ผปู้ ่วยท่ีเริม่ มไี ข้ ไอ ในวันแรกทป่ี ว่ ย การศกึ ษาทดลองใช้ยาเหล่าน้ี อาจจะต้องใหย้ าสองถึงสามขนานร่วมกนั เพอื่ ป้องกนั
การดอ้ื ยาก็ได้ ประเทศจีนควรจะทาการศึกษาให้ทราบผลโดยเรว็ ทสี่ ดุ เพ่อื จะไดน้ าข้อมูลมาใช้ในพนื้ ท่ีทมี่ ีการปิดเมืองหรือ
หา้ มการเคล่ือนยา้ ยประชากร เพ่ือให้ประชากรท่ีเสยี สละกลุ่มนีเ้ กดิ ความม่ันใจวา่ จะมียาใชร้ กั ษาเม่ือตนเองเกิดเจบ็ ป่วย
จากการตดิ เชื้อชนิดนใี้ นพื้นท่ีตนถูกควบคุมอยู่
ในดา้ นการดูแลรักษาผู้ป่วยปอดอักเสบหรอื หลอดลมอักเสบ แม้ว่า ผปู้ ่วยมาจากพน้ื ท่เี ส่ียงหรือมีการระบาดของ
เชื้อไวรสั 2019-nCoV อยุแ่ ล้ว แตจ่ ะตอ้ งตรวจหรือรักษาเช้ือกอ่ โรคชนิดอน่ื ทท่ี าให้เกิดปอดอักเสบหรือหลอดลมอักเสบ
ด้วย เพราะมีอาการเหมือนกันจนแยกไม่ออก ดงั นัน้ ต้องมกี ารตรวจหาหรือรักษาเช้ือชนดิ อื่นด้วย เชน่ เชอ้ื ไวรัสไข้หวดั
ใหญ่ เช้ือกลมุ่ mycoplasma หรือ rickettsia ทก่ี ่อโรคร่วมด้วยหรอื เปน็ ตวั ก่อโรคในรายนัน้ ด้วย ทัง้ น้เี พราะมียาท่ใี ชร้ ักษา
ไดผ้ ลดีเต็มที่และปลอดภยั อยู่แล้ว เช่น oseltamivir สาหรบั รกั ษาเชื้อไวรสั ไขห้ วดั ใหญ่ กระทรวงเกษตรของจีน เพ่งิ
รายงานการระบาดของไขห้ วัดนก สายพนั ธุ์ H5N1 ท่ฟี ารม์ ไกใ่ นเมืองเชาหยาง มณฑลหหู นาน หลังจากไก่ในฟาร์มแหง่ นีต้ าย
จากเช้อื ไวรัสสายพันธุ์ H5N1 ไปแล้ว ๔,๕๐๐ ตัวจากทั้งหมด ๗,๗๕๐ ตวั ด้านรัฐบาลท้องถิ่นของจนี สง่ั ฆา่ สตั วป์ กี
๑๗,๘๒๘ ตัว เพอ่ื ป้องกันการระบาดเปน็ วงกว้าง แมว้ ่าขณะน้ยี งั ไม่พบผ้ตู ิดเช้ือไวรัสไข้หวัดนกกต็ าม
วคั ซีนป้องกันโรคติดเชอื้ 2019-nCoV
สามารถผลิตไดใ้ นระยะเวลา ๖ ถงึ ๑๒ เดอื นขา้ งหน้า แต่มีปัญหาด้านการลงทนุ วา่ ถา้ ไม่มีการระบาดของโรคหรอื
มกี ารตดิ เชอ้ื อีก การลงทนุ ทาวคั ซนี จนผ่านการศึกษาทดลองและรับรองให้ใชไ้ ด้ในมนุษย์ อาจจะได้ผลลัพธ์ด้านทุนทรัพย์ไม่
คมุ้ คา่ กับการลงทนุ ก็ได้ วิธกี ารผลติ วัคซีนคอื เอารหัสพนั ธกุ รรมส่วนหนึ่งของเช้อื 2019-nCoV แลว้ สอดรหสั พันธกุ รรมนเี้ ข้า
ไป messenger RNA platform เพอื่ ใหส้ รา้ งโปรตีนท่จี ะใช้เปน็ แอนตเิ จน แล้วจะนาไปทดลองศึกษา immunogenicity
ในหนู หากทดลองได้ผลดี จะผลิตออกมาเป็นวัคซีนท่ีใช้ gold nanoparticle แล้วนามาศึกษาในคนในระยะทห่ี น่ึงในเวลา
สามเดือนข้างหนา้ กวา่ จะได้ผลการศึกษาและพร้อมทน่ี ามาใชไ้ ด้ คงต้องรอจนถงึ ต้นปีหน้า คอื พ.ศ. ๒๕๖๔
๗๐๙
การระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรน่า 2019-nCoV จาก “คนสู่คน” นอกประเทศจีน
สาหรับเชื้อไวรัสโคโรน่า การแพร่เชอ้ื จากคนสคู่ นนอกพน้ื ทเ่ี สีย่ งมีความเปน็ ไปได้แต่ยังมีข้อมลู จากดั ในอดตี มกี าร
แพรก่ ระจายแบบ “คนส่คู น” นอกพน้ื ทเ่ี สีย่ งของเชื้อชนิดน้ีดงั มหี ลักฐานที่ชัดเจนดงั น้ี เช้ือ SARS-CoV จากผู้ป่วย ๑ ราย
ทบ่ี ินจากฮอ่ งกงไปท่ีเมืองโตรอนโต้ ประเทศแคนาดา ทาให้เกิดรายป่วยตอ่ เน่ืองในโรงพยาบาลและในพ้ืนที่อีก ๑๒๘ ราย
หรอื เชือ้ MERS-CoV ในผู้ป่วยหนง่ึ รายบินจากประเทศซาอุดิอาระเบยี ไปประเทศเกาหลีใต้ ทาให้บุคลากรทางการแพทย์
และผู้ใกลช้ ิดในพืน้ ท่ีตดิ เชื้อและป่วยไปอีก ๑๘๖ ราย สาหรบั เชื้อ 2019-nCoV กม็ ีความเป็นไปได้ท่ีจะแพร่เชื้อจาก “คนสู่
คน”นอกพน้ื ทเี่ ส่ียง แตจ่ ะทาไดใ้ นระดับใดยังต้องติดตามดูข้อมูลเชิงระบาดวทิ ยา ขอ้ มลู ณ ปัจจุบันยังแสดงวา่ การแพร่
จาก “คนสคู่ น” ยังมีได้จากัด ขอ้ มูลที่มอี ยู่ชัดเจนไดแ้ ก่ เวียดนาม อเมริกา ญ่ปี ุ่น เยอรมนั ไทย
รายที่ตดิ ตอ่ จาก “คนส่คู น” ในเวยี ตนาม มีข้อมูลว่า วนั ที่ ๒๒ มกราคม ผูป้ ่วยชาวเวยี ดนาม อายุ ๖๕ ปี มโี รค
ประจาตวั คอื ความดนั โลหิตสงู เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจตบี ตันและใส่ stent รกั ษาแลว้ และปว่ ยเปน็ มะเรง็ ปอดด้วย
รบั ไวใ้ นโรงพยาบาลเพราะมไี ข้และออ่ นเพลยี ต้ังแต่วนั ท่ี ๑๗ มกราคม ท้ังผูป้ ว่ ยและภรรยาเพิง่ บนิ กลบั มาจากพืน้ ที่ในเมืองอู่
ฮ่นั ได้ ๔ วนั แตท่ ัง้ คู่ไม่ได้ไปทตี่ ลาดสดแต่อยา่ งใด การตรวจตัวอยา่ งจากลาคอพบเช้อื 2019-nCoV ดว้ ยวธิ ี real-time
reverse-transcription–polymerase-chain-reaction assays สว่ นลูกชายอายุ ๒๗ ปีมารบั พ่อท่สี นามบินและพกั ใน
บ้านและนอนเตยี งเดยี วกนั กับพ่อในหอ้ งนอนที่มเี ครื่องปรับอากาศ ลูกชายคนน้ไี ม่ได้ไปเมอื งจนี และไม่ได้สัมผัสกับผู้ป่วย
หรือนกั ท่องเท่ยี วชาวจนี มาก่อน สามวันตอ่ มาคอื ในวันท่ี ๒๐ มกราคม ลูกชายมีไข้สงู ไอแห้ง ๆ ภาพถ่ายรังสีของปอดไม่
พบความผิดปกติ ลกู ชายมีคลน่ื ไสอ้ าเจียนและถา่ ยเหลวหนึง่ ครงั้ การตรวจตัวอยา่ งจากลูกชายก็พบเชื้อ 2019-nCoV ด้วย
ดงั น้นั ระยะฟักตวั ของโรคในลกู ชายคอื ๓ วัน อาการของลกู ชายดีขึน้ ในวันที่ ๒๓ มกราคม สว่ นภรรยาผูป้ ว่ ยท่รี ว่ ม
เดินทางไปดว้ ยจนถงึ วนั ที่ ๒๘ มกราคม ยงั ไม่มอี าการใด ๆ
รายท่พี บในประเทศญ่ปี ่นุ เป็นคนขบั รถอายใุ นวัย ๖๐ ปี ได้ขับรถรบั นักท่องเที่ยวชาวจีน ๓๑ รายจากเมืองโอซาก้า
ไปเมืองโตเกยี ว ระหว่างวนั ท่ี ๘ ถงึ ๑๑ มกราคม และขับรถรบั นักท่องเทย่ี วชาวจีนอีก ๒๙ รายกลบั มาในระหวา่ งวันท่ี ๑๒
ถงึ ๑๖ มกราคม นักท่องเที่ยวชาวจีนไม่ได้แสดงอาการเจ็บปว่ ยแตอ่ ยา่ งใด
ในประเทศเยอรมนี มีนกั ธุรกิจหญิงจีนจากเมืองเซีย่ งไฮ้ ประเทศจีนมารับการฝึกอบรมท่ีบริษทั ในรัฐ Bavaria นาน
ประมาณ ๔ วันร่วมกบั นักธุรกิจชาวเยอรมนี เมอื่ อบรมเสรจ็ เธอบินกลบั ประเทศจนี ในวันที่ ๒๓ มกราคม หญิงจีนรายน้เี ริม่
มีไข้และไมส่ บายขณะบินกลบั และตรวจพบเชือ้ 2019-nCoV ในวันที่ ๒๖ มกราคม ส่วนผ้เู ข้ารับการอบรมในทป่ี ระชมุ ก็มี
ชายชาวเยอรมนรี ายหนึ่งอายุ ๓๓ ปีทีเ่ รม่ิ ปว่ ยโดยมีอาการไอ (bronchitis-like symptoms) ระหว่างวันที่ ๒๕ ถงึ ๒๖
มกราคมและอาการทุเลาในวันท่ี ๒๗ มกราคม ต่อมาตรวจพบเชอื้ 2019-nCoV ในเสมหะด้วย ชาวเยอรมนีรายนี้จงึ เป็นราย
แรกในทวปี ยโุ รปทีต่ ดิ จาก “คนสคู่ น”นอกพื้นท่ีเสย่ี ง ส่วนรายอ่นื ๆ ทมี่ ารับการฝกึ อบรมดว้ ยยงั อยู่ระหว่างการตดิ ตามวา่
จะมีรายป่วยเพ่ิมข้ึนอีกหรือไม่? รายละเอียดเพ่มิ เติมล่าสดุ สาหรบั การตดิ เช้ือครั้งนีไ้ ด้มาจาก letter published on
January 30, 2020, at NEJM.org. DOI: 10.1056/NEJMc2001468 ดงั น้ี นกั ธุรกิจชาวเยอรมันอายุ ๓๓ ปี มีอาการหนาว
สน่ั เจ็บคอ ไอ ในวันท่ี ๒๔ มค. วันรงุ่ ข้ึนมีไข้ ๓๙.๑ องศาเซลเซยี สและไอมเี สมหะ ตอนเยน็ ของวันท่ี ๒๖ มกราคม ร้สู ึก
สบายขึน้ และกลบั มาทางานได้ในวนั จันทร์ท่ี ๒๗ มกราคม นกั ธุรกจิ ชาวเยอรมันรายนไ้ี ด้ประชมุ อบรมกบั นักธรุ กจิ หญิงชาว
จีนในวนั ที่ ๒๐ ถึง ๒๑ มกราคม หญิงจนี รายนบี้ ินมาจากเซีย่ งไฮ้และมาอบรมในบรษิ ัทในรฐั Bavaria เยอรมนีต้งั แต่วันท่ี
๑๙ มกราคมและบินกลับประเทศจีนในวันท่ี ๒๒ มกราคม ระหวา่ งทางบนิ กลับ ก็เจบ็ ปว่ ยและตรวจพบเช้อื 2019-nCoV
ในวันที่ ๒๖ ม.ค. (index patient ในภาพขา้ งลา่ ง) ขา่ วแจ้งวา่ หญิงจีนรายน้ไี ม่แสดงอาการเจบ็ ปว่ ยใด ๆ ระหว่างการ
๗๑๐
ประชุม [หรอื วา่ เธอปกปดิ การเจ็บป่วยโดย(ไมร่ ้ตู วั ?)กินยาลดไขห้ รือเปลา่ ? ก็ไม่ทราบ] หญิงจนี รายนแี้ จง้ ผลการตรวจกับ
บริษทั จึงทาให้มีการเชิญผูท้ ่ีสัมผัสรายน้ี ผู้เขา้ ประชุม และเจา้ พนกั งานในบริษัทนี้มาตรวจหาเชื้อ วนั ท่ี ๒๘ ม.ค. ก็ตรวจ
พบเชอ้ื 2019-nCoV ในรายท่ี ๑ และในเจ้าพนักงานอีก ๓ ราย (รายท่ี ๒ ถงึ ๔ ในภาพ) แตม่ รี ายที่ ๒ ทีเ่ ข้ารว่ มประชุมกบั
หญงิ จีนท่ีเป็นรายป่วย ส่วนรายท่ี ๓ และ ๔ ไดท้ างานกบั (สัมผัส)กับรายที่ ๑ เทา่ นัน้ ทุกรายมอี าการเล็กน้อยและเจ็บปว่ ย
นานเพยี ง ๒-๓ วนั กท็ ุเลา ที่ยงั น่าสนใจอกี คือ การตรวจด้วยวิธี qRT-PCR assay พบเชือ้ มีจานวนสูงถงึ ๑๐๘ ต่อ มล.ของ
เสมหะในรายท่ี ๑ จนถงึ วันท่ี ๒๙ มกราคมในขณะทร่ี ายที่ ๑ นี้หายดแี ลว้ แตย่ งั ตอ้ งรอผลการเพาะเชื้อไวรสั ยืนยันก่อนว่า
การตรวจพบรหสั พนั ธุกรรมด้วยวิธีนแ้ี ละแปลงเป็นจานวนเช้อื สงู ขนาดนี้ เกิดจากเช้ือไวรสั ที่ยงั มชี วี ิตหรอื ว่าตายแล้ว ดงั นั้น
เม่อื ดูข้อมลู จากการแพร่เชื้อของรายป่วยที่ ๑ ไปยงั รายท่ี ๓ และ ๔ แสดงว่า การแพรเ่ ชื้อเกดิ ไดเ้ ร็วมากอย่างไมน่ า่ เช่อื และ
ผไู้ ดร้ ับเช้อื เกิดอาการได้เร็ว มีระยะฟกั ตัวของโรคสน้ั การแพร่เชือ้ ที่คาดว่าในระยะฟักตวั มีโอกาสน้อยมากเพราะน่าจะมเี ช้ือ
กระจายออกมาน้อยก็อาจจะไมจ่ รงิ ทง้ั น้ี เรายงั ต้องตดิ ตามขอ้ มลู แบบนใ้ี นประเทศอนื่ ๆ หรือในกลมุ่ อกี ครั้งเพ่ือยืนยันว่า
มีการแพร่เชอื้ ได้รวดเรว็ ต้ังแต่ในระยะฟกั ตวั ของโรคและยังมีโอกาสแพรเ่ ชื้อต่อหลังจากหายแล้ว ทง้ั นี้ ตอ้ งรอผลการเพาะ
เช้ือไวรัสเพ่ือมายนื ยันวา่ เชอื้ ไวรสั ยงั มีชวี ิตอยแู่ มว้ ่ารายป่วยนั้นจะหายป่วยแล้ว
ไดอาแกรมแสดงการแพร่เชื้อ ระยะฟกั ตวั ของโรคและการตรวจพบเชือ้ ดว้ ยวิธี qRT-PCR assay (index patient คอื หญิง
จนี ที่ป่วยขณะบนิ กลับประเทศจนี รายที่ ๑ และ ๒ ประชมุ กับหญิงจีน รายท่ี ๓ และ ๔ สมั ผัสโรคกับรายท่ี ๑ เทา่ นน้ั )
หลังจากมกี ารเผยแพรร่ ายงานฉบบั นี้ หนว่ ยงานของประเทศเยอรมนีแจง้ ข้อมลู ใหม่วา่ ข้อมลู ใน letter to NEJM
(January 30, 2020, DOI: 10.1056/NEJMc2001468) ท่ีว่า หญงิ จีนไม่ปว่ ยขณะทปี่ ระชุมนัน้ “ไม่จรงิ ” ขอ้ มูลเพ่มิ เติม
ใหมใ่ นเรือ่ งน้ี ได้มาจาก The Robert Koch Institute (RKI), the German government’s public health agency ได้
๗๑๑
เขยี นจดหมายไปถึง NEJM ในวนั ท่ี ๓ กมุ ภาพนั ธ์และแจ้งวา่ เมอ่ื ได้โทรศัพท์ไปสัมภาษณห์ ญิงจนี รายน้ีแลว้ พบวา่ เธอปว่ ย
ขณะท่ีประชุมในเยอรมนแี ล้วและน่าจะไม่ได้สวมหน้ากากอนามัย ดงั น้นั การแพร่เช้อื จงึ เกิดได้งา่ ยดงั ที่วเิ คราะห์ไว้แลว้
รายล่าสดุ มรี ายงานผตู้ ิดเช้อื จาก “คนสู่คน” ในสหรัฐอเมริกา ผูต้ ิดเชื้อรายน้เี ป็นสามีของผู้ป่วยหญงิ รายแรกท่ีตดิ
เช้อื มาแล้วหลงั จากกลบั มาจากเมอื งอู่ฮั่น ผูป้ ่วยหญงิ รายนอี้ ยู่ในวยั ๖๐ ปแี ละอาศยั ในเมืองชคิ าโก รายนย้ี งั รักษาตวั อยู่ใน
โรงพยาบาลแต่อาการไม่รุนแรง ทางการสหรฐั อเมริกากาลงั ติดตามรายอ่ืน ๆ ที่มาใกล้ชิดหรือสมั ผัสทงั้ สามแี ละภรรยาคนู่ ้ี
ตง้ั แต่เข้ามาในสหรัฐอเมริกา เพ่อื ตดิ ตามวา่ จะมีการแพรก่ ระจายแบบ “คนส่คู น” ในสหรัฐอเมรกิ ารอีกหรือไม?่
ประเทศไทยเพิ่งมีรายงานในวันท่ี ๓๑ มกราคมทีย่ อมรับวา่ คนขบั รถแท็กซี่ ๑ รายท่ีเฝ้าระวังอยู่ซ่งึ เป็นผู้ขบั รถรบั
นกั ท่องเทย่ี วชาวจีนและเริ่มป่วย ไดย้ นื ยันการตรวจพบเชอ้ื 2019-nCoV ดว้ ย นับเปน็ รายแรกของประเทศไทยท่ีตดิ จาก
“คนสคู่ น” นอกพน้ื ทเ่ี สี่ยง (คือ ติดเชอื้ ในเมืองไทยนั่นเอง)
ข้อมูลการแพร่กระจายจาก “คนสู่คน” จึงยงั มีจากดั และมีผตู้ ิดเช้อื จานวนน้อยและเจบ็ ป่วยไมร่ นุ แรง แตว่ งการ
แพทย์ไทยมิไดป้ ระมาทและทาการปอ้ งกันการแพร่กระจายแบบ “คนสู่คน” อยา่ งเต็มทตี่ ามมาตรฐานสากล ปัญหาของ
เชื้อไวรัสตวั น้ีอยูท่ ีว่ า่ ยังมีสัตว์ปีกรวมทงั้ สตั ว์ปกี ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น คา้ งคาว ทีเ่ ป็นพาหะคอยแพร่เช้ืออยู่แล้วในพืน้ ท่ีท่ี
เกิดการระบาดหรือไม่? การมรี ายใหมเ่ กิดขึ้นจงึ ต้องตรวจสอบขอ้ มลู ให้ชัดเจนว่า ตดิ เชอื้ มาจากผปู้ ่วยทีต่ นเองดแู ลใกลช้ ดิ
หรอื ติดเชอ้ื มาจากมลพษิ ในอากาศรอบตัวทม่ี ีเชื้อปนเปอ้ื นจากสัตว์ปกี ท่นี าเช้ือโรค ส่วนข้อมลู การแพรเ่ ชอ้ื จาก“คนสู่คน”
ในประเทศเยอรมนซี ง่ึ เป็นขอ้ มลู ใหม่ ทาใหเ้ ราคิดใหมว่ ่า การแพร่จาก “คนสคู่ น” ง่ายกวา่ ทเี่ คยคดิ ไว้และจะคลา้ ยกบั การ
แพรเ่ ช้ือไวรสั ไข้หวัดใหญ่ แต่กม็ ขี ้อมลู ล่าสดุ กลบั มาแจ้งวา่ หญงิ จีนรายน้นั ปว่ ยขณะที่มาประชมุ ในบรษิ ัทในเยอรมนี ๒ วนั
และกินยาพาราเซตามอลอยู่แลว้ (และไม่สวมหน้ากากอนามัยขณะประชุมด้วย?) เช้อื ไวรัสไข้หวัดใหญ่ท่ัวไปจะแพรจ่ าก
“คนสู่คน” เปน็ หลกั โดยใชล้ ะอองฝอย (aerosol มากกวา่ droplet) เพราะเปน็ เชื้อทอ่ี ยู่ในคนและคนเปน็ พาหะ ยกเว้นเชือ้
ไวรสั ไขห้ วัดนกท่ีมเี ชื้ออยูใ่ นสัตว์ปกี และสตั ว์ปกี กลายเปน็ พาหะนาเชอื้ โรคดว้ ย การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสไขห้ วัดนกจึง
จะคลา้ ยกับเช้ือไวรสั โคโรนา่ สายพันธ์ใุ หม่ที่มรี ังโรคอยู่ในสตั ว์ปกี และเปน็ กลายเปน็ โรคท่เี รยี กว่า zoonosis ซ่ึงจะมีวธิ กี าร
แพร่กระจายเช้ือทัง้ จาก “สัตวป์ ีกหรือสัตว์ปีกเลีย้ งลกู ด้วยนมสู่คน” และจาก “คนสู่คน”
การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื 2019-nCoV ในประเทศไทย จะรุนแรงไหม?
ประเทศไทยมีความเส่ียงท่ีจะมกี ารระบาดของโรคตดิ เชื้อ 2019-nCoV ข้อมลู ของการระบาดในประเทศไทยจน
ขณะนร้ี ะบุชดั เจนวา่ ผูป้ ว่ ยทกุ รายทงั้ คนไทยและชาวจีนทุกรายมปี ระวตั ิการเดินทางกลับมาจากประเทศจนี มีเพียงคนขบั
แทก๊ ซ่ี ๑ รายทตี่ ดิ จากนักทอ่ งเที่ยวชาวจนี เป็นการระบาดจาก “คนสู่คน” ในประเทศไทย ดงั นัน้ หากการควบคุมการ
ระบาดของโรคน้ีในประเทศจีนได้ผลดี ประเทศไทยน่าจะมคี วามเสีย่ งตา่ มากที่จะมโี รคน้ีมาระบาดไปท่วั ประเทศ แม้วา่ จะ
มคี นจนี จานวนมากมาเท่ียวประเทศไทย อัตราตายจากการเจ็บป่วยของโรคนีย้ งั อยู่ในเกณฑ์ตา่ ระดบั รอ้ ยละ ๒.๑๗ ทง้ั นี้
ยังไมร่ วมถึงการคน้ คว้าหายาที่อยรู่ ะหว่างการศึกษาและมีแนวโนม้ ว่า จะใช้ได้ผลบา้ งในการรักษาผปู้ ว่ ยปอดอักเสบรุนแรง
หากมียาต้านไวรสั โดยเฉพาะ อาจจะลดอัตราตายลงได้อกี มาตรการการป้องกนั การแพร่เชื้อของผ้ตู อ้ งสงสยั วา่ ตดิ เชื้อและ
ผูป้ ่วยในโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสขุ อยู่ในระดบั สูงสุดตามมาตรฐานโลก การเฝา้ ระวังและค้นหารายปว่ ยของกรม
ควบคุมโรคตามด่านต่างและทีส่ นามบินอยู่ในระดบั มาตรฐาน มหี อ้ งปฏบิ ัตกิ ารหลายแห่งท่สี ามารถชันสตู รเช้ือไวรัสหลาย
ชนดิ ท่ีกอ่ โรคในทางเดนิ หายใจรวมทัง้ เชอื้ ไวรัสไขห้ วัดใหญ่และเชอื้ ไวรัส 2019-nCoV สว่ นความดรุ า้ ยของตวั เชอื้ โรคเองก็
๗๑๒
ยงั ไมม่ ีข้อมลู เปรียบเทียบว่าเทา่ เทยี มกบั เชอ้ื ไวรัสไขห้ วดั ใหญ่ ๒๐๐๙ ประชาชนใหค้ วามรว่ มมอื ในการสวมหนา้ กากอนามยั
และหลีกเล่ยี งการเดินทางไปยังพ้ืนท่ีท่ีมีการระบาดของโรค ดังนน้ั บนพน้ื ฐานของข้อมลู ณ วันนี้ จึงคาดวา่ การระบาดของ
โรคติดเชอ้ื ไวรสั 2019-nCoV ในประเทศไทยอาจจะมีได้บ้างในระดับท่ีไมร่ นุ แรง หากมีการระบาดเกิดขน้ึ จานวนผู้ป่วยจะ
ทะยอยเกิดข้ึนชา้ ๆ ทาให้มโี รงพยาบาลและบคุ ลากรทางการแพทย์รบั มือได้ทนั กบั ความรวดเรว็ ของการระบาด จึงคาดว่า
มาตรการการควบคุมการระบาดของกระทรวงสาธารณสขุ และวงการแพทย์ “เอาอยแู่ น่” กับการระบาดของโรคตดิ เชื้อ
2019-nCoV ในประเทศไทยภายใน ๖ เดอื นข้างหน้า ถงึ แม้ว่า การติดต่อจาก “คนสู่คน” อาจจะเป็นไปได้ง่ายขึ้นจาก
ขอ้ มลู ใหม่ในประเทศเยอรมนี หากเปน็ เชน่ น้นั จริง ลกั ษณะของการระบาดของโรคตดิ ช้อื 2019-nCoV อาจจะมาคลา้ ยกับ
โรคไขห้ วัดใหญ่ ๒๐๐๙ ได้มากข้นึ ส่วนหลังการระบาดครง้ั นีแ้ ลว้ โรคจะหายไปเลยแบบโรคติดเชื้อ SARS-CoV ก็เป็นเรอื่ ง
ทจี่ ะต้องตดิ ตามตอ่ ไป
ข้อมูลท่ีอยากใหแ้ พทยแ์ จง้ ให้ประชาชน
สรุปได้วา่ เม่ือตรวจสอบข้อมูลตา่ ง ๆ และระบบการตรวจคน้ หาผู้ติดเชอ้ื และมาตรการการควบคุมการระบาดใน
ประเทศของรัฐบาลแลว้ แพทยสภา แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ฯ และสมาคมโรคติดเชือ้ แห่งประเทศไทยขอให้
ประชาชนมีความเช่อื ม่นั วา่ กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคติดเชื้อตา่ ง ๆ รวมทั้งแพทย
สภา แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ฯ สมาคมโรคตดิ เช้ือแหง่ ประเทศไทย ได้มาร่วมกันเปน็ อนั หนึง่ อันเดยี วกันในช่วยกนั
ดแู ลในเรื่องโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่าอย่างใกลช้ ดิ เพ่ือควบคุมโรคนี้มิใหม้ ีการระบาดในประเทศไทยให้ได้ ระบบการเฝา้
ระวังทส่ี นามบินและทา่ เรือรวมท้งั ดา่ นตา่ ง ๆ ที่มีคนจีนเขา้ มา ต้องมรี ะบบตรวจค้นหารายปว่ ยอยา่ งที่กระทรวงสาธารณสขุ
ได้วางระบบการตรวจค้นทีส่ นามบินและวางระบบการส่งตอ่ และดูแลผปู้ ่วยท่ีต้องสงสัยไว้แลว้ ตามจุดตา่ ง ๆ ในประเทศ มี
แนวทางการประสานงานทชี่ ัดเจนและผรู้ ับผดิ ชอบได้เฝ้าติดตามสถาณการณ์ของโรคทง้ั ในตา่ งประเทศและในประเทศอยู่
แล้ว
ฝา่ ยสตั วแพทยต์ ้องเรม่ิ สารวจพาหะท่นี าเช้ือโรค 2019-nCoV เช่น คา้ งคาว โดยเฉพาะในภาคเหนือหรือเขตอพยพ
ของสตั วป์ กี จากประเทศจนี ที่บนิ มาทป่ี ระเทศไทยว่า ตรวจพบเชื้อไวรสั ชนิดนใ้ี นมลู สตั ว์และส่ิงคัดหลั่งจากช่องปากหรือไม่?
และทาการเฝา้ ระวงั ตรวจหาเชอ้ื เป็นระยะ ๆ การนาสตั วท์ ีม่ ีชีวติ ข้ามประเทศเปน็ สิง่ ต้องห้ามอย่แู ลว้ แต่ต้องเพิม่ ระบบ
ตรวจตราใหเ้ ข้มขน้ เพราะยงั มีผูล้ ักลอบนาเขา้ มาอยู่ ขณะน้ีคาดวา่ สตั ว์ปกี เหลา่ น้ใี นประเทศไทยยังไม่เป็นพาพะของเชือ้
ไวรสั น้ี การสดู อากาศในประเทศไทยจงึ ยงั มีความปลอดภยั จากโรคตดิ เชือ้ ชนดิ น้ี ส่วนการติดตอ่ จาก “คนส่คู น” เป็นไป
ไดม้ ากขน้ึ หากผ้ใู ดเจ็บป่วยเปน็ ไขแ้ ละแสดงอาการของระบบทางเดินหายใจ ขอให้สวมหน้ากากอนามัยท้ังผู้ปว่ ยและ
ญาติทเี่ ข้ามาดูแลอย่างใกล้ชดิ ไมไ่ อ-จามใสห่ น้าผู้อน่ื จะลดการแพร่เชือ้ แบบ “คนสคู่ น” ได้มาก และแนะนาใหผ้ ู้ปว่ ยไป
ตรวจหาเช้ือก่อโรคว่า เป็นเช้ือชนดิ ใดในโรงพยาบาลตา่ ง ๆ ของรฐั
แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ฯ ได้สง่ กาลังใจและสนับสนุนแพทย์จีนและวงการแพทย์ของประเทศจีนท่ีไดแ้ สดง
ความจรงิ ใจในการควบคุมโรคระบาดของเชือ้ 2019-nCoV ผ่านทาง Chinese Medical Association ไปหลายวันแลว้
ครงั้ นี้ก็ขอสง่ กาลังใจให้แพทย์ไทยในกระทรวงสาธารณสุข และขอยืนยันความเหมาะสมของมาตรการและแนวทางท่ีใชก้ าร
ควบคมุ โรคทีร่ ฐั บาล กระทรวงสาธารณสขุ กรมควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทเ่ี ปน็ องคก์ รหลกั ได้ประกาศและ
รบี เขา้ มาทางานอยา่ งรวดเรว็ และเสียสละ เพื่อควบคุมการระบาดของโรคน้ีอยา่ งทันกาล สรา้ งความอบอุ่นใจใหแ้ ก่
ประชาชนชาวไทยในยามท่เี กิดความตระหนกแตกตน่ื และความกลวั ในโรคร้ายแรงท่ีอาจจะระบาดในประเทศไทย ทกุ
๗๑๓
องค์กรในวชิ าชีพทางการแพทยไ์ ด้ผนกึ กาลงั ความรู้ ความชานาญ และประสบการณ์ และพร้อมมาช่วยกันควบคมุ โรคน้ี
ตามความถนดั และโอกาสท่ีแตล่ ะท่านมีอยู่แลว้
จงึ ขอให้แพทย์ทุกท่านชว่ ยกนั ให้ความม่ันใจแก่ประชาชนว่า ประเทศไทย “เอาอยแู่ น่” อย่างแน่นอน ในเรื่องการ
ควบคมุ การระบาดของโรคตดิ เช้อื โคโรนา่ สายพนั ธ์ใุ หม่ภายในประเทศอย่างไม่ต้องสงสัย
๗๑๔
หน้ากากอนามยั คือวัคซนี ป้องกันโควิด-๑๙ ทีด่ ที ส่ี ุด
ศาสตราจารยน์ ายแพทยอ์ มร ลลี ารศั มี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ
๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
ตามทีม่ ีข่าววา่ ไทยจะมวี ัคซนี ปอ้ งกนั โควิด-๑๙ ใช้ในปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ทาให้หลายคนวติ กกังวล
ว่า ไทยจะไม่รอดพ้นจากการระบาดโควิด-๑๙ ระลอกสองในช่วงน้ีก่อนถึงเวลาปลายปีหน้า ผมขอเรียน
ข้อเท็จจริงว่า ตอนนี้ คนไทยได้ใช้วัคซีนป้องกันโควิด-๑๙ ที่มีประสิทธิภาพดีมากและปลอดภัยจากฤทธิ์
ข้างเคียงทัง้ หลายอยู่แล้ว น่นั คือ การสวมหน้ากากอนามยั ทุกครงั้ เมอื่ เข้าไปที่ชุมนุมชนหรอื ในทีม่ คี นแออัด
และอากาศไมถ่ า่ ยเท ทั้งนี้เพราะการสวมหน้ากากอนามัยคือดา่ นสกดั กน้ั เชื้อไวรสั โควดิ -๑๙ มิให้เขา้ รูจมูก
และปากของเรา ท่านอย่าสวมหน้ากากอนามัยต่ากว่ารูจมูกนะครับ หากสวมกระชับก็ป้องกันโรคได้
เด็ดขาด หากเกิดพลาดพล้ังรับเช้ือเข้ารจู มูกบ้าง จานวนเช้อื จะนอ้ ยมาก เช้ือจานวนน้อยนิดน้จี ะไปก่อโรค
แต่จะไม่ปรากฎอาการใด ๆ หรือมีเล็กน้อยเท่าน้ัน ท่านจะไม่ป่วยรุนแรง ไม่ถึงตายแน่นอน แต่กลับจะมี
ภมู ิคุ้มกนั เกดิ ข้นึ ได้ ทาใหต้ ัวเรามภี มู คิ มุ้ กันเกดิ ข้ึนเองโดยทย่ี ังไม่ตอ้ งไปฉดี วคั ซนี หากพลาดพลงั้ ไปรับเช้ือ
ในขณะสวมหน้ากากอนามัยในทอี่ ่ืน ๆ อีก ภูมิคุ้มกนั ของเราจะถูกกระตนุ้ ให้เกิดสูงข้ึนไปอีกและเกดิ ข้ึนเอง
ตามธรรมชาติ แตกต่างจากการไม่สวมหน้ากากอนามัยซงึ่ เมือ่ รับเชื้อ จะรับเต็มจานวนเข้าไปในปอดและ
เสี่ยงต่อการป่วยหนัก เพราะรา่ งกายสร้างภูมิคมุ้ กนั ไม่ทัน เช้ือไวรสั จานวนมากก็เข้าไปทาลายเซลล์จานวน
มากของเราด้วย และการต่อสู้เช้ือไวรัสจานวนมากท่ีร่างกายรับเข้ามาในทางเดนิ หายใจอย่างทันทีทันควัน
นั้น ร่างกายจะปล่อย cytokine storm ได้ cytokine storm คือสารท่ีเซลล์ภูมิคุ้มกันปล่อยออกมาต่อสู้
เชื้อโรคจานวนมาก แตป่ ลอ่ ยออกมามากเกนิ ไปจนทาลายเซลลต์ นเองดว้ ย ทง้ั สองกลไกนี้ทาให้เนอื้ ปอดถูก
ทาลายมากและพิการสูญเสียหน้าทีแ่ ลกเปลยี่ นออกซเิ จนได้ ดังนน้ั คนไทยตอ้ งสวมหนา้ กากอนามยั เม่อื เข้า
ไปในชุมชนที่เราไม่รู้จัก เพราะหากพลาดพล้ังเกิดรับเช้ือก็จะรับจานวนนอ้ ยมากและไม่ป่วยรุนแรง แถมยัง
เกิดภูมิต้านทานโรคได้อีก ดังนั้น หน้ากากอนามัยคือวัคซีนป้องกันโควิด-๑๙ ท่ีดีท่ีสุด เพราะราคา
หน้ากากอนามัยถูกมากกว่าวัคซีนท่ีคาดว่าตกประมาณ ๕๐๐ ถึง ๑,๐๐๐ บาท หน้ากากอนามัยของไทยมี
ทว่ั ไปแล้ว หนา้ กากผา้ ใช้ได้เลย ไม่ตอ้ งฉีดกเ็ กิดภมู ิต้านทานหรือไมป่ ่วยเลยก็ได้ และไมเ่ กิดฤทธขิ์ ้างเคยี งจาก
การฉีดวคั ซนี เชน่ ปวด บวม แดง รอ้ นตรงทีฉ่ ีดวคั ซนี หรอื มีไข้ เปน็ ต้น
ย่งิ สวมหน้ากากอนามัยและรักษาระยะหา่ งทางสงั คมแล้ว ขอยนื ยันวา่ ท่านกาลังใช้วัคซีนป้องกัน
โรคโควดิ -๑๙ ที่ดีท่ีสุดในโลก ไม่ต้องคอยวคั ซีนท่ีต้องฉดี ในปีหน้าหรอกครับ รีบใช้วัคซนี ท่ดี ที ่ีสดุ ตวั นก้ี อ่ น
ในวันน้ีเลยตามข้อบ่งใช้นะครับ และเลิกวิตกกังวลว่า จะไม่มีวัคซีนได้ใช้หรือจะมีการระบาดระลอกสอง
นายกรัฐมนตรีกไ็ ม่ตอ้ งแย่งซ้อื วัคซีนให้เจ็บคอหรอื เพลียใจเปลา่ ๆ ขายแพงก็ไมต่ ้องซ้ือ รอคนไทยผลติ เอง
ยงั ทันใช้เลยครบั
๗๑๕
เรอ่ื งน่ารู้สาหรับประชาชนเกี่ยวกับโรคติดเชอื้ COVID-19 (โรคโควิด-๑๙)
ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณนายแพทย์อมร ลลี ารศั มี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ
รองอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยสยาม
ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ แพทยห์ ญิงสมศรี เผา่ สวสั ดิ์
นายกแพทยสภา
๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓
เช้อื ไวรัสก่อโรคโควิด-๑๙ มีชอื่ ทางการว่าอะไร?
เชือ้ กอ่ โรคโควิด-๑๙ เป็นเชอื้ ไวรัสโคโรนา เมอ่ื พบเช้ือครั้งแรกในผปู้ ่วยในเดอื นธนั วาคม ๒๕๖๒ ไดต้ ง้ั ชื่อ
วา่ 2019-nCoV ปัจจุบนั มีชอื่ เป็นทางการวา่ SARS-CoV-2 โรคตดิ เช้อื ชนดิ นเี้ รยี กว่า COVID-19 ซงึ่ เป็น
คาย่อดังนี้ CO แทน corona, VI แทน virus, D แทน disease และ 19 แทน 2019 องค์การอนามัยโลก
ตัง้ ชอ่ื แบบน้ีเพือ่ มใิ หเ้ กิด “รอยมลทิน” กบั ประเทศ พนื้ ที่ ผู้ป่วย ประชาชน และสัตว์ ท่ีเริ่มมีรายงาน
เก่ียวกับจดุ กาเนิดและการระบาดในระยะแรกของโรคน้ี และปอ้ งกันการกล่าวหาว่า เป็นตน้ ตอของการ
ระบาดใหญ่ท่วั โลก การระบาดใหญ่แบบนี้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจะเกิดขน้ึ อีกในอนาคตเมื่อมีเชอื้
ไวรัสพันธุ์ใหม่ทส่ี ามารถบกุ เข้าไปในเซลลม์ นุษย์ในระบบทางเดินหายใจหรือระบบทางเดินอาหารได้ดมี าก
จดุ ตั้งต้นของเชอ้ื อาจจะอยู่ในสตั ว์ปกี หรอื สัตว์เลย้ี งลกู ด้วยนมทบ่ี นิ ได้ เชน่ ค้างคาว ก่อนจะแพร่กระจาย
มาถึงกล่มุ คน
เชอ้ื ไวรัสโคโรนาท่กี อ่ โรคในมนุษย์มกี ่ชี นดิ มชี ื่ออะไรบ้าง และมีตัวกลางอะไรบ้างในการแพร่เช้อื ส่คู น?
เดิม เรารู้จักเชื้อไวรัสโคโรนา ๔ ชนิดที่ก่อโรคในทางเดินหายใจส่วนบนและก่อโรคไม่รุนแรง ได้แก่ เชื้อ
HKU1, NL63, OC43 และ 229E ต่อมาจนถึงปัจจุบันพบอีก ๓ ชนิดท่ีก่อโรคได้รุนแรง ทาให้ปอดอักเสบ
และถึงตายได้ ดังน้ี
เช้ือไวรัสชนิดแรกได้แก่ SARS CoV-1 ก่อโรคในระบบทางเดินหายใจ ทาให้เกิดกลุ่มอาการใน
ระบบทางเดินหายใจแบบฉับพลันและในบางรายมีอาการรุนแรงจนถึงตายได้ เรียกว่า Severe
Acute Respiratory Syndrome (SARS) เร่ิมระบาดในประเทศจีนและฮ่องกงในปี พ.ศ. ๒๕๔๖
มี อีเหน็ หรอื ชะมด(palm civet)เป็นตัวแพร่เชือ้ อตั ราตายอยู่ท่ีประมาณร้อยละ ๑๐
เชื้อไวรัสชนิดที่สองคือ MERS-CoV (ย่อจาก Middle East Respiratory Syndrome และเช้ือ
Corona Virus ย่อว่า CoV) ก่อโรคในระบบทางเดินหายใจเป็นหลัก และในระบบทางเดินอาหาร
บ้าง โรคนี้เรียกว่า “กลุ่มอาการโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS)” ตรวจพบเช้ือในคอ
หอยของอูฐและผู้ป่วยมักมีประวัติไปจูบอูฐ โรคน้ีพบคร้ังแรกในประเทศซาอุดิอารเบียและกระ
จายไปในกลุ่มประเทศในพ้ืนท่ีตะวันออกกลางในปี พ.ศ. ๒๕๕๕-๕๖ ความรุนแรงของโรคทาให้
ระบบการหายใจล้มเหลวและรา่ งกายขาดออกซิเจน มีอัตราตายประมาณรอ้ ยละ ๓๐
เชื้อไวรัสตัวท่ีสามคือ SARS-CoV-2 น่ีเอง และทาให้เกิดโรคโควิด-๑๙ ท่ีมีอัตราตายระหว่างร้อย
ละ ๐.๖ ถึง ๒
๗๑๖
เชอ้ื ไวรัส SARS-CoV-2 มตี ้นตอมาจากทีใ่ ด?
เน่ืองจากเป็นเชื้อไวรสั ตัวใหม่ การศกึ ษารหสั พันธกุ รรมและการเรียงลาดับของรหัสแตล่ ะตัวจะบอกถึงต้น
ตอของเช้อื ได้ การศึกษาดังกลา่ วพบว่าเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 มจี านวน ๒๙,๙๐๓ นิวคลีโอไทด์และพบว่า
มีนิวคลีโอไทด์ท่ีเหมือนกันถึงร้อยละ ๘๙.๑ ของเชื้อ SARS-like coronaviruses ในค้างคาวท่ีเคยพบใน
ประเทศจีน จึงจัดให้เชื้ออยู่ในจีนัส Betacoronavirus, ซับจีนัส Sarbecovirus ปัจจุบัน ทราบว่าต้นตอ
มาจากเชื้อไวรัสโคโรนาในค้างคาวและเกิดการกลายพันธุ์ ทาให้ได้เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 เพียงแต่ยังไม่มี
ข้อมูลแน่ชัดว่า การกลายพันธ์ุและการแพร่กระจายเกิดในสัตว์อ่ืนที่เป็นตัวกลาง (intermediate host)
ก่อนมาสคู่ นหรอื ไม่? มกี ารศกึ ษายีนของเช้อื ชนิดนี้ในตวั ลิน่ (หรอื ตวั นิ่ม) พบวา่ มีรหสั พันธกุ รรมเหมือนกับ
SARS-CoV-2 ถึงร้อยละ ๙๙ และตัวลิ่นเป็นสัตว์มีแกนสันหลังและเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมด้วย ดังน้ัน ตัว
ล่ินอาจจะเป็นสัตว์ตัวกลางก่อนแพร่เชื้อสู่คน หรือว่า เกิดการกลายพันธุ์ในค้างคาวแล้วกระจายมาสู่คน
เลย (ค้างคาวเปน็ สตั วเ์ ลยี้ งลกู ด้วยนม ส่วนนกเป็นสัตวป์ กี แต่ทัง้ คู่มเี ชอื้ ไวรัสโคโรนาอยูใ่ นตวั ได)้
สว่ นการกลา่ วอ้างตา่ งๆ ท่เี คยเปน็ ข่าววา่ เชื้อ SARS-CoV-2 เกดิ ขน้ึ ในหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารแลว้ มีการรว่ั ไหลหรือ
แพร่กระจายของเช้ือออกไปข้างนอก หรือเกิดจากนักวิทยาศาสตร์ตั้งใจทาใหเ้ ช้ือกลายพันธุ์ในห้องทดลอง
ล้วนเป็นข่าวปลอมท่ีไม่มีหลักฐานใด ๆ มายืนยัน และการกลายพันธ์ุแบบนี้เกิดข้ึนเองในธรรมชาติได้ง่าย
กวา่ การทาให้กลายพนั ธ์โุ ดยฝมี ือมนุษย์ด้วย
เชอ้ื ไวรัสชนิดน้ีแพร่กระจายโดยวิธใี ด?
เช้ือไวรัสที่ก่อโรคในระบบทางเดินหายใจมีวิธีการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศท้ังในระยะใกล้(แบบ
droplet ภายใน ๒ เมตร) และระยะไกลเสมอ (aerosol หรือ airborne ไปไกลกว่า ๒ เมตรถงึ ไกลกว่า ๕
เมตรได้) สัตว์ท่ีแพร่เชื้อต้องร้องและพ่นส่ิงคัดหล่ังออกมาทางปาก/ลมหายใจ หรือผู้ติดเช้ือต้องไอ ไอมี
เสมหะ การไอ จาม การตะโกนเชียร์ การร้องเพลงเสียงดัง ทาให้มีฝอยละอองขนาดใหญ่ (droplet) และ
ฝอยละอองขนาดเล็ก (เล็กกว่า ๕ ไมครอนเรียกว่า droplet nuclei หรือ aerosol) กระเด็นออกมา ผู้ท่ี
อยู่ใกล้ชิดไม่เกิน ๒ เมตรจากผู้แพร่เช้ือจะสูดดมเชื้อในอากาศผ่านทางฝอยละอองขนาดใหญ่ (droplet)
และฝอยละอองขนาดเล็กเข้าไปในทางเดนิ หายใจ โดยเฉพาะจากการไอ จามรดกันโดยตรง ถ้าอยู่หา่ งจาก
ผู้แพร่เช้ือหรือผู้ป่วยเกิน ๒ เมตรขึ้นไป จะติดเช้ือจากการสูดฝอยละอองขนาดเล็กที่ล่องลอยในอากาศซึ่ง
ลอยไปไดไ้ กลกวา่ ๕ เมตร การแพร่เชอื้ ทง้ั สองวิธีมกี ารปอ้ งกันท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพแตกตา่ งกัน
ส่วนการแพร่เชื้อโดยการสัมผัสเช้ือท่ีตกหล่นอยู่ตามภาชนะ ของใช้ส่วนรวมต่าง ๆ ลูกบิดประตู
ราวบันได หรือด้านนอกของหน้ากากอนามัย แล้วมีการจับมือกัน หรือมือจับของใช้สาธารณะที่
ปนเป้ือนเช้อื แล้วมาแคะจมกู หรือเชด็ ตาตนเองแลว้ ติดเชือ้ พบได้น้อยกวา่ มาก
การแพรก่ ระจายผ่านเขา้ นัยนต์ าก็พบได้น้อยมาก
การแพร่เช้ือทางอุจจาระอาจจะเป็นไปได้เพราะเช้ือออกมาทางอุจจาระได้ด้วย แต่การแพร่เชื้อ
จากอุจจาระอาจจะเกิดจากการสัมผัสอุจจาระ หรือมีการทาให้น้าล้างอุจจาระกระเด็นเป็นฝอย
ละอองขึ้นมาเมื่อเวลากดชักโครกโดยไม่ปิดฝาโถส้วม (การแพร่กระจายเช้ือก่อโรค SARS ในปี
๒๕๔๖ ในโรงแรมท่ีฮ่องกง เกดิ จากการแพร่ กระจายของเชื้อ SARS-CoV ในอุจจาระท่ีกลายเป็น
ฝอยละอองแพร่ไปในอากาศ
๗๑๗
ฝอยละอองขนาดเล็ก (aerosol) เกิดจากอะไร? และปอ้ งกันการตดิ เช้อื จากฝอยละอองจวิ๋ ไดอ้ ย่างไร?
ฝอยละอองขนาดเล็กกวา่ ๕ ไมครอน เกดิ จากการไอ จาม การหายใจแรงๆ การตะโกน การร้องเพลง การ
เชียร์เสียงดัง การกดชักโครกอุจจาระโดยไม่ปิดฝาโถส้วม ในโรงพยาบาลยังเกิดจากการใช้เครื่องดูด
เสมหะจากท่อช่วยหายใจหรือหลอดลมของผู้ป่วย ทาใหเ้ กดิ ฝอยละอองขนาดเลก็ กว่า ๕ ไมครอนและปลิว
ไปได้ไกลหรือลอยละล่องในอากาศได้นานหลายช่ัวโมง(เหมือนเมฆหรือหมอก) โดยเฉพาะในสถานท่ีหรือ
ห้องแออัดและอากาศไม่ถ่ายเท จะมีการสะสมของฝอยละอองขนาดเล็กท่ีปนเปื้อนเช้ือได้มาก และเพ่ิม
จานวนมากขึ้นในแต่ละชั่วโมงที่ผา่ นไปถ้าอยู่ด้วยกันนานๆ การป้องกันโดยการสวมหน้ากากอนามัยจะไม่
เพียงพอ การป้องกันที่ได้ผลถึงร้อยละ ๙๕ คือการสวมหน้ากากแบบ N95 และปิดตาหรือสวมชุด PPE
ห่อหมุ้ ท้ังตวั นอกจากนตี้ ้องป้องกันการติดฝอยละอองขนาดเล็ก โดยไม่เข้าใกล้ผคู้ นซ่ึงกันและกนั (social
distancing) หรือตนเองอยู่เหนอื ลมในฝูงชน การอยู่ห่างทางสังคมท่ีดีคือ ต้องยกเลิกการทากิจกรรมกลุ่ม
และการรวมตัวทางสังคม ยกเลิกการไปท่องเที่ยวในพ้ืนที่ท่ีมีการระบาดของโรคอย่างหนาแน่น การเปิด
หน้าต่างในหอ้ งทางานในสานักงานเป็นประจาเพื่อให้อากาศหมนุ เวียน และใสใ่ จการฆ่าเชอื้ โรคภายในบ้าน
สานักงานโดยใช้แสงแดด เคร่ืองฟอกอากาศที่ทาลายและกรองฝุ่นจ๋ิว หรือสเปรย์แอลกอฮอล์พ่นฆ่าเช้ือ
ในอากาศทุกวันก่อนเริ่มทางานและหลังเลิกงาน และทางานจากที่บ้านผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ และการ
ประชมุ ผา่ นสอื่ สารอิเล็กทรอนกิ ส์
เช้อื ไวรัสโคโรนามคี วามคงทนอยบู่ นผิวส่งิ ของตา่ ง ๆ ได้นานเท่าใด?
เชอ้ื มีชีวิตบนผิวโลหะ อลมู เี นียม ไม้ กระดาษ แก้ว หรอื ผวิ ของสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ท่อี ุณหภูมิ ๒๐ องศา
เซลเซียสได้นาน ๔-๕ วัน และบนผิวพลาสติกอาจจะมีชีวิตนานถึง ๙ วัน ถ้าอุณหภูมิลดเหลือ ๔ องศา
เซลเซยี สจะมีชีวติ ไดน้ าน ๒๘ วนั ถา้ อณุ หภมู สิ งู ถึง ๓๐ องศาเซลเซียสจะอยู่ไดน้ านไมเ่ กิน ๑ วัน
ผทู้ ่มี าจากดงระบาดของโรค COVID-19 และไม่มีอาการใด ๆ สามารถแพรเ่ ชอ้ื ได้ไหม?
การตรวจผู้ที่อพยพจานวน ๑๒๖ รายจากเมืองอู่ฮ่ันมายังประเทศเยอรมนีโดยเครื่องบิน พบว่า มี ๒ ราย
ท่ีไม่มีอาการใด ๆ (ท้ังท่ีไม่มีอาการจริง ๆ หรือไม่รู้ตัวว่ามีอาการเพราะมีอาการน้อยมาก) และให้ผลบวก
กับการตรวจหารหัสพันธุกรรมของเช้ือ SARS-CoV-2 และการเพาะเชื้อในเซลล์ Caco-2 cells ของคน
ดงั นนั้ ๒ รายน้ที ไ่ี ม่มีอาการใด ๆ ยงั มีเชือ้ ไวรสั เปน็ ๆ ในคอหอยทแี่ พร่เช้อื ได้ถา้ มกี ารไอ จาม เกดิ ขนึ้
ใครคือผ้ทู ่เี ส่ียงต่อการตดิ เชอ้ื SARS-CoV-2?
บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่สัมผัสหรืออยู่ใกลช้ ิดกับผูป้ ่วยโดยเฉพาะผู้ท่ีอยู่ในระยะท่ียังไม่ทราบว่าป่วย
เป็นโรคน้ี การเข้าไปในท่ีชุมชนแออัดที่อาจจะมีผู้ป่วยปะปนอยู่ด้วย ผู้ที่เดินทางมาจากดินแดนท่ีมีการ
ระบาดของโรค COVID-19 อย่างมากเชน่ ประเทศสหรฐั อเมริกา รัสเซีย อินเดีย พม่า ฟิลปิ ปินส์ ปากสี ถาน
อังกฤษ เป็นต้น ผู้ท่ีไม่สวมหน้ากากอนามัยเมื่อไปดูแลผู้ป่วยที่มีอาการไอ ไข้ ในบ้านตนเองหรือสานักงาน
หรอื เข้าไปในชมุ ชนหนาแนน่ โดยไมส่ วมหนา้ กากอนามัย
หากเกดิ การติดเชื้อ SARS-CoV-2 ใครคือผูท้ ี่เส่ียงต่อการเกดิ โรคทร่ี นุ แรงจนถึงตายได้?
ผทู้ ่ีมอี ายเุ กนิ ๖๐ ปขี ้ึนไป ผู้ทม่ี ีโรคประจาตวั เกี่ยวกับปอด หัวใจ เบาหวาน โรคไตพกิ ารเรื้อรัง ผทู้ ่กี ินยากด
ภูมคิ ุ้มกนั ผทู้ ปี่ ลกู เปลี่ยนถ่ายอวัยวะ ผู้ท่ีทางานหนักอดหลบั อดนอน คนอ้วน เสย่ี งตอ่ การเกิดโรคท่ีรุนแรง
๗๑๘
จนถงึ ตายได้ ส่วนเด็กเล็ก วัยรุ่น ผทู้ ่ีแข็งแรงดีมักจะปว่ ยเพยี งเล็กน้อย เชน่ หลอดลมอกั เสบ แลว้ อาการก็
ทเุ ลาหาย
ระยะฟกั ตัวของโรค COVID-19 คือกี่วนั ?
ข้อมูลจากผู้ป่วย ๑,๐๙๙ รายในโรงพยาบาล ๕๒๒ แห่งพบว่า ระยะฟักตัวของโรคโดยท่ัวไปคือภายใน
๑๔ วัน แต่มีช่วงเวลาระหว่าง ๐ ถึง ๒๔ วัน พบว่าร้อยละ ๕๐ ของผู้ป่วยทั่วไปมีระยะฟักตัว ๓ วัน
ร้อยละ ๕๐ ของผู้ป่วยหนักจะมีระยะฟักตัวเท่ากับ ๒ วันเท่าน้ัน มีเพียง ๑๔ รายจาก ๑,๐๙๙ รายหรือ
ร้อยละ ๑.๒๗ เท่าน้ันที่มีระยะฟักตัวระหว่าง ๑๕-๒๔ วัน และมีรายเดียวท่ีมีระยะฟักตัว ๒๔ วัน ดังน้ัน
ผปู้ ว่ ยร้อยละ ๙๘ ขึน้ ไปจะมรี ะยะฟักตวั ภายใน ๑๔ วัน
การจากัดสถานทใ่ี หผ้ ู้ตอ้ งสงสยั วา่ ตดิ เชื้อกกั กันตนเอง ใช้เวลากี่วัน?
โดยทั่วไป ใช้เวลา ๑๔ วันในการจากัดสถานท่ีให้ผู้ต้องสงสัย ในระยะ ๑ ถึง ๑๔ วันแรกของระยะฟักตัว
ให้อยู่ในโรงพยาบาลหรือสถานท่ีที่อยู่ในความดูแลของกระทรวงสาธารณสุขหรือแพทย์ท่ีได้รับมอบหมาย
หากผู้น้ันไม่มีอาการใดๆ (ไอหรือไข้) และผลการตรวจด้วยวิธี qRT-PCR จากส่ิงคัดหล่ังในระบบหายใจ
ให้ผลลบ ก็สามารถกลับไปอยู่ที่บ้านได้ เพื่อเพ่ิมความปลอดภัยให้แก่ชุมชน เม่ือผู้สัมผัสเชื้อกลับไปอยู่ท่ี
บ้านหลัง ๑๔ วันแล้ว ผู้น้ันควรอยู่ในบ้าน เข้าไปในท่ีชุมนุมชนให้น้อยที่สุดและเท่าที่จาเป็น ให้สวม
หน้ากากอนามัยถ้าต้องเข้าไปในที่ชุมนุมชนหรือขึ้นรถโดยสารหรือเข้าไปในห้างสรรพสินค้า หลังจาก
๒๘ วันแลว้ ยังไมม่ ไี ข้หรอื ไอ ใหถ้ อื วา่ ผู้น้นั ไม่แพร่เชือ้ และไมต่ ิดเชือ้ ไวรสั SARS-CoV-2
เชอื้ ไวรสั SARS-CoV-2 เขา้ ไปในเซลลม์ นษุ ย์และกอ่ โรคไดอ้ ย่างไร?
เชื้อไวรัสต้องเข้าไปแบ่งตัวและเจริญเติบโตในเซลล์มนุษย์ เช่น เซลล์ของเยื่อบุหลอดลม จึงจะก่อโรคได้
เช้ือใช้โปรตีน(spike protein)ที่ผิวเซลล์ของไวรัสจับกับ angiotensin converting enzyme II ที่ผิวเซลล์
มนษุ ย์เพือ่ เข้าไปเจริญเติบโตและเพ่ิมจานวนเชื้อในเซลล์มนุษย์ แล้วเซลลม์ นษุ ย์ท่ีตดิ เช้อื จะปล่อยเชอื้ ไวรัส
ออกมานอกเซลล์เพ่ือไปก่อโรคในเซลล์ข้างเคียงต่อไป การท่ีเชื้อเพิ่มจานวนมากข้ึนและเข้าไปในเซลล์
ข้างเคียงอีกหลายรอบ จะทาลายเซลล์มนุษย์ในหลอดลมและปอด ทาให้ปอดอักเสบและการหายใจ
ล้มเหลวในทส่ี ดุ หากระบบภูมคิ ุ้มกันของมนษุ ย์ไม่สามารถทาลายหรือควบคุมเชอ้ื ให้ทนั กาล
ทาไมพยาธสิ ภาพในเน้อื ปอดของผูต้ ายจากโรค COVID-19 จึงมพี ังผดื มาก?
โรค COVID-19 ก่อโรคได้รุนแรงในผู้สูงวัย (อายุเกิน ๖๐ ปีข้ึนไป) เพราะระบบภูมิคุ้มกันท่ีติดตัวมาแต่
กาเนดิ ตามธรรมชาติเส่ือมไปตามวัย และอาจจะรับเช้ือจานวนมากเขา้ ไปในทางเดินหายใจในครัง้ แรก ทา
ใหไ้ ม่สามารถยับยั้งการเพิ่มจานวนของเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในเซลลท์ ่ีหลอดลมและถุงลมในเนื้อปอดได้
ทนั กาล เซลล์ทตี่ ดิ เช้อื จานวนมากจึงตายและทดแทนดว้ ยพังผืดในเวลา ๒-๓ สปั ดาห์หลงั การเจบ็ ปว่ ย ทา
ให้การหายใจล้มเหลวและผู้ปว่ ยถึงแก่กรรมในท่สี ดุ
อตั ราการตายตอ่ รายป่วยของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนาตา่ ง ๆ สูงมากไหม?
การตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนากลมุ่ น้ี มีอัตราการตาย (case fatality rate) แตกตา่ งกันดังนี้
ผู้ป่วยโรคตดิ เช้อื SARS-CoV มีอตั ราตายประมาณรอ้ ยละ ๑๐
๗๑๙
ผปู้ ว่ ยโรคตดิ เช้อื MERS-CoV มีอตั ราตายประมาณร้อยละ ๓๐-๓๕
ผู้ป่วยโรคติดเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 มีอัตราตายเฉลี่ยระหว่างร้อยละ ๑.๐ ถึง ๒.๐ ท่ีน่าสนใจคือ
อัตราตายในประเทศจีนในระยะแรก คิดเป็นร้อยละ ๒.๗๐ (ตาย ๒,๐๐๔ รายจาก ๗๔,๑๘๕ ราย)
อัตราตายนอกประเทศจีนคิดเป็นร้อยละ ๐.๔๙ เท่าน้ัน (ตาย ๕ รายจาก ๑,๐๑๒ ราย และคนที่ตาย
ยังมีบางคนเป็นคนจีนที่ออกมาจากพื้นที่ที่เป็นดงระบาด) อัตราตายนอกประเทศจีนจึงน้อยกว่าถึง
๕.๔ เท่า ผู้ท่ีติดเช้ือนอกดงระบาด (นอกประเทศจีน) อาจจะได้รับเชื้อจานวนน้อยกว่า หรือไม่ได้มีผู้
สูงวัยที่ติดเช้ือก็ได้ อัตราตายของผู้ติดเช้ือของคนไทย ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ คิดเป็น
๓,๘๔๔ ราย ตาย ๖๐ รายหรอื ร้อยละ ๑.๕๖
ผทู้ ่ีติดเชื้อมอี าการอะไรบา้ ง?
ผู้ที่ติดเช้ือร้อยละ ๔๐ ถึง ๘๐ ไม่แสดงอาการหรือมีอาการน้อย บางรายมีอาการแบบโรคติดเช้ือใน
ทางเดินหายใจส่วนบน เช่น เจ็บคอ น้ามูกไหล แต่พบน้อย ประมาณร้อยละ ๑๕ จะมีอาการชัดเจน เช่น
ไอและไอมีเสมหะ มีไข้ บางรายโดยเฉพาะผู้สูงวัยมีไข้และหายใจเร็ว หอบ จากปอดบวม มีน้อยรายท่ีมี
อุจจาระร่วง อีกประมาณร้อยละ ๕ จะป่วยรุนแรง จะหายใจเร็ว หอบ จนถึงการหายใจล้มเหลวและช็อค
ได้ ผู้ท่ีมีอาการรุนแรงมากข้ึนในวันท่ี ๗-๑๐ ของการดาเนินโรค จะเป็นผู้ท่ีเสี่ยงสูงขึ้นต่อการเจ็บป่วย
รนุ แรง
โรค COVID-19 ต่างจากไขแ้ บบอน่ื อยา่ งไร?
โรค COVID-19 ตา่ งจากไขห้ วดั อ่ืน ๆ ตรงท่วี ่า เป็นโรคทเี่ กดิ จากเช้ือสายพันธุ์ใหม่ ที่กลายพันธ์ุมาจากเชื้อ
โคโรนาที่พบในค้างคาว การกลายพันธุ์ทาให้เช้ือก่อโรค COVID-19 แพร่กระจายได้เก่งและก่อโรครุนแรง
มากน้อยแตกต่างในผู้ท่ีมีปัจจัยเสี่ยงจนทาให้ระบบการหายใจล้มเหลวได้ ร่างกายมนุษย์ยังไม่มีภูมิคุ้มกัน
เฉพาะเชื้อชนิดน้ีมาก่อน จึงต้องใช้เวลาสร้างภูมิคุ้มกันประมาณ ๗ ถึง ๑๔ วันหลังติดเช้ือ อาการที่เด่น
เกิดขึ้นใหม่และค่อนข้างเฉพาะสาหรับโรคน้ีคือ การที่จมูกไม่รับรู้กล่ิน หรือล้ินไม่รับรู้รสชาดของอาหารที่
เพ่งิ เกดิ ข้ึน
เมือ่ มีอาการอยา่ งไรถงึ ควรไปพบแพทย์?
เม่ือมีอาการในระบบทางเดินหายใจส่วนบนท่ีรุนแรงแบบที่ไม่เคยป่วยมาก่อน เช่น ไข้สูงเกิน ๓๘.๕ องศา
เซลเซียสอยา่ งต่อเนื่อง ปวดเมือ่ ยตามตัวมาก ออ่ นเพลียมากผดิ ปกติ หรอื มีอาการในระบบทางเดนิ หายใจ
ส่วนลา่ งเพิม่ ข้ึนในเวลาตอ่ มา คอื ไอถี่ข้นึ และเร่ิมมีเสมหะ หายใจเร็วต้นื หอบเหน่อื ยงา่ ยขึ้น หายใจแรง ๆ
จะเจ็บหน้าอกจนถึงนงั่ อยู่เฉยๆ ก็หอบเหนอื่ ย ท้งั ๆ ที่เมอ่ื สองสปั ดาห์ก่อน กไ็ ม่ได้เป็นแบบนี้
การตรวจวินิจฉัยวา่ มกี ารติดเชื้อไวรสั SARS-CoV-2 ทาได้อยา่ งไรบา้ ง?
การตรวจหารหัสพันธุกรรมของเช้ือท่ีเรียกว่า qRT-PCR จากตวั อยา่ งของสิ่งคัดหล่งั ในทางเดินหายใจ ใน
รูจมูก เลือด น้าลาย น้าเหลือง และอุจจาระ ถ้าการตรวจให้ผลบวกแปลว่า ตรวจพบรหัสพันธุกรรมของ
เชื้อแต่ไม่ได้หมายความว่าเป็นเชื้อท่ีมีชีวติ ทั้งหมด วิธีนี้มีความไวสูงและใช้เปน็ วิธีมาตรฐานในการวนิ ิจฉยั
การตดิ เชื้อในขณะนี้
๗๒๐
การเพาะเชื้อโดยใช้เซลล์เล้ียงเช้ือชนิดต่าง ๆ วิธีน้ีมีข้อดีคือแสดงว่า เช้ือยังมีชีวิตและสามารถแบ่งตัวได้
หรอื แพรเ่ ช้อื ให้ผู้อืน่ ได้ แตก่ ารตรวจวธิ ีน้ีใช้เวลานานกวา่ และทาการตรวจยากกว่า เซลลท์ ใ่ี ช้เพาะเลยี้ งเช้ือ
ไวรัส SARS-CoV-2 จะเป็นเซลล์จากหลอดลม ไต หรือตับ มีชื่อว่า human airway epithelial cell,
Vero E6 (จาก kidney epithelial cells) และ Huh-7 (จากตับ) และ Caco-2 cell (จากเย่ือบุลาไส้ใหญ่
ชนิด adenocarcinoma cell)
การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM และ IgG จากเลือดต่อเช้ือชนิดน้ีด้วยวิธี ICT จะใช้ได้เมื่อผู้ป่วยเร่ิมแสดง
อาการของโรคแลว้ มาประมาณ ๓-๕ วนั แลว้ การตรวจอาจจะใหผ้ ลลบลวงได้ในผู้ติดเชอื้ ที่อยู่ในระยะฟัก
ตัวของโรคหรือผู้ท่ีไม่แสดงอาการใด ๆ แอนติบอดีที่ตรวจพบจะมีทั้งชนิดท่ีแสดงว่า เคยติดเชื้อโคโรนา
มาแล้ว หรือเป็นชนิดที่แสดงว่า เคยติดเช้ือโคโรนามาแล้วและยังเป็นแอนติบอดีท่ียับย้ังการบุกรุกของเชือ้
เขา้ เซลล์คนอกี ดว้ ย (neutralizing antibody)
ข้อดีของการตรวจหาแอนติบอดี IgG และ/หรือ IgM ในกลุ่มคนที่ไม่มีอาการใด ๆ ในระบบทางเดิน
หายใจมาก่อน เพ่ือท่ีจะแสดงว่า ผู้ท่ีติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการมีจานวนมากน้อยเพียงใดในประชากรใน
พื้นที่น้ัน หากไปตรวจในประชากรท่ัวไปที่ไม่เคยทราบว่า มีการระบาดในพ้ืนที่ การตรวจพบ IgG และ
IgM แสดงวา่ มกี ารระบาดเงียบ ๆ ในพ้ืนท่นี น้ั หรอื ในพน้ื ท่ที ีม่ ีประชากรจานวนมากสวมหนา้ กากอนามัย
ยาทใ่ี ชร้ ักษาโรค COVID-19 มแี ล้วหรือยัง?
ยงั ไม่มียามาตรฐานที่รบั รองว่าใชไ้ ดผ้ ลดีในการรักษาในขณะนี้ ยาทใ่ี ชแ้ ละปรากฎในขา่ วอยู่ในขณะนี้ถือว่า
เป็นยาทดลองใช้เท่าน้นั มที ั้งยาต้านไวรสั remdesivir, lopinavir+ritonavir, darunavir+ritonavir,
แอนตบิ อดชี นดิ monoclonal, นา้ เหลืองของผ้ปู ว่ ยท่ีหายจากโรคน้ี เป็นต้น แพทย์ไทยเช่ือว่า favipiravir
นา่ จะใช้ไดผ้ ลดดี ว้ ยเชน่ กัน
เม่อื รกั ษาหายแลว้ เปน็ ซา้ ไดอ้ กี ไหม?
การป่วยเป็นโรค COVID-19 แล้วหาย จะกลับเป็นซ้าในผู้ป่วยบางรายได้ แต่พบได้น้อยมาก สาเหตุ
อาจจะเป็นเพราะผู้ป่วยรายน้ันค่อนข้างอ่อนแอ มีการสร้างภูมิต้านทานไม่ดี หรือในอนาคต เช้ืออาจจะมีการ
กลายพนั ธเุ์ ปน็ สายพนั ธใ์ุ หม่ได้
ประสทิ ธิภาพของหนา้ กากอนามยั ในการปอ้ งกันการติดเชอื้ ทางอากาศ เปน็ อยา่ งไร?
ผู้ป่วยหรือผู้ติดเชอ้ื ที่ใส่หน้ากากอนามัย สามารถลดการแพร่กระจายของฝอยละอองขนาดใหญ่และขนาด
เล็กได้ถึงร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงต้องสวมใส่ให้กระชับติดใบหน้าเม่ือจะเข้าไปเข้าในห้องเรียน ห้องทางาน
ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ โรงแรม รถโดยสาร ในห้องปรับอากาศ (ท่ีจริงควรหลีกเล่ียงการแพร่เชื้อ
โดยไม่เข้าไปในสถานท่ีเหล่านี้) ประชาชนท่ัวไปที่สวมหน้ากากอนามัยจะป้องกันการติดเช้ือจากฝอย
ละอองขนาดใหญ่ได้ดี แต่ป้องกันการติดเช้ือจากฝอยละอองขนาดเล็กไม่เต็มที่ ผู้ที่สูงวัย มีโรคปอดหรือ
โรคประจาตัวและต้องออกไปสู่ชุมชน จึงควรพิจารณาสวมหน้ากากอนามัยและอยู่ห่างทางสังคม และอยู่
ในสถานที่อากาศถา่ ยเทได้ดเี สมอ จงึ จะป้องกันการสดู ดมฝอยละอองท่ีตดิ เช้อื ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
การสวมใสห่ น้ากากทกุ ชนิด ตอ้ งใสใ่ ห้กระชับใบหนา้ ตง้ั แต่ดงั้ จมกู ลงมาถงึ ใต้คาง และท่สี าคญั พลิกด้านที่
มีสีออกข้างนอกหน้า การใส่ไม่กระชับหรือการออกแบบหน้ากากอนามัยที่ไม่ปิดกระชับดั้งจมูก ใบหน้า
และ ใต้คาง จะลดประสิทธิภาพในการกรองเชื้อหรือฝุ่นลงไปถึงร้อยละ ๕๐ ได้ หากอยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีผู้ติด
เชื้อน้อยมากและมีการระบาดน้อย สามารถใช้หน้ากากผ้าได้ เมื่อประเทศไทยเปิดประเทศให้คนต่างชาติ
๗๒๑
เข้ามา ใหส้ มมุติไวก้ ่อนว่า ทกุ คนทเี่ ราไม่ค้นุ เคยเป็นผู้ตดิ เชื้อทั้งสิน้ การออกนอกบ้านจึงต้องสวมหน้ากาก
อนามัยตลอดเวลา
การป้องกันการตดิ เชอ้ื วิธีอ่นื ๆ มีอีกไหม?
แนะนาการอยู่ห่างจากผู้ป่วยหรือผู้ที่มีอาการไออย่างน้อย ๒ เมตร เพ่ือป้องกันการติดเช้ือจากการสูดฝอย
ละอองขนาดใหญ่ การสวมหนา้ กากอนามัยแบบท่ัวไปจะป้องกนั การตดิ เชื้อจากฝอยละอองขนาดใหญ่ได้ดี
จึงควรสวมเมื่อเข้าไปอยู่ใกล้ชิดกับผอู้ ่ืน เช่น บนรถโดยสาร การล้างมือหลังการจับหรอื ใช้ของสาธารณะ
ร่วมกัน แนะนาใช้แอลกอฮอล์เจลหรือล้างด้วยสบู่นาน ๒๐ วินาที การไม่ใช้มือขยี้ตาหรือแคะจมูกก่อนที่
จะไปล้างมือ การอยู่ต้นลม การอยู่ในที่โล่งอากาศถ่ายเทได้ดี การหลีกเล่ียงเข้าไปในที่ชุมนุม สถานท่ี
แออดั การกินของร้อน ใช้ชอ้ นกลางสว่ นตวั ยงั เป็นวธิ พี ้นื ฐานสาหรับการป้องกันโรคตดิ เชื้ออ่นื ๆ ดว้ ย
น้ายาทาลายเชอื้ อะไรบ้างที่ทาลายเช้ือไวรัสโคโรนา ได้ด?ี
สารละลายแอลกอฮอล์ (๗๕–๙๕%), แอลกอฮอล์ท่ัวไปชนิด 2-propanol (๗๐-๑๐๐%), น้ายากลูตาราล
ดีไฮด์ (๐.๕–๒.๕%), ฟอร์มาลดีไฮด์ (๐.๗–๑%), povidone iodine (๐.๒๓–๗.๕%) และโซเดียม ไฮโป
คลอไรด์ (๐.๒๑% ข้ึนไป) ทาลายเชื้อโคโรนาได้เร็วใน ๑ นาที ส่วนสารไฮโดรเจน เปอร์อ๊อกไซด์(๐.๕%)
ใช้เวลาอย่างน้อย ๑ นาที ในการฆ่าเช้ือ สาร benzalkonium chloride ได้ผลไม่แน่นอนและ
chlorhexidine digluconate (๐.๐๒%) ใช้ไม่ไดผ้ ล
การอยหู่ า่ งทางสังคม Social Distancing จรงิ ๆ แลว้ ทาอย่างไร?
Social Distancing หมายถึงการไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ท่ีติดเชื้อหรือกลุ่มคนที่ไม่รู้จัก เพราะต้องสมมุติว่า
คนอื่นอาจจะติดเชอ้ื และเป็นการหลกี เลี่ยงการตดิ เช้ือทางอากาศแบบ airborne
ในทางปฏิบัติ เราจะหมายถึงการอยู่กับคนที่เรารู้จักกันมานานว่าไม่ติดเช้ือ เช่น สมาชิกในครอบครัว
ซ่ึงไม่มีผู้ใดมีปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเช้ือ นั่นคือ เราอยู่ในบ้านด้วยกัน แต่เราไม่จัดปาร์ต้ีท่ีบ้านและไปเชื้อเชิญ
ผู้อืน่ หรอื เพือ่ นทย่ี ังไม่ได้ระมัดระวังตวั เข้ามาพบปะสังสรรค์กัน เราไมเ่ ข้าไปในสถานทเี่ ปน็ ทชี่ มุ นุมของคนที่เรา
ไม่รู้จักกันจานวนมากกว่า ๑๐ คนข้ึนไป เช่น ผับ ห้องประชุม สนามมวย โดยเฉพาะในสถานที่หรือห้องที่
อากาศไมถ่ า่ ยเท และอากาศในห้องมคี วามเยน็ และในสถานทที่ ี่มีการตะโกนเชยี ร์ รอ้ งเพลงดัง ๆ การไอ จาม
ตะโกนจะทาให้ฝอยละอองทั้งใหญ่และเล็กฟุ้งกระจายไปท่ัวและลอยอยู่ในอากาศนานหลายชว่ั โมง แมแ้ ต่การ
เดินทางโดยรถโดยสารสาธารณะ รถไฟ ไปที่ทางาน ก็ถือว่า ไม่ได้ทา social distancing เพราะเข้าไปอยู่ในรถ
เป็นเวลานานเป็นชั่วโมง เป็นต้น ปกติแล้ว social distancing จะทาร่วมกับ community quarantine คือ
กักกันตนเองให้อยใู่ นพืน้ ทห่ี รือในบา้ นดว้ ยและหลีกเลีย่ งการเข้าใกลผ้ ู้อื่นท่เี ราไม่ค้นุ เคย
ตัวอยา่ งของวธิ เี วน้ ระยะห่างจากสังคม (Social Distancing) ตา้ นโควดิ -19
ยืน น่ัง หา่ งกันอย่างน้อย ๒ เมตร
งดการรวมตวั กันในสถานศึกษา ทท่ี างาน ร้านอาหาร งานพธิ ีสมรส สถานท่ปี ระกอบพธิ กี รรมทาง
ศาสนาทกุ ศาสนา หรอื สถานบันเทงิ ต่างๆ รวมทั้งสถานออกกาลงั กายในห้องที่อากาศไมถ่ า่ ยเท
หลีกเลย่ี งการรับประทานอาหารร่วมกับผูค้ นทไี่ ม่รจู้ กั ในรา้ นอาหาร โดยแยกกนิ คนเดียว
ทางานจากที่บ้านทางออนไลน์ และติดต่อทางโทรศัพท์เป็นหลัก หรือปรับเวลาการมาทางานให้
ยืดหยุ่นเพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดการทมี่ ีคนจานวนมากอยใู่ กลช้ ดิ กนั
๗๒๒
เรยี นออนไลนแ์ ทนการเรยี นในชัน้ เรียน
งดการจดั ประชมุ ท่ีมีการรวมคนเป็นจานวนมากกวา่ ๑๐ คนข้นึ ไป
ในสถานท่ที มี่ ีคิวยาว เช่น ในหา้ งสรรพสินค้า ใหม้ กี ารยืนหา่ งหรอื มีระบบจดั คิวแบบอเิ ล็กทรอนิกส์
หรือในหอ้ งสมุ ดใหน้ าหนังสือไปอ่านทบ่ี ้านหรืออา่ นเป็น e-book
ลดความหนาแนน่ ในลฟิ ท์ด้วยการจากดั คนเขา้ เนน้ การเดินขึ้นลงบันใดแทน
หากตอ้ งเดนิ ทางไปทางาน จะทาอย่างไร?
ขบั รถไปเอง
หากต้องน่ังรถสาธารณะ ให้ใช้รถแท๊กซ่ี รถสามล้อ หรือรถสองแถว โดยรถทุกชนิดต้องเปิด
หนา้ ตา่ งทกุ บาน และทกุ คนตอ้ งสวมหน้ากากอนามยั โดยเฉพาะน่ังรถไฟฟ้า
สถานที่ทางานของตน ต้องมีการตรวจคัดกรองผู้ท่ีมีไข้และให้สวมหน้ากากอนามัยหากต้ังอยู่ใน
พน้ื ที่ทีเ่ สี่ยง
เดินข้นึ บันไดหากขึ้นได้ ใช้ลิฟต์ตอ้ งไมใ่ ชน้ ว้ิ มอื แตะปุม่ และล้างมือเม่อื อกจากลฟิ ต์เม่ือไปจับราว
หรอื ปมุ่ ตา่ ง ๆ
น่ังทางานในห้องของตนเอง โดยแยกกับผู้อื่น หากเป็นห้องขนาดใหญ่ท่ีมีคนน่ังทางานเกิน
๑๐ คน และอยู่ใกล้ชิดกัน ต้องเว้นระยะห่าง ๒ เมตร ต้องมีการระบายอากาศอย่างดีหรือ
เปิดหน้าต่างให้ลมเขา้ มาถ่ายเทเขา้ มาในหอ้ ง
นาของทีจ่ ะใช้ มาใช้ในหอ้ งและใช้สว่ นตัว ทัง้ แกว้ นา้ ภาชนะต่าง ๆ
กินอาหารโดยแยกห้องหรอื กนิ ในหอ้ งตนเอง จัดนาอาหารกลางวันไปเอง
ประชุมโดยนั่งห่างกัน ๑-๒ เมตร ในห้องท่ีเปิดให้อากาศถ่ายเทสู่ภายนอกอาคาร ทุกคนสวม
หน้ากากอนามยั
คยุ กนั หรือสงั่ งานทางโทรศัพท์ หรือ ตดิ ต่องานผ่านทางอินเทอรเ์ น็ต
ล้างมือทุกคร้ังท่ีจับสิ่งของสาธารณะท่ีมีคนอื่นร่วมจับหรือสัมผัสด้วย หรือล้างมือบ่อย ๆ
ใชแ้ อลกอฮอล์เจลเชด็ มอื แทนการลา้ งมอื ก็ได้
เวลากลับบ้าน หากไปเท่ียวมา ก่อนจะเข้าบ้านตอ้ งลา้ งมอื เช็ดแอลกอฮอล์
วคั ซีนปอ้ งกนั โรคโควิด-๑๙ มกี ีช่ นิด?
หลักการของการผลิตวัคซีน คือ ฉดี เชื้อทั้งตัวหรือโปรตีนทีส่ าคญั จากผวิ เชอ้ื SARS-CoV-2 เข้าสู่ร่างกาย
เพือ่ กระต้นุ ให้เมด็ เลือดขาวสร้างภมู คิ ุ้มกนั ทงั้ ชนิดผลิตแอนติบอดีและชนดิ ท่ีทาให้เมด็ เลือดขาวชนิด ที-เซลล์
สรา้ งภูมิคุม้ กันใหอ้ ยนู่ าน ๆ นอกจากนี้ วัคซีนตอ้ งมีความปลอดภยั สูงทั้งในระยะสั้นและยาว ไมท่ าใหเ้ กิดการ
แพว้ ัคซีนแบบฉับพลนั หรือเกิดระบบประสาทหรือปลายประสาทอักเสบดว้ ย
วคั ซนี ป้องกนั โรคโควิด-๑๙ แบง่ ได้ ๔ แบบตามองคก์ ารอนามัยโลก
แบบที่ ๑ คอื ใชต้ ัวไวรัสท้งั ตัวท่ีทาให้ตายแลว้ หรอื ทาให้อ่อนแอมาก ๆ เมื่อฉีดเชื้อเข้าไปในคน จะไมส่ ามารถ
กอ่ โรคหรอื มโี อกาสน้อยมากทจ่ี ะก่อโรคตดิ เชื้อ แต่จะกระตนุ้ ภมู คิ มุ้ กนั ไดค้ รบถว้ น
๗๒๓
แบบที่ ๒ คือ สกดั นาโปรตนี ทีผ่ วิ เช้อื (protein-based vaccines) ซ่งึ เป็นสว่ นสาคญั ทีท่ าใหเ้ ชือ้ ก่อโรคได้ มา
ฉดี กระตนุ้ ร่างกายให้สรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ต่อโปรตนี ท่ผี ิวเชอ้ื วัคซีนแบบน้ีไมส่ ามารถก่อโรคติดเช้อื ไดแ้ ต่ทาให้
รา่ งกายสรา้ งภูมคิ ุ้มกันได้
แบบท่ี ๓ คือใช้เช้อื ไวรสั อีกชนดิ หน่ึง เชน่ adenovirus ทไี่ ม่กอ่ โรคในคน มาเป็นพาหะนารหสั พันธกุ รรมท่ี
กากับการสรา้ งโปรตีนของเช้อื ไวรัสโคโรนา (viral vector vaccines) แลว้ ฉดี เชอื้ adenovirus เข้าไปในคนซึง่
เช้ือไวรสั ตวั นี้จะผลติ โปรตนี ของเช้อื ไวรสั โคโรนาออกมา กระตุ้นเมด็ เลือดขาวให้สรา้ งแอนติบอดแี ละภูมคิ มุ้ กัน
ต่อโปรตีนทผี่ ิวของเชือ้ ไวรัสโคโรนา
แบบที่ ๔ คือ ใชร้ หสั พันธุกรรมบางส่วนของเชื้อไวรสั โคโรนา (RNA หรอื DNA vaccines) ทีก่ ากับการสง่ั ให้
ผลิตโปรตนี ที่ผิวเช้อื แล้วนารหสั พนั ธกุ รรมท่อนน้(ี วคั ซีนปจั จบุ ันใช้ mRNA)มาฉดี เขา้ ไปในกล้ามเนอื้ คน ให้
mRNA มาบงั คบั เซลลค์ นในร่างกายให้ผลติ โปรตีนท่ีผิวเช้ือไวรัสโคโรนาออกมา เพอื่ กระตุ้นภมู คิ ้มุ กนั ท้ังการ
สร้างแอนตบิ อดแี ละเม็ดเลือดขาวชนิด ที เซลล์ ใหจ้ ดจาและสร้างภมู ิคุ้มกนั ต่อไปอีก
ประสทิ ธผิ ลของวัคซีนป้องกันโรคโควิด-๑๙ เปน็ อยา่ งไร?
วัคซนี ป้องกันโรคโควิด-๑๙ ทีด่ มี ี ๔ ระดับ ระดับ ๑ คือระดับท่ดี ที ี่สุด
๑. ปอ้ งกนั การติดเชื้อไดส้ มบรู ณ์ กลา่ วคือ ทาให้เช้ือไมส่ ามารถเขา้ มาเพิม่ จานวนในรา่ งกายไดเ้ ลย
ภูมคิ ้มุ กนั เฉพาะท่ีตามผวิ เยื่อบุของระบบทางเดนิ หายใจ ออกมาต่อต้านเชือ้ ไดด้ ีจนเชอื้ ไม่สามารถมุด
เข้าไปในเซลลม์ นุษย์ได้ และไมส่ ามารถกอ่ โรคในมนุษย์ไดเ้ ลย (no infection) ขณะเดยี วกัน เชอ้ื ไม่
สามารถแพร่กระจายไปสู่คนอ่ืนไดอ้ ีก
๒. ปอ้ งกันการตดิ เชื้อได้ดี กล่าวคอื เชือ้ อาจจะเขา้ มาเพิม่ จานวนในรา่ งกายได้บา้ ง ภมู คิ มุ้ กันเฉพาะที่
ตามผิวเยือ่ บุของระบบทางเดินหายใจ ออกมาต่อตา้ นเช้ือได้ไมห่ มดในทนั ที เชื้อจานวนน้อยอาจจะ
มุดเขา้ ไปในเซลล์มนุษยไ์ ด้ แต่ไม่สามารถก่อโรคหรอื ทาให้เกิดอาการในมนษุ ย์ได้ (asymptomatic
infection) แล้วเชือ้ กห็ มดไปจากร่างกาย แต่ก่อนเช้ือจะหมดจากรา่ งกายคนน้ี อาจจะแพร่กระจาย
ไปสู่คนอ่นื ท่อี ยู่ใกล้ชิดไดบ้ ้างในระยะเวลาสนั้ ๆ เช่น ๑-๓ วนั เท่านั้น
๓. ปอ้ งกนั การติดเชื้อได้ กลา่ วคือ เชื้อเพ่ิมจานวนในร่างกายได้บ้าง ภูมิคุ้มกนั เฉพาะทีต่ ามผวิ เยื่อบขุ อง
ระบบทางเดนิ หายใจ ออกมาตอ่ ตา้ นเชอื้ ไดน้ ้อยหรอื ไม่ทัน เชอ้ื จานวนหน่งึ มดุ เขา้ ไปเพ่ิมจานวนใน
เซลลม์ นษุ ยไ์ ด้ เชอ้ื อาจจะเข้าสูก่ ระแสเลอื ดได้ดว้ ยแต่จะถูกแอนตบิ อดใี นเลือดทาลาย จึงมีการก่อโรค
ไดบ้ า้ งและมีอาการน้อยในคน แลว้ หายจากโรค (mildly symptomatic infection and recovery)
แลว้ เชอ้ื ก็หมดไปจากร่างกาย แต่กอ่ นเช้อื จะหมดจากร่างกายคนนี้ สามารถแพร่กระจายไปส่คู นอ่ืนที่
อยใู่ กล้ชดิ ไดบ้ ้างในระยะเวลา เช่น ๑-๕ วนั เปน็ ต้น
๔. ปอ้ งกนั การติดเช้ือได้น้อย กล่าวคอื เช้อื เพ่มิ จานวนในรา่ งกายได้ ภมู ิคมุ้ กันเฉพาะทตี่ ามผิวเย่อื บขุ อง
ระบบทางเดินหายใจ ออกมาต่อต้านเชอ้ื ได้ไม่ทัน เช้ือจานวนหนง่ึ มดุ เขา้ ไปเพิ่มจานวนในเซลล์มนุษย์
ได้ หรือเข้าไปในกระแสเลือดได้ ก่อใหเ้ กดิ โรคหรือเกดิ อาการในคนได้แตไ่ ม่รนุ แรงและค่อยหายจาก
โรค (non-severe, symptomatic infection and recovery) แลว้ เช้อื ก็หมดไปจากร่างกาย แต่
กอ่ นเช้อื จะหมดจากร่างกายคนนี้ สามารถแพร่กระจายไปสู่คนอืน่ ท่ีอยใู่ กล้ชิดได้บา้ งในระยะเวลา
เชน่ ๓-๘ วนั เป็นต้น
๗๒๔
ตารางแสดงประสทิ ธิผลของวัคซนี ในการป้องกนั โรค การเจบ็ ป่วย และการแพรเ่ ช้ือ
ประสทิ ธิผล เชือ้ เขา้ สู่ อาการของโรค การหายจาก ถงึ แก่กรรม ระยะเวลาแพร่เชื้อ
รา่ งกาย โรค ใหผ้ อู้ น่ื /ผใู้ กลช้ ิด
๑. ปอ้ งกนั การติด ไมไ่ ด้เลย ไมม่ ีอาการ - ไม่มี ไม่มี
เชื้อไดส้ มบูรณ์
๒. ปอ้ งกันการติด ได้ ไมม่ ีอาการหรอื มนี ้อย - ไมม่ ี อาจจะม/ี มี ๑-๓ วัน
เช้อื ได้ดี เลก็ นอ้ ย มาก
๓. ป้องกันการตดิ ได้บา้ ง มีอาการน้อยมาก เช่น หายเร็ว ไมม่ ี ๑-๕ วัน
เชอื้ ได้ ไขต้ า่ หรือไอเล็กน้อย
๔. ปอ้ งกนั การตดิ ได้ มีอาการชดั เจน แต่ไม่ หายเร็วหรือ ไม่มี ๓-๘วนั
เชอ้ื ได้น้อย รนุ แรง ตามปกติ
วัคซนี ป้องกนั โรค COVID-19 จะมีใหป้ ระชาชนคนไทยได้ใช้เม่ือไร?
ถึงแม้จะมีเทคโนโลยีรองรับในการผลิตวัคซีนอยู่แล้ว แต่การผลิตวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 จะต้องมี
ขั้นตอนเพื่อตรวจสอบว่า ป้องกันการติดเชื้อได้จริงและใช้ได้อย่างปลอดภัยในมนุษย์ คาดว่า จะผลิตและ
การทดสอบจนผ่านการรับรองให้ใช้ได้ท่วั ไปอยา่ งเร็วทีส่ ดุ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
ควรฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในขณะท่ีโรคโควดิ -๑๙ ระบาดหรอื ไม่?
เนือ่ งจากลักษณะคลนิ กิ ของโรคไขห้ วดั ใหญ่และโควิด-๑๙ เหมอื นกัน การฉดี วัคซีนปอ้ งกนั ไข้หวดั ใหญ่
ในประชากรขณะทโ่ี รคโควดิ -๑๙ กาลังระบาด จะเกิดประโยชน์คอื ทาให้ประชากรกลุ่มหนง่ึ ไม่เจบ็ ปว่ ยเป็น
ไข้หวดั ใหญ่ ประชากรกลุ่มนี้กจ็ ะไม่ถูกตรวจหาโรคโควิด-๑๙ หรือไม่ต้องถูกกักกันในระยะแรกท่เี จบ็ ป่วยเป็น
ไขห้ วัดใหญถ่ ้าตนเองไม่ฉดี วคั ซนี
มาตรการอื่น ๆ ในการป้องกันการติดเชือ้ ท่ีมีข้อมูลในหลอดทดลอง ยังมีไหม?
นอกจากการสวมหน้ากากอนามัยแล้ว มีข้อมูลในหลอดทดลองว่า สาร povidone iodine ทาลายเชื้อ
SARS-CoV-2 ได้เร็วใน ๑ นาที อาจจะประยุกต์ใช้ในการทาลายเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในช่องปากของ
ผู้อ่ืนก่อนจะข้ึนรถโดยสารรถร่วมกัน โดยเตรียมน้ายาอมกลั้วคอและช่องปากท่ีมี povidone iodine
(PVP-I) ร้อยละ ๗ ไว้ในรถด้วย (ในเมืองไทย มีสินค้าขายเป็นน้ายาเบตาดีน การ์เกิล บ้วนปาก ปริมาณ
๓๐ มล. มี PVP-I ๗๐ มก.ต่อ มล. หรอื ใชแ้ บบ "เบตาดนี (R) โทรตสเปรย์ คือพ่นใส่ชอ่ งปากใหเ้ ลยซึ่งเป็นวิธี
ที่สะดวกมากในการนามาใช้ ทนั ตแพทยส์ ามารถนามาใช้ก่อนทาหัตถการทางทันตกรรมได้ มคี าแนะนาว่า
หากจะใช้ป้องกันการติดเช้ือไวรัส แนะนาให้พ่นช่องปากก่อนจะออกจากบ้านไปยังที่มีฝูงชนหนาแน่นและ
ให้สวมหนา้ กากอนามยั ดว้ ย การใชเ้ ครื่องกรองและทาลายเชื้อไวรสั ในอากาศในห้องท่ีทางาน ในสถานที่ที่
เป็นท่ีชมุ นุมชน ในหอ้ งประชุม เป็นตน้ เพือ่ ลดทง้ั ฝอยละอองขนาดเล็กที่มเี ชอื้ โรคและ PM 2.5 ในอากาศ
ด้วย กอ็ าจจะเปน็ อีกหน่ึงวิธใี นการปอ้ งกันการติดเชอ้ื ทาง airborne ด้วย
๗๒๕
ความเห็นของผมในวนั ที่ทราบ
ขา่ วว่า มกี ารระบาดระลอกใหม่
ที่ใหญ่มากในวนั ที่ ๑๙ ธันวาคม
๒๕๖๓ ทจี่ ังหวดั สมุทรสาคร
เม่ือมกี ารประกาศข่าวดว่ นใน
เวลาประมาณ ๒๑:๐๐ น. ผม
รบี ใหค้ วามเหน็ ไปใน line ของ
แพทยสมาคมฯ ทนั ที
วันน้ี ในเวลาท่ีมีการประกาศ
ข่าวด่วน ผมและเลขาธิการ
พ ร้ อ ม เ จ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง แ พ ท ย
สมาคมฯ กาลังทัศนศึกษาที่
จังหวัดระยองในโครงก าร
พั ฒ น า เ จ้ า ห น้ า ท่ี ข อ ง แ พ ท ย
สมาคมฯ พอดี
๗๒๖
๗๒๗
๗๒๘
ฟังแลว้ ชอ็ คเพียงเสยี้ ววนิ าที แล้ว new normal เหมือนเดมิ
ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณนายแพทย์ อมร ลีลารศั มี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ
๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๓
ตามที่มีข่าวในไลนว์ ่า “วัคซีนไฟเซอร์ฉีดให้อังกฤษ แพ้รุนแรงถึงข้ันช็อคไป ๒ รายแล้ว” หลายท่านฟังแลว้ อาจจะ
รู้สึกช็อค แต่พาดหัวข่าวแบบน้ีทาให้พวกเราทุกคนท่ีเสพข่าว ต้องตรวจสอบหาความจริงให้ครบถ้วนทุกมิติก่อนจะรู้สึก
ดงั กล่าว พาดหวั ขา่ วแบบนไี้ ม่ทาให้นักวิชาการช็อค แต่กระตนุ้ ให้คน้ หาข้อมลู เพิ่มเตมิ ดังทจ่ี ะมาเล่าใหฟ้ ังส้ันๆ ดังนี้
รายงานในอเมริกาแจ้งว่า ฉีดวัคซีนไฟเซอร์(และ BioNTech) ๒ ครั้งได้ผลป้องกันโรคโควิด-๑๙ สูงถึงร้อยละ ๙๕
ตอ้ งเก็บรกั ษาวัคซีนไว้ท่ีอุณหภูมิ -๗๐ องศาเซลเซียส ประเทศอังกฤษกาลังมโี รคโควดิ -๑๙ ระบาดหนัก (รายงานวันน้พี บว่า
ตายเพิ่ม ๕๓๓ รายรวมตายท้ังหมด ๖๒,๕๖๖ ราย ป่วยใหม่ ๑๖,๕๗๘ ราย) จึงเป็นโอกาสดีท่ีจะได้ขนย้ายวัคซีนแบบเก็บ
รักษา –๗๐ องศาเซลเซียสไปใช้ในสถานการณ์จริงในประเทศอังกฤษเลย หากการฉีดวัคซีนไฟเซอร์พบว่า ได้ผลดีในการ
ป้องกันโรค(และสรา้ งภูมิคุ้มกันได้ด้วย)ในคนอังกฤษ ก็จะขึ้นทะเบียนวัคซีนในทวีปยุโรปได้ดว้ ย เร่ิมฉีดวัคซีนเม่ือวันอังคาร
ท่ี ๘ ธันวาคม หากฉีดให้แก่คนหนุ่มสาวเท่านั้น ก็จะไม่ครอบคลุมผู้ติดเช้ือท่ีเส่ียงจะป่วยหนัก จึงไปฉีดให้รายแรกเป็นคุณ
ยายอายุย่าง ๙๑ ปีเป็นของขวัญวันเกิดในโรงพยาบาลในเมืองโคเวนตี กรุงลอนดอน โดยมีนายกรัฐมนตรีอังกฤษมาเป็น
พยานดกู ารฉีดดว้ ย คนทสี่ องมอี ายุมากเช่นกนั หากอายุมากแบบน้ีรับวคั ซนี ได้ ผ้ใู หญ่ทุกอายกุ ร็ บั วคั ซีนได้ดว้ ย
แน่ละ บุคลากรทางการแพทย์อยู่ในคิวแรกที่ถูกฉีดด้วย หลังฉีดวัคซีนให้บุคลากรทางการแพทย์แล้ว พบว่า มี ๒
รายทเ่ี คยแพ้อาหารและยารุนแรง เกิดปฏกิ ริ ยิ าแพว้ ัคซีนค่อนข้างรุนแรงในเย็นวันอังคารนน้ั หลังการฉีดไม่ก่ีช่ัวโมง ทัง้ คู่พก
ยาฉีด EpiPens® ซึ่งเป็นยาฉีดแอดรีนาลีน ติดตัวอยู่ด้วย จึงแก้ไขและหายแพ้ดีแล้ว ส่วนรายอ่ืนๆ ฉีดไปถึงตอนน้ีหลายพัน
รายแล้ว ไม่พบการแพ้แบบ ๒ รายน้ี จึงมีคาเตือนว่า ผู้ที่เคยแพ้อาหาร ยา หรือวัคซีนอื่นบ่อย ๆ และเกิดปฎิกิริยาแพ้ท่ัว
รา่ งกายแบบมี ไข้ ผนื่ ลมพษิ ปวดเม่อื ยตามตวั หายใจลาบาก ใจสั่น ขอให้หลีกเลีย่ งการฉีดวัคซีนไว้ก่อน ส่วนรายอนื่ ๆ ที่ไม่
มีประวตั แิ พอ้ าหารหรือยาอย่างรุนแรงแบบสองรายน้ี ก็ไม่ไดเ้ กิดปฏิกิรยิ าแพร้ นุ แรง ดงั นั้น องคก์ ารอาหารและยาในอังกฤษ
จะประชมุ และคาดว่า จะแนะนาให้ฉีดอยา่ งระมัดระวงั ตอ่ ไปในโรงพยาบาล และยกเวน้ ผทู้ เี่ คยแพ้อาหารและยาอย่างรนุ แรง
ผมจึงขอถือโอกาสใช้ขา่ วน้ี เปน็ ตวั อย่างในการเสพและพจิ ารณาข่าวก่อนเผยแพร่ องคก์ ารอนามัยโลกบอกวา่ ปีน้มี ี
การระบาดใหญ่ ๒ แบบคอื โควดิ -๑๙ ระบาด (pandemic) และการระบาดของขา่ วจรงิ , ปลอมบ้างหรือมขี ้อมลู ไม่ครบถ้วน
ด้วย เรียกว่า infodemic ทาให้นกั วชิ าการต้องรีบมากล่ันกรองขา่ ว และให้ข้อมลู ทค่ี รบถ้วนและเปน็ จรงิ แก่ประชาชน
สาหรับวัคซีนโควิด-๑๙ ที่ใช้เทคโนโลยีใหม่คือ m-RNA vaccine และผลิตออกมาสู่ตลาดเร็วมากไม่ถึง ๑ ปี วัคซีน
ป้องกันโรคอ่ืนในอดีตใช้เวลาผลิตจนออกสู่ตลาดนานอย่างน้อย ๔ ปี อาจจะมีผู้สงสัยว่า ความปลอดภัยของวัคซีนแบบ
mRNA มีมากพอหรือยัง? เราต้องคอยและเก็บข้อมูลต่อไป แต่ในภาวะ วิสัย และสถานการณ์ของการระบาดโรคโควิด-๑๙
ในปีนี้ ทาให้เราต้องกล้าตัดสินใจบุกต่อไปและเก็บข้อมูลสะสมไปเร่ือย ๆ จนได้ถึงหลายสิบหรือร้อยล้านรายท่ีรับวัคซีน ก็
จะได้คาตอบ ที่สาคัญนะครับ วัคซีนเป็นเพียงอีกหนึ่งปัจจัยที่นามาใช้ควบคุมการระบาดของโรค เรายังต้องใช้ชีวิตวิถีใหม่
หรือ new normal-plus ต่อไปในช่วงเวลานี้ท่ีมีผู้ติดเชื้อกระจัดกระจายไปบางจังหวัด สวมหน้ากากอนามัยที่จะกลายเป็น
วัคซีนโควิด-๑๙ ที่ดีที่สุดในโลก ไม่ต้องกลัวแพ้เลย เมืองไทยควบคุมโรคน้ีสาเร็จมาอย่างดีเยี่ยมแลว้ ด้วยโดยท่ียงั ไม่มีวคั ซีน
และทสี่ าคัญที่สุด “เรื่อง new normal แบบน้ี ทุกคนทาเองได้” ถอ้ ยคานี้ คุ้นๆ ไหมครับ?
๗๒๙
ฉดี วัคซนี ป้องกนั โรคโควิด ๑๙ แล้ว
...... ปลอดภยั หมดจดจากโรคโควิด ๑๙ แนห่ รือ??
ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณนายแพทย์อมร ลลี ารัศมี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ
รองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยสยาม
๒๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔
เมื่อวัคซีนป้องกันโรคโควิด ๑๙ มาถึงประเทศไทยและพร้อมฉีดให้คนไทยในเดือนมีนาคม จะเกิดการ
เปล่ียนแปลงอะไรบ้าง? เราปลอดภัยจากโรคโควิด ๑๙ แน่นอนแล้วหรือ? จะเดินทางออกนอกประเทศอย่าง
ปลอดภัยจากโควิด ๑๙ จริงหรือ? คาถามหลายข้อเกิดตามมาโดยเฉพาะด้านภูมิคุ้มกันโรคหลังคนไทยฉีดวัคซีน
ป้องกันโรคโควดิ ๑๙ แลว้ เรามาดูกันวา่ ยังมคี าถามอะไรอีกบา้ งในระยะและหลงั ฉีดวัคซนี ในเวลา ๑ ปีข้างหน้าน้ี
คาถามแรก คือ ฉีดวัคซีนแล้ว จะทราบได้อย่างไรว่าตนเองมีภูมิคุ้มกันสูงพอป้องกันโรค? ในคนปกติ การ
เกดิ ภูมิค้มุ กนั มี ๒ วธิ ี คือ ๑. ติดเชื้อตามธรรมชาติ หรือ ๒. ฉีดวัคซีน สว่ นวิธที น่ี าน้าเหลืองเขม้ ข้นมาฉดี รักษาคนไข้
เป็นวิธีท่ีใช้กับคนไข้จึงขอไม่กล่าวถึง การติดเช้ือตามธรรมชาติในคนที่ไม่มีภูมิคุ้มกันมาก่อนมีข้อเสียคือ ท่านมี
โอกาสป่วยรุนแรงจนต้องเข้ารักษาในโรงพยาบาล เข้าหออภิบาลหรือไอซียู หรือถึงตายได้(เลยไม่มีโอกาสเกิด
ภูมิคุ้มกัน) การฉีดวัคซีนจึงเป็นทางเลือกที่ดีกว่ามาก เพราะไม่เกิดการเจ็บป่วย ไม่ตาย เพียงแต่มีผลข้างเคียงบ้าง
จากตัวยาวัคซีนและการฉีด ซึ่งเป็นข้อเสียนิดเดียวที่รับได้เมื่อเทียบกับข้อเสียจากการติดเชื้อตามธรรมชาติ เป็นที่
ยอมรับว่า ผู้ติดเชื้อตามธรรมชาติท่ีหายดีแล้ว จะมีภูมิคุ้มกันเกิดข้ึนได้เอง ดังน้ันเราจึงไม่ตรวจหาภูมิคุ้มกันในผตู้ ดิ
เช้ือที่หายดีแล้ว ส่วนคนปกติท่ีถูกฉีดวัคซีน อาจจะถามคาถามข้อน้ี คาตอบคือ ไปตรวจเลือดก็จะทราบว่า มี
ภูมิคุ้มกันสูงพอหรือไม่? โดยเฉพาะท่านที่ถูกฉีดไปแล้วแต่ยังไม่แน่ใจในคุณภาพของวัคซีน หรือไม่แน่ใจว่าโรค
เรื้อรัง เบาหวาน สูงวัยที่ตนเองมีอยู่จะขัดขวางการสร้างภูมิคุ้มกันหลังฉีดวัคซีนหรือไม่? การตรวจเลือด จะเป็น
คาตอบใหท้ า่ นให้ม่นั ใจไดใ้ นระดับหนง่ึ
คาถามที่ ๒. วัคซีนปอ้ งกนั โรคโควดิ ๑๙ มหี ลายชนิดและทาจากสารแตกต่างกัน ถา้ ใครฉดี วคั ซนี ชนดิ ที่ ๑
แล้วมาฉีดอีกชนิดหน่ึงในคร้ังที่สอง จะกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ดีเท่าเทียมกับฉีดชนิดเดียวกันสองคร้ังหรือไม่?
คาตอบท่ีถูกต้องตามข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ คือ ไม่ทราบว่าจะสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีพอหรือไม่? ในทาง
ปฏิบัติ ท่านอาจจะพบปัญหาแบบนี้ได้ถ้าวัคซีนท่ีฉีดครั้งแรกถูกนาเข้ามาไม่ทันหรือหมดก่อน ความเห็นส่วนตัว
เสนอว่า มีวัคซีนโควิด ๑๙ แบบไหนเข้ามาแทน ก็ใช้ฉีดเป็นเข็มที่สองได้ครับ อย่าฉีดห่างจากการฉีดเข็มแรกนาน
เกิน ๑ เดือนจากที่กาหนดให้ฉีดเข็มท่ีสอง เปรียบเสมือนท่านจะเลือกกินทุเรียนหมอนทอง ก้านยาว หรือชะนี จะ
กินอะไรก่อน-หลัง ท่านก็จะได้รสชาติทุเรียนแน่นอนครับ การฉีดวัคซีนเข็มแรกจะได้ผลดีตรงท่ีหากท่านเกิดติด
เชื้อตามธรรมชาติอีกก่อนเข็มท่ีสอง ท่านจะไม่ป่วยรุนแรง ไม่ต้องเข้าโรงพยาบาล แถมจะเกิดภูมิคุ้มกันเสริมเข้าไป
อีกแรงหนึ่งจากการติดเช้ือตามธรรมชาติ เพราะการฉีดเข็มแรกจะสร้างภูมิคุ้มกันสูงในระดับหน่ึงให้ท่านได้แล้วใน
สองสัปดาห์ ดังน้ันระหว่างที่รอเข็มที่สอง หากท่านเกิดติดเช้ือข้ึนมา ภูมิคุ้มกันจากการฉีดเข็มแรกจะถูกกระตุ้นให้
เพ่ิมข้ึนเหมือนกบั การถูกฉีดเข็มทสี่ องเลย การฉดี เขม็ แรกให้กระจายไปท่วั ทุกคน จึงเป็นการชว่ ยผู้ท่ีพลาดพล้ังแล้ว
ติดเชื้อมิใหป้ ว่ ยหนักไดแ้ ล้ว
๗๓๐
ดังนั้น ท่านที่ติดเช้ือตามธรรมชาติหรือรับการฉีดวัคซีนแล้ว ก็สามารถรับ passport ตามรูปแบบที่ทาให้
เกิดภูมิคุ้มกันได้คือ RT-PCR +ve passport(ติดเชื้อตามธรรมชาติ) หรือ vaccine passport(ฉีดวัคซีนสองเข็ม
แล้ว) เรามอบ RT-PCR +ve passport หลังจากหายดีและกลบั บา้ นแล้ว ๑ สปั ดาห์ หรอื มอบ vaccine passport
หลังฉีดวัคซีนสองเข็มแล้ว ๑ สัปดาห์ (หากเป็นวัคซีนท่ีฉีดเพียงเข็มเดียว ควรมอบ vaccine passport หลังฉีด ๓
สัปดาห์)
คาถามท่ี ๓. คนท่ีเคยติดเชื้อมาแล้ว อยากจะฉีดวัคซีนสัก ๑ เข็ม ทาได้ไหม? คาตอบคือ ได้เพราะจะ
กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้สูงขึ้นอีก โดยเฉพาะผู้ที่เคยติดเช้ือไม่รุนแรงหรอื ไม่มีอาการและเปน็ ผสู้ งู วยั หรือมีโรคเรื้อรงั ตา่ ง
ๆ ๗ โรคตามท่ีระบุ หรือในผู้ติดเชื้อที่เคยตรวจวัดระดับภูมิคุ้มกันและพบว่ามีน้อย สามารถฉีดวัคซีนชนิดใดก็ได้
เพียง ๑ เข็มก็จะทาให้ภูมิคุ้มกันคึกคักข้ึนมาทันที แม้ยังไม่มีหลักฐานเชงิ ประจักษ์จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มายืนยัน
ความคิดของผมก็ตาม ท่านก็จะได้รับ vaccine passport แต่ในกรณีที่วัคซีนมีจานวนจากัด ผู้ท่ีเคยติดเชื้อมา
กอ่ น จะจัดอย่ใู นลาดบั หลังๆ ทจ่ี ะไดร้ บั วคั ซนี ใหค้ อยไปก่อน วา่ อยา่ งงั้นเถอะจนกว่าวคั ซีนมีจานวนเพยี งพอ
คาถามที่ ๔. เราใชก้ ารตรวจระดบั ภูมิคุ้มกนั เป็นการออก passport ไดไ้ หม? คาตอบคือได้และดีกว่าการ
ตรวจด้วย RT-PCR +ve passport และการฉีดวัคซีน vaccine passport ด้วย เพราะสามารถยืนยันได้ว่า ท่าน
น่าจะมีภูมิคุ้มกันสูงเพียงพอแล้ว ข้อดีในการตรวจแบบน้ีคือ บางรายอาจจะติดเชื้อโดยไม่รตู้ ัว หรือฉีดวัคซีนไม่ตรง
ตามกาหนดการฉีด หรือฉีดวัคซีน ๒ คร้ังแต่เป็นคนละชนิดกัน การตรวจเลือดจะให้คาตอบเดียวกันว่า มีระดับ
ภูมิค้มุ กนั สูงพอหรือไม่? เป็นการให้คาตอบสุดท้าย ไม่ว่าทา่ นจะมีวธิ ีการติดเช้ือหรือรบั วัคซีนมาอย่างไร การตรวจ
เลือดวดั ระดับภูมิคุ้มกันทส่ี ามารถนามาใหบ้ ริการประชาชนทัว่ ไปน้ี จะใช้วธิ ีการตรวจวัดแอนติบอดี(Ab)ได้ ๒ แบบ
คอื แบบ rapid test และแบบที่วดั โดยใช้เครื่องออโต้เมท(lab)และนา้ ยาตรวจแบบมาตรฐานสากล วธิ ี rapid test
หรือ POCT จะใช้เวลาไม่เกิน ๓๐ นาที ส่วนแบบที่วัดโดยใช้เครื่องออโต้เมทจะใช้เวลาไม่เกิน ๓ ถึง ๒๔ ช่ัวโมง
หากได้ผลบวก(และไม่ใช่บวกปลอม)ก็แปลว่า ท่านเคยติดเช้ือและน่าจะมีภูมิคุ้มกัน ดังน้ัน เราอาจจะมี Ab +ve
POCT passport หรือ Ab +ve lab passport ที่แสดงว่า เราน่าจะมีภูมิคุ้มกันจากการติดเชื้อหรือฉีดวัคซีนแล้ว
แทน vaccine passport หรอื RT-PCR +ve passport
คาถามที่ ๕. ทาไมจึงใช้คาว่า “น่าจะมภี ูมิคมุ้ กนั ” ในการแปลผลเมื่อตรวจพบแอนติบอดี(Ab) คาตอบคือ
การตรวจพบ Ab แสดงว่า ท่านเคยติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ แต่ถ้าต้องการวัดภูมิคมุ้ กันใหค้ รบถ้วน ต้องวัดดว้ ย
วิธีเพ่ิมเติมที่แสดงความสามารถของ Ab ในการหยุดยั้งเช้ือไวรัสมิให้เข้าเซลล์ด้วย ถ้าเชื้อไวรัสมุดเข้าเซลล์ไม่ได้
จะแสดงว่าเชื้อไวรัสถูก Ab จับตัวไว้และหมดความสามารถในการก่อโรคอีกต่อไป วิธีการทดสอบลึกถึงขั้นน้ีจึงจะ
แสดงว่า Ab ท่ีเรามใี นเลือดเปน็ Ab ทที่ าลายเชือ้ จรงิ หรือเรียกวา่ neutralizing Ab และสะท้อนวา่ เรามภี ูมคิ ุ้มกัน
ที่แน่นอนต่อโรคโควิด ๑๙ แล้ว ถ้าจะออกเป็น passport จะเป็น nAb +ve passport (อาจจะใส่ความแรงของ
Ab ด้วยก็ได้) เช่น nAb +ve passport (2048) เป็นต้น ข้อมูลแบบนี้แสดงถึงภูมิคุ้มกันที่ได้มีการพิสูจน์ทาง
ห้องปฏิบัติการแล้ว การศึกษาวิจัยประสิทธิภาพของวัคซีนในระยะท่ีสามมีการทดสอบลึกถึงขั้นนี้ในเลือดของผู้ท่ี
ถูกฉีดวัคซีนมาแล้วว่า ทาลายเชื้อไวรัสได้ จึงเชื่อม่ันได้ว่า การฉีดวัคซีนจะทาให้เกิด nAb ที่ทาลายเชื้อจริง
เนื่องจากการทาการทดสอบลึกถึงข้ันน้ี ไม่สะดวกอย่างยิ่งในการตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันในประชากรท่วั ไป ดังน้ัน
จึงใช้การตรวจหาระดับ Ab แทนในประชากรและเม่ือตรวจพบ Ab ต่อโปรตีน S (spike protein) ก็คาดการณ์ว่า
น่าจะมีภูมิคุ้มกันจริงแล้ว เพียงแต่ยังไม่ได้นาน้าเหลืองของคนนั้น มาตรวจยืนยันต่อโดยใช้การทดสอบดังกล่าว
เพิ่มเติม
๗๓๑
คาถามที่ ๖. ถ้าเราตรวจพบภูมิคุ้มกันจากเลอื ดและได้รับ passport เป็น nAb +ve passport แล้ว เรา
จะสบายใจได้ไหมวา่ เราไมต่ ดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อีก? หรอื วา่ เราฉีดวัคซนี ครบ ๒ เข็มแล้ว ปลอดภยั หมดจด
จากโรคโควิด ๑๙ แน่หรือ?? คาตอบคือ ยังไม่แน่ว่าท่านจะไม่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อีกเลย เพราะการนา
ข้อมูลนี้ไปใช้ยังต้องข้ึนกับวา่ ท่านอยู่ในสถานการณ์ใดในแตล่ ะพื้นที่และตามกาลเวลาด้วย สาหรับคนไทยที่อยใู่ น
ประเทศไทยในขณะน้ี (๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔) น่าจะเช่ือได้ว่า ท่านจะไม่ติดเชื้อจากสายพันธุ์ที่กาลังระบาดใน
ประเทศไทย โชคดีท่ีประชาชนคนไทยส่วนใหญ่พร้อมใจกันใช้วิถีชีวิตใหม่แบบบวก และรัฐบาลตัดสินใจใช้
นโยบาย“สุขภาพ ความปลอดภัยต่อชีวิต นาหน้าเศรษฐกิจ” ประเทศไทยจึงควบคุมโรคโควิด ๑๙ ได้ดีมาก
จนถึงวันนี้ ผู้ติดเช้ือรายใหม่ลดลงมาเหลือ ๔๕ รายแล้ว ความจริงข้อหนึ่งที่เราไม่ตระหนักหรือรัฐบาลในบาง
ประเทศไม่ได้นึกถึงคือ การควบคุมโรคได้ดีเท่ากับควบคุมเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ มิให้กลายพันธุ์ด้วย เม่ือมีผู้ติด
เชื้อจานวนน้อยมากในประเทศไทย การกลายพันธุ์ไม่สามารถเกิดข้ึนในประเทศไทยได้ เพราะว่าไม่มีผู้ติดเชื้อ
จานวนมากพอที่จะกลายเป็นโรงงานให้เช้ือไวรัสเพิ่มจานวนมหาศาลจนเกิดการกลายพันธุ์ได้ง่ายและได้เช้ือกลาย
พันธุ์ตัวใหม่ที่เก่งกวา่ เช้ือเดิมได้ นอกจากน้ีวัคซีนที่ผลติ มาใช้ตอนนี้ ก็ทามาจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์เก่าท่ีระบาดมา
นานแล้ว และภูมิคุ้มกันของเราจะมีต่อเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ซ่ึงเป็นสายพันธุเ์ ก่า แต่ถ้าเราออกไปทอ่ งเทยี่ วยงั
ต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศท่ีมีผู้ตดิ เชื้อรายใหม่วันละหนึง่ หมื่นรายข้ึนไป ประเทศนั้นอาจจะมีเช้ือกลายพันธุ์ท่ี
แอบแฝงอยู่และยังไม่ถูกตรวจพบ แต่เชื้อไวรัสกลายพันธ์ุจนภูมิคุ้มกันของท่านท่ีเกิดในประเทศไทย ไม่อาจทาลาย
เชื้อไวรัสกลายพันธุ์ตัวใหม่น้ีในต่างประเทศได้ ท่านก็อาจจะติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ได้ (เชื้อกลายพันธุ์ชนิด
ใหม่) ผู้นาประเทศที่เคยปล่อยให้โรคน้ีระบาดในประชากรเพื่อหวังผลว่า จะมีประชากรติดเช้ือตามธรรมชาติ
จานวนมากอย่างรวดเรว็ จนเกิดภูมิคุ้มกนั หมู่(herd immunity)ทจี่ ะกลับมาป้องกนั คนท่ีเหลือมใิ ห้ติดเช้ือและทาให้
การระบาดสงบลงได้ ผู้นาประเทศเหล่าน้ีคิดผิดอย่างจัง เพราะไม่เพียงทาให้เกิดภาวะผู้ป่วยล้นโรงพยาบาล
เครื่องช่วยหายใจไม่พอใช้หรือแม้แต่โลงศพก็ยังต้องเข้าคิวซื้อเพราะขาดแคลน ยังทาให้มีเช้ือกลายพันธุ์ชนิดใหม่
(CAL.20C, B.1.1.7, B.1.351, B.1.1.248) จานวนมากขึ้นจนอาจเกิดการระบาดระลอกใหม่ได้เอง และโรคโควิด
๑๙ อาจจะระบาดวนไปมาหลายรอบได้แบบไม่มีวันจบ เพราะเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กลายพันธ์ุได้เร็วและง่าย
จากผู้ติดเช้ือรายใหม่ที่มีอยู่เป็นจานวนหมื่นหรือแสนรายต่อวันนั่นเอง ดังน้ัน เราต้องตระหนักว่า ภูมิคุ้มกันของ
เราเกิดจากเชื้อไวรัสสายพันธ์ุ“วันวาน” ถ้าเราไม่ทาให้เชื้อไวรัสกลายพันธุ์ได้เองในบ้านเรา เชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ ในประเทศไทยยังคงเปน็ เชอ้ื ของ“วนั วาน”อยูน่ านแสนนาน และภูมิคุ้มกันของเราจะป้องกันตัวเราได้นาน
แสนนานตราบเทา่ ท่ียงั ไมม่ เี ชอื้ กลายพนั ธ์ุตวั ใหมจ่ ากคนตา่ งประเทศนาเข้ามาและแทนทสี่ ายพนั ธ์ุ“วนั วาน”
คาถามที่ ๗. หลังตรวจพบภมู ิคุ้มกนั หรือฉีดวัคซีนครบแล้ว เราไปเทีย่ วต่างประเทศได้หรือยงั ? คาตอบคือ
ไปเที่ยวได้ในประเทศที่ไม่มีการระบาด จะปลอดภัยท่ีสุด ยกตัวอย่างเช่น ไปเท่ียวประเทศจีนท่ีมีมาตรการคุมการ
ระบาดของโรคโควิด ๑๙ อย่างเข้มข้นมาก เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในประเทศเหล่าน้ีไม่มีเชื้อกลายพันธุ์ เชื้อที่อยู่
เป็นสายพันธ์ุตกค้าง เป็นเช้ือของ“วันวาน”ท่ีเรามีภูมิคุ้มกันอยู่ ดังนั้นการเดินทางไปประเทศเหล่านี้ จะปลอดภัย
มากจากการติดโรคโควิด ๑๙ เราสามารถตรวจสอบได้ว่า ประเทศใดมีผู้ติดเช้ือรายใหม่ในช่วงเวลา ๗ วันก่อนที่
เราจะไปเท่ยี ว มจี านวนน้อยมาก โดยดูจากแผนท่ีขององค์การอนามัยโลกท่ีระบายสีน้าตาลจาง ๆ ใหก้ ับประเทศที่
ควบคุมการระบาดได้ดี ประเทศเหล่านี้จะปลอดภัยสาหรับคนไทยท่ีฉีดวัคซีนหรือมีภูมิคุ้มกันแล้ว ส่วนประเทศท่ี
ยังมีสีน้าตาลเข้ม มีจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่มากกว่า ๕๐ รายต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ รายต่อวันในรอบ ๗ วันท่ี
ผ่านมา ยงั มีความเสย่ี งทเี่ ราอาจจะติดเชื้อไวรสั กลายพันธ์ุชนิดใหม่ท่ีแอบแฝงอยู่ในการระบาดในพื้นท่นี ั้น หรือเรา
๗๓๒
หลงเข้ารับเชื้อพร้อมกันทีเดียวจานวนมากจากการอยู่ในกลุ่มคนท่ีติดเชื้อจานวนมากที่มาสุมหัวอยู่ด้วยกัน จะเป็น
การปล่อยเชื้อออกมาในอากาศจานวนมหาศาล จนทาให้การสวมหน้ากากอนามัยของเราป้องกันการติดเช้ือได้ไม่
มากพอถึงแมจ้ ะปอ้ งกันอยา่ งดีแล้วก็ตาม
คาถามที่ ๘. ถ้าคนต่างประเทศฉีดวัคซีนมาครบแล้ว ให้เข้ามาในเมืองไทยโดยไม่ต้องกักตัวได้ไหม?
คาตอบคือยังไม่ได้หรือยังไม่แน่ ขึ้นอยู่กับว่า เขามาจากพ้ืนที่หรือประเทศใดท่ีมีการระบาดในระดับใด เราสามารถ
ให้คนต่างประเทศจากประเทศท่ีไม่มีการระบาดแล้วหรือประเทศท่คี วบคุมการระบาดไดด้ ีมาก เช่น ประเทศจีนเข้า
มาในประเทศไทยได้ โดยตอ้ งมีเอกสารยนื ยันวา่ ฉีดวัคซนี ครบแลว้ หรอื ตรวจพบภมู ิคุ้มกันแลว้ สาหรบั คนกลุ่มนี้ยัง
แนะนาว่า ให้มีบริการตรวจเลือดเพ่ิมเติมท่ีสนามบินได้โดยการตรวจเลือดที่ปลายน้ิวหรือส่งเลือดมาตรวจที่
ห้องปฏิบัติการหาภูมิคุ้มกันอีกคร้ังเพ่ือยืนยันด้วย การตรวจท้ังสองวธิ ีสามารถทราบผลได้ใน ๑ วันและออกใบ Ab
+ve lab passport ให้ด้วย สาหรับชาวต่างประเทศท่ีเดินทางมาจากประเทศท่ีมีการระบาดมากอยู่และยัง
ควบคมุ การระบาดไม่ได้ หรอื ยังมกี ารระบาดอยู่แม้ได้ฉดี วัคซีนมากถึงร้อยละ ๔๐ ถงึ ๕๐ ข้ึนไปของประชากร
หรือมาจากประเทศท่ีมีการรายงานผู้ติดเชื้อซ้าอีกหลายรายแม้ผู้น้ันฉีดวัคซีนครบมาแล้วก็ตาม ชาวต่างชาติ
ทม่ี าจากประเทศเหลา่ น้ี ยงั ต้องมกี ารแยงจมกู เพอ่ื เก็บตวั อย่างมาตรวจเชอื้ ดว้ ยวธิ ี RT-PCR และกักตวั ๑๔ วันตาม
มาตรการท่ีใช้กับชาวต่างชาติอยู่ขณะน้ี เราไม่สามารถใช้ passport ใด ๆ กับชาวต่างชาติที่มาจากประเทศกลุ่มน้ี
ได้ เพราะชาวต่างชาติกลุ่มน้ีอาจจะมีเชื้อไวรัสกลายพันธ์ุสายพันธุ์ใหม่ท่ีไม่ตอบสนองต่อวัคซีนหรือภูมิคุ้มกันของ
คนไทยที่มีต่อเช้ือไวรัส“วันวาน”ได้ ดังนั้น เพ่ือป้องกันเช้ือไวรัสกลายพันธุ์สายพันธ์ุใหม่ท่ีไม่ตอบสนองต่อวัคซีน
หรือภูมิคุ้มกันของคนไทยท่ีหายแล้ว มาแพร่กระจายในเมืองไทยได้ ชาวต่างชาติท่ีมาประเทศที่มีการระบาดหนัก
และมีจานวนผู้ติดเช้ือรายใหม่ต่อวันใน ๗ วันที่ผ่านมาอยู่ในอันดับ ๑ ถึง ๑๐ หรือจากประเทศท่ีโรคโควิด ๑๙ ยัง
ระบาดดังข้อมูลท่ีเสนอข้างต้น เราต้องใช้วิธีการควบคุมโรคเหมือนผู้ที่ติดเชื้อชนิดใหม่(SARS-CoV-3 ???)และ
เร่มิ ตน้ ทาทุกอยา่ งใหมห่ มดเหมอื นเดมิ แม้ผนู้ ้ันเคยฉีดวัคซีน หรอื ตรวจเลือดพบวา่ มภี มู ิคมุ้ กันมาแลว้ ก็ตาม
โดยสรุป แม้มีการฉีดวัคซีนในคนไทยและคนไทยจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ สายพันธ์ุ
“วันวาน”แล้ว เรายังต้องใช้วิถีชีวิตใหม่แบบบวกควบคู่กับการฉีดวัคซีนต่อไปก่อน จนกว่าการระบาดทั่วโลกจะ
สงบลงอยา่ งแทจ้ ริง การใช้วิถชี ีวิตใหม่แบบบวกเท่าน้นั จะควบคุมการระบาดของเชื้อไวรสั กลายพันธุ์ใหมห่ ลายตัว
ท่ีเกิดข้ึนในขณะน้ีได้ ในระยะ ๑ ถึง ๒ ปีข้างหน้านี้ การท่องเท่ียวในประเทศไทยจะปลอดภัยมากข้ึนเมื่อท่านฉีด
วัคซีนแล้ว ท่านท่ีจะเดินทางออกนอกประเทศ ท่านควรเลือกไปเที่ยวประเทศท่ีไม่มีการระบาดหรือควบคุมการ
ระบาดได้ดี ชาวต่างชาติที่มาจากประเทศท่ียังมีโรคโควิด ๑๙ ระบาดอยู่ ยังต้องถูกแยงจมูกเก็บตัวอย่างมาตรวจ
และกักตัว ๑๔ วันเหมือนเดิมอยู่ดี ควรเพิ่มบริการการตรวจหาภูมิคุ้มกันจากเลือดที่สนามบินให้กับชาวต่างชาตทิ ี่
จะเข้ามาในประเทศไทย รัฐบาลต้องควบคุมการเข้ามาของคนต่างชาติให้อยู่ในระบบติดตามตัวให้ได้ ต้องไม่ให้มี
การลกั ลอบของชาวต่างชาติเขา้ มาเป็นกลุ่มก้อนโดยเด็ดขาด เราต้องใช้ทั้งการฉีดวัคซนี และการใชว้ ิถชี วี ิตใหม่แบบ
บวก รว่ มกันตอ่ ไปก่อนจนกวา่ โรคโควิด ๑๙ ทั่วโลกจะสงบอยา่ งแทจ้ รงิ
จนถึงวันนี้ เราได้รับบทเรียนจากการควบคุมการระบาดโรคโควิด ๑๙ มามากพอแล้ว ถึงเวลาท่ีประเทศ
ไทยจะต้องก้าวต่อไปข้างหน้าอย่างปลอดภัยและรวดเร็วเพ่ือกลับสู่สภาพปกติและใช้วิถีชีวิตใหม่ท่ีทาให้เรา
ปลอดภยั หมดจดอยา่ งแน่นอนจากโรคโควิด ๑๙ ในประเทศไทย
๗๓๓
๗๓๔
“สถานการณโ์ ควิด ๑๙ และวคั ซีนปอ้ งกนั โรค” วัตถปุ ระสงค์ของการบรรยาย
ศิรริ าชมูลนธิ ิ ๑. สถานการณ์โรคโควดิ ๑๙ ในประเทศไทย
๒. วคั ซนี โควดิ ๑๙ กระตุ้นภูมิคุม้ กนั ชนิดใด?
ศาสตราจารยน์ ายแพทย์อมร ลลี ารศั มี ๓. วัคซีนปอ้ งกนั โรคโควดิ ๑๙ มีก่ีชนดิ ? และประสทิ ธผิ ล
วันจันทรท์ ี่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๔
ในการปอ้ งกันโรคและฤทธข์ิ ้างเคียงทไ่ี ม่พึงประสงค์
เวลา ๙:๑๕ ถงึ ๙:๓๐ น. ๔. การกลายพนั ธุ์ของเช้ือไวรสั ทีต่ ้องตดิ ตามตอ่ ไป
๕ ราคาเทา่ ไร? จึงจะซอ้ื ได้ ช่วยกันหาข้อมลู
วตั ถุประสงคข์ องการบรรยาย ตง้ั แต่วันท่ี ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๓ จนถงึ วนั ที่ ๒๑ มนี าคม ๒๕๖๔
๑. สถานการณ์โรคโควิด ๑๙ ในประเทศไทย ผูต้ ิดเชอ้ื รายใหม่ แรงงานต่างด้าว ๕๑๖/๕๗๖ ราย วนั ที่ ๒๐ ธ.ค. ๒๕๖๓
๒. วัคซีนโควิด ๑๙ กระตนุ้ ภูมคิ มุ้ กันชนิดใด?
๓. วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคโควิด ๑๙ มกี ีช่ นิด? และประสทิ ธิผล
ในการป้องกนั โรคและฤทธข์ิ ้างเคยี งท่ไี ม่พงึ ประสงค์
๔. การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสท่ีตอ้ งติดตามตอ่ ไป
๗๓๕
ตงั้ แต่วนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๓ จนถงึ วนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓
สรุปวา่ การระบาดมแี นวโนม้ เปน็ แบบ endemic กบั สายพนั ธปุ์ ี ๑๙
๗๓๖
วตั ถปุ ระสงคข์ องการบรรยาย กระตุ้นภมู คิ ุ้มกนั ชนิดใด?
๑. สถานการณโ์ รคโควิด ๑๙ ในประเทศไทย
๒. วคั ซนี โควดิ ๑๙ กระตุน้ ภมู ิคมุ้ กันชนดิ ใด?
๓. วัคซนี ป้องกนั โรคโควดิ ๑๙ มีกชี่ นิด? และประสิทธผิ ล
ในการป้องกนั โรคและฤทธข์ิ ้างเคียงทไ่ี ม่พงึ ประสงค์
๔. การกลายพันธ์ุของเชื้อไวรัสทีต่ อ้ งติดตามตอ่ ไป
mRNA
Chimpanzee adenovirus called ChAdOx1,
Adenovirus 5, adenovirus26
viral proteins and an adjuvant,
a part of the spike protein, called RBD
๗๓๗
A 65-year-old woman
• 1-day of fever and falls
• Her symptoms began within 1 day of the first
dose of the mRNA-1273 SARS-CoV-2 vaccine.
• She had HT & DM
PE at ER
• T 39.1°C, RR 25/min, HR 88/min
• was started on broad-spectrum antibiotics.
Lab investigations
• D-dimer 5,267 ng/mL, ESR 69 mm/h,
• CRP 63·4 mg/L.
• WBC, lactate, U/A, respiratory pathogen panel—
including SARS-CoV-2, urine & blood cultures
were unremarkable.
• Concerns of exposure to SARS-CoV-2 but PCR
test 1 & repeated after 24 h, was all negative.
4 days after presentation, 18 fluorodeoxyglucose
(18F-FDG) PET/CT
• showed uptake in the fat stranding posterior to the
right deltoid (figure);
• moderately increased uptake within multiple right
axillary lymph nodes (figure);
• diffusely increased splenic uptake (figure).
Lancet: March 08, 2021; DOI: https://doi.org/10.1016/S0140-6736(21)00464-5
๗๓๘
JAMA provides clinical details of anaphylactic JAMA provides clinical details of anaphylactic
reactions reported to and verified by the CDC in the first week reactions reported to and verified by the CDC in the first week
of use of the Pfizer-BioNTech COVID-19 vaccine in the USA of use of the Pfizer-BioNTech COVID-19 vaccine in the USA
Tom Shimabukuro, Narayan Nair. Allergic Reactions Including Anaphylaxis After Receipt of the First Dose of Pfizer-BioNTech COVID-19 Vaccine. Tom Shimabukuro, Narayan Nair. Allergic Reactions Including Anaphylaxis After Receipt of the First Dose of Pfizer-BioNTech COVID-19 Vaccine.
JAMA. Published online January 21, 2021. doi:10.1001/jama.2021.0600 JAMA. Published online January 21, 2021. doi:10.1001/jama.2021.0600
Sabine Straus, MD, chair of Partial or complete DIC
PRAC, pointed out that "these
cases of thrombosis and
thrombocytopenia have
shown a predominance in
certain groups,
predominantly women, and
mainly younger women."
๗๓๙
Increasing the dose of prophylactic anticoagulation didn't help The higher dose -- 1 mg/kg vs the standard, flat 40 mg
critically ill COVID-19 patients daily for all but the most obese patients -- increased
Enoxaparin (Lovenox): 1 mg/kg vs flat 40 mg daily for 30 days major bleeding (2.5% vs 1.4%, P>0.99 for noninferiority)
for all but the most obese patients and severe thrombocytopenia (2.2% vs 0%, P=0.01),
• yielded a similar composite rate of venous or arterial
thrombosis, treatment with extracorporeal membrane
oxygenation, or mortality within 30 days as seen with
standard-dose prophylaxis.
• increased major bleeding (2.5% vs 1.4%) and severe
thrombocytopenia (2.2% vs 0%, P=0.01), albeit with small
numbers of cases among the 600 patients in the trial.
วันศุกร์ท่ี ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๓:๑๕-๑๔:๕๐ น. สถาบันบาํ ราศนราดรู
วัตถุประสงค์ของการบรรยาย Schematic illustration of amino acid changes in spike protein.
Mutations yielding at least fourfold changes in infectivity and
๑. สถานการณ์โรคโควดิ ๑๙ ในประเทศไทย neutralizing reactivity to mAbs are shown in the figure.
๒. วคั ซีนโควดิ ๑๙ กระต้นุ ภมู คิ ้มุ กนั ชนิดใด?
๓. วคั ซนี ป้ องกนั โรคโควดิ ๑๙ มีก่ีชนิด? และประสทิ ธิผล D614G variants or combined variants showed 4- to 100-fold increased infectivity compared to the
reference Wuhan-1 strain
ในการป้ องกนั โรคและฤทธิ์ข้างเคยี งท่ไี มพ่ งึ ประสงค์ Ten mutations, such as N234Q, L452R, A475V, V483A, F490L, E484K which were remarkably resistant
๔. การกลายพนั ธ์ขุ องเชือ้ ไวรัสที่ต้องตดิ ตามตอ่ ไป to some mAbs.
• B.1.1.7 variant an increased risk of death, evade detection by specific viral diagnostic tests
• B.1.1.28, B.1.351 decreased susceptibility to mAb/evade natural or vaccine-induced immunity:
Wang, L., Wang, L. & Zhuang, H. Profiling and characterization of SARS-CoV-2 mutants’ infectivity and antigenicity. Sig Transduct Target Ther 5, 185 (2020).
https://doi.org/10.1038/s41392-020-00302-8
๗๔๐
6
AstraZeneca COVID-19 vaccine efficacy =
10.4% against the SA variant B.1.351 (NEJM)
Of 2,026 HIV-ve volunteers, mild-to-moderate
disease caused by any SARS-CoV-2 appeared
• in 2.5% of vaccinee vs 3.2% placebo patients.
• an overall efficacy = 21.9% after two doses.
• None developed severe disease including in the
placebo group.
• Before variants B.1.351 appeared in UK, Brazil
& SA, the vaccine overall efficacy = 66.7%.
Antibodies induced by the Moderna and Pfizer vaccines
• are dramatically less effective at neutralizing some variants.
• blood samples from 99 individuals who had received one or two
doses of either vaccine and tested their vaccine-induced antibodies
against virus replicas engineered to mimic 10 globally circulating
variants.
• 5/10 variants were "highly resistant to neutralization," even when
volunteers had received both doses of the vaccines.
• All five highly resistant variants had mutations in the spike
[K417N/T, E484K, N501Y].
• The proportion of neutralizing antibodies dropped 5- to 6-fold
against the variants discovered in Brazil.
• Against the variant discovered in South Africa, neutralization fell
20- to 44-fold.
• Variants harboring E484K may be harder for vaccine-induced
antibodies to neutralize.
วตั ถปุ ระสงค์ของการบรรยาย
๑. สถานการณโ์ รคโควดิ ๑๙ ในประเทศไทย
๒. วัคซีนโควดิ ๑๙ กระตุน้ ภมู คิ มุ้ กนั ชนิดใด?
๓. วคั ซีนป้องกนั โรคโควิด ๑๙ มีกีช่ นิด? และประสิทธผิ ล
ในการป้องกนั โรคและฤทธขิ์ ้างเคียงทไี่ มพ่ งึ ประสงค์
๔. การกลายพันธ์ุของเชื้อไวรัสทีต่ อ้ งตดิ ตามตอ่ ไป
๕. ราคาเท่าไร จงึ จะซือ้ ได้ ช่วยกนั หาขอ้ มูล?
๗๔๑
ล่มิ เลอื ดจากการฉีดวคั ซีนโควดิ ๑๙ Lot. ABV5300 ....ใช่หรอื ??
ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ นายแพทยอ์ มร ลีลารัศมี
นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ฯ
รองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั สยาม
๑๗ มีนาคม ๒๕๖๔
ผมรออ่านรายงานการตรวจสอบความปลอดภัยของวัคซีนป้องกันโควิด ๑๙ ของแอสตร้า เซนเนก้า
จนถึงวันนี้ ก็ยังไม่เห็นมีรายงานของ PRAC ซึ่งเป็นหนว่ ยงานของ EMA ในทวีปยุโรปทต่ี รวจสอบความปลอดภัย
ของวัคซีน ประกอบกับผมเคยให้ความเห็นทางสื่อทีวีไปแล้วในวนั ศุกร์ท่ี ๑๒ มีนาคม แต่ก็ยังมีบางท่านถามมา
ว่า ไม่เกี่ยวกันแน่หรือ? ผมจึงขอวิเคราะห์และเขียนเป็นเอกสารให้อ่าน ลองดูซิว่า จะสรุปได้ตรงกับรายงาน
ของ PRAC ที่จะออกมาหรือไม่? ผมพยายามค้นหารายละเอียดของการเกิดลิ่มเลือดใน ๒๒ รายตามข่าว แต่
หารายละเอียดได้นิดเดียวแต่ได้ข้อมูลที่สาคัญ ไม่พบรายละเอียดของแต่ละรายท่ีเกิดลิ่มเลือด ผมจะลอง
วเิ คราะห์สาเหตุการเกดิ “ลิ่มเลอื ด” เทา่ ทีจ่ ะทาได้
เท่าที่ทราบจากข่าว จนถึงวันท่ี ๙ มีนาคมมีลิ่มเลือดเกิดใน ๒๒ รายในทวีปยุโรปหลงั ฉีดวัคซีนไปแลว้
๓ ล้านราย และประเทศในทวีปยุโรป(และทวีปอื่น ๆ)ทยอยประกาศชะลอการฉีดวัคซีน จนถึงวันนี้มี ๒๑
ประเทศ(ล่าสุดคือ เวเนซูเอลา) ทาให้มนี า้ หนักมากขึน้ จนบางคนถึงกบั คดิ ว่า จะไม่นาวัคซีน แอสตร้า เซนเนก้า
มาฉีดอีก แล้วทาไมผมจงึ วเิ คราะหว์ ่า ไม่ไดเ้ กดิ จากตัววัคซนี เอง ผมขอเสนอว่าขอ้ มลู ทจี่ ะแสดงให้ผมยอมรับว่า
เปน็ ผลจากตวั วคั ซีนมี ๒ ขอ้ ท่นี ามาพจิ ารณา คอื
ข้อ ๑. อัตราการเกิดลิ่มเลือดในกลุ่มผู้ได้รับการฉีดวัคซีน ต้องมากกว่าในกลุ่มประชากรทั่วไปในทวีป
ยุโรป ซ่ึงข้อน้ีทราบแล้วว่าไม่ใช่ ผู้เชี่ยวชาญบางท่านในทวีปยุโรปถึงกับบอกว่า ต่ากว่าในประชากรท่ัวไปใน
ทวปี ยุโรปเสียอีก ดังนัน้ ข้อ ๑. กแ็ สดงว่าการเกิดลิม่ เลือดไม่เก่ียวกบั ตัววคั ซนี
ข้อ ๒. ลักษณะคลินิกของการเกิดลิ่มเลือดใน ๒๒ รายมีลักษณะเฉพาะเหมือนกันหมดทุกรายหรือไม่?
หรอื วา่ มี ๒ ถงึ ๓ แบบท่เี หมอื นกัน(กย็ ังพอรับได้อยู่) จะใหเ้ ชอ่ื วา่ เก่ยี วขอ้ งกนั จริงต้องมแี บบเดียว จึงจะหนัก
แน่นว่าเก่ียวกัน แต่ผมหารายละเอียดของลักษณะคลินิกหรือตาแหน่งการเกิดลิ่มเลือดของแต่ละรายไม่ได้เลย
เท่าที่ทราบ มีแบบภาวะล่ิมเลือดแพร่กระจายในหลอดเลือดขนาดเล็กหรือหลอดเลือดฝอย ซึ่งไม่ทราบว่า มี
แบบน้ีกี่ราย? บางรายมีลิ่มเลอื ดอดุ ตนั ในหลอดเลอื ดแดงทีป่ อด ลิม่ เลือดทัง้ สองแบบน้ีมกี ลไกการเกิดลิ่มเลือด
ท่ีแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ผมจึงเห็นว่า ลิ่มเลือดไม่ได้เกิดจากตัววัคซีนแน่นอน หากมีข้อมูลเพิ่มเติมว่า ลิ่ม
เลือดในแต่ละรายเกิดในตาแหน่งแตกต่างกัน เช่น บางรายเกิดลิ่มเลือดท่ีหลอดเลือดดาท่ีขา ที่หลอดเลือดใน
ปอดหรือหัวใจ บางรายเกิดลิ่มเลือดท่ีหลอดเลือดแดงในสมอง เป็นต้น ตาแหน่งที่เกิดหรือลักษณะคลินิกท่ี
แตกต่างกันนี้ถือเป็นภาวะลิ่มเลือดท่ีเกิดในคนไข้ทั่วไป พบบ่อยในคนสูงวัย มีโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ไขมันสงู ไมไ่ ดอ้ อกกาลังกาย เปน็ มะเรง็ เย่ือบหุ ลอดเลอื ดเสอ่ื ม จึงสรุปไดอ้ กี ว่า ไมเ่ กยี่ วกับตัววคั ซนี แต่อยา่ งใด
อย่างไรก็ตาม ในข่าวพบว่ามีอย่างน้อย ๑ รายที่เกิดภาวะลิ่มเลือดแพร่กระจายในหลอดเลือดขนาด
เล็กหรือหลอดเลือดฝอยและมีจานวนเกร็ดเลือดต่าด้วย ทาให้มีลิ่มเลือดและเลือดไม่แข็งตัวพร้อมกัน ทาง
การแพทย์ถอื ว่า เป็นภาวะ ลิม่ เลือด เลือดไมแ่ ข็งตวั เกรด็ เลือดต่า เป็นเรือ่ งทไ่ี ม่ได้มสี าเหตุจากภาวะลิ่มเลือด
๗๔๒
ในชาวยุโรปเกิดได้ง่ายกว่าชาวเอเซีย หรือจากพันธุกรรมที่แตกต่างกัน แต่เป็นเหตุการณ์ร้ายแรงถึงตายและมี
สาเหตุทป่ี ้องกนั ได้ถ้าหาพบ ถ้าจะโยงให้เกีย่ วกับการฉดี วัคซีนโดยตรง ก็เกดิ ไดจ้ ากการปนเปื้อนในสารละลาย
วัคซีน ได้แก่ มีแบคทีเรียหรือสารพิษปนเป้ือน(ทางการแพทย์เรียกว่า endotoxin) เมื่อฉีดวัคซีนท่ีปนเป้ือน ก็
ทาให้เกดิ เหตกุ ารณ์ร้ายแรงแบบน้ีได้ ถ้าขวดบรรจวุ ัคซนี มนี า้ ยาวคั ซีนท่ีใช้ฉีดได้ถงึ ๑๐ คน ก็แปลว่า ๑๐ คนน้ี
ต้องเกิดภาวะลิ่มเลือด เลือดไม่แข็งตัว รุนแรงคล้ายๆ กัน แต่ก็ไม่มีรายงานว่า ทั้ง ๒๒ รายท่ีเกิดลิ่มเลือดและ
เลือดไม่แข็งตัว มีก่ีรายที่เกิดจากการฉีดวัคซีนขวดเดียวกัน ถ้าเกิดเช่นนั้นจริงใน ๑๐ รายที่ฉีดวัคซีนจากขวด
เดียวกัน ก็น่าสงสัยมากว่าเกี่ยวกับการปนเปื้อนวัคซีน ในข่าวก็จะบอกมาด้วยเลยว่าเกิดในคนที่ฉีดวัคซีนจาก
ขวดเดียวกันด้วยแต่ก็ไม่มีข่าวแบบน้ี ถ้าเก็บขวดบรรจุวัคซีนขวดนี้ไว้ได้ จะมีน้ายาวัคซีนเหลืออยู่พอท่ีจะให้
PRAC นามาตรวจหาแบคทีเรียหรือ endotoxin ได้ ยิ่งถ้าท้ัง ๒๒ รายเกิดจากขวดบรรจุวัคซีนที่แตกต่างกัน
แต่มี lot. เดียวกันคือ ABV5300 จะย่ิงดีมากในพิสูจน์สมมติฐานข้อน้ี เพราะสามารถนาขวดบรรจุวัคซีนใน
Lot. น้ีขวดใดก็ได้มาตรวจการปนเปื้อนในน้ายาวัคซีนได้เลย ประเด็นนี้ต้องมีข้อมูลชัดเจนแน่นอนจากการ
แถลงข่าวของ PRAC ในเร็วๆ นี้ว่า มีการปนเปื้อนหรือไม่? สาเหตุสุดท้ายของการเกิดภาวะ ลิ่มเลือด เลือดไม่
แข็งตัว เกร็ดเลือดต่า ไม่ได้เกิดจากวัคซีนโดยตรง แต่เกิดจากเหตุสุดวิสยั มีสาเหตุอื่นเกิดร่วมด้วยหรอื เป็นเหตุ
เฉพาะในรายน้ี เช่น ป่วยเป็นโรคติดเช้ืออ่ืนๆ ร่วมด้วยขณะฉีดวัคซีนจนเกิดปฏิกิริยารุนแรงมากเกินปกติ หรือ
กล้ามเนื้อต้นแขนในรายท่ีเกิดภาวะน้ี มีความผิดปกติท่ีไม่เหมือนคนอ่ืนและการฉีดวัคซีนอาจจะทาให้ตัวยา
วัคซีนหลุดร่ัวเข้าไปกระแสเลือดได้ ถือเป็นเหตุสุดวิสัย ทาให้เกิดปฎิกิริยาเกิด ลิ่มเลือด เลือดไม่แข็งตัว เกร็ด
เลือดต่า สาเหตุสุดท้าย คือไม่ทราบหรือตรวจไม่พบสาเหตุท่ีสามารถแก้ไขได้ แต่ไม่เก่ียวกับตัวยาวัคซีนหรือ
การฉดี วัคซีน เพราะการศกึ ษาประสิทธผิ ลของวัคซีนในระยะทสี่ ามก็ไม่พบเหตกุ ารณ์ทไ่ี มพ่ ึงประสงค์แบบนี้
ผมจึงสรุปจากข้อมูลท่ีผมมีอย่างจ่ากัดว่า การเกิดล่ิมเลือดไม่เก่ียวกับตัวยาของวัคซีนและการฉีด
วัคซีนในคนทั่วไป ไม่มีการปนเป้ือนวัคซีน สาเหตุการเกิดลิ่มเลือดไม่พบว่าเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนของแอสตร้า
เซนเนก้า Lot. ABV5300 แต่เป็นเหตุสุดวิสัย มีสาเหตุอ่ืนเกิดร่วมด้วย หรือเป็นเร่ืองเฉพาะตัวของแต่ละรายที่
เกิดลิ่มเลือด หรือเป็นภาวะลิ่มเลือดที่พบเป็นประจาในทวีปยุโรปอยู่แล้ว แต่มาเกิดล่ิมเลือดในเวลาที่เฝ้าระวัง
ภาวะแทรกซ้อนจากการฉีดวัคซีนพอดี ผมจึงสรุปว่า ฉีดวัคซีนต่อไปได้ ส่วนตัวผมเองฉีดแล้ว“เพ่ือชาติ”
ครบั ท่านท่ไี ดอ้ ่านบทความนี้ เม่อื ทา่ นอา่ นรายงานของ PRAC ทีน่ ่าจะออกมาเรว็ ๆ นี้ ทา่ นจะเขา้ ใจได้งา่ ยขนึ้
เอกสารข้างล่าง แสดงและยืนยันว่า ผม(และภริยา) ฉีดวัคซีน AstraZeneca จริงในวันที่ ๑๒ มีนาคม
๒๕๖๔ แม้ว่า นายกรัฐมนตรีจะยกเลิกการฉีดวัคซีนโชว์ก็ตาม ให้ไปอ่านเพิ่มเติมในบันทึกเหตุการณ์สาคัญว่า
ทาไมผมจงึ ได้รบั การฉดี วคั ซนี AstraZeneca ในวันนเี้ ลย
๗๔๓
๗๔๔
วัคซีนโควิด-๑๙ เขม็ ท่ี ๓: ขอ้ คดิ สำหรับประชำชน
ศำสตรำจำรย์เกยี รติคุณนำยแพทย์อมร ลีลำรัศมี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ
รองอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั สยาม
๒๕ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔
ทกุ วนั น้ี ผมได้รับคาถามถมี่ าก ๑ ขอ้ ทตี่ ้องตอบครบั คือ จะฉดี วคั ซีนโควดิ -๑๙ เข็มท่ี ๓ ดีไหม? ถา้ ดี
จะฉดี ย่หี ้ออะไร? เมื่อไหร่ด?ี เป็นตน้ หลายคนอยากจะรบี จอง(หรือฉดี )วคั ซีนเขม็ ท่ี ๓ แลว้ เพราะกลัวจะตก
ขบวนหรือแยง่ คนอ่ืนไมท่ นั ผมจงึ อยากเสนอความคดิ เหน็ ของผมให้ประชาชนพจิ ารณาบ้างครบั
ก่อนอนื่ ท่านต้องรีบฉดี วคั ซนี ให้ครบสองเข็มก่อนนะครบั ไมว่ ่าจะเปน็ Sinovac, Sinopharm หรอื
AstraZeneca ก่อนทจ่ี ะมาถามคาถามนี้ ถ้ำยังฉีดไม่ครบ ไมต่ ้องเสียเวลำมำคุยกนั รบี หาเวลาไปฉดี ใหค้ รบ
เถอะครับ
ส่วนเขม็ ท่ี ๓ ท่ีถามมานัน้ ผมคิดแทนท่านว่า อยากฉีดวัคซนี ท่ีทา่ นคิดว่าดีทส่ี ุด คาวา่ “ดที ส่ี ดุ ”คือเขา
บอกกันมา หรือตัวเลขป้องกันโรคของวัคซีนย่ีห้อนี้สูงดี(เช่น ร้อยละ ๙๕) หรือว่ายี่ห้อนี้ได้ภูมิคุ้มกันตัวเลขสูง
มากที่สุด หรอื ว่า เม่ือวัดภมู ิคมุ้ กันในผู้ที่ฉีดวัคซีนยี่ห้อนี้ ป้องกันเช้อื กลายพันธ์ุในหลอดทดลองได้ผลดีกวา่ เปน็
ตน้ แลว้ ท่านกค็ ิดหรือเขา้ ใจว่า วคั ซนี ท่ฉี ันฉีดมาแล้ว ไม่คอ่ ยดี ไม่ได้ผล เลยเออออจะไปหาฉีดเป็นเข็มที่ ๓
แทนท่ีจะมุ่งประเด็นว่า ฉีดเพื่อป้องกันตนเองจากการเจ็บป่วยรุนแรงหรือถึงตายก่อน ซ่ึงท่านได้รับ
ผลดีข้อนี้แน่นอนอยู่แล้วถึงร้อยละ ๙๐ ขึ้นไปจากการฉีดวัคซีนชนิดใดก็ได้ แต่การฉีดวัคซีนชนิดใดก็ป้องกัน
การติดเชื้อไม่ได้ ยังไม่ชัดว่าต้องใช้ภูมิคุ้มกันสูงถึงระดับใดจึงจะไม่ติดเช้ือเลย แต่ทราบว่าเริ่มมีภูมิคุ้มกันก็เร่ิม
ใช้ได้ในการลดความรุนแรงจากการเจ็บป่วยแล้ว ที่สาคัญ การติดเช้ือจนก่ออาการรุนแรงยังขึ้นอยู่กับจานวน
เชื้อท่ีท่านได้รับ หากไม่ระวังตัว จะรับเช้ือจานวนมากในเวลาอันส้ัน ท่านจะมีโอกาสป่วยรุนแรงแม้ฉีดวัคซีน
หากท่านระวังตัวดีแต่รับเช้ือโดยไม่คาดคิด เช้ือท่ีได้รับจะมีจานวนน้อย กลับจะเป็นผลดีเสียอีก (ให้อ่านต่อใน
ขอ้ ๔) การฉีดวัคซนี ครบ ๒ เขม็ แลว้ จงึ ยังต้องสวมหน้ำกำกอนำมัย เวน้ ระยะห่ำงทำงสังคม เชน่ เดมิ ไปก่อน
เพื่อเสริมประสิทธิภาพการป้องกันโรคและความรุนแรงของการเจ็บป่วยของการฉีดวัคซีนชนิดใดก็ได้ ให้ได้ผล
สงู สุด(ผมเช่ือว่า เวลาน้ี กำรใชว้ ถิ ีชีวิตใหม่ทเ่ี ขม้ ขน้ ดกี ว่าการไปหาฉีดวัคซนี เข็มที่ ๓ )
ผมขอให้รออีก ๓-๖ เดือนเพราะยงั มีความไม่แน่นอนอีก ๕ ปัจจยั ท่ีเกีย่ วข้องกับการสรา้ งภูมิคุม้ กนั ต่อเชอ้ื
กลายพันธุ์และการจองวัคซนี สาหรับคนที่ฉีดวคั ซนี ครบ ๒ เข็มแล้วคือ
๑. เชอ้ื กลายพนั ธุ์ทีจ่ ะระบาดในปหี นา้ จะเปน็ เชือ้ เดลต้ำตัวนี้อกี ไหม? หรือเป็นเชอื้ กลายพันธุ์ทใ่ี หม่กว่าอีก
อาจจะต้องปรับวัคซนี ให้“ตรงกบั เชอื้ ”มากขน้ึ แต่ถา้ ควบคุมการระบาดได้ ความต้องการวัคซนี จะลดลง
๒. วัคซีนในปีหน้า นอกจากปรบั วัคซีนให้“ตรงกบั เช้อื ”ทน่ี า่ จะระบาดแล้ว อาจจะมีวธิ บี ริหารทีส่ ะดวก เช่น
ใช้สูดดมแทนการฉดี หากจองและสงั่ ซื้อวัคซนี ตอนน้ี ก็ได้วัคซีนของเชอ้ื ปัจจบุ นั หรืออดีต การฉีดวคั ซีน
ป้องกันสายพนั ธุ์เดมิ อาจจะไมไ่ ด้ประโยชน์เพมิ่ ข้ึนมากเทา่ ไร หรอื อาจจะมีผลข้างเคียงมากขึ้น
๗๔๕
๓. การแพว้ ัคซีน ผลขา้ งเคยี งต่าง ๆ จากการฉีดวคั ซนี ในปัจจบุ ันจะมขี ้อมลู เพิ่มข้ึนมากเพราะฉีดไปเยอะแล้ว
อาจจะนามาสกู่ ารผลติ วัคซีนรุ่นใหม่ทม่ี ีการแพห้ รือผลข้างเคียงลดลงอีก
๔. ระหวา่ งรอจนถึงปีใหม่ เนื่องจากเชอื้ เดลตา้ ทแี่ พร่กระจายเก่งมาก ทา่ นอาจจะติดเชื้อชนิดน้ีโดยไมค่ าดคิด
ถ้าทา่ นเปน็ คนระวงั ตัวดีอยแู่ ล้ว การพลาดพลั้งไปรับเชื้อจะเป็นการรับเชือ้ จานวนน้อย(ท่านสวมหน้ากาก
อนามัย เวน้ ระยะหา่ ง...ฯลฯ) ถ้าทา่ นฉดี วัคซนี ครบสองเข็มแล้ว การติดเชอื้ จานวนนอ้ ยหลังฉีดวัคซนี ครบ
จะกลบั กลายเปน็ การรบั วัคซีนเขม็ ท่ี ๓ จากการตดิ เชื้อตามธรรมชาติ ทาให้ภมู คิ ุ้มกนั ของทา่ นสงู ล่ิวขึ้นไป
อีก ท่านจะมีอาการน้อยหรอื แทบไม่มีเลยหรือไม่รตู้ ัววา่ รับวัคซีนเขม็ ท่ี ๓ ไปแลว้
๕. ถึงปลายปีหรือต้นปีหน้า วัคซีนทั้งรุ่นใหม่และรุ่นเก่าน่าจะลน้ ตลาด ท่านเลือกจองได้และราคาน่าจะถูกลง
กวา่ น้ีอีก ให้คอยไดเ้ ลยถ้ายังอยากจะฉดี
ยังมีประชากรอีกกลุ่มในบ้านเราท่ียังไม่ได้ฉีดวัคซีนเลยคือ เด็ก นักเรียน วัยต้ังแต่ ๓ ขวบถึง ๑๘ ปี เรา
ต้องรีบหาวัคซีนมาเตรียมฉีดใหล้ กู หลานเราได้แลว้ ครับ
ดังนั้น ตอนนเ้ี รำตอ้ งชว่ ยให้ทกุ คนไดร้ บั วัคซนี เขม็ ท่ี ๑ และ ๒ ให้ครบอยำ่ งเรง่ ด่วน ฉดี ให้ได้จานวน
มากที่สดุ “แข่งกับเวลำ”ตามศักยภาพท่แี ต่ละแหง่ จะฉีดได้ ถ้าใครไดว้ ัคซนี เข็มที่ ๓ มาตอนนี้ รบี นาไปฉีดให้
คนอ่นื ทย่ี ังไม่ได้เขม็ ท่ี ๑ หรือ ๒ เถดิ ครบั ใครที่ฉีดวคั ซนี AstraZeneca(AZ) มาครบสองเข็ม อยา่ ไปฉีด AZ
ซา้ อกี เป็นเขม็ ที่สาม ประชาชนอยา่ งเรา“ปล่อยวาง”ให้นักวิทยาศาสตร์และหมอไปศึกษาประโยชนข์ องการฉดี
เข็มท่ี ๓ จากข้อมูลทางระบาดวทิ ยาของบ้านเราและตา่ งประเทศใน ๓ เดือนขา้ งหนา้ และข้อมูลวชิ าการทีจ่ ะ
เกิดอย่างมากมาย จนได้ขอ้ สรุปทช่ี ดั เจนกอ่ น แล้วค่อยมาบอกประชาชนอยา่ งเราว่า จะให้ปฏิบตั อิ ยา่ งไรนะ
ครับ ตอนนี้ผมแนะนาให้ประชาชนฟงั ตดิ ตามและอยู่เฉยๆ กับเขม็ ที่ ๓ ก่อน
ผมจึงสรุปจำกควำมคดิ เห็นของผมว่ำ ปล่อยเรื่องวคั ซีนเขม็ ที่ ๓ ให้นักวทิ ยาศาสตร์ หมอ ไดท้ าการบ้าน
อย่างรอบด้านมาอย่างดีจนได้ข้อมูลที่ตกผลึกว่า จะฉีดเข็มสามไหม? ถ้าจะฉีด จะแนะนายี่ห้อใดสาหรับใคร
บ้าง? ณ ขณะนี้ ประชาชนอย่างเราๆ ฟังรับทราบติดตามข่าวไว้แบบ“รอไปก่อน” ไม่ต้องมีปฏิกิริยาอะไรนะ
ครบั
๗๔๖
การแพร่เชือ้ ไวรสั SARS-CoV-2 มีทัง้ droplet และ airborne แน่นอน ผมย้ำมำตลอด แต่ขำดหลักฐำนเชงิ
ประจกั ษ์มำยนื ยนั สว่ นตวั ผมอำศัย ตรรกะ ประสบกำรณ์ ของนักวชิ ำกำรโรคติดเชอื้ มำนำนกวำ่ ๔๐ ปี ตอบไป
เลยตง้ั แต่ต้นปี ๒๕๖๓ ว่ำ ติดตอ่ ทง้ั droplet และ airborne แน่นอน
เร่ือง กำรแพรเ่ ช้ือไวรัส SARS-CoV-2 น้นั เริ่มต้นนักวิชำกำรทว่ั ไปรวมท้งั องค์กำรอนำมัยโลก จะยำ้ แตว่ ำ่
ติดต่อกนั ภำยในระยะสองเมตรเท่ำน้นั (แบบ droplet) ห่ำงจำกนี้ไม่ตดิ ทงั้ ๆ ที่กำรระบำดทีเ่ มอื งอู่ฮั่นในประชำกร
จ้ำนวนมำก หรอื ท่ีสนำมมวย หรือในสถำนบันเทิงท่มี ีคนติดเชื้อจำ้ นวนมำก บ่งบอกวำ่ เป็นกำรระบำดแบบ
airborne ด้วย โดยเฉพำะเมื่อมีผ้คู นจ้ำนวนมำกอยู่ดว้ ยกันนำนเป็นช่วั โมง ในสถำนท่ีอำกำศไมถ่ ่ำยเท ในห้อง
มิดชดิ หรือตลำดทม่ี ีเพดำนเต้ียและครอบคลมุ พ้ืนที่กว้ำงมำกจนอำกำศถำ่ ยเทยำก จะท้ำให้กำรแพรเ่ ชอื้ แบบ
airborne ชัดเจนและแพร่กระจำยเชือ้ ได้มำก เร่อื งกำรแพรเ่ ชอ้ื วิธีนี้ ผมพูดและให้ควำมเห็นแบบน้ีมำตลอดตั้งแต่
เดือนมีนำคม ทง้ั ๆ ทย่ี งั ไมม่ ผี ลงำนวิจยั ทเ่ี ปน็ รูปธรรมมำสนบั สนนุ คำ้ พดู ของผมเลย เพรำะตรรกะและ
ประสบกำรณบ์ ่งชว้ี ำ่ มีกำรแพรเ่ ช้ือแบบ airborne ดว้ ยเสมอ แตก่ ็ไม่มีนกั วิชำกำรคนไทยมำยนื ยันหรอื สนับสนุน
ผมเลย
ไทยรัฐฉบับพิมพ์ ๗ ก.ค. ๒๕๖๓ เวลา ๕:๒๘ น.
นักวทิ ย์ช้โี ควดิ ตดิ ทางอากาศ วนั เดยี วกัน กลุม่ นักวทิ ยำศำสตร์ ๒๓๙ คน จำก ๓๒ ประเทศ สง่ จดหมำยเปดิ ผนึก
ถงึ องค์กำรอนำมัยโลก (WHO) เรยี กรอ้ งให้ WHO ปรบั เปลี่ยนคำ้ แนะน้ำเกี่ยวกับไวรัสโควิด-๑๙ เป็นวำ่ สำมำรถ
ติดต่อทำงอำกำศได้ หลงั จำกท่ผี ่ำนมำระบุไว้เพียงว่ำเช้ือตดิ ต่อผ่ำนละอองจำกกำรไอจำมหรอื พดู ซ่งึ ในควำมเป็น
จริงแลว้ ลกั ษณะกำรติดต่อเช่นนี้ ก็คอื เชื้อติดต่อทำงอำกำศน่นั เอง เพรำะละอองดังกลำ่ วจะลอยอย่ใู นอำกำศ และ
๗๔๗
พร้อมที่จะแพร่ระบำดในร่ำงกำยเมอ่ื สดู หำยใจเขำ้ ไป ท้ังน้ี กลุ่มนกั วทิ ยำศำสตรจ์ ะเผยแพร่งำนวิจยั แสดงหลักฐำน
ว่ำเช้อื ติดต่อทำงอำกำศในสปั ดำหห์ น้ำ
ก่อนหนำ้ น้ี สื่อตำ่ งๆ อำ้ งค้ำตอบของหมอยงบอกวำ่ หำ่ ง ๒ เมตร ไมต่ ิดแนน่ อน คือไม่มีกำรตดิ ต่อทำง airborne
๗๔๘
ตรรกะ ประสบการณ์ หลกั ฐานเชงิ ประจักษใ์ นยคุ วิกฤติโควดิ -๑๙
ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ นายแพทย์อมร ลลี ารศั มี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ
วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔
ในหว้ งเวลาท่ีประเทศไทยกาลังประสบปัญหาในการควบคุมโรคระบาดโควดิ -๑๙ (หรอื โควดิ -๒๑ ไปแล้ว) และเป็น
ปัญหาวิกฤติท่ีต้องการวิธีการแก้ไขอย่างเร่งด่วนและ(น่าจะถูกต้องที่สุด) เน่ืองจากยุคนี้เป็นสังคมวิทยาศาสตร์ เราจึงนิยม
ใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ในการแก้ไขปัญหา แต่ข้อเสนอในวิธีแก้ไขปัญหาแบบเร่งด่วนหลายคร้ังยังขาดการ
สนับสนุนจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เพราะการพสิ จู น์แบบหลักฐานเชิงประจักษ์จนได้ข้อสรุปที่หนักแนน่ ต้องใชท้ ัง้ เวลา ทุน
ทรพั ย์ การออกแบบงานวจิ ัยและทาการวิจยั ที่แม่นยา ส่วนหลกั ฐานทางระบาดวิทยาหรือประสบการณ์ถือวา่ มนี า้ หนักน้อย
ท่ีจะนามาใช้แก้ปัญหา นอกจากน้ี ข้อมูลที่ได้มาจากหลักฐานเชิงประจักษ์บางคร้ัง ยังค้านกับสมมติฐานหรือข้อมูลทาง
ระบาดวิทยาหรือประสบการณท์ ม่ี มี ากอ่ น จนทาให้บางทา่ นทีอ่ ยากจะชว่ ยเสนอวธิ ีแกไ้ ข หมดแรงกายแรงใจไปเหมอื นกนั
ขอใช้ข้อมูลผลการใช้น้าเหลืองของผู้ท่ีหายจากโควิด-๑๙ มาทาเซรุ่มรักษาผู้ติดเชื้อมาวิเคราะห์ให้ดู หลักฐานใน
อดีตและการใช้ในโรคติดเชื้อชนิดอ่ืนๆ ช้ีว่าใช้ได้ผลดี แม้การนามาให้ผู้ป่วยโควิด-๑๙ ก็มีข้อมูลเบื้องต้นว่าใช้ได้ แต่พอมี
การศึกษาด้วยรูปแบบวิจัยท่ีเข้มข้น เช่นใน PLACID Trial, PlasmAr ClinicalTrials, และสุดท้ายตามมาด้วย RECOVERY
study กลับพบว่า ไม่ได้ผลดีชัดเจน การให้น้าเหลืองช่วยผู้ป่วยไม่ได้ ข่าวนี้ปลิวว่อนไปหมดในสื่อห้องต่างๆ ในประเทศไทย
แล้วยังทาให้การศึกษา CONCOR-1 (NCT04348656) และ REMAP-CAP (NCT02735707) ในต่างประเทศที่ตามมา ต้อง
ยุติการทาวิจัยไปด้วย ขณะนี้สรุปครอบคลุมไปว่า ผลงานวิจัยท่ีเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ไม่แสดงวา่ น้าเหลืองของผู้ที่หาย
จากการติดเชื้อโควิด-๑๙ ใช้ได้ผลดีใดๆ ในการรักษาผู้ติดเชื้อ ซึ่งตรงข้ามกับตรรกะ ประสบการณ์ และความเช่ือของหมอ
โรคติดเช้ือหลายคนท่ีทางานมานานถึง ๕๐ ปีว่า น้าเหลืองของผู้ป่วยท่ีหายดีแล้ว น่าจะช่วยผู้ติดเชื้อรายใหม่ได้ จนถึงวันนี้
ยงั ไม่มีหลกั ฐานเชิงประจกั ษม์ าช่วยสนบั สนุนความเชื่อหรอื ตรรกะ นี้เสยี ที
ประเทศไทยในวนั น้มี ีผปู้ ว่ ยหนกั เพิ่มขึ้น มกี ารขอรบั บรจิ าคเครื่องชว่ ยหายใจและเคร่ืองให้ออกซเิ จนชว่ ยผู้ป่วยหนัก
มีผู้ติดเชื้อเสียชีวิตสะสมแล้ว ๔๑๗ รายในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม มีรายงานจานวนผู้ตายวันละสิบกว่ารายจนถึง ๓๐
กวา่ รายตอ่ วัน และเตียงในโรงพยาบาลสาหรับผู้ป่วยสีเหลือง สีสม้ เรม่ิ จดั สรรได้ยากลาบาก เรามผี ู้ปว่ ยทีห่ ายแลว้ ๓๖,๒๔๑
ราย เรามยี าตา้ นไวรสั favipiravir และ remdesivir ทม่ี ปี ระสิทธิภาพจากัด แลว้ เรายงั จะมีวธิ ีการแก้ไขปญั หานี้อย่างไรอีก
นอกจากการเปดิ โรงพยาบาลสนามในทตี่ ่าง ๆ
ในสองสามวันที่ผา่ นน้ี มีการรณรงค์อย่างทั่วถึงให้ทกุ คนไปฉดี วคั ซีนโควิด-๑๙ ให้เร็วท่ีสดุ การศึกษาในทุกประเทศ
ตั้งแต่องค์การอนามัยโลกลงมา ยืนยันตรงกันหมดว่าการฉีดวัคซีนทาให้ผู้ติดเชื้อไม่ป่วยรุนแรง ใช้ ICU น้อยมากและไม่ถึง
ตาย หลกั ฐานเชิงประจักษจ์ ากการศึกษาประสิทธภิ าพของวคั ซีนทกุ ชนิดในระยะท่ีสามยืนยันตรงกันหมดว่า การฉดี วัคซีนมี
ผลดใี นการลดความรุนแรงของโรคและอัตราตายอย่างแน่นอน ผู้ตดิ เช้อื ที่ตายในประเทศไทยก็เป็นผู้ทยี่ ังไม่ไดฉ้ ีดวัคซนี ผม
ไม่เห็นมีใครออกมาค้านหลักฐานเชิงประจักษ์ในข้อน้ี ดังนั้น ตรรกะ ประสบการณ์ หลักฐานเชิงประจักษ์ในเร่ืองการฉีด
วัคซีนตรงกันหมดคอื ไดป้ ระโยชนเ์ พราะการฉีดวคั ซีนสรา้ งภมู คิ มุ้ กัน ทาใหผ้ ู้น้นั มีภูมิคุ้มกนั ดีก่อนจะติดเชอื้ ภายหลัง
อ้าว!! แล้วด้วยกลไกอย่างเดียวกัน มิใช่หรือ? ที่การให้น้าเหลืองของผู้ป่วยที่หายแล้วแก่ผู้ติดเช้ือรายใหม่ก็เป็นการ
สร้างภูมิคุ้มกันทันทีหรือภายใน ๔๘ ชั่วโมงแก่ผู้ติดเชื้อเลย ปลอดภัยด้วย น่าจะช่วยผู้ติดเช้ือให้หายเร็วขึ้น ไม่ป่วยหนัก
๗๔๙
เชน่ กัน ทาไมผลการวจิ ัยดงั กลา่ วจึงไม่สนบั สนุนตรรกะ ประสบการณ์ ของหมอหลายคนในเรือ่ งน้ี ทาใหก้ ารทาวจิ ัยในเร่อื งน้ี
หมดอนาคตเลยในประเทศไทย ทั้งๆ ที่ทุกคนยอมรับหมดว่า การฉีดวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกัน ลดความรุนแรง ลดการใช้ไอซยี ู
ลดอัตราตายแน่นอน ท่ีน้ีถ้าเราจะออกแบบงานวิจัยการใช้น้าเหลืองที่ล้อตามผลการฉีดวัคซีน คือ ให้น้าเหลืองแก่ผู้ติดเชื้อ
เลย(ผู้ป่วยสีเขียวหรอื ผู้ตดิ เช้ือทม่ี ีกลุ่มโรคเร้ือรัง ๗ โรค)ตั้งแต่วันแรกที่ทราบวา่ ติดเชื้อ จะทาได้ไหม? คาตอบเบื้องต้นจาก
นักวิจัยบางคนคือ ไม่ได้เพราะยังไม่ได้แสดงว่าผู้ติดเช้ือจะป่วยหนักขึ้น ถ้ามีดัชน้ีท่ีใช้ทานายว่า รายใดจะป่วยรุนแรงขึ้นใน
๗ วันข้างหน้าก็น่าจะนามาใช้เพ่ือให้น้าเหลืองในรายน้ันได้บ้าง หากออกแบบงานวิจัยล้อตามการฉีดวัคซีน การให้
น้าเหลืองแก่ผู้ติดเช้ือรายใหม่ ต้องให้ตั้งแต่วันแรกท่ีทราบว่าติดเชื้อเลย จึงจะลดการเจ็บป่วยหนัก ลดการใช้เคร่ืองช่วย
หายใจ ลดอตั ราตายได้ ท่านเหน็ ดว้ ยไหมครบั ? การทเี่ รายุตกิ ารวิจยั ใหน้ ้าเหลืองแก่ผู้ตดิ เช้ือรายใหม่ในประเทศไทย จะทา
ให้เขาเสยี โอกาสทจี่ ะฟน้ื เร็วขึ้น รอดพน้ จากการใช้เครอ่ื งชว่ ยหายใจ ไมต่ อ้ งเขา้ ไอซยี ู ไม่ตอ้ งเส่ียงกบั ความตาย ใช่หรอื ไม?่
แม้ว่า วันนี้จะยังไม่มีคาตอบที่ถูกต้องหรือถูกใจนักวิชาการทุกคน เราก็ทาเท่าที่จะทาได้คือ ให้น้าเหลืองไปก่อน
แบบ compassionate use จนเมื่อน้าเหลืองหมดแล้วก็หมดไป ในยุควิกฤติโควิด-๑๙ ท่ีต้องรีบแก้ไขปัญหาและใช้การ
ตัดสินอย่างรวดเร็ว ล่วงหน้าก่อนมีหลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อจะได้ไม่ต้องเปล่ียนคาแนะนาไปมาบ่อย ๆ จนประชาชน
สงสัยและเกิดวิกฤติศรัทธาในข้อแนะนาของนักวิชาการ นักวิชาการบางคนก็อดทนรอคอยหลักฐานเชิงประจักษ์ช้ินต่อไป
(ถา้ จะม)ี ทีจ่ ะแนะนาการใหน้ ้าเหลอื งแกผ่ ตู้ ดิ เช้อื แตถ่ า้ ตนเองเกดิ ตดิ เชือ้ ขึ้นมา ก็แน่นอนวา่ ยนิ ดเี ต็มใจทจี่ ะขอรบั น้าเหลือง
ของผู้ป่วยท่ีหายแล้วอยา่ งแนน่ อน
ในยุควกิ ฤตโิ ควิด-๑๙ เราจะเห็นวา่ ตรรกะ ประสบการณ์ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ บางเร่อื งยังไมส่ อดคล้องกนั เพราะ
หลักฐานเชิงประจักษ์ใช้เวลาและทรัพยากรในการสร้างข้อมูล เช่น การสวมหน้ากากอนามัยในตอนต้นของการระบาดของ
โรคโควดิ -๑๙ บางประเทศหรือหน่วยงานท่ีควบคุมโรคก็บอกว่า ไม่มีประโยชนก์ ่อนท่ีจะกลับลามาบอกว่า ชว่ ยไดจ้ นถึงวันน้ี
บอกให้สวมหน้ากากอนามัยสองชั้นด้วย เราบอกว่า วิธีการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ มีแบบละอองฝอยชนิด
airborne ด้วย แต่พวกเราก็ติดอยู่นานกว่า ๑ ปีว่าไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ท้ังๆ ท่ีในโรคติดเชื้อไวรัสอ่ืน ๆ เช่น ไข้หวัด
ใหญ่ ก็ชัดเจนมาต้ังนานแล้วว่ามีแบบ airborne มัวแต่บอกว่า ถ้าอยู่ห่างเกิน ๒ เมตรไม่ติดหรือบอกว่า การแพร่แบบ
airborne มเี ฉพาะเวลาใสท่ อ่ ช่วยหายใจผู้ปว่ ยเท่าน้นั เปน็ ตน้ ตอ้ งรอถึง ๑ ปจี นกว่าจะมหี ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์มาแสดงวา่ มี
การแพร่กระจายแบบ airborne จรงิ ซงึ่ นาไปสู่การใชว้ ิธีการป้องกนั ทีค่ รอบคลมุ การป้องกันการแพร่กระจายแบบ airborne
ด้วย การฉดี วัคซนี ปูพรมกอ่ นเลยคนละ ๑ เข็ม(และเนน้ สวมหนา้ กากอนามัย)ชว่ ยปอ้ งกันการเจบ็ ปว่ ยรุนแรงในผู้ตดิ เชื้อ ลด
การใช้เคร่ืองช่วยหายใจ ลดอัตราตาย ก็ทาไม่ได้ในตอนแรกเพราะติดตรงที่ได้ข้ึนทะเบียนการฉีดวัคซีนไว้วา่ ต้องฉีด ๒ เข็ม
จงึ ไม่สามารถฉีดปูพรมคนละเขม็ ได้กอ่ นในเดือนมนี าคม ต้งั แตป่ ระเทศไทยไดร้ ับวคั ซนี เขา้ มา
ในยุควิกฤติโควิด-๑๙ ท่ีต้องรีบแก้ไขปัญหา การใช้ตรรกะ ประสบการณ์ หลักฐานเชิงประจักษ์ในการแนะนา
วิธีแก้ไข จะยังคงมีท้ังแบบสอดคล้องและย้อนแย้งกันต่อไป ผู้ท่ีต้องตัดสินใจเลือกใช้วิธีการใดจึงต้องกล้าเสี่ยงเพ่ือทาให้
ประเทศไทยรอดพ้นจากวิกฤตโิ ควิด-๑๙ โดยเรว็ ทสี่ ุด หากรอให้มีหลักฐานเชิงประจักษ์ทุกครั้งก่อนตัดสนิ ใจแลว้ การแก้ไข
ปัญหาของประเทศอาจจะช้าไม่ทันกาล และทาให้ข้อแนะนาในวธิ ปี ฏิบตั ิกลบั ไปกลับมา จนทาใหผ้ ูป้ ฎบิ ัติตามทางานยุ่งยาก
ขนึ้ และประชาชนอาจจะขาดความเช่อื ถอื ได้ นีย่ ังจะเป็นปญั หาท่แี กไ้ ขไม่ตกและเรายงั ต้องอดทนเผชิญหนา้ กันต่อไป
๗๕๐
ปัญหาที่เกิดจากกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนตามสถาบันต่าง ๆ นอกจากมีปัญหาในระบบโครงสร้าง
กระบวนการพจิ ารณาอนุมัติ เชน่
แต่ละสถาบันก็ยึดมาตรฐานของกระบวนการอนุมัติในสถาบันของตนเอง กรรมการจากสถาบันอ่ืนอนุมัติ
โครงการวจิ ยั มาแลว้ กต็ อ้ งมาเรมิ่ ต้นขออนมุ ัติกนั ใหม่ทีส่ ถาบันอีกแห่งหน่ึงถ้าจะใช้อาสาสมคั รจากสถาบัน
แห่งน้ีด้วย แม้จะการลงนามให้คณะกรรมการจากสถาบันต่าง ๆ ช่วยกันในเรื่องน้ี แต่ในทางปฏิบัติก็ยัง
เหมือนไมไ่ ดล้ งนามใน MOU
การอนุมัติของกรรมการของแต่ละสถาบันก็ไม่เหมือนกันทีเดียว เมื่ออนุมัติผ่านสถาบันหน่ึงมาแล้ว พอ
มาขออนุมัติที่สถาบันแห่งท่ีสอง และสถาบันแห่งท่ีสองขอให้แก้ไขเน้ือหาบางตอน ก็ต้องแก้ไขตาม
คาแนะนาสถาบันใหม่ แล้วต้องนาโครงการที่แก้ไขใหม่ กลับไปขออนุมัติจากสถาบันแห่งแรกอีกหรือไม่?
ท้ัง ๆ ที่อนุมัติมาแล้ว และการแก้ไขโครงการวิจัยตามคาแนะนาจากสถาบันแห่งที่สอง ก็มีเพิ่มเติมเพียง
เล็กน้อยและอาจจะไม่ใช่สาระสาคัญ แต่กรรมการจริยธรรมการวิจัยของแต่ละสถาบันจะกากับว่า ถ้ามี
การแก้ไขโครงการวิจยั ในส่วนไหน กต็ อ้ งนาโครงการที่มกี ารแก้ไขกลับมาขออนุมัตใิ หม่อีกครัง้ ทาใหไ้ ม่ได้
เร่มิ ตน้ ทาวิจัยเสยี ที
บางคร้ัง เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินเร่งด่วน เช่น โรคโควิด-๑๙ กาลังระบาด ต้องการคาตอบเร็วในการรักษา
หรอื ปอ้ งกนั โรค แตก่ รรมการจริยธรรมการวิจัยในคนของสถาบนั ต่าง ๆ บางแห่งก็ประชมุ ตามกาหนดเดิม
มิได้เร่งพิจารณาให้อนุมัติหรือไม่อนุมัติ ให้เร็วขึ้นตามสถานการณ์ฉุกเฉินท่ีเกิดขึ้น จนบางครั้งเมื่ออนุมัติ
มาแล้ว โรคก็สงบและไมม่ อี าสาสมัครมาเขา้ โครงการวจิ ัยแล้ว
เม่ือทางานวิจัยเสร็จแล้ว ผู้วิจัยจะนาข้อมูลท่ีได้ไปตีพิมพ์ การต้ังช่ือบทความ(นิพนธ์ต้นฉบับ)ท่ีจะตีพิมพ์
ก็อาจจะไม่เหมือนกับชื่อโครงการวิจัยในเวลาท่ีขออนุมัติทาวิจัยก็ได้ แต่กรรมการจริยธรรมการตีพิมพ์
หรือผทู้ รงคุณวุฒิบางท่านจะถือว่า ถ้าชือ่ ของบทความไม่เหมือนกับช่อื ของโครงการวจิ ยั ที่ขออนุมตั ิ ผเู้ ขียน
อาจจะบกพร่องในด้านจริยธรรมคือ ถือว่าผู้นิพนธ์ไม่ได้ขออนุมัติทาวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการ
วจิ ัยในคนเลย ทง้ั ๆ ทใ่ี นเวลาทข่ี ออนุมัติทาวจิ ัย กย็ ังไมท่ ราบว่า ผลงานวิจัยจะออกมาแบบใด? (ดี เทา่
เดิม หรือแย่ลง มีแต่สมมติฐานที่ต้องการพิสูจน์) เมื่อได้ผลงานวิจัยแล้ว ก็จะทราบว่า: ดี เท่าเดิม หรือ
แย่ลง ก็จะต้ังชื่อบทความตามผลงานวิจัยให้น่าดึงดูดให้นักวิจัยทานอื่นมาอ่าน มาอ้างอิง หรือมาอ่านชื่อ
ของบทความก็พอจะทราบว่า ผลงานวิจยั จะออกมาน่าสนใจจะมาอา่ นหรอื ไหม? การตัง้ ชอ่ื บทความหรือ
นิพนธ์ต้นฉบับจึงแตกต่างจากช่ือโครงการวิจัยได้ แม้ผู้นิพนธ์จะอ้างว่า ได้ขออนุมัติทาวิจัยเรียบร้อยแล้ว
แต่กรรมการจรยิ ธรรมการตพี ิมพ์หรือผู้ทรงคุณวุฒิก็ยังจะขอหลักฐานเพิ่มเตมิ อกี ว่า เรอื่ งที่ตพี มิ พ์ไดร้ ับการ
อนุมัติใหท้ าวจิ ยั แลว้
นอกจากนี้ ยังพบปัญหาปลีกย่อยอ่ืน ๆ อีก เท่าที่ค้นดูอานาจ หน้าที่และขอบเขตการทางานของคณะกรรมการ
จรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคน พบวา่
๑. ปกป้องศักด์ิศรีสิทธิความปลอดภัยและรักษาผลประโยชน์ของผู้ท่ีเป็นอาสาสมัครในการวิจัย โดยพิจารณา
ผลประโยชน์และความจาเปน็ ของการวิจัยตลอดจนกากับดูแลให้เป็นไปตามข้อกาหนดขององค์กร เรือ่ งหลกั เกณฑ์
การพจิ ารณาจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคน
๗๕๑
จนข้าพเจ้าตอ้ งเขยี นบทความสนับสนนุ นักวจิ ัยให้ทราบ โดยตั้งชื่อเรื่องวา่ ตรรกะ ประสบการณ์ หลกั ฐาน
เชิงประจกั ษใ์ นยคุ วิกฤตโิ ควิด-๑๙ ดว้ ย.
๗๕๓
๒. พิจารณาถึงความชอบธรรมด้านจริยธรรม: รับรอง รับรองโดยมีเง่ือนไข หรือไม่รับรอง ทบทวน ยับย้ัง
ยกเลิกการให้การรับรองจริยธรรมการวิจัยในโครงการท่ีไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการวิจัยในคนโดยยึดหลักแนวทาง
จริยธรรมการวิจัยในคนแห่งชาติของชมรมจริยธรรมการวิจัยในคนประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ ปฏิญญาเฮลซิงกิ
(Declaration of Helsinki) รายงานเบลมองต์(Belmont Report) แนวทางจริยธรรมสากลสาหรับการศึกษาวิจัย
ทางชีวเวชศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับมนุษย์ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Council for
International Organizations of Medical Sciences: CIOMS) แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการวิจัยท่ีดีของ
องคก์ ารอนามัยโลกและองค์การสากลเพื่อสร้างความประสานสอดคล้อง ICH และแนวทางทค่ี ณะกรรมการกาหนด
๓. คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมอาจร้องขอให้ผู้เช่ียวชาญที่ไม่ใช่กรรมการจริยธรรมการวิจัยเป็นผู้ให้
ความเห็นในคุณค่าเชงิ วิชาการต่อคณะกรรมการพิจารณาจรยิ ธรรม เพ่ือประกอบการพิจารณาโดยผูเ้ ช่ยี วชาญทจี่ ะ
ให้ความเห็นต้องเป็นผู้มีความเป็นกลาง ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนท้ังต่อตนเองและคนใกล้ชิดและต้องลงนามใน
ขอ้ ตกลงกบั สานกั งานอธกิ ารบดี ....ในการรกั ษาความลบั เก่ียวกบั โครงการวจิ ัยทีพ่ จิ ารณา
๔. ตดิ ตาม...... (ไม่ใชป่ ระเดน็ ท่จี ะเสนอให้พิจารณา จึงไมน่ ามาเติม)
๕. ใหค้ าปรกึ ษาแก่ผวู้ จิ ยั ในการดาเนนิ การเพือ่ ขอรับรองจริยธรรมการวจิ ัยในคน
๖.-๑๐. ..................... (ไม่ใชป่ ระเด็นท่ีจะเสนอให้พิจารณา จงึ ไมน่ ามาเติม)
แต่เท่าท่ีประสบปัญหามา พบว่า การทาวิจัยบางเร่ืองของนักวิจัยในโรคโควิด-๑๙ ประสบปัญหาตรงที่
คณะกรรมการจรยิ ธรรมฯ ไปคิดแทน(หรือตอบแทนนักวิจยั )นักวิจยั ตรงสมมติฐานทีจ่ ะทาวจิ ัยว่า โดยตอบใหเ้ ลยว่า
ผลการวิจยั จะไม่เกิดประโยชน์เพราะมีหลักฐาน(เป็นหลกั ฐานท่ีเพ่ิงมี เพิ่งตีพิมพ์)ว่า ไม่ได้ประโยชนโ์ ดยท่ีกรรมการ
จริยธรรมไม่คานงึ ว่า การทาวิจัยในครง้ั แรกอาจจะมคี วามผิดพลาด หรือใช้รปู แบบงานวิจัยหรอื กลมุ่ ประชาชกรที่ไม่
เหมาะสมที่จะให้คาตอบได้อย่างชัดเจนและยั่งยืน แล้วกรรมการจริยธรรมฯ ไปตอบสมมติฐานของผู้ทาวิจัยแทน
ว่า ไมไ่ ด้ผลและไม่อนุมตั ิให้ทางานวจิ ยั ท้ัง ๆ ทเี่ ปน็ เรอื่ งเร่งดว่ นทต่ี ้องการคาตอบท่ีจากการใช้ยาหรือน้าเหลืองของ
ผู้ท่ีมีภูมิคุ้มกันสูงมาใช้รักษาผู้ติดเชื้อรายใหม่ หรือ บางคร้ังกรรมการไม่อนุมัติเพราะอาสาสมัครซ่ึงมีทั้งคนไทย
และคนต่างด้าว และถึงแม้ท้ังคู่ก็ได้รับความปลอดภัยจากการเข้าร่วมวิจัยเท่าเทียมกัน ได้สิทธิและค่าตอบแทน
เท่ากันกับคนไทย แต่กรรมการอ้างว่า อาสาสมัครต่างด้าวไม่น่าจะเข้าใจ informed consent ได้ถ่องแท้แม้จะใช้
ล่าม(เพ่ือนของคนต่างด้าว)มาแปลให้ฟัง ถึงแม้การเข้าร่วมวิจัยก็ไม่มีหัตถการอันตรายใด ๆ นอกจากเก็บป้าย
ตัวอย่างจากจมูกและช่องปากเท่านั้น แล้วก็ทาแบบเดิมซ้าอีกคร้ังในเวลา ๔ ช่ัวโมงแล้วจบการเข้าร่วมทาวิจัย
แล้วมีการเฝ้าระวังต่อในโรงพยาบาลหรือมีการดูแลติดตามโรคเดิมของอาสาสมัครในโรงพยาบาลด้วย กรรมการ
จริยธรรมก็ไม่อนุมัติให้ทาวจิ ัย ท้ัง ๆ ที่คาตอบของงานวิจัยมีประโยชน์และต้องนามาใช้อย่างเรง่ ด่วนในขณะท่ีโรค
โควดิ -๑๙ กาลงั ระบาด เพอื่ นามาใช้ควบคุมการแพร่กระจายของเชือ้ ไวรสั ในสถานการณ์ฉุกเฉนิ หลายอยา่ ง
ขอยกตัวอย่างผลงานวิจัยจากต่างประเทศ ท่ีเพิ่งตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศและพบว่า การให้
convalescent plasma ไม่ได้ผลในการลดอัตราตายในผู้ติดเชื้อโควิด-๑๙ ท่ีป่วยเป็นปอดอักเสบรุนแรง ทาให้
การขออนุมัติทาซ้าในผู้ป่วยคนไทยท่ีผู้เสนอโครงการวิจัยขอปรับว่า ให้ convalescent plasma เร็วข้ึนต้ังแต่เมื่อ
ผู้ป่วยมปี อดอักเสบเล็กน้อยเท่านน้ั กรรมการจริยธรรมก็ไปตอบแทนนกั วิจัยวา่ ไม่ต้องทา เพราะมีผลงานวิจัยว่า
ไม่ได้ผลมาแล้ว เป็นต้น ท้ัง ๆ ที่ การให้ convalescent plasma จะให้เร็วขึ้นกว่าในโครงการวิจัยที่ตีพิมพ์
มาแล้ว จนผู้เสนอโครงการไม่สามารถทาวิจัยได้ และผลงานต่อมา พบว่า ได้ประโยชน์เมื่อให้ convalescent
plasma เรว็ ขนึ้
๗๕๒
๗๕๔
จนในที่สดุ NEJM กไ็ ดต้ ีพมิ พ์ผลงานวจิ ัยทแ่ี สดงว่า การใช้ convalescent plasma ไดผ้ ลดีในการหยดุ ยัง้
การดาเนินโรคถ้าให้ในระยะแรกของโรค โดยท่วั ไป การให้ยาตา้ นจลุ ชพี ยาตา้ นไวรสั หรอื convalescent
plasma ในการรักษาโรค จะใหผ้ ลดีทส่ี ุดเมื่อให้ยาหรอื น้าเหลืองน้ีตัง้ แตว่ นิ าทีแรกท่ีทราบวา่ ติดเช้อื หรือในวนั แรก
ของการติดเชือ้ เลย จึงจะได้ผลดีทส่ี ดุ ไม่ว่าจะวดั ในรูปแบบใด เชน่ อตั ราการเจบ็ ปว่ ยรุนแรงภายหลังได้รับยาหรือ
นา้ เหลืองจะน้อยกวา่ ระยะเวลาปว่ ยจะส้นั กว่า อัตราตายจะน้อยกวา่ เป็นต้น แตก่ ็ทาให้นักวจิ ยั ไทยหมดกาลงั ใจ
ไปแล้ว หรือไม่ได้ทาวิจยั จนได้ผลงานวิจยั ทแ่ี สดงวา่ การให้ convalescent plasma ไดผ้ ลดีทัง้ ๆ ที่ตรรกะ
ประสบการณบ์ อกว่า ไดผ้ ล
๗๕๕
๗๕๖
The new england journal of medicine
Original Article
Early High-Titer Plasma Therapy to Prevent
Severe Covid-19 in Older Adults
R. Libster, G. Pérez Marc, D. Wappner, S. Coviello, A. Bianchi, V. Braem,
I. Esteban, M.T. Caballero, C. Wood, M. Berrueta, A. Rondan, G. Lescano,
P. Cruz, Y. Ritou, V. Fernández Viña, D. Álvarez Paggi, S. Esperante, A. Ferreti,
G. Ofman, Á. Ciganda, R. Rodriguez, J. Lantos, R. Valentini, N. Itcovici, A. Hintze,
M.L. Oyarvide, C. Etchegaray, A. Neira, I. Name, J. Alfonso, R. López Castelo,
G. Caruso, S. Rapelius, F. Alvez, F. Etchenique, F. Dimase, D. Alvarez, S.S. Aranda,
C. Sánchez Yanotti, J. De Luca, S. Jares Baglivo, S. Laudanno, F. Nowogrodzki,
R. Larrea, M. Silveyra, G. Leberzstein, A. Debonis, J. Molinos, M. González,
E. Perez, N. Kreplak, S. Pastor Argüello, L. Gibbons, F. Althabe, E. Bergel,
and F.P. Polack, for the Fundación INFANT–COVID-19 Group*
ABSTR ACT
The authors’ full names, academic de- BACKGROUND
grees, and affiliations are listed in the Ap- Therapies to interrupt the progression of early coronavirus disease 2019 (Covid-19)
pendix. Address reprint requests to Dr. remain elusive. Among them, convalescent plasma administered to hospitalized pa-
Polack at Fundación INFANT, Gavilan 94, tients has been unsuccessful, perhaps because antibodies should be administered
Buenos Aires (1406), Argentina, or at earlier in the course of illness.
fpolack@infant.org.ar.
METHODS
*The Fundación INFANT–COVID-19 We conducted a randomized, double-blind, placebo-controlled trial of convalescent
Group members are listed in the Sup- plasma with high IgG titers against severe acute respiratory syndrome coronavirus 2
plementary Appendix, available with (SARS-CoV-2) in older adult patients within 72 hours after the onset of mild Covid-19
the full text of this article at NEJM.org. symptoms. The primary end point was severe respiratory disease, defined as a respi-
ratory rate of 30 breaths per minute or more, an oxygen saturation of less than 93%
Drs. Libster and Pérez Marc contributed while the patient was breathing ambient air, or both. The trial was stopped early
equally to this article. at 76% of its projected sample size because cases of Covid-19 in the trial region
decreased considerably and steady enrollment of trial patients became virtually
This is the New England Journal of Medi- impossible.
cine version of record, which includes all
Journal editing and enhancements. The RESULTS
Author Final Manuscript, which is the au- A total of 160 patients underwent randomization. In the intention-to-treat popula-
thor’s version after external peer review and tion, severe respiratory disease developed in 13 of 80 patients (16%) who received
before publication in the Journal, is available convalescent plasma and 25 of 80 patients (31%) who received placebo (relative risk,
under a CC BY license at PMC7793608. 0.52; 95% confidence interval [CI], 0.29 to 0.94; P = 0.03), with a relative risk reduc-
tion of 48%. A modified intention-to-treat analysis that excluded 6 patients who had
This article was published on January 6, a primary end-point event before infusion of convalescent plasma or placebo showed
2021, at NEJM.org. a larger effect size (relative risk, 0.40; 95% CI, 0.20 to 0.81). No solicited adverse
events were observed.
N Engl J Med 2021;384:610-8.
DOI: 10.1056/NEJMoa2033700 CONCLUSIONS
Copyright © 2021 Massachusetts Medical Society. Early administration of high-titer convalescent plasma against SARS-CoV-2 to mildly
ill infected older adults reduced the progression of Covid-19. (Funded by the Bill and
Melinda Gates Foundation and the Fundación INFANT Pandemic Fund; Dirección de
Sangre y Medicina Transfusional del Ministerio de Salud number, PAEPCC19, Plata-
forma de Registro Informatizado de Investigaciones en Salud number, 1421, and
ClinicalTrials.gov number, NCT04479163.)
610 n engl j med 384;7 nejm.org February 18, 2021
The New England Journal of Medicine
Downloaded from nejm.org at SirirajMedLib, Faculty of Medicine Siriraj Hosp on December 25, 2021. For personal use only. No other uses without permission.
๗๕๗ Copyright © 2021 Massachusetts Medical Society. All rights reserved.
วคั ซีนต้านไวรสั โควิด-๑๙
ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์ อมร ลลี ารัศมี
นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ (วาระปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔)
รองอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั สยาม (ธนั วาคม ๒๕๖๒–ปัจจุบัน)
๒ พฤษภาคม ๒๕๖๔
ประโยชน์ของการฉดี วคั ซนี ต้านไวรสั โควดิ -๑๙
ทาให้ผู้ที่รับวัคซีนเกิดภูมิคุ้มกัน ข้อมูลจนถึงปัจจุบันพบว่า หากพลาดพล้ังไปรับเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ ก็จะไม่ป่วย
รุนแรงเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีน การฉีดวัคซีนช่วยให้ไม่ป่วยหนักจนถึงรับไว้รักษาในหออภิบาล ไม่เจ็บป่วยจน
ทาให้ระบบการหายใจล้มเหลวและไมต่ ายจากการติดเชอื้ อาการเจ็บปว่ ยจะรุนแรงน้อยกวา่ ผทู้ ่ีไมไ่ ดฉ้ ดี วคั ซีน
แต่ผู้ท่ีฉีดวัคซีนแล้วยังมีการติดเช้ือเกิดข้ึนได้และยังสามารถแพร่กระจายเช้ือไปยังคนอ่ืนได้ เพียงแต่อาจจะเป็น
ระยะเวลาสัน้ ๆ หรือสนั้ กว่าผู้ท่ีไมไ่ ดฉ้ ีดวคั ซนี
วัคซีนกระตุ้นร่างกายให้ผลิตภูมิคุ้มกันต่อต้านโปรตีนท่ีอยู่บนผิวเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ ในส่วนท่ีเป็นหนาม(spike
protein)เป็นหลัก ผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-๑๙ จะมีภูมิคุ้มกัน(แอนติบอดี)ต่อต้านโปรตีนชนิดนี้ เราสามารถตรวจหา
แอนตบิ อดชี นิดนี้หรอื ระดบั แอนติบอดีเป็นตวั ชวี้ ดั ภูมิคุม้ กันได้ และใช้วัดการตอบสนองตอ่ การฉดี วัคซนี ไดด้ ้วย
การฉีดวคั ซีนปอ้ งกันการเจ็บปว่ ยและการตดิ เชื้อโควิด-๑๙ ทุกสายพันธ์ุได้ไหม?
วคั ซนี ทีม่ ีใช้ในปจั จุบันทาขน้ึ โดยใช้ขอ้ มลู ของเชื้อไวรัสโควดิ -๑๙ ทกี่ อ่ โรคในอดตี (เช่น เชื้อทกี่ ่อโรคในปหี รอื เดือนท่ี
ผ่านมา) ดังน้ัน หากมีเช้ือกลายพันธุ์ใหม่เกิดข้ึนในอนาคต วัคซีนอาจจะป้องกันได้ไม่เต็มที่ ส่วนสายพันธ์ุท่ีกาลังระบาดใน
ไทยคือ B.1.1.7 และสายพันธ์ุเดิมพบว่า วัคซีนแต่ละชนิดที่ใช้อยู่ยังป้องกันโรคจากสายพันธ์ุอังกฤษ B.1.1.7 และสายพันธ์ุ
เดิมได้ดที ้งั ส้ิน ไดแ้ ก่
ไฟเซอร์ Pfizer มปี ระสทิ ธภิ าพร้อยละ ๙๐ ถงึ ๙๕
โมเดอรน์ า Moderna มปี ระสทิ ธิภาพรอ้ ยละ ๙๐ ถึง ๙๕
แอสตรา้ เซเนก้า AstraZeneca มีประสทิ ธภิ าพร้อยละ ๗๐ ถึง ๘๐ (อาจจะสูงถงึ รอ้ ยละ ๙๕ กไ็ ด)้
โนวาแวซ Novavax มีประสิทธภิ าพรอ้ ยละ ๘๕ ข้ึนไป
จอหน์ สัน แอนด์ จอหน์ สัน Johnson & Johnson มปี ระสทิ ธภิ าพร้อยละ ๗๐ ถงึ ๙๐
ซโิ นแวค Sinovac ประเทศจนี มีประสิทธิภาพร้อยละ ๕๐ ถงึ ๙๐
ประสทิ ธภิ าพในการป้องกันโรคของวัคซีนชนิดเดียวกันในการศึกษาระยะท่ีสาม ยังมีคา่ แตกตา่ งกันได้มากในพื้นที่แต่ละ
แห่งที่ทาการศึกษาด้วย เช่น ผลการศึกษาของวัคซีนซิโนแวคชนิดเดียวในประเทศบราซิลในการป้องกันโรคได้ร้อยละ
๕๐.๓ ป้องกันผู้ที่ป่วยรุนแรงได้ร้อยละ ๗๘ ในประเทศตุรกีได้ร้อยละ ๙๑.๓ ในประเทศอินโดนีเซียได้ร้อยละ ๖๕.๓ แต่
ทุกท่ีป้องกันการตายจากโรคได้ร้อยละ ๑๐๐ จึงยังไม่สามารถเปรียบเทียบประสิทธิภาพโดยตรงของวัคซีนแต่ละชนิดว่า
ชนิดใดสูงกว่าของชนิดใด จนกว่าจะทาการศึกษาเปรียบเทียบกันโดยตรงแบบสุ่มแบ่งระหว่างวัคซีนสองชนิดในประชากร
พน้ื ท่ีเดียวกัน
๗๕๘