The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siall28945, 2022-01-27 05:00:31

ภารกิจและเหตุการณ์ของนายกแพทยสมาคมฯ ครบรอบ ๑๐๐ ปี

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Keywords: นายก พสท.,ครบรอบ ๑๐๐ ปี

จากการดำเนนิ งานท่ีผา่ นมา ผลการดำเนินงานสามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ รือไม่ อย่างไร
สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมาก เนื่องจากในผู้ป่วยที่เริ่มมีอาการปานกลาง หรือผู้ป่วยที่อยู่ในกลมุ่

เสี่ยงอาทิ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว เมื่อได้รับพลาสมาจากผู้ที่หายจากการเป็นโรคโควิด -19
(Convalescent plasma) อย่างเร็วมีแนวโน้มที่จะช่วยลงอัตราความรุนแรงของการดำเนินโรคที่อาจ
ก่อให้เกิดการเสียชีวิตได้ ทั้งนี้การให้พลาสมาจะต้องรบี ใหผ้ ูป้ ่วยก่อนท่ีจะมีอาการหนัก จะให้ประสิทธิผลที่ดี
ที่สุด หากผู้ปว่ ยมอี าการหนักแล้ว การให้พลาสมาจะไม่มีประโยชน์ อย่างไรก็ตามในโครงการมีผู้ป่วยบางราย
อาการดีขึ้น สามารถกลับบ้านได้ก่อนรับการรักษาด้วย Convalescent plasma (CP) และมีผู้ป่วยบางรายท่ี
เสียชีวติ ก่อนการรบั CP

ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความคาดหวังที่จะสามารถพัฒนาวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่มีอาการปาน
กลางถึงรุนแรง โดยการให้ CP ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และที่สำคัญคือผลการตอบสนองที่ดีของการรักษา
ผู้ป่วยโควิด-19 ที่มีอาการปานกลาง ถึงรุนแรง ด้วย CP ที่สอดคล้องกับผลของภาพรงั สีทรวงอก และผลจาก
หอ้ งปฎิบตั กิ าร ซึง่ จากผลการรักษาเบือ้ งต้นเปน็ ท่นี า่ พอใจ

ลงลายมือชอื่ หัวหน้าโครงการ (.......................................................................)
ศาสตราจารยน์ ายแพทยย์ ง ภวู่ รวรรณ
หวั หนา้ โครงการ

๔๑๐

เอกสารประกอบประชมุ คณะกรรมการบริหารงานวิจัย Covid-19 ครั้งที่ 3/2564 วันท่ี 19 ตุลาคม 2564
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจยั

ท่รี บั การสนบั สนุนจาก สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสขุ (สวรส.)

1. ชื่อโครงการ การศกึ ษาประสิทธิภาพของยาไอเวอรเ์ มคตนิ เปรียบเทียบกับยาไฮด้อกซ่ีคลอโรควนิ รว่ มกบั
ดารุนาเวียร์/รโิ ตนาเวียร์ในการลดระยะเวลาการตรวจพบเช้ือSAR-CoV2 จากสารคดั หล่ังทางเดินหายใจของผู้ตดิ
เชื้อไวรสั โควิด 19 ทไี่ ม่แสดงอาการ เลขท่ขี อ้ ตกลง สวรส 63-087

2. ช่ือหวั หน้าโครงการ ศ.พญ.ยุพิน ศพุ ทุ ธมงคล หน่วยงาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล
3. ระยะเวลารายงานตั้งแตว่ ันที่ 20 พฤษภาคม 2563 ถงึ 19 สิงหาคม 2564
4. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ

1. เพ่ือให้ทราบประสิทธิภาพของยาไอเวอร์เมคตินวันละ1ครั้งนาน 3 วันร่วมกับยาซิงค์ซัลเฟต เปรียบเทียบกับ
ยาไฮด้อกซ่ีคลอโรควินร่วมกับดารุนาเวียร์/ริโตนาเวียร์ และยาซิงค์ซัลเฟต ร่วมกันนาน 5 วัน ในการลดระยะเวลา
การตรวจพบเชอื้ ไวรัส SAR-CoV-2 ด้วยวิธี PCR จากผูต้ ดิ เชอื้
2. เพ่อื สร้างคลังข้อมลู ผู้ปว่ ยและสงิ่ ส่งตรวจทางคลนิ กิ ผู้ตดิ เช้อื โควดิ 19
5. สถานะโครงการ
☒ ปดิ โครงการแล้ว
☐ อยู่ระหว่างการจดั ทำรายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์
☐ อยูร่ ะหว่างดำเนินการวิจัย โดย

▪ ความกา้ วหน้าของการดำเนนิ งานคดิ เป็นร้อยละ............
▪ คาดวา่ จะแล้วเสร็จภายใน..............................................
6. ความกา้ วหนา้ การดำเนนิ งาน
6.1 การดำเนนิ งานวจิ ยั ท่ไี ดด้ ำเนินการงานไปแลว้
- คดั กรองผู้ตดิ เชื้อทรี่ บั ไวร้ ักษาท่ีโรงพยาบาลศริ ริ าช ศูนยก์ ารแพทยก์ าญจนาภเิ ษก และโรงพยาบาลศนู ย์
นครปฐม เขา้ รว่ มโครงการ
- ตรวจตดิ ตามการหายไปของสารพนั ธุกรรมของเช้อื ไวรสั ด้วยการตรวจ RT-PCR สปั ดาหล์ ะครั้ง นาน 2
สัปดาห์ก่อนท่ีจะอนญุ าตใหก้ ลบั บา้ น โดยตัวอยา่ งสว่ นหน่ึงจะถกู แบ่งไปใชใ้ นการเพาะเล้ียงไวรัสเพ่อื ให้ได้
ตัวอย่างไวรัสทเ่ี วลาตา่ งๆ และใช้ในการประเมินประสิทธภิ าพของการรักษาทง้ั สองกลุ่ม
- วเิ คราะห์ขอ้ มลู ระหว่างสองกลุ่มเพอ่ื เปรยี บเทียบร้อยละของผทู้ ตี่ รวจไมพ่ บเชอ้ื ไวรัส ตามชว่ งระยะเวลาที่
ตรวจ คอื ที่ 1, 2 สัปดาหแ์ ละเมื่อมาตดิ ตามการรักษา คำนวณรอ้ ยละของการตรวจพบแอนตบิ อดใี น
ระยะเวลาตา่ งๆที่เจาะเลอื ดตรวจ และเปรียบเทยี บ median duration (IQR) เปน็ สปั ดาห์ท่ไี ม่พบเชื้อ
ไวรัสจาการตรวจ PCR ของผตู้ ิดเชือ้ ทงั้ สองกลุ่ม ด้วยสถติ ทิ ่ีเหมาะสม
6.2 ผลการดำเนินงาน
คณะผู้วจิ ยั คดั กรองผตู้ ดิ เช้อื จำนวน 164 รายทรี่ ับไวร้ กั ษาท่ีโรงพยาบาลศริ ิราช ศูนยก์ ารแพทยก์ าญจนา
ภเิ ษก และโรงพยาบาลศูนย์นครปฐม มีผ้ตู ดิ เชือ้ ท้ังหมด 118 รายยินยอมเข้าร่วมโครงการเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร สมุ่

๔๑๑

แบ่งเป็น กลุม่ A (ไดร้ ับการรกั ษาดว้ ยยาไอเวอรเ์ มคตนิ ) จำนวน 58 รายและกลุ่ม B (กลุ่มควบคุมซง่ึ ได้รับยา
ไฮดร้อกซีคลอโดรควิน ร่วมกบั ยาดารนุ าเวียร์/รโิ ตนาเวียร์) จำนวน 60 ราย ผตู้ ิดเช้ือ 2 รายในกลุ่ม B ออกจากการ
วิจัยกอ่ นกินยาครบ เนือ่ งจากผลข้างเคียงของยา อตั ราการพบผลขา้ งเคยี งอน่ื ๆ ไมแ่ ตกต่างกนั และไมพ่ บ
ผลขา้ งเคยี งรนุ แรงในการรกั ษาผตู้ ิดเชอ้ื ทั้งสองกลมุ่

ผลการตรวจ RT-PCR for SARS-CoV-2 หลงั การรักษา พบว่า ทง้ั สองกลุม่ มีระยะเวลาทีผ่ ลการตรวจ PCR
เปน็ ลบหรอื มีคา่ Ct for N gene มากกว่า 30 ไม่แตกตา่ งกนั ท้งั ในการวเิ คราะห์แบบ modified intention to
treat และ per-protocol ผลการเพาะเช้ือ SARS-CoV-2 กอ่ นการรกั ษาพบผ้ตู ิดเช้อื 18 ราย พบเช้ือ SARS-CoV-
2 ไดจ้ ากการเพาะเชื้อกอ่ นการรกั ษา (กลุ่ม A และกลุ่ม B จำนวน10 รายและ 8 รายตามลำดับ) โดยพบค่า mean
(SD) ของ Ct for N gene = 22.54 (2.76) พบรายที่เพาะเชือ้ ไดม้ คี า่ Ct for N gene ตำ่ สดุ คอื 13.99 และรายทมี่ ี
ค่า Ct for N gene สงู สุดคือ 35.99 ผตู้ ิดเชอ้ื กลมุ่ นไี้ ม่มีรายใดทเ่ี พาะเช้อื ได้ซ้ำหลังการรักษา

ผลการตรวจหาระดบั แอนตบิ อดตี ่อโปรตนี RDB ผ้ตู ดิ เชอ้ื 50 ราย (กลมุ่ A จำนวน 20 รายหรอื ร้อยละ
35.1 และ กลมุ่ B จำนวน 30 รายหรือ รอ้ ยละ 52.6, P = 0.089) ตรวจไมพ่ บ แอนตบิ อดีตอ่ โปรตนี RBD ซึง่ เป็น
แอนตบิ อดจี ำเพาะต่อการติดเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 นอกจากนีก้ ารศกึ ษาสายพันธุ์ของไวรสั SARS-CoV-2 พบวา่
เป็นสายพนั ธุ์ B.1.36.16 ทั้งหมดในชว่ งแรกของการศึกษา และเรมิ่ พบสายพนั ธแ์ุ อลฟา่ (B.1.1.7) จำนวน 7 ราย
คิดเปน็ ผู้ติดเชอื้ รอ้ ยละ 35 (7/20) ของผู้ตดิ เช้อื ท่ีเข้ารว่ มโครงการในเดือนเมษายน 2564

ผตู้ ิดเชื้อทกุ รายมอี าการปกติและกลับจากโรงพยาบาลหลังการกกั ตวั ครบตามกำหนด โดยมีผตู้ ดิ เชือ้ 3
ราย (กลุ่ม A 2 รายและกลมุ่ B 1 ราย) มอี าการแยล่ งและได้รบั การรกั ษาเพ่มิ เติมด้วยยาฟาวริ าเวยี ร์นาน 10 วัน
อยา่ งไรกต็ ามมีผูต้ ดิ เชื้อ 2 รายในกลุ่ม A ซ่ึงเพาะเชือ้ ไม่ได้กอ่ นการรกั ษาแต่เพาะเชอ้ื ได้หลังเร่มิ การรักษา 5 วัน
โดยผู้ตดิ เชอ้ื 1 รายเพาะเช้ือได้ 2 ครั้งหลังการรกั ษา 5 และ 7 วันตามลำดับ

โดยสรุปพบว่า ยาท่ใี ชร้ กั ษาผตู้ ิดเชื้อทัง้ สองกลมุ่ มคี วามปลอดภยั แต่ผลการวิจยั ไมส่ นับสนุนว่า ยาไอเวอร์
เมคตนิ มีประสทิ ธภิ าพในการรักษาผตู้ ดิ เช้อื โควิด 19 เพราะมีประสทิ ธิภาพไม่แตกตา่ งจากกลมุ่ ควบคุม ซ่ึงไมม่ ี
รายงานว่ามปี ระสทิ ธภิ าพต่อการรกั ษาผูต้ ิดเช้ือโรคน้ี

7. มีแผนการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างไร
เนื่องจากขณะนี้ในระดบั นานาชาตแิ ละในประเทศไทยมกี ลมุ่ ซึง่ มคี วามเชอ่ื เกย่ี วกับประสทิ ธภิ าพของยาไอ

เวอรเ์ มคตนิ เป็นสองกลุม่ ไดแ้ ก่ กลุม่ ทเ่ี ช่อื วา่ ยานี้มปี ระสทิ ธิภาพในการรกั ษาโควิด 19 และกลุ่มทเี่ ชอ่ื ว่า ไมม่ ี
ประสทิ ธภิ าพ ขณะนี้ผลการวเิ คราะหแ์ บบ meta-analysis ยังมีความสับสน และพบมปี ัญหาเก่ยี วกับคุณภาพของ
ขอ้ มูลการวจิ ยั ท่นี ำมาวิเคราะห์ ดังนัน้ เมอื่ คณะผู้วิจัยพบผลการศึกษาว่า ยาไอเวอรเ์ มคติน นา่ จะไมม่ ี
ประสิทธภิ าพในการรกั ษาผตู้ ดิ เช้อื โควิด 19 ตามทีค่ าด จงึ ไม่ไดด้ ำเนินการวจิ ยั เพ่มิ เติม แตเ่ นื่องจากเป็นการศึกษา
ในกลมุ่ ผตู้ ิดเช้อื จำนวนนอ้ ย จึงไม่สามารถไดข้ ้อสรุปท่ีชัดเจน ขณะนคี้ ณะผู้วจิ ัยจงึ พยายามนำข้อมลู เผยแพร่โดยสง่
ตพี มิ พ์ในวารสารทม่ี รี ะบบ Peer Review เพอื่ ให้ข้อมูลและผลการวิจยั ผา่ นการประเมนิ จากผู้ประเมนิ ภายนอกว่า
มีความน่าเชื่อถอื เพอื่ ประโยชนใ์ นการนำไปประกอบการวเิ คราะห์แบบ meta-analysis ต่อไป

๔๑๒

เอกสารประกอบประชุมคณะกรรมการบริหารงานวิจยั Covid-19 คร้ังท่ี 3/2564 วนั ที่ 26 ตลุ าคม 2564
แบบรายงานความกา้ วหน้าโครงการวจิ ัย

ที่รบั การสนบั สนนุ จาก สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.)

1. ช่ือโครงการ การศึกษา Neutralizing Antibody และ การผลิตพลาสมาผู้ที่ฟ้ืนจากโรคโควิด-19 และ
Hyperimmune Globulin (IM) เลขที่ขอ้ ตกลง 63-071

2. ชอื่ หัวหน้าโครงการ ดุจใจ ชยั วานชิ ศริ ิ หนว่ ยงาน ศูนยบ์ ริการโลหติ แห่งชาติ สภากาชาดไทย
3. ระยะเวลารายงานต้งั แตว่ นั ที่. 4 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564 .
4. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพอ่ิ ผลติ พลาสมาทมี่ แี อนติบอดตี ่อโควิด-19 เพ่อื พรอ้ มใช้ในการรกั ษาโรค
2. เพ่อื ผลิต COVID-19 Hyperimmune globulin (IM) เพ่ือใช้ในการรักษาโควดิ
 ปิดโครงการแล้ว
 อยรู่ ะหว่างการจัดทารายงานการวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์
 อยู่ระหว่างดาเนนิ การวจิ ยั โดย

 ความก้าวหนา้ ของการดาเนนิ งานคดิ เป็นร้อยละ............
 คาดว่าจะแลว้ เสร็จภายใน..............................................
5. ความก้าวหน้าการดาเนนิ งาน
5.1 การดาเนินงานวจิ ัยท่ไี ด้ดาเนินการงานไปแล้ว
รอบที่ 1 (4 พ.ค. 63 – 31 พ.ค. 64)
o มีอาสาสมัครลงทะเบียน 530 ราย สามารถเข้าร่วมโครงการได้ 155 ราย ณ.วันที่ 31 พฤษภาคม
2564 สามารถเก็บ CCP ได้ทั้งหมด 477 คร้ัง มที ่ีตอ้ งคัดออก เหลอื CCP ใช้ไดจ้ านวน 405 ถุง
o นาไปผลิต CIMIG จานวน 160 ถุง
ได้ Hyperimmune globulin (CIMIG) 826 ขวด NT titer เทา่ กบั 1:5,120
o คงเหลือในคลัง จานวน 245 ถงุ คดิ เป็น 490 does
Blood Gr. A = 50 dose / Gr. B = 174 dose / Gr. O = 190 dose / Gr. AB = 76 dose
o โรงพยาบาลเบิก CCP เพ่ือเสริมการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 จานวน 273 ราย แบ่งเป็นโรงพยาบาล
สงั กัดรัฐบาล 12 แห่ง และโรงพยาบาลเอกชน 18 แห่ง
รอบที่ 2 (1 ม.ิ ย. 64 – 30 ก.ค. 64)
o มอี าสาสมัครลงทะเบียน 1,146 ราย ร่วมโครงการได้ 359 ราย โดย ณ วันท่ี 30 กรกฏาคม 2564
(ปิดโครงการ) จัดเก็บได้ 723 คร้ัง มีคัดออก เหลือ CCP จานวน 668 ถุง คิดเป็น 1,336 does :
Blood Gr. A = 300 dose / Gr. B = 474 dose / Gr. O = 466 dose / Gr. AB = 96 dose
o โรงพยาบาลเบิก CCP เพ่ือเสริมการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 จานวน 619 ราย แบ่งเป็นโรงพยาบาล
สังกัดรัฐบาลจานวน 8 แห่ง และโรงพยาบาลเอกชนจานวน 18 แห่ง อยู่ระหว่างการติดตาม
ผลการรกั ษา

๔๑๓

6. มแี ผนการนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งไร
1. ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติฯ ยังคงดาเนินการจัดเก็บพลาสมาผู้ป่วยที่ฟ้ืนจากโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง
หลังจากปิดโครงการ ซึ่งใช้งบประมาณดาเนินการของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติฯ เนื่องจากยังคงมี
โรงพยาบาลต้องการเบกิ CCP เพ่ือเสรมิ การรักษาผ้ปู ่วยโควดิ -19 อยู่ โดยมีผลการดาเนนิ การ ดงั น้ี
o ต้งั แตว่ นั ที่ 31 กรกฏาคม จนถึง 31 สงิ หาคม 2564
ได้จัดเก็บ CCP ท้ังหมด 252 คร้ัง มีทตี่ ้องคัดออก เหลอื CCP ใช้ได้ จานวน 242 ถุง คิดเป็น 484
does แบง่ เปน็ Blood Gr. A = 104 dose / Gr. B = 160 dose / Gr. O = 188 dose / Gr. AB
= 32 dose โรงพยาบาลเบิก CCP เพ่ือเสริมการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 จานวน 473 ราย แบ่งเป็น
โรงพยาบาลสังกัดรัฐบาลจานวน 6 แห่ง และโรงพยาบาลเอกชนจานวน 15 แห่ง อยู่ระหว่างการ
ติดตามผลการรกั ษาผลการดาเนนิ งาน
o ต้ังแตว่ ันที่ 1 - 30 กันยายน 2564
ได้จัดเกบ็ CCP ทั้งหมด 221 คร้ัง มีท่ีต้องคัดออก เหลือ CCP ใช้ได้ จานวน 217 ถุง คิดเป็น 434
does แบ่งเปน็ Blood Gr. A = 102 dose / Gr. B = 144 dose / Gr. O = 168 dose / Gr. AB
= 20 dose โรงพยาบาลเบิก CCP เพ่ือเสริมการรักษาผู้ป่วยโควิด-19 จานวน 214 ราย แบ่งเป็น
โรงพยาบาลสังกัดรัฐบาลจานวน 5 แห่ง และโรงพยาบาลเอกชนจานวน 11 แห่ง อยู่ระหว่างการ
ติดตามผลการรักษาผลการดาเนินงาน
ท้ังนี้ทางศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ได้ปรับปรุงกระบวนการจัดเก็บพลาสมาให้กระชับและลด
ความซา้ ซอ้ นบางขน้ั ตอนใหม้ ีความสะดวกและรวดเร็วในการให้บริการมากยิ่งข้ึน
2. กระบวนการขั้นตอนในการผลิตพลาสมาผู้ปว่ ยท่ีฟื้นจากโควิด ที่ได้พัฒนาขน้ึ ในครัง้ น้ี สามารถใช้เป็น
บรรทัดฐานการผลิต Covid-19 Convalescent Plasma ที่มีคุณภาพและความปลอดภัย ให้
โรงพยาบาลต่างๆ ไดเ้ บกิ ใช้ไปเสรมิ การรกั ษาผ้ปู ว่ ยตอ่ ไป
3. ผลจากการผลิต Covid-19 IMIG เป็นการพัฒนาข้ันแรก ก่อนการต่อยอดไปเป็น IVIG ต่อไปใน
อนาคต

ลงชื่อ .............................................หวั หนา้ โครงการ
(รศ.พญ. ดุจใจ ชัยวานิชศิริ)
6 ตลุ าคม 2564

๔๑๔

เอกสารประกอบประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารงานวิจยั Covid-19 ครั้งที่ 3/2564 วันที่ 19 ตลุ าคม 2564
แบบรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย

ทีร่ ับการสนบั สนุนจาก สถาบนั วิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.)

1. ชอื่ โครงการ ................การปล่อยเชื้อไวรสั ท่ีมีชวี ติ อยา่ งยืดเยอ้ื ในผูป้ ว่ ย COVID-19..........................
เลขที่ขอ้ ตกลง ............ 63-054...............................

2. ช่ือหวั หนา้ โครงการ..ศ.นพ.ประเสรฐิ เอือ้ วรากุล....หนว่ ยงาน..คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพพยาบาล....
3. ระยะเวลารายงานตั้งแตว่ ันท.ี่ .............................................ถงึ ..................มยิ 64............…………………..
4. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ

1. เพือ่ แยกเชื้อ SAR-CoV2 จากผูป้ ่วยท่พี บ RNA ของไวรัสดว้ ยวธิ ี RT-PCR อย่เู ป็นเวลานานเกนิ 1 สัปดาห์
2. เพื่อทดสอบหาแอนตบิ อดที ้ัง neutralizing antibody และแอนตอิ บดีแบบอืน่ ๆที่อาจสมั พันธก์ บั การตรวจไม่

พบเชอ้ื ในผู้ป่วยเหลา่ นั้นในเวลาเดยี วกบั ทเ่ี ก็บตวั อยา่ งเพาะเชอ้ื
5. สถานะโครงการ

 ปิดโครงการแล้ว

ไม่มีการปลอ่ ยเช้อื ทมี่ ีความสามารถแพร่เช้ือได้ แตม่ บี างรายท่อี าจมกี ารแพร่เชอื้ ได้อย่างยืดเย้ือเนอ่ื งจากมีความ
บกพรอ่ งของร่างกายในการสรา้ งภมู ิคุม้ กันเพ่อื กำจดั เชือ้ โดยจะยังตรวจพบปริมาณสารพันธุกรรมของไวรัสใน
ระดบั สูงและตรวจไมพ่ บ neutralizing antibody ซงึ่ อาจใช้เปน็ ตัวบง่ ชี้วา่ อาจยังมกี ารแพรเ่ ช้ือ
7. มีแผนการนำผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ย่างไร

กำลงั จดั ทำ manuscript เพอื่ ตีพิมพ์เผยแพร่

๔๑๖

เอกสารประกอบประชมุ คณะกรรมการบริหารงานวิจยั Covid-19 ครั้งที่ 3/2564 วนั ที่ 19 ตุลาคม 2564
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการวจิ ยั

ที่รบั การสนับสนุนจาก สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสขุ (สวรส.)

1. ชื่อโครงการ การศึกษาภูมิคุ้มกนั ในผู้ท่ีหายและผูท้ ี่มีความเสีย่ งสูงต่อการติดเช้ือ จากโรคโคโรนาไวรสั สายพันธุ์ใหม่
(โควิด-19) เลขที่ขอ้ ตกลง 63-146

2. ช่ือหวั หน้าโครงการ ผศ.นพ.ดร.ปกรฐั .หงั สสตู หนว่ ยงาน จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั
3. ระยะเวลารายงานตั้งแตว่ ันท่ี 1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 ถงึ 25 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
4. การขยายเวลาครัง้ ท่ี 1 ถงึ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2565
5. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อวิเคราะห์การตอบสนองทางภูมิคุ้มกนั โดยการสร้างแอนติบอดีต่อไวรัส SARS-CoV-2 เพือ่ ศึกษาภูมิคุ้มกันหมู่
ในประชากรไทยทั่วไป, กลุ่มที่เคยสัมผัสเคส หรือมีความเสี่ยงสูงในการติดเชื้อก่อโรคโควิด-19, ผู้ติดเชื้อและหาย
จากการตดิ เช้อื , ผูท้ กี่ ำลงั ตดิ เชอื้ และผูท้ ีไ่ ดร้ ับวคั ซนี

2. เพ่ือวเิ คราะห์การตอบสนองทางภูมคิ ุ้มกันของทีเซลล์ที่จำเพาะต่อไวรัส SARS-CoV-2 (SARS-CoV-2-specific T
cells) เพือ่ ศกึ ษาภูมิคมุ้ กันหมู่ในประชากรไทยทั่วไป, กล่มุ ทีเ่ คยสัมผัสเคส หรอื มคี วามเส่ียงสูงในการติดเชื้อก่อโรค
โควิด-19, ผตู้ ิดเชอ้ื และหายจากการตดิ เชือ้ , ผู้ทก่ี ำลงั ตดิ เชอ้ื และผทู้ ไี่ ด้รับวคั ซนี
6. สถานะโครงการ
 ปดิ โครงการแลว้
 อย่รู ะหวา่ งการจดั ทำรายงานการวจิ ัยฉบับสมบูรณ์
 อยรู่ ะหวา่ งดำเนนิ การวิจยั โดย

▪ ความก้าวหน้าของการดำเนินงานคดิ เป็นร้อยละ 70
▪ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม พ.ศ. 2565
7. ความกา้ วหนา้ การดำเนินงาน
7.1 การดำเนินงานวิจัยที่ไดด้ ำเนนิ การงานไปแล้ว
- ผลการวิเคราะห์การสร้างแอนติบอดีต่อไวรัส SARS-CoV-2 ในตัวอย่างที่เก็บไว้ก่อนการระบาดของโรค
COVID-19
- ผลการวิเคราะห์การสรา้ งแอนตบิ อดตี ่อไวรัส SARS-CoV-2 ในตวั อยา่ งของผู้ปว่ ยโรคโควดิ , ผ้มู คี วามเสี่ยงสูง, ผู้
ตดิ เชื้อและหายจากการตดิ เชื้อ, ผู้ที่กำลงั ตดิ เชอื้ และผ้ทู ี่ได้รบั วัคซนี
- ผลการวิเคราะห์การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของทีเซลล์ที่จำเพาะต่อไวรัส SARS-CoV-2 (SARS-CoV-2-
specific T cells) ของผู้ป่วยโรคโควิด, ผู้มีความเสี่ยงสูง, ผู้ติดเชื้อและหายจากการติดเชื้อ, ผู้ที่กำลังติดเช้ือ
และผู้ที่ได้รับวัคซีน
7.2 ผลการดำเนนิ งาน
- การวัดปริมาณของการสร้างแอนติบอดีชนิด IgA, Anti-S IgG และ Anti-N IgM โดยใช้ตัวอย่างเลือด Pre-
pandemic sera ทง้ั หมด 151, 101 และ 101 ตวั อย่าง ตามลำดบั

๔๑๗

- การวัดปริมาณของการสร้างแอนติบอดีชนิด Anti-S IgG และ anti-S IgA โดยใช้ตัวอย่างเลอื ดจากผูท้ ี่กำลังตดิ
เชือ้ ทั้งหมด 188 คน

- การวัดปริมาณของการสร้างแอนติบอดีชนิด Anti-S IgG และ anti-S IgA โดยใช้ตัวอย่างเลือดจากผู้ที่ติดเชื้อ
และหายแลว้ ทง้ั หมด 30 คน

- การวัดปริมาณของการสร้างแอนตบิ อดีชนิด total antibody ต่อส่วน spike ของไวรัส ในผู้ที่ไดร้ ับวัคซีนชนดิ
เชอื้ ตาย CoronaVac ครบสองเข็มมาแลว้ เป็นระยะเวลาสี่สัปดาห์ ทงั้ หมด 250 คน

- การวัดปริมาณของการสร้างแอนติบอดชี นิด total antibody ต่อส่วน spike ของไวรัส ในผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิด
viral vector ยห่ี อ้ แอสตราเซเนก้าครบสองเขม็ มาแล้วเป็นระยะเวลาส่ีสัปดาห์ ทัง้ หมด 100 คน

- การตรวจวัดการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของทีเซลล์ที่จำเพาะต่อไวรัส SARS-CoV-2 (SARS-CoV-2-specific
T cells) ด้วยวิธี ELISpot

8. มแี ผนการนำผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งไร
ผลการศกึ ษาของปริมาณการสร้างแอนตบิ อดใี นผู้ท่ีกำลังติดเชื้อ ผทู้ ตี่ ดิ เช้อื และหายแลว้ ผทู้ ่ีมีความเส่ียงสูง

ในการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 รวมทั้งผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิดเชือ้ ตาย CoronaVac หรือวัคซีนชนิด viral vector ยี่ห้อ
แอสตราเซเนก้าครบสองเข็มมาแล้วเป็นระยะเวลาสี่สัปดาห์ สามารถบอกได้ถึงประสิทธิภาพของวัคซีนในการ
กระตุ้นการสร้างแอนติบอดีทีจ่ ำเพาะต่อเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ซึ่งการศึกษาได้มีการทดสอบวธิ ีการตรวจวัดก่อน โดย
การใช้ pre-pandemic serum มาเป็นตัวทดสอบ ทำให้มั่นใจไดว้ ่าการตรวจสอบแอนตบิ อดนี ้ีมีความจำเพาะตอ่
เชื้อไวรัสท่ีก่อให้เกิดโรคโควดิ -19 ที่มีการระบาดอยู่ในปัจจุบนั และการวัดการตอบสนองของทีเซลล์ท่ีจะเพาะต่อ
เชื้อไวรัสโควิด-19 สามารถใช้อธิบายการกระตุ้นภูมิคุ้มกันชนิดทีเซลล์ภายหลังการได้รับวัคซีน เมื่อเปรียบเทียบ
กับการติดเชื้อ

๔๑๘

เอกสารประกอบประชุมคณะกรรมการบริหารงานวิจัย Covid-19 คร้งั ที่ 3/2564 วันที่ 26 ตลุ าคม 2564
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการวจิ ัย

ทีร่ บั การสนับสนนุ จาก สถาบนั วิจัยระบบสาธารณสขุ (สวรส.)

1. ชื่อโครงการ ความชกุ และอุบัติการณ์ของการติดเช้อื ด้วยการตรวจทางซีโรโลยแี ละการตอบสนองทางภูมคิ มุ้ กันต่อ
การตดิ เช้ือ SARS-CoV-2 ในบคุ ลากรทางการแพทย์ดา่ นหนา้ ทดี่ แู ลผู้ป่วยเปรียบเทยี บกบั บคุ ลากรทางการแพทยท์ ี่
ไมไ่ ดด้ แู ลผปู้ ่วย COVID-19 ในสถานการณก์ ารระบาดของโรค COVID-19 ภายในโรงพยาบาลศิรริ าช
กรุงเทพมหานคร…………เลขทีข่ อ้ ตกลง ............63-063............................

2. ชื่อหวั หนา้ โครงการ......รองศาสตราจารยแ์ พทย์หญงิ ณสกิ าญจน์ อังคเศกวินัย.....………………..……………….……….
หนว่ ยงาน......คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหิดล………………..………………..………………..…………

3. ระยะเวลารายงานตั้งแตว่ ันท่ี.....27 เมษายน 2563............ถึง............17 ตลุ าคม 2564.............................…………..
4. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ

วตั ถุประสงคห์ ลกั :
 เพ่อื เปรียบเทียบความชุกและอุบัติการณข์ องการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในบคุ ลากรทางการแพทย์ด่านหน้าท่ี

ดูแลผ้ปู ่วย COVID-19 กับบคุ ลากรทางการแพทยท์ ีไ่ ม่ไดด้ แู ลผปู้ ่วย COVID-19 ในสถานการณก์ ารระบาดของ
โรค โดยการวิเคราะหด์ ว้ ยวิธี ELISA and neutralization assays
วตั ถุประสงค์รอง:
 เพื่อประเมินระดับแอนตบิ อดี และความคงอย่ขู องแอนติบอดีต่อเช้อื SARS-CoV-2 โดยการวเิ คราะหด์ ้วยวิธี
ELISA and neutralization assays
 เพอื่ ประเมนิ ระดับ และลกั ษณะ ของ SARS-CoV-2-specific memory B and T cells ที่เกิดจากการตดิ เชื้อ
 เปรียบเทียบการตอบสนองทางภมู ิคุ้มกนั โดยธรรมชาติของบุคลากรท่ีมกี ารตดิ เช้อื SARS-CoV2 ระหวา่ งผ้ทู ่ี
แสดงอาการและไม่แสดงอาการ

5. สถานะโครงการ
ปิดโครงการแลว้
อยู่ระหวา่ งการจัดทำรายงานการวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์

× อยูร่ ะหวา่ งดำเนนิ การวจิ ัย โดย

 ความกา้ วหน้าของการดำเนินงานคิดเปน็ รอ้ ยละ...90.........
 คาดวา่ จะแลว้ เสร็จภายในเดอื นธนั วาคม 2564..............................................
6. ความก้าวหนา้ การดำเนินงาน
6.1 การดำเนนิ งานวจิ ยั ที่ได้ดำเนินการงานไปแลว้
การศึกษานเี้ ป็นการศึกษาแบบ observational prospective study ในกลุ่มบคุ ลากรทางการแพทย์ท่เี ป็น
ดา่ นหน้าและที่ไม่ใช่ด่านหนา้ เชิญชวนอาสาสมคั รท่ีเป็นบุคลากรเขา้ ร่วมโครงการวจิ ัยทัง้ ส้ิน 360 คน โดยเปน็
บุคลากรทางการแพทยด์ า่ นหนา้ ทด่ี แู ลคนไข้ COVID-19 จำนวน 240 คน และบคุ ลากรท่ีไม่ได้ดแู ลคนไข้ COVID-
19 จำนวน 120 คน โดยติดตามอาสาสมัครรวม 4 ครง้ั ท่ี baseline เดือนที่ 1, 3 และ 6 เดอื น แต่เน่ืองจาก

๔๑๙

ควบคุมการระบาดไดด้ ีมากในประเทศในชว่ งใกล้ครบนดั 6 เดือน จงึ ไดป้ รบั เปลยี่ นนัดครัง้ สุดทา้ ยเป็นท่ี 1 ปี หลงั
เข้าโครงการ ซง่ึ ไดเ้ จาะเลอื ดครบทุก visit แล้ว
6.2 ผลการดำเนนิ งาน

จากอาสาสมคั รในโครงการรวม 360 คน พบวา่ รอ้ ยละ 82.2 เป็นเพศหญิง มีอายเุ ฉลย่ี 32.5 ปี ราวรอ้ ยละ
32 เปน็ แพทย์ ราวร้อยละ 31 เปน็ พยาบาล ร้อยละ 21 เป็นผชู้ ว่ ยพยาบาล และร้อยละ 15 เป็นสาขาวิชาชีพอื่น
โดยราวร้อยละ 42 ทำงานในภาควิชาอายุรศาสตร์ บุคลากรมีทั้งส่วนทท่ี ำงานทีต่ กึ ผู้ป่วยนอก และ ทำงานในหอ
ผปู้ ่วย สำหรบั อาสาสมัครทที่ ำงานในหอผปู้ ว่ ย ราวร้อยละ 27 ทำงานในหอผู้ปว่ ยโควิดรวมของอายรุ ศาสตร์
(cohort medical ward) เป็นหลัก รองลงมาราวร้อยละ 16.7 ทำงานในหอผู้ป่วยไอซียแู ยกโรค เมื่อแยกกลมุ่
ระหว่างบคุ ลากรดา่ นหน้า 240 คน และทไี่ มใ่ ชด่ ่านหนา้ 120 คน พบวา่ บุคลากรดา่ นหนา้ เปน็ เพศชายมากกว่า มี
อายนุ ้อยกวา่ และเปน็ กลมุ่ พยาบาลมากกว่าแพทย์ บคุ ลากรด่านหน้าราวครึง่ หนึง่ ทำงานในภาควชิ าอายุรศาสตร์
โดยปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยเป็นหลกั

สำหรับผลการตรวจ rapid test ด้วยวิธี Pan-IgG by Roche (Elecsys Anti-SARS-CoV-2) พบ
อาสาสมัคร 1 รายในกลุ่มควบคุมมผี ลบวกด้วยวธิ ี rapid test ต้งั แตแ่ รกเขา้ โครงการและผลเป็นบวกในทุก visit
โดยอาสาสมคั รรายนีไ้ ดด้ ำเนินการทำ NP swab ส่งตรวจ RT-PCR for COVID-19 ตั้งแต่แรกเข้าโครงการ โดย
พบว่าผล PCR-COVID เป็นลบ ผลการตรวจ rapid test ของอาสาสมคั รอีก 359 ราย เปน็ ลบตลอดการติดตามใน
โครงการวิจยั จนถงึ นัดครั้งสุดทา้ ย

สำหรับผลการตรวจ quantitative antibody ชนิด anti-SARS-CoV-2 RBD IgG ด้วยวิธี ELISA พบว่ามี
อาสาสมคั ร 2 ราย (1/173 และ 1/187) ในกลุ่มบคุ ลากรดา่ นหน้าท่ีมรี ะดบั แอนติบอดสี งู ขึ้นชดั เจนใกล้เคียงกับ
ผปู้ ว่ ยติดเชื้อ ต้ังแตแ่ รกเข้าโครงการ โดยพบวา่ มีระดบั สูงตลอด 4 visit ตั้งแตเ่ ขา้ รว่ มโครงการและระดบั คงอยู่
จนถงึ 48 สัปดาห์ คิดเปน็ การตดิ เช้ือจากการตรวจ anti-SARS-CoV-2 RBD IgG ดว้ ยวธิ ี ELISA รอ้ ยละ 0.83
(2/240) ของบุคลากรดา่ นหน้า และมอี าสาสมคั ร 1 ราย (2/063) ในกลมุ่ ท่ีไมใ่ ชบ่ ุคลากรดา่ นหนา้ ที่มีระดับ
แอนติบอดสี งู ขึน้ ชดั เจนใกลเ้ คียงกบั ผปู้ ่วยตดิ เช้อื ใน visit ที่ 3 คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.83 (1/120) ของบคุ ลากรทไ่ี มใ่ ช่
ดา่ นหน้า อย่างไรก็ตาม อาสาสมัครรายนไ้ี มไ่ ด้มารบั การเก็บตวั อย่างใน visit 4 นอกจากน้ี พบวา่ มีอาสาสมคั ร 13-
21 รายในกลมุ่ บคุ ลากรด่านหน้า และ 4-7 ราย ในกลมุ่ ท่ีไม่ใช่บคุ ลากรด่านหน้าทม่ี ีระดบั แอนติบอดอี ยู่ในเกณฑ์
borderline อาสาสมัคร 1 ราย ที่มีผลบวกจาก rapid test มผี ลการตรวจ anti-SARS-CoV-2 RBD IgG ด้วยวธิ ี
ELISA เปน็ ลบ ตลอดการศกึ ษา

สำหรบั อาสาสมคั รทมี่ แี อนตบิ อดเี ป็นบวกและ borderline ใน visit 1-3 ไดท้ ำการตรวจเพิม่ เตมิ ด้วยวิธี
micro-neutralization assay ตอ่ เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ทแี่ ยกได้ในประเทศไทย เมอื่ เดอื นพ.ค. 2563 ให้ผลเป็น
ลบ (titer < 10) ทุกตวั อยา่ ง ดงั นนั้ ระดบั anti-SARS-CoV-2 RBD IgG ทส่ี ูงจงึ ไมน่ ่าเป็นการติดเชื้อ SARS-CoV-2
แต่อาจเป็นแอนติบอดตี ่อ human coronavirus ชนิดอื่นท่ีพบมีการระบาดในประเทศไทย ซงึ่ จะมกี ารทดสอบ
เพมิ่ เติมด้วยวธิ ี flow cytometry-based assay ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ผลการทดสอบดว้ ยวิธี chemiluminescent
microparticle immunoassay (CMIA) โดยเครอื่ ง ARCHITECT ของ Abbott Laboratories ในการวดั ระดบั
แอนติบอดีต่อ SARS-CoV-2 nucleocapsid protein (NP) ทีไ่ ดท้ ำในภายหลังสำหรบั โครงการ
7. มีแผนการนำผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งไร

๔๒๐

 จากผลการวิจยั พบว่ากลุม่ บุคลากรทางการแพทย์ทั้งหมดในการศึกษามอี ตั ราการตดิ เชอ้ื ต่ำ โดยบุคลากร
ดา่ นหน้าไมไ่ ด้มอี ตั ราการตดิ เชอื้ มากกวา่ กลุ่มทไ่ี ม่ใชด่ ่านหน้า แม้จะทำงานเกีย่ วข้องกับผปู้ ว่ ยโควดิ อย่าง
ต่อเนอื่ ง ซึ่งแสดงถงึ วา่ การใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกันตนเองในการดแู ลผปู้ ว่ ยเพยี งพอในการป้องกันการติดเช้ือจาก
การทำงานได้ ซึ่งจะชว่ ยสรา้ งความมัน่ ใจใหก้ ับบุคลากรทางการแพทยท์ ่ที ำงานเกีย่ วขอ้ งกับผปู้ ่วยโควิด
โดยปัจจยั ท่ีพบการตดิ เชอ้ื ในบคุ ลากรอาจสัมพนั ธก์ ับการติดเชอ้ื ท่ีไม่เก่ียวกบั การทำงานและจำนวนผตู้ ดิ
เชื้อในประเทศเป็นหลกั

 การทดสอบทางซีโรโลยีที่ใช้ในการยนื ยนั การตดิ เชื้อหลากหลายวธิ ี เช่น anti-NP rapid test หรอื การ
ตรวจ anti-RBD-IgG ดว้ ยวิธี ELISA หรือ CMIA พบการเกิด discordant ได้ โดยผลบวกจาการตรวจโดย
วธิ ีใดวิธีหนงึ่ อาจบง่ ถงึ การมีแอนติบอดตี อ่ human coronavirus ชนิดอ่ืนที่พบมกี ารระบาดในประเทศ
ไทย โดยไม่จำเพาะเจาะจงกับการติดเชือ้ โควิด ซงึ่ จะมีการทดสอบเพิ่มเติมด้วยวธิ ี flow cytometry-
based assay ต่อไป

๔๒๑

เอกสารประกอบประชุมคณะกรรมการบริหารงานวจิ ัย Covid-19 คร้ังท่ี 3/2564 วันที่ 26 ตุลาคม 2564
แบบรายงานความกา้ วหน้าโครงการวจิ ัย

ทรี่ ับการสนับสนนุ จาก สถาบนั วิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

1. ชือ่ โครงการ โควดิ -19 ในบคุ ลากรทางการแพทยใ์ นประเทศไทย เลขทขี่ ้อตกลง สวรส.63-067
2. ชอ่ื หัวหนา้ โครงการ นพ.รุจิภาส สริ จิ ตภุ ัทร หนว่ ยงาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล
3. ระยะเวลารายงานตงั้ แต่วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2563 ถงึ 30 กันยายน 2564
4. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ

- เพ่ือทราบอตั ราและปัจจยั เสยี่ งของ COVID-19 ในบุคลากรทางการแพทย์ในประเทศไทย
- เพือ่ เปรยี บเทียบอตั ราและปจั จยั เสยี่ งของ COVID-19 ในกล่มุ บุคลากรทางการแพทยท์ ี่ดูแลผูป้ ่วย COVID-19

กบั กลมุ่ บุคลากรทางการแพทยท์ ่ีไม่ได้ดูแลผปู้ ว่ ย COVID-19
5. สถานะโครงการ

ผลงานวิจยั มีประโยชนค์ ือ พิสจู นไ์ ดว้ า่ อตั ราการการป่วย COVID-19 ในบุคลากรทางการแพทย์ท่ดี แู ลผปู้ ว่ ย
COVID-19 ไมส่ งู กว่าในบคุ ลากรทไ่ี ม่ได้ดแู ลผ้ปู ว่ ย COVID-19 แสดงว่า มาตราการปอ้ งกนั การตดิ เช้ือ SARS-CoV-
2 ของบคุ ลากรทางการแพทย์ในประเทศไทยมปี ระสทิ ธภิ าพในการป้องกนั การติดเชื้อได้ดี
ดังนนั้ ควรสนับสนนุ ให้บคุ ลากรทางการแพทย์ปฏบิ ัตติ ามมาตราการท่ีแนะนำอยา่ งเครง่ ครัดและเผยแพรอ่ งค์ความรู้
เหลา่ น้แี กบ่ ุคลากรทางการแพทยแ์ ละสังคมต่อไป

๔๒๓

เอกสารประกอบประชมุ คณะกรรมการบริหารงานวจิ ัย Covid-19 ครง้ั ท่ี 3/2564 วันที่ 26 ตลุ าคม 2564
แบบรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจยั

ทรี่ ับการสนบั สนนุ จาก สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสขุ (สวรส.)

1. ช่ือโครงการ ประสิทธิภาพของยาตา้ นไวรสั และวธิ ีการต่างๆ สำหรบั การกาจดั เชอ้ื ซารส์โคว-ี 2 ทใ่ี นทางเดินหายใจ
ของผทู้ ่ีเพิ่งติดเช้ือซารส์โคว-ี 2 เลขที่ขอ้ ตกลง สวรส.63-069

2. ชือ่ หวั หนา้ โครงการ นพ.รจุ ิภาส สริ จิ ตุภทั ร หน่วยงาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล
3. ระยะเวลารายงานตงั้ แตว่ นั ที่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กนั ยายน 2564
4. วัตถุประสงคข์ องโครงการ

- เพ่อื ทราบประสทิ ธิภาพของ povidone-iodine (PVI) ในการกำจดั เชือ้ SARS-CoV-2 ที่ทางเดินหายใจสว่ นบน
ของผ้ปู ่วยโควิด-19

5. สถานะโครงการ
ปิดโครงการแลว้

คดิ เป็น 0.8 log reduction (median, IQR: 0.4-1.8 log reduction) และ percent reduction 81.3%
(median; IQR: 56.3%-98.4%)
ดงั นน้ั PVI มปี ระสิทธิภาพในการลดเช้ือ SARS-CoV-2 ทท่ี างเดินหายใจสว่ นบนของผปู้ ่วยโควิด-19 แต่ไมเ่ ทยี บเทา่
กับประสิทธภิ าพของยาในหลอดทดลอง
7. มแี ผนการนำผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งไร
ผลการวจิ ัยน้มี ปี ระโยชนค์ ือ พสิ จู นไ์ ด้ว่า PVI มปี ระสิทธภิ าพในการลดเช้ือ SARS-CoV-2 ทที่ างเดนิ หายใจส่วนบน
ของผปู้ ว่ ยโควิด-19 แต่ยงั ไม่เทยี บเทา่ กบั ประสิทธภิ าพของยาในหลอดทดลอง
การจะนำ PVI มาใชเ้ พื่อปอ้ งกนั หรือรกั ษา SARS-CoV-2 ในทางคลินิก อาจต้องใช้ยาในความเขม้ ขน้ ทส่ี ูงกวา่ ทีม่ ใี ช้
โดยทวั่ ไป หรือตอ้ งบรหิ ารยาบ่อยหรือนานขึ้น ซง่ึ น่าจะมกี ารศึกษาเพมิ่ เตมิ ตอ่ ไป
ดังนน้ั ทางผูว้ ิจัยจะนำองค์ความรู้เหล่าน้ีเผยแพร่สู่วงวิชาการและสังคมตอ่ ไป

๔๒๕

เอกสารประกอบประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารงานวจิ ยั Covid-19 ครั้งท่ี 3/2564 วนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2564
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการวจิ ยั

ที่รับการสนบั สนุนจาก สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

1. ชื่อโครงการ การใชย้ าฟาวิพิราเวียรเ์ ทยี บกับการรกั ษาแบบประคบั ประคองในผูป้ ่วยโควิด-19 ที่มีอาการไมห่ นัก
และยังไม่มีภาวะปอดอกั เสบ เลขท่ขี อ้ ตกลง สวรส.63-088

2. ชือ่ หัวหน้าโครงการ นพ.รุจิภาส สิรจิ ตุภัทร หน่วยงาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล
3. ระยะเวลารายงานต้งั แตว่ ันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ถงึ 30 กันยายน 2564
4. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ

- เพอ่ื เปรียบเทยี บประสทิ ธิภาพของยา favipiravir กบั การรักษาแบบประคับประคองในรกั ษาผปู้ ่วยติดเชอ้ื
SARS-CoV-2 (COVID-19) ทม่ี อี าการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ

5. สถานะโครงการ

เอกสารประกอบประชุมคณะกรรมการบรหิ ารงานวจิ ัย Covid-19 คร้งั ท่ี 3/2564 วันท่ี 26 ตุลาคม 2564
แบบรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวิจัย

ทรี่ ับการสนบั สนุนจาก สถาบันวจิ ยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.)

1. ชอื่ โครงการ โครงการวิจัยและพฒั นาองค์ความร้เู พอื่ รองรับการระบาดของโรคโคโรน่าสายพันธใุ์ หม่ 2019
(COVID-19) ระยะที่ 1 เลขที่ขอ้ ตกลง 63-095 นำเสนอโดย ดร.นพ.สรุ ัคเมธ มหาศริ ิมงคล
กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

2. ระยะเวลารายงานตั้งแตว่ ันที่............ 1 พ.ค. 2564...................ถึง....................30 ก.ย. 2564........…………………..
3. การขยายเวลาคร้งั ท.ี่ .1....ถึงวนั ที่……31 พ.ค. 2564………………………………………………………………………………….
4. วัตถุประสงค์ของโครงการ

• เพื่อสร้างคลังตัวอย่างชีวภาพ (Bio Bank) ของผู้ป่วยโรค COVID-19 ในประเทศไทย สำหรับงานวิจยั เกี่ยวกับ
โรคนใี้ นอนาคต โดยรวบรวมและจดั เกบ็ ตัวอย่างชีวภาพต่าง ๆ ทงั้ กล่มุ ผู้ปว่ ยยนื ยนั (confirmed cases) และ
ผปู้ ว่ ยเข้าเกณฑเ์ ฝา้ ระวงั (suspect cases) อยา่ งเป็นระบบ มคี ุณภาพ มปี ระสิทธิภาพ และมคี วามปลอดภยั

• เพื่อศึกษาความแตกต่างของปัจจัยทางพันธุกรรมเจ้าบ้าน (host genetic factors) ในผู้ป่วย COVID-19 ใน
ประเทศไทย ที่ไม่แสดงอาการ มีอาการไม่รุนแรง อาการรุนแรง (ครอบคลุมกลุ่มที่ต้องนอนโรงพยาบาล) และ
อาการรนุ แรงมาก (กล่มุ ทตี่ อ้ งนอนหอ้ งผปู้ ่วยหนกั หรอื ใส่เครื่องชว่ ยหายใจ)

• เพื่อศึกษาความแตกต่างของปัจจัยทางภูมิคุ้มกัน (immune factors) ในผู้ป่วย COVID-19 ในประเทศไทย ท่ี
ไม่แสดงอาการ มีอาการไม่รุนแรง อาการรุนแรง (ครอบคลุมกลุ่มที่ต้องนอนโรงพยาบาล) และอาการรุนแรง
มาก (กลุ่มท่ีตอ้ งนอนหอ้ งผู้ปว่ ยหนักหรือใสเ่ ครอ่ื งช่วยหายใจ)

• เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อ SARS-CoV-2 สายพันธุ์ต่าง ๆ (strain variation) กับผู้ป่วย COVID-19
ในประเทศไทย ที่ไม่แสดงอาการ มีอาการไม่รุนแรง อาการรุนแรง (ครอบคลุมกลุ่มที่ต้องนอนโรงพยาบาล)
และอาการรนุ แรงมาก (กลมุ่ ท่ีตอ้ งนอนหอ้ งผู้ป่วยหนักหรอื ใส่เคร่ืองชว่ ยหายใจ)

5. ความกา้ วหนา้ การดำเนินงาน
5.1 การดำเนินงานวิจัยท่ีไดด้ ำเนินการงานไปแลว้
การเก็บตัวอย่างจากอาสาสมัคร
คณะผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บตัวอย่างเลือดจากอาสาสมัครที่ยินยอมเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 3,819 ราย
แบ่งเป็น กลุ่มผู้ป่วยโควิด 19 (case) จำนวน 2,799 และกลุ่มควบคุม (control) จำนวน 1,020 ราย โดยมี 985
ราย ทไ่ี ด้รบั การเก็บตัวอย่าง 2 ครงั้ และมี 3 ราย ท่ีไดร้ ับการเกบ็ ตัวอย่าง 3 ครั้ง รวมตัวอยา่ งท้งั สนิ้ 4,810 ตวั อย่าง
รายละเอยี ดตามตารางท่ี 3 ซงึ่ ตัวอย่างในโครงการมาจาก 7 แหลง่ คอื
1. สถาบนั โรคทรวงอก กรมการแพทย์ นนทบุรี
2. โรงพยาบาลบ้านแพ้ว สมทุ รสาคร
3. ตลาดกลางกุ้ง สมทุ รสาคร
4. โรงงานโกลดเ์ ด้นไพร์ซแคนนง่ิ สมุทรสาคร
5. โรงงานบางกอกซีฟดู้ สมทุ รสาคร
6. โรงพยาบาลมงกุฎวฒั นะ กรุงเทพมหานคร
7. แคมปค์ นงานกอ่ สร้างหลักส่ี กรุงเทพมหานคร
สามารถแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 5 กลมุ่ จากระยะเวลาท่หี ลังตดิ เชอื้ (post COVID19 infection) คอื

๔๒๗

รปู ที่ 3 Dot plot แสดงการกระจายตวั ของระดับแอนตบิ อดชี นดิ IgG ที่ 1 และ 3 เดอื นหลังตดิ เชือ้ โดยจุดหน่ึงจุด
แสดงระดับ IgG ของ 1 ตัวอย่าง จุดสีฟ้าแสดงค่าบวก จุดสีแดงแสดงค่าลบ เส้นสีดำแสดงค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน

5.4 จากการดำเนนิ งานท่ผี า่ นมา ผลการดำเนินงานสามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้หรือไม่ อยา่ งไร
โครงการวิจยั และพัฒนาองค์ความร้เู พื่อรองรับการระบาดของโรคโคโรน่าสายพันธ์ใุ หม่ 2019 (COVID-19)

ระยะที่ 1 ได้ดำเนินการวิจัย โดยบรรลุวัตถุประสงค์ในสร้างคลังตัวอย่างชีวภาพ (Bio Bank) ของผู้ป่วยโรค
COVID-19 ในประเทศไทย สำหรับงานวิจัยเกี่ยวกับโรคนี้ในอนาคต โดยรวบรวมและจัดเก็บตัวอย่างชีวภาพ
ต่าง ๆ ท้งั กลุ่ม ผูป้ ่วยยนื ยัน (confirmed cases) และผปู้ ่วยเขา้ เกณฑ์เฝ้าระวงั (suspected cases)

ในเบื้องต้นได้ผลการศึกษาที่อาจแสดงถึงความแตกต่างของปัจจัยทางพันธุกรรมเจ้าบ้าน (host genetic
factors) ในผู้ปว่ ย COVID-19 ในประเทศไทย ที่มผี ลตอ่ การติดเช้ือแบบไม่แสดงอาการและ มอี าการไม่รุนแรง
และ ได้ศึกษาทราบถึงความแตกต่างของปัจจัยทางภูมิคุ้มกัน (immune factors) ในผู้ป่วย COVID-19 ใน
ประเทศไทย ที่ไม่แสดงอาการ มีอาการไม่รุนแรง อาการรุนแรง (ครอบคลุมกลุ่มที่ต้องนอนโรงพยาบาล) และ
อาการรุนแรงมาก (กลุ่มท่ตี ้องนอนห้องผู้ป่วยหนกั หรอื ใสเ่ คร่ืองช่วยหายใจ) ซึง่ จะดำเนินการสรปุ ผลตอ่ ไป
นอกจากนี้โครงการวิจัยนี้ยังเป็นฐานในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อ SARS-CoV-2 สายพันธุ์ต่าง ๆ
(strain variation) กับผู้ป่วย COVID-19 ในประเทศไทย โดยเป้นข้อมูลสำคัญสำหรับการดำเนินการติดตาม
สายพนั ธุ์ของเช้อื SARS-CoV-2 ในประเทศไทย

ผลการศึกษาทำให้เกิดนวตั กรรมในการควบคุมโรคโควิด 19 คือ วิธีการตรวจหาเช้อื ไวรสั SARS-CoV-2 ใน
ตัวอย่างน้ำลาย และแนวทางในการเก็บตัวอย่างน้ำลายเพื่อสำรวจสถานการณ์ระบาด ผลการตรวจภูมิคุ้มกัน
นำไปประกอบการจัดทำแผน Bubbles and seals ในจังหวัดสมุทรสาคร และ เตรียมความพร้อมให้กับ
กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ในการพัฒนาระบบถอดรหัสพนั ธุกรรมทั้งจโี นมของเช้ือไวรสั SARS-CoV-2

๔๒๘

การดำเนินการในระยะต่อไป คือ การตรวจจีโนไทป์ของอาสาสมคั รเพิ่มเติมเพ่ือวเิ คราะหห์ าปจั จัยเสี่ยงทาง
พันธุกรรมทีอาจมีผลต่อการติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 และเปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงและ
อาการไม่รุนแรง ซึ่งต้องสีบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมหลังได้รบั งบประมาณครัง้ สดุ ท้าย โดยผลการศึกษาท้ังหมดจะถกู
นำเสนอในวารสารวชิ าการตอ่ ไป

๔๒๙

เอกสารประกอบประชุมคณะกรรมการบรหิ ารงานวิจัย Covid-19 ครง้ั ที่ 3/2564 วันท่ี 19 ตุลาคม 2564
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย

ทร่ี บั การสนบั สนนุ จาก สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสขุ (สวรส.)

1. ช่ือโครงการการศกึ ษาไปข้างหนา้ เปดิ ฉลาก แบบสุ่มในหลายสถาบนั ระหวา่ งยา ยับยงั้ เอนไซม์โปรตีเอส, โอเซลทามิ
เวยี , ฟาวิพริ าเวีย และ คลอโรค วินในการรกั ษาโรคตดิ เชื้อไวรัส SAR-CoV-2 (โควิด 19) เลขทขี่ ้อตกลง 63-059

2. ชือ่ หัวหนา้ โครงการ...รศ.นพ.สบื สาย คงแสงดาว..หนว่ ยงาน...........กรมการแพทย์.....................
3. ระยะเวลารายงานต้งั แตว่ ันท.ี่ .1 พฤษภาคม 2564 ถึง...30..กันยายน 2564.........................…………………..
4. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ

เพ่ือประเมนิ ประสทิ ธิผลของยายับยั้งเอนไซม์โปรตเี อส, โอเซลทามิเวยี , ฟาวิพิราเวยี และ คลอโรควินในการรักษา
โรคติดเช้อื ไวรัส SAR-CoV-2 (โควิด 19 )
5. สถานะโครงการ

ใหผ้ ลเป็นลบสำหรับ SARS-CoV-2 ในผูป้ ่วย COVID-19 ทีไ่ มร่ นุ แรง ส่วนในการตดิ เช้ือไวรสั โควิด-19 ใน
ระดบั ปานกลางถงึ รนุ แรง ยาฟาวพิ ริ าเวยี รร์ ่วมกบั ดารุนาเวยี ร-์ รโิ ทนาเวียรแ์ ละไฮดรอกซคี ลอโรควินเหนือกว่า
ยาตา้ นไวรสั ชนิดอน่ื ๆ ในแง่ของระยะเวลาของการกำจดั เช้อื โดยการตรวจ PCR ใหผ้ ลเปน็ ลบสำหรบั SARS-
CoV-2 และสามารถลดการเสยี ชีวิตไดด้ ีกว่ายาต้านไวรัสสูตรอื่นๆ
7. มีแผนการนำผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชนไ์ ด้อยา่ งไร

1เผยแพร่การทบทวนฐานขอ้ มลู ใน Preprint with The Lancet
https://dx.doi.org/10.2139/ssrn.3633173
ตงั้ แต่วันท่ี 6 กนั ยายน 2563 ABSTRACT VIEWS 1797 DOWNLOADS 232

2เผยแพรง่ านวจิ ยั ฉบบั ร่างใน Preprint with The Lancet
https://ssrn.com/abstract=3936499 หรอื http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.3936499
ต้งั แต่วันที่ 5 ตลุ าคม 2564 ABSTRACT VIEWS 143 DOWNLOADS 45

๔๓๑

เอกสารประกอบประชุมคณะกรรมการบริหารงานวจิ ัย Covid-19 คร้ังท่ี 3/2564 วนั ที่ 19 ตลุ าคม 2564
แบบรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย

ทร่ี ับการสนบั สนนุ จาก สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสขุ (สวรส.)
1. ชอ่ื โครงการประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย :การศึกษาในสถานการณ์จริง

เลขท่ีขอ้ ตกลง 64-119
ชอื่ หวั หน้าโครงการ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภาสกร ศรที พิ ยส์ โุ ข หน่วยงานคณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2. ระยะเวลารายงานต้งั แต่วันท่ี 1 ก.ค. 2564 - 30 ม.ิ ย. 2565
3. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
- เพื่อศึกษาประสทิ ธิผลทางคลินิกของวคั ซีนโควิด 19 ในสถานการณ์จริงของประเทศ ในเขตตอนเหนอื กรงุ เทพฯ

และจังหวัดปทมุ ธานี
- เพ่ือศึกษาปัจจัยเสี่ยงของการติดเชือ้ โควิด-19 และการติดเชือ้ โควดิ -19 ซ้ำ (reinfection) ในพื้นทีร่ ะบาด
- เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับภูมิคุ้มกันโรค (neutralizing antibody) ในผู้ได้รับวัคซีนโควิดที่แตกต่างกัน (ชนิด

จำนวนโดส และระยะเวลาของการได้รับวัคซีน) กับผู้ที่มีการติดเชื้อโควิด-19 ด้วยวิธี surrogate virus
neutralization test (sVNT)
4. สถานะโครงการ

เพอื่ รายงาน preliminary report คณะผู้วจิ ยั ไดเ้ ตรยี มข้อมูลท่บี ันทกึ อยา่ งครบถ้วนด้วยระบบมาตรฐาน
Research Electronic Data Capture (REDCap) ในการบริหารจัดการขอ้ มูลจำนวน 2,585 ราย เปน็ cases
จำนวน 890 ราย และ controls จำนวน 1,695 ราย อายเุ ฉลี่ย 40 ปี (SD=15.5) ใช้แบบจำลองสถติ ิ
multivariable logistic regression model เพ่ือคำนวณประสิทธผิ ลของวคั ซีน (vaccine effectiveness, VE)
จากสูตร VE%=100x(1-adjusted odds ratio) โดยควบคมุ ตวั แปรกวนคือ อายุ โรคเรอื้ รงั ระดบั การศึกษา และ
ความเปน็ บุคลากรการแพทย์
ตารางที่ 1. Vaccine effectiveness (VE) of Covid-19 infection

ประวัตกิ ารรบั วคั ซนี โควิด ไมต่ ิดเชื้อ % ติดเชอ้ื % VE* 95% CI P-
(N=1,695) (N=890) % value
ไม่ไดร้ ับวคั ซนี 53.5
ไดร้ ับวัคซนี อยา่ งนอ้ ย 1 เขม็ 385 22.7 476 46.5 -- -

1,310 77.3 414 51 40-60 <0.001

ตารางที่ 2. Vaccine effectiveness (VE) of Covid-19 infection stratified by number of doses

ประวตั ิการรบั วคั ซนี โควิด ไม่ตดิ เชอ้ื % ติดเชื้อ % VE* % 95% CI P-

(any types) (N=1,695) (N=890) value

ไม่ไดร้ บั วคั ซีน 385 22.7 476 53.5 - --
382 22.5 280 31.5 40 25-52 <0.001
ไดร้ บั วคั ซนี 1 เขม็ 53-73 <0.001
(มากกวา่ 21 วนั ) 650 38.3 125 14.0 64 75-94 <0.001
Median 47 (22-140) วนั
278 16.4 9 1.0 88
ไดร้ ับวัคซนี 1 เขม็ 100.0 100.0
(มากกว่า >14 วัน)
Median 78 (15-153) วัน

ได้รบั วคั ซนี 1 เข็ม
(มากกว่า 7 วนั )
Median 17 (8-60) วัน

รวม

๔๓๓

ตารางท่ี 3. Vaccine effectiveness (VE) of Covid-19 infection stratified by vaccine regimens

ประวตั กิ ารรบั วคั ซนี โควดิ ไม่ติดเชื้อ % ติดเชื้อ % VE* % 95% CI P-value
22.7 (N=890) 53.5 - --
(N=1,695) 2.4 5.2 -23 (-55) -19 0.246
20.2 476 26.3 48 35-59 <0.001
ไม่ได้รับวคั ซนี 385
34.1 46 13.1 64 52-73 <0.001
ไดร้ บั วัคซนี 1 เขม็ (มากกว่า 21 วนั ) 3.7 234 0.4 83 50-94 <0.001

Sinovac/Sinopharm 40 13.5 117 1.0 85 68-93 <0.001
2.9 4 0 คำนวณไม่ได้
Median 30 (22-137)
9
Astrazeneca 342 0

Median 48 (22-140)

ไดร้ บั วคั ซนี 2 เข็ม (มากกว่า 14 วัน)

Sino-Sino 578

Median 81 (16-153)

Astra-Astra 63

Median 58 (22-95)

ได้รับวัคซนี 3 เข็ม (มากกว่า 7 วนั )

Sino-Sino-A 228

Median 28 (8-60)

Sino-Sino-Pfizer 50

Median 11 (8-32)

*VE=100x( 1- Adjusted OR): adjusted for underlying chronic diseases, age, educational level, and
healthcare personnel by multivariable logistic regression model
แผนภูมี่ 1 ระดับภูมคิ มุ้ กนั anti-spike (RBD) IgG level ในผปู้ ่วยที่ได้รับวัคซนี ชนดิ ต่างๆ หลงั จากติดเชือ้ โควดิ -19

6. มีแผนการนำผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างไร
6.1 จะนำผลการศกึ ษา preliminary report เสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ มธ. ภายในเดือนนี้
ก่อนเผยแพรส่ สู่ าธารณะไดแ้ ก่ โรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลิมพระเกยี รติ ราชวทิ ยาลัยกมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย

๔๓๔

สมาคมโรคตดิ เชอื้ แหง่ ประเทศไทย กระทรวงสาธารณสขุ และส่ือมวลชน ผลการศึกษาน้ีจะเป็นข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์
ถึงประสทิ ธิผลของวัคซนี โควดิ ซงึ่ จัดสรรตามนโยบายของรฐั บาล ในชว่ งการระบาดของสายพันธ์ุเดลตา้ ใน
สถานการณจ์ รงิ ใหก้ บั สงั คม ซึง่ อาจนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการบรหิ ารจัดการวคั ซีนโควิดให้กบั ประชาชาได้อย่าง
เหมาะสมตอ่ ไป
6.2 จะนำผลการศึกษาตีพมิ พ์เปน็ บทความวจิ ยั ในวารสารทางการแพทยร์ ะดับนานาชาติเพอื่ เผยแพรอ่ ยา่ งนอ้ ย 2
เรือ่ ง

๔๓๕

ในชวี ิต เพ่ิงได้ ส.ค.ส. ๒๕๖๔ จากนายกรัฐมนตรีเป็นคร้งั แรก ให้กาลงั ใจเราไปทางานวจิ ยั ตอ่ ไป

๔๓๖

พอดี มีการระบาดระลอกใหม่ของเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ สายพันธุ์ Wuhan ปนกับสายพันธุ์แอลฟา ซ่ึงใน
ทีส่ ุด สายพันธ์ุแอลฟา ก็ชนะเพราะแพร่เชอ้ื เก่งกว่า เร็วกว่าสายพนั ธุ์ Wuhan แตก่ ็เปิดโอกาสให้เราเข้าไปทาวิจัย
ที่โรงพยาบาลสมทุ รสาครได้ พอดี แพทย์หญงิ ยอดมณี เชย่ี วสิรขิ จร เป็นเพ่ือนสนทิ กบั “นพ.ธนพัฒน์ พวงเพชร”
รองผู้อานวยการแพทย์จากโรงพยาบาลสมุทรสาคร วัย ๔๘ ปี ผู้ซึ่งได้รับคัดเลือกให้เป็นแพทย์ในดวงใจของ จ.
สมุทรสาคร จากการโหวตของประชาชนท่ีมีความรัก ความศรัทธา ความเชื่อมั่น ความประทับใจในการให้บริการ
ดูแลรักษาท่ีดีมาอย่างต่อเนื่อง ตามโครงการ“แพทย์ในดวงใจ ๗๗ จังหวัด” ท่ีแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ใน
พระบรมราชูปถัมภ์ จัดทาข้ึนเพื่อเฟ้นหาแพทย์ท่ีมีจรยิ ธรรม เป็นที่รัก ไว้ใจ และเช่ือม่ันในสายตาของประชาชนใน
จังหวดั นนั้ ๆ จึงได้แนะนาให้มาทาวิจยั ท่โี รงพยาบาลแห่งน้จี นเสร็จสนิ้ และไดร้ ับความร่วมมืออย่างดียิ่ง

เราได้เข้าไปทาการวิจัยต่อได้จนจบท่ีโรงพยาบาลสมุทรสาคร โดยนายแพทย์อนุกูล ไทยถานันดร์
ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมุทรสาคร อนุมัติให้ทาการวิจัยและให้รองผู้อานวยการโรงพยาบาล นพ.ธนพัฒน์ พวง
เพชร (แพทย์ดีเด่นในดวงใจชาวสมุทรสาคร) มาช่วย มีผู้ติดเช้ือท้ังแรงงานไทยและต่างด้าว(พม่า)จานวนมากจาก
ตลาดกลางกุ้งและโรงงานอาหารทะเลที่ใช้แรงงานต่างด้าวจานวนมาทางาน มีการอยู่กันอย่างแออัด ทาให้มีการ
แพร่เชื้อได้ง่ายและรับผู้ติดเช้ือมารักษาที่โรงพยาบาลสมุทรสาคร ทางจังหวัดได้เร่ิมวิธีการควบคุมการแพร่ของ
เชอ้ื ดว้ ยวิธี Bubble and Seal

๔๓๗

ถา่ ยภาพพร้อมกับ นายแพทย์อนุกูล ไทยถานนั ดร์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมุทรสาคร รองผอู้ านวยการ
โรงพยาบาล นพ.ธนพัฒน์ พวงเพชร (แพทยด์ ีเด่นในดวงใจชาวสมทุ รสาคร) มาช่วยทาวิจัยดว้ ย ในภาพล่าง ถา่ ยกบั
นางสาวปญุ ญาณี เตรียมการ (หวั หน้ากลุ่มงานเทคนคิ การแพทย์โรงพยาบาลสมทุ รสาคร) และคณุ ชยั ยศ ระงับภยั

๔๓๕

๔๓๘

โครงการทาลายเชื้อ SARS-CoV-2 ในลาคอและรูจมูกด้วยน้ายา สเปรย์พ่นคอ povidone
iodine (PVI)

หลักการและเหตผุ ล

ในเวลาที่มีการระบาดของโรค COVID-19 และยังไม่มีการรับรองอย่างเป็นทางการว่า มียากินหรือฉีดที่ทาลาย
เช้ือ SARS-CoV-2 ได้ดี มีผลการศึกษาในหลอดทดลองแล้วพบว่า น้ายา povidone iodine (PVI) ในขนาดท่ีใช้
พ่นคอ สามารถทาลายเชื้อไวรัสได้หลายชนดิ รวมท้งั SARS-CoV-2 ไดร้ วดเรว็ ภายในเวลา ๑ นาที และมฤี ทธ์ฆิ า่ เชื้อ
ในคอได้นานประมาณ ๔ ชั่วโมง ประโยชน์ของการพ่นคอหรือรูจมูกด้วยน้ายาที่มี PVI ดังกล่าว เพื่อทาลายเช้ือ
ในคอหอยและรูจมูก คาดว่าจะมอี ยู่ ๓ ขอ้ ดงั น้ี

 การพ่นน้ายาใส่คอหอยและรูจมูกของผู้ปว่ ยระหว่างการสง่ ต่อผู้ป่วยที่เป็นโรค COVID-19 โดยเฉพาะผู้ทีม่ ี
อาการรุนแรงและมีเช้ือจานวนมากในลาคอก่อนสวมใส่หน้ากากอนามัย จะเป็นมาตรการเสริมในการลด
การแพร่เชื้อออกมาจากผู้ตดิ เชื้อหรือผปู้ ่วย มาสู่บุคลากรที่เคลื่อนย้ายผปู้ ่วยในรถพยาบาลหรอื รถกู้ชีพทีม่ ี
ระบบการถ่ายเทอากาศแบบปิดภายในรถยนต์ หรือใช้เป็นมาตรการเสริมในการลดการแพร่เชื้อออกมา
จากผู้ป่วยท่ีติดเชื้อและผู้ป่วยปอดอักเสบ มาสู่บุคลากรทางการแพทย์ท่ีมาดูแลรักษาในหอผู้ป่วยหรือหอ
อภบิ าล หรือมาทาหัตถการเกยี่ วกบั การตรวจคอหรอื ใสท่ ่อช่วยหายใจให้ผู้ติดเช้อื

 การพ่นน้ายาวันละ ๓ ครั้งใส่คอหอยและรูจมูกผู้ที่ตรวจพบเชื้อ SARS-CoV-2 แต่ไม่มีอาการหรือมีอาการ
น้อยมาก แลว้ สวมใสห่ น้ากากอนามัยหลังพ่นทุกคร้ัง อาจจะลดความรนุ แรงของการเจ็บปว่ ยที่รุนแรงเช่น
ปอดอักเสบ หรือทาให้โรคหายเร็วข้ึนในผู้ท่ีติดเช้ือ โดยเฉพาะผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงที่จะทาให้เกิดโรครุนแรง
ต่อไปได้ มีผู้ต้ังสมมติฐานว่า เช้ือ SARS-CoV-2 จะค่อย ๆ เพ่ิมจานวนเชื้อในคอประมาณ ๔ วันก่อนจะ
ลงไปในหลอดลม ดังน้ัน การพ่นยา PVI ในระยะนี้และเป็นระยะเวลาที่เราตรวจพบรหัสพันธุกรรมของ
เชือ้ ในลาคอและรูจมูก กอ็ าจจะช่วยทาลายเช้ือให้หมดสนิ้ ไปได้ หรือชะลอการเพ่ิมจานวนเช้ือจนผู้ติดเชื้อ
สร้างภูมคิ มุ้ กนั ได้ทนั กอ่ นที่เชอ้ื จะแพร่กระจายลงสูป่ อด

 บุคลากรทางการแพทย์อาจจะพ่นน้ายาใส่คอหอยและรูจมูกของตนเองเม่ือจะเข้าไปในห้องท่ีทาการดูแล
รักษาผู้ป่วย หรอื ให้ทนั ตแพทยใ์ ช้พน่ ใส่คอหอยและรูจมูกในเวลาทาฟนั เพ่ือปอ้ งกันการตดิ เชื้อในอากาศท่ี
จะล่องลอยเข้ามาติดในคอหอยหรือรูจมูกของบุคลากรทางการแพทย์ในขณะดูแลรักษาผู้ป่วยหรือผู้ป่วย
ทางทนั ตกรรม การพ่นน้ายาจึงเป็นมาตรการเสริมการสวมใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกนั บคุ ลากรทางการ
แพทยจ์ ากการตดิ เชื้อ SARS-CoV-2 ไดด้ ว้ ย

วัตถุประสงค์ของการวิจยั

เพ่ือทราบประสิทธิภาพของ povidone-iodine (PVI) throat spray ในการกาจัดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่คอหอย
(pharynx) และในรูจมูกของผู้ติดเช้ือ SARS-CoV-2 หรือผู้ป่วยโควิด-19 ภายใน ๓ นาทีและ ๔ ชั่วโมงหลังสัมผัส
ยา PVI ๑ ครั้ง

ข้าพเจ้าขอขอบคุณทีมวิจัย อาจารย์ท้ังที่ศิริราช คณะวิทยาศาสตร์ และที่โรงพยาบาลสมุทรสาคร ได้แก่ รศ.นพ.
รจุ ิภาส สริ จิ ตุภทั ร นพ.ธนพฒั น์ พวงเพชร (รองผอู้ านวยการโรงพยาบาลสมุทรสาคร) รศ.พญ.อรุณี ธติ ธิ ญั ญานนท์
รศ.นพ.ปารยะ อาศนะเสน และทีมงานทั้งพยาบาลและเจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์ชานาญการ ได้แก่ นางสาว

๔๓๙

ปุญญาณี เตรียมการ (หัวหน้ากลุ่มงานเทคนคิ การแพทย์โรงพยาบาลสมุทรสาคร) คุณชัยยศ ระงับภัย (นักเทคนิค
การแพทย์ชานาญการ) และพยาบาลทุกท่าน นส.ลักษมี สุดดี นส.กิติมา ลิ้มประเสริฐ นางวลัยพร ใจอารีย์ ท่ีช่วย
ทางานวิจยั จนสาเรจ็ ลุลว่ งไปได้ด้วยดีในชว่ งมกราคมถึงเมษายน ๒๕๖๔

๔๔๐

๔๔๑

รศ.พญ.อรุณี ธิติธัญญานนท์ และคุณสุวิมล ได้ช่วยทาการเพาะเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ที่ภาควิชาจุลชีวะวิทยา
คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล ทา
ให้ทราบว่า povidone iodine
ทาลายเชื้อไวรัสต่าง ๆ ได้เร็วดี
จริงในหลอดทดลอง แต่เมื่อ
นามาพ่นใช้ในผู้ติดเชื้อ พบว่า
ไ ม่ ไ ด้ ท า ล า ย เ ช้ื อ ไ ด้ ม า ก ห รื อ
รวดเร็วอย่างที่รายงานในหลอด
ทดลองเลย การประยุกต์ใช้
ทางคลินิกจึงไม่สามารถทาได้
นอกจากมกี ารปรบั วธิ กี ารพ่นยา
และเพิ่มคว ามเข้มข้ น ข อ ง
povidone iodine ให้มากขึ้น

นอกจากน้ี ยังพบว่า เราไม่
สามารถเพาะเช้ือ SARS-CoV-2
(เชื้อตัวเป็น ๆ ) ได้จากตัวอย่าง
เช่น น้าลายในปาก หรือป้าย
ตัวอย่างจากลิ้น ช่องปาก คอ
ห อ ย โ ด ย ต ร ง ไ ด้ เ ล ย แ ต่
สามารถเพาะเช้ือไวรัสตัวเป็น ๆ
จากตัวอย่างในเย่ือบุโพรงจมูก
ไดด้ ี

ส่วนการรับส่งตัวอย่างจากโรงพยาบาลสมุทรสาคร ไปส่งที่คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับความร่วมมืออย่างดีย่ิงจาก
เภสัชกร ๒-๓ ท่านของบริษัทมุนดิฟาร์มา ท่ีช่วยประสานงานให้หลังจากที่เราไปเอาตัวอย่างออกมาจาก รพ.
สมุทรสาคร และมาส่งที่ขอบเขตชายแดนกรุงเทพ ทต่ี ิดกับจังหวัดสมุทรสาคร เภสัชกรทา่ นเหล่าน้ีก็มารบั ตัวอย่าง
ไปสง่ ต่อให้ท่ีคณะวิทยาศาสตร์ ม. มหิดล ให้เลย

๔๔๒

๔๔๒-๑

อนุกรรมการบรหิ ารจัดการการให้วัคซีนปอ้ งกนั โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
กรงุ เทพมหานคร สานักอนามยั กรุงเทพมหานคร

นายกแพทยสมาคมฯ ถูกแต่งตั้งให้เป็นอนุกรรมการบริหารจัดการการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโค
โรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กรุงเทพมหานคร เร่ิมมีการประชุมในราวปลายเดือนกุมภาพันธ์หรือต้นมีนาคม พ.ศ.
๒๕๖๔ โดยมี พล.ต.ท.โสภณ พสิ ุทธิวงษ์ รองผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร เปน็ ประธานการประชุมและมี พล.ต.อ.
อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นท่ีปรึกษา และท่านมาร่วมประชุมด้วยหลายๆ คร้ัง ณ ห้อง
รัตนโกสินทร์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงชา้ ) ตอนนน้ั มีการระบาดของโรคโควดิ -๑๙ ทต่ี ลาดบางแคด้วย

ในฐานะอนกุ รรมการฯ นายกแพทยสมาคมฯ ได้ให้ความเหน็ หลายเร่อื งเกยี่ วกับวคั ซนี และอนื่ ๆ เชน่
๑. เสนอให้ฉีดวัคซีนชนดิ ไขว้ได้โดยเน้นการฉีด Sinovac เป็นเข็มแรกและตามด้วย AstraZeneca เป็นเข็มท่ีสอง

ห่างกัน ๔ สัปดาห์ น่าจะสร้างทั้งภูมิคุ้มกันท้ังจาก T-cell และระดับ IgG สูงต่อ spike protein ของเชื้อไวรัส
กลายพันธ์ทุ ง้ั แอลฟาและเดลตา้ ไดด้ พี อที่จะลดความรนุ แรงของโรคหากผู้นัน้ ตดิ เชอื้
๒. ชว่ ยใหค้ วามเห็นเกี่ยวกับนยิ ามสากลว่า ให้ กทม. ใช้นิยาม “ฉีดวคั ซนี ครบ” คือ ฉดี วคั ซีนแลว้ ๒ เข็มและห่าง
จากวันท่ีฉดี เขม็ สองแล้ว ๑๔ วัน (ไมใ่ ชฉ่ ีด AstraZeneca เพยี งเข็มแรกแลว้ ห่างไป ๑๔ วนั ก็ใช้ได้แล้ว นยิ าม
แบบนี้ ใช้ชว่ั คราวในประเทศไทย)
๓. เนน้ ให้ฉีดวัคซีนไขว้หรอื เขม็ สามในกลุ่มประชากรหรือบุคลากรทางการแพทยท์ ี่ทางานดา่ นหนา้ และมีโอกาสติด
เชอื้ ไดส้ งู จากภาระงานประจาเพอื่ ลดความรนุ แรงของโรค
๔. ในระยะเวลาที่คนไข้หนักล้นโรงพยาบาลและเตียงไม่พอ ได้ช่วยผู้ว่า กทม. ในการวางแผนการตัดสินใจให้ยา
favipiravir ให้เร็วข้ึน คือให้ในกลุ่มผู้ติดเชื้อสีเขียว(ยังไม่มีอาการและไม่ใช่กลุ่ม ๖๐๘)แต่พบจานวนเช้ือสูงใน
ตัวอยา่ งจากการตรวจพบเช้ือคร้ังแรกคือ การตรวจ rt-PCR ไดค้ ่า Ct ต่ากวา่ ๒๓ เปน็ ตน้ เพือ่ ทาใหก้ ารดาเนิน
โรคในผู้ติดเช้ือไม่ไปถึงภาวะรุนแรงท่ีต้องใช้เคร่ืองช่วยหายใจหรือรับไว้ในหออภิบาล ตอนน้ัน แนวเวชปฎิบัติ
ของชาติยงั ไม่ใหย้ า favipiravir ในกลุ่มสเี ขียว แต่ให้รอจนอาการรุนแรงขน้ึ เป็นผู้ป่วยสีเหลือง/แดง จึงจะใหย้ า
๕. แนะนาให้ฉดี วัคซีนไฟเซอร์ทส่ี ส่ี ปั ดาหห์ ลงั การฉดี วัคซีน AstraZeneca เพ่ือเร่งให้มีภูมคิ มุ้ กนั สูงข้นึ เร็วเพ่ือที่จะ
ต่อต้านการติดเช้ือไวรัสสายพันธ์ุเดลต้า เป็นต้น (ตอนน้ัน กรม คร. ให้บุคลากรทางการแพทย์ท่ีฉีด
AstraZeneca เข็มแรก รอถึง ๑๒ สัปดาห์ก่อนแล้วค่อยฉีดวัคซีนไฟเซอร์ตาม) แต่ในด้านวิชาการไม่ต้องคอย
นานอย่างน้ันเพราะเข็มสองนีไ้ ม่ได้ใช้ adenovirus เป็นตัวนา mRNA แต่วัคซีนไฟเซอร์ใช้ไขมนั หอ่ หุ้ม mRNA
แทน จึงใช้วัคซีนไฟเซอร์ฉีดได้เลยที่ ๔ สัปดาห์หลังฉีดเข็ม AstraZeneca เข็มท่ีหนึ่ง ทาให้ลดความโกลาหล
ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ท่ีคอยฉีดวัคซีนไฟเซอร์นานถึง ๑๒-๑๖ สัปดาห์ คาแนะนาของเราทาให้มีการ
นาวัคซีนไฟเซอร์มาฉีดเร็วข้ึนแทนท่ีจะเสียเวลาเก็บวคั ซีนไว้ในตู้แชแ่ ข็ง (ต่อมา กรม คร. ได้แก้ไขประกาศโดย
ให้เพมิ่ ว่ารอ ๔-๑๒ สัปดาห์ แทน ๑๒ สปั ดาหอ์ ยา่ งเดยี วหลังฉดี AstraZeneca เข็มแรก)
๖. เกิดปัญหาในด้านการรักษาด้วยยา ตามหลักวิชาการแล้ว การให้ยาต้านไวรัสหรือการให้ โมโนโคนอล
แอนติบอดีทันทีที่ทราบว่าติดเช้ือ ล้วนช่วยให้ผู้ป่วยไม่เจ็บป่วยรุนแรง และมีความเสี่ยงต่ามากที่จะต้องเข้าไป
รกั ษาในไอซียูหรอื หออภิบาล และมีอัตราตายนอ้ ยกวา่ แต่ไม่มผี ใู้ ดทาการศึกษาว่า การใหย้ าต้ังแตท่ ราบว่าติด
เชื้อครั้งแรก ทาให้การหายจากโรคเร็วขึ้นกว่ากลุ่มอ่ืนที่ให้เฝ้าคอยก่อนแม้จะหายได้เองในเวลาต่อมาหรือไม่
การท่ีผู้ติดเช้ือได้รับยาต้านไวรัสต้ังแต่วินาทีแรกที่ทราบผล จะมีกาลังใจดีขึ้นด้วยเพราะว่าได้รับยารักษาและ

๔๔๓

กาลังใจจะดีกว่าท่ีตนเองรับฟังจากแพทย์วา่ ตนเองต้องรอคอยก่อนจนมีอาการรนุ แรงจึงจะได้ยา(เพราะไม่มีผู้
ตดิ เชือ้ รายใดอยากคอยการไดย้ าหรืออยากจะป่วยรุนแรงก่อนจึงจะได้ยา) ในหลักการและวิชาการของโรคติด
เช้ือน้ัน การให้ยาต้านจุลชีพทุกชนิดตั้งแต่เริ่มต้นที่ทราบว่า ติดเช้ือ จะช่วยร่นระยะเวลาการรักษาตัวแน่นอน
ทาใหผ้ ปู้ ่วยหรอื ผ้ตู ิดเชอ้ื กลับไปทางานไดเ้ ร็วขึ้น อันน้ีจะมปี ระโยชน์ตอ่ สงั คมและช่วยลดการแพร่กระจายของ
เชอ้ื ไดด้ ้วย แตก่ ็ยงั ไมม่ ีการประเมนิ ในประเด็นนี้ หรือทาวิจัยให้ไดช้ ัดเจนว่า มีประโยชน์และคมุ้ ค่าด้วย จงึ ทา
ให้กลุ่ม RDU มาบอกว่า ผู้ติดเชื้อสีเขียวให้คอยก่อนเพราะกลัวว่า จะมีเช้ือด้ือยาเกิดขึ้น ท้ังๆ ท่ีการรักษาด้วย
ยาขนานใด เช้ือท่ีหลงเหลืออยู่ในตัวผู้ป่วยจะเป็นเชื้อด้ือยาทั้งน้ันถ้าเช้ือไม่ตายไปหมดก่อน แต่การระวังการ
แพร่กระจายของเชื้อด้ือยาออกไปจากผปู้ ่วยรายหน่ึงไปสู่รายที่สองจะมีความสาคัญมากกวา่ ในการควบคุมเชือ้
ดื้อยา นอกจากนี้ การที่ไม่ได้แจ้งข้อมูลนี้ให้ผู้ติดเชื้อทราบเพื่อร่วมในการตัดสินใจการรับหรือไม่รับยาต้าน
ไวรัสด้วย ก็ยังเป็นปัญหาทางด้านจริยธรรมและเป็นข้อมูลท่ีต้องมีการศึกษาวิจัยต่อไป เพราะการไม่ให้ยาเป็น
การตัดสินของฝ่ายสาธารณสขุ เท่าน้ัน
๗. นอกจากนี้ ยังเร่งให้ กทม. เปิดจุดฉีดวัคซีนให้มาก ฉีดในเวลาค่าคืนด้วย จัดทีมบุคลากรทางการแพทย์บุกเข้า
ไปฉีดในสถานทที่ ป่ี ระชาชนอาจจะไม่ทราบข่าวหรอื เขา้ ไมถ่ ึงวคั ซนี โดยเฉพาะ กลุ่มเส่ยี ง และสงู วัย

๔๔๔

ตัวอย่างรายช่ือ คณะอนกุ รรมการบริหารจัดการการใหว้ คั ซีนปอ้ งกันโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) กรงุ เทพมหานคร สานักอนามยั กรุงเทพมหานคร ซ่งึ ประกอบด้วยบุคคลตา่ ง ๆ จาก
หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

๔๔๕

การประชุมมีทั้ง on-site และ online และประกอบด้วยบุคคลจากหลายหน่วยงานท้งั ของรฐั และเอกชนทเ่ี ขา้ มา
ชว่ ยให้ความเห็นการบริหารจัดการวคั ซนี โควิด-๑๙ ในกรุงเทพมหานคร

หลังเสร็จสิน้ การประชุมท่หี อ้ ง
ประชมุ รัตนโกสินทร์ ถ่ายภาพกับ
แพทยห์ ญงิ ปา่ นฤดี มโนมยั พิบูลย์
ผ้อู านวยการสานักอนามยั กทม.
และแพทย์หญงิ ดวงพร ปณิ จเี สคิกลุ
ผ้อู านวยการสานกั งานพฒั นาระบบ

สาธารณสขุ กทม.

๔๔๖

วัคซีนชนิดไขว้ได้โดยเน้นการฉีด
Sinovac เป็นเข็มแรกและตาม
ดว้ ย AstraZeneca เป็นเขม็ ทส่ี อง
ห่างกัน ๔ สัปดาห์ น่าจะสร้างท้ัง
ภูมิคุ้มกันท้ังจาก T-cell และ
ระดับ IgG สูงต่อ spike protein
ของเชื้อไวรัสกลายพันธ์ุทั้งแอลฟา
และเดลต้าได้ดีพอท่ีจะลดความ
รนุ แรงของโรคหากผู้นน้ั ติดเชือ้

บทความนี้เขียนสนับสนุนในเดือน
กรกฎาคมเมื่อมีการศึกษานาร่อง
ผลการฉีดวัคซีนไขว้ (Sinovac +
AstraZeneca)แ ล ะ ผ ล ก า ร
ตรวจวัดระดับ IgG ต่อเชื้อพบว่า
ขึ้นสูงมาก สอดคล้องกับ ตรรกะ..
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ . . . ก่ อ น ที่ จ ะ มี
การศึกษาอย่างเป็นระบบท่ีได้ผล
ช นิ ด ท่ี เ ป็ น evidence-based
medicine
แต่ประเทศไทยกาลังมีการระบาด
ของโควิด-๑๙ มีวัคซีนจานวน
จากัด จึงต้องรีบตัดสินใจเสนอ
การฉีดวัคซีนไขว้ท่ีได้ผลดีท่ีสุดไป
ก่อน ไม่ได้รอจนมีผลการศึกษา
อย่างมีระบบและมีตัวอย่างมาก
พอมาสนบั สนุน เพราะมน่ั ใจมาก
ว่า ได้ผลดีแน่ จากความรู้ ตรรกะ
และประสบการณ์ของโรคอ่ืน ๆ
ของตนเองมานานในโรคตดิ เช้ือ
จึงมั่นใจท่ีจะนาข้อมูลอ่ืน ๆ มา
ประยุกตใ์ ชไ้ ด้ในการตดั สินใจเลือกใชว้ คั ซีนไขว้ และเสนอในที่ประชุม กทม. ไปกอ่ นเลย

๔๔๗

ในทีส่ ุด การฉดี วคั ซีนไขว้ท่ดี ที ่ีสดุ ในดา้ นการสรา้ งระดับ IgG ให้ขึ้นสูงเรว็ และเพียงพอไม่แพก้ ารฉีดวคั ซนี mRNA ๒
เข็มคือการฉดี ไขว้ด้วยเชอ้ื ตาย Sinovac หรือ Sinopharm เป็นเข็มแรก แล้วตามด้วย viral-vector mRNA หรอื
mRNA เป็นเข็มท่ีสอง จนถึงเดอื นพฤศจิกายน ๒๕๖๔ การฉดี วัคซนี ไขวก้ ็แพรห่ ลายและเปน็ ทยี่ อมรับท่ัวประเทศ
ไทยและค่อย ๆ ถกู ยอมรบั ในระดับโลก ทง้ั ๆ ทเ่ี ขยี นบทความสนับสนุนการฉดี วคั ซนี ไขว้สตู รน้ี ในเดอื นกรกฎาคม

๔๔๘

๔๔๙

ปัญหาในด้านการรักษาด้วยยา ตามหลัก
วิชาการแล้ว การให้ยาต้านไวรัสหรือการให้
โมโนโคนอลแอนติบอดีทันทีท่ีทราบว่าติด
เช้ือ ล้วนช่วยให้ผู้ป่วยไม่เจ็บป่วยรุนแรง
แ ล ะ มี ค ว า ม เ สี่ ย ง ต่ า ม า ก ท่ี จ ะ ต้ อ ง เ ข้ า ไ ป
รักษาในไอซยี ูหรือหอภิบาล และมอี ัตราตาย
น้อยกว่า แต่ไม่มีผู้ใดทาการศึกษาว่า การ
ให้ยาตั้งแต่ทราบว่าติดเช้ือคร้ังแรก ทาให้
การหายจากโรคเร็วขึ้นกว่ากลุ่มอื่นที่ให้
เฝ้าคอยก่อนแม้จะหายได้เองในเวลาต่อมา
หรือไม่การท่ีผู้ติดเช้ือได้รับยาต้านไวรัส
ต้ังแต่วินาทีแรกที่ทราบผล จะมีกาลังใจดี
ข้ึนด้วยเพราะว่าได้รับยารักษาและกาลังใจ
จะดีกว่าที่ตนเองรับฟังจากแพทย์ว่า ตนเอง
ต้องรอคอยก่อนจนมีอาการรุนแรงจึงจะได้
ยา(เพราะไม่มีผู้ติดเช้ือรายใดอยากคอยการ
ได้ยาหรืออยากจะป่วยรุนแรงก่อนจึงจะได้
ยา) ในหลักการและวชิ าการของโรคติดเช้ือ
นั้น การรักษาโรคติดเช้ือทุกชนิดตั้งแต่
เร่ิมต้นท่ีทราบว่า ติดเชื้อ จะช่วยร่น
ระยะเวลาการรักษาตัวแน่นอน ทาให้ผู้ป่วย
หรือผู้ติดเชื้อกลับไปทางานได้เร็วข้ึน อันน้ี
จะมีประโยชน์ต่อสังคมและช่วยลดการ
แพร่กระจายของเช้ือได้ด้วย แต่ประเด็นใน
เร่ืองนี้ก็ยังไม่ได้มีการประเมิน วิจัยให้ได้
ชัดเจนว่า มีประโยชน์และคุ้มค่าด้วย จึงทา
ให้กลุ่ม RDU มาบอกว่า ผู้ติดเช้ือสีเขียวให้
คอยก่อนเพราะกลัวว่า จะมีเชื้อด้ือยาเกิดข้ึน ท้ัง ๆ ท่ีการรักษาด้วยยาขนานใด เช้ือท่ีหลงเหลืออยู่ในตัวผู้ป่วยจะ
เป็นเชือ้ ดอ้ื ยาท้งั นั้นถ้าเชือ้ ไมต่ ายไปหมดเสียก่อน แต่การระวงั การแพรก่ ระจายของเชอื้ ด้ือยาออกไปจากผ้ปู ่วยราย
หนงึ่ ไปสรู่ ายทีส่ องจะมีความสาคัญมากกว่าในการควบคุมเช้ือดื้อยา นอกจากนี้ การที่ไม่ไดแ้ จง้ ข้อมูลนี้ให้ผู้ติดเชื้อ
ทราบเพ่ือร่วมในการตัดสินใจการรับหรือไม่รับยาต้านไวรัสด้วย ก็ยังเป็นปัญหาทางด้านจริยธรรมและเป็นข้อมูลท่ี
ต้องมกี ารศกึ ษาวจิ ัยต่อไป เพราะการไม่ใหย้ าเป็นการตัดสินของบคุ ลาการดา้ นการแพทยฝ์ า่ ยเดยี วเท่าน้นั

๔๕๐

แนะนาให้ฉีดวคั ซนี ไฟเซอร์ทสี่ ่ีสัปดาห์
หลงั การฉดี วัคซนี AstraZeneca เพ่อื
เร่งให้มีภูมิคุ้มกันสูงขึ้นเร็วเพ่ือท่ีจะ
ต่ อ ต้ า น ก า ร ติ ด เ ช้ื อ ไ ว รั ส ส า ย พั น ธุ์
เดลต้า เป็นต้น (ตอนน้ัน กรม คร. ให้
บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ท่ี ฉี ด
AstraZeneca เข็มแรก รอถึง ๑๒
สัปดาห์ก่อนแล้วค่อยฉีดวัคซีนไฟ
เซอร์ตาม) แต่ในด้านวิชาการไม่ต้อง
คอยนานอย่างนั้นเพราะเข็มสองนี้
ไม่ได้ใช้ adenovirus เป็นตัว นา
mRNA แต่วัคซีนไฟเซอร์ใช้ไขมัน
ห่อหุ้ม mRNA แทน จึงใช้วัคซีนไฟ
เซอร์ฉีดได้เลยท่ี ๔ สัปดาห์หลังฉีด
เข็ม AstraZeneca เข็มท่ีหน่ึง การ
ฉีดเลยท่ี ๔ สัปดาห์จะลดความ
โกลาหลในบุคลากรทางการแพทย์ท่ี
คอยฉดี วัคซีนไฟเซอร์ และทาให้มกี าร
นาวัคซีนไฟเซอร์ในตู้เย็นจัดมาฉีดเร็ว
ข้ึน แทนท่ีจะเสียเวลาเก็บวัคซีนไว้ใน
ตู้แช่แข็ง (ต่อมา กรม คร. ได้แก้ไข
ประกาศโดยใหเ้ พ่ิมวา่ ๔-๑๒ สัปดาห์
แทน ๑๒ สัปดาห์อย่างเดียวหลังฉีด
AstraZeneca เข็มแรก)

๔๕๑

๔๕๒

๔๕๓

๔๕๔

๔๕๕

๔๕๖

รีบฉีดวัคซีนให้เร็วที่สุด โดยเฉพาะคนท่ียังไม่ได้
เข็มแรก ผสู้ งู วยั คนนอนติดเตยี ง ผู้มโี รคเรื้อรงั
๗ กลุ่มโรค แล้วจะต้องไปฉีดในกลุ่มนักเรียน
บา้ งแล้ว เพราะจะเปิดโรงเรยี น เปดิ ประเทศกัน
แลว้

๔๕๗

ถกู รางวัลท่ี ๑ กับสลากออมทรพั ย์ ธอส. (เกร็ดดาว): มดี วงกบั เขาด้วยหรอื ?

ข้าพเจ้าเป็นคนที่ไม่มีดวงในการจับสลากรับรางวัล แม้รางวัลจะมีจานวนมาก แต่ก็ไม่เคยจับได้ ในอดีต
ตง้ั แตต่ อนเป็นเด็ก เคยฝากคนท่ีซื้อและถกู สลากกินแบ่งรัฐบาลบ่อยๆ พอฝากเขาซื้อหรือขอซ้ือพว่ งเบอรเ์ ดียวกัน
ก็พลอยไปทาให้เขาตกอับไม่ถูกสลากกินแบ่งรัฐบาลไปด้วย แต่พอหยุดซื้อกับเขาซ่ึงเป็นคนมีดวง เขาแอบไปซ้ือก็
ถูกสลากกนิ แบ่งอีก สว่ นตวั เคยซอ้ื สลากกินแบง่ หน้าวดั ช่ือดังหลังทาบุญเสร็จ ยังไง ๆ ก็ไม่เคยถกู รางวัลสกั ครั้งจน
ต้องสรปุ บอกตนเองไวแ้ ล้วว่า เลิกซือ้ เถอะเพราะเราไม่มีดวง อยา่ ไปฝืน มันไม่ถกู จริง ๆ เรามแี ตท่ างานมากกว่า

พอแพทยสมาคมฯ มีเงินออมทรัพย์เหลือ แล้วผู้จัดการ ธอส. มาติดต่อว่า จะซ้ือสลากออมทรัพย์(เกร็ด
ดาว) ไหม? กรรมการของแพทยสมาคมก็คานวณว่า ต้องซ้ือเท่าไรจึงจะถูกรางวัลที่ ๓ บ้างทุก ๆ งวด เพื่อให้ได้
ดอกเบ้ียท่ีมากขึ้นรวมกับดอกเบ้ียที่จะได้อยู่แล้ว ตกลงว่าแพทยสมาคมฯ ซื้อสลากออมทรัพย์ ธอส.ชุดเกร็ดดาว
หนว่ ยละ ๕,๐๐๐ บาท กซ็ อ้ื ไป ๑๐,๐๐๐ หนว่ ย หมายเลข BE1944106 - BE1954105 รวมเปน็ เงิน ๕๐ ลา้ นบาท
ในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ผลการตรวจสลากในเดอื นมถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ พบว่า ถูกรางวลั ที่ ๑ หมายเลขถูก
รางวัลคือ BE1947564 ได้เงิน ๑ ล้านบาท และยังถูกรางวัลท่ี ๓ รางวัลเลขท้าย ๓ ตัว รางวัลเลขท้าย ๒ ตัว รวม
อกี ๒๐,๕๐๐ บาท รวมทง้ั สิ้นถูกรางวัลเปน็ เงนิ ๑,๐๒๐,๕๐๐ บาท

นึกว่า ดวงข้าพเจ้าจะทาให้ พสท. ถูกแต่รางวัลท่ีสามเท่านั้นเพราะเป็นรางวัลภาคบังคับ แต่ก็มาถูก
รางวัลที่ ๑ จนได้ ตัวเราจะได้หมดเคราะห์กรรมเรื่องดวงไม่เคยจะถูกหวยเสียที หรือว่า ดวงครบ ๑๐๐ ปีของการ
กอ่ ตัง้ แพทยสมาคมฯ แขง็ กว่า ทาใหถ้ กู รางวัลท่ี ๑ จนได้ หวังว่า ในงวดถัดไป จะถูกรางวัลท่ี ๑ อยา่ งนอ้ ยอีก ๑
ครัง้ นะครบั จนกวา่ สลากจะหมดอายุ ๒ ปี ถา้ ดวง พสท. แขง็ จริง น่าจะถูกรางวัลใหญ่อกี สกั คร้ัง

๔๕๘


Click to View FlipBook Version