The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siall28945, 2022-01-27 05:00:31

ภารกิจและเหตุการณ์ของนายกแพทยสมาคมฯ ครบรอบ ๑๐๐ ปี

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Keywords: นายก พสท.,ครบรอบ ๑๐๐ ปี

ข้อมูลใหม่มาใช้ น่าจะเพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งในการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืนในประเทศ
ไทย

แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ จึงขอเรียนเชญิ ท่านในฐานะผู้นาขององค์กรท่ีมบี ทบาทสาคัญในการ
ควบคมุ โรคไข้เลือดออก ไดร้ ่วมเป็นพันธมติ รความร่วมมือภายใต้ช่อื Dengue-Zero เพื่อสนบั สนนุ ความรู้ดา้ นการ
สาธารณสขุ ดา้ นการสรา้ งความตระหนักรแู้ ละดา้ นการยกระดบั มาตรฐานการควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก เพ่ือใหเ้ กิด
ความร่วมมือทแ่ี ข็งแกร่งระหว่างหนว่ ยงานรฐั หน่วยงานด้านวิชาการ และภาคเอกชนและชุมชนในการควบคุมโรค
ไขเ้ ลือดออกต่อไป

จึงเรียนเชิญมาเพื่อให้ท่านพิจารณานาองค์กรเข้าร่วมเป็นกาลังสาคัญในการผลักดันการควบคุมโรค
ไข้เลือดออกในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน เพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่ทุกภาคส่วนและเป็นท่ีประจักษ์แก่
นานาชาติ

ขอแสดงความนับถือ

(ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณนายแพทย์อมร ลลี ารัศมี)
นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์

ผ้ปู ระสานงาน : คณุ ศุภธิดา เพ็งแจ้ง
โทร. ๐๘๗-๐๘๒๐๕๙๕ / ๐๒-๓๑๘๘๑๗๐ /๐๒-๓๑๔๔๓๓๓
Email. [email protected]

๒. การลงนามใน MOU จะมภี าคเี ครอื ขา่ ยในระยะแรกจานวน ๑๐ แห่ง ลงนามกับบริษัททาเคดา
(ประเทศไทย) จากัด

Memorandum of Understanding on Strengthening Community Action on
Dengue Prevention and Control in Thailand

This Memorandum of Understanding on strengthening community action on dengue prevention
and control in Thailand (the “Memorandum”) is dated January24th, 2022 (the “Effective Date”)
and is concluded by and between:

๘๕๙

1. Medical Association of Thailand, Royal Golden Jubilee Building, 4th Floor, 2 Soi Soonvijai,
New Petchburi Road, Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310

2. Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, 2 Wanglang Road, Siriraj,
Bangkoknoi, Bangkok, Thailand 10700

3. Department of Disease Control, Ministry of Public Health, 88/21 Tiwanon, Mueang
Nonthaburi District, Nonthaburi 11000

4. Department of Health Service Support, Ministry of Public Health, 88/44 Tiwanon, Mueang
Nonthaburi District, Nonthaburi 11000

5. Department of Health, Ministry of Public Health, 88/22 Tiwanon, Mueang Nonthaburi
District, Nonthaburi 11000

6. Bangkok Metropolitan Administration, 173 Dinso Road, Phra Nakhon District Bangkok 10200

7. Pediatric Infectious Disease Society of Thailand, Royal Golden Jubilee Building, 2 Soi
Soonvijai, New Petchburi Road, Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310

8. Infectious Disease Association of Thailand, Royal Golden Jubilee Building, 7th Floor, 2 Soi
Soonvijai, New Petchburi Road, Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310

9. The Private Hospital Association Thailand Royal Golden Jubilee Building, 2 Soi Soonvijai,
New Petchburi Road, Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310

10. Thai Hospital Administrator Association, Building 1, 2nd Floor, Bumrasnaradura Infectious
Diseases Institute, Talat Kwan, Mueang Nonthaburi District, Nonthaburi 11000,

and

Takeda (Thailand) Limited, 57 Park Ventures Ecoplex Building, 15th Floor, Wireless Road,
Lumpini, Patumwan, Bangkok 10330, (hereinafter referred to as “Takeda”).

โดยมวี ตั ถุประสงคใ์ นการลงนามดงั น้ี

๘๖๐

a) Strengthen the cooperation mechanism among the government authorities, academic
associations, and private sectors in the prevention and reduction the risk of Dengue;

b) Strengthen community action on dengue prevention and control;

c) Support policy and initiatives development on dengue control in Thailand.

๓. การระดมความเหน็ จากผู้เช่ียวชาญจากองค์กรตา่ ง ๆ

นอกจากน้ี ยังมีการระดมความเหน็ จากผู้เช่ยี วชาญหลายฝ่าย เพอ่ื ให้คณะทางานนาข้อมูลมาจัดทากลยุทธ
แผนการดาเนนิ งาน

ตวั อย่างของการใหค้ วามเหน็ ของข้าพเจ้าในการควบคมุ ยงุ ลายและโรคไข้เลือดออก ในวันที่ ๑๗
พฤศจิกายน เวลา ๑๓:๐๐ น. ข้าพเจ้าไดใ้ หส้ ัมภาษณใ์ นการควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออกใหล้ ดลงโดยตอบคาถาม ๗ ข้อ
เพ่อื ใหค้ ณะทางานนาไปจัดทาเปน็ กลยทุ ธและแผนงานรว่ มกบั ความคิดเห็นของทา่ นอ่ืน ๆ

คาถามที่ ๑ โครงการหรือกจิ กรรมที่ผา่ นมาเกีย่ วกับการสง่ เสริม ป้องกันโรคไขเ้ ลือดออกในหนว่ ยงานของทา่ นท่ี
ทา่ นเห็นว่ามีความสาคญั ท่ีสุด

หากเน้น dengue zero คอื ไม่มีการตดิ เชื้อเกิดขึน้ เราตอ้ งมาดูทีว่ ธิ ีการป้องกันการตดิ เชอ้ื และลดการเกดิ
อาการเจบ็ ป่วยซ่งึ มี ๕ วิธี

๑. ป้องกนั ยุงลายทต่ี ิดเชื้อเดงกี่ มากัดเรา ข้อดีท่ีป้องกนั ยุงลายกดั จะป้องกนั โรคติดเชอื้ ไวรัสอ่นื ๆ เชน่
ไวรสั ซกิ ้า ไข้ปวดข้อยุงลาย ไปดว้ ย ซ่ึงมีวธิ ีหลากหลายมากในการป้องกันยุงลายกดั ต้องไปคน้ หาวิธที ม่ี ี
ประสทิ ธภิ าพทส่ี ดุ ใช้สะดวกปลอดภัยที่สุด เปน็ ตน้

๒. ผลิตยาต้านไวรัสเดงก่ีซึ่งต้องมกี ารวินิจฉยั โรคที่เร็วและมกี ารใชย้ าตา้ นไวรัสใหผ้ ตู้ ดิ เช้ือทันที แตว่ ธิ ีน้ยี งั ไม่
มงี านวิจยั ท่แี สดงวา่ เราจะมียาต้านไวรัสเดงก่เี รว็ ๆ นี้

๓. หากมกี ารติดเชอื้ หรือเข้าไปในดงทีเ่ ส่ยี งจะติดเชอ้ื ไวรสั เดงกี่ เรามีวัคซีนปอ้ งกนั การเจ็บป่วยรนุ แรง การ
เสยี ชีวิตจากการตดิ เช้ือ

๔. ปอ้ งกนั ยุงลายมากัดผตู้ ดิ เชอ้ื เพือ่ ลดการแพร่เชือ้ ต่อจากผตู้ ิดเช้อื ไวรสั เดงก่ีไปสู่รายใหม่
๕. ทาใหส้ งิ่ แวดล้อมหรอื พื้นท่ีอาศัยปราศจากยุงลาย โดยกรรมวธิ ตี า่ ง ๆ เชน่ ทาลายแหล่งเพาะพันธย์ุ ุง ใช้

ยุงลายตวั ผทู้ ีม่ เี ช้ือ wolbachia ควบคมุ การแพร่พนั ธ์กุ ันเอง หรือใชย้ าพ่นทาลายยุง
คาถามที่ ๒ ท่านคิดว่าอะไรเป็นปัจจยั ทีส่ ง่ เสริมความสาเร็จของกิจกรรมดังกล่าว และโครงการดังกลา่ วจะสามารถ
นาไปตอ่ ยอดได้อยา่ งไรบ้าง?

 จะต้องมรี ะบบท่ที างานอยา่ งตอ่ เน่ืองและมปี ระสิทธิภาพในการกาจัดยงุ อย่างแทจ้ รงิ และมรี ะบบกากับ
ติดตามและรายงานวา่ มกี ารทากิจกรรมต่าง ๆ เหลา่ น้ใี นการกาจัดยุง และต้องมีทมี ผู้เชีย่ วชาญในแตล่ ะ
พนื้ ทเี่ ข้าไปทางานตรวจสอบความสมา่ เสมอในการทากิจกรรมเหล่าน้ี เช่น หากมีผตู้ ดิ เช้อื ไวรสั เดงกี่ ต้อง
มีการวงรอบพืน้ ที่ ๑ กโิ ลเมตร คน้ หาผู้ตดิ เชื้อและยุง ลกู น้ายุงในบ้านและนอกบา้ นและทาลายท้ิง

 ตอ้ งมีการรายงานผตู้ ดิ เชื้อไวรัสเดงกีที่ครบถ้วนและทันกาล (เปน็ รายวนั หรือรายสัปดาห์) มีการวนิ ิจฉัย
การติดเชือ้ และการเจบ็ ปว่ ยที่เกิดจากไวรัสเดงกีที่รวดเรว็ และมีการค้นหารายป่วยเชิงรกุ ทกุ สปั ดาห์

๘๖๑

 จะต้องมีระบบเตอื นล่วงหนา้ ว่า จะมกี ารระบาดของโรคไข้เลอื ดออกในแตล่ ะพน้ื ที่ โดยมีการตรวจพบ
ลกู น้ายุงทมี่ เี ชื้อไวรสั เดงกี่ ทาการตรวจเปน็ ระยะ ๆ โดยเฉพาะเวลาท่ีพบผตู้ ิดเชื้อในพ้ืนทห่ี นง่ึ ตอ้ งเข้าไป
ดแู ลพ้นื ทโ่ี ดยรอบ

 ตอ้ งมงี บประมาณ และความพรอ้ มของหน่วยงานที่เก่ียวข้องและต้องเขา้ ทางานรว่ มกันกบั ชมุ ชน
คาถามที่ ๓. จากประสบการณ์ ทา่ นเหน็ วา่ การป้องกนั ควบคุมโรคไข้เลอื ดออกในประเทศไทยยงั มีชอ่ งว่างหรอื
เรื่องใดท่ีควรได้รบั การพัฒนาเพมิ่ เตมิ อีกบ้าง?

๑. คน้ หายาตา้ นไวรัสเดงกี
๒. คน้ หาวัคซนี ป้องกันเดงกที ่ีมีประสทิ ธภิ าพดังกลา่ ว
๓. นายุงลายทไี่ ม่แพรเ่ ชื้อไวรสั เดงกี่ มาใชใ้ นพนื้ ทท่ี ี่มผี ู้ติดเช้อื ไวรสั เดงกี
๔. ความรว่ มมอื ของชุมชนและการมรี ะบบและบุคลากรทใี่ ชใ้ นการควบคุมโรคติดเช้ืออย่างมีประสิทธภิ าพ
๕. จัดทาระบบรายงานผู้ติดเชอื้ และผ้ปุ ่วยเปน็ ประจาอย่างช้าทุกสัปดาห์ ใหค้ รบคลุมทงั้ ของรัฐและ

โรงพยาบาลเอกชน
คาถามท่ี ๔ จากข้อ ๓ ท่านเห็นว่าอะไรเปน็ ความทา้ ทายในการจัดการขอ้ จากดั เหล่าน้นั ?

 ความร่วมมอื ของชมุ ชน และ การมีระบบการเข้าไปควบคมุ โรคเดงกีในแตล่ ะพ้นื ท่ียอ่ ย ๆ
 การจดั ทารายงานผู้ตดิ เช้ือ ผู้ปว่ ยใหค้ รบถ้วน
 การนายงุ ลายท่ีไมแ่ พรเ่ ชือ้ มาปลอ่ ย
คาถามท่ี ๕ กิจกรรมตวั อยา่ งเหลา่ นถ้ี กู ออกแบบมาเพ่ือจดั การกับการควบคมุ โรคไข้เลอื ดออกให้มปี ระสิทธภิ าพ
มากขึ้น โปรดเรียงลาดับความสาคัญจากมากไปหาน้อย (๑ น้อยท่สี ดุ ๔ สาคญั มากท่สี ดุ )
_๒__ เสริมสร้างและขยายความรสู้ บู่ คุ ลากรทางการแพทย์และสรา้ งผูน้ าส่งเสริมความร้เู รื่องไขเ้ ลือดออกรนุ่ ใหม่
_๓__ โครงการพฒั นาความรู้และการสื่อสารแก่อาสาสมคั รสาธารณสขุ หมูบ่ า้ นหรอื อสม.
_๔__ เพม่ิ การสอ่ื สารสาธารณะและการเข้าถงึ พื้นที/่ ข้อมูลเสีย่ งของโรคไขเ้ ลอื ดออก
_๔__ รวมและบูรณาการรายงานผูป้ ่วยไข้เลือดออกจากภาครฐั และเอกชนลงในฐานข้อมูลระดบั ชาติ

คาถามที่ ๖ โปรดเสนอแนะกิจกรรมท่ที า่ นเชื่อว่าจะสง่ เสริมการป้องกันโรคไขเ้ ลือดออกใน ประเทศไทย
 ทาใหเ้ กดิ ความรว่ มมือของชุมชน การมีระบบและบคุ ลากรเฉพาะทีใ่ ชใ้ นการควบคุมโรคติดเชื้ออยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ

คาถามที่ ๗ ทา่ นอยากเหน็ ความสาเรจ็ ในเร่อื งใดในปีแรกของความร่วมมอื
 การเกิดความร่วมมือของชมุ ชนและการมีระบบและบุคลากรเฉพาะท่ใี ชใ้ นการควบคุมโรคติดเชอื้ อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ อยา่ งเป็นรูปธรรม

๘๖๒

๔. ตัวอยา่ งแผนงานดา้ นเปา้ ประสงคแ์ ละยุทธศาสตรท์ จี่ ะทากันใน ปี ๒๕๖๕-๒๕๖๙

๕. ภาพของการประชุมคณะทางานกลมุ่ ยอ่ ยเพื่อเสนอความเห็นและข้อมลู และเสนอแผนงานทีจ่ ะ
นามาใช้ควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก

ศ.เกียรติคุณ นพ.อมร ลีลารัศมี ให้เกียรติเป็นประธานการประชุมคณะทางานกลุ่มย่อยที่จะทาให้บันทึก
ความเขา้ ใจว่าดว้ ยการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันและการควบคุมโรคไข้เลือดออกในประเทศ
ไทย มีความสมบูรณ์ครบถ้วน ในวันอังคารท่ี ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔ เวลา ๑๓:๐๐ น. เป็นต้นไป ณ ห้อง
ประชุมแพทยสมาคมฯ ช้ัน ๔ อาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี การประชุมครั้งนี้ เป็นการประชุมออนไลน์ เพื่อนา
ข้อเสนอและความคิดของคณะทางานกลุ่มเล็กโดยมีผู้แทนจาก กทม. กรมควบคุมโรค กรมอนามัย สมาคมโรคติด
เช้ือในเด็ก สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย สมาคมโรงพยาบาลเอกชน ฯลฯ เพ่ือที่จะนามาเขียนเป็นแผนกล
ยุทธและการดาเนินงานในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป และเพ่ือเป็นเอกสารประกอบในการลงนามใน Dengue-
Zero MOU ในวันจนั ทรท์ ี่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่โรงแรม ดิ โอกุระ เพรสทจี กรงุ เทพฯ

๘๖๓

วาระการประชุมกลุ่มทางานและผู้เชย่ี วชาญ ทห่ี ้องประชมุ ชั้น ๔ สานกั งานแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ เม่ือ
วนั ท่ี ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ เวลา ๑๓:๐๐ ถงึ ๑๕:๐๐ น.

นามาสู่การกาหนด ๓ ตัวชี้วัดในการควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก

๘๖๔

๘๖๕

๘๖๖

หลงั จากเสร็จสิน้ การประชุมใหค้ วามเหน็ ของกลมุ่ ทางานแล้ว ไดร้ วบรวมข้อมลู ความเหน็ และสรปุ มาเปน็ หวั ข้อ
การประชุม แผนการดาเนินงานและตัวชว้ี ัด ดังตอ่ ไปนี้

๘๖๗

๘๖๘

๘๖๙

๘๗๐

๘๗๑

สไลด์ทีน่ าเสนอในการประชมุ วันจนั ทรท์ ี่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕ ณ โรงแรม ดิ โอกุระ เพรสทีจ กรงุ เทพฯ

ข้อความท่ีจะแถลงให้สอ่ื มวลชนทราบในวันท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕

เปา้ หมาย
 ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน ใหป้ ลอดภัยอยา่ งยั่งยืนจากโรคไข้เลือดออก

การตระหนักร้คู วามเสีย่ งเป็นปจั จัยสาคัญในการควบคมุ โรคไข้เลือดออก (ศ.นพ.อมร ลลี ารศั ม)ี
• โรคไขเ้ ลอื ดออกสง่ ผลกระทบไมเ่ พียงแคแ่ ต่ผ้ปู ่วยเท่าน้นั แต่ยังส่งผลมายงั ครอบครวั และเพ่มิ
ภาระทางสังคมและเศรษฐกจิ ระดบั ประเทศ
• ปัจจัยท่ีทาให้โรคไขเ้ ลือดออกเปน็ โรคทีต่ อ้ งเฝ้าระวังคือ ความรนุ แรงของโรคมีความ
หลากหลายและการรักษาก็แตกต่างกัน สภาวะ“โลกร้อน” ทท่ี าใหโ้ รคระบาดในพื้นที่ใหม่
รวมทง้ั การเดนิ ทางและการย้ายถิน่ ฐานของประชากรขา้ มประเทศ
• โรคนี้มีการระบาดอยา่ งตอ่ เนื่องและมกี ารเสยี ชีวติ จึงเป็นหนง่ึ ในปญั หาด้านสาธารณสุขของ
ประเทศไทยที่ตอ้ งไดร้ บั การดแู ลอยา่ งจรงิ จัง

๘๗๒

• การตระหนกั รู้เรอ่ื งโรคไขเ้ ลือดออกในประชากรมคี วามหลากหลาย จึงทาใหป้ ระชาชนยังคง
เสยี่ งตอ่ การเกิดโรค

• การสรา้ งเสรมิ ความตระหนกั รใู้ นภาคประชาชนจะทาให้การป้องกันและควบคุมโรค
ไข้เลอื ดออกได้ผลดียงิ่ ขน้ึ โดยความรว่ มมือจากพนั ธมิตรเครือขา่ ยท้ังภาครัฐและเอกชนท่จี ะ
รว่ มมือกนั ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ กลยทุ ธ์ในการปอ้ งกนั โรคได้อยา่ งย่ังยืน

• การลงนามความร่วมมือของ Dengue-zero จะเป็นอีกวิธหี น่ึงในการสนับสนุนให้เกิดความ
รว่ มมอื และการดาเนนิ งานเพ่ือหยดุ ยงั้ ภัยไขเ้ ลือดออกไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม และตอกยา้ ถึงการ
รณรงค์เพอื่ ต่อสู้ภัยจากโรคไข้เลือดออกอย่างจริงจงั

• ในกรอบเวลา ๕ ปนี ้ี พันธมติ รเครือข่ายจะทางานร่วมกนั เพือ่ ลดอัตราการเสยี ชีวิตจากโรค
ไข้เลอื ดออกให้เหลอื ไมเ่ กินรอ้ ยละ ๐.๐๑ และลดอัตราการเจ็บปว่ ยจากโรคใหไ้ ด้อยา่ งน้อย
รอ้ ยละ ๒๕ ดชั นีลูกนา้ ยงุ ลายบ้านเรือน (House index) นอ้ ยกว่าร้อยละ ๕ และคาดหวงั วา่
ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ อตั ราการเสียชวี ิตจะเป็น ๐ ซง่ึ ต้องอาศัยความร่วมมือรว่ มใจจากทกุ
ภาคสว่ นในการผลักดันให้ได้ตามเป้าหมายทต่ี ้ังไว้

สาหรบั ขอ้ ความสง่ ต่อถึงประชาชน จะใช้ขอ้ ความว่า
ในกรอบเวลาห้าปนี ี้ (พ.ศ. ๒๕๖๕ ถึง ๒๕๖๙) พนั ธมิตรเครือข่ายจะทางานร่วมกันให้

บรรลุเป้าหมายดงั กลา่ วโดยมี ๓ ตัวชว้ี ัดดังนี้
๑. ลดอัตราการเสยี ชวี ิตจากโรคไข้เลอื ดออกใหต้ า่ กวา่ ๑ รายต่อ ๑๐,๐๐๐ รายปว่ ย
๒. ลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคใหไ้ ดอ้ ย่างนอ้ ยร้อยละ ๒๕ หรือไม่เกนิ ๖๐,๐๐๐ รายตอ่
ปี
๓. ควบคุมแหลง่ เพาะลกู น้ายุงลายในชุมชนใหต้ ่ากว่า ๕ หลังคาเรือน จากการสารวจ
๑๐๐ หลงั คาเรือนในแตล่ ะชุมชน

และคาดหวงั วา่ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓
 อัตราการเสยี ชีวิตจากโรคไข้เลอื ดออก จะลดลงเป็นศูนย์
 ซ่ึงตอ้ งอาศัยความรว่ มมือร่วมใจจากทุกภาคสว่ นในการผลักดนั ใหส้ ่เู ปา้ หมายทต่ี ัง้ ไว้

• ความรว่ มมือจากพนั ธมติ รเครอื ขา่ ยท่ีเข้าร่วมลงนามในคร้ังน้ีและหลงั จากนี้ต่อๆ ไป จะเปน็

กาลังตอ่ ยอดสูค่ วามสาเร็จในการหยดุ ย้งั ภัยจากโรคไขเ้ ลือดออก จากการปอ้ งกันและควบคมุ
โรคในประเทศไทย เพอื่ ตอบสนองความม่งุ มั่นในการนาพาประเทศออกจากภาระเรื่องโรค
ไขเ้ ลอื ดออกในอนาคตให้ได้

๘๗๓

บรรยากาศและพิธลี งนามในการทา Dengue-Zero MOU ระหวา่ งแพทยสมาคม ฯ ภาคี
เครอื ข่ายในระยะแรกอกี จานวน ๙ องค์กร กบั บริษทั ทาเคดา (ประเทศไทย) จากัด ในวนั จนั ทรท์ ่ี
๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ทโ่ี รงแรม ดิ โอกรุ ะ เพรสทีจ กรุงเทพฯ

๘๗๔

๘๗๕

วาระการประชุมใหญส่ ามญั ประจาปี 2564
วนั เสาร์ท่ี 29 มกราคม 2565 เวลา 08:30 – 12:30 น.
ณ หอ้ งประชุมสยามมกุฎราชกุมาร อาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี

07:00 – 08:30 น. ลงทะเบียน

08:30 – 08:40 น. พิธเี ปิด

08:40 - 09:30 น. การบรรยาย เรื่อง การรับมือดา้ นสาธารณสขุ กับโรคโควิด-19 ในปี 2565

วทิ ยากร โดย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

และ ดาเนินการเสวนาโดย พลตารวจตรนี ายแพทยช์ ุมศักดิ์ พฤกษาพงษ์

09:40 – 10:40 น. มอบรางวลั และทนุ ตา่ งๆ

- ทุนทาเคดา 1 ปี จานวน 1 ท่าน (มอบโดยผูแ้ ทน บรษิ ทั ทาเคดา (ประเทศไทย) จากัด)

- ทุนทาเคดา 6 เดือน จานวน 2 ท่าน (มอบโดยผแู้ ทน บรษิ ัททาเคดา (ประเทศไทย) จากัด)

- ทุนทาเคดา 3 เดือน จานวน 3 ทา่ น (มอบโดยผแู้ ทน บริษทั ทาเคดา (ประเทศไทย) จากดั )

- ทนุ วิจยั นายแพทย์ปราเสรฐิ ปราสาททองโอสถ จานวน..........ทา่ น (มอบโดยนายกแพทยสมาคมฯ)

- รางวลั สมเดจ็ พระวนั รตั จานวน .......... ท่าน (มอบโดยนายกแพทยสมาคมฯ)

- รางวลั แพทยด์ ีเดน่ จานวน .......... ท่าน (มอบโดยนายกแพทยสมาคมฯ)

10:45 – 11:20 น. ประชุมใหญส่ ามัญประจาปี 2564 มวี าระประชมุ ดังน้ี

วาระที่ 1 ประธานแจง้ เพ่ือทราบ

วาระที่ 2 รบั รองรายงานการประชมุ

-รับรองรายงานการประชุมใหญส่ ามัญ ประจาปี 2563 (เอกสารหมายเลข 1)

-รับรองรายงานการประชมุ ใหญว่ สิ ามญั ประจาปี 2564 (เอกสารหมายเลข 2)

วาระท่ี 3 เลขาธกิ ารแถลงผลการดาเนนิ งานในรอบปที ผี่ า่ นมา (เอกสารหมายเลข 3)

วาระที่ 4 เหรัญญกิ แถลง งบดลุ งบรายรบั - รายจา่ ย ประจาปี 2564 (เอกสารหมายเลข 4)

และเลอื กผตู้ รวจสอบบัญชีพร้อมคา่ ตอบแทน ประจาปี 2565

วาระท่ี 5 พจิ ารณารา่ งงบประมาณการประจาปี 2565 (เอกสารหมายเลข 5)

วาระที่ 6 แจง้ ผลการเลือกตง้ั ผูร้ ้งั ตาแหนง่ นายกแพทยสมาคมฯ ประจาปี 2565-2566

วาระที่ 7 เร่อื งอน่ื ๆ

11:20 - 11:30 น. นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ วาระ 2563-2564 กล่าวคาอาลา

11:30 – 12:00 น. พธิ ี รบั - ส่ง ตาแหน่งนายกแพทยสมาคมฯ วาระ 2565-2566

นพ:สขุ ุม กาญจนพิมาย นายกแพทยสมาคมฯ ประจาปี 2565 -2566 แถลงนโยบาย

 เลอื กต้งั คณะกรรมการบรหิ ารฯ ประจาปี 2565 -2566 อําลาตาํ แหน่ง

12:00 – 13:00 น. รับประทานอาหารกลางวัน ขณะเป็ นนายก

จวนรับตําแหน่ง

๘๗๖

การประชมุ กรรมการบริหารคร้งั สุดท้ายและ ปัจฉิมลิขติ

ภาพการประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารแพทยสมาคมฯ ในยุคโควดิ -๑๙ มปี ระชมุ online ใช้ระบบ Zoom
ในวันพุธท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๔ นบั เปน็ ครั้งสดุ ท้ายของปีนี้ กอ่ นจะประชุมสามัญประจาปี ๒๕๖๔ ในเดอื น
มกราคม ๒๕๖๕ และข้าพเจา้ ลงจากตาแหนง่ นายกแพทยสมาคมฯ เพราะทางานมาครบวาระ เป็นเวลา ๒ ปี แลว้

๘๗๗

เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการบริหารในฐานะนายกแพทยสมาคมฯ ในเดือนธนั วาคม ๒๕๖๔ (ครง้ั สดุ ทา้ ย)

ส.ค.ส. ปี ๒๕๖๕ จากคนไข้วัยหนุ่มที่เคยมีหมอ
หัวใจบอกว่า โรคติดเชื้อราแบบน้ีรักษาไม่หาย (คือ
ตายแน่ ๆ ......) แตเ่ รารกั ษากนั นาน ๓ ปีจนหายมา
นานกว่า ๑๐ ปีแล้ว คนไข้ยังส่งกาลังใจมาให้ผม
ทุกปีในปลายเดือนธันวาคม ครับ ส่วนตัวเรา
แน่นอนวา่ ดีใจมาก ๆ ท่เี ขาหายขาดแลว้ มานานถึง
๑๐ ปีแล้ว ขอมอบกาลังใจและ ส.ค.ส. ต่อให้กับ
กรรมการทกุ ท่านด้วย

๘๗๘

ช่วงเวลาทีผ่ มดารงตาแหน่งนายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ

ข้าพเจ้าดารงตาแหน่งนายกแพทยสมาคมฯ ในวันท่ี ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ จนถึงวันที่ ๒๙ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๖๕ แต่ในภาษาของแพทยสมาคมฯ จะเขียนว่า อยู่ในปี ๒๕๖๓ ถึง ๒๕๖๔ ถ้าจะนับให้ถูกต้องตามเวลา
การจดทะเบียนเป็นสมาคม จะถือวา่ ในระยะเวลา ๒ ปีที่ผมดารงตาแหน่งนายกแพทยสมาคมฯ น้ี จะเปน็
 ระยะเวลาทคี่ รบ ๙๙ ปโี ดยสมบูรณ์ของแพทยสมาคมฯ จนถงึ ข้นึ ปีท่ี ๑๐๑ ของการจดทะเบียนแพทยสมาคมฯ
 ส่วนปีท่ี ๑๐๐ ของแพทยสมาคมฯ เริ่มนับต้ังแต่วันแรก คือวันท่ี ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ จนถึงวันสุดท้าย

ของ ๑๐๐ ปี คอื วนั ท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
 และใกลเ้ คียงกับวนั ที่ประเทศไทยเตรยี มจะเปิดประเทศ(ภายใน ๑๒๐ วนั ) คือในวนั ที่ ๒๙ ต.ค. พ.ศ. ๒๕๖๔
 หลงั วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ถือวา่ เริ่มตน้ วันแรก ๆ ของปที ี่ ๑๐๑ ของ แพทยสมาคมฯ
ซ่ึงเทา่ กบั ว่า ผมเป็นนายกแพทยสมาคมฯ ควบท้ายปีที่ ๙๙ จนเขา้ มาในต้นปีท่ี ๑๐๑ ของการจดทะเบยี นเปน็
แพทยสมาคมฯ

๘๗๙

ปัจฉิมลขิ ติ

ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ นายแพทย์อมร ลีลารศั มี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ วาระ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ถึง ๒๕๖๔

นายกแพทยสมาคมฯ คนที่ ๓๙ หมายเลขสมาชกิ พสท. ๔๙๗๐

จากการที่ข้าพเจ้าได้เข้ามาดารงตาแหน่งนายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ใน
วาระท่ีครบรอบ ๑๐๐ ปีของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (เร่ิมวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๓
ถึงวันท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๔) นับเป็นประสบการณ์ที่ได้มาทางานในสมาคมแพทย์ที่เก่าแก่มากท่ีสุดและกับองค์กร
ต่าง ๆ อย่างมากมายอีกคร้ังหน่ึง อีกทั้งผมยังคงดารงตาแหน่งรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม กรรมการแพทย
สภาจากการเลือกต้ัง และประธานคณะอนุกรรมการหรือเป็นอนุกรรมการอีกหลายชุดในแพทยสภา หวังว่า
ผลงานทีไ่ ดท้ าไปในวาระของผมนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวขอ้ งและองคก์ รตา่ ง ๆ ไมม่ ากกน็ ้อย

ผมขอเรียนเพ่ิมเติมจากคานาว่า ภาพต่าง ๆ ท่ีนามาบันทึกลงในหนังสือเล่มน้ี ผู้เขียนมิได้ขออนุญาต
เจ้าของลขิ สิทธ์ิ(ถา้ ม)ี อย่างเป็นทางการในการนามาใช้ในหนงั สือเล่มน้ี ภาพต่างๆ เหลา่ นน้ี ามาจากสื่อสาธารณะที่
เผยแพร่ทว่ั ไปอยู่แลว้ จุดมุง่ หมายท่ีนาภาพเหลา่ น้ีมาเพอื่ เปน็ หลกั ฐานประกอบการเล่าถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่นายก
พสท. ต้องเข้าไปให้ความเห็นหรือแสดงเจตนาเพื่อช่วยเหลือประชาชนและสังคมไทยในเมื่อเรามีความเห็นท่ี
แตกต่างกันหรือสนับสนุนเมื่อเห็นพ้องต้องกัน มิได้มีเจตนาท่ีจะไปลบหลู่ดูหม่ินเกียรติหรือศักด์ิศรีของผู้ใดแต่
อย่างใด หากบังเอิญทาให้บางท่านรู้สึกไปในที่ไม่เหมาะสม ขอเรียนให้ทราบว่าผู้เขียนไม่มีเจตนาดังกล่าวและ
กราบขออภัยมา ณ ที่น้ีดว้ ย ผูเ้ ขียนขออนุมตั ิใชภ้ าพตา่ ง ๆ เหล่าน้ีไวเ้ พื่อแสดงเปน็ หลักฐานท่ีชัดเจนหรือเชิดชูคุณ
งามความดีของท่านที่ปรากฏและขอขอบคุณท่ีท่านอนุญาตให้ใช้ด้วย ผู้เขียนขอให้ผู้ท่ีมาค้นหาหลักฐานหรือ
รับทราบเหตุการณ์จากหนังสือเล่มนี้ “กรุณาอย่าได้นาภาพหรือข้อความไปเผยแพร่สู่สื่อสาธารณะไปอีกทอด
หน่ึง” หากต้องการอ้างอิง ก็ใช้ว่า อ้างอิงจากหนังสือหน้า....บันทัดท่ี.... หรือภาพในหน้า.....โดยไม่ถ่ายทาสาเนา
เผยแพร่ออกไป ยกเว้นเป็นการใช้ในที่ประชุมแพทยสมาคมฯ ซึ่งถือเป็นความลับและไม่เผยแพร่ออกนอกการ
ประชุม นอกจากน้ี ข้าพเจ้าขออภัยกรรมการ พสท. หากการทางานของข้าพเจ้าทาใหบ้ างท่านไม่สบายใจโดยมไิ ด้
มีเจตนาใด ๆ ท่ีจะทาใหท้ า่ นไม่สบายใจ เปน็ การทางานเพ่ือองคก์ ร ประเทศชาติ หรือ พสท. เทา่ น้ัน

หนังสือเล่มน้ีมิได้มีเจตนาตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่หรือการซ้ือขายทากาไร จึงจัดพิมพ์ไว้ ๓ เล่มและ e-book
อีก ๑ เล่ม เพื่อเกบ็ ไวเ้ ป็นหลักฐานเทา่ นน้ั ในการแสดงถึงการทางานและผลงานท่ีเพิ่มเติมจากปกติของนายกแพทย
สมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ ในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปีของการก่อต้ัง พสท. และการระบาดของโรคโควิด-๑๙ ซึ่งเป็น
เช้ือไวรัสสายพันธ์ุใหม่ เพราะบังเอิญนายกฯ เป็นผู้เช่ียวชาญโรคติดเช้ือและมาดารงตาแหน่งในยุคโรคโควิด-๑๙
ระบาด ข้าพเจ้าจัดทาเป็น e-book ด้วยเพื่อที่จะเก็บไว้ได้นานและอาจจะอานวยความสะดวกให้บางท่านท่ี
ต้องการค้นหาหลักฐานซ่ึงจะเป็นประวัติศาสตร์ของสังคมไทยและแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ในช่วงเวลา
ครบรอบ ๑๐๐ ปีด้วย ข้าพเจ้าหวังว่า ผลงานที่เพ่ิมเติมจากปกติหรือริเริ่มเพ่ิมเติมเป็นพิเศษในวาระครบ ๑๐๐ ปี
ของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ เล่มน้ี จะเป็นประโยชนแ์ ก่ประชาชน สงั คมไทย รวมถึงระบบสุขภาพและการ
เป็นแพทย์ท่ีดีและเก่งของผู้ป่วยด้วย และเป็นหลักฐานให้ค้นคว้าได้ในอนาคต และหวังว่า เมื่อผมลงจากตาแหน่ง
นายกฯ โรคโควิด-๑๙ กจ็ ะหลดุ ออกจากโรคระบาดกลายเป็นโรคหวดั ธรรมดาอีกโรคหน่ึง ตามวาระผมด้วย

๘๘๐

โดยสรปุ แลว้ ผลงานของ พสท. ในแตล่ ะวาระต้ังแตเ่ ริ่มกอ่ ตง้ั มาจนถงึ ครบรอบ ๑๐๐ ปี จะทาให้
วัตถปุ ระสงค์ของการก่อต้งั แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ มีผลงานจบั ตอ้ งได้และบันทกึ เปน็ หลักฐานครบถ้วน
สมบูรณ์มากขึน้ เรื่อย ๆ ครบตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการก่อตั้ง พสท. และเช่ือว่า จะมีผลงานเพิม่ เติมขน้ึ เรื่อย ๆ ตอ่ ไป
ในอนาคต

ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ นายแพทย์ อมร ลลี ารัศมี

นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์

วาระปที ี่ พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔ เลขทีส่ มาชิก พสท. ๔๙๗๐

ปลายปีท่ี ๙๙ – ตลอดปีท่ี ๑๐๐ - ต้นปที ี่ ๑๐๑ ของการก่อต้งั พสท.

ระหว่างวันเสารท์ ่ี ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ จนวนั เสารท์ ี่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕

สวัสดคี รบั

https://anyflip.com/center/flips/book.php?cid=715116#/

๘๘๑


Click to View FlipBook Version