทง่ั ถึงปลายเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๓ เกิดการระบาดครง้ั ใหญ่ในกล่มุ แรงงานตา่ งด้าวทท่ี างานในโรงงาน
อาหารทะเลที่จังหวัดสมุทรสาคร จนตอ้ งเร่ิมกักตัวแรงงานทั้งต่างดา้ วและคนไทย และกรมควบคุมโรคเริ่มทาระบบ
bubble and seal ในโรงงานในจังหวัดสมุทรสาคร เพ่ือควบคุมการแพร่กระจาย มิให้ออกไปนอกจังหวัด แต่
สุดท้ายก็ไม่สามารถควบคุมให้เช้อื หยุดอยู่ในพื้นท่ีได้ เชื้อไวรัสท่ีระบาดเปน็ เช้ือกลายพันธ์ุอัลฟา (Alpha) สายพนั ธุ์
B.1.1.7 ทตี่ รวจพบคร้งั แรกในสหราชอาณาจกั ร แสดงวา่ เชื้อกลายพันธุเ์ ขา้ มาในประเทศไทยได้งา่ ยมากจากการเข้า
มากบั คนต่างชาติหรอื คนไทยท่ไี ม่ไดเ้ ขา้ มาประเทศไทยทางเครอ่ื งบนิ และถูกกักตัวตามระบบ

๓๖๔

ชว่ งหกเดือนท่ีสามคอื หลงั ปีใหม่มาถงึ เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ เปน็ ชว่ งทีท่ ุกองคก์ รพยายามสุดกาลงั ใน
การควบคุมโควิด-๑๙ สายพันธ์ุอัลฟาให้ได้ แต่ก็ไม่สามารถควบคุมผู้ติดเชื้อรายใหม่ต่อวันให้ลดลงมาเหลือต่ากว่า
๑๐๐ รายต่อวันไดแ้ ลว้ เชอื้ สายพนั ธ์นุ ี้แพร่เชอ้ื เกง่ กว่าเชือ้ ไวรัสสายอ่ฮู นั่ จานวนผ้ตู ิดเชอื้ รายใหม่ต่อวนั ก็ค่อย ๆ พุง่
ขึ้นไปถึงหลัก ๕,๐๐๐ รายต่อวัน ช่วงน้ีเร่ิมระดมทุนหาซื้อวัคซีน หรือวิจัยเพ่ือผลิตวัคซีนภายในประเทศ ฉีดวัคซีน
ใหบ้ ุคคลสาคัญเพ่ือประชาสมั พนั ธ์ความปลอดภยั ของวัคซีน สรา้ งโรงพยาบาลสนามรองรบั ผู้ติดเช้ือจนกระทั่งรับไม่
ไหวแม้จะเพ่ิมโรงพยาบาลสนาม(บุษราคัม)ท่ีรองรับผู้ตดิ เชื้อในกลุ่มสเี หลอื งได้ขนาด ๕,๐๐๐ เตียง ต้ังอยู่ในอาคาร
ชาเลนเจอร์ IMPACT ARENA เมืองทองธานี จานวนเตียงท่ีมากถึง ๕,๐๐๐ เตียงก็ยังไม่พอ การระบาดยังพุ่งไม่
หยดุ จนต้องสง่ ผูต้ ิดเช้ือรายใหม่ที่มีอาการเบาไปกกั รักษาตัวท่ี hospitel ต่อมา เชือ้ ไวรสั กลายพันธ์เุ ดลต้า (Delta)
สายพันธุ์ B.1.617.2 ท่ีตรวจพบคร้ังแรกในอินเดียกลายเป็นเชื้อเด่นและแพร่เข้ามาในประเทศไทยจากคนท่ีเข้ามา
ตามชายแดนและนาเชอื้ ชนดิ น้ีเข้ามากระจายสู่ชุมชนชาวไทย เช้ือสายพันธ์ุเดลต้าแพร่กระจายยงิ่ เก่งและทาให้การ
ระบาดของโรคน้ใี นประเทศไทยพงุ่ ไม่หยุด

ในช่วงหกเดือนสุดท้ายจากกรกฏาคมจนถึงธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวนผ้ตู ดิ เช้ือรายใหมต่ ่อวนั ยังพุ่งขนึ้
ไปต่อไปจนทะลุ ๒๐,๐๐๐ รายต่อวันในเดือนสิงหาคม ทาให้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคมจากเดิมท่ีโรงพยาบาลบุษราคัม
ถูกวางไว้รักษาผู้ป่วยอาการปานกลาง แต่ตอนนี้ช่วยรับดูแลผู้ป่วยอาการหนักท่ีอยู่ในกลุ่มสีแดงด้วย โดยมีคนไข้ใส่
เครอื่ งออกซิเจนอย่ปู ระมาณ ๕๐๐ คน ใสเ่ ครอื่ งชว่ ยหายใจ ๑๗๐ คนตอ่ วนั ในจานวนน้ีจาเป็นต้องใส่ท่อหายใจ ๖-
๙ คนต่อวัน ทาให้โรงพยาบาลบุษราคัม ถือว่า มีผู้ป่วยที่ต้องใส่เคร่ืองออกซิเจน ไฮโฟลว์มากที่สุดในประเทศไทย
ช่วงนี้ เป็นการเร่งฉีดวัคซีนทุกชนิดท่ีมีอยู่ให้ทุกคนได้เข็มที่หน่ึงและสองเร็วที่สุด มีการถกเถียงกันถึงเรื่องชนิดของ
วัคซีนที่จะเลือกฉีดให้คนไทย ต้ังแต่วัคซีนเชื้อตายทั้งตัว เช่น sinovac, sinopharm ไปจนถึงวัคซีน viral-vector
เช่น AstraZeneca และวัคซีน mRNA ของไฟเซอร์และ Moderna (วัคซีน Moderna มีการส่งมอบวัคซีนช้ากว่า
กาหนดจนถกู ลอ้ ให้อา่ นว่า วัคซีนมาเดอื นหนา้ ) โรงพยาบาลสนามถูกสรา้ งข้นึ อีกหลายแห่งเพื่อนามาใช้รักษาดูแลผู้
ติดเช้ือทุกประเภท ตั้งแต่คนไข้อาการน้อย อาการปานกลาง และมีโอกาสที่จะมีอาการหนักข้ึนเรือ่ ยๆ ได้ ซ่ึงจะถูก
พัฒนาเปน็ คนไข้กลุ่มสีแดงท่ีต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ เครือ่ งไฮโฟลว์ โดยโรงพยาบาลบษุ ราคัมรับผูป้ ่วยทุกประเภท
เพื่อเข้ามายังรักษา จนถึงต้นเดือนกันยายนยอดผู้ติดเชื้อรายใหม่ก็เร่ิมลดลงมา เมื่อมียอดผู้ติดเชื้อรายใหม่ต่อวัน
ทะลุ ๒๐,๐๐๐ รายและมีจานวนมากกว่าผู้ติดเชื้อท่ีรักษาหายแล้ว ทางการต้องส่งผู้ติดเช้ือไปกักรักษาตัวที่บ้าน
(home-isolation หรือ HI) และศูนย์พักคอยในชุมชน (community-isolation หรือ CI) ร่วมด้วย แล้วจานวนผู้
ติดเชื้อรายใหม่ต่อวันลดลงอย่างต่อเน่ืองจนถึงปลายเดือนกันยายนและเดือนตุลาคม ประเทศไทยจึงเตรียมเปิด
ประเทศในวนั ท่ี ๑ เดือนพฤศจิกายน จึงมคี าถามถึงการเฝ้าระวังว่า การเปดิ ประเทศจะมีการระบาดระลอกใหม่อีก
ไหม? ซ่งึ ทีจ่ รงิ แลว้ ผทู้ เ่ี ดนิ ทางเข้าประเทศไทยตามระบบ คอื มาทางเครือ่ งบนิ นน้ั มีการตรวจหาเชือ้ กอ่ นมาภายใน
๓ วันได้ผลลบ ฉีดวัคซีนครบสองเข็มแล้วอย่างน้อย ๑๔ วันหลังเข็มท่ีสอง และมีการตรวจ ATK เมื่อมาถึงประเทศ
ไทย และยังเดินทางมาจากประเทศหรือพ้ืนท่ีที่มีการระบาดน้อย รวมแล้วคิดว่า ถ้าจะมีการระบาดระลอกใหม่
เกิดข้ึน ไม่น่าเกิดจากนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้เลย น่าจะมาจากนักท่องเที่ยวหรือคนไทย คนต่างชาติท่ีเดินทางเข้ามาใน
ประเทศไทยตามเส้นทางธรรมชาติโดยไมไ่ ด้ใชร้ ะบบดังกลา่ วตามทรี่ ัฐบาลวางไว้

ในแต่ละช่วงของการระบาดของโควิด-๑๙ มีคาถามเกิดข้ึนมากมาย เกิดความสับสนและประชาชน
ต้องการความรู้ ความเห็น ซึ่งนายกแพทยสมาคมฯ ก็ได้พยายามให้ความรู้ทางวิชาการและความเห็นตลอดมา
นอกจากนี้ ยังมีการรว่ มระดมทนุ กับกลุ่มเซ็นทรัลจดั ต้ังโครงการ “ทาดว้ ยใจ ไฟท์โควิด-19” (Help Thai Fight

๓๖๕

COVID-19) เพ่ือมอบเงินบริจาคผ่านทางแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ให้ไปทาวิจัยที่จะ
นามาใช้ควบคุมโรคโควิด-๑๙ และยังร่วมจัดงาน 13th Asia Pacific Conference on Tobacco or Health
(APACT 2021) และงานฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปีเบือ้ งตน้ ใหแ้ พทยสมาคมฯ ในงานเดยี วกนั นอกจากนี้ยงั ร่วมมือกับ
วารสารนานาชาติช้ันนาประมาณ ๒๐๐ วารสาร ตีพิมพ์บทบรรณาธิการกระตุ้นให้ประเทศที่ม่ังค่ังช่วยลด“โลก
ร้อน”อย่างรวดเร็วก่อนท่ีจะสายเกินไปในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติในเดือนกันยายน ๒๕๖๔ และจะมีการ
ติดตามผลกระทบของการตีพิมพ์บทบรรณาธกิ ารเร่ืองนี้ต่อไป คณะกรรมการชุดนี้ได้ทาให้ วันแพทย์ ของประเทศ
ไทยซ่ึงตรงกับวนั ท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน เปน็ ที่ร้จู ักในกลุ่มแพทย์และประชาชนอย่างเป็นรปู ธรรม มกี ารจดั พธิ ีอุทศิ ส่วน
กุศลแกแ่ พทย์ทีล่ ่วงลับไปแลว้ และในปี ๒๕๖๔ ได้จดั งานทส่ี ถานโี ทรทัศน์ NBT ในเวลาบ่ายสามโมงเพื่อตอกย้าถึง
ความสาคัญของวชิ าชีพแพทย์ให้ประจกั ษ์และเป็นตัวอย่างให้แพทยร์ ุ่นน้องได้ปฏิบตั ิตามดว้ ย และสุดทา้ ยไดร้ ่วมลง
นามบันทกึ ความเขา้ ใจกบั บรษิ ทั ทาเคดา(ประเทศไทย)จากัด ในการทาใหป้ ระเทศไทยเปน็ Dengue-Zero zone

ท้งั หมดน้เี ป็นรายงานการปฏิบตั ิงานส่วนใหญท่ ่ีนอกเหนือจากงานประจาของ พสท. ในขณะทข่ี ้าพเจ้า
ดารงตาแหน่งนายกแพทยสมาคมฯ หวังวา่ ผลงานเพิ่มเตมิ เหล่านจ้ี ะชว่ ยผู้ป่วย ระบบสุขภาพ และสุขภาพของคน
ไทยและสังคมไทยให้ดีขึ้นได้อีก ท่านสามารถดูข้อมูลการทางานตามปกติของ พสท. ในหนังสือครบรอบ ๑๐๐ ปี
ของแพทยสมาคมฯ ได้ ส่วนความเห็นหรือข้อเสนอแนะในหนังสือเล่มน้ีเป็นของผู้เขียนเอง โดยเขียนตามความ
เขา้ ใจ ขอ้ มูลและความรู้เท่าท่ีข้าพเจ้าได้รับมา หากผิดพลาดประการใด ผเู้ ขียนกราบขออภยั ด้วย นอกจากนี้ ขอให้
หนังสือเล่มน้ีเป็นเล่มที่สองต่อจากเล่มแรกท่ีพิมพ์ออกไปแล้วในเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ จึงขอเร่ิมหน้าแรกของ
หนงั สอื เล่มนด้ี ้วยหนา้ ที่ ๓๖๔ ต่อจากหนา้ สดุ ท้ายของเลม่ ทห่ี น่งึ

สุดทา้ ยนี้ ขา้ พเจ้าขอกราบขอบพระคุณอดีตนายกแพทยสมาคมฯ และอดตี คณะกรรมการแพทยสมาคมฯ
ทุกท่านที่ได้ทางานตั้งแต่เริ่มก่อต้ังแพทยสมาคมฯ ในปีท่ี ๑ ได้บริหารและจัดทากิจกรรมต่างๆ ท่ีมีประโยชน์ให้แก่
สมาชิก ระบบบริบาลสุขภาพและประชาชนชาวไทยด้วยความพากเพียรและมุ่งม่ันตลอดมาถึง ๙๙ ปี ทาให้แพทย
สมาคมฯ เจริญรุ่งเรือง มีบารมี มีผลงาน เป็นท่ีพ่ึงขององค์กรและสมาชิกตลอดมาจนถึงปัจจุบันน้ี ขอขอบคุณ
คณะกรรมการแพทยสมาคมฯ ทุกท่านในยุคปลายปีที่ ๙๙ - ตลอดปีที่ ๑๐๐ - ต้นปีท่ี ๑๐๑ ของ พสท. (ปี พ.ศ.
๒๕๖๓-๒๕๖๔) ท่ีชว่ ยข้าพเจ้าทางาน ทาให้แพทยสมาคมฯ มีความเจรญิ รุ่งเรืองและมผี ลงานเพ่ิมข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง
จนเป็นองค์กรหนึ่งที่ประชาชนนึกถึงเม่ือเกิดปัญหาสาคัญด้านสุขภาพของประเทศ คณะกรรมการบริหารชุด
ครบรอบ ๑๐๐ ปีของ พสท.นี้ ขอส่งมอบผลงานและชื่อเสียงของแพทยสมาคมฯ ต่อให้นายกแพทยสมาคมฯ ท่าน
ต่อไป คือ นายแพทย์สุขุม กาญจนพิมาย และคณะกรรมการแพทยสมาคมฯ ท่ีจะแต่งตั้งในปีที่ ๑๐๑ ของ พสท.
ในวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๕ เพ่ือท่ีท่านนายกแพทยสมาคมฯ และคณะกรรมการชุดใหม่ จะได้ทางานสร้างเสริม
ต่อยอดผลงานและช่อื เสียงของ พสท. และคุณค่าของการมี วันแพทย์ สาหรบั วชิ าชพี แพทยต์ อ่ ไป

อนึ่ง ข้าพเจ้าขอขอบคุณนางสาวปรานชนก สุขประเสริฐ แพทยสภา ที่กรุณาออกแบบหน้าปกและหลัง
ปกของหนงั สือ ภารกิจและเหตุการณใ์ นวาระที่ดารงตาแหนง่ นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ เล่มนี้ให้

ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทยอ์ มร ลีลารัศมี
สมาชกิ แพทยสมาคมหมายเลขท่ี ๔๙๗๐

๓๖๖

สารบัญ หนา้

คำนำ ๓๖๔-๓๖๖
สำรบญั ๓๖๗
หน้ำปกหนงั สอื ครบรอบปีที่ ๗๔, ๘๐, ๘๔, ๙๐ และ ๑๐๐ ปีของกำรก่อต้ัง พสท. ๓๖๘
รำยนำมและภำพคณะกรรมกำร แพทยสมำคมแห่งประเทศไทยในพระบรมรำชปู ถมั ภ์
๓๖๙-๓๗๐
ปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔ (ระยะเวลำ ท้ำยปีที่ ๙๙ ตลอดปีท่ี ๑๐๐ ตน้ ปที ่ี ๑๐๑ ของ พสท.)
ประกำศ พสท. แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรบรหิ ำรแพทยสมำคมฯ ประจำปี ๒๕๖๓-๒๕๖๔ ๓๗๑-๓๗๘
ทรงพระกรณุ ำโปรดเกลำ้ ฯ พระรำชทำนหนังสือขอขอบใจและเป็นกำลังใจ ๓๗๙-๓๘๐
ควำมยำกลำบำกในกำรทำโครงกำรนักรบเสอื้ ขำวสภู้ ัยโควดิ -๑๙ ควำมเสยี่ ง ๒ ขั้นตอน ๓๘๑-๓๙๒

ของ พสท. กบั กำรซอ้ื กรมธรรม์ ๒ ฉบบั สำหรับกำรประกนั ชวี ติ กล่มุ รวมทั้งขำ่ วปลอม ๓๙๓-๓๙๖
กำเนิด ๖ ปำ้ ยจรำจรแสดงทิศทำงมำ พสท. และปำ้ ย “แยกแพทยสมำคม”
๓๙๗-๔๐๓
ท่ี แยกหนำ้ อำคำรเฉลมิ พระบำรมี ๕๐ ปี ๔๐๔-๔๓๕
แพทยสมำคมแหง่ ประเทศไทยฯ และแพทยสภำในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๔๓๖-๔๔๒
ประธำนคณะกรรมกำรบริหำรงำนวจิ ัย COVID-๑๙ ดำ้ นกำรวจิ ยั ทำงคลนิ ิก สวรส. ๔๔๓-๔๕๗
ส.ค.ส. ๒๕๖๔ จำกนำยกรัฐมนตรี และกำรทำงำนวิจยั ที่ รพ. สมทุ รสำคร
อนกุ รรมกำรบริหำรจัดกำรกำรใหว้ ัคซีนปอ้ งกันโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID-19) ๔๕๘-๔๕๙
๔๖๐-๔๘๑
กรงุ เทพมหำนคร สำนักอนำมยั กรงุ เทพมหำนคร
ถูกรำงวลั ที่ ๑ กับสลำกออมทรพั ย์ ธอส. (เกรด็ ดำว): มดี วงกับเขำดว้ ยหรือ? ๔๘๒-๔๙๒
กจิ กรรมทด่ี ำเนินกำรกบั องคก์ รหรอื สมำคมแพทย์ในตำ่ งประเทศ
๔๙๓-๔๙๙
และกำรจัดประชมุ 13th APACT 2021
Countermeasures against COVID-19 including the situation of the vaccination ๕๐๐-๕๑๗
๕๑๘-๕๔๒
The Medical Association of Thailand: Report to the CMAAO ๕๔๓-๕๘๔
แพทยสมำคมฯ และแพทยสภำร่วมแสดงควำมหว่ งใยแพทย์ พยำบำล ๕๘๕-๕๘๘
๕๘๙-๖๒๑
และบคุ ลำกรทำงกำรแพทยจ์ ำกเหตุกำรณท์ ะเลำะววิ ำท และทำรำ้ ยรำ่ งกำยในโรงพยำบำล ๖๒๒-๖๒๙
คดีหมำยเลขดำท่ี พ๒๑๓๙/๒๕๖๓ กรณีที่ดนิ พิพำทสองแปลงกับนำงสำวนิสำกร บญุ ศริ ิ ๖๓๐-๘๑๓
แพทยสมำคมฯ ตอ่ ตำ้ นกำรซ้อื -ขำยบุหรไ่ี ฟฟำ้ อยำ่ งถูกกฎหมำย WHO ตำมมำหนุน พสท.
วันแพทย์: มีไวท้ ำไม? ๘๑๔-๘๕๕
กิจกรรมพัฒนำบคุ ลำกรแพทยสมำคมฯ ปี ๒๕๖๓ และ ๒๕๖๔ ๘๕๖-๘๗๕

กล่มุ เซน็ ทรัลเปิดโครงกำร“ทำดว้ ยใจ ไฟท์โควดิ -19” กบั แพทยสมำคมฯ ๘๗๖
๘๗๗-๘๘๑
ประวัติ ข้อบังคับ ระเบียบฉบบั ปรบั ปรุงใหม่ของแพทยสมำคมฯ
กำรใหค้ วำมรู้ ข้อมลู บนั ทึกเหตุกำรณส์ ำคญั บทควำมเกีย่ วกบั โรคโควิด-๑๙ ท่ีเผยแพรผ่ ่ำนสอ่ื สำธำรณะ

ทง้ั วิทยุ โทรทศั น์ และสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ สอ์ อนไลน์ เชน่ Facebook, LINE เป็นต้น
กำรระบำดของโรค COVID-๑๙ ในประเทศไทย (ปลำยปี ๒๕๖๓ ถงึ ๑๐ มค. ๒๕๖๕) และ โอมิครอน
กำรทำ Dengue-Zero MOU ระหว่ำงแพทยสมำคม ฯ ภำคเี ครอื ขำ่ ยและ

บรษิ ัท ทำเคดำ (ประเทศไทย) จำกดั
วำระกำรประชุมใหญส่ ำมญั ประจำปี ๒๕๖๔
กำรประชมุ กรรมกำรบรหิ ำรครั้งสดุ ท้ำยและ ปัจฉิมลิขติ

๓๖๗

หน้าปกหนงั สือครบรอบปีที่ ๗๔, ๘๐, ๘๔, ๙๐ และ ๑๐๐ ปขี องการก่อตง้ั แพทยสมาคมแห่ง
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ รวบรวมระเบียบข้อบังคบั และประกาศ กิจกรรมและเหตุการณ์
ต่าง ๆ และ รายนามคณะกรรมการและสมาชกิ ของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ

มี ๔๐๖ หน้า มี ๔๓๕ หนา้ มี ๕๖๐ หน้า

มี ๙๙๒ หนา้ มี ๓๐๐ หน้า

๓๖๘

รำยนำมและภำพคณะกรรมกำร แพทยสมำคมแห่งประเทศไทยในพระบรมรำชูปถมั ภ์
ปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔ (ท้ำยปที ี่ ๙๙ ตลอดปีท่ี ๑๐๐ ต้นปีที่ ๑๐๑ ของกำรก่อตั้ง พ.ส.ท.)

แถวท่ี ๑ น่ังเกำ้ อ้ี จำกซำ้ ยไปขวำ
๑. รองศาสตราจารยน์ ายแพทยศ์ ุภชัย รตั นมณีฉัตร
๒. แพทย์หญิงเบญจมาศ พิศาลสารกจิ
๓. แพทย์หญิงสุวณี รกั ธรรม
๔. แพทย์หญิงจนั ทรา เจณณวาสนิ
๕. ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.แพทยห์ ญิงคุณนันทา มาระเนตร์
๖. รองศาสตราจารย์แพทยห์ ญงิ อรวรรณ ครี ีวัฒน์
๗. แพทย์หญิงรงั สิมา แสงหริ ัญวัฒนา
๘. ศาสตราจารย์นายแพทยร์ ณชัย คงสกนธ์
๙. นายแพทย์วนั ชาติ ศภุ จัตุรัส
๑๐.นายแพทย์ขจิต ชูปัญญา
๑๑.ศาสตราจารย์เกยี รติคุณนายแพทย์อมร ลีลารัศมี
๑๒.ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ แพทย์หญิงสมศรี เผา่ สวสั ดิ์
๑๓.นายแพทยส์ ุขุม กาญจนพิมาย
๑๔.ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ประกิตพันธุ์ ทมทิตชงค์
๑๕.รองศาสตราจารย์นายแพทยโ์ ยธิน เบญจวงั
๑๖.แพทยห์ ญิงอารยา ทองผิว

๓๖๙

๑๗.ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ นายแพทยก์ ฤษฎา รตั นโอฬาร
๑๘.ศาสตราจารย์นายแพทยก์ รี ติ เจริญชลวานชิ
๑๙.นายแพทยส์ รุ ศกั ดิ์ สัมปัตตะวนชิ
๒๐.รองศาสตราจารย์แพทยห์ ญงิ ยุวดี เล่ยี วไพรัตน์
๒๑.พลอากาศโทนายแพทย์การณุ เก่งสกุล
แถวที่ ๒ ยนื จำกซำ้ ยไปขวำ
๑. นาวาอากาศหญงิ นันทนา กวียานนั ท์
๒. พลตารวจโทนายแพทยอ์ รรถพนั ธ์ พรมณฑารัตน์
๓. นายแพทย์ทรงพล ชวาลตันพิพัทธ์
๔. นายแพทย์วริ ุฬห์ พรพฒั น์กุล
๕. นายแพทย์วันชัย เหล่าเสถยี รกจิ
๖. พลอากาศโทนายแพทย์อนุตตร จิตตนิ นั ทน์
๗. รองศาสตราจารยน์ ายแพทย์ปราโมทย์ ธรี พงษ์
๘. นายแพทย์ชยั วัฒน์ เตชะไพฑูรย์
๙. นายแพทย์คมกริบ ผูก้ ฤตยาคามี
๑๐.นายแพทย์ประดิษฐ์ ไชยบุตร
๑๑.นายแพทย์ประจวบ อึง๊ ภากรณ์
๑๒.ศาสตราจารย์นายแพทย์พรชยั สิมะโรจน์
๑๓.ศาสตราจารยน์ ายแพทยส์ มเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล
๑๔.นาวาอากาศเอก(พเิ ศษ)นายแพทย์ไพศาล จันทรพทิ ักษ์
๑๕.นายแพทย์พินิจ หิรัญโชติ
๑๖.พลตารวจตรนี ายแพทยช์ ุมศักดิ์ พฤกษาพงษ์
๑๗.พันตรีนายแพทย์ชาญฤทธ์ิ ลอ้ ทวสี วัสดิ์
๑๘.รองศาสตราจารยน์ ายแพทยเ์ มธี วงศ์ศิรสิ ุวรรณ
๑๙.พลอากาศตรนี ายแพทยเ์ ฉลิมพร บุญสิริ
๒๐.นายแพทยส์ วัสด์ิ เถกิงเดช
๒๑.นายแพทยน์ ิพนธ์ อปุ มานรเศรษฐ์
๒๒.พลอากาศตรนี ายแพทย์อิทธพร คณะเจริญ
๒๓.นายแพทย์สินชยั ตันตริ ัตนานนท์
๒๔.นายแพทย์ชาติชัย อติชาติ
๒๕.ศาสตราจารยน์ ายแพทย์อภิชาติ จติ ตเ์ จรญิ
๒๖.รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยศ์ กั ดา อาจองค์ วัลลิภากร
๒๗.พลตรีนายแพทยส์ ทุ ธจติ ลีนานนท์
๒๘.พลตรีผูช้ ่วยศาสตราจารยน์ ายแพทย์กิฎาพล วฒั นกูล
๒๙.แพทยห์ ญิงวไิ ล คุปตน์ ริ ัติศยั กุล

๓๗๐

๓๗๑

๓๗๒

๓๗๓

๓๗๔

๓๗๕

๓๗๖

๓๗๗

๓๗๘

๓๗๙

๓๘๐

ความยากลาบากในการทาโครงการนักรบเสอ้ื ขาวสภู้ ัยโควิด-๑๙ ความเส่ียง ๒ ขัน้ ตอนของ พสท.
กบั การซื้อกรมธรรม์ ๒ ฉบบั สาหรบั การประกันชีวิตกลมุ่ รวมทัง้ ข่าวปลอม

ลาดบั เหตกุ ารณ์
ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ มาแจ้งให้นายก พสท. และกรรมการบริหารบางท่าน

ทราบว่า ทางคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลกาลังทาประกันการ
ติดเชื้อโควิด-๑๙ ให้แพทย์ พยาบาลที่ทางานเป็นนักรบด่านหน้าแล้ว เพื่อช่วยให้แพทย์ พยาบาล ผู้ยอมเส่ียงท่ีจะ
เข้าไปดูแลผู้ติดเช้ือโควิด-๑๙ มีความคุ้มครองด้านการชดเชยหากมีการติดเช้ือขึ้นมา พสท. คิดว่าจะมีโครงการ
ทานองนี้ไหม? ทาให้มีการเท้าความไปถึงในสมัยท่ี พสท. ทาประกันชีวิตกลุ่มให้แพทย์ท่ีลงไปปฎิบัติงานใน ๓
จังหวัดชายแดนภาคใตท้ ี่มกี ารก่อการร้าย มีการยิงตารวจ เจา้ หน้าที่ของรัฐจนเสียชีวิตในสามจังหวดั น้ี ในขณะนั้น
พสท. ได้ทาประกันชีวิตให้แพทย์รายละ ๑ ล้านบาทและทายาทได้รับสินไหมทดแทนหากแพทย์ถูกยิงถึงแก่ชีวิต
ในขณะทางานใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทานองเดียวกัน นายก พสท. และกรรมการบริหารกลุ่มน้ี จึงคิดว่า
จะทาประกันชีวิตกลุ่มให้แพทย์ท่ีถึงแก่กรรมจากการติดเชื้อโรคโควิด-๑๙ จึงเป็นที่มาของการพูดคุยเจรจากับ
บริษัทไทยประกันชีวติ จากดั (มหาชน) กบั AIS ทภ่ี ัตตาคารจีนท่ี central ลาดพรา้ ว แลว้ ตกลงในหลักการร่วมกัน
ท่ี พสท. จะซ้ือกรมธรรม์ เอไอเอส จะรับบริจาคผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ และ บริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด
(มหาชน) จะจัดทากรมธรรม์ให้ พสท. มาซ้ือ นายก พสท.(ศ.นพ.อมร ลีลารัศมี เป็นนายก) ได้ส่งข้อมูลการติดเชือ้
และคาดว่า จะมีอัตราตายเท่าไร แล้วทาง บริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด(มหาชน) ใช้เวลา ๗ วัน ก็คานวณออกมา
ว่า ใช้เงิน ๕๐ ล้านบาทสาหรับซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตให้แพทย์ พยาบาล จากัดจานวนผู้เสียชีวิตสูงสุด ๑๕ ราย
และจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้ทายาทได้รายละห้าล้านบาทหากเสียชีวิตจากโรคโควิด-๑๙ ทาให้ พสท. ต้องทา
ขั้นตอนการลงทะเบียนของแพทย์ พยาบาล และทาเอกสารให้ แพทย์ พยาบาลที่ติดเช้ือ ลงทะเบียนมาที่ พสท.
ด้วย เพื่อ พสท. โดยท่านนายก (ศ.นพ.อมร ลีลารัศมี ซ่ึงเป็นผู้เชี่ยวชาญโรคติดเช้ืออยู่แล้ว) จะได้เข้าไปช่วยรักษา
หรือประสานหาแพทย์ไปช่วยรักษาให้ทันกาลเพื่อมิให้ถึงแก่ชีวิต และได้จัดทารายละเอียดข้ันตอนการวินิจฉัยว่า
เสียชีวติ จากโรคโควิด-๑๙ วา่ ต้องใชเ้ กณฑ์การตัดสินวา่ อย่างไรดว้ ย เพราะ พสท. จะเปน็ ผสู้ ่งรายชื่อผู้เสยี ชวี ติ ไปที่
บริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) ว่า แพทย์หรือพยาบาลผู้ตายรายใดสมควรให้ บริษัทไทยประกันชีวิต
จากัด (มหาชน) มอบสนิ ไหมทดแทนรายละห้าลา้ นบาทเศษ ให้ทายาท

พสท. จึงไดเ้ ริ่มรณรงค์ทาโครงการน้ี และรับเงนิ บรจิ าคจากเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนท่ีและจากองค์กรต่าง
ๆ แต่ในใจก็คาดว่า จะได้รับเงินบริจาคให้ถึง ๕๐ ล้านบาทในเวลาอันส้ันได้ยาก อาจจะต้องหาเงินอ่ืนมาซ้ือ
กรมธรรม์ก่อน ขณะเดียวกัน บริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด(มหาชน) ก็ให้ข้อมูลว่า ต้องรีบซื้อกรมธรรม์ให้เสร็จ
ภายในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ มิฉะน้ัน จะถือว่าไม่มีการซ้ือกรมธรรม์เกิดข้ึน ซึ่งเท่ากับว่า พสท. ต้องรีบหาเงินมา
ซื้อกรมธรรม์ หรือไม่ พสท.ก็หาเงินมาจ่ายค่าสินไหมทดแทนเองโดย บริษัทไทยประกันชีวิต จากัด(มหาชน)ไม่
เก่ียวข้อง แต่จะขัดกบั หลกั การกฎหมายท่ีว่า พสท. ไมเ่ ปน็ องค์กรทส่ี ามารถทาประกนั ชวี ิตใหใ้ ครได้

ในปลายเดือน มนี าคม ๒๕๖๓ บริษทั บที เี อส กร๊ปุ โฮลดงิ้ ส์ จากดั (มหาชน) โดยคณุ ครี ี กาญจนพาสน์ ให้
ความสนใจท่ีจะบริจาคเงินช่วยโครงการน้ี ผ่านทางการชักชวนของคุณสนธิญาณ ชื่นฤทัยในธรรม จากนักข่าวช่อง
เดอะ เนช่ัน และเชิญชวนให้ไปออกรายการเชิญบริจาคผ่าน ทีวี เดอะ เนช่ัน คุณคีรี กาญจนพาสน์ขอให้เพ่ิมการ

๓๘๑

ประกันชีวิต ผู้ช่วยพยาบาล รังสีเทคนิค และเทคนิคการแพทย์ด้วย ทาให้ต้องใช้เงินอีก ๑๐ ล้านบาทสาหรับการ
ทาประกนั ชวี ิตบคุ ลากรสามกลุ่มน้ีและจ่ายสินไหมทดแทนรายละหนึ่งล้านบาทหากมีผู้เสียชีวิตจากโรคโควิด-๑๙

เม่ือวันที่ ๑๓ เมษายน ๒๕๖๓ แพทยสมาคมฯ ได้จ่ายเงินงวดแรกจานวน ๑๐ ล้านบาทซ้ือกรมธรรม์
ประกันชีวิต จากบริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) คุ้มครองชีวิตแพทย์ พยาบาล ท่ีทางานเป็นนักรบด่าน
หนา้ ดแู ลผปู้ ่วยโควดิ -19 นาน ๑ ปี กรมธรรมห์ มดอายวุ ันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔

เม่ือวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๖๓ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) มาบริจาคเงิน หกสิบล้าน
บาทเข้าบัญชีโครงการนักรบเสื้อขาวท่ี พสท. แล้วต่อมา ได้รับใบเสร็จรับเงินบริจาค ๘ ใบจากมูลนิธิวชิรเวชเพื่อ
นาไปหักภาษแี ล้ว

เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๓ แพทยสมาคมฯ ได้จ่ายเงินอีกจานวน ๔๐ ล้านบาท ซื้อกรมธรรม์ประกัน
ชีวิตกลุ่มจากบริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) คุ้มครองชีวิตแพทย์ พยาบาล ท่ีทางานเป็นนักรบด่านหน้า
ดแู ลผูป้ ่วยโควิด-19 (จ่ายสินไหมชดเชยให้รายละหา้ ลา้ นบาท) นาน ๑ ปี หมดอายุวนั ที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔

เม่ือวันท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๖๓ แพทยสมาคมฯ ได้จ่ายเงินจานวน ๘ ล้านบาท ซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต
จากบริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) คุ้มครองชีวิตผู้ช่วยพยาบาล รังสีเทคนิค เทคนิคการแพทย์ ที่ทางาน
เป็นนักรบด่านหน้าดูแลผู้ป่วยโควิด-๑๙ (จ่ายสินไหมชดเชยให้รายละ ๑ ล้านบาท) นาน ๑ ปี หมดอายุวันที่ ๓๐
เมษายน ๒๕๖๔

ทัง้ น้ีบรษิ ัทไทยประกนั ชวี ติ จากดั (มหาชน) จากดั ความรับผดิ ชอบการจ่ายค่าสนิ ไหมทดแทนการเสียชีวิตท่ี
มสี าเหตจุ ากการติดเชอื้ ไวรสั โคโรนาสายพนั ธ์ุใหม่ ๒๐๑๙ (COVID-19) ตามสญั ญาประกันภยั สูงสดุ ไมเ่ กนิ ๑.๕ เท่า
ของเบย้ี ประกนั ภัยท่ีไดร้ บั มาแลว้ ท้งั หมด (๕๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท) สาหรบั แพทยแ์ ละพยาบาล

กรมธรรม์ของแพทยแ์ ละพยาบาลมขี ้อกาหนดว่า จ่ายค่าสนิ ไหมให้ไมเ่ กิน ๑๕ รายที่เสยี ชวี ิต กห็ มายความ
ว่า หากมีแพทย์และพยาบาลเสียชีวิตเกิน ๑๕ ราย แพทยสมาคมฯ จะต้องรับผิดชอบจ่ายค่าสินไหมให้เองตามท่ี
ประกาศไว้จนกว่ากรมธรรม์จะหมดอายุไปเอง

สว่ นการคมุ้ ครองชีวิตผูช้ ว่ ยพยาบาล รังสีเทคนิค เทคนคิ การแพทย์ ทที่ างานเปน็ นกั รบดา่ นหนา้ ดูแลผู้ป่วย
โควิด-19 บริษัทไทยประกันชีวิต จากัด(มหาชน) จากัดความรับผิดชอบการจ่ายค่าสินไหมทดแทนการเสียชีวิตท่ีมี
สาเหตจุ ากการตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนาสายพันธ์ใุ หม่ ๒๐๑๙ (COVID-19) ตามสัญญาประกันภยั สูงสุดไมเ่ กิน ๑.๒๕ เท่า
คือรวมท้ังสิ้นจานวน ๑๐ รายจนกว่าจะหมดอายุกรมธรรม์ หากมีการสูญเสียชีวิตเกิน ๑๐ รายก่อนหมดอายุ
กรมธรรม์ พสท. จะตอ้ งหาเงนิ มาจา่ ยเองรายละ ๑ ล้านบาทจนกว่าจะหมดอายุกรมธรรมฉ์ บับนี้

เม่ือวันท่ี ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๓ รับเงินเวนคืนจากบริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) จานวน ๕๘
ล้านบาท เพ่ือให้มีการมีการบริจาคเงินเข้ามูลนิธิวชิรเวชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติ จึงต้องทาการโอนเงินกลับมา
กอ่ น ตามคาแนะนาของ บรษิ ทั ไทยประกันชีวติ จากัด (มหาชน)

เม่ือวนั ท่ี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๓ แพทยสมาคมฯ ไดด้ าเนนิ การโอนเงินเขา้ บญั ชีมูลนธิ วิ ชริ เวชวทิ ยาลัย เฉลิม
พระเกียรติ จานวน ๖๐ ล้านบาท เพื่อให้ออกใบบริจาคให้แก่บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลด้ิงส์ จากัด (มหาชน) โดย
มูลนิธิวชิรเวชฯ ออกใบเสร็จรับเงินจานวน ๘ ฉบับให้ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) และบริษัทที่
เกย่ี วข้อง

เมื่อวันท่ี ๒๑ กันยายน ๒๕๖๓ มูลนิธิวชิรเวชฯ ได้ดาเนินการจ่ายเงินจานวน ๔๐ ล้านบาท เพ่ือซื้อ
กรมธรรม์ประกันชีวิตจาก บริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) คุ้มครองชีวิตแพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล

๓๘๒

รังสีเทคนิค เทคนิคการแพทย์ ท่ีทางานเป็นนักรบด่านหน้าดูแลผู้ป่วยโควิด-19 นาน ๑ ปี โดยใช้ซื้อกรมธรรม์ ๒
ฉบับแรกท่ีทาไว้แลว้

กรมธรรม์หมดอายุวันที่ ๓๑ มีนาคมและ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔ โดยบริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด
(มหาชน) ไดม้ อบเงนิ จานวน ๕ ล้านและหนึง่ พนั บาท ตามกรมธรรม์ให้แพทย์ ๑ ท่าน

เม่ือวันท่ี ๒ มิถุนายน ๒๕๖๔ บริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) เวนคืนเงินให้แพทยสมาคมฯ
จานวน ๓๔,๙๙๙,๐๐๐ บาท

เม่ือวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๔ แพทยสมาคมฯได้โอนเงิน จานวน ๓๔,๙๙๙,๐๐๐ บาท เข้าไว้ในบัญชี
มลู นิธิวชริ เวชฯ

รวมหมดแล้ว เม่ือกรมธรรม์ทั้งสองฉบับหมดอายุและส้ินสุดสัญญาได้ระยะหนึ่ง บริษัทไทยประกันชีวิต
จากดั (มหาชน) ไดก้ รณุ าบริจาคเงนิ จานวน ๕๓,๙๗๓,๔๑๐ บาท ใหแ้ กแ่ พทยสมาคมฯ

เม่อื หมดอายุของกรมธรรม์ในเดือน มนี าคมและเมษายน ๒๕๖๔ พสท. ก็หมดพันธะในการจัดทาโครงการ
นี้ กรรมการชดุ ท่ีเกย่ี วกับโครงการนกั รบด่านหนา้ สู้ภัยโควิด-๑๙ กห็ มดอายุและสน้ิ สุดความเป็นกรรมการไปด้วย

พสท. ไม่สามารถตอ่ อายุกรมธรรมไ์ ด้ เพราะตอ้ งมกี ารคานวณค่าซ้ือกรมธรรมใ์ หม่ คา่ ประกนั ชวี ิตตอ่ รายก็
เปล่ียนแปลงไปได้ ความเส่ียงต่อการเสียชีวิตของโรคโควิด-19 แตกต่างกันจากต้นปีที่แล้ว เคยถามบริษัท ไทย
ประกันชีวิต จากัด (มหาชน) ว่าจะต่อกรมธรรม์ไหม บริษัทไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) แจ้งว่า ให้คอยดู
เหตุการณ์จนถึงเดือนมีนาคม เพื่อดูสถานการณ์การระบาดของโรคและความเส่ียงก่อน รวมทั้งจานวนค่าสินไหมท่ี
จะจา่ ยทดแทนให้แก่ทายาท

ในช่วงเวลาที่กรมธรรม์ยังคุ้มครองการประกันชีวิตอยู่นาน ๑ ปีนั้น ท้ังบริษัทไทยประกันชีวิตจากัด
(มหาชน) และแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยต้องรับผิดชอบในการมอบค่าสินไหมทดแทนให้ทายาทตามประกาศ
โดยบริษัทไทยประกันชีวิตจากัด(มหาชน)จะมอบให้ก่อนจนมีผู้เสียชีวิตจานวนเกินจานวนสูงสุดที่บริษัทได้จากั ด
จานวนไว้ แล้วจานวนผู้เสียชีวิตต่อจากนั้น แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ต้องหาเงินมามอบให้เป็นสินไหม
ทดแทนเอง จนกว่ากรมธรรมท์ ้งั สองฉบับจะหมดอายุ ดังมรี ายละเอยี ดตามสัญญาทล่ี งนามกันไว้ดงั น้ี

รายละเอียดจะเป็นดังน้ี ในกรณีที่แพทย์หรือพยาบาลเสียชวี ิตจากการทาหน้าที่นักรบดา่ นหน้าสู้ภัยโควดิ -
๑๙ คือ ระหว่างวันท่ี ๑ เมษายน ๒๕๖๓ ถึงวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ บริษัทไทยประกันชีวิตจากัด(มหาชน) จะ
จากัดการจ่ายค่าสินไหมทดแทนไว้สงู สดุ ที่จานวนผูเ้ สยี ชวี ติ ๑๕ ราย หากมีจานวนผ้เู สยี ชีวิตเกิน ๑๕ ราย คือเป็น
รายที่ ๑๖ ขน้ึ ไป แพทยสมาคมฯ จะต้องหาเงินจานวน ๕ ลา้ นบาทต่อรายมาจา่ ยเปน็ ค่าสนิ ไหมทดแทนเองทุกราย
ทเ่ี สยี ชวี ิต จนกว่าจะหมดอายขุ องกรมธรรมฉ์ บบั นี้

หรือในกรณีท่ี ผู้ช่วยพยาบาล รังสีเทคนิค เทคนิคการแพทย์เสียชีวิตจากการทาหน้าท่ีนักรบด่านหน้าสู้ภัย
โควิด-๑๙ คือ ระหว่างวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔ บริษัทไทยประกันชีวิตจากัด
(มหาชน) จะจากดั การจา่ ยค่าสินไหมไวส้ ูงสดุ ที่จานวนผเู้ สียชวี ติ ๑๐ ราย หากมีจานวนผเู้ สียชีวติ เกิน ๑๐ ราย คอื
เปน็ รายท่ี ๑๑ ขน้ึ ไป แพทยสมาคมฯ จะต้องหาเงนิ จานวน ๑ ล้านบาทต่อรายมาจ่ายเปน็ ค่าสินไหมทดแทนเองทุก
รายที่เสยี ชวี ติ จนกว่าจะหมดอายุของกรมธรรมฉ์ บับน้ี

หมายความว่า แพทยสมาคมฯ ยังต้องเส่ียงท่ีจะต้องหาเงินมาจ่ายเป็นค่าสินไหมทดแทนผู้เสียชีวิตรายละ
๕ ล้านบาท หรือ ๑ ลา้ นบาทแลว้ แต่กรณีใหท้ ายาท จนกวา่ จะหมดอายขุ องกรมธรรม์ทง้ั สองฉบบั

๓๘๓

ต่อมาเมื่อหมดอายุกรมธรรม์ บริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) ได้บริจาคเงินเข้ามาให้ มูลนิธิวชิร
เวชฯ และถือวา่ เป็นเงนิ บรจิ าคของบริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน)เองท่ีจะมอบให้แพทยสมาคมฯ ใชต้ าม
วตั ถุประสงคข์ องแพทยสมาคมฯ ในมลู นิธิวชริ เวชฯ

วนั ท่ี ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๔ คุณรงั สิน กฤตลกั ษณ์ กรรมการบรหิ ารและผู้อานวยการใหญส่ ายปฏบิ ัติการ
ไดส้ ง่ จดหมายมาเสนอใหต้ ้ังกองทุนสาหรบั แพทย์ พยาบาล บคุ ลากรทางการแพทย์

หลังจากหมดอายุกรมธรรม์แล้ว แพทย์ไม่กลัวการดูแลผู้ติดเช้ือโรคโควิด-๑๙ แล้ว ในการประชุม
กรรมการบริหาร พสท. ในวันพุธท่ี ๒๙ กันยายน ๒๕๖๔ พสท. ได้พิจารณาเร่ืองให้สวัสดิการแก่สมาชิกแพทย์ใน
เร่ืองการเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 พสท. จะพิจารณาเองตามวัตถุประสงค์เดิม และไม่เกี่ยวกับพยาบาล/ผู้ช่วย
พยาบาลหรือวิชาชีพอ่ืนอีก เพราะไม่สามารถไปก้าวกา่ ยสมาชกิ ของสภาวชิ าชีพอนื่ ได้ในขณะนี้

ในการประชุมคณะกรรมการบริหารแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในวันพุธที่ ๒๙
กันยายน ๒๕๖๔ คณะกรรมการบริหารฯ มีความเห็นและลงมติให้นาจานวนเงินดังกล่าวท่ีบริษัทไทยประกันชีวิต
จากัด (มหาชน) กรุณาบริจาคให้แพทยสมาคมฯ จัดตั้งเป็นกองทุนเพื่อช่วยเหลือสมาชิกแพทย์ที่ได้รับอันตราย
ร้ายแรงต่อร่างกายจากความเสียสละ ในขณะทางานรับผิดชอบในหน้าที่ที่หาแพทย์มาทางานได้ยาก หรือเสียชีวิต
จากการปฏิบัติหน้าท่ีบริการประชาชนในภาวะวิกฤตและภัยพิบัติต่างๆ ต่อไปตามเจตนารมณ์ด้ังเดิม โดยต้ังเป็น
กองทุนมีช่ือว่า “กองทุนคีรี กาญจนพาสน์ และ บริษัทไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) เพื่อสวัสดิการต่อ
แพทยใ์ นภาวะวิกฤต” โดยมคี ณะกรรมการในแพทยสมาคมฯ บริหารเงนิ กองทุนนต้ี ามวตั ถุประสงค์ดงั กลา่ ว

วันท่ี ๒๙ กันยายน ๒๕๖๔ พสท. นายกแพทยสมาคมฯ ได้ตอบจดหมายให้คุณรังสิน กฤตลักษณ์
กรรมการบรหิ ารและผู้อานวยการใหญ่สายปฏบิ ัติการ เพ่ืออธบิ ายและแจ้งวา่ ได้จดั ตัง้ กองทนุ สาหรบั เป็นสวัสดิการ
แกส่ มาชกิ แพทยใ์ นภาวะวิกฤติต่อไป และไม่สามารถให้เป็นสวสั ดิการแก่บคุ ลากรในสายวิชาชีพอ่นื ได้

เบ้ืองหน้าเบ้ืองหลังของความเสี่ยง ๒ ข้ันตอนของแพทยสมาคมฯ ในการทากรมธรรม์ประกันชวี ติ
กลุ่มให้แพทย์ พยาบาลในครั้งแรก โดยต้องหาเงินสูงถึง ๕๐ ล้านบาทมาซื้อกรมธรรม์ให้แพทย์
และพยาบาลซง่ึ เป็นนกั รบเส้อื ขาวดา่ นหนา้ สภู้ ัยโควดิ -๑๙ ภายในเวลาที่กาหนด

ตั้งแต่กรรมการแพทยสมาคมฯ บางท่าน(อ.สมศรี เผ่าสวัสด์ิ อ.เอื้อชาติ กาญจนพิทักษ์ อ.รณชัย คงสกนธ์
อ.อมร ลลี ารศั มี)ได้ตดั สนิ ใจเดนิ หนา้ ซ้ือกรมธรรม์ประกันชวี ิตกลุ่มแพทย์และพยาบาลจานวน ๕๐ ลา้ นบาท เพ่ือให้
เกิดการประกันชวี ติ กลุ่มข้นึ กรรมการบริหารรวมท้งั นายกแพทยสมาคมฯ ก็ยังไมแ่ นใ่ จวา่ จะหาเงนิ มาได้ครบ ๕๐
ล้านบาทเพ่ือซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตกลุ่มหรือไม่? หรือจะต้องใช้เวลานานเท่าใดจึงจะหาเงินได้ครบเพราะถ้า
จ่ายเงินไม่ทันตามกาหนดใน ๓ เดือนหลังลงนามซื้อกรมธรรม์ฉบับนี้ บริษัทไทยประกัยชีวิต จากัด (มหาชน) ก็มี
สทิ ธยิ์ กเลกิ กรมธรรม์ประกันชีวิตกลมุ่ ฉบับน้ี ในขณะที่ตัดสินใจเดนิ หน้าน้ัน ในใจของกรรมการแต่ละท่านได้คิดถึง
วิธีท่ีจะหาเงนิ ให้ครบโดยเร็วและข้าพเจา้ ในฐานะนายกแพทยสมาคมฯ ไดน้ าเขา้ ที่ประชุมกรรมการแพทยสมาคมฯ
เพ่ือให้สมาคมให้ความเห็นชอบด้วยและรับผิดชอบร่วมกันในการระดมทุนมาซ้ือกรมธรรม์ การระดมทุนผ่าน
เครอื ขา่ ยโทรศัพท์เคล่ือนท่ีและองค์กรต่าง ๆ ได้เงนิ นอ้ ยมากเมื่อเทยี บกบั ตัวเงินท่ีต้องรบี จ่าย จนไมแ่ นใ่ จวา่ จะหา
เงนิ จากการบรจิ าคมาชาระไดท้ ันตามกาหนด(ภายในสามเดือนหลังลงนามซื้อกรมธรรม์)หรือไม่? บังเอิญระหว่างที่

๓๘๔

ระดมทุนผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคล่ือนที่ เราก็ได้นักข่าวจากทีวีเดอะเนชั่น(คุณสนธิญาณ ชื่นฤทัยในธรรม)ชักชวน
ให้บริษทั บที ีเอส กรปุ๊ โฮลดิง้ ส์ จากดั (มหาชน) โดยคุณครี ี กาญจนพาสน์เข้ามาให้ทุนเท่าท่ี พสท. ตอ้ งการพอดีใน
การซ้ือกรมธรรม์ประกันชีวิตกลุ่ม และให้ทุนประกันชีวิตกลุ่มครอบคลุมอีกสิบล้านบาทสาหรับประกันชีวิตผู้ช่วย
พยาบาล รงั สเี ทคนคิ เทคนคิ การแพทย์ดว้ ย ทาใหเ้ ราสามารถชาระค่ากรมธรรม์ทั้งสองฉบบั ได้ทันก่อนกาหนดด้วย
นบั ว่าหมดปญั หาในข้นั ตอนที่หนึ่ง

ปัญหาข้ันตอนท่ีสองที่อาจจะเกิดขึ้นตามมาได้ระหว่างท่ีกรมธรรม์ยังมีอายุอยู่และแพทยสมาคมฯ ยังมี
ความเส่ียงในอาจจะต้องหาเงินทุนมาเป็นสินไหมทดแทน ดังน้ีคือ ในช่วงเวลาท่ีกรมธรรม์ยังคุ้มครองการประกัน
ชีวิตกลุ่มของ นักรบเสื้อขาวด่านหน้าสู้ภัยโควิด-๑๙ อยู่นาน ๑ ปีน้ัน ท้ังบริษัทไทยประกันชีวิตจากัด(มหาชน)
และแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยต้องรับผิดชอบในการมอบค่าสนิ ไหมทดแทนใหท้ ายาทตามประกาศ โดยบริษทั
ไทยประกันชีวิตจากัด(มหาชน)จะมอบสินไหมทดแทนให้ก่อน จนผู้เสียชีวิตมีจานวนเกินจานวนสูงสุดที่บริษัทได้
จากัดจานวนไว้ แล้วถ้ามีจานวนผู้เสียชีวิตต่อจากนั้น แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ต้องหาเงินมามอบให้เป็น
สินไหมทดแทนเอง จนกวา่ กรมธรรมท์ ัง้ สองฉบบั จะหมดอายุ ดงั มีรายละเอียดตามสัญญาที่ลงนามกนั ไวด้ ังนี้

ในกรณีที่แพทย์หรือพยาบาลเสยี ชีวิตจากการทาหน้าท่ี นักรบเสอ้ื ขาวด่านหนา้ สู้ภยั โควดิ -๑๙ คือ ระหวา่ ง
วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ ถงึ วันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ บริษัทไทยประกันชีวิต จากดั (มหาชน) จะจากดั การจ่ายค่า
สินไหมทดแทนไวส้ ูงสุดที่จานวนผู้เสียชวี ิต ๑๕ ราย หากมีจานวนผู้เสียชีวิตเกิน ๑๕ ราย คือเป็นรายที่ ๑๖ ข้ึนไป
แพทยสมาคมฯ จะต้องหาเงินจานวน ๕ ล้านบาทต่อรายมาจ่ายเป็นค่าสินไหมทดแทนเองทุกรายที่เสียชีวิตให้
ทายาท จนกว่าจะหมดอายุของกรมธรรม์ฉบบั นี้

หรือในกรณีที่ ผู้ช่วยพยาบาล รังสีเทคนิค เทคนิคการแพทย์เสียชีวิตจากการทาหน้าท่ีนักรบด่านหนา้ สู้ภยั
โควิด-๑๙ คือ ระหว่างวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔ บริษัทไทยประกันชีวิตจากัด
(มหาชน) จะจากัดการจ่ายค่าสนิ ไหมทดแทนไว้สูงสดุ ที่จานวนผู้เสียชวี ิต ๑๐ ราย หากผู้เสียชวี ติ มีจานวนเกิน ๑๐
ราย คือเป็นรายที่ ๑๑ ข้ึนไป แพทยสมาคมฯ จะต้องหาเงินจานวน ๑ ล้านบาทต่อรายมาจ่ายเป็นค่าสินไหม
ทดแทนเองให้ทายาททุกรายของผทู้ เี่ สยี ชีวิต จนกว่าจะหมดอายุของกรมธรรม์ฉบับน้ี

หมายความว่า แพทยสมาคมฯ ยังต้องเสี่ยงในปัญหาขั้นตอนท่ีสองที่จะต้องหาเงินมาจ่ายเป็นค่าสินไหม
ทดแทนผู้เสียชีวิตรายละ ๕ ล้านบาท หรือ ๑ ล้านบาทแล้วแต่กรณีให้ทายาทของผู้เสียชีวิตถ้ามีผู้เสียชีวิตเกิน
จานวนทบี่ รษิ ัทไทยประกนั ชีวิต ได้กาหนดไว้ จนกว่าจะหมดอายุของกรมธรรม์ทง้ั สองฉบบั

นับว่า แพทยสมาคมฯ หาญกล้าและใจถึงท่ีได้ร่วมเสี่ยงภัยในการท่ีจะหาเงินมาซ้ือกรมธรรม์ประกันชีวิต
กลุ่มในตอนแรก และอาจจะต้องหาเงินมาจ่ายเป็นค่าสินไหมทดแทนแก่ทายาทของผู้เสียชีวิตหากผู้เสียชีวิตมี
จานวนมากกว่าจานวนทีบ่ ริษัท ไทยประกันชีวิต จากัด(มหาชน) ได้กาหนดไว้ เพราะฉะนนั้ จงึ ถือวา่ แพทยสมาคม
ฯ ได้ร่วมลงทุนในด้านการประกันชีวิตอย่างเต็มตัวด้วย เพียงแต่การประกันชีวิตน้ันต้องทาโดยบริษัทประกันชีวิต
แพทยสมาคมฯ ทาเองไมไ่ ด้ ดงั นัน้ ในการช่วยใหม้ ผี เู้ สียชวี ติ จากโรคโควดิ -๑๙ น้อยท่ีสุด นายกแพทยสมาคมฯ จึง
ได้วางขั้นตอนให้ผู้ติดเช้ือและถูกรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ลงทะเบียนแจ้งการติดเชื้อมาที่แพทยสมาคมฯ เพ่ือให้

๓๘๕

แพทยสมาคมฯ ประสานงานกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดเชื้อให้ไปร่วมดูแลและให้การรักษาให้รวดเร็วทันกาล
ด้วย เนื่องจากแพทยสมาคมฯ ไม่อยากให้ผู้ใดต้องเสียชวี ิตจากการทางานเป็น นักรบเส้ือขาวด่านหน้าสู้ภยั โควิด-
๑๙ ในการสภู้ ยั โควิด-๑๙

ในท่ีสุด มีแพทย์เสยี ชีวิตจากโรคโควิด-๑๙ เพียง ๑ ท่านในโครงการน้ี และบรษิ ัท ไทยประกันชีวิต จากดั
(มหาชน) ได้มอบสนิ ไหมทดแทนให้ทายาท เมื่อหมดอายุกรมธรรม์ทงั้ สองฉบบั แล้ว บรษิ ัท ไทยประกนั ชีวติ จากดั
(มหาชน)ได้พิจารณาบรจิ าคเงินส่วนหนง่ึ มาให้ พสท.

ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ได้มีมจิ ฉาชพี แอบอ้างใหบ้ ริจาคเงินเข้าในโครงการนีอ้ ีกซึง่ พสท. ตอ้ งออก
ประกาศแจง้ ให้ประชาชนทราบและได้แจง้ ความไวแ้ ล้ว

๓๘๖

๓๘๗

ท่ี พสท.๒๓๔/๒๕๖๔

วนั ที่ ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๔

เรอื่ ง ชแ้ี จงการจัดตงั้ กองทนุ ฯ
เรียน คณุ รังสนิ กฤตลักษณ์

กรรมการบรหิ ารและผอู้ านวยการใหญส่ ายปฏิบัตกิ าร

ตามท่ีทา่ นไดม้ ีหนังสือ ที่ BTSG ๑๓๑๔๓/๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
เสนอให้แพทยสมาคมฯ พิจารณานาเงินจานวน ๕๕ ล้านบาทท่ีได้รับบริจาคจากบริษัทไทย
ประกนั ชวี ติ จากดั (มหาชน) มาจัดตั้งเป็นกองทุนนน้ั แพทยสมาคมฯ ขอเรยี นช้แี จงวา่

เงินจานวน ๖๐ ล้านบาทที่ได้รับบริจาคจากคุณคีรี กาญจนพาสน์ในเดือนเมษายน
๒๕๖๓ น้ัน แพทยสมาคมฯ ขอขอบพระคุณอย่างสูง และได้นาเงินจานวนดังกล่าวทั้งหมดไป
ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของคุณคีรี กาญจนพาสน์ คือ ไปซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต ๒ ฉบับ
ที่มีอายุ ๑ ปีให้แพทย์ พยาบาล และ บุคลากรทางการแพทย์ จานวน ๒๘๐,๐๐๐ ราย กับ
บริษัทไทยประกนั ชีวิต จากดั (มหาชน) จนกรมธรรมท์ ง้ั สองฉบบั หมดอายใุ นวนั ท่ี ๓๐ เมษายน
๒๕๖๔ โดยมีแพทย์เสยี ชวี ติ ๑ รายคอื นายแพทย์ปัญญา หาญพาณชิ ย์พนั ธ์ุ และไดจ้ ่ายสนิ ไหม
ทดแทนจานวน ๕ ลา้ นบาทเศษแกท่ ายาทในวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ แลว้

เม่ือกรมธรรม์ท้ังสองฉบับหมดอายุและสิ้นสุดสัญญาได้ระยะหนึ่ง บริษัทไทยประกัน
ชีวติ จากดั (มหาชน) ได้กรุณาบรจิ าคเงนิ จานวน ๕๓,๙๗๓,๔๑๐ บาท ใหแ้ กแ่ พทยสมาคมฯ

ในการประชุมคณะกรรมการบริหารแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ คณะกรรมการบริหารฯมีความเห็นและลงมติให้นาจานวนเงินดังกล่าวที่บริษัทไทย
ประกันชีวิต จากัด (มหาชน) กรุณาบริจาคให้แพทยสมาคมฯ จัดตั้งเป็นกองทุนเพื่อช่วยเหลือ
สมาชิกแพทยท์ ไ่ี ดร้ ับอันตรายรา้ ยแรงตอ่ รา่ งกายจากความเสยี สละ ในขณะทางานรบั ผดิ ชอบใน
หน้าท่ีท่ีหาแพทย์มาทางานได้ยาก หรือเสียชีวิตจากการปฏบิ ัติหน้าท่ีบริการประชาชนในภาวะ
วิกฤตและภัยพิบัติต่างๆ ต่อไปตามเจตนารมณ์ดั้งเดิม โดยต้ังเป็นกองทุนมีช่ือว่า “กองทุนคีรี
กาญจนพาสน์ และ บริษัทไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) เพ่ือสวัสดิการต่อแพทย์ในภาวะ
วกิ ฤต” โดยมคี ณะกรรมการในแพทยสมาคมฯ บริหารเงนิ กองทนุ นี้ตามวัตถุประสงคด์ ังกลา่ ว

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ

(ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณนายแพทย์อมร ลลี ารัศมี)
นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์

๓๘๘

ภาวะวิกฤติที่เสี่ยงต่อชีวิตของแพทย์และคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการพิจารณาเงินทดแทนจาก
กองทุน

แพทยสมาคมฯ ได้จัดต้ังเป็นกองทุนเพ่ือช่วยเหลือสมาชิกแพทย์ท่ีได้รับอันตรายร้ายแรงต่อร่างกายจากความ
เสียสละ ในขณะทางานรับผิดชอบในหน้าที่ท่ีหาแพทย์มาทางานได้ยาก หรือเสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่บริการ
ประชาชนในภาวะวิกฤตและภัยพิบัติต่างๆ ต่อไปตามเจตนารมณ์ดั้งเดิม โดยต้ังเป็นกองทุนมีชื่อว่า “กองทุนคีรี
กาญจนพาสน์ และ บริษัทไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) เพื่อสวัสดิการต่อแพทย์ในภาวะวิกฤต” โดยมี
คณะกรรมการในแพทยสมาคมฯ บริหารเงินกองทุนน้ีตามวัตถปุ ระสงคด์ งั กลา่ ว

ลักษณะของภาวะวิกฤติที่เสี่ยงต่อชีวิตของแพทย์และคุณสมบัติของผู้ที่จะรับเงินสนับสนุนโดยมอบให้ทายาท
ตามกฎหมาย เพ่ือให้คงไวซ้ งึ่ เจตนารมณ์ด้งั เดิมที่จะเป็นสวสั ดิการให้แพทย์ในการปฏิบตั ิหนา้ ทใ่ี นยามวกิ ฤติ มดี งั นี้

๑. เปน็ สมาชิกแพทยสมาคมฯ และ/หรือแพทยสภา (สมาชกิ แพทยสมาคมจะมคี วามสาคญั มากขึน้ )
๒. ปฏิบตั งิ านทม่ี ลี ักษณะหรอื อยู่ในพนื้ ที่ทม่ี คี วามเสย่ี งสูงถงึ ชวี ติ เสีย่ งสูงมากกว่าการทางานหรอื อยู่ในพ้ืนที่ท่ี

แพทย์ทั่วไปทาอย่แู ล้ว
๓. เสียชีวิตโดยตรงจากการเข้าไปปฎิบัตงิ านในหนา้ ทีน่ ั้น ๆ หรอื ในพนื้ ทเ่ี ส่ยี งภัยนน้ั
๔. ไมไ่ ด้เสยี ชวี ิตจากการทางานตามปกติท่ีแพทยท์ ว่ั ไป ทาได้อยู่แลว้
๕. เป็นภาระงานที่แพทย์ทัว่ ไปไม่กล้าเขา้ ไปเสีย่ งปฏบิ ัตงิ านแม้อยใู่ นหน้าทร่ี บั ผิดชอบ
๖. มิไดเ้ สยี ชวี ติ ตามโรคภยั ไขเ้ จบ็ ของตนตามท่ีพบได้ในภาวะท่ัวไป
๗. ผ้ทู ไ่ี มใ่ ช่แพทย์ ไมไ่ ด้อย่ใู นขอบข่ายท่ีจะพิจารณาได้รับเงินจากกองทุนน้ี (ยกเว้นกรรมการบรหิ ารของสภา

วชิ าชีพน้นั ลงมตใิ ห้มาขอความช่วยเหลือ ไดแ้ ก่ พยาบาล ผชู้ ่วยพยาบาล รงั สเี ทคนิค เทคนิคการแพทย)์
๘. จานวนเงนิ ทจ่ี ะมอบให้ทายาทของผ้เู สยี ชวี ติ แล้วแตก่ ารพิจารณาของคณะอนุกรรมการ แต่จานวนสงู สุด

ไม่เกินหนึ่งล้านบาท
๙. กองทนุ นีม้ ีอายุ ๕ ปนี ับจากวันท่มี กี ารแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการกองทุน หลังจากเวลานี้ ใหใ้ ชเ้ งินน้ตี าม

วัตถุประสงค์ของแพทยสมาคมฯ
๑๐. การมอบเงนิ สนับสนนุ ใหผ้ ่านการพิจารณาอนุมตั ิเหน็ ชอบจากคณะอนกุ รรมการ โดยเทียบเคยี งเหตุการณ์

ที่เกดิ ขึน้ กับตวั อย่างของภาวะวกิ ฤติด้านล่าง

ตัวอย่างของภาวะวกิ ฤติทที่ ายาทของแพทยผ์ ู้เสียชีวิตสมควรได้รับเงนิ ชว่ ยเหลอื

๑. การประกนั ชวี ติ ให้กบั แพทย์ที่ลงไปปฏบิ ัตงิ านใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีมีการกอ่ การรา้ ยและ
ความไม่สงบ และแพทย์เสียชีวติ จากการก่อการรา้ ยในโรงพยาบาล เช่น ถูกยิงตายในโรงพยาบาล
ขณะทาการรักษาคนไข้ หรือถกู ผกู้ ่อการร้ายตามมาลอบสงั หารถึงทบ่ี า้ น

๒. การประกันชวี ติ ให้กบั แพทยท์ ี่เขา้ ไปดูแลรกั ษาผูต้ ดิ เช้อื SARS-CoV-2 ในระยะแรกทีย่ ังไม่มยี าต้าน
ไวรสั และแพทย์ต้องป้องกันตนเองเต็มที่ และในระยะแรกต้องหาแพทย์เขา้ ไปทางานในหนา้ ทีน่ ี้

๓. การทแี่ พทย์เขา้ ไปชว่ ยผปู้ ระสบภัยฉกุ เฉนิ เช่น เห็นผ้คู นจมนา้ ต่อหนา้ และตนเองเสียสละชีวติ โดดลง
ไปช่วยผอู้ นื่ แต่บงั เอิญตนเองกลับเสียชวี ติ จมน้าหายไป

๓๘๙

ลักษณะที่ไมเ่ ขา้ ขา่ ยท่ีทายาทจะได้รับเงนิ ชว่ ยเหลือในกรณีทแี่ พทยท์ ่านน้ันเสียชวี ติ
 แพทย์เสยี ชีวติ จากโรคหลอดเลอื ดหัวใจอุดตันของตนเอง หรอื เกดิ อุบัตเิ หตุขับรถชนกันจนเสียชวี ติ ขณะลงไป

ปฏบิ ัติงานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

๓๙๐

๓๙๑

๓๙๒

กำเนิด ๖ ป้ำยจรำจรแสดงทศิ ทำงมำ พสท. และปำ้ ย “แยกแพทยสมำคม” ท่ี แยกหน้ำอำคำรเฉลมิ พระบำรมี ๕๐ ปี
สืบเน่ืองจาก นพ.ขจิต ชูปัญญาได้เสนอในท่ีประชุมว่า ควรมีป้ายจราจรชี้แจงตาแหน่งของแพทยสมาคมฯ ซึ่งอยู่ท่ี

อาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี แตผ่ ทู้ ่มี าทาธุรกรรมกบั แพทยสมาคมฯ ไมท่ ราบว่า แพทยสมาคมฯ อย่ทู ี่ไหนหรืออยู่ท่ีอาคาร
น้ี ดังนน้ั ในวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ นายกแพทยสมาคมฯ ได้มจี ดหมายถึงผู้อานวยการสานัก
การจราจรและขนสง่ เพอื่ ขอสนบั สนุนป้ายแนะนาสถานท่ีของแพทยสมาคมฯ และ เมื่อวนั ที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้
ทาจดหมายถึง ผู้อานวยการเขตห้วยขวาง เพื่อขอความอนุเคราะห์ติดป้ายช่ือ “แยกแพทยสมาคมฯ” ซึ่งสานักงานจราจร
และขนส่งได้ติดต้ังป้ายจราจรไว้ ๖ แห่งเพื่อชี้เส้นทางจราจรไปยังตาแหน่งที่ตั้งของแพทยสมาคมฯ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ.
๒๕๖๑ ดงั ในรูป แตเ่ ขตฯ ยงั ไม่ได้ตดิ ตงั้ ป้าย “แยกแพทยสมาคม” ให้ นพ.ขจิต ชปู ญั ญาจงึ มอบให้เจ้าหนา้ ทแี่ พทยสมาคม
ฯ โทรศัพท์ตดิ ตามทวงถามการทาและตดิ ตง้ั ป้าย “แยกแพทยสมาคม” ตลอดมา

๓๙๓

ต่อมา เม่ือวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ผู้อานวยการเขตห้วยขวาง ได้ส่งจดหมายมายัง พสท. เพ่ือให้ พสท. สารวจความ
คิดเห็นจากประชาชนที่อาศัยในบริเวณดังกล่าว เก่ียวกับการติดช่ือ “แยกแพทยสมาคม” ว่า มีผู้ใดไม่เห็นด้วยหรือขัดข้อง
หรือไม?่ พสท. ได้ดาเนนิ การสารวจความเหน็ จากประชาชน ๒๖๕ คนทอี่ าศยั ในบริเวณนี้และพบวา่ ไม่มผี ใู้ ดขัดข้อง ดงั นัน้
ในวันที่ ๕ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ สานักงานเขตห้วยขวางจึงได้ดาเนนิ การตดิ ปา้ ย “แยกแพทยสมาคมฯ” ขึ้น ๑ ปา้ ยดงั รปู
แต่เนอ่ื งจากผู้ที่ขบั รถเขา้ มาในซอยศูนย์วิจัยจากถนนเพชรบรุ ีจะมองไม่เห็นปา้ ยน้ี พสท. ขออนุมตั ทิ าป้ายแบบเดยี วกันเพิ่ม
อีก ๑ ที่และติดต้ังตรงประตูทางเข้าอาคารเฉลิมบารมี ๕๐ ปี ซ่ึงทางเขตฯ ก็อนุมัติให้ทาเองได้ในขนาดเท่าเดิมเหมือนเดิม
มาตดิ ต้ังได้ในวาระครบ ๑๐๐ ปีของ พสท. เพราะ พสท. เปน็ องคก์ รท่ีไม่ได้แสวงหากาไรจากการตดิ ป้ายดังกลา่ ว

๓๙๔

๓๙๓๕๙๕

๓๙๖

แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ และแพทยสภาในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ นายแพทยอ์ มร ลลี ารศั มี
นายกแพทยสมาคมปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔
นายกฯ ลาดับคนท่ี ๓๙

ปลายปีท่ี ๙๙ - ปีที่ ๑๐๐ - ตน้ ปีท่ี ๑๐๑ ของการกอ่ ตง้ั พ.ส.ท.

ความเดิม

แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ(พสท.)เป็นสมาคมหรือองค์กรวิชาชีพทางการแพทย์ท่ีมิใช่จัดต้ังขึ้นโดย
อานาจจากองค์กรของรัฐ เปน็ สมาคมวชิ าชีพทีเ่ ก่าแก่ทีส่ ุดและจดทะเบยี นเม่ือวันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ ตอ่ มา
มีส่วนร่วมให้กาเนิดแพทยสภาในวันท่ี ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ เพื่อให้แพทยสภามีอานาจตามกฏหมายในการ
ควบคมุ และกากบั มาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรมและจริยธรรมของผู้ประกอบวชิ าชีพเวชกรรม รวมทง้ั ให้
ความเป็นธรรมแก่ท้ังผู้ประกอบวชิ าชีพเวชกรรมและผูป้ ่วยหรือประชาชนเมื่อมีผู้ได้รบั ความเสียหายที่เกิดในระบบ
สุขภาพ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ จึงได้วางมือในงานด้านดังกลา่ วแต่ยังทากิจกรรมอื่น ๆ อย่างต่อเน่ืองใน
ด้านต่าง ๆ ดังน้ี ส่งเสริมจริยธรรมและสามัคคีธรรม ส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องหาความรู้ของแพทย์ ส่งเสริม
สวัสดกิ ารของสมาชิก ใหค้ วามรทู้ างการแพทย์แก่ประชาชน ซึง่ เท่ากับยังทางานเดิมอยู่และเป็นการช่วยแพทยสภา
ให้ทางานในหนา้ ทีข่ องตนเองไดด้ ขี ้นึ ด้วย

เน่ืองจากแพทยสภามีกรรมการ ๒ ประเภทคือ กรรมการโดยตาแหน่ง และกรรมการโดยการเลอื กต้ังและ
มีจานวนเท่ากัน เน่ืองจากนายกของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ไม่ได้เป็นกรรมการแพทยสภาโดยตาแหน่ง
ทาให้กรรมการบริหารของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ต้องลงสมัครรับเลือกตั้งและได้รับเลือกเป็นกรรมการ
แพทยสภาโดยการเลือกต้ังอยู่เป็นประจา เพ่ือที่จะได้นานโยบายของ พสท. เข้าไปใช้ในกิจการแพทยสภาหรือนา
กิจกรรมของแพทยสภามาประสานทาตอ่ ใน พสท. เพือ่ เสริมให้เกิดผลดที ีเ่ กดิ จากกิจกรรมนนั้ ๆ

ในหว้ งเวลาที่ขา้ พเจ้ายังดารงตาแหน่งคณบดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยามอยู่ กไ็ ดเ้ ป็นกรรมการ
แพทยสภาโดยตาแหนง่ ตลอดมา จนถงึ การเลือกต้งั ปี พ.ศ ๒๕๖๒-๒๕๖๔ ก็มีผูเ้ สนอว่า นายกแพทยสภาไม่ควรมา
จากกรรมการโดยตาแหน่งเพราะไม่ได้ผ่านการเลือกตั้งมา แต่ก็ไม่เคยมีกฏเกณฑ์ข้อใดของแพทยสภาท่ีห้าม
กรรมการโดยตาแหน่งดารงตาแหน่งเป็นนายกแพทยสภาด้วย ท่สี าคญั ในความเห็นผม หากกรรมการโดยตาแหน่ง
เช่น คณบดีของคณะแพทย์ต่าง ๆ ลงสมัครเลือกตั้งด้วย(เพื่อท่ีจะมาเป็นนายกแพทยสภาหรือไม่ก็ได้) กรรมการ
บางคนท่ีเคยได้รับเลือกตั้งมาตลอด อาจจะไม่ได้รับเลือกต้ัง เพราะจะมีคณบดีหลายท่านได้รับเลือกเข้ามาเป็น
กรรมการโดยการเลือกตั้งแทนท่านเหล่าน้ันด้วย เพื่อเป็นการพิสูจน์ว่า หากคณบดีลงสมัครรับเลือกต้ังด้วย
กรรมการโดยการเลือกตั้งหลายคนจะสอบตก ข้าพเจ้าจึงได้รับการชักชวนให้ลงสมัครรับเลือกต้ังกรรมการแพทย
สภาด้วยทั้ง ๆ ทเ่ี ป็นคณบดีเพื่อพสิ จู น์สมมติฐานดงั กลา่ ว แต่ข้าพเจา้ ยังไม่อยากให้สมาชกิ แพทย์ทั้งหลายเกดิ ความ

๓๙๗

สับสนในเรื่องนี้ จึงขอตัวไปก่อนว่ายังไม่ลงสมัครรับเลือกต้ังในวาระน้ี แต่วางแผนไว้ว่า จะทาความเข้าใจกับ
สมาชิกให้ชัดเจนก่อนในประเด็นนี้ แล้วค่อยสมัครลงรับเลอื กต้ังในวาระถัดไปในปี ๒๕๖๔-๒๕๖๖ จนเมื่อข้าพเจ้า
ลาออกจากคณบดีและยังดารงผู้รั้งตาแหน่งนายกแพทยสมาคมฯ เพื่อมารับตาแหน่งนายกแพทยสมาคมแห่ง
ประเทศไทยฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จงึ ขอถอื โอกาสนี้ลงสมัครรับเลือกต้ังเป็นกรรมการแพทยสภาโดยการเลือกต้ังใน
วาระ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๖ และมผี ลต้งั แต่วันท่ี ๑ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ เปน็ ต้นไป จึงเป็นอีกคร้งั หนึ่งที่นายก
แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการแพทยสภาโดยการเลือกต้ังด้วยในทีมท่ีมีชื่อมี
ชมรมเพ่ือนแพทย์ หมายเลข ๔๙-๕๙ จานวน ๑๑ ทา่ น และข้าพเจ้ากไ็ ดร้ บั เลอื กใหเ้ ป็นกรรมการแพทยสภา

เมือ่ ขา้ พเจ้ามารว่ มทีมแพทยสมาคมฯ ลงสมัครรับเลอื กตง้ั เป็น กรรมการแพทยสภาโดยการเลอื กตั้ง

คณะอนุกรรมการดาเนินการเลือกตั้งกรรมการ
แพทยสภา ได้ดาเนินการเลือกตั้งกรรมการแพทยสภา ท้งั นี้
ผู้ท่ีได้รับคะแนนสูงสุด ๓๐ คนแรกจากผู้สมัครทั้งสิ้น ๑๑๗
ท่าน จะเข้าไปทาหน้าที่กรรมการแพทยสภาในวาระ พ.ศ.
๒๕๖๔ – ๒๕๖๖ ต้ังแต่วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔
เป็นตน้ ไป โดยผลการนับคะแนนส้ินสดุ เมอ่ื เวลา ๒๒:๓๐ น.
(วันท่ี ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔) และข้าพเจ้าในฐานะ
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ และรองอธิการบดี
มหาวิทยาลัยสยาม ได้ ๖,๑๓๒ คะแนนในอันดับท่ี ๔
ข้าพเจ้าจึงได้เป็นกรรมการแพทยสภาในวาระ ปี ๒๕๖๔ –
๒๕๖๖ ในชมรมของเราได้รับเลือกเข้ามา ๘ ท่านจาก ๑๑
ท่านซึ่งคล้ายกับว่า มีกรรมการมาจากแพทยสมาคมแห่ง
ประเทศไทยฯ เข้ามาเป็นกรรมการโดยการเลือกต้ังของ
แพทยสภา

การเลือกตงั้ วาระนี้ ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณแพทย์หญิง
สมศรี เผ่าสวัสดิ์ได้รับเลือกให้ดารงตาแหน่งนายกแพทย
สภาต่ออีกหนึ่งวาระ ทาให้แพทยสภาและแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ทางานใกล้ชิดกันมากข้ึน เพราะทั้ง
นายกแพทยสภาและนายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ จะอยู่ท้ังในคณะกรรมการแพทยสภาและแพทย
สมาคมแห่งประเทศไทยฯ และยังดารงตาแหน่งบริหารสูงสุดของทั้งสององค์กรท่ีมาทางานด้วยกันอย่างราบร่ืนไร้
รอยต่อ

สาหรับภาพพจนข์ องแพทยสภา ในสายตาของผมเองเปน็ ดังนี้
๑. เปน็ องค์กรทส่ี รา้ งความสามัคคใี นหมู่ผูป้ ระกอบวิชาชพี เวชกรรม
๒. ธารงไว้ซ่ึงความยุตธิ รรมและทางานอยา่ งมีหลกั การและเหตุผล

๓๙๘

๓. ม่งุ ผลิตผลงานเพอื่ ประโยชนข์ องสมาชกิ แพทย์ ผู้ปว่ ย ประชาชนและสงั คมและระบบบรบิ าลสุขภาพ
๔. กลา้ ริเริม่ ในเรอื่ งที่มคี วามจาเปน็ ท่ีจะทาให้ผู้ปว่ ยได้รับการรักษาที่สะดวกในพนื้ ท่ี เชน่ มีหลกั สตู ร

ผูช้ ่วยแพทย์ มีหลักสูตรประกาศนยี บัตรระยะสั้นไมถ่ ึง ๑ ปี เพื่อใหม้ ีการรกั ษาหรอื ทาหตั ถการท่ี
จาเป็นในพื้นทที่ ี่ขาดแคลนแพทย์ผู้เช่ยี วชาญในสาขาวชิ าต่าง ๆ
๕. บริหารงานอย่างมีประสทิ ธิภาพ
๖. และเปน็ องคก์ รทไี่ ด้รบั ความเชื่อถอื จากสังคม

นอกจากน้ี ข้าพเจ้าคิดว่า ผู้ท่ีสมัครมาเป็นกรรมการแพทยสภาโดยการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเข้าโดยตาแหน่งคณบดี
คณะแพทย์ ควรมีคณุ สมบตั ดิ งั นี้

๗. เปน็ ผู้อาสามาทางานแบบเสยี สละ ไม่รบั เงินแบบประจาตาแหนง่ ของแพทยสภา
๘. มีหลกั การทางานทถี่ ูกต้อง สมเหตผุ ล เพื่อแพทยแ์ ละสมาชิก ทเ่ี กดิ ประโยชน์กบั ประชาชน
๙. ทางานอยา่ งประหยัดทรัพยากร หรือหาเงนิ นอกแพทยสภามาใช้ในแต่ละโครงการท่เี กดิ ข้ึนใหม่ใน

แพทยสภา
๑๐. หารายไดเ้ พมิ่ เตมิ จากผู้มีจิตศรทั ธา เพ่ือความม่ันคงทางการเงนิ ของแพทยสภา
๑๑. มที ักษะและความสามารถทด่ี ใี นการทางานรว่ มกนั เป็นทีมกบั กรรมการทุกคน
๑๒. มเี ครอื ขา่ ยกบั องคก์ รวชิ าชพี อนื่ หรือทีเ่ กี่ยวข้องอยา่ งกว้างขวาง เพื่อให้เครอื ข่ายสนบั สนนุ ภารกจิ ของ

แพทยสภา
การท่ีกรรมการจากแพทยสมาคมฯ ได้เข้ามาทางานในแพทยสภาโดยการเลือกต้ังด้วยโดยเฉพาะในครั้งน้ี
ทาให้ได้เข้ามาช่วยในการนากรรมการรุ่นใหม่เข้ามาทางานเพ่ิมขึ้น นาสิ่งใหม่ๆ เข้ามาช่วยให้แพทย์ผู้ทางานใน
พื้นที่ที่ขาดแคลนแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสามารถทาหัตถการหรือมีความรู้ที่จะทาหัตถการท่ีจาเป็นในพื้นที่ได้ ทาให้
ประชาชนและผู้ป่วยไม่ต้องเคลื่อนย้ายเข้ามาในเมือง เกิดหลักสูตรประกาศนียบัตรต่าง ๆ เพื่อรับรองการทางาน
นอกสาขาวิชาของตน และต่อมามีหลักสูตร ผู้ช่วยแพทย์ ขึ้นมาอีก ทาให้แพทย์หลายท่านที่ทางานในพื้นท่ีท่ี
หา่ งไกลเมอื งสามารถทาการรกั ษาเพม่ิ เติมจากสาขาวิชาท่เี ปน็ พนื้ ฐานของตนได้โดยมีแพทยสภารับรองมาตรฐานให้
ได้พัฒนาการศึกษาต่อเน่ืองให้มีการแพร่กระจายสู่สมาชิกให้มากขึ้น ให้มีการรวบรวมคะแนนและจัดทาเป็น
ร า ย ง า น ป ร ะ จ า บุ ค ค ล เ ต รี ย ม พ ร้ อ ม ไ ว้ ส า ห รั บ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ เ นื่ อ ง ข อ ง ต น เ อ ง ห รื อ ก า ร ต่ อ อ า ยุ
ประกาศนียบัตรทุก ๕ ปี หรือจะเป็นการต่ออายุใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทย์ในอนาคต พัฒนา
โครงการแพทย์เพ่ิมพูนทักษะให้มีประสิทธภิ าพเพ่ิมข้ึนในการตรวจเยีย่ มและกากับการฝึกอบรม ได้จัดให้เป็น ๓๕
เครือข่ายในการฝึกอบรมเพ่ือช่วยให้สถานพยาบาลแต่ละแห่งสามารถพึงพาและอาศัยซ่ึงกันและกันในการดูแล
รักษาผู้ป่วยและประชาชนได้ดีในพื้นที่เครือข่ายของตนเอง สนับสนุนสาขาวิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉินให้เกิดข้ึนใน
โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลขนาดเล็ก และทาให้สถานะการเงินของแพทยสภาม่ันคงและสามารถดูแลรักษา
สภาพของอาคารสภาวิชาชีพทางการแพทยไ์ ด้
วัตถุประสงค์อีกหน่ึงข้อของแพทยสภาในเรื่องส่งเสริมงานวิจัยก็เพ่ิงดาเนินการมาได้ ๓ ปีจากทีมของ
แพทยสมาคมฯ ท่ีเข้ามาเป็นกรรมการแพทยสภา เริ่มจากการแนะนาของศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิง
สมศรี เผา่ สวสั ดิ์ ผ้อู านวยการสานกั งานแพทยสมาคมฯ ในฐานะนายกแพทยสภา เสนอให้พลตารวจเอกนายแพทย์
จงเจตน์ อาวเจนพงษ์ บริจาคเงินจานวน ๒ ล้านบาทมาให้แพทยสภา เพื่อทาให้วัตถุประสงค์ของแพทยสภาท่ียัง

๓๙๙

ขาดอยู่และยังไม่ได้ทา ก็เร่ิมทาได้ให้เป็นจริง แพทยสภาได้แต่งต้ังกรรมการแพทยสภาซึ่งเป็นนักวิจัยและเป็น
กรรมการของแพทยสมาคมฯ เข้ามาเป็นคณะอนุกรรมการพิจารณาดาเนินการและจัดสรรทุนวิจัยของแพทย
สภา มาทางานให้แพทยสภาในด้านน้ีต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมีศาสตราจารย์นายแพทย์รณชัย คงสกนธ์ เป็น
ประธานคณะอนกุ รรมการ ศาสตราจารย์แพทย์หญงิ สมศรี เผ่าสวัสด์ิและศาสตราจารย์นายแพทย์อมร ลลี ารศั มี
เป็นอนุกรรมการ และศาสตราจารย์นายแพทย์กีรติ เจริญชลวานิช เป็นกรรมการและเลขานุการ ซ่ึงทุกท่านน้ี
เป็นกรรมการมาจากแพทยสมาคมฯ เร่ิมต้นปีแรกก็มีเงินบรจิ าคเข้ามา ๒ ล้านบาท ตั้งช่ือกองทุนเป็น กองทุนพล
ตารวจเอกนายแพทย์จงเจตน์ อาวเจนพงษ์ การให้ทุนงานวิจัยได้ดาเนินการต่อเน่ืองมาทุกปีจนในปีที่สี่ของการ
ให้ทนุ วจิ ัยในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ พลตารวจเอกนายแพทย์ จงเจตน์ อาวเจนพงษ์ จะบรจิ าคเงนิ เพ่มิ เป็น ๓ ล้านบาทต่อ
ปีเนื่องจากมีผู้ขอทุนวิจัยมามากกว่าเงินทุนท่ีมีอยู่ในแต่ละปีถึง ๕ เท่าขึ้นไป และในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ น้ี มีผู้เสนอ
โครงการมาทั้งหมด ๒๒ เร่ือง กรรมการเห็นสมควรให้ทุน ๑๒ เรื่อง รวมงบประมาณท่ีจะให้ทั้งหมดเฉียด ๒ ล้าน
บาท

นอกจากนี้ เมื่อ ๕ ปีก่อนในขณะท่ีศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงสมศรี เผ่าสวัสดิ์ยังเป็นเพียง
กรรมการแพทยสภา ก็ได้เชิญชวนให้คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี มาบริจาคเงิน ๑๐๐ ล้านบาทให้แพทยสภา
เพ่ือนามาใช้ในการดาเนินกิจการต่าง ๆ ของแพทยสภา และต่อมาเม่ือแพทยสภาได้รับเงินบริจาคจานวนน้ีเข้ามา
ก็ได้ใช้เป็นเงินที่จะให้แก่เจ้าหน้าที่ท่ีทางานให้แพทยสภาแล้วลาออกหรือเกษียณอายุทางาน ซ่ึงเมื่อตอนท่ี
ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทยห์ ญิงสมศรี เผ่าสวสั ดิ์มาเป็นนายกแพทยสภา กพ็ บวา่ หากเจ้าหน้าท่ีทุกคนลาออกใน
วันนั้น จะใช้เงินประมาณ ๙๗ ล้านบาทในการให้เงินชดเชยแก่เจ้าหน้าที่ทุกรายท่ีลาออก ด้วยเหตุน้ี ในการรับ
เจ้าหน้าที่ในระยะต่อมา จะให้เข้าไปใช้สิทธิประกันสังคมในการรักษาพยาบาลและไม่มีเงินบาเหน็จให้เหมือนกับ
เจา้ หน้าทใ่ี นสมยั กอ่ น

สว่ นตัวขา้ พเจา้ เอง(นายกแพทยสมาคมฯ)ก็เข้ามารบั หน้าทดี่ ้านฝึกอบรมและสอบของแพทย์เพ่มิ พนู ทักษะ
การฝกึ อบรมและการรบั ทุนของแพทย์ประจาบ้านจากต้นสังกัด และรบั ผดิ ชอบด้านวชิ าการซ่งึ เปน็ งานอีกหน่ึงด้าน
ของแพทยสภา ดแู ลการอนมุ ัตหิ ลักสตู รแพทยศาสตรบัณฑิตของคณะแพทยศาสตรต์ า่ ง ๆ และรบั รองปรญิ ญาและ
สถาบันผลิตแพทย์ของต่างประเทศ เข้ามาช่วย ศรว. และ ศ.น.พ. อนมุ ัตติ ัวบุคคลของแพทย์เพิ่มพนู ทักษะ แพทย์
ประจาบา้ น ในการเข้าฝึกอบรม และทางานร่วมกับราชวิทยาลยั ตา่ ง ๆ จานวน ๑๔ แหง่ และวทิ ยาลัยอีก ๑ แห่ง

บางคร้ัง ก็ได้เข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาเร่งด่วนที่กาลังเป็นส่ือดังและเกิดข้อถกเถียงไปอย่างกว้างขวาง เช่น
การคัดเลือกเพ่ือแต่งต้ังและบรรจุนายแพทย์ปฏิบัติการ สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและเป็น
ขา้ ราชการจานวน ๔๒๕ ตาแหนง่ ซึ่งในประกาศ ในข้อ ๘ มกี ารใช้คะแนน NL ขน้ั ตอนท่ี ๑ และ ๒ มาใช้ตดั สนิ ด้วย
ทาให้ต้องรีบช่วยแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนเพ่ือมิให้เรื่องน้ีบานปลายไปมากกว่านี้ และทาให้แพทยสภาและ
กระทรวงสาธารณสขุ ไดร้ ับทราบปญั หาและช่วยกันแก้ไขและทาให้เร่ืองน้ีสงบลงอย่างรวดเรว็

๔๐๐

๔๐๑

จากการเป็นผู้รับผิดชอบด้านวิชาการของแพทยสภา ข้าพเจ้าจึงได้รับ
เลือกจากแพทยสภาให้เป็นผู้แทนแพทยสภาเพื่อไปสมัครเป็นผู้แทน
องค์กรสภาวิชาชีพจากสภาวิชาชีพ ๑๒ แห่งในประเทศไทย แล้วผู้แทน
จากแต่ละสภาวิชาชีพจะต้องเลือกกันเองให้เหลือ ๑ คนเพ่ือเป็นผู้แทน
องคก์ รสภาวชิ าชพี ในคณะกรรมการในสภาการศึกษา ปรากฏวา่ ตอ้ งไป
ตรวจแยงจมูกส่วนหน้า ๒ ข้างเพ่ือเก็บตัวอย่างมาตรวจด้วย ATK ก่อน
เข้าห้องประชุมในวันอังคารท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๖๕ เวลา ๙:๐๐ น. ผลการเลือกกันเองเสร็จสิ้นเวลา ๑๑:๐๐ น.
ปรากฏว่า ข้าพเจ้าได้รับเลอื กให้เป็นผู้แทนองค์กรสภาวิชาชีพด้วยคะแนน ๔ เสียง ชนะคู่แข่งที่ได้ ๓ คะแนน เลย
เป็นผู้แทนองค์กรสภาวิชาชีพวาระแรก นาน ๔ ปี ในสภาการศึกษา ซ่ึงต้องไปประชุมกับสมาพันธ์สภาวิชาชีพแหง่
ประเทศไทย เพือ่ ขอความเห็นและเสนอข้อมูลจากสภาการศึกษาดว้ ย

๔๐๒

น่ีเป็นเพียงเรื่องราวเล็ก ๆ น้อย ๆ
ที่ ทีมแพทยสมาคมฯ เข้ามาช่วยแพทยสภา
ทางานในด้านต่าง ๆ รวมทั้งการสร้างความ
ม่ันคงในด้านการเงินการคลังด้วย เพราะ
กรรมการจากแพทยสมาคมฯ ในนามของ
ทีม เพ่อื นแพทย์ ท่ีเข้ามาเป็นกรรมการหลัก
ของแพทยสภาจะไม่รับเงินประจาตาแหน่ง
ใด ๆ (ซึ่งเคยมีให้อยู่กับกรรมการประมาณ
๔-๕ ตาแหน่งโดยรับเงินประมาณรายละ
๓๐,๐๐๐ บาทต่อเดือนในสมัยก่อน) แต่
ขอรบั เพยี งเบี้ยประชมุ เทา่ น้นั

ตัวข้าพเจ้ารับงานด้านวิชาการของแพทย
สภามาทา ในภาพ ต้องตรวจเย่ียม
เ ค รื อ ข่ า ย แ พ ท ย์ เ พิ่ ม พู น ทั ก ษ ะ ที่
โ ร ง พ ย า บ า ล ส มุ ท ร ส า ค ร พ ร้ อ ม กั บ
คณาจารยศ์ ิรริ าช

๔๐๓

๔๐๔

ประธานคณะกรรมการบริหารงานวิจัย COVID-๑๙ ดา้ นการวิจัยทางคลนิ ิก สวรส.
ตัง้ แตข่ า้ พเจ้าถกู แตง่ ตงั้ ให้เปน็ คณะกรรมการและส่งเสรมิ งานวจิ ยั ดา้ นคลินิกของโควดิ -๑๙ ของ สวรส.

ในวันท่ี ๗ เมษายน ๒๕๖๓ เป็นต้นมา สวรส. ได้ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยทางคลินิกของโควิด-๑๙ หลาย
โครงการ บางโครงการสามารถดาเนินการได้ดี หลายโครงการหยุดชงักหรือไม่สามารถทาได้หรือทาต่อได้
เพราะโรคโควิด-๑๙ ถูกควบคุมให้เหลือ ๐ รายในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ เป็นต้นมา จนกระทั่งเร่ิมมีการ
ระบาดใหม่ที่ตลาดกลางกุ้ง จังหวัดสมุทรสาคร ในปลายเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๓ พร้อม ๆ กับมีการนาเช้ือ
ไวรัสสายพนั ธอ์ุ ังกฤษ(แอลฟา) เข้ามาในประเทศไทย และการระบาดยงั ต่อเน่ืองจนมีสายพนั ธ์เุ ดลตา้ แทรกเข้า
มาอกี จงึ ทาให้มีผู้ติดเชอื้ รายใหม่ข้ึนสงู มากเกินวนั ละสองหมื่นราย งานวจิ ัยในโครงการตา่ ง ๆ ของ สวรส. จงึ
สามารถดาเนินการต่อไปไดจ้ นจบเปน็ ส่วนมาก ดังนัน้ ในวนั อังคารท่ี ๒๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เวลา ๘:๓๐ ถงึ
๑๐:๓๐ น. เป็นการประชุมคณะกรรมการบริหารงานวิจัย COVID-๑๙ ด้านการวิจัยทางคลินิกเป็นคร้ังสุดทา้ ย
แล้วจะสรุปผลงานวิจยั ทั้งหมดและทาเปน็ ข้อเสนอให้นาข้อมลู ไปประยุกต์ใช้ทางคลินิกต่อไป

๔๐๕

ในห้องประชุม กับเลขาของการประชมุ มกี ารประชมุ ท้ัง onsite และ online ผา่ นระบบ zoom ในภาพอยู่
กับเลขานุการของคณะกรรมการ นางสรุ างค์รตั น์ จริ นนั ทนากร

๔๐๖

ในภาพ แสดงผเู้ ขา้ ประชุมทางระบบ zoom และ มีการรายงานผลการศึกษา
จากโครงการต่าง ๆ

ผลการศกึ ษาวจิ ยั จาก ๑๒ โครงการวิจัยทอี่ ยใู่ นกากบั พบว่า ได้ผลการศึกษาและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชท้ าง
คลินกิ ไดด้ ังน้ี

๔๐๗

(รา่ ง) กำหนดการการนำเสนอรายงานความก้าวหนา้ โครงการ ครัง้ ที่ 3/2564
วันอังคารที่ 26 ตุลาคม 2564 เวลา 08.30-12.00 น.

ลำดับ ขอ้ ตกลง ชอ่ื โครงการวจิ ยั นักวจิ ัย/ตวั แทน

เลขที่ ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
1 63-116 ประสิทธผิ ลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายปว่ ยจากโรค Covid-19
ศ.พญ.ยพุ ิน ศพุ ุทธมงคล
สำหรับรกั ษาผปู้ ่วย Covid-19 ที่มภี าวะปอดบวมระดบั ปานกลาง มหาวิทยาลยั มหิดล

ถงึ รนุ แรง รศ.พญ.ดุจใจ ชยั วานชิ ศิริ
สภากาชาดไทย
2 63-087 การศกึ ษาประสทิ ธิภาพของยาไอเวอร์เมคตนิ เปรยี บเทยี บกับ

ยาไฮด้อกซค่ี ลอโรควินรว่ มกับดารุนาเวียร/์ ริโตนาเวยี ร์ในการลด

ระยะเวลาการแพร่เช้ือจากสารคดั หล่ังทางเดินหายใจของผูต้ ดิ เช้อื

ไวรัสโควดิ 19 ที่ไมแ่ สดงอาการ

3 63-071 การศกึ ษา Neutralizing Antibody และ การผลิตพลาสมาผู้ทฟ่ี ื้น

จากโรคโควดิ -19 และ Hyperimmune Globulin (IM)

4 63-054 การปลอ่ ยเช้อื ไวรสั ท่มี ชี ีวติ อย่างยดื เยื้อในผู้ปว่ ย COVID-19 ศ.นพ.ประเสรฐิ เอ้อื วรากุล
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

5 63-146 การศึกษาภมู คิ ุ้มกันในผูท้ ีห่ ายและผทู้ มี่ ีความเสย่ี งสงู ต่อการตดิ เช้ือ อ.ดร.ญาดา ตันสริ ิ

จากโรคโคโรนาไวรสั สายพนั ธใุ์ หม่ (โควดิ -19) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้

คุณทหารลาดกระบงั

ผศ.ดร.นพ.ปกรัฐ หังสสตู

จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

6 63-063 ความชุกและอุบตั ิการณข์ องการตดิ เชอ้ื ด้วยการตรวจทางซโี รโลยี รศ.พญ.ณสกิ าญจน์ องั คเศกวนิ ัย

การตอบสนองทางภมู ิคมุ้ กนั ตอ่ การตดิ เช้อื SARS-CoV-2 ใน มหาวิทยาลยั มหิดล

บคุ ลากรทางการแพทย์ดา่ นหนา้ ที่ดูแลผปู้ ่วย เปรียบเทียบกบั

บุคลากรทางการแพทย์ทไี่ ม่ไดด้ แู ลผปู้ ่วย COVID-19 ใน

สถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ภายในโรงพยาบาลศิริ

ราช กรงุ เทพมหานคร

7 63-067 โควิด-19 ในบุคลากรทางการแพทยใ์ นประเทศไทย

8 63-069 ประสิทธิภาพของยาตา้ นไวรสั และวิธกี ารตา่ ง ๆ สำหรับการกำจัด รศ.นพ.รจุ ิภาส สริ จิ ตภุ ทั ร
เชื้อซารส์โควี-2 ทีใ่ นทางเดนิ หายใจของผทู้ ่เี พง่ิ ตดิ เช้อื ซารสโ์ ควี-2 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

9 63-088 การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรกั ษาแบบประคบั ประคองใน
ผู้ปว่ ยโควดิ 19 ที่มอี าการไมห่ นกั และยังไมม่ ภี าวะปอดอกั เสบ

10 63-095 โครงการวิจัยและพฒั นาองคค์ วามรู้เพอ่ื รองรับการระบาดของโรค ดร.นพ.สุรคั เมธ มหาศริ มิ งคล
โคโรนา่ สายพนั ธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) (ระยะท่ี 1) กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

11 63-059 การศกึ ษาไปขา้ งหนา้ เปดิ ฉลาก แบบสุ่มในหลายสถาบนั ระหว่างยา รศ.นพ.สบื สาย คงแสงดาว
ยับยั้งเอนไซมโ์ ปรตีเอส, โอเซลทามิเวีย, ฟาวิพิราเวีย และ คลอโรค กรมการแพทย์
วนิ ในการรักษาโรคติดเช้ือไวรสั SAR-CoV-2 (โควดิ 19)
ศ.นพ.ภาสกร ศรีทิพยส์ โุ ข
12 64-119 ประสทิ ธผิ ลของวคั ซีนโควดิ -19 ในประเทศไทย: การศึกษาใน
สถานการณจ์ รงิ

๔๐๘

แบบรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจยั
ทร่ี ับการสนับสนุนจาก สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.)

1. ชือ่ โครงการ ประสิทธผิ ลการใชพ้ ลาสมาของผทู้ ห่ี ายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรบั รักษาผู้ปว่ ย โควดิ -19 ที่มีภาวะ
ปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง เลขทขี่ ้อตกลง (63-116)
ศาสตราจารยน์ ายแพทยย์ ง ภู่วรวรรณ

2. ขยายระยะเวลา ต้ังแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ที่มีภาวะปวดบวมระดับปานกลาง ถึงรุนแรงในทางคลินิก
ภาพรังสีทรวงอก และผลการตรวจวดั ระดบั ตัวบ่งชขี้ องห้องปฎบิ ตั กิ าร
4. ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
4.1 การดำเนินงานวจิ ยั ทีไ่ ดด้ ำเนนิ การงานไปแล้ว

• ศึกษาการตอบสนองของการใช้ CP ในทางคลินกิ ภาพรังสีทรวงอก และผลการตรวจทางห้องปฎบิ ตั ิการ
ของระดับภมู ิคุ้มกนั

• ศกึ ษาประสทิ ธิผลการใช้พลาสมาของผทู้ ีห่ ายป่วยจากโรคโควิด-19 (Convalescent plasma หรือ CP) ใน
การรกั ษาผู้ป่วยโรคโควดิ -19 ท่ีมีอาการปวดบวมปานกลาง ถึงรนุ แรง

4.2 ร้อยละของความก้าวหน้าของการดำเนนิ งาน
ประมาณร้อยละ 90 หมายเหตุ ได้ดำเนินการรักษาผู้ป่วยโดยการให้พลาสมาจากผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19
จำนวนเกินเป้าหมายที่คาดไว้ ขณะนี้รอตรวจทางห้องปฎิบตั ิการ Cytokines เพื่อนำมาเปรียบเทียบการศึกษาทาง
คลนิ กิ
4.3 ผลการดำเนินงาน

โครงการวิจัยได้เริ่มดำเนินการล่าช้าเนื่องจากกระบวนการขอ IRB และไม่มีผู้ป่วยโรคโควิด-19 อย่างไรก็
ตามตง้ั แต่เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2563 ถึงเดอื นมนี าคม พ.ศ. 2564 เกดิ การระบาดระลอก 2 ได้มีจำนวนผปู้ ว่ ยเกิดข้ึน
ที่จังหวัดสมุทรสาคร และแพทย์ผู้ที่ดูแลรักษาโดยเฉพาะทางฝั่งตะวันตกของกรุงเทพมหานคร ต้องการใช้ Plasma
การเก็บรวบรวมข้อมูลจึงได้เริ่มต้นขึ้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่นอกโรงพยาบาลที่อยู่ในโครงการวิจัย คณะผู้วิจัยจึงได้
ตัดสินใจเก็บข้อมูล เท่าท่ีจะสามารถทำได้ให้ได้มากที่สุด และใกล้เคียงกับโครงการวิจัยมากที่สุด โดยใช้พยาบาล
วิจัยของศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางเฉพาะด้านไวรัสวิทยาคลินิกเป็นผู้ประสานงาน รวบรวมตัวอย่างและติดตาม
อาการทางคลนิ กิ อยา่ งละเอียด

๔๐๙


Click to View FlipBook Version