The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siall28945, 2022-01-27 05:00:31

ภารกิจและเหตุการณ์ของนายกแพทยสมาคมฯ ครบรอบ ๑๐๐ ปี

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Keywords: นายก พสท.,ครบรอบ ๑๐๐ ปี

ทาไมยงั มีข่าวว่า ฉีดวัคซีนแล้วยงั ติดเชื้อโควดิ -๑๙ สายพนั ธุ์ปัจจุบนั ได้อกี ?
การฉีดวัคซีนทาให้เกิดภมู คิ มุ้ กันในร่างกาย แตก่ ารฉดี วัคซนี ไม่ไดท้ าใหท้ ุกคนเกดิ ภมู ิคุ้มกนั สงู ในระดบั เท่ากนั และสูง

เพยี งพอที่พรอ้ มจะต่อสกู้ ับเช้อื โรคได้ตลอดเวลา ผลการศึกษาในผู้ทีฉ่ ดี วัคซีนยงั พบอกี วา่ ประมาณรอ้ ยละ ๕ ถงึ ๒๐ อาจจะ
ตรวจไม่พบแอนติบอดีหรือมีน้อยมาก นอกจากนี้ภูมิคุ้มกันจะออกมาต่อสู้กับเชื้อโรคเม่ือมีเชื้อโรคบุกรุกเข้ามาในเซลล์ใน
ร่างกาย ส่วนการติดเช้ือเกิดจากการรับเชื้อเข้ามาในร่างกายซ่ึงเกิดข้ึนก่อนท่ีร่างกายจะส่งภูมิคุ้มกันออกมาต่อสู้เชื้อโรค
การที่ผู้ได้รับวัคซีนจะเจ็บป่วยหรือไม่จึงขึ้นอยู่กับระดับภูมิคุ้มกันท่ีมีอยู่ในขณะน้ันและจานวนเช้ือท่ีได้รับเข้าสู่ร่างกายและ
ตาแหน่งในรา่ งกายทเี่ ช้ือเขา้ ไปในตอนแรก
 หากรับเช้ือโรคจานวนน้อยเข้ามาในทางเดินหายใจ เชื้อจะอยู่ที่ทางเดินหายใจส่วนบน ภูมิคุ้มกันจากวัคซีนจะเข้ามา

กาจัดเชอ้ื โรคอยา่ งรวดเรว็ ทนั กาลก่อนทเี่ ชอื้ เพ่ิมจานวนและรุกรานลงไปถึงเน้ือปอด ผนู้ ้นั จึงไม่มอี าการ การฉดี วคั ซนี จึง
ปอ้ งกันการเกิดโรคได้ดเี ตม็ ท่ี
 หากรับเชื้อจานวนปานกลางเข้ามาในทางเดนิ หายใจ เชื้อมกั อย่ทู ี่ทางเดินหายใจส่วนบนหรือมจี านวนน้อยท่เี ริ่มลงมาใน
หลอดลมและทางเดินหายใจสว่ นล่าง ภมู ิคุ้มกันจากวัคซีนจะเข้ามากาจัดเช้ือโรคอย่างรวดเร็วทนั กาลเชน่ กันก่อนที่เช้ือ
จะเพ่ิมจานวนและรุกรานถึงเน้ือปอดหรือเพิ่มจานวนมากขึ้นในเนื้อปอด ผู้นั้นก็อาจจะเจ็บป่วยเล็กน้อยแต่จะมี
ระยะเวลาเจบ็ ปว่ ยสั้นหรือหายเร็วและไม่เจบ็ ป่วยรนุ แรง
 หากสดู รับเช้อื จานวนมากเข้ามาจนมเี ช้อื จานวนหนึง่ เขา้ มาถงึ เน้อื ปอดเลย เช่น ในคนที่อว้ นมากและออกกาลังกาย การ
สูดดมเช้ือในอากาศตลอดเวลาในห้องที่อากาศไม่ถ่ายเท หรือมีการออกกาลังกายจนเหนื่อยหอบขณะมีเชื้อในทางเดิน
หายใจส่วนบน เช้ือจานวนมากจะเข้ามาถึงเนื้อปอดในตอนแรกท่ีรับเชื้อเลย ภูมิคุ้มกันจากวัคซีนจะเข้ามากาจัดเชื้อ
โรคอยา่ งรวดเร็วเชน่ กันแตเ่ นื่องจากเชื้อจานวนมากบกุ รุกถึงเนอื้ ปอดเร็วและกระจายไปหลายจุดในปอดทนั ที ภมู ิคุม้ กัน
อาจจะกาจัดเชื้อจานวนมากออกไปไม่ทัน ปฏิกิริยาต่อต้านเชื้อจากภูมิคุ้มกันจะเกิดรุนแรงมาก ผู้นั้นก็อาจจะเจ็บป่วย
รุนแรงได้ แต่ก็จะมีการพยากรณ์โรคท่ีดีกว่าผู้ท่ีไม่ได้ฉีดวัคซีนเลย ดังนั้น แม้จะฉีดวัคซีนมาแล้ว ขอแนะนาผู้ที่มีความ
เสี่ยงสูงที่จะเจ็บป่วยรุนแรงใน ๗ กลุ่มโรคจากการติดเชื้อโรคโควิด-๑๙ ยังต้องสวมหน้ากากอนามัยเพ่ือกรองเช้ือที่
อาจจะพลัดหลงเข้ามา ให้มีจานวนน้อยที่สุด และใช้วิถีชีวิตใหม่อย่างเคร่งครัด (มีข่าวว่า บุคลากรทางการแพทย์
มาเลเซีย ๔๐ คนติดโรคโควิด-๑๙ แม้ฉีดวัคซีนครบ ๒ เข็มแล้วตามข้อมูลวันที่ ๑๗ เมษายน แต่ไม่ป่วยรุนแรง หรือ
แมแ้ ตเ่ คยตดิ เชื้อโรคโควดิ -๑๙ และหายแล้วก็ยงั เปน็ ซา้ ได้แต่มีโอกาสน้อยลงมาก)

ถ้าวัคซีนป้องกันการเจ็บป่วยจากเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ ทุกสายพันธุ์ได้ไม่หมด ทาไมเรายังต้องฉีดวัคซีนต้านไวรัสโควิด-
๑๙ ทมี่ อี ยู่ในปจั จบุ นั ?

การฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน จะทาให้ร่างกายเกิดภูมิคุ้มกันป้องกันเชื้อสายพันธุ์ที่
ระบาดอยู่ในประเทศไทย นอกจากนี้อาจจะเร่งให้ร่างกายรีบสร้างภมู ิคุ้มกันท่ียังขาดอยู่กับสายพันธุ์ที่เพิ่งกลายพันธ์ุได้บา้ ง
หากเราได้รับเชอ้ื กลายพันธใุ์ หม่จานวนน้อยเข้าสรู่ ่างกาย จะยังช่วยให้ร่างกายของผูท้ ่ีรับวัคซีนมาแลว้ สร้างภูมิคุ้มกันได้เรว็
ขน้ึ บ้างเพอ่ื มาต่อสู้กบั เชื้อกลายพันธ์สุ ายพันธ์ใุ หม่ เพราะถึงเป็นเชือ้ กลายพนั ธ์ุสายพันธ์ุใหม่กต็ ้องมีสภาพของเชื้อเดิมอยู่ด้วย
การฉีดจึงยังดีกว่าผู้ที่ไม่เคยฉีดหรือไม่เคยเจอเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ ใดๆ มาก่อน นอกจากนี้ วัคซีนรุ่นใหม่ที่จะออกสู่ตลาด

๗๕๙

จะทาให้ผู้ทเ่ี คยฉีดวัคซีนหรอื ตดิ เชื้อมาก่อนเกิดภูมิคุ้มกันทด่ี ีมากขึน้ และสร้างได้เรว็ ขึ้น อยา่ งไรก็ตามเพ่ือการป้องกนั โรคให้
ดยี ่งิ ขึน้ และไม่ใหป้ ว่ ยหนกั จึงแนะนาใหส้ วมหนา้ กากอนามยั และใช้วิถีชีวิตใหมอ่ ยา่ งเข้มข้นร่วมดว้ ยดงั ทีจ่ ะกลา่ วถงึ ต่อไป
ขออนุญาตใช้ภาพท่ี รศ.ดร.พญ.ทวิติยา สุจริตรักษ์ อาจารย์ประจาสาขาโรคติดเช้ือ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะ
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ได้รวบรวมข้อมูลและเปรยี บเทยี บวคั ซีนต้านไวรัสโควดิ -๑๙ ของ ๔ บรษิ ัทดังนี้

๗๖๐

วัคซนี ต้านไวรัสโควิด-๑๙ มกี ช่ี นิด? อะไรบา้ ง?
วัคซีนต้านไวรัสโควิด-๑๙ แบ่งตามองค์การอนามัยโลกออกเป็น ๔ ชนิด ท้ังน้ีโดยอาศัยตัวเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ หรือ

ส่วนประกอบที่ผิวเชอ้ื ชนิดนี้และการใชส้ ารหรือไวรัสพาหะหรือสารเรง่ ภูมิคุ้มกนั มาใช้ผลติ เป็นวัคซีน
ชนิดที่ ๑ วคั ซนี ชนดิ ทใ่ี ช้เชือ้ ไวรสั ทง้ั ตัว (lived attenuated virus or whole inactivated virus vaccines)

 วคั ซนี ชนดิ น้ี ใช้เชือ้ ไวรัสโควิด-๑๙ ทัง้ ตัวโดยแบง่ ออกเป็น ๒ ชนดิ ชนดิ แรกทาให้เชื้อท้ังตวั อ่อนฤทธ์ิและเพ่ิมจานวนได้
แต่ไม่สามารถก่อโรคได้ (live attenuated virus) วัคซีนชนิดนี้ยังไม่มีใครทาเพราะกลัวว่าจะทาให้ผู้ถูกฉีดติดเชื้อเสีย
เอง ส่วนชนิดที่สองคือทาให้เช้ือตาย (whole inactivated virus) ปัจจุบัน วัคซีนต้านไวรัสโควิด-๑๙ ใช้ชนิดที่สอง
ทั้งหมด ผลิตโดยนาเชอื้ ไวรสั ซาร์ส-โควี-๒ มาเล้ียงขยายจานวนมาก แล้วนามาฆ่าด้วยสารเคมีหรือความร้อนแล้วบรรจุ
เป็นวัคซีน ประเทศไทยกาลังวัคซีนชนิดน้ีอยู่และนาเข้าจากประเทศจีน ได้แก่ วัคซีนโคโรนาแวค (CoronaVac) ซึ่ง
เป็นของบริษัทซิโนแวค (SinoVac) ข้อดีของวัคซีนในกลุ่มน้ี คือ ใช้เทคโนโลยีการผลิตท่ีมีมานาน ใช้เช้ือท้ังตัวท่ีตาย
แล้วจึงไม่ก่อให้เกิดโรคติดเช้ือ ความมั่นใจในประสิทธิภาพและมีข้อมูลด้านความปลอดภัยมานาน แต่มีข้อจากัดคือ
ราคาวัคซีนอาจจะค่อนข้างสูง เนื่องจากต้องผลิตเชื้อจานวนมากและดาเนินการในห้องปฏิบัติการท่ีมีระบบความ
ปลอดภัยทางชวี ภาพในระดบั ท่ี ๓
o วิธีใช้คือ ฉีดวัคซีน ๒ ครั้งเข้ากล้ามเนื้อท่ีต้นแขนห่างกัน ๓ ถึง ๔ สัปดาห์ เก็บรักษาวัคซีนไว้ท่ีอุณหภูมิ ๒-๘
องศาเซลเซยี ส
o ประสิทธิภาพของวคั ซีนพบว่า การศึกษาในประเทศบราซลิ มคี า่ เฉล่ียอยูท่ ปี่ ระมาณรอ้ ยละ ๕๐.๓ (รวม
อาสาสมคั รทต่ี ิดเช้ือทง้ั ที่ไมม่ อี าการและมีอาการรุนแรง) สามารถป้องกนั การเจบ็ ปว่ ยแบบมีอาการท่ตี ้องพบ
แพทยไ์ ดส้ ูงถึงรอ้ ยละ ๗๗.๙ และป้องกนั มิใหเ้ กิดโรครนุ แรงไดร้ อ้ ยละ ๑๐๐

ชนิดที่ ๒ วัคซีนชนิดใช้สารพันธุกรรมได้แก่ วัคซีนดีเอ็นเอ (DNA) หรือเอ็มอาร์เอ็นเอ (messenger RNA หรือ
mRNA) และมไี วรสั พาหะนาสารพันธุกรรมเข้าเซลลม์ นษุ ย์ (Recombinant viral vector vaccines)

 วัคซีนกลุ่มน้ีใช้ทั้งเทคโนโลยีใหม่และไวรัสที่ตัดแต่งพันธุกรรมให้เป็นไวรัสพาหะ โดยนาสารพันธุกรรม(DNA หรือ
mRNA)ของเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ มาใส่เข้าไปในไวรัสพาหะ แล้วใช้ไวรัสพาหะนาสารพันธุกรรมเข้าไปในเซลล์มนุษย์
เพื่อให้เซลล์มนุษย์ผลิตสารโปรตีนแอนติเจนของเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ เทคโนโลยีใหม่น้ีเป็นเป็นสิ่งท่ีค้นคว้าและศึกษา
ต่อเนื่องมานานประมาณ ๓๐ ปีแต่ยังไม่เคยนามาใช้ทาเป็นวัคซีนท่ีใช้ในคน เพราะเกรงว่า การสอดใส่สารพันธุกรรม
ของเช้ือโรคเข้าไปในเซลล์มนุษย์เพ่ือกากับให้ผลิตสารท่ีเป็นโปรตีนแอนติเจน(ของเช้ือโรคหรือสารอ่ืนๆ )จะมีผลร้ายท่ี
ก่ออันตรายแก่เซลล์มนุษย์เองหรือไม่? เท่าที่ศึกษาและทดลองมานานอย่างต่อเน่ืองก็ยังไม่พบว่า เซลล์มนุษย์ท่ี
สังเคราะหโ์ ปรตีนแอนติเจน(ของเช้ือโรคหรือสารอนื่ ๆ)ตามการกากับของสาร DNA หรือ mRNA จะกอ่ ใหเ้ กิดอันตราย
ตอ่ เซลล์หรอื รา่ งกายมนุษย์ และยังไม่พบว่าทาใหเ้ กดิ โรคตอ่ ต้านเซลล์ของตนเอง(ท่ีรู้จักกันในชื่อ โรคพุ่มพวง)
เมื่อมีโรคโควิด-๑๙ ระบาด จึงมีการนาเทคโนโลยีนี้มาทาเป็นวัคซีนอย่างเร่งด่วน พบว่า วัคซีนที่ใช้ mRNA
กระตุ้นภมู คิ ุ้มกนั ไดด้ ีมากและบริหารจัดการงา่ ยกวา่ DNA แตเ่ นอ่ื งจาก mRNA เปน็ สารท่ีไวตอ่ การถูกทาลาย จงึ ตอ้ งใช้
ตัวนาเข้าเซลล์ ซึ่งเป็นไวรัสพาหะอีกชนิดหน่ึง(adenovirus หรือไวรัสอะดีโน) หรือสารนาโนพาร์ติเคิลเพื่อส่ง mRNA
ให้เข้าเซลล์มนุษย์ และ mRNA ไปกากับให้เซลล์มนุษย์ผลิตสารโปรตีนแอนติเจนท่ีเป็นส่วนประกอบสาคัญบนผิวเช้ือ
ส่วนท่ีเป็นหนาม(spike protein)และเป็นส่วนที่เชื้อไวรัสโควิด–๑๙ ใช้มุดเข้าเซลล์มนุษย์เพื่อไปแบ่งเพ่ิมจานวนเช้ือ

๗๖๑

เม่ือเซลล์มนุษย์ผลิตโปรตีนแอนติเจน (spike protein) ทาให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายตรวจพบและสรา้ งแอนติบอดีขนึ้ มา
ต่อต้านทาลายเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ ได้ เน่ืองจากการผลิตวัคซีน mRNA ไม่ซับซ้อนและมีความเร่งด่วนจากการระบาด
ของโรค จึงทาให้นักวิทยาศาสตร์ทาวัคซีน mRNA สาเร็จออกมาได้เร็วมาก คืด สามารถผลิตวัคซีนต้นแบบให้ทดสอบ
ได้ภายใน ๒ เดือนหลังจากรัฐบาลจีนได้ถอดและรายงานรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิด-๑๙ ให้องค์การอนามัยโลกใน
เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เมื่อเตรียม mRNA ได้แลว้ ใชไ้ วรสั อะดโี นท่ีดัดแปลงมานา mRNA ใหเ้ ขา้ เซลล์มนุษย์ เชน่
ไวรัสอะดีโนสายพันธ์ุ ๕ หรือ ๒๖ (Adenovirus type 5 หรือ 26) เป็นไวรัสพาหะและสอดใส่สารพันธุกรรม
(messenger RNA หรือ mRNA)ที่กากับการสร้างโปรตีนส่วนท่ีเป็นหนาม(spike protein)ที่อยู่บนผิวของเชื้อไวรัส
ซารส์ -โควี-๒ ไวใ้ นไวรัสพาหะ

ไวรสั พาหะที่มีการพัฒนามาก่อนแล้วได้แก่ ไวรัสอะดีโนของลิงชมิ แปนซี (Chimpanzee adenovirus) ใชใ้ นวคั ซีน
ของบริษัทแอสตร้า เซเนก้า (Astra Zeneca), ไวรัสอะดีโนของมนุษย์สายพันธุ์ ๕ (Human adenovirus type 5) ใช้
ในวัคซีนของบริษัท CanSinoBio, ไวรัสอะดีโนของมนุษย์สายพันธ์ุ ๒๖ (Human adenovirus type 26) ใช้ในวัคซีน
ของบริษัท จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน (Johnson and Johnson) และไวรัสอะดีโนของมนุษย์สายพันธ์ุ ๕ และ ๒๖
(Human adenovirus type 5 and 26) ใช้ในวัคซีนของบริษัท Gamaleya ประเทศรัสเซีย ไวรสั พาหะเหล่าน้ีเป็นเชื้อ
ที่มีชีวิตโดยสารพันธุกรรมถูกดัดแปลงจนไม่ให้แบ่งตัว หรือเป็นไวรัสที่อ่อนฤทธ์ิจนไม่ทาให้มนุษย์ป่วย ข้อดีคือเป็นการ
เลียนแบบการติดเช้ือตามธรรมชาติ สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันทั้งระบบแอนติบอดีและระบบเซลล์ได้ดี อาจจะได้ผลดี
ตั้งแต่ฉีดเข็มแรกจนใช้ฉีดเพียงเข็มเดยี วได้ เช่น วัคซีนของ จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน แต่มีความกังวลวา่ หากผู้รับวคั ซีน
เพิ่งจะติดเช้ือไวรัสอะดีโนตามธรรมชาติซ่ึงเป็นไวรัสหวัด ผู้น้ันจะมีแอนติบอดีท่ีทาลายไวรัสอะดีโนและส่งผลรบกวน
การสร้างภูมิคุ้มกันโรคจากการฉีดวัคซีนชนิดน้ี ข้อดีของวัคซีนกลุ่มนี้คือผลิตได้เร็ว จานวนมาก ราคาถูกกว่า การปรับ
สารพันธุกรรม(mRNA)ในวัคซีนทาได้งา่ ยใหท้ ันสมยั กบั สายพันธ์ุที่กลายพนั ธุ์ต่าง ๆ ขอ้ ด้อยคือวา่ ถ้ามีภมู ิคุ้มกันต่อเชื้อ
ไวรัสอะดีโนก่อนจะฉีดวัคซีน จะทาให้การสร้างภูมิคุ้มกันหลังการฉีดวัคซีนลดลง เนื่องจากมีการนาวัคซีนแบบนี้มาใช้
ในคนในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ นี้เอง ข้อมูลด้านความปลอดภัยจึงมีน้อยและมีในระยะสั้นมาก นอกจากนี้ยังไม่ใช้ในผู้ที่มี
ภมู ิคมุ้ กันบกพรอ่ งหรือออ่ นแออย่างมากเพราะไวรสั อะดีโนอาจจะไปก่อโรคเสยี เอง ปัจจบุ ันประเทศไทยกาลังใช้วัคซีน
ของแอสตร้า เซเนก้าอยู่แล้ว และในอนาคตอันใกล้จะมีวัคซีนของ จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน และวัคซีน สปุตนิก-วี
ของประเทศรัสเซยี ซ่ึงใช้ไวรสั อะดโี นชนิดหนึ่งในเข็มท่ีหนึง่ และอีกชนิดหนึ่งในเข็มท่ีสอง(เพื่อหลีกเลีย่ งการทาลายไวรัส
พาหะในวคั ซีนเข็มทส่ี องจากภมู คิ ุ้มกันของมนุษยต์ ่อไวรัสอะดีโน จงึ ฉดี หา่ งกันสามสปั ดาห์ได้) มาใช้ในเมอื งไทยดว้ ย

o วธิ ใี ช้วัคซนี ของแอสตร้า เซเนกา้ คอื ฉดี ๒ ครง้ั เข้ากล้ามเน้อื ทตี่ น้ แขนห่างกัน ๑๐ สปั ดาห์ การเกบ็ รกั ษาวัคซีน
ไว้ที่อุณหภูมิ ๒-๘ องศาเซลเซียส ระยะห่างของการฉีดเข็มที่สองอยู่ระหว่าง ๘ ถึง ๑๒ สัปดาห์ (ระยะห่าง
ของการฉดี เขม็ ทสี่ องแตล่ ะวัคซนี ท่ีใช้ไวรสั พาหะนา mRNA จะแตกต่างกนั ได้)

o ประสิทธิภาพของวัคซีน mRNA ได้ผลดีกว่าวัคซีนชนิดเชอ้ื ไวรสั ทั้งตัวแบบเชอื้ ตายโดยพบวา่ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ได้ดีกว่า ประสิทธิภาพของวัคซีนของแอสตร้า เซเนก้า มีค่าเฉลี่ยอยู่ท่ีประมาณร้อยละ ๗๐ (รวมอาสาสมัครท่ี
ติดเช้ือทั้งท่ีมีอาการรุนแรงและไม่รุนแรง) แต่ถ้าฉีดเข็มท่ีสองห่างจากเข็มแรกถึง ๑๐-๑๒ สัปดาห์ จะมี
ภูมคิ ุ้มกันสงู ขึ้นไปถึงร้อยละ ๙๕ และป้องกนั การเจ็บปว่ ยแบบท่ีมีอาการจนต้องพบแพทย์ได้อยา่ งน้อยร้อยละ
๗๗.๙ ถึง ๙๕ และป้องกันการเจ็บป่วยรุนแรงหรือเจ็บป่วยถึงตายได้ร้อยละ ๑๐๐ นอกจากนี้ ข้อมูลเร็วๆ นี้

๗๖๒

พบว่า หลังการฉีดวัคซีนของแอสตร้า เซเนก้า เข็มแรกใน ๒ ถึง ๔ สัปดาห์ ก็ได้ผลสูงถึงร้อยละ ๘๘ ในการ
ป้องกันการเจ็บป่วยจากการติดเชื้อจนต้องรับไว้ในโรงพยาบาล(อังกฤษ)ในกลุ่มคนสูงอายุ(อายุ ๖๐ ถึง ๘๐ ปี
ขน้ึ ไป)
o นอกจากการฉีดเขา้ กล้ามเนื้อแลว้ ในอนาคตยงั มกี ารบรหิ ารอีกรูปแบบหนง่ึ ซึ่งคาดว่าจะเป็นท่ีนิยมมาก คือพ่น
ใส่รูจมูกหรือสูดดมเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ ขณะนี้มีหลายบริษัทกาลังศึกษาวัคซีนที่บริหารด้วยวิธีนี้อยู่ ผล
การศึกษาเบ้ืองต้นพบว่าได้ผลดีมาก การบริหารวัคซีนแบบพ่นใส่รจู มูกนี้จะเกิดประโยชน์มากเพราะใช้สะดวก
มาก ไม่ต้องฉีดเข้ากล้ามเน้ือ ใช้ในเด็กได้ด้วย ใหผ้ ลดใี นการป้องกันการแพร่เชื้อไปส่ผู ู้อ่ืนดว้ ยเพราะมีการสร้าง
แอนติบอดีเฉพาะท่ีบนผิวเย่ือบุจมูก มีฤทธิ์ไม่พึงประสงค์น้อย ใช้ได้ดีกับคนที่กลัวเข็มฉีดยาจึงไม่เกิดอาการ
ตน่ื เต้นกลัวเขม็ จนมีอาการทางประสาท การเกบ็ รักษาวคั ซีนก็ทาได้ง่าย ใครๆ กน็ ามาพ่นใสจ่ มูกได้
ชนิดท่ี ๓. วัคซีนชนิดใช้สารพันธุกรรมได้แก่ วัคซีนดีเอ็นเอ (DNA) หรือเอ็มอาร์เอ็นเอ (messenger RNA หรือ
mRNA) และสารนา mRNA เข้าเซลลม์ นุษย์

 วัคซีนกลุ่มนี้ ใช้ mRNA ตามเทคโนโลยีใหม่ที่กล่าวมาแล้วในวัคซีนชนิดที่สองแต่ไม่ใช้ไวรัสพาหะเป็นตัวสอดใส่ mRNA
เข้าไปในเซลล์มนุษย์เพ่ือหลีกเล่ียงแอนติบอดีชองมนุษย์ท่ีอาจจะมีมาก่อนและทาลายไวรัสพาหะจนทาให้วัคซีนหมด
ฤทธิ์ วัคซีนชนิดที่ ๓ ใช้นาโนพาร์ติเคิลซึ่งเป็นสารสังเคราะห์จากไขมัน(lipid nanoparticle) มานา mRNA เข้าเซลล์
มนุษย์ นักวิทยาศาสตร์ทาวัคซีน mRNA ได้ในสองเดือนหลังจากรัฐบาลจีนรายงานรหัสพันธุกรรมของเชื้อไวรัสโควิด-
๑๙ ให้องค์การอนามัยโลก ทาให้มีการผลิตวัคซีนและศึกษาวิจัยอย่างรวดเร็วจนสามารถประกาศประสิทธิภาพในการ
ป้องกันโรคได้ก่อนวัคซีนชนิดอื่น วัคซีน mRNA แบบนี้มี ๒ ชนิดท่ีจะใช้นามาในประเทศไทยคือ ของ Pfizer และ
Moderna ทั้งคู่มีประสิทธิภาพสูงใกล้เคียงกันถึงร้อยละ ๙๕ และได้รับการตอบรับอย่างดี มีการฉีดมากกว่า ๘๐ ล้าน
โดสภายในเวลา ๒ เดือน ส่งผลให้ประเทศท่ีฉีดวัคซีนน้ีได้อย่างท่ัวถึง เช่น ประเทศอิสราเอลมีผู้ติดเช้ือรายใหม่ลด
น้อยลงมากอย่างชัดเจน วัคซีน mRNA ทั้งสองชนิดน้ีต้องเก็บที่อุณหภูมิต่ามาก คือ ของ Pfizer เก็บท่ี -๗๐ องศา
เซลเซียส และ Moderna เกบ็ ที่ -๒๐ องศาเซลเซียส ทาให้เปน็ อปุ สรรคกับประเทศเมืองร้อนท่ีมคี วามพร้อมต่าในการ
รักษาลูกโซ่ความเย็นท่ีต้องการในการนาส่งวัคซีนและมีราคาสูง จึงทาให้เข้าถึงวัคซีน mRNA แบบนี้ค่อนข้างจากัด
นอกจากนี้อาจจะมีการแพ้สารนาโนพาร์ติเคิลได้ ซ่ึงทาให้วัคซีนกลุ่มนี้มีอัตราการแพ้รุนแรงแบบ anaphylaxis สูงกว่า
วัคซีนอ่ืนๆ ที่เคยมีการใช้มา พบว่าวัคซีนของ Pfizer มีอัตราแพ้ ๔.๗ รายในหน่ึงล้านโดส และ Moderna มีการแพ้
๒.๕ รายในหน่ึงลา้ นโดส วคั ซนี ทพ่ี ฒั นาในรนุ่ ถดั ไปจะลดปัญหาเหลา่ นี้ลงได้

ชนิดท่ี ๔. วัคซนี ชนิดใชโ้ ปรตนี สว่ นท่เี ปน็ หนามของเชือ้ ไวรัสโควิด-๑๙ ผสมกบั สารเรง่ ภูมิคุม้ กนั (adjuvant)

 วัคซีนกลุ่มน้ีมีช่ือเรียกว่า subunit vaccine หรือ acellular vaccine และใช้กันนานมาแล้วในการผลิตวัคซีนชนิดอื่น
เหมาะสาหรบั ผ้ทู ่ีมรี า่ งกายออ่ นแอหรือมภี มู ิคมุ้ กันต่าเพราะไม่ก่อโรค สารท่ีนามาใช้มีความคงตัวดี อาจจะใชโ้ ปรตีนหรือ
polysaccharide ของเชื้อมาทาเป็นวัคซีนได้ การทาวัคซีนชนิดน้ีใช้ baculovirus expression system ผลิตโปรตีน
แอนติเจน(spike protein)ที่อยู่บนผิวเช้ือก่อน แล้วนาโปรตีนแอนติเจนมาผสมกับสารเร่งภูมิคุ้มกัน (adjuvant) ได้แก่
adjuvant AF03 (บริษัท Sanofi Pasteur) หรือ AS03 (บริษัท GlaxoSmithkline) วัคซีนบางชนิดยังศึกษาจนถึง
ปัจจุบันยังอยู่ในระยะที่ ๑-๓ คือ กาลังตรวจสอบความปลอดภัยในมนุษย์และค้นหาขนาดที่เหมาะสมของโปรตีน
แอนติเจนส่วนที่เป็นหนามและชนิดและขนาดของสารเร่งภูมิคุ้มกันไม่ว่าจะเป็น AF03 หรือ AS03 มาทาเป็นวัคซีน

๗๖๓

การศึกษาที่ล่าสุดพบว่า วัคซีนของ Novavax มีผลการศึกษาก้าวหน้ามากท่ีสุด โปรตีนแอนติเจนส่วนท่ีเป็นหนามผลิต
มาจาก moth cell และนามาสกดั ให้บริสุทธ์ิ แล้วผสมกบั ตวั เรง่ ภูมคิ ุ้มกนั Matrix-M™ adjuvant ทาเปน็ วคั ซนี NVX-
CoV2373 การปอ้ งกันการติดเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ พบวา่ ป้องกนั การตดิ เช้ือไวรสั โควิด-๑๙ สายพันธ์เุ ดิมได้สงู ถงึ ร้อยละ
๙๖ ต่อสายพันธุ์อังกฤษ(B.1.1.7)ได้ร้อยละ ๘๖ และต่อสายพันธ์ุแอฟริกา(B.1.351)ได้ร้อยละ ๕๑ และป้องกันการ
เจ็บป่วยรุนแรงในผู้ท่รี บั วัคซีนได้ถงึ ร้อยละ ๑๐๐ วัคซีนชนิดนี้มคี วามปลอดภัยสูง เป็นเทคโนโลยีทใ่ี ชใ้ นการผลิตวัคซีน
ชนิดอน่ื มานาน ใช้ไดใ้ นคนที่มภี ูมคิ ุ้มกนั อ่อนแอ และตอ้ งฉีดสองครงั้ ห่างกันสามสัปดาห์ เก็บรักษาง่ายในตู้เยน็ ธรรมดา
(๒ ถงึ ๘ องศาเซลเซยี ส) บรรจขุ วดละ ๑๐ โดส

วัคซีนต้านไวรสั โควดิ -๑๙ ท่ีใชใ้ นประเทศไทยจนถึงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๔ มีย่ีห้อใดบ้าง?
วคั ซีนต้านไวรัสโควิด-๑๙ ที่กระจายอยู่ในไทย ณ ปจั จุบนั มี ๒ ยห่ี ้อรวม ๒,๑๑๗,๓๐๐ โดส เปน็ วคั ซีนซิโนแวค ๒

ลา้ นโดส ถกู นาเข้ามา ๓ ล็อตตามวันเวลาดงั น้ี
๑. วันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ จานวน ๒๐๐,๐๐๐ โดส
๒. วันท่ี ๒๐ มนี าคม จานวน ๘๐๐,๐๐๐ โดส
๓. วันท่ี ๑๐ เมษายน จานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ โดส
วัคซีนของแอสตร้า เซนเนก้า เดินทางถึงไทยล็อตแรก เม่ือ ๒๔ กุมภาพันธ์ จานวน ๑๑๗,๓๐๐ โดสและกาลังจะ

ผลติ โดยบรษิ ทั Siam Bioscience ใหไ้ ทยไดใ้ ชอ้ ีกลา้ นกว่าโดสขนึ้ ไป

หลังจากนี้ จะมีวัคซนี ตา้ นไวรัสโควิด-๑๙ ยี่ห้ออะไรอีกบ้างและพอใช้กับคนไทยได้ไหม?
กระทรวงสาธารณสุขประกาศว่า วัคซีนท่ีจะนามาในอนาคตตามแผนบริหารจัดการวัคซีนท่ีประกาศไว้คือ วัคซีน

แอสตร้า เซเนก้า ที่ผลิตในไทยจานวน ๖๑,๐๐๐,๐๐๐ โดส ทยอยออกมา ๗ ล็อต เริ่มในเดือนมิถุนายน จานวน
๖,๐๐๐,๐๐๐ โดส, กรกฎาคมจานวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ โดส, สิงหาคมจานวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐โดส, กันยายนจานวน
๑๐,๐๐๐,๐๐๐ โดส, ตุลาคมจานวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ โดส, พฤศจิกายนจานวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ โดส และ ธันวาคมจานวน
๕,๐๐๐,๐๐๐ โดส

นอกจากน้ี ยงั มแี ผนการจดั หาวคั ซีนอนื่ ๆ เพ่ิมเติม เช่น วนั ที่ ๒๔ เมษายน วคั ซีนซโิ นแวค ๕๐๐,๐๐๐ โดส เดินทาง
ถึงไทยแล้วและกาลังเจรจาซื้อวัคซีนซิโนแวคอีก ๑,๐๐๐,๐๐๐ โดสในเดือนพฤษภาคม ภายในส้ินปีนี้ คาดว่าจะมีวัคซีนไฟ
เซอร์ ๕-๑๐ ล้านโดส วัคซีนโมเดอร์นาอีกจานวนหนึ่งจัดหาโดยกลุ่มโรงพยาบาลเอกชน หรือวัคซีนของ จอห์นสันแอนด์
จอห์นสัน ที่ฉีดเข็มเดียว วัคซีนสัญชาติรัสเซีย สปุตนิก-วี รวมๆ แล้วประเทศไทยจะจัดหาวัคซีนยี่ห้อเพ่ิมเติมเหล่านี้อย่าง
น้อยประมาณ ๓๕ ล้านโดสโดยมีภาคเอกชนนาโดยสภาหอการค้าไทย ช่วยรัฐบาลจัดหาให้กับลูกจ้างของตนซึ่งจะช่วยลด
งบประมาณของรัฐบาลลงไปอีก คาดว่า ภายในส้ินปี ๒๕๖๔ ไทยจะมีวัคซีนอย่างน้อย ๑๐๐ ล้านโดส ฉีดให้ประชาชนได้
๕๐ ลา้ นคน ซ่งึ จะมีตานวนมากเพยี งพอทจี่ ะหยุดยัง้ การระบาดของเชือ้ ไวรสั โควดิ -๑๙ สายพันธุป์ จั จบุ ันได้

การฉีดวัคซนี ต้านไวรสั โควิด-๑๙ ในประเทศไทยจนถงึ วันที่ ๒๑ เมษายนมคี วามคบื หน้าอย่างไร? มีผู้ได้รับ
ข้อมูลการฉีดวัคซีนเข็มท่ี ๑ และ ๒ ตั้งแต่วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์จนถึงวันที่ ๒๑ เมษายน (๕๓ วัน)

วคั ซนี แลว้ ๘๖๔,๘๔๐ โดสใน ๗๗ จงั หวัด พบว่า

๗๖๔

 ผไู้ ด้รับวัคซนี เข็มที่ ๑ จานวน ๗๔๖,๗๑๗ โดส

 ผู้ไดร้ ับวัคซีนเข็มท่ี ๒ จานวน ๑๑๘,๒๒๓ โดส

รัฐบาลควรสง่ เสรมิ ให้เอกชนจดั หาวัคซนี มาใชใ้ นประเทศไทยและอนุมัติ

ให้มกี ารฉีดได้อย่างกว้างขวาง และใหก้ ารเยยี วยาแก่ผทู้ มี่ อี าการแพ้

จนบาดเจบ็ พิการ หรอื ถึงแก่กรรมโดยตรงจากการฉีดวัคซนี ดว้ ย

เหตุการณไ์ มพ่ ึงประสงค์(อาการขา้ งเคยี งและอาการแพ้) ที่พบได้จากการฉดี วัคซีนตา้ นไวรัสโควิด-๑๙
อาการข้างเคียงเฉพาะท่ี (ตรงกล้ามเนอื้ ทฉ่ี ีดวคั ซนี )

หลังฉีดใน ๑-๓ ช่ัวโมงแรก อาจจะรู้สึกตึงๆ ที่ต้นแขน ต่อมา รู้สึกเจ็บเล็กน้อยท่ีต้นแขนได้ ต้นแขนจะไม่บวมหรือ
บวมจนเห็นชดั เจน จะไมร่ ู้สกึ เจบ็ เมอื่ ลบู ผา่ นผวิ หนังตรงตาแหนง่ ท่ฉี ีดวัคซีน
อาการขา้ งเคียงทั่วร่างกาย(ตามระบบ)

หลังฉีดได้ ๒๔ ช่ัวโมง อาจจะมีไข้ต่าๆ ไปถึงสูงได้ มีอาการปวดศีรษะ ปวดเม่ือยกล้ามเน้ือตามแขน ขา รู้สึก
อ่อนเพลียเล็กน้อย รู้สึกไม่ค่อยสะบาย เบื่ออาหารเล็กน้อย อาการเหล่านี้แสดงว่า ภูมิคุ้มกันของเราถูกกระตุ้นจากการฉีด
วัคซนี และรา่ งกายกาลังสร้างภูมิคุ้มกัน อาการไข้และปวดศรี ษะ ปวดเมอ่ื ยตามตัวบรรเทาได้ดว้ ยการกินยาพาราเซตามอล
(๕๐๐ มก. ในผู้ใหญ่) ครั้งละ ๑ เม็ด เพียง ๑-๓ ครั้งก็น่าจะพอ โดยทั่วไปอาการเหล่านี้เกิดไม่นานเกิน ๓-๕ วัน ผู้ท่ีได้รับ
การฉดี เข็มที่สอง อาจจะมอี าการขา้ งเคยี งรนุ แรงมากข้ึนบ้าง แต่จะไมไ่ ด้มมี ากมายจนผดิ ปกติ
อาการแพ้วคั ซีน

อาการแพ้เป็นเรื่องเฉพาะตัวของแต่ละบุคคลที่ไม่อาจจะไม่คาดการณ์ได้ว่าจะเกิดหรือไม่ อาจจะแพ้ที่ตัวไวรัสหรือ
สว่ นประกอบของตัวไวรสั หรอื แพ้สว่ นประกอบอืน่ ๆ ท่ีผสมกบั ตวั ไวรัสหรอื สว่ นประกอบของตัวไวรสั เพ่ือทาเป็นวคั ซนี

 อาการแพท้ ร่ี ุนแรงทเี่ กิดใน ๓๐ นาทแี รกหลังฉดี วคั ซนี
o อาจจะมีอาการหายใจลาบาก, แน่นหน้าอก ใจส่ัน กระวนกระวายจากหลอดลมตีบ ริมฝีปาก ล้ินหรือลาคอ
บวม บางรายเกิดลมพิษที่ผิวหนัง พบได้ประมาณ ๕ รายในการฉีดหนึ่งล้านคนสาหรับผู้ฉีดวัคซีนของไฟเซอร์
มกั พบในเพศหญิงและเคยมีประวัติแพ้อาหารหรือสารอ่ืนๆ แบบมีลมพษิ หรือแน่นหนา้ อกมาก่อน ดงั นนั้ หลงั
ฉีด ๓๐ นาทีแรก ให้ผู้ถูกฉีดนั่งและมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดจากแพทย์ พยาบาล และหากมีอาการดังกล่าว
เกดิ ขนึ้ จะมยี าแก้ไขไดท้ นั ที
o แต่มีบางรายเกิดอาการเด่นชัดของระบบประสาท เช่น อาการชาครึ่งซีก แขน ขาอ่อนแรง พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว
คล้ายคลึงกับโรคทางสมอง ดังที่เป็นข่าวในบุคลากรท่ีปฏบิ ัติงานทางการแพทย์ ๖ รายท่ีฉีดวัคซีนซิโนแวคและ
ในท่ีอื่น(ฉีดวัคซีนชนิดนี้ไปแล้ว ๖๐๐,๐๐๐ ราย) การตรวจเอกซเรย์สมองด้วยเคร่ืองตรวจคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า
ไม่พบความผิดปกติของเน้อื สมอง มีหน่ึงรายสงสัยว่า หลอดเลือดสมองหดตัวชว่ั คราวทาให้เกิดอาการดังกลา่ ว
อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เกิดอาการเหล่าน้ีพบว่า หลังการดูแลรักษา อาการของทุกคนเป็นชั่วคราวและหายกลับมา
เป็นปกติภายใน ๑ ถึง ๓ วัน อาการในกลุ่มน้ีอาจจะแยกยากออกจากกลุ่มที่มีสาเหตุจากความตื่นเต้น เครียด
วิตกกังวล หรือกลัวเข็มหรือการฉีดวัคซีน (คล้าย ๆ กับคนท่ีเห็นเลือดหรือถูกเจาะเลือดแล้วเป็นลมเกือบจะ
ทันที พบได้ถึงร้อยละ ๑ ถึง ๓ ของผู้ถูกฉีดยาหรือวัคซีนในคนอายุน้อย ต้องให้นอนพัก ดมยาดมกระตุ้นแล้ว
จะหายเป็นปกติ) องค์การอนามัยโลกตั้งช่ือภาวะน้ีในคนกลุ่มนี้ว่า Immunization Stress-Related
Responses (ISRR) อาการท่ีเกิดจากความเครียดแบบน้ีหลังกการฉีดวัคซีนมักพบในคนอายุน้อย ความเครียด
วิตกกงั วลจะกระต้นุ ระบบประสาทอตั โนมัติ ทาให้เกิดอาการดงั กล่าวแต่แก้ไขง่าย

๗๖๕

 ตัวอย่างของเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ในระบบประสาท เกิดท่ีโรงพยาบาลระยองระหว่างวันท่ี ๕-๙
เมษายน ๒๕๖๔ มีการฉีดวัคซีนให้บุคลากรทางการแพทย์ ๓,๐๒๙ รายพบอาการไม่พึงประสงค์
ภายหลังได้รับวัคซีน ๗๒ ราย(ร้อยละ ๒.๓๗) ในจานวนนี้เป็นอาการไม่พึงประสงค์ขั้นรุนแรง
(Serious AEFI) จานวน ๖ ราย ทกุ รายเปน็ เพศหญิง สญั ชาตไิ ทย อายุระหว่าง ๒๑-๕๔ ปี ท้ังหมดรับ
การฉีดวัคซีน CoronaVac ของบริษัทซิโนแวค เลขที่ผลิต Lot No. J202103001m6dik เดียวกัน
จานวน ๗๖ กล่อง วันหมดอายุคือวนั ท่ี ๑ กนั ยายน ๒๕๖๔

ดังนั้น การอยู่ในความดูแลของแพทย์ภายใน ๓๐ นาทีแรกหลังฉีดวัคซีน ก็เพื่อให้แพทย์ตรวจแยกแยะสาเหตุที่ทา
ให้เกิดอาการแพ้รุนแรง อาการผิดปกติทางระบบประสาท อาการจากความเครียด วิตกกังวลดังกล่าวและทาการแก้ไข
ให้ทันท่วงที อาการดังกล่าวจะหายกลับมาปกติภายใน ๑ ถึง ๓ วัน การป้องกันภาวะเหล่านี้ได้แก่ การเตรียมตัวกอ่ น
การได้รับวัคซีนประกอบด้วย การพักผ่อนให้เต็มที่ ด่ืมน้าให้เพียงพอ และเตรียมสภาพจิตใจให้ผอ่ นคลาย สุดท้ายให้ผู้
ถูกฉีดวัคซีนน่ังให้สบายขณะฉีดวัคซีนเพ่ือป้องกันการเป็นลมและล้มลงบนพ้ืน ในห้องสังเกตุอาการก็มีการเตรียมยา
แก้ไขไวใ้ หพ้ ร้อม

 อาการแพ้ท่เี กดิ หลัง ๓๐ นาทแี รกจนถึงสามหรอื ส่สี ัปดาหห์ ลังการฉดี วัคซนี
o บางรายมผี ่นื ตามผิวหนงั ลมพษิ ปวดทอ้ ง อาเจียน ปวดเมือ่ ยตามตวั นานหลายวัน
o มีน้อยรายมากๆ ท่ีทาให้เกิดกลุ่มอาการล่ิมเลือดอุดตันในหลอดเลือดดาหรือแดงในสมองหรือช่องท้อง เกล็ด
เลือดต่า มเี ลือดออกในสมอง บางรายมเี นอ้ื สมองตาย มีจุดเลอื ดออกตามผิวหนังหรือในร่างกาย มกั พบในเพศ
หญิง อายุต่ากว่า ๖๐ ปี และเกิดภายใน ๓ สัปดาห์ พบครั้งแรกหลังฉีดวัคซีนแอสตร้า เซเนก้า ต่อมาพบใน
วัคซีน จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน บางรายมีอาการชัก กลุ่มอาการนี้มีชื่อว่า vaccine-induced immune
thrombotic thrombocytopenia (VITT) ผูท้ ี่แพจ้ นเกิดกลุ่มอาการนมี้ ีระดับแอนติบอดีสูงต่อเกล็ดเลือด(สาร
PF4–polyanion complexes)จนเกล็ดเลือดถูกทาลายและเกิดล่ิมเลือดในหลอดเลือดดาในสมองและช่อง
ท้อง บางแห่งใช้ชื่อว่า Vaccine-Induced Prothrombotic Immune Thrombocytopenia (VIPIT) ให้ถือ
ว่า อาการแพ้เกิดจากกลไกการเกิดโรคอย่างเดียวกัน พบอาการแพ้แบบนี้ในผู้ฉีดวัคซีนประมาณ ๑ รายใน
๑๒๕,๐๐๐ ถึงหนึ่งล้านคน ไม่มีรายใดติดเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ มาก่อนและไม่เคยรับยาต้านเลือดแข็งเฮปารีน
(heparin)มากอ่ นซง่ึ เป็นยาทก่ี ระตุน้ ให้เกดิ ภาวะนี้ไดด้ ้วย
o ข้อมูลจนถึงปลายเดือนเมษายน พบอุบัติการณ์การเกิดล่ิมเลือดในหลอดเลือดดาในสมองและช่องท้องจาก
การศกึ ษาของมหาวิทยาลัยออกฟอรด์ จากการฉีดวัคซนี mRNA ดงั น้ี
o ๐.๔ รายต่อล้านคนในประชากรปกตทิ ัว่ ไป
o ๔ รายตอ่ หนงึ่ ล้านคนที่ฉีดวัคซนี ของไฟเซอร์
o ๔ รายต่อหนึ่งลา้ นคนที่ฉดี วคั ซนี ของโมเดอนนา
o ๕ รายตอ่ หนงึ่ ลา้ นคนท่ฉี ีดวคั ซีนของแอสตรา เซเนกา
o ๓๙ รายตอ่ หน่ึงลา้ นคนทต่ี ิดเช้อื ไวรสั โควดิ -๑๙

ดังน้นั หากผฉู้ ีดวคั ซีนต้านไวรสั โควดิ -๑๙ รายใดมอี าการปวดศรี ษะรุนแรง มอี าการทางระบบ
ประสาททีผ่ ิดปกตมิ าก ให้รีบมาพบแพทย์

๗๖๖

ส่วนประชาชนท่ัวไป ให้รีบฉีดวัคซีน“เพื่อชาติ”ให้รวดเร็วท่ีสุด เพ่ือคุ้มครองชาติให้รอดจากการ
ระบาดระลอกสามน้ี และตัวท่านจะได้รับการป้องกันจากการติดเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ หรือป้องกันการ
เจ็บป่วยรุนแรงจากโรคซ่ึงถือว่า คุ้มค่ามากกว่าการไม่ไปฉีดวัควีน หรือคุ้มค่าท่ีจะเส่ียงเพียงนิดเดียวจาก
การแพว้ คั ซนี ทรี่ ุนแรง
o ส่วนผทู้ ี่เคยแพ้วัคซีนอย่างรุนแรงและเคยป่วยเปน็ แขนขาเป็นอัมพาตนาน ๗ ถึง ๑๐ วันขึ้นไป (กลมุ่ อาการกิล
แลง-บาร์เร, Guillan Barre Syndrome หรอื GBS) อาจจะพิจารณางดการฉีดวคั ซีนไปก่อน จนกว่าจะมีข้อมูล
เพ่มิ เติมในดา้ นความปลอดภยั ในเร่อื งนี้จากการฉดี วัคซีน
o ประเทศอิสราเอลมีการฉีดวัคซีนของไฟเซอร์ไปแล้วมากกว่า ๕ ล้านโดส แล้วเร่ิมมีรายงานว่า พบกล้ามเนื้อ
หัวใจอักเสบในผู้ถูกฉีด ๖๒ ราย และ ๕๖ จาก ๖๒ รายเกิดหลังการฉีดเข็มท่ีสอง ส่วนมากพบในเพศชายอายุ
นอ้ ยกวา่ ๓๐ ปี กาลงั สอบสวนว่า กลา้ มเนื้อหัวใจอักเสบสัมพนั ธ์โดยตรงกับการฉีดวคั ซีนของไฟเซอร์หรอื ไม?่

ขอยกตัวอย่างของการคิดความคุ้มค่าของการฉีดวัคซีนในมุมมองของรัฐบาลหรือองค์กรติดตามอาการแพ้ที่รุนแรง
จากการฉีดวัคซีนท่ีแสดงว่า การฉีดวัคซีนคุ้มค่ากับความเสี่ยงที่จะเกิดอาการแพ้และควรฉีดวัคซีน“เพ่ือชาติ”ต่อไปหรือไม่
เรว็ ๆ น้ี มีอาการแพ้เกิดลม่ิ เลือดในหลอดเลือดดาในผู้ท่ีฉดี วัคซีน จอห์นสนั แอนดจ์ อห์นสัน พบวา่ การฉีดเข็มเดียวทาให้เกิด
ลิ่มเลอื ดและเกร็ดเลือดตา่ จานวน ๒๖ ถึง ๔๕ รายภายในสามสปั ดาห์หลังฉีด ซึ่งมวี ธิ กี ารแก้ไขได้(ถ้ามีอาการปวดศรี ษะโดย
ไม่ทราบสาเหตุ เป็นอาการเตือนมาก่อน) แต่จะปอ้ งกนั ผู้ติดเชื้อไวรสั โควิด-๑๙ ทจี่ ะถึงตายได้ถงึ ๖๐๐ ถงึ ๑,๔๐๐ รายและ
ป้องกันจานวนผู้ตดิ เชอื้ ทีจ่ ะเข้ารักษาในหออภิบาลได้ถงึ ๓,๕๐๐ ราย คณะกรรมการดา้ นความปลอดภยั ของวัคซีนจงึ อนุมัติ
ให้ฉีดวคั ซีนชนิดน้ีตอ่ ไปได้หลงั จากพกั การฉีดวคั ซีนชนิดน้ีมาหนึง่ สัปดาห์

ทาไมการสวมหนา้ กากอนามยั จงึ เปน็ วัคซนี ปอ้ งกนั โควดิ -๑๙ ที่ดีทสี่ ุดในโลก?
การสวมหนา้ กากอนามัยปอ้ งกนั การรบั เชอ้ื เขา้ รูจมูกและชอ่ งปาก

หากพลาดพล้ังรบั เชื้อเขา้ มา จานวนเชือ้ ทไี่ ดร้ ับจะมีน้อยกว่าและเชื้อไม่ได้ลอย
เขา้ ไปถงึ ปอดเป็นจานวนมาก ร่างกายยังสรา้ งภูมิค้มุ กนั ขนึ้ มาต่อสกู้ บั เช้อื โรคได้ทันกาล
ผทู้ ี่ฉดั วคั ซนี มาแล้วจะทาให้ระดับภมู ิค้มุ กนั ถูกกระตุน้ ใหเ้ กดิ ไดส้ ูงข้ึนไปอีก
หนา้ กากอนามัยจึงเปน็ วคั ซีนทีใ่ ห้ประโยชน์ท่ีทาให้เกิดภูมิค้มุ กัน และไมท่ าใหเ้ กดิ
อาการไม่พึงประสงคท์ ้ังหลาย ไมว่ า่ การแพ้วัคซีนแบบหอบเหนอ่ื ยหรือ
การเกดิ ลม่ิ เลือดในบางรายทฉ่ี ดี วคั ซนี นอกจากนี้ การสวมหน้ากากอนามัย ยงั ช่วย
ป้องกนั การติดเชอื้ ไวรัสไดท้ กุ ชนดิ และทกุ สายพันธ์ุ จึงควรใชร้ ่วมกบั การฉดี วคั ซนี
ตา้ นไวรัสโควดิ -๑๙ ไว้กอ่ น จนกวา่ การระบาดของโรคโควิด-๑๙ จะสงบลงทั่วโลก
อย่างแท้จรงิ จึงจะไมต่ ้องสวมหน้ากากอนามัยได้

๗๖๗

ภาพแสดงใหเ้ หน็ ผลข้างเคยี งทีอ่ าจจะเกดิ จากการฉดี วัควนี ต้านไวรสั โควดิ -๑๙ จานวน ๖ ชนดิ

๗๖๘

ทาไมคนอ้วนทม่ี ดี ัชนมี วลกายสงู ถงึ ๒๕ (น้าหนกั กก.ตอ่ ความสงู เป็นเมตร ยกกาลงั สอง)
หรือเกิน ๓๐ จงึ ป่วยรนุ แรงจากโรคโควิด-๑๙ (แมจ้ ะฉีดวัคซีนแลว้ )?

ถึงแม้การศึกษาวิจัยจะพบและอ้างว่า ความอ้วนหรือเซลล์ไขมันทาให้มีความผิดปกติในภูมิคุ้มกัน คือ ทาให้
เกิดปฏิกิริยาอักเสบมากข้ึนและยังมีภูมิคุ้มกันบกพร่องเมื่อมีการติดเช้ือหรือปอดอักเสบ แต่ไม่มีใครกล่าวถึงต้นเหตุ(ปฐม
ภูมิ)เลยวา่ ทาไมจงึ เป็นเชน่ นั้น? ความจรงิ คือวา่ เพราะคนอว้ นเหล่านี้รับเชื้อเข้าเน้ือปอดจานวนมากกว่าปกติในตอนแรกที่
รับเช้ือน่ันเอง จึงเกิดปฏิกิริยาอักเสบมากและเกิดหลายจุดในเนื้อปอด และทาให้ภูมิคุ้มกันออกมาต่อสู้เช้ือไวรัสแบบไม่ทัน
กาล จึงคิดว่าภูมิคุ้มกันมีความบกพร่องและทาให้โรคกระจายเร็ว ท่ีจริง ความอ้วนทาให้ผู้นั้นต้องหอบเหนื่อยง่าย หายใจ
เข้า-ออกแรงขึ้นเวลาออกแรงเดิน การหายใจแรง ๆ เข้า-ออก ทาให้เช้ือไวรัสถูกนาเข้าจากทางเดินหายใจส่วนบนล่องลอย
เข้าเนื้อปอดเร็วขึ้นและมีจานวนมากกว่าคนปกติเม่ือเปรียบเทียบเป็นจานวนเช้ือที่เข้าเนื้อปอดต่อหน่ึงช่ัวโมงแรกท่ีรับเชื้อ
เข้าเน้ือปอด เป็นต้น ร่างกายใช้เวลาประมาณ ๗ ถึง ๑๔ วันกว่าจะสร้างภูมิคุ้มกันต่อสเู้ ช้ือโรคได้ดี การที่มีเชื้อเข้าเนื้อปอด
พร้อมกันจานวนมากจึงทาให้ดเู หมือนโรคกระจายไปจุดต่าง ๆ ในเน้ือปอดได้เร็วโดยไร้ภมู ิคุ้มกันมาต้านทาน เปรียบเสมอื น
ข้าศึกจานวนหมื่นรายบุกเข้าบ้านทีเดียวถึงห้องโถงจนเจ้าบ้านตั้งตัวต่อสู้ไม่ทัน ในขณะที่คนน้าหนักปกติ เชื้อโรคค่อย ๆ
ลงไปในเน้ือปอดช้า ๆ และมีจานวนน้อย เปรียบเสมือนข้าศึกหรือโจรมีเพียงสิบ ย่ีสิบราย ค่อยๆ ย่องเข้ามาที่ประตูบ้าน
จนกวา่ จะปีนป่ายเขา้ มาถึงห้องโถง เจ้าบา้ นกร็ ู้ตัวกอ่ นและเตรยี มตวั ต่อสู้ได้ทนั ร่างกายของคนปกตทิ ีม่ ีดัชนมี วลกายปกติก็
เชน่ กันจะสร้างภูมิค้มุ กันไดท้ ันและออกมาต่อสเู้ ชื้อโรคไดด้ ี

เช่นเดียวกัน ผู้ที่ติดเชื้อแล้วและมีอาการน้อย ควรนอนพักผ่อนให้มาก อย่าคิดว่า ไปออกกาลังกายแล้วจะช่วย
รกั ษาโรคได้ ตรงกันข้าม การออกกาลังกายจนต้องหายใจแรง หอบเหนอ่ื ยจะเป็นการนาเช้ือจานวนมากลงส่ปู อดเรว็ ข้ึนจน
ภูมิคุ้มกันไม่ทันได้เกิดมาช่วยทัน ถ้าออกกาลังหักโหมแบบนี้ ประมาณ ๒๔-๔๘ ชั่วโมงต่อมา ปอดจะอักเสบรุนแรงขึ้น เกิด
รอยโรคหลายจุดในปอดและเกิดเร็ว นี่อาจจะเป็นสาเหตุท่ีนักกีฬาแข็งแรงแต่ติดเชื้อโรคโควิด-๑๙ ถึงแก่กรรมอย่างน่า
เสียดายภายใน ๑ สปั ดาห์หลงั จากติดเชื้อ

สถานการณ์ของการพัฒนาวคั ซนี ต้านไวรสั โควดิ -๑๙ ในโลก ณ วันท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๖๔ และจานวนวคั ซีนในอนาคต
โดยสรปุ จนถงึ วันท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๖๔ มอี งคก์ รหรอื บริษัททน่ี าวคั ซนี ตา้ นไวรสั โควดิ -๑๙ มาศึกษาวิจัยอยู่ในระยะต่าง ๆ
ดงั น้ี

 ระยะก่อนทจ่ี ะมาใชใ้ นมนุษย์ หรือกาลังใช้ในสัตว์ทดลอง มีจานวนมากถึง ๑๘๔ องคก์ ร/บริษัท

 ระยะที่ ๑ (phase 1) มจี านวน ๓๑ องค์กร/บริษทั (ศกึ ษาความปลอดภัยของวคั ซีน)

 ระยะท่ี ๒ (phase 2) มีจานวน ๓๓ องค์กร/บริษัท (ศึกษาขนาดท่ีเหมาะสมและความปลอดภัยของของวัคซีนที่
จะใชใ้ นคน)

 ระยะท่ี ๓ (phase 3) มีจานวน ๒๓ องค์กร/บริษัท (ศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของวัคซีนท่ีใช้ใน
สถานการณ์ปจั จบุ นั /ในพน้ื ทที่ ี่มกี ารระบาดจริง)

 ระยะทีไ่ ด้รับอนุมัติอยา่ งฉุกเฉินให้ใชไ้ ด้และกาลงั ใช้อยู่ มีจานวน ๑๓ องคก์ ร/บรษิ ัท

 ระยะที่ ๔ (phase 4) (เม่ือมีการใช้วัคซีนในวงกว้าง ยังมีการติดตามศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยของ
วัคซีนหลังเสรจ็ สิ้นการศึกษาในระยะที่ ๓ ในประชากรกลุ่มใหญข่ ้ึนกว่าระยะท่ี ๓ ในพ้ืนที่จริงท่ีใช้วัคซีน) มีจานวน
๔ องคก์ ร/บริษัท

๗๖๙

โดยสรปุ

ในขณะที่โรคโควิด-๑๙ กาลังระบาดหนักท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศ ประชาชนชาวไทยท่ัวไปควรรีบฉีด
วคั ซนี ตา้ นไวรัสโควดิ -๑๙ “เพ่ือชาติ”อยา่ งเร่งด่วน ทา่ นจะฉดี วัคซีนชนิดใดก็ได้ตามข้อกาหนดของวัคซนี วัคซนี ที่มอี ยู่จะใช้
ปอ้ งกนั เช้ือไวรัสกลายพนั ธุ์ท่ีก่อโรคในประเทศไทยได้ รัฐต้องปอ้ งกันเชื้อไวรัสที่กลายพันธ์แุ ละระบาดในต่างประเทศเข้ามา
แพร่เพิ่มเติมในประเทศไทยอีก ท่านท่ีมีประวัติแพ้ยาหรืออาหารอย่างรุนแรง แนะนาให้แจ้งแพทย์/พยาบาลทราบก่อนจะ
ฉีดวัคซีนเพ่ือเตรียมการแก้ไข เด็กเล็กอายุต่ากว่า ๑๒ ปีและหญิงต้ังครรภ์ใน ๖ เดือนแรกควรเล่ือนการฉีดวัคซีนออกไป
กอ่ น หลงั ฉดี วัคซีนแลว้ ให้นง่ั พักเฝ้าระวังตนเองเป็นเวลา ๓๐ นาที ระหว่างนห้ี ากมอี าการผดิ ปกติอย่างไร ใหแ้ จ้งแพทย์/
พยาบาลทันที อาการผิดปกติท่ีเกิดขึ้นใน ๗ ถึง ๒๑ วันหลังฉีดวัคซีนก็ต้องแจ้งแพทย์/พยาบาลเชน่ กัน ภาวะลิ่มเลือดอุด
ตันและอาการแขนขาชาหรืออ่อนแรงเป็นอาการแพ้ท่ีแทรกซ้อนและเกิดน้อยมาก สามารถแก้ไขได้ ในอนาคตอันใกล้ จะมี
การบริหารวัคซีนต้านไวรสั โควิด-๑๙ ผ่านทางการสูดดมหรือสูดพ่นผ่านรูจมูกซึ่งจะสะดวกและได้ผลดีมากขึ้นอีกโดยเฉพาะ
การป้องกันการแพร่เชื้อและอาจจะลดอาการแพ้วัคซีน แม้จะฉีดวัคซีนครบแล้วยังต้องใช้วิถีชีวิตใหม่อย่างเข้มข้น(new
normal plus)ต่อไปก่อนอีกอย่างน้อย ๖ เดือนเพ่ือลดโอกาสการรับเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ โดยเฉพาะเช้ือกลายพันธ์ุจาก
ต่างประเทศ การสวมหน้ากากอนามัย การลดเวลาเข้าไปในชุมชนสาธารณะ(ไม่เกิน ๑๕ นาทีย่ิงดี) การล้างมือ การ
หลีกเลี่ยงการเขา้ ไปห้องที่อากาศไม่ถา่ ยเท จะทาให้เราติดเชือ้ หรอื ไม่เจบ็ ปว่ ยรุนแรงและภมู ิคมุ้ กันอาจจะถูกกระตนุ้ จากการ
ติดเช้ือท่ีไม่มีอาการใด ๆ ก็ได้ หวังว่า ทุกท่านจะปลอดภัยจากโรคโควิด-๑๙ และได้รับวัคซีนต้านไวรัสโควิด-๑๙ โดยเร็ว
ทกุ ท่านครบั

ท้ายสุดนี้ ผู้เขียนขออนุญาตใช้ภาพ ข้อมูลบางส่วนจากส่ือสาธารณะและผู้นิพนธ์ท่านอ่ืนที่ให้ข้อมูลผ่านส่ือ
สาธารณะมาแล้ว เป็นวทิ ยาทานในบทความน้ี

๗๗๐

วัคซีนโควดิ -๑๙ ฉดี เขม็ แรก SNV ตามดว้ ยเขม็ สอง AZ: ใชไ้ ด้ไหม..กบั ใคร?

ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ นายแพทย์อมร ลลี ารศั มี
นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ฯ
รองอธิการบดี มหาวิทยาลยั สยาม
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๔

วันนี้ ใน กทม. และปริมณฑล ถูกเช้อื ไวรัสเดลตา้ บุกทะลุทะลวงมาแรงจนผูต้ ิดเช้ือที่ปว่ ยหนักมีจานวน
มากข้ึนและเตยี งในโรงพยาบาลในเขตนี้มีไม่พอทจี่ ะรบั ไว้ ส่วนหมอ พยาบาล รวมทง้ั บุคลากรด่านหน้าก็ทางาน
จนจะแบกรับภาระงานไม่ไหวแล้ว สถานการณแ์ บบนี้ทาให้เราต้องแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในแต่ละวนั ท้ัง ๆ ท่ี
ข้อมูลวิชาการในด้านต่าง ๆ ยังมีไม่มากพอ แม้เราจะเร่งฉีดวัคซีนให้ครบท้ังสองเข็มอย่างเต็มศักยภาพและ
สุดกาลัง ก็ดูเหมือนเรายังตามหลังการระบาดของเชื้อไวรัสเดลต้าอยู่จนจานวนผู้ป่วยหนักล้นเตียงล้นมือหมอ
คาถามคอื ยงั พอจะมีวธิ กี ารอะไรอกี ไหม ท่จี ะช่วยลดจานวนผูป้ ่วยหนกั ลงอย่างรวดเรว็ ?

คาตอบท่ีเสนอออกมาจากคณะกรรมการฯ คือ การฉีดวัคซีนแบบผสม สาหรับผมแล้ว ขอกล่าวถึง
การฉดี แบบผสมวธิ ีเดยี วคอื ฉีดวคั ซนี โควดิ -๑๙ เข็มแรกเป็น Sinovac เข็มทสี่ องเป็น AstraZeneca หา่ งกัน ๓
สัปดาห์ ผมคิดว่า การฉีดแบบผสมน้ีเป็นทางออกที่ดีในขณะน้ี (นอกจากการฉีด Sinovac ๒ เข็ม ห่างกัน ๓
สัปดาห์ หรือฉีด AstraZeneca 2 เข็มแต่ต้องฉีดห่างกัน ๑๒ สัปดาห์) การฉีดแบบผสมน้ีมีวัตถุประสงค์อย่าง
เดียวคือ ต้องการเร่งสร้างภูมิคุ้มกันให้สูงข้ึนอย่างรวดเร็วเพื่อลดจานวนผู้ติดเช้ือท่ีป่วยหนักจนต้องใช้เตียงใน
โรงพยาบาล ไม่ได้ออกแบบมาเพ่ือลดการติดเชื้อนะครับ แต่เพ่ือแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าท่ีรุมเร้าจานวนเตียง
และภาระงานของหมอ ในเขต กทม. และปริมณฑล ในขณะนี้

การฉีดวัคซีนโควิด-๑๙ เข็มแรกเป็น Sinovac เข็มที่สองเป็น AstraZeneca ห่างกัน ๓ สัปดาห์ เป็น
ขนาดของวัคซีนทผ่ี มยอมรับได(้ แมย้ ังมขี ้อมูลน้อย) คอื ขนาดของวัคซีนยังไม่มากเกินไปจนอาจจะทาให้เกิดผล
ข้างเคียงหรือการแพ้ที่รุนแรงมากข้ึนกว่าการฉีดวัคซีนอ่ืน ๆ ตามวิธีปกติได้ เหมือนกับการกินยาพาราเซตา
มอล ๒ เม็ดซึ่งอยู่ในขนาดยาท่ีเหมาะสม แต่ได้ยามาจากคนละบริษัท ฉีดแบบผสมนี้กระตุ้นภูมิคุ้มกันได้สูง
และเร็วกว่าการฉีดแบบปกติท่ีเรามีอยู่ ได้ภูมิคุ้มกันในระดับใกล้เคียงกับการฉีด AstraZeneca ๒ เข็มหรือต่า
กว่าเล็กน้อย การแพ้วัคซีนชนิดที่รุนแรงและคุกคามถึงชีวิตไม่น่าจะมีมากกว่าการฉีด AstraZeneca ๒ เข็ม
จึงเป็นทางเลือกท่ีเหมาะสมในสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสเดลต้าในขณะนี้ ผมจึงสรุปว่า ใช้ได้ ไม่
น่าจะขัดแยง้ กบั คาแนะนาขององคก์ ารอนามัยโลก หรือของใครนะครับ

แล้วจะใช้กับใคร เม่ือไหร่ ผมขอให้ใช้ใน กทม. และปริมณฑล ก่อน หรือในพื้นที่สีแดงเข้มที่การ
ระบาดของเชื้อไวรัสเดลต้ายังพุ่งไม่หยุด เพ่ือทาให้จานวนผู้ติดเช้ือที่มีอาการรุนแรงจนต้องเข้าโรงพยาบาล
ลดลง ขอใช้การฉีดแบบผสมนี้นาน ๓ เดือนและติดตามผลการฉีดแบบผสมนี้ว่า ลดจานวนผู้ติดเชื้อที่ป่วย
รุนแรงลงได้จริงไหม และมีความปลอดภัยเท่าเทียมกับวิธฉี ีดตามปกติหรือไม่ คล้ายกับเป็นการทาวิจัยในระยะ
ท่ี ๒-๓ ท่ีต้องวัดประสิทธิผลและติดตามความปลอดภัย เพ่ือนาข้อมูลมาสรุปและเผยแพร่ให้ประชาคมโลก
ทราบทวั่ กัน

๗๗๑

ผู้มีอานาจส่ังการตามกฎหมายให้ใช้วิธีนี้ได้ ต้องรีบตัดสินใจออกคาส่ังหรือประกาศว่า จะสั่งให้ใช้
หรือไม่ เพราะกว่าจะเห็นผลจากการฉีดวัคซีนแบบผสมน้ี ต้องใช้เวลาอีกหน่ึงเดือนคร่ึง ส่วนวิธีอ่ืนนอกจากนี้
และเท่าที่เรามีวัคซีนอยู่ในวันนี้ ก็มีการฉีดวัคซีน AstraZeneca เป็นเข็มแรกไปก่อน (มีวิธีฉีดท่ีเร่งการสร้าง
ภูมิคมุ้ กนั แต่ขอไม่กล่าวถงึ )

ผมจึงสรุปจากความคิดเห็นของผมว่า ผู้มีอานาจสั่งการตามกฎหมายให้ใช้วิธีน้ีได้ ต้องรีบตัดสินใจ
ส่ังให้ใช้การฉีดวัคซีนแบบผสมนี้เป็นอีกหนึ่งทางเลือก ในกทม. และปริมณฑล จนกว่าจะควบคุมการระบาด
จากเช้ือไวรัสเดลต้าได้ พื้นท่ีอื่นที่ไม่ได้เป็นสีแดง ยังไม่ต้องใช้วิธีฉีดแบบผสมนี้ เมื่อได้ข้อมูลในอีก ๓ เดือน
ข้างหน้า ทั่วโลกคงจะทราบได้ว่า การฉีดวัคซีนแบบผสมนี้ ใช้ได้ดีจริงหรือไม่ในการลดความรุนแรงของโรค?
หรอื วา่ ไม่ตอ้ งใชอ้ กี เลยเพราะได้ผลดเี ทา่ กับวิธปี กติที่ใช้กันอยูแ่ ล้ว

และขอฝากทิง้ ท้ายไวก้ ับทุกท่านทยี่ งั รรี อวา่ จะฉีดวคั ซนี ดีหรือไม่ เพราะท่านท่คี ิดแบบนี้เหลือนอ้ ยมาก
แลว้ ตดั สินใจรีบไปฉดี วคั ซีนโดยเร็ว อย่ามวั รรี ออยเู่ ลยครับ

๗๗๒

ข้อเสนอแนะของผมที่ว่า ให้ฉีดวัคซีนไขว้ เข็มแรก sinovac เข็มท่ีสอง AstraZeneca ห่างกัน ๔
สปั ดาห์ จะชว่ ยกระตุน้ ภมู คิ ุ้มกนั ระดับ IgG ไดเ้ ร็ว ชว่ ยลดการเจบ็ ปว่ ย ความรุนแรงของโรคและอตั ราตายจาก
โรคได้ดีมาก ได้เสนอไว้ต้ังแต่วันที่ ๑๔ กรกฏาคม ๒๕๖๔ แต่กว่าจะมีการศึกษาตามระบบและรายงานว่า
ได้ผลดีมากตามที่ผมเสนอ จะเห็นว่า เพ่ิงเวียนข้อมูลใน ศ.น.พ. แพทยสภาในวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๔ ซึ่ง
การระบาดของโรคเร่ิมซาลงแล้ว เหลือรายใหม่ ๘,๔๕๒ รายต่อวัน (ลดลงมาจาก มากกว่า ๒๐,๐๐๐ รายต่อ
วัน)

๗๗๓

และในทส่ี ุด การฉดี วคั ซีนไขว้ทด่ี ีที่สดุ ในด้านการสร้างระดบั IgG ใหข้ ้นึ สงู เร็วและเพียงพอไม่แพก้ าร
ฉดี วัคซนี mRNA ๒ เข็มคือการฉดี ไขว้ดว้ ยเชื้อตาย sinovac หรือ sinopharm เป็นเข็มแรก แล้วตามดว้ ย
viral-vector mRNA หรือ mRNA เปน็ เขม็ ท่ีสอง จนถึงเดือนพฤศจกิ ายน การฉีดวัคซีนไขว้กแ็ พรห่ ลายใน
โรงพยาบาลทว่ั ไปและเป็นที่ยอมรบั ทัว่ ประเทศไทยและค่อย ๆ ถกู ยอมรบั ในระดับโลก ทง้ั ๆ ที่เขียนบทความ
สนบั สนนุ การฉีดวคั ซนี ไขวส้ ูตรน้ี ในเดอื นกรกฎาคม

๗๗๔

วัคซีนทางเลือก (วคั ซนี mRNA ต่อโปรตนี หนาม):
“เตรยี มพร้อมทันใช้..หรือ...เตรยี มพร้อมกันลืม”

ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ นายแพทย์อมร ลลี ารศั มี
นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ฯ
รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม
วนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๔

บทความนย้ี าวนิดหนง่ึ แต่เมื่อท่านอ่านจบจะเข้าใจอย่างถ่องแท้และครบถ้วนของภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการฉีดวัคซีนโควิด-๑๙ และ

จากการติดเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ ย่ิงขณะนี้ได้ยินข่าวว่า วัคซีนทางเลือกหรือ mRNA (อา่ นวา่ เอ็ม-อาร์-เอน-เอ หรือขอย่อว่า วคั ซีน ๔ อ.)นะ

ครบั ทาใหเ้ กิดภมู ิคุ้มกนั สงู มากโดยวัดจากระดบั IgG ในเลอื ด(อ่านวา่ ไอจีจ)ี ตอ่ โปรตีนหนาม (spike protein ของเชอื้ ไวรัสโควดิ ๑๙ ซ่งึ เป็น

ส่วนสาคัญของผิวเชื้อท่ีทาให้สารพันธุกรรมของเชื้อเข้าไปในเซลล์มนุษย์และเพิ่มจานวนได้) ระดับ IgG ในเลือดจะสูงแบบน้ีนานเป็นปีไหม?

เพราะส่วนมากท่านจะเห็นแต่ระดับ IgG ใน ๑-๓ เดือนหลังฉีดเข็มท่ีสองแล้ว ไมไ่ ด้เห็นนานไปถึง ๕-๖ เดือนหลังฉีดเขม็ ท่ีสองว่า ระดับ IgG

ในเลือดยังอย่ทู ี่เดิมหรือตกลงมามากจนบางรายใกล้ระดบั ปกตแิ ล้ว ย่ิงใครไปแอบวัดระดับ IgG ในเลือดไดค้ ่าต่าหรือเปน็ ลบจากการฉีดวัคซีน

ชนดิ ใดก็ตาม กค็ ดิ วา่ ภูมิค้มุ กนั หมดแลว้ เกิดความกังวลและรบี ไปหาวคั ซีนใหมโ่ ดยเฉพาะวคั ซนี ๔ อ. มาฉดี เพม่ิ อกี

ขณะน้เี ร่ิมมขี ่าววา่ ประเทศสหรัฐอเมริกาและอิสราเอล(ดภู าพข้างล่าง)ท่ีประชากรเกินคร่ึงฉีดวคั ซีน ๔ อ. ครบสองเข็มแล้ว(อเมรกิ า

ฉีดครบร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป, อิสราเอล ฉีดครบร้อยละ ๖๓.๗) หลงั ฉีดครบประมาณ ๖ เดอื น พบผ้ตู ิดเช้ือรายใหม่ต่อวนั กลับเพิ่มขึ้น ย่ิงไม่สวม

หน้ากากอนามัย จัดคอนเสิร์ตและถอดหน้ากากโชว์ ยิ่งเห็นชัดว่าผู้ติดเชื้อท่ีมีอาการมีจานวนเพ่ิมข้ึนฉับพลันในประเทศเหล่าน้ี บางคนย่ิง

กงั วลวา่ “หรอื ว่าภมู ิคุ้มกันไม่เหลอื แล้วหรือ”? ผมจึงอยากขอวิเคราะหแ์ บบสรปุ สั้นๆ ให้ทราบว่า เกิดจากสาเหตุใด แล้วภูมิคุ้มกันชนิด IgG

ระดับสงู นห้ี ายไปไหน ไม่ช่วยลดการติดเชื้อเลยหรอื ?

อเมรกิ า อิสราเอล

ขอเร่ิมต้ังแต่ตอนฉีดวัคซีน ๔ อ. ภูมิคุ้มกันวัดจากระดับ IgG ในเลือดข้ึนสูงมากใน ๒ เดือนแรกหลังฉีดครบสองเข็ม ยิ่งมี IgG
ระดบั สูงมากข้ึนเทา่ ใดในเลือด ยง่ิ ทาให้ผ้นู ัน้ แสดงอาการของโรคน้อยลงมากเท่าน้นั ทาให้ดูเหมือนว่า ป้องกันการติดเชือ้ ได้ท้งั ๆ ตนเองติดเช้อื
แต่ไม่แสดงอาการหรอื มีอาการน้อยมาก จึงไมไ่ ด้ไปตรวจหาเชื้อและไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อไปแล้ว อัตราส่วนของผู้ป่วย(แสดงอาการ)ต่อผู้
ติดเชื้อจะต่ามากหลงั ฉีดวัคซนี ๔ อ. ครบได้ ๒-๓ เดอื นแรก ระยะนีจ้ ึงเขา้ ใจว่าการฉดี วัคซนี ๔ อ. ป้องกันการติดเชอ้ื ได้ ดังนน้ั การทมี่ รี ะดับ
IgG ในเลือดสูงจะเป็นภูมิคุ้มกัน“เตรียมพร้อมทันใช้”สู้เช้ือหากการติดเชื้อเกิดข้ึนในช่วงเวลานี้ เหมือนนักผจญเพลิงท่ีใส่ชุดดับเพลิงเข้าไป
ดับเพลิง ชุดต้องหนา ไม่ติดไฟ กันความร้อน เตรียมพร้อมทันใช้ สู้ไฟร้อนแรงได้ เช่นเดียวกัน ระดับ IgG ในเลือดที่สูงแบบนี้เหมาะกับ
บุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า เช่น หมอท่ีตอ้ งตรวจผู้ตดิ เชอ้ื บอ่ ย ๆ มีโอกาสติดเชื้อจานวนมากเป็นประจา จะได้ลดความรุนแรงของโรค
และมีอาการน้อยเมื่อติดเชื้อจานวนมากข้ึนมา ดังนนั้ ในระยะ ๒-๓ เดือนหลังฉีดวัคซีน ๔ อ. หรือวัคซีนชนิดอื่นครบหรือบวกเข็มท่ีสามแล้ว
แม้จะมีผู้ติดเช้ือจานวนมากแต่จะไม่แสดงอาการ ผู้ป่วยรายใหม่ต่อวันจะมีน้อยลงเสมอ เพราะจานวนผู้ป่วยหรือผู้ที่มีอาการที่จะขอไป
ตรวจหาเชื้อจะมีน้อย ทาใหม้ ีการรายงานผู้ติดเช้ือรายใหมต่ ่อวนั ลดน้อยตามไปด้วย เลยนกึ ว่าป้องกันการติดเช้ือได้ท้ัง ๆ ท่ีป้องกันการแสดง
อาการรุนแรงจากการติดเชื้อได้ดี หรือทาใหม้ ีอาการน้อยมากจนเจ้าตวั ไม่ได้คิดหรือกังวลวา่ ตนเองเจ็บป่วยหรือติดเชือ้ จากโรคโควิด-๑๙

เม่อื ฉดี วคั ซนี ชนดิ ใดกต็ ามรวมถงึ วคั ซีน ๔ อ. ได้นานเกนิ ๓ เดือนขน้ึ ไป ระดับ IgG ในเลือดท่ีสูงมากจะค่อยๆ ตกลงมาเรือ่ ย ๆ บาง
คนบอกว่า ลดระดับลงมาเดือนละครึ่งจนถึง ๖ เดือนหลังฉีดครบ เม่ือถึงเวลาน้ี หากมีการติดเชื้อจานวนปานกลางถึงมาก เชื้อจะบุกรุกเข้า

๗๗๕

รา่ งกายได้มาก ทาให้มีอาการมากขนึ้ เมื่อเปรียบเทียบกบั ๒-๓ เดือนหลังฉดี เพราะระดับ IgG ในเลอื ดเหลอื น้อยกว่า ย่งิ ในประเทศทปี่ ระกาศ
ยกเลกิ การสวมหนา้ กากอนามยั จดั งานคอนเสิร์ตชมุ นุมฝงู ชนโดยไม่รกั ษาระยะหา่ ง ประชาชนจะรบั เชอื้ จานวนมาก หลงั จากนไี้ มน่ าน อาการ
จะแสดงออกชัดเจนและมีการตรวจหาเชอ้ื มากข้ึน ทาใหพ้ บผู้ติดเชือ้ รายใหม่ตอ่ วนั เพิ่มขึ้นชดั เจนในประเทศที่แสดงใน ๒ รูปภาพในหน้าแรก
เพราะอตั ราผ้ปู ่วยท่แี สดงอาการต่อผู้ตดิ เช้อื ทัง้ หมดจะสูงขน้ึ กวา่ อัตราทพ่ี บใน ๒-๓ เดือนแรกหลงั ฉดี เพราะ IgG ในเลือดลดระดบั ลงมากแลว้
จึงพบผู้ตดิ เช้ือรายใหม่ตอ่ วนั เพม่ิ ข้นึ มากโดยเฉพาะเมอ่ื เชือ้ กลายพันธ์เุ ดลตา พนั ธเุ์ ก่ง เข้าไประบาดในพื้นท่ีนั้น

แตท่ าไมผู้ฉีดวคั ซีนแลว้ ตดิ เช้อื จงึ แสดงอาการนอ้ ย ยิ่งปว่ ยรนุ แรงถงึ ตายจะมีจานวนน้อยมากเมื่อเปรียบเทยี บกบั ผทู้ ไ่ี ม่เคยฉดี วัคซีน
หรือยังฉีดไม่ครบ เพราะการติดเช้ือหรือการฉีดวัคซีนเม่ือ ๖ เดือนก่อนทาให้เกิดภูมิคุ้มกันชุดอ่ืนท่ีเราไม่ได้ตรวจและเป็นภูมิคุ้มกันชนิด
“เตรียมพร้อมกันลืม” ไวช้ ว่ ยเราแลว้ ภมู ิคุ้มกันชดุ น้จี ะช่วยผลิต IgG ออกมาต่อสู้เช้อื ไวรสั ไดร้ วดเรว็ กวา่ ผู้ทไ่ี ม่เคยฉีดวัคซนี ดังน้ันระดบั IgG
ในเลือดและที่อ่ืน ๆ จะกลับสูงข้ึนใหม่ภายใน ๗ วันเพื่อทาลายเช้ือจนทาให้ผู้ป่วยรายน้ันมีอาการน้อยและหายเร็วขึ้น ผู้ที่ไม่ได้ฉีดวัคซีน
อาจจะใชเ้ วลา ๗ ถงึ ๑๔ วนั กว่าจะสรา้ งภูมคิ ุ้มกันได้สงู เทา่ กนั ภมู ิคุ้มกันชุดนท้ี ี่กล่าวถงึ ได้แก่ เซลล์ความจาทง้ั T-cell, B-cell ในเลือดและใน
ต่อมน้าเหลือง และยังมี plasma cell ท่ีเตรียมพร้อมกันลืมในไขกระดูกและอยู่นานอย่างน้อยถึง ๘-๑๒ เดือนหลังหายจากโรคติดเชื้อแล้ว
แตเ่ ราไม่ได้ตรวจวดั หรือไม่เคยทราบถงึ ภมู ิค้มุ กันชุดทเ่ี ตรยี มพรอ้ มกันลืมในรา่ งกาย เมือ่ ไปวดั ค่า IgG ได้ตา่ ในเลอื ด ก็นึกวา่ ไมม่ ีภูมิคุ้มกนั แล้ว
ซงึ่ เป็นความเข้าใจท่ีไม่ถูกต้อง เร่ืองนี้ต้องทาความเข้าใจกับผู้ที่ฉีดวัคซีนย่ีห้อใดครบสองเข็มและแอบไปตรวจภูมิคุ้มกันนะครับว่า แม้วัดได้
IgG ในเลือดตกมาถึงระดับตา่ หรือไม่พบ กไ็ มไ่ ด้หมายความว่า ท่านไม่มีภมู คิ ุ้มกนั ใด ๆ เหลือแลว้

การศกึ ษาในผู้ปว่ ยหายจากโรคโควดิ -๑๙ ในประเทศเยอรมนีได้ ๖๐ วัน พบว่ารอ้ ยละ ๑๗ ตรวจพบ IgG ตอ่ โปรตนี หนามในระดับ
เท่ากับคนที่ไม่เคยตดิ เช้ือหรอื แปลวา่ ไม่พบภมู ิคุม้ กัน แต่กลับตรวจพบภูมิค้มุ กันชนิดพ่ึงเซลล์ทม่ี ีความจาต่อโปรตนี หนามในกลุ่มน้ีถึงร้อยละ
๗๘ และตรวจพบในอตั ราใกล้กนั คือร้อยละ ๘๐ ในผู้ทยี่ ังมี IgG ในเลือดสูงกว่าสามเทา่ ของคนปกติขึน้ ไป ซ่ึงแสดงว่า ภูมคิ ุ้มกันชนิดพึ่งเซลล์
นี่แหละเป็นภูมิคุ้มกันชนิด“เตรียมพร้อมกันลืม”และเกิดข้ึนหลังจากการติดเชื้อหรือการฉีดวัคซีน ท่ีสาคัญคือพบในอัตราท่ีใกล้เคียงกัน
ระหวา่ งผทู้ ม่ี ี IgG ในเลอื ดสูงมากและผู้ทตี่ รวจไมพ่ บ IgG แต่เคยตดิ เชื้อโรคโควดิ มาแลว้ นอกจากน้ี ยงั มกี ารศึกษาทต่ี รวจพบ IgA (อ่านว่า ไอ
จีเอ)ที่จับกับโปรตีนหนามได้ในน้ามูกและน้าตาในผู้ที่ตรวจไม่พบ IgG แล้ว แสดงว่าผู้ติดเชื้อท่ีตรวจไม่พบ IgG ในเลือดแล้ว ยังตรวจเจอ
ภูมิคุ้มกันแบบ IgA ในจมูกและนัยน์ตา ซ่ึง IgA เป็นปราการด่านแรกในการกาจัดเชื้อไวรัสตอนท่ีเช้ือ“แลนดิ้ง”มาลงที่เซลล์ในโพรงเยื่อบุ
ทางเดินหายใจสว่ นบนหรอื นัยน์ตา ส่วนการฉีดวัคซนี ย่ีห้อใดครบสองเข็ม เราสามารถตดิ ตามดูจากงานวิจัยว่า มีภูมิคุ้มกนั ชุดน้ีเกิดข้ึนและ
อยนู่ านด้วยใชไ่ หมจากการตรวจหาภมู ิคมุ้ กันชนดิ “ เตรียมพร้อมกันลมื ”วิธีหน่งึ คือ วธิ ี ELISpot

ดังน้ัน ผู้ติดเชื้อโควิดรายใหม่ที่ตายเพิ่มขึ้นในขณะน้ีทั้งในสหรัฐอเมริกาและอิสราเอล คือผู้ที่ไม่ยอมฉีดวัคซีน คนกลุ่มน้ีจึงไม่มี
ภูมิคุ้มกันท้ังชนิด“เตรียมพร้อมทันใช้” หรือ “เตรียมพร้อมกันลืม” ไว้สู้กับเชื้อไวรัสเดลตา ส่วนผู้ติดเช้ือ(ผู้ป่วย)รายใหม่ต่อวันท่ีเพิ่มข้ึน
จานวนมากในผูท้ ่ีฉีดวคั ซนี มาแลว้ ๔-๖ เดือน จึงเป็นผู้ท่ีมีภมู ิคุ้มกันชนดิ “เตรียมพรอ้ มกนั ลมื ” เมื่อเกิดการติดเช้ือ ร่างกายรบี ผลิต IgG และ
IgA ขนึ้ มาใหม่รวมท้ังผลิตเซลล์ทาลายเชือ้ ไวรัสหรอื เซลล์ทีต่ ดิ เชือ้ ไวรสั จึงทาให้ผ้ตู ิดเชอื้ แสดงอาการ แต่ไม่ป่วยรุนแรงและไม่ป่วยถึงตาย ใน
ระยะหลังฉดี วัคซีนมาได้ ๖ เดือนแล้ว อัตราส่วนของผู้แสดงอาการต่อผู้ติดเช้ือจะสูงกว่าใน ๒-๔ เดือนแรกหลังฉีดแม้จะมีอัตราการติดเชื้อ
หรือจานวนผตู้ ิดเข้อื เท่ากนั ในสองระยะนี้ แต่รายงานผ้ตู ิดเชื้อรายใหม่ต่อวนั จะสูงกว่าเพราะมผี ตู้ ิดเชื้อทีแ่ สดงอาการจานวนมากกว่าในระยะ
๔-๖ เดอื นหลงั ฉีดวัคซีนไปแล้วน่ันเอง เราจึงพบวา่ มีผตู้ ดิ เช้ือรายใหม่และมอี าการแสดงออกหลงั การฉีดวัคซนี ซโิ นแวคด้วยเช่นกนั หลงั ฉีดมา
ได้นานระยะหนึ่ง แต่อาการจะไม่รนุ แรงและไม่ถงึ ตายดังทเ่ี คยมีผู้ประกาศตนเองออกสื่อว่า ยงั ติดเช้ือหลังฉดี วคั ซีนซิโนแวคครบสองเขม็ แล้ว
รายงานจากกระทรวงแจ้งวา่ ระหวา่ งวันที่ ๑๘-๒๔ ก.ค. ๒๕๖๔ มีผู้ฉีดวัคซีนซโิ นแวคครบ ๒ เข็มจานวนเกอื บ ๓ ล้านคนและตาย ๒ รายเอง
ในกลมุ่ นี้ ทต่ี ายน้อยเพราะเข้าใจวา่ การฉดี วคั ซนี ทุกชนดิ มีการสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ชนดิ “เตรียมพร้อมกันลืม”ไวด้ ้วย แต่ในผู้ติดเช้อื ท่วั ไปตายรอ้ ย
ละ ๐.๘๔ ถึง ๐.๙๒ (แล้วเราจะทาให้กลุ่มผฉู้ ีดวัคซีนยีห่ ้ออะไรก็ได้ครบ ๒ เข็มมาแลว้ ไม่ตายเลย ทาได้ยังไง ให้อ่านในข้อความสุดท้าย
ของบทความนี้ครบั ) ผ้ทู ่ีเสียชวี ิตจากโรคโควดิ -๑๙ ทกุ วันในประเทศไทยสว่ นมากจึงเปน็ ผู้ทยี่ ังไม่ไดฉ้ ดี วัคซนี หรืออยรู่ ะหว่างการฉดี วัคซนี ให้
ครบ ๒ เข็ม ผู้ท่ีฉีดวัคซีนครบแล้วนานแล้วจะเสยี ชีวิตนอ้ ยมากๆ ครับ เพราะไมว่ ่าท่านฉีดวัคซีนชนดิ ใดก็ตามครบ ๒ เข็มมานานถึง ๖ เดือน
ขึ้นไป ทุกท่านจะมีภูมิคุ้มกันชนิด“เตรียมพร้อมทันใช้”ลดน้อยลงมากและอยู่ในระดับใกล้กันในตอนน้ี แต่ทุกท่านยังมีภูมิคุ้มกันชนิด
“เตรยี มพร้อมกันลมื ”ไวส้ กู้ ับเชื้อไวรสั โควิด-๑๙ ตอ่ ไปอกี นานครบั

ดงั นั้น ประโยชน์ของการฉีดวัคซีน ๔ อ. ที่ทาให้ IgG ในเลือดสูงมากๆ นัน้ จะได้ประโยชน์ในการลดอาการป่วยมากกวา่ วคั ซนี ชนิด
อื่นภายใน ๒-๔ เดือนแรกหลังฉีดครบสองเข็ม เหมาะสาหรับการระบาดเช้ือเดลตาในเดือน ส.ค. ถึง ก.ย. และเป็นบุคลากรด่านหน้าทาง

๗๗๖

การแพทย์ที่เสี่ยงต่อการติดเช้ือจานวนมากเป็นประจาในช่วงน้ีครับ ถ้าท่านไม่ติดเชื้อภายในเดือน ส.ค. ถึง ต.ค. หรือ ๖ เดือนแรกหลังฉีด
วัคซีน ๔ อ. ประโยชน์ท่ีจะได้จากการฉีดวัคซีนชนิดน้ีในตอนน้ัน หรือฉีดวัคซีน ๔ อ. เป็นเข็มที่สามก็ไม่เกิด แต่จะเหลือภูมิคุ้มกันชนิด
“เตรียมพร้อมกันลืม”เหมือนกับการฉีดวัคซีนชนิดอื่นซ่ึงจะเกิดประโยชน์ใกล้เคียงกัน วัคซีนชนิดเชื้อตายอาจจะสร้างภูมิคุ้มกันชนิด
“เตรยี มพร้อมทันใช้”ได้ระยะสนั้ กว่า แต่คาดวา่ จะสร้างภมู ิคุม้ กนั ชนิด“เตรียมพร้อมกันลืม”ไวส้ กู้ บั เช้ือไวรัสโควดิ -๑๙ ได้นานเช่นกัน ทงั้ น้ดี ู
ไดจ้ ากผู้ท่ฉี ดี วคั ซนี เช้ือตาย ๒ เข็มหลายรายท่ีออกส่ือว่า ติดเช้อื และมอี าการป่วย ต่างก็ทเุ ลาจากโรคได้ดีและไมต่ อ้ งใช้เคร่ืองชว่ ยหายใจดว้ ย

นอกจากประสิทธภิ าพในการลดความรนุ แรงของโรค เรายงั ตดิ ตามความปลอดภยั ของการฉดี วัคซนี ดว้ ย อาการขา้ งเคียงของการฉีด
วัคซนี เกิดกับทุกคน-มากน้อยตา่ งกันได้ ส่วนความปลอดภยั ระยะสัน้ มีเรอ่ื งแพฉ้ บั พลัน(ฉันแพ้-คนอน่ื ไม่แพ)้ ความปลอดภยั ระยะ ๑-๓ ปยี ังไม่
พบว่ามีอะไรเพราะเพิง่ ใช้ไม่นาน และความปลอดภัยภายใน ๑๐ ปี แตห่ วงั วา่ จะไมม่ อี ะไรที่ไมป่ ลอดภัยในระยะยาวนะครบั (ยังไม่มีหลกั ฐาน)

สว่ นการติดเช้ือจนทาให้ผ้ฉู ดี วัคซนี ชนดิ ใดเกิดอาการปว่ ยนั้น ยงั ข้นึ อยู่กับจานวนเชอื้ ทไี่ ด้รับด้วย หากรับเชอ้ื จานวนมากและสูดลกึ
เข้าถงึ ปอดเลย อาการจะแสดงออกเร็วและรนุ แรง ประเทศท่ีประกาศยกเลิกการสวมหนา้ กากอนามยั สวมกอดจบู กันได้ ไมเ่ ว้นระยะห่างหลัง
ประชากรฉดี วัคซนี ครบเกินครง่ึ หนึง่ จะเกิดการติดเชอ้ื จานวนมากและเกดิ การระบาดรอบใหม่ดังที่เปน็ ข่าว แต่หากรบั เช้ือจานวนนอ้ ย(เพราะ
เราสวมหน้ากากอนามัย เว้นระยะห่าง) อาจจะแสดงอาการน้อยและไม่รุนแรง และผู้ท่ีเคยติดเช้ือหรือฉีดวัคซีนยังมีภูมิคุ้มกันชนิด
“เตรยี มพรอ้ มกันลมื ”ไวส้ ู้กบั เช้ือไวรัสโควิด-๑๙ ได้ทันเวลาอกี ดว้ ย แมจ้ ะตดิ เช้ือในระยะ ๒-๔ เดือน หรอื ๖ เดือนหลังฉีดเข็มสอง อาการ
แสดงอาจจะไมม่ ีเลย หรือมนี ้อยและป่วยระยะสน้ั ๆ เทา่ นั้น แทบไมร่ ุนแรงถึงตายเลย

โดยสรปุ วัคซีนที่ใหร้ ะดับ IgG สงู ในเลอื ด เช่น กลุ่มวคั ซนี ๔ อ. จะลดอาการของการตดิ เชือ้ ได้ดภี ายใน ๒-๔ เดอื นแรกหลงั ฉีดครบ
แล้ว วัคซีนเชื้อตายอาจจะลดความรุนแรงของโรคติดเช้ือไม่ดีเท่าหรือไม่นานเท่าวัคซีน ๔ อ. ส่วนการติดเช้ือที่แสดงอาการรุนแรงและถึง
ตาย จะมีโอกาสสูงท่ีพบในผู้ท่ียังไม่ได้ฉีดวัคซีน ผู้ที่ฉีดวัคซีนครบแล้วอาจจะมีอาการรุนแรงหรือถึงตายได้ถ้ารับเชื้ อจานวนมาก มีโรค
ประจาตัว อ้วนมาก สงู วยั สูบบหุ ร่หี รอื มีภมู คิ มุ้ กันต่าจากโรคประจาตวั และไมใ่ ช้วิถีชีวิตใหม่ปอ้ งกันตนเองจากการตดิ เชอื้ ไวรัสโควิด-๑๙

ดงั นัน้ ผู้ทีฉ่ ดี วคั ซนี ครบ ๒ เขม็ แลว้ ไมอ่ ยกู่ ลุ่มเสีย่ ง ๘ กลมุ่ และใชว้ ถิ ชี ีวติ ใหม่อยา่ งเขม้ ขน้ ท่าน
อาจจะไมต่ ิดเช้ือเลย หากทา่ นพล้ังเผลอรบั เชอื้ เขา้ ไปขณะสวมหนา้ กากอนามยั เวน้ ระยะหา่ ง จานวน
เชื้อทร่ี ับเขา้ ไปจะมีนอ้ ย ท่านยังมีภูมคิ มุ้ กันชนดิ “เตรยี มพร้อมกันลืม”ไวส้ กู้ บั เชอ้ื สายพนั ธุ์เดลตาได้
ทันเวลา อาการเจ็บปว่ ยจะมีนอ้ ยหรอื มีระยะสั้นและยงั เป็นการกระตุ้นใหร้ า่ งกายสร้างภมู ิคุม้ กันสูงขนึ้
อกี เทา่ กับทา่ นรบั วคั ซีนเขม็ ท่ีสามตามธรรมชาติ และยงั ไมต่ อ้ งเสีย่ งกับความไมป่ ลอดภยั จากการฉีด
วคั ซนี เขม็ ท่สี ามท่ีอาจจะมีในระยะกลางและยาวได้ เมื่อถามผมวา่ จะฉดี เข็มทสี่ ามตอนนี้ไหม? แม้
คนทม่ี าขอตรวจ IgG ของผมและพบวา่ หลังฉีดครบ ๓ เดือน ภมู คิ ุ้มกนั ผมต่อเช้อื เดลตาไมเ่ หลอื แล้ว ผม
ก็ขอเลือกวิธีฉีดสองเข็มครบั เพราะได้สมดลุ ทัง้ ประสทิ ธิผลและความปลอดภยั ของวคั ซนี ผมจะระวัง
ไปช่วยฉดี วคั ซีนที่สถานกี ลางบางซ่ือ ตนเองและขอรอดปู หี น้าครับ
(ขอ้ ความบนนี้ คือคาตอบของผมวา่ แล้วเราจะทาให้กลุม่ ผูฉ้ ีดวัคซีนย่หี ้ออะไรกไ็ ด้ครบ ๒ เข็ม

มาแล้ว ไม่ตายเลย ทาได้ยังไง ให้อ่านในข้อความขา้ งบนของบทความน้ีครบั )
สว่ นการฉดี วัคซนี ทุกชนิดไม่วา่ จะทาให้ระดับ IgG ในเลือดสูงมาก สงู นอ้ ยเทา่ ใดก็ตาม ระดับ IgG จะ
ลดตา่ ลงมาเร็วช้าแลว้ แต่ระดบั ตง้ั ตน้ ของ IgG แตจ่ ะลดลงจนมีโอกาสแสดงอาการของการติดเชื้อหลังฉดี
ครบสองเข็มหรอื สามเขม็ แลว้ ๔ ถงึ ๖ เดือนข้ึนไป โอกาสที่จะติดเชอื้ ไวรสั เดลตามีเทา่ กนั ทงั้ ผูท้ ี่ฉดี หรือ
ไม่ฉีดวคั ซีนในพน้ื ทท่ี ัว่ ไป การสวมหนา้ กากอนามยั การเวน้ ระยะห่างทางสงั คม การใช้วิถชี ีวิตใหม่ จะ
เปน็ วิธปี อ้ งกนั การตดิ เชื้อท่ีดที สี่ ดุ ช่วยลดความรุนแรงของโรค และอาจจะชว่ ยเพ่มิ ภมู คิ ุ้มกันใหต้ นเอง
ตามธรรมชาติอยา่ งสมดลุ ด้วย ช่วยสังคมในการลดการระบาดระลอกใหมใ่ นประเทศไทย ป้องกันการเกิด
เชื้อสายพันธใ์ุ หมท่ ดี่ ุร้ายมากขึ้นหรือด้อื ต่อภมู ิคุ้มกนั ชนดิ IgG จนกว่าโรคนีจ้ ะสงบทว่ั โลกพร้อมๆ กนั ทกุ ท่านจึงยังต้องใช้การดาเนนิ ชีวิตวิถี
ใหม่ในปนี ี้ไปก่อน เปน็ วิธกี ารควบคุมโรคตดิ เชอื้ โควิด-๑๙ ร่วมกบั การฉดี วคั ซนี ครบสองหรอื สามเข็มดว้ ยเสมอ

สุดทา้ ย ผมยงั ไปชว่ ยฉดี วคั ซีนเลย ตอนน้ีจวนจะถึงย่สี ิบลา้ นโดสแลว้ วนั น้ีทา่ นไปรบั การฉดี วัคซีนเข็มท่ี ๑ หรอื ๒ หรือยังครบั ?

๗๗๗

ประกาศรว ม องคกรวิชาชพี ทางการแพทย
เรอื่ ง การกลบั เขาสูสงั คมของผปู ว ยโควดิ -19 หลงั ครบกำหนดรกั ษาหรือกกั ตวั

เพื่อใหมีการปฏิบัติในแนวทางเดียวกันในการกลับเขาสูสังคมของผูปวยโควิด-19 หลังครบกำหนดการรักษาหรือกักตัว
องคกรวิชาชีพทางการแพทย 5 องคกร ขอเรียนชี้แจงแพทย บุคลากรทางการแพทย และประชาชนทุกทาน เพื่อความเขาใจท่ี
ถกู ตอง และชว ยใหผูปวยโควดิ -19 ตลอดจนสงั คมสวนรวม ไดก ลับเขา สกู ารดำรงชีวติ อยางปกตโิ ดยเรว็ ดังน้ี

1. ระยะเวลาที่อยูในโรงพยาบาล หรืออยูพักรักษาตัวที่บานหรือสถานที่ที่รัฐจัดให หลังจากมีอาการหรือหลังจากการตรวจ
RT-PCR ไดผลบวก เปนเวลา 14 หรือ 21 วัน ถามีอาการรุนแรงหรือภูมิคุมกันต่ำ ถือวาเปนระยะเวลากักตัว เนื่องจากในชวงเวลา
นน้ั ผตู ดิ เชื้อจะอยใู นสภาพแวดลอ มทีจ่ ดั ขน้ึ เพื่อปองกันการแพรเช้อื

2. ขอมูลจากการศึกษาอยางกวางขวางบงชี้วา ระยะเวลาการกักตัวหลังจากมีอาการหรือหลังจากการตรวจ RT-PCR ได
ผลบวกเพียง 10 วันก็เพียงพอหากอาการไมรุนแรงหรือไมใชผูติดเชื้อภูมิคุมกันต่ำ แตถามีอาการรุนแรงหรือภูมิคุมกันต่ำ ใหกักตัว
21 วัน ซึ่งในกรณีหลัง ผูติดเชื้อมักจะตองใชระยะเวลาในการรักษาตัวในหองแยกในโรงพยาบาลนานกวานั้น ดังนั้นเมื่อไดรับ
อนุญาตใหกลับบานแลว ทั้งหมดจึงจัดเปน ผูที่พนระยะเวลาการแพรเชื้อแลว ไมตองกักตัวตอ อีก ตามแนวทางการรักษาผูติดเชื้อโค
วดิ -19 ในประเทศไทย

3. การศึกษาในตางประเทศ และในประเทศไทย พบวา เมื่อผูติดเชื้อไดรับการรักษาหรือกักตัวตามระยะเวลาดังกลาวแลว
กลับไปอยูที่บานและใชชีวติ ทางสังคมตามปกติ ไมปรากฏวา มกี ารติดเช้ือในบคุ คลรอบขา งหรือการระบาดของโรคทมี่ ีตน ตอมาจากผู
ตดิ เชือ้ เหลา น้ีเลย

4. การตรวจ RT-PCR จากการปายจมูกหรือใชน้ำลายเปนการตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อ สามารถตรวจพบไดในผูที่เพิ่ง
จะมีการติดเชื้อ ไปจนกระทั่งอยางนอย 3 เดือนหลังจากผูติดเชื้อหายจากโรคแลว เมื่อทำการเพาะเชื้อ (culture) ซึ่งเปนการตรวจ
วายงั มตี วั เชอื้ ท่ีแบงตวั และกอโรคไดหรือไม พบวา ผูตดิ เช้อื มีอาการหรือไดรับการตรวจพบวาติดเชอ้ื มานานเกินกวา 10 วัน จะเพาะ
เชื้อไมขึ้น แมวาจะยังตรวจพบสารพันธุกรรมของเชื้ออยู จึงมีการใชคำวา สิ่งที่ตรวจพบคือ “ซากเชื้อ” ซึ่งไมสามารถทำอันตรายได
ดังนั้น การตรวจ RT-PCR ซ้ำ เมื่อผูติดเชื้อไดรับการวินิจฉัยแลวหรือพนระยะแพรเชื้อดังกลาวขางตนแลว จึงไมมีประโยชนใด ๆ
และองคกรทางการแพทยทั่วโลกก็แนะนำวาไมตองทำ เชนเดียวกับที่ระบุไวในแนวทางการรักษาโควิด-19 ของกระทรวง
สาธารณสขุ

5. การตรวจหาโปรตีนของไวรัส ที่เรียกกันทั่วไปวา ATK (Antigen Test Kit) เหมาะสำหรับการตรวจคัดกรองผูที่มีประวัติ
สมั ผัสโรคและมอี าการท่นี าสงสัยวาจะเปน โควิด-19 ไมใ ชใ นการตรวจเพ่อื ยืนยนั วาผตู ิดเช้อื นั้นหายจากโรคหรือไมม ีเชื้อแลว

6. ผูติดเชื้อจำนวนไมนอย ยังมีอาการบางอยางอยูเปนเวลานาน เชน การไดรับกลิ่น/รสผิดปกติ การไอ อาการเหนื่อย
ออนเพลีย มีการตรวจเพาะเชื้อจากบุคคลเหลานี้ ก็ไมสามารถเพาะเชื้อขึ้นได และการติดตามผูสัมผัสจำนวนมากในตางประเทศ ก็

๗๗๘

พบวา ไมมีใครติดเชื้อจากบุคคลเหลานี้แมจะยังมีอาการอยูบาง ดังนั้นจึงถือไดวาปลอดภัย และไมมีความจำเปนตองทำการ
“ตรวจหาเช้อื ซ้ำใหแ นใจวา ไมมเี ช้อื แลว ” แตประการใด

องคกรวิชาชีพทางการแพทย 5 องคกรดงั รายนามปรากฏทา ยเอกสารน้ี จงึ ขอแนะนำวา
1. เมื่อผูติดเชื้อไดรับการรักษาหรือกักตัวหลังจากมีอาการหรือหลังจากการตรวจ RT-PCR ไดผลบวก ครบ 14 วัน หรือ 21

วันกรณีมีอาการรุนแรงหรือมีภูมิคุมกันต่ำอยางมาก (เชน ไดรับยากดภูมิขนาดสูง) และไดรับอนุญาตใหกลับบานแลว ผูนั้นจะไมมี
การแพรเชอื้ ไปสูบุคคลอื่น จึงไมจำเปนตองกักตวั ตอ และสามารถกลบั ไปใชช ีวิตในสงั คมไดอยา งปกติ โดยแนะนำใหปฏิบัติตนตาม
แนววิถชี วี ติ ใหมเชนเดียวกบั บคุ คลท่วั ไป

2. ไมตองทำการตรวจหาเชื้อซ้ำอีก ไมวาจะดวยวิธีการใด เพราะไมมีประโยชน เปนภาระทั้งดานเวลาและการเงินของ
บุคคล/หนวยงาน และเปน อปุ สรรคตอ การกลับไปใชช วี ติ ทางสงั คมตลอดจนการประกอบอาชีพอยางปกติ

องคกรวิชาชีพทางการแพทย ขอเชิญชวนใหทุกภาคสวนในสังคม ปฏิบัติตอผูติดเชื้อที่หายจากโรคแลว ดวยความเขาใจที่
ถูกตอง มีเมตตา ชว ยเหลอื เกือ้ กูลซึ่งกันและกนั เพือ่ ใหสังคมและเศรษฐกิจ กลบั คืนสูส ภาพปกตโิ ดยเร็ว

ประกาศ ณ วนั ท่ี 7 ตุลาคม 2564

ศาสตราจารยเกียรตคิ ุณ นายแพทยอมร ลลี ารัศมี ผชู วยศาสตราจารยนายแพทยกำธร มาลาธรรม
นายกแพทยสมาคมแหงประเทศไทย นายกสมาคมโรคตดิ เชอ้ื แหงประเทศไทย

พล. อ. ท. นพ.อนุตตร จิตตนิ นั ทน นายแพทยอดุลย บณั ฑกุ ลุ
ประธานราชวิทยาลัยอายรุ แพทยแหง ประเทศไทย นายกสมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและ
ส่งิ แวดลอ มแหงประเทศไทย
ศาสตราจารยว ุฒิคณุ ดร.นายแพทย พรเทพ ศิริวนารังสรรค
นายกสมาคมเวชศาสตรปองกนั แหง ประเทศไทย

๗๗๙

วันพฤหสั บดีท่ี ๒๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เวลา ๑๓:๔๕ - ๑๔:๔๕ น. วนั พฤหสั บดีที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เวลา ๑๓:๔๕ - ๑๔:๔๕ น.
หอ้ งท่ี ๒ วทิ ยากร ๔ ท่าน เร่อื ง Ethics หอ้ งที่ ๒ วทิ ยากร ๔ ท่าน เรือ่ ง Ethics
๑. ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ นายแพทย์ อมร ลีลารศั มี ๑. ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณนายแพทย์ อมร ลีลารศั มี
๒. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์นายแพทย์ อุทยั เกา้ เอี้ยน
๓. นายแพทย์ ถนอม จิวสืบพงษ์ COVID-19 management and Ethics Consideration
๔. รองศาสตราจารยแ์ พทยห์ ญงิ ศิวาพร จนั ทรก์ ระจา่ ง

จรยิ ธรรมทางการแพทย์ในยุค COVID-19 Ethical values such as
equity, fairness,  solidarity
1. ความเคารพในเจตจาํ นงบคุ คล (autonomy)
2. การไม่กระทาํ อนั ตราย (non-maleficence) Global commitments in 
3. การทําในสงิ่ ท่เี ป็นคณุ (beneficence) research, resource 
4. ความยุติธรรม (justice & no one is left behind) allocation, and measures 
taken in response to the
การคงไวซ้ งึ่ จริยธรรมทางการแพทย์ยังขึ้นอยู่กับ pandemic
• ความรู้ ความเขา้ ใจในเรอ่ื ง/ขอ้ มลู โรคนัน้ ของแพทย์แต่ละคน
• ช้ันลาํ ดบั ของผบู้ รหิ ารองค์กร ตงั้ แต่องคก์ รขนาดเลก็ ขนาดใหญ่

ขนาดโลก หรือเปน็ เรอ่ื งส่วนบคุ คลด้วย
• ทักษะการสอื่ สารท่ีเหมาะสมด้วย ใหก้ ับผปู้ ว่ ย/ผู้ฟงั

WHO Working Group on Ethics and COVID-19 WHO Working Group on Ethics and COVID-19

WHO has established an international Working Group on Ethics and COVID-19 in order Research priorities & question for 2021
to develop advice on key ethical questions that Member States need to address.
The expert group also advises WHO’s technical units regarding ethical aspects of • Unequal access to COVID-19 vaccines: the need for global solidarity and justice
their COVID-related work. Since its formation in February 2020, the group has • Ethics of vaccination certification/adjusting public health and social measures in
been engaged in the following activities: light of increasing rates of vaccination
1. Advice on ethical considerations in COVID-19 research • Monitored emergency use of unregistered and investigational interventions
2. Practical guidance on the application of ethical values central to COVID-19 (MEURI) / emergency use of unproven interventions outside of research contexts /
expanded access (“compassionate use”) / off-label use
research published in the journal “Public Health Ethics” • Input into ACT Accelerator Ethics & COVID-19 Working Group: vaccine
3. A policy brief on resource allocation and priority setting in COVID-19 care allocation, diagnostics, therapeutics, health system strengthening
4. Providing ethics input into the WHO's Clinical Management Guidelines and • Research design and prioritization, and ethical oversight
• Ethics and migrant / refugee health
training • Ethics and the opportunity costs of focusing on COVID-19
5. Feedback provided on the Solidarity Trial protocol • Ethical aspects of managing COVID-19 mutations
6. Development of emergency standard operating procedures for human research • Ethical implications of post-COVID-19 conditions (i.e., ‘long COVID’)
• Knowledge translation and outreach of Epidemic Ethics research findings
committees to facilitate rapid review of protocols during the COVID-19
pandemic
7. Advice on the criteria that must be satisfied for SARS-CoV-2 challenge studies
to be ethically acceptable
8. Considering other areas: Immunity certificates, MEURI (i.e., monitored
emergency use of unregistered and experimental interventions) and the fair
global allocation of vaccines, therapeutics, and diagnostics.

๗๘๐

จริยธรรมทางการแพทย์
1. ความเคารพในเจตจาํ นงบุคคล (autonomy)
2. การไม่กระทาํ อันตราย (non-maleficence)
3. การทาํ ในสิง่ ทีเ่ ปน็ คณุ (beneficence)
4. ความยตุ ธิ รรม (justice) & solidarity

Getting to The New Normal life style in COVID-19 Era การคงไว้ซึง่ จริยธรรมทางการแพทยย์ งั ขึน้ อยกู่ บั

ระดบั บคุ คล • ความรู้ ความเขา้ ใจในข้อมลู นนั้ ของแพทยแ์ ต่ละคน

COVID-19 and Ethics Consideration • ยังมหี ลายระดับ ตั้งแต่ผ้บู รหิ ารองค์กรขนาดเลก็ ขนาดใหญ่ ขนาด

โลก และสว่ นบคุ คลด้วย วัคซนี ป้องกันโรคโควดิ -๑๙

• ทกั ษะการสื่อสารทีเ่ หมาะสมด้วยกับผปู้ ว่ ย/ผฟู้ งั

จริยธรรมในด้าน ความเทา่ เทยี มกนั (equity, justice) UN General Assembly: UN Secretary-General António
ในการที่จะไดร้ บั การปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรง Guterres says the world has failed an ethics test on COVID-19

ตัวอย่าง The first day of the high‐level  76th Session of the UN General 
• การไดร้ ับวคั ซีนโควิด-๑๙ ในการปอ้ งกันโรคติดต่อ General Debate  Assembly (UNGA 76) ‐ SDG 
Tuesday, 21 September 2021
รา้ ยแรง

๑. ในระดับโลก
๒. ในระดบั ประเทศ
๓. ในระดบั องคก์ รในประเทศ
๔. ในระดับบคุ คล

UN General Assembly: UN Secretary-General António UN General Assembly: UN Secretary-General António
Guterres says the world has failed an ethics test on COVID-19 Guterres says the world has failed an ethics test on COVID-19

This is a moral indictment of the state of our world. On the one hand, we see the vaccines developed in record
time — a victory of science & human ingenuity.
• It is an obscenity. (น่าสะอิดสะเอียน น่ารังเกียจ)
Scientific triumph on COVID-19 vaccines had been
• We passed the science test. undone by “the tragedy of a lack of political will,
selfishness & mistrust.”
• But we are getting an F in Ethics
A surplus in some countries. Empty shelves in others.”
And I do have hope.
• The problems we have created Mr. Guterres pointed out that the majority of the wealthier
• are problems we can solve. world is already vaccinated, while > 90% of Africans are
still waiting for their first dose.

๗๘๑

17/09/21 Pfizer vaccine for

booster dose in US. Citizen.

ระดบั ประเทศ อย. ไมอ่ นมุ ัติ

There are 3 reasons why US FDA
rejected Pfizer COVID-19

booster for every US citizen

The third reason: emphasis on
those who aren’t vaccinated
• The results were 16 to 2

where the majority voted no
“on” the matter

จรยิ ธรรมในด้าน การไม่กระทาํ อนั ตราย (non-
maleficence)

ในการสง่ ข่าว เผยแพรข่ า่ วท่ีไม่จรงิ ทาํ ร้ายผ้อู ่นื

An infodemic is too much information including

• False or misleading information in digital and physical
environments during a disease outbreak.

• It causes confusion and risk-taking behaviors that can
harm health.

• It also leads to mistrust in health authorities
& undermines the public health response.

• An infodemic can intensify or lengthen outbreaks

• when people are unsure about what they need to do to protect their health
and the health of people around them

ตัวอยา่ ง ข่าวไม่จรงิ ท่ีแพรห่ ลายใน social media

๑. ภยั ทไี่ มจ่ ริงจากการฉดี วคั ซนี โควดิ -๑๙
• ทําใหม้ ีคนตายไปแล้ว ทง้ิ ลูก ๔ คนไว้

๒. ในไทย การใหข้ า่ ววา่ จะได้รบั วัคซีนป้องกันโรคโควดิ -๑๙
จากต่างประเทศ แตม่ ีแถมวา่ ฝ่าย(ไทย)รบั วัคซีนยังไม.่ ...
• คลาดเคลอื่ น ทาํ ให้ขดั แยง้ กนั

๓. กาํ เนดิ เช้ือ SARS-CoV-2:
• ฝีมือธรรมชาติ หรือหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร/ฝีมอื มนุษย?์ ?

๗๘๒

การฉดี วัคซนี เปน็ สทิ ธสิ ว่ นบุคคล แต่มขี ้อแมไ้ ดไ้ หมทไ่ี ม่ละเมดิ สิทธิ?
มี mandatory vaccination เพื่อคุ้มครองสุขภาพชุมชนไดไ้ หม?

๑. ภยั ทไ่ี มจ่ ริงจากการฉีดวคั ซนี โควดิ -๑๙
• ทําให้มีคนตายไปแลว้ ท้ิงลูก ๔ คนไว้

การใหข้ ่าวโดยแพทย์ บางที การไดข้ า่ วจากคนอืน่ แล้วมาพูด ทาํ ให้คนในชาตไิ มเ่ ขา้ ใจกนั
ผ้เู ช่ียวชาญ แม้จะเปน็
คนไทยแตอ่ ยู่
ต่างประเทศ จะทําเกดิ
ผลเสยี ไดถ้ ้ายังไม่มี
ขอ้ เทจ็ จรงิ เกิดขน้ึ

จรยิ ธรรมจะให้แค่
ขอ้ คิดและไม่เกินเลยไป
จากขอ้ เท็จจริงเทา่ ทมี่ ี

ขา่ วทใี่ ห้จะเปน็ แค่
ความคดิ เห็นของตนเอง
ผู้ฟังตัดสนิ ใจเองว่า
จะฉีดวคั ซนี หรือไม?่

ฉีดวัคซีน แถมลอตเตอร่ี Origin of SARS-CoV-2: Nature-based/Lab leak/Bioterrorism
ผิดจรยิ ธรรมไหม?
the “lab leak” conspiracy theory, according to
Bioethicists’ concern that such incentives might unfairly exploit poorer U.S. residents  which scientists performed “gain of function”
who feel they have little choice but to be vaccinated for cash.  experiments on naturally occurring viruses in
Robertson counters that “there is no evidence that offering money is actually  order to make them more infectious to humans,
detrimental to such populations. Receiving money is a good thing.  then released them, inadvertently or
To suggest that we have to protect adults by denying them offers of money may come  deliberately, into the city of Wuhan, China.
across as paternalism.” In the end, “a well‐designed vaccination incentive can help 
save lives and need not keep the ethicists up at night,” Robertson concludes. Nicholas Wade, the advocate of racist pseudoscience whose claims about
a “lab leak” were cited uncritically by every major US newspaper,
claimed that the RBD of SARS-CoV-2 “seemed optimized for the human
receptor,” leading to the conclusion that “the virus might have been
generated in a laboratory.”

๗๘๓

The findings by the French and Laotian scientists refute the “lab จรยิ ธรรมในด้านการรักษา การทาํ ประโยชน(์ สงู สดุ )แกผ่ ้ปู ว่ ย
leak” conspiracy theory, but now a very similar RBD, with ยาขนานใหม่ในการรักษาผู้ปว่ ยโรคโควิด-๑๙
apparently the same capacity to infect humans, has been found in
nature. หลกั การ
• ยาตา้ นจุลชีพทกุ ขนานหรือ monoclonal Ab cocktail จะ

ไดผ้ ลดสี ูงสุดเมือ่ ใหย้ ารกั ษาเรว็ ที่สุด(หรือทนั ทที ที่ ราบวา่ ติด
เชือ้ )

• ผ้ตู ดิ เช้อื รายใด: ใครควรได้ยาเลย ใครควร รอ?

• ผูต้ ิดเชอ้ื มีสิทธทิ ่จี ะ รับทราบข้อมูล รว่ มคดิ ร่วมตัดสนิ การได้ยาไหม?
• ถา้ ผู้ติดเช้อื รายน้นั มีข้อบ่งใช้และมเี ร่ืองราคายาเข้ามาว่า ตอ้ งจา่ ยเอง

โดยท่ีตนเองไม่มีเงนิ พอ จะทําอยา่ งไร?

1. 3. เม่ือโรคระบาดหนกั มีผู้ปว่ ย/ผู้ติดเช้ือจํานวนมาก

ทรพั ยากรมจี ํากัด ทั้งยา หมอ พยาบาล เตียง เครื่องช่วย

หายใจ หออภิบาล ชุดป้องกันตัว (PPE etc.)

• จะตัดสินอย่างไรตามหลกั เกณฑ์ของจรยิ ธรรมทาง

2. 4. การแพทยว์ า่ ผูป้ ว่ ย/ผตู้ ดิ เช้ือ รายใด
• ใครจะได้เตยี งในโรงพยาบาล

• ใครจะถกู ใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ + เครือ่ งช่วยหายใจ

ข่าววนั ท่ี 1. 4 สิงหาคม 2564 • ใครจะถูกรับเขา้ ไปในหออภบิ าล
ข่าววนั ที่ 2. 5 พฤษภาคม 2564
ข่าววันท่ี 3. 22 กรกฎาคม 2564
ข่าววนั ที่ 4. 22 สิงหาคม 2564

สวมบทเป็นพระเจ้า: จริยธรรมทางการแพทยใ์ นยคุ โควิด-19

แพทย์และพยาบาลตอ้ งเผชญิ กับปญั หา การตดั สนิ ใจว่าจะรักษา(และชว่ ยชวี ติ ) ผู้ปว่ ยรายใดก่อน ปลอ่ ยใหร้ ายใดคอยเตียงไปกอ่ น บาง Fair Allocation of Scarce Medical Resources in the Time of Covid-19 Ezekiel Emanuel และคณะ ใน https://www.nejm.org/doi/ 7 full/10.1056/NEJMsb2005114
ทีต้องยอมปล่อยใหค้ นไข้เสียชวี ติ ไปเอง การตดั สนิ ใจเช่นนเ้ี ปรยี บเสมอื นการสวมบทบาทของพระเจ้า วา่ จะให้ใครคอยและใครตายนัน่ เอง
หมอบางคนเครยี ดรนุ แรงมาก ต้องตดั สนิ ใจทุกวันและจํานวนหลายรายในแตล่ ะวนั

๗๘๔

การตัดสนิ ใจเลอื กว่าจะรกั ษาผ้ปู ่วยรายใด ผู้ปว่ ยหนัก
๑. ประเมินความรุนแรงของอาการของผู้ป่วยและระดบั ความสาํ เรจ็ ในการรักษาผู้ปว่ ย เวลาทไ่ี มม่ ีเตียงแอดมิต ไมม่ ียา กาํ ลังหาเตยี ง หายาจากทอ่ี น่ื
๒. ประเมินความจาํ เปน็ และระยะเวลาใชอ้ ปุ กรณท์ ่จี าํ กดั เช่น เคร่ืองชว่ ยหายใจ ให้คดิ ว่า
๓. กลา้ ยตุ กิ ารรักษาผู้ปว่ ยรายทท่ี ุกขท์ รมานโดยไมจ่ ําเปน็ เพราะไม่หายค่อนขา้ งแน่ ทําให้ • เราเปน็ ญาตผิ ู้ปว่ ย ใกล้ชิด/หา่ ง ๆ ก็ได้ แลว้ ควบคุมอารมณ์
1. การไมก่ ระทําอนั ตราย (non-maleficence)
สามารถใช้ทรัพยากรทม่ี ีจํากดั ได้อยา่ งเหมาะสมในเวลาวิกฤติ 2. ความยตุ ธิ รรม (justice & no one is left behind)
๔. ใชห้ ลักเกณฑ์ประโยชน์นยิ ม (utilitarian principles) ในการตัดสนิ ใครจะได้รับ
• จัดควิ เรียงตามคิว นอกจากมีเหตุผลอธบิ ายได้
ประโยชน์สูงสดุ จากการรักษาดงั กลา่ ว ไม่ใช่ มาก่อน-ได้กอ่ น แต่ใช้โอกาสรอดมากกวา่ การคงไวซ้ ึ่งจรยิ ธรรมทางการแพทย์ยังขน้ึ อย่กู ับ
จะมชี ีวติ ทาํ ประโยชน์ได้นานกว่า มีอายุนอ้ ยกว่า โดยการทําเกณฑ์ขึน้ มาใหช้ ดั เจน • ทักษะการสือ่ สารท่เี หมาะสมดว้ ยกบั ผปู้ ่วย/ผู้ฟงั
๕. ไม่ปลอ่ ยให้ การเมือง การเลอื กข้ัวการเมอื ง ชาติพนั ธ์ุ เงิน ตาํ แหน่ง/อํานาจทาง
การเมือง มารวมเปน็ ปจั จัยตดั สินวา่ จะรกั ษาใครกอ่ น

หมอเหรียญทอง ขอคงไว้ซ่งึ เกยี รติศักดิท์ หารเสอื
รพ.รว่ มรับผดิ ชอบสาธารณภยั เต็มท่ี
เกียรติศักดแ์ ห่งวิชาชพี แพทย์ ไม่เทียบเทา่ เกียรตศิ ักดิ์ทหารเสือ

ผู้ปว่ ยหนัก จริยธรรมของกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน
คําพดู ที่สรา้ งสรรค์ ในด้าน การพิจารณาโครงการวจิ ยั
• ผมจะคยุ กบั เพ่อื น/ผอ.รพ.วา่ จะมีเตียง/ยา อยทู่ ่ีไหนอกี ไหม?
• ผมจะคอยตดิ ตามดูไปกอ่ นเปน็ ระยะๆ เผอื่ จะได้ ตอนนี้ยงั เตม็ อยู่ การทําวิจัยไดผ้ ลลพั ธท์ เี่ กดิ ประโยชน์โดยอาสาสมคั รต้องเส่ียงบา้ ง แต่
• รับฟงั ปัญหา/เปิดโอกาสใหซ้ กั ถาม มีอะไรทจ่ี ะถามไหมครบั /ค่ะ
ต้องได้รบั การปกป้องอนั ตรายและหรอื ชดเชย
จะได้ประเมินความรสู้ ึกของคนไข/้ ญาตไิ ปดว้ ย
คําพดู ท่ีไมส่ ร้างสรรค์ (พดู แล้วเพ่อื ทาํ ใหต้ นดขี ้นึ คนอื่นแย่ลง) ตัวอยา่ ง
• ไม่ไปพดู ทํานองวา่ แพทยผ์ ูอ้ นื่ เชน่ แหมมหี มอมาแย่งเตียงไปแลว้
• รพ. โน้นสง่ ผ้ปู ว่ ยมาชา้ จงั ไม่น่าส่งตวั มาแบบนเ้ี ลย การเสนอโครงการวจิ ยั เร่ืองการใช้ convalescent plasma ของ
• ไมต่ ้องทะเลาะกับผปู้ ว่ ย ถา้ มาถึงจุดน้ี ใหพ้ ดู จาสภุ าพขอตัวออกมา ผูต้ ิดเชอื้ ทฟี่ ืน้ จากโรคและหายดีแลว้ มารกั ษาผู้ติดเช้อื รายใหม่

Ethics of IRB Committee in Judging a Research Proposal on Ethics of IRB Committee in Judging a Research Proposal on
COVID-19 COVID-19

Role & Responsibility of IRB on research IRB acts as researchers and concludes the result of the
• protecting the rights and welfare proposed research that is the hypothesis of the researchers
• of human subjects of research
Cites this paper 
•The research includes enrollment of vulnerable subjects and if appropriate safeguards are in place and then rejects 
•The research involves use of an FDA-regulated product(s) and the regulatory status of the product(s) the Thai research 
•The consent process, as described by the investigator, is appropriate
•The consent document is understandable and contains all the required and additional elements as proposal
appropriate
•The study requires data and safety monitoring to ensure the safety of subjects
•The interval for continuing review of the research is appropriate.
•The research fulfills the criteria for referral for continuing review by expedited
•review procedures
•The research design and scientific merit are appropriate (often informed by departmental research
scientific review recommendations)
•Conflict(s) of interest exist for any study team member(s) and, if present, there are adequate provisions to
protect human subjects from any additional significant risk and to maintain the integrity of the research

๗๘๕

จรยิ ธรรมของกรรมการจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคน จริยธรรมของกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน
ในดา้ น การพิจารณาโครงการวิจยั ในดา้ น การปกป้องผดู้ อ้ ยโอกาส ป้องกันอันตรายจากการ

การทําวจิ ยั ไดผ้ ลลพั ธ์ท่ีเกดิ ประโยชน์โดยอาสาสมัครต้องเส่ียงบ้าง แต่ เข้ารว่ มโครงการวิจยั
ตัวอย่าง
ต้องไดร้ ับการปกปอ้ งอันตรายและหรือชดเชย
• แรงงานต่างด้าวอาจจะเขา้ ใจการเขา้ รว่ มงานวจิ ยั ไมล่ กึ ซ้ึงพอ เพราะ
ตวั อยา่ ง อ่านคําอธิบายภาษาไทยใน informed consent ไม่ได้ แต่
ผลงานวจิ ยั จะชว่ ยปอ้ งกนั การติดตอ่ ของโรคติดตอ่ อนั ตรายได้
การเสนอโครงการวจิ ัย เรือ่ งการใช้ convalescent plasma ของ
ผู้ตดิ เช้อื ท่ีฟ้นื จากโรคและหายดีแลว้ มารกั ษาผ้ตู ิดเชือ้ รายใหม่ การปฏิบัติต่อ แรงงานตา่ งด้าว กบั คนไทยท่เี ข้าร่วมงานวิจัย เหมอื นกนั
ทุกอย่าง รวมทัง้ การได้รบั เงนิ ชดเชยเท่าเทียมกัน และวธิ ีการปา้ ยเกบ็
กรรมการจรยิ ธรรมการวจิ ยั ทาํ ตนเองเปน็ ผู้พสิ จู นส์ มมติฐานของผเู้ สนอ ตัวอย่างและการใหย้ ากเ็ หมอื นกันและปลอดภัยดีเทา่ เทยี มกนั อย่แู ลว้
โครงการวจิ ัยวา่ (และสรุปว่าไม่อนุมตั แิ ละไมต่ อ้ งทาํ เพราะคิดว่าไม่ไดผ้ ล)
• แทนที่จะปกป้องอันตรายของอาสาสมคั รในการเข้าร่วมโครงการวจิ ัย

เปน็ หลกั

Ethics of IRB Committee in Judging a Research Proposal on Ethics of IRB Committee in Judging a Research Proposal on
COVID-19 COVID-19

Role & Responsibility of IRB on research กรรมการ IRB ไปติดอยทู่ ่ีการอธิบาย (informed consent) เร่ืองโครงการวจิ ยั ใหแ้ รงงานต่างดา้ ว
• protecting the rights and welfare โดยกรรมการ IRB เห็นวา่ แรงงานต่างดา้ วอาจจะเขา้ ใจไดไ้ ม่ครบถว้ นแมจ้ ะมีพยาบาลช่วยอธิบายและ
• of human subjects of research มีเพ่ือนต่างดา้ วช่วยแปลกต็ าม
• กไ็ ม่อนุมตั ิใหท้ าํ วจิ ยั ในแรงงานต่างดา้ ว
•The research includes enrollment of vulnerable subjects and if appropriate safeguards are in place 1. ท้งั ๆ ท่ีวธิ ีการเกบ็ ตวั อยา่ งจากโพรงจมกู และช่องปากใชว้ ิธีการปกติและเหมือนกนั ท้งั คนไทยและ
•The research involves use of an FDA-regulated product(s) and the regulatory status of the product(s)
•The consent process, as described by the investigator, is appropriate คนต่างดา้ ว
•The consent document is understandable and contains all the required and additional elements as 2. การพน่ สารละลาย PVI หรือลา้ งจมูกดว้ ยน้าํ ยา PVI กเ็ ป็นวิธีมาตรฐาน และมีความปลอดภยั สูง
appropriate 3. มีการใหค้ ่าตอบแทนเท่ากนั กบั คนไทยและแรงงานต่างดา้ ว
•The study requires data and safety monitoring to ensure the safety of subjects 4. ระยะเวลาทาํ วิจยั ในผตู้ ิดเช้ือท้งั คนไทยและแรงงานต่างดา้ วกน็ านเพียง 4-5 ชว่ั โมงเท่าน้นั
•The interval for continuing review of the research is appropriate. 5. เท่าท่ีทาํ มาก่อนในรายอ่ืนŤกไ็ ม่มีอนั ตรายใดŤๆŤเลย
•The research fulfills the criteria for referral for continuing review by expedited
•review procedures ผลงานวจิ ัยท่ีได้ จะนํามาใช้ควบคุมโรคติดต่อร้ายแรงซึ่งจะเกดิ ประโยชน์มากมาย และเป็ นภาวะเร่งด่วนที่จะต้องได้ผลเร็วเพอื่
•The research design and scientific merit are appropriate (often informed by departmental research นํามาใช้ควบคุมโรคให้ได้ และยงั เป็ นการให้ความปลอดภัยแก่บุคลากรทางการแพทย์ในการเข้าไปดแู ลรักษาผู้ตดิ เชื้อโรคโควดิ -19
scientific review recommendations) อกี ด้วย
•Conflict(s) of interest exist for any study team member(s) and, if present, there are adequate provisions to
protect human subjects from any additional significant risk and to maintain the integrity of the research

จรยิ ธรรมทางการแพทย์
1. ความเคารพในเจตจาํ นงบคุ คล (autonomy)
2. การไมก่ ระทําอันตราย (non-maleficence)

คาํ3ถ. ามกดาา้ รนทาํจใรนยิสิ่งธทรเ่ี รปมน็ คทณุ กุ อ(bยe่าnงefทiceุกnเcวeล)า ทกุ เรอ่ื ง อาจจะยังไม่
มีค4.าํ ตอคบวชามัดยเุตจิธนรรมจน(juกsวtic่าeเว&ลnาoจะoผneา่ นisไlปeftแbลeะhมinกี dา) ร
เปลยี่ นแปลงของขอ้ มลู ความรู้ ทรัพยากร ความเขา้ ใจของ
สังก•คารมคคงวไวา้ซมงึ่รจู้ ครวยิ าธมรเรขมา้ ทใจางในกาขร้อแมพลู ทนยน้ั ์ยขังอขงนึ้ แอพยทู่กยับ์แต่ละคน

• ยังมหี ลายระดบั ต้ังแต่ผู้บรหิ ารองคก์ รขนาดเลก็ ขนาดใหญ่ ขนาด
โลก และสว่ นบุคคลดว้ ย

• ทักษะการสอื่ สารท่ีเหมาะสมด้วยกบั ผปู้ ่วย/ผฟู้ ัง

๗๘๖

“การรับมือกับการแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั หวั ข้อการบรรยาย/อภิปราย
โรคโควดิ -19 กลายพนั ธ”์ุ ๑. สถานการณป์ จั จบุ นั ของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย

หอ้ งประชมุ ๔ ชัน้ ๙ ๒. เชื้อไวรัสกลายพนั ธใุ์ นประเทศไทย
อาคารกรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ ๓. การรบั มือกับการแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โรคโควดิ -19 กลายพนั ธุ์

ศาสตราจารยน์ ายแพทย์อมร ลีลารัศมี ๓.๑ การปอ้ งกนั ตนเองจากการตดิ เช้อื SARS-CoV-2
วนั พฤหัสบดี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ๓.๒ การลดความรนุ แรงของโรคถา้ ติดเชอ้ื
เวลา ๙:๓๐ ถึง ๑๒:๐๐ น.
๓.๒.๑ วคั ซนี (ป้องกนั )โรคโควดิ -19
๓.๒.๒ ยา/พลาสม่า ต้านไวรสั โควิด-19
๔. มาตรการเสริมจากภาครฐั ในภาวะโรคโควดิ -19 (ทุกท่านให้ความเห็น)
๔.๑ การรักษาพยาบาล(ในสถานการณ์ทไ่ี มป่ กติ)
๔.๒ การลดการระบาดของโรค

หวั ข้อการบรรยาย
๑. สถานการณ์ปัจจบุ ันของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย

๒. เช้ือไวรสั กลายพนั ธ์ุในประเทศไทย
๓. การรบั มอื กับการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโรคโควดิ -19 กลายพนั ธุ์

๓.๑ การปอ้ งกนั ตนเองจากการตดิ เชอ้ื SARS-CoV-2
๓.๒ การลดความรนุ แรงของโรคถา้ ตดิ เชอ้ื

๓.๒.๑ วคั ซนี (ปอ้ งกัน)โรคโควดิ -19
๓.๒.๒ ยาตา้ นไวรสั โควิด-19
๔. มาตรการเสรมิ จากภาครฐั ในภาวะโรคโควดิ -19 (ทุกท่านให้ความเหน็ )
๔.๑ การรกั ษาพยาบาล(ในสถานการณท์ ่ไี ม่ปกต)ิ
๔.๒ การลดการระบาดของโรค

 17,000,000+ โดส

๗๘๗

จดั ทาํ ภาพ นาํ เสนอโดย นพ.อนุตตร จติ ตินนั ทน์ จากข้อมูลของ FB ศนู ย์ขอ้ มลู โควิด 19 จัดทําภาพ นาํ เสนอโดย นพ.อนตุ ตร จิตตนิ ันทน์ จากขอ้ มลู ของ FB ศูนยข์ อ้ มลู โควิด 19

ผมคาดการณ์เอาเองนะครับ วา่ คงจะไปแบบน้ีจนถึง จดุ น้ใี นทสี่ ุด หัวข้อการบรรยาย
 คนฉดี วัคซนี ประมาณร้อยละ ๗๐-๘๕ ของประชากรไทย ๑. สถานการณป์ ัจจบุ นั ของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย
 คนใช้วิถชี วี ิตใหม่(บ้าง + ใช้นอ้ ย) รอ้ ยละ ๖๐ ใช้แบบเขม้ ขน้ รอ้ ยละ ๔๐
 ผตู้ ิดเช้อื ทที่ ราบ(ยนื ยนั ตามรายงาน)สะสมถึง  ร้อยละ ๕ ของประชากร ๒. เชื้อไวรัสกลายพนั ธุใ์ นประเทศไทย
๓. การรับมือกบั การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั โรคโควดิ -19 กลายพันธ์ุ

๓.๑ การปอ้ งกันตนเองจากการตดิ เชอื้ SARS-CoV-2
๓.๒ การลดความรุนแรงของโรคถา้ ติดเช้อื

๓.๒.๑ วัคซีน(ป้องกนั )โรคโควดิ -19
๓.๒.๒ ยาต้านไวรสั โควิด-19
๔. มาตรการเสริมจากภาครฐั ในภาวะโรคโควดิ -19
๔.๑ การรักษาพยาบาล(ในสถานการณ์ที่ไมป่ กติ)
๔.๒ การลดการระบาดของโรค

๗๘๘

Schematic illustration of amino acid changes in spike protein.
Mutations yielding ≥ 4-fold changes in infectivity & neutralizing

reactivity to mAbs are shown in the figure.

S protein comprises subunits S1 & S2: S1 harbors the N-terminal domain (NTD), receptor-binding domain (RBD), whereas
S2 harbors heptad repeat 1 (HR1) and HR2

D614G variants or combined variants showed 4- to 100-fold increased infectivity
compared to the reference Wuhan-1 strain

Ten mutations, such as N234Q, L452R, A475V, V483A, and F490L, which were
remarkably resistant to some mAbs.

Wang, L., Wang, L. & Zhuang, H. Profiling and characterization of SARS-CoV-2 mutants’ infectivity and antigenicity. Sig Transduct Target Ther 5, 185 (2020).
https://doi.org/10.1038/s41392-020-00302-8

Variants of concern* (VOC*) as of July 22, 2021

European Centre for Disease Prevention and Control (ECDC)

Lineage + Country first Year and Evidence for Evidence for Evidence for
additional month first impact on
WHO label mutations detected Spike mutations of detected impact on impact on severity

(community) interest** transmissibility immunity Yes

Alpha B.1.1.7 United N501Y, D614G, September Yes No Type of viral variations with exposure history. At the open reading frame (ORF)
(a) Phylogenetic tree of concatenated sequences, including partial ORF1ab
Kingdom P681H 2020 (nucleotide position 8,596–8,927 and 13,259–16,269), S (nucleotide position
21,320–25,541), ORF3a to E (nucleotide position 25,902–26,549), and ORF9b
Alpha B.1.1.7+ United E484K, N501Y, December Yes Neutraliza Yes to ORF10 (nucleotide position 28,101–29,682).
E484K Kingdom D614G, P681H 2020 tion The phylogenetic tree was generated by the neighbor-joining method with
1,000 bootstrap replicates. Branch values > 60 were indicated.
Beta B.1.351 South K417N, E484K, September Yes Escape Yes The blanket showed the five main types.
Africa N501Y, D614G, 2020 Dots and colors precede the sequences isolated in this study with different risks
A701V of exposure.

Gamma P.1 Brazil K417T, E484K, December Yes Neutraliza Yes b) The pattern of nucleotide substitution change and
N501Y, D614G, 2020 tion
H655Y type of SARS-CoV-2.
Yes Escape Yes
Delta B.1.617.2 India L452R, T478K, December
D614G, P681R 2020

*Significant impact on transmissibility, severity and/or immunity

**Changes to spike protein residues 319-541 (receptor binding domain) and 613-705 (the S1 part of the S1/S2 junction and
a small stretch on the S2 side), and any additional unusual changes specific to the variant.

วนั ที่ 3 ถงึ 9 กรกฎาคม 2564 ใน กทม. ผตู้ ดิ เชอ้ื 2,697 ราย SARS-CoV-2 Delta variant,
• สายพันธุเ์ ดลตา (อินเดยี ) จาํ นวน 1,541 ราย (57.1%) lineage B.1.617.2,
• สายพนั ธอุ์ ัลฟา (อังกฤษ) จํานวน 1,156 ราย (42.9%) • a variant of lineage B.1.617
• สายพันธเ์ุ บตา (แอฟรกิ าใต)้ ไม่พบผูต้ ดิ เช้ือ • first detected in India in late

ใน ภมู ิภาค ผตู้ ดิ เชอ้ื 1,280 ราย 2020.
• สายพันธุอ์ ลั ฟา 902 ราย (70.5%) • WHO named it the Delta
• สายพนั ธุ์เดลตา 293 ราย (22.9%)
• สายพันธุเ์ บตา 85 ราย (6.6%) ส่วนใหญย่ ังพบในพนื้ ท่ภี าคใต้ โดยเฉพาะในจังหวดั นราธวิ าสมากทส่ี ดุ variant on 31 May 2021
ทง้ั ประเทศตัง้ แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2564 ถึง 9 กรกฎาคม 2564 • gene encoding the SARS-
• สายพันธ์ุอลั ฟา จํานวน 11,267 ราย (74.08%)
• สายพันธุเ์ ดลตา จํานวน 3,672 ราย (24.14%) CoV-2 spike protein causing
• สายพันธุเ์ บตา จาํ นวน 271 ราย (1.78%) the substitutions E484Q and
L452R.
• has the T478K mutation

๗๘๙

Mapping of key Mutations change interactions with ACE2 & antibodies
The crystal structure of the ACE2 complex with the spike
mutations on the protein suggests the mutations L452R & E484Q reduce
furin-cleaved intermolecular and intramolecular interactions compared to
crystal structure of the wild-type virus.
SARS-CoV-2 • The L452R mutation removes the hydrophobic

spike glycoprotein interactions with other nearby residues.
• But, the change from hydrophobic L452 to hydrophilic
(grey surface
view) in complex 452R increases the stability of the complex, likely
with ACE2 because of its greater interaction with water molecules.
• E484Q mutation disrupts an electrostatic bond in RBD.
(brown solid • Mutation P681R in the furin cleavage site could help
increased membrane fusion and thus cause increased
ribbon). transmissibility

RBD region
shown in green

Mutations change interactions with ACE2 & antibodies

The crystal structure of the ACE2 complex with the spike protein suggests the mutations L452R &
E484Q reduce intermolecular and intramolecular interactions compared to the wild-type virus.

• Both mutations L452R & E484Q disrupt the
interaction of the REGN10933 and P2B-2F6 neutralizing
antibodies with the spike protein, thus reducing their neutralization effect.

• L452R mutation reduces the neutralizing activity of
several mAbs, including those under clinical trials.

• L452R can also escape cellular immunity, increasing
viral infectivity & ??increase viral replication.

• Thus, this double mutant combination could escape monoclonal antibodies, requiring further studies.

The combination of L452R, E484Q, and P681R, suggests
the virus is evolving similar traits independently,
continually adapting to its human hosts

Cherian S. et al. (2021) Convergent evolution of SARS-CoV-2 spike mutations, L452R, E484Q and P681R, in the second wave of COVID-19 in
Maharashtra, India. bioRxiv, https://doi.org/10.1101/2021.04.22.440932, https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2021.04.22.440932v1

หวั ขอ้ การบรรยาย หวั ขอ้ การบรรยาย
๑. สถานการณป์ ัจจุบันของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย ๑. สถานการณ์ปจั จบุ ันของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย

๒. เชอ้ื ไวรัสกลายพนั ธ์ุในประเทศไทย ๒. เช้ือไวรสั กลายพนั ธุใ์ นประเทศไทย
๓. การรบั มอื กบั การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โรคโควดิ -19 กลายพันธุ์ ๓. การรบั มอื กับการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโรคโควดิ -19 กลายพนั ธ์ุ

๓.๑ การปอ้ งกันตนเองจากการติดเช้ือ SARS-CoV-2 ๓.๑ การป้องกันตนเองจากการตดิ เช้อื SARS-CoV-2
๓.๒ การลดความรุนแรงของโรคถา้ ตดิ เชื้อ ๓.๑.๑ อย่าปลอ่ ยใหเ้ ชื้อจากตา่ งประเทศเขา้ มาในไทย
๓.๑.๒ อยา่ รบั เชื้อ(เข้าทช่ี มุ ชนสาธารณะ) หากเชอ้ื เข้ามาแล้ว
๓.๒.๑ วัคซีน(ป้องกนั )โรคโควดิ -19 ๓.๑.๓ ลดการรบั จาํ นวนเช้ือเมอ่ื เชอ้ื เดลตาเข้ามาแลว้
๓.๒.๒ ยาตา้ นไวรัสโควดิ -19
๔. มาตรการเสริมจากภาครฐั ในภาวะโรคโควดิ -19
๔.๑ การรักษาพยาบาล(ในสถานการณ์ท่ไี ม่ปกต)ิ
๔.๒ การลดการระบาดของโรค

๗๙๐

Two immunodominant regions of the viral spike (S) protein
1. the receptor-binding domain (RBD) – is the primary target

of antibody neutralization during infection.
2. the N-terminal domain (NTD) of the spike protein.

Moore P, et al. SARS-CoV-2 501Y.V2 escapes neutralization by South African COVID-19 donor plasma. bioRxiv, 2020. doi: https://doi.org/10.1101/2021.01.18.427166,
https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2021.01.18.427166v1

Colorized scanning electron micrograph of
an apoptotic cell (red) heavily infected
with SARS-COV-2 virus particles
(yellow), isolated from a patient sample.
Colorized scanning electron micrograph of
an apoptotic cell (blue) infected with
SARS-COV-2 virus particles (yellow),
isolated from a patient sample
Image captured at the NIAID Integrated
Research Facility (IRF) in Fort Detrick,
Maryland. Credit: NIAID.

๗๙๑

หวั ขอ้ การบรรยาย
๑. สถานการณป์ ัจจุบนั ของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย

๒. เชอื้ ไวรสั กลายพันธใุ์ นประเทศไทย
๓. การรบั มอื กบั การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โรคโควดิ -19 กลายพนั ธุ์

๓.๑ การปอ้ งกันตนเองจากการติดเชือ้ SARS-CoV-2
๓.๑.๑ อย่าปลอ่ ยให้เชือ้ จากต่างประเทศเขา้ มาในไทย
๓.๑.๒ อย่ารบั เชอ้ื (เขา้ ทชี่ ุมชนสาธารณะ) หากเชือ้ เขา้ มาแล้ว
๓.๑.๓ ลดการรับจํานวนเชอ้ื เมอ่ื เชอื้ เดลตาเขา้ มาแลว้

เดลินิวส์ วนั ท่ี 18 มกราคม 2564

กรณี ดีเจมะตมู ผ้ตู ิดเชือ้ โควิด-19 ซง่ึ พบผ้ตู ดิ เชือ้ ที่มีความเช่ือมโยงจากงานปาร์ตวี ้ นั เกิด เพ่ิม ลกู สาววยั ๘ ขวบท่ีมีไข้
อีก 5 ราย ท่ีมาจากการตรวจซาํ ้ ในกลมุ่ ผ้สู มั ผสั เสี่ยงสงู รวมผ้ปู ่ วยสะสม 24 ราย เป็นชาย 23 แม่บ้านบน่ ว่า เหน่ือย
ราย และ หญิง 1 ราย อายเุ ฉล่ีย 20-49 ปี โดยสว่ นใหญ่จะมอี าการไอ รองลงมาคือเจบ็ คอ มีไข้
มีนํา้ มกู และไม่ได้กลิน่ ตามลาํ ดบั

๗๙๒

การพดู คยุ กนั แบบ Fig. 1 Schematic illustration of different regimes of abundance of respiratory particles and
ใกล้ชิดในสถานที่ viruses.
อากาศไมถ่ ่ายเท
หรือเข้าไปในท่ีมี Schematic illustration of
กลมุ่ คนแออดั ใน different regimes of abundance
สถานท่ีอากาศไม่ of respiratory particles and
ถา่ ยเทนานกวา่ 10 viruses. (A to D) The solid
นาที curves represent the infection
probability (Pinf) as a function
of inhaled virus number (Nv)
scaled by median infectious
dose IDv,50 at which Pinf = 50%.
In the virus-rich regime [(A)
and (B)], the concentration of
airborne viruses is so high that
both the numbers of viruses
inhaled with and without
masks (Nv,mask, Nv) are much
higher than IDv,50, and Pinf
remains close to ~1 even if
masks are used.

In the virus-limited regime [(C)
and (D)], Nv and Nv,mask are
close to or lower than IDv,50,
and Pinf decreases
substantially when masks are
used, even if the masks cannot
prevent the inhalation of all
respiratory particles. In (B) and
(D), the red dots represent
respiratory particles containing
viruses, and the open green
circles represent respiratory
particles without viruses. Man
icon used in (B) and (D) was
made by Tinu CA from
www.freeicons.io, distributed
under CC-BY 3.0.

Yafang Cheng et al. Science 2021;372:1439-1443

Copyright © 2021 The Authors, some rights reserved; exclusive licensee American Association
for the Advancement of Science. No claim to original U.S. Government Works

จดุ รว่ มของทุกปจั จยั เส่ียงตอ่ การตดิ เชอื้ โควดิ หวั ข้อการบรรยาย
19 คอื อะไร? (ทยี่ งั ไมก่ ลา่ วให้ชดั เจน)  ๑. สถานการณป์ ัจจุบนั ของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย

คาํ ตอบ ห้อง/พนื้ ทแี่ ออดั อยรู่ ว่ มกนั หรอื ท่ี ๒. เชื้อไวรัสกลายพันธ์ใุ นประเทศไทย
สาธารณะ + อากาศไมถ่ า่ ยเท/ขงั อยใู่ นน้นั   ๓. การรบั มอื กบั การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโรคโควดิ -19 กลายพนั ธุ์

ลกู สาววยั ๘ ขวบทม่ี ีไข้ ๓.๑ การป้องกันตนเองจากการติดเชอื้ SARS-CoV-2
แม่บ้านบน่ วา่ เหนื่อย ๓.๒ การลดความรนุ แรงของโรคถา้ ติดเช้อื

๓.๒.๑ วัคซีน(ปอ้ งกนั )โรคโควดิ -19
๓.๒.๒ ยาต้านไวรัสโควิด-19
๔. มาตรการเสรมิ จากภาครฐั ในภาวะโรคโควิด-19
๔.๑ การรกั ษาพยาบาล(ในสถานการณท์ ี่ไมป่ กติ)
๔.๒ การลดการระบาดของโรค

mRNA

Chimpanzee adenovirus called ChAdOx1,
Adenovirus 5, adenovirus26

viral proteins and an adjuvant,
a part of the spike protein, called RBD

๗๙๓

RESULTS
The Chile study: Feb 2 through May 1, 2021

The cohort: included  10.2 million persons

Sinovac vaccine
≥ 2 viral lineages considered to be variants of concern,

• P.1 & B.1.1.7 ( &  variants)

Among fully immunized person,

Prevention Adjusted Vaccine Efficacy 95% CI
• of Covid-19
• of Hospitalization 65.9% 65.2 to 66.6
• of ICU admission
• of Covid-19–related death 87.5% 86.7 to 88.2

90.3% 89.1 to 91.4

86.3% 84.5 to 87.9

Jara, A, Undurraga EA, González C, Paredes F, Fontecilla T, Jara G, Pizarro A, et al. Effectiveness of an Inactivated SARS-CoV-2 Vaccine

in Chile. NEJM 2021; July 7, 2021. DOI: 10.1056/NEJMoa2107715

ในไทย วคั ซนี 'ซิโนแวค' 2 เข็ม ปอ้ งกันสายพนั ธอุ์ ลั ฟา 90% เดลตา 75%

๒๑ กค ๒๕๖๔ กระทรวงสาธารณสขุ ผลการศึกษาประสทิ ธผิ ล
วัคซนี "ซิโนแวค" ฉดี ให้คนไทยใน 4 แหล่งดังนี้
๑. จ.ภูเก็ต ผูส้ มั ผสั เสย่ี งสูง เม.ย.-พ.ค. 2564 จาํ นวนกวา่ 1,500 ราย
ตดิ เชือ้ 124 ราย เทยี บกบั ผู้ไม่ไดร้ บั วัคซีน ป้องกันตดิ เชื้อ 90.7%
๒. จ.สมทุ รสาคร ผูส้ มั ผสั เส่ยี งสงู กว่า 500 ราย เม.ย. 2564 ติดเช้อื
116 ราย ป้องกันติดเช้ือ 90.5%
๓. จ.เชยี งราย บคุ ลากรสาธารณสุข ม.ิ ย. 2564 กว่า 500 รายติดเชือ้
40 ราย เม่ือเปรยี บเทียบขอ้ มลู พบวา่ ฉีดซโิ นแวค 2 เขม็ ป้องกนั การ
ตดิ เช้อื 88.8% และป้องกันปอดอักเสบ 84.9% สําหรบั บคุ ลากรทฉ่ี ดี
แอสตร้าเซนเนกา้ 1 เข็มครบ 14 วนั ป้องกนั การติดเชือ้ อย่ทู ี่ 83.8%

ในไทย วคั ซนี 'ซโิ นแวค' 2 เข็ม ปอ้ งกันสายพนั ธ์ุอัลฟา 90% เดลตา 75% ในไทย วัคซนี 'ซโิ นแวค' 2 เข็ม ปอ้ งกนั สายพนั ธอุ์ ัลฟา 90% เดลตา 75%

๒๑ กค ๒๕๖๔ กระทรวงสาธารณสขุ ผลการศึกษาประสิทธผิ ล ๒๑ กค ๒๕๖๔ กระทรวงสาธารณสขุ ผลการศกึ ษาประสิทธผิ ล
วคั ซีน "ซิโนแวค" ฉีดให้คนไทยใน 4 แหลง่ ดังนี้ วคั ซีน "ซโิ นแวค" ฉดี ใหค้ นไทยใน 4 แหลง่ ดงั น้ี
๔. กรมควบคุมโรค ตดิ ตามบุคลากรสาธารณสุขท่ีติดเชอ้ื ท้ังประเทศ ดงั น้นั หากฉีดวคั ซนี ซิโนแวค ครบ 2 เข็ม
และข้อมูลการรบั วัคซีน ตงั้ แต่ 1 พ.ค. - 30 มิ.ย. 2564 พบว่า • ป้องกันตดิ เชอื้ สายพันธอ์ุ ัลฟาประมาณร้อยละ 90 และปอ้ งกนั
ประสิทธิผลป้องกันการตดิ เช้อื อยทู่ ่ี 71%
• โดยชว่ งเดือน พ.ค. 2564 การระบาดสายพันธอุ์ ัลฟา ประสิทธิผล ปอดอกั เสบได้รอ้ ยละ 85
• ประสทิ ธิผลตอ่ สายพนั ธ์ุเดลตาขณะน้ี ถอื ว่ายงั คงท่ี คอื ร้อยละ 75
การป้องกันการตดิ เชื้ออยทู่ ่ี 75%
• เดอื น ม.ิ ย. 2564 มกี ารระบาดของสายพนั ธ์ุ เดลตา แทนทอ่ี ัลฟา ซึง่ ไมต่ า่ งจากเดมิ ท่ีรอ้ ยละ 71
สาํ หรบั การฉดี เข็มกระตนุ้ และการฉีดสลบั ประเภทของวคั ซนี นน้ั จาก
ประสิทธิผลการป้องกนั การติดเชอ้ื อยูท่ ปี่ ระมาณ 20-40% การศึกษาทางห้องปฏบิ ตั ิการ พบว่าจะสามารถเพิม่ ระดับภูมคิ มุ้ กนั ให้
ไดส้ งู กวา่ เดิมได้รวดเรว็ และสูงมากขึน้

๗๙๔

2nd dose of Astra-Zeneca vaccine: 8 vs 12 vs 16 wks Cortical veins Superior sagittal
17% sinus 62%

Straight
sinus 18%

Vein of Galen Transverse Venous stroke appears as an
& internal sinuses edematous region with mixed
86% infarction, hemorrhage, and contrast
cerebral veins enhancement that does not respect
11% arterial territories.

Jugular Stam, J. Current concepts - Thrombosis of the cerebral
veins 12% veins and sinuses. NEJM 2005;352:1791-8.
DOI: 10.1056/NEJMra042354

Carla Rothaus. Cerebral Venous Thrombosis. NEJM 2021
Published Jul 01, 2021

๗๙๕

อาการของหมอก็จะเหน็ วา่ ไม่ใช่ mild case ซะทเี ดียวเพราะวนั ท่ี 5 ของการติดเช้ือก็มคี า่ เม็ดเลอื ดขาว lymphocyte ทีต่ ่าํ (จริงๆ แล้วลดลงทง้ั เม็ดเลอื ดแดง เกร็ดเลือด
ด้วย ถ้าเทียบกับผลการตรวจร่างกายเม่อื ก่อนหน้าน้ี) มคี า่ การอักเสบ CRP เพ่มิ ขึ้น มตี บั อกั เสบ และ CT chest พบวา่ มีปอดอกั เสบ 5% ช่วงนั้นเปน็ ช่วงทีค่ ่อนข้างตกใจ
พอสมควรเพราะเรารเู้ รอื่ งกลไกการเกิดโรคด้านภูมคิ มุ้ กันของโควิดค่อนข้างละเอยี ด กงั วลว่าเราจะเดินหนา้ ไปเป็น cytokine storm ไหม ตอ้ งได้ยา steroid ไหม เมอ่ื มีปอด
อกั เสบหมอเลยไดย้ าตา้ นไวรสั ซึ่งใชเ้ วลา 2 วนั หลังได้ยาต้านไวรัสแล้วอาการก็ดีขึ้น ซ่งึ หมอคดิ วา่ สาเหตุหนึ่งท่ีดีขน้ึ คงมสี ว่ นจากระบบภมู คิ มุ้ กนั ทเ่ี คยไดร้ บั การ
กระตุ้นด้วย Sinovac มาสองเขม็ ถงึ แม้ว่าภูมิคุ้มกันจะตกและทําให้ติดเชอ้ื แต่ memory cells ท้งั หลายก็คงจะพอมใี หเ้ รียกกลับมาทํางานขจดั เชอ้ื โรคไดท้ นั ในชว่ งปลาย
สัปดาห์แรก และส่วนตวั ไม่ได้มีโรคประจาํ ตัวในกลมุ่ เส่ียง (นอกจากอยู่ในกลมุ่ อายทุ ่ีระดับ antibody ลดลงเรว็ ) และเป็นคนทอี่ อกกาํ ลงั กายสม่าํ เสมอ (ตอนเมด็ เลือดขาวตา่ํ

กอ็ อกกาํ ลังกายในห้องพักกับลกู ชาย) ถึงแมจ้ ะมีปริมาณเชือ้ ค่อนข้างมาก (ถา้ จาํ ได้ Ct 18) กส็ ามารถรอดกลับมาหายไดด้ ้วยการมภี มู ิค้มุ กนั ตอ่ สายพันธุ์ Delta ที่

แขง็ แรงมากขนึ้ ค่ะ และการปว่ ยครง้ั นีไ้ ด้เขา้ โครงการวิจัยของทางรามาธิบดีที่ทาํ การตรวจและตดิ ตามผูป้ ว่ ยโควดิ ด้วยค่ะ หวังว่าตวั เองจะไม่เกดิ long term side effect
ใดๆตามมา

ดงั นนั้ Protective immunity ทไ่ี ด้จาก Sinovac กจ็ ะมีสว่ นช่วยใหร้ า่ งกายสามารถจัดการขจัดไวรัสไปใหเ้ ร็วขนึ้ และการอักเสบและ

การลกุ ลามไปที่ปอดเกิดลดลง ถงึ เป็นท่ีมาของขอ้ มลู ที่ Sinovac ชว่ ยลดอาการรนุ แรง ลดการตายในผ้ปู ว่ ยติดเชอื้ โควิดไงคะ

๗๙๖

ถ้าเราอยใู่ นสง่ิ แวดลอ้ มน้นั นานๆ ในทส่ี ดุ แล้วเรากจ็ ะตอ้ งหายใจเข้าปอดไปอยดู่ ี (ไม่ว่า
หน้ากากทเี่ ราใส่จะดีเพียงใด) ส่ิงนค้ี งเป็นปัจจัยทที่ ําใหห้ มอติดเชอื้ ดว้ ยค่ะ เพราะฉะนัน้ ถ้าตอ้ ง
เขา้ ไปในสถานทแี่ บบนน้ั อยา่ อยูน่ านนะคะ เพราะจะมีโอกาสรบั เช้ือได้มากขน้ึ
การฉีดวัคซีนชว่ ยเราอย่างไร วคั ซนี ที่กระตนุ้ เมด็ เลอื ดขาวชนิด CD8 T cells ให้มีความทรงจํา
ต่อเชอ้ื โรคไดด้ จี ะทําใหเ้ ม่ือรา่ งกายเรารบั เชอ้ื เข้าไปแลว้ CD8 T cells เหล่านจี้ ะเปน็ กองหนา้ ที่
แข็งแรงและมคี วามทรงจํากับเชอื้ โรคท่เี คยเหน็ ตอนได้วัคซนี กระต้นุ ก็จะออกมาขจัดเชอ้ื โรค
และอาจทําให้เรารับเช้อื แตไ่ มม่ อี าการเลยกไ็ ด้ โดยวคั ซีนทีม่ ีคณุ สมบตั ใิ นการกระตนุ้ CD8
memory T cells ท่ีดีคือ mRNA vaccine และ Viral vector DNA ค่ะ ส่วน Sinovac ซง่ึ ใช้
ตัวกระตุ้นภมู เิ ปน็ Alum จะมีคุณสมบตั ิกระตุ้นการสรา้ ง antibody ไดด้ ี แต่ไม่คอ่ ยกระต้นุ
CD8 memory T cells (อนั นีเ้ ป็นหนึง่ ในเหตุผลที่ Sinovac ปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ ไดไ้ ม่ค่อยดคี ่ะ)

แล้วภมู คิ ุม้ กันจากการไดว้ คั ซีนเขม็ ท่ี ๓ จากการตดิ เช้อื ตามธรรมชาติ
(จากการทํางาน) พงุ่ สูงเลยไหม???? สงู กวา่ มาฉีดวคั ซนี mRNA เขม็ ที่
สามไหมครับ????

ฉีดวคั ซีนครบ ๒ เข็ม ............. กี่คน

บุคลากรทางการแพทยข์ องไทย ฉีด วคั ซนี Sinovac 2 doses จํานวน บคุ ลากรทางการแพทยข์ องไทย ฉีด วคั ซนี AstraZeneca 1 dose
677,348 คน ติดเช้อื 618 ราย อตั ราการติดเช้ือรอ้ ยละ 0.092 (0.1) จาํ นวน 66,913 คน ติดเชื้อ 46 ราย อตั ราการติดเชือ้ ร้อยละ 0.0687
อัตราปว่ ยรุนแรง/ตายร้อยละ 0.32 (2/618) (0.07) อตั ราปว่ ยรุนแรง/ตายร้อยละ 4.44 (2/45)

๗๙๗

Vaccine Effectiveness against the Alpha & Delta Variants, Israel data seem to show COVID vaccine protection starts
According to Dose and Vaccine Type fading after 6 months

Pfizer AstraZeneca Pfizer AstraZeneca

Israel data seem to show COVID vaccine protection starts Israel data seem to show COVID vaccine protection starts
fading after 6 months fading after 6 months but still prevent severe illness

Percent of cases that turn critically ill at a similar stage in
• is = 1.6% (July 2021) compared to
• the 3rd wave when there were no vaccines = 4%

๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๔

Singapore vaccination program 5,896,686
Total population (July 22, 2021) 4,201,110 (72.2%)
• Received at least first dose 2,897,480 (49.1%)
• Completed full vaccination regimen

๗๙๘

ตัวอย่างของการรบั วัคซีนเขม็ ท่ี ๓ ตาม
ธรรมชาตโิ ดยไมค่ าดคิด

๔. ระหวา่ งรอจนถึงปใี หม่ เนื่องจากเชอื้ เดลตา้ ท่ี
แพรก่ ระจายเก่งมาก ท่านอาจจะตดิ เช้ือชนดิ น้ีโดย
ไมค่ าดคดิ ถ้าทา่ นเปน็ คนระวังตัวดอี ยแู่ ล้ว การ
พลาดพลงั้ ไปรับเชอื้ จะเป็นการรับเชอ้ื จาํ นวนน้อย
(ทา่ นสวมหน้ากากอนามัย เว้นระยะห่าง...ฯลฯ)
ถา้ ทา่ นฉีดวัคซีนครบสองเข็มแลว้ การตดิ เช้อื
จาํ นวนน้อยหลงั ฉดี วัคซีนครบจะกลับกลายเปน็
การรบั วัคซนี เขม็ ที่ ๓ จากการตดิ เช้ือตาม
ธรรมชาติ ทาํ ให้ภูมคิ ุ้มกนั ของท่านสูงลว่ิ ขน้ึ ไปอีก
ท่านจะมีอาการน้อยหรอื แทบไมม่ ีเลยหรอื ไมร่ ตู้ ัว
ว่า รับวัคซีนเข็มที่ ๓ ไปแลว้

๗๙๙

1. A single dose administered by nose
drops

2. Safety and tolerability
3. Serum neutralizing IgG
4. mucosal neutralizing IgA
5. Cellular immune responses
6. Does not require a needle and

syringe, nor ultra-low
temperature freezers.

Eureka Therapeutics has announced successful pre-clinical results from its InvisiMask™ Human Antibody Nasal
Spray in mice, offered protection against SARS-CoV-2 pseudotyped virus infection for up to 10 hours.
Intranasal application of a proprietary human monoclonal antibody (mAb) that is intended to be used as a prophylactic
against contracting SARS-CoV-2 infection.
It neutralizes SARS-CoV-2 from airborne droplets and particles in the nasal cavity
The IgG binds to the S1 Spike (S) protein of SARS-CoV-2 and prevent them from binding to the angiotensin-
converting enzyme 2 (ACE2) receptor on cells in the upper respiratory system.
The SaNOtize Px is based on nitric oxide, a natural nanomolecule produced by the human body with proven anti-
microbial properties shown to have a direct effect on SARS-CoV-2.
The treatment can be delivered by intranasal spray, throat gargle or nasal lavage.

๘๐๐

ข้อมลู ศ.นพ. ยงค์ ภวู่ รวรรณ

๘๐๑

Alpha (B.1.1.7), Beta (B.1.351) Gamma (P.1) SARS-CoV-2 variants of concern)

Nature Medicine (Nat Med) ISSN 1546-170X (online) ISSN 1078-8956 (print) d, Reciprocal titers of neutralizing antibodies against Wuhan, B.1.1.7 (Alpha), P.1
(B.1.1.28.1; Gamma) and B.1.351 (Beta) SARS-CoV-2-S variants measured using the
sVNT.
Data are from n = 31 biologically independent samples from the ChAd/ChAd group and
n = 54 biologically independent samples from the ChAd/BNT group.
For better visualization of identical titer values, data were randomly and proportionally
adjusted closely around the precise titer results.

Barros-Martins, J. et al. Nat. Med. https://doi.org/10.1038/s41591-021-01449-9 (2021).

ChAd–ChAd dosing titer = 1 against the SARS-CoV-2 spike protein คําถาม
ChAd–BNT dosing IgG, IgA = 20- to >60-fold
• nAb against α (B.1.1.7), β (B.1.351), ɤ (P.1) SARS-CoV-2 ๑. วคั ซนี ทม่ี ีอยู่แตล่ ะชนดิ ยงั ไม่สมบรู ณแ์ บบจรงิ หรอื ? แบบไหนจึงจะกระตนุ้
ภมู ิคุม้ กันไดค้ รบถ้วน
variants of concern. ๒. การกระตุ้นภูมิคุ้มกนั ได้ครบทกุ ประเภทตามทตี่ รวจได้ จาํ เปน็ ไหมสาํ หรบั การ
• These nAb titers were 3 fold higher than those in serum from ป้องกันการติดเช้ือ/การไมท่ าํ ให้เกิดอาการ สว่ นการลดความรนุ แรงของโรคนน้ั ทาํ
ได้อย่แู ล้ว
the groups dosed with BNT–BNT, with higher titers of the IgG ๓. หรอื วา่ เราตอ้ งให้แบบ prime-booster จากวัคซีนคนละชนดิ เช่น virus-
and IgA subclasses. vector vaccine + mRNA vaccine ตามงานวจิ ัย?
• Participants dosed with ChAd–mRNA demonstrate a greater ๔. วคั ซนี ที่ทําเช้ือไวรสั ทงั้ ตวั ทงั้ ตัวตาย (หรือตัวเปน็ แตอ่ ่อนฤทธ)์ิ ยังจะมี
number of circulating spike protein–specific CD4+ and CD8+ T ประโยชน์ในการปอ้ งกันการเกิดอาการของโรค/หรอื มีอะไรดีกวา่ วคั ซีนในขอ้ ๓.?
cells, as well as cytokine-producing T cells, than that of ๕. วัคซีนแบบใดทจ่ี ะตามทันเชื้อกลายพนั ธท์ุ จี่ ะเกดิ ขนึ้ เรือ่ ย ๆ หรอื วา่ ตอ้ ง
participants dosed with ChAd–ChAd. ปรบั ตวั เนื้อวัคซนี ตามเชอื้ กลายพันธ์ุไปเรอื่ ย ๆ
• A third study, published recently in Lancet, provides additional
evidence that the heterologous ChAd–mRNA vaccine approach
is well tolerated and stimulates a robust IgG and neutralizing-
antibody response.

Nature Medicine (Nat Med) ISSN 1546-170X (online) ISSN 1078-8956 (print)

ผลการตรวจเลือด รายหนงึ่ คําถาม/ขอ้ เสนอแนะ

๑. หลังฉีดวัคซีน ๓-๖ เดือน อาจจะวดั ระดับ nIgG ได้ตาํ่ มากหรอื ไม่ได้เลย แต่
ภูมคิ มุ้ กันยังมี memory cell อยู่ ใชไ่ หม? ไม่ใชแ่ ปลว่า ไม่มีภูมิค้มุ กันแล้ว

๒. หลังการฉดี วคั ซนี ทกุ ชนิดไป ๓-๖ เดือน ระดบั nIgG ก็จะตกลงมาทั้งนั้น ถ้า
ลงมาถงึ ระดับตํา่ มากหรือว่าไมพ่ บ แต่ยงั ลดความรนุ แรงของโรคไดไ้ หมถา้
เรารับเชือ้ แบบระวังตัว ภูมคิ มุ้ กันยังคุม้ กนั เราทนั ใชไ่ หม ตรวจยงั ไง?

ข้อเสนอถึงจุดฉดี วคั ซนี (เช่น ศนู ย์ฉดี วัคซีนกลางบางซื่อ) เพ่อื ฉดี วัคซีน
๑. จัดให้ฉดี เต็มศักยภาพไดไ้ หม? ทงั้ คนทม่ี ารบั การฉดี และบุคลากรทีฉ่ ดี ให้
๒. จัดระบบเข้าศูนยฉ์ ีดวัคซนี กลางบางซอ่ื เปน็ วงนอกอกี วง มีจดุ ยอ่ ย ๖๐ จุด

ล้อมรอบสถานีฝ่ังขาเขา้ เลย ใช้บัตรประชาชนสแกนรบั บตั รคิวเข้ามา
พอมีคนออกไปจากศูนย์ ก็รับคนใหมเ่ ข้ามา ในตวั สถานมี จี าํ นวนคนอย่คู งท่ี

• ลอื ! เตรียมส่ังยุบศูนย์ฉดี วคั ซีน สถานกี ลางบางซอ่ื ด้วยเหตุทางการเมอื ง
• เปิดภาพเชา้ น้ี ศูนยฉ์ ีดวัคซนี กลางบางซือ่ คนแน่นเอ๊ียด! หวนั่ เป็นคลัสเตอรใ์ หม่
• ศูนยฉ์ ีดวัคซนี กลางบางซือ่ เปิดให้วอลก์ อนิ คนเบียดกนั ไหลต่ ่อไหล่ หายใจรดต้นคอ ไมก่ ลวั โรคแล้ว
• ประชาชนจะเปน็ ลม ! รอต่อคิวฉดี วัคซีนโควดิ 19 แนน่ ศูนย์ฉดี วัคซนี กลางบางซือ่ เบยี ดกันไหล่ตอ่ ไหล่ เหมือนไปรับเชื้อมากกวา่ ไปเอาวัคซีน

๘๐๒

คนทีถ่ กู ฉีด มอบกาํ ลังใจ ให้หมอทีไ่ ปฉีดวัคซีน หัวขอ้ การบรรยาย
๑. สถานการณ์ปัจจุบันของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย
• หลังฉีดเสรจ็ หญงิ สูงวัย อุทานออกมาวา่ “มอื เบาจงั นะลกู ขอบคณุ มากนะจะ๊ ”
• เลยถามวา่ “คณุ ปา้ อายุเทา่ ไรแล้วครับ?” ๒. เช้อื ไวรัสกลายพนั ธุใ์ นประเทศไทย
๓. การรบั มอื กบั การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโรคโควดิ -19 กลายพนั ธุ์
• อายุ ๖๑ ปแี ล้ว
๓.๑ การปอ้ งกันตนเองจากการตดิ เชอ้ื SARS-CoV-2
• ออ้ !!! ครับ ๓.๒ การลดความรนุ แรงของโรคถา้ ตดิ เชือ้

รู้สึกโลง่ อก/นึกในใจ เราคงจะอายุยืนไปอกี นาน เพราะคงต้องรอให้ปา้ แกไ่ ปกอ่ น ๓.๒.๑ วคั ซนี (ปอ้ งกัน)โรคโควดิ -19
ตอนนเ้ี รากแ็ ค่ ๗๓ ปเี อง ๓.๒.๒ ยา/พลาสม่า ต้านไวรัสโควดิ -19
๔. มาตรการเสริมจากภาครัฐในภาวะโรคโควดิ -19
๔.๑ การรกั ษาพยาบาล(ในสถานการณท์ ีไ่ มป่ กติ)
๔.๒ การลดการระบาดของโรค

Peter C. Taylor, Andrew C. Adams, Matthew M. Hufford, Inmaculada de la Torre, Kevin Winthrop & Robert L. Gottlieb. Neutralizing monoclonal Peter C. Taylor, Andrew C. Adams, Matthew M. Hufford, Inmaculada de la Torre, Kevin Winthrop & Robert L. Gottlieb. Neutralizing monoclonal
antibodies for treatment of COVID-19. Nature Reviews Immunology volume 21, pages382–393 (2021) antibodies for treatment of COVID-19. Nature Reviews Immunology volume 21, pages382–393 (2021)

Three nmAb regimens for treatment of COVID-19. RCT (BLAZE-1) phase 3 in 769 non-hospitalized adults with
(1) Casirivimab and imdevimab bind distinct epitopes on mild to moderate COVID-19 symptoms who were at high risk
for progressing to severe COVID-19.
the RBD with dissociation constants KD of 46 and 47
pM, respectively. Imdevimab binds the S protein RBD from the front or a single infusion of Placebo

lower-left side, while casirivimab targets the spike-like loop from the top bamlanivimab 700 mg + 258
direction (overlapping with the ACE2-binding site). 15 (6%)
etesevimab 1,400 mg
(2) Bamlanivimab binds an epitope on the RBD in both its 4
open confirmation and its closed confirmation with Number of 511
dissociation constant KD = 71pM, covering 7 of the cases

approximately 25 side chains observed to form contact with ACE2 . Hospitalization 4 (0.8%) , or an 87% reduction.
or death
(3) Bamlanivimab and etesevimab bind to distinct, but
overlapping, epitopes within the RBD of the S protein of All death 0
SARS-CoV-2. Etesevimab binds the up/active conformation of the RBD
Bamlanivimab and etesevimab be administered as soon as possible after positive
with dissociation constant KD = 6.45 nM; it contains the LALA mutation in the viral test for SARS-CoV-2 and within 10 days of symptom onset.
Fc region, resulting in null effector function.

๘๐๓

LIMITATIONS of AUTHORIZED USE Dosages in adults and pediatric patients (12 years of
Casirivimab + imdevimab are NOT authorized for use in age and older weighing at least 40 kg) is
patients: • 1,200 mg of casirivimab + 1,200 mg of imdevimab
• who are hospitalized due to COVID-19,
• who require oxygen therapy due to COVID-19, administered together as a single IV infusion over at
• who require an increase in baseline oxygen flow rate least 60 minutes.
• Casirivimab & imdevimab solutions must be diluted
due to COVID-19 in those on chronic oxygen therapy prior to administration.
due to underlying non-COVID-19 related comorbidity. • Casirivimab and imdevimab should be given together
as soon as possible after +ve results of direct SARS-
Benefit of treatment with casirivimab + imdevimab has CoV-2 viral testing and < 10 days of symptom onset.
NOT been observed in patients hospitalized due to COVID-19.
Dosage Adjustment in Specific Populations
Casirivimab + imdevimab, may be associated with worse clinical • No dosage adjustment is recommended in pregnant or
outcomes when administered to hospitalized patients requiring high
lactating women and in patients with renal impairment
flow oxygen or mechanical ventilation with COVID-19.

Pseudovirus harboring Oral treatment can be started early for a
• E484K substitution had reduced potentially 4-fold benefit:

susceptibility to bamlanivimab. 1. inhibit patients’ progress to severe disease
• L452R reduced bamlanivimab 2. shorten the infectious phase to ease the

neutralization >1000-fold emotional and the socioeconomic toll of
prolonged patient isolation
1. Bamlanivimab + etesevimab 3. can rapidly silence local outbreaks
2. REGEN-COV (Casirivimab + imdevimab), + sotrovimab 4. can prevent the spreading of agents
from the high-risk, infected cases
Sotrovimab “appears to retain activity against variants of concern” like alpha, beta, gamma,
delta, epsilon and iota

๘๐๔

EIDD‐2801 Chemists led by
Merck’s Patrick S. Fier
800 mg(4 capsules) developed a faster route.
orally q 12 h for 5 days With the help of an
enyzme, they convert
ribose’s primary alcohol
into an isobutyl ester.
They then use a novel
biocatalytic cascade
reaction to install uracil
at the appropriate
position on the sugar.
Finally, they selectively
convert one of the uracil
moiety’s carbonyls to an
oxime, creating
molnupiravir. The new,
three-step route, the
researchers say, should
make it easier to make
large supplies of the
compound if it is
approved.

Molnupiravir Px of SARS-CoV-2 infected patients

Phase 2 clinical trials (NCT04405570, NCT04405739)

Interim data (on one secondary objective)

• in 202 non-hospitalized adults

• + signs or symptoms of COVID-19

• + active confirmed SARS-CoV2 infection.

At day 5,
• positive viral culture molnupiravir placebo

from nasopharyngeal swabs 0/47 6/25

Robert M. Cox, Josef D. Wolf & Richard K. Plemper. Therapeutically administered ribonucleoside analogue MK-4482/EIDD-2801 blocks SARS-CoV-2 • No safety signals were identified in the 202
transmission in ferrets. Nature Microbiology 2021;6:11-8. participants

Painter et al., Science SpotlightTM 80 , CROI 2021.

Combined efficacy [Favipiravir + Molnupiravir (EIDD- doi: https://doi.org/10.1101/2020.12.10.419242

2801)] against SARS-CoV-2: Hamster Infection Model.

Suboptimal doses of Molnupiravir + Favipiravir
(Favi 300 mg/kg, Molnu 150 mg/kg) BID,
• marked antiviral activity in the hamster model.
• Infectious virus titers were reduced to

undetectable levels in 6/10 treated animals.
• A median reduction of 4.5 log10 TCID50/mg

lung tissue (markedly more pronounced than what could be expected

from an additive activity of either Molnupiravir (1.3 log10) or Favipiravir
(1.1 log10) when dosed alone.
• This pronounced efficacy of the combination may partially or even entirely
be explained by the increased total mutation count in viral RNA collected
from the lungs of combo-treated hamsters as compared to the single
treatment groups.

doi: https://doi.org/10.1101/2020.12.10.419242

๘๐๕

DE

(D) Cumulative 296 severity score from H&E stained (E) Tolerability of combined treatment with
Favipiravir and EIDD-2801 in SARS-CoV-2-
slides of lungs from control (vehicle-treated) and EIDD- infected hamsters. Weight change at day 4 post-
2801-treated SARS-CoV297 2−infected hamsters. infection in percentage, normalized to the body
Individual data and median values are presented and the weight at the time of infection. Bars represent means ± SD.
dotted line represents the median 298 score of untreated
Fareh, M., Zhao, W., Hu, W. et al. Reprogrammed CRISPR-Cas13b suppresses SARS-CoV-2 replication and circumvents its mutational escape through mismatch
non-infected hamsters. doi: https://doi.org/10.1101/2020.12.10.419242 tolerance. Nat Commun 12, 4270 (2021). https://doi.org/10.1038/s41467-021-24577-9

หัวขอ้ การบรรยาย
๑. สถานการณป์ จั จบุ นั ของการระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย

๒. เชือ้ ไวรัสกลายพนั ธใุ์ นประเทศไทย
๓. การรบั มือกบั การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โรคโควดิ -19 กลายพันธ์ุ

๓.๑ การปอ้ งกนั ตนเองจากการติดเชื้อ SARS-CoV-2
๓.๒ การลดความรนุ แรงของโรคถา้ ติดเชอ้ื

๓.๒.๑ วัคซนี (ป้องกนั )โรคโควดิ -19
๓.๒.๒ ยาต้านไวรสั โควิด-19
๔. มาตรการเสริมจากภาครัฐในภาวะโรคโควิด-19
๔.๑ การรกั ษาพยาบาล(ในสถานการณท์ ่ไี ม่ปกติ)
๔.๒ การลดการระบาดของโรค

Fareh, M., Zhao, W., Hu, W. et al. Reprogrammed CRISPR-Cas13b suppresses SARS-CoV-2 replication and circumvents its mutational escape through mismatch
tolerance. Nat Commun 12, 4270 (2021). https://doi.org/10.1038/s41467-021-24577-9

๘๐๖

Mutation-driven viral
evolution can generate
1. drug resistance
2. immune escape
3. increased efficiency of

transmission
4. pathogenicity

จะมเี ชื�อไวรสั SARS-CoV-2
กลายพนั ธ์ุมากอ่ โรคระบาดอกี ไหม
หลงั โอมคี รอน?
ถา้ มี จะเข้าข่ายมีชือ� วา่ Pi (พาย)

๘๐๗

๘๐๘


Click to View FlipBook Version