The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat Seesai D2, 2021-04-29 01:54:02

หลักสูตรโรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ ฉบับสมบูรณ์

ฉบับสมบูรณ์

Keywords: academic

หลักสตู รโรงเรียนเทวาบดนิ ทรศวิ ารมย์
พุทธศกั ราช ๒๕๖๑

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรบั ปรุงพทุ ธศักราช ๒๕๖๐)

สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาการศกึ ษาประถมศกึ ษาระยอง เขต ๑
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

ประกาศโรงเรยี นเทวาบดนิ ทรศิวารมย์
เรื่อง ให้ใช้หลักสตู รโรงเรียนเทวาบดินทรศวิ ารมย์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐)

--------------------------------

อนุสัญญาตามคำสัง่ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ สั่ง ณ ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ เรอื่ ง ให้เปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ และคำสั่ง ท่ี สพฐ. ๙๒๒/๒๕๖๑ เรื่อง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน สั่ง ณ วันที่ ๓ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๖๑ น้ัน

ตามความในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้สถานศึกษามี
หน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดำเนินการใช้หลักสูตรการเพิ่มพูนคุณภาพ
หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสตู ร จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผล โดย
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาในชุมชนและ
สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความต้องการของผู้เรียนโดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา โรงเรียนจึงได้พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามคำสั่ง
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานเป็นท่ีเรียบรอ้ ยแลว้

ทงั้ นี้ หลกั สูตรโรงเรยี นได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน เมอ่ื วันที่ ๒๒
เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ จงึ ประกาศให้ใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นตั้งแต่บดั นเ้ี ป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นางสาวชนาภทั ร ปุณทรกั ษ์) (นายพรเทพ การะเกษ)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นเทวาบดินทรศวิ ารมย์

โรงเรียนเทวาบดนิ ทรศิวารมย์

ประกาศโรงเรียนเทวาบดนิ ทรศวิ ารมย์
เร่ือง ให้ใช้หลกั สตู รโรงเรยี นเทวาบดินทรศวิ ารมย์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๑

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐)

--------------------------------

อนุสัญญาตามคำสัง่ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคม
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ สั่ง ณ ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ เรือ่ ง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ และคำสั่ง ท่ี สพฐ. ๙๒๒/๒๕๖๑ เรื่อง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน สั่ง ณ วันที่ ๓ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๖๑ น้ัน

ตามความในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้สถานศึกษามี
หน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดำเนินการใช้หลักสูตรการเพิ่มพูนคุณภาพ
หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผล โดย
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาในชุมชนและ
สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความต้องการของผู้เรียนโดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา โรงเรียนจึงได้พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามคำส่ัง
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานเปน็ ท่ีเรียบร้อยแล้ว

ทง้ั น้ี หลักสูตรโรงเรยี นได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมอื่ วนั ที่ ๒๒
เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ จึงประกาศให้ใช้หลักสตู รโรงเรียนตัง้ แตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นายพรเทพ การะเกษ)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นเทวาบดินทรศิวารมย์

สารบญั

เรอื่ ง หนา้
ประกาศโรงเรียนเทวาบดินทรศวิ ารมย์
ความนำ ๑
๑. บทนำ ๑

- ข้อมลู ทั่วไป ๒
- วิสัยทัศน์ ๒
- หลกั การ ๓
- จดุ มงุ่ หมาย
- สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ๔
- คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๕
๒. โครงสรา้ งหลกั สูตร
๒.๑ โครงสรา้ งเวลาเรียน ๖
๑๑
- ระดบั ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖
- ระดับมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑-๓ ๑๗
๒.๒ โครงสร้างหลกั สตู รช้นั ปี ๓๘
- ระดับประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖ ๖๑
ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓
๓. คำอธิบายรายวิชา
- กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
- กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

- กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๖
- กล่มุ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑๓๗
- กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ๑๖๕
- กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๑๘๔
- กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ๒๐๕
๔. โครงสรา้ งกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
- กิจกรรมแนะแนว ๒๓๕
- กจิ กรรมชุมนุม ๒๖๙
- กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ๒๗๘
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๒๙๘
๕. การจดั การเรียนรู้ ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ ๓๒๔
๖. การวัดและประเมนิ ผลเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร ๓๒๕

ความนำ

ตามความในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นำไปสู่การ
พฒั นามาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ที่มีความเหมาะสม
สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีที่เจรญิ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เป็นการพัฒนาส่งเสริมศักยภาพของคน
ในชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการ
เรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับโลกศตวรรษที่ ๒๑ และทัดเทียมกับนานาชาติ
ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดำรงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก โรงเรียนจึงพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษา ดว้ ยการวางแผนและดำเนนิ การใช้หลักสูตร การเพมิ่ พนู คุณภาพหลักสตู รด้วยการวิจัยและพัฒนา
การปรับปรุงและพัฒนาการหลักสูตร จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผล สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความ
ต้องการของผ้เู รยี น โดยทกุ ภาคส่วน

โรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ ได้ดำเนนิ การประเมนิ ผลการใช้หลักสตู รสถานศึกษาเป็นระยะอย่าง
ต่อเนื่อง และนำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสา ระ
ภูมิศาสตร์ในกลุ่มการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัดของรายวิชาอื่นจากหลักสูตรอื่นจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น มาใช้เป็นกรอบในการจัดทำหลักสูตรโรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์
พุทธศักราช ๒๕๖๑ ทั้งการกำหนดวิสัยทัศน์สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์เน้นให้
นกั เรียนโรงเรยี นเทวาบดนิ ทรศิวารมย์ เปน็ ผทู้ ี่มศี ักยภาพท่เี ป็นเลิศทางปัญญา รอบร้ทู างด้านภาษา มีทักษะใน
การใช้เทคโนโลยี เป็นคนดใี ฝค่ ุณธรรมจริยธรรม สามารถพึ่งพาตนเองได้และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขตลอด
ชีวิต ซึ่งเป็นทิศทางหลักในการจัดโครงสร้างเวลาเรยี น โครงสร้างรายภาคเรียนและคำอธบิ ายรายวิชาโดยมีผู้ท่ี
เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมกันพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ ทำให้หลักสูตรสถานศึกษามีคุณภาพ
รวมท้ังมกี รอบทิศทางในการจัดการศึกษาเพมิ่ เติมตามความต้องการของครอบคลุมสมรรถนะและคุณลักษณะที่
พงึ ประสงคข์ องผ้เู รียนทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

ท้ังนี้ การจดั หลักสูตรโรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ จะประสบความสำเรจ็ ตามเป้าหมายทค่ี าดหวัง
ได้ เพราะไดร้ ับความรว่ มมือจากทกุ ฝา่ ยที่เก่ียวขอ้ งทร่ี ่วมกนั ทำงานอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ืองในการวางแผน
ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนานักเรียนและคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรยี นเทวาบดินทรศิวารมย์ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นร้แู ละผลการเรียนร้ทู ก่ี ำหนดไว้



ข้อมลู ท่ัวไป

โรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ ตั้งอยู่ที่ ๓๙ ต.เพ อ.เมือง จ.ระยอง รหัสไปรษณีย์ ๒๑๐๒๖ เป็น
โรงเรียนประเภท ขยายโอกาส มีพื้นที่ทั้งหมด ๘๐ ไร่ประกอบไปด้วยอาคารสำหรบั นักเรียนระดับชั้นอนบุ าล
จำนวน ๑ อาคาร สำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๖ จำนวน ๒ อาคาร สำหรับนกั เรียนระดับช้นั
มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ จำนวน ๒ อาคาร อาคารอำนวยการ ๑ อาคาร หอสมดุ ๑ อาคาร อาคารห้องปฏิบัติการ
ทางวิชาการ จำนวน ๓ อาคาร รวมทั้งสิ้น ๙ อาคาร อีกทั้งยังมีสระว่าย โรงยิม และสนามฟุตบอลที่ได้รับ
มาตรฐานสากลอีกดว้ ย

วิสัยทศั น์

โรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ มุ่งพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้เป็นเลิศทางปัญญา รอบรู้ด้านภาษา
ก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี มีคุณธรรมจรยิ ธรรม พึ่งพาตนเองได้และอยใู่ นสงั คมอยา่ งมีความสุข

หลักการ

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมหี ลกั การท่ีสำคญั ดงั นี้

๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติมีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น
เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ทักษะเจตคติและคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคู่กบั ความเป็นสากล

๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชนที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมคี ุณภาพ

๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถิน่

๔. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาทมี่ โี ครงสรา้ งยืดหยนุ่ ท้งั ดา้ นสาระการเรียนร้เู วลาและการจัดการเรียนรู้

๕. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาท่เี น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั

๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัยครอบคลุมทุก
กลมุ่ เป้าหมายสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นร้แู ละประสบการณ์



จดุ มุ่งหมาย

โรงเรยี นเทวาบดนิ ทรศิวารมย์ได้กำหนดจุดมุง่ หมาย ดงั น้ี

๑. ผู้เรยี นมีอัจฉรยิ ภาพ ความเปน็ เลศิ ทางดา้ นวชิ าการ ตลอดจนผเู้ รียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้
ดว้ ยตนเองและสามารถแก้ปญั หาได้

๒. ม่งุ พฒั นาผู้เรยี นให้เปน็ เลศิ ทางภาษาต่างประเทศอย่างน้อย ๒ ภาษา

๓. ผู้เรียนทุกคนมีความรู้อันเป็นสากล ทันการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าทางวิทยาการ มี
ทกั ษะและมีความสามารถในการจดั การ การสอ่ื สารและการใช้เทคโนโลยี ปรับวถิ กี ารคดิ วิธกี ารทำงานได้อย่าง
เหมาะสม

๔. สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรม และคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ มีทกั ษะการดำรงชวี ติ อย่าง
สนั ติสขุ เเละยดึ ม่ันการปกครองในระบบประชาธิปไตย

๕. ผเู้ รียนมสี ุขภาวะทเี่ หมาะสมตามวัย มคี วามสามารถในการพึ่งพาตนเอง และปรบั ตัวต่อการเป็น
พลเมอื งและพลโลกที่ดี

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ซ่ึง
การพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดนั้นจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ
ดงั นี้

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสารมีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิดความรู้ความเข้าใจความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปญั หาความขดั แย้งตา่ ง ๆ การเลือกรับหรือไมร่ ับข้อมลู ขา่ วสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้องตลอดจนการ
เลือกใช้วธิ กี ารสื่อสารที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะหก์ ารคิดสังเคราะห์การคิดอย่าง
สร้างสรรค์การคดิ อย่างมีวิจารณญาณและการคดิ เป็นระบบเพื่อนำไปสกู่ ารสร้างองค์ความร้หู รือสารสนเทศเพื่อ
การตดั สนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม



๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชญิ
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศเข้าใจความสมั พันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคมแสวงหาความประยุกต์คงกันและญหาและมีการตัดสินใจที่มี
ประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเี่ กิดขึน้ ตอ่ ตนเองสังคมและส่งิ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวันการเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ งการทำงานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย
การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขั ดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสมการ
ปรบั ตัวให้ทนั กับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ทส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ นื่

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การสื่อสา รการ
ทำงานการแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมีคุณธรรม

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ม่งุ พฒั นาผ้เู รยี นใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยูร่ ่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์

๒. ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต

๓. มวี นิ ัย

๔. ใฝ่เรยี นรู้

๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง

๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

๗. รักความเปน็ ไทย

๘. มีจิตสาธารณะ



โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเทวาบดินทรศิวารมย์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โครงสร้างเวลาเรยี น

๑.ระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๖ ใหจ้ ดั เวลาเรียนเป็นรายปี โดยมเี วลาเรยี นวันละ ๕ ช่ัวโมง รวม

เวลาเรียนทั้งปไี มเ่ กนิ ๑,๐๐๐ ช่ัวโมง ตามโครงสร้าง ดังนี้

เวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑.รายวชิ าพ้นื ฐาน

ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

วิทยาศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ภาษาตา่ งประเทศ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐

๒.รายวชิ าเพ่ิมเติม

หน้าท่ีพลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

ภาษาจนี - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐

รวมเวลาเรยี น (เพ่ิมเติม) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

๓.กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น

ลกู เสือ-เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กจิ กรรมชุมนุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

รวมเวลาเรียนทงั้ หมด ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๙๒๐ ๙๒๐ ๙๒๐



๒.ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ใหจ้ ดั เวลาเรียนเป็นรายภาคเรยี น โดยมเี วลาเรยี นวันละ 6 ชว่ั โมง
รวมเวลาเรยี นท้ังปีไม่เกนิ ๑,๒๐๐ ชั่วโมง ตามโครงสรา้ ง ดงั น้ี

กลมุ่ สาระการเรียนรู้/ ม.๑ เวลาเรยี น ม.๓
กจิ กรรม ภาคเรียน ภาคเรียน ระดบั มัธยมศึกษา ภาคเรียน ภาคเรียน

๑.รายวิชาพ้นื ฐาน ท่ี ๑ ท่ี ๒ ม.๒ ท่ี ๑ ท่ี ๒
ภาษาไทย ภาคเรียน ภาคเรียน
คณิตศาสตร์ ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕)
วทิ ยาศาสตร์ ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ที่ ๑ ที่ ๒
สังคมศึกษา ศาสนา และ ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕)
วัฒนธรรม ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕)
ประวัติศาสตร์ ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕)
สุขศกึ ษา ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕)
พลศึกษา ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
ศลิ ปะ ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕)
การงานอาชพี ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
ภาษาองั กฤษ ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
๒.รายวชิ าเพ่ิมเติม ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
หน้าทพ่ี ลเมือง ๔๒๐ ๔๒๐ ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
คณติ ศาสตรเ์ พิม่ เตมิ (๑๐.๕) (๑๐.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕) ๖๐ (๑.๕)
วทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ
ภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๔๒๐ ๔๒๐ ๔๒๐ ๔๒๐
ภาษาจนี ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) (๑๐.๕) (๑๐.๕) (๑๐.๕) (๑๐.๕)
หลักสตู รทอ้ งถิ่น ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
รวมเวลาเรยี น (เพม่ิ เติม) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
๑๒๐ (๓) ๑๒๐ (๓) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕)
๑๒๐ (๓) ๑๒๐ (๓) ๑๒๐ (๓) ๑๒๐ (๓)



เวลาเรยี น

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ ระดบั มัธยมศกึ ษา (ต่อ)
กิจกรรม ม.๑ ม.๒ ม.๓
ภาคเรยี น ภาคเรยี น ภาคเรียน ภาคเรยี น ภาคเรียน ภาคเรียน

ท่ี ๑ ท่ี ๒ ที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๑ ที่ ๒

๓.กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

ลกู เสอื -เนตรนารี ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

กจิ กรรมชมุ นุม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
สาธารณประโยชน์

รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผุ้ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐
เรยี น

รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๕๔๐ ๕๔๐ ๕๔๐ ๕๔๐ ๕๔๐ ๕๔๐

โครงสรา้ งหลกั สูตรชน้ั ปี

๑.ระดับประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖

โครงสร้างหลักสตู ร ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)

๑.รายวิชาพ้นื ฐาน ๘๔๐

ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐

ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐

ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๔๐

ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐

ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐

พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐

ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๔๐

ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐

อ ๑๑๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ ๒๐๐

๒.รายวชิ าเพ่มิ เติม ๔๐

ส ๑๑๒๐๑ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๔๐



โครงสร้างหลกั สตู ร ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ (ต่อ)

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง/ปี)

๓.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐

ลูกเสือสำรอง ๔๐

กิจกรรมแนะแนว ๔๐

กิจกรรมชุมนุม ๓๐

กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมเวลาเรียนท้ังหมด ๘๘๐

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๒

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง/ปี)

๑.รายวิชาพ้นื ฐาน ๘๔๐

ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐

ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐

ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๔๐

ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐

ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐

พ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐

ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐

ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐

อ ๑๒๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ ๒๐๐

๒.รายวชิ าเพิม่ เติม ๔๐

ส ๑๒๒๐๑ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๔๐

๓.กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๒๐

ลูกเสอื สำรอง ๔๐

กจิ กรรมแนะแนว ๔๐

กจิ กรรมชุมนมุ ๓๐

กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด ๘๘๐



โครงสร้างหลกั สตู ร ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง/ปี)

๑.รายวิชาพ้นื ฐาน ๘๔๐

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐

ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐

ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๔๐

ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐

ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐

พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐

ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐

ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐

อ ๑๓๑๐๑ ภาษาตา่ งประเทศ ๒๐๐

๒.รายวิชาเพิม่ เติม ๔๐

ส ๑๓๒๐๑ หน้าท่พี ลเมอื ง ๔๐

๓.กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๑๒๐

ลกู เสือสำรอง ๔๐

กจิ กรรมแนะแนว ๔๐

กจิ กรรมชุมนุม ๓๐

กจิ กรรมเพื่อสังและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมเวลาเรียนทงั้ หมด ๘๘๐

โครงสรา้ งหลักสตู ร ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง/ปี)

๑.รายวชิ าพ้ืนฐาน ๘๔๐

ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐

ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐

ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐

ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐

ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐

พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐

ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๘๐



โครงสร้างหลักสตู ร ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ (ต่อ)

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง/ปี)

๑.รายวิชาพืน้ ฐาน ๘๔๐

ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘๐

อ ๑๔๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ ๑๖๐

๒.รายวชิ าเพิ่มเติม ๘๐

ส ๑๔๒๐๑ หน้าที่พลเมอื ง ๔๐

จ ๑๔๒๐๑ ภาษาจนี ๔๐

๓.กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑๒๐

ลูกเสือสำรอง ๔๐

กิจกรรมแนะแนว ๔๐

กิจกรรมชุมนมุ ๓๐

กิจกรรมเพื่อสงั และสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมเวลาเรียนทงั้ หมด ๙๒๐

โครงสรา้ งหลกั สูตร ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)

๑.รายวชิ าพ้นื ฐาน ๘๔๐

ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐

ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐

ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐

ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐

ส ๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐

พ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๘๐

ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๘๐

ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘๐

อ ๑๕๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ ๑๖๐

๒.รายวิชาเพิม่ เติม ๘๐

ส ๑๕๒๐๑ หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๔๐

จ ๑๕๒๐๑ ภาษาจนี ๔๐

๑๐

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ (ตอ่ )

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ช่ัวโมง/ปี)

๓.กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ๑๒๐

ลูกเสือสำรอง ๔๐

กจิ กรรมแนะแนว ๔๐

กิจกรรมชุมนุม ๓๐

กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด ๙๒๐

โครงสร้างหลักสูตร ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง/ปี)

๑.รายวิชาพ้นื ฐาน ๘๔๐

ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐

ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐

ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐

ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐

ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐

พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐

ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐

ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘๐

อ ๑๖๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ ๑๖๐

๒.รายวิชาเพ่มิ เติม ๘๐

ส ๑๖๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมือง ๔๐

จ ๑๖๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐

๓.กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๒๐

ลูกเสอื สำรอง ๔๐

กจิ กรรมแนะแนว ๔๐

กจิ กรรมชุมนมุ ๓๐

กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมเวลาเรยี นท้ังหมด ๙๒๐

๒.ระดบั มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ๑๑

โครงสร้างหลักสตู ร ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ นก. ชม.
๑.๕ ๖๐
ภาคเรยี นท่ี ๑ ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
รหสั วชิ า รายวิชาพ้นื ฐาน ๑.๕ ๖๐
๐.๕ ๒๐
ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐
๑.๕ ๖๐
ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๑๐.๕ ๔๒๐
นก. ชม.
ส ๒๑๑๖๑ ประวตั ิศาสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
พ ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
พ ๒๑๑๐๓ พลศึกษา ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ศ ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๓ ๑๒๐
๑๓.๕ ๕๔๐
ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ นก. ชม.
- ๒๐
ง ๒๑๑๐๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศ - ๒๐
- ๑๐
อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน ๑ - ๑๐
- ๖๐
รวมเวลาเรยี น (พื้นฐาน)

รหัสวิชา รายวิชาพ้ืนฐาน

ส ๒๐๒๓๑ หน้าทีพ่ ลเมือง ๑

ค ๒๑๒๐๑ คณิตศาสตร์เพม่ิ เติม ๑

ว ๒๑๒๐๑ ปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ ๑

อ ๒๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๑

จ ๒๑๒๐๑ ภาษาจีน ๑

ส ๒๑๒๐๑ รู้เร่ืองเมืองระยอง ๑

รวมเวลาเรียน (เพ่ิมเติม)

รวมเวลาเรยี นทั้งหมด

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

ลกู เสอื -เนตรนารสี ามญั

กิจกรรมแนะแนว

กิจกรรมชมุ นุม

กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา (กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน)

โครงสรา้ งหลักสตู ร ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ๑๒

ภาคเรียนท่ี ๒ นก. ชม.
๑.๕ ๖๐
รหสั วชิ า รายวิชาพ้นื ฐาน ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ ๖๐
๐.๕ ๒๐
ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว ๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ส ๒๑๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒ ๐.๕ ๒๐
๑.๕ ๖๐
ส ๒๑๑๖๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒
๔๒๐
พ ๒๑๑๐๒ สุขศึกษา ๒ นก. ชม.
๐.๕ ๒๐
พ ๒๑๑๐๔ ว่ายนำ้ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ศ ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ง ๒๑๑๐๒ การงานอาชพี ๒ ๐.๕ ๒๐
๓ ๑๒๐
ง ๒๑๑๐๔ โปรแกรมสำนักงาน ๑๓.๕ ๕๔๐
นก. ชม.
อ ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน ๒ - ๒๐
- ๒๐
รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) - ๑๐
- ๑๐
รหสั วิชา รายวิชาพ้นื ฐาน - ๖๐

ส ๒๐๒๓๒ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๒

ค ๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิม่ เตมิ ๒

ว ๒๑๒๐๒ ปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ ๒

อ ๒๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ๒

จ ๒๑๒๐๒ ภาษาจีน ๒

ส ๒๑๒๐๒ รู้เรอื่ งเมืองระยอง ๒

รวมเวลาเรียน (เพิ่มเติม)

รวมเวลาเรียนทง้ั หมด

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน

ลกู เสอื -เนตรนารสี ามญั

กิจกรรมแนะแนว

กจิ กรรมชุมนมุ

กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา (กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน)

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๑๓

ภาคเรยี นท่ี ๑ นก. ชม.
๑.๕ ๖๐
รหสั วชิ า รายวชิ าพื้นฐาน ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๑.๕ ๖๐
๐.๕ ๒๐
ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ส ๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓ ๐.๕ ๒๐
๑.๕ ๖๐
ส ๒๒๑๖๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๑๐.๕ ๔๒๐
นก. ชม.
พ ๒๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๓ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
พ ๒๒๑๐๓ แบดมินตัน ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ศ ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๓ ๓ ๑๒๐
๑๓.๕ ๕๔๐
ง ๒๒๑๐๕ Animation graphic นก. ชม.
- ๒๐
อ ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน ๓ - ๒๐
- ๑๐
รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) - ๑๐
- ๖๐
รหัสวิชา รายวชิ าพน้ื ฐาน

ส ๒๐๒๓๓ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๒

ค ๒๒๒๐๓ คณติ ศาสตร์เพิ่มเตมิ ๒

ว ๒๒๒๐๑ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๑

อ ๒๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษฟัง-พูด ๑

จ ๒๒๒๐๑ ภาษาจีน ๓

ท ๒๒๒๐๑ ภาษาถ่นิ ระยอง ๑

รวมเวลาเรยี น (เพ่มิ เติม)

รวมเวลาเรียนทั้งหมด

กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน

ลกู เสือ-เนตรนารีสามัญ

กจิ กรรมแนะแนว

กจิ กรรมชุมนุม

กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา (กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน)

โครงสร้างหลกั สูตร ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑๔

ภาคเรยี นที่ ๒ นก. ชม.
๑.๕ ๖๐
รหัสวิชา รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๑.๕ ๖๐
๐.๕ ๒๐
ค ๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว ๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ส ๒๒๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔ ๐.๕ ๒๐
๑.๕ ๖๐
ส ๒๒๑๖๔ ประวัติศาสตร์ ๔
๔๒๐
พ ๒๒๑๐๒ สุขศึกษา ๔ นก. ชม.
๐.๕ ๒๐
พ ๒๒๑๐๔ วอลเลยบ์ อล ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ศ ๒๒๑๐๒ ศลิ ปะ ๔ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ง ๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๔ ๐.๕ ๒๐
๓ ๑๒๐
ง ๒๒๑๐๖ การออกแบบเวบ็ ไซต์ ๑๓.๕ ๕๔๐
นก. ชม.
อ ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษพื้นฐาน ๔ - ๒๐
- ๒๐
รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) - ๑๐
- ๑๐
รหสั วชิ า รายวิชาพน้ื ฐาน - ๖๐

ส ๒๐๒๓๔ หน้าทพ่ี ลเมือง ๓

ค ๒๒๒๐๔ คณติ ศาสตร์เพ่ิมเตมิ ๓

ว ๒๒๒๐๒ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๒

อ ๒๒๒๐๒ ภาษาองั กฤษฟงั -พดู ๒

จ ๒๒๒๐๒ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๔

ท ๒๒๒๐๒ ภาษาถน่ิ ระยอง ๒

รวมเวลาเรยี น (เพม่ิ เติม)

รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น

ลกู เสือ-เนตรนารีสามัญ

กิจกรรมแนะแนว

กิจกรรมชมุ นุม

กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา (กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน)

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑๕

ภาคเรยี นท่ี ๑ นก. ชม.
๑.๕ ๖๐
รหสั วิชา รายวิชาพืน้ ฐาน ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑.๕ ๖๐
๐.๕ ๒๐
ค ๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว ๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ส ๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕ ๐.๕ ๒๐
๑.๕ ๖๐
ส ๒๓๑๖๕ ประวตั ิศาสตร์ ๕
๔๒๐
พ ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๕ นก. ชม.
๐.๕ ๒๐
พ ๒๓๑๐๓ ฟตุ ซอล ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ศ ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๐.๕ ๒๐
๓ ๑๒๐
ง ๒๓๑๐๗ การตัดต่อวีดิโอ ๑ ๑๓.๕ ๕๔๐
นก. ชม.
อ ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษพื้นฐาน ๕ - ๒๐
- ๒๐
รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) - ๑๐
- ๑๐
รหัสวชิ า รายวิชาพืน้ ฐาน - ๖๐

ส ๒๐๒๓๓ หน้าที่พลเมือง ๕

ค ๒๓๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิม่ เตมิ ๕

ว ๒๓๒๐๑ ของเลน่ วิทยาศาสตร์

อ ๒๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษอา่ น-เขียน ๑

จ ๒๓๒๐๑ ภาษาจีน ๕

ง ๒๓๒๐๑ การออกแบบผลิตภณั ฑ์ ๑

รวมเวลาเรียน (เพมิ่ เติม)

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

ลูกเสอื -เนตรนารีสามญั

กิจกรรมแนะแนว

กจิ กรรมชมุ นุม

กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา (กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน)

โครงสร้างหลักสตู ร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑๖

ภาคเรียนท่ี ๒ นก. ชม.
๑.๕ ๖๐
รหัสวชิ า รายวิชาพืน้ ฐาน ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑.๕ ๖๐
๐.๕ ๒๐
ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว ๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ส ๒๓๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๖ ๐.๕ ๒๐
๑.๕ ๖๐
ส ๒๓๑๖๖ ประวตั ิศาสตร์ ๖
๔๒๐
พ ๒๓๑๐๒ สขุ ศึกษา ๖ นก. ชม.
๐.๕ ๒๐
พ ๒๓๑๐๔ แฮนด์บอล ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ศ ๒๓๑๐๒ ศลิ ปะ ๖ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ง ๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๕ ๐.๕ ๒๐
๓ ๑๒๐
ง ๒๓๑๐๘ การตัดต่อวดี โิ อ ๒ ๑๓.๕ ๕๔๐
นก. ชม.
อ ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน ๖ - ๒๐
- ๒๐
รวมเวลาเรยี น (พืน้ ฐาน) - ๑๐
- ๑๐
รหัสวิชา รายวชิ าพ้นื ฐาน - ๖๐

ส ๒๐๒๓๖ หนา้ ท่พี ลเมือง ๖

ค ๒๓๒๐๒ คณติ ศาสตร์เพ่ิมเตมิ ๖

ว ๒๓๒๐๒ พลังงานทดแทน

อ ๒๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษอา่ น-เขยี น ๒

จ ๒๓๒๐๒ ภาษาจนี ๖

ง ๒๓๒๐๒ การออกแบบผลติ ภัณฑ์ ๒

รวมเวลาเรยี น (เพิ่มเติม)

รวมเวลาเรยี นท้ังหมด

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ลูกเสอื -เนตรนารีสามญั

กิจกรรมแนะแนว

กจิ กรรมชุมนมุ

กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา (กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น)

๑๗

คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

๑๘

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

รหัสวชิ า ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง

การอา่ น

ฝึกอ่านออกเสียงคำพื้นฐานไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คำ คำคล้องจองและข้อความสั้น ๆ มีความรู้ความ
เข้าใจความหมายของคำ การอ่านจับใจความจากนิทาน เรื่องสั้น บทร้องเล่นและบทเพลง เรื่องราวจาก
บทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ และ
คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
สังเกต ฝึกอ่านเข้าใจความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน มารยาท
ในการอา่ น

การเขียน

สังเกตและฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย ฝึกเขียนคำ
ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน คำพื้นฐานในบทเรียนและคำคล้องจอง ฝึกปฏิบัติตนในการเขียนสื่อสารด้วยคำและ
ประโยคง่าย ๆ มารยาทในการเขียนโดยเขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ ใช้ภาษา
เขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และบุคคล

การฟัง การดู และการพูด

ฝึกปฏิบัติตนในการฟังคำแนะนำ คำสั่งง่าย การตอบคำถามเล่าเรื่องที่ฟัง และพูดแสดงความ
คิดเห็นความรู้สึกจากเร่ืองที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิงประเภท เรื่องเล่า และ สารคดีสำหรับ
เด็ก นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน การพูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ การพูดแนะนำตนเอง การขอความ
ชว่ ยเหลอื การกลา่ วคำขอบคุณ และการกลา่ วคำขอโทษ มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

หลักการใช้ภาษาไทย

สังเกต มีความรู้ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติตนให้เกิดทักษะในการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์เลข
ไทย การเขียนสะกดคำ การแจกลูก การอ่านเป็นคำ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
การผันคำ ความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยค และการต่อคำคล้องจองง่าย ๆวรรณคดีและ
วรรณกรรมฝึกปฏิบัติให้มีความรู้ความเข้าใจ ขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอ่าน การฟงั วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรอง
สำหรับเด็กประเภท นิทานพื้นบ้าน เรื่องสั้นง่าย ๆ ปริศนาคำทาย บทร้องเล่นในท้องถิ่น คำภาษาถิ่น ซึ่งเป็น
วัฒนธรรมท้องถิ่น บทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองตามความสนใจ เห็นคุณค่าของภาษาไทย มี
นิสัยรักการอ่าน มารยาทในการเขียน การฟัง การดู การพูดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ นำมา

๑๙

ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ชื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพี ยง
มุ่งมั่นการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะ
รหสั ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ , ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป. ๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.ด/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/ ๑, ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป./๑/๒
รวมทง้ั หมด ๒๒ ตัวชีว้ ัด

๒๐

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รหสั วิชา ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง

การอา่ น

ฝึกอ่านออกเสียงคำพืน้ ฐานไม่น้อยกว่า ๘๐๐ คำ คำคลอ้ งจอง ข้อความและบทร้อยกรองง่าย ๆคำ
ทมี่ ีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์ คำทม่ี ีตวั สะกดตรงมาตราและไมต่ รงมาตราคำท่ีมีพยญั ชนะควบกล้ำคำ
ที่มีอักษรนำ คำที่มีตัวการันต์ คำที่มี รร คำที่มีพยัญชนะและสระที่ไม่ออกเสียง ศึกษาความหมายของคำและ
ข้อความที่อ่าน ฝึกปฏิบัติในการอ่านจับใจความสำคัญจากสื่อประเภท นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลงและบท
ร้อยกรองง่าย ๆ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นข่าว
เหตุการณ์ประจำวัน การตั้งคำถามและตอบคำถาม ศึกษาวิเคราะห์ระบุใจความสำคัญ รายละเอียดพร้อมทั้ง
แสดงความคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ และ
นำเสนอเรอื่ งท่อี ่าน การอา่ นขอ้ เขียนเชิงอธบิ ายและปฏบิ ตั ิตามคำส่ังหรือข้อแนะนำ มารยาทในการอ่าน

การเขียน

สังเกต ฝึกปฏิบัติคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทยการเขียน
เร่ืองสัน้ ๆ เก่ียวกับประสบการณ์ การเขยี นเรื่องส้ันตามจินตนาการ มารยาทในการเขียน

การฟงั การดู และการพูด

สังเกต ฝึกปฏิบัติตนในการฟังคำแนะนำ คำสั่งชับซ้อน การเล่าเรื่องที่ฟัง และดู ทั้งที่เป็นความรู้
และความบันเทิงประเภท เรื่องเล่าและสารคดีสำหรับเด็ก นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน รายการสำหรับเด็กข่าว
เหตุการณ์ประจำวัน และเพลง ศึกษาวิเคราะห์สาระสำคัญ การตั้งคำถามและตอบคำถาม การพูดแสดงความ
คิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู การฝึกพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน การพูดแนะนำตนเอง การขอ
ความช่วยเหลือ การกล่าวคำขอบคุณ การกล่าวคำขอโทษ การพูดขอร้องในโอกาสต่าง ๆ และการเล่า
เหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจำวนั มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

หลกั การใชภ้ าษาไทย

ศกึ ษา และฝกึ เขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย การเขียนสะกดคำ การแจกลูกการอ่าน
เปน็ คำ มาตราตวั สะกดตรงตามมาตรา และไมต่ รงตามมาตรา การผนั อกั ษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ คำที่
มีตัวการนั ต์ คำทมี่ ีพยัญชนะควบกล้ำ คำทม่ี ีอกั ษรนำ คำท่ีมคี วามหมายตรงขา้ ม คำที่มี รร ความหมายของคำ
การแต่งประโยค เรยี บเรยี งประโยคที่เปน็ ขอ้ ความสั้น ๆ ได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสารลักษณะคำคล้องจอง
การเลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

๒๑

วรรณคดแี ละวรรณกรรม

ศกึ ษา วเิ คราะห์ ข้อคิดท่ีไดจ้ ากการอ่านหรือการฟงั วรรณกรรมสำหรบั เด็ก ประเภท นิทานพ้นื บ้าน
เรื่องสั้นง่าย ๆ ปริศนาคำทาย คำภาษาถิ่น บทร้องเล่นในท้องถิ่น บทร้องเล่นในการละเล่นของเด็กไทย ฝึก
ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ เห็นคุณค่าของภาษาไทย มีนิสัย
รักการอา่ น มารยาทในการเขียน การฟงั การดู การพดู อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ นำมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวัน มคี วามรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซือ่ สตั ยส์ ุจริต มวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง มุง่ มั่นการทำงาน
รกั ความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะ

รหสั ตัวชีว้ ดั

ท ๑.๑ ป.๒/ ๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘

ท ๒.๑ ป.๒/ ๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

ท ๓.๑ ป.๒/ ๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗

ท ๔.๑ ป.๒/ ๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕

ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวมทัง้ หมด ๒๗ ตวั ชี้วัด

๒๒

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหสั วชิ า ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

การอ่าน

ฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำพื้นฐาน ๑,๒๐๐ คำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ คำที่มีตัวการันต์ คำที่มี รร
คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง คำพ้อง คำที่ใช้ ฤ ฤา และบทร้อยกรองง่าย ๆ ศึกษาความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน ฝึกอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ ประเภท นิทานหรือเรื่องเกี่ยวกับท้องถิ่น เรื่องเล่าสั้น ๆ
บทเพลงและบทร้อยกรอง บทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันในท้องถิ่น
และชุมชน ศึกษาวิเคราะห์การต้ังคำถาม ตอบคำถามเชงิ เหตุผล ลำดบั เหตกุ ารณ์ และคาดคะเนเหตุการณ์จาก
เรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ การสรุปความรู้และข้อคิดเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอ่านหนังสือตาม
ความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน ฝึกอ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือ
ขอ้ แนะนำ สังเกต ศกึ ษาวิเคราะห์ความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู มิ ารยาทในการอา่ น

การเขยี น

สังเกต ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนอักษรไทย ฝึกเขียนบรรยาย
เกย่ี วกับส่งิ ใดสงิ่ หน่ึงได้อยา่ งชัดเจน เขียนบนั ทกึ ประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการจาก
คำ ภาพและหวั ข้อทีก่ ำหนด มารยาทในการเขยี น

การฟงั การดู และการพูด

ฝึกปฏิบัติตนในการเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ประเภท เรื่องเลา่ และสารคดสี ำหรบั เดก็ นิทาน การ์ตนู เร่อื งขบขัน รายการสำหรบั เดก็ ขา่ วและเหตุการณ์ใน
ชวี ิตประจำวัน และเพลง ศึกษาวเิ คราะห์สาระสำคัญ การตั้งคำถามและตอบคำถาม พดู แสดงความคดิ เห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู สังเกตและฝึกปฏิบัติตนในการพูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์และ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งเป็นการพูดแนะนำตนเอง แนะนำสถานที่ในโรงเรียนและในชุมชน เชิญชวน
เกย่ี วกับการปฏบิ ตั ติ นในด้านต่าง ๆ การเลา่ ประสบการณใ์ นชวี ิตประจำวนั การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ มารยาทใน
การฟัง การดู และการพูด

ฝึกเขียนสะกดคำ แจกลูก การอ่านเป็นคำ คำมาตราตัวสะกดที่ตรงมาตราและไม่ตรงมาตราการผัน
อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำที่ประวิสรรชนีย์และคำที่ไม่
ประวิสรรชนีย์ คำที่มี ฤ ฤา คำที่ใช้บัน บรร คำที่ใช้ รร คำที่มี ตัวการันต์ ศึกษาความหมายของคำ ชนิดและ

๒๓

หน้าที่ของคำนาม คำสรรพนาม และคำกริยาในประโยค การใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ ฝึกแต่ง
ประโยคบอกเลา่ ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำถาม ประโยคของรอ้ ง และประโยคคำสง่ั เพื่อใช้ในการสอ่ื สาร แต่ง
คำคล้องจอง และ คำขวัญ การเลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ

วรรณคดีและวรรณกรรม

ศึกษาวิเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมและเพลงพื้นบ้านประเภท นิทานหรือเร่ืองใน
ท้องถิ่น เรื่องสั้นง่าย ๆ ปริศนาคำทาย บทร้อยกรอง เพลงพื้นบา้ น เพลงกล่อมเดก็ คำภาษาถิ่น บทร้องเล่นใน
ท้องถิ่น ร้องเพลงกล่อมลูก และนิทานพื้นบ้านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
วรรณคดที ีอ่ า่ น ความชื่นชมวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น บทอาขยานทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองที่มคี ุณคา่ ตามความสนใจ
เห็นคุณค่าของภาษาไทย และรักษาไว้ด้วยความเป็นภูมิปัญญาไทย มีนิสัยรักการอ่าน มารยาทในการเขียน
การฟัง การดู การพูดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีความรักชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ ชื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นการทำงานรักความเป็นไทย และมีจิต
สาธารณะ

รหสั ตวั ชีว้ ดั

ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ป.๓/๓, ป.๓/๔ , ป.๓/๕, ป.๓/๖ , ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙

ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖

ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.ก/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖

ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖

ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวมท้ังหมด ๓๑ ตวั ชวี้ ดั

๒๔

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหัสวิชา ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ชัว่ โมง

การอา่ น

ฝกึ อ่านออกเสยี ง บทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง คำทีม่ ี ร ล เป็นพยัญชนะต้น คำทม่ี ีพยญั ชนะ ควบ
กล้ำ คำท่มี ีอกั ษรนำ คำประสม อกั ษรยอ่ และเคร่ืองหมายวรรคตอน ศกึ ษาวเิ คราะหค์ วามหมายของคำประโยค
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย ปริศนาคำทาย ฝึกอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การอ่านจับใจความจากสื่อ
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นสื่อประเภท เรื่องสั้น ๆ เรื่องเล่าจากประสบการณ์ นิทานชาดก บทความบทโฆษณา งานเขียน
ประเภทโน้มน้าวใจ ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน สารคดีและบันเทิงศึกษาวิเคราะห์แยกข้อเท็จจริงและ
ขอ้ คิดเหน็ คาดคะเนเหตุการณ์ ระบุเหตุผล สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองที่อา่ นเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
การอา่ นหนังสือทมี่ ีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอการแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เรื่องที่อา่ น มารยาทใน
การอา่ น

การเขยี น

สังเกต ฝึกปฏบิ ตั กิ ารคดั ลายมือดว้ ยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัว
อกั ษรไทย ฝกึ การเขยี นสอ่ื สารประเภทคำขวัญและคำแนะนำโดยใชค้ ำได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสมการเขียน
แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน ฝึกเขียนย่อความจากสื่อประเภทนิทาน ความ
เรยี งประเภทตา่ ง ๆ ประกาศ จดหมาย คำสอน การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและบดิ ามารดาการเขียนบนั ทึกและ
เขยี นรายงานจากการศกึ ษาค้นควา้ เขียนเรอ่ื งจากจนิ ตนาการ มารยาทในการเขียน

การฟัง การดู และการพดู

ศึกษาวิเคราะห์จำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น การจับใจความสำคัญและการพูดแสดงความรู้
ความคิดในเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่าง ๆ จากเร่ืองเล่า บทความ ข่าว เหตุการณ์ประจำวัน โฆษณา สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องราวจากบทเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ื่น ฝึกตั้งคำถาม
ตอบคำถามเชิงเหตุผล การพูดรายงาน เรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา
มารยาทในการฟัง การดู และการพดู

๒๕

การใชภ้ าษาไทย

สังเกต ฝึกสะกดคำ ในแม่ ก กา มาตราตัวสะกด การผันอักษร คำเป็นคำตายและคำพ้อง ศึกษา
วิเคราะห์ความหมายของคำในบริบทตา่ ง ๆ ชนิดและหนา้ ทีข่ องคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา และคำวิเศษณ์
ในประโยค การใช้พจนานกุ รมคน้ หาความหมายของคำ ฝึกแต่งประโยคสามญั ประโยค ๒ ส่วนและประโยค ๓
ส่วน ถูกต้องตามหลักภาษา การแต่งบท ร้อยกรอง ประเภทกลอนสี่ คำขวญั ศึกษาความหมายของสำนวน คำ
พงั เพยและสภุ าษติ การเปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ิน

วรรณคดีและวรรณกรรม

ศกึ ษาวิเคราะห์ข้อคิดจากนิทานพน้ื บ้านหรือนิทานคติธรรม เพลงพนื้ บ้าน วรรณคดีและวรรณกรรมใน
บทเรยี นหรอื ตามความสนใจ คำภาษาถิน่ ปรศิ นาคำทาย บทร้องเล่นในท้องถ่ิน สรภญั ญะเพลงกล่อมลกู เพลง
พื้นบ้าน ข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริง บทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม
ความสนใจ เห็นคุณค่าของภาษาไทย และรักษาไว้ด้วยความเป็นภูมปิ ัญญาไทย มีนิสัยรักการอ่าน มารยาทใน
การเขยี น การฟงั การดู การพูดอยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ นำมาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันมี ความ
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ชื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นการทำงานรักความเป็นไทย
และมีจิตสาธารณะ

รหสั ตวั ข้วี ัด

ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘

ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘

ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖

ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗

ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวช้วี ดั

๒๖

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

การอ่าน

ศึกษาเก่ียวกับหลักการอ่าน และฝึกการปฏิบัติตนในการอ่านบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง คำที่มี
พยัญชนะควบกลำ้ คำท่ีมีอกั ษรนำ คำทีม่ ีตัวการันต์ อกั ษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน การอ่านบทร้อยกรอง
เปน็ ทำนองเสนาะ ฝึกอา่ นคำ ประโยค ข้อความทเี่ ป็นคำบรรยายและการพรรณนา ศึกษาวิเคราะห์ความหมาย
โดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านการแสดงความคิด เห็น
เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ การอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจ
อยา่ งสมำ่ เสมอและแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับเรอ่ื งท่ีอา่ น มารยาทในการอ่าน

การเขียน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดโดยสังเกตจากรูปแบบการเขี ยนอักษรไทย
ฝึกการเขียนสื่อสาร ประเภทคำขวัญ คำอวยพร การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้
พัฒนางานเขียน การเขียนย่อความจากสื่อประเภท นิทาน ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ แจ้งความ
แถลงการณ์ คำสอน โอวาท คำปราศรัย การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและ
ความคดิ เห็นไดต้ รงตามเจตนา การกรอกแบบรายการต่าง ๆ ใบฝากเงินและใบถอนเงิน ธนาณตั ิ และแบบฝาก
ส่งพสั ดไุ ปรษณยี ภัณฑ์ การเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ มารยาทในการเขียน

การฟัง การดแู ละการพดู

ฝึกพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น ความรู้สึก จากเรื่องที่ฟัง และดูจากสื่อประเภท เรื่องเล่า
บทความ ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจำวัน โฆษณา สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ฝกึ ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลการ
วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองท่ีฟังและดู การพดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดู
และการสนทนา มารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู

หลักการใช้ภาษาไทย

ศึกษา สังเกต ชนิดและหน้าที่ของคำบุพบท คำสันธาน และคำอุทานในประโยคส่วนประกอบของ
ประโยค การวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นการใช้คำราชาศัพท์ คำภาษาต่างประเทศท่ี
ใชใ้ นภาษาไทย ฝึกแตง่ บทรอ้ ยกรอง และใชส้ ำนวนได้

๒๗

วรรณคดแี ละวรรณกรรม

ศึกษาวิเคราะห์เรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ข้อคิดจากการอ่าน คุณค่าของวรรณคดี
และวรรณกรรม บทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ ฝึกอ่าน รวบรวมภาษา
ถนิ่ ปรศิ นาคำทาย บทร้องเลน่ ในท้องถิน่ สรภญั ญะ เพลงกลอ่ มลูก นิทานพ้นื บ้านนทิ านคตธิ รรม เพลงพ้ืนบ้าน
เห็นคุณค่าของภาษาไทย และรักษาไว้ด้วยความเป็นภูมิปัญญาไทย มีนิสัยรักการอ่าน มารยาทในการเขียน
การฟัง การดู การพูดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีความรักชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิต
สาธารณะ

รหัสตวั ข้ีวัด

ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘

ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙

ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗

ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวมท้ังหมด ๓๓ ตวั ชว้ี ดั

๒๘

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รหสั วชิ า ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

การอา่ น

ศึกษาเก่ียวกบั หลักการอ่านและฝกึ ปฏบิ ัตติ นในการอา่ น บทรอ้ ยแก้ว บทร้อยกรองคำท่ีมีพยัญชนะ
ควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำที่มีตัวการันต์ คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน
วัน เดอื น ปี แบบไทย ความหมายของคำ ประโยค ข้อความที่เป็นโวหาร สำนวนเปรียบเทียบ ฝึกอ่านบทร้อย
กรองเป็นทำนองเสนาะ การอ่าน เรื่องสั้น นิทานและเพลงพื้นบ้าน บทความ พระบรมราโชวาทสารคดี งาน
เขียนประเภทโน้มนา้ ว บทโฆษณา ข่าวและเหตุการณป์ ระจำวนั ศกึ ษาวิเคราะห์แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
จากเรื่องท่ีอ่าน ฝึกการนำความรูแ้ ละความคิดจากเร่ืองทีอ่ ่านไปตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาในการดำเนินชีวติ การอ่าน
งานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ ศึกษาความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและ
กราฟ การอ่านหนงั สือตามความสนใจและคณุ คา่ ท่ไี ดร้ บั มารยาทในการอ่าน

การเขยี น

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการเขียน และฝึกการปฏิบัติตนในการคัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง
บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนอักษรไทย การเขยี นส่อื สารประเภทคำขวัญ คำอวยพร และประกาศ โดยใช้คำได้
ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียนการเขียน
เรียงความ การเขียนข้อความจากเรื่องที่อ่าน เขียนจดหมายส่วนตัว การกรอกแบบรายการต่าง ๆประเภทคำ
ร้อง ใบสมัครศึกษาต่อแบบฝากส่งพัสดุและไปรษณียภัณฑ์ การเขียนเรื่องตามจินตนาการ อย่างสร้างสรรค์
มารยาทในการเขยี น

การฟัง การดู และการพูด

ฝึกพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจดุ ประสงค์ของเรื่อง และ ฝึกตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดูศึกษาวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง และดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล ฝึกพูดรายงาน
เรอื่ งหรือประเดน็ ทศ่ี กึ ษาค้นคว้าจากการฟงั การดแู ละการสนทนา การพดู โน้มนา้ วอยา่ งมีเหตผุ ลและน่าเชื่อถือ
มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๒๙

หลกั การใชภ้ าษาไทย

ศึกษาวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบท คำเชื่อม
และคำอุทานในประโยค การใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล ความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่
ใช้ในภาษาไทย ลักษณะของประโยค ฝึกแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ การเปรียบเทียบสำนวนที่เปน็
คำพงั เพยและสุภาษติ

วรรณคดีและวรรณกรรม

ศึกษาวิเคราะห์ วรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่านฝึกเล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นของตนและนิทาน
พ้ืนบ้านท้องถิ่นอื่น คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง บทอาขยาน
ตามที่กำหนดและบทร้อยกรองทมี่ ีคุณค่าตามความสนใจ ภาษาถ่นิ ปรศิ นาคำทาย บทร้องเล่นในท้องถ่ิน เพลง
กล่อมลูก ตำนาน เรื่องสั้น เห็นคุณค่าของภาษาไทย และรักษาไว้ด้วยความเป็นภูมิปัญญาไทย มีนิสัยรักการ
อ่าน มารยาทในการเขียน การฟัง การดู การพูดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ นำมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวนั มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อย่อู ยา่ งพอเพียง มุ่งมั่นการทำงาน
รกั ความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ

รหสั ตวั ช้ีวัด

ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙,

ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙

ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖

ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖

ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวมท้ังหมด ๓๔ ตัวชี้วดั

๓๐

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จํานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาวิเคราะห์ และฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง การอ่านจับใจความ
สําคัญจากสื่อต่างๆ ระบุและอธิบายคําเปรียบเทียบ และคําที่มีหลายความหมายในบริบทต่างๆจากการ การ
อา่ นและปฏิบัตติ ามคู่มือ แนะนาํ วธิ ีการใช้งานของเคร่ืองมือหรือเคร่ืองใช้ การคดั ลายมือตั้งบรรจงครึ่ง บรรทัด
การเขียนสอื่ สารโดยใช้ถ้อยคําถูกต้อง ชดั เจน เหมาะสมและสละสลวย เขียนบรรยาย ประสบการณ์ และเขียน
ย่อความจากเรื่องที่อ่าน เขียนจดหมายส่วนตัวและจดหมายกิจธุระ การเขียน เรียงความ การพูดสรุปใจความ
สาํ คญั พดู แสดงความคดิ เห็น และประเมินความนา่ เช่ือถือของสื่อทม่ี ี เนื้อหาโน้มน้าวใจ การวิเคราะห์การสร้าง
คํา การวเิ คราะห์ความแตกตา่ งของภาษาพูดและภาษาเขียน และการจาํ แนกและใช้สาํ นวนท่เี ปน็ คําพงั เพยและ
สุภาษิต การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรม การท่องจําบทอาขยาน และบทร้อย
กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความ
ตระหนัก กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ กระบวนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการ
เสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า การใช้
ภาษาในการสื่อสาร เห็น คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม นําความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา และสร้าง
วสิ ัยทัศน์ในการดําเนนิ ชวี ติ ให้สอดคลอ้ งกบั ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวัฒนธรรม สามารถนําไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตจริงได้ มี มารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การตู และการพูด และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน
อนุรักษ์ และสืบสานภาษาไทยให้คงอยู่คู่ชาติตลอดไป

รหสั ตวั ชวี้ ดั

ท ๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๔ , ม.๑/๗ , ม.๑/๙

ท ๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ , ม.๑/๗ , ม.๑/๙

ท ๓.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๖

ท ๔./๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๔ , ม.๑/๖

ท ๕.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕

รวมท้ังหมด ๒๕ ตวั ชี้วดั

๓๑

คําอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จาํ นวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาวิเคราะห์ และฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง การอ่านจับใจความ
สําคัญจากสื่อต่างๆ ระบุเหตุและผล ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น ตีความตายาก ระบุข้อสังเกตและ ความ
สมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ วิเคราะห์คุณค่าจากการอ่านงานเขียนอย่าง หลากหลาย
การเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสมและสละสลวย เขียนบรรยาย ประสบการณ์ เขียนย่อ
ความจากเรื่องที่อ่าน เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อ เขียนรายงาน การศึกษาค้นคว้าและ
โครงงาน การพูดสรปุ ใจความสาํ คัญ เล่าเร่ืองย่อ พดู แสดงความคิดเห็น และ ประเมนิ ความน่าเช่ือถือของสื่อที่
มเี นอ้ื หาโน้มน้าวใจ พตู รายงานจากประเด็นที่ศึกษา อธิบายลักษณะ ของเสียงในภาษาไทย วิเคราะห์ชนิดและ
หน้าที่ของคํา และแต่งบทร้อยกรอง การวิเคราะห์คุณค่าและ ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม การท่องบท
อาขยาน และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏิบัติ
กระบวนการสรา้ งความตระหนกั กระบวนการกล่มุ กระบวนการสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ กระบวนการคิดอย่าง
มีวิจารณญาณ และการ เสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้
การศึกษาค้นคว้า การใช้ภาษาในการสื่อสาร เห็น คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม นําความคิดไปใช้
ตัดสินใจแก้ปัญหา และสร้างวิสัยทัศน์ในการดําเนินชีวิต ให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียม ประเพณีและ
วัฒนธรรม สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด
และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน อนรุ กั ษ์ และสบื สานภาษาไทยใหค้ งอยคู่ ชู่ าตติ ลอดไป

รหัสตัวช้ีวดั

ท ๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒, ม.๑/๓ ,ม.๑/๔ , ม.๑/๕ , ม.๑/๖ , ม.๑/๘

ท ๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ , ม.๑/๖ , ม.๑/๘

ท ๓.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๕

ท ๔./๑ ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๕

ท ๕.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕

รวมทั้งหมด ๒๓ ตวั ชี้วัด

๓๒

รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ คําอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จาํ นวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาวเิ คราะหห์ ลักภาษาเกยี่ วกับคํา การสรา้ งคําสมาส การแต่งกลอนสุภาพ ฝึกอ่านออกเสียงบท
ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อ่านจับใจความสําคัญ สรุปความอธิบายรายละเอียด เขียนผังความคิด เพื่อ แสดง
ความเข้าใจ อภิปรายแสดงความคิดเห็น และข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านและเรื่องโนบทเรียนต่างๆ อ่าน
หนังสือ บทความหรือคําประพันธ์อย่างหลากหลาย และประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้จากการอ่าน คัด
ลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนจดหมายเชิญวิทยากร เขียนจดหมายขอ ความ
อนุเคราะห์ พดู สรปุ ใจความสําคญั ของเรื่องที่ฟังและตู พูดวิเคราะหข์ ้อเทจ็ จริง ขอ้ คดิ เหน็ และความ น่าเชื่อถือ
ของข่าวสารจากสื่อต่างๆ พูดวเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์เร่ืองที่ฟงั และพูดอยา่ งมีเหตุผล สรปุ เน้อื หา วิเคราะห์คุณค่า
และข้อคิดจากเรื่องวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่น ท่องจําบทอาขยานและ บทร้อยกรองที่มี
คุณค่า โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความตระหนัก
กระบวนการกลุม่ กระบวนการสร้างความรู้ความเขา้ ใจ กระบวนการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการ เสรมิ สร้าง
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า นําความคิดไปใช้ใน
การตัดสินใจ แก้ไขปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ ในการดํารงชีวิตให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียม ประเพณี และ
วัฒนธรรม สามารถนําไปใช้ในชีวิตจริงได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด และมี
นิสยั รักการ อ่าน การเขียน

รหสั ตัวช้ีวัด

ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๗, ม.๒/๘

ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๖, ม.2/8

ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๖

ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓

ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมทั้งหมด ๒๑ ตวั ชว้ี ัด

๓๓

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับคาํ
ราชาศพั ท์ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคําภาษาตา่ งประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทย ฝกึ อา่ นออกเสยี งบท รอ้ ย
แก้วและบทร้อยกรอง จับใจความสําคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียต วิเคราะห์และจําแนก ข้อเท็จจริง
ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อ การโน้มน้าว หรือความ
สมเหตสุ มผลของงานเขียน อา่ นหนงั สือ บทความ หรอื คําประพันธ์อยา่ งหลากหลาย และ ประเมนิ คุณค่า หรือ
แนวคิดที่ได้จากการอ่าน คัตสายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนเรียงความ เขียนย่อ ความ เขียนรายงาน
การศึกษาค้นคว้าเขียนจดหมายขอความอนุเคราะห์ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความรู้ ความคิดเห็น
หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานเรื่อง หรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้า สรุปเนื้อหา วิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมและ วรรณกรรมท้องถ่ิน ท่องจําบท
อาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนภาษา กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการ
สร้างความตระหนัก กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ และการเสริมสร้าง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้
การศกึ ษาคน้ คว้า นาํ ความคิดไปใช้ในการตดั สนิ ใจ แก้ไขปัญหาและสรา้ งวิสยั ทศั นใ์ นการดาํ รงชวี ติ ให้สอดคล้อง
กับขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม สามารถนําไปใช้ ในชีวิตจริงได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟงั การดู และการพดู และมีนิสยั รกั การอา่ น การเขยี น

รหสั ตวั ช้ีวดั

ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๙

ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘

ท ๓.๑ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖

ท ๔.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๔, ม.๒/๕

ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมทั้งหมด ๒๔ ตวั ชี้วัด

๓๔

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

รหสั วชิ า ท ๒๒๒๐๑ ภาษาถน่ิ ระยอง ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ

ศึกษาวิเคราะห์ ความหมาย ความสำคัญ ของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปริศนาคำทาย บทเพลง นิทาน
พื้นบ้าน และนิทานปรัมปรา โดยศึกษาเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง สำนวนภาษา และแนวคิดที่สะท้อนให้เห็นความเชื่อ
ความรู้สึกนึกคดิ หรือค่านิยม ความเป็นอยู่ และขนบธรรมเนียมประเพณขี องสังคมเพ่ือให้มีความรู้ความเขา้ ใจ
และเห็นคุณคา่ ของวรรณกรรมพ้นื บา้ น

โดยใช้กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ และการเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้เกิดความรู้
ความเข้าใจ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นตระหนักและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น ในฐานะที่เป็น
วัฒนธรรมของทอ้ งถิ่น

ผลการเรยี นรู้

๑. ความสำคัญ และการถ่ายทอดของภูมิปัญญาท้องถนิ่ ได้

๒. รู้และเข้าเกี่ยวกับความหมาย ที่มา ประเภทของปริศนา สามารถวิเคราะห์ภมู ิปัญญาทางภาษาที่ปรากฏใน
ปรศิ นาคำทายและคณุ ค่าทางสังคมท่สี ะท้อนจากเน้ือหา

๓. รู้และเข้าใจเกย่ี วกับความหมาย ทีม่ าของบทเพลง สามารถวิเคราะห์คณุ คา่ ด้านการใชภ้ าษาของบทเพลง

๔. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ที่มาของนิทานพื้นบ้าน รวมทั้งตระหนักถึงคุณค่าของนิทานพื้นบ้าน
ตลอดจนสามารถวิเคราะห์ภมู ปิ ญั ญาทางภาษาทเ่ี กิดจากนิทานพ้ืนบ้าน

๕. รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความหมาย ท่มี าของนทิ านปรมั ปรา และสามารถวเิ คราะหเ์ นอื้ หาที่ไดจ้ ากการศึกษาท้ัง
ในดา้ นภมู ิปญั ญาทางภาษาและสภาพสังคมทส่ี ะท้อนจากนิทานปรัมปรา

รวมทง้ั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้

๓๕

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

รหสั วชิ า ท ๒๒๒๐๒ ภาษาถิน่ ระยอง ๒ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

ศกึ ษาวเิ คราะห์ ศกึ ษาตำนานพ้ืนบ้าน เพลงพืน้ บา้ น ภาษาถ่นิ สำนวน สุภาษิต คำพงั เพย ประวัติ
และผลงานบคุ คลทเ่ี ปน็ ภมู ิปญั ญาในท้องถ่นิ โดยศึกษาเกย่ี วกบั เนอื้ เรอ่ื ง สำนวนภาษา และแนวคิดท่ีสะท้อนให้
เห็นความเชื่อ ความรู้สึกนึกคิด หรือค่านิยม ความเป็นอยู่ และขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคมเพื่อให้มี
ความรคู้ วามเขา้ ใจ และเห็นคณุ ค่าของวรรณกรรมพื้นบา้ น

โดยใช้กระบวนการเรยี นภาษา กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการ
กลุ่ม กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ และการเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้เกิดความรู้
ความเข้าใจ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นตระหนักและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น ในฐานะที่เป็น
วฒั นธรรมของทอ้ งถน่ิ

ผลการเรยี นรู้

๑. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ที่มาของตำนานพื้นบ้าน สามารถวิเคราะห์เนื้อหาและตระหนักถึงคุณค่า
ของภมู ิปญั ญาทางภาษาทไี่ ดจ้ ากตำนานพ้นื บ้าน

๒. รแู้ ละเข้าใจเก่ียวกบั ภาษาถน่ิ ในดา้ นต่าง ๆ และสามารถบอกความแตกต่างของภาษาถ่นิ ได้

๓. รู้และเข้าใจความหมายของสำนวน คำพังเพย ภาษิต เห็นความแตกต่างทางภาษา และสามารถวิเคราะห์
คุณค่าของสำนวน คำพงั เพย ภาษิตได้

๔. รู้และเข้าใจประวัติและผลงานของบุคคลท่ีเป็นภูมิปัญญาทางภาษาในท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำคัญของ
บคุ คลที่เป็นภูมปิ ญั ญาทางภาษาได้

๕. รูแ้ ละเขา้ ใจประวตั ปิ ระเพณโี บราณของจงั หวัดระยอง รวมถึงการศกึ ษาวิเคราะห์และการนำเสนอได้

รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู้

๓๖

รหัสวิชา ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ คําอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาวเิ คราะหแ์ ละฝึกทกั ษะทางภาษา ฟงั ดู พดู อ่าน และเขยี นเกี่ยวกบั วรรณคดีและวรรณกรรม
ต่างๆ อ่าน ฟัง และพูดอย่างมีวิจารณญาณ ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่า และวินิจฉัยเรื่องอย่างมี
เหตุผล อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรองและท่องบทอาขยาน เขียนย่อความ เขียนจดหมายกิจธุระ
เขียนชี้แจงแสดงความคิดเห็น การใช้ถ้อยคําสํานวน ระดับภาษา คําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย พูดและ
เขยี นไดช้ ัดเจนถูกต้องเหมาะสมตรงตามจุดประสงค์ สามารถแสดงออกเชิงสร้างสรรค์ ทัง้ การพูดและการ เขียน
อ่าน ฟัง และพูด สิ่งที่มีประโยชน์ตลอดเวลาและมีมารยาทในการใช้ภาษา โดยใช้กระบวนการเรียนภาษา
กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการ กลมุ่ กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการเสริมสร้าง คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เกิดการพัฒนา
สมรรถภาพเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า นําความคิดไปใช้ในการตัดสินใจแก้ไข ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการ
ดาํ รงชีวิตใหส้ อดคลอ้ งกับขนบธรรมเนียมประเพณแี ละวัฒนธรรมสามารถ นาํ ไปใชช้ วี ิตจรงิ ได้ มีมารยาทในการ
อ่าน การเขียน การฟงั และการพดู และมนี ิสยั รกั การอา่ น การ เขียน

รหสั ตวั ชี้วัด

ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๔,

ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘

ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๖

ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕,

ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวมทั้งหมด ๒๐ ตวั ช้ีวดั

๓๗

รหัสวิชา ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ คาํ อธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศกึ ษาวเิ คราะหแ์ ละฝกึ ทักษะทางภาษา ฟัง ดู พดู อ่านและเขียนเกี่ยวกับวรรณคดี และวรรณกรรม
ต่างๆ อ่าน ฟัง และพูด อย่างมที่วิจารณญาณ ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าและการแสดงความ
คิดเห็น เรื่องที่อ่าน ฟัง และดูอย่างมีเหตุผล อ่านออกเสียง บทร้อยแก้ว บทร้อยกรองและท่องอาขยาน เขียน
คัดสายมือ การเขียนประวัติ เขียนรายงาน แต่งโคลงส่สี ุภาพ การใช้คําและการสรา้ งประโยคท่ซี ับซ้อน พูดและ
เขียน อ่าน ฟังและพูด สิ่งที่มีประโยชน์ตลอดเวลาและมีมารยาทในการใช้ภาษา โดยใช้ กระบวนการเรียน
ภาษา กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการ กลุ่ม กระบวนการสร้างความรู้ความ
เข้าใจ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เกิดการพัฒนา
สมรรถภาพการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า นําความคิดไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ไขปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ใน
การดํารงชีวิตให้สอดคล้องกับขนมธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม สามารถนําไปใช้ในชีวิตจริงได้ มี
มารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟงั การดูและการพูด และมนี ิสยั รักการ อา่ น การเขยี น

รหัสตัวชี้วัด

ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐

ท ๒.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐

ท ๓.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓/๖

ท ๔.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓/๖

ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓,

รวมท้ังหมด ๒๑ ตวั ช้วี ดั

๓๘

คำอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์

๓๙

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหสั วชิ า ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณ และฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปน้ี จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ
๐ บอกและแสดงจำนวนสิ่งตา่ ง ๆ ตามจำนวนทก่ี ำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย การบอก
อนั ดบั ทีห่ ลัก ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรยี บเทยี บจำนวนนับไม่เกิน

๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาค่าของตัวไม่
ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไม่
เกิน ๑๐๐ และ ๐ สร้างโจทยป์ ัญหาพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจำนวน
นับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ ทีละ ๑๐ รูปที่
หายไปในแบบรูปซ้ำของรูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ที่สมาชิกใน แต่ละชุดที่ซ้ำมี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบ
ความยาวเปน็ เซนติเมตร เปน็ เมตร น้ำหนกั เปน็ กิโลกรัมเปน็ ขีด และใช้หนว่ ยท่ีไมใ่ ช่หน่วยมาตรฐาน จำแนกรูป
สามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวยใช้ข้อมูลจาก
แผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกำหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หน่วย โดยใช้วิธีการที่
หลากหลาย ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ การให้
เหตุผลประกอบการตดั สินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม การใช้ภาษาและสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เห็นคุณค่า และเจตคติที่มีต่อคณิตศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง
ประสงคใ์ ฝ่เรียนรู้ มุง่ มน่ั การทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ

รหัสตัวขี้วดั

ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕

ค ๑.๒ ป.๑/๑

ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒

ค ๒.๒ ป.๑/๑

ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวมทัง้ หมด ๑๐ ตัวช้วี ัด

๔๐

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหสั วิชา ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง

ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณ และฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปน้ี จำนวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐
และ ๐ บอกและแสดงจำนวนสิ่งต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
การบอกอันดับที่หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวน

นับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้เคร่อื งหมาย = ≠ > < เรียงลำดับ จำนวนนับไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่
๓ ถึง ๕ จำนวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหา
การบวก การลบของจำนวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ
คูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไม่เกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๒ หลัก
ตัวหาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน
๑,๐๐๐ และ ๐แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็นหน่วยเดียว วัดและ
เปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบความยาวที่มีหนว่ ยเป็นเมตรและเซนติเมตร วดั และเปรียบเทยี บน้ำหนักเป็นกโิ ลกรัมและกรัม กิโลกรัมและ
ขีด พร้อมทัง้ แสดงวิธีการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกการลบเก่ียวกับนำ้ หนักท่ีมหี นว่ ยเป็นกิโลกรัมและ
กรัม กิโลกรัมและขีด วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตรจำแนกและบอกลักษณะของรูปหลาย
เหลี่ยมและวงกลมใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกำหนดรูป ๑ รูปแทน ๒
หน่วย ๕ หน่วยหรือ ๑๐ หน่วยโดยใช้วิธีการทีห่ ลากหลาย ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ การให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม การ
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ การเชื่อมโยง
ความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เห็นคุณค่า และเจตคติที่มีต่อ
คณิตศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มัน่ การทำงาน รกั ความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ

๔๑

รหสั ตัวชวี้ ดั
ค ๑.๑ ป.๒/ ๑, ป.๒๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/ ๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวมท้ังหมด ๑๖ ตวั ช้ีวดั

๔๒

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวชิ า ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง

ศึกษา ฝึกทักษะ การคิดคำนวณและฝึกการแก้ปัญหาในสาระดังนี้ อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอา
รบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจำนวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรยี บเทยี บและเรียงลำดับจำนวน
นับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ และ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และ
แสดงสิง่ ต่าง ๆ ตามเศษส่วนทก่ี ำหนดเปรียบเทยี บเศษสว่ นทต่ี วั เศษเทา่ กนั โดยท่ีตัวเศษนอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากับตัว
ส่วนหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบของจำนวนนั บไม่เกิน๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไม่เกิน ๔
หลกั และจำนวน ๒ หลกั กบั จำนวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารท่ีตัวต้ัง
ไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนและแสดงวิธีการหาคำตอบของ
โจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์
ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทย์ปัญหาการลบของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากนั ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มข้ึนหรือ
ลดลงทีละเท่า ๆ กันแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครื่องมือ
ความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร
คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรยี บเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เก่ียวกับระหวา่ งเชนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ เลือกใช้
เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัม
และเปน็ ขีด เปรยี บเทยี บน้ำหนักและแสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปญั หาเกยี่ วกบั น้ำหนักที่มหี น่วยเป็นกิโลกรัม
กับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบ
ปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั ปริมาตรและ
ความจุเป็นลิตรและมลิ ลิเมตร ระบุรปู เรขาคณติ สองมิตทิ มี่ แี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ
รูปภาพและใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลท่ี
เปน็ จำนวนนับและใชข้ อ้ มูลจากตารางทางเดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หาโดยใชว้ ิธกี ารที่หลากหลาย ใช้
ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ การให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอ้ ย่างเหมาะสม การใชภ้ าษาและสญั ลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ มีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ เห็นคุณค่า และเจตคติที่มีต่อคณิตศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ใฝ่
เรยี นรู้ มุง่ มั่นการทำงาน รักความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ

๔๓

รหัสตัวชว้ี ัด
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.ต/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๙/๑๐ , ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/ ๑, ป.๓/๒, ป.ต/๓ , ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๗/๘, ป.๗/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,
ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวมทง้ั หมด ๒๘ ตวั ชว้ี ัด

๔๔

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง

ศึกษา ฝึกทักษะ การคิดคำนวณและฝึกการแก้ปัญหาในสาระดังน้ี ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและ
เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้ง
เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์บอก อ่านและเขียนเศษส่วน
จำนวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนจำนวนคละที่กำหนด เปรียบเทียบ
เรียงลำดับเศษส่วนและจำนวนคละที่ตวั ส่วนตัวหนงึ่ เป็นพหูคูณของอีกตวั หน่ึง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓
ตำแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมที่กำหนด เปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนิยมไม่เกิน ๓
ตำแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการคณู การหาร จากสถานการณต์ ่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล
หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการบวก การลบของจำนวนนบั ที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ
๐ แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ทมี่ ีผลคูณไมเ่ กิน ๖ หลกั และแสดงการหารท่ีตวั ตั้งไม่เกิน ๖
หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของ
จำนวนนับ และ ๐ พร้อมทัง้ หาคำตอบ หาคำตอบและแสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบของ
เศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหูคูณของอีกตัวหนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓
ตำแหน่ง และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ๒ ขั้นตอนของทศนิยมไม่เกิน ๆ ตำแหน่ง
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ แสดงวธิ หี าคำตอบของ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จำแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม
สว่ นประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปส่เี หลี่ยมมุมฉากเมื่อกำหนดความยาวของด้าน และ
ใชข้ อ้ มลู จากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใชว้ ธิ กี ารทหี่ ลากหลายแก้ปัญหา
ใช้ความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ญั หาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม ให้
เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร การสื่อความหมายและกานำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์
กับศาสตร์ อื่น และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่าและเจตคติที่มีต่อคณิตศาสตร์ มี
คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์การทำงานอย่างมีระบบ ระเบียบ มีความรอบคอบ มีความ
รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มคี วามเช่อื มั่นในตนเองต่าง ๆ


Click to View FlipBook Version