The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siall28945, 2022-01-27 05:00:31

ภารกิจและเหตุการณ์ของนายกแพทยสมาคมฯ ครบรอบ ๑๐๐ ปี

บรรยายและบันทึกภารกิจและเหตุการณ์ที่เพิ่มเติมจากงานประจำที่ทำมานาน และเน้นการต่อสู้กับโรคโควิด-๑๙

Keywords: นายก พสท.,ครบรอบ ๑๐๐ ปี

เรื่อง การฉีดวัคซีนไขว้และมีประสิทธิภาพดีในการป้องกันความรุนแรงของโรคโควิด-๑๙ ก็เช่นกัน

กว่าองค์การอนามัยโลกจะเชื่อว่า ใช้ได้ก็ต้องใช้เวลานานกว่า ๖ เดือน ท้ังน้ี WHO อาจจะต้องรอ
ข้อมูลให้ชัดเจนก่อน แต่ประเทศไทยกาลัง
เผชิญการระบาดของเชื้อเดลต้าที่ก่อโรคได้
รุนแรง และเรามีข้อจากัดเรื่องวัคซีนท่ีมีใน
ประเทศไทยในตอนตน้ ปี ๒๕๖๔ คือ มวี คั ซนี
Sinovac แ ล ะ AstraZeneca เ ท่ า น้ั น ใ น
ระยะแรก นักวิชาการจึงต้องรีบคิดและรีบ
แก้ไขปัญหาให้ผู้รับผิดชอบตัดสินใจว่า จะ
เลือกใช้การฉีดวัคซีนไขว้หรือไม่ เพ่ือระงับ
ความรุนแรงของโรคในผู้ท่ีตัดสินใจฉีดวัคซีน
โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงที่เรียกว่า ๖๐๘ จึงได้
ทาวิจัยโดยการทดลองฉีดอาสาสมัครจานวน
๓๐๐ ถึง ๕๐๐ ราย ก้พอจะมีข้อมูลมา
ตัดสินใจได้แล้ว และผู้บริหารต้องกล้า
ตัดสินใจชี้แนวทางที่ถูกต้อง แม้จะมีข้อมูล
น้อย ส่วนนักวิชาการโดยเฉพาะหมอโรค
ติดเช้ือ ต้องกล้าใช้ ตรรกะ ประสบการณ์
เพอ่ื นามาตดั สินเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหา
ในเวลาท่ีหลักฐานเชิงประจักษ์ยังมีข้อมูล
สนบั สนุนไม่หนาแน่นพอ

๘๐๙

๘๑๐

๘๑๑

หรือจะเป็นรอื่ งการแพรก่ ระจายเชอื้ แบบ airborne กว่าองคก์ ารอนามัยโลกจะยอมรับ long-

range airborne กน็ านถึง ๑ ปี ทง้ั ๆ ทีเ่ ราพูดกันมานานตั้งแต่เดือนมีนาคม ปี ค.ศ. ๒๐๒๐ แลว้

WHO เลิกเขนิ ในท่สี ดุ กย็ อมใช้คาวา่ COVID-19 แพรก่ ระจายโดย Airborne transmission เสยี ที
ทั้งท่กี ่อนหน้านี้พยายามเล่ียงบาลมี าตลอด

Inbox

๘๑๒

Amorn Leelarasamee <[email protected]> Wed, Dec 29,
to me 2021, 11:38 AM

(13 days ago)

WHO เลิกเขิน ในที่สุดกย็ อมใช้คาวา่ COVID-19 แพรก่ ระจายโดย Airborne transmission เสียที
ทง้ั ที่กอ่ นหน้านพ้ี ยายามเล่ียงบาลมี าตลอด ตอนนี้ยอมระบชุ ดั ๆ ตามท่ีนกั วิทยาศาสตร์ทั่วโลก
เรยี กร้องแล้ว

เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๔ WHO ได้ update ข้อมลู ของการแพรก่ ระจายเช้อื ไวรสั SARS-CoV-2
หรอื COVID-19 ว่าสามารถแพร่กระจายโดย
๑. ผ่านการไอจามระยะ Close- contact ไวรสั เกาะติดละอองฝอยกระเด็นเขา้ ทางเดินหายใจอกี ฝ่าย
โดยตรง เรยี ก “Droplet transmission” และผา่ นละอองฝอย ลอยผ่านอากาศไปในระยะทางใกล้ๆ
เรยี ก “Short-range aerosol or short-range airborne transmission”
๒. ไวรัสแพรผ่ ่านการล่องลอยในอากาศภายในพน้ื ที่ปิด ทม่ี ีผคู้ นหนาแน่น อากาศไม่ถา่ ยเท และใช้
เวลาในพน้ื ทน่ี ้นั อยู่ในระยะเวลานาน ทาใหไ้ วรัสแพร่กระจายไปไดร้ ะยะทางไกลกวา่ ข้อแรก เรียก
“Long-range aerosol or long-range airborne transmission”
๓. ไวรัสแพร่ผ่านการมือที่ไปเผลอสมั ผัสพนื้ ผิวทปี่ นเปอื้ น แลว้ นามาสมั ผัสตา จมูก ปาก เรียก
“Fomite transmission”

สุดทา้ ย คาแนะนาที่มีประโยชนม์ ากๆ ในชว่ งปารต์ ้รี วมญาติมติ รเพ่ือนฝูงสิ้นปีน้ีกค็ อื ให้หลกี เล่ียง
สถานที่ 3Cs
๑. C แรก “Crowded places” สถานทผ่ี คู้ นหนาแน่น
๒. C ทสี่ อง “Closed-contact settings” สถานท่ีทีผ่ ู้คนต้องอยู่ใกลช้ ดิ แออดั เว้นระยะห่างไมไ่ ด้
๓. C สดุ ท้าย “Confined and enclosed spaces” สถานท่ปี ดิ ในอาคาร มกี ารระบายอากาศท่ไี มด่ ี
ยิ่งมคี รบท้งั ๓ องค์ประกอบ ย่งิ ควรหลกี เลย่ี งสถานที่น้ันๆ และทาร่วมกบั มาตรการอืน่ ๆ เพ่อื ความ
ปลอดภัยของทกุ คน

ทม่ี า : https://www.who.int/news-room/questions-and-answers/item/coronavirus-
disease-covid-19-how-is-it-transmitted

๘๑๓

การระบาดของโรค COVID-๑๙ ในประเทศไทย(ปลายปี ๒๕๖๓ ถึง ๑๐ ม.ค. ๒๕๖๕) และ โอมคิ รอน
ตั้งแต่ปลายปี ๒๕๖๓ จนถึงเดือนมกราคม ๒๕๖๕ ได้นาข้อมูลในวันท่ี ๑ หรือ ๓๐, ๑๐ และ ๒๐ ต้ังแต่

เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๔ มาแสดง พบว่าเดือนสิงหาคมมีผู้ติดเช้ือรายใหม่สูงสุด แล้วลดลงเรื่อยๆ จนถึง ๓๐
ธันวาคม ๒๕๖๔ การระบาดทาให้นายกแพทยสมาคมฯ ต้องให้ความรู้แก่ประชาชนเป็นคร้ังคราวในบางช่วงเวลา
จึงนาข้อมูลการระบาดมาเสนอและเก็บไว้ ส่วนเช้ือไวรัส โอมีครอน ที่เพ่ิงพบในเดือนพฤศจิกายน จะทาให้มีการ
ระบาดระลอกใหม่หรือไม่? ต้องคอยติดตามดูตลอดปี ๒๕๖๕ ซ่ึงเป็นเวลาที่ข้าพเจ้าลงจากตาแหน่งนายกแพทย
สมาคมฯ แลว้

๘๑๔

๘๑๕

๘๑๖

๘๑๗

ผตู้ ดิ เชอื้ -เสียชีวิต วันท่ี 1 สิงหาคม ถึง 14 กันยายน 2564 การระบาดระลอก ๓

วนั ท่ี 1 สิงหาคม 2564 ผู้ติดเชื้อ 18,027 ราย เสยี ชีวติ 133 คน
วนั ที่ 2 สิงหาคม 2564 ผู้ติดเชอ้ื 17,970 ราย เสียชวี ติ 178 คน
วันท่ี 3 สงิ หาคม 2564 ผู้ติดเช้ือ 18,901 ราย เสยี ชีวติ 147 คน
วนั ท่ี 4 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ิดเช้อื 20,200 ราย เสียชีวติ 188 คน
วันที่ 5 สิงหาคม 2564 ผู้ตดิ เช้ือ 20,920 ราย เสียชีวติ 160 คน
วนั ที่ 6 สิงหาคม 2564 ผตู้ ิดเชื้อ 21,379 ราย เสยี ชีวติ 191 คน
วันท่ี 7 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ดิ เชอ้ื 21,838 ราย เสียชวี ิต 212 คน
วันที่ 8 สงิ หาคม 2564 ผู้ตดิ เชื้อ 19,983 ราย เสยี ชีวติ 138 คน
วนั ที่ 9 สิงหาคม 2564 ผู้ติดเชอ้ื 19,603 ราย เสียชีวิต 149 คน
วนั ที่ 10 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ิดเชอื้ 19,843 ราย เสียชีวติ 235 คน
วนั ที่ 11 สิงหาคม 2564 ผู้ตดิ เชื้อ 21,038 ราย เสยี ชีวติ 207 คน
วันท่ี 12 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ิดเชอ้ื 22,782 ราย เสยี ชวี ิต 147 คน
วนั ท่ี 13 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ิดเชื้อ 23,418 ราย เสยี ชวี ิต 184 คน
วนั ที่ 14 สงิ หาคม 2564 ผู้ตดิ เชอ้ื 22,086 ราย เสียชวี ิต 217 คน
วันท่ี 15 สงิ หาคม 2564 ผู้ติดเชอ้ื 21,882 ราย เสียชวี ติ 209 คน
วันที่ 16 สงิ หาคม 2564 ผู้ตดิ เชอ้ื 21,157 ราย เสยี ชีวติ 182 คน
วันท่ี 17 สิงหาคม 2564 ผู้ติดเช้ือ 20,128 ราย เสยี ชวี ิต 239 คน
วนั ท่ี 18 สงิ หาคม 2564 ผู้ติดเชื้อ 20,515 ราย เสยี ชีวติ 312 คน
วันท่ี 19 สิงหาคม 2564 ผตู้ ดิ เชอ้ื 20,902 ราย เสียชีวติ 301 คน
วันท่ี 20 สิงหาคม 2564 ผู้ตดิ เชือ้ 19,851 ราย เสยี ชวี ิต 240 คน
วนั ท่ี 21 สงิ หาคม 2564 ผู้ติดเชือ้ 20,571 ราย เสยี ชีวติ 261 คน

๘๑๘

วนั ท่ี 22 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ดิ เช้ือ 19,014 ราย เสยี ชีวิต 233 คน

วันที่ 23 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ิดเชื้อ 17,491 ราย เสยี ชวี ิต 242 คน

วันที่ 24 สิงหาคม 2564 ผตู้ ิดเชอ้ื 17,165 ราย เสียชีวติ 226 คน

วนั ที่ 25 สิงหาคม 2564 ผตู้ ดิ เชอ้ื 18,417 ราย เสียชวี ิต 297 คน

วนั ท่ี 26 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ดิ เชอ้ื 18,501 ราย เสียชีวิต 229 คน

วนั ที่ 27 สงิ หาคม 2564 ผู้ตดิ เชื้อ 18,702 ราย เสยี ชวี ิต 273 คน

วันที่ 28 สงิ หาคม 2564 ผู้ตดิ เชื้อ 17,984 ราย เสยี ชีวิต 292 คน

วนั ท่ี 29 สงิ หาคม 2564 ผตู้ ิดเชื้อ 16,536 ราย เสยี ชวี ิต 264 คน

วันที่ 1 กนั ยายน 2564 ผู้ตดิ เชอ้ื 14,802 ราย เสยี ชวี ิต 252 คน
วันที่ 2 กันยายน 2564 ผตู้ ิดเชอ้ื 14,956 ราย เสียชวี ิต 262 คน
วนั ท่ี 3 กนั ยายน 2564 ผตู้ ดิ เชอ้ื 14,653 ราย เสียชีวติ 271 คน
วนั ที่ 4 กนั ยายน 2564 ผู้ติดเชื้อ 15,942 ราย เสียชีวติ 257 คน
วันที่ 5 กนั ยายน 2564 ผู้ตดิ เชอ้ื 15,452 ราย เสยี ชีวิต 224 คน
วนั ท่ี 6 กันยายน 2564 ผู้ตดิ เชื้อ 13,988 ราย เสยี ชีวิต 187 คน
วันที่ 7 กันยายน 2564 ผตู้ ิดเชื้อ 13,821 ราย เสยี ชีวติ 241 คน
วนั ท่ี 8 กันยายน 2564 ผู้ติดเชอ้ื 14,176 ราย เสียชีวติ 228 คน
วนั ที่ 9 กันยายน 2564 ผู้ตดิ เชอ้ื 16,031 ราย เสยี ชวี ิต 220 คน
วนั ท่ี 10 กันยายน 2564 ผตู้ ดิ เชื้อ 14,403 ราย เสยี ชีวติ 189 คน
วนั ที่ 11 กันยายน 2564 ผตู้ ิดเชื้อ 15,191 ราย เสยี ชีวติ 253 คน
วนั ท่ี 12 กันยายน 2564 ผู้ตดิ เชื้อ 14,028 ราย เสียชวี ติ 180 คน
วันท่ี 13 กันยายน 2564 ผตู้ ิดเชอ้ื 12,583 ราย เสียชวี ิต 132 คน
วนั ที่ 14 กันยายน 2564 ผู้ติดเชอ้ื 11,786 ราย เสียชีวติ 136 คน

๘๑๙

จานวนผู้ท่ีมอี าการรนุ แรง ตอ้ งรบั ไวใ้ นหออภิบาล(หรอื ใน รพ.สนาม ถ้าไมม่ ีเตียง) และผูถ้ กู ใสท่ อ่
ช่วยหายใจ + เครอ่ื งชว่ ยหายใจ ในช่วงเวลาทมี่ ีผู้ตดิ เชอ้ื รายใหมต่ อ่ วันมากทส่ี ุด ในการระบาด

ของโควดิ -๑๙ ระลอกที่ ๓

๘๒๐

๘๒๑

๘๒๒

๘๒๓

๘๒๔

สรุปวา่ จนถึงสนิ้ ปี ๒๕๖๔ การระบาดของ โควดิ -๑๙ กาลงั ลดลงมาเรอื่ ย ๆ จากเชอ้ื เดลต้า
แม้จะมขี า่ วว่า เชื้อ โอมคิ รอน กาลงั ระบาดไปทว่ั โลก และเชื่อแนว่ า่ จะระบาดเขา้ มาใน
ประเทศไทยแน่ในไม่ช้า
ข้อมูลของการระบาด จานวนผตู้ ดิ เช้อื รายใหม่เพิ่มข้ึน ในวนั ท่ี ๑๐ มกราคม ๒๕๖๕ แสดง
ว่า เชือ้ โอมคิ รอน ไดร้ ะบาดเข้ามาแล้ว

๘๒๕

การระบาดของโรค COVID-๑๙ ในประเทศไทย(ปลายปี ๒๕๖๔ ถึง ๑๐ ม.ค. ๒๕๖๕)
และโอมิครอน

ตวั เลขจานวนผตู้ ิดเชือ้ รายใหม่ในการระบาดในวันที่ ๑๐ และ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๔ จะเห็นวา่ จานวน
ผูต้ ดิ เชือ้ รายใหมล่ ดลงมาตลอดจนขา้ ม ปีใหม่ ๒๕๖๕ แล้วเร่ิมเหน็ ว่า หลังวนั ที่ ๖ มกราคม ๒๕๖๕
จานวนผตู้ ิดเช้ือรายใหม่เริ่มพุ่งทะยานข้นึ ใหมอ่ ีกคร้งั

ตั้งแต่มีรายงานครั้งแรกของเช้ือ SARS-CoV-2: B.1.1.529 ต่อมาตั้งชื่อว่า สายพันธุ์ โอ
มิครอน (omicron) พบจากตัวอย่างในจังหวัดเคาเต็ง (Gauteng) ของแอฟริกาใต้ เมื่อวนั ที่
๒๕ พฤศจกิ ายน พอถึงเดอื นธันวาคม ๒๕๖๔ เป็นต้นไป ก็ระบาดไปทว่ั โลก เปน็ เช้ือทีม่ กี าร
กลายพันธ์ุของยีนรวมท้ังสิ้นถึง ๕๐ ตาแหน่ง มีการกลายพันธุ์ของโปรตีนบนส่วนหนามถึง
๓๒ ตาแหน่ง และที่ตัวรับ (receptor binding domain) ถึง ๑๐ ตาแหน่งซ่ึงไวรัสใช้จับยดึ
กับเซลล์ของคนเรา ประเทศไทยเริ่มพบในนักท่องเที่ยวและมีคลัสเตอร์ใหญ่สุดระบาด
ภายในประเทศจากสามี ภรรยาทเ่ี ดินทางกลบั มาจากประเทศเบลเยีย่ มติดแล้ว ๒๕ ราย อีก
๑๘๐ รายเป็นผู้เดินทางจากต่างประเทศ เริ่มระบาดให้เห็นว่า จานวนผู้ติดเช้ือรายใหมต่ ่อ
วนั กา้ วกระโดดเพ่ิมขน้ึ เริ่มในวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๖๕

๘๒๖

๘๒๗

Amorn Leelarasamee
<[email protected]>

Mon, Dec 27, 2021, 4:53
PM

to me

หวั ขอ้ สัมภาษณ์
“ ฉากทัศน์โอมิครอน ๒๕๖๕
จะกา้ วไปทศิ ทางใด”

ประเด็นคาถาม
๑. จากการประเมินฉากทัศน์
ของกระทรวงสาธารณสุข ทั้ง
๓ ฉ าก ทัศน์ ท่ีมีก ารสรุป
ออกมา ทั้ง ๑.การระบาดที่
เพ่ิมขึ้นรวดเร็ว ๒. การใช้มาตรการควบคุมและวคั ซนี ครอบคลุม แต่จะมีการระบาดพุ่งชว่ งปีใหม่ และ
๓.ควบคุมการตดิ เชื้อไดด้ ี อาจารยม์ มี มุ มองอยา่ งไรตอ่ การรประเมนิ รอบนี้
๒. ในความเส่ียงสงู สุดที่ไม่มีการใช้มาตรการควบคมุ อาจจะมีผู้ตดิ เชือ้ สูงสุดถึง ๓๐,๐๐๐ คน เสียชีวิต
อยูท่ ี่ ๑๐๐-๑๗๐ คน มโี อกาสจะเกดิ ขนึ้ ได้มากนอ้ ยเพยี งไร?
๓. ปัจจัยอะไร ที่จะทาให้การระบาดของโอมิครอน รอบนี้ก่อให้เกิดผลกระทบวิกฤตต่อระบบ
สาธารณสขุ
๔. ถา้ ลดการเดินทางเขา้ ประเทศไทย จะชว่ ยใหก้ ารควบคุมการระบาดของโอมคิ รอนดีขน้ึ หรือไม่?
๕. การระบาดภายในประเทศ จากเช้อื โอมคิ รอน จะรนุ แรงมากนอ้ ยอย่างไร?
๖. จะต้องกลบั ไปลฮ็ กดาวนก์ ันอีกครั้งหรือไม่?
๗. คาแนะนาถึงประชาชนเพื่อรบั มอื กับสถานการณ์โอมคิ รอนระบาด

๘๒๘

ลิงก์สัมภาษณ์ Click the following
link to join the meeting:

https://vroom.truevirtualworld.com/Tnn%20Daily%20health
ปจั จยั สาคัญท่ีทาใหป้ ระเทศไทยมีเชอื้ กลายพนั ธ์ุแพร่เข้ามาในประเทศได้ง่าย อยู่ท่ีการลับลอบของคน
ต่างดา้ วเขา้ ประเทศตามชายแดน ช่องทางตามธรรมชาติ มิใชอ่ ยู่ท่ีผู้เดินทางเขา้ มาในประเทศตาม
ระบบท่ีกระทรวง สธ. วางไว้

๘๒๙

หลังมีผู้เสียชีวิต
รายแรกใน
อังกฤษจากการ
ตดิ เชอื้ ไวรัสโอมิค
รอน ส่ือก็มีการ
ติดตามว่า เช้ือโอ
มิครอน จะก่อ
โ ร ค ไ ด้ รุ น แ ร ง
ไหม?

๘๓๐

กราฟในหนา้ ๒ แสดงใหเ้ ห็นถงึ การระบาดของเช้อื เดลตา้ ในเดือนเมษายนปี ๒๕๖๔ และ
เชื้อโอมิครอนในเดอื นมกราคม ปี ๒๕๖๕ ในประเทศไทย

ลักษณะอาการทางคลนิ กิ ของการตดิ เชือ้ โอมิครอน อาการคล้ายไข้หวัด
เปรียบเทียบความเร็วในการแพร่เช้ือ ความเส่ียงในการเจ็บป่วยรุนแรง ประสิทธิภาพของวัคซีนกับ
สายพนั ธอุ์ ัลฟา เดลต้า สรปุ ไดใ้ นขณะน้ีวา่ อาการเจ็บป่วยไมร่ ุนแรง

๘๓๑

ณ วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๕ ศูนย์ข้อมูลโควิด-๑๙ รายงานจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ในรอบ ๒๔

ชั่วโมงท่ีผ่านมา มี ๗,๙๒๖ ราย เป็นการติดเช้ือในเรือนจา ๑๙๕ ราย เสียชีวิตเพิ่มขึ้น ๑๓ คน รวม
ผู้ป่วยยืนยันสะสมระลอกใหม่ ตั้งแต่ ๑ เมษายน ๒๕๖๔ ถึงวันท่ี ๙ มกราคม ๒๕๖๕ มีจานวน
๒,๒๔๘,๖๑๓ ราย เป็นยอดสะสมต้ังแต่เริ่มระบาดจานวน ๒,๒๗๗,๔๗๖ ราย เสียชีวิตสะสมรวม
๒๑,๘๓๘ ราย ทาให้ประเทศไทยมจี านวนผู้ตดิ เชื้อยนื ยันสะสมอยใู่ นอนั ดับท่ี ๒๕ ของโลก

๘๓๒

จานวนที่เพ่ิมข้ึนในเดือนมกราคม ๒๕๖๕ เน่ืองมาจากเช้ือไวรัส โอมิครอน เริ่ม
ระบาดเข้ามาในประเทศไทย ศบค. เผยโอมิครอนติดเช้ือแล้ว ๕,๓๙๗ ราย กระจายไป ๗๑
จังหวัด คลัสเตอร์ปีใหม่โผล่อีกเพียบรวม ๑๑ จังหวัด รวมงานเลี้ยงวัดเกิดด้วยเป็น ๑๒
จังหวัด พื้นท่ีระบาดอยใู่ นเขตเศรษฐกิจของประเทศ คาดปลายเดือนมกราคมนี้ ยอดติดเชอ้ื
รายใหม่พุ่งแตะ ๒๐,๐๐๐ ราย เดือนกุมภาพันธ์อาจขึ้นไปถึง ๓๐,๐๐๐ กว่าราย แต่
ผูเ้ สยี ชีวติ แนวโนม้ ลดลง

๘๓๓

https://fb.watch/amKYvyNeNc/

๘๓๔

รายละเอียดของการกลายพันธ์ใุ นตาแหนง่ ต่าง ๆ ของเช้อื SARS-CoV-2 สายพันธุโ์ อมคิ รอน
(omicron)

ตาแหนง่ ของรหสั พนั ธกุ รรมที่กาหนดการสรา้ งโปรตนี หนาม พบการกลายพันธ์ุมากถงึ ๓๒ ถงึ ๓๕ ตาแหนง่ ซง่ึ
มากมายกว่าสายพนั ธเ์ุ ดลตา้ มาก

๘๓๕

จดุ เรมิ่ ตน้ ทีท่ าให้คน้ พบเช้ือไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ุ "โอมิครอน"

ระหว่างวันท่ี ๑๑-๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔ การตรวจหาเช้อื ในตวั อยา่ งผ้ตู ิดเชอื้ โควิด-๑๙ ท่ี
ห้องปฏบิ ัติการแลนเซ็ต ในเมืองพริโตเรยี ของแอฟรกิ าใต้ พบความผดิ ปกตทิ ี่เหมอื นๆ กันในตวั อยา่ งของผู้ตดิ เช้ือ
หลายรายซงึ่ เป็นผ้ตู ิดเช้อื จากการระบาดเป็นกลุม่ กอ้ นในจงั หวดั เกาเต็งของแอฟรกิ าใต้ จากบอตสวานา และจาก
ฮ่องกง โดยพบว่า การตรวจ RT-PCR ไม่พบยนี S ในตวั อย่าง ซง่ึ ตามปกตจิ ะพบยนี S ได้ในเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ ท่ีกาลัง
ระบาด ท้งั ๆ ท่ีตวั อยา่ งทีต่ รวจพบเชื้อยังมีจานวนรหัสพนั ธกุ รรมไม่น้อย ทาใหส้ งสยั ว่า มีเชื้อไวรสั สายพันธใ์ุ หม่ที่
กลายพนั ธ์ุกาลงั ระบาดหรือไม่? ไม่กวี่ ันต่อมาก็มีการรายงานพบความผิดปกตแิ บบเดียวกันนท้ี ี่หอ้ งปฏิบัตกิ ารใน
นครโยฮนั เนสเบิร์ก จึงมีการสง่ ตัวอย่างไปตรวจหารหสั พนั ธุกรรมท้งั ตวั ไวรสั แล้วพบวา่ เปน็ เชื้อไวรสั กลายพันธ์ุ
สายพนั ธ์ใุ หม่ซึง่ ต่อมา องค์การอนามัยโลกตัง้ ชื่อวา่ โอมิครอน สายพนั ธุน์ ี้มีการสะสมตาแหนง่ การกลายพนั ธุ์จานวน
มากถึง ๕๐ ตาแหนง่ จนนา่ ตกใจ แสดงวา่ เช้อื ไวรัสสายพนั ธุ์ไม่เคยถูกคน้ พบมาก่อนเป็นเวลานานมาก เช้ืออาจจะ
ระบาดในพื้นทที่ ี่ไม่มกี ารตรวจหรอื เฝา้ ระวังการระบาด หรือเกดิ การติดเชือ้ เรื้อรังในกลมุ่ ผปู้ ว่ ยภมู ิคุม้ กนั บกพร่อง
ทาให้เชื้อไวรสั ยงั คงอาศยั อยแู่ ละแบ่งตัวสะสม และกลายพันธไุ์ ปเรื่อยๆ ก่อนจะแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง

นายแพทยจ์ อหน์ เคนกาซอง ผูอ้ านวยการศูนย์ควบคุมและป้องกนั โรคระบาดแอฟรกิ าใต้ ยอมรบั วา่
จนถงึ ตอนนี้ ยงั ไม่สามารถทราบว่าตน้ ตอของเชอ้ื กลายพันธุ์นี้มาได้อยา่ งไร และยา้ วา่ การทแี่ อฟรกิ าใต้สามารถระบุ
สายพนั ธโ์ุ อมิครอน ไดเ้ ปน็ ทีแ่ รกน้นั ไม่ได้หมายความว่าแอฟรกิ าใต้เป็นต้นตอของเช้อื สายพนั ธนุ์ ้ี

ผ้เู ชี่ยวชาญบางทา่ นให้ความเห็นวา่ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โอมิครอน อาจเกดิ ข้นึ ในแถบตอนใต้ของ
แอฟริกา ซ่ึงไม่มรี ะบบเฝ้าระวงั ทางระบาดวทิ ยา และอัตราการฉดี วคั ซีนต้านโควิด-๑๙ ยงั ตา่ อยู่ และการตามหา
ต้นตอการกลายพนั ธุ์อาจเปน็ เรอ่ื งยากลาบากหลงั จากทตี่ รวจพบเชื้อเมื่อตอนที่มีการแพร่กระจายเป็นวงกวา้ งแลว้
โดยเฉพาะเม่อื นักเดนิ ทางจากแอฟริกาใต้ได้พาเช้อื ไปแพรก่ ระจายในประเทศต่างๆ แลว้ ในหลายกรณี ผู้ตดิ เช้อื
เป็นนกั เดินทางจากแอฟริกาใต้ แอฟริกาเหนือ และไนจีเรีย

ขณะท่ี สกอตแลนด์ พยายามตรวจสอบหาต้นตอของเชื้อที่ระบาดในพ้ืนที่ตน พบว่าผปู้ ว่ ยท้งั ๙ ราย ไมม่ ี
ใครมีประวตั เิ ดนิ ทางไปต่างประเทศมาก่อน เลยตงั้ ข้อสนั นษิ ฐานว่าเชือ้ ไวรสั โอมิครอน ในสกอตแลนด์ อาจเริม่ ตน้
แพรก่ ระจายเป็นวงกว้างครั้งแรกตงั้ แตช่ ว่ งทีม่ ีการจดั ประชุมลดโลกรอ้ นของสหประชาชาติ หรือ COP26 ที่
สกอตแลนด์ ระหวา่ งวันที่ ๓๑ ตุลาคม ถงึ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

หลังจากท่ีองคก์ ารอนามัยโลกเปดิ เผยเกยี่ วกับเช้อื ไวรัส โอมิครอน ประเทศต่างๆ ก็กลับมาจากดั การเดนิ
ทางเขา้ ประเทศอีกครั้ง เชน่ นกั เดินทางจากแอฟริกาใต้ นามิเบยี ซมิ บับเว บอตสวานา แองโกลา โมซัมบิก มาลาวี
แซมเบีย เลโซโท และเอสวาตินี ไมส่ ามารถเดินทางเข้าประเทศอังกฤษได้ ยกเว้นจะเปน็ พลเมืองของอังกฤษ หรือ
ไอร์แลนด์

๘๓๖

การค้นพบเช้อื ไวรัสโคโรนาสายพนั ธุ์ "โอมคิ รอน" ในแอฟริกาใต้ท่ีพลิกสถานการณโ์ ควิด-๑๙ ท่วั โลกเพราะ

๑. เชื้อไวรสั กลายพนั ธ์ุโควิด-๑๙ "โอมคิ รอน" (Omicron) หรอื B.1.1.529 ถูกตรวจพบและรายงานตอ่
องค์การอนามยั โลกเป็นครั้งแรก โดยทมี นักวจิ ัยในแอฟริกาใต้ เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ และ
ขณะนี้(วนั ท่ี ๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔) พบในกว่า ๔๐ ประเทศทัว่ โลก รวมถงึ สหรัฐฯ เยอรมนี
ออสเตรเลยี และอินเดยี

๒. องค์การอนามัยโลกประกาศให้โควดิ สายพนั ธุ์ โอมิครอน เป็นสายพนั ธ์ทุ ่ีน่ากงั วล (variant of concern)
เนอ่ื งจากพบตาแหนง่ ที่มีการกลายพนั ธ์มุ ากกว่า ๕๐ ตาแหนง่ ซึ่งอาจสง่ ผลให้ไวรสั มีการแพร่กระจายได้
ง่ายข้ึน อาจจะมีอาการป่วยรุนแรงข้นึ หรือต่อตา้ นภูมิคุ้มกันท่เี กดิ จากการฉีดวัคซีนทีม่ ีการใช้กันอยู่ได้

๓. ตัง้ แตว่ นั ที่ ๑ ธันวาคมเป็นต้นมา จานวนผูต้ ิดเชื้อโควิด-๑๙ ในแอฟริกาใต้ เพ่ิมขึน้ มา ๔ เท่า จากวนั ละ
๔,๓๗๓ รายเม่ือตน้ สัปดาห์ มาอยู่ท่ีวันละมากกวา่ ๑๖,๐๐๐ ราย และภายใน ๒ สปั ดาห์ เช้อื ไวรัสโควดิ -
๑๙ กลายพันธ์ุ "โอมคิ รอน" ก็เข้ามาแทนที่ "เดลตา้ " และกลายเป็นสายพนั ธ์หุ ลกั ทรี่ ะบาดในหลายพน้ื ที่
ทาใหร้ ัฐบาลแอฟริกาใต้ต้องรับมอื กับการระบาดระลอก ๔ ทเ่ี พิ่งจะมาถงึ

การระบาดในอาฟริกาตอนใต้จะเปน็ การระบาดระลอกทส่ี ี่และเรมิ่ พบผู้ตดิ เชอื้ สายพนั ธโ์ุ อมคิ รอนมากขนึ้ วธิ หี ลัก
ในการแพร่กระจายเชอื้ จะเป็นแบบ airborne แน่นอนและรวมถงึ การสัมผัสใกล้ชดิ ดว้ ย

การพบ mutation บน spike จานวนมาก และมากกว่า mutation ในสว่ นอืน่ ของ genome อาจสง่ ผลใหเ้ กิดการ
ดื้อทง้ั วัคซีนและ monoclonal antibody (immune evasion) คงต้องมกี ารทดสอบในแลปอีกทีวา่ จะเป็นยงั ไง
ขา่ ววา่ ทงั้ BioNTech และ Moderna ประกาศวา่ จะรายงานผลการทดสอบไดภ้ ายใน 2 สปั ดาห์ขา้ งหนา้ ส่วน
monoclonal antibody ท้งั หลายกค็ งต้องทดสอบดว้ ยว่ายงั เอาอยหู่ รือไม?่ เนอื่ งจาก mutation จานวนมากนี้
อาจทาให้ antigen ของเช้ือฉีกห่างออกไปจากสายพันธอุ์ ู่ฮ่ัน (original Wuhan) ไปมาก และมากกวา่ Beta ซ่ึงทา
ใหด้ ื้อ monoclonal antibody ไดม้ าก

ข่าวดอี ยา่ งหน่ึงของ Omicron สาหรบั การตรวจหาในตวั อยา่ งคอื พบว่ามี mutation บน spike ที่เรียกวา่ Δ69-
70 (amino acid ตาแหนง่ 69-70 หายไป 2 ตัวเหมือน Alpha variant) ซ่ึงทาให้การทา qPCR ในห้องปฏบิ ัติการ
บางแห่งตรวจไม่พบ S gene เรยี กว่า S gene target failure (SGTF) กราฟบนแสดง ORF กลางคือ N และลา่ ง
คอื S เหน็ ชัดวา่ ตรวจไมพ่ บ S gene เรียกวา่ SGTF การพบ SGTF น้ันเดมิ พบเฉพาะสายพันธุ์ Alpha variant ทา
ให้เราติดตามสายพนั ธ์ุโอมิครอนเบ้อื งต้นไดโ้ ดยไมต่ ้องทา full genome sequencing ในปัจจบุ ันสายพนั ธุ์ Alpha
แทบสูญพันธุ์หมดแล้ว หอ้ งปฏิบัติการจงึ สามารถใช้ SGTF เปน็ ตวั คดั กรอง Omicron variant ได้โดยไม่ต้องทา
genome sequencing ทกุ รายซ่งึ จะเสียเวลามากและมคี า่ ใช้จ่ายสูง แตเ่ พอ่ื ความถูกตอ้ งในการรายงาน ผทู้ ่ีตดิ
COVID ทกุ รายที่ตรวจพบ SGTF ควรยืนยนั ดว้ ย sequencing ต่อไปด้วยวา่ เป็น Omicron หรือไม่?

๘๓๗

ในประเทศอาฟรกิ าตอนใต้ จานวนผูต้ ดิ เช้อื ไวรสั โอมคิ รอนจนถึงวนั ที่ ๑ ธันวาคม มจี านวน ๘,๕๖๑ รายเพมิ่ จาก
จานวน ๓,๔๐๒ รายทมี่ รี ายงานจนถึงวันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน และพบมากในจังหวดั Gauteng ที่เป็นบา้ นของเมือง
Johannesburg โดยมคี า่ R สูงกวา่ ๒ ในเดอื นธนั วาคม ทง้ั ๆ ที่การระบาดของเชอ้ื ไวรสั เดลต้าในเดอื นกนั ยายนมี
ค่า R ต่ากว่า ๑ แล้วในจังหวัด Gauteng.

การตรวจหาเชือ้ ด้วยวธิ ี PCR ส่วนใหญ่จะตรวจหายนี เป้าหมาย ๓ ตาแหนง่ คือ S, N, และ ORF1ab.
สาหรับสายพันธุ์ Omicron ที่กลายพันธุ์ ยนี เดิมคือ S (spike) gene จะกลายพันธุจ์ นอาจจะตรวจไม่พบ ทาให้
ตรวจพบแตย่ นี N และ ORF1ab ซง่ึ ยงั ถือว่า ใหผ้ ลบวกกับการทดสอบกับการติดเช้อื ไวรสั โคโรน่า สว่ นการตรวจ
ยีน S ไมพ่ บ เราเรยี กวา่ S gene target failure หรอื ย่อวา่ SGTF การตรวจไม่พบอาจจะเป็นเพราะว่า ตวั อยา่ ง
มีรหสั สายพนั ธนุ์ ้อยก็ได้ เช่น มคี า่ Ct สงู เกิน ๓๐ เป็นต้น หากตวั อยา่ งทนี่ ามาตรวจมีคา่ Ct ตา่ กว่า ๒๐ และยัง
ตรวจไม่พบยีน S เราเรยี กวา่ SGTF สายพันธ์ทุ ่มี ี SGTF (ตรวจไม่พบยีน S)ในปที แี่ ล้ว ได้แก่สายพันธแ์ุ อลฟาดว้ ย
แตเ่ นื่องจากปัจจุบันในประเทศไทยและประเทศอ่นื ๆ สายพันธ์แุ อลฟาหายไปแล้ว การตรวจไมพ่ บยนี S ทั้ง ๆ
ทีต่ รวจพบยีนอ่ืน จะเป็นการตรวจพบเบ้อื งตน้ ท่ีน่าสงสยั วา่ จะเป็นสายพนั ธโ์ุ อมิครอน โดยเฉพาะการตรวจพบ
ในคลัสเตอร์หลาย ๆ ตวั อย่าง

๘๓๘

ได้เขยี นบทความสนั้ ๆ แสดงความคิดเห็น

รับมือ“โอมคิ รอน”ใหด้ ที ส่ี ุดอย่างไรด?ี

ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ นายแพทยอ์ มร ลลี ารศั มี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ และกรรมการแพทยสภา

รองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยสยาม
วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๕

สวัสดีปีใหม่ครับ ปีนี้ผมหวังว่า คนไทยจะโชคดีจากการระบาดของเชื้อ "SARS-CoV-2” เมื่อสาย
พันธ์ุโอมิครอน(Omicron) เข้ามาระบาดในเมืองไทย ข้อมูลเบื้องต้นแต่ชัดเจนสาหรับเชื้อตัวน้ีคือ
แพร่กระจายเกง่ กวา่ สายพันธเุ์ ดลต้า ๓-๕ เทา่ สว่ นใหญ่กอ่ โรคในทางเดนิ หายใจส่วนบนและหลอดลม ข้อมลู
แรกเริ่มจาก LKS คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮ่องกง (HKUMed) พบว่า หลังปล่อยเช้ือไวรัสลงบนผิว
เซลล์ได้ ๒๔ ชั่วโมง สายพันธุ์โอมิครอนเพิ่มจานวนในเซลล์หลอดลมเร็วกวา่ สายพันธ์ุเดลต้าถึง ๗๐ เท่า แต่
เพ่ิมจานวนในเนื้อปอดช้ากว่าสายพันธ์ุอู่ฮั่นถึง ๑๐ เท่า นักวิทยาศาสตร์ญ่ีปุ่น เยอรมันและอเมริกา
ทาการศึกษาในหนูก็พบข้อมลู ตรงกนั วา่ เชื้อโอมคิ รอนกอ่ โรคหลัก ๆ ในทางเดนิ หายใจสว่ นบน ทาลายเน้อื
ปอดน้อยกวา่ และทาใหส้ ัตวท์ ดลองตายน้อยกวา่ ดว้ ย ตอนน้ใี นไทย สายพันธุ์โอมิครอนกาลงั เบียดแยง่ ทส่ี าย
พันธุ์เดลต้าอยู่ (โอมิครอนพบร้อยละ ๒๐ เดลต้าพบร้อยละ ๘๐) ขอให้สายพันธ์ุโอมิครอนเบียดแย่งที่จน
กลายเป็นเชื้อเด่นและเบียดเดลต้าให้หมดไปเลย ถึงแม้เชื้อโอมิครอนจะหลบหลีกภูมิคุ้มกัน IgG ที่เกิดจาก
การติดเช้ือและการฉีดวคั ซนี ได้บา้ ง แต่คนไทยยังมีภูมิคมุ้ กนั ชนิดอ่นื ๆ เหลือพอที่จะสู้เช้ือโอมิครอนได้หาก
ป้องกันตนเองไดด้ ี

คนไทยฉีดวัคซนี ไป ๑๐๕ ลา้ นโดสแลว้ ผู้ปว่ ยสะสมอยา่ งน้อย ๒,๒๓๐,๐๐๐ ราย ตายไป ๒๒,๐๐๐
ราย ยาขนานใหม่กาลงั ขึ้นทะเบยี นทง้ั molnupiravir และ paxlovid ใชร้ ่วมกบั favipiravir ได้ น่ยี ังไม่รวม
แอนติบอดี ค็อกเทล ที่กาลังข้นึ ทะเบียน สรุปว่า คนไทยส่วนมากมีภมู ิคมุ้ กันกับเช้ือ SARS-CoV-2 และสาย
พันธุ์โอมิครอนบา้ งแล้ว เรากาลงั จะมียาตา้ นไวรัส เราจะรับมืออย่างไรกบั เชื้อโอมิครอนให้เกิดผลดีท่สี ดุ แก่
คนไทย ให้การระบาดครงั้ น้กี ลายเป็นโอกาสดขี องคนไทยบ้าง

ข้อแรก คนไทยรีบไปฉีดวัคซีนกันเถอะ ใครตกขบวนเข็มหนึ่งเข็มสองต้องรีบฉีดด่วนแล้วเก็บกัก
ตัวเองไว้เลย ตอนนี้เราฉีดเข็มสามกันแล้ว ระยะเวลาท่ีภูมิคุ้มกันของเราเกิดดีท่ีสุดในการป้องกันโรคคือ
ตั้งแต่สองสัปดาห์หลังเข็มท่ีสอง/สามขึ้นไปจนถึงสามเดือน หลังสามเดือนถึงหกเดือนก็ยังพอไหว หลัง ๖
เดือนไปแล้วก็ยังพอป้องกันความรุนแรงของโรคได้ แต่ขอสรุปว่า หลังฉีดเข็มที่สอง/สามได้สองสัปดาห์ไป
จนถึงสามเดือน จะมีภูมิคุ้มกันดีท่ีสุด ประเทศตะวันตกหรือในยุโรปที่รีบฉีดวัคซีนก่อนประเทศไทยหลาย
เดือน ตอนน้ตี ดิ เชือ้ โอมิ ครอนมากเพราะหลังเขม็ สุดทา้ ยนานเกินหกเดอื นแล้ว เลยติดเช้อื ง่ายกวา่ แตส่ ว่ น
ใหญ่ไม่ป่วยรุนแรง ดังน้ันระยะเวลาสามเดือนหลังเข็มสามจะเกิดภูมิค้มุ กันสูงจนหากตัวเราเผลอติดเช้ือ ก็

๘๓๙

จะไม่มีอาการจนบางคนไม่ทราบว่าตนเองติดเช้ือไปแล้ว ระยะเวลาการแพร่เช้ือไปให้คนอื่นจะสั้นลงด้วย
ดงั นั้น จงั หวะท่เี ชอื้ โอมิครอนกาลงั มา เรากร็ บี เร่งฉีดวคั ซนี เข็มสอง/สาม กนั เสยี ใครฉดี เขม็ สี่ไมว่ า่ จะได้ไม่
ป่วยเลย ตอนนรี้ บี ไปฉดี วคั ซีนใหเ้ ดก็ อายุ ๕ ขวบข้นึ ไปดว้ ย

ข้อที่สอง เรายังต้องป้องกันตนเองจากการติดเชื้ออยู่ดี สวมหน้ากากอนามัย หลีกเล่ียงการไปอยู่
ในกลุ่มชนแออัดนานเกิน ๓๐ นาทีและอากาศไม่ถ่ายเท ผู้ที่ระวังตนแบบนี้ จะเส่ียงต่อการติดเช้ือน้อยมาก
แม้สายพันธ์ุโอมิครอนจะแพรก่ ระจายเก่งมาก ผมขอย้าเร่ืองการถา่ ยเทอากาศในห้องแถว/ขนาดเล็ก ตลาด
นัดท่ีหลังคาเตี้ยจนอากาศไม่ถา่ ยเท เจ้าของร้านตอ้ งเปิดประตู หน้าต่าง เปิดพัดลมเป่า/ดูดอากาศออกจาก
หอ้ งเลย จะเปิดแอร์ด้วยกไ็ มว่ า่ ดงั นนั้ เรายังตอ้ งปอ้ งกันการตดิ เช้ือดว้ ยการใช้วถิ ชี ีวติ ใหมเ่ ตม็ ท่ี หากตดิ เชอ้ื
ไดอ้ กี กเ็ ป็นเหตสุ ุดวสิ ัย และจะเป็นผลดกี ับภมู คิ ุ้มกันที่จะถกู กระตุ้นให้สูงขึ้นมาสูก้ ับเช้ือจานวนน้อยนดิ ที่เล็ด
ลอดเขา้ มา เทา่ กับสร้างภูมิค้มุ กันตัวเราเองใหส้ งู ขนึ้ อีก

แตผ่ มขอคัดค้านความเห็นท่ีไดย้ นิ มาว่า เราไมต่ ้องระวงั ตวั ไปสูดรับเชื้อโอมคิ รอนเขา้ ไปเลย จะได้
เกิดภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ การตั้งใจไปสูดรับเชื้อ ท่านอาจจะได้รับเช้ือจานวนมากในทันทีและเข้าไปใน
ปอดเลย ก็จะเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบรุนแรงได้ เช้ือโอมิครอนยังก่อโรคในปอดได้นะครับ จึงไม่คุ้มกับ
การไปสูดรบั เชอื้ อยา่ งตง้ั ใจ ทส่ี าคัญกวา่ นค้ี อื หากเราปลอ่ ยใหม้ กี ารตดิ เชอื้ ในประชากรจานวนมากอย่างใน
บางประเทศตอนน้ี อาจจะมีเชื้อกลายพันธ์ุเป็นสายพันธ์ุใหม่ได้อีก หากได้สายพันธุ์ที่แพร่กระจายง่ายและ
ก่อโรคในปอดได้รุนแรง เราจะพลาดการใช้โอกาสดีที่จะทาประโยชน์จากการระบาดของเช้ือโอมิครอน
ต้องเรียนวา่ กว่าเราจะได้สายพันธุโ์ อมิครอนนี้มา ก็ต้องมีการกลายพันธุม์ าหลายครง้ั นานถึงสองปีแล้ว เรา
จงึ ตอ้ งพยายามป้องกนั การกลายพันธุ์ท่ีจะทาให้เกดิ สายพันธุใ์ หม่ได้อีก

ข้อที่สาม มาตรการการตรวจหาเช้ือ ผมเสนอว่า เราไม่ปิดประเทศ, ไม่มี curfew, ไม่มี
lockdown ระหว่างจังหวัด ผู้ที่จะบินเข้ามาในประเทศ แนะนาให้ทา RT-PCR ก่อนมา ๗๒ ชั่วโมง(ต้อง
ไดผ้ ลลบ) และใหเ้ ลอื กวา่ จะทาการตรวจแบบ RT-PCR ในวันแรกท่ีเข้ามาในประเทศหรอื จะรอ ๗ วนั ผทู้ ่ี
ทา RT-PCR วนั แรกและได้ผลลบในคนทฉ่ี ีดวัคซีนอยา่ งนอ้ ยสองเขม็ ไมน่ านเกนิ ๓ เดอื น ให้ผ่านเลยและให้
ใช้วิถีชีวติ ใหม่ ขอให้กักตัวแบบ sandbox นาน ๗ วันด้วยกจ็ ะดมี ากโดยเฉพาะผทู้ ี่เดนิ ทางมาจากประเทศที่
มีการระบาดน้อย ส่วนผู้ที่ยังไม่เคยฉดี วคั ซีนหรือเคยฉีดวัคซีนเข็มสุดทา้ ยนานเกิน ๖ เดือนไปแล้ว และผู้ที่
ไมเ่ ลือกตรวจในวันแรก ใหก้ ักตวั ๗ วันแล้วทา RT-PCR อีกครั้ง ถ้าไดผ้ ลลบ ก็ผ่านได้เลย

หวังว่า การปฏิบัติตามทั้งสามข้ออย่างเคร่งครัด จะช่วยควบคุมการระบาดจากเชื้อโอมิครอน(ถ้า
เบียดชนะเดลตา้ ได)้ และทาประโยชนใ์ หก้ ับคนไทยมากที่สุดเมื่อโอกาสแบบน้มี าถงึ แล้ว หากทาได้ดคี าดว่า
จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่จะไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ รายต่อวันภายในสิ้นเดือนมกราคมศกนี้ จานวนผู้เจ็บป่วย
รุนแรงจนต้องใช้เคร่ืองชว่ ยหายใจ หรือรักษาตวั ในหออภิบาล จะไม่เกินศักยภาพของโรงพยาบาลท่ีจะรบั ไว้
รกั ษา และเชือ้ โอมิครอนจะกลายเปน็ เชอ้ื หวดั ธรรมดาอยา่ งทีเ่ ราหวังไว้

๘๔๐

-

ขอบคณุ อาจารย์นายแพทย์นิธิ มหานนท์ดว้ ยครบั ที่สง่ ต่อ และความเหน็ บงั เอญิ มาตรงกนั
(มมี าตรงกัน หลายครั้งแล้วในหลายเรอื่ งของโควิด-๑๙)

๘๔๑

๘๔๒

มาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ ในการชะลอการแพรเ่ ชื้อและรองรบั การระบาดของ เชื้อ
โอมคิ รอน

๘๔๓

ขอ้ มลู ของการปรบั เปล่ยี น
กระบวนการลดการแพร่กระจายเชื้อโอมิครอน (+ เดลต้า) ของ ศบค. ณ วันท่ี ๗ มกราคม ๒๕๖๕

๘๔๔

หลังจากมีการระบาดเพ่ิมขึ้นของรายป่วยใหม่ใน
เดือนมกราคม ๒๕๖๕ ซ่ึงพบว่า สัดส่วนของการ
ตรวจพบเชื้อสายพันธุ์โอมิครอนจากตัวอย่างของผู้
ติดเช้ือรายใหม่พบว่า เป็นโอมิครอนเพิ่มขึ้นจนเกือบ
ถึงร้อยละ ๕๐ สอดคล้องกับการแพร่กระจายของ
สายพันธุ์นี้ในรายที่ติดเช้ือใหม่ ซ่ึงการระบาดมักจะ
มาถึงประเทศไทยในเวลา ๑ ถึง ๒ เดือนหลังจากมี
การระบาดในแหล่งแรกในโลก ก็ได้กลายเป็นข่าว
ใหญ่ให้ส่ือต่าง ๆ เกาะติดสถานการณ์และให้ข่าวกับ
ประชาชนถึงวิธีการต่อสู้กับเชื้อสายพันธ์ุโอมิครอน
เพิ่มข้ึน ทาให้นักวิชาการรวมท้ังตัวผมเอง ก็ตกเป็น
ผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ในรายการตา่ ง ๆ ด้วย

ในสหรัฐอเมริกา การตรวจพบสายพนั ธุ์โอมิครอนใน
ตัวอย่างจากผู้ติดเชื้อรายใหม่ คิดเป็นสัดส่วนเพิ่มขนึ้
เร่อื ย ๆ ดงั น้ี
- มีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ ๕๘.๖ ของผู้ติดเชื้อราย
ใหมใ่ นสัปดาห์สิน้ สดุ วันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๔
- มีสัดส่วนคิดเป็นรอ้ ยละ ๗๗ ของผู้ติดเชื้อรายใหม่
ในสปั ดาห์ต่อมาก่อนปใี หม่
- มีสัดส่วนคิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๕ ของผู้ติดเชื้อรายใหม่
ในสัปดาห์หลงั ปีใหม่ ๒๕๖๕

คนไทยที่ติดเช้ือโอมิครอน ๔๑ ราย พบว่ามีอาการ
น้อยมาก อาการท่ีพบมดี งั นี้
ไอ รอ้ ยละ ๕๔ เจ็บคอ รอ้ ยละ ๓๗
ไข้ ร้อยละ ๒๙ ปวดกลา้ มเนอื้ ร้อยละ ๑๕
มีน้ามูก รอ้ ยละ ๑๒ ปวดศรี ษะ รอ้ ยละ ๑๐
หายใจลาบาก ร้อยละ ๕ ได้กลนิ่ ลดลง รอ้ ยละ ๒

ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ฯ(รามา)ตรวจตัวอย่างจาก
คนไทย วันที่ ๓-๑๖ มกราคม ๒๕๖๕ พบโอมิครอน
ร้อยละ ๙๗ (๖๙/๗๑ ตัวอย่าง) แต่ในเรือนจายังพบ
เปน็ เดลตา้ รอ้ ยละ ๑๐๐ (๓๑ ตวั อยา่ ง) ดงั นนั้ เชื้อ
โอมคิ รอนนา่ จะมาแทนท่ีเดลตา้ แนน่ อนในเรว็ วนั น้ี

๘๔๕

๘๔๖

ใหส้ มั ภาษณ์วทิ ยโุ ทรทศั นใ์ นรายการ “งานท่ชี อบ ชวี ิตท่ใี ช่” ทาง ททบ. ชอ่ ง ๕

๘๔๗

สวัสดีปีใหม่ครับ ปีนี้ผมหวังว่า คนไทยจะโชคดี
จากการระบาดของเชื้อ “SARS-CoV-2” เมื่อสาย
พันธุ์โอมิครอนเข้ามาระบาดในเมืองไทย ข้อมูลเบื้องต้น
แต่ชัดเจนสาหรับเชื้อตัวนี้ คือ แพร่กระจายเก่งกว่า
สายพันธุ์เดลต้า 3-5 เท่า ส่วนใหญ่ก่อโรคในทางเดิน
หายใจส่วนบน และหลอดลม ข้อมูลแรกเริ่มจาก LKS
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮ่องกง (HKUMed)
พบว่าหลังปล่อยเชื้อไวรัสลงบนผิวเซลล์ได้ 24 ชั่วโมง สายพันธุ์โอมิครอนเพิ่มจานวนในเซลล์
หลอดลมเร็วกว่าสายพันธุ์เดลต้าถึง 70 เท่า แต่เพิ่มจานวนในเนื้อปอดช้ากว่าสายพันธุ์อู่ฮั่นถึง 10 เท่า

นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุน่ เยอรมันและอเมริกาทาการศึกษา
ในหนูก็พบข้อมูลตรงกันว่า เชื้อโอมิครอนก่อโรคหลัก ๆ ใน
ทางเดินหายใจส่วนบน ทาลายเนื้อปอดน้อยกว่า และทาให้
สัตว์ทดลองตายน้อยกว่าด้วย ตอนนี้ในไทย สายพันธุ์
โอมิครอนกาลังเบียดแย่งที่สายพันธุ์เดลต้าอยู่ (โอมิครอน
พบร้อยละ 20 เดลต้าพบร้อยละ 80) ขอให้สายพันธุ์โอมิ
ครอนเบียดแย่งที่จนกลายเป็นเชื้อเด่นและเบียดเดลต้าให้
หมดไปเลย ถึงแม้เชื้อโอมิครอนจะหลบหลีกภูมิคุ้มกัน
IgG ที่เกิดจากการติดเชื้อและการฉีดวัคซีนได้บ้าง
แต่คนไทยยังมีภูมิคุ้มกันชนิดอื่น ๆ เหลือพอที่จะสู้เชื้อโอมิครอนได้หากป้องกันตนเองได้ดี

ข้อมูล ณ วันท่ี 5 มกราคม 2565 คนไทยฉีดวัคซีนไป 105 ล้านโดสแล้ว ผู้ปว่ ยสะสมอย่างน้อย
2,230,000 ราย ตายไป 22,000 ราย ยาขนานใหม่กาลังขึ้นทะเบียน
บทความโดย ศ.เกียรติคณุ นพ.อมร ลีลารศั มี ทั้ง Molnupiravir และ Paxlovid ใช้ร่วมกับ Favipiravir ได้ ยังไม่รวม
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ
ราชวิทยาลัยอายรุ แพทยแ์ ห่งประเทศไทย แอนติบอดี ค็อกเทลที่กาลังขึ้นทะเบียน สรุปว่า คนไทย
ส่วนมากมีภูมิคุ้มกันกับเชื้อ SARS-CoV-2
และสายพันธุ์โอมิครอนบ้างแล้ว เรากาลัง
จะมียาต้านไวรัส เราจะรับมืออย่างไรกับเชื้อ
โอมิครอนให้เกิดผลดีที่สุดแก่คนไทย ให้การ

ระบาดครั้งนี้กลายเปน็ โอกาสดีของคนไทยบ้าง

หมอชวนรู้ The Medical Council of Thailand

ข้อแรก คนไทยรีบไปฉีดวัคซีนกันเถอะ

ใครตกขบวนเข็มหนึ่งเข็มสองต้องรีบฉีดด่วน
แล้วเก็บกักตัวเองไว้เลย ตอนนี้เราฉีดเข็มสาม
กันแล้ว ระยะเวลาที่ภูมิคุ้มกันของเราเกิดดีที่สุด ในการ
ป้องกันโรคคือ ตั้งแต่สองสัปดาห์หลังเข็มที่สอง/สาม
ขึ้นไปจนถึงสามเดือน หลังสามเดือนถึงหกเดือนก็ยังพอไหว
หลัง 6 เดือนไปแล้วก็ยังพอปอ้ งกัน ความรุนแรง
ของโรคได้ แต่ขอสรุปว่า หลังฉีดเข็มที่สอง/
สามได้สองสัปดาห์ไปจนถึงสามเดือนจะมี
ภูมิคุ้มกันดีที่สุด ประเทศตะวันตกหรือใน
ยุโรปที่รีบฉีดวัคซีนก่อนประเทศไทยหลายเดือน

ตอนนี้ติดเชื้อโอมิครอนมาก เพราะหลัง

เข็มสุดท้ายนานเกินหกเดือนแล้ว เลยติดเชื้อ

ง่ายกว่าแต่ส่วนใหญ่ไม่ป่วยรุนแรง ดังนั้นระยะ

เวลาสามเดือนหลังเข็มสาม จะเกิดภูมิคุ้มกันสูงจน

หากตัวเราเผลอติดเชื้อ จะไม่มีอาการจนบางคน

ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อไปแล้ว ระยะเวลาการแพร่เชื้อ

ไปให้คนอื่นจะสั้นลงด้วย ดังนั้น จังหวะที่เชื้อโอมิครอนกาลังมา

เราก็รีบเร่งฉีดวัคซีนเข็มสอง/สามกันเสีย

ใครฉีดเข็มสี่ไม่ว่า จะได้ไม่ป่วยตอนนี้รีบไป

ฉีดวัคซีนให้เด็กอายุ 5 ขวบขึ้นไปด้วย

๘๔๙

ข้อมูล ณ วนั ท่ี 5 มกราคม 2565

บทความโดย ศ.เกียรติคณุ นพ.อมร ลีลารศั มี หมอชวนรู้ The Medical Council of Thailand
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ
ราชวิทยาลัยอายรุ แพทยแ์ ห่งประเทศไทย

ข้อที่สอง เรายังต้องป้องกันตนเองจากการติดเชื้ออยู่ดี

สวมหน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยงการไปอยู่ในกลุ่มชน
แออัดนานเกิน 30 นาที และอากาศไม่ถ่ายเท
ผู้ที่ระวังตนแบบนี้ จะเสี่ยงต่อการติดเชื้อน้อยมาก
แม้สายพันธุ์โอมิครอนจะแพร่กระจายเก่งมาก
ผมขอย้าเรื่องการถ่ายเทอากาศในห้องแถว/
ขนาดเล็กตลาดนัดที่หลังคาเตี้ยจนอากาศไม่ถ่ายเท
เจ้าของร้านต้องเปิดประตู หน้าต่าง เปิดพัดลมเป่า/
ดูดอากาศออกจากห้อง จะเปิดแอร์ด้วยก็ไม่ว่า ดังนั้น
เรายังต้องป้องกันการติดเชื้อด้วยการใช้วิถีชีวิตใหม่
เต็มที่ หากติดเชื้อได้อีกก็เปน็ เหตุสุดวิสัย และจะ
เป็นผลดีกับภูมิคุ้มกันที่จะถูกกระตุ้นให้สูงขึ้น
มาสู้กับเชื้อจานวนน้อยนิดที่เล็ดลอดเข้ามา เท่ากับสร้างภูมิคุ้มกันตัวเราเองให้สูงขึ้นอีก

ข้อมูล ณ วนั ท่ี 5 มกราคม 2565 แต่ผมขอคัดค้านความเห็นที่ได้ยินมาว่า “เราไม่ต้องระวัง
ตัวไปสูดรับเชื้อโอมิครอนเข้าไปเลย จะได้เกิดภูมิคุ้มกัน
บทความโดย ศ.เกียรติคณุ นพ.อมร ลีลารศั มี ตามธรรมชาติ” การตั้งใจไปสูดรับเชื้อ ท่านอาจจะได้รับ
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ เชื้อจานวนมากในทันทีและเข้าไปในปอดเลย จะเสี่ยงต่อ
ราชวทิ ยาลัยอายรุ แพทยแ์ ห่งประเทศไทย
การเกิดปอดอักเสบรุนแรงได้ เชื้อโอมิครอนยังก่อโรค
ในปอดได้ครับ จึงไม่คุ้มกับการไปสูดรับเชื้ออย่างตั้งใจ

ที่สาคัญกว่านี้ คือ หากเราปล่อยให้มีการติดเชื้อใน
ประชากรจานวนมากอย่างในบางประเทศตอนนี้ อาจจะมีเชื้อ

กลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ใหม่ได้อีก หากได้สายพันธุ์ที่
แพร่กระจายง่าย และก่อโรคในปอดได้รุนแรง เราจะ

พลาดการใช้โอกาสดีที่จะทาประโยชน์จากการระบาด
ของเชื้อโอมิครอน ต้องเรียนว่า กว่าเราจะได้สายพันธุ์

โอมิครอนนี้มา ก็ต้องมีการกลายพันธุ์มาหลายครั้ง
๘๕๐ นานถึงสองปีแล้ว เราจึงต้องพยายามป้องกัน

การกลายพันธุ์ที่จะทาให้เกิดสายพันธุ์ใหม่ได้อีก

หมอชวนรู้ The Medical Council of Thailand

ข้อที่สาม มาตรการการตรวจหาเชื้อ ผมเสนอว่า เราไม่

ปิดประเทศ, ไม่มี curfew, ไม่มี lockdownระหว่างจังหวัด
ผู้ที่จะบินเข้ามาในประเทศ แนะนาให้ทา RT-PCR ก่อนมา
72 ชั่วโมง(ต้องได้ผลลบ) และให้เลือกว่า จะทาการตรวจ
แบบ RT-PCR ในวันแรกที่เข้ามาในประเทศหรือรอ 7 วัน
ผู้ที่ทา RT-PCR วันแรกและได้ผลลบในคนที่ฉีดวัคซีน
อย่างน้อยสองเข็มไม่นานเกิน 3 เดือน ให้ผ่านเลย และ
ให้ใช้วิถีชีวิตใหม่ ขอให้กักตัวแบบ sandbox นาน 7 วัน
ด้วยก็จะดีมาก โดยเฉพาะผู้ที่เดินทางมาจากประเทศที่มี
การระบาดน้อย ส่วนผู้ที่ยังไม่เคยฉีดวัคซีน หรือเคย
ฉีดวัคซีนเข็มสุดท้ายนานเกิน 6 เดือนไปแล้ว และผู้
ที่ไม่เลือกตรวจในวันแรก ให้กักตัว 7 วัน แล้วทา
RT-PCR อีกครั้ง ถ้าได้ผลลบก็ผ่านได้เลย

ข้อมูล ณ วันท่ี 5 มกราคม 2565 หวังว่า การปฏิบัติตามทั้งสามข้ออย่างเคร่งครัด
จะช่วยควบคุมการระบาดจากเชื้อโอมิครอน
บทความโดย ศ.เกียรติคณุ นพ.อมร ลีลารศั มี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ (ถ้าเบียดชนะเดลต้าได้) และทาประโยชน์ให้กับ
ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแ์ ห่งประเทศไทย คนไทยมากที่สุด เมื่อโอกาสแบบนี้มาถึงแล้ว
หากทาได้ดีคาดว่า จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่จะ

ไม่เกิน 10,000 รายต่อวันภายในสิ้นเดือนมกราคมนี้
จานวนผู้เจ็บปว่ ยรุนแรงจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
หรือรักษาตัวในหออภิบาล จะไม่เกินศักยภาพของ
โรงพยาบาลที่จะรับไว้รักษา และเชื้อโอมิครอนจะ

๘๕๑ กลายเปน็ เชื้อหวัดธรรมดาอย่างที่เราหวังไว้

หมอชวนรู้ The Medical Council of Thailand

การแพร่ข่าวเร่อื งความรนุ แรงของโรคตดิ เชื้อโควิด-๑๙ จากเชอื้ โอมิครอนเกิดข้ึนในส่ือของหลาย

ประเทศและไม่พน้ จากประเทศสหรัฐอเมริกา เช่น ยอดจานวนผู้ปว่ ยถกู รบั ไวร้ ักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึน้ การตาย
เพิ่มขน้ึ เด็กปว่ ยมากกวา่ ผใู้ หญ่และตายมากกวา่ ผู้ใหญ่ เป็นต้น ท้งั หมดนั้นเป็นเพียงแค่ขา่ ว ตอนนี้มขี ้อมลู หลักฐาน
วทิ ยาศาสตร์มากขน้ึ แล้วจากงานวจิ ัย ล่าสุดเป็นงานวิจยั ที่แคลฟิ อรเ์ นยี โดยศนู ยค์ วบคุมโรคสหรฐั ฯ (CDC) และมี
ศนู ยป์ ระสานงานการวจิ ยั อยู่ท่ี UC Berkeley ในกล่มุ ผู้ตดิ เชื้อโควิด-๑๙ จานวนมาก ซึง่ สรุปผลได้ดังนี้
 ศึกษาในผ้ตู ดิ เช้อื โอมคิ รอนที่ยนื ยนั ว่า ตรวจพบ SGTF (S gene target failure) และทาเฉพาะกบั ผูป้ ว่ ยท่ีมา

โรงพยาบาลจานวนรวม ๕๒,๒๙๗ คน
 ผปู้ ่วยที่ติดตามได้อยา่ งน้อย ๕.๕ วัน รวมทัง้ หมด ๒๘๘,๕๓๔ คน-วัน พบวา่

๑. ผปู้ ่วยถกู รับไวใ้ นโรงพยาบาล ๘๘ คน (ร้อยละ ๐.๔๘)
๒. ตอ้ งใสเ่ คร่ืองช่วยหายใจ ๐ คน (รอ้ ยละ 0)
๓. ท้ายท่สี ดุ แล้วมีตาย ๑ คน (ร้อยละ 0.09)
โดยท่ีการตดิ เชือ้ และระดบั ความรุนแรงมีการกระจายตวั เท่าๆ กนั ทกุ กลมุ่ อายุแม้แตใ่ นเด็ก (ไมต่ ายมากกว่า)
เมอ่ื เปรียบเทียบกับการติดเช้ือเดลตา้ ซ่ึงมารักษาทก่ี ลมุ่ โรงพยาบาลเดยี วกัน ในชว่ งเวลาเดียวกันจานวน
๑๖,๙๘๒ ราย พบวา่
๑. รบั ไว้รักษาในโรงพยาบาล ๒๒๒ คน (รอ้ ยละ ๑.๓)
๒. ใสเ่ ครื่องช่วยหายใจ ๑๑ คน (ร้อยละ ๐.๐๖)
๓. ทา้ ยทส่ี ดุ แลว้ ตาย ๑๔ คน (ร้อยละ ๐.๘)
๔. อตั ราตายของเช้ือโอมิครอนคือรอ้ ยละ ๐.๐๙ น้ันตา่ กวา่ อตั ราตายของเดลตา้ ซึ่งตายรอ้ ยละ ๐.๘ ตา่ งกนั ถงึ

๙ เทา่
เอกสารอา้ งองิ

๘๕๒

วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๕ ให้สัมภาษณ์ TNN16 พิธกี รคณุ โมนยั เย็นบุตร เกี่ยวกับลกั ษณะทัว่ ไปของเช้ือ

โอมิครอนว่า แพรเ่ ช้อื เกง่ ไหม? ก่อโรครุนแรงน้อยกวา่ เดลต้าใชไ่ หม? จะกลายเปน็ โรคประจาถน่ิ ไปแล้วหรือยัง?
มาตรการการปอ้ งกันโรค มาตรการคัดกรองคนบินเขา้ ประเทศไทยแบบ test & go จะกลับมาใช้ใหมไ่ ดไ้ หม?

สถานการณ์ของโรคระบาดโควดิ -๑๙ สายพนั ธุ์โอมิครอนปนเดลตา้ มาจนถงึ วันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๕

จานวนผู้ได้รับการฉดี วคั ซีน และผปู้ ว่ ยทรี่ ักษาจนหายวนั นห้ี รอื ยังอยู่ในโรงพยาบาลและวนั น้ีมผี ูต้ าย ๑๙ ราย

๘๕๓

๘๕๔

และวนั ที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๕ ใหส้ มั ภาษณ์ผ่านทางวทิ ยุรัฐสภา เกย่ี วกับลกั ษณะทว่ั ไปของเชื้อโอมิครอน

วา่ แพรเ่ ชื้อเก่งไหม? ก่อโรครุนแรงน้อยกวา่ เดลตา้ ใชไ่ หม? จะกลายเป็นโรคประจาถ่นิ ไปแล้วหรอื ยัง?

๘๕๕

การทา Dengue-Zero MOU ระหวา่ งแพทยสมาคมฯ ภาคีเครือขา่ ยและ
บริษัท ทาเคดา (ประเทศไทย) จากดั

“โรคไข้เลือดออก” (Dengue Fever) เป็นโรคติดเช้ือไวรัสเดงกีที่มียุงลายเป็นแมลงนาโรค โรคนี้ได้
กลายเปน็ ปัญหาสาธารณสขุ ในหลายประเทศท่วั โลก เนอ่ื งจากโรคไดแ้ พรก่ ระจายอยา่ งกว้างขวางและจานวนผู้ป่วย
เพ่มิ ขึ้นอยา่ งมากในห้วงเวลา ๓๐ ปีทผ่ี ่านมา และพบโรคน้ีมากกวา่ ๑๐๐ ประเทศ ทาให้โรคน้ีกลายเปน็ โรคประจา
ถ่ิน และยังคุกคามต่อสุขภาพของประชากรโลกมากกว่าร้อยละ ๔๐ (ประมาณ ๒,๕๐๐ ล้านคน) โดยเฉพาะอย่าง
ย่ิงในประเทศท่ีตัง้ ในเขตรอ้ นและเขตอบอุ่น ปัญหาทีเ่ กิดข้นึ ในพนื้ ท่ใี หมเ่ น่ืองมาจากภาวะ “โลกร้อน” ท่ที าใหย้ ุงมี
พน้ื ทข่ี ยายพนั ธไ์ุ ด้กวา้ งขวางข้ึน

มีการคาดการณ์ว่า ในประเทศไทยปี ๒๕๖๕ โรคไข้เลือดออกจะระบาดรุนแรงขึ้นแม้การระบาดในปี
๒๕๖๔ จะมีจานวนรายป่วยลดลงเพราะโรคไข้เลือดออกจะระบาดปีเว้นปี หรือปีเว้น ๒ ปี “นพ.โอภาส การย์กวิน
พงศ”์ อธบิ ดีกรมควบคุมโรคใหส้ มั ภาษณภ์ ายหลงั การประชมุ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ท่ีมีนายอนุทิน ชาญ
วีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน โดยระบุว่า คณะกรรมการ
โรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ เหน็ ชอบหลกั การการวางระบบและแนวทางปฏบิ ตั ิในการควบคุมโรคติดต่อนาโดยแมลง ภายใต้
พรบ. โรคตดิ ต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ แล้ว

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทยตั้งแตต่ ้นปี ๒๕๖๔ จนถึงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๔ พบผูป้ ่วยโรค
ไข้เลอื ดออกแล้ว ๙,๖๖๒ ราย

สถานการณโ์ รคไขเ้ ลือดออกตั้งแตว่ ันท่ี ๑ ม.ค. – ๑๙ ธ.ค. ๒๕๖๔ จากระบบรายงานการเฝา้ ระวังโรค
๕๐๖ กองระบาดวิทยา พบผู้ป่วยโรคไขเ้ ลือดออก สะสม ๙,๖๖๒ ราย อัตราปว่ ย ๑๔.๕๕ ต่อประชากรแสนคน
เสียชวี ิต ๖ รายคดิ เปน็ อตั ราตาย ๐.๐๑ ตอ่ ประชากรแสนคน พบมากทส่ี ุดในกลุ่มอายุ ๑๕-๒๔ ปีคิดเปน็ ร้อยละ

๘๕๖

๒๒.๗๔ รองลงมาคือกลุ่มอายุ ๑๐-๑๔ ปคี ิดเป็นร้อยละ ๑๘.๒๗ และกลมุ่ อายุ ๒๕-๓๔ ปีคดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๔.๗๔
ภาคเหนือมีอัตราป่วยสงู สดุ คือ ๒๓.๑๑ รายต่อประชากรแสนคนโดยจงั หวดั แม่ฮ่องสอนมีอตั ราป่วยสงู สุด
๑๘๒.๒๖ รายตอ่ ประชากรแสนคน ในภาพรวมปี ๒๕๖๔ มจี านวนผู้ปว่ ยสะสมน้อยกวา่ ปีท่ผี ่านมาและน้อยวา่
ค่ามัธยฐานยอ้ นหลัง ๕ ปี ในช่วงเวลาเดยี วกันถงึ ร้อยละ ๘๘

กทม. พบผู้ปว่ ยแลว้ กวา่ ๑,๒๒๖ ราย นับจากตน้ ปี ๒๕๖๔ ถึงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๔

สาหรับในพื้นที่ กทม. รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกสัปดาห์ที่ ๓๙ ปี ๒๕๖๔ สานักอนามัย
กรุงเทพมหานคร ณ วนั ที่ ๒ ต.ค. ๖๔ พบผปู้ ว่ ยแลว้ ๑,๒๒๖ ราย อัตราป่วย ๒๑.๙๔ ตอ่ ประชากรแสนคน ยังไม่มี
ผู้เสียชีวิต โดยเขตท่ีมีอัตราป่วยมากที่สุด ได้แก่ ยานนาวา ๖๙.๒๒ รองลงมา ได้แก่ บางนา ๔๕.๑๘ และ บางขุน
เทียน ๔๔.๐๕ ต่อแสนประชากร โดยกลุ่มเสี่ยง มากที่สุด ได้แก่ อายุ ๕ – ๑๔ ปี อัตราป่วย ๕๑.๗๙ ต่อแสน
ประชากร

๑. บทนา ตวั อยา่ งจดหมาย ๑ ฉบบั ท่ีสง่ เชิญชวนมาร่วมลงนามและควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก

พสท. ๒๖๐/๒๕๖๔

๘๕๗

วนั ที่ ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๖๔

เรอ่ื ง ขอเรยี นเชิญร่วมเป็นพนั ธมติ รความร่วมมือวา่ ดว้ ยการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ในการควบคมุ โรคไข้เลอื ดออกในประเทศไทย

เรียน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ส่งิ ท่แี นบมา บันทกึ ความเข้าใจ ร่างฉบับท่ี ๑

ปัจจุบันพบว่า โรคติดเช้ือไวรัสเดงกียังคงระบาดในชุมชนเมืองและพื้นท่ีใกล้เคียงในภูมิภาคหลายแห่งทั่ว
โลกโดยเฉพาะในเขตร้อนและเขตอบอุ่น องค์การอนามัยโลกประมาณว่า ผลกระทบของภาวะโลกร้อนทาให้
ประชากรโลกร้อยละ ๕๐ อยู่ในภาวะเส่ียงที่จะติดเช้ือชนิดน้ีและคาดการณ์ว่า มีการติดเชื้อชนิดน้ีจานวน ๑๐๐ -
๔๐๐ ล้านคร้ังในแต่ละปี คิดเป็นการสูญเสียมูลค่าทางเศรษฐกิจถึงปีละ ๘.๙ พันล้านดอลล่าร์เหรียญสหรัฐ การ
ติดเชื้อโดยทั่วไปทาให้เกิดอาการเล็กน้อย แต่บางรายมีไข้สูงและน้อยรายมีอาการรุนแรงจนถึงแก่เสียชีวิตได้
ผปู้ ่วยร้อยละ ๗๐ อย่ใู นทวปี เอเซยี และประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (อนิ โดนีเซยี เมียนมารแ์ ละไทย)
รวมท้งั ศรลี งั กาและอนิ เดียมีจานวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรวมกันมากกวา่ คร่ึงหน่งึ ของผู้ติดเชอ้ื ทัว่ โลก ข้อมูลของ
ประเทศไทยในปี ๒๕๖๓ พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ๗๑,๒๙๓ รายและเสียชีวิต ๕๑ ราย พบมากท่ีสุดในกลุ่มอายุ ๕ -
๑๔ ปี รองลงมาคือกลุ่มอายุ ๑๕ - ๓๔ ปี และกรุงเทพฯ เป็นพ้ืนท่ีท่ีพบการแพร่ระบาดสูงสุด ข้อมูลการติดเช้ือใน
ประเทศไทยจะมีลักษณะเชน่ นี้มาหลายปี

เนอ่ื งจากขณะนี้ยังไม่มียาต้านเชื้อไวรสั เดงกี มีแต่วคั ซนี ป้องกันไข้เลือดออกอยเู่ พียง ๑ ชนดิ ในท้องตลาด
ขณะเดียวกัน เร่ิมมขี อ้ มูลใหม่ทจ่ี ะมาช่วยควบคุมโรคไข้เลือดออก เช่น การทานายการระบาดโดยใชปจจัย ดานกีฏ
วิทยา ระบาดวิทยาและอุตุนิยมวิทยา ยุงลายที่ติดเช้ือ Wolbachia จะลดการนาเชื้อไวรัสเดงกีมาสู่คน และจะมี
วัคซีนป้องกันไข้เลือดออกรุ่นใหม่ท่ีจะทยอยออกมา ทาให้คาดการณ์ว่า การควบคุมโรคไข้เลือดออกจะมี
ประสิทธิภาพมากขนึ้ หากมีการนาข้อมลู และวธิ กี ารใหม่ๆ มาบรู ณาการในการป้องกันและควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก
ร่วมกบั การเฝา้ ระวงั โรคและเตรยี มพร้อมต่อตา้ นการระบาดอย่างต่อเนื่อง มีการควบคุมยงุ และลูกน้ายุงลาย ใหก้ าร
วินิจฉัยโรคและรักษาแบบประคับประคองได้รวดเร็ว ผ่านทางอาสาสมัครในชุมชนให้เป็นผู้ผลักดันในการทา
กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่ือเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งในการควบคุมโรคไข้เลือดออกและลดการสูญเสียชวี ิตของกลุ่มเด็กและ
วัยรุ่นจากโรคนี้ การมุ่งกาจัดยุงลายยังจะลดการแพร่โรคติดเช้ือไวรัสซิกาและโรคไข้ปวดข้อยุงลายได้ด้วย จึงเป็น
ความทา้ ทายอกี ครง้ั ที่ประเทศไทยจะมงุ่ มั่นควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออกใหห้ มดไปพรอ้ มกบั โรคที่เกีย่ วข้อง

แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์และบริษัททาเคดา มีการทางานวิชาการร่วมกันใน
การให้ความรู้ในโรคต่าง ๆ และเคยให้ทุนการศึกษาแก่แพทย์ไทยไปศึกษาในประเทศญี่ปุ่นอย่างต่อเนื่องมานาน
กว่า ๕๕ ปี ท้ังสององค์กรเล็งเหน็ วา่ ถึงเวลาที่จะรว่ มมือกันเชิญชวนองค์กรท่ีเกี่ยวข้องมาควบคุมโรคไข้เลือดออกที่
ยังคงเป็นปัญหาและเช่ือว่า การร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องพร้อมกับการนา

๘๕๘


Click to View FlipBook Version